หัวข้อศิลปนิพนธ์
:
ชื่อนักศึกษา รหัสนักศึกษา สาขาวิชา คณะ ปี การศึกษา อาจารย์ท่ปี รึกษา
: : : : : :
โครงการลูกปัดอันดามันสูศ่ นู ย์การเรียนรู ้ ANDAMAN BEADS CENTERS นายกฤดิ หนูรนิ ทร์ 5705136 ออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ 2563 อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์
บทคัดย่อ ศูนย์การเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมอันดามันจังหวัดกระบี่ ได้รบั การสนับสนุนจากกลุ่ม 5 จังหวัดภาคใต้ฝ่ ั ง อันดามันประกอบไปด้วย กระบี่ พังงา ภูเก็ต ระนอง ตรัง ซึ่งถือเป็ นแหล่งการเรียนรู ท้ างศิลปะวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ของจังหวัดกระบี่ และจังหวัดภาคใต้ฝ่ ังอันดามัน ซึ่งพิพิธภัณฑ์ลกู ปั ดอันดามัน เป็ นส่วนหนึ่ง ของศูนย์การเรียนรู ว้ ฒ ั นธรรมอันดามันที่น่ีเป็ นแหล่งเรียนรู ล้ กู ปั ดโบราณและแหล่งเรียนรู ก้ ารผลิตลูกปั ด ขึน้ มาใหม่ ลูกปั ดใหม่ถกู สร้างสรรค์ผลงานโดยช่ างฝี มือในจังหวัดกระบี่และถ่ายทอดความรูค้ วามสามารถ ให้กบั คนรุน่ ใหม่ชาวบ้านหรือนักท่องเที่ยว สร้างงานสร้างอาชีพสร้างรายได้ ในปั จจุบนั การซือ้ ขายครอบครองลูกปั ดโบราณเป็ นสิ่งผิดกฎหมาย เพราะลูกปั ดที่ถูกพบในพืน้ แผ่นดินไทยถือเป็ นสมบัติแห่งชาติ ลูกปั ดโบราณส่วนใหญ่จะอยู่ในมือของนักสะสมจึงทาให้ลกู ปั ดในพืน้ ที่ ลดน้อยลงตามกาลเวลา เพื่อเป็ นการต่อยอดทุนทางวัฒนธรรม จึงควรส่งเสริมให้ผคู้ นหันมาสนใจลูกปั ด ใหม่ เพื่ออนุรกั ษ์ลกู ปั ดโบราณและรักษาไว้ให้คนรุ ่นใหม่ได้ศึกษาเรียนรู ้ จึงเกิดการศึกษาเพื่อพัฒนาพืน้ ที่ อาคารที่รวบรวมความรูด้ า้ นลูกปั ดใหม่ โดยการออกแบบนัน้ ผูศ้ กึ ษาจะยังคงความเป็ นอัตลักษณ์ของลูกปั ด อันดามัน จากที่กล่าวมาทัง้ หมดเป็ นที่มาของแนวคิดเพื่อให้ผูท้ ่ีเข้ามาเยี่ยมชมได้รบั ความรู ค้ วามเข้าใจ ในอัตลักษณ์ของลูกปั ดอันดามัน โครงการลูก ปั ด อัน ดามัน สู่ศูน ย์ก ารเรี ย นรู ้ ผู้ศึ ก ษาจึ ง ศึ ก ษาค้ น คว้า หาข้อ มูล เพื่ อ ออกแบบ
สร้างสรรค์ผลงานโดยยึดหลักพัฒนาลูกปั ดใหม่ อนุรกั ษ์ลูกปั ดโบราณ และพืน้ ที่ฝึกการผลิต ลูกปั ดจะสืบต่ออัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ย่งั ยืน
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ทีม่ ำและควำมสำคัญ ดิ น แดนบริ เ วณจัง หวัด กระบี่ ไ ด้พ บหลัก ฐานการเข้า อยู่ อ าศัย ของมนุ ษ ย์ม าตั้ง แต่ ส มัย ก่ อ น ประวัติศาสตร์ โดยการขุดพบลูกปั ด ลูกปั ดเป็ นเรื่องราวของวัตถุท่ีมีลกั ษณะเป็ นเม็ด มีหลายรู ปทรง ใน สมัยก่อนมนุษย์เริ่มทาลูกปั ดจากวัตถุธรรมชาติ เช่น กระดูกสัตว์ ปะการัง และพัฒนามาเป็ นหินสี ยุคสาริด มี การหลอมโลหะชนิ ดต่า งๆ มาท าเป็ น ลูกปั ด ลูกปั ดถูกใช้เป็ น หลักฐานทางโบราณคดี ตั้ง แต่ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ แหล่งที่คน้ พบลูกปั ดโบราณที่สาคัญทางภาคใต้คือ บริเวณชุมชนบ้านควนลูกปั ด อาเภอ คลองท่อม จังหวัดกระบี่ ลูกปั ดคลองท่อมเป็ นหนึ่งในเครื่องประดับโบราณที่สะท้อนสังคม วัฒนธรรม เเละ เรื่องราวของผูค้ นในฝั่ งทะเลอันดามันในอดีต ในประวัติศาสตร์เชื่อว่าลูกปั ดใช้เป็ นเครื่องประดับที่บอกถึง สถานภาพทางสังคมของผูใ้ ส่ ใช้เป็ นเครื่องรางของขลังป้องกันคุม้ ครองจากภัยอันตรายต่างๆ ใช้ในการ แลกเปลี่ยนสิ่งของที่มีคณ ุ ค่าแทนเงินตราได้ และยังใช้เป็ นสัญลักษณ์ในการเชื่อมสัมพันธไมตรีกับชนเผ่าอื่น ลูกปั ดเกิดพร้อมพัฒนาการของมนุษย์ในทุกๆมุมโลก ลูกปั ดจานวนมากมายบอกเล่าถึงรสนิยม ความเชื่อ ภูมิปัญญา ศิลปะ เส้นทางการค้า เศษฐกิจ อายุหรือสมัยที่ผลิตและอาจสื่อถึงนัยยะทางการเมือง อีกด้วย ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านีท้ าให้ลกู ปั ดเป็ นมากกว่าเครื่องประดับหรือ เครื่องรางของขลัง การค้นพบลูกปั ด คนทั่วไปอาจมองเป็ นเรื่องธรรมดาแต่น่คี ือหลักฐานสาคัญที่บอกเล่าเรื่องราวในอดีตได้หลายเรื่อง ทาให้รูว้ า่ ในอดีตมีการเชื่อมโยงกัน เพราะลูกปั ดเป็ นหนึ่งในสินค้า สาคัญที่เชื่อมโยงยุคสมัย เป็ นเครื่องบ่งบอกถึง อารยธรรมโบราณ และช่วยเปิ ดมุมมองด้านการสร้างสรรค์ศิลปะที่ส่งผลถึงโลกในยุคปั จจุบนั ลูกปั ดเม็ด หนึ่งมีเรื่องราวมากมายให้คน้ หา ทัง้ ในด้านประวิติศาสตร์ วัฒนธรรม การผลิต การค้า และวิถีชีวิตของผูค้ น ดังนัน้ เมื่อค้นพบแล้วก็ไม่ควรจะสูญหายไป เพราะเปรียบเสมือนเอกสารทางประวัติศาสตร์ท่ีสาคัญ เสมื อน หนังสือเล่มหนึ่งที่บอกเรื่องราว เสมือนตาราการเรียนรูเ้ ล่มโต ลูกปั ดทุกชิน้ ที่คน้ พบล้วนแล้วแต่ มีคณ ุ ค่าสูง มากๆ ทัง้ ยังเป็ นหลักฐานสาคัญที่เชื่อมโยงให้เห็นภาพความสัมพันธ์ผคู้ นจากสองซีกโลกได้เป็ นอย่างดี แต่ในปั จจุบนั ผูค้ นทั่วไปกลับลืมที่จะเห็นคุณค่าลูกปั ดเม็ดเล็กที่เดินทางผ่านกาลเวลามาถึงปั จจุบนั ผูว้ ิจัยจึงตระหนักที่จะพัฒนาศูนย์การเรียนรู ว้ ัฒนธรรมอันดามัน ให้เป็ นเเหล่งรวบรวมความรู ้ ความคิด สร้างสรรค์ ศิลปะและวัฒนธรรมที่เป็ นวิถีชีวิตของคนแถบทะเลอันดามัน เป็ นแหล่งรวบรวบประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม วิถีการดาเนินชีวิต รวมถึงอารยธรรม ในยุคสมัยก่อนที่ถ่ายทอดผ่านศิลปะ ปลูกฝังจิตใต้
สานึกสูก่ ารศึกษาและอนุรกั ษ์ความงดงามไว้ เพื่อ คงอยู่ของศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ และวัฒธรรมท้องถิ่นที่มี คุณค่าให้สืบทอดความสร้างสรรค์ของศิลปะที่สาคัญจากอดีตถึงปั จจุบนั และอนาคต ส่งเสริมให้มีโรงเรียน ต้นกล้าอันดามันที่จะสอนให้เด็กรุ ่นใหม่สร้างงานศิลปะ เพื่อเติมโตกลายเป็ นบุคลากรที่มีคุณภาพ มีการ สอนผลิตลูกปั ดที่ รวมแร่ธาตุจากทั่วโลก เช่น ทองคา โลหะ หินสี แก้ว โมเสค หยก และอีกมากมาย ไว้ ทดลองฝึ กฝนความสามารถ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่คนในท้องถิ่นและผูเ้ ยี่ยมชม ลูกปั ดเม็ดเล็กๆสีสนั สวยงาม สะท้อนเป็ นประกายชวนหลงไหล กาลังถูกไขความลับจากอดีตด้วยศาสตร์โบราณคดียุคก่อน ประวัติศาสตร์ท่ีจะเล่าผ่าน ศูนย์การเรียนรู ว้ ัฒนธรรมอันดามัน ทัง้ นีผ้ ูส้ ร้างโครงสรรค์โครงการก็คาดว่า กลุม่ เป้าหมายจะได้รบั ประโยชน์อย่างยิ่ง
1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่ อ ศึก ษาวิ เ คราะห์ก ารบริห ารจัด การ การจัด สรรพื น้ ที่ และการออกแบบพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ กรณีศกึ ษา หอศิลป์ อันดามัน 1.2.2 ประมวลผลองค์ความรู ท้ ่ีได้จากการศึกษาวิเคราะห์การบริหารจัดการ การจัดสรรพืน้ ที่และ ออกแบบ หอศิลป์ อันดามัน ให้ออกมาเป็ นพิพิธภัณฑ์ท่สี วยงาม และเป็ นศูนย์การเรียนรูว้ ฒ ั นธรรมอันดามัน 1.2.3 สร้างค่านิยมให้คนในปั จจุบนั หัดมาศึกษาและเรียนรูก้ ารทาลูกปั ดใหม่ เพื่อใช้ทดแทนลูกปั ด โบราณที่ควรค่าแก่เก็บรักษาและอนุรกั ษ์ไว้
1.3 ขอบเขตของกำรศึกษำ 1.3.1 ศึกษาการบริหารจัดการ การจัดสรรพืน้ ที่ และการออกแบบตกแต่ง กรณีศึกษา หอศิลป์ อัน ดามัน จังหวัดกระบี่
1.4 นิยำมศัพท์ 1.4.1 พิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์คือหน่วยงานที่ไม่หวังผลกาไร เป็ นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อการพัฒนา และเปิ ดให้ สาธารณะชนทั่วไปเข้าชม โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดง
หลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษาและจัดแสดงนัน้ ไม่ใช่เป็ นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วย 1.4.2. ยุคก่อนประวัติศำสตร์ ระยะเวลาในอดีตที่มนุษย์ยงั ไม่รูจ้ กั การบันทึกเรื่องราวต่างๆ ไว้ เป็ นลายลัก ษณ์อั ก ษร เนื่ อ งจากเป็ นสมั ย ที่ ยั ง ไม่ พ บหลัก ฐานเป็ น ตั ว หนั ง สื อ หลัก ฐานสมั ย ก่ อ น ประวัติศาสตร์แบ่งย่อยเป็ น 3 ประเภทดังนี ้ 1. โบราณสถาน ได้แก่ แหล่งที่อยู่อาศัย เช่น ถา้ เพิงผาหิน เป็ นดินใกล้แหล่งนา้ 2. โบราณวัตถุ ได้แก่ เครื่องมือหินกะเทาะหยาบ เครื่องมือหินขัด เครื่องสาริดและเหล็ก เครื่องปั้นดินเผา ลูกปั ดที่ทาด้วยดินเผาและหินสี เปลือกหอย โครงกระดูกมนุษย์และสัตว์ 3. โบราณศิลปกรรม ได้แก่ ภาพเขียนสีและภาพจาหลัก ซึ่งล้วนแล้วได้ทาขึน้ บนผนังถา้ หรือเพิงผา
1.5 ประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะได้รับ 1. ทาให้นกั ท่องเที่ยว และคนในพืน้ ที่ได้สนใจในศิลปะมากขึน้ 2. มีแหล่งเรียนรูเ้ กี่ยวกับศิลปะที่ใหม่ท่นี ่าสนใจ 3. สร้างแรงดึงดูดและแรงบันดาลใจให้คนรุน่ ใหม่สนใจในศิลปะมากขึน้
บทที่ 2 งำนวิจัย และทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง ในการวิ จัย ครั้ง นี ้ ผู้วิ จัย ได้ศึก ษาเอกสารและงานวิ จัย ที่ เ กี่ ย วข้อ ง และได้น าเสนอตามหัว ข้อ ดังต่อไปนี ้ 2.1 กรอบคิดและทฤษฎี 2.2 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 2.1 กรอบคิดและทฤษฎี 2.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับพิพธภัณฑ์ 2.1.1.1 ความหมายและหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์ (Museum) หมายถึง สถาบันถาวรที่ให้บริการแก่สงั คมและมีสว่ นร่วมในการ พัฒนาสังคม (ICOM,2010 : 43) ทาหน้าที่อนุรกั ษ์คน้ คว้าวิจยั เผยแพร่ความรู ้ และจัดแสดงมรดกทาง วั ฒ นธรรม ทั้ ง ที่ เ ป็ นรู ป ธรรมและนามธรรม (ICOM, 2010 : 36) รวมถึ ง การจั ด แสดงสิ่ ง ที่ เ กี่ ย วกั บ สภาพแวดล้อมของมนุษย์ เช่น ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ นิเวศวิทยา เป็ นต้น พิพิธภัณฑ์มีหน้าที่สาคัญ 8 ประการ ทัง้ ที่เป็ นหน้าที่เบือ้ งต้น ดังที่ จิรา จงกล (2532 : 33-45) กล่าว ดังนี ้ 1) การรวบรวมวัตถุ (Collecting) หน้าที่ประการแรกของพิพิธภัณฑสถานนัน้ แน่นอนที่สดุ ว่าจะต้ รวบรวมวัตถุ ถ้าไม่มีการรวบรวมก็ไม่เกิดเป็ นพิพิธภณฑสถานขึน้ ได้ การรวบรวมวตถัตถุนนั้ ทาได้หลายทาง ได้แก่ 1.1) การรับบริจาควัตถุจากประชาชน ประเทศพัฒนาที่มีพิพิธภณฑสถานจานวนมาก และ จ าแนกเป็ น ประเภทต่ า งๆอยู่แ ล้ว การเลื อ กรวบรวมวั ต ถุจ ากผู้บ ริจ าคย่ อ มท าได้แ ต่ ป ระเทศที่ กิ จ การ พิพิธภัณฑสถานยังไม่พฒ ั นา และมีจานวนน้อยยอมปฏิบตั ิได้ยาก ปั ญหาเรื่องการรวมวัตถุจากผูบ้ ริจากค จึงไม่มีทางเลือก จะต้อ งรับทุกสิ่งทุกอย่างที่มีผู้มอบให้ซ่ึงโดยหลักการแล้วในปั จจุบันพิพิธภั ณฑ์สถาน จะต้องเลือกรับบริจาค หากไม่เลือกย่อมเกิดปั ญหาภายหลัง 1.2) การรวบรวมวั ต ถุ เ กิ ด ขึ ้น จากผลการขุ ด ค้น ทางโบราณคดี เมื่ อ มี ก ารขุ ด ค้น แหล่ ง โบราณสถาน ก็จะขุดพบศิลปโบราณวัตถุจานวนมาก ก็นาเข้าเก็บรักษาในพิพิธภัณฑสถาน หรือนักชาติ
พันธุว์ ิทยาออกสารวจค้นคว้าชนเผ่าพันธุก์ ลุม่ ใดก็รวบรวมวัตถุสิ่งของเครื่องใช้แสดงวัฒนธรรมกลุม่ ชน และ เก็บรักษาในพิพิธภัณฑสถาน 1.3) การรวบรวมวัตถุโดยการจัดซือ้ พิพิธภัณฑสถานใหญ่ๆจะต้องตัง้ งบประมาณไว้ค่อนข้าง สูง สาหรับการจัดซือ้ วัสดุท่ีมีคณ ุ ค่าสาคัญเก็บเข้าพิพิธภัณฑสถาน แต่พิพิธภัณฑสถานขนาดเล็กทั่วไปจะ ขัด สนงบประมาณส าหรับ การจั ด ซื ้อ วัต ถุ ในต่ า งประเทศมี น โยบายลดภาษี เ งิ น ได้แ ก่ ผู้ซื ้อ วัต ถุ ใน ต่างประเทศมีนโยบายลดภาษีเงินได้แก่ผซู้ อื ้ วัตถุให้แก่พิพิธภัณฑสถาน 2) ห น้ า ที่ ต ร ว จ ส อ บ จ า แ น ก แ ย ก ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ศึ ก ษ า วิ จั ย 2 ) ห น้ า ที่ ( Identifying, Classifying,Research) เมื่อพิพิธภัณฑสถานเก็บรวบรวมวัตถุใดเข้าพิพิธภัณฑสถาน จะต้องตรวจสอบ บอกได้ว่าเป็ นอะไร สามารถจาแนกแยกประเภท กาหนดอายุ แบบสมัยที่มาของวัตถุ จะต้องรู ว้ ่าเป็ น ศิลปวัตถุอะไรกาหนดแบบศิลป อายุ สมัยได้ ในพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาศาสตร์ก็ตอ้ งรู ่ว่าดิน หิน แร่ สัตว์ พืช ที่รวบรวมคืออะไร แหล่งกาเนิดที่ไหน หากรวบรวมวัตถุได้แล้วยังไม่สามารถตรวจสอบจาแนก และวิธีทดลองตรวจสอบหรือพิสจู น์อายุทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเรื่องราวที่แน่นอน 3) การทาบันทึกหลักฐาน (Recording) การบนทันทึกหลักฐานก็คือการจัดทาทะเบียนวัตถุทกุ ชิน้ ที่ รวบรวมเก็ บ รัก ษาไว้ใ นพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ เป็ น หลัก ฐานไม่ ใ ห้เ กิ ด สูญ หายหรื อ ทุจ ริต จากเจ้า หน้าที่ และเป็ น หลักฐานทางวิชาการ เพราะเป็ นทะเบียนประวัตติหลักฐานแน่นอนในเรื่องที่มาของวัตถุ การตรวจสอบ จาแนกแยกประเภท กาหนดอายุ สมัย ซึง่ มรความสาคัญสาหรับการศึกษาค้นคว้า วัตถุใดที่ไม่มีประวัติเป็ น หลักฐานจะไม่มีคณ ุ ค่าทางวิชาการ ไม่สามารถใช้อา้ งอิงเป็ นหลักฐานได้ 4) หน้าที่ซ่อมสงวนรักษาวัตถุ (Conservation and preservation) งาน “เก็บรักษา”ได้พฒ ั นาไป มากในปั จจุบนั และถือเป็ นหน้าที่สาคัญที่พิพิธภณฑสถานจะต้อง “สงวนรักษา” วัตถุท่ีรวบรวมไว้ให้คงทน ถาวร ไม่ มี ก ารเสื่ อ มสภาพ ในปั จ จุบัน ความรู ท้ างวิ ท ยาศาสตร์ก้า วหน้ามาก การดูแ ลรัก ษาวัต ถุข อง พิพิธภัณฑสถานจึงใช้หลักการและเทคนิคทางวิทยาศาสตร์ท่ีจะทางาน “สงวนรักษา”และ”ซ่อมรักษา”วัตถุ ทุกประเภทให้คงสภาพดีตลอดไป 5) หน้าที่รกั ษาความปลอดภัย (Museum Security) พิพิธภัณฑสถานทุกแห่งจะต้องมีเจ้าหน้าที่ ฝ่ ายรักษาความปลอดภัยเป็ นผูร้ บั ผิดชอบโดยตรงและมีระบบการรักษาความปลอดภัยที่ทนั สมัย (Security system) งานรักษาความปลอดภัยต้องวางแผนตั้งแต่ เริ่มสร้างอาคารทีเดียว พิพิธภัณฑสถานทุกแห่ง โดยเฉพาะประเภทศิ ป ะต้อ งเน้น หนั ก เรื่ อ งการรัก ษาความปลอดภั ย เป็ นพิ เ ศษกว่ า ประเภทอื่ น ๆ พิพิธภัณฑสถานจะต้องมั่นคง ปลอดภัยเช่นเดียวกับธนาคาร เป็ นที่ไว้วางใจเชื่อถือของประชาชน
6) การจัดแสดง (Exhibition) งานในหน้าที่ท่ีกล่าวมาข้างต้นเป็ นงานเบือ้ งหลัง งานจัดแสดงเป็ น งานเบือ้ งหน้า พิพิธภัณฑสถานแห่งใดจัดแสดงได้ดี ดึงดูดความสนใจของประชาชนได้มากก็มกั จะได้รบั การยกย่องสรรเสริญว่าทันสมัย น่าชม ในสมัยก่อนไม่ได้มีการให้ความสาคัญเทคนิคจัดแสดงมากนัก แต่ เมื่อแนวคิดของพิพิธภัณฑเปลี่ยนไป พิพิธภัณฑสถานต้องเป็ นสถานที่ท่ีให้ทงั้ ความรูแ้ ละความเพลิดเพลิน แก่ ป ระชาชน ทุ ก ประเภท ทุ ก วั ย ทุ ก ระดั บ การศึ ก ษา และแนวคิ ด นี ้ไ ด้เ ปลี่ ย นแปลงงานจั ด แสดง พิพิธภัณฑสถานใหม่ พิพิธภัณ ฑสถานจะต้องจัดแสดงด้วยเทคนิคที่ดึงดูดความสนใจผูช้ ม การจัดแสดง จะต้องให้ทงั้ ความรูค้ วามเพลิดเพลินด้วย 7) หน้า ที่ ใ ห้ก ารศึ ก ษา (Museum Education) เมื่ อ สั ง คมเปลี่ ย นแปลงก็ มี ก ารเรี ย กร้อ งให้ พิพิธภัณฑสถานมีบริการเพื่อการศึกษาแก่คนทุกระดับ ทุกประเภท ทุกวัย จะมี การปรับปรุ งกันอย่าง กว้างขวาง โดยเฉพาะการจัดแสดงที่จะต้องให้ทงั้ ความรูแ้ ละความเพลิดเพลินและเหมาะสมแก่คนทุกระดับ การศึกษา จะต้องมีกิจกรรมและบริการด้านการศึกษา มีเจ้าหน้าที่การศึกษาเป็ น ผูร้ บั ผิดชอบ ดาเนิน กิ จ กรรมการศึก ษาแก่ ป ระชาชนทุก ประเภท พิ พิ ธ ภัณ ฑสถานได้พัฒ นาถึ ง ขั้น เป็ น ศูน ย์บ ริก ารศึก ษา (Educational Center) 8) หน้าที่ทางสังคม (Social Function) เมื่อกล่าวว่าพิพิธภัณฑสถานมีหน้าที่รบั ผิดชอบต่อสังคม หมายความว่าพิพิธภัณฑสถานจะต้องเป็ นสถาบันที่เปลี่ยนแปลงปรับตัวไปตามสภาพความเปลี่ยนแปลง ของสังคม ดาเนินกิจกรรมตามความต้องการจของสังคม 2.1.1.2 รูปแบบของพิพิธภณฑ์ มี ก ารจั ด แบ่ ง รู ป แบบของพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ไ ด้ห ลายลัก ษณะ เช่ น แบ่ ง ตามผู้เ ป็ น เจ้า ของ (พิพิธภัณฑ์ของรัฐและเอกชน) แบงตามการจัดแสดงและวัตถุประสงค์หรือแบ่งตามวัตถุท่ีจดั แสดง ICOM อ้างถึงใน กรมศิลปากร, 2536 : 14-21) จัดแบ่งรู ปแบบของพิพิธภัณฑ์ตามการจัดแสดงและวัตถุ ประสงค์ การจัดแสดง ดังนี ้ 1) พิพิธภัณฑ์ศิลปะ (Museum of Arts) 2) พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย (Gallery of Contemporary Arts) 3) พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา (Natural History Museum) 4) พิพิธภัณฑ์ทางวิทยาศาสตร์และเครื่องจักรกล (Science and Technology Museum)
5) พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ท างมนุษ ยวิ ท ยาและชาติ พัน ธุ์วิ ท ยา (Museum of Anthropology and Ethnology) ประกอบด้ว ย พิ พิ ธ ภัณฑ์ชาติพัน ธุ์วิท ยา (Ethnology Museum) พิพิธภัณฑ์ศิลปะพื น้ เมื อง (Folk Arts Museum) 6) พิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี (Museum of History and Archaeology) ซึ่งสามารถแยกออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี ้ พิพิธภัณฑ์ทางโบราณคดี (Archeological Museum) พิพิธภัณฑ์ ทางประวัติศาสตร์ (Historical Museum) พิพิธภัณฑ์ประจาโบราณสถาน (Site Museum) 7) พิพิธภัณฑ์ประจาเมืองหรือท้องถิ่น (Regional Museum/City Museum) 8) พิพิธภัณฑ์แบบพิเศษ (Specialized Museum) 9) พิพิธภัณฑ์ของมหาวิทยาลยและสถาบันการศึกษา (University Museum) องค์ ก ารยู เ นสโกได้ จั ด แบ่ ง ประเภทของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไ ว้ ( UNESCO อ้ า งถึ ง ใน HagedornSaupe,Monika and Emert, Axel. 2004 : 69 ) ดังนี ้ 1) พิพิธภัณฑ์ทางศิลปะ โบราณคดี และประวัติศาสตร์
1.1) พิพิธภัณฑ์ศิลปะ คือ พิพิธภัณฑ์ท่ีจดั แสดงผลงานภาพจิตรกรรมและศิลปะประยุกต์ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ป ระติ ม ากรรม พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ภ าพถ่ า ย พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ภ าพยนตร์ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ สถาปั ต ยกรรม รวมไปถึ ง นิ ท รรศการงานศิ ล ปะถาวรที่ จัด แสดงผลงานศิ ล ปะที่ ประกอบด้วยห้องสมุดและหอ จดหมายเหตุ 1.2) พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ โ บราณคดี แ ละประวั ติ ศ าสตร์ จุ ด มุ่ ง หมายของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท าง ประวัติศาสตร์คือการนาเสนอวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของภูมิภาค ประเทศ หรือ จงหวัด อาจจ ากั ด แค่ ยุ ค ใดยุ ค หนึ่ ง หรื อ มากกว่ า หนึ่ ง ศตวรรษ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ท าง โบราณคดีนนั้ จะรวมไปถึงพิพิธภัณฑ์ท่ีเก็บรักษาวัตถุทางประวัติศาสตร์พิพิธภัณฑ์ท่ี เป็ นอนุสรณ์ หอจดหมายเหตุ พิพิธภัณฑ์ทางการทหาร พิพิธภณฑ์เกี่ยวกับบุคคลทาง ประวัติศาสตร์พิพิธภัณฑ์โบราณคดีพิพิธภัณฑ์ท่จี ดั แสดงโบราณวัตถุ เป็ นต้น 2) พิพิธภัณฑ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และพิพิธภัณฑ์ทางชาติพนั ธุว์ ิทยา 2.1) พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติและวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คือ พิพิธภัณฑ์ท่ี เกี่ ย วกั บ สาขาใดสาขาหนึ่ ง หรื อ หลากสาขาทที่ เ กี่ ย วข้อ งกั บ ชี ว วิ ท ยา ธรณี วิ ท ยา พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา สัตว์และพืชดึกดาบรรพ์และนิเวศวิทยา
2.2) พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี พิพิธภัณฑ์กลุ่มนีเ้ กี่ยวกับศาสตร์แขนงใดหนึ่งที่ เกี่ ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ดาราศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ฟิ สิกส์ เคมี การแพทย์ ท้องฟ้าจาลอง รวมทัง้ ศูนย์วิทยาศาสตร์ 2.3 ) พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ท างชาติ พัน ธุ์แ ละมนุษ ยวิ ท ยา จัด แสดงเกี่ ย วกับ วัต ถุท างวัฒ นธรรม โครงสร้างทางสังคม ความเชื่อ ศิลปะดัง้ เดิม เป็ นต้น 3) พิพิธภัณฑ์ผสมผสาน 3.1) พิพิธภัณฑ์เฉพาะทาง เป็ นพิพิธภัณฑ์ท่ีศึกษาค้นคว้าและจัดแสดงในเรื่องใเรื่องหนึ่ง เพียงเรื่องเดียว ที่ไม่อยู่ในหมวดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น 3.2) พิพิธภัณฑ์ทอ้ งถิ่น เป็ นพิพิธภัณฑ์ท่ีอธิ บายเกี่ยวกับท้องถิ่นอย่างกว้าวๆ เป็ นการ จัดการแสดงเกี่ยวกับอัตกั ษณ์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ซึ่งอาจรวมไปถึงชาติพนั ธุ์ เศรษฐกิจและสังคมด้วย เป็ นการจัดแสดงวัตถุจากท้องถิ่นนัน้ ๆ มากกว่าจะจัดแสดงแบบ เจาะจงไปที่เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ 3.3) พิพิธภัณฑ์ท่ วั ไป เป็ นพิพิธภัณฑ์ท่ีมีของสะสมหลากหลายผสมกัน ไม่ใช่การสะสม เฉพาะอย่าง มีการสะสมวัตถุหลายประเภท และไม่สามารถจะจัดกลุม่ ให้อยู่ในพิพิธภณฑ์ ประเภทใดประเภทหนึ่งข้างต้นได้ 3.4) พิพิธภณฑ์อ่นื ๆ คือพิพิธภัณฑ์ท่ไี มได้อยู่ในหมวดหมู่ท่กี ล่าวมาแล้วข้างต้น 2.1.1.3 การจัด แสดงในพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ (Exhibition) ปั จ จุบัน พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ต่ า งๆได้น าเทคนิ ค อัน ทันสมัยมาใช้ในการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์โดยมี วตั ถุประสงค์เพื่อให้เป็ นที่สนใจของผูเ้ ข้าชม ซึ่งสามารถ เรียนรูไ้ ปพร้อมๆกันกับการได้รบั ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และเป็ นที่ให้ความรูแ้ ก่คนทุกเพศทุกวัย และ ทุกประเภท ICOM (2010 : 36) ได้ให้ความหมายของ นิทรรศการ (Exhibition) ว่าเป็ นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ ทาหน้าที่มากกว่าการสื่อสาร คือ มีหน้าเป็ นปหล่งศึกษาเรียนรู แ้ ละมีหน้าที่ทางสัมคมด้วย จากมุมมองนี ้ การจัดนิทรรศการเป็ นลักษณะพืน้ ฐานของการเป็ นพิพธภัณฑ์ ซึ่งได้ผ่านการพิสจู น์มาอย่างยายนานว่าเป็ น สถานที่ท่ยี อดเยี่ยมสาหรับการเรียนรูท้ างประสาทสัมผัส โดยการนาเสนอวัตถุท่จี ดั แสดงให้รบั ชม การสาธิต การนาวัตถุท่ีมีคุณค่าทางจิตใจ เช่น ศาสนวัตถุ มาจัดแสดง เป็ นต้น ในการนาเสนอผูเ้ ยี่ยมชมสามารถ เข้าถึงเนือ้ หาสาระสาคัญได้ดว้ ยตัวเอง หรือเกดแนวคิดบางประการขึน้
ถ้า เรานิ ย ามพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ว่ า เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้แ ละเป็ น สถานที่ แ ห่ ง การรับ รู ้ท างประสาทสัม ผัส นิทรรศการก็จะอยู่ในฐานะการสื่อสารโดยการสร้างมโนภาพของสิ่งที่ไม่ได้มีอยู่จริงในขณะนัน้ ผ่านวัตถุหรือ กระบวนการ หริสญ ั ลักษณ์ ตูก้ ระจกและบอร์ดนิทรรศการในพิพิธภัณฑ์เป็ นกลวิธีท่ีจะเชื่องโลกแห่งความจริงและโลกแห่งจินต การเข้าไว้ดว้ ยกัน สิ่งเหล่านีเ้ ป็ นไปโดยมีวัตถุป ระสงค์เพื่อที่จะยืนยันถึงความห่างไกลของช่วงเวลาแล้ว ปล่อยให้เราเข้าไปอยู่ในอีกโลกหนึ่งซึง่ ก็คือโลกจาลองและโลกแห่งจินตการ เมื่อผูเ้ ยี่ยมชมเข้าใจในวัตถุท่ีจดั แสดงครบถ้วน ซึ่งหมายรวมถึงวัตถุพิพิธภัณฑ์ ทัง้ ที่เป็ น วัตถุจริง และวัตถุจาลอง ( เช่น หุ่น เอกสารสาเนา ภาพถ่าย ) และสิ่งที่เป็ นข้อมูล ( เช่น ข้อมูลภาพยนต์ หรือมัตติ มีเดีย ) และป้ายข้อมูล จากมุมมองดังกล่าวนี ้ งานนิทรรศการ คือ ระบบการสื่อสารที่มีลกั ษณะพิเศษ มี พื น้ ฐานของการจัดแสดง วัตถุจริง รวมไปถึง สิ่ง จาลองอื่น ๆ ซึ่ง ได้ให้ผู้เยี่ยมชมได้แยกแยะและเข้า ถึ ง นัยสาคัญของวัตถุได้ดีขึน้ ตามบริบทนี ้ กล่าวได้ว่า การที่แต้ละส่วนประกอบ เช่น วัตถุพิพิธภัณฑ์วัตถุ จาลอง ข้อความ ได้รบั การนาเสนออยู่ในนิทรรศการ เราเรียกว่า เป็ นการจัดนิทรรศการ จิรา จงกล (2532 : 180-183) กล่าวว่า การจัดนิทรรศการแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ การจัดแสดง ถาวรและการจดแสดงชั่วคราว 1)การจัดแสดงถาวร (Permanent Exhibition) ได้แก่ การจัดห้องแสดงแต่ละห้องเป็ นการถาวร หรือเป็ นการตัง้ แสดงไว้เป็ นประจา โดยพิจารณาถึงประโยชน์ของนักเรียน นักศึกษา และประชาชนโดยทาง ปฏิบตั ิพิพิธภัณฑ์สถานจะคัดเลือกวัตถุท่มี ีความสาคัญ มีคณ ุ ค่า จัดแสดงเป็ นการถาวรสาหรับผูเ้ ข้าชม การ จัดแสดงถาวรไม่ได้หมายความว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลย แต่จะมีการแก้ไขปรับปรุงตกแต่งใหม่ ใช้เนค นิคใหม่เป็ นครัง้ คราว แต่ละห้องจัดแสดงไม่ต่ากว่า 5 ปี จึงปรับปรุงใหม่ครัง้ หนึ่ง 2)การจั ด แสดงชั่ ว คราว (Temporary Exhibition) หรื อ การจั ด แสดงหมุ น เวี ย น (Changing Exhibition) เป็ น ห้อ งจัด แสดงที่ จัด ไว้ช่ ัว คราว แต่ ล ะเรื่ อ ง ชั่ว ระยะเวลาสั้น ๆ แล้ว เปลี่ ย นเรื่ อ งอื่ น ใหม่ หมุนเวียนกันไป เพื่อชักจูงความสนใจแก่ชมุ ชน โดยทั่วไปพิพิธภัณฑ์สถาน จะเลือกเรื่องต่างๆแล้วจัดแสดง ชั่วคราวแก่ประชาชน ในกรณีท่ี พิพิธภัณฑสถานได้รวบรวมสิ่งของเข้าใหม่เป็ นจานวนมาก ก็นาออกจัด แสดงชั่วคราวเร้าความสนใจและให้ความรูใ้ นเรื่องวัตถุท่ไี ด้มาใหม่ หลัการจัดแสดงถาวรและจัดแสดงชั่วคราว จึงอยู่ท่ีวัตถุประสงค์สาคัญคือ การจัดแสดงถาวร จะต้องให้ผู้ชมมาดูแล้ว มาดูอีก ได้ห ลายครัง้ โดยไม่เบื่ อ สามารถดูวัตถุได้ชัดเจน ไม่อยู่ในแสงสลัวๆที่
ประทับใจแต่มองเห็นลางเลือน ส่วนการจัดแสดงชั่วคราวนัน้ ประสงค์ให้ดกู นั เพียงครัง้ สองครัง้ เท่านัน้ เป็ น การฉาบฉวยระยะสัน้ 2.1.2 แนวคิดเกี่ยวกับกำรบริหำรจัดกำรพิพธิ ภัณฑ์ ICOM (2010 : 45) กล่าวถึงการจัดการพิพิธภณฑ์วา่ ในปั จจุบนั การจัดการพิพิธภัณฑเป็ นการ กระท าที่ ส ร้า งความมั่น ใจในการบริ ห ารงานพิ พิ ธ ภัณ ฑ์แ ละกิ จ กรรมทั้ง หมดที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ งานด้า น พิพิธภัณฑ์ ( การอนุรกั ษ์ การค้นคว้า และการสื่อสาร ) เมื่อพิจารณาก็จะเห็นว่าการจัดการพิพิธภัณฑ์นนั้ เกี่ยวข้องกับการเงินและการบัญชี ( การบัญชี การบริหารจัดการและการเงิน ) กฎหมาย การรักษาความ ปลอดภัย และค่าใช้จ่ายในกสรบารุงรักษา การบริหารงายบุคคล และการตลอด ตลอดจนยุทธศาสตร์และ แผนเกี่ยวกับกิจกรรมของพิพิธภัณฑ์ ในหนังสือคู่มือ การจัดการพิพิธภัณฑ์ “Running a Museum: A Practical Handbook” ของ ICOM (2004 : 133) ได้กล่าวถึงการจัดการพิพิธภัณฑ์วา่ พิพิธภัณฑ์ส่วนใหญ่เกิดขึน้ เพื่อสาธารณประโยชน์และประสบความสาเร็จ พิพิธภัณฑ์ควรมี ลักษณะที่ตอบสนองความต้องการของสังคม การบริหารจัดการเพื่อก่อประโยชน์แก่สงั คมจะต้อ งมีการ จัดการอย่างเหมาะสม พิพิธภัณฑ์อยู่ในฐานะผูด้ แู ลสิ่งที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม ธรรมชาติ และมรดกของผูค้ น และมรดกธรรมชาติ และมีความรับผิดชอบในกรณที่เกิดข้อผิดพลาด พิพิธพัณฑ์ดาเนินงานในฐานะเป็ น ส่วนหนึ่ง ของการจัดการที่ดี ดัง นั้น ผู้จัดการพิพิธภัณฑ์ควรมี ความเป็ น ผู้ น า วิสัยทัศน์ และมี การแนะ แนวทาง ในวัฒนธรรมของบางประเทศ ผูท้ ่ีตดั สินใจเรื่องสาคัญๆในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์คือผูม้ ี อานาจรัฐ หรือผูท้ ่ีเป็ นหัวหน้าสูงสุดของพิพิธภัณฑ์ เช่นผูอ้ านวยการ หรือผูบ้ ริหารระดับสูง ซึ่งจะตัดสินใจ เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ การบริการและให้ความรูแ้ ก่ประชาชน ในบางวัฒนธรรมการ บริหารจัดการจึงอาจมีความจาเป็ นอย่างมาก และไม่ใช่จะจาเป็ นสาหรับผูบ้ ริหารระดับสูงผูอ้ านวยการ ใคร คนใดคนหนึ่ง หรือเพียงหนึ่งหรือสองหน่อยวงาน เช่น การเงินและฝ่ ายบุคคลเท่านัน้ ตัวอย่างเช่นในสหราช อาณาจัก ร คนทางานร้อยละ30 ของประเทศ ต้องมีความรู เ้ กี่ยวกับการบริหารจัดการมีการอบรมการ จัดการอย่างเป็ นทางการให้แก่ภัณฑ์รกั ษ์ในพิพิธภัณฑ์ต่างๆ จั้งอต่ปี 1964 ซึ่งถือว่าเป็ นส่วนสาคัญของ โครงสร้างที่มีคณ ุ ภาพของชาติ
ในการบริหารการจัดการพิพิธภัณฑ์ มีสิ่งที่ตอ้ งดาเนินการให้ เกิดขึน้ 9 ประการ (ICOM : 2004) ดังนี ้ 1) โครงสร้างการจัดการ (Management Structure) สิ่งสาคัญในการจัดการก็คือ การจัดทาเอกสาร เกี่ยวกับโครงสร้างของพิพิธภัณฑ์ ภายใต้การอนุมตั ิและการสนับสนุน กระบวนการพืน้ ฐานนี ้ เป็ นสิ่งที่มี ประโยชน์มากเช่นเดียวกับการจัดทารูปแบบของพิพิธภัณฑ์ใหม่ โครงสร้างการบริหารจัดการมักเป็ นพืน้ ฐาน ของการลงมือปฏิบตั ิ เช่น แผนผังง่ายๆ หรือ ชาร์ตการบริหารจัดการที่แสดงลาดับการมอบมหายหน้าที่และ การแลกเปลี่ยนหรือส่งข้อมูล พิพิธภัณฑ์ส่วนใหญ่ มีโครงสร้างการบริหารจัดการซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ผู้ป ฏิ บัติ ง าน กระบวนการอนุรัก ษ์ และวิ ธี ก ารหรื อ ขั้น ตอนการปฏิ บัติ ง าน ส่ว นประกอบทั้ ง หมดของ พิพิธภัณฑ์อาจจะอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของบุคคลจานวน 1 คนหรือหลายคนก็ได้
2) การทางานเป็ นทีม (Team Work) ระบบการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์และโครงสร้างมุ่งที่จะทา ให้เกิดผลการดาเนินงานที่เป็ นไปตามกฎหมาย เกิดหลักการบริหารจัดการ แนวคิดทางธุรกิจและเกิดการ พัฒนา อย่างไรก็ตาม ก็เป็ นที่เข้าใจกันโดยกว้างขวางว่านอกจากความสนใจในการบริหารจัดการและ โครงสร้างการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท่ดี ีจะต้องมีการทางานเป็ นทีม การพัฒนาวิสยั ทัศน์ของสถาบันและ การจัดให้มีบรรยากาศที่เอือ้ ต่อการทางานเป็ นทีมจะทาให้เกิดการดาเนินการเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุเป้าหมาย 3) พันธกิจ (Mission Statement) เป็ นที่เข้าใจกันโดยทั่วไปว่าสิ่งที่จะเป็ นพืน้ ฐานของพันธกิจของ พิพิธภัณฑ์อาจมาจากชื่อของพิพิธภัณฑ์เอง โดยทั่วไปพิพิธภัณฑ์สะสมวัตถุและมีบทบาทที่ถกู กาหนดโดย รัฐหรือผูม้ ีอานาจ อาจกล่าวได้ว่าภารกิจพืน้ ฐานของพิพิธภัณฑ์เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ศิลปะ หรือ วิทยาศาสตร์สซึ่งเกี่ยวข้องกับวัตถุ อย่างไรก็ตามก็เป็ นที่เ ข้าใจกันว่าภารกิจของพิพิธภัณฑ์จาเป็ นต้องมีการ จากัดความถึงขอบเขตของสิ่งที่สะสมและวิเคารห์พรรณาบทบาทและลักษณะเฉพาะของพิพิธภัณฑ์พนั ธ กิจของพิพิธภัณฑ์ควรจะเรียบง่าย อธิบายว่าเป็ นพิพิธภัณฑ์เกี่ยวข้องกับอะไร ทาอะไรบ้าง บริหารจัดการ อย่างไร สะสมอย่างไร ดาเนินงานที่ ไหน สะสมที่ไหนและเหตุใดจึงจะเหมาะสม พันธกิจควรมีการทบทวน และรับรองอย่างเป็ นทางการ และสามารถปรับปรุงแก้ไขได้ในภายหลัง 4) ความรับ ผิ ด ชอบต่ อ สัง คม (Public Responsibility) พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ค วรมี ก ารจัด ท าเอกสารโดย บางส่วนอาจมาจากกฎข้อบังคับหรือเอกสารอื่นๆเพื่อแสดงว่าพิพิธภัณฑ์ดาเนินไปอย่างถูกกฎหมาย และ ดารงสถานภาพทางการเงินที่ดี และควรยืนยันด้วยว่าพิพิธภัณฑ์ไม่ได้เกิดขขึน้ เพื่อแสวงหาผลกาไรให้แก่ เจ้าของพิพิธภัณฑ์ (ยกเว้นพิพิธภัณฑ์เอกชน ) แต่เป็ นไปเพื่อการบริการแก่สงั คม 5) นโยบาย (Policies) พันธกิจเป็ นเอกสารพืน้ ฐานของทุกพิพิธภัณฑ์ในฐานะเป็ นการประกาศ วัตถุประสงค์ แต่ก็มีความสาคัญมากขึน้ อีกหากพิจารณาการให้คาจากัดความของทัง้ 2 ส่วน คือ นโยบาย การดาเนินงานและนโยบายระยะยาวหรือแผนการพัฒนา นโยบายได้ทาให้เกิดกรอบหรือโครงสร้างการ ทางาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรซึ่งก็คือภารกิจนั่นเอง นโยบายขององค์กรจานวนมากอาจถูกวาง ไว้อย่างหลวมๆ เช่น รัฐบาลหรือมหาวิทยาลัยถูกวางนโยบายโดยรัฐ ป(ในกรณีของพิพิธภัณฑ์รฐั หรือของ มหาวิทยาลัย) 6) การบริหารจัดการทางการเงิน (Financial Management) พิพิธภัณฑ์ส่วนใหญ่ เกี่ ยวข้องกับ การเงินของรัฐและมีกฎหมายการบัญชีคอยควบคุมให้อยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม และมีอานาจของรัฐเป็ นผู้ ตัดสินใจการปฏิบัติงานด้านการเงินให้เป็ นไปตามกฎหมาย ผูม้ ีอานาจอาจจะมีวิสัยทัศน์ทางการเงินที่
แตกต่างกัน มีพิพิธภัณฑ์จานวนไม่มากนักที่สามารถดาเนินงานควบคุมทิศทางทางการเงินได้ดว้ นตนเอง หากไม่ได้คานึงถึงความแตกต่างของจานวนเงินงบประมาณที่ ได้รับการจัดสรรทางการเงิน ในขณะที่ แนวทางถูก สร้ง หรื อ ถูก ก าหนดโดยผู้มี อ านาจรัฐ การด าเนิ น งานก็ ต ้อ งอาศัยผู้จัด การพิ พิธ ภัณ ฑ์และ เจ้าหน้าที่ผปู้ ฏิบตั ิงาน 7) จริยธรรมกับการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ (Museum Ethics and Management) มีประเด็นทาง จริยธรรมบางประการที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของพิพิธภัณฑ์ การจัดการและการบริหารเงินงบประมาณ รวมทัง้ ทรัพยากร เช่น การสะสม แน่นอนว่ามีกฎหมายมารองรับให้มีการรับผิดชอบดังกล่าวอย่างไรก็ตาม ประเด็นความรับผิดชอบทางจริยธรรมก็ไม่ได้ถูกจากัดว่าจะทาแค่ในประเทศใดประเทศหนึ่งเพื่อที่จะให้ พิพิธภัณฑ์แต่ละแห่งเป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นหน่วยงานที่มีจริยธรรรม ทุกๆพิพิธภัณฑ์ควรมีนโยบายการบริหาร จัดการทางการเงิน ซึ่งถูกกาหนดขึน้ โดยผูม้ ีอานาจรัฐ ในการนาเงินงบประมาณมาใช้ วัตถุทางธรรมชาติ วัตถุซ่งึ สามารถซือ้ -ขายได้ และกระบวนการควบคุมงบประมาณ ควรเก็บรักษาบันทึกการใช้จ่ายทรัพยากร งบประมาณและปรับ ปรุ ง งบประมาณทุก ครั้ง ด้ว ยความโปร่ง ใส สิ่ ง เหล่า นี เ้ ป็ น แนวทางที่ ดี ท่ี สุด ที่ จ ะ หลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดปั ญหาและข้อเคลือบแคลงสงสัย 8) การวางแผน (Planning) การวางแผนพิพิธภัณฑ์ท่ีมีประสิทธิภาพควรจะเป็ นกิ จกรรมแบบองค์ รวม ซึ่งรวมเอาภาพรวมของประวัติศาสตร์พิพิธภัณฑ์ ภารกิจ การสะสม เจ้าหน้าที่ สิ่งอานวยวามสะดวก งบประมาณ การสนับสนุน สังคม/ชุมชน ผูเ้ ยี่ยมชม สถานะทางสังคม ท้องถิ่นและอุปสรรคภายในและ สิ่งแวดล้อมต่างๆ รวมทัง้ ศักยภาพทางสังคมในการที่จะตัดสิ นใจเกี่ยวกับแนวทางของพิพิธภัณฑ์ในอนาคต กระบวนการวางแผนนีไ้ ด้ให้พิพิธภัณฑ์ประเมินค่า นิยามใหม่และดาเนินภารกิจให้สาเร็จ วางวิธีการจัด แสดงนิทรรศการและให้บริการผูเ้ ยี่ยมชม มีความเชื่อมโยงกันอย่างแนบแน่นระหว่างกระบวนการวางแผน กับการตลาด เพราะว่าการวางแผนจะต้องมาก่อนการตลาดและการวิเคราะห์การตลาดของพิพิธภัณฑ์เป็ น ส่วนหนึ่งของกระบวนการวางแผน 9)การสรุ ปความเห็น (Concluding Comments) งานพิพิธภัณฑ์เป็ นการทางานที่ดีรบั มอบหมาย จากสาธารณะ ผูกโยงอยู่กบั ความรับผิดชอบอันมากมาย ผูบ้ ริหารระดับสูงรวมถึงผูจ้ ดั การพิพิธภัณฑ์ตอ้ งมี ความรับผิดชอบในงานพิพิธภัณฑ์ท่ีดาเนินการอยู่ ความไม่ไว้วางใจอาจเกิดขึน้ ได้โดยมีสาเหตุมาจาก หน้า ที่ ก ารบริห ารจัด การที่ มี ข อบเขตกว้า งขวางและกิ จ กรรมทางพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ท่ี ห ลากหลายเทคโนโลยี การเมือง กิจกรรมทางสังคมมีความจาเป็ นในฐานะที่สามารถใช้เป็ นแนวทางการจัดการพิพิธภัณฑ์ตามที่มี การเรี ย กร้อ ง ผู้จัด การพิ พิ ธ ภัณ ฑ์จ ะต้อ งเป็ น ตัวแทนสาธารณะ สนัน สนุน ให้เ กิ ด การบริก าร ควร เป็ น
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านพิพิธภัณฑ์และสามารถรักษาทรัพยากรอันสาคัญได้โดยเฉพาะพิพิธภัณฑ์ท่ีเก็บรักษาวัตถุ จานวนมาก ผูด้ าเนินงานพิพิธภัณฑ์จาเป็ นต้องมีทกั ษะทางวิชาการและการจัดการในการสนั บสนุนภารกิจ ของพิพิธภัณฑ์ ในขณะที่ตอ้ งมีทกั ษะทางการสื่อสารที่เยี่ยมยอด รับผิดชอบหน้าที่ในการอธิบายเนือ้ หาหลัก เนือ้ หารองในเชิงวิเคราะห์ซง่ึ เป็ นที่เข้าใจยากสาหรับคนทั่วไป ให้เข้าใจได้ง่ายขึน้ การจัดการพิพิธภัณธ์เป็ นสิ่งท้าทาย ผลที่จะได้รบั นั้นคือเป็ นที่สนใจของสาธารณะชน ปกป้อง สาธารณะประโยชน์และสนับสนุนให้เกิดความมิตรและความเข้าใจ การจัดการที่ดีนัน้ เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาอย่างยั่งยืน การมีจริยธรรมอย่างมืออาชีพ เคารพให้เกีย รติ ซื่อสัตย์ จริงใจและอุทิศตน ผูอ้ านวยการ พิพิธภัณฑ์ ผูเ้ ชี่ยวชาญ รวมทัง้ เจ้าหน้าที่บริหารงานที่รบั ผิดชอบการบริหารจัดการ จะต้องดาเนินงานด้วย ความซื่อสัตย์และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมอย่างเคร่งครัดที่สดุ เช่นเดียวกับการมุ่งไปสูเ่ ป้าหมายสูงที่สดุ 2.1.3 แนวคิดเกี่ยวกับกำรตลำดของพิพธิ ภัณฑ์ 2.1.3.1 คาจากัดความของคาว่า การตลาด ในหนังสือ Core concepts of Marketing ของ John Bernett (2008) กล่าวว่า โนเท็ด ฮา วาร์ด อาจารย์แห่ง Business Theodore Levitt กล่าวว่า จุดมุ่งหมายของธุรกิจคือ การหาลูกค้าและรักษา ฐานของลูกค้า นอกจากนี ้ หนทางเดียวที่จะสามารถบรรลุเป้าหมายนัน้ คือ การสร้างความได้เปรียบในการ แข่งขัน กล่าวคือ จะต้องโน้มน้าวใจลูกกค้า (หรือผูท้ ่ีอาจเป็ นลูกค้า) ว่าอะไรที่คณ ุ จะมอบให้แก่เขา ให้เขา ได้มาพบสิ่งที่เขาจาเป็ นต้องใช้ หรือต้องการในขณะนัน้ ด้วยความหวังว่าคุณจะสามารถมีความได้เปรียบ อย่างต่อเนื่องหากเป็ นดังนัน้ ท้ายที่สดุ แล้ว ลูกค้าจะไม่พิจารณาเพื่อหาทางเลือกอื่น และยอมจ่ายเงินเพื่อ ซือ้ สินค้าของคุณด้วยความเคยชินและไม่เปลี่ยนใจ ลักษณะเช่นนีเ้ กิดขึน้ ในผูค้ นที่ขบั รถ fords แปรงฟั น ด้วย chest เท่านัน้ ซือ้ คอมพิวเตอร์ dell เท่านัน้ หรือซ่อมท่อประปาด้วย แซมสัน ปั๊ มบลิง้ สายด่วนได้ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกวัน เท่านัน้ การสร้างภาวะผูกพันอย่างไม่ลืมหูลืมตา ปราศจากการพิจารณาทางเลือกอื่นไปสู๋ การเจาะจงการซือ้ สินค้าแบรนด์นนั้ ๆให้เกิดลูกค้า เป็ นความฝั นของธุรกิจทุกประเภทมันอาจจะไม่เกิดขึน้ หากไม่มีการใช้วิธีทางการตลาดที่มีประสิทธิภาพ ในความเป็ นจริง บทบาทเฉพาะของการตลาดก็ คือ ให้ ความช่วยเหลือในการพิจารณา สร้างความพึงพอใจและการรักษาลูกค้า (John Bernett, 2008 : 3 ) ในหนั ง สื อ Official American Marketing Association (1988) นิ ย ามค าว่ า การตลาด ว่ า การตลาดหมายถึงกระบวนการวางแผนและดาเนินความคิด ในการกาหนดราคา ส่งเสริมการขาย การ กระจายความคิด กระจายสินค้าและบริการ ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยน ซึ่งสามารถแลกเปลี่ยน ซึ่งทาให้เกิด
ความพึงพอใจแก่ลกู ค้ารายบุคคลและองค์กร (John Bernett, 2008 : 4) ซึ่งสามารถขยายความเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดความเข้าใจในคาจากัดความดังกล่าวให้ชดั เจนยิ่งดีขนึ ้ ดังนี ้ 1) แนวทางสาหรับสถานประกอบการ คือ พันธกิจ ซึ่งได้เปรียบได้กั บเป้าหมายขององค์กร สะท้อน ปรัชญาทางธุรกิจที่แท้จริงของสถานประกอบการ 2) ทุกสถานการประกอบการ ประกอบด้วยส่วนงานในสาขาต่างๆ เช่น การบัญชี การผลิต การเงิน การประมวลผลข้อมูล การตลาด ซึ่งมีความจาเป็ นในการทาให้เกิดการดาเนินกิจการและประสบ ความส าเร็จ ส่ว นงานสาขาต่ า งๆเหล่า นี จ้ ะต้อ งได้รับ การจัด การเพื่ อ ให้มี ก ารด าเนิ น งานที่ มี ประสิทธิภาพ 3) ทุกๆส่วนงาน มีแนวทางการดาเนินงานเดียวกัน คือ ปรัชญา (มาจากพันธกิจหรือเป้าหมายของ บริษัท) ซึง่ จะทาให้มีการดาเนินงานที่สอดคล้องในแนวทางเดียวกันที่สดุ 4) การตลาดแตกต่างจากสาขาอื่นๆ ในเบือ้ งต้นเกี่ ยวข้องกับการแลกเปลี่ยน ซึ่งอาศัยตลาดเป็ น สถานที่แลกเปลี่ยน 5) การตลาดจะส าเร็จ ได้ต่ อ เมื่ อ ปรัช ญา ภาระหน้า ที่ และลัก ษณะการด าเนิ น งานเป็ น ไป อย่าง สอดคล้องกันและมีความสมบูรณ์ 2.1.3.2 การตลาด กับ พิพิธภัณฑ์ Paal Mork (2004 : 161-175) อธิ บายการใช้หลักการตลาดในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ใน หนังสือ Running a Museum : A Practical Handbook ว่า ไม่ก่ีทศวรรษที่ผ่านมานี ้ พิพิธภัณฑ์ได้ให้ความ สนใจการดึงดูดความสนใจผูเ้ ยี่ยมชมมากขึน้ และการตลาดก็ได้กลายเป็ นเครื่องมือ ในการบริหารจัดการ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ใ นพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ห ลายแห่ ง เป็ น จ านวนมากขึ น้ เรื่ อ ยๆในหลายประเทศ เหตุผ ลส าคัญ คื อ การ สนับ สนุน ด้า นการเงิ น จากรัฐ บาลลดน้อ ยลง ในขณะที่ มี ก ารแข่ ง ขัน กัน ระหว่า งพิ พิ ธ ภัณ ฑ์เ ข้ม ข้น ขึ น้ โดยเฉพาะช่วงเวลาพักผ่อนท่องเที่ยว รวมทัง้ สังคมในปั จจุบนั กาลังเผชิญกับกระแสของข้อมูลข่าวสารก็ยิ่ง ทาให้เกิดความท้าทายมากขึน้ ไปอีก พิพิธภัณฑ์ซง่ึ มุ่งเน้นไปที่จานวนผูเ้ ยี่ยมชม ทาให้เกิดการทางานที่ม่งุ เน้นการสร้างผูเ้ ข้าชมหน้าใหม่ การสื่อสารกับผูช้ มไม่ใช่การสื่อสารทางเดียว พิพิธภัณฑ์ท่ีจะประสบความสาเร็จอย่างแท้จริงจะต้องไม่ สื่อสารเพียงทาตามหน้าที่ท่ีมีต่อผูเ้ ยี่ยมชม แต่จะต้องคอยรับฟั งผลตอนรับจากผูช้ มและใช้ผลตอบรับนัน้ เป็ นข้อมูลในการปรับปรุงโดยให้ผเู้ ยี่ยมชมเข้ามามีสว่ นร่วมในการปรับปรุงด้วย
2.1.3.3 การพัฒนาพิพิธภัณฑ์ในปั จจุบนั ที่สมั พันธ์กบั ทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิทางการตลาดโดยการ พัฒนาการตลาด ลูกค้าได้กลายเป็ นจุดที่ตอ้ งให้ความสนใจแทนการมุ่งความสนใจไปที่การผลิตเพื่อการ ขายอย่างแต่ก่อน ผูผ้ ลิตจะพิจารณาสิ่งที่จาเป็ นและเป็ นที่ตอ้ งการของลูกค้า และผลิตสินค้าเพื่อความพึง พอใจของลูกค้า การผลิตอยู่บนฐานของความจาเป็ นของตลาด การพัฒนาการตลาดไม่ได้เป็ นเพียงแค่ กระบวนการส่งเสริมการผลิตสินค้าเพื่อลูกค้าเท่านัน้ แต่รวมไปถึงการสื่อสาร การค้นคว้าวิจยั เพื่ อหาความ จาเป็ นต้องการของลูกค้าด้วย การพัฒนาลักษณะเฉพาะดังกล่าวนีเ้ ป็ นการตลาดแบบสมัยใหม่ท่ีสดุ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ห ลายแห่ ง ที่ ยัง เน้น การปรับ ปรุ ง ในด้า นการผลิ ต เช่ น การเลื อ กจัด นิ ท รรศการจะมี ภัณฑารักษ์ ตัดสินใจแต่เพียงผูเ้ ดียว ซึง่ ก็จะเกี่ยวกับความสนใจส่วนตัวและหัวข้อที่กาลังศึกษาวิจยั อยู่ การ บริการสิ่งอานวยความสะดวกแก่ผชู้ มถูกละเลย เช่น หัวหน้าภัณฑารักษ์อาจจะไม่เคยลงพืน้ ที่และแทบไม่ เคยพบปะกับผูเ้ ยี่ยมชมเลย และการจัดโปรแกรมนิทรรศการต่างๆมักจะถูกวางแผนในระยะยาว ซึ่งใช้ ปั จจัยในเท่านัน้ ในการพิจารณาในการวางแผน เมื่อมาดูท่ีผลลั พธ์ จากการบริหารจัดการดังกล่าวก็จะเห็น ว่าจานวนผูเ้ ข้าเยี่ยมชมลดลง แม้ว่าจะจ้างผูจ้ ดั การฝ่ ายการตลาดมาโปรโมทนิทรรศการเก่า ตามหลักการ ขายแต่ก็ยงั ประสบปั ญหา เพราะบ่อยครัง้ พบว่าปั ญหาที่แท้จริงนัน้ คือ นิทรรศการขาดความน่าสนใจดังนัน้ ความพยายามด้านการขายก็ไม่สามารถแก้ไขปั ญหาได้ 2.1.3.4 การผสมผสานทางการตลาด การตลาดพัฒนาปรับปรุงโดยขึน้ อยู่กบั ตัวแปรในกระบวนการ เริ่มตัง้ แต่การผลิตการออกแบบไปสู่ การขาย ตัวแปรเหล่านีเ้ รียกว่า การผสมผสานทางการตลาด แนวทางทั่วไปที่จะจาแนกการตลาดแบบนี ้ ออกจากการตลาดทั่วไปได้แก่ การตลาดแบบ 4P ได้แก่ 1 สินค้า 2 ราคา 3 การส่งเสริมการขาย 4 สถานที่ 1) สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ Product ผลิตภัณฑ์ คือ วัตถุหรือบริการที่ลกู ค้าต้องการหรือจาเป็ น เป็ นส่วนที่สาคัญของการผสมผสานทาง การตลาด ถ้าผลผลิตไม่เป็ นที่ตอ้ งการหรือไม่จาเป็ นก็จะขายไม่ออก จากมุมของผูเ้ ยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ท่วั ไป สิ น ค้า หรื อ ผลิ ต ภัณ ฑ์ท่ี ว่ า นี ้คื อ แกลอรี่ ห ลัก นิ ท รรศการพิ เ ศษและส่ ว นอื่ น ๆของพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ที่ เ ปิ ด ให้ สาธารณชนเข้าชม แต่สาหรับผูเ้ ยี่ยมชมอื่นๆ มันอาจหมายถึงการอานวยความสะดวกด้านการค้นคว้า พืน้ ที่ท่ีให้บริการพบปะเพื่อนฝูง เช่น พิพิธภัณฑ์ท่ีเป็ นร้านกาแฟและร้านอาหารด้วยพืน้ ที่ทั้งหมดนีต้ อ้ ง คานึงถึงความพึงพอใจของผูเ้ ยี่ยมเข้าชม เพราะว่าถ้าพิพิธภัณฑ์ไม่เป็ นที่ดึงดูดใจ ก็จะไม่เป็ นที่นิยมแม้ว่า จะเสนอให้บริการฟรีและโฆษณาว่ามีโชคก็ตามปั ญหาความผิดพลาดที่เหมือนๆกันในพิพิธภัณฑ์หลายแห่ง
ทั่วโลก คือการจัดนิทรรศการนัน้ อยู่บนพืน้ ฐานของการผลิต ไม่ได้อยู่บนพืน้ ฐานของความพึงพอใจ ความ ต้องการหรือความสนใจของผูช้ มในกรณีนีแ้ ม้ว่าจะใช้กิจกรรมทางการตลาดก็ไม่ได้ช่วยแต่อย่างใด หากมี การสารวจและสัมภาษณ์กลุม่ เป้าหมายที่คาดว่าจะกลายเป็ นผูเ้ ยี่ยมชมก่อนการวางแผนจัดนิทรรศการและ พัฒนาพิพิธภัณฑ์ ผลลัพธ์ท่เี กิดขึน้ นัน้ ก็จะสามารถเชื่อมโยงไปสูผ่ ชู้ มได้เป็ นอย่างดี 2) ราคา (Price) ในการผลิตทางอุตสาหกรรม ราคาสินค้าเป็ นเครื่องมือสาคัญที่จะชนะการแข่งขันทางธุรกิจและทา กาไร ราคาเป็ นเครื่องมือทาให้เกิดกลุ่มเป้าหมาย และไม่ควรจะเก็บค่าเข้าชมทุกคนถ้าพิพิ ธภัณฑ์ตอ้ งการ จะหารายได้ในอุตสาหกรรมทางท่องเที่ยว ก็สามารถเลือกวิธีท่ฉี ลาดคือการเสนอขายให้แก่ตวั แทนจาหน่าย หรื อ บริษั ท ทัว ร์เ พื่ อ สร้า งมูล ค่ า สปอนเซอร์แ ละผู้บ ริจ าคจะมี ค วามพึง พอใจมากหากได้รับ ตั๋ว เข้า ชม พิพิธภัณฑ์ปีในฐานะนายจ้างหรือผูต้ ิดต่อรายสาคัญ หรืออาจจะเป็ นไปได้ท่จี ะร่วมมือกับพิพิธภัณฑ์อ่นื ๆใน การจัดทาตั๋วชมพิพิธภัณฑ์หลายๆแห่งในคราวเดียวกัน ในยุโรปกลยุทธ์ในการให้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ฟรีเป็ น การสร้างผลลัพธ์ท่ดี ีท่ีเป็ นที่นิยมมาก ความคิดนีส้ ง่ เสริมให้มีกลุม่ ที่โดยปกติแล้วไม่เข้าชมพิพิธภัณฑ์หรือไม่ สามารถจ่ายค่าเข้าชมได้มีโอกาสเข้าชม 3) การส่งเสริมการขาย (promotion) ความจาเป็ นในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายเป็ นสิ่งที่สามารถปรับเปลี่ยนได้อย่างหลากหลาย พิพิธภัณฑ์ท่ีแสดงสมบัติท่ีมีชิน้ เดียวในโลกสามารถทาให้ผูเ้ ข้าชมได้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่ตอ้ งมีกิจกรรม ส่งเสริมแต่อย่างใด ในขณะที่พิพิธภัณฑ์อ่ืนๆที่มีของสะสมที่มีความน่าสนใจน้อยกว่าต้องพยายามเพื่อให้มี ผูเ้ ข้าชมต่อเนื่อง 4) สถานที่ (Place) สาหรับอุตสาหกรรมที่มีการพัฒนาการผลิต การจัดสถานที่และการกระจายสินค้าเป็ นสิ่งจาเป็ น การโฆษณาสินค้าที่ขาดตลาดอาจทาให้ลกู ค้าเสียความรู ส้ กึ ได้ พิพิธภั ณฑ์ควรปรับปรุ งสถานที่สถานที่ใน พิพิธภัณฑ์ใน เชิงการตลาดอยู่ในลักษณะของการขนส่งผูเ้ ยี่ยมชมเข้ามาชมพิพิธภัณฑ์พิพิธภัณฑ์ตงั้ อยู่ใน บริเวณที่ห่างไปชุมชนการเดินทางไม่สะดวกหรือเป็ นสถานที่ตัง้ อยู่ในบริเวณที่ไม่ปลอดภัย ก็น่าจะเป็ น แนวคิดที่ดีท่ีจะจัดการเรื่องการขนส่งให้แก่ผเู้ ยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ เช่น Getty Los Angeles และ The Zuider Zee Museum มีการเดินทางฟรีโดยรถรางหรือโดยเรือการบริการรถบัสพิพิธภัณฑ์ ซึ่งจอดให้ลงที่หน้า พิพิธภัณฑ์ ถ้าพิพิธภัณฑ์รบั คณะทัวร์หรือคณะศึกษาดูงานก็จาเป็ นต้องมีท่ีจอดรถ
2.1.3.5 กลยุทธ์การวางแผนการตลาด การตลาดแบบผสมผสานกลายเป็ นส่วนหนึ่งของปรัชญาพิพิธภัณฑ์และเป้าหมายในระยะยาวใน การวางแผนกลยุทธ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การวางแผนกลยุทธ์แตกต่างจากการจัดการโดยทั่วไป แต่เป็ น กิจกรรมทั้ง หมดสาหรับพิ พิ ธ ภัณฑ์ก ารวางแผนกลยุท ธ์ต ้องมี การประเมิน ผลอย่างต่ อเนื่ องและมี ก าร ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสถานการณ์แวดล้อม พิพิธภัณฑ์ท่ีมีการปรับปรุงด้านจานวนผูเ้ ข้าชม จะมุ่ง ไปที่ ก ารวางแผนกลยุท ธ์ท่ีมี เ ป้า หมายที่อ้างอิ ง ไปถึง สาธารณชน และแผนจะต้อ งมี การปรับ ปรุ ง ด้าน การตลาดด้วย พิพิธภัณฑ์สามารถพัฒนาโดยแยกการวางแผนการตลาด กับการวางแผนกิจกรรมของ พิพิธภัณฑ์ออกจากกัน 1) ภารกิจและวิสยั ทัศน์ Mission and Vision
ภารกิจ เป็ นเป้าหมายของการบริหารจัดการ ส่วนเป้าหมายหลักของผลิตภัณฑ์ คือ สะสม อนุรกั ษ์ ศึกษา เผยแพร่ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความสาคัญเท่าเทียมกันโดยทั่วไปภารกิจที่ถูกกาหนดในแต่ละวันของ พิพิธภัณฑ์ไม่ได้ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาต่อไป ถ้าพิพิธภัณฑ์ตอ้ งการจะมีความชานาญพิเศษในสาขาใด สาขาหนึ่งที่แน่นอนหรือเคลื่อนไหวตามความต้องการของตลาดก็ควรจะมีภารกิจในการปฏิรูปหรือปรับปรุง พิพิธภัณฑ์ ในกระบวนการปฏิรูปพิพิธภัณฑ์ การบริหารจัดการจะทาให้มองเห็นได้ชดั เจนยิ่งขึน้ ว่าอะไรคือ วัตถุประสงค์และอนาคตอันเป็ นเป้าหมายของพิพิธภัณฑ์ วิสัย ทัศน์ สะท้อนการให้ความสาคัญกับสิ่ง ใดสิ่ง หนึ่ง เป็ น อัน ดับแรกๆของพิพิธภัณฑ์ในการ อธิบายอุดมการณ์ซ่ึงจะเป็ นวิสยั ทัศน์ควรแสดงให้เห็นสิ่งที่พิพิธภัณฑ์ตอ้ งการจะเป็ นมากที่สุ ด เช่น เป็ น พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่แห่งชาติ หรือเป็ นสถานที่ท่ีเหมาะที่สดุ ที่จะมาเรียนรูป้ ระสบการณ์ทางโบราณคดี แห่งชาติ เป็ นต้น 2) การวิเคราะห์สถานการณ์ (situlation analysis)
พิพิธภัณฑ์จะประสบความสาเร็จได้ขึน้ อยู่กบั ปั จจัยภายนอกและภายใน ในกระบวนการวางแผน กลยุทธ์ท่ีจาเป็ นมากคือการที่จะต้องรู ข้ อ้ จากัดและความเป็ นไปได้ในการจัดการและในบริบทโลก ปั จจัย เหล่านีส้ ามารถแบ่งออกตาม swot ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค ซึ่ง เกิดจากตัวพิพิธภัณฑ์เองและสิ่งแวดล้อมภายนอก
2.1.3.6 การส่งเสริมการขาย (promotion) การส่งเสริมการขายหรือการโปรโมทเป็ นการเผยแพร่ขอ้ มูลเกี่ยวกับสิ่งที่พิพิธภัณฑ์มีให้แก่ผูช้ ม โดยควรตระหนักอยู่เสมอว่ามันคือกระบวนการสื่อสาร 2 ทางคือผูส้ ่งสารและผูร้ บั สาร ขณะที่พิพิธภัณฑ์ เป็ นผูส้ ง่ สารผ่านช่องทางที่ถกู เลือกผูร้ บั สารต้องรับสารได้อย่างสะดวกและเกิดการกระทาตอบกลับ
การสื่อสารโดยทั่วไปประกอบด้วยการโฆษณาการสร้างความสัมพันธ์กับสาธารณะการขายตรง และการขายในช่องทางต่างๆเช่นอินเทอร์เน็ต 2.1.3.7 การสร้างแบรนด์ พิพิธภัณฑ์(buiding a museam brand) แบรนด์เป็ นชื่อของผลิตภัณฑ์แต่แบรนด์เป็ นมากกว่า ป้ายชื่อหรือแพ็คเกจที่พิเศษ แบรนด์ทาให้ท่วั โลกจดจาหรือนึกถึงสินค้า แบรนด์เสริมคุณค่าให้แก่สินค้า เช่น mercedes-benz ไม่ได้เป็ นแค่รถแต่มนั มี ความหรู หราและคุณมุ่งหวังที่จะได้ขบั มันฝ่ าพายุหิมะหรือฝ่ าทะเลทรายและไปถึงที่หมายอย่างปลอดภัย ผูค้ นจานวนมากเข้ามามีส่วนร่วมในการเสริมสร้างความหมายให้กั บแบรนด์ท่ียิ่งใหญ่ ความหมายนีจ้ ะ เชื่อมโยงกับไปสู่ผคู้ นที่ใช้แบรนด์นีด้ ว้ ย ถ้าคุณขับ mercedes-benz ผูค้ นจะสันนิษฐานว่าคุณรวย และมี ตาแหน่งที่ดีเยี่ยม การสร้างคุณค่าของแบรนด์เป็ นอะไรที่ทาให้เกิดการสร้างความหมายให้ แก่แบรนด์ แบ รนด์มีคณ ุ ค่ามากมายแก่ผผู้ ลิตและมีความหมายต่อการจัดลาดับผลิตภัณฑ์แต่ผผู้ ลิตจะไม่สามารถควบคุม คุณค่าของแบรนด์ได้ทงั้ หมด เช่น coco-cola ถูกกาหนดว่าเป็ นสัญลักษณ์ของความเป็ นอเมริกนั อะไรก็ ตามที่สหรัฐอเมริกาเป็ นก็ดเู หมือนจะมีอิทธิพลต่อภาพลักษณ์ของบริษัท ไม่ว่าเขาจะชอบหรือไม่ก็ตาม การ
สร้างแบรนด์เ ป็ นกลยุทธ์ท่ีจาเป็ นต่อธุรกิจในองค์กรต่างๆทั่วโลกมาอย่างยาวนาน ในปั จจุบนั กลายเป็ น ประเด็นสาคัญในภาควัฒนธรรมและการจัด องค์การไม่แสวงหากาไรด้วย
2.2 งำนวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง ผูว้ ิจยั ได้สารวจงานวิจยั ในด้านการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์มีทงั้ ที่เป็ นการศึกษาเปรียบเทียบการ บริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ของรัฐและเอกชนและการบริหารจัดการหอศิลป์ ของรัฐ งานวิจยั หัวข้อการเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการพิพิธภัณฑ์ ทางวัฒนธรรมระหว่างพิพิธภัณฑ์วงั สวนผักกาดและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครของศิริลกั ษณ์ กัลยา (2553) เป็ นการศึกษาทรัพยากร การท่องเที่ยวและสิ่งอานวยความสะดวกของพิพิธภัณฑ์วงั สวนผักกาด และ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเพื่อ นามาเปรียบเทียบรู ปแบบการจัดการพิพิธภัณฑ์รวมทัง้ ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อการจัดการพิพิธภัณฑ์ ของนักท่องเที่ยวและมัคคุเทศก์ เพื่อจัดทาแนวทางในการจัดการผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมงานวิจยั นีใ้ ช้การ วิเคราะห์ค่าสถิติพืน้ ฐานในการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณ ผสมผสานการวิเคราะห์เนือ้ หาในข้อมูลเชิง คุณภาพผลการศึก ษาผู้วิ จัย พบว่า ทั้ง สองพิพิธ ภัณฑ์มีน โยบายสนับสนุน บุคลากรให้ไ ด้รับการพัฒ นา ศักยภาพในการทางาน มีการกาหนดภาระงานและหน้าที่รบั ผิดชอบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรมีการจัดพืน้ ที่ เป็ นส่วนต่างๆเพื่อให้ประโยชน์ในการใช้สอยแต่พิพิธภัณฑ์วั งสวนผักกาดไม่มีพืน้ ที่ส่วนบริหารจัดการการ วิจยั และห้องสมุดมีระบบแจ้งเตือนอัคคีภยั แต่ไม่มีแผนอพยพผูค้ นมีระบบการทาบัญชีและบันทึกหลักฐาน ของวัตถุดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผูว้ ิจยั พบว่าปั จจัยด้านเจ้าหน้าที่และภัณฑารักษ์เป็ นปั จจัยสาคัญใน การบริการและถ่ายทอดความรู ท้ างรัฐบาลและเอกชน แนวทางที่ผูว้ ิจัยได้จากการศึกษาพิพิธภัณฑ์ทงั้ 2 แห่งได้แก่ 1) การจัดแสดงและการจัดกิจกรรมเพื่อดึงดูดความสนใจและเพิ่มพูนประสบการณ์ความรู ้ และ ปรับเปลี่ยนทัศนคติให้แก่ผชู้ มซึ่งทาให้ตอ้ งการกลับมาชมพิพิธภัณฑ์อีก 2) การบริการและสิ่งอานวยความ สะดวก เป็ นสิ่งชักจูงให้มีผสู้ นใจเข้ามาเยี่ยมชม 3) การประสานงานเพื่อความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก และภายในเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่นกั ท่องเที่ยวและผูเ้ ข้าชม และประสานกับสถาบันการศึกษาเพื่อให้เป็ น แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู ้ งานวิจัยนีเ้ น้นด้านการสารวจทรัพยากรและความคิดเห็นของผูป้ ฏิบตั ิงานและนักท่องเที่ยวเป็ น หลัก ทาให้เมื่อสรุ ปแนวทางในการบริหารจัดการไม่ได้ครอบคลุมถึงกระบวนการของการบริหารจัดการ ทัง้ หมดแต่ได้เสนอแนะแนวทางจานวน 3 ด้านได้แก่ การจัดแสดงและการจัดกิจกรรม การบริหารและสิ่ง
อานวยความสะดวก และการประสานงานเพื่อความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกและภายใน ผูว้ ิจยั คิดว่า หากมีการใช้แนวทางในการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ รวมถึง การวิเคราะห์ SWOT ด้วย ก็น่าจะทาให้เห็น แนวทางในการบริหารจัดการที่ชดั เจนขึน้ งานวิจยั หัวข้อการบริหารจัดการหอศิลป์ ของรัฐในประเทศไทย ของ กมลวรรณ จันทวร (2555) เป็ น การศึกษาการบริหารจัดการหอศิลป์ ของรัฐ มุ่งเน้นไปที่การศึกษารูปแบบการจัดตัง้ องค์การ รูปแบบบริหาร การให้บริการและกิจกรรมลักษณะทางกายภาพและปั ญหาหรืออุปสรรคในการดาเนินงานและวิเคราะห์ สถานการณ์ปัจจุบนั และหาแนวทางหรือข้อเสนอสาหรับหอศิลป์ ของรัฐในอนาคตผูว้ ิจยั ได้ สารวจหอศิลป์ ของรัฐที่เป็ นกรณีศึกษาจานวน 8 แห่งไ ด้แก่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ ศิลป์ จามจุรี หอศิลป์ วิทยานิทศั น์ หอศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกหอศิลป์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พีเอ จี อาร์ตแกลลอรี่ และหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุ งเทพมหานคร โดยการสัมภาษณ์ผปู้ ฏิบตั ิงานผูบ้ ริหารหอ ศิลป ผูเ้ ชี่ยววชาญ และศิลปิ น และสารวจความคิดเห็นและความพึงพอใจของผูร้ บั บริการหอศิลป์ ของรัฐ เพื่อนามาประกอบการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผลจากการสารวจพบว่า มีรูปแบบการจัดตัง้ จานวน 3 รูปแบบได้แก่ 1 หอศิลป์ ที่จดั ตัง้ โดยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่ นผลวิจยั ในแง่ความคิดเห็นของผูเ้ ข้าชมที่มีต่อหอศิลป์ คือ สิ่งที่หอศิลป์ ของรัฐควรให้ความสาคัญคือ การสร้างความเข้าใจและเผยแพร่องค์ความรูด้ า้ นศิลปะและใส่ใจ การบริ ห ารเพื่ อ สร้า งสัม พัน ธ์ท่ี ม่ ัน คงระหว่ า งหอศิ ล ป์ และสัง คมจะเป็ น ส่ ว นช่ ว ยให้ห อศิ ล ป์ ประสบ ความสาเร็จและมีคณ ุ ค่าต่อสังคม ส่วนข้อเสนอแนะในการบริหารจัดการหอศิลป์ ในอนาคต แบ่งเป็ น 3 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการองค์การซึ่งต้องมีความคล่องตัวในทุกด้านและควรตัง้ ในรู ปแบบองค์การมหาชน ลักษณะทางกายภาพ ควรเข้าถึงง่ายสวยงามและสะดวกสบาย การให้บริการและกิจกรรมควรมีการสร้าง การมีสว่ นร่วมระหว่างผูเ้ ข้าชมหอศิลป์ เป็ นต้น งานวิจยั การบริหารจัดการหอศิลป์ ของรัฐในประเทศไทยนี ้ น่าสนใจตรงที่ทาให้เห็นถึงรูปแบบของ หอศิลป์ ของรัฐที่มีอยู่ในปั จจุบนั การสารวจความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริการหอศิลป์ ทาให้เห็นสิ่งที่หอศิลป์ ควร พัฒนา สาหรับการสรุ ปแนวทางการบริหารจั ดการ มีความครอบคลุมทุกส่วนของพิพิธภัณฑ์ รวมทัง้ ให้ ความสนใจภารกิจของพิพิธภัณฑ์ในการให้บริการความรูด้ า้ นศิลปะ จึงเป็ นงานวิจยั ที่ให้แนวทางแก่ผวู้ ิจยั ในการวิจยั นีไ้ ด้เป็ นอย่างดี