THE PEOPLE BOOK

Page 1


ปุ ถุ ชฺ ช น คนที� ยั ง มี กิ เ ลสหนา สามั ญ ชน ผู้ ท�ี มิ ไ ด้ เ ป็ นพระอริ ย บุ ค คล. (ป. ปุ ถุ ชฺ ช น) ความหมายจาก พจนานุ ก รมแปล ไทย-ไทย ราชบั ณ ฑิ ต ยสถานสถานที� บ รรเทาความเครี ย ด และ ปรึ ก ษาจิ ต แพทย์ สํ า หรั บ บุ ค คลทั� วไป



»Ø ¶Ø ª ¹Ê¶Ò¹ÅØ Á ¾Ô ¹Õ สถานที� บรรเทาความเครี ย ด และ ปรึ ก ษาจิ ต แพทย์ สํ า หรั บ บุ ค คลทั� วไป ปุ ถุ ชฺ ชน คนที� ยั ง มี กิ เลสหนา สามั ญ ชน ผู้ ท�ี มิ ไ ด้ เ ป็ นพระอริ ย บุ ค คล. (ป. ปุ ถุ ชฺ ชน) ความหมายจาก พจนานุ ก รมแปล ไทย-ไทย ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน



ในปั จจุบนั คนไทยเสี�ยงเป็ นภาวะซึมเศร้า และฆ่าตัวตายมีแนวโน้มสูงขึน� 80 70 60 50 40 30 20 10 0 คนไทยฆ่ า ตั ว ตายเฉลี� ย วั น ��-�� ราย

ชายมากกว่ า หญิ ง � เท่ า

นพ.เกี ยรติ ภู มิ วงศ์ ร จิ ต อธิ บดี ก รมสุ ข ภาพจิ ต ได้ ก ล่ า วถึ ง สถานการณ์ ล่ า สุ ด ในประเทศไทย โดยมี ข ้ อ มู ล ตั ว เลขสถิ ติ พบว่ า ภาพรวมอั ต ราการฆ่ า ตั ว ตายของทั� ง ประเทศ อยู่ ท�ี �.�� ต่ อ ประชากรหนึ� ง แสนคน ในปี ���� มี ค นไทยฆ่ า ตั ว ตายสํ า เร็ จ จํ า นวน �,��� คน เป็ นชาย �,��� คน หรื อ ร้ อ ยละ �� และเป็ นหญิ ง ��� คน ร้ อ ยละ �� ซึ� ง เป็ นผู้ ช ายมากกว่ า ผู้ ห ญิ งประมาณ � เท่ า มี ผู้ ท�ี ทํ า ร้ า ยตนเองจนเสี ย ชี วิ ต เฉลี� ย อยู่ ท�ี ��� รายต่ อ เดื อ น

สถิ ติ ต ามช่ ว งวั ย ที� ฆ่ า ตั ว ตายสํ า เร็ จ สู ง สุ ด วั ย แรงงาน (อายุ ��-�� ปี ) ร้ อ ยละ ��.� วั ย สู ง อายุ (อายุ �� ปี ขึ � น ไป) ร้ อ ยละ ��.� วั ย เด็ ก (อายุ ��-�� ปี ) ร้ อ ยละ �.�

จึงเกิดการความคิดว่า หากมี สถานที�บรรเทาความเครียด และ ปรึกษาจิตแพทย์ สําหรับ บุคคลทั�วไป โดยการใช้ หลักปรัชญาในทางพุทธศาสนาในการออกแบบ โดยเน้นไปที� วัยทํางานเป็ นหลักเนื�องจากมีสถิตทิ �ีสงู ที�สดุ



OBJECTIVE การศึกษาความเครียด และวิธีการแก้ ปั ญหาความเครียดของคนวัยทํางาน จะเป็ นประโยชน์สาํ หรับ จัดการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตที�ดีของคนทํางาน และออก แบบพืน� ที�รบั รอง บุคคลธรรมดา และบุคคล ที�มีปัญหาความ เครียด ได้มีสถานที�ปลดปล่อย พูดคุย ให้ทาํ แนะนํา และจัดการ กับสิ�งที�ก่อให้เกิดความเครียดได้อย่างเหมาะสม ถูกวิธี และทํา ให้คนไทยเสี�ยงเป็ นภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายลดน้อยลง รวมถึงสามารถปรับตัวอยูใ่ นสังคมได้อย่าง ปกติสขุ เราหวังว่าการออกแบบนีจ� ะช่วยให้บคุ คลที�เข้ามายังพืน� ที�เวลา ที�มีความเครียดหรือความกดดันสามารถที�จะมีท�ี ที�สงบจิตใจได้ โดยที� ไม่ไป ระบายความเครียดหรือความกดดันจากการทํางาน และความผิดหวังไปในทางอบายมุขหรือ การแสดงออกทาง ความรุนแรง หรือ ทําสิ�งที�ไม่ สร้างสรรค์



ขอบเขตการสร้างสรรค์ผลงาน ออกแบบปรับปรุ งอาคารลุมพินีสถาน ศึกษาบริบทโดยรอบของอาคาร

ขัน� ตอนการดําเนินงาน ศึกษาความเครียดคืออะไร ? ศึกษาความเครียดส่งผลต่อชีวิต ศึกษาชนิดของความเครียด ศึกษาพืน� ที�ท�ีเหมาะสม สําหรับการบําบัด ศึกษาศิลปะบําบัด ศึกษาปรากฏการณ์ศาสตร์ในสถาปั ตยกรรม – พืน� ที�ท�ีส่ง ผลต่อความรู ส้ กึ ศึกษาพุทธศาสนาหลักธรรมเรื�อง ปฏิจจสมุปบาท

ผลที�คาดว่าจะได้รบั

ลดปั ญหาความเครียดและการฆ่าตัวตายของคนวัยทํางาน รวมถึงสามารถปรับตัวอยูใ่ น สังคมได้อย่าง ปกติสขุ ออกแบบพืน� ที�รบั รอง บุคคลธรรมดา และบุคคล ที� มีปัญหา ความเครียด ได้มีสถานที�ปลดปล่อย พูดคุย ให้ ทําแนะนํา และจัดการกับสิ�งที�ก่อให้เกิดความเครียดได้ อย่างเหมาะสม ถูกวิธี



ความเครียดคืออะไร ?

ชนิดของความเครียด

ความเครียดเป็ นภาวะของอารมณ์หรือความรู ส้ กึ ที�เกิดขึน� เมื�อบุคคลต้องเผชิญกับปั ญหาต่าง ๆ และทําให้รูส้ กึ ถูกกด ดัน ไม่สบายใจ วุ่นวายใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบ คัน� เมื�อบุคคลรับรู ห้ รือประเมินว่าปั ญาหาเหล่านัน� เป็ นสิ�ง ที�คุกคามจิตใจ หรืออาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จะส่งผลให้สภาวะสมดุลของร่างกายและจิตใจเสียไป

Acute Stress คือความเครียดที�เกิดขึน� ทัน และร่างกาย ก็ตอบสนองต่อความเครียดนัน� ทันทีเหมือนกัน โดยมีการ หลั�งฮอร์โมนความเครีด เมื�อความเครียดหายไป ร่างกาย ก็จะกลับสู่ปกติเหมือนเดิม ฮอร์โมนก็จะกลับสู่ปกติ ตัวอย่างความเครียด เช่น เสียง อากาศเย็นหรือร้อนมาก เกิ น ไป ชุม ชนที� ค น แออัด ตกใจ หิ ว และกลัว อัน ตราย ล่วงหน้า

ความเครียดส่งผลต่อชีวิต แบ่งได้ � ด้าน คือ ด้านที�หนึ�ง ผลต่อสุขภาพทางกาย ได้แก่ อาการไม่สบายทางกาย ต่าง ๆ เช่น ปวดศีรษะ ปวดเมื� อยตามส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย ความผิดปกติของหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรค กระเพาะ อาการท้องผูกเสียบ่อย ๆ นอนไม่หลับ หอบหืด เสื�อมสมรรถภาพทางเพศ ฯลฯ ด้านที�สอง ผลต่อสุขภาพ จิตนําไปสู่ความวิตกกังวล ซึมเศร้า กลัว อย่างไร้เหตุผล อารมณ์ไม่ม� นั คงเปลี�ยนแปลงง่าย หรือ โรคประสาทบางอย่าง นอกจากนีค� วามเครียดส่งผลต่อร่าง กายและจิตใจย่อมส่งผลถึงประสิทธิ ภาพในการทํางาน สัมพันธภาพต่อครอบครับและบุคคลแวดล้อม และเมื�อประ สิทธิภาพในการทํางานตกตํ�าสัมพันธภาพเสื�อมถอยลง จิตใจย่อมได้รบั ความตึงเครียดมากขึน� ซํา� ซ้อน นับว่าความ เครียดเป็ นภัยต่อชีวิตอย่างยิ�ง

Chronic Stress คือความเครียดเรือ� รังเป็ นความเครียด ที� เ กิ ด ขึน� ทุก วัน และร่า งกายไม่ส ามารถตอบสนองหรือ แสดงออกต่อความเครียดนั�น ซึ�งเมื� อนานวันเข้าความ เครียดนัน� ก็จะสะสมเป็ นความเครียดเรือ� รัง ตัวอย่าง ความเครียดเรือ� รัง เช่น ความเครียดในที�ทาํ งาน ความ เครียดที�เกิดจากความสัมพันธ์ท�ีไม่ดีระหว่างบุคคล ผลเสียต่อสุภาพ ความเครียดเป็ นสิ�งปกติท�ีสามารถพบได้ทกุ วันหากความ เครียดนัน� เกิดจากความความกลัวหรืออันตราย ฮอร์โมน ที�หลั�งออกมาจะเตรียมให้รา่ งกายพร้ามที�จะต่อสูอ้ าการ ที�ปรากฎก็เป็ นเพียงทางกาย ความดับโลหิตสูง ใจสั�น แต่สาํ หรับชีวิตประจําวันจะมีสกั กี�คนที�จะทราบว่าเราได้ รับความเครียดโดยที� เราไม่รูต้ ัวหรือไม่มีทางหลีกเลี�ยง การที�มีความเครียดสะสมเรือ� รังทําให้เกิดอาการทางกาย และทางอารมณ์


คนไทยเสี�ยงเป็ นภาวะซึมเศร้าและฆ่าตัวตายมีแนวโน้มสูงขึน� สถิ ติ ส ายด่ ว นสุ ข ภาพจิ ต ����

39%

4%

3% 35%

5%

เป็ นผู้ ป่ วยเก่ า ที� มี ปั ญหาก้ า วร้ า ว ขาดยา หรื อ มี ผ ลข้ า งเคี ย งจากการใช้ ย า

เรื� อ งความเครี ย ดหรื อ วิ ต กกั ง วล

9% 39% 9%

ปั ญหาความรั ก

5%

ปั ญหาครอบครั ว

4%

ปั ญหาซึ ม เศร้ า

3%

ปั ญหาเรื� อ งเพศ

35%

ผลการให้ บ ริ ก ารในปี ���� มี ทั� ง หมด ��,��� สาย ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารเป็ นหญิ ง มาก กว่ า ชาย � เท่ า ตั ว


สุ ข ภาพจิ ต ของผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร สวนสาธารณะใน กรุ งเทพมหานคร

12%

48%

ด้ า นความย้� า คิ ด

45%

ด้ า นความซึ ม เศร้ า

36%

ด้ า นความกลั ว โดย ปราศจากเหตุ ผ ล

27%

ด้ า นอาการทางกาย

18%

ด้ า นความโกรธ ก้ า วร้ า ว

12%

ด้ า นความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อ�ื น

10% 48%

18%

27%

45%

36%

จิ ร าภา พั ง ศ์ ศุ ภ สมิ ท ธิ� (����, บทคั ด ย่ อ ) การให้ บ ริ ก ารสวนสาธารณะเขตลาดกระบั ง ภั ท ราวดี - มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา http://www2.gspa.buu.ac.th/library/is/mpa47/47933332.pdf

10%

ด้ า นความวิ ต กกั ง วล

60 50 40 30

ใ น ส่ ว น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ช็ ต ข้ อ ค ว า ม ท า ง เ ฟ ซ บุ๊ ก � � � �

20 10 0 ร้อ ยละ �� ความเครี ย ด หรื อ วิ ต กกั ง วล

ร้อ ยละ �� ซึ ม เศร้า



สโมสรพลเมืองอาวุโสแห่ง เมืองกรุงเทพมหานคร อาคารลุมพินีสถาน อดีตเป็ นสโมสรพลเมืองอาวุโสแห่ง เมืองกรุ งเทพมหานคร อยู่ภายใต้การดูแลของสํานัก วัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที�ยว ตัง� อยู่ ณ สวนลุมพินี เป็ นที�พบปะสังสรรค์ พักผ่อนออกกําลังกายและฝึ กอาชีพ ของผูส้ งู อายุและในอาคารยังมีเวทีลีลาศหมุนได้ใช้เป็ นที� จัดกิจกรรมลีลาศและฝึ กสอนในวันเสาร์ – อาทิตย์ ซึง� ใน ปั จจุบนั อาคารเสื�อมโทรมและได้ปิดตัวลง

SITE SURROUNDING ทางด้านการบําบัดความเครียดและปรึกษาจิตแพทย์โครงการก็จะ ไขอความร่วมมือจากคณะแพทย์ ทางโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ แผนกจิตเวช มาประจําในตัวโครงการ

ENTRANCE

1

3

� ทางเข้า ประตู � ติดถนนราชดําริ � ทางเข้า ถนนพระรามที�� � ทางเข้า ประตู � ติดถนนถนนวิทยุ

2

LANDSCAPE การปรับภูมิทศั น์จากเดิมที�มีสระนํา� ส่งวงกลม จากขยายสระนํา� ให้ติดกับตัวอาคารเพื�อให้เกิด บรรยากาศที� ต่อเนื�องกับโครงการ


EXISTING PLAN


การวิเคราะห์อาคาร สถาปั ตยกรรม สภาพแวดล้อม อาคารลุมพินีสถาน อดีตเป็ นสโมสรพลเมืองอาวุโสแห่งเมืองกรุ งเทพมหานคร อยู่ภายใต้การดูแลของสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที�ยว ตัง� อยู่ ณ สวน ลุมพินี เป็ นที�พบปะสังสรรค์ พักผ่อนออกกําลังกายและฝึ กอาชีพของผูส้ งู อายุ และในอาคารยังมีเวทีลีลาศหมุนได้ใช้เป็ นที�จดั กิจกรรมลีลาศและฝึ กสอนใน วันเสาร์ – อาทิตย์ ซึ�งในปั จจุบนั อาคารเสื�อมโทรมและได้ปิดตัวลง -การรวบรวมผลงานวิจยั ที�เกี�ยวข้องกับการให้บริการสวนสาธารณะได้ดงั นี � จิราภา พังศ์ศภุ สมิทธิ� (����, บทคัดย่อ) ได้ทาํ การศึกษาเรื�อง สุขภาพจิตของ ผูใ้ ช้บริการ สวนสาธารณะในกรุ งเทพมหานคร ผลพบว่า ในกลุ่มตัวอย่างที�มา ใช้บริการสวนสาธารณะ �� ในกรุ งเทพมหานครนัน� มีจา้ นวนผูท้ �ีอยู่ในระดับ สุขภาพจิตเบี�ยงเบนจากเกณฑ์ปกติ เรียง ตามลํา� ดับดังนี � ใน ด้านความยํา� คิดร้อยละ ��.�� ด้านความซึมเศร้าร้อยละ ��.�� ด้านความกลัว โดยปราศจากเหตุผล ร้อยละ ��.�� ด้านอาการทางกายร้อยละ ��.�� ด้านความโกรธ ก้าวร้าว ท้าลายร้อยละ ��.�� ด้านความสัมพันธ์กบั ผูอ้ �ืนร้อยละ ��.�� และด้านความวิตกกังวลร้อยละ ��.�� จากการเปรียบเทียบสัดส่วนของผูม้ ีระดับสุขภาพจิตอยู่ในเกณฑ์ปกติและเบี�ยง เบนจาก เกณฑ์ปกติ ระหว่างกลุ่มตัวอย่างที�มาใช้บริการความถี�ต�าํ (น้อยกว่า � วันต่อสัปดาห์) กับกลุม่ ตัวอย่างที�มาใช้บริการความถี�สงู (เท่ากับหรือมากกว่า � วันต่อสัปดาห์) พบว่า มีความแตกต่าง กับอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติท�ีระดับ .�� เฉพาะในกลุม่ อาการสุขภาพจิตด้านการยํา� คิดและ ด้านความซึมเศร้า ส่วนอาการสุขภาพจิตด้านอื�น ๆ ไม่พบความแตกต่างทางสถิต

สุ ข ภาพจิ ต ของผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร สวนสาธารณะใน กรุ งเทพมหานคร 12%

10% 48%

18%

27%

45%

36%

48%

ด้านความย้า� คิด

45%

ด้านความซึมเศร้า

36%

ด้านความกลัว โดย ปราศจากเหตุผล

27%

ด้านอาการทางกาย

18%

ด้านความโกรธ ก้าวร้าว

12%

ด้านความสัมพันธ์ กับผูอ้ �ืน

10%

ด้านความวิตกกังวล

จิ ร าภา พั ง ศ์ ศุ ภ สมิ ท ธิ� (����, บทคั ด ย่ อ ) การให้ บ ริ ก ารสวนสาธารณะเขตลาดกระบั ง ภั ท ราวดี - มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา http://www2.gspa.buu.ac.th/library/is/mpa47/47933332.pdf



CASE STUDY HILL OF THE BUDDHA เป้าหมายของโครงการนีค� ือการสร้างศาลาสวดที�จะเพิ�มความน่าสนใจ ของหินที�พระพุทธรู ปแกะสลัก �� ปี ท�ีผ่านมา” อธิ บาย Ando ในการ เขียนเรียงความสําหรับนิตยสาร DOMUSความคิดของเราคือการคลุม พระพุทธรู ปด้านล่างศีรษะด้วยเนินเขาของพืชลาเวนเดอร์ เราเรียกความ คิดนีว� ่า ' พระพุทธเจ้าที�ออกหัว' ฝั งอยู่ใต้เนินเขาเป็ นอุโมงค์ยาว �� เมตร และหอกลมที�โอบล้อมรู ปปั� น” ‘ความตัง� ใจในการออกแบบคือการสร้างลําดับเชิงพืน� ที�ท�ีชัดเจนเริ�มต้นด้วย การเข้าหาอุโมงค์ในระยะยาวเพื�อเพิ�มความคาดหวังของรู ปปั� นซึ�งมองไม่ เห็นจากภายนอก เมื�อถึงโถงผูเ้ ยี�ยมชมจะมองไปที�พระพุทธเจ้าซึ�งมีหวั ล้อม รอบด้วยรัศมีของท้องฟ้าที�ปลายอุโมงค์ "


CASE STUDY TESHIMA ART MUSEUM พิพิธภัณฑ์ศิลปะ Teshima ตัง� อยู่บนเนินเขาบนเกาะ Teshima ที�สามารถมองเห็น ความคิดสร้างสรรค์ของศิลปิ น Rei Naito และสถาปนิก Ryue Nishizawa ได้ พิพิธภัณฑ์ ซึ�งมีลกั ษณะคล้ายหยดนํา� ในขณะที�ลงจอดตัง� อยู่ในมุมของระเบียงข้าวที�ได้รบั การบูรณะ โดยความร่วมมือกับชาวท้องถิ�น โครงสร้างอาคารประกอบด้วยเปลือกคอนกรีตปราศจาก เสาทําให้มีพืน� ที�ประมาณ �� ถึง �� เมตรและมีความสูงสูงสุด �.� เมตร ช่องวงรีสองวง ในเปลือกช่วยให้ลมเสียงและแสงของโลกภายนอกเข้าสู่พืน� ที�เกษตรอินทรียแ์ ห่งนีซ� �ึงธรรม ชาติและสถาปั ตยกรรมเชื�อมต่อกันอย่างแนบเนียน ในพืน� ที�ภายในนํา� จะไหลจากพืน� อย่าง ต่อเนื�องในหนึ�งวัน การตัง� ค่านีซ� �ึงในธรรมชาติศิลปะและสถาปั ตยกรรมมาร่วมกันด้วยความ สามัคคีท�ีไร้ขีด จํากัด



PAUSE PAVILLION การออกแบบโดยสถาปนิก Ashari สําหรับ การติดตัง� สถาปั ตยกรรมใน อิหร่านเป็ นการตอบสนองโดยตรงต่อความจําเป็ นในการเชื�อมต่อกับ ประสาทสัมผัสใหม่ โครงการศาลาที�สร้างขึน� จากก้อนที�มีปริมาณอิฐที�ถูก ระงับแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของการใช้วสั ดุนีโ� ดยการสร้างบรรยากาศ ที�แตกต่าง นี�เป็ นการสรุ ปการยุยงและเน้นความรู ส้ ึกทางหูและการสัมผัส ของเราซึ�งนําไปสู่การปฏิบตั ิตามแนวทางที�เป็ นไปได้เพียงอย่างเดียวของ เรานั�นคือพืน� ผิวอิฐที�จะก้าวไปข้างหน้าในขณะที�ดวงตาของเราค้นหา ตลอดเวลา กระจกและแสงสะท้อนจะค่อยๆแจ้งให้เราทราบเกี�ยวกับเหตุ การณ์ท�ีกาํ ลังจะเกิดขึน� ลําแสงเล็ก ๆ ถูกเปิ ดเผยและทันใดนัน� แหล่ง กําเนิดแสงอันน่าทึ�งจากด้านบนทําให้พืน� ที�สว่าง เราพบตัวเองภายใต้ ท้องฟ้าที�ลอ้ มรอบด้วยกระจกและกําหนดเส้นขอบระหว่างเรากับสิ�งแวดล้อม


https://www.archdaily.com/877555/this-architectural-installation-reconnects-with-the-senses-through-suspended-bricks


Mount Herzl Memorial Hall “ Wall of Names” ซึ�งประกอบด้วยอิฐหินจารึกล้อมรอบช่องทางคลื�น ที�ปลายด้านบนของหลังคาแผ่นหินจะเว้นระยะห่างระหว่างกันเพื�อให้ อากาศไหลผ่านและการระบายอากาศตามธรรมชาติ ตัวอาคารได้รบั การออกแบบโดยไม่มีระบบกลไก ภูมิประเทศภายนอกนัน� หุม้ ด้วยหินเยรู ซาเล็มสีอ่อนซึ�งช่วยปกป้องอาคาร จากรังสี นักออกแบบใช้วสั ดุในท้องถิ�นไม่เพียง แต่สาํ หรับข้อ จํากัด ด้าน งบประมาณและเหตุผลด้านความยั�งยืน แต่ยังรวมถึงห้องโถงที�ระลึกกับ เมืองโดยรอบ พวกเขา“ ตัง� ใจ [โครงสร้าง] เพื�อไม่ให้น่าสนใจจากภาย นอกและเพื�อสะท้อนพืน� ผิวของภูเขาและสุสานที�อยู่ติดกัน”


https://bustler.net/news/6314/a-walk-through-the-mount-herzl-memorial-hall-in-jerusalem?utm_content=buffer572e6&utm_medium=social&utm_source=pinterest.com&utm_campaign=buffer




PHENOMENOLOGY IN ARCHITECTURE “ปรากฏการณ์ศาสตร์ในสถาปั ตยกรรม”

ในหนังสือ The Hidden Dimension (1990, 2533) Edward T. Hall กล่าวถึง Proxemics หรือทฤษฎีท�ีว่าด้วยการใช้ พืน� ที�ของผูค้ นในวัฒน ธรรมต่างๆ ซึ�งนอกจากจะเป็ นการเปิ ดประเด็นเรื�องความประณี ตละเอียด อ่อนของแต่ละวัฒนธรรม ที�มีรูปแบบและความหมายในการใช้พืน� ที�ต่าง กันแล้ว ฮอล์ยังชีใ� ห้เห็นว่า “ระยะห่าง” เป็ นกุญแจสําคัญที�ซ่อนอยู่ใน ความ สัมพันธ์ระหว่างคนและการใช้พืน� ที�ซ�ึงจะนํามาถึงการรับรู ท้ �ีแตก ต่างกันเมื�อระยะห่างต่างกัน สําหรับ ฮอล์ ระยะห่างระหว่าง บุคคลทํา ให้เราสามารถ “รับรู ”้ หรือถ้ากล่าวตามทิพย์สุดาคือ “ความรู ส้ ึกรับรู ถ้ ึงพืน� ที�” และการรับรู น้ ีส� ามารถแบ่งตาม “อุปกรณ์ของ การรับรู ”้ นั�นคือ อุปกรณ์รบั รู ข้ อ้ มูลไปได้ไกล (Distance Receptors) เช่น ตา หู จมูก “จับ” รับรู โ้ ลกไป ได้ไกล ครอบคลุมปริมณฑลบริเวณที� กว้างขวาง กว้างใหญ่ไพศาล และอุปกรณ์รบั รู ข้ อ้ มูลในระยะใกล้ หรือ ประชิดตัว (Intermediate Receptors) ได้แก่ เนือ� หนัง หรือ กล้ามเนือ� และผิวหนัง เมื�อ “ระยะห่าง” กลายเป็ น “หน่วย” ของการวัดผล ถึงความ รู ส้ ึกรับรู ้ ดร.ทิพย์สุดา ปทุมานนท์ “ระยะห่าง” ช่องทางในการแสดงออกของปรากฏการณ์และการรับรู ้ ในจิตวิทยาสถาปั ตยกรรมมนุษยปฎิสนั ถาร ทิพย์สุดาอธิ บายถึงสถา ปั ตยกรรมที�เกิดขึน� นัน� เป็ นการเกิดขึน� เพื�อการดํารงอยู่และเพื�อการสื�อ สาร ซึ�ง การสื�อสารเกิดขึน� เพื�อสร้างการรับรู ้ และการรับรู จ้ ะเกิดขึน� ได้ ก็ต่อเมื�ออยู่ภายใต้การ “พูด”ของสภาพแวดล้อมหรือสถาปั ตยกรรมนัน� หรือพูดอีกอย่างหนึ�งคือ ทิพย์สุดาเชื�อว่าสถาปั ตยกรรมสามารถสื�อสาร กับมนุษย์ผูใ้ ช้สอยหรือผูท้ �ีอาศัยในสถาปั ตยกรรมนัน� ได้ ทิพย์สุดาอธิ บายถึงการสื�อสารและการรับรู ร้ ะหว่างสถาปั ตยกรรม และคนเอาไว้ผ่านคําสําคัญคําหนึ�งคือ “ระยะห่าง” (Proxemics) ตาม แนวคิดของ (Edward T. Hall) หรือพูดอีกอย่างหนึ�งคือ ทิพย์สุดาเชื�อว่า “ระยะห่าง” ทัง� สามารถนําไปใช้เพื�อกระตุน้ ให้เกิดการรับรู แ้ ละเพื�อสร้าง ให้เกิดการสื�อสารกับผูค้ นได้ และสามารถนํา ไปใช้วดั และวิเคราะห์ ความรู ส้ ึก ของผูค้ นในพืน� ที�ว่าเกิดการรับ รู แ้ บบได้รวมถึง การตีความ แบบใด กับพืน� ที�พืน� ที�นัน� ได้



“ระยะห่าง” “ร่างกายและการครอบครองพืน� ที�”, และ “กลไกของการมองเห็น” “ระยะห่าง” มิใช่เป็ นเพียงแค่ “หน่วยวิจยั ” เดียวที�จะสามารถนํามาใช้ในการ เข้าถึง บันทึก และ ถ่ายทอดปรากฏการณ์การรับรูใ้ นพืน� ที�สถาปั ตยกรรมได้ ในขณะที�ฮอล์เชื�อว่า “ระยะห่าง” จะเป็ นช่องทางทําให้เกิดความรูส้ กึ รับรูถ้ งึ พืน� ที� ยังมีงานเขียนอีกสองเล่มที�พยายามขยายความแนวคิดของฮอล์ในเรือ� ง เกี�ยวกับ “คุณลักษณะของพืน� ที�และ การแสดงตัวของมัน” ทัง� สองงานที�วา่ นี � ประกอบด้วย งานเขียนของ ทอม พอร์ตเตอร์ (Tom Porter) เรือ� ง The Archit ect’s Eye (1997, 2540) และงานเขียนของ ไบรอัน ลอว์สนั (Bryan Lawson) ในเรือ� ง The Language of Space (2001, 2544)25 สําหรับพอร์ตเตอร์แล้ว เขาเชื�อว่า “เราสามารถพิจารณาสถาปั ตยกรรมในฐานะที�เป็ นการแสดงออก อย่างสร้างสรรค์ ถึงการอยูร่ ว่ มกันของพืน� ที�และรูปทรงตามขนาดและสัดส่วน ของมนุษย์” ดังนัน� การที�จะทําการพิจารณาและเข้าใจได้จงึ จําเป็ นที�ตอ้ งมีการ พัฒนา “ทักษะหรือการตระหนักรูถ้ งึ รูปทรงของพืน� ที�ซง�ึ ถือได้วา่ เป็ นองค์ประ กอบที�สาํ คัญมากๆ ในงาน สถาปั ตยกรรม คล้ายกับแนวคิดของฮฮล์ พอร์ต เตอร์เชื�อว่า “ทุกๆ ประสบการณ์ท�ีเรามีเกิดจากการทํางานของทุกประสาท สัมผัส ผ่านทางสายตา หู จมูก และการสัมผัส ซึง� จะทําให้เกิดการกระตุน้ ไป ยังสมองต่อการทํางานในทุกระดับชัน� ” นอกจากผ่านประสาทสัมผัสทัง� หลาย แล้ว ยังมีปัจจัยอื�นๆ ที�ทาํ ให้เราเกิด “การตระหนักรู ้ หรือทักษะที�จะเข้าใจรูป ทรงของ พืน� ที�” เช่น ผ่านแสง ทัง� แสงอาทิตย์ แสงจันทร์ หรือสภาวะน่าสบาย ไม่นา่ สบาย เช่น การมองที�ทาํ ให้เรารูส้ กึ ถึง ความไม่นา่ สบาย ก็จะทําให้เรารู ้ สึกอึดอัด นัน� หมายความว่า “การตระหนักรูถ้ งึ รูปทรงของพืน� ที� ที�มีลกั ษณะ แคบเข้ามา” ก็จะมีระดับที�เข้มข้นขึน� พอร์ตเตอร์เชื�อว่า “มีความจําเป็ นในกระ บวนการออกแบบที�จะต้องคํานึงถึงประสาทสัมผัสทัง� หลาย ตัวอาคารไม่ใช่ เพียงแค่ตอ้ งการความสวยงามสมส่วนหรือการประกอบสร้างของรูปทรงอย่าง บริสทุ ธิ�แต่เพียงอย่างเดียว พอร์ตเตอร์ยงั ชีป� ระเด็นที�นา่ สนใจต่อไปอีกถึง “ระดับของการตระหนักรูร้ ูปทรงของพืน� ที�” เช่น ในกรณีท�ีเราเป็ น คนแปลกหน้า หรือเป็ นคนแปลกที� สิ�งที�เราทําคือ การเข้าไป สํารวจ เปิ ดโอกาสให้ “สถาปั ตย กรรม” เปิ ดเผยตัวเอง มองเห็น แง่มมุ ของตัวสถาปั ตยกรรมในมุมใหม่ๆ ตื�นเต้น นั�นคือมุมมองแบบ “นักท่องเที�ยว” แต่เมื�อเราเริม� ที�จะคุน้ เคย ชาชิน หรือ เริม� ที�จะอยูอ่ าศัยในที�ท�ีนนั� เป็ นเวลานาน ความตื�นเต้นเริม� เลือนหายไป สถาปั ตย กรรมกลายเป็ นเพียงแค่ฉากหลัง แทบจะ ไม่ได้สนใจ เราเริม� ที�จะเดินผ่านมัน โดยที�ไม่ได้หนั ไปสนใจมัน ไม่ได้ตระหนักถึง สถาปั ตยกรรมในความหมายนี � กลายเป็ นสิ�งที�เรียกว่า “สภาพแวดล้อม” ไป จะเห็นได้วา่ ระดับของการตระ หนักรู ้ นอกจากจะสัมพันธ์กบั ระบบการรับรู ้ (ช่องทาง ของการรับรู)้ และปั จ จัยที�เอือ� (หรือไม่เอือ� ) ให้เกิดการรับรูแ้ ล้วยังมีเรือ� งของความคิดเข้ามาเกี�ยว ข้อง�� พอร์ตเตอร์เสนอ ให้เห็นว่า ในกรณีท�ีสถาปนิกมีความจําเป็ นต้องออก แบบ สถาปั ตยกรรมที�เกิดขึน� สามารถแบ่งแยกองค์ประกอบอะไรที�จะนํา ไปสู่ การสร้างประสบการณ์ของ “การตระหนักรูร้ ูปทรงของพืน� ที�” ให้เกิดขึน� กับผูท้ �ี พบเห็น เข้าไปประสบ หรือผูใ้ ช้งานมัน เช่น


เส้นและจังหวะ (Line and Rhythm) สีและรูปทรง (Colour and Form) มิตขิ องสี (The Colour Dimensions) แง่มมุ ของจิตวิทยากับการใช้สี (Colour Psychology) แสง และสี (Light and Colour) พืน� ผิว (Texture) ขนาดและสัด ส่วน (Scale) ที�สาํ คัญคือการสร้างลูกเล่นให้กบั รูปทรงที�ทบึ ตัน การสร้างความรูส้ กึ ให้เกิดขึน� ผ่านผิวสัมผัส หรือพืน� ที�ท�ี อยูร่ อบๆ มัน หรือที�เรียกว่าเป็ นองค์ประกอบเชิงพืน� ที� (the Spatial Elements)จากการวิเคราะห์งานเขียนของ พอร์ตเตอร์เทียบกับฮอล์ทาํ ให้เราพบว่า พอร์ตเตอร์ได้รบั อิทธิพลทางความคิดจาก ฮอล์ไปมาก คือ เชื�อว่าพืน� ที�ทาง สถาปั ตยกรรมและผูค้ นที�ใช้ และอาศัยในพืน� ที�นนั� สามารถ สื�อสารถึงกันได้ โดยอาศัยปั จจัย ทางการมองเห็น (Visual Space – Physical Elements) ปั จจัยทางการได้ยิน (Acoustic Design) ปั จจัยทางการ ได้กลิ�น (Olfactory Space) ปั จจัยทางอุณหภูมิและการรับรูผ้ า่ น ผิวหนัง (Thermal Space) ซึง� ปั จจัยเหล่านีจ� ะมี ความ หมายและสื�อสารกับคนที�ใช้งานในพืน� ที�ตา่ งกัน

“องค์ประกอบทาง พืน� ที�” เช่น รูปร่าง รูปทรง สี แสงเงา สัดส่วน และ พืน� ผิว เพื�อวัด “การตระหนักรูพ้ ืน� ที�” จุดยืน ของไบรอัน ลอว์สนั คล้ายกับจุดยืนของพอร์ตเตอร์ คือเชื�อ ว่า พืน� ที�ท�ีสามารถสร้างให้เกิดการรับรูห้ รือ กําหนดรหัสให้ กับพืน� ที�พืน� ที�นนั� สร้างได้ และสําหรับลอร์สนั “มันจําเป็ น ต้องสื�อสารได้ดว้ ย” จึงไม่นา่ แปลกใจว่า ไม่แค่เพียงแต่ “องค์ประกอบของพืน� ที�” ถูกหยิบยกมาพูดเช่นเดียวกันกับ พอร์ตเตอร์ แต่องค์ประกอบเหล่านีย� งั ถูกอธิบายในฐานะ “ภาษา ของพืน� ที�”�� ซึง� สอดคล้องกับสิ�งที�ทิพย์สดุ ากล่าว ถึงในเรือ� งการสื�อสารของพืน� ที�และสถาปั ตยกรรม ลอว์สนั กล่าวว่า “พืน� ที�เป็ นทัง� สิ�งที�นาํ เราเข้ามาด้วยกันและในขณะ เดียวกันก็เป็ นสิ�งที�ทาํ ให้เราแยกจากกัน” เขาเชื�อว่า พืน� ที� เป็ นองค์ประกอบพืน� ฐานและเป็ นรูปแบบสากล�� ของการ สื�อสาร สถาปั ตยกรรมที�ดีจะไม่ทาํ ให้เสียคุณภาพของ

พืน� ที�ไป โดยทั�วไปแล้วพืน� ที�จะมีความจําเป็ นในการเตรียม เราสําหรับการเปลี�ยนอารมณ์ สร้างความสัมพันธ์ แบ่งแยก กิจกรรมต่างๆ และนําเสนอหรือเชือ� เชิญให้เกิดพฤติกรรม ในนัน� ลอว์สนั กล่าวว่า โรเบิรต์ อาร์เดย์ เป็ นคนแรกที�เสนอ ดูเหมือนพอร์ตเตอร์จะพยายามขยาย “หน่วยวิจยั ” ของ ว่าพืน� ที�มีบทบาทที� สําคัญสามหน้าที� คือ กระตุน้ คุม้ ครอง ฮอล์ในเรือ� ง “ระยะห่าง” ออกไป โดยพอร์ตเตอร์อธิบาย เรือ� ง “ระยะห่าง” ผ่านเรือ� ง “ร่างกาย” และ “การครอบครอง และกําหนดความแตกต่าง แต่ยงั ช่วยอธิบายถึงเหตุผลสํา พืน� ที�” เพราะ พอร์ตเตอร์เชื�อว่าการครอบครองพืน� ที�จะนํา หรับพฤติกรรมที�เข้าไป กําหนดอาณาเขต ดังนัน� หนึง� ในบท บาทหน้าที�ของพืน� ที� คือ การสร้างหรือเอือ� ให้เกิดการแสดง ไปสูก่ ารตระหนักรูถ้ งึ รูปทรงของพืน� ที� ซึง� ถ้าเทียบกับงาน เขียนของฮอล์แล้ว มันคือประเด็นที�เกี�ยวข้องกับ องค์ประ ออกถึงอัตลักษณ์ของเรา หรือพูดได้วา่ เอือ� ให้เราสามารถ กอบต่างๆ ที�สง่ ผลให้เกิดการสร้างระยะห่างที�หลากหลาย แสดงออกถึงตัวตนและความแตกต่าง ดังนัน� พืน� ที�จงึ ถือได้ ว่าเป็ นส่วนขยาย หรือส่วนต่อ ของแบบร่างเชิงพฤติกรรม ในพืน� ที�น� นั เอง หรือถ้าจะ พูดอีกอย่างหนึง� คือ ในขณะที� ของเรา เช่นเดียวกับพอร์ตเตอร์ ลอว์สนั เสนอว่า พืน� ที� ฮอล์มงุ่ ความสนใจไปในแง่มมุ ของมิตทิ างสังคมและ วัฒนธรรม หรือทางนามธรรม ที�กลายเป็ น ปั จจัยของความ สามารถอธิบายและรับรูไ้ ด้ผา่ น “กลไก ของการรับรู”้ เช่น แตกต่างด้านระยะห่างมากกว่าประเด็นในเรือ� งของรูปร่างรูป ขนาด ระยะทาง และ สัดส่วน (Size, Distance, Scale) ทรงของสิ�งก่อสร้างที�หอ่ หุม้ คนเอาไว้ ในขณะที� พอร์ตเตอร์ การมองเห็นดูเหมือนจะครอบงํา “ภาษา ของพืน� ที�” ที�ทาํ ให้คนเราได้เรียนรูถ้ งึ ภาษาของพืน� ที�เพียงแบบเดียว และ กลับสนใจในแง่มมุ ทางสถาปั ตยกรรมและพืน� ที� หรือทาง เมื�อพูดถึงการมองเห็นแล้ว ลอว์สนั เจาะลึกลงไป ในกระ รูปธรรม ที�จะกลายเป็ นปั จจัยของการรับรูด้ า้ นพืน� ที� นั�นก็ บวนการรับรู ้ มันสามารถที�จะแยกแยะให้เห็นถึงความแตก คือระยะห่างระหว่างคนในพืน� ที�น� นั เอง เพราะเขาเชื�อว่า ต่างระหว่าง สิ�งที�เราเห็นและสิ�งที�เรารับรู ้ (Seeing and “พืน� ที�ท�ีสามารถสร้างให้เกิดการรับรูห้ รือกําหนดรหัสให้กบั พืน� ที� พืน� ที�นนั� สร้างได้” ดังนัน� ผูว้ ิจยั เชื�อว่า “หน่วยวิจยั ” ที� Perceiving) แน่นอนว่าเมื�อเวลาเราเห็น เราเห็นทัง� หมดของ พอร์ตเตอร์นาํ เสนอคือช่องทางเดียวกันกับฮอล์ นั�นคือการ ฉากที�ปรากฏ แต่เราอาจจะรับรูแ้ ต่เพียงบางส่วนของมัน รับรูท้ างพืน� ที� แต่แตกต่างจากฮอล์ตรง “เครือ� งมือ” เพราะ เท่านัน� และเราก็จะใช้เครือ� งมืออื�นเข้ามาจับและทําความ เข้าใจ เช่น เชื�อมโยงเข้ากับความทรงจําเพื�อเปิ ดโอกาสให้ พอร์ตเตอร์ใช้ “ร่างกาย” เพื�อวัดการครอบครอง และใช้ สายตา ในจิตใจมองเห็นเป็ น “ภาพร่าง” (the Scene in Our Mind Eye) บางทีเราอาจจะอธิบายได้วา่ สิ�งที�เรารับรู ้ จะกลาย เป็ นจุดเด่นที�อยูข่ า้ งหน้า (Foreground) และทิง� ให้สว่ นที�เราไม่ได้รบั รูไ้ ปอยูใ่ นฉากหลัง (Background)


อ วิ ช ช า ชรา มรณะ

สั ง ข า ร

วิ ญ ญ า ณ

ช า ติ

ภพ

ปฏิจจสมุปบาท

น า ม รู ป

สฬายตนะ

อุ ป า ท า น

ผั ส ส ะ

ตั ณ ห า เวทนา

เป็ นชื�อพระธรรมหัวข้อหนึ�งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่าง ว่า อิทปั ปั จจยตาเป็ นหลักธรรมที�อธิ บายถึงการเกิดขึน� พร้อมแห่งธรรมทัง� หลายเพราะอาศัยกัน เช่น ทุกข์เกิด ขึน� เพราะมีปัจจัย �� เรื�องเกิดขึน� สืบ ๆ เนื�องกัน ( บาลี – นิทาน. สํ. ๑๖/๘๕-๘๖/๑๕๙ )

ผั ส ส ะ

เวทนา

ซึง� เราจะนํา � ปั จจัยนํามาใช้ในการออกแบบคือ เพราะผัสสะเป็ นปั จจัย เวทนาจึงมี


หมด “อาหาร” ก็นิพพาน ภิกษุ ท. ! ถ้าไม่มีราคะ ไม่มีนนั ทิ ไม่มีตณ ั หา ในอาหารคือคําข้าว ก็ดี ใน อาหารคือผัสสะ ก็ดี ใน อาหารคือมโนสัญเจตนา ก็ดี ใน อาหารคือ วิญญาณ ก็ดี แล้วไซร้, วิญญาณก็เป็ นสิ�งที�ตงั� อยู่ไม่ได้ เจริญงอกงามอยู่ไม่ได้ ในสิ�งนัน� ๆ. วิญญาณตัง� อยู่ไม่ได้ เจริญงอกงามอยู่ไม่ได้ ในที�ใด, การก้าวลง แห่งนามรูป ย่อมไม่มี ในที�นนั� ; การก้าวลงแห่งนามรูปไม่มีในที�ใด,ความเจริญ แห่งสังขารทัง� หลาย ย่อมไม่มีในที�นนั� ; ความเจริญแห่งสังขารทัง� หลาย ไม่มีใน ที�ใด, การบังเกิดในภพใหม่ตอ่ ไป ย่อมไม่มีในที�นนั� ; การบังเกิดในภพใหม่ตอ่ ไป ไม่มีในที�ใด, ชาติชราและมรณะต่อไป ย่อมไม่มีในที�นนั� . ภิกษุ ท. ! เปรียบเหมือนเรือนยอด หรือศาลาเรือนยอด ที�ตงั� อยู่ ทางทิศเหนือหรือใต้ก็ตาม เป็ นเรือนมีหน้าต่างทางทิศตะวันออก. ครัน� ดวง อาทิตย์ขึน� มา แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์ส่งเข้าไปทางช่องหน้าต่างแล้ว จักตัง� อยูท่ �ีสว่ นไหนแห่งเรือนนั�นเล่า ? ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์ จักปรากฏที�ฝาเรือนข้างใน ด้านทิศตะวันตก พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ถ้าฝาเรือนทางทิศตะวันตกไม่มีเล่าแสงแห่งดวงอาทิตย์นนั� จักปรากฏ อยูท่ �ีไหน ? “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์นนั� จักปรากฏที�พืน� ดิน พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ถ้าพืน� ดินไม่มีเล่า แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์นนั� จักปรากฏที�ไหน ? “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์นนั� จักปรากฏในนํา� พระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ถ้านํา� ไม่มีเล่า แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์นนั� จักปรากฏที�ไหนอีก? “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์นนั� ย่อมเป็ นสิ�งที�ไม่ปรากฏ แล้วพระเจ้าข้า !” ภิกษุ ท. ! ฉันใดก็ฉนั นัน� แล : ถ้าไม่มีราคะ ไม่มีนนั ทิ ไม่มีตณ ั หาในอาหารคือคํา ข้าวก็ดี ในอาหารคือผัสสะก็ดี ในอาหารคือมโนสัญเจตนาก็ดี ในอาหารคือ วิญญาณก็ดี แล้วไซร้, วิญญาณก็เป็ นสิ�งที�ตงั� อยู่ไม่ได้เจริญงอกงามอยู่ไม่ได้ ในอาหารคือคําข้าว เป็ นต้นนัน� ๆ. วิญญาณตัง� อยู่ไม่ได้เจริญงอกงามอยู่ไม่ได้ ในที�ใด, การก้าวลงแห่งนามรู ป ย่อมไม่มีในที�นนั� ;การก้าวลงแห่งนามรู ปไม่มี ในที�ใด, ความเจริญแห่งสังขารทัง� หลายย่อมไม่มีใน ที�นนั� ; ความเจริญแห่งสัง ขารทัง� หลายไม่มีในที�ใด, การบังเกิดในภพใหม่ตอ่ ไป ย่อมไม่มีในที�นนั� ; การบัง เกิดในภพใหม่ต่อไป ไม่มีในที�ใด, ชาติชราและมรณะต่อไป ย่อมไม่มีในที�นนั� ; ชาติชรามรณะต่อไป ไม่มีในที�ใด,ภิกษุ ท.! เราเรียก “ที�” นัน� ว่า เป็ น “ที�ไม่โศก ไม่มีธลุ ี และ ไม่มีความคับแค้น” ดังนี.� - นิทาน. สํ. ๑๖/๑๒๔-๑๒๕/๒๔๘-๒๔๙.__

PROXEMICS

ระยะหาง

NATURAL LIGHT

แสงธรรมชาติ

SHADOW

เงา

SPACE ที่วาง

CONCEPT DESIGN EMPTINESS ความวาง


Air

Environment

Physical ทางกาย

Area

Privacy

Safety

Spiritual ทางจิตใจ Secret

Listening

COUNSELING ROOM

พืน� ที�ท�ีเหมาะสม สําหรับการบําบัด ความเป็ นส่วนตัว การมองเห็น การเก็บเสียงที�น� ัง การเลือกเก้าอี � ที�ทาํ ให้รูส้ ึกสบายใจ การเลือกเก้าอี � องศาการ นั�งไม่ห� นั หน้าชนกัน บรรยากาศ Mood and Tone สําหรับบําบัดความเครียด และ เอือ� อํานวยสําหรับการเล่าเรื�องที�ไม่อยากเล่าแสงสี ไฟ แสงธรรมชาติ วิวธรรมชาติ รู ปภาพตกแต่ง หรือต้นไม้ สีเขียว ทําให้รูส้ ึกสบายใจ


ART THERAPY ศิลปะบําบัด ไม่ใช่เพียงแค่การวาดรู ประบายสีเท่านัน� แต่ ยังรวมถึงการปั� น การตัดปะภาพ การเขียน การถ่ายภาพ การฟั งเสียงดนตรี การเย็บปั กถักร้อย และการสร้างสรรค์ งานออกแบบด้วยเครื�องมือดิจิทลั ฯลฯ เทคนิคเหล่านีจ� ะ ช่วยให้นักจิตวิทยาและนักศิลปะบําบัดสามารถ 'ถอดรหัส' อารมณ์และความรู ส้ ึกของผูว้ าดออกมาได้ เพื�อหาแนวทาง ในการรักษาต่อไป กระบวนการเหล่านีส� ามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาการ ของเด็กออทิสติก ผูป้ ่ วยซึมเศร้า ผูส้ ูงอายุ รวมทัง� กลุ่มวัย ทํางานที�มีอาการเครียดซึ�งหากไม่ผ่อนคลายความตึงเครียด อาจนําไปสู่โรควิตกกังวลและโรคซึมเศร้าได้ในที�สุด แต่ ทัง� นีห� ากคุณไม่ได้มีอาการใดๆ ก็สามารถใช้ศิลปะในการ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมการแสดงออกด้าน อารมณ์เชิงบวกเพื�อช่วยให้ส�ือสารกับผูอ้ �ืนดีย�ิงขึน� ได้เช่นกัน ข้อมูลจาก นพ.ทวีศกั ดิ� สิริรตั น์เรขา จิตแพทย์เด็กและวัยรุ ่นแห่งศูนย์วิชาการ Happy Home


พืน� ที�ท�ีเหมาะสม สําหรับการบําบัด Counseling Room � ความเป็ นส่วนตัว การมองเห็น การเก็บเสียง � ที�น� ัง การเลือกเก้าอี � ที�ทาํ ให้รูส้ ึกสบายใจ การเลือกเก้าอี � องศาการนั�งไม่ห� นั หน้าชนกัน � บรรยากาศ Mood and Tone สําหรับบําบัดความเครียด และ เอือ� อํานวยสําหรับการ เล่าเรื�องที�ไม่อยากเล่า �.� ทางกาย (อากาศ พืน� ที� เฟอร์นิเจอร์) �.� ทางใจ (สถานที�ท�ีแสดงถึงความปลดภัย มีคนรับฟั ง) �.� แสงสี ไฟ แสงธรรมชาติ วิวธรรมชาติ รู ปภาพตกแต่ง หรือต้นไม้ สีเขียว ทําให้รูส้ ึก สบายใจ สีสม้ - สีขาว เร้าอารมณ์ ให้รูส้ ึกกังวลมาก ขึน� หรือเครียดมากขึน� สีขาว แต่ก็ขึน� อยู่ผูป้ ่ วยบางกลุ่มที�มีประสาทการรับรู ท้ �ีไวมาก � เสียง สําหรับบําบัดความเครียด � การเข้ามาพบจิตแพทย์ �การเข้าพบจิตแพทย์ �.�พบว่าส่วนใหญ่ผูป้ ่ วยจะเข้ามารับคําปรึกษาจากจิตแพทย์ดว้ ยตัวเอง �.� ถึงจะมีผูป้ กครองนํามารับคําปรึกษาจากจิตแพทย์ ระดับความรุ นแรง � ความเครียดที�พบในชีวิตประจําวัน � ความเครียด เรือ� รัง � ภาวะซึมเศร้า �.� สามารถหาเองได้ดว้ ยวิธีต่างๆ ดูหนังฟั งเพลง ไปพักผ่อนต่างจังหวัด (สถานที�ยังมีส่วน ให้ดีขีน� ได้) �.� ยังสามารถหายเองได้อยู่ หากที�เพื�อนหรือครอบครัว ค่อยรับฟั ง (สถานที�ยังมีส่วนอยู่ แต่ก่อนเริ�มที�ไม่อยากไปไหน) �.� ต้องได้รบั คําปรึษาจากจิตแพทย์ (สถานที�ไม่มีผล เก็บตัว ไม่ตอ้ งการพบใคร) จิตแพทย์ มองว่า การที�มีสถานที�รองรับ ผูค้ นที�มีความเครียดตัง� แต่ระดับน้อยๆ จะช่วย ให้ไม่ลุกลามไปสู่ระดับที�สูงขึน� และจะช่วยไม่ให้เกิดเป็ นภาวะซึมเศร้าตามมาภายหลัง โดยการจัดกิจกรรมต่างๆ ในเชิงป้องกัน และการดูแลความเครียด หรือ ศิลปะบําบัด (Art Therapy) ผูท้ �ีเข้ามาใช้ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นผูป้ ่ วย ก็สามารถเข้ามาใช้ได้ ในเชิงป้อง กัน โดยการที�มี workshop การดูแลความเครียด การสังเกตอาการคนไกล้ชิต เพราะ หน้าที�ของนักจิตแพทย์ คือมีหน้าที�ทงั� การป้องกันและการบําบัด และ การเอือ� อํานวย ในหลายๆปั จจัย จะช่วยให้ผูป้ ่ วยดีขึน� ภาสุร จึงแย้มปิ� น ปุญจิรา ชลธารนที นักจิตวิทยาการปรึกษาประจําสํานักงานสวัสดิการ สุขภาพหน่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต



ในการออกแบบได้นาํ เรื�องของปรากฏการณ์ศาสตร์ในสถาปั ตยกรรม ระยะห่าง” “ร่างกายและการครอบครองพืน� ที� รือทฤษฎีท�ีว่าด้วยการใช้ พืน� ที�ของผูค้ นในวัฒน ธรรมต่างๆ ซึ�งนอกจากจะเป็ นการเปิ ดประเด็นเรื�องความประณี ตละเอียด อ่อนของแต่ละวัฒนธรรม ที�มีรูปแบบและความหมายในการใช้พืน� ที�ต่าง กันแล้ว ฮอล์ยังชีใ� ห้เห็นว่า “ระยะห่าง” เป็ นกุญแจสําคัญที�ซ่อนอยู่ใน ความ สัมพันธ์ระหว่างคนและการใช้พืน� ที�ซ�ึงจะนํามาถึงการรับรู ท้ �ีแตก ต่างกันเมื�อระยะห่างต่างกัน ซึ�ง การสื�อสารเกิดขึน� เพื�อสร้างการรับรู ้ และการรับรู จ้ ะเกิดขึน� ได้ ก็ต่อเมื�ออยู่ภายใต้การ “พูด”ของสภาพแวดล้อมหรือสถาปั ตยกรรมนัน� หรือพูดอีกอย่างหนึ�งคือ สถาปั ตยกรรมสามารถสื�อสารกับมนุษย์ผูใ้ ช้สอย หรือผูท้ �ีอาศัยในสถาปั ตยกรรมนัน� ได้ โดย“ทักษะหรือการตระหนักรู ถ้ ึงรู ปทรงของพืน� ที�ซ�ึงถือได้ว่าเป็ นองค์ประ กอบที�สาํ คัญมากๆ “ทุกๆ ประสบการณ์ท�ีเรามีเกิดจากการทํางานของทุก ประสาท สัมผัส ผ่านทางสายตา หู จมูก และการสัมผัส ซึ�งจะทําให้เกิด การกระตุน้ ไปยังสมองต่อการทํางานในทุกระดับชัน� ” นอกจากผ่านประ สาทสัมผัสทัง� หลายแล้ว ยังมีปัจจัยอื�นๆ ที�ทาํ ให้เราเกิด “การตระหนักรู ้ หรือทักษะที�จะเข้าใจรู ปทรงของ พืน� ที�” เช่น ผ่านแสง ทัง� แสงอาทิตย์ แสงจันทร์ หรือสภาวะน่าสบาย ไม่น่าสบาย เช่น การมองที�ทาํ ให้เรารู ส้ ึก ถึง ความไม่น่าสบาย ก็จะทําให้เรารู ส้ ึกอึดอัด นัน� หมายความว่า “การ ตระหนักรู ถ้ ึงรู ปทรงของพืน� ที� ที�มีลกั ษณะแคบเข้ามา” ก็จะมีระดับที�เข้มข้นขึน�

ชึ�งตรงกับหลักปรัชญาในทางพุทธศาสนา

ปฏิจจสมุปบาท เป็ นชื�อพระธรรมหัวข้อหนึ�งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่าง ว่า อิทปั ปั จจยตาเป็ นหลักธรรมที�อธิ บายถึงการเกิดขึน� พร้อมแห่งธรรมทัง� หลายเพราะอาศัยกัน เช่น ทุกข์เกิดขึน� เพราะมีปัจจัย �� เรื�องเกิดขึน� สืบ ๆ เนื�องกันซึง� จะนํามาใช้ � ปั จจัยนํามาใช้ในการออกแบบคือ

ผั ส ส ะ

เวทนา


เช่นการเดินในหินที�มีความละเอียดไม่เท่ากัน โดนการที�จะเริ�มจากหยาบไปถึงหินที�ละเอียดกว่า ซึ�งการเดินบนหินจะทําให้เกิดเสียง และ เดินที�สมั ผัสกับหิน จะทําให้เกิดการรู ต้ วั แล้วการทําต่อเนื�อง จะทําให้เกิด สติ และ สมาธิ เช่นการเดินในหินที�มีความละเอียดไม่เท่ากัน โดนการที�จะเริ�มจากหยาบไปถึงหินที�ละเอียดกว่า ซึ�งการเดินบนหินจะทําให้เกิดเสียง และ เดินที�สมั ผัสกับหิน จะทําให้เกิดการรู ต้ วั แล้วการทําต่อเนื�อง จะทําให้เกิด สติ และ สมาธิ












� � มิ ถุ น า ย น � � มี น า ค ม - � � กั น ย า ย น � � ธั น ว า ค ม



1

8

2

7

3

6

4

5


CIRCULATION

9

10

11

1. ENTRANCE 2. PAVILLION 3. HALL 1 4. OUTDOORCORRIDOR 5. RECEPTION - GALLERY 6. COUNCELNG ROOM

7. BALCONY 8. LIBRARY COASSROOM 9. CIRCULATION 10.EVENT PLACE - HALL 2 11.CANTEEN CAFE


D

D


C

A

B

A

B

C


เปิ ดเพดาน ให้แสงส่องลงมา แสงธรรมชาติทาํ หน้าที�ให้ความสว่าง และยังให้ความรู ส้ ึก แทนความศรัทธา (light of god)

ช่องแสง

SECTION

A

โครง อลูมิเนียม ปิ ดด้วยไวนิลโปร่งแสง ใส่ไฟ LED สูงจากพืน� �เมตร�� ซม.

ช่องแสง

ช่องแสง

ช่องแสง

SECTION

B


ทางเขาอาคาร

ช่องแสง

SECTION

ช่องแสง

C

เปิ ดเพดาน ให้แสงธรรมชาติให้ความสว่าง

SECTION

D


»Ø ¶Ø ª ¹Ê¶Ò¹ÅØ Á ¾Ô ¹Õ


ENTRANCE

ทางเข้า พืน� หินกรวดจะทําหน้าที�ทาํ ให้เกิดเสียงเวลาเดินที�สมั ผัสกับหิน จะทําให้เกิดการรู ต้ วั แล้วการทําต่อเนื�อง จะทําให้เกิด สติ และ สมาธิ และสร้างกําแพงขึน� สูงเพื�อให้เกิดเสียงสะท้อแล้วเดินและยังทําให้ผูท้ �ีเข้ามา ในงานลดความสนใจจากโลกภายนอกเพื�อที�จะให้เกิดการมองเห็นสิ�งที�อยู่เบีอ� งหน้า และกําแพงยังทําหน้า ที�เป็ นจะนําสายตา และปกปิ ดไปในเวลาเดียวกัน

PAVILLION

SPACE ที�ใช้เป็ นจุดนําสายตา และยังเป็ นพืน� ที�แสดงปรากฏการณ์ของแสงที�แสดงถึงความไม่เที�ยง การแปรเปลี�ยน ไปตามเวลา


OUTDOOR CORRIDOR ทางเดินเข้าในตัวอาคารซึ�งจะต้องเดินขึน� ไปยังชัน� � โดยการเดินขึน� สะพาน

HALL 1

ระหว่างทางเดินเข้าในตัวอาคาร ทําการเปิ ดช่องให้เห็นภายในบ้างส่วน ที�เป็ นลานพักผ่อน


RECEPTION

GALLERY

โซนต้อนรับ ที�ใช้สาํ หรับการติดต่อ COUNCELNG ROOM สําหรับบุคคลที�จิตแพทย์


GALLERY

โซนแสดงงาน ART THERAPY แล้วทางเดินไปยัง COUNCELNG ROOM โดยมีการออกแบบช่องแสง ในส่วน GALLERY จะเปิ ดให้แสงเข้าเพื�อให้เกิดความสว่าง โดยใช้แสงธรรมชาติ และช่องแสงทางเดิน ยังใช้เป็ นจุดนําสายตาและให้แสงสว่างอีกด้วย

WAITING ROOM


COUNCELNG ROOM

SOUVENIR

COUNCELNG ROOM ในห้องใช้สีขาวเพื�อให้เกิดความสงบ การมีตวั เลือกโซฟา ที�ทาํ ให้รูส้ ึกสบายใจ การเลือกโซฟา องศาการนั�งไม่ห� นั หน้าชนกัน เพราะจะทําให้ ผูท้ �ีเข้ามาใช้งานรู ส้ ึกอึดอัดได้ การเปิ ดช่องแสง และการที�เห็นวิวธรรมชาติ ทําให้ ผ่อนคลายมากขึน�


BALCONY

BALCONY

ระเบียงชัน� � ทําหน้าที�เป็ นเฟรมให้ เกิดการโฟกัส ท้องฟ้า สายลม และแสงแดด


COASSROOM

COASSROOM ART THERAPY ห้องเรียนศิลปะบําบัด

LIBRARY

ห้องสมุดใช้ช่วงแสงในการให้แสงสว่างเพื�อลดการใช้พลังงาน


LIBRARY

HALL 1

SPACE สําหรับพักผ่อนโดยที� เพดานเปิ ด VOID เพื�อรับลมและแสงธรรมชาติ


CANTEEN CAFE

CANTEEN CAFE


EVENT PLACE

ห้องนีใ� นการตกแต่ง ใช้โครง อลูมิเนียม ปิ ดด้วยไวนิลโปร่งแสง ใส่ไฟ LED สูงจากพืน� �เมตร�� ซม. ทําให้ผูท้ �ีเดินเข้าไป จําเป็ นต้องก้มห้ว “นัยในการออกแบบต้องการให้ลดมานะหรือการถือตัวลงก่อนที�จะเดินไปยังห้องทําสมาธิ ” พืน� หินกรวดจะทําหน้าที�ทาํ ให้เกิดเสียงเวลาเดินที�สมั ผัสกับหิน จะทําให้เกิดการรู ต้ วั แล้วการทําต่อเนื�อง จะทําให้เกิด สติ และ สมาธิ



EVENT PLACE

ห้องทําสมาธิ ในการออกแบบมีการเปิ ด เพดาน ให้แสงส่องลงมา แสงธรรมชาติทาํ น่าที�ให้ความสว่างและยัง ให้ความรู ส้ ึก แทนความศรัทธา (light of god) นํา� ตก ที�ไหลลงมา ทําให้เกิดเสียง ทําให้ไม่เงียนจนเกินไป เนื�องจาก เวลาที�มีคนเดินเข้าออกหรือส่งเสียงจะทํา ให้ ผูท้ �ีกาํ ลังทําสมาธิ รู ส้ ึกไม่สงบ ไม่มีสมาธิ



HALL 2

พืน� ที�เดินจงกรม และเปิ ดช่องที�เปรียบเหมือนเฟรมให้ เกิดการโฟกัส ธรรมชาติ ในสวนภายนอก




สรุ ปผลการออกแบบ

Space ที�ทาํ ให้เกิดความรู ส้ ึก ขึน� อยู่ตวั ปั จเจกบุคคล (บุคคลที�เป็ นภาวะซึมเศร้าสถานที�ไม่มี ผลเก็บตัว ไม่ตอ้ งการพบใคร)จิตแพทย์ มองว่า การที�มีสถานที�รองรับ ผูค้ นที�มีความเครียดตัง� แต่ ระดับน้อยๆ จะช่วยให้ไม่ลุกลามไปสู่ระดับที�สูงขึน� และจะช่วยไม่ให้เกิดเป็ นภาวะซึมเศร้าตาม มาภายหลัง โดยการจัดกิจกรรมต่างๆ ในเชิงป้องกัน และการดูแลความเครียด ผูท้ �ีเข้ามาใช้ไม่ จําเป็ นต้องเป็ นผูป้ ่ วย ก็สามารถเข้ามาใช้ได้ ในเชิงป้องกัน โดยการที�มี workshop การดูแล ความเครียด การสังเกตอาการคนไกล้ชิต เพราะหน้าที�ของนักจิตแพทย์ คือมีหน้าที�ทงั� การป้อง กันและการบําบัด และ การเอือ� อํานวยในหลายๆปั จจัย จะช่วยให้ผูป้ ่ วยดีขึน� (สถานมีส่วนขึน� อยู่ ตัวปั จเจกบุคคล)


REFERENCE - ความเครียดคืออะไร ? - ความเครียดส่งผลต่อชีวิต - ชนิดของความเครียด กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข. (����). คู่มือคลายเครียดด้วย ตนเอง.:องค์การสงเคราห์ทหารผ่านศึก สถิติสายด่วนสุขภาพจิต ���� http://www.healthandtrend.com/parental/family/check-thestatistics-teenagers-working-age-are-troubled?fbclid=IwA R2Y16ZuXHJ8tEGDe2EVobb8Qs7Z2RyzaioVFVyLFneVx_4En YykOJN5jUE สุขภาพจิตของผูใ้ ช้บริการ สวนสาธารณะใน กรุ งเทพมหานคร จิราภา พังศ์ศุภสมิทธิ� (����, บทคัดย่อ) การให้บริการสวนสาธารณะเขตลาดกระบัง ภัทราวดี - มหาวิทยาลัยบูรพา http://www2.gspa.buu.ac.th/library/is/mpa47/47933332.pdf ปฏิจจสมุปบาท ( บาลี – นิทาน. สํ. ๑๖/๘๕-๘๖/๑๕๙ ) CASE STUDY HILL OF THE BUDDHA https://www.onthejetplane.com/post/2018/10/13/the-hill-of-the-buddha%E0%B9%80%E0%B8%99-%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%82%E0 %B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%AB-%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8 %A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E-%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%80 %E0%B8%88-%E0%B8%B2 PAUSE PAVILLION https://www.archdaily.com/877555/this-architectural-installation -reconnects-with-the-senses-through-suspended-bricks Mount Herzl Memorial Hall https://bustler.net/news/6314/a-walk-through-the-mount-herzlmemorial-hall-in-jerusalem?utm_content=buffer572e6&utm_medium =social&utm_source=pinterest.com&utm_campaign=buffer


MIT Chapel https://www.archdaily.com/112682/ad-classics-mit-chapel-eero -saarinen หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปั ญโญ https://www.arsomsilp.ac.th/bia/ รู ปภาพประกอบ :Graphic artist Moonassi Moonassi, a Man with No Identity May 12, 2016 http://www.moonassi.com/




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.