THAI FIGHTING FISH EDUCATION PROJECT FOR DESIGN BOOK

Page 1



โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

THONGPREDEE Boutique Hotel ชื�อโครงการ

โครงการศึกษาปลากัดเพื�อการออกแบบ

ประเภทของศิลปนิพนธ์

ประเภทงานออกแบบภายใน (Interior Design)

ผูด้ าํ เนินโครงการศิลปนิพนธ์

นางสาวหนึง� ฤทัย นามเสนาะ นักศึกษาชัน� ปี ท�ี � วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที�ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์

อาจารย์เกรียงศักดิ� สุวรรณบูล



สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิ ต อนุมตั ิให้นบั ศิลปะนิพนธ์ฉบับนี�เป็ นส่วนหนึ�งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ...................................................... คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปะนิพนธ์

...................................................... ประธานกรรมการ (อาจารย์วริ ศว์ สิ นสื บผล) ...................................................... กรรมการ (อาจารย์เกรี ยงศักดิ� สุ วรรณบูล) ...................................................... กรรมการ (อาจารย์วิรุจน์ ไทยแช่ม) ...................................................... กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ...................................................... กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์) ...................................................... กรรมการ (อาจารย์บณ ั ฑิต เนียมทรัพย์) ...................................................... กรรมการ (อาจารย์เรวัฒน์ ชํานาญ) ...................................................... กรรมการ (อาจารย์ณัฐพงษ์ ศรี ปุงวิวฒั น์) ...................................................... กรรมการ (อาจารย์ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ที�ปรึ กษาศิลปะนิพนธ์

....................................................................... (อาจารย์เกรี ยงศักดิ� สุวรรณบูล)


ABTRACT


หัวข้อศิลปะนิพนธ์

ศึกษาปลากัดเพื�อใช้ในการออกแบบ

โดย

นางสาวหนึ�งฤทัย นามเสนาะ รหัส �������

สาขาวิชา

ออกแบบภายใน

ปี การศึกษา

2562

อาจารย์ที�ปรึ กษา

อาจารย์ เกรี ยงศักดิ� สุ วรรณบูล

••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••• บทคัดย่อ

ปั จจุบนั ปลากัดกําลังเป็ นที�นิยมอย่างแพร่หลายมากขึน� ทัง� ในประเทศและต่างประเทศและยังมีการเพาะ พันธุใ์ หม่ๆขึน� มาเรือ� ยๆเพื�อความแปลกใหม่สาํ หรับนักสะสมปลากัด ปลากัดกลายเป็ นธุรกิจมากขึน� มีการส่งออก สร้างรายได้ให้ประเทศอีกด้าน นอกจากจะเป็ นธุรกิจส่งออกแล้วยังมีการนําปลากัดไปถ่ายภาพเพื�อแข่งขันชิงเงิน รางวัล จึงทําให้ปลากัดเป็ นที�รูจ้ กั มากขึน� เข้าถึงคนทุกกลุม่ ง่ายขึน� แต่ท�ีพบเห็นในปั จจุบนั จะมองเพียงแค่ความ สวยงามภายนอกทัง� ที�ความเป็ นจริงแล้วยังมีความงามที�คนไม่ได้สมั ผัสในอีกหลายๆด้าน หากมองให้ดี ปลากัดมีความงามที�สีสนั แต่สีสนั ที�มีเอกลักษณ์เหล่านีส� ามารถต่อยอดเป็ นธุรกิจในรูปแบบ ของโรงแรมได้โดยดึงจุดเด่น ลักษณะเด่น ออกมาเล่นมาใช้ในงานออกแบบได้ ไม่วา่ จะเป็ นลายเส้นบนหางและครีบ ที�เป็ นริว� ไปตามแนวโคนหางจนถึงปลายแสดงถึงความพริว� สะบัดไปมา ลําตัวที�มีเกล็ดเงางามสามารถใช้ออกแบบ ผนังโดยใช้วสั ดุท�ีมีความเงาเข้ามาเสริม และรูปทรงของหางที�บง่ บอกถึงสายพันธุไ์ ม่วา่ จะเป็ นหางรูปใบโพธิ�หรือ ใบพัดและที�ขาดไม่ได้ท�ีจะบอกถึงความเป็ นปลากัดเลยคือสี สามารถนําสีมาเล่นตกแต่งผนังสร้างบรรยากาศให้รูส้ กึ ผ่อนคลายและเราจะเน้นไปที�ให้เข้าถึงได้ทงั� เด็กและผูใ้ หญ่เพื�อเผยแพร่ความงามของปลากัดในรูปแบบอื�นที�ผคู้ น ได้รูจ้ กั มากขึน� เพื�อไม่ให้ปลากัดมีคณ ุ ค่าแค่สวยงามเราจะนําปลากัดมาใช้ในการออกแบบโรงแรมเพื�อเสริมภาพลักษณ์ มุมมองใหม่ๆให้ผคู้ นได้รูจ้ กั มากขึน� และสถานที�ในการทําโรงแรมยังเป็ นแหล่งท่องเที�ยวมีนกั ท่องเที�ยวชาวต่างชาติ แวะเวียนมาทุกวันเราจึงเล็งว่าเหมาะที�จะนําปลากัดมาต่อยอดให้ชาวต่างชาติได้รูจ้ กั มากขึน� ด้วย เราจะลดทอน ส่วนต่างๆของปลากัดมาไว้ในงาน โดยมุง่ เน้นไปที�อยากให้คนที�เข้ามาพักได้คดิ ตามว่าส่วนไหนเป็ นส่วนไหน



THESIS TITLE

Study betta fish for use in design

NAME

Mrs. Nuengruethai Namsanoa

DEPARTMENT

Interior Design

ACADEMIC YEAR

2562

AVISOR

Mr. Kriengsak Suwanbull

••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••• Abstract

Nowadays, fighting fish are becoming more and more popular both domestically and internationally, and new breeds are still being produced for the novelty of betta collectors. Fighting fish has become more and more business, with exports generating more income for the country. In addition to being an export business, fighting fish are also photographed to compete for cash prizes. Therefore making the fighting fish more well-known and accessible to all groups of people But what is seen today is to look at just the beauty of the outside, although in reality there are beauty that people do not experience in many ways. If looking well, the fighting fish has the beauty of color. But these unique colors can be extended into a hotel-style business by drawing out the distinctive features and playing them in the design. The lines on the tail and the fins that are streaked along the base of the tail to the end, showing the fluttering back and forth. The body with shiny scales can be used to design the wall using shiny materials to supplement. And the shape of the tail that indicates the species, whether it is a tail shaped Bodhi leaf or propeller, and the indispensable thing to tell the fish is the color Paint can be used to decorate the walls, create a relaxing atmosphere, and we will focus on providing access to both adults and children to spread the beauty of fighting fish in other ways that people have known more. In order not to have the value of the fighting fish just as beautiful, we will use the fighting fish to design the hotel to enhance the image. New perspectives for people to get to know more And the place to make the hotel is also a tourist attraction visited by foreign tourists every day, so we aim to bring the fighting fish to the expats to get to know more. We will reduce various parts of the fighting fish into the event. By focusing on wanting people to stay and think according to which part is which part


ACKNOWLEGEMENTS


กิตติกรรมประกาศ การทําศิลปนิพนธ์ครัง� นี สํ� าเร็จเสร็จสมบูรณ์ได้จากแรงสนับสนุนจากหลายบุคคล ตลอดจนคําแนะนําที�เป็ น ประโยชน์ของเหล่าคณะอาจารย์สาขาออกแบบภายใน บุคคลที�ขอขอบคุณ คือ อาจารย์เกรียงศักดิ� สุวรรณบูล ที�คอยให้คาํ ปรึกษา หรือชีแ� นวทางที�จะนําไปสูก่ าร พัฒนางานต่อไปในแต่ละครัง� และยังแก้ไขจุดบกพร่องของขัน� ตอนเนือ� หาและขัน� ตอนการออกแบบ และติดตามการ ทําศิลปนิพนธ์ตงั� แต่ตน้ จนจบ ขอขอบคุณบุคคลในครอบครัวที�คอยช่วยเหลือตลอดมาจนสามารถดําเนินโครงการจน สําเร็จลุลว่ งไปด้วยดี สุดท้ายนีข� อขอบคุณผูท้ �ีมีสว่ นเกี�ยวข้องในการให้ขอ้ มูลในการประกอบศิลปนิพนธ์ และเก็บภาพประกอบ การทํางานจนศิลปนิพนธ์ฉบับนีส� าํ เร็จลุลว่ งไปด้วยดี หนึง� ฤทัย นามเสนาะ


16 ความเป็ นมาของการศึกษาโครงการ

1

17 วัตถุประสงค์ของโครงการ 18 ประโยชน์ทค�ี าดว่าจะได้รับ 19 ขอบเขตของการศึกษาโครงการ

2

22-38 ข้อมูลพืน� ฐานและรายละเอียดโครงการ

3

41-56 หลักการ ทฤษฎื แนวคิดทีศ� กึ ษา


สารบัญ

4 5

59-69 ผลงานการออกแบบ

72 บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ 73 บรรณานุกรม 74 ประวัตผิ ู้จดั ทํา




1


ปลากัด (Betta splendens Regan)เป็ น ปลาพื� นเมืองของไทยที�นิยมเพาะเลี� ยงมาตั�งแต่โบราณ เป็ น เวลาหลายร้อยปี มาแล้ว ทั�งเพื�อไว้ดูเล่น และเพื�อกีฬากัดปลา แต่ปลากัดมีความสวยงามเฉพาะตัวที�โดดเด่น ในเรื�องของสีที�มีหลากสีสนั และมีพริ� วไหวในตัว ลักษณะเด่นตรงนี� และหากพูดถึงปลากัดก็จะนึ กถึงประเทศไทย ปั จจุบนั ปลากัดไทยทํารายได้ให้แก่ประเทศอย่างมากจาก การส่งออกปลากัด เราจะพบเห็นปลากัดในรูปแบบของธุรกิจที�ขายกันแบบเป็ นตัวๆ เพื�อให้เห็นถึงความสวยงาม ของปลากัดไทยที�มีสี ลวดลายที�เฉพาะตัว สามารถนํามาทําให้เกิดธุรกิจใหม่ ให้กลุ่มคนเข้าถึงได้งา่ ยขึ� นโดยดึง เอาคาแร็กเตอร์ที�โดดเด่นมาใช้ในงานออกภายใน เกิดเป็ นธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ กระตุน้ เศรษฐกิจให้ดีขึ�นได้

YO U R C O M PA N Y

PROJECT BACKGROUND


OBJECTIVES

ศึกษาข้อมูลปลากัดไทยที�มีเอกลักษณ์และคาแรกเตอร์ที�มี เฉพาะแต่ละสายพันธุเ์ พื�อให้ทราบถึงจุดเด่นและนํามาปรับใช้ ในการออกแบบที�มีแรงบันดาลใจมาจากปลากัดในรูปแบบ ใหม่ๆให้เข้าถึงกลุ่มคนได้งา่ ยขึ� น ศึกษากลุ่มคนที�สนใจในเรื�องปลากัดเพื�อพัฒนาให้สามารถ เข้าถึงกลุ่มคนกลุ่มอื�นๆได้และยังมีส่วนช่วยในการอนุ รกั ษ์ ปลากัดไทยไม่ให้สูญหายไป ศึกษาข้อมูลปลากัดในด้านเศรษฐกิจ เพื�อนําปรับใช้ให้เป็ น ในการออกแบบและเป็ นการกระตุน้ เศรษฐกิจเป็ นสถานที� พักผ่อนเเชิงสร้างสรรค์


EXPEC T A T I ON ปลากัดเป็ นที�รูจ้ กั มากขึ� น สามารถมีรูปแบบที�แปลกไปจากที�เคยมี เป็ นการเพิ�มมูลค่าให้กบั ปลากัดในอีกแง่ของเศรษฐกิจการทําโรงแรม ส่งเสริมการท่องที�ยวกระตุน้ เศรษฐให้ดีขึ�น เป็ นจุดเริ�มต้นของกลุ่มคนที�สนใจการสร้างแบรนด์ดิ�งจากปลากัดที�เดิม ทีเป็ นการเพาะขายปลากัดกันเป็ นตัวๆแบบในปั จจุบนั


Y N AP M O C R U O Y

ศึกษาที�มาของปลากัด แพทเทริน สี ครีบ หาง คาเรก เตอร์และส่วนอื�นๆคิดว่าจะนํามาใช้ในการออกแบบ ศึกษาเรื�องการตัดทอนจุดเด่นจุดสําคัญที�จะนํามาใช้ใน งาน และการออกแบบเชิงสร้างสรรค์รูปแบบอื�นๆ ศึกษาบูทีค โฮเท็ล รูปแบบต่างๆที�มีอยู่ ฟั งก์ชนั � การใช้งาน กลุ่มคนที�พกั และมีความต่างกับโรงแรมอย่างไร

AREA OF STUDY



2


SITE ANALYSIS ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน ปั จจุบนั ตั�งอยูเ่ ลขที� � ถึง เลขที� �� ริมถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราช วังเขตพระนคร กรุงเทพมหานครอาณาเขตทิศเหนื อจรด มหาวิทยาลัยศิลปากรและกรมศิลปากร ทิศตะวันออก จรดกรมศิลปากรและร้านภูฟ้าสาขากรมศิลปากร ทิศใต้ จรดถนนหน้าพระลาน และทิศตะวันตกจรดมหาวิทยาลัย ศิลปากร สถาปั ตยกรรมของตึกแถวหน้าพระลานโดยรวมเป็ นแบบ นี โอคลาสสิกลักษณะโดยทัว� ไปเป็ นอาคารก่ออิฐฉาบปูน � ชั�น ตึกแถวแต่ละห้องมีหน้ากว้างประมาณห้องละ � เมตร และยาว ตั�งแต่ดา้ นหน้าไปจนถึงกาแพงด้านหลังประมาณ ��.� เมตร หันหน้าไปทางทิศใต้ออกสู่ถนนหน้าพระลาน หลังคาทรงปั� นหยา มุงกระเบื� องว่าวคลุมตัวตึกแถว พื� นภายในตึกแถวปูกระเบื� องลาย พื� นที�อาคารตึกแถวถนนหน้าพระลานแบ่งออกได้เป็ น � ส่วน คือ ส่วนตัวอาคารตึกแถวที�มีหลังคาทรงปั� นหยาคลุม และส่วนพื� นที� ด้านหลังที�หลังคาทรงปั� นหยาของตัวอาคารคลุมไปไม่ถึง

ตึกแถวริ มถนนหน้าพระลาน ปั จจุบนั ตั�งอยูเ่ ลขที� � ถึงเลขที� �� ริ มถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุ งเทพมหานคร ทิศเหนือจรดมหาวิทยาลัยศิลปากรและกรมศิลปากร ทิศตะวันออกจรดกรมศิลปากรและร้านภูฟ้าสาขา กรมศิลปากร ทิศใต้จรดถนนหน้าพระลาน และทิศตะวันตกจรดมหาวิทยาลัยศิลปากร สถาปั ตยกรรมของตึกแถวหน้าพระลาน โดยรวมเป็ นแบบนีโอคลาสสิ กซึ� งเป็ นที�นิยมกันในทวีปยุโรปช่วงกลางคริ สตศตวรรษที� �� แต่ละห้องมีหน้ากว้างประมาณห้อง ละ � เมตร และยาวตั�งแต่ดา้ นหน้าไปจนถึงก าแพงด้านหลังประมาณ ��.� เมตร หันหน้าไปทางทิศใต้ออกสู่ ถนนหน้าพระลาน


BUILDING DEVELOPE CONSERVATION THEORY

ทฤษฎีการอนุรักษ์กรอบอาคาร


�. รักษาแผงหน้าอาคารให้คงเดิมมากที�สุด �. ซ่อนโครงสร้างของอาคารใหม่ �. ขนาดความกว้างภายในควรขนาดใกล้เคียงกับของเดิม �. สร้างระดับภายในพื�นที�ใหม่ให้สมั พันธ์กบั ภานนอกอาคาร �. บรู ณะลักษณะดั�งเดิมที�สาคัญ �. ออกแบบทางเข้าออกใหม่ �. ใช้วสั ดุใหม่แทนที�ของเดิมที�หลุดหาย โดยคานึงถึงความ กลมกลืนของโบราณสถาน �. ใช้วสั ดุที�ทาเลียนแบบ �. ต่อเติมอาคารโดยคานึงถึงสัดส่ วนภาพรวม และตําแหน่ง ที�ต่อเติม ��. การอนุรักษ์และการทาขึ�นใหม่ของชิ�นส่ วนอาคารที�มี ความสาคัญลงมา ��. สงวนรักษา หรื อสร้างสรรค์หลังคาขึ�นมาใหม่ ��. เปลี�ยนแปลงรู ปแบบหลังคาใหม่ ��. ตกแต่งลวดลายประดับที�สาํ คัญ


� หน้าต่างเดิม � หน้าต่าง/ช่องแสงเสริ มภายใน �.� ช่องแสงติดตาย วงกบไม้/ไวนิลสี นา้ ตาล ลูกฟัก กระจกใส � มม. �.� หน้าต่างเปิ ดเดี�ยวเข้าด้านใน วงกบไม้/ไวนิลสี น� าํ ตาล ลูกฟักกระจกใส � มม. มุง้ ลวดกันแมลงบานกรอบไวนิล/ อลูมิเนียมอย่างหนา�.�มม.สี นา้ ตาลกว้าง โดยรอบไม่เกิน �� มม. 2.3

� อุปกรณ์ตกแต่ง/เสริ มอาคาร �.� ลูกกรงเหล็กกลม โครงไม้ทาสี �.� มุง้ ลวดไนล่อนชนิดม้วน �.� ม่านบังแดด

โครงการแบบแปลนอาคารอนุรักษ์พื้นที่ท่าเตียน สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

2.2


ผนังภายใน

1.1

1.2 2.1 0


� ประตูบานเพี�ยมเดิม � ประตู/ช่องแสงเสริ มภายใน �.� วงกบไม้/ไวนิลสี นา้ ตาลลูกฟักกระจกใส �� มม. �.� ประตู/ช่องแสง กระจกเทมเปอร์เปลือยความหนา �� มม. � ระบบกันขโมย �.� ลูกกรงกลไกโบราณ ทาจากไม้ �.� ประตูมว้ นบานโปร่ งกันขโมย (ห้ามเป็ นบานทึบ) 3.1 - 3.2

� อุปกรณ์ตกแต่ง/เสริ มอาคาร �.� บานมุง้ ลวดกรอบบานไม้/ไวนิลสี น� าํ ตาล (ไม่อนุญาตเป็ นอลูมิเนียม) �.� ผ้าม่าน

โครงการแบบแปลนอาคารอนุรักษ์พื้นที่ท่าเตียน สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์


ผนังภายใน

2.2

2.1

1.2

1.1

0


ระบบปรับอากาศ

โครงการแบบแปลนอาคารอนุรักษ์พื้นที่ท่าเตียน สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์


เครื� องปรับอากาศ -ติดตั�ง CDU ไว้ดา้ นหลังอาคาร -กรณี เดินท่อน้ายาระหว่าง CDU และ FCU ไกลเกินกว่า �� เมตรสามารถ เพิ�มขนาดท่อให้ใหญ่ข� ึนได้ -ท่อน้าทิ�ง (CONDENSER PIPE) กาหนดให้หุม้ ด้วยฉนวนก่อนทําการฝัง /ปิ ดในผนังใดๆ -ไม่อนุญาตให้ฝังท่อทุกประเภทในผนัง ส่ วนที�เป็ นโบราณสถานไม่วา่ จะ เป็ นกรณี ใดก็ตาม (ให้เดินลอยแล้วปิ ดด้วยกล่อง PVC ครอบทับให้สวยงาม) พัดลม �.พัดลมดูดอากาศ -ให้ติดตั�งได้ตามความเหมาะสม ถ้าจาเป็ นต้องเจาะผนัง ฝ้าเพดาน ส่ วน ที�เป็ นโบราณสถานให้เสนอ แบบติดตั�งก่อนดําเนินการ -ห้ามมิให้ติดตั�ง พัดลมดูดอากาศ / คอยล์ร้อนที�ผนังด้านหน้าอาคาร โดยเด็ดขาย

�.พัดลมเพดาน/พัดลมโคจร -ให้ติดตั�งได้ตามความเหมาะสม ถ้าจําเป็ นต้องเจาะผนัง ฝ้าเพดาน ส่ วน ที�เป็ นโบราณสถานให้เสนอ แบบติดตั�งก่อนดําเนินการ


ระบบไฟฟ้า

มี � แนวทาง �.แนวทางดั�งเดิม : เดินลอย ภายในกล่องคิ�วไม้ เดินลอยผิวหนังเพดาน �.แนวทางพัฒนา : เดินลอยโดยใช้วสั ดุและเทคนิคปัจจุบนั ตามความเหมาะสม เจาะฝัง ตามเท

โครงการแบบแปลนอาคารอนุรักษ์พื้นที่ท่าเตียน สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์


ทคนิคและวัสดุปัจจุบนั

- สายไฟฟ้า/สื� อสาร ภายนอกอาคารให้เดินในกล่อง WIREWAY ใต้กนั สาด -การเดินสายไฟฟ้า/สื� อสารภายในอาคารโบราณสถาน ส่ วนนี�ให้เดินลอยตามมาตร ฐานกฟน. -เสาอากาศ/จานเคเบิ�ล/จานดาวเทียมให้ติดตั�งในส่วนต่อเติมทางด้านหลังมองไม่เห็น จากถนนสาธารณะ -การเดินสายไฟฟ้า/สื� อสาร ภายใน/ภายนอกส่ วนต่อเติมหลัง ร.� ให้ทาตามความ เหมาะสมตามมาตรฐาน กฟน.



Thai Bus Food Tour

ลภน ซ่อมประดิษฐ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั แกรนด์ บุก๊ กิ�ง อินเตอร์เนชัน� แนล (Grand Booking International) หันมาทําทัวร์สร้างประสบการณ์ที�หาไม่ได้ ภายใต้ คอนเซ็ปต์ The Best Thailand Experience ให้กบั กลุ่มธุรกิจใหม่ "ไทย บัส ฟู้ด ทัวร์" ทัวร์ตระเวนทานอาหารบนรถบัสพร้อมกับชมจุดวิวสถานที�สาํ คัญ ทางประวัติศาสตร์รอบเกาะรัตนโกสิ นทร์กว่า �� จุดรอบเกาะรัตนโกสิ นทร์ เส้นทาง ประวัติศาสตร์ของชาติไทยที�เต็มไปด้วยเรื� องเล่า และเสน่ห์อาทิ เยาวราช วงเวียนโอเดียน ผัดไทยประตูผี พระที�นง�ั โลหะปราสาท ท้องสนามหลวง พิภิธภัณฑ์ และประตูทางฝั�ง พระที�นงั� สุ ทไธสวรรยปราสาท สถานที�เสร็ จออก สี หบัญชร และปากคลองตลาด เป็ นต้น ทัวร์นง�ั ชมเส้นทางบนรถบัส เมื�อรถเคลื�อนผ่าน ร้านอาหารเด็ดเจ้าดังก็พร้อมเสิ ร์ฟอาหารพร้อมทานไป ชมวิวไปเคลื�อนไปโดยไม่ตอ้ งลง จากรถ ใช้เวลา � ชัว� โมง จบครบทุกไฮไลท์ที�เที�ยวที�กิน พร้อมเรื� องเล่าจากไกด์ประจํารถบัส

https://www.bangkokbiznews.com/


THAI RIVER CRUISE

ณ ปัจจุบนั พระบรมมหาราชวั ง วั ด พ ระแก้ ว เป็ นสถานที�ท่องเที�ยวที�ได้รับความนิยมมากและติดอัน นิยมมา เมื�อมาถึงประเทศไทย นักท่องเที�ยวทัว� โลกมาเข้าชมพระบรมมหาราชวังต่อปี จํานวนเฉลี� ยแล้ว �,���, พระบรมมหาราชวัง วัดพระแก้ว ไกด์นาํ เที�ยวจะบรรยาย ให้ละเอียดเกี�ยวกับ ประวัติ ความเป็ นมา ข้อมูลเกี�ยวก วัดพระแก้ว และเพลิดเพลินไปกับการเที�ยวชม พระบรมมหาราชวัง และการถ่ายทอดเรื� องราวต่างๆที�เกี�ยวกับ วัดพระแก้ว ซึ�งเป็ นที�ประดิษฐานพระพุทธรู ปอันลํ�าค่า และเป็ นที�เคารพบูชาของคนไทยและพุทธศาสนาทัว� โล


บของโลกที�นกั ท่องเที�ยว คน โดยเรื อจะแล่นผ่าน พระบรมมหาราชวังและ ะบรมมหาราชวังและ

www.thairivercruise.com


SIAMESE FIGHTING FISH

ปลากัด (Betta splendens Regan) เป็ นปลาพื� นเมืองของไทยที�นิยมเพาะเลี� ยงมาตั�งแต่โบราณเป็ นเวลาหลาย ร้อยปี เพื�อไว้ดูเล่น และเพื�อกีฬากัดปลา และเป็ นที�รูจ้ กั กันดีในต่างประเทศได้มีการนําปลากัดไปเลี� ยงในยุโรป ตั�งแต่ พ.ศ. ���� ได้ นําไปทําการเพาะเลี� ยงกันอย่างกว้างขวาง และเพาะได้สาํ เร็จที� ประเทศ ผรัง� เศส เมื�อปี พ.ศ. ���� ปั จจุบนั ประเทศไทยมีการเพาะพันธุก์ นั แพร่หลาย เนื� องจากเป็ นปลาที�เลี� ยง และเพาะพันธุ์ ได้งา่ ย ปี หนึ� งประเทศไทยส่ง ปลากัดไปขายยังต่างประเทศ คิดเป็ นมูลค่าหลายล้านบาทจากการเพาะพันธุ์ และการคัดพันธุต์ ิดต่อกันมา นานทําให้ได้ปลากัดที�มีสีสนั สวยงามหลายสี อีกทั�งลักษณะครีบก็แผ่กว้างใหญ่ สวยงามกว่าพันธุด์ งั เดิมมากและจากสาเหตุนี�ทําให้มีการจําแนกพันธุป์ ลากัด ออกไปได้เป็ นหลายชนิ ด เช่น ปลากัดหม้อ ปลากัดทุ่ง ปลากัดจีน ปลากัดเขมร ปลากัด พม่า


WHY IS IT CALLED FIGHTING FISH ?

ปลากัด หรือ เบ็ตต้า กล่าวกันว่าได้ชื�อมาจากนักรบเอเชียโบราณ เบ็ตตาช (Bettah) เพราะ การต่อสูอ้ นั ดุเดือดของมัน การกัดปลาเป็ นกีฬาที�มีชื�อเสียงของไทยนับตั�งแต่อดีต มีการจัดตั�ง บ่อนปลากัดเพื�อใช้เป็ นเครื�องมือเก็บภาษี

NATURE OF FIGHTING FISH พบในธรรมชาติ ตามท้องนา หนองบึง เป็ นปลากัดขนาดเล็กที�ไม่มีลกั ษณะเด่นสะดุดตา ปลาป่ าขนาดใหญ่ที�สุด มีขนาดไม่เกิน ๕ เซนติเมตร ในสภาพปกติสีอาจเป็ นสีน�ําตาล สีเทาหม่น หรือสีเขียว และอาจมีแถบสีดาํ จางๆ พาดอยูต่ ามความยาวของลําตัวก็ได้ ปลาป่ าอาศัยหลบซ่อนตัวอยูร่ ะหว่างพรรณไม้น�ําในที�ตื�น ความพิเศษของปลากัดอยูท่ ี� ความเป็ นนักสูโ้ ดยธรรมชาติ เมื�อพบปลาตัวอื�นจะเข้าต่อสูก้ นั ทันที และปลากัดตัวผู ้ สามารถเปลี�ยนสีให้งดงามเมื�อถูกกระตุน้ ในสภาวะตื�นตัว ครีบทุกครีบจะแผ่กางออก เต็มที� แผ่นหุม้ เหงือกขยายพองตัวออก พร้อมกับมีสีน�ําเงินหรือสีแดงปรากฏขึ� นชัดเจนใน โทนสีต่างๆ ทําให้ดูสง่าสวยงาม



3


ป่ ากัดป่ า/ปลากัดลูกทุ่ง


ปลากัดป่ าภาคกลาง (แก้มแดง) พบได้ในภาคเหนื อ ภาคกลางและภาคใต้ตอนบน ตั�งแต่ จังหวัดชุมพร ระนอง สุราษ ร์ธานี พบประปลาย ที�จงั หวัดนครศรีธรรมราช และอาจจะพบเห็นในจังหวัดนราธิวาสอีกด้วย (เป็ นต้นสายของปลากัดแฟนซี และ ปลากัดหม้อ) ลักษณะเด่นใบหน้าแก้มจะมีสีแดง ลําตัวสีน�ําตาลแดงหรือดําแดง หางสีแดง ส่วนกระโดงจะมีท�งั สีแดงและสีดาํ บางๆ ชายนํ�าสีแดงลายขีดสลับนํ�าเงินออกฟ้ า ปลากัดป่ าภาคใต้ (แก้มเขียว) พบได้ในจังหวัดชุมพรสุราษ ร์ธานี จนไปถึง จังหวัดภาคใต้ และ ประเทศมาเลเซีย เวียดนาม (มีขนาดเล็กที�สุดในทุกสายพันธุ)์ ฉายาในวงการ ปากไว ใจน้อย ลักษณะเด่นใบหน้าแก้มสีเขียวหน้าบาร์ก กับแก้มสีเขียวหน้าเคลือบหางเป็ น วงแดงคล้ายรูปพระจันทร์เสี� ยว

ปลากัดป่ ามหาชัย พบได้ที�จงั หวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และ ปริมณ ล แถบสมุทรปราการรอยต่อหัวกระบือ และ บ้านแพ้ว ก็มีท�งั แก้มแดงและมหาชัย (ที�ใกล้จะสูญพันธุเ์ ต็มที) ลักษณะเด่นใบหน้าแก้มแท่นสองขีดสีเขียว เกล็ดแวววาว เรียงตัว เขียวแก่หรือ เขียวอ่อน คล้ายกับเม็ดข้าวโพ และหางโพธิ�สวยงาม

ปลากัดป่ าภาคตะวันออก พบเห็นได้ทางภาคตะวันออกของประเทศไทยและเชื�อมต่อไปยังประเทศ เพื�อนบ้าน ในตะวันออกจะมีท�งั แก้มดําและแก้มแดง ลักษณะเด่นคล้ายปลาใต้ แต่ต่างกันที�ใบหน้า และลําตัวดําเข้มเกล็ดเขียวเด่น ส่วนอื�นๆเหมือนกับปลากัดภาคใต้และภาคกลาง

ปลากัดป่ าภาคอีสาน (ปลากัดหน้างู) พบเห็นได้งา่ ยในทางภาคอีสานของประเทศไทย ลักษณะเด่นมีเกล็ดที�ใบหน้าเป็ นแผ่นๆลักษณะคล้าย ของใบหน้างู นิ สยั ดุ โหด แต่เมื�ออยูต่ ่างถิ�น มักจะมีความ ขึ� กลัวเป็ นค่อยข้างมากตัวใหญ่เป็ นอันดับต้นๆของสาย พันธุป์ ลากัดป่ า แยกออกเป็ นสองสาย คือ อีสานหน้างูธรรมดา กับ อีสานหางลาย (กีตา้ )

ปลากัดป่ าภาคอีสาน (ปลากัดหางลายกีตา้ ) พบเห็นได้แค่ไม่กี�จงั หวัดในทางภาคอีสาน เเต่จะมีชื�อเสียงมากที�สุดคือจังหวัดบึงกาฬ ลักษณะเด่นเหมือนปลากัดอีสานหน้างูทุกอย่าง แต่แตกต่างกันที�หาง ลักษณะที�หางเหมือนลายขีด สีดาํ


FFIGHTING I G H T I N GFISH FISH ป่ ากัดป่ า/ปลากัดลูกทุ่ง

ป่ ากัดลูกหม้อ/ปลากัดไทย/ปลากัดครีบสั�น

เป็ นปลากัดที�พบในแหล่งนํ�าธรรมชาติ ตาม ท้องนา และหนองบึงเป็ น ปลาขนาดเล็กที�ไม่มี ลักษณะเด่นมากนัก ส่วนมากครีบ และหาง มี สีแดงเกือบตลอด มีประสีดาํ บ้างเล็กน้อย บางที อาจมีแต้มสีเขียวอ่อนๆ เรียงต่อกันเป็ นเส้นสี เขียวๆ ที�ครีบหลัง เวลาถอดสี ทั�งตัวและครีบ จะเป็ นสีน�ําตาลด้านๆ คล้ายใบหญ้าแห้ง ใน ปั จจุบนั คําว่า ปลาป่ า หมายความรวมถึง ปลากัดพื� นเมืองภาคอีสานและปลากัดพื� นเมือง ภาคใต้ดว้ ย

ปลาลูกหม้อได้รบั การพัฒนาเมื�อ พ.ศ. ก่อนหน้านั�นยังต้องจับปลาป่ ามากัดพนันกันอยู่ ต่อมานักเลงปลาบางคนก็เริ�มใช้วธิ ีไปขุดล้วง เอาปลาป่ าที�อาศัยอยูต่ ามรูปใู น ดูแล้งมาขังไว้ ในโอ่ง และเลี� ยงดูให้อาหาร พอถึง ดูฝนก็นํา มากัดพนันกับปลาป่ าหลังจากนั�นก็มีการเก็บ ปลาที�กดั เก่งเลี� ยงไว้ขา้ มปี และหาปลาป่ าตัวเมีย มา ผสมลูกปลาที�ได้ในชุดแรกเรียกว่า ปลา สังกะสีสีแดง หรือ ปลากัดสังกะสี ปลาสังกะสี ที�เก่ง อดทน สวยงาม ก็จะถูกคัดไว้ เป็ นพ่อแม่ พันธุ์ เมื�อผสมออกมาในชุดต่อไปจะได้ปลาที� เรียกว่า ปลาลูกหม้อ หรือ ปลากัดหม้อ

ปลากัดลูกหม้อทรงปลาช่อน มีลกั ษณะลําตัวยาว ทรงกระบอก คล้ายปลาช่อน มีหน้าสั�น ช่วงหัว ยาวและโคนหางใหญ่ ถือเป็ นปลา ที�มีลีลาการต่อสูท้ ี�ดุดนั และมีพละ กําลังมากมีประวัติการกัดชนะเป็ น อันดับหนึ� งในเวทีต่างๆ

ปลากัดลูกหม้อทรงปลาหม้อ มีลษั ณะลําตัวสั�น หนา ลําตัวกว้าง หนาเมื�อมองจากทางด้านข้าง และ ด้านบนลักษณะลําตัวคล้ายกับปลา หมอไทย เป็ นปลาที�ทรหด และ ว่องไวในการกัด


S P E CSPECIES IES ป่ ากัดลูกผสม

เป็ นปลาที�มาจากการผสมพันธุร์ ะหว่างปลากัด ทุ่งกับปลากัดลูกหม้อ มีลกั ษณะลําตัวที�เกิดจาก การผสม มีความอดทนในการต่อสูเ้ หมือนกับ ปลากัดหม้อ ลําตัวมีหลายสี เป็ นปลาที�นิยม เลี� ยง และนํามากัดพนันกันมากไม่แพ้ปลากัด ลูกหม้อ

ปลากัดลูกหม้อทรงปลากราย มีลษั ณะมีหน้างอนขึ� น ลําตัวสั�น แบน เป็ นปลาที�คล่องแคล่ว และ ว่องไวในการกัดและมีประวัติการ กัดที�ยอดเยีย� ม

ป่ ากัดจีน/ปลากัดครีบยาว/ปลากัดเขมร

ลักษณะครีบยาวรุ่ยร่ายสีฉูดฉาดเหมือนงิ� วจีน ปลากัดจีนเป็ นปลาที�พฒ ั นาสายพันธุม์ าจาก ปลาลูกหม้อ โดยผสมคัดพันธุใ์ ห้ได้ลกั ษณะที�มี ครีบและหางยาวขึ� นความยาวของครีบหางส่วน ใหญ่จะยาวเท่ากับหรือมากกว่าความยาวของ ลําตัวและหัวรวมกัน ปลากัดชนิ ดนี� เป็ นชนิ ดที� นิ ยมเลี� ยงเป็ นปลาสวยงามแพร่หลายไปทัว� โลก และได้มีการนําไปพัฒนาสายพันธุต์ ่อเนื� องจน ได้สายพันธุท์ ี�มีลกั ษณะใหม่ๆ ออกมาอีก มากมาย


THE COLOR OF FIGHTING FISH THECOLOR OF FIGHTINGFISH

ปลากัดสีเดียว

มีสีเดียวทั�งลําตัวและครีบเป็ นสี เดียวกันหมด จะต้องไม่มีสีอื�น ปะปนในส่วนของลําตัวและครีบ เลย ยกเว้นที�ตาและเหงือกจึงจะ เป็ นปลากัดที�สมบูรณ์

ปลากัดสองสี

มีลาํ ตัวสีเดียว และครีบสีเดียว สองส่วนต้องมีสีต่างกัน ยกเว้น เขม่าดําบริเวณปากจรดโคนครีบ หูและเส้นขอบครีบและตะเกียบมี สีอื�นได้ ครีบหูเป็ นกระจกได้

ปลากัดหลากสี

มีสีสองสีขึ�นไปทั�งลําตัวและครีบ ยกเว้นเขม่าดําบริเวณปากจรด โคนครีบหู เส้นขอบจะเป็ นสีใดก็ ได้ ส่วนตะเกียบมีสีอื�นได้ ส่วน หูให้เป็ นครีบกระจกได้


STPIPEDFISH STRIPEDFISH

ปลากัดลายผีเสื� อ

ปลากัดลายหินอ่อน

เป็ นปลากัดที�มีสีเป็ นลวดลายรูปแบบเฉพาะที�บริเวณครีบ โดยครีบจะมีสีเป็ นแถบๆ ขนานกับเส้นวงรอบลําตัว ลักษณะที�ดีของปลากัดลายผีเสื� อจะพิจารณาที�การตัดกัน ของแถบสีและความคมของขอบสีเป็ นหลัก ไม่ใช่ดูที�สีของ ลําตัวและครีบเหมือนปลากัดชนิ ดอื�นปลากัดที�มีสีของ ครีบซึ�งแถบสีดา้ นในเป็ นสีเหลืองและแถบด้านนอกเป็ น สีเหลืองอ่อนจึงไม่จดั อยูใ่ นประเภทลายผีเสื� อ แนวของ แถบสีบนครีบควรลากเป็ นรูปไข่รอบตัวปลา

ปลากัดลายหินอ่อนเป็ นปลากัดในชุดของปลาที�มีสีเป็ นลวด ลายรูปแบบเฉพาะ บริเวณครีบไม่มีแถบสี ลําตัวจะมีสีอื�น แต้มเป็ น จุดหรือลายกระจัดกระจายอยูท่ วั � ไปมองดูคล้าย ลวดลายหินอ่อนปลากัดลายหินอ่อนแบ่งออกเป็ นชนิ ดหลักๆ ชนิ ด คือ ปลากัดลายหินอ่อนธรรมดาซึ�งไม่มีสีแดง เขียว นํ�าเงินและเทาปน และปลากัดลายหินอ่อนสีซึ�งมีสีแดง เขียว นํ�าเงิน และเทาปนอยู่


TAIL TYPE OF

เป็ นปลาที�พฒ ั นาสายพันธุม์ าจากปลากัด ครีบยาว หรือปลากัดจีน โดยพัฒนาให้หาง สั�นเข้าและแผ่กว้างออกไปเป็ นรูปสามเหลี�ยม ขอบครีบ หางกางทํามุม - องศา กับ โคนหางและต่อมาได้พฒ ั นาให้ครีบแผ่ออก ไปกว้างมากยิง� ขึ� น เรียก ซูเปอร์เดลตา ซึ�งมีหางแผ่กางใหญ่กว่าปกติจนขอบครีบหาง ด้านบนและล่างเกือบเป็ นเส้นตรง กลิ�นหอม

ปลากัดหางรูปสามเหลี�ยม

เป็ นปลากัดที�ได้รบั การพัฒนาสายพันธุข์ ึ� นใน พ.ศ. ๒๕ โดยนักเพาะเลี� ยงปลากัดชาว สิงคโปร์ เป็ นปลากัดสายพันธุใ์ หม่ที�มีหางจัก เป็ นหนามเหมือนมงกุ และเป็ นสายพันธุห์ นึ� ง ที�ได้รบั ความนิ ยมเลี� ยงกันมากในปั จจุบนั ลักษณะสําคัญของปลากัดชนิ ดนี� คือ ก้านครีบจะ โผล่ยาวออกไปจากปลายหางลักษณะดูเหมือน หนาม ซึ�งอาจยาวหรือสั�นแตกต่างกันออกไป เช่นเดียวกับลักษณะการแยกของปลายหนาม และการแยกการเว้าโคนหนามก็มีหลายรูปแบบ ปลากัดหางมงกุ ที�สมบูรณ์จะมีครีบหางแผ่เต็มซ้ อนทับได้แนวกับครีบอื�นๆ และส่วนของหนาม มีการจัดเรียงในรูปแบบที�สวยงามสมํา� เสมอ

ปลากัดหางหนามมงกุ


FIGHTINGFISH

เป็ นปลากัดที�มีหางแผ่เป็ นรูปครึ�งวงกลม โดย ขอบครีบหางจะแผ่เป็ นแนวเส้นตรงเดียวกันเป็ น มุม องศา พระจันทร์ครึ�งซีกมีลกั ษณะที� สําคัญ คือ ครีบหางแผ่เป็ นรูปครึ�งวงกลมโดย ขอบครีบด้านหน้าจะแผ่เป็ นแนวเส้นตรงเดียว กันเป็ นมุม องศาครีบด้านนอกเป็ นขอบ เส้นโค้งของครึ�งวงกลม ก้านครีบหางแตกแขนง ครั�ง เป็ น แขนง หรือมากกว่าปลาที�สม บูรณ์จะต้องมีลาํ ตัวและครีบสมส่วนกันโดยลํา ตัวต้องไม่เล็กเกินไปครีบหางแผ่ต่อเนื� องหรือ ซ้อนทับกับครีบหลังและครีบก้นจนเห็นเป็ นเนื� อ เดียวกันขอบครีบหลังโค้งมนเป็ นส่วนหนึ� งของ วงกลมเส้นขอบครีบทุกครีบโค้งรับเป็ นเส้นเดียว กัน (ยกเว้นครีบอก) ปลายหางคูท่ ี�แยกเป็ น แฉกจะต้องซ้อนทับและโค้งมนสวยงาม ปลากัดหางพระจันทร์ครึ�งซีกที�แท้จริงจะต้องมี ขอบครีบหางแผ่ทาํ มุม องศา ได้ตลอดไป ถึงแม้ปลาจะมีอายุมากขึ� นก็ตาม

ปลากัดหางพระจันทร์ครึ�งดวง

เป็ นปลากัดที�ได้จากการพัฒนาลักษณะของหาง ให้มีสองแฉกแยกออกจากกัน หรือเรียกว่าหางคู่ ซึ�งเกิดจากการกลายพันธุข์ องปลากัดจีนใน อเมริกา ซึ�งดูคล้ายจะมีหาง เป็ น แฉกจึงนํา เอาปลากัดที�กลายพันธุท์ ี�ลกั ษณะของหางคล้าย แฉก มาเป็ นพ่อแม่พนั ธุผ์ สมพันธุก์ นั ใหม่และ เอาลูกที�ได้ใหม่คดั เลือกเอาแต่ที�มีหางคล้าย แฉกมากที�สุดมาผสม กับปลากัดจีนที�กลาย พันธุจ์ ากแหล่งอื�นๆที�มีลกั ษณะคล้ายหาง แฉกมากที�สุดมาผสมกันจนได้ปลากัดจนได้ลกู รุ่นใหม่ที�มีความนิ� ง แล้วจึง ได้ปลากัดสาย พันธุ์ ใหม่ที�ชื�อปลากัด หางคู่ ซึ�งไม่ได้เกิดจากความ จงใจแต่เกิดจากปลากลายพันธุม์ าผสมพันธุก์ นั จนได้ปลาที�มีลกั ษณะเป็ นปลาหาง แฉก

ปลากัดหางคู่


DISEASE FOUND IN FIGHTING FISH


รค ดุ ขาว

เกิดจากสัตว์เซลล์เดียว ชื�อ อิกไทออฟทีเรียส มัลติฟิลิส ( hth phth s lt l s) ซึ�งมักเรียกกันว่า อิก อาการจะเป็ นจุดขาวบริเวณลําตัวและ เหงือก ขนาดความกว้าง . - . มิลลิเมตร การรักษาให้แช่ปลาในนํ�าที� ผสมฟอร์มาลิน - ส่วนในล้านส่วน และมาลาไคต์กรีน . ส่วนใน ล้านส่วน ติดต่อกัน - วัน

รคสนิม

เกิดจากสัตว์เซลล์เดียวชื�อ โอโอดีเนี ยม ( d n sp.) อาการจะมีลกั ษณะเป็ นจุด คล้ายกํามะหยีส� ีเหลืองปนนํ�าตาลเป็ นหย่อมๆ ตามผิวหนังของปลา วิธีรกั ษา ให้แช่ปลาในนํ�าที�ผสมเกลือแกง เป็ นเวลา ชัว� โมง ทุกๆ วันจนหาย

รคที�เกิด ากปลิง ส

เกิดจากปลิงใส ๒ ชนิ ด คือ ไจโรแด็กไทลัส ( da t l s sp.) และแด็กไทโรไจรัส ( a t g s sp.) อาการส่วนหัวของปลาจะมีสีซีด ส่วนลําตัวมีสีเข้ม ครีบกร่อน และพบปลิงใสตามลําตัวและเหงือกการรักษา ให้แช่ปลาในนํ�าผสมด้วยฟอร์มาลิน - ส่วนในล้านส่วน หรือ ดิปเทอเรกซ์ . - . ส่วนในล้านส่วน

รคเชือรา

เกิดจากเชื� อแซโพรเลกเนี ย ( ap legn a sp.) ลักษณะอาการจะเห็นเป็ นปุยขาวๆ คล้ายสําลีตรงบริเวณที�เป็ นโรค วิธี รักษาให้แช่ปลาในนํ�าที�ผสมมาลาไคต์กรีน . - . ส่วนในล้านส่วน และฟอร์มาลิน ส่วนในล้านส่วน เป็ นเวลา วัน

รคที�เกิด าก เชือ บคทีเรีย

อาการที�ปรากฏ คือ มีอาการท้องบวม มีของเหลวในช่องท้องมาก การรักษา ให้แช่ในนํ�า ที�ผสมยาปฏิชีวนะ เช่น ออกซีเททระไซคลิน ความเข้มข้น - ส่วนในล้านส่วน หรือในนํ�าผสมเกลือแกง . เป็ นเวลา - วัน


MAINTAINING ภาชนะเลี� ยงอาจเป็ นขวดโหลหรือตูก้ ระจกขนาดเล็ก เนื� องจาก ปลากัดเป็ นปลาที�มีนิสยั ชอบต่อสู ้ จึงควรแยกออกเลี� ยงเดี�ยวใน ภาชนะ มักนิ ยมใช้ขวดแบนขนาด ��� มิลลิลิตร ซึ�งสามารถ วางเรียงกันได้โดยไม่สิ�นเปลืองเนื� อที� อีกทั�งปากขวดแคบเล็ก สามารถป้ องกันปลากระโดด และศัตรูปลาได้ดี สถานที� วางขวดหรือโหลควรเป็ นที�โปร่ง อากาศถ่ายเท ได้ดี ไม่รอ้ นเกินไป

WATER TEMPERATURE นํ�าที�ใช้จะต้องเป็ นนํ�าที�สะอาดปราศจากคลอรีน บรรจุน�ําประมาณ � ใน � ของภาชนะที�ใช้เลี� ยง ปลากัดสามารถฮุ บอากาศที�ผิวนํ�าหายใจ ใช้ ออกซิเจนได้โดยตรง จึงไม่ตอ้ งให้อากาศ การถ่ายนํ�าควรถ่ายนํ�า � - � ครั�งต่อสัปดาห์ โดยอาจเปลี�ยนนํ�าทั�งหมด หรือดูดตะกอนและนํ�าออก บางส่วน แล้วเติมนํ�าใหม่ลงไปก็ได้ และอุณหภูมิน�ําที�สูงเกิน �� องศา เซลเซียส อาจทําให้ปลาตายได้เช่นเดียวกับอุณหภูมิที�ตาํ � เกินไป ซึ�งจะ ทําให้ปลากินอาหารได้นอ้ ย และเป็ นสาเหตุให้ตายได้เช่นกัน


FEEDING ปลากัดเป็ นปลาที�กินสัตว์น�ําขนาดเล็กเป็ นอาหาร เช่น ไรสีน�ําตาล ไรแดง ลูกนํ�า หนอนแดง แต่ก็สามารถฝึ กให้กินอาหารเม็ดและเนื� อสัตว์ที�หนั � เป็ น ชิ� นเล็กได้ การให้อาหารควรให้วนั ละ � ครั�ง ในปริมาณที�ปลากินอิ�มสังเกต ได้โดยปลาจะกินอาหารทันทีที�ให้อาหารธรรมชาติ เช่น ไรแดง หนอนแดง และลูกนํ�า ที�ชอ้ นจากแหล่งนํ�าที�ปกติคอ่ นข้างเน่ าเสีย อาจมีโรคและปรสิต ของปลาติดมาด้วย จึงควรทําความสะอาดโดยล้างในนํ�าสะอาดและแช่ใน ด่างทับทิมเข้มข้น �.� - �.� กรัม/ลิตรประมาณ �� - �� วินาที แล้วล้าง ด้วยนํ�าสะอาด อีกครั�งก่อนให้เป็ นอาหารปลาไรสีน�ําตาลหรืออาร์ทีเมียจะไม่ มีปัญหานี� เนื� องจากเป็ นไรนํ�าเค็มที�เลี� ยงในความเค็มสูง ทุกๆ ๑ - ๒ เดือน ควรล้างทําความสะอาดภาชนะที�ใช้เลี� ยง



THINKING PROCESS กระบวนการความคิด เลือกใช้สีของปลา ลายเส้นของหาง เกล็ดตามลําตัว หวอดและหางรูปทรงใบโพธิ� และโหลปลากัด โดยนําไปใช้ในส่วนของผนัง ของตกแต่งภายใน และเลือกนําเอาวัสดุมาทดแทนรูปทรง ของสิ�งที�นํามาแะยังสามารถให้สมั ผัสได้


CASE STUDY

ตัวร้านถูกดัดแปลงมาจากบ้านเก่า ทีเ� คยเป็ นร้านหมอฟันมาก่อน โครงสร้างของบ้านยังคงเก็บเอาไว้ � ทาง เหมือนเดิมไม่เปลีย� น มีการต่อเติมเพิม � ออกมาจากส่วนของตัวบ้านเพือ � ให้รองรับลูกค้าได้มากขึน ร้านดึงสีเขียวมาใช้เป็ นหลัก ทัง� ต้นไม่ทถ ี� ก ู ปลูกอยูร่ อบ ๆ ร้านอย่างแน่ นขนัด แถมยังมีตน ้ ไม้ใหญ่หน้า � ตัวบานประตูและหน้าต่างด้านหน้าร้านก็ใช้สเี ขียวเข้ามาช่วย ตัวร้านออก บ้านทีท � าํ ให้รูส้ ก ึ ร่มรืน � ขึน สไตล์โคโลเนียลเล็ก ๆ ภายในใช้วอลล์เปเปอร์รูปต้นไม้แบบทรอปิ คัล ทีพ � เิ ศษคือทั�วทัง� ร้านจะมีการนําโถ ปลากัดมาตกแต่งกระจายไปทั�ว ปลากัดทีอ� ยูก ่ บั คนไทยมาอย่างยาวนานหลากหลายสีสวยงาม ว่ายนํ�าอยู่ ในโถสะบัดหางไปมา แถมยังสือ � ถึงความเป็ นไทยได้ดี


CASE STUDY

Siam Charming (สยาม ชาร์มมิง� )" ร้านอาหารไทยต้นตํารับ ย่านประชาชืน � ทีโ� ดดเด่นด้วยการ ตกแต่งแบบยุคเก่าสไตล์โคโลเนียล แต่ละเมนูทส ี� ยาม ชาร์มมิง� ล้วนใช้วตั ถุดบ ิ พรีเมียม และปรุง อย่างพิถพ ี ถ ิ น ั



4


FLOOR PLAN 1ST SCALE

1:100


FLOOR PLAN 2ND SCALE

1:100


RECEPTION


R E S T A U RA N T


S PA


แก้มแดง


แก้มเขียว


ลําแพน


ชายนํ�า


BRANDING COPERATE



5



บทสรุปและข้อเสนอแนะ จากการทําโครงการศึกษาปลากัดเพือ� การออกแบบมีวัตถุประสงค์ในการแสดงมุมมอง การมองปลากัดในรู ปแบบใหม่ๆแต่ยังคงความเป็ นปลากัด สรุ ปผลจากการดําเนิน กิจกรรมโครงการ การออกแบบโรงแรมทีม� แี รงบันดาลใจมาจากปลากัด ช่วยให้มองปลากัดในมุมใหม่ บุคคลทีไ� ม่ได้เลีย� งปลากัดก็ยังสามารถเข้าพักได้ เข้าถึงกลุ่มคนได้หลายหลาย นอกจาก � กั แล้วยังสอดแทรกความรู้จากแกลลอรี�และพิพธิ ภัณฑ์ดา้ นล่างของโรงแรม จะเป็ นทีพ เพือ� กลุ่มคนทีค� ดิ จะหันมาสนใจปลากัดของไทย


RESEARCH REFERENCE หนังสือสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ/เล่มที� ๓๐/เรือ� งที� ๗ ปลากัด http://www.taiwod.com/article/ประวัตปิ ลากัดไทย. http://www.thbetta.com/ความรูเ้ กี�ยวกับปลากัด/สายพันธุข์ องปลากัดป่ า. https://il.mahidol.ac.th/e-media/siam-fighting-fish/history.html https://pasusat.com http://www.navelahotel.com http://mynewfishkadpeathai.blogspot.com/2016/11/blog-post.html


CURRICULUMVITAE

NUENGRUETHAI NAMSANOA DATE OF BIRTH : 02 APRIL 1997 AGE : 23

CONTACT INFO MOBILE : 062-005-8642 LINE ID : toey23642 E-MAIL : TOEY.NAMSANOA@GMAIL.COM EDUCATION RANGSIT UNIVERSITY COLLEGE OF DESIGN DEPARTMENT OF INTERIOR


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.