DIVING STUDY TO DESIGN A WATER SPORTS CENTER (BEREEF) BOOK

Page 1

โครงการศึกษาการดำน้ำ สูการออกแบบศูนย กีฬาทางน้ำ

ศิลปนิพนธ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ปการศึกษา 2562

Bereef


โครงการศึกษาการดำน้ำสูการออกแบบศูนย กีฬาทางน้ำ โดย

นาย รัชชานนท พวงเขียว รหัสนักศึกษา 5707106

ศิลปนิพนธ นี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ปการศึกษา 2562


สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปนิพนธ ฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิตสาขาวิชาออกแบบภายใน ............................................................ คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน)

คณะกรรมการศิลปนิพนธ ............................................................ ประธานกรรมการ (อาจารย วริศว สินสืบผล)

............................................................ กรรมการ (อาจารย เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล)

............................................................ กรรมการ (อาจารย วิรุจน ไทยแชม)

............................................................ กรรมการ (อาจารย ถวัลย วงษ สวรรค )

............................................................ กรรมการ (อาจารย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน )

............................................................ กรรมการ (อาจารย บัณฑิต เนียมทรัพย )

............................................................ กรรมการ (อาจารย เรวัฒน ชำนาญ)

............................................................ กรรมการ (อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน )

............................................................ กรรมการ (อาจารย ไพลิน โภคทวี)

อาจารย ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ ............................................................ (อาจารย ไพลิน โภคทวี)


หัวขอศิลปนิพนธ : โครงการศึกษาการดำน้ำสูการออกแบบศูนย กีฬาทางน้ำ ผูดำเนินงาน : นายรัชชานนท พวงเขียว อาจารย ที่ปรึกษา : อาจารย ไพลิน โภคทวี ีปการศึกษา : 2560 สาขาวิชา : ออกแบบภายใน บทคัดยอ ชวงเวลาหลายปที่ผานมาธุรกิจดำน้ำ และธุรกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวทางทะเล มี การเติบโตสูงขึ้นอยางตอเนื่องจากพฤติกรรมในการใชจายเพื่อตอบสนองความชื่นชอบของตน เปนหลัก และชอบความทาทาย กิจกรรมกลางแจงการผจญภัยเพื่อแสดงถึงรสนิยมในการใชชีวิต ตนเองดวย ซึ่งสวนใหญเปนกลุมคนรุนใหม สงผลใหเศรษฐกิจของกิจกรรมดำน้ำเติบโตอยาง มาก ดังนั้นจึงมีการเพิ่มตัวของโรงเรียนสอนดำน้ำ และการจัดทริบทองเที่ยวทางทะเล ปจจุบันมีนักทองเที่ยวประเภทดำน้ำมากมายเขามาในประเทศไทย เพื่อเขามาทำกิจกรรม ดำน้ำ ในชวงหลายปที่ผานมามีชาวตางชาติ และคนไทยสนใจการดำน้ำเพิ่มมากขึ้น เนื่องดวย ทรัพยากรทางทะเลของประเทศไทยมีความหลากหลาย สวยงาม มีอัตราคาใชจายในการทำกิจ กรรมไมสูงมากนัก และดวยโซเชียลมีเดียปจจุบันมีผลตอการใชชีวิตของคนรุนใหมการลงรูปกิจ กรรมดำน้ำ จึงเปนที่สนใจสำหรับนักทองเที่ยวทางทะเลจากหลายๆ ประเทศ

ทั้งทะเลอาวไทย และทะเลอันดามันเปนแหลงทองเที่ยวทางทะเลที่สำคัญของประเทศ อีกทั้ง ยังมีโรงเรียนสอนการดำน้ำที่หลากหลายประเภท แตเนื่องดวยปจจุบันมีโรงเรียนสอนดำน้ำเพิ่ม ขึ้นจำนวนมาก สถานที่และสระน้ำที่จะรองรับการเรียนการสอนดำน้ำไมเพียงพอไมตอบสนอง ความตองการของคนที่เขาทำกิจกรรมการดำน้ำ ดังนั้นโครงการนี้จึงเปนโครงการที่ออกแบบพื้น ที่สำหรับรองรับกิจกรรมการเรียนการสอนดำน้ำ เพื่อตอบสนองความตองการ มีอุปกรณ เพียง พอสำหรับการเรียน สรางแหลงรวมตัวของคนที่มีความสนใจเหมือนกัน และมีความปลอดภัยใน การทำกิจกรรมการดำน้ำ

กิจกรรมการดำน้ำในปจจุบัน ไดรับความสนใจจากผูคนเปนอยางมาก มีคนมองหากิจ กรรมที่บงบองการใชชีวิตของตนเอง โรงเรียนดำน้ำ รานขายของดำน้ำทั้งหมดที่กลาวมาในขาง ตน ผูวิจัยจึงตองการสรางพื้นที่รวมตัวทำกิจกรรมการดำน้ำ แหลงกระจายขาวสารสถานที่ให ความรูแกผูที่สนใจภายใตแนวความคิด Interim เพื่อกลุมคนที่สนใจการดำน้ำ และผลักดันธุรกิจ ดำน้ำ เพื่อใหประเทศไทยเปนศูนย กลางการผลิตนักดำน้ำ และสนับสนุนการทองเที่ยวทางทะเล ของประเทศไทย


ข Title Name Advisor Academic Year Department

: : : : :

Diving Study to Design a Water Sports Center Ratchanon poungkiaw Pailin phokthavi 2019 Interior Design ABSTRACT

Over the years, the diving business and businesses related to marine tourismb There is continuous growth from spending habits mainly to meet their preferences. And like the challenge Outdoor activities, adventures to show the taste of their own lives too Most of them are the new generation. Resulting in the economy of diving activities growing signiďŹ cantly Therefore, there is an increase in dive schools. And arranging sea travel trips. Currently, many diving tourists are entering Thailand. To come to do scuba diving activities In the past years there have been foreigners And Thai people are increasingly interested in diving Because Thailand's marine resources are diverse, beautiful, and the cost of doing activities is not very high. And with today's social media affecting the lives of the new generation, posting pictures of diving activities Therefore it is of interest to marine tourists from many countries. Both the Gulf of Thailand And the Andaman Sea is an important marine tourism destination of the country There are also a variety of diving schools. But since now there are many more diving schools the location and the pool that is not enough to support diving instruction Does not meet the needs of people who do diving activities, Therefore, this project is a project that designed a space for supporting diving instructional activities. To meet the needs There is enough equipment for studying. Create a gathering place for people with similar interests. And safe for diving activities. Current diving activities Have received a lot of attention from people. People are looking for activities that indicate their way of life. Diving school Dive shop All of the above the researcher, therefore, wants to create a space to collect dive activities. News source A place to educate people interested in the concept of Interim for those interested in diving. And drive the diving business to make Thailand a center for divers to produce and support marine tourism in Thailand.


ฃ กิตติกรรมประกาศ

ผลงานศิลปนิพนธ โครงการที่พักรับรองสำหรับนักทองเที่ยวเชิงการแพทย นี้สำเร็จไดดวยการ เอื้อเฟอขอมูลที่เปนประโยชน และความรวมมือตางๆ ของหลายทาน ซึ่งใหการสนับสนุนผูวิจัยตั้งแตเริ่ม ตนงานศิลปะนิพนธ ตั้งแตเริ่มตนจนงานศิลปนิพนธ เสร็จสมบูรณ

ขอขอบพระคุณอาจารย ไพลิน โภคทวี อาจารย ที่ปรึกษาที่ชวยอบรมสั่งสอนใหตัวกระผมนั้นอยู ในลูทางที่ดีเสมอมาและใหคำชี้แนะในการเรียนการศึกษา การใชชีวิต จนขาพเจาสำเร็จการศึกษา

ขอขอบพระคุณคณะอาจารย ภาควิชาศิลปะและการออกแบบสาขาวิชาออกแบบภาคในทุกทานที่ ใหคำปรึกษาและชี้แนะวิธีการในการพัฒนาตัวโครงการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นจนสำเร็จไปไดดวยดี

ขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่เอื้อเฟอสถานที่สำหรับการสรางโครงการ และให ขอมูลเกี่ยวกับดานสถานที่เพื่อเปนขอมูลอางอิงในการทำศิลปนิพนธ

ขอขอบคุณเพื่อน รุนพี่และรุนนองทั้งในและนอกคณะที่ใหความชวยเหลือในการทำงาน ในการใช ชีวิตตลอดระยะเวลาที่ไดศึกษาในมหาวิทยาลัย ใหไดพบประสบการณ ตางๆที่ดี ขอบคุณมิตรภาพที่ดีที่มี ใหตอกันใน ณ ที่นี้

ทายที่สุดจะขาดไปไมได ขอขอบพระคุณ บิดาและมารดา ที่ใหการอบรมเลี้ยงดูใหการศึกษาแก ขาพเจาดวยความรักความเอาใจใสอยางดียิ่งตลอดมาจนวิทยานิพนธ ฉบับนี้ลุลวงดวยดี

รัชชานนท พวงเขียว 01 กรกฎาคม 2563


ค สารบัญ บทที่ บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ

หนา ก ข ฃ ค ฆ

บทที่ 1 Introduction 1 ที่มาและความสำคัญ 2 วัตถุประสงค 3 ขอบเขตการสรางสรรค ผลงาน 3 ขั้นตอนการดำเนินงาน 3 ผลที่คาดวาจะไดรับ 3

บทที่2 Study of Project Basic Information 4 What is Diving? (การดำน้ำคืออะไร) 5 Type of Diving (ประเภทการดำน้ำ) 6 Diving Type (Scuba diving) 8 Diving Type (Freediving) 12 Diving Course 13 Business 14 Equipment Maintenamce (การเก็บรักษาอุปกรณ ) 15 Restaurant Table Setting (การจัดโตะรานอาหาร) 16 Quatifications of Diving Learners (คุณสมบัติของผูเรียนดำน้ำ) 15 Target Group (การกำหนดกลุมผูใช) 16 Bangkok Freedivers 17 Odd Dive Thailand 18 Y-40 19 Nemo-33 20 พื้นที่ใกลโดยรอบ 21 บทที่3 Theory and Design Concept การออกแบบและพัฒนา พัฒนาแบบรางครั้งที่2

22 23 29


ฅ สารบัญ บทที่

หนา

บทที่4 Project Design สรุปผลการออกแบบ ทางเขาโครงการ Concept design พื้นที่ชั้นที่ 1 พื้นที่ชั้นที่ 2

31 32 34 35 38 45

บทที่5 Summary สรุปผลและขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติ

52 53 54 56


ฆ สารบัญภาพ ภาพประกอบ ภาพที่ 1 : Poster Thailand Golf and Dive Expo 2019 ภาพที่ 2 : Snorkeling ภาพที่ 3 : Skin Diving ภาพที่ 4 : Freediving ภาพที่ 5 : Scuba Diving ภาพที่ 6 : ประเภทการดำน้ำ ภาพที่ 7 : Discover or Fun Ddiving ภาพที่ 8 : Open Water ภาพที่ 9 : Advance Water Diver ภาพที่ 10 : แผนภูมิกราฟเสนแสดงการเติบโตของธุรกิจดำน้ำ ภาพที่ 11 : แผนภูมิวงกลมแสดงรายละเอียดคนที่สนใจเพิ่ม และมูลคาธุรกิจดำน้ำ ภาพที่ 12 : แวนดำน้ำ ภาพที่ 13 : การตากตีนกบ 1 ภาพที่ 14 : การตากตีนกบ 2 ภาพที่ 15 : ไดฟคอม ภาพที่ 16 : Regulator ภาพที่ 17 : BCD ภาพที่ 18 : การตากBCD ภาพที่ 19 : การสอนของ Bangkok Freedivers 1 ภาพที่ 20 : การสอนของ Bangkok Freedivers 2 ภาพที่ 21 : การสอนของ Odd Dive ภาพที่ 22 : รานคา Odd Dive ภาพที่ 23 : ISOMATIC Y-40 ภาพที่ 24 : Y-40 ภาพที่ 25 : ISOMATIC Nemo-33 ภาพที่ 26 : Nemo-33 ภาพที่ 27 : Location 1 ภาพที่ 28 : Location 2 ภาพที่ 29 : Location 3 ภาพที่ 30 : ภาพพื้นที่ปจจุบัน ภาพที่ 31 : แปลนแสดงพื้นที่ไมไดใชงาน ภาพที่ 32 : แปลนชั้น 1 แสดงกิจกรรมเกา ภาพที่ 33 : แปลนชั้น 2 แสดงกิจกรรมเกา ภาพที่ 34 : แปลนชั้น 1 แสดงโซนกิจกรรมใหมครั้งที่ 2 ภาพที่ 35 : แปลนชั้น 2 แสดงโซนกิจกรรมใหมครั้งที่ 2

หนา 2 6 6 7 7 8 13 13 13 14 14 15 15 15 15 15 15 15 17 17 18 18 19 19 20 20 21 21 24 25 26 27 28 29 30


ง สารบัญภาพ

ภาพประกอบ หนา ภาพที่ 36 : ภาพใตทะเล 1 32 ภาพที่ 37 : ภาพปะการังใตทะเล 1 32 ภาพที่ 38 : ภาพปะการังใตทะเล 2 32 ภาพที่ 39 : ภาพปะการังใตทะเลลดลายละเอียด 32 ภาพที่ 40 : แบบรางโลโก 32 ภาพที่ 41 : การมองเห็นแสงใตทะเล 33 ภาพที่ 42 : โลโก 33 ภาพที่ 43 : Isometric แสดงทางเขา 34 ภาพที่ 44 : แปลนชั้น 1 แสดงทางเขา 35 ภาพที่ 45 : แปลนชั้น 2 แสดงทางเขา 35 ภาพที่ 46 : Concept Design 36 ภาพที่ 47 : Mood Images 37 ภาพที่ 48 : แปลนชั้น 1 โซนนิ่ง 38 ภาพที่ 49 : แปลนชั้น 1 39 ภาพที่ 50 : ประชาสัมพันธ จุดขายขายทริบ และคลาสดำน้ำ 40 ภาพที่ 51 : โถงทางเดิน 1 40 ภาพที่ 52 : หองวีอาร 41 ภาพที่ 53 : โถงทางเดิน 2 41 ภาพที่ 54 : รานอาหาร 1 42 ภาพที่ 55 : รานอาหาร 2 43 ภาพที่ 56 : รานอาหาร 3 44 ภาพที่ 57 : โลโกกับรูปทรงเลขาคณิต 44 ภาพที่ 58 : แปลนชั้น 2 โซนนิ่ง 45 ภาพที่ 59 : แปลนชั้น 2 46 ภาพที่ 60 : รานขายอุปกรณ 1 47 ภาพที่ 61 : รานขายอุปกรณ 2 47 ภาพที่ 62 : รานขายอุปกรณ 3 48 ภาพที่ 63 : ทางเขาสระวายน้ำ 48 ภาพที่ 64 : หอง Locker 49 ภาพที่ 65 : หองอาบน้ำ และหองน้ำ 49 ภาพที่ 66 : หองเรียน 1 50 ภาพที่ 67 : หองเรียน 2 50 ภาพที่ 68 : สวนพักผอน 1 51 ภาพที่ 69 : สวนพักผอน 2 51


1

Introduction 01


2

Project Background

ภาพที่ 1 : Poster Thailand Golf and Dive Expo 2019

จากการไปงาน Thailand Golf and Dive Expo 2019 ไดมีประสบการณ การเขารวมกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการดำ น้ำเปนครั้งแรกไดพบกิจกรรมเกี่ยวกับการดำน้ำมากมาย ทั้งการทองเที่ยว อุปกรณ และการเรียนการสอนดำน้ำประเภท ตาง ๆ จึงมีโอกาสไดสมัครเรียนประเภทฟรีไดฟ หรือการดำน้ำโดยไมใชเครื่องชวยหายใจ จึงทำใหกิจกรรมนี้มีคำนิยาม “หนึ่งลมหายใจ” เนื่องจากลักษณะที่จะเก็บลมหายใจ กลั้นหายใจดำลงใตน้ำ และจะหายใจอีกทีคือหลังจากขึ้นสูผิวน้ำ ถึง จะหายใจอีกครั้งแลวการที่ไมมีอุปกรณ ชวยหายใจ จึงทำใหสามารถสัมพันธ กับธรรมชาติไดมากขึ้น เนื่องจากอุปกรณ ชวย หายใจจะมีเสียงรบกวน สัตว น้ำบางชนิดจะไมเขาใกล และเมื่อไมใชอุปกรณ สัตว น้ำจะเขาใกลตัวมากขึ้น สิ่งนี้จึงเปนสิ่งที่ดึง ดูดใหสมัครเรียนหลักสูตรนี้ หลังจากการเรียนทฤษฎี ปฏิบัติในสระ และทะเลจริง ถึงจะไมผานไดรับใบอนุญาต แตสิ่งที่ได เรียนรูยิ่งสนใจกิจกรรมนี้มากยิ่งขึ้น และเมื่อตองการฝกดวยตนเองจึงหาสถานที่สำหรับฝกซอม แตกลับพบอุปสรรค คือ สระมีความลึกไมเพียงพอ สำหรับฝกซอมทักษะ แลวสระที่มีความลึกมากพอ ก็ตองมีคนมีใบอนุญาตดูแลแตตองพาไป เอง เนื่องจากสถานที่มีแตการสอนสกูบา

จึงตองการออกแบบศูนย กีฬาทางน้ำ ที่รองรับกิจกรรมการดำน้ำครบวงจร เพื่อรองรับนักดำน้ำมือใหม และมือ อาชีพ สำหรับการฝกซอม เรียนทักษะการดำน้ำ ทบทวนสำหรับคนที่ไมไดดำน้ำนาน และอบรมเกี่ยวกับทักษะการดำน้ำ เคล็ดลับตาง ๆ เพราะ ปจจุบันกิจกรรมไดมีการถูกแยกกัน เนื่องจากสถานที่เรียนประเภทการดำน้ำ และการฝกซอมก็ไมมี บุคลากรรองรับ เนื่องจากจำเปนตองมีคนมีใบอนุญาตดูแล ถาไมมีก็ไมอนุญาตใหซอมได จำเปนตองติดตอมาเองมือใหม จึงหาที่ซอมลำบาก ดังนั้นโครงการที่จะเปนแหลงรวมตัวคนที่สนใจการดำน้ำ และสนใจธรรมชาติทางทะเล สมควรที่จะมี การศึกษา และนำเสนอโครงการ นอกจากจะเปนสถานที่รวมตัวของคนที่สนใจการดำน้ำ ยังเปนศูนย รวมขาวสาร และ ความรูตาง ๆ เกี่ยวกับการเรียน และการทองเที่ยวทะเล เพื่อเปนการใหความรู และสงเสริมการทองเที่ยวทางทะเลของ ไทยทั้งชาวไทย และชาวตางชาติ


3 Objective

เพื่อเปนศูนย รวมสงเสริม และสนับสนุนกิจกรรมการดำน้ำ เพื่อเปนแหลงเผยแพรขาวสาร และดึงดูคนที่สนใจกิจกรรมดำน้ำ เพื่อเปนสถานที่เรียน และฝกซอมอยางปลอดภัยถูกตองตามหลักสากล

Area of Study

ศึกษาลักษณะการดำน้ำ แตละประเภท ศึกษาการออกแบบ และใหบริการศูนย กีฬาทางน้ำ ศึกษากิจกรรมที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการดำน้ำ

Research Methodology

ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการดำน้ำ ศึกษาชวงเวลาของแตละกิจกรรมดำน้ำ และกิจกรรมที่เกี่ยวของ ศึกษาการออกแบบศูนย กีฬาทางน้ำ

Expectation

ทำใหคนสามารถเขาถึงกิจกรรมดำน้ำไดงายขึ้น นที่สนใจมีสถานที่ทำกิจกรรมที่ครบวงจรมากยิ่งขึ้น สถานที่เรียน และฝกซอมการดำน้ำอยางปลอดภัย ศูนย รวบรวมขอมูลขาวสาร และกระจายขาวสารเกี่ยวกับการดำน้ำ


4

Study of Project Basic Information 02


5

What is Diving?

ดำน้ำ แปลวา ทำตัวใหจมไปใตผิวน้ำ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พศ. 2554) การดำน้ำ (อังกฤษ: underwater diving) เปนการลดตัวใตผิวน้ำเพื่อทำกิจกรรมใตน้ำ มักเกี่ยวของกับ การทองเที่ยวทางทะเลเปนหลัก หรืออาจเปนภารกิจทางทหาร การแชน้ำและการสัมผัสกับน้ำเย็น และ ความดันสูงมีผลทางสรีรวิทยาตอนักดำน้ำซึ่งจะจำกัดความลึก และระยะเวลาในการดำน้ำโดยรวมการ กลั้นหายใจเปนขอจำกัดสำคัญ และการหายใจที่ความดันสูงยังทำใหเกิดภาวะแทรกซอนอื่น ๆ ทั้งทาง ตรงและทางออม การพัฒนาวิธีการทางดานอุปกรณ เทคโนโลยีเพิ่มความลึก และระยะเวลาในการดำน้ำ โดยรอบของมนุษย และยังชวยใหทำงานใตน้ำไดนานยิ่งขึ้น

สภาพแวดลอมทำใหกิจกรรมดำน้ำมีความอันตรายหลากหลายอยางและความเสี่ยงสวนใหญจะ ถูกควบคุมโดยทักษะการดำน้ำที่เหมาะสมการฝกอบรม ประเภทของอุปกรณ ที่ใช และกาซหายใจที่ใชที่ ขึ้นอยูกับความลึกและวัตถุประสงค ในการดำน้ำ กิจกรรมดำน้ำมีความลึกสูงสุดประมาณ 40 เมตร (130 ฟุต) สำหรับการดำน้ำลึกเชิงสันทนา การ 530 เมตร (1,740 ฟุต) สำหรับการดำน้ำเชิงพาณิชย และ 610 เมตร (2,000 ฟุต) ที่สวมใสชุด Atmospheric Suit การดำน้ำยังถูกจำกัดใหอยูในสภาพที่ไม อันตรายมากเกินไป แมวาระดับความเสี่ยงอาจผันผวน(Wikipedia,2018/FreedomDive)


6 ใบอนุญาต

ไมตอง

การเรียน

ไมจำเปน

ความลึก ผิวน้ำ

0 เมตร

อุปกรณ เสื้อชูชีพ, แวนตาดำน้ำ, ทอหายใจ, ตีนกบ(อาจจะมีหรือไมมีก็ได)

ภาพที่ 2 : Snorkeling

Skin Diving

Types of Diving

รูปแบบ

ใบอนุญาต

ไมตอง

การเรียน

ไมจำเปน แตถาเรียนก็จะสามารถดำน้ำไดนาน ยิ่งขึ้น

ความลึก

ผิวน้ำ ถึง ไมเกิน 5 เมตร

เปนการดำน้ำแบบผิวน้ำ ไมจำเปนตองใชทักษะ วายน้ำ จะทำเพียงแคเอาใบหนาสัมผัสผิวน้ำ แลวดูธรรมชาติใตน้ำ โดยเราจะสามารถ หายใจ ผานทอหายใจไดตลอดเวลา

Snorkeling

อุปกรณ แวนตาดำน้ำ, ทอหายใจ, ตีนกบ(อาจจะมีหรือ ไมมีก็ได) รูปแบบ

เปนการดำน้ำที่นำตัวเองลงไปสูใตน้ำ จำเปนตอง มีัทักษะการวายน้ำ และระยะเวลาการดำน้ำจะขึ้น อยูกับการกลั้นหายใจของตนเอง โดยจะเนนดำ น้ำประเภทนี้ในพื้นที่ที่ไมลึกมาก ภาพที่ 3 : Skin Diving


7 ใบอนุญาต

ตอง

การเรียน

จำเปน

ความลึก

0 ถึง 15 เมตร สำหรับใบอนุญาตเริ่มตน

อุปกรณ แวนตาดำน้ำ, ทอหายใจ, ตีนกบ, ชุดดำน้ำ รูปแบบ

Scuba Diving

Types of Diving

ภาพที่ 4 : Freediving

ใบอนุญาต

ตอง

การเรียน

จำเปน

ความลึก

0 ถึง 18 เมตร สำหรับใบอนุญาตเริ่มตน

เปนการดำน้ำที่นำตัวเองลงไปสูใตน้ำ จำเปนตองมีการ เรียนจนไดรับใบอนุญาต เพราะ ใชการกลั้นหายใจตนเอง แลวลงสูใตน้ำ หายใจอีกทีนึง คือ ขึ้นสูผิวน้ำ และจะมีบัด ดี้เสมอในการดำน้ำ เพื่อความปลอดภัยในการดำน้ำ จาก การกลั้นหายใจดวยตนเอง เสียงรบกวนจึงไมมี จึงทำให สามารถใกลชิดธรรมชาติไดมากขึ้น เนื่องจากจะสามารถ เขาใกลสัตว น้ำไดขึ้น เพราะ ไมมีเสียงรบกวนจากอุปกรณ

Freediving

อุปกรณ ตัวปรับแรงดัน, BCD (Buoyancy Control Device) เสื้อสำ

หรับปรับการลอย จมในการดำน้ำ, หนากากดำน้ำ, ทอหาย ใจ, คอมพิวเตอร คำนวณเพื่อการดำน้ำ, ตีนกบ, ชุดดำน้ำ, ถุงกันน้ำ, รองเทา, Gauge, มีด, ไฟฉาย, ถังออกซิเจน

รูปแบบ

เปนการดำน้ำที่สามารถลงไปสูใตน้ำลึก จะตองมีบัดดี้ หรือ เปนกลุมเสมอ เพื่อความปลอดภัย การหายใจจะผานถังออก ซิเจน โดยจะหายใจตลอดเวลา และจะมีรายละเอียดการดำน้ำ จำนวนมาก ทั้งการลงไปใตน้ำ และกอนขึ้นผิวน้ำเพื่อปองกัน ความผิดปกติที่จะเกิดขึ้นกับรางกาย

ภาพที่ 5 : Scuba Diving เขียน/เรียบเรียง/ขอมูลจาก : งาน Thailand golf and dive expo 2019


8

Diving Type (Scuba Diving)

ภาพที่ 6 : ประเภทการดำน้ำ

ประเภทการดำน้ำ 1. ดำน้ำในแนวปะการัง (Reef Diving) รวมไปถึง กำแพงหินใตน้ำ (Wall Diving) และหนาผาใตน้ำ (Drop-off) 2. ดำตามพื้นทราย (Muck Diving) 3. ดำเรือจม (Wreck Diving) รวมไปถึง สิ่งปลูกสรางและซากปรักหักพัง จมน้ำ 4. ดำน้ำแบบปลอยไหลไปตามกระแสน้ำ (Drift Diving) ไมรวมการดำน้ำที่จัดอยูในแบบอื่น ซึ่งบังเอิญมีกระแสน้ำ แรง และตองฝน ทวน หรือหาที่หลบนะครับ แมวาเทคนิคบางอยาง ก็ใชเหมือนๆ กัน 5. ดำน้ำกลางคืน (Night Diving) 6. ดำน้ำในโพรง (Cavern Diving) คือการดำน้ำในโพรงหรือถ้ำใตน้ำ ที่ยังพอมีแสงสวางจากภายนอกอยูบาง 7. ดำน้ำในถ้ำ (Cave Diving) อันนี้คือ ถ้ำจริงๆ ที่อาจคดเคี้ยว มีขึ้น/ลง ลึกเขาไปเปนสิบ เปนรอยเมตร และที่ สำคัญคือ ไมมี แสงสวางธรรมชาติสองถึง 8. ดำน้ำใตแผนน้ำแข็ง (Diving Under Ice หรือ Ice Diving) * แบงประเภทตามสภาพแวดลอมการดำน้ำนะครับ ถาแบงดวยเงื่อนไขแบบอื่น อาจไดอีกหลายประเภทครับ การดำน้ำในแนวปะการัง (Reef Diving) เปนการดำน้ำแบบพื้นฐานที่สุดสำหรับทุกคน เพราะแนวปะการัง (coral reef) เปนพื้นที่ที่เราจะพบสิ่งมีชีวิตได หลากหลายชนิดมากที่สุดตอพื้นที่เทาๆ กัน จึงเปนจุดเริ่มตนที่นาตื่นตาตื่นใจ สำหรับนักทองเที่ยวใตทะเลอยางพวกเรา แนวปะการัง เกิดขึ้นจากการกอรางสรางบาน โดยสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่เรียกวา "ปะการัง" (coral) โดยพื้นที่ของแนว ปะการังสวนใหญจะเกิดจาก ปะการังแข็ง (hard coral) ที่อาศัยอยูรวมกันเปนกลุมกอน นับหมื่นนับแสนตัวตัวเล็กตัวนอย เพียง 0.5 ถึง 2 ซ.ม. เทานั้น สรางเปลือกหินปูนหอหุมรางกายที่ออนนุม (ที่เรียกวา polyp) เอาไวเมื่อตายไปก็จะมีตัวใหม สรางบานหินปูนซอนทับขึ้นไปเรื่อยๆ เกิดเปนโครงสรางหินปูนแข็งแรง ของกอนปะการัง ขึ้นมา


9 สวนปะการังออน (soft coral) มักจะมีโครงสรางไมใหญโต เปราะบาง เมื่อตายก็มักจะแตกหัก รวงหลนไปเปน สวนหนึ่งของพื้นทราย แตจะเปนตัวชูโรงในเรื่องของความสวยงามของแนวปะการังมากกวา เพราะปะการังออน มักมีสี สันสวยงาม กิ่งกานแผกวาง และโอนออนโบกสะบัด พริ้วไหว ไปตามคลื่นน้ำที่กระทบมา

สิ่งมีชีวิตที่พบไดในแนวปะการัง คือ สัตว เกือบทุกกลุมในทะเล นับตั้งแต ปลาหลากสี หลายสายพันธุ กุง กั้ง หอย ปู ทากทะเล ดอกไม ทะเล หมึก เมน ดาว เตา งู ไปจนถึง แมงกะพรุน และ ปลาทะเลลึก (เรามักเรียกกันวา ปลา กลางน้ำ หรือ pelagic fish) ที่บางทีก็แวะเวียนมาในแนวปะการังเชนกัน ขอยกเรื่องเกี่ยวกับ จุดเดน และเทคนิคตางๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ ไปไวที่หัวขอ การดำน้ำในแนวปะการัง (Reef Diving) ละกันนะครับ เผื่อใครจะใหความเห็นเพิ่มเติมไดดวย การดำน้ำตามพื้นทราย (Muck Diving) เปนอีกประเภทของการดำน้ำ ที่นักดำน้ำใหมๆ อาจยังนึกไมออกวามันจะสนุกตรงไหน แตนักดำน้ำที่ดำน้ำมาระ ยะหนึ่งแลว หลายคนจะเริ่มสนุกกับการดำน้ำในพื้นที่ ที่ดูไมนาสนใจ มีแตความราบเรียบ สม่ำเสมอ มองไปทางไหนก็เห็น แตทราย ทราย ทราย อันเวิ้งวาง แตกตางไปจาก แนวปะการัง อยางสิ้นเชิง จริงๆ แลวในความเวิ้งวางวางเปลา ดูไมนาสนใจนั้น มีสิ่งที่นาสนใจอยางมากรออยู โดยเฉพาะนักดำน้ำที่สนใจ สิ่งมีชีวิตแปลกตา นาแปลกใจ เพราะสิ่งมีชีวิตอีกหลายชนิด ชอบที่จะอยูอาศัยตามพื้นทรายมากกวาแนวปะการัง และ ดวยความที่เปนพื้นที่ไมเหมือนแนวปะการัง สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูกับพื้นทราย จึงมักจะมีพฤติกรรมบางอยาง แปลกแตก ตางไปจากสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังอีกดวย ซึ่งเปนจุดเดนอีกขอหนึ่งของการดำน้ำตามพื้นทราย นั่นเอง ตัวอยางของ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยตามพื้นทราย ไดแก ปลาลิ้นหมา (Sole และ Flounder) ที่มีวิธีการวายน้ำ ไมเหมือนปลาทั่วไป ปลาผีเสื้อกลางคืน (Sea Moth) และ Flying Gurnard ที่ดูเหมือนจะรอนถลาได ปลาไหลสวน (Garden Eel) กับวิธีหาอาการที่ลอยมากับกระแสน้ำ

และ ทากทะเลหลายสายพันธุ ที่แปลกตา และหาดูไมไดในแนวปะการัง เปนตนครับ

การดำเรือจม และสิ่งกอสราง หรือซากปรักหักพัง (Wreck Diving) เรือจม และซากปรักหักพังใตน้ำ นอกจากจะทำหนาที่ เปนโครงสรางปะการังเทียม ที่มีสิ่งมีชีวิตมาเกาะติด หรือ อาศัยเปนที่อยู หลบภัยไดแลวมีจุดเดนในเรื่องของการเปนจุดดำน้ำดวย เพราะการดำน้ำในที่แบบนี้ จะใหอรรถรสในการ ดำน้ำไดหลากหลาย กวาแนวปะการังธรรมชาติทั่วไปมีทั้งซอก หลืบ หองหับ หรือชองโพรงตางๆ ใหเราตองเคลื่อนตัว

ดวยวิธีตางๆ หลายแบบ เห็นวิวทิวทัศน และแสงเงา หลากหลาย แปลกตา ในตำแหนงตางๆ รวมไปถึงเรื่องราว หรือประ

วัติศาสตร เบื้องหลังการจม หรือการกอสราง สิ่งนั้นๆ ที่อาจชวยสรางความสนุกสนาน ตื่นเตน ไปจนถึงเราใจ ในระ

หวางการดำน้ำในที่นั้นๆ มากยิ่งขึ้นดวย จึงนับเปนการดำน้ำอีกประเภทหนึ่ง ที่มีเสนหแ ตกตางไปจากการดำน้ำตามแนว ปะการังทั่วไป ชวนใหนักดำน้ำหลายคนหลงใหล


10 สำหรับการดำน้ำรอบๆ เรือจมหรือซากปรักหักพัง เปนสิ่งที่นักดำน้ำทั่วไป สามารถทำไดดวยทักษะการดำน้ำที่ เรียนมา แตหากจะมุดเขาไปภายในซากเรือแลวละก็ แนะนำใหเรียนรู และฝกหัด การดำน้ำสำรวจภายในเรือจม (wreck penetration) กอนจะดีกวาครับ การดำน้ำแบบปลอยไหลไปในกระแสน้ำ (Drift Diving) เปนการดำน้ำแบบที่ นักดำน้ำจะปลอยตัวเองใหไปตามกระแส ซึ่งอาจมีความเร็วเอื่อยๆ ไปจนถึงความเร็วสูงมาก

ระหวางไดฟ อาจมีจุดที่บังกระแส ใหนักดำน้ำไดหยุดแวะชมทิวทัศน กอนจะกลับเขาสูกระแสน้ำ ปลอยตัวตอไป นับเปนรูป

แบบการดำน้ำอีกแบบหนึ่ง ที่ใหความสนุก ตื่นเตน เราใจ ไดไมนอย ยิ่งถากระแสน้ำมีความเร็วสูง และทิวทัศน ของจุดดำน้ำ มีความสวยงาม มีฝูงปลามากมาย น้ำใสๆ รับรองวา นักดำน้ำที่ไดฝกฝนทักษะการดำน้ำมาอยางดีจะสนุกกับการดำน้ำ แบบนี้ ไมตางอะไรกับการไดเลนเครื่องเลนในสวนสนุกกันเลยทีเดียว แนนอนวาการดำน้ำในกระแสน้ำแรง นักดำน้ำ จำเปนตองไดรับการฝกฝนทักษะกันกอนทั้งที่เกี่ยวกับทักษะการ ดำน้ำทั่วไป และที่เกี่ยวกับการดำน้ำในกระแสน้ำโดยเฉพาะ รวมทั้งผูที่ดูแลการดำน้ำ (ทั้งไดฟลีด และผูดูแลบนเรือ) ในไดฟ ที่ตองดำในกระแสแรง ก็จะตองเขาใจเรื่องที่เกี่ยวของกับการดำน้ำในกระแส เปนอยางดีดวยครับการดำน้ำกลางคืนเวลา

กลางคืน ในขณะที่สิ่งมีชีวิตหลายชนิดเริ่มพักผอนหลับนอน แตก็เปนเวลาที่สัตว ทะเลบางชนิด เริ่มออกหากิน เชนกัน

ดวยอุปกรณ เพิ่มเติม คือ ไฟฉายใตน้ำ ประกอบกับทักษะการดำน้ำกลางคืนที่ตองเรียนรูและฝกปฏิบัติเพิ่มเติมอีกเล็กนอย เราก็สามารถลงไปตื่นตาตื่นใจ กับธรรมชาติของทองทะเลยามวิกาล ไดแลวครับ จุดเดนของการดำน้ำกลางคืน มีประมาณนี้ครับ - เปนเวลาที่ดี ในการชื่นชม สิ่งมีชีวิตที่ซอนตัวในเวลากลางวัน และหากินในเวลากลางคืน เชน ปูและกุงหลาย ชนิด, ทากบางชนิด อยางทากเหงือกขาง ตัวใหญเทาชามกวยเตี๋ยว และ Spanish Dancer, ดาวตะกรา

- สัตว หลายชนิด เริ่มเขาสูสถานะงวงนอน และเซื่องซึม ทำใหชางภาพใตน้ำ สามารถถายรูปสัตว เหลานั้นไดงาย ขึ้นมาก

- สัตว อีกบางชนิด เขาสูภาวะตื่นตัว ออกหากิน เชน ปลาไหลมอร เรย ที่เราจะเห็นเคาวายแบบเต็มๆ ตัวไดบอย ใน เวลากลางคืน - มีแสงไฟสอง ทำใหเห็นสีสันของสิ่งตางๆ ใตน้ำ ไดแจมชัดยิ่งขึ้น

- เปนเวลาที่มีวิสัยทัศน จำกัด (ตามวงของแสงไฟ) ทำใหเรามีขอบเขตการมองเห็นเล็กลง (มีโฟกัสมากขึ้น) และ ไดเห็นสิ่งเล็กนอยไดละเอียดยิ่งขึ้น ไดชื่นชมกับพื้นผิวของโขดหิน กิ่งปะการัง ไดเต็มอิ่มยิ่งขึ้น สวนบางคนอาจจะยังกลัวความมืดรอบขาง หรือดานหลัง ที่แสงไฟสองไปไมถึง ก็อาจไมสนุกกับการดำน้ำกลางคืนก็ได การดำน้ำในโพรง (Cavern Diving) หมายถึง การดำน้ำในบริเวณที่ปด มีขอบเขตจำกัด และมักจะจำกัดดานบนดวย (คือถาตกใจ ก็ขึ้นไปหาอากาศ ขางบน ไมได) โดยตางจาก การดำน้ำในถ้ำ ตรงที่การดำน้ำแบบนี้ จะพอมีแสงสองเขามาไดบางพอมองเห็นบริเวณรอบ ขางได และยังมองเห็นทางออกได แมไฟฉายดับ หรือไมไดใชไฟฉาย


11 การดำน้ำแบบนี้ มีทักษะ และวิธีปฏิบัติ ที่ตองเรียนรูทำความเขาใจ เพิ่มจากทักษะพื้นฐานเพียงเล็กนอยเทานั้น นักดำน้ำ

ก็สามารถรวมกิจกรรมแบบนี้

ไดอยางสนุกสนาน

และปลอดภัยเพียงพอ

การดำน้ำในถ้ำ (Cave Diving) สวนการดำน้ำในถ้ำ ก็คลายกับการดำน้ำในโพรง ตางกันตรงที่การดำน้ำในถ้ำ อาจเขาไปตามแนวถ้ำ ลึกจนไมมี

แสงจากภายนอกสองเขาไปถึงได และแมมีอุปกรณ ใหแสงสวางแลวก็ตาม นักดำน้ำก็ยังอาจจะหลงทางไมรูวาทางไหนที่เขา มา และทางไหนเปนทางออก ไดดวย

การดำน้ำในถ้ำ จึงเปนกิจกรรมที่ตองมีการเรียนรูทฤษฎี วิธีปฏิบัติ ฝกฝนทักษะ พรอมอุปกรณ ที่เพิ่มขึ้นดวย จึงจะดำน้ำในถ้ำไดอยางปลอดภัย การดำน้ำใตแผนน้ำแข็ง (Diving under Ice หรือ Ice Diving)

เปนการดำน้ำในสภาพแวดลอมที่เกินจุดที่มนุษย จะดำรงชีวิตอยูไดนาน และตองใชอุปกรณ และการวางแผน เตรียมการอยางดี โดยมีทีมงานที่มีความรูความเขาใจจริงๆ

อุณหภูมิน้ำใตแผนน้ำแข็ง อาจต่ำไดถึง -1.8c และทำใหตองมีอุปกรณ กันความเย็นหลายอยาง จนตองเพิ่มตะกั่ว ถวงน้ำหนักจำนวนมาก ในขณะที่เมื่อขึ้นมาบนพื้นน้ำแข็งแลว นักดำน้ำอาจเจออากาศที่อุณหภูมิต่ำกวา 0 มากๆ ประกอบ กับลมแรงที่ทำใหเกิด wind-chill effect ดูดความรอนในรางกายไปไดอีกมากเราคงไมตองพูดถึงการดำน้ำแบบนี้มากนัก

เพราะคงไมมีโอกาสไดดำกันซักเทาไหร และถาใครจะมีโอกาสนั้น ก็คงไดรูจักอยางละเอียด ตอนเขาคอร สจริงจังเลย

การดำกลางน้ำ

เปนรูปแบบการดำน้ำที่ผมไมเคยเห็นใครพูดถึง ทั้งในตำรา หรือแหลงอางอิงทั่วไป แตจากประสบการณ ที่ดำน้ำ มา ผมอยากจะแยกการดำน้ำแบบนี้ออกมาเปนอีกประเภทหนึ่ง และยกเอาความนาสนใจ ขอควรระวัง และเทคนิคที่จำเปน

มากลาวถึงเปนการเฉพาะไปเลย เพราะบอยครั้งที่เราตองดำน้ำในสถานการณ แบบนี้ นั่นคือ การดำน้ำในบริเวณที่มองไมเห็นพื้น หรือพื้นอยูหางมาก เปนสิบเมตรที่ความลึกซึ่งเกินกวาขีดจำกัดของ การดำน้ำเพื่อสันทนาการ (recreational diving) จะอนุญาตใหเราลงไปสัมผัสได และในแนวราบ ก็อาจไมมีแนวปะการัง หรือโครงสรางอะไรใหอางอิงความลึก หรืออาจมีแตอยูหางมาก

การดำน้ำแบบนี้ มักใชเมื่อเรากำลังรอคอย สัตว ทะเลที่อาศัยกลางน้ำ (pelagic animal) เชน กระเบนราหู (Manta

ray) ฉลามวาฬ (Whaleshark) ปลาพระอาทิตย (โมลาโมลา: Mola Mola) หรือ ฉลามหัวคอน เปนตน ซึ่งเปนรูปแบบการ ดำน้ำที่มีโอกาสไดเจอบางแนนอน จึงควรเขาใจ และเรียนรูเทคนิคตางๆ ที่เกี่ยวของ ไวใชดวย

ที่มา : https://www.freedomdive.com/webboard/index.php?showtopic=1270


12

Diving type (Freediving) ประเภทการดำน้ำแบบ Freediving ตามระบบของ AIDA มีอยูทั้งหมด 8 ประเภท ดังนี้ Static Apnea - (STA)

นักฟรีไดร จะกลั้นหายใจใหไดนานที่สุด โดยจมูกและปากตองจมอยูในน้ำ ในขณะที่คว่ำหนาลอยตัวอยูบนผิวน้ำ เปนประเภทที่ ใชเวลาเปนตัวตัดสินวาใครจะกลั้นหายใจไดนานที่สุด ไมเกี่ยวของกับระยะทาง อาจแขงไดทั้งในสระหรือในทะเล Dynamic Without Fins - (DNF)

นักฟรีไดร เคลื่อนที่ (วาย) ในแนวระนาบใตผิวน้ำใหไดระยะทางที่ไกลที่สุดเทาที่จะทำได โดยใชทาวายที่ดัดแปลงจากทาวายกบ

(breaststoke) หามมีอุปกรณ ในการชวยวายใดๆ ทั้งสิ้น จำเปนตองมีเทคนิคที่ดี ผอนคลาย และกลั้นหายใจไดนานเพื่อใหไดระยะทางที่ ไกลที่สุด โดยทั่วไปทำการแขงขันในสระวายน้ำ Dynamic With Fins - (DYN) เปนการดำในลักษณะเดียวกันกับ DNF แตสามารถใช Fins หรือ Monofin ในการวายเพื่อใหไดระยะที่ไกลที่สุดได ปกติแขงใน สระเชนเดียวกันกับ STA และ DNF Free Immersion - (FIM)

นักฟรีไดร ดำลงสูใตน้ำโดยไมใช fins แตจะสาวเชือกเพื่อดำดิ่งลงสูใตน้ำ FIM เปนประเภทการดำในทางลึกที่ผอนคลายที่สุด

เมื่อเทียบกับการดำในลักษณะเดียวกัน เปนประเภทที่ใชในการฝกการปรับเคลียร ความดันในชองหู (equalization) Constant Weight Without Fins - (CNF)

นักฟรีไดร ดำลงสูใตน้ำโดยวายดวยทาที่ดัดแปลงจากทากบ โดยไมใชอุปกรณ ใดๆ ในการดึงใหตัวเองดำดิ่งลงไป และวาย กลับขึ้นสูผิวน้ำ รวมทั้งหามดึงเชือกดวยเชนกัน (อนุญาตใหจับเชือกได 1 ครั้งตอนหยุดเพื่อกลับตัวสูผิวน้ำเทานั้น) เปนประเภทที่ยาก

ที่สุดในประเภทการทำระยะความลึก เพราะตองใชความแข็งแรงของนักกีฬาเองทั้งหมด ไมมีอุปกรณ ใดๆ ในการชวยทำระยะความลึก (ยกเวนเข็มขัดตะกั่ว, weight belt) Constant Weight - (CWT) เปนการดำในลักษณะเดียวกับ CNF แตอนุญาตใหใช Fins หรือ Monofin ได เปนประเภทในทางความลึก ที่นักกีฬาทำการ ฝกซอมเพื่อการแขงขันกันมากกวาประเภทอื่นๆ เพราะการใช Fins ชวยใหทำความลึกไดมากขึ้นกวาประเภท CNF และ FIM Variable Weight - (VWT)

นักฟรีไคร ดำลงสูใตน้ำโดยการใชอุปกรณ ถวงน้ำหนักดึงตัวเองลงสูใตน้ำ แตตองกลับสูผิวน้ำดวยกำลังของตนเอง โดย

การวาย แตะขา และ/หรือดึงเชือกก็ได VWT เปน 1 ใน 2 ประเภทที่ใชอุปกรณ ที่เรียกวา "Sled" (แคร) ในการดึงตัวเองลงสูใตน้ำ ยุคแรก

มีลักษณะเปนการดำแบบหัวดิ่งลงกอน (head first) ปจจุบันนิยมแบบเทาลงกอน (feet first) ทั้งนี้เพื่อใหนักกีฬาเคลียร หูไดงายขึ้นกวา แบบเกา การดำแบบ VWT ไมนับเปนประเภทการแขงขัน จัดเปนแคการบันทึกสถิติเทานั้น

No Limit - (NLT)

นักฟรีไดร ดำลงสูใตน้ำดวยการใชอุปกรณ ถวงน้ำหนักดึงตัวเองลงสูใตน้ำ และกลับสูผิวน้ำดวยวิธีใดก็ได เพื่อใหไดระยะ ความลึกมากที่สุด เปนประเภทการดำที่ทำระยะความลึกไดมากที่สุดเมื่อเทียบกับประเภทอื่นๆ สวนใหญจะดำลงดวย Sled และกลับสู ผิวน้ำดวย Balloon ปจจุบันการดำประเภทนี้ไมไดรับการสนับสนุน (sanctioned) จาก AIDA นาจะเปนเพราะการดำประเภทนี้มีโอกาส

ที่มา : https://www.facebook.com/ThailandFreediving/posts/1004690159568470/


13

Diving course Duration Price Details

ภาพที่ 7 : Discover or Fun Diving

Discover or Fun Diving 1

days

2,200 - 4,000

Bath

หลักสูตร Discover หรือ Fun Diving เปน หลักสูตรทดลองเพื่อใหไดสัมผัสโลกใตน้ำ ในขั้นตน และทดลองใหรูตัวเองวาชื่นชอบ ในการดำน้ำจริงหรือไมมักจะเปนหลักสูตร 1 วัน ที่ตลอดทั้งวันจะมีครูผูสอนควบคุม หรือ “จับมือพาไปดำน้ำ” อยางใกลชิด โดยบางคนอาจสมั ค รเรี ย นหลั ก สู ต รนี ้ เพื่อเปนกิจกรรมระหวางออกทริปไปเที่ยว ทะเลใหมีความสนุกมากขึ้นจะไมไดใบประ กาศณียบัตรรับรอง เหมาะ สำหรับผูที่ อยากทดลองดำน้ำแตไมอยากเปนนักดำ น้ำแบบจริงจัง

Open Water Duration Price Details

4

days

11,000 - 25,000

Bath

หลักสูตร Open Water Diver หรือหลัก สูตรนักดำน้ำขั้นตน กลาวไดวาเปนหลัก สูตรขั้นฐานเพื่อกาวไปสูการเปนนักดำ น้ำมืออาชีพ โดยหลักสูตรนี้จะเริ่มสอน ตั้งแตทฤษฎีการวายน้ำที่จำเปนทั้งหมด วิธีการใชอุปกรณ เทคนิคการดำน้ำ การ สอนเชิงปฏิบัติในพื้นที่ดำน้ำจริงจนกระ ทั่งการสอบปฏิบัติตามที่แตละโรงเรียนได วางเกณฑ เอาไว ผูที่ผานการทดสอบจะ ไดประกาศณียบัตร และไดรับอนุญาตให ดำน้ำไดดวยตัวเองตามทริปดำน้ำตางๆ

ภาพที่ 8 : Open Water

Advance Water Diver Duration Price Details

ภาพที่ 9 : Advance Water Diver

3-4

days

11,000 - 25,000

Bath

หลักสูตร Advance Water Diver คือหลัก สูตรดำน้ำขั้นสูงตอยอดจาก Open Water ซึ่งมักจะเปนการสอนดำน้ำในเชิง เทคนิคมากขึ้น การใชเข็มทิศในการดำน้ำ การดำน้ำลึก การดำน้ำกลางคืน การดำ น้ำในกระแสน้ำ หรืออาจจะมีการดำน้ำเพื่อ การถายรูปหรือสำรวจซากปรักหักพังใน น้ำ เปนตน ใชเวลาเรียนราว 3 – 4 วัน คาเลาเรียนจะอยูที่ 11,000 – 25,000 บาท เชนเดียวกัน

ที่มา : https://ngthai.com/travel/20845/whatyouneedtoknowtolearndiving/


14

Business 8

7-8%

7 6 5-6%

5 4 3 2 1

2018

0

2019

การเติบโตของธุระกิจดำน้ำ เฉลี่ย และคาดการปนี้

ภาพที่ 10 : แผนภูมิกราฟเสนแสดงการเติบโตของธุรกิจดำน้ำ

10 - 15 %

20 % คาเรียน

10 - 15 % 50 % ทริปทองเที่ยว

เงินสพัด 180 ลานบาท จากปกอน 150-160 ลานบาท มีคนไทยสมัครเรียน เพิ่ม 10-15 %

นักทองเที่ยวตางชาติมาเรียนดำน้ำเพิ่มขึ้น 10-15% จากจำนวนนักทองเที่ยว 1 แสนคนตอป

30 % อุปกรณ

มูลคาธุรกิจดำน้ำ

ภาพที่ 11 : แผนภูมิวงกลมแสดงรายละเอียดคนที่สนใจเพิ่ม และมูลคาธุรกิจดำน้ำ

นายศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร จำกัด หรือ นีโอ ผูจัด งาน Thailand Golf & Dive Expo 2019 กลาววา ประเทศไทยถือเปนเมืองแหงการทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงในระดับโลก โดย กลุมนักทองเที่ยวที่มีการเติบโตในระดับที่ดีคือ กลุมนักทองเที่ยวพรีเมียม หรือกลุมที่มีกำลังซื้อสูง และกลุมมิลเลนเนียล ในชวงอายุระหวาง 25-37 ป ซึ่งสวนใหญเปนคนวัยทำงาน และเปนกำลังสำคัญที่ขับเคลื่อนสังคม และเศรษฐกิจใน ปจจุบัน

โดยมีพฤติกรรมในการใชจายแบบพรอมจายเพื่อตอบสนองความชื่นชอบของตนเปนหลัก และชอบความทาทาย กิจกรรมกลางแจง การผจญภัย เชน การดำน้ำ ทั้งในรูปแบบ Free Diving และ Scuba อีกทั้งยังนิยมเลนกีฬากอล ฟ เพื่อ แสดงถึงรสนิยมในการใชชีวิตตนเองดวย จากปจจัยการเติบโตของกลุมนักทองเที่ยวพรีเมียม และกลุมนี้สงผลใหอุตสา หกรรมดำน้ำเติบโตตอเนื่อง จะเห็นไดจากตัวเลขการผลิตนักดำน้ำที่มากเปนอันดับ 2 ของโลก ซึ่งสวนใหญเปนกลุมคน รุนใหมทั้งสิ้น ที่มา : Thailand Golf & Dive Expo 2019


15

Equipment maintenance

ภาพที่ 12 : แวนดำน้ำ

ภาพที่ 13 : การตากตีนกบ 1

ภาพที่ 14 : การตากตีนกบ 2

ภาพที่ 15 : ไดฟคอม

ภาพที่ 16 : Regulator

ภาพที่ 17 : BCD

ภาพที่ 18 : การตากBCD

อุปกรณ ดำน้ำสวนมากประกอบดวยสวนที่เปนพลาสติก หรือยาง เลยทำใหอุปกรณ สวนใหญไมถูกกับแสงแดด เนื่องจากจะทำใหอุปกรณ เสื่อมสภาพเร็ว การเก็บรักษาโดยสวนมากจะเก็บในรมเปนสวนใหญ และการทำความสะอาดก็จะ ลาง แลวนำไปตากลม ในที่รมเพื่อปองกันการเสื่อมสภาพ ที่มา : Dive infinity, 2019


16

Qualifications of Diving Learners ตางกัน)

– อายุไมต่ำกวา 10 ป (ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับนโยบายของแตละโรงเรียนที่อาจมีเกณฑ กำหนดอายุเริ่มตนของผูเรียนที่

– สุขภาพแข็งแรง ไมมีโรคประจำตัวที่กระทบตอการดำน้ำ เชน โรคปอด โรคหัวใจ หอบหืด ความดันโลหิตสูง ใน ขณะที่โรคประจำบางโรคสามารถขอใบรับรองแพทย เพื่อใชสมัครเรียนได – ควรมีทักษะการวายน้ำมาบาง ถาไมมีควรฝกวายน้ำใหเปนเสียกอน

Target Group

Age

กลุมเปาหมาย คือ คนไทยที่สนใจในกิจกรรมการ ดำน้ำ ประเภทตาง ๆ ซึ่งมีอัตราการสมัครเรียนเพิ่มขึ้น 10 - 15 % จากงาน Thailand Golf and Dive Expo 2019 และมีอัตราเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จากสภาพแวดลอมที่สวยงาม ของประเทศไทย ที่มีทะเลที่สวยงาม

8+ Starter

Classroom

Professional

Pool

Equipment Motion

การดำน้ำ คือ กีฬาการเรียนรูเปนสิ่งจำเปนสำหรับมือใหม และพวกมืออาชีพก็ยังตองใชพื้นที่สำหรับฝกซอม เหมือนกันเพื่อความชำนาญที่มากขึ้น หรือทบทวนเวลาไมไดดำน้ำเปนเวลานาน

Freediving

Scuba

AGE

8-9

years

depth

2.5 m.

AGE

10-14

years

depth

6

AGE

15+

years

depth

10 m.

AGE

8-9

years

depth

2

AGE

10+

years

depth

10 m.

m.

m.

ที่มา : Y-40 The deep joy


17

Case study Bangkok Freedivers

ภาพที่ 19 : การสอนของ Bangkok Freedivers 1

Bangkok Freedivers เปนสถาบันสอนการดำน้ำ จัดทริปทองเที่ยวดำน้ำแบบ freediving และมีถาสอบผานก็จะไดรับใบอนุญาต Freediving ของ PADI

Theory

Pool

Open water

ภาพที่ 20 : การสอนของ Bangkok freedivers 2

คลาสเรียนแตละคลาสมีสถานที่แตกตางกัน เนื่องจากเชาสถานที่ในการสอน และสระมี การใชงาน 2 สระซึ่งบางทีทำใหเกิดปญหาถาเวลาวาง แลวตรงกับเวลาที่มีการสอน แตเปนสระที่ ไมสะดวกก็จะเสียโอกาสที่จะไดไป และการยายสระก็สงผลตออุปกรณ ที่บางที่ก็ไมมีขนาดที่เหมาะ สมกับผูใช ซึ่งทำใหใชทักษะไมไดเต็มที่


18

Case study Odd Dive Thailand

ภาพที่ 21 : การสอนของ Odd Dive

เปนรานขายอุปกรณ ดำน้ำ เชายืมอุปกรณ รับซอมอุปกรณ คลาสดำน้ำ ทริปทองเที่ยว และกิจกรรมใตน้ำตางๆ

Shop

Shop

Pool

ภาพที่ 22 : รานคา Odd Dive

การบริการครอบคลุม แคการดำน้ำแบบ Scuba ถาจะลงสระแลวจะดำน้ำแบบ Freediving ตองการคนที่มีใบอนุญาต หรือครูลงดวย แตสถานที่นี้ไมมีรับรอง


19

Case study Hotel Terme Millepini , Padua, Italy Y-40 “Deep to joy” สระวายน้ำที่มีความลึกที่สุดในโลก ความลึก 42.5 เมตร อุณหภูมิ 32-34 องศาเซลเซียส

Designed : Architect Emanuele Boaretto -การฝกดำน้ำ -การถายภาพสำหรับชางภาพ -ถายทำภาพยนตร -อุโมงคใตน้ำ -กิจกรรมสำหรับเด็กๆที่บางครั้งนักดำน้ำจะแตงตัวเปน นางเงือก

เปนสระวายน้ำที่ลึกที่สุดในโลกตั้งแตป 2014 โดยเปนสถานที่ดำน้ำเปดคลาสสอน ดำน้ำ และกิจกรรมเกี่ยวกับการดำน้ำตาง ๆ ทีการโชวการแสดงดำน้ำ จุดดึงดูดความสนใจ ที่โชวการแสดงดำน้ำ สำหรับดึงดูดคนที่สนใจ เขามา โดยสวนที่นาสนใจ คือ อุโมงผานกลาง ตัวสระของตัวโครงการ ที่สามารถดูกิจกรรม ดำน้ำไดเหมือนไปเปนสวนหนึ่งในนั้น ซึ่งมีการ จัดแสดงโชวนางเหงือกสำหรับ ดึงดูดเด็กๆ ที่เขามาในโครงการดวย เปนการสรางฐาน กลุมนักดำน้ำใหมๆ และสามารถเพิ่มกลุม ผูหญิงไดอีกดวย เนื่องจากจะมีนางเหงือกเปน ความฝนตอนเด็ก ซึ่งสามารถใชทักษะการดำ น้ำ ทำใหความฝนเปนจริงได ดวยการเรียน และอุปกรณ

ภาพที่ 23 : ISOMATIC Y-40

ที่มา : https://www.catdumb.com/y-40-deep-joy-777/ http://edilcardin.it/opere-realizzate/strutture-alberghiere -e-termali/hotel-terme-millepinAi-piscina-y40.html https://en.wikipedia.org/wiki/Hotel_Terme_Millepini https://www.y-40.com/en/

ภาพที่ 24 : Y-40


20

Case study Nemo33 ,Brussels ,Belgium ความลึก 34.5 เมตร อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส by a solar heater Designed : John Beernaerts 2004 2014 Thai restuarant SSI สระดังกลาวประกอบไปดวยโครงสรางใตน้ำที่ตางระดับกัน และ สามารถวายทะลุหากันได โดยจุดที่ลึกที่สุดของสวนนี้อยูที่ 10 เมตร แตจะมีในสวนของที่นั่งรูปทรงกระบอกขนาดใหญที่ใหไปนั่งพักกัน ระหวางดำน้ำมาเหนื่อย ๆ ได ซึ่งสวนนี้จะเปนสวนที่ลึกที่สุดของสระ มีความลึกถึง 33 เมตร ในสวนอุณหภูมิของน้ำก็เหมาะสมสำหรับทั้ง ผูเริ่มตนและนักดำน้ำที่มีประสบการณอยูแลว และสำหรับครูสอน ดำน้ำที่ตองการฝกดำน้ำใหลึกและนานที่สุด ก็มีหองรักษาความดัน บรรยากาศภายใน เหมือนที่อยูในเครื่องบิน หรือเรือดำน้ำดวย

Popular Mechanics rates Nemo 33 as one of the top 18 strangest pools in the world.

กลไกยอดนิยมใหคะแนน Nemo 33 ในฐานะหนึ่งใน 18 สระที่แปลกประหลาดที่สุดในโลก สรางขึ้นมาเพื่อความตองการอันหลากหลาย ทั้งเปน ที่สอนดำน้ำ หรือใหนักทองเที่ยวมาเที่ยวชม หรือใชในการถายทำ ภาพยนตร และมีสวนที่เปนกระจกใหนั่งมองได ในกรณีที่ไมอยาก ลงไปดำน้ำ ใหอารมณคลาย ๆ อะควาเรี่ยมขนาดยักษ

ที่มา : https://en.wikipedia.org/wiki/Nemo_33 https://divebuddies4life.com/belgium-scuba-diving-thenemo-33/ http://www.nemo-33m.com/en/diving-courses/cours-deplongee-ssi https://travel.kapook.com/view45820.html

ภาพที่ 25 : ISOMATIC Nemo-33

ภาพที่ 26 : Nemo-33


21

Nearby Location

ภาพที่ 27 : Location 1

จุดประสงค การสรางเพื่อจัดงาน13th Asian Games Bankok ศูนย บริการการกีฬา ธรรมศาสตร ตำบล คลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12120

13th Asian Games Bangkok 1998

ภาพที่ 28 : Location 2

การเดินทาง Bus

Van

Private car

1998 และกลายเปนศูนย บริการการกีฬาของมหาลัยธรรมศาสตร จนถึง ปจจุบัน เหตุผลที่เลือกสถานที่นี้ เพราะ เนื่องจากโครงการมีความ เฉพาะทางดานกิจกรรม คือ ตองการสระน้ำที่มีความลึกมากกวาปกติ สถานที่นี้จึงเหมาะสมสำหรับโครงการ และอีกเหตุผลที่เลือก คือสถานที่ นี้ไมไดปรับปรุงมาเปนเวลานานมาก จึงมีพื้นที่ที่ไมใชงานจำนวนมาก ขอดีของสถานที่นี้ คือ เปนมีสระน้ำที่มีกิจกรรมดำน้ำอยูเดิม มีสระวายน้ำที่วันปกติไมไดใชงาย และสามารถใชทำกิจกรรมดำน้ำอีก ประเภทได สถานที่ชั้นลางสามารถปรับปรุงไดเต็มที่ เนื่องจากไมไดใช งานในเวลาปจจุบัน ขอเสียของสถานที่นี้ คือ พื้นที่ชั้นลางมีความเตี้ย เนื่องจาก เปนพื้นที่ลานจอดรถ สรางสำหรับเช็คชื่อนักกีฬา และสำหรับพวกสื่อ มวลชน การหาของกินตองเดินไปตึกคณะนิติศาสตร ซึ่งมีระยะทางที่ ไกล เมื่อกิจกรรมที่จะเพิ่มเติมเปนกิจกรรมดำน้ำ แลวตองใสชุดวายน้ำ ซึ่งไมสะดวกในการเดินขามตึกได

พื้นที่โดยรอบศูนย บริการการกีฬา ธรรมศาสตร สเตเดีย ตึกคณะนิติศาสตร ตึกคณะศิลปกรรมศาสตร ยิมเนเซียม

ที่มา : Google Map


22

Theory and Design Concept 03


23

Summary of Design Guidelines

จากการศึกษาเนื้อหาตาง ๆ ในบทที่ 2 นั้นผูจัดทำไดเริ่มนำเสนอการออกแบบปรับเปลี่ยน พื้นที่ของศูนย บริการการกีฬามหาลัยธรรมศาสตร นั้น ปรับปรุงใหมโดยเพิ่มความครอบคลุม กิจกรรมดำน้ำ ที่มีการเพิ่มกิจกรรมแบบ Freediving ซึ่งพื้นที่นั้นสามารถรองรับกิจกรรมเพิ่มได โดยสามารถใชสระน้ำที่มีอยูได โดยไมตองปรับเปลี่ยนแตอยางใด และเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริ การคนที่สนใจกิจกรรมดำน้ำไดครบถวนมากขึ้น ซึ่งจะทำใหไดรองรับคนที่สนใจกิจกรรมดำน้ำได ทั้งหมด และสรางพื้นที่สำหรับเชาอุปกรณ ที่สามารถเพียงพอกับคนที่มาเรียน และฝกซอมได


24

Location

ภาพที่ 29 : Location 3

สถานที่ไมไดรับการปรับปรุงตั้งแตสรางเสร็จ กิจกรรมตาง ๆ โดนแทนที่ไปตามการเวลา ซึ่งทำใหพื้นที่ภายในไม ไดใชงานอยางเต็มประสิทธิภาพ สวนใหญกลางเปนพื้นที่เก็บของ และที่สภาพที่เสื่อมโทรมกิจกรรมดำน้ำที่เพิ่มเติมเขามา ก็ไมรองรับทุกประเภท ซึ่งพื้นที่มีประสิทธิภาพที่สามารถรองรับกิจกรรมได แลวจะทำใหสถานที่สรางรายได และสามารถมี เงินมาสรางกิจกรรมเพิ่มเติมในพื้นที่ทุกสวนได เพื่อใหมีคนมาใชพื้นที่อยางเต็มที่

Existing Activity

กิจกรรมแรกเริ่มสรางเพื่อรองรับการแขงกีฬาทางน้ำ แตกิจกรรมหลักตอนนี้ไมไดเนนการแขงขัน แลวจึงจำเปน ตองหากิจกรรมเพื่อไมใหพื้นที่เปนพื้นที่เสียเปลาไป


25

Existing Views

ภาพที่ 30 : ภาพพื้นที่ปจจุบัน


26

Unused Space X 3.9500

W

7.4250

V

7.7500

U

7.5750

T 3.1000

S 6.9000

R

6.9500

Q 6.2000

P 6.2000

N 6.2000

M 6.2000

L 6.2000

K 6.3500

J 5.0000

H 3.1000

G

7.9900

F

7.9900

E

7.9900

D

7.9900

C

7.9900

B

7.9900

A

3.2700 7.0400

1

7.0400

7.0400

3

2

7.0400

3.2700

7.0400

7.0400

5

4

6

7.0400

7

7.0400

8

7.0400

9

7.0400

10

7.0400

11

7.0400

7.0400

13

12

7.0400

7.0400

15

14

7.0400

16

7.0400

7.0400

18

17

7.0400

19

7.0400

20

21

Floor 1

X 3.9500

W

7.4250

V

7.7500

U

7.5750

T 3.1000

S 6.9000

R

6.9500

Q 6.2000

P 6.2000

N 6.2000

M 6.2000

L 6.2000

K 6.3500

J 5.0000

H 3.1000

G

7.9900

F

7.9900

E

7.9900

D

7.9900

C

7.9900

B

7.9900

A

3.2700 7.0400

1

7.0400

2

7.0400

3

7.0400

3.2700

7.0400

7.0400

5

4

6

7.0400

7

7.0400

8

7.0400

9

7.0400

10

7.0400

11

7.0400

12

7.0400

13

7.0400

14

7.0400

15

7.0400

16

7.0400

17

7.0400

18

7.0400

19

7.0400

20

21

Floor 2

X 3.9500

W

7.4250

V

7.7500

U

7.5750

T 3.1000

S 6.9000

R

6.9500

Q 6.2000

P 6.2000

N 6.2000

M 6.2000

L 6.2000

K 6.3500

J 5.0000

H 3.1000

G

7.9900

F

7.9900

E

7.9900

D

7.9900

C

7.9900

B

7.9900

A

3.2700 7.0400

1

7.0400

2

7.0400

3

7.0400

4

3.2700

7.0400

5

7.0400

6

7.0400

7

7.0400

8

7.0400

9

7.0400

10

7.0400

11

7.0400

12

7.0400

13

7.0400

14

7.0400

15

7.0400

16

7.0400

17

7.0400

18

7.0400

19

7.0400

20

21

Floor 3

ภาพที่ 31 : แปลนแสดงพื้นที่ไมไดใชงาน

โครงการเริ่มตนสรางขึ้นเพื่อเปนสนาม กีฬาทางน้ำ สำหรับ 13th Asian Games Bangkok 1998 และไมไดรับการปรับปรุงเปนเวลาเกือบ 20 ป ซึ่ง โปรแกรมตางๆ ที่สรางขึ้นมาเพื่อการแขงก็ไมไดใชการ และกลายเปนพื้นที่ไมไดใชงานไปแทน ซึ่งผูวิจัยมองเห็น ศักยภาพของพื้นที่ที่สามารถปรับปรุงไปไดมากกวาที่เ ปนอยูปจจุบันดวยตัวสระวายน้ำที่สามารถจัดแขงไดทุก ประเภทกีฬา แตเวลาไมไดมีการแขงพื้นที่ตางๆ ก็ไมได ใชงาน แตยังตองเสียคาบำรุงรักษา ซึ่งสามารถจัดกิจ กรรมได และสวนชั้น 1 ที่โดนใชงานนอยมาก เนื่องจาก โปรแกรมเกาเปนพื้นที่ของสื่อมวลชน โดยตอนนี้กลาย เปนพื้นที่เก็บของที่ไมไดแมแตทำความสะอาด ผูวิจัย เลยสนใจที่จำปรับปรุงพื้นที่นี้ เพื่อใหใชศักยภาพของ พื้นที่ไดอยางเต็มที่ มีทรัพยามาปรับปรุงพื้นที่ และดึง ดูดผูคนใหมาใชพื้นที่อยางตอเนื่อง ไมใชจะมาใชแคดู การแขงขัน


27

Plan Existing Activity

X 3.9500

W

7.4250

V

7.7500

U

7.5750

T 3.1000

S 6.9000

R

6.9500

Q 6.2000

P 6.2000

N 6.2000

M 6.2000

L 6.2000

K 6.3500

J 5.0000

H 3.1000

G

7.9900

F

7.9900

E

7.9900

D

7.9900

C

7.9900

B

7.9900

A

3.2700 7.0400

1

7.0400

2

7.0400

3

7.0400

4

3.2700

7.0400

5

7.0400

6

7.0400

7

7.0400

8

7.0400

9

7.0400

10

7.0400

11

7.0400

12

7.0400

13

7.0400

14

7.0400

15

7.0400

16

7.0400

17

7.0400

18

7.0400

19

7.0400

20

21

Floor 1

ภาพที่ 32 : แปลนชั้น 1 แสดงกิจกรรมเกา

กิจกรรมปจจุบันเปนฟสเนส, รานกาแฟ, รานขายยา, รานนวด, รานซอมอุปกรณ , หองชมรม บอร ดเกมส , ชมรมตอยมวย ซึ่งเกิดจากพื้นที่ที่ไมไดใชงาน และโดยเปลี่ยนไปโดยไมสนับสนุนตัวโครงการ พื้นที่ที่มีคนมาใช โดยสวนมากก็กลายเปนฟสเนส และรานกาแฟ โดยไมไดใชงานตัวสระน้ำที่มีถึง 3 สระ แตอยางใด ซึ่งกิจกรรมที่มีตอนนี้คนที่มาใชงานจะมาใช และจบตั้งแตตัวหนาโครงการเปนหลัก และมีพื้น ที่ไมไดใชงานโดยสามารถนำกิจกรรมเขาไปเพิ่มรายไดใหกับตัวโครงการไดไมปลอยใหเปนพื้นที่ ไมไดใช ตอไป


28

Plan Existing Activity

X 3.9500

W

7.4250

V

7.7500

U

7.5750

T 3.1000

S 6.9000

R

6.9500

Q 6.2000

P 6.2000

N 6.2000

M 6.2000

L 6.2000

K 6.3500

J 5.0000

H 3.1000

G

7.9900

F

7.9900

E

7.9900

D

7.9900

C

7.9900

B

7.9900

A

3.2700 7.0400

1

7.0400

2

7.0400

3

7.0400

4

3.2700

7.0400

5

7.0400

6

7.0400

7

7.0400

8

7.0400

9

7.0400

10

7.0400

11

7.0400

12

7.0400

13

7.0400

14

7.0400

15

7.0400

16

7.0400

17

7.0400

18

7.0400

19

7.0400

20

21

Floor 2

ภาพที่ 33 : แปลนชั้น 2 แสดงกิจกรรมเกา

กิจกรรมปจจุบันเปนรานอุปกรณ ดำน้ำ, สระวายน้ำสาธารณะ, และสระสำหรับดำน้ำ ซึ่ง ศักยภาพที่ทำใหผูวิจัยสนใจตัวโครงการนี้ คือ ตัวสระน้ำที่มีความลึกเปนพิเศษ เนื่องจากขางตน เปนสระสำหรับการกระโดดน้ำ จึงมีความลึก 5 เมตร แลวจากกิจกรรมดำน้ำ Scuba ปจจุบันแต ตัวพื้นที่นั้นสามารถทำใหเปนการดำน้ำครบวงรไดเลย ซึ่งตองการรวบรวมการสอนการดำน้ำ เปนแหลงรวมตัวของคนที่สนใจการดำน้ำ และเปนแหลงกระจายขาวสารเกี่ยวกับการดำน้ำ


29

2nd Draft 3.9500

7.4250

7.7500

7.5750

3.1000

6.9000

6.9500

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.3500

5.0000

ENTRANCE

3.1000

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

3.2700

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

ภาพที่ 34 : แปลนชั้น 1 แสดงโซนกิจกรรมใหมครั้งที่ 2

Foyer

Restaurant

W.C.

VR Room

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

Floor 1 Shop Course & Trip

สวนชั้น 1 เริ่มตนจากการพื้นที่ที่ไมไดใชงานมาเพิ่มกิจกรรมเขาไป โดยเขามาจะสวนของ การปรึกษา หรือใหความรูเกี่ยวกับการดำน้ำ สำหรับคนที่สนใจ มีหอง Vr ใหลองสัมผัสกับประ สบการณ ใตน้ำในโลกเสมือน เพื่อเพิ่มความสนใจกับของจริงใหมีมากยิ่งขึ้นรานอาหารสำหรับ กิจกรรมดำน้ำที่มีตลอดทั้งวัน เพื่อรองรับการจัดอาหารระหวางวัน และเปนจุดที่สามารถมองเห็น การเรียนการสอนการดำน้ำ แสดงความปลอดถัยสำหรับการฝกที่จะไมเปนปญหาสำหรับคนที่ เริ่มตนใหม แตมีความตองการจะเรียน


30

2nd Draft 3.9500

7.4250

7.7500

7.5750

3.1000

6.9000

6.9500

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.3500

5.0000

3.1000

7.9900

7.9900

7.9900

ENTRANCE

7.9900

7.9900

7.9900

3.2700

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

ภาพที่ 35 : แปลนชั้น 2 แสดงโซนกิจกรรมใหมครั้งที่ 2

Shop

Press Room

Equipment Lending

Bathroom /Locker

Classroom

Rest Zone Teacher Room

7.0400

Floor 2 Pantry

Frist aid Room

สวนชั้น 2 เปนจุดสำคัญมีการจัดหองสำหรับเชาอุปกรณ เพิ่มขึ้น และเพิ่มหองอาบน้ำชวง หลังของโครงการ สำหรับการเพิ่มกิจกรรมดำน้ำที่จะใชประโยชน จากสระน้ำทั้ง 2 สระ เพิ่มหอง เรียนที่จากเดิมเปนการเรียนขางสระน้ำ ใหมีหองเปนกิจจะลักษณะ และพื้นที่พักผอนระหวางวัน ซึ่งการเพิ่มกิจกรรมจะทำใหใชศักยภาพของสระทั้ง 2 และการดำน้ำทั้ง 2 บางคนที่มาเรียนอยาง หนึ่ง อาจจะสนใจอีกอยางหนี่งก็สามารถเรียนตอกับตัวโครงได โดยบางทีอาจจะสนใจจากการ เห็นการเรียนของคนที่มาเรียนประเภทที่ตางกับตนเอง


31

Project Design 04


32

Design Summary สิ่งที่ไดจากการปรับปรุงตัวโครงการ

Project Name and Logo 1

2

ภาพที่ 37 : ภาพปะการังใตทะเล 1

ภาพที่ 36 : ภาพใตทะเล 1

5

4

ภาพที่ 39 : ภาพปะการังใตทะเลลดลายละเอียด

Freediving

Snorkel diving

6

Scuba diving

3

ภาพที่ 38 : ภาพปะการังใตทะเล 2

7

Skin diving

เราเอาความสูงของแตละกานของประการัง แทนความลึกของการดำน้ำ เลยมีลักษณะแบบนี้ เพราะ กิจกรรมดำน้ำ 4 ประเภท มี 2 อยางเปนการ ดำน้ำตื้น และอีก 2 ประเภทเปนการดำน้ำลึก

ภาพที่ 40 : แบบรางโลโก


33

Design Summary

Project Name and Logo Believe

Coral reef

ความเชื่อ,ความศรัทธา เปนสิ่งที่จำเปน เพราะ ชีวิตอยูกับทักษะ ที่ไดเรียนมา ถาเกิดความกลัว อาจจะทำใหเกิดอันตรายได

แนวประการัง เปนสิ่งที่เห็นเสมอ ตอนดำน้ำ

Be

Reef

อยู

โขดหิน

ภาพที่ 41 : การมองเห็นแสงใตทะเล

การดำน้ำยิ่งลึกยิ่งทำใหทักษะการมองเห็นสีลดลง เนื่องจากความหนาแนนของน้ำทำใหสีจากแสงโดนกรอง ออกไปและสีสุดทายที่เห็น คือ สีน้ำเงิน

Bereef การอยูรวมกันระหวางคน กับธรรมชาติทางทะเล ซึ่งเปนดูแลซึ่งกันและกัน สิ่งที่ตองการสราง คือ คนที่ดำน้ำอยางถูกวิธี ไมทำลายธรรมชาติ และชวยกันดูแล เพื่อใหเราสามารถ ไปดำน้ำไดตลอดไป

Bereef ภาพที่ 42 : โลโก


34

Entrance Car to parking

Human to floor 1

Human to floor 2

Floor 3

Floor 2

Floor 1 ภาพที่ 43 : Isometric แสดงทางเขา


35

Entrance 3.9500

7.4250

7.7500

7.5750

3.1000

6.9000

6.9500

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.3500

5.0000

3.1000

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

ภาพที่ 44 : แปลนชั้น 1 แสดงทางเขา

Floor 1

ทางเขาชั้น 1 สามารถเขาได 3 ประตูหลัก เปนเขามาพบสวนแนะนำเกี่ยวกับการดำน้ำ, ทางเดินที่มองไปสุดทางจะเห็นสระน้ำลึก 5 จากดานขาง, และทางสุดทายจะเปนรานอาหาร

3.9500

7.4250

7.7500

7.5750

3.1000

6.9000

6.9500

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.3500

5.0000

3.1000

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

Floor 2

ภาพที่ 45 : แปลนชั้น 2 แสดงทางเขา

ทางเขาชั้น 2 จะเจอรานขายของดำน้ำ และทางเขาสระน้ำที่แยกระหวาง สระน้ำสาธารณะ กับตัวสระสำหรับการเรียนดำน้ำ


36

Keywords Diving

Coral Reef

Sunset

Wave

Equipment

Underwater Color

Concept Design

Interim

ภาพที่ 46 : Concept Design

Interim

ระหวาง, ชวงเวลาหยุดพัก โครงการนี้เปนตัวกลางระหวางคน กับธรรมชาติใตทะเล ซึ่งเหมือนกับชวงเวลาตอนกอนพระอาทิตย ตก ที่พระอาทิตย จะเชื่อมระหวางทองฟาที่เปนสีสม กับทองทะเลที่เปนฟา ผมไดเปรียบตัวโครงการเปนพระอาทิตย ที่อยูตรงกลาง คนที่สนใจการดำน้ำ เหมือนทองฟาสีสม ที่ตองการรวมตัวกับทะเลที่เปนสีฟา เราจะเปนตัวกลางที่ทำพื้นที่ทั้งสองสงผานถึงกัน


37

Mood Images

ภาพที่ 47 : Mood Images

พื้นที่เหนือน้ำ หรือพื้นดิน พื้นที่โครงการ

พื้นที่โลกใตน้ำ


38

Zoning

3.9500

7.4250

7.7500

7.5750

3.1000

6.9000

6.9500

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.3500

5.0000

ENTRANCE

3.1000

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

7.9900

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

Floor 1

ภาพที่ 48 : แปลนชั้น 1 โซนนิ่ง

Foyer

Restaurant

W.C.

VR Room

Shop Course & Trip

สวนชั้น 1 เริ่มตนจากการพื้นที่ที่ไมไดใชงานมาเพิ่มกิจกรรมเขาไป โดยเขามาจะสวนของ การปรึกษา หรือใหความรูเกี่ยวกับการดำน้ำ สำหรับคนที่สนใจ มีหอง Vr ใหลองสัมผัสกับประ สบการณ ใตน้ำในโลกเสมือน เพื่อเพิ่มความสนใจกับของจริงใหมีมากยิ่งขึ้นรานอาหารสำหรับ กิจกรรมดำน้ำที่มีตลอดทั้งวัน เพื่อรองรับการจัดอาหารระหวางวัน และเปนจุดที่สามารถมองเห็น การเรียนการสอนการดำน้ำ แสดงความปลอดถัยสำหรับการฝกที่จะไมเปนปญหาสำหรับคนที่ เริ่มตนใหม แตมีความตองการจะเรียน


39

Planing

VR room

Foyer Restaurant

Shop Course & Trip

ENTRANCE

W.C.

ภาพที่ 49 : แปลนชั้น 1

สวนชั้น 1 การวางแปลนมีปญหาหลัก คือ ตองสรางกำแพงขึ้นมาใหมเกือบทั้งหมด เนื่อง จากพื้นที่ใชงานเกา เปนพื้นที่สำหรับใหสื่อมวลชนมารายงานตัวกอนเขาสระน้ำ จึงมีการสรางกำ แพง และแบงหองใหมตามโซนที่จัดไว การเลือกทางเขาที่เปนฝงซาย ไมไดตรงทางเขาฝงเดียวกับ รานอาหาร เนื่องจากถาเดินเขามาจากหนาโครงการ บันไดทางขึ้นไปหาตัวสระจะบังตัวทางเขาเอา ไว จึงเลือกทางนี้เปนทางเขาหลัก จุดประสงค หลักๆ สำหรับชั้นนี้ คือ สรางกิจกรรมสำหรับสนับ สนุนกิจกรรมหลัก และดึงดูดคนใหสนใจกิจกรรม ดวยการใหคำแนะนำ ภาพเสมือนจริง และตัว อยางจริง รานอาหารที่มีขนาดตอเนื่องจากจุดประสงค คือ สนันสนุนกิจกรรมที่เพิ่มเขามาที่เปน กิจกรรมทั้งวัน และเปนจุดแสดงการดำน้ำดึงดูดใหคนมาสนใจกิจกรรมดำน้ำมากยิ่งขึ้น


40

Perspective

ภาพที่ 50 : ประชาสัมพันธ จุดขายขายทริบ และคลาสดำน้ำ

เนื่องจากพื้นที่ชั้นลางเตี้ยการสรางสวนตอนรับใหดูโอโถงไมได จึงใชการออกแบบตัวฝาใหมีลักษณะเปนคลื่นที่มีจุดโคง ทำหนาที่เปน ลูกศร เพิ่มจุดสนใจใหกับตัวเคาน เตอร ตอนรับ เปนการเลือกพื้นที่เปนกระเบื้องแกรนิต เพราะ เปนพื้นที่สาธารณะมีคนใชงานมาก จึงตองการ ความทนทานของวัสดุ และที่เลือกสีน้ำเงิน เพราะ ตองการใหพื้นเขมกวากำแพง เพื่อใหฝาเพดานดูสวาง และทำใหพื้นที่ดูโลงขึ้น

ภาพที่ 51 : โถงทางเดิน 1

ทางเดินแยกไปสวนตางๆ การใหแสงของโครงการ คือ ถาสองขึ้นจะใชเปนสีสม มาจากใหเหมือนแสงอาทิตย ที่ขึ้นจากน้ำทะเล ถาสอง ลงเปนสีน้ำเงิน ที่เหมือนแสงที่สองลงใตน้ำ เปนพื้นที่ที่เปน 2 สีแบบนี้ เหมือนเปนพื้นที่สวนการ ที่ยังไมเขาลึกไปในกิจกรรมดำน้ำ ก็จะมีทั้ง 2 สีนี้ อยูเปนหลัก พื้นก็จะใชใหสีเขม เพื่อดึงใหฝาเพดานสวางขึ้น เพื่อทำใหฝาเพดานที่เตี้ยแลวไมรูสึกอึดอัด


Perspective

41

ภาพที่ 52 : หองวีอาร

หองวีอาร สำหรับใหรับประสบณ การเสมือนจริง ของโลกใตน้ำ เพื่อคนที่สนใจและตองการสอบความสนใจของตนเองกอนที่จะไปสูการ ดำน้ำของจริง การใชวัสดุสะทอนเปนการแกปญหาพื้นที่ที่มีฝาเพดานเตี้ยอีกวิธีนึง และแสงไฟเพื่อใหมีการสะทอนเหมือนหลอกสายตาใหพื้นที่ดูโลง

ภาพที่ 53 : โถงทางเดิน 2 พื้นที่นี้สามารถนั่งดูกิจกรรมดำน้ำของทางตัวโครงการได เพดานกอนเขาสูสวนที่สามารถนั่งดูได ออกแบบใหเหมือนคลื่นน้ำ และใช แสงที่สองลงมาเปนสีฟา ใหเหมือนแสงที่สองผานน้ำลงมา และบงบองวาสวนนี้เปนสวนที่เปนกิจกรรมดำน้ำ เพราะ มีแสงน้ำเงินตกแตงใสสวน พื้นที่นี้เปนหลัก


42

Perspective

ภาพที่ 54 : รานอาหาร 1 ทางเขาที่ 3 จะสามารถเขาตัวรานอาหารไดเลย การตกแตงแสงก็ตรงทางเขารานจะมีแสงสีสม เนื่องจากยังเหมือนเปนสวนกึ่งกลางอยู แตพอเขามาในสวนทางอาหารก็จะเปนสีฟาทั้งหมด เพื่อใหรูวาสามารถรับรูกิจกรรมดำน้ำไดจากสวนนี้เหมือนกัน เปนพื้นและเพดานก็จะเหมือน สวนดานตอนรับ และโถงทางเดินเนื่องจากมีเพดานเตี้ยเหมือนกัน


Perspective

43

ภาพที่ 55 : รานอาหาร 2

พื้นที่ที่ตรงขามสระวายน้ำ เพื่อใหยังสามารถรับรูกิจกรรมดำน้ำได เลยจัดสวนตูปลาทะเล เพื่อเปนวิวแทนสำหรับตัวสระน้ำ ที่ยังเกี่ยว ของกับกิจกรรมดำน้ำ แทนโลกใตทะเลขนาดเล็ก เพื่อเสนอประสบการณ ใหกับผูคนที่มาใชงาน ถาใชงานสวนของเคาน เตอร บาร ก็ยังสามารถมอง ตัวสระวายไดอยูเหมือนกัน สำหรับคนที่มาคนเดียว


44

Perspective

ภาพที่ 56 : รานอาหาร 3 จัดพื้นที่สวนนี้เพื่อใหใชพื้นที่ใหเต็มที่ ใชการจัดแสดงตูปลาเพื่อใหยังเขากับตัวกิจกรรมดำน้ำอยู และสวนที่รองรับคนที่มาเปนคู ที่ตอง การพื้นที่สวนตัว โดยสุดทางจะเปนพื้นที่สำหรับขนของสำหรับทำอาหารเขา เนื่องจากตัวลานจอดรถดานหลังเตี้ยเกินที่รถขนของจะสามารถเขา มาขนของจากทางหลังรานได

Bereef

Bereef

Bereef ภาพที่ 57 : โลโกกับรูปทรงเลขาคณิต


45

Zoning

3.9500

7.4250

7.7500

7.5750

3.1000

6.9000

6.9500

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.2000

6.3500

5.0000

3.1000

7.9900

7.9900

7.9900

ENTRANCE

7.9900

7.9900

7.9900

3.2700

3.2700 7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

7.0400

Floor 2

ภาพที่ 58 : แปลนชั้น 2 โซนนิ่ง

Shop

Press Room

Equipment Lending

Bathroom /Locker

Classroom

Rest Zone

Teacher Room

Pantry

Frist aid Room

สวนชั้น 2 เปนจุดสำคัญมีการจัดหองสำหรับเชาอุปกรณ เพิ่มขึ้น และเพิ่มหองอาบน้ำชวง หลังของโครงการ สำหรับการเพิ่มกิจกรรมดำน้ำที่จะใชประโยชน จากสระน้ำทั้ง 2 สระ เพิ่มหอง เรียนที่จากเดิมเปนการเรียนขางสระน้ำ ใหมีหองเปนกิจจะลักษณะ และพื้นที่พักผอนระหวางวัน ซึ่งการเพิ่มกิจกรรมจะทำใหใชศักยภาพของสระทั้ง 2 และการดำน้ำทั้ง 2 บางคนที่มาเรียนอยาง หนึ่ง อาจจะสนใจอีกอยางหนี่งก็สามารถเรียนตอกับตัวโครงได โดยบางทีอาจจะสนใจจากการ เห็นการเรียนของคนที่มาเรียนประเภทที่ตางกับตนเอง


46

Planing

Frist aid room

Pantry

Classroom

Bathroom /Locker

Rest zone

Bathroom /Locker

Classroom

Rest zone

Equipment lending

Teacher room

Press room

Shop

ภาพที่ 59 : แปลนชั้น 2

สวนชั้น 2 ปรับปรุงกิจกรรมเกาที่มีอยูแลว คือ การดำน้ำสกูบา เริ่มจากเพิ่มกิจกรรมฟรี ไดฟ แลวกิจกรรมตอเนื่องที่ปรับปรุง คือ สวนของหองเรียน ที่ปจจุบันมีการเรียนการสอนกัน ขางดำน้ำ และการเพิ่มกิจกรรมฟรีไดฟขึ้นมาก จึงสรางหองเรียนใหเปนพื้นที่สำหรับการเรียน การสอน หองตอมาเปนสวนของเชาอุปกรณ ซึ่งตอนแรกจะรวมอยูในรานขายอุปกรณ แตเพิ่มขึ้น เพื่อจัดเก็บอุปกรณ ของกิจกรรมที่เพิ่มเขามา และเพื่อใหสามารถทำกิจกรรมไดอยางเต็มที่ เนื่อง จากปจจุบันมีการยายสระ แลวครูฝกสามารถขนยายอุปกรณ ไดจำนวนจำกัด คนเรียนบางคนจะ ไมไดอุปกรณ ที่พอดีกับตัวเอง แลวจะทำกิจกรรมไมไดเต็มที่ และเนื่องจากกิจกรรมเปนกิจกรรมทั้ง วัน หลังจากขึ้นจากสระชวงกลางวัน เพื่อพักผอน และทานอาหารจึงสรางสวนสำหรับพักผอนไว สำหรับทานอาหาร และพักผอนกอนทำกิจกรรมตอในชวงบาย และพื้นที่สนับสุนนกิจกรรมตางๆ หองสำหรับครูฝก หองปฐมพยาบาล และหองอาบน้ำดานในตัวโครงการ


Perspective

47

ภาพที่ 60 : รานขายอุปกรณ 1

ภาพที่ 61 : รานขายอุปกรณ 2

รานขายอุปกรณ การจัดพื้นที่ไดแบงกิจกรรมดำน้ำทั้ง 2 ประเภทแยกออกจากกัน ใหงายตอการดูสินคา เพื่อเลือกซื้อของ และจุดตรง กลางระหวางทั้ง 2 ประเภท เชื่อมดวยอุปกรณ ที่ใชรวมกัน เชน ไดฟคอม รองเทา ถุงมือ เข็มขัดตะกั่ว เปนตน การออกแบบพื้นที่ยังคงเหมือนชั้น ลาง เนื่องจากพื้นที่ชั้น 2 เปนพื้นที่ใตที่นั่งอัศจรรย เลยจะมีสวนที่เพดานเตี้ยเลยยังใหวิธีการแกปญหาเดียวกันอยู แตเพดานจะมีบางสวนออกแบบ เปนการไลสีจากขาวไปน้ำเงิน ซึ่งจะไลสีโดยสีน้ำเงินจะเปนสวนที่ใกลสระน้ำ เหมือนเปนการนำทางไปสวนสระน้ำแทนตัวอักษรอีกอยางนึง


48

Perspective

ภาพที่ 62 : รานขายอุปกรณ 3 จากทางเขารานขายของจะสามารถมองทะลุไปเห็นสระน้ำ และสวนของหองเรียนได และสวนของหองรองชุดจะมีขนาดใหญกวาปกติ เนื่องจากการลองชุดดำน้ำจะใสยากมากขึ้น ถาตัวแหง จึงตองใชพื้นที่ที่มากกวาปกติในการลองชุดดำน้ำ

ภาพที่ 63 : ทางเขาสระวายน้ำ ทางเขาสวนสระวายน้ำ ที่สำหรับทำกิจกรรมดำน้ำ โดยจะมีโลโกเพื่อใหแยกแยะสำหรับทางไปสระสาธารณะ กับสระสำหรับเรียนดำน้ำ


Perspective

ภาพที่ 64 : หอง Locker

ภาพที่ 65 : หองอาบน้ำ และหองน้ำ หองน้ำสำหรับสระสาธารณะการออกแบบจะเนนสีน้ำเงิน กับสีสม เพื่อเนนตัวโครงการวาเปนตัวกลางสำหรับนำทางไปสูโลกใตทะเล และการใชสระน้ำก็เหมือนเปนจุดเริ่มตน ของการเขาสูโลกใตทะเล

49


50

Perspective

ภาพที่ 66 : หองเรียน 1

ภาพที่ 67 : หองเรียน 2

หองเรียนจะมี 2 ออฟชั่น คือ สำหรับนั่ง และนอน เนื่องจากการเรียนฟรีไดฟจะมีการเรียนทฤษฎี และทดสอบกลั้นหายใจบนบก เนื่อง จากการนอนจะทำใหรางกายผอนคลายงายที่สุด เลยจำเปนตองมีพื้นที่ที่สามารถนอนได และใชพื้นไมเนื่องจากการเหตุผลที่ตองนอน จึงการใช หองนี้จำเปนตองถอดรองเทา แลวก็ยังใชพื้นไมที่มีสีเขมเหมือนเดิม เพื่อดึงใหเพดานดูสวางขึ้น และไมดูอึดอัดในสวนที่เตี้ยที่สุดของตัวใตพื้นอัศ จรรย


Perspective

ภาพที่ 68 : สวนพักผอน 1

ภาพที่ 69 : สวนพักผอน 2 พื้นที่ที่มาจากกิจกรรมดำน้ำที่มีตลอดทั้งวัน จึงสรางพื้นที่มาสำหรับรองรับกิจกรรม พื้นจะใชเปนพื้นกระเบื้องดานเนื่องจากจะเปนพื้น ที่เปยก ดวยปกติการขึ้นจากสระตอนกลางวันจะไมไดมีการลางตัวเปลี่ยนชุดเลยเนื่องจากจะตองลงตอในชวงบาย ที่นั่งจะมี 2 แบบ สำหรับทาง อาหาร กับนอนพักผอน และจะมีจำนวนตามจำนวนคนที่มาเรียนในคลาสแตละคลาส ประมาณ 10 - 12 คน ซึ่งทั้ง 2 แบบจะมีจำนวนเทากัน เพื่อ รองรับใหเพียงพอสำหรับทานอาหารพรอมกัน หรือนอนพักผอนพรอมกัน

51


52

Summary 05


53

Summary

กิจกรรมดำน้ำในปจจุบันมีการเจริญเติมโตดานธุระกิจอยูเรื่อย ๆ แตในทางกลับกันสถานที่ใหบริ การสระทีสามารถรองรับกิจกรรมนั้นไมมีมากพอ หลายสถาบันที่เปดสอนใชการเชายืมสถานที่ในการ ฝกสอน และตองเตรียมอุปกรณ การสอนไปเอง ซึ่งขนาดอาจจะมีจำกัด ไมเพียงพอตอจำนวนนักเรียน หรือผูฝกซอม จึงทำใหฝกทักษะไดไมเต็มที่ บางสถานที่มีพื้นที่ แตก็ไมมีบุคลากรรองรับถามีโครงงาน นี้เกิดขึ้น จะทำใหปญหาเรื่องอุปกรณ นั้นเพียงพอ และชวยสงเสริมกิจกรรมดานดำน้ำใหครบวงจรภาย ในโครงการนี้ รวมถึงพัฒนาการทองเที่ยวทางทะเลของไทย


54

บรรณานุกรม

คณะกรรมการสาธารณสุข. (2550). การควบคุมการประกอบกิจการสระวายน้ำ หรือกิจการอื่น ๆ ในทำนองเดียวกัน. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : http://laws.anamai.moph.go.th/download/laws/suggest-1-50.pdf. ชัชชัย ตันตสิรินทร . (2559). ประเภทการดำน้ำแบบ Freediving. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.facebook.com/ThailandFreediving/posts/1004690159568470/. ดร. พิชิต เมืองนาโพธิ์. (2561). คลาสเรียนดำน้ำ. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.freedomdive.com/th/tip/learn_scuba. นีโอ. (2562). Thailand Golf & Dive Expo 2019. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : http://www.autofocusnews.com/17092993/thailand-golfdive-expo-2019. ปกเปา. (2554). ประเภทการดำน้ำ. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.freedomdive.com/webboard/index.php?showtopic=1270 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2561). การดำน้ำ. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0 %B8%94%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3. สำนักการกีฬา กรมพลศึกษา. (2556). งานบริการสระวายน้ำวิสุทธารมณ . [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.dpe.go.th/manu al-files-392891791840. อาจารย ดร.วีรภรณ โตคีรี. (2558). การเรียนรูการดำน้ำลึกเบื้องตน. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : http://www.chumphon2.mju.ac.th/km/?p=486. Bangkok Freedivers. (2563). Freediving. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.bangkokfreedivers.com/. Dimension. (2563). Restaurant Layouts. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.dimensions.guide/collection/restaurant-layouts. Dive infinity. (2562). การเก็บรักษาอุปกรณ ดำน้ำอยางถูกตอง. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.diveinfinity.com/knowledge/scuba-gear-maintenance-care/. Dive info. (2563). อุปกรณ . [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : http://www.diveinfo.net/. Freedivingsoul. (2561). Mammalian dive reflex สำหรับดำน้ำแบบ Freedive. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://freedivingnow.com/freediving/mammali an-dive-reflex/. National geographic. (2563). คลาสเรียนดำน้ำ. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://ngthai.com/travel/20845/whatyouneedtoknowtolearndiving/ Nemo-33. (2563). Case study. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : http://www.nemo-33m.com/en/diving-courses/cours-de-plongee-ssi. Nemo-33. (2563). Case study. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://travel.kapook.com/view45820.html-nemo-33 2020.


บรรณานุกรม

55

ODD DIVE Thailand. (2563). ODD DIVE Thailand เรียนดำน้ำ อุปกรณ ดำน้ำ สระฝกดำน้ำ Scuba diving. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.face book.com/odddiveth/. Supersports Summer Catalog 2016. (2559). DEEP BLUE SEA: ดำดิ่งสูหวงทะเล. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.supersports.co.th/ store/%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B 3%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B9%88%E0 %B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%86/. Thailand Dive Expo (TDEX). (2562). งานดำน้ำ. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.thailanddiveexpo.com/. Y-40. (2563). Case study. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/Hotel_Terme_Millepini. Y-40. (2563). Case study. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.catdumb.com/y-40-deep-joy-777/. Y-40. (2563). Case study. [ออนไลน ]. เขาถึงไดจาก : https://www.y-40.com/en/.


56 ประวัติ ชื่อ-นามสกุล

: รัชชานนท พวงเขียว

วัน-เดือน-ปเกิด

: 8 สิงหาคม 2538

อายุ

: 24ป

ที่อยู

: 182 ถ. ประโคนชัย ต.ปากน้ำ อ.เมืองสมุทรปราการ จ. สมุทรปราการ 10270

โทรศัพย : 084-291-5354 E-mail

: noncharat.tah@hotmail.com

Facebook

: Tah Noncharat

การศึกษา ประถมศึกษา

:

โรงเรียนศรีวิทยาปากน้ำ

มัธยมศึกษาตอนตน

:

โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ

มัธยมศึกษาตอนปลาย

:

โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ

อุดมศึกษา

:

สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


Bereef


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.