Phuchisa Phattakai

Page 1



PROJECT NAME

/

The Study of Bangkok Corrections Museum (Mahachai Road) to a Boutique Hotel Design

Project Type

/

Interior design

Project operator

/

phuchisa phattakai

major / university

/

Department of interior , rangsit university

Year

/

2020

Advisor

/

kalunyoo sipiyaruk


a


สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมตั ใิ ห้นบั ศิลปนิพนธ์แห่งนีเ� ป็ นส่วนหนึง� ของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ......................................... คณบดีคณะวิทยาลัยการออกแบบ (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน) ......................................... ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) ......................................... กรรมการ (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ......................................... กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์) ......................................... กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์) ......................................... กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ) ......................................... กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์) ......................................... กรรมการ (อาจารย์ กาลัญ�ู สิปิยารักษ์) ......................................... กรรมการ (อาจารย์ ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพนธ์

....................................................... ( อาจารย์ กาลัญ�ู สิปิยารักษ์ )


b


TITLE

The Study of Bangkok Corrections Museum (Mahachai Road) to a Boutique Hotel Design

NAME

Phuchisa Phattakai

major / university Department of interior , rangsit university

ADVISOR

Kalunyoo Sipiyaruk

ACADEMIC YEAR

2020

ABSTRACT

Nowadays, Bangkok has social and cultural diversities as both foreign and Thai travelers have come to learn its art and cultures. Learning Bangkok Corrections Museum is therefore interesting for building hotels. The present problem is that it is left unused. With this point, I have noticed that the place is valuable for businesses gaining revenue back to the owner of the museum. The project studying Bangkok Corrections Museum is the source and importance to attract foreigners travelers who are interested in the project to come learn about the history as well as to expand the greater growth of the hotel industry. Impacting on the improvement of accommodation service, this could serve the needs of the customers and create satisfaction and memories with this place. The Corrections Museum (Mahachai Road) is consequently outstanding based on the location in the heart of Bangkok which could easily attract visitors. The project would build up the atmosphere of the feeling of the classic building combined with the unique local cultures of the nearby community.


c


acknowledgements

ศิลปนิพนธ์ฉบับนีส� าํ เร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี ด้วยความช่วยเหลือและชีแ� นะอย่างดีย�ิงจาก อาจารย์ กาลัญ�ู สิปิยารักษ์ อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพนธ์ ที�คอยแนะนําให้คาํ ปรึกษา ในทุกๆส่วนของการทําโครงการนีแ� ละคอยให้กาํ ลังใจ รวมถึงคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ ทุกท่าน ที�ให้คาํ แนะนํา และ ข้อคิดเห็นต่างๆในการทําศิลปนิพนธ์ จึงขอขอบคุณอาจารย์ ทุกท่านไว้ ณ ที�นี � ขอขอบคุณ ปลัดกระทรวงยุติธรรม และ หน่วยงานที�เกี�ยวข้องที�ให้ขอ้ มูลที�สาํ คัญต่อการ ดําเนินงาน และ ให้ขอ้ เสนอแนะที�เป็ นประโยชน์ตอ่ การทํางานและพัฒนางานในด้านต่างๆ สุดท้ายนีข� อขอบคุณครอบครัว ที�ให้โอกาศในการศึกษาสนับสนุนทุนทรัพย์ในการทํา โครงการตลอดจนช่วยเหลือและให้กาํ ลังใจ รวมถึงเพื�อนๆ พี�นอ้ งทุกคนที�ไม่ได้เอ่ยนาม ที�สนับสนุนและให้กาํ ลังใจจนสําเร็จลุลว่ งได้ดว้ ยดี ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี.� ภูชิษา ปราชญทไกร


d


CONTENTS page

1

2

3

4

5

approval sheet

A

abstract

B

acknowledgements

C

table of contents

D

INTRODUCTION

1

project background

5

objectives

6

expectations

7

AREA OF STUDies

7

research schedule

9

information and details of the project

11

research methodology

13

timeline history

15

mahachai road

17

community

19

target audience

21

case study

23

The theory and conceptual to design

29

location / site analysis

31

site serrounding

33

timeline of buildings

35

BUILDING in the reign of king Rama v

39

elements to design

43

Louis XVI furniture / victorian

49

design process / development

51

conceptual design

53

mood / image

55

material

57

zoning

59

plan / perspective

63

branding

125

result / suggestions

149

bibliography

153

curriculum vitae

155


1

introdu

p1


1

uction

p2


p3


01 PROJECT BACKGROUND ในปั จจุบนั กรุงเทพมหานครมีความหลากหลายทาง สังคมและวัฒนธรรมโดยที�นกั ท่องเที�ยวทัง� ชาวต่าง ชาติและนักท่องเที�ยวชาวไทยได้เดินทางมาท่องเที�ยว และเรียนรูศ้ ิลปะและวัฒนธรรมขอกรุงเทพมหานคร โครงการศึกษาพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ จึงเป็ นโครงการ ที�นา่ สนใจในการนํามาทําเป็ นโรงแรม ซึง� ปั ญหาที� พบคือในปั จจุบนั ที�น�ีถกู ปล่อยทิง� ร้างให้ไม่มีการใช้ งาน จึงเล็งเห็นว่าสถานที�ดงั กล่าวมีคณ ุ ค่าที�จะมา ทําธุรกิจเพื�อสร้างรายได้คืนให้กบั ทางเจ้าของ พิพิธภัณฑ์แห่งนี � โครงการศึกษาพิพิธภัณฑ์ ราชทัณฑ์ จึงเป็ นที�มาและความสําคัญที�จะดึงดูด นักท่องเที�ยวชาวต่างชาติท�ีสนใจในโครงการ ได้มา ศึกษาประวัตศิ าสตร์และทําให้ธรุ กิจโรงแรมขยายตัว มากขึน� และพัฒนาการให้บริการในด้านทีพ� กั เพือ� ตอบ สนองความต้องการแก่ผใู้ ช้บริการเพื�อสร้างความ ประทับใจและความทรงจําต่างๆ กับสถานที�แห่งนี � โครงการศึกษาพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ (ถนนมหาไชย) จึงเป็ นทางเลือกที�นา่ สนใจด้วยทําเลที�ตงั� ใจกลาง กรุงเทพมหานคร ซึง� เป็ นแหล่งที�ดงึ ดูดนักท่องเที�ยว ได้เป็ นอย่างดี โดยโครงการจะสร้างบรรยากาศราย ล้อมด้วยกลิ�นอายความคลาสสิคของตัวอาคาร ผสม ผสานกับวัฒนธรรมท้องถิน� ทีเ� ป็ นเอกลักษณ์ของชุมชน ในบริเวณนัน�

p4


02 OBJECTIVEs

p5

1

เพื�อศึกษาประวัตศิ าสตร์ของตัวอาคาร อันนํามาสูก่ ารพัฒนาออกมาเป็ นงานออกแบบ

2

เพื�อปรับปรุงและพัฒนาสถาปั ตยกรรมให้เกิดมูลค่า และ ประโยชน์สงู สุด

3

สร้างจุดขายให้กบั ชุมชนเพื�อส่งเสริมธุรกิจการท่องเที�ยวให้เติบโตมากยิ�งขึน�


03 expectations

1

ได้เรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ความเป็ นมา และ สถาปั ตยกรรมในสมัย ร.� และ ร.�

2

ได้เรียนรูถ้ งึ แนวคิดการวางผัง การออกแบบโรงแรม และ การออกแบบสไตล์นีโอคลาสสิค

3

เป็ นการสร้างมูลค่าให้กบั สถานที�เพื�อให้ผคู้ นทั�วไปได้รูจ้ กั สถานที�แห่งนีม� ากขึน�

p6


04 AREA OF STUDies

p7

1

ศึกษาประวัตคิ วามเป็ นมาของโครงการ และ ประวัติศาสตร์ชมุ ชนบริเวณนัน�

2

ศึกษาและวิเคราะห์ตวั อาคาร และ สถาปั ตยกรรมรูปแบบนีโอคลาสสิคของพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์

3

ศึกษาการวางผังในอาคารเชิงอนุรกั ษ์ และ ออกแบบโรงแรมสไตล์ Boutique Hotel


history

revival

idenity

p8


05 research schedule

a

สิงหาคม ส่งหัวข้อศิลปนิพนธ์และรายชื�ออาจารย์ท�ีปรึกษา

s

กันยายน นําเสนอหัวข้อศิลปนิพนธ์และเสนอร่าง Proposal ครัง� ที� � ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครัง� ที� � เสนอหัวข้อโครงการ ที�มา วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย ที�ตงั� โครงการและการวิเคราะห์ท�ีตงั� เข้าพบอาจารย์ท�ีปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ขอ้ มูลภายใต้คาํ แนะนําของอาจารย์ท�ีปรึกษา

o

ตุลาคม นําเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครัง� ที� �

n

พฤศจิกายน ค้นคว้า / วิเคราะห์ขอ้ มูลภายใต้คาํ แนะนําของอาจารย์ท�ีปรึกษา ให้ศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลอิสระ

d

ธันวาคม นําเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครัง� ที� �

p9


j

มกราคม พัฒนาและนําเสนอการวางผัง Planning สรุปแนวคิดการออกแบบ Design conceptual นําเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสูก่ ารออกแบบและออกแบบ Design ด้วยการนําเสนอ Plans / Elevations / Perspective

f

กุมภาพันธ์ พัฒนาและนําเสนอการวางผัง Planning สรุปแนวคิดการออกแบบ Design conceptual นําเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสูก่ ารออกแบบและออกแบบ Design ด้วยการนําเสนอ Plans / Elevation / Perspective

m

มีนาคม นําเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสูก่ ารออกแบบและออกแบบ Design ด้วยการนําเสนอ Plans / Elevation / Perspective ตรวจศิลปนิพนธ์ครัง� ที� �

a

เมษายน นําเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสูก่ ารออกแบบและออกแบบ Design ด้วยการนําเสนอ Plans / Elevation / Perspective ตรวจศิลปนิพนธ์ครัง� ที� �

m

พฤษภาคม นําเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสูก่ ารออกแบบครัง� สุดท้ายและจัด ระเบียบความเรียบร้อยของงาน ตรวจศิลปนิพนธ์ครัง� ที� �

p 10


2

informat details of t

p 11


2

tion and the project

p 12


ทีม� า : ฟิ ลม์กระจก / เรือ� งราวเหนือกาลเวลา

p 13


research methodology

1

การค้นคว้าข้อมูล ศึกษาข้อมูลต่างๆที�เกี�ยวข้องกับสถานที�แห่งนี � จากแหล่งที�เชื�อถือได้ รวมถึงค้นคว้าประวัตวิ ิถีชีวิตชุมชนของที�น�ี

2

การรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลเกี�ยวกับพฤติกรรมของกลุม่ เป้าหมาย บริเวณพืน� ที� โครงการ และโดยรอบของสถานที�

3

วิธีการรวบรวมข้อมูล ทําการลงพืน� ที�จริงเพื�อรวบรวมข้อมูล เริม� จากใช้การสังเกตจากบุคคล วัตถุ บรรยากาศสภาพแวดล้อม กิจกรรม วิถีชีวิตชุมชนบริเวณไกล้เคียง ต่อด้วยการสัมภาษณ์เจาะลึกในประเด็นต่างๆที�นา่ สนใจ ทัง� รายบุคคล และรายกลุม่ โดยใช้คาํ ถามปลายเปิ ดหรือข้อคิดเห็นความรูส้ กึ

4

การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลจะดําเนินไปพร้อมๆกับการรวบรวมข้อมูล ส่วนการ ตรวจสอบข้อมูลจะนํามาจากข้อมูลที�ได้มาจากการลงพืน� ที�มาวิเคราะห์ อีกครัง� เพื�อพิจารณาข้อมูลที�ได้ เพื�อนําไปสูก่ ระบวนการออกแบบต่อไป

5

การศึกษาเพิม� เติม เป็ นการศึกษาข้อมูลเพิ�มเติม เช่น กรณีศกึ ษาของกิจกรรม กรณีศกึ ษา ของโครงการอื�นๆ รวมถึงแนวคิดและทฤษฎีท�ีสนใจหรือที�จะนํามาใช้ ในการออกแบบ

p 14


ทีม� า : Khobjai thailand

p 15


timeline history 2433

2534

2542

เรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างเมื�อ ร.ศ.��� โดยนําแบบเรือนจําบริกซ์ตนั อันเป็ นเรือนจําระดับ ความมั�น คงสูงสุดมาใช้ การก่อสร้างเสร็จสิน� สามารถ ย้ายนักโทษเข้า ไปอยูไ่ ด้เมื�อเดือนกุมภาพันธ์ และได้รบั การขนานนามว่า "คุกกองมหันต์โทษ" หรือเรียกกันว่า "คุกใหม่" มีอายุเก่าแก่ถงึ ��� ปี และได้เปลี�ยนชื�อหลายครัง� ครัง� สุดท้ายใช้ช�ือว่า "เรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคร" ได้ยา้ ยผูต้ อ้ งขังจาก เรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคมาควบคุม รวมกัน และ ให้ปรับปรุงพืน� ที�เรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคร เป็ น สวนสาธารณะ จากการที�สวนรมณีนาถได้ดดั แปลง มา จากเรือนจํา ภายในบริเวณสวนจึงยังคงอนุรกั ษ์ แนวรัว� กําแพง ป้อมยาม ซุม้ ประตูทางเข้าไว้เป็ น สัญลักษณ์ และเป็ นส่วน ประกอบของสวนพระบาท สมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมื�อครัง� ดํารงพระ อิสริยยศเป็ น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎ ราชกุมารได้เสด็จพระราชดําเนิน ทรงเปิ ดสวนรมณี นาถ และพิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ อย่างเป็ นทางการ เมื�อ วันที� �� สิงหาคม พ.ศ. ����.

p 16


ทีม� า : Khobjai thailand

p 17


mahachai road เป็ นถนนเส้นหนึง� ในกรุงเทพมหานครเริม� ต้นตัง� แต่ถนน ราชดําเนินกลางบริเวณสี�แยกป้อมมหากาฬข้ามคลอง หลอดวัดราชนัดดาวัดเทพธิดารามตัดกับถนนบํารุงเมือง และถนนหลานหลวงข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธตัดกับ ถนนเจริญกรุงจนกระทั�งถึงถนนพีระพงษ์ถนนเยาวราช และถนนจักรเพชรสําหรับที�มาของชื�อถนนมหาไชยมี ดังนีเ� ดิม‘มหาไชย’เป็ นชื�อของป้อมปราการ ๑ ใน ๑๔ ป้อมที�พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯให้สร้างขึน� เมื�อทรงสถาปนากรุงเทพมหานคร เป็ นราชธานีตอ่ มาเมื�อบ้านเมืองเปลี�ยนแปลงตามยุค สมัยป้อมปราการสําหรับการป้องกันพระนครถูกลดความ สําคัญลงป้อมมหาไชยจึงถูกรือ� ถอนและมีการตัดถนน ผ่านบริเวณป้อมมหากาฬที�ถกู รือ� ไปจึงมีการตัง� ชื�อถนน ว่า ‘ถนนมหาไชย’ ขึน� แทน ถนนมหาไชยเป็ นถนนเส้น หนึง� ที�มีความสําคัญสําหรับย่านเมืองเก่าภายในกําแพง พระนครเป็ นพืน� ทีท� างประวัตศิ าสตร์ทม�ี คี วามทรงจําเกี�ยว กับผูค้ นในอดีตมาอย่างยาวนานเกือบทัง� สายมีสถานที� สําคัญและมีความสัมพันธ์กบั ผูค้ นในอดีตตัง� อยูไ่ ม่วา่ จะ เป็ นป้อมมหากาฬตลาดสําราญราษฎรย่านประตูผีหรือ แม้แต่เรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานครในอดีตนอกจากนัน� ยังมีชมุ ชนเก่าแก่ตงั� อยูบ่ นถนนเส้นนีอ� กี เช่นกันเช่นชุมชน ป้อมมหากาฬ ฯลฯ.

p 18


ทีม� า : ศูนย์ขอ้ มูลเกาะรัตนโกสินทร์

ชุมชนบ้านสายรัดประคด ชุมชนข ล้วนเป็ นชุมชนที�อาศัยอยูร่ ว่ มกันใ เป็ นชุมชนที�มีความพิเศษกว่าชุมช การผลิตงานฝี มือที�มีช�ือเสียงแต่บาง ฝี มือต่อมา งานฝี มือซึง� เป็ นสิ�งลํา� ค่า กาลเวลา ดังในชุมชนสายรัดประค การทําสายรัดประคดแล้วเลิกทําเพ

p 19


ข้างเรือนจําซึง� ชุมชนเหล่านี � ในพืน� ที�มาอย่างยาวนานและ ชนอื�น เนื�องจากเป็ นชุมชนที�มี งชุมชนที�ไม่มีการสืบทอดงาน าเหล่านัน� ต้องสูญหายไปตาม คดที�ปัจจุบนั ไม่มีผคู้ นที�สืบต่อ พราะหมดความนิยมและไม่มี

community ชุมชนบ้านสายรัดประคด ชุมชนข้างเรือนจําซึง� ชุมชน เหล่านีล� ว้ นเป็ นชุมชนที�อาศัยอยูร่ ว่ มกันในพืน� ที�มาอย่าง ยาวนานและเป็ นชุมชนที�มีความพิเศษกว่าชุมชนอื�น เนื�องจากเป็ นชุมชนที�มีการผลิตงานฝี มือที�มีช�ือเสียงแต่ บางชุมชนที�ไม่มีการสืบทอดงานฝี มือต่อมา งานฝี มือซึง� เป็ นสิ�งลํา� ค่าเหล่านัน� ต้องสูญหายไปตามกาลเวลา ดัง ในชุมชนสายรัดประคดที�ปัจจุบนั ไม่มีผคู้ นที�สืบต่อการ ทําสายรัดประคดแล้วเลิกทําเพราะหมดความนิยมและ ไม่มีผสู้ ืบต่อเหลือเพียงแต่ช�ือของชุมชนไว้แต่มีอีกหลาย ชุมชนที�ยงั คงสืบทอดต่อกันมาจนถึงปั จจุบนั เช่นชุมชน ป้อมมหากาฬที�มีช�ือเสียงในเรือ� งของการทํากรงนกหรือ การขายพลุรมิ ประตูปอ้ มมหากาฬซึง� ปั จจุบนั ก็ยงั คงมี อยูแ่ ละหากจะกล่าวถึงย่านที�มีรา้ นขายเครือ� งหวายใน เขตพระนครที�มีช�ือเสียงและเป็ นที�รูจ้ กั มาตัง� แต่ในอดีต ก็คือ ‘ชุมชนข้างเรือนจํา’ ตัง� อยูใ่ กล้กบั สวนรมณีนาถ บนถนนมหาไชยบริเวณนีเ� ดิมเป็ นชุมชนทีประกอบ อาชีพขายเครือ� งหวาย หากจะถามว่าร้านใดที�มีช�ือ คุน้ หูและได้ช�ือว่าเก่าแก่ท�ีสดุ ผูค้ นทั�วไปคงจะนึกถึงร้าน นายเหมือน แต่ถงึ กระนัน� มีเพียงน้อยคนที�จะทราบว่า จริงๆ แล้วร้านเครือ� งหวายที�เปิ ดขายเป็ นร้านแรกและเก่า แก่ท�ีสดุ คือ ร้านยุพดีวานิช.

ผูส้ บื ต่อเหลือเพียงแต่ชอ�ื ของชุมชนไว้แต่มอี กี หลายชุมชนทีย� งั คงสืบอาชี ทอดต่ อ อ� งหวาย หากจะถามว่าร้านใดที�มีช�ือคุน้ หูและ พขายเครื กันมาจนถึงปั จจุบนั เช่นชุมชนป้อมมหากาฬที�มีช�ือเสียงในเรือ� งของการทํ ได้ช�ือว่าเก่าแก่ท�ีสดุ ผูค้ นทั�วไปคงจะนึกถึงร้านนายเหมือน กรงนกหรือการขายพลุรมิ ประตู แต่ถงึ กระนัน� มีเพียงน้อยคนที�จะทราบว่าจริงๆ แล้วร้าน ป้อมมหากาฬซึง� ปั จจุบนั ก็ยงั คงมีอยูแ่ ละหากจะกล่าวถึงย่านที�มีรา้ เครื นขาย อ� งหวายที�เปิ ดขายเป็ นร้านแรกและเก่าแก่ท�ีสดุ คือ เครือ� งหวายในเขตพระนครที�มีช�ือเสียงและเป็ นที�รูจ้ กั มาตัง� แต่ในอดีตก็ ร้านยุพดีวานิช คือ‘ชุมชนข้างเรือนจํา’ตัง� อยูใ่ กล้กบั สวนรมณีนาถบนถนนมหาไชยบริเวณ นีเ� ดิมเป็ นชุมชนที�ประกอบ

p 20


china 40%

japan 20%

europe 20%

south korea 10%

thai 5%

other 5%

p 21


target audience couple กลุม่ เป้าหมายนัน� จะอิงจากบุคคลที�เดินทางมาบริเวณรอบๆ โครงการ โดยกลุม่ เป้าหมายที�เดินทางเข้ามาในประเทศไทย มากที�สดุ ก็คือกลุม่ คนจีน ซึง� ส่วนมากจะเป็ นคูร่ กั .

p 22


c

case s

p 23


c

studys

p 24


p 25


THE HOUSE ON SATHORN เดอะเฮ้าส์ออนสาทร ด้วยความที�วา่ ตัว Facade ด้านหน้าเป็ นสไตล์คลาสสิคและหน้าตาคล้ายกับตึกใน โครงการ เลยหยิบยกมาเป็ น Case study โดยจะดูเรือ� ง การใช้ Ornements ต่างๆในส่วนของงานภายใน และ การใช้ Furniture ที�ผสมผสานกับการตกแต่งภายในได้ อย่างลงตัว และอีกอย่างที�จะนํามาใช้ในโครงการก็คือ เรือ� งของ Courtyard.

p 26


p 27


The Memory at On On Hotel เป็ นตึกสไตล์ชิโนโปรตุกีส อยูท่ �ีภเู ก็ต เป็ นตึกที�ยงั คง เอกลักษณ์ความเป็ นตึกเก่าไว้ อีกอย่างที�นา่ สนใจ คือโดยแต่ละห้องพักของที�น�ี จะผสมผสานความเป็ น เอกลักษณ์ของแต่ละชุมชนเข้าไปในห้องพัก เช่นโซน สีเขียวหรือโซน Craftman บอกเล่าเรือ� งราวของช่าง ฝี มือแบบต่างๆ เช่น ช่างตัดเย็บ ช่างไม้ จิตรกร ช่าง ถ่ายภาพ ไปจนถึงนักเดินเรือ ห้องเหล่านีจ� งึ น่าตาไม่ เหมือนกัน.

p 28


3

The the conceptua

p 29


3

eory and l to design

p 30


BMA BANGKOK CITY HALL

SAO CHINGCHA

MRT SAMYOD

p 31


WAT SAKED

THIPSAMAI

SITE

LOCATION: Rommaninat Park

ROMMANINAT PARK

ADDRESS: MahaChai Rd,SamranRat, Phra Nakhon,Bangkok

p 32


p 33


SITE SERROUNDING

p 34


t

timeline o

p 35


t

of buildings

p 36


1886

1887

The Old Custom House Bang Rak Fire Station neo palladian

Ministry of Defence neo palladian

1750

-

neo classical

Baan Ajarn Farang victorian gothic

1923

p 37


1890

1900

rommaninat

house no 1 neo classic

neo classical

House of Phraya burutrattanaratpanlop victorian gothic

1905

-

8

victorian style

Vimanmek Palace victorian thai

1892

p 38


p 39


BUILDING in the reign of king Rama v

p 40


p 41


2

ทีม� า

: RSU VERNADOC Organized by Sudjit S.Sananwai & RSU p 42


e

elements

p 43


e

s to design

p 44


A comparative study of the window and door styles of buildings in the king Rama 5

rommaninat

old custom house

WINDOW

saranrom

p 45


rommaninat

old custom house

door

saranrom

p 46


A comparative study of the ceiling and railing styles of buildings in the king Rama 5

ceiling

p 47


rommaninat

railing old custom house

p 48


old

p 49

new

old

new


Louis XVI furniture / victorian จากการที�ได้ศกึ ษาเฟอร์นเิ จอร์สไตล์นีโอคลาสสิคและ วิคตอเรียน ในอดีตกับปั จจุบนั ความแตกต่างของยุค สมัยก็คือ มีการลดทอนคิว� บัว และพวก Details ต่างๆ ให้นอ้ ยลงเพื�อที�จะทําให้มีความ Modern.

p 50


4

design p / develo

p 51


4

process opment

p 52


conceptual

p 53


from past to present จากอดีตจนถึงปั จจุบนั จะนําความคลาสสิคจากอดีต มา Revival ให้กบั ตึกนี � โดยที�จะไม่ได้นาํ กลับมาทําให้เก่า จะทําให้ใหม่โดยที�วา่ จะเปลี�ยนวัสดุท�ีใช้ใน Ornament ต่างๆ ยกตัวอย่างวัสดุท�ีใช้ เช่น Stanless,Aluminium.

p 54


p 55


mood / image

p 56


material

black glossy

white glossy

black wood

rattan

white ma

black marble

p 57


green marble

arble

p 58

champagne gold stainless steel

black alluminium


z

zoning GRO / zoning 2

p 59


z

OUND FLOOR 2nd floor

p 60


GROUND FLOOR spa & massage

swimming pool

private massage

lobby lounge

room type

restaurant /cafe

main entrance /sub entrance

courtyard

parking

p 61


2ND FLOOR aroma massage luxury sweet room luxury sweet room deluxe room

p 62


5

1

2

master plan / 2500 sqm

p 63


6

3

4

1

building a / spa & massage

4

building d / restaurant

car circulation

2

building b / room type

5

private massage

guest circulation

3

building c / lobby lounge

6

swimming pool

p 64


a

b

isometric

ภาพไอโซเมตริกของทัง� โครงการ ซึง� ทัง� โครงการจะมีตกึ อยูด่ ว้ ยกัน � ตึก เรียงติดถนนทัง� หมด ซึง� ภายในโครงการบริเวณพืน� ที�ขา้ งหลังสร้างพืน� ที�เพิ�ม ขึน� มาเพื�อที�จะทําเป็ นในส่วนของ Private Massage และ Swimming Pool ส่วนตัวโครงสร้างจะเป็ นโครงสร้างเบา เป็ นตึกกระจก.

p 65


c

d

p 66


c

building c / 252 sqm

p 67


8

6

4

7

5

3

1 4 5 7

up

up

2

building c / ground floor 1

sub entrance

6

storage

2

corridor

7

restroom m/w

3

reception

8

main entrance

4

back office

guest circulation

guest circulation

p 68


building c / 252 sqm

p 69


2

3

2

2

3

down down

2

down down

1 1

building c / 2nd floor 1

corridor

2

luxury sweet (king)

3

luxury sweet (twin)

guest circulation

p 70


facade / building c / morning

มุมมองทัศนียภาพ (ตอนเช้า) Facade ตึก C ที�เป็ น ตึกแรกที�แขกต้องเข้ามาติดต่อพนักงานเพื�อที�จะทํา การ Check-in และ Check-out.

p 71


p 72


p 73


facade / building c / night

มุมมองทัศนียภาพ (ตอนกลางคืน) Facade ตึก C ที�เป็ นตึกแรกที�แขกต้องเข้ามาติดต่อพนักงานเพื�อที� จะทําการ Check-in และ Check-out.

p 74


elevation / building c

มุมมองรูปด้านภายในของ ตึก C แนวความคิดในการ ออกแบบคือใช้ Element ที�หามาในตอนแรกมาใช้ใน Ornament ต่างๆ เช่น ระยะซุม้ โค้ง ฯลฯ. ส่วนเรือ� งของสี ใช้สี � สีหลักในการออกแบบก็คือใช้ สีขาวดําเพื�อที�จะทําให้ดู Modern อีก � สีท�ีใช้คือจะนํา สีของตัวประตูและหน้าต่างที�เป็ นสีเขียวและสีเหลืองของ ตัวตึกมาแทนค่าเป็ น สีเขียวจะใช้กบั สีของ Furniture และสีเหลืองจะแทนค่าเป็ น Champagne Gold Stainless Steel.

p 75


p 76


reception / building c

มุมมองทัศนียภาพภายในของ ตึก C แผนกต้อนรับ แนวความคิดรองจะนําเรือ� งของประวัตขิ องชุมชนที� เชี�ยวชาญเรือ� งกรงนกมาใช้ในการออกแบบผสมผสาน กับแนวความคิดหลัก. วัสดุหลักที�ใช้ ในส่วนของ Furniture ใช้เป็ นผ้ากํามะหยี� สีเขียว ขา Furniture ในทุกๆชิน� เลือกใช้เป็ น Black Aluminium ที�เปลี�ยนให้รูส้ กึ มีความใหม่และมีความ Modern ในส่วนของ Lighting จะใช้วสั ดุ Champagne Gold Stainless Steel.

p 77


p 78


p 79


lounge / building c

มุมมองทัศนียภาพภายในของ ตึก C อีกมุมที�เป็ นส่วนของ เลานจ์ เป็ นพืน� ที�รองรับแขกได้มาพบเจอกัน และสามารถ สั�งเครือ� งดื�มที� Bar ได้ อีกอย่างคือส่วนของข้างหลังบาร์ จะมีทางเชื�อมที�จะสามารถเดินข้ามไปในส่วนของตึก D.

p 80


d

building d / 383 sqm

p 81


1

1

7 6

7

1

6

1 up

3

up

3 4

4

5

4

4

5

2

2 2

2

8

8

8 8

building d / ground floor 1

sub entrance

6

kitchen

2

corridor

7

restroom m/w

3

host station

8

main entrance

4

restaurant

guest circulation

5

bar

staff circulation

p 82


restaurant / building d

มุมมองทัศนียภาพภายในของ ตึก D ที�สามารถ เดินมาได้ทางๆเชื�อมระหว่างตึก C เป็ นส่วนของ ร้านอาหารที�รองรับแขกภายนอกและภายใน. วัสดุท�ีใช้กบั ฝ้าเพดาน ใช้ White Glossy ที�เลือก ใช้เพราะว่าเป็ นวัสดุท�ีมีความสะท้อนและดูเหมือน ใหม่ ส่วนโคมไฟที�ใช้เป็ นโคมไฟหวายสานที�เปลี�ยน เป็ นสีดาํ เพื�อให้มีความ Modern.

p 83


p 84


p 85


bar / building d

มุมมองทัศนียภาพภายในของ ตึก D ในส่วนของ บาร์จะใช้แนวความคิดแบบเดียวกัน แต่จะตีความ ออกมาทางงาน Painting ลวดลายงานจะเป็ นกรง นก และ นก ที�ส�อื ถึงความเป็ นไทย และ ฝรั�ง. ส่วนของที�วางขวดไวน์ จะใช้วสั ดุ Champagne Gold Stainless Steel ที�นาํ มาจากโครงกรงนกมาดัดให้เป็ น โครงให้เข้ากับตัว Bar.

p 86


bar / building d

มุมมองทัศนียภาพภายในของ ตึก D ในส่วนของ บาร์อีกมุมมอง ที�มองผ่านทาง Corridor ที�มีซมุ ้ โค้ง เป็ นระยะๆ และ มี Louis Ghost Chair ที�ไว้ให้แขก สามารถที�จะมาสูบบุหรี.�

p 87


p 88


p 89


restaurant / building d

มุมมองทัศนียภาพภายในของ ตึก D ในส่วนของ ห้องอาหารที�แยกออกจากร้านอาหารหลักเป็ นอีก ส่วนไว้รองรับแขก VIP บนโต๊ะจะใช้เชิงเทียน Classic เพื�อสร้างบรรยากาศในการรับประทาน อาหารมากขึน� .

p 90


building d / 362 sqm

p 91


down down

2

3

2

3

44

3

2

3

2

11

11

building d / 2nd floor 1

corridor

2

deluxe room(king)

guest circulation

3

deluxe room (twin)

staff circulation

4

staff room

p 92


deluxe room

area 54 sqm 6 room

p 93

1

restroom

12

bathtub

2

work space

13

bathroom

3

mini bar

14

bacin

4

luggage

15

chair

5

closet

16

coffee table

6

Refrigerator

17

sofa

7

bed

8

arm chair

9

Dressing table

10

television

11

bench


8

7

15

10

11

10

16

17

2

15

3 14 5

13

6 1

12

4 5

9

8

15

2

17

16

10

11

7

11

7

10

15

3 6 4 5

14 1

12

13

5

9

p 94


the bloom flower / deluxe room / building d

มุมมองทัศนียภาพของห้องดีลกั ซ์ แนวความคิดจะใช้ แนวความคิดหลักที�ใช้ Element ที�หามาในตอนแรกมา ใช้ใน Ornament ต่างๆ เช่น ระยะซุม้ โค้ง ฯลฯ. ส่วนเรือ� งของสี ใช้สี � สีหลักในการออกแบบก็คือใช้ สีขาวดําเพื�อที�จะทําให้ดู Modern อีก � สีท�ีใช้คือจะนํา สีของตัวประตูและหน้าต่างที�เป็ นสีเขียวและสีเหลืองของ ตัวตึกมาแทนค่าเป็ น สีเขียวจะใช้กบั สีของ Furniture และ สีเหลืองจะแทนค่าเป็ น Champagne Gold Stainless Steel.

p 95


p 96


p 97


the bloom flower / deluxe room / building d

มุมมองทัศนียภาพของห้องดีลกั ซ์ เป็ นส่วนของห้องนั�งเล่น ไว้สาํ หรับนั�งพักผ่อนระหว่างวัน. การเลือกใช้เฟอร์นิเจอร์ของห้องนีจ� ะไปทางนีโอคลาสสิค มากกว่าวิคตอเรียน.

p 98


p 99


courtyard / building d

มุมมองทัศนียภาพภายนอกในส่วนลานบริเวณ ตึก C ที�รองรับลูกค้าที�ตอ้ งการดื�มดํ�าบรรยากาศ บริเวณรอบๆตัวโครงการ แนวความคิดของส่วนนี � จะตีความผ่านเฟอร์นิเจอร์ท�ีคล้ายกรงนก. วัสดุหลักๆที�ใช้คือ Black Aluminium.

p 100


b

building b / 252 sqm

p 101


1

1

5

5

4

5 4 6 5

6 4

3

8 4

3

3

up

up 2

up

up 2

7

building b / ground floor 1

main entrance

6

display

2

corridor

7

sub entrance

3

superior room (king)

8

superior room (twin)

4

office

guest circulation

5

restroom m/w

staff circulation

p 102


superior room

area 43 sqm 2 room

p 103

1

restroom

12

bathtub

2

work space

13

bathroom

3

mini bar

14

bacin

4

luggage

15

display

5

closet

16

arm chair

6

Refrigerator

7

bed

8

stool

9

sofa

10

television

11

coffee table


11

10

8

12 9 14

7

1

13 2

15 3

4

6

11

5

10

8

12 9 14 10

2

12

7

14 7 13

1

2 1

7

13

15 3

6

4

15

16

5 5

4

6

3

p 104


building b / 252 sqm

p 105


2

3

2

2

3

2

1 1

down down

down down

building b / 2nd floor 1

corridor

2

luxury sweet (king)

3

luxury sweet (twin)

guest circulation

p 106


luxury sweet room

area 60 sqm 4 room

p 107

1

restroom

12

bathtub

2

work space

13

bathroom

3

mini bar

14

bacin

4

luggage

15

balcony

5

closet

16

display

6

Refrigerator

17

coffee table

7

bed

18

chair

8

arm chair

9

sofa

10

television

11

bench


12

14

13

1

2

3

7

9

6 4

5 10

8

16

15

17

12

18

6

3

8 2 13

11

7

10

14

11

7

1

4

5

5

p 108


the rose / luxury sweet room / building b

มุมมองทัศนียภาพของห้องลักซ์ชวั รี� สวีท แนวความคิด จะใช้แนวความคิดหลักที�ใช้ Element ที�หามาในตอนแรก มาใช้ใน Ornament ต่างๆ เช่น ระยะซุม้ โค้ง ฯลฯ. ส่วนเรือ� งของงาน Painting ได้ Inspiration มาจาก ร.� ท่านทรงโปรด ดอกกุหลาบ. เรือ� งของสี ใช้สี � สีหลักในการออกแบบก็คือใช้ สีขาวดําเพื�อที�จะทําให้ดู Modern อีก � สีท�ีใช้คือจะนํา สีของตัวประตูและหน้าต่างที�เป็ นสีเขียวและสีเหลืองของ ตัวตึกมาแทนค่าเป็ น สีเขียวจะใช้กบั สีของ Furniture และ สีเหลืองจะแทนค่าเป็ น Champagne Gold Stainless Steel.

p 109


p 110


p 111


the rose / luxury sweet room / building b

มุมมองทัศนียภาพของห้องลักซ์ชวั รี� สวีท อีกมุมมอง ที�มองผ่านออกไปจะเจอในส่วนของ Water Closet แนวความคิดอีกอย่างคือใช้กระเบือ� งลายไทยมาเปลี�ยน เป็ นสีขาวดําเพื�อที�จะทําให้ดู Modern. ส่วนการเลือกใช้เฟอร์นิเจอร์ของห้องนีจ� ะออกไปทาง Victorian เพราะเป็ นห้องสําหรับคูร่ กั .

p 112


p 113


the rose / luxury sweet room water closet / building b

มุมมองทัศนียภาพของห้องลักซ์ชวั รี� สวีท ส่วนของ Water Closet ความพิเศษของห้องนีจ� ะสามารถแช่ อ่างอาบนํา� ซึง� สามารถ Take View ออกไปทางข้าง นอกได้เพื�อที�จะดื�มดํ�าบรรยากาศภายในโครงการ.

p 114


a

building a / 240 sqm

p 115


9

8 6

7

8

7

6

5 5

4 4 6

7

6

7

5 5

3 3 2

up up

2 3 3

1

building a / ground floor 1

main entrance

2

reception

3

staff room /storage

4

corridor

5

restroom m/w guest circulation

6 thai massage /change room 7 foot massage /Shoe storage 8 retail 9 sub entrance staff circulation p 116


spa reception / building a

มุมมองทัศนียภาพภายในของ ตึก A ในส่วน ของแผนกต้อนรับสปา แนวความคิดในการ ออกแบบจะดึงเรือ� งของประวัตชิ มุ ชนที�เชี�ยว ชาญเรือ� งเครือ� งหวายมาใช้ภายในงาน ส่วน เรือ� งการเลือกใช้วสั ดุ จะใช้หวายสานเป็ นวัสดุ หลักของตึกนี � เพื�อที�จะทําให้ดรู ูส้ กึ สบายและ ดูเบากว่าส่วนอื�นๆ.

p 117


p 118


building a / 240 sqm

p 119


2 2

1 1

down down

building a / 2nd floor 1

waiting area

2

corridor

guest circulation

3

aroma massage single

staff circulation

4

aroma massage couple

5

staff room

p 120


6

2

3

3

6 2

3

3

2

1

1

4

4

4

5

4

4

5

4

4

4

private massage / 260 sqm 1

corridor

4

relaxtion

2

massage private (single)

5

cafe

6 3

massage private (couple)

restroom m/w guest circulation staff circulation

p 121


2 2

5 5

3

4

6

3

4

6

5 5 2 2

1

1

1

1

swimming pool / 450 sqm 1

entrance

5

restroom m/w

2

corridor

6

cafe

3

swimming pool

guest circulation

4

relaxtion

staff circulation

p 122


p 123


aroma massage / building a

มุมมองทัศนียภาพภายในของ ตึก A ในส่วน นวดนํา� มันจะใช้แนวความคิดเหมือนกันกับ ส่วนแผนกต้อนรับสปา ใช้วสั ดุท�ีเป็ นไม้และ หวายที�ทาํ ให้รูส้ กึ ผ่อนคลาย และใช้ Champagne Gold Stainless Steel มาใช้ผสมผสานกับหวายสานเพื�อที�จะทําให้ มีความ Modern และ ลงตัวมากขึน� .

p 124


b

bran

p 125


b

nding

p 126


BRANDING / promote

p 127


p 128


BRANDING / map

p 129


p 130


BRANDING / logo

p 131


p 132


BRANDING / booking

p 133


p 134


BRANDING / card

p 135


p 136


BRANDING / letter

p 137


p 138


BRANDING / book

p 139


p 140


BRANDING / hang tag

p 141


p 142


BRANDING / key card

p 143


p 144


BRANDING / menu

p 145


p 146


BRANDING / lotion

p 147


p 148


5

result / su

p 149


5

uggestions

p 150


result หลังจากได้นาํ โครงการศึกษา พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ (ถนนมหาไชย) สูก่ ารออกแบบ Boutique Hotel ไปเสนอต่อคณะกรรมการ ได้ผลลัพธ์ตอบกลับที�ดี โดยโครงการ มีความเป็ นไปได้ท�ีจะสามารถสร้างขึน� จริง เพื�อส่งเสริมธุรกิจโรงแรมให้ขยายตัวมากขึน� ทําให้ท�ีแห่งนีม� ีผคู้ นรูจ้ กั มากขึน� และ ตอบสนองความต้องการของกลุม่ ลูกค้าชาวต่าง ชาติท�ีตอ้ งการมาศึกษาประวัตขิ องที�แห่งนี � อีกทัง� ยังคืนกําไรให้กบั Owner.

p 151


suggestion ข้อเสนอแนะและข้อคิดความรูท้ �ีได้จากการวิจยั เรือ� งนี � โครงการนีใ� ห้อะไรหลายๆอย่าง ไม่วา่ จะเป็ นเรือ� งของการศึกษาหลากหลายสไตล์ท�ีเชื�อมโยงกัน และ ได้เปิ ดใจหาความ ท้าทายใหม่ๆให้กบั ตัวเอง ซึง� สุดท้ายก็สามารถที�จะทําสําเร็จลุลว่ งไปด้วยดี.

p 152


bibliography

ิ ธิ ภัณฑ์ Nathee Chitsawang, PH.D. (2554) จากคุกมหันต์โทษ สู่พพ ราชทัณฑ์ ค้นหาข้อมูลเมื�อ � กันยายน ���� จาก https://www.gotokno w.org/posts/440788 โรม บุญนาค (2560) ไปเทีย� วคุกกันบ้างดีกว่า! แดนมหันตโทษทีเ� คย ต้อนรับบุคคลสําคัญๆ วันนีก� ลายเป็ นแดนสวรรค์ไปแล้ว ค้นหาข้อมูล เมื�อ � กันยายน ���� จาก https://mgronline.com/onlinesection/detail/ 9600000090472 Khobjai Thailand (2560) ท่องเทีย� วสถาปั ตยกรรมสยาม ค้นหาข้อมูลเมื�อ � กันยายน ���� จาก http://khobjaithailand.com/architecture_detail.php ?idget=38 พัชรินธร เดชสมบูรณ์รัตน์ (2559) ร้านค้าเครื�องหวายบนถนนมหาไชย : ถนนสายประวัตศิ าสตร์ ค้นหาข้อมูลเมื�อ �� ตุลาคม ���� จาก https://lek -prapai.org/home/view.php?id=5098&fbclid=IwAR2puKQIBOyzLt0b_h sIUXNhzafFLdhwc2AsKRZq2T-ewOJW4tCJXa6oueI Human rights worker (2557) ป้ อมมหากาฬ... วิวาทะระหว่างมูลค่ากับ คุณค่าในสังคมไทย (กรุ ณาอ่านเมือ� มีเวลาว่างเท่านั�นครับ!!!) ค้นหาข้อมูล เมื�อ �� ตุลาคม ���� จาก https://pantip.com/topic/32603297/desktop ประชาชาติธุรกิจ (2563) มองเมืองไทย ๑๐๐ ปี ก่อน จากภาพเก่าใน นิทรรศการ “ฟิ ล์มกระจก : เรื�องราวเหนือกาลเวลา” ค้นหาข้อมูลเมื�อ �� ตุลาคม ���� ���� จาก https://www.prachachat.net/spinoff/lifestyle /news-489762

p 153


BLT BANGKOK (2562) ย่านสามยอด เสน่หเ์ มืองเก่าสุดคลาสสิค ค้นข้อมูลเมื�อ � ธันวาคม ���� จาก https://today.line.me/th/v2/article /%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8 %AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0 %B8%94+%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%88 %E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8% B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9 %88%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0% B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E 0%B8%B4%E0%B8%81-YeN5oa RSU VERNADOC (2561) OLD CUSTOMS HOUSE ค้นหาข้อมูลเมื�อ � ธันวาคม ���� จาก https://www.iameverything.co/con tents/old-customs-house?fbclid=IwAR3clu-wVYS7Wvs08QTajTDGli0A ajzuEt83uWuzuAQHEVOVcq9xo2EGqlg HASH CORNER (2559) The House on Sathorn เจาะลึกบ้านสาทรอายุ ��� ปี พร้อมชิม Afternoon Tea ค้นหาข้อมูลเมื�อ � ธันวาคม ���� จาก https://www.hashcorner.com/lifestyle/afternoon-tea-the-house-on-sathorn/ ภัทรียา พัวพงศกร (2560) The Oldest Hotel of Phuket ค้นหาข้อมูลเมื�อ � ธันวาคม ���� จาก https://readthecloud.co/stay-5/ สุชาติ เลียงแสงทอง (2558) สปาไทย สวรรค์แห่งการพักผ่อนของนัก ท่องทีย� วจีน ค้นหาข้อมูลเมื�อ � ธันวาคม ���� จาก https://www.bangkok biznews.com/blog/detail/635316

p 154


p 155


curriculum vitae

Name

Phuchisa Phattakai

Student Code

6001252

Education

Department of Interior Design / College of Design / Rangsit University

Year

2020

Contact

+66 64 569 5692 Phuchisa.ppgmail.com

p 156





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.