STUDY AND DEVELOPMENT OF THAI CONFECTIONERY FOR USE IN BOUTIQUE HOTEL INTERIOR DESIGN BOOK

Page 1


หีบหอขนมไทย


โครงการศิลปนิพนธ คณะวิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ชื่อโครงการ

โครงการศึกษาและพัฒนาการหอขนมไทย เพื่อนำไปใชในการออกแบบภายใน Boutique Hotel

ประเภทของงานศิลปนิพนธ

ประเภทงานออกแบบตกแตงภานใน (Interior Design)

ผูดำเนินโครงการศิลปนิพนธ

นางสาวสุนิสา อยูสวัสดิ์ รหัส 5902164 นักศึกษาชั้นปที่ 4 คณะวิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ

ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ อาจารย เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล


สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปนิพนธฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบันฑิต

สาขาวิชาออกแบบภายใน

...............................................คณบดีคณะวิทยาลัยออกแบบ (รศ. พิศประไพร สาระศาลิน)

คณะกรรมการศิลปนิพนธ

...............................................ประธานกรรมการ (อาจารย วริศร สินสืบผล) ...............................................กรรมการ (อาจารย เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล) ...............................................กรรมการ (อาจารย วิรุจน ไทยแชม) ...............................................กรรมการ (อาจารย ถวัลย วงษสวรรค) ...............................................กรรมการ (อาจารย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน) ...............................................กรรมการ (อาจารย บัณพิต เนียมทรัพย) ...............................................กรรมการ (อาจารย เรวัฒน ชำนาญ) ...............................................กรรมการ (อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน) ...............................................กรรมการ (อาจารย ไพลิน โภคทวี)

อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ

...................................................... (อาจารย เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล)


หัวขอศิลปนิพนธ :

โครงการศึกษาและพัฒนา การหอขนมไทย เพื่อนำไปใชในการออกแบบภายใน Boutique Hotel

ชื่อนักศึกษา :

นางสาวสุนิสา อยูสวัสดิ์

รหัสนักศึกษา :

5902164

ภาควิชา :

สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

ปการศึกษา :

2562

บทคัดยอ

โครงการศึกษาและพัฒนา การหอขนมไทย เพื่อนำไปใชในการออกแบบภายใน Boutique Hotel มีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษา และออกแบบชุมชนตลาดริมน้ำเพชรบุรี ที่นอกจากจะเปนชุมชนแลวนั้นยังเปนสถานที่ทองเที่ยวที่สำคัญ อีกทั้งเปนพื้นที่สวนทรัพยสินพระมหากษัตริยอีกดวย ในแนวความคิดเรื่อง การหอขนมไทย ที่สื่อไปถึงจังหวัดเพชรบุรี เพชรบุรีเปนถิ่นที่ขึ้นชื่อเรื่องขนมหวานเมืองพระ เพชรบุรีเปนเมืองแหงตนตาลโตนด ในทองทุงนาเมืองเพชรมองไปทางไหนก็เห็นแตตนตาล ซึ่งเปนวัตถุดิบในการปรุงอาหาร นับตั้งแตอาหารคาวไปจนถึงอาหารหวาน ของกินเลน อาหารและขนมที่ทำจากลูกตาลโตนดนี้ เปนปรากฏในบทสวดบินของเกา ซึ่งไดกลาวถึงอาหารคาวหวานของเมืองเพชรบุรีไวอยางติดอกติดใจ นอกจากจะมีขนมที่ทำจากลูกตาลตะโหนดแลวยังมีขนมอื่นๆอีกมากมายเชน หมอแกง ขนมใสไส ขนมสังขยา ขนมชั้น ฯลฯ และภาชนะที่ใสขนมเหลานี้ก็ลวนมาจากใบของตนตาล หรือใบจากตนกลวย ที่นำมาทำขนมตางๆ จึงศึกษาเกี่ยวกับการหอขนมไทยเพื่อ พัฒนาพื้นที่ชุมชนตลาดริมน้ำใหนาเที่ยวมากขึ้น และสรางรายไดใหกับคนในชุมชน


กิตติกรรมประกาศ

โครงการวิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปได ดวยความอนุเคราะห ความชวยเหลือ และกําลังใจ จากบุคคลตาง ๆ ความชวยเหลือและการสนับสนุนจากบุคคลหลาย ๆ ทาน ดังรายนามตอไปนี้ ผูจัดทำโครงการขอขอบพระคุณบุคคลสำคัญเหลานี้เปนอยางยิ่ง ที่ชวยใหการทำโครงการศิลปนิพนธนี้ สำเร็จลุลวงไดดวยดีและเปนกำลังใจใหกันตลอดมา ขอขอบพระคุณ นายประทีป และ นางแขไข อยูสวัสดิ์ ซึ่งเปนบิดา มารดา ที่ชวยสงเสริมสนับสนุนทั้งทุนทรัพยในการเรียนและความเปนอยู คอยใหความสนับสนุนในทุกดาน และเปนกำลังใจใหในทุก ๆ เรื่องที่ทำ ขอขอบพระคุณอาจารยที่ปรึกษา อาจารยเกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล ที่ไดสละเวลา ใหคําแนะนํา คําปรึกษา และแกไขขอบกพรองตาง ๆ ของการศึกษา ในการทําวิทยานิพนธนี้ จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี ขอขอบพระคุณ คณาจารยทุกทานที่ใหการอบรม สั่งสอน และใหคําแนะนํา คำปรึกษาและ สั่งสอนมาตลอด 4 ป จนจบหลักสูตร ขอขอบคุณ พี่ และเพื่อน ภาควิชาการออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ทุกคนที่ เปนหวงเปนใย คอยผลักดัน ใหประสบความสําเร็จนี้ ขอขอบคุณ ผูใหขอมูล ที่สละเวลาสวนตัวมาทําแบบสอบถาม และสัมภาษณ จนสามารถ ทําใหไดขอมูลที่สมบูรณและ ลุลวงไปดวยดี

นางสาว สุนิสา อยูสวัสดิ์



สารบัญ หนา บทคัดยอ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

Project Background (ที่มาของโครงการ)

1

Object (วัตถุประสงค)

3

Expectation (ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ)

5

Area of study (ขอบเขตการศึกษา)

7

รูปทรงขนมไทย

9

การหอขนมไทย

11

Eco Design

35

Case Study

43

Target Group (กลุมเปาหมาย)

49

Location (ตำแหนงที่ตั้ง)

51

ลักษณะตัวอาคาร

57

Programming

59

Layout Plan

61

Elevation

65

Mood Image Referance

71

Perspective

72

Logo

79

Branding

81

บทสรุป

83

บรรณานุกรม

84

ประวัติผูวิจัย

85 ค


Project Background

1


ธรรมชาติเกื้อกูลการดำรงชีวิตของมนุษยมาแตไหนแตไร คนสมัยกอนชีวิตผูกพันกับธรรมชาติจึงหยิบจับสิ่งรอบตัวมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด อยางตนกลวยที่ใชไดแทบทุกสวน ทั้งกินผล หยวกกลวย หัวปลีใชเปนวัตถุดิบทำอาหาร ลำตนทำกระทง ใบใชทำบายศรีประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ทำภาชนะอยางกระทงใบตองไปจนถึง

‘หีบหอขนมไทย’ นับวาเปนภูมิปญญาที่สรางอัตลักษณทั้งในแงรูปทรงและการนำวัสดุมาใช เพราะไมไดมีแตใบตอง เมื่อภูมิศาสตรเปนอีกปจจัยหนึ่งเราจึงไดเห็นหีบหอขนมจากวัสดุหลากหลาย ‘วัสดุธรรมชาติ’ และ ‘รูปทรง’ หีบหอขนมไทยที่มีความหลากหลายยังสะทอนถึงภูมิปญญาของคนสมัยกอน ที่ชางคิดชางประดิษฐ ออกแบบรูปทรงและเลือกคุณสมบัติของวัสดุใหสอดคลองกับการนำไปใชหอขนมแตละประเภท ทั้งความเหมาะสมกับเนื้อขนม การใหกลิ่น และกรรมวิธีที่ทำใหขนมสุก ใบตอง ที่นิยมใชหอขนมคือ ใบกลวยน้ำวากับใบกลวยตานี ซึ่งแตเดิมนั้นหาไดทั่วไปเพราะกลวยเปนพืชที่ปลูกไวประจำบาน และดวยเสนใยใบตองสดที่ทนทานตอความเย็นและความรอน จึงใชหอผักเพื่อคงความสด หออาหาร ขนม ทั้งปง นึ่ง ยาง ได ทั้งยังเพิ่มกลิ่นหอมใหอาหาร สวนใบตองแหงก็มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว นิยมหอขนมกวนอยางกะละแม โดยหีบหอขนมไทยที่ใชใบตองนั้นมีหลายรูปทรงที่เราเห็นบอย

2


3


OBJECTIVE ศึกษาและเรียนรูหีบหอขนมไทย ดวยการนำวัสดุที่หาไดงายในทองถิ่น มาทำใหเกิดมูลคา อยาง ใบตอง โดยการนำมาออกแบบใหมใหมีความรวมสมัย ซึ่งอางอิงการออกแบบจาก Kanita Leather : แบรนดเครื่องหนังที่อยากใหเราไดใกล ‘ขนมไทย’ - เพื่อศึกษาวิธีการหอและการนำวัสดุที่สามารถทดแทนใบตอง - เพื่อสงเสริมและอนุรักษณใหเปนมรดกของไทย - เพื่อพัฒนาการหอขนมไทยใหเปนแบรนดใหมและพัฒนาออกมาเปนงานชิ้นใหม

4


EXPECTATION

5


- งานประดิษฐหีบหอไดรับการพัฒนาและ อนุรักษณใหเปนที่รูจักและเปนมรดกของคนไทย - ชวยปลูกฝงใหคนรุนใหมไดรูจัก สนใจ และเห็นคุณคาของการผลิตหีบหอขนมไทย - มีพื้นที่สำหรับแลกเปลี่ยนความรู และวิธีการผลิตหีบหอขนมไทย

6


AREA OF STUDY - ศึกษาประวัติความเปนมาและประโยชนของการหอขนมไทย - ศึกษาวัสดุที่จะนำมาใชในการทำหีบหอขนมไทย - ศึกษารูปแบบและวิธีการผลิตในการทำหีบหอขนมใหเกิดเปนแบรนดใหม

7


8


หีบหอขนมไทย อัตลักษณทรงคุณคา

‘หีบหอขนมไทย’ หลากรูปทรงซึ่งยังคงใชมาจนถึงปจจุบัน ‘หีบหอขนมไทย’ นับวาเปนภูมิปญญาที่สรางอัตลักษณทั้งในแงรูปทรงและการนำวัสดุมาใช เพราะไมไดมีแตใบตอง เมื่อภูมิศาสตรเปนอีกปจจัยหนึ่งเราจึงไดเห็นหีบหอขนมจากวัสดุหลากหลาย เชน ใบเตย ใบมะพราวที่ขึ้นอยูทั่วไป หาไดงาย ใบจากในพื้นที่ที่มีปาชายเลน หรืออยางใบกะพอที่พบไดทั่วถิ่นภาคใต ทั้ง ‘วัสดุธรรมชาติ’ และ ‘รูปทรง’ หีบหอขนมไทยที่มีความหลากหลายยังสะทอนถึงภูมิปญญาของคนสมัยกอน ที่ชางคิดชางประดิษฐ ออกแบบรูปทรงและเลือกคุณสมบัติของวัสดุใหสอดคลองกับการนำไปใชหอขนมแตละประเภท โดยหีบหอขนมไทยที่ใชใบตองนั้นมีหลายรูปทรงที่เราเห็นบอย เชน

ทรงเตี้ย มีฟงกชันการหอในแงของภาชนะบรรจุ ปดมิดชิดดวยไมกลัดที่ทำจากทางมะพราว เพื่อความสะอาดและสะดวกหยิบจับ จำพวกขนมถาดตัดชิ้น เชน หมอแกง ขนมชั้น เปยกปูน และขาวเหนียวสังขยาหนาตางๆ

ทรงสูง เหมาะกับขนมประเภทนึ่ง เชน ใสไส ขนมกลวย ซึ่งนอกจากใชใบตองยังตองมีใบมะพราวเจียนปลายใบแฉลบใหแหลมสวยงาม ทำเตี่ยวคาดหนีบใบตองทั้งสองขางไวเพื่อเพิ่มความแนนหนาไมใหขนมทะลักออกมาเมื่อสุก แลวกลัดดวยไมกลัดทางมะพราว

9


กระทง ขึ้นรูปดวยการจับมุมและกลัดดวยไมกลัดที่ทำจากทางมะพราว นอกจากเปนภาชนะยังใชใสขนมประเภทนึ่งใหขึ้นฟู ดูสวยเต็มถวย เชน ขนมตาล ขนมกลวย หอเปดหนา เปนการหอแบบพับ โดยวางขนมตรงกลางใบตองแลวหอดานขาง พับปลายใบตองเก็บใตฐาน ไมตองใชไมกลัด ฟงกชั่นก็ตามชื่อ คือ ใชหอขาวเหนียวหนาตางๆ เปดใหเห็นเดนชัดวาเปนขาวเหนียวหนาอะไร เชน หนากุง หนาปลา สังขยา

หอขาวตมมัด กับหอขนมเทียน เปนทรงจำเพาะ เมื่อเห็นก็รูไดทันทีวาเปนขนมอะไร อยาง ‘ขนมเทียน’ ทรงสามเหลี่ยม บางเรียกทรงเจดีย ทรงนมสาว เปนการหอแบบพับ นอกจากความสวยงามของรูปทรงยังมีนัยยะทางศาสนา เปรียบขนมเทียนเหมือนแสงเทียน บางวาเหมือนเจดีย จึงเปนขนมในงานบุญใหญๆ ทางภาคเหนือ เรียกวา ‘ขนมจอก’ สวน ‘ขาวตมมัด’ เปนการหอพับใบตองหลายชั้นแลวจับคูมัดรวมกันดวยตอก (ไมไผเหลาเสน) ใหแนนหนา กันไมใหน้ำเขา ขณะตม ซึ่งแตเดิมขาวตมใชวิธีตมกอนเปลี่ยนเปนนึ่ง คนสมัยกอนยังเชื่อวา หากคูรักนำขาวตมมัดไปทำบุญในวันเขาพรรษา จะครองรักคูกันยาวนาน

กะพอ ตนกะพอพบเห็นไดทั่วไปในพื้นที่ภาคใต เปนพืชตระกูลปาลม นิยมนำใบออนมาหอขนมตม เรียกวา ‘ขาวตมใบกะพอ’ หรือเรียกสั้นๆ วา ‘ตม’ รูปทรงสามเหลี่ยม เปนขนมตมที่มีสวนประกอบของขาวเหนียว กะทิ น้ำตาล ถั่ว ผัดรวมกันแลวเอาไปหอตม คลายขาวตมมัด อาจไมคุนหนาคุนตานักเพราะเปนขนมทองถิ่นภาคใต นิยมทำในชวงเทศกาลงานบุญและงานประเพณีตางๆ เชน งานชักพระ งานเดือนสิบ งานบวช

ใบเตย เตยเปนพืชที่พบเห็นไดทั่วไป นอกจากใหสีเขียวสวยๆ ใหกลิ่นหอมในขนมไทย ยังนำมาสานเปนกระทงสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็กๆ ใสขนมกวนอยางตะโก เปนภาชนะรูปทรงนารัก และชวยเพิ่มกลิ่นหอมออนๆ ใหตะโก ซึ่งนับวันจะหาตะโกในกระทงใบเตยไดยากขึ้น เพราะตองใชเวลาในการสาน ใบตาล ดั้งเดิมนั้นใชหอขนมนึ่งอยาง ‘ขนมตาล’ โดยใชใบตาลออนสานเปนรูปทรงสามเหลี่ยมกลวง เวนตรงกลางไวหยอดขนมตาล กอนนำไปนึ่งจนฟูดูนากิน เปนเอกลักษณดั้งเดิมของขนมตาลที่ใชสวนผสมลูกตาลทำขนม ไปจนถึงหีบหอจากใบตาล ขนมตาลในหอใบตาลยังพอเห็นไดบางในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี ที่ปลูกตนตาลกันมาก

ใบจาก ตนจาก พืชตระกูลปาลมที่เจริญเติบโตไดดีบริเวณปาชายเลน ใบจากมีความเหนียวและกวาง นำมาหอ ‘ขนมจาก’ ขนมแปงกวนกับน้ำตาลและมะพราวขูด กอนนำใบจากมาหอแลวปงไฟ กลิ่นจากไหมนั้นทำใหขนมหอมเปนเอกลักษณ แตบางพื้นที่ที่หาใบจากไดยาก ก็ใชใบมะพราวแทนได นอกจากขนมจากยังมีขาวตมมัดที่ใชใบจากหอแทนใบตอง ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการที่ตนจากหาไดงาย

10


ทรงเตี้ย

การหอทรงเตี้ย นิยมใชหอขนมจำพวกขาวเหนียวหนาตางๆ ขนมเปนชิ้นๆ เชน ขนมถาด วิธีการหอทำดังนี้ เตรียมใบตอง 2 แผน กวาง 3-5 นิ้ว และยาว 6-8 นิ้ว เจียนปลายเปนรูปรี เอาดานสีออนหรือดานนวลประกบกัน โดยใหแผนเล็กอยูดานบน นำอาหารมาวางไวตรงกลางหอ มือขวายกริมใบตองขึ้น มือซายจับชายใบตอง ดานที่จะทำมุมสวมเขามา จากนั้นใชมือขวาจับชายใบตอง ดานขวาใหสวมทับชายดานซาย แลวกลัดดวยไมกลัด

11


12


13


ทรงสูง การหอทรงสูง นิยมใชหอขนมนึ่งจำพวกขนมสอดไส ขนมกลวย ขนมตาล ลักษณะพิเศษของการหอแบบนี้คือ จะมีทางมะพราวคาดหอขนม และกลัดดวยไมกลัด ขั้นตอนการหอก็คือ เตรียมใบตอง 2 แผน โดยใบตองชั้นนอก ฉีกกวางประมาณ 6 นิ้ว ยาว 8 นิ้ว ใบตองชั้นในฉีกกวางประมาณ 5 นิ้ว ยาว 6 นิ้ว แลวเจียนใบตองชั้นนอก และในใหมีหัวทายรี จะไดใบตองขนาด 5 x 8 นิ้ว และ 4 x 6 นิ้วตามลำดับ เ ตรียมทางมะพราวกวาง 0.5 นิ้ว ยาว 12 นิ้ว และไมกลัด นำใบตองชั้นในวางบนใบตองชั้นนอก โดยใหดานสีออน (ดานนวล) ประกบกัน ตักหนาขนมใสลงไป ใสไสขนม แลวตักหนาขนมใสลงไปอีกใหปดไสขนม หอใบตองทางขวางทั้งสองดานกอน จากนั้นหอทางดานยาวประกบใหเปนทรงสูง แลวใชทางมะพราวคาดหอขนม (เรียกวา เตี่ยว) กลัดดวยไมกลัด

14


ขาวตมมัด

หอขาวตมมัด (หรือขาวตมผัด) เปนการหอรูปทรงสี่เหลี่ยม วิธีการหอเริ่มตนจาก นำใบตองที่ฉีกไว 2 ขนาด คือขนาดกวาง 8 นิ้วและ 7 นิ้วซอนทับกัน โดยใหใบตองแผนเล็กอยูดานใน เอาดานสีออนหรือดานนวลประกบกัน วิธีวางใบตองใหวางกลับหัวทายและวางขวางกัน จากนั้นใสขาวเหนียวที่เตรียมไวแผบางๆ ใสกลวย ใสขาวเหนียวทับและใสถั่วดำ จับขอบดานขางใบตองประกบเขาหากัน โดยใหใบตองแนบชิดกับตัวขาวเหนียวที่สุด จากนั้นมวนปลายลงมา จับมุม (ภาษาเทคนิคในการทำขาวตมมัดเรียกวา “จับนม”) โดยพับปลายใบตองแตละดานใหมีลักษณะทบกันเปนมุม แลวพับปลายที่เหลือทบลงมา เมื่อทำทั้งสองดานเสร็จแลวใหวางพักไวในถาดกอน เพราะถือวาทำไดเสร็จ 1 ขางแลว ก็หอขาวตมมัดอีกขางหนึ่งมาประกบ มัดดวยเสนตอก 2 เสนใหแนน ทำปมเก็บที่ดานขางของมัดขาวตม 15


16


17


ขนมเทียน

การหอขนมเทียน เปนการหอรูปทรงสามเหลี่ยมหรือพีระมิด โดยไมตองใชวัสดุอื่นชวย การทำเริ่มตนจาก ตัดใบตองใหเปนรูปคอนขางกลม 2 ชิ้น โดยใหชิ้นในเล็กกวาชิ้นนอก ประกบดานสีออนหรือดานนวลเขาหากัน จากจุดศูนยกลางของแผนใบตองใหทำเปนกรวยแหลม ใสขนมลงไป พับตรงรอยจีบใหปดทับขนมลงมากอน แลวพับริมทั้งสองขางทบเขามาหากัน จากนั้นสอดเก็บปลายดานที่เหลือใหเรียบรอย

18


การหอสวม

การหอสวม เปนการหอที่งายที่สุด นิยมใชหอของแบบชั่วคราวและปริมาณนอยๆ ขั้นตอนการหอคือ เตรียมใบตอง 2 แผน เจียนปลายใหเปนรูปรี เอาดานสีออนหรือดานนวลประกบกัน โดยใหแผนเล็กอยูดานบน ใสอาหารที่ตองการจะหอไวตรงกลางใบตอง โอบปลายใบตองทั้งสองดานเขาหากัน ใหดานซายอยูดานใน ดานขวาหุมทับดานซาย หอประกบกันจนสนิท แลวกลัดไมกลัด

19


20


Front Bottom Side Top

21


หอพับหัวทาย เปดหนา (หอเปดหนา)

22


Front Bottom Side Top

23


หอตามทางยาว หอรูปทรงปนหยา (หอขาวตมมัด)

24


Front Bottom Side Top

25


หอทรงเตี้ย

26


Front Bottom Side Top

27


หอทรงสูง

28


Front Bottom Side Top

29


หอทรงพีระมิด (หอขนมเทียน)

30


Front Bottom Side Top

31


หระทงหกมุม

32


Front Bottom Side

Top

33


หอสวม

34


EC

35


CO DESIGN Eco Design หรือ Ecological Design คือการออกแบบที่นำทรัพยากรธรรมชาติมาใช โดยที่การใชนั้น ทำใหเกิดมลภาวะกลับเขาสูระบบนิเวศนนอยที่สุด ในอุดมคติแลวหากทรัพยากรที่ถูกใชแลวนั้น สามารถยอยสลายโดยธรรมชาติ เชนเดียวกับวงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายได เปนสิ่งที่ดีที่สุด รวมทั้งลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไปพรอมๆกัน โดยสงผลดีตอเศรษฐกิจ ชุมชน และสิ่งแวดลอม อันจะนำไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน SUSTAINABLE DEVELOPMENT

36


EcoDesign หมายถึง วิธีการออกแบบอยางครบวงจรเพื่อการอนุรักษธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงผลกระทบที่จะทำลายสิ่งแวดลอม อาจกลาวไดวาเปนกระบวนการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแบบบูรณาการ ซึ่งมีความหมายรวมถึง การวิเคราะหสมรรถนะทางดานสิ่งแวดลอมของผลิตภัณฑ การจัดการซากที่หมดอายุ การลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในทุกชวงของวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ ควบคูกับการวิเคราะหปจจัยดานอื่นๆ เชน ตนทุน การควบคุมกระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ และการตลาด เปนตน

นักวิชาการการออกแบบผลิตภัณฑมีความเห็นโดยพองกันวา แมวาตนทุนของการออกแบบผลิตภัณฑทางตรงจะมีเพียง 5-13% ของตนทุนผลิตภัณฑรวม แตผลสืบเนื่องจากการออกแบบผลิตภัณฑนี้จะเปนผูกำหนด โครงสรางตนทุนถึง 60-80 % ฉะนั้นการจัดการเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของผลิตภัณฑก็เชนกัน การลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่มีบทบาทมากที่สุด ควรเริ่มตั้งแตกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ

หลักการพื้นฐานของการทำ EcoDesign คือการประยุกตหลักการของ 4R ในทุกชวงของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ ตั้งแตขั้นตอนการออกแบบ ชวงของวงจรชีวิตของผลิตภัณฑที่วานี้ ไดแก ชวงการวางแผนผลิตภัณฑ (Planning Phase) ชวงการออกแบบ (Design phase) ชวงการผลิต (Manufacturing phase) ชวงการนำไปใช (Usage phase) และชวงการทำลายหลังการใชเสร็จ (Disposal phase) สำหรับหลักการของ 4R ไดแก การลด (Reduce) การใชซ้ำ (Reuse) การนำกลับมาใชใหม (Recycle) และ การซอมบำรุง (Repair) ซึ่งทั้ง 4R จะมีความสัมพันธ กับแตละชวงของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ

37

http://www2.mtec.or.th/website/article_list.aspx?id=46&cate=26


หลักการพื้นฐานของการทำ EcoDesign คือการประยุกตหลักการของ 4R

REUSE การนำผลิตภัณฑหรือ ชิ้นสวนของผลิตภัณฑ ซึ่งผานชวงการนำไปใชเรียบรอยแลว และพรอมที่จะเขาสูชวงของการทำลาย กลับมาใชใหม

REDUCE การลดการใชทรัพยากรในการออกแบบ -เพื่อลดอัตราการใชวัตถุดิบ ในกระบวนการผลิต -เพื่อลดอัตราการใชพลังงาน ในกระบวนการผลิต และ -เพื่อลดอัตราการใชพลังงาน ในระหวางการใชงาน

RECYCLE การนำผลิตภัณฑ หรือชิ้นสวนของผลิตภัณฑ ที่อยูในชวงของการทำลาย มาผานกระบวนการแลว นำกลับมาใชใหมตั้งแตชวงของการวางแผน การออกแบบ หรือ แมแตชวงของการผลิต

REPAIR การออกแบบใหงายตอการซอมบำรุง ดงายจะเปนการยืดอายุชวงชีวิตของการใชงาน สามารถลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมได

38


Eco-Design Strategy

39


STEP

01

ลดการใชวัสดุที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Reduction of low-impact materials)

ลดปริมาณและชนิดของวัสดุที่ใช (Reduction of materials used)

STEP

03

05

07

STEP

04

ปรับปรุงขั้นตอนการใชผลิตภัณฑ (Optimization of impact during use)

ปรับปรุงอายุผลิตภัณฑ (Optimization of initial lifetime)

STEP

02

ปรับปรุงกระบวนการผลิต (Optimization of production techniques)

ปรับปรุงระบบการขนสงผลิตภัณฑ (Optimization of distribution system)

STEP

STEP

STEP

06

ปรับปรุงขั้นตอนการทิ้งและทำลายผลิตภัณฑ (Optimization of end-of-life) 40


41


SUSTAINABILITY

42


C

43


CASE STUDY

44


IN-EI ISSEY MIYAKE ทำจากเสนใยรีไซเคิลจากขวด PET เปนตัวอยางของ "งานที่ทำจากวัสดุที่เปนนวัตกรรมที่แสดงใหเห็นวาวัสดุมีการพัฒนา"

ISSEY MIYAKE INC https://www.isseymiyake.com/en/news/714

45


Nir Meiri Materail: Mushroom Mycelium

เปนวัสดุที่ทำจากเสนใยพืชเชื้อรา ดวยโลหะในการสรางคอลเลกชั่นที่สวยงาม ใชขยะอินทรียและสารสังเคราะหในการสรางรูปแบบ ตัวอยาง สปอรของเสนใยมีการดูดซับของเสียจากกระดาษ เพื่อสรางสารที่มีพื้นผิวใชสำหรับทำโคมไฟ

46


https://molodesign.com/collections/space-partitions/paper-softwall-folding-wall/

PAPER SOFTWALL / FOLDING PARTITION จากกระดาษที่มีโครงสรางดวยรูปทรงรังผึ้งที่ยืดหยุน ที่มีความยืดหยุนในการมีรูปรางในรูปแบบโคงหรือเสนตรงใดๆ เมื่อบีบอัดที่เก็บไวกับผนังพับจะหดตัวได

47


ISSEY MIYAKE INC https://www.isseymiyake.com/en/news/714

48


TARGET GROUP

49


10%

ครอบครัว

30%

60%

นักทองเที่ยวชาวไทย

นักทองเที่ยวชาวตางชาติ

50


LOCATION

51


SITE SURROUNDING รานขนมไทย

วัดมหาธาตุวรมหาวิหาร วัดพลับพลาชัย

รานหางทอง

วัดแกนเหล็ก

รานโชหวย ตลาดริมน้ำ

รานขาวแช

วัดพลับพลาชัย โรงเรียนสุวรรณฯ

โรงเรียนอนุบาลจังหวัดเพชรบุรี

โรงเรียนวัดแกนเหล็ก

โรงเรียนราษฎรวิทยา โรงเรียน

วัด

รานคาทั่วไป

TRANSPORTATION

52


D

EXISTING PLAN SCALE

1:200

A

53


E

C

ตลาดริมน้ำ D

ตลาดริมน้ำ E

A

B

B

54


แมน้ำเพชร

ทางเดินเทา

ถนน

55


วัดพลับพลาชัย

รบุรี

ตลาดริมน้ำ

56


หนาตางคู เปนบานเปด และบานกระทุง

ชองแสงหนาตาง

ประตูบานเฟยม 8 บาน

57

หลังคากระเบื้องลอน

ชองแสงเปนบานเกร็ดไม


ชุมชนเมืองเกาตลาดริมน้ำ

อาคารเปนตึกแถวแบบยุโรป โคโลเนียล ลักษณะอาคารเปนตึกแถว ลักษณะอาคารเปนตึกแถว 2 ชั้น ดานหนาแคบและยาวลึกลงไป มีโครงสรางแบบกำแพงรับน้ำหนักตัวอาคาร กำแพงกออิฐฉาบปูน รูปแบบประตูเปนบานเฟยมไมขนาด 8 บาน มีชองลมดานบนประตู หนาตางอาคารเปนหนาตางบานคู อาคารยานเมืองเกานี้เปนอาคารอนุรักษ และเปนที่ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย อาคารไมสามารถปรับปรุงภายนอกไดโดยเด็ดขาด สามารถตกแตงภายในได แตปรับหรือทุบเจาะ ตองไดรับอนุญาติจากทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย

58


59


Programming Lobby

Restuarant

Reception

Confection store

Lounge

Work Shop

Meeting Room

Boutique Hotel

Front ofďŹ ce

Standard Room

Museum

Superior Room

Spa

60


FD.

FD.

FD.

MARK

FD.

FD.

FD.

Toilet M.

12.50

Toilet W.

FD.

Toilet M.

FD.

FD.

Confection Store & Work Shop

Toilet W.

FD.

FD.

Lounge Front OfďŹ ce

Meeting Room

9.00

1st Floor Plan

61

19.10


12.60

KET

Maid Room

Laundry

Spa

Reception Back-ofďŹ ce

19.10

Museum

9.00

62


Twin Beded Room Restuarant

9.00

2nd Floor Plan

63

Deluxe Room

Maid Room

19.10

Twin Beded Room


Boutique Hotel Superior Room

Twin Beded Room

Deluxe Room

Twin Beded Room Maid Room

19.10

9.00

64


ELEVATION

65

A


- ทางเชื่อม เปนไมขัดเชื่อมกับตัวอาคารทั้งสองดวยกัน ใหเหมือนกับการหอของขนทไทย ที่ใชไมกลัดเปนตัวเชื่อมเขาดวยกัน

ซุมประตู ทำใหเปนจุดเดน เพื่อใหแสดงถึงเปนทางเขาหลัก

66


Section

67

A


Elevation

B

68


.

H Beam

Detail

69

A


Section

A

70


MOOD IMAGE REFERENCE

71


PERSPECTIVE

72


CORRIDOR - โซนทางเดินเขาอาคาร กั้นเปน Partition ไมใหเปนทางเดิน กั้นกันระหวางตลาดริมน้ำและตัวอาคาร

THAI MASSAGE 73

- โซนนวดไทย เปนสวนหนึ่งของ บูทิค โฮเทล ริมน้ำ เนนการตกแตงดวยไม และการออกแบบเพดานดวยรูปทรงสามเหลี่ยม ที่มีการพัฒนารูปทรงมาจาการพับ หีบหอขนมไทย ตกแตงดวยโคมไฟ IN-EI ISSEY MIYAKE


THAI MASSAGE

- เปนมุมถัดมา โซนนวดไทย เนนการตกแตงดวยไม เพดานมีชายผาหอยลงมา สลับกับรูปทรงสามเหลี่ยม ที่มีการพัฒนารูปทรงมาจาการพับ หีบหอขนมไทย เพื่อใหเขาถึงบรรยากาศการนวดไทย

RIMNAM RESTAURANT

- โซนรานอาหารริมน้ำ เปนมุมบริเวณทางเชื่อม เปนการตกแตงดวยไม และดวยวัสดุที่เปนไมนั้น สื่อแทนดวยไมกลัด เหมือนกับการหอขนมไทย ที่ใชไมกลัดเปนตัวเชื่อมเขาดวยกัน

74


RIMNAM RESTAURANT - โซนรานอาหารริมน้ำ เปนการตกแตงดวยไม เพดานมีลูกเลนดวยการตกแตง มาจากรูปทรงสี่เหลี่ยม ที่พัฒนามาจากหีบหอขนมไทย

RIMNAM RESTAURANT 75

- โซนรานอาหารริมน้ำ เปนการตกแตงดวยไม เพดานมีลูกเลนดวยการตกแตง มาจากรูปทรงสี่เหลี่ยม ที่พัฒนามาจากหีบหอขนมไทย


RIMNAM RESTAURANT - โซนรานอาหารริมน้ำ เปนการตกแตงดวยไม เพดานมีลูกเลนดวยการตกแตง มาจากรูปทรงสี่เหลี่ยม ที่พัฒนามาจากหีบหอขนมไทย

RIMNAM BOUTIQUE HOTEL

- โซน Boutique Hotel ในสวนของหองนี้จะเปนหองนอนแบบ Twin Beded Room เปนแบบเตียงคู ผนังตกแตง มาจากรูปทรง ที่พัฒนามาจากหีบหอขนมไทย มีผนังกั้นโซน ระหวางโซฟาและเตียงนอน 9.00

19.10

76 19.10


Rimnam Boutique Hotel

- โซน Boutique Hotel ในสวนของหองนี้จะเปนหองนอนแบบ Twin Beded Room เปนแบบเตียงคู ผนังตกแตง มาจากรูปทรง ที่พัฒนามาจากหีบหอขนมไทย มีผนังกั้นโซน ระหวางโซฟาและเตียงนอน 9.00

19.10

19.10

Rimnam Boutique Hotel 77

- โซน Boutique Hotel ในสวนของหองนี้จะเปนหองนอนแบบ Twin Beded Room เปนแบบเตียงคู ผนังตกแตง มาจากรูปทรง ที่พัฒนามาจากหีบหอขนมไทย มีผนังกั้นโซน ระหวางโซฟาและเตียงนอน 9.00

19.10

19.10


Rimnam Boutique Hotel

9.00

- โซน Boutique Hotel ในสวนของหองนี้จะเปนหองนอนแบบ Superior เพดานตกแตง มาจากรูปทรงสามเหลี่ยม ที่พัฒนามาจากหีบหอขนมไทย ประดับดวยโคมไฟจาก Nir Meiri Materail: Mushroom Mycelium เปนโคมไฟจากเสนใยเห็ด และเกาอี้ ที่ออกแบบโดยการ จับจีบพับเปนทรง

Rimnam Boutique Hotel

9.00

- โซน Boutique Hotel ในสวนของหองนี้จะเปนหองนอนแบบ Superior เพดานตกแตง มาจากรูปทรง ที่พัฒนามาจากหีบหอขนมไทย ประดับโคมไฟดวยการพับครึ่งวงกลมของใบตองเจียนเปนวงกลม ที่เหมือนการหอขนมไทย

78


LOGO

79


R

Rim nam

R

Rim nam

+

R

Rim nam

R

=

R Rim nam

Rim nam

Logo ชื่อวา Rim nam เพราะในพื้นที่นั้นเปนชุมชนตลาดริมน้ำ ในสวนของ Logo ก็จะเปนตัว RN เขาดวยกัน พัฒนาตอมาจนเปนเสนพับกัน เพื่อใหเขากับ Concept หีบหอขนมไทย 80


BRANDING

81


82


บทสรุป

จากขอสรุปของกระบวนโครงการวิจัย โดยเริ่มตนจากการศึกษาคนควาหาขอมูล ทําใหเกิด การตั้งวัตถุประสงคขึ้นคือ การศึกษาภูมิปญญาการหอขนมไทย สูการออกแบบภายใน Boutique Hotel สามารถตอบโจทยกับนักทองเที่ยว ที่มาเที่ยวในจังหวัดเพชรบุรี และยังสามารถเปนที่เที่ยวแหงใหม และยังสามารถอนุรักษนตึกอนุรักษ ซึ่งขอคนพบวาสามารถทำใหคนในชุนมีรายไดเพ่ิมขึ้นจากเดิม แนวทางการออกแบบจากการวิจัยครั้งนี้ จะเปนประโยชนสําหรับสถาปนิก นักศึกษา ประชาชนที่สนใจ และผูที่เกี่ยวของ สามารถนําไปปรับปรุงหรือออกแบบภายใน โครงการนี้ตอไป ซึ่งถาหากโครงการศึกษาและพัฒนา การหอขนมไทย เพื่อนำไปใชในการออกแบบภายใน Boutique Hotel นี้ไดถูกสรางขึ้นจริง ในจังหวัดเพชรบุรีนั้นก็จะทำใหการทองเที่ยวในจังหวัดเพชรบุรี มีที่ทองเที่ยวแหงใหม กระตุนเศรษฐกิจในจังหวัด และทำใหประชาชนในจังหวัดเพชรบุรีมีการอนุรักษสถานที่แหงนี้

84


บรรณานุกรม

แบรนดเครื่องหนังที่อยากใหเราไดใกล ‘ขนมไทย’ ไมใชแคกิน https://adaymagazine.com/shop-kanita-leather/ หนังสือ: ขนมแมเอย หนังสือ: ศิลปะการหออาหารดวยใบตอง หนังสือ: การหอขนมและอาหารดวยใบตอง วิจัย: http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Malinee_Taweesri/fulltext.pdf

83


ประวัติผูวิจัย

85

ชื่อ–นามสกุล

สุนิสา อยูสวัสดิ์

รหัสนักศึกษา

5902164

เบอรติดตอ

0918729494

Email

sunisa.yoosawat@gmail.com

การศึกษา

นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาออกแบบภายใน คณะวิทยาลัยออกแบบ มหาวิทยาลับรังสิต

ประสบการฝกงาน

KITTISAK ABILITY Co.,Ltd.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.