ก
สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะวิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ......................................... คณบดีคณะวิทยาลัยการออกแบบ (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ
......................................... ประธานกรรมการ (อาจารยวริศน สินสืบผล) ......................................... กรรมการ (อาจารยเกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล) ......................................... กรรมการ (อาจารยวิรุจน ไทยแซม) ......................................... กรรมการ (อาจารย ถวัลย วงษสวรรค) ......................................... กรรมการ (อาจารยอรรถกฤษ อุทัยกาญจน) ........................................ กรรมการ (อาจารยบัณฑิต เนียมทรัพย) ........................................ กรรมการ (อาจารยเรวัฒน ชํานาญ) ........................................ กรรมการ (อาจารยณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน) ........................................ กรรมการ (อาจารยไพลิน โภคทวี)
อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ
........................................ (อาจารยอรรถกฤษ อุทัยกาญจน)
ข
หัวขอศิลปนิพนธ
:
ผูดําเนินงาน อาจารยที่ปรึกษา ปการศึกษา สาขาวิชา
: : : :
โครงการศึกษาศิลปะในรูปแบบอิสลามสู การออกแบบสถาบันศิลปะอิสลาม (ประเทศไทย) นางสาวฮารีนา หะยีกอเซ็ง รหัส 5902990 อาจารยอรรถกฤษณ อุทัยกาญจน 2562 ออกแบบภายใน
ค
หัวขอศิลปนิพนธ ผูดำเนินงาน อาจารยที่ปรึกษา ปการศึกษา สาขาวิชา
โครงการศึกษาศิลปะในรูปแบบอิสลามสู การออกแบบสถาบันศิลปะอิสลาม (ประเทศไทย) นางสาวฮารีนา หะยีกอเซ็ง อาจารยอรรถกฤษ อุทัยกาญจน 2562 ออกแบบภายใน
บทคัดยอ ในอดีตศิลปะอิสลามนั้นไดมีบทบาทมากมาย เปนศิลปะที่มีเต็มเปยมไปดวยความ สวยงาม เปนที่กลาวขานและยอมรับ ประกอบกับศาสนาอิสลามนั้นไดรับการเผยแผอยางกวาง ใหญ ศิลปะ วัฒนธรรมตาง ๆ ก็เปนที่รูจักและมีอิทธิพลตอการดำเนินชีวิตมากมาย ทั้งทางดาน สถาปตยกรรมที่มีความหลากหลายของชนชาติ หรือศาสนาอื่น ๆ อีกดวย จนมาถึงปจจุบัน ทำใหศิลปะในรูปแบบอิสลามไดเลือนหายไป บางครั้งผูที่นับถือศาสนาอิสลามเองอาจไมเคยรู เลยวาศิลปะอิสลามนั้นเปนเชนไรและมีประโยชนอยางไรกับชีวิต สังคม รวมไปถึงประเทศไทย ดวยเชนกัน จึงเปนที่มาของจุดเริ่มตน ในการศึกษาศิลปะอิสลามเพื่อนำไปเผยแพรใหทุกคนได รูจัก เปาหมายคือเพื่อผลักดันใหเกิดการเรียนการสอนและถายทอดความรูความเขาใจใน ศิลปะอิสลามใหเปนที่รูจักในวงกวางมากขึ้น ผลักดันใหมีการสรางหลักสูตรการเรียนการสอน ที่เปน รูปธรรมใหเปนที่ยอมรับในระดับการศึกษาในอนาคตเพื่อที่จะสืบสานมรดกศิลปะอิสลาม แขนงตางๆ ใหเกิดขึ้นในประเทศไทย และยกระดับศิลปนไทยที่เขาใจในศิลปะอิสลามใหเปนที่ รูจักทัดเทียมนานา ประเทศเพื่อที่จะยกระดับศิลปะอิสลามโดยคนไทยใหเปนที่ยอมรับในระดับ สากลได แนวคิดที่ใชในการออกแบบอาคารมุงเนนเรื่องกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในสถาบันเพื่อให ประโยชนสูงสุดกับผูที่มาใชงาน จะมีการศึกในหลายๆดาน เชน กลุมผูใชงาน บริบทการใชชีวิต กิจกรรม ความตองการ พื้นที่ภายในอาคาร และพื้นที่ภายนอกอาคาร การออกแบบและตกแตงจะใชพื้นฐานของศิลปะในรูปแบบอิสลามมาออกแบบและผสม ผสานความเปนไทยเขาไป เพื่อใหเขากับบริบทที่เกิดขึ้นในสถาบัน เปนการถายทอดความรูเรื่องศิลปะในรูปแบบอิสลามที่มีมาอยางยาวนานใหกับคนรุน ใหมไดรูจัก และใหเห็นความสำคัญมากยิ่งขึ้น อีกทั้งเปนแหลงการเรียน การสอนใหกับผูที่สนใจ ผาน การจัดกิจกรรมฝกอบรม (Workshop) ทั้งหัวขอเรื่องประวัติศาสตรศิลปะอิสลาม และการ ออกแบบ ลวดลายประดับและการประดิษฐอักษรวิจิตร
ง
กิตติกรรมประกาศ ศิลปนิพนธฉบันนี้สำเร็จลุลวงไปไดดวยดี ดวยความชวยเหลือและชี้แนะจากอาจารยที่ ปรึกษาโครงการ อาจารยอรรถกฤษ อุทัยกาญจน ที่ีคอยใหคำปรึกษา และคอยใหกำลังใจ รวมถึงคณะกรรมการศิลปนิพนธที่แนะนำ และขอคิดตางๆ ตลอดระยะเวลา 1 ป จึงขอขอบ พระคุณมา ณ ที่นี้ ขอขอบคุณทางสถาบันศิลปะที่ใหความรูเกี่ยวกับศิลปะในรูปแบบอิสลามทั้งหมดตั้งแต พื้นฐานถึงความรูระดับสูง และใหคำแนะนำ ดูแลเปนอยางดีตลอดระยะเวลาที่เขาไปที่สถาบัน ขอขอบคุณทุกคนในครอบครัวไมวาจะเปนพอ แม ยาย พี่ชาย และญาติๆ ที่คอยสนับ สนุนทุนทรัพยในการเรียน ตลอดจนชวยเหลือและใหกำลังใจเสมอ ขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆ นองๆ ทุกคนที่ไมไดเอยนามในที่มีสวนรวมใจการชวยเหลือ และให กำลังใจจนสำเร็จลุลวงไปไดดวยดี ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ และสุดทายขอบคุณตัวเองที่พยายามและอดทนทำศิลปนิพนธจนสำเร็จ
ฮารีนา หะยีกอเซ็ง
จ
สารบัญ บทที่
หนา
กรรมการอนุมัติ หวขอศิลปนิพนธ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ
ก ข ค ง จ
บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงค ขอบเขตของโครงการ ขั้นตอนการดําเนินงาน ผลที่คาดวาจะไดรับ
1 1 1 2 2
บทที่ 2 ขอมูลพื้นฐาน และรายละเอียดโครงการ รายละเอียดเบื้องตนของโครงการ ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดลอมของโครงการ กรณีศึกษาและวิเคราะหอาคารเปรียบเทียบ
3 - 19 20 - 24 25
บทที่ 3 หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ศึกษา เนื้อหาของหลักการ ทฤษฎีหรือที่มาของการออกแบบ แนวคิดในการศึกษา
26 - 40 41
บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ
41 - 46 47
บรรณานุกรรม ประวัติของผูวิจัย
66 67
1
บทที่ 1 บทนำ ที่มาและความสำคัญ ในอดีตศิลปะอิสลามนั้นไดมีบทบาทมากมาย เปนศิลปะที่มีเต็มเปยมไปดวยความ สวยงาม เปนที่กลาวขานและยอมรับ ประกอบกับศาสนาอิสลามนั้นไดรับการเผยแผอยางกวาง ใหญ ศิลปะ วัฒนธรรมตาง ๆ ก็เปนที่รูจักและมีอิทธิพลตอการดำเนินชีวิตมากมาย ทั้งทางดาน สถาปตยกรรมที่มีความหลากหลายของชนชาติ หรือศาสนาอื่น ๆ อีกดวย จนมาถึงปจจุบัน ทำใหศิลปะในรูปแบบอิสลามไดเลือนหายไป บางครั้งผูที่นับถือศาสนาอิสลามเองอาจไมเคยรู เลยวาศิลปะอิสลามนั้นเปนเชนไรและมีประโยชนอยางไรกับชีวิต สังคม รวมไปถึงประเทศไทย ดวยเชนกัน จึงเปนที่มาของจุดเริ่มตน ในการศึกษาศิลปะอิสลามเพื่อนำไปเผยแพรใหทุกคนได รูจัก วัตถุประสงคของโครงการ - เพื่อศึกษาศิลปะในรูปแบบอิสลาม - เพื่อเผยแพรศิลปะในรูปแบบอิสลามใหเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้น - เพื่อพัฒนาสถาบันศิลปะอิสลาม (ประเทศไทย) ขอบเขตของโครงการ 1. ศึกษาประวัติและเรื่องราวความเปนมาของศิลปะในรูปแบบอิสลาม 1.1 ศิลปะในรูปแบบอิสลามคืออะไร 1.2 ประเภทของศิลปะในรูปแบบอิสลาม 1.3 พื้นฐานของศิลปะรูปแบบอิสลามอิสลาม 2. ศึกษาประวัติและเรื่องราวความเปนมาของสถาบันศิลปะอิสลาม 3. ศึกษาตัวพื้นที่โดยรอบของโครงการและโครงสรางของตัวโครงการ
2
ขั้นตอนการดำเนินงาน - ศึกษาขอมูลศิลปะในรูปแบบอิสลาม - ศึกษาขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ ประวัติของสถาบันศิลปะอิสลาม - ศึกษาการออกแบบลวดลายศิลปะในรูปแบบออิสลาม - ศึกษาการออกแบบพื้นที่ ความตองการ และสิ่งอำนวยความสะดวกของโครงการ - ศึกษาเกี่ยวกับกรณีศึกษา เชน โครงการที่เกี่ยวกับการศึกษา - วิเคราะหขอมูลเพื่อนำไปสูแนวทางความคิด และการออกแบบที่เปนเหตุเปนผลกัน ผลที่คาดวาจะไดรับ - ไดเรียนรูเกี่ยวกับศิลปะในรูปแบบอิสลาม - ไดเผยแพรศิลปะในรูปแบบอิสลามใหเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้น - ไดจัดทำสถาบันศิลปะอิสลาม (ประเทศไทย) - ศิลปนิพนธชิ้นนี้สามารถเปนประโยชนแกผูสนใจศึกษาและสามารถนำไปประยุกตใช กับศิลปนิพนธเรื่องอื่น ๆ
3
บทที่ 2 ขอมูลพื้นฐาน และรายละเอียดโครงการ รายละเอียดเบื้องตนของโครงการ ประวัติความเปนมาของโครงการและเรื่องที่ศึกษา
RESEARCH
สถาบันศิลปะ อิสลาม
HOTEL
ISLAMIC ART
หอประชุม อันยุมันอิสลาม
โรงเรียนมูลนิธิ สตรีไทยมุสลิม
RESEARCH
4
สถาบันศิลปะอิสลาม (ประเทศไทย) กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2559 โดยกลุม ศิลปนคนไทยที่ตองการถายทอดความรูเรื่องศิลปะอิสลามซึ่งเปนมรดกที่กำลังจะเลือนหายไป และเปนที่รูจัก เฉพาะกลุม มีเปาหมายคือเพื่อผลักดันใหเกิดการเรียนการสอนและถายทอด ความรูความเขาใจในศิลปะอิสลามใหเปนที่รูจักในวงกวางมากขึ้น ผลักดันใหมีการสรางหลัก สูตรการเรียนการสอนที่เปน รูปธรรมใหเปนที่ยอมรับในระดับการศึกษาในอนาคตเพื่อที่จะสืบ สานมรดกศิลปะอิสลามแขนงตางๆ ใหเกิดขึ้นในประเทศไทย และยกระดับศิลปนไทยที่เขาใจใน ศิลปะอิสลามใหเปนที่รูจักทัดเทียมนานา ประเทศเพื่อที่จะยกระดับศิลปะอิสลามโดยคนไทยให เปนที่ยอมรับในระดับสากลได ในปจจุบัน สถาบันแหงนี้ไดเริ่มตนผลักดันและเผยแพรการเรียนการสอนใหกับผูที่สนใจ ผาน การจัดกิจกรรมฝกอบรม (Workshop) ทั้งหัวขอเรื่องประวัติศาสตรศิลปะอิสลาม และการ ออกแบบ ลวดลายประดับและการประดิษฐอักษรวิจิตร นอกจากนี้ยังมีการแสดงผลงานนอก สถานที่โดยการ แสดงผลงานของศิลปนที่เปนบุคลากรในสถาบันผานงานการกุศลตางๆ ซึ่งได รับเสียงตอบรับที่ดีและเปนที่รูจักในวงกวางมากขึ้น
5
หอประชุมอันยุมันอิสลาม “ สมาคมอันยุมันอิสลาม ” เกิดจากชุมชนพอคามุสลิมอินเดียที่รวมตัวกันในสมัยรัชกาล ที่ 5 มีตัวตั้งตัวตีคือตระกูลนานา ซึ่งเปนนายหางคาผากับราชสำนักสยามตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 2 และอพยพเขามาอยูในเมืองไทยในสมัยรัชกาลที่ 4 ตอมาธุรกิจของตระกูลนานายังมีอุปกรณ การเกษตร น้ำตาล และคาขายที่ดินจนกลายเปนเศรษฐีที่ดินในเมืองไทย” นายหางใหญหลายตระกูลรวมตัวกันเปนสมาคม พวกเขาก็อยากใหเยาวชนมุสลิมในยุค นั้นมีสถานที่ศึกษา จึงสรางโรงเรียนยาเวียขึ้นมาในซอยเจริญกรุง 36 ตอนแรกเปนอาคารไม บริเวณโรงภาษี ตอมายายมาอยูฝงตรงขามสมาคมอันยุมันอิสลามในปจจุบัน และสุดทายชาว มุสลิมก็รวบรวมเงินซื้อที่ดินผืนปจจุบันเพื่อสรางโรงเรียนอันยุมันอิสลามเปนการถาวร ปจจุบันที่ดินผืนนี้เปนของตระกูลนานา นายหางอาหมัด อิสราฮีม นานา (Ahmed Ebrahim Nana) หรือ เอ อี นานา ทายาทรุน 3 ของตระกูลนานา ซื้อที่ดินผืนนี้ไวทั้งหมดเพื่อ อุทิศใหศาสนาอิสลามและสาธารณชน ขางอาคารเรียนหลักคือบานเขียวหรือบานพักของอาจารยตวน อาคารหลังนี้เปนบานไม 2 ชั้น ทรงปนหยา มีเอกลักษณและกลิ่นอายของสถาปตยกรรมใน อดีต มีพื้นที่กวางขวาง และ บทบาทใหมของบานเขียวอันยุมันเริ่มขึ้น เมื่อวรพจน, สุนิติ และหนุมสาวมุสลิมที่มีความรูเรื่อง ศิลปะอิสลามรวมตัวกันกอตั้งสถาบันศิลปะอิสลามแหงประเทศไทยเมื่อ 2 ปที่แลว เพื่อเผยแพร ความรูเกี่ยวกับศิลปะอิสลาม โดยเฉพาะศิลปะอิสลามในประเทศไทย ตระกูลนานาเอื้อเฟอ สถานที่ในสมาคมฯ ใหเปนสำนักงาน และตกลงใหปรับปรุงบานเขียวเปนแหลงความรูของ อิสลามอีกครั้ง
6
LOGO
7
OBJECTIVE
1
2
ตองการใหสังคมไทยรูจัก ความงามที่เปนสัจธรรม และความสำคัญของ ศิลปะอิสลาม
นำเสนอเรื่องราวของ ศาสนาอิสลามและชาว มุสลิมผานมุมมองทาง สุนทรียภาพและผลงาน ดานศิลปกรรม
3
4
รวบรวมขอมูลของศิลปะ อิสลาม ในรูปแบบดั้งเดิม ทั้งในดานงานชางฝมือ และงานวิชาการ เพื่อ อนุรักษสืบทอดศิลปะ อิสลามและพัฒนาตอไป
เพื่อผลิตบุคลากรดาน ศิลปะอิสลามที่เปนกำลัง สำคัญในระบบการศึกษา ในอนาคต
8
MISSION
1 สงเสริมจัดการเรียนการสอน เผยแพรความเขาใจในศิลปะอิสลาม ที่เปนมรดกที่กำลัง เลือนหายไป ใหเปนที่รูจักในวงกวางมากขึ้น
2 ผลักดันใหเกิดการเรียนที่เปน รูปธรรมรวมถึงการสงผลใหเปน ที่ยอมรับในระดับการศึกษา ในอนาคต
3 ยกระดับศิลปนไทยที่เขาใจ ศิลปะอิสลามใหเปนที่รูจัก ทัดเทียมนานาประเทศ
9
WHAT IS ISLAMIC ART ?
10
ศิลปะอิสลาม (Islamic Art) คือ ศิลปะที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดในศาสนาอิสลาม โดย หลีกเลี่ยงสิ่งตองหามที่ศาสนากำาหนด ซึ่งถูกนำมาใชกับงานดานศาสนา และยังสามารถนำมา ใชกับวิถีชีวิตทั่วไปไดเชนกัน นอกจากนี้ศิลปะอิสลามยังมีพลวัตรที่แปรเปลี่ยนและถูกรังสรรคดวยกับวัฒนธรรมที่ หลากหลายในแตละพื้นที่ของโลก แตก็ยังคงรักษาไวซึ่งแกนภายใตแนวคิดพื้นฐานของศาสนา อิสลาม
11
ประเภทของศิลปะอิสลาม อักษรอาหรับประดิษฐ (Calligraphy) เปนศิลปะรูปแบบสำคัญซึ่งเกี่ยวของ กับการบันทึกถอยคำาจากพระมหาคัมภีร อัลกุรอานมีรูปแบบการเขียนหลากหลาย ซึ่งนิยมแตกตางกันไปตามกาลเวลา และ วัฒนธรรมของ แตละพื้นที่ - คอต คือการเขียนภาษาอาหรับเปนวิชา แขนงหนึ่ง ที่มีการพัฒนาเหมือนกับการวาด เขียนวาดภาพ แกะสลัก เปนสัญลักษณของ อิสลามที่มีความงดงาม โดดเดน การเขียน จะเริ่มจากขวาไปซายมีพื้นฐานอักษร 28 ตัว คอตที่นิยมมี 6 แบบไดแก 1.คอตรุกอะหหรือริกอะห เปนคอต ที่เขียนเร็ว ใชในชีวิตประจำวัน 2.คอตซุลุซ เปนคอตที่สวยที่สุดใน ภาษาอาหรับเขียนซอนกันได 3.คอตดีวาหรือดีวานญะลีย เปน คอตที่มีความสวยงามออนชอย คอตนี้สมัย กอนใชเขียนในทางราชการ 4.คอตฟารีซีย คอตนี้ถูกใชมากใน เมืองฟาริสประเทศอิหราน 5. คอตนัสค เปนคอตที่เขียนงาย ชัดเจน เปนคอตที่ใชเขียนคำภีรอัลกุรอาน 6.คอตกูฟย เปนคอตที่เรียกวากูฟย เพราะเรียกตามเมืองกูฟะหประเทศอิรัก คอตนี้ใชบันทึกอัลกุรอานเปนคอกแรก คอต นี้ใชการสรางแบบ โดยใชเครื่องมือประกอบ เพื่อการตกแตง
12
งานออกแบบประดับลวดลาย (Ornaments) พบเห็นไดบนพระมหาคัมภีรอัลกุรอานและงานตกแตงสถาปตยกรรมลวดลายที่มีความ โดดเดนและบงบอกถึงอัตลักษณของศิลปะอิสลามไดมากที่สุด ไดแก
ลายพรรณพฤกษา (Arabesques) เกิดขึ้นจากการรอยเรียงลายกิ่งกานและเถาไม เกี่ยว กระหวัดและแตกปลายออกเปนดอกไมนานาชนิด
ลายเรขาคณิต (Geometry) เปนแนวคิดที่เกิดจากการใชการคำนวณทางคณิตศาสตร และรูปทรงเรขาคณิตมาทับซอนหรือตัดทอนใหเกิดเปนลวดลาย ที่ตระการตาและสามารถขยายลวดลายออกไปไดอยางไมมีที่สิ้นสุด
13
ศิลปะอิสลามรวมสมัย (Modern Islamic Art) คือการนำเอาศิลปะ อิสลามมาสื่อในรูปแบบงานจินตนาการของศิลปนที่เปนปจเจกดวย เทคนิคและวิธีการ ตางๆของศิลปนคนนั้นๆ
14
BACKGROUND
OF
ISLAMIC
ART
15
ในอิสลามมีคำสอนของนบีมูฮัมมัดตอนหนึ่งกลาววา “อัลลอฮ (พระเจา) ทรงความสวย งามและพระองคทรงรักในความสวยงาม” ดังนั้น สิ่งที่พระเจาสรางขึ้นมาซึ่งมุนษยเรียกวา “ธรรมชาติ” จึงมีความสวยงามที่มนุษยอยากไปเห็นและเก็บภาพความสวยงามนั้นไวในความ ทรงจำ จึงมีการขีดเขียนหรือวาดดวยวัสดุที่หางายไดงายๆ เชน หินสีและถาน สวนภาพที่วาดขึ้น เชน รูปสัตว รูปคนหรือตนไมที่วาดไวบนผนังถ้ำหรือบนแผนหินขางภูเขา เมื่อโลกเจริญมากขึ้น การวาดภาพก็มีความเจริญกาวมากขึ้น หลังจากนั้นศิลปะการวาดภาพไดถูกนำเขามาใชใน ศาสนาโดยมนุษยบางคนไดพยายามสื่อความเชื่อในสิ่งที่มองไมเห็นและไมอาจจับตองไดออกมา ใหเห็นเปนรูปภาพ นักบุญ นักบวชและผูทรงศรีหรือแมกระทั่งศาสดาบางคนไดถูกมนุษยวาดขึ้น ตามจินตนาการของตน จนในที่สุดภาพบุคคลเหลานี้ก็กลายเปนที่เคารพสักการะ จึงสั่งหามไม ใหวาดภาพที่นำไปสูการสักการะหรือกราบไหว อยางไรก็ตามอิสลามมิไดปฏิเสธความตองการของมุนษยที่จะหาความสุขจากศิลปะ ความตองการของมุนษยที่จะหาความสุขจากศิลปะ ความงดงามและความสุนทรียภาพ แตอิสลามจะจำกัดขอบเขตของความงามไวมิใหมนุษยใชศิลปะในทางที่ผิดและเปนพิษเปนภัยตอ จิตใจของมนุษยเอง เมื่อถูกกำหนดขอบเขตเชนนี้ ศิลปะอิสลามจึงถูกแสดงออกในรูปแบบการ ประดิษฐอักษรศิลปที่สวนใหญแลวเปนการนำเอาขอความจากอัลกรุอานซึ่งเปนภาษาอาหรับมา ประดับในมัสยิดทั้งภายนอกและภายใน ลวดลายศิลปะอิสลามที่แสดงออกถึงสุนทรียภาพทางอารมณของมุสลิมก็คือลายเครือ เถา ลายเรขาคณิตและการประดิษฐที่เปนเอกลักษณโดดเดน ความงามทางศิลปะเหลานี้มุสลิม รังสรรคขึ้นเพื่อถวายพระเจาผูทรงรักความสวยงาม
16
กลุมเปาหมายของโครงการ
การออกบูธงานโรงเรียน-มัสยิด งานมหกรรมขนาดเล็ก การออกบูธงานโรงเรียน-มัสยิด งานมหกรรมขนาดเล็ก งานประเภทนี้มักจะเปนงาน การกุศลดานศาสนา มีอาหาร เสื้อผาแฟชั่นมุสลิมขาย กลุมเปาหมายสวนใหญจึงเปนผูนับถือ ศาสนาอิสลามไดแก กลุมพอ-แมที่พาบุตรหลานมาเที่ยว และกลุมเพื่อนนักเรียนนักศึกษาที่มา จับจายซื้อสินคาภายในงาน กลุมเปาหมายแรกคือ กลุมเด็กวัยประถมที่สนใจในศิลปะ ชอบวาดรูป ระบายสี สถาบัน ไดจัด เวิรคช็อปขึ้นเพื่อดึงดูดความสนใจจากกลุมเด็กเล็กและผูปกครอง สิ่งเหลานี้นอกจากจะ ทำใหเด็กสนุก และมีสมาธิมากขึ้นแลว ยังเปนเหมือนการสำรวจกลุมเปาหมายเด็กที่ชื่นชอบ ศิลปะ และสำรวจ แนวโนมการเรียนการสอนศิลปะตอไปในอนาคตดวย กลุมเปาหมายที่สองคือ กลุมนักเรียน นักศึกษา และผูที่สนใจในศิลปะอิสลาม ผูสนใจ กลุมนี้ มักจะหยุดดูและเขามาสอบถามประวัติความเปนมาของสถาบันและความรูเบื้องตนของ ศิลปะอิสลาม จากคณะทำงาน สวนนักเรียน-นักศึกษาที่มีความสนใจมากก็จะติดตอกลับมา ยังสถาบัน กลุมเปาหมายสุดทายซึ่งพบเปนสวนนอย คือกลุมชาวตางชาติ ผูนับถือศาสนาอิสลาม รวมไปถึงผูที่ไมไดนับถือศาสนาอิสลามที่พบเห็นความแปลกใหม
17
การออกบูธงานมหกรรมระดับชาติ การออกบูธงานมหกรรมระดับชาติ จะเปนงานประจำปละครั้งตามสถานที่ใหญๆ เชน งาน ไทยแลนด ฮาลาล เอสเซมบลี ที่รวมผูประกอบการธุรกิจฮาลาล หรืองานเมาลิดกลางแหง ประเทศไทย ที่มีนักวิชาการและบุคคลสำคัญตางๆมารวมงานมากมาย กลุมเปาหมายหลักของงานระดับชาตินี้คือนักวิชาการ ผูประกอบการ และนักธุรกิจ เพื่อสรางความสัมพันธและโอกาสที่จะไดรวมงานตอไปกับบุคลากรในวงการผูประกอบการและ นักธุรกิจทั้งใน และตางประเทศ
18
การเปดใหเขาชมพิพิธภัณฑบานเขียวอันยูมัน การเปดพิพิธภัณฑบานเขียวอันยูมันเปนเพียงการเปดตัวชั่วคราวกอนที่จะปดปรับปรุง พิพิธภัณฑไดเปดตัวครั้งแรกเมื่อปลายเดือน มกราคม พ.ศ.2561 ในงาน Bangkok Design Week ซึ่งเปนการรวมมือกันระหวางชุมชนเขตบางรักและทีซีดีซี ในงานนี้มีทั้งผูที่เดินทางมาเองและมา กับคณะทัวรจากทีซีดีซี ผูที่เดินทางมาเองสวนหนึ่งเปนกลุมผูสูงอายุในชุมชนเฉลี่ยประมาณรอยละ 15 ของ กลุมผูเขาเยี่ยมชมทั้งหมด กลุมที่สองเปนบุคคลทั่วไปที่เดินทางผานไปมาจากงานแบงค็อก ดีไซน วีค เชนกัน จากการสอบถามพบวาเปนเจาของกิจการละแวกใกลเคียงและนักวิชาการ รอยละ 20 ชาวตางชาติรอยละ 5 วัยรุนทั่วไปและคนวัยทำงานรอยละ 60 ผูที่เดินทางมากับคณะทัวรทีซีดีซีจากกิจกรรมที่งานแบงค็อก ดีไซน วีค จัดขึ้น ผูที่สนใจ กลุมนี้จึงเปนกลุมนักออกแบบและนักธุรกิจดานการออกแบบอยูแลว และเนื่องดวยนักออกแบบ กลุมนี้ ทั้งหมดเปนชาวไทยตางศาสนาและไมเคยสัมผัสศิลปะอิสลามมากอน จึงทำใหทุกคนให ความสนใจ และไดรับเสียงตอบรับที่ดีเปนอันมาก
19
ติดตอกับสถาบันฯ โดยตรงจากแหลงขอมูลทางเฟสบุคและคนรูจัก กลุมสุดทาย จะเปนกลุมที่ติดตอมายังสถาบันโดยตรงจากแหลงขอมูลในโซเชียล และการบอกตอมาจากคนรูจัก คนกลุมนี้จะแบงเปนผูที่สนใจเรื่องศิลปะอิสลามและตองการมา ชมผลงานและศึกษาเรื่องราวศิลปะอิสลามรอยละ 40 องคกรที่ตองการรวมงานกับทางสถาบัน รอยละ 40 และกลุม ศิลปน นักเรียน นักศึกษาที่ตองการขอมูลการออกแบบเพื่อนำไปตอยอด อีกรอยละ 20 ดังนั้น กลุมเปาหมายสำคัญจึงมี 4 กลุมตามลำดับไดแก 1. กลุมนักเรียน-นักศึกษา 2. ศิลปนและนักออกแบบ 3. องคกรที่สนับสนุนงานดานศิลปะ 4. องคกรดานศาสนา กลุมเปาหมายหลักจึงเปนกลุมคนที่มีอายุเฉลี่ยอยูที่ระหวาง 18 – 25 ป อาชีพนักเรียน นักศึกษา และนักออกแบบ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ชอบคนหาแนวความคิดใหมๆในการออกแบบ เรียนรู สิ่งใหมๆอยูเสมอ สนใจเรื่องศิลปะและวัฒนธรรม ชอบความดั้งเดิมและตองการสืบสาน วัฒนธรรมเกาๆเอาไวไมใหสูญหาย
20
ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดลอมของโครงการ ที่ตั้งโครงการ ตั้งอยูในบริเวณถนนเจริญกรุง บริเวณนั้นรายลอมไปดวยแหลงทองเที่ยวตางๆ ทั้งศูนยราชการ สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตรมากมาย
ุง
ถนนเจริญกร ุง
ถนนเจริญกร
แมน้ำเจาพระยา
ุง ถนนเจริญกร
อาคารอันยุมัน 29 ซ.เจริญกรุง 36 ถ.เจริญกรุง แขวง/เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
21
อาณาเขตโครงการ
อาคารอันยูมัน บานเขียว
ทิศเหนือ ทิศใต ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก
ติดกับถนนเจริญกรุง 36 ติดกับหางโอ.พี.เพลส ติดกับถนนเจริญกรุง 36 ติดกับถนนเจริญกรุง 36
22
ภายในของตัวอาคารทั้งสองหลัง
23
ทิศทางแดดและลม
เวลา 09.00 น.
เวลา 15.00 น.
เวลา 12.00 น.
เวลา 18.00 น. W N
S E
24
การเดินทาง
BTS สะพานตากสิน Catholic Mission of Bangkok
Robinson
Werehouse 30 2 ซอย 3
ซ อย 43
ถนนเจริญกรุง
ถนนเ
จริญ เวียง
ไปรษณีกลางบางรัก
ซอย 34
อาคาร อันยุมัน
ซอย 36
โรงเรียนอัสสัมชัญ
ซอย 38
กรุง
สถานีดับเพลิงบางรัก
ซ อย 40
ถนน เจริญ
โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็น
พิพิธภัณฑ ชาวบางกอก
BTS
เรือ
TAXI
รถเมย
มอเตอรไซต
25
กรณีศึกษา และวิเคราะหอาคารเปรียบเทียบ
ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) ในป พ.ศ. 2532 มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดเริ่มโครงการจัดตั้งศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญ พระชนมพรรษา 3 รอบ ในป พ.ศ. 2534 ดวยพิจารณาเห็นวาสาขาวิชามานุษยวิทยาและ ศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ ประวัติศาสตร ภาษาศาสตร โบราณคดี ประวัติศาสตรศิลปะ ฯลฯ ลวนเปนที่ทรงสนพระทัยและทรงมีความเชี่ยวชาญ อีกทั้ง ยังเคยทรงมีพระราชปรารภวา “ประเทศไทยควรจะมีศูนยขอมูลทางดานนี้ เพื่อใหบริการแกนักวิชาการและผูสนใจทั่วไป” ตอมาใน พ.ศ.๒๕๓๗ มหาวิทยาลัยศิลปากรไดตระหนักถึงความสำคัญในการปรับรูป แบบการดำเนินงานของศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ และความเปนสากล จึงไดเสนอโครงการใหศูนยฯ ทดลองดำเนินงานในรูปแบบใหม โดยมีภารกิจหลักเปนศูนยขอมูล ที่ใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยในการ จัดเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อเผยแพรและให บริการขอมูลและขอมูลสนเทศ อันจะเปนประโยชนตอการศึกษาคนควาของนักวิชาการ นักศึกษา นักเรียน และประชาชนทั่วไป
26
บทที่ 3 หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ศึกษา Activity 1 Seven Overlapping Circles 1. Using a straightedge, draw a horizontal line near the center of the paper.
27
2. Make a circle with the compass point placed near the center of the line. Using the intersection points as new compass points, draw a circle on either side of the ďŹ rst circle.
28
3. Add four more circles using the new points of intersection as compass points. It is important that all circles have the same radius.
29
Activity 2 Finding Geometric Shapes within Circles
Rosette
The rosette divides the central circle into six equal parts and locates six equally spaced points on its circumference - a result of all the circles having the same radius.
30
Hexagon To make a hexagon, use a straightedge to join adjacent circumference points on the central circle.
31
Two equilateral triangles To create two equilateral triangles, join every second point. Notice that these two triangles form a six-pointed star.
32
Twelvepointed star Connecting every ďŹ fth point will produce a twelvepointed star.
33
Activity 3 From One Circle to Five Overlapping Circles
A
1.Bisect the page by drawing one horizontal and one perpendicular line. Mark the center as A
34
2. Place the compass point at point A and draw a circle. Leave room to draw equal sized circles on each side , at the bottom, and at the top. Mark the points that cross the lines B , C , D , and E
B
E
C
D
35
3. Using points B , C , D , and E , draw four more circles. Mark the points where the four circles intersect F , G , H , and J.
J
F
H
G
36
4.Use a straightedge to draw the lines FH and JG through the center. These lines intersect the original circle at four equally spaced points at K , L , M , and P.
J
F P
M H
K
L G
37
Activity 4 Finding Geometric Shapes within Circles
Octagon To create a regular octagon, use a straightedge to join adjacent points on the circumference of the original circle.
38
Eight-pointed star, version 1 By joining every second point on the original circle, you will create two squares that overlap to form an eight-pointed star.
39
Eight-pointed star, version 2 By joining every third point, you will create a different eight-pointed star.
40
Four-pointed star Embedded in the eightpointed star (version 2) is a four-pointed star.
41
แนวคิดในการออกแบบ
ทองถิ่นภิวัตน (Localization)
แนวคิดและวิถีชีวิตมุสลิมในเมืองไทย
ศิลปกรรมอิสลามในประเทศไทย
42
ศิลปะและวัฒนธรรมอิสลามในประเทศไทย บทบาทของมุสลิมในประวัติศาสตรไทย ที่ปรากฏบันทึกเอกสารและศิลปวัตถุสถานตาง ๆ ที่แสดงการติดตอกับชาวมุสลิม โดยพระในรัชกาลของสมเด็จพระรายณ ซึ่งนับชวงเวลาที่ติดตอ กับชาวตางชาติมากที่สุด ชาวมุสลิมไดเขามาสูราชสํานักและรับราชการในตําแหนงสําคัญตาง ๆ รวมทั้งยังมีพอคาและชาวมุสลิมในสาขาวิชาชีพอื่น ๆ อีกมากมาย หลักฐานอีกประเภทหนึ่งที่ใหเห็นถึงแงมุมของการเขามาผสมผสานของวัฒนธรรมไดมาก ยิ่งขึ้น คือ งานศิลปกรรม สถาปตยกรรม ประติมากรรม เปนตน ตัวอยางเชน มิหรอบ (มัสยิด ตนสน) เปนสถานที่ที่อิหมานนําละหมาด จะสรางคลายศาลาเล็ก ๆ มีหลังคาหนาจั่ว แกะสลัก ตามแบบหลังคาเรือกัญญา ลงรักปดทองหนาจั่ว ชอฟาใบระกา หางหงส , มัสยิดบางหลวง (หนาบันมัสยิด) เปนลายปูนปนดอกพุตตานตรงหนาบันของอาคารมัสยิด ลายปูนปนพันธุพฤกษา แทนใบระกา ตรงกลางหนาบันสลักตัวอักษรอาหรับ เปนตน
มิหรอบ (มัสยิดตนสน)
มัสยิดบางหลวง (หนาบันมัสยิด)
43
44
MOOD AND TONE
45
บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ
PROGRAMMING
OFFICE
MEETING ROOM OFFICE - ประธาน - เลขานุการ - เหรัญญิก - ฝายวิชาการ - ฝายกิจกรรม - ฝายการสื่อสาร
CLASSROOM
WORKSHOP ART LANGUAGE ROOM MEETING ROOM
COMMUNITY / COMMERCIAL
CAFE LIBARALY AUDITORIUM TEMPORARY EXHILBITION
PRAYER ROOM TOILET
46
FACADE
47
48
EVELATION
49
CONCEPTUAL IDEA
50
51
PLAN
52
53
54
55
56
RECEPTION โซนตอนรับเปนพื้นที่คนที่เขามาจะใชจะเห็นเปนอันดับแรก จึงใชลวดลายพื้นฐานมาตอ กันในการออกแบบเปนผนังที่ฉลุลาย สีทองใหดูหรูหรามากขึ้นและเพื่อใหลวดลายไดมีความเดน ชัดเมื่อเขามาถึง สวนผนังอื่นๆก็จะเปนสีขาวและพื้นเปนลายไม
57
EXHILBITION ในสวนของพื้นที่จัดงานจะเปนการจัดนิทรรศการที่หมุนเวียนกันไปเรื่อยๆ และจะเปนโชว ผลงานของผูที่เขารวม workshop ในแตละครั้ง
58
CAFE คาเฟเปนโซนพักผอนสําหรับผูคนที่เขามาใชบริการในโครงการ โซนนี้จะมีการตกแตงที่ หรูหรา มีการใชลวดลายที่เยอะขึ้นและแตกตางกัน โดยลวดลายที่เลือกมาใชจะเปนลวดลายที่มี ความเหมือนดอกไมมาใช และเฟอรนิเจอรตางๆก็เปนเฟอรนิเจอรหกเหลี่ยมที่มีเปนพื้นฐานจาก พื้นฐานการวาดลวดลายในรูปแบบอิสลาม สีก็จะเปนสีขาว เพื่อไมใหขัดกับตัวลวดลาย สวนลวด ลายบนพื้นเปนลายกระเบื้องที่ออกแบบโดยการเอาลวดลายของ FACADE มาซอนทับกันใหเกิด ลวดลายใหมที่มาความคลายดอกไม
59
PRAYER ROOM หองละหมาดมีไวรองรับสําหรับผูที่จะเขามาบริการในโครงการ การตองแตงจะมีความ เรียบงาย โดยเนนไปที่การใชอักษรของพระนามของพระผูเปนเจา (อัลลอฮ) ในทิศทางที่หันไป ทางตะวันตกเปนตัวอักษรสีทอง และมีไฟทั้งสองขางสองเพื่อที่จะใหพระนามของพระผูเปนเจา (อัลลอฮ) มีความโดนเดนออกมา ภายในหองจะใชโทนสีขาว และพื้นไมพื้นที่จะงายตอการทํา ความสะอาด
60
LIBRARY หองสมุดสําหรับผูที่อยากหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรูเรื่องศิลปะในรูปแบบอิสลาม การตกแตงจะเนนใชแสงที่มาจากธรรมชาติ และจะมองเห็นลวดลายของตัว Facade เพราะรอบ ดานตกแตงดวยกระจกทั้งหมด เฟอรนิเจอรตางๆ จะเนนเปนโทนสีที่ออน และตัดดวยตัวสีทองของ ตัวชั้นวางหนังสือและเคาเตอรก็จะเปนการตกแตงโดยใชลวดลายในรูปอิสลาม
61
WORKSHOP พื้นที่ตรงนี้เปนพื้นที่สําหรับในการจัด workshop ตางๆ ที่ทางสถาบันไดจัดขึ้นที่เกี่ยวกับ แขนงตางๆ ของศิลปะในรูปแบบอิสลาม การจะตกแตงจะมีความโลง เรียบงาย และใชลวดลาย ของแสงที่สองตัว Facade เพื่อไมใชลวดลายที่เยอะเกินไปรบกวนผูที่เขารวม workshop
62
AUDITIONRUM หองประชุมใหญเปนพื้นที่ใหเชาสําหรับจัดประชุมตาง ๆ การตกแตงจะเรียบงาย พื้นไม เพื่อที่จะไมใหขัดกับการจัดงานตางๆ สวนลวดลายจะมีตรงฝาที่เปนลวดลายที่ออกแบบมาจาก ลวดลายของตัว Facade ที่มาเรียงทับซอนกันจนเกิดลวดลาย และจะไดรับลวดลายจะแสงธรรม ชาติ
63
SIGNAGE
64
65
บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ บทสรุป ผลงานศิลปนิพนธหัวขอเรื่อง “โครงการศึกษาศิลปะในรูปแบบอิสลามสูการออกแบบ สถาบันศิลปะอิสลาม (ประเทศไทย) โดยไดศึกษาพื้นฐานการออกแบบลวดลาย จึงนำเอาพื้นฐาน ในรูปแบบอิสลามมาออกแบบพื้นที่ใชงาน เฟอรนิเจอรและการตกแตงโดยใชลวดลายในศิลปะ รูปแบบอิสลามมาออกแบบสถาบันศิลปะอิสลาม จากผลการวิจัย เรื่องศิลปะในรูปแบบสูการออกแบบสถาบันศิลปะอิสลามเปนการถาย ทอดความรูเรื่องศิลปะในรูปแบบอิสลามที่มีมาอยางยาวนานใหกับคนรุนใหมไดรูจัก และใหเห็น ความสำคัญมากยิ่งขึ้น อีกทั้งเปนแหลงการเรียน การสอนใหกับผูที่สนใจผาน การจัดกิจกรรม ฝกอบรม (Workshop) ทั้งหัวขอเรื่องประวัติศาสตรศิลปะอิสลาม และการออกแบบ ลวดลาย ประดับและการประดิษฐอักษรวิจิตร ขอเสนอแนะ ขอคิดที่ไดจากการทำโครงการศิลปนิพนธเรื่องนี้คือเราไดเรียนรูเกี่ยวกับประวัติความ เปนมา แนวคิดพื้นฐานในการออกแบบ และเปนศิลปะที่มีมาอยางนานควรคาแกการศึกษาและ เผยแพรใหเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้น
66
บรรณานุกรรม ปยะแสง จันทรวงศไพศาล. (2561). ศิลปะอิสลาม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สถาบันศิลปะอิสลามแหงประเทศไทย. (2561). ขอมูลผูวิจัยรวมกับสถาบันศิลปะอิสลามแหง ประเทศไทย นิทรรศการจัดแสดงถาวรสถาบันศิลปะอิสลามแหงประเทศไทย. [ปายนิทรรศการ]. กรุงเทพฯ: สถาบันศิลปะอิสลามแหงประเทศไทย. อาลี เสือสมิง. (2556). ชุมนุมนักปราชญในสายธารอารยธรรมอิสลาม. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือ อิสลาม. (2556). อารยธรรมอิสลาม. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสืออิสลาม. ฮิตตี, เอฟ. (2555). อาหรับ [History of the Arabs] (ทรงยศ แววหงษ, ผูแปล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการตำราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. ศาสตราจารย ดร.มะหมูด ฮัมดี ซักซูก. (2560). อิสลามกับงานศิลป. คนเมื่อ กันยายน 20, 2562 จาก https://www.islammore.com/view/543 เจนจิรา เบญจพงศ. 2549. ลวดลายประดับแบบอิสลามในศิลปะไทย. คนเมื่อ พฤศจิกายน 28, 2562 จาก http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/1526/Ful ltext.pdf?sequence=1&isAllowed=y Chainwit. 2562. ลวดลายอาหรับ. คนหาเมื่อ มีนาคม 3, 2563 จาก https://th.m.wikipedia.org /wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0 %B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A
67
ประวัติผูวิจัย ชื่อ - สกุล รหัสนักศึกษา วัน-เดือน-ปเกิด อายุ ที่อยู โทรศัพท E-mail การศึกษา ประถมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนตน-ปลาย อุดมศึกษา
: นางสาวฮารีนา หะยีกอเซ็ง : 5902990 : 3 กุมภาพันธ 2541 : 22 ป : 211/1 ม.7 ต.ทาชาง อ.บางกล่ำ จ.สงขลา 90110 : 084 - 2546674 : harina.hayeekoseng@gmail.com : โรงเรียนพลวิทยา : โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัยสมบูรณกุลกันยา : มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ