KAO HONG OLD MARKET H O M E S T A Y & C O N T E X T
PROJECT TITLE โครงการศิลปนิพนธ์์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต
Project Name ชื่อโครงการ
Project type: Art Thesis ประเภทโครงการศิลปนิพนธ
Art project organizer ผู ดำเนินโครงการศิลปนิพนธ
Art Thesis Project Advisor ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ
สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให นับศิลปนิพนธ ฉบับนี้เป นส วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน …………………………………………………… คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ
…………………………………………………. ประธานกรรมการ (อาจารย วริศน สินสืบผล) …………………………………………………… กรรมการ (อาจารย เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล) …………………………………………………… กรรมการ (อาจารย วิรุจน ไทยแช ม) …………………………………………………… กรรมการ (อาจารย ถวัลย วงษ สวรรค ) …………………………………………………… กรรมการ (อาจารย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน ) …………………………………………………… กรรมการ (อาจารย บัณฑิต เนียมทรัพย ) …………………………………………………… กรรมการ (อาจารย เรวัฒน ชำนาญ) …………………………………………………… กรรมการ (อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน ) …………………………………………………… กรรมการ (อาจารย ไพลิน โภคทวี)
อาจารย ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ …………………………………………………… (อาจารย บัณฑิต เนียมทรัพย )
กิตติกรรมประกาศ ผลงานศิลปนิพนธ โครงการพัฒนาชุมชน ตลาดเก าห อง 100 ป นั้นสำเร็จได ด วยบุพการีที่ช วยสนับสนุนทุนทรัพย ในการเล าเรียนและพัฒนางานมาจนถึงป จจุบันขอขอบพระคุณไว ใน ณ ที่นี้ด วยขอขอบพระคุณคณะอาจารย ภาค วิชาศิลปะและการออกแบบสาขาวิชาออกแบบภาคในทุกท านที่ให คำปรึกษาและคอยชี้แนะวิธีการในการพัฒนาตัว โครงการให มีประสิทธิภาพมากขึ้นจนสำเร็จไปได ด วยดี ขอขอบพระคุณอาจารยบัณฑิต เนียมทรัพย ที่คอยช วย เหลือและให คำแนะนำตลอดตั้งแต เริ่มโครงการ อีกทั้งยังให คำแนะนำและคอยสั่งสอนดิฉันนอกห องเรียน ขอขอบ คุณเพื่อน รุ นพี่และรุ นน องทั้งในและนอกคณะที่ให ความช วยเหลือในการทำงาน ในการใช ชีวิตตลอดระยะเวลาที่ได ศึกษาในมหาวิทยาลัยให ได พบประสบการณ ต าง ๆที่ดี ขอบคุณมิตรภาพที่ดีที่มีให ต อกันใน ณ ที่นี้ ขอขอบคุณพี่ๆ ที่ฝ กงานที่คอยเป นกำลังใจและช วยเหลือ สั่งสอนในทุกๆเรื่อง พร อมทั้งให ความอบอุ นกับดิฉันมาตลอด ขอบคุณมิตร ภาพที่ดีที่มีให ต อกันใน ณ ที่นี้
นาย วงศกร โพธิ์ โชติ 14 มิถุนายน 2562
บทคัดย อ ชุมชนตลาดเก าห อง 100 ป อดีตแหล งท องเที่ยวชั้นดีของจังหวัดสุพรรณบุรี เพราะเป นแหล งค าขายที่คึกคักทั้งของกินของ ใช แหล งที่มีที่อยู อาศัยอุดมสมบูรณ ติดริมแม น้ำท าจีน มีสิ่งก อสร างที่เป นเอกลักษณ อย างหอดูโจรแห งเดียวในสุพรรณบุรี แต ในป จจุบันทุกอย างก็เปลี่ยนไปตามกาลเวลา จากที่เคยค าขายคึกคัก ก็กลับซบเซา ที่อยู อาศัยทรุดโทรม หอดูโจรทิ้งร างทุกอย างดูเงียบเหงา ผู วิจัยจึงอยากพัฒนาชุมชนแห งนี้ให กลับมามีชีวิตอีกครั้ง เนื่องจากเป นบ านเกิด และเห็นชุมชนแห งนี้ตั้งแต เยาว วัย จึงทำให ใจหายทุก ครั้งที่เห็นว าชุมชนนี้เงียบเหงาลงไปอย างมาก ผู วิจัยเล็งเห็นว าชุมชนแห งนี้ต องได รับการพัฒนา เสริม เติม แต ง และใช ทรัพยากรที่มี อยู ให เกิดประโยชน และคาดหวังว าชุมชนตลาดเก าห อง 100 ป แห งนี้จะมีชีวิตขึ้นมาอีกครั้ง ประเทศไทยเป นประเทศหนึ่งที่มีแหล งท องเที่ยวมากมาย และแหล งท องเที่ยวที่ได รับความสนใจเป นอย างมากนั่นก็คือ ตลาด ซึ่งมีทั้งตลาดนัด ตลาดน้ำ ตลาดที่เป นถนนคนเดิน และอีกมากมาย และซึ่งตลาดเก าห องก็เคยเป นตลาดที่มีผู คนสนใจและมา ท องเที่ยวแต ในป จจุบันกลับเงียบเหงา อาจจะเพราะมีตลาดเกิดขึ้นใหม มากมาย หรือความน าสนใจของตลาดลดลง ดังนั้นโครงการนี้ จึงเป นหนึ่งในคู แข งของตลาดในชุมชน โดยมีแนวคิดที่จะพัฒนาตลาดและชุมชนให เข าถึงบริบทของคนในชุมชนและนักท องเที่ยว และ กลุ มลูกค าที่สนใจ ก็จะเป นกลุ มที่มีความสนใจในวิถีชีวิตชาวบ าน สนใจอาหารหรือขนมแบบโบราณ สนใจสิ่งของโบราณๆ อยากได ความรู เกี่ยวกับประวัติศาสตร ด วยนั่นเอง ตลาดนัดเป นที่น าสนใจของนักท องเที่ยวที่ชอบหาซื้อหรือดูของที่หลากหลายทั้งอาหาร ของใช หรือของตกแต ง ซึ่งที่แห ง นี้เรียกได ว าเป นชุมชนตลาดที่อยู มานานนับกว าร อยป มีสินค าโบราณให เลือกดูหลายชิ้น เป นตลาดที่มีบ านไม อยู มานานแต ยังมีความ แข็งแรงซึ่งนั่นแหละคือเอกลักษณ ของตลาดนี้แล วมีอีกสิ่งหนึ่งที่นอกจากอาคารบ านเรือนที่เป นป จจัยภายนอกก็ยังมีความเป นมิตรและ ความใจดีของคนในชุมชนที่ทำให ตลาดนี้ดูอบอุ นมากขึ้น ไม ว าคุณจะเป นใครมาจากไหนแต เพียงแค คุณมีความสนใจในตลาดเก าห อง ผู คในชุมชนก็พร อมที่จะต อนรับและให ความรู กับคุณอย างเป นมิตรเสมอ และนอกจากนี้การที่เราพัฒนาสิ่งต างๆขึ้นมา อย างศูนย อาหาร คาเฟ หรือที่พัก ทุกๆสถานยังคงเอกลักษณ ความเป นอาคารไม ที่บ งบอกถึงความเป นชุมชนตลาดเก าห องอยู นั่นเอง การพัฒนาชุมชนนั้นสิ่งสำคัญคือการคงอยู ของความเป นชุมชน และวิถีชีวิตของคนในชุมชน โดยการพัฒนาก็จะเกิดประโยชน ต อทั้งสมาชิกในชุมชนและนักท องเที่ยวด วย และสิ่งที่จะทำให ชุมชนที่เป นแหล งท องเที่ยวพัฒนาขึ้น ก็คือการมีสิ่งที่น าสนใจ และ มีเอกลักษณ เป นตัวของตัวเอง ป จจุบันตลาดเก าห องมีเพียงร านขายอาหาร ขนม เตาอั้งโล และพิพิธภัณฑ ผู วิจัยจึงคิดที่จะพัฒนาโดย การเพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวกให มีมากขึ้น นั่นคือการเป ดศูนย อาหาร โดยมีคนในชุมชนเป ดร านอาหารในศูนย อาหาร การเป ดคาเฟ นั่งชิลให นั่งพักผ อนพูดคุยกัน การเป ดที่พักอย างโฮมสเตย สำหรับนักท องเที่ยวที่อยากดื่มด่ำกับวิถีวิต ของชาวบ าน ทั้งในค่ำคืนที่เงียบ และยามเช าที่แจ มใส และยังมีการพัฒนาสิ่งที่มีอยู ให น าสนใจกว าเดิม อย างพิพิธภัณฑ จัดวาง ตกแต งให สวยงามน าเข าชมมากขึ้น นอกจากเดินชมด วยตัวเอง ก็ยังมีผู ให ความรู เกี่ยวกับของโบราณต างๆที่มีคุณค าต อคนในชุมชน ต อตลาดเก าห องแห งนี้ด วย นอกจาก พัฒนาให ดีขึ้น ผู วิจัยก็ยังไม ลืมที่จะคงเอกลักษณ ความเป นชุมชนเดิมอยู อย างการที่ศูนย อาหาร คาแฟ โฮมสเตย และพิพิธภัณฑ ล วน จัดทำในอาคารไม เฟอร นิเจอร ที่ใช ในการใช สอยและตกแต งก็เป นสิ่งที่มีและหาได ง ายภายในชุมชน เพื่อคงความเป นเอกลักษณ ของชุม ชนตลาดเก าห อง 100 ป นอกจากนี้ในส วนของงานระบบก็สำคัญ เนื่องจากงานระบบประกอบไปด วยระบบไฟฟ า งานสุขาภิบาล ระบบติดต อสื่อสาร ระบบรักษาความปลอดภัย ไปจนถึงการทำความสะอาด ในทุกๆส วนนี้ต องมีการออกแบบงานระบบไว อย างมี
ประสิทธิภาพ เพื่อการอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยของทั้งนักท องเที่ยวและคนในชุมชน เมื่อมาท องเที่ยวก็ต องการที่ จะพักผ อน และเรียนรู วิถีชีวิตของความเป นชุมชนเก าแก ซึ่งการเป นมิตรของคนในชุมชนก็เป นเรื่องสำคัญ เนื่องจากผู วิจัยอาศัย อยู ใกล กับชุมชนแห งนี้ จึงทราบเป นอย างดีว าผู คนในชุมชนล วนใจดี เป นมิตร ยิ้มแย ม และพร อมที่จะให ข อมูลของตลาดเก าห อง ด วยความเต็มใจ ในป จจุบันมีแหล งท องเที่ยงเชิงวิถีชีวิตมากมาย การไปพักผ อนทั้งกายทั้งใจ เสพความดั่งเดิมของวิถีชีวิตชาวบ าน จึงเป นโจทย ยากของนักออกแบบที่จะพัฒนาสิ่งที่มีอยู ในดีขึ้นออกมาได อย างไร ให น าสนใจ และเข าถึงได ง าย มีเอกลักษณ ไม ทิ้ง ตัวตน ผู วิจัยจึงต องคิดที่จะพัฒนาชุมชน ให มีความเป นเอกลักษณ แต ก็น าสนใจไปในทิศทางเดียวกัน จึงเกิดการคิดที่จะเพิ่มทั้ง ศูนย อาหาร คาเฟ และโฮมสเตย ขึ้นมา ชาวบ านในชุมชนเกิดรายได นักท องเที่ยวเกิดความประทับใจ และยังมีองค ความรู จากสิ่ง ที่มีคุณค าในพิพิธภัณฑ อีกด วย
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
CONTENT 01 PROJECT BACKGROUND
ที่มา หลักการและเหตุผลของโครงการศิลปนิพนธ วัตถุประสงค ของโครการ ขอบเขตโครงการ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน ประโยชน ที่คาดว าจะได รับ
02 BASIC INFORMATION AND PROJECT DETAILS ข อมูลพื้นฐานและรายละเอียดของโครงการ CASE STUDY
03 PRINCIPLES , THEORIES , CONCEPTS STUDIED หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ศึกษา CONCEPT
04 DESIGN WORK ผลงานการออกแบบ
05 SUMMARY AND RECOMMENDATIONS บทสรุปและข อเสนอแนะ
บทที่ 1 บทนำ
01
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญ ที่มาของโครงการ?
เกิดจากป ญหาที่หลายอย างทำให ตลาดซบเซา ผู คน นักท องเที่ยว มาที่ชุมชนเก าห องน อยลง ชาวบ านบางส วนเลิกทำมาค าขาย ทำให เกิดพื้นที่ว าง.. จึงเกิดเป น Projectพัฒนาชุมชนขึ้น เพื่อเป นการเผย แพร ความเป นเอกลักษณ วิถีชีวิต สถาป ตยกรรมเรือนไทยโบราณ ให นักท องเที่ยวได มาชมความเป นความเป นตลาดเก าห อง
RIVAL คแ ูขง
LOCATION สถาทต่ีง้ั
BUDGET งบประมาณ
PROBLEM
พ.ศ. 2559
ปญ หา
พ.ศ. 2562
สมัยก อน
ป พ.ศ. 2559 ยังคงมีนักท องเที่ยวแวะเวียนเข ามาในตลาด และ วิถีชีวิตอันเรียบง ายของชาวบ าน
ป จจุบัน
ป พ.ศ. 2562 ตัวตตลาดป ดเงียบ นักท องเที่ยวไม มี คงเหลือไว แต โครงสร าง เรือนไม โบราณเก ากับชาว บ านบางส วนที่ยังคงอาศัยอยู ในชุมชนแห งนี้
1.2 วัตถุประสงค ของโครงการ OBJECTTIVES 1.2.1 พัฒนาชุมชนเก าโบราณ ตลาดเก าห อง ให เป นจุดท องเที่ยว 1.2.2 สร างกิจกรรมให เกิดรายได ในชุุมชน 1.2.3 คุณภาพชีวิต ผู คนในชุมชนมีชีวิตที่ดีขึ้น การค าขายที่เคยซบเซา ผู คนที่เคยบางตา จะกลับมาเป นชุมชนการค าเหมือนเดิม
1.3 ขอบเขตโครงการ PROJECT SCOPES
1.3.1 ออกแบบปรับปรุงอาคารเก า ของตลาดเก าห อง 1.3.2 ศีกษาการพัฒนาชุุมชน 1.3.3 ศีกษาการออกแบบพื้นที่ ความต องการ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับชุุมชน
1.4 ขันตอนและวิธีการดำเนินงาน AREA OF STUDY
1.4.1 ศึกษาหาข อมููลเกี่ยวกับชมชนตลาดเก าห อง 1.4.2 ศึกษาเกี่ยวกับอาคารเก าโบราณ 1.4.3 ศีกษาการออกแบบพื้นที่ ความต องการ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับชุุมชน 1.4.4 วิเคราะห ข อมูลเพื่อนำไปสู การหาแนวทางความคิด 1.4.5 การออกแบบที่เป นเหตุเป นผลกัน
1.5 ประโยชน ที่คาดว าจะได รับ EXPECTATIONS
1.5.1 เกิดรายได ในชุมชน 1.5.2 คุณภาพชีวิต ผู คนในชุมชนมีชีวิตที่ดีขึ้น การค าขายที่เคยซบเซา ผู คนที่เคยบางตา จะกลับมาเป นชุมชนการค าเหมือนเดิม 1.5.3 เกิดเป นแลนด มาร คใหม ในชุุมชน
03
ลมหายใจที่แผ วเบาของตลาดเก าห อง
KAO HONG
บทที่ 2 ข อมูลพืื้นฐานและรายละเอียดของโครงการ
04
บทที่ 2 ข อมูลพืื้นฐานและรายละเอียดของโครงการ 2.1 การวิเคราะห เพื่อเลือกอาคาร
ลักษณะอาคารจะต องเป นอาคารที่ไม ใหญ เกินไปเพื่อไม ให ทำลายทัศนียภาพของพื้นที่และเป นอาคารที่มี ความปลอดภัยตามมาตรฐานการอออกแบบ 2.1.1ข อพิจารณาในการเลือกอาคาร 2.1.1.1 อาคารแบ งเป นหลังๆ มีทางเดินเชื่อมกันทุกหลัง 2.1.1.2 อาคารดูโปร งโล งสบาย มีลักษณะเหมือนพื้นถิ่น มีความกลมกลืนกับธรรมชาติและสภาพ แวดล อม 2.1.1.3 รูปทรงเรียบง าย
แม น้ำท าจีน
อู เรือเก า
ศาลเจ าแม ทับทิม
AISLE ROOF ทางเข า
1.50 1.00
3.50
4.00
5.00
21.00
14.63
ELEVATION 01
26.00
15.00
ทางเข า
ELEVATION 02
ทางเข าตลาดบน ตลาดเก าห อง ตลาดบน ตลาดเก าห อง
HOMESTAY
ทางเข าตลาดบน ตลาดเก าห อง
แม น้ำท าจีน
*พื้นทีที่เลือกมาออกแบบ 2.2 กลุ มลูกค า
2.2.1 พฤติกรรม 2.2.1.1 พฤติกรรมผู รับบริการ ผู รับบริการ คือ แขกหรือลูกค าของโครงการแต ละคนก็มีประสบการณ ในชีวิตและลักษณะ ต างกันจึงเป นหน าที่ของผู ให บริการที่ต องสนองตอบความต องการของกลุ มผู รับบริการเหล านี้ 2 ประเภท ใหญ ๆ คือ ผู มาพักค างแรม และผู มาใช บริการรวม 2.2.2 กลุ มลูกค า 2.2.2.1 กลุ มวัยทำงาน 2.2.2.2 กลุ มวัยรุ น 2.2.2.3 ครอบคครัว
05
2.3 การวิเคราะห อาคารและสภาะแววล อม
ห องว าง 4 คูหา ลานหน าอูู เรือเก า อู เรืือเก า
E
5 4 1
2 3
พื้นที่ทั้งรวมทั้งหมดที่ออกแบบ 2850 ตารางเมตร
ถนนหลักมาจากกรุงเทพ ทางเข าด านหน าตลาดบน เก าห อง ทางเข าด านหน าตลาดกลาง เก าห อง ทางเข าด านข างตลาดบน เก าห อง ทางเข าริมแม น้ำ
06
ทางเข า 3
ห องว าง 4 คูหา
6.35 m 19.05 m
07 ลานหน าอูู เรือเก า
รายละเอียด และลักษณะทางกายภาพ เป นลานกว าง ปูด วยอิฐเก าสมัยโบราณ อยู ติดกับอู เรือเก า และหน าห องว าง ติดแม น้ำ เหมาะกับการทำเป นลานกิจกรรม อู เรืือเก า
4.00
21.00
รายละเอียด และลักษณะทางกายภาพ *เดิมเป นโกดังอู เรือเก า มีพื้นที่ 201.6 ตารางเมตร ด วยความที่เป นอู เรือ จึงอยู ติดน้ำ แต ป จจุบันไม ได มีการใช งานเป นโกดังร าง ด วยบริบทหลายอย าง เป นอีกจุดที่สามารถ ดึงผู คนมาใช งานได จึงเกิดไอเดียที่จะทำ FOOD COURT ศูนย รวมอาหารที่อร อยของ ชุมชนตลาดเก าห อง
08 21.0000
9.6000
PLAN FOODCOURT เก าห อง
E
รายละเอียด และลักษณะทางกายภาพ เป น ของตลาดเก าห อง มีพื้นที่ 3 คูหาแบบห องแถวโบราณ อยู บริเวณกลางตลาดบน ของตลาดเก าห อง
09
การพัฒนาชุมชนนั้นสิ่งสำคัญคือการคงอยู ของความเป นชุมชนและวิถีชีวิตของคนในชุมชน โดยการพัฒนาก็จะเกิดประโยชน ต อทั้งสมาชิกในชุมชนและนักท องเที่ยวด วยและสิ่งที่จะทำให ชุมชน ที่เป นแหล งท องเที่ยวพัฒนาขึ้นก็คือการมีสิ่งที่น าสนใจและมีเอกลักษณ เป นตัวของตัวเอง
up
PLAN พิพิธภัณฑ เก าห อง
CASE STUDY
10
2.4 กรณีศึกษา
2.4.1 ทางเดินเข าตัวตลาด
A
DESIGN ทางเดินเข าตัวตลาด และ AISLE ROOF เป นแนว STREET ART
REFERECT ภาพตัวอย าง STREET ART ที่จะเกิดขึ้นใน SITE จะเป นภาพที่สื่อถึงชุมชนตลาดโบราณ
CASE STUDY
สตรีทอาร ต ถ.ถวาย ท าฉลอม TAWAI STREET ART จังหวัดสมุทรสาคร ลงนามความร วมมือกับ ม.รังสิต – พระจอมเกล าลาดกระบัง โครงการ “ถวาย Street Art ทุกบ านคือสีสัน” เสริมศักยภาพการท องเที่ยวชุมชนท าฉลอม เล าเรื่อง ราวท องถิ่นบนกำแพง 9 แห ง ฝาท อระบายน้ำ 50 ฝา และองค ประกอบอื่น ตลอดเส นทาง ถ.ถวาย เป นกิจกรรมหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการนำผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะตลาดมหาชัย และผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะชุมชน ท าฉลอม จ.สมุทรสาคร เพื่อส งเสริมการท องเที่ยวชุมชน ซึ่งดำเนินการวางและจัดทำผังโดยกองผังเมือง เฉพาะ กรมโยธาธิการและผังเมือง ไปสู การปฏิบัติจริงโดยจังหวัดสมุทรสาคร โครงการนี้อยู ภายใต แผน พัฒนาโครงการพัฒนาเส นทางเชื่องโยงการท องเที่ยว (สถานีรถไฟบ านแหลม-ท าเรือท าฉลอม) และโครงการ พัฒนาและส งเสริมการท องเที่ยวชุมชนท าฉลอม (ชุมชนสุขาภิบาลแห งแรก) ของผังพัฒนาพื้นที่เฉพาะ
11 2.4.2 CAFE & HOMESTAY
CASE STUDY
ชั้น 1 เป ดเป นร าน CAFE อยู ติดริมคลอง บรรยากาศดี ลมเย็นตลอดทั้งวันพร อมทั้ง เสียงเรือที่ใช เป นยานพาหนะ เสียงน้ำเซาะเขื่อน ชั้น 2 เป ดเป นที่พัก GUESTHOUSE ให อารมณ บ านเก า วัสดุ TEXTURE เป นไม เก า + FURNITUREเก า
ชั้น 2 ออกแบบเป น ที่พ
ัก HOMESTAY
ชั้น 1 ออกแบบเป น CAFE 9 ห อง
12 2.4.3 FOOD COURT 9 ห อง
*เดิมเป นโกดังอู เรือเก า มีพื้นที่ 201.6 ตารางเมตร ด วยความที่เป นอู เรือ จึงอยู ติดน้ำ แต ป จจุบันไม ได มีการใช งานเป นโกดังร าง ด วยบริบทหลายอย าง เป นอีกจุดที่สามารถ ดึงผู คนมาใช งานได จึงเกิดไอเดียที่จะทำ FOOD COURT ศูนย รวมอาหารที่อร อยของ ชุมชนตลาดเก าห อง
*MOOD IMAGE
13 2.4.3 FOOD COURT 9 ห อง
CASE STUDY
ห องโถงเหล็กสีขาวและกระจกเงาก อตัวเป นพิพิธภัณฑ โมเดลสถาป ตยกรรมแนวไซไฟในประเทศจีน Wutopia Lab ใช ท อเหล็กสีขาวมากกว า 5,000 ท อเพื่อสร างโครงสร างของ The Red Redoubt พิพิธภัณฑ แห งแรกของจีนสำหรับรูปแบบสถาป ตยกรรมทางเดินเหล็กเชื่อมต อห องที่เรียงรายไปด วยเสาสีขาวบาง ๆ โดยที่รุ นจะแสดงบนชั้นวางสีขาวลอยในระดับที่แตกต างกัน
บทที่ 3 หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ศึกษา
14
บทที่ 3 หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ศึกษา 3.1 คำจำกัดความ
ท องเที่ยวชุมชน อีกหนึ่งรูปแบบการท องเที่ยวที่กำลังได รับความนิยมอยู ในขณะนี้ เพราะนอกจากจะได ไปเรียนรู วิถีชีวิตชุมชนที่เรียบฃ ง ายมีเอกลักษณ เฉพาะชุมชนนั้น ได สัมผัสรอยยิ้มและการต อนรับที่แสนอบอุ นแล ว พื้นที่ตั้งของชุมชมแต ละแห งส วนใหญ ยังมีความ สมบูรณ ของทรัพยากรธรรมชาติ อากาศบริสุทธิ์ เมื่อได มาเที่ยวเหมือนได รับการชาร ตพลังไปในตัว อีกทั้งการมาท องเที่ยวชุมชน สามารถช วยกระจายรายได ไปสู ชุมชน ทำให สามารถเลี้ยงตัวเองได แบบยั่งยืน เราได คัดสรร 20 ชุมชนน าเที่ยว เผื่อไว ให ทุกคนมา พักผ อนท ามกลางธรรมชาติที่สวยงาม
3.2 การrenovation
ป จจุบันเทรนด การรีโนเวทบ านกำลังได รับความนิยมกันมากขึ้น เนื่องจากสามารถทำให ประหยัดค าใช จ ายได มากขึ้น ก อนอื่นเรามารู จักกันก อนว า Renovate บ าน คืออะไร Renovate(รีโนเวท) ในภาษาอังกฤษ แปลว า ทำใหม ซ อมแซม ปรับปรุง ทำให มีชีวิตชีวาใหม หรือทำให กลับสู สภาพเดิม ดังนั้น การรีโนเวทบ าน ก็คงจะหมายถึง การซ อมแซม ต อเติม และปรับปรุงบ านให กลับมามีชีวิตชีวาใหม นั่นเอง
3.3 BRANNDING
แบรนด ดิ้ง คือ วิธีการที่คุณทำเพื่อสร างภาพลักษณ ของบริษัทออกไปสู สายตาของผู บริโภค ไม ว าจะเป นการสร างเว็บไซต การออกแบบโฆษณา การเลือกสีเฉพาะตัวที่สื่อถึงตัวองค กร โลโก หรือการใช งานโซเชียลมีเดีย จุดประสงค ของแบรนด ดิ้ง การทำแบรนด ดิ้งจุดประสงค หลักก็เพื่อให ลูกค าเข าใจได ง ายขึ้นว าบริษัทของคุณต องการนำเสนออะไร และมีความแตกต างจากบริษัทอื่นอย างไร ซึ่งก็ขึ้นอยู กับวิธีการสื่อสารที่คุณนำเสนอออกไป เช น บรรยากาศและสภาพแวดล อมของร านค า การบริการของพนักงานภายในร าน เครื่องแบบ พนักงาน การโฆษณา การประชาสัมพันธ เป นต น
15
CONCEPT F O O D
C O N T E X T
การเอาตัวเองเข าไปอยู ในบริบทของท องถิ่น ตลาดเก าห อง มีอาหารที่อร อย วัตถุุดดิบที่หลากหลาย จึงอยากจะนำของ ดีของชุมชน มาใช เป นดึงให นักท องเที่ยวและคนในชุมชนเอง ได จับจ ายใช สอย
บทที่ 4
ผลงานการออกแบบ
16
4.1แนวคิดในการออกแบบ K E Y W O R D
LIFESTYLE วิถีชีวิต
PEACEFUL ความเงียบสงบ
FOOD อาหาร CULTURE วัฒนธรรม
SMILE รอยยิ้ม
C O N C E P T F O O D C O N T E X T
DESIGN MAIN POINT ลานกิจกรรม จุดบริการ
FOODCOURT ตลาดเก าห อง
KAO HONG OLD MARKET H O M E S T A Y & C O N T E X T
MUSEUMเก าห อง
DESIGN CAFE & HOMESTAY
17
18
4.2 พื้นที่ DESIGN
E
A
DESIGN ทางเดินเข าตัวตลาด และ AISLE ROOF เป นแนว STREET ART
แผงร านขายของแบบช่ัวคราว *เป ดเฉพาะ ศุุกร เสาร อาทิตย ทางไปจุดท องเที่ยว
CONCEPT : FOODCONTEXT
ตลาดเก าห อง มีอาหารที่อร อย วัตถุุดดิบที่หลากหลาย จึงอยากจะนำของ ดีของชุมชน มาไว ทางเข า-ออก เพื่อให นักท องเที่ยวและคนในชุมชนเอง ได จับจ ายใช สอย
6.35 m 19.05 m
B DESIGN CAFE และ ที่พัก HOMESTAY
THEN
4.4 19
NOW
B DESIGN CAFE และ ที่พัก HOMESTAY up
up
DOWN
DOWN
SERIAL
SERIAL
PLAN CAFE & HOMESTAY
20
21
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
1 FLOOR CAFE KAO HONG
22
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
1 FLOOR CAFE KAO HONG
23
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
1 FLOOR CAFE KAO HONG
24
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
1 FLOOR CAFE KAO HONG
25
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
2 FLOOR HOMESTAY KAO HONG SERIAL
SERIAL
26
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
SERIAL
SERIAL
2 FLOOR HOMESTAY KAO HONG
27
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
SERIAL
2 FLOOR HOMESTAY KAO HONG
SERIAL
28
๙
ตลาดเก าห อง ป ายบอกทาง MINI MARKET ๙
ตลาดเก าห อง
บริการสามล อ
บริการเช าจักรยาน
29
21.00
D FOOD COURT 9 ห อง
4.00
THEN
NOW
UP
21.0000
PLAN FOODCOURT เก าห อง
9.6000
30
31
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
PERSPECTIVE ส วน FOODCOURT เก าห อง
32
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
21.0000
FOODCOURT เก าห อง
UP
9.6000
33
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
21.0000
UP
9.6000
FOODCOURT เก าห อง
34
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
21.0000
FOODCOURT เก าห อง
UP
9.6000
35
E
36
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
MUSEUMเก าห อง
up
37
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
up
MUSEUMเก าห อง
38
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
MUSEUMเก าห อง
up
39
ทางเข า
แม น้ำท าจีน
ทางเข าตลาดบน ตลาดเก าห อง
ตลาดบน ตลาดเก าห อง
5.00
21.00
FOODCOURT
MUSEUMเก าห อง
14.63
ศาลเจ าแม ทับทิม
CAFE & HOMESTAY
26.00
ทางเข าตลาดบน ตลาดเก าห อง
AISLE ROOF
3.50
1.00
แม น้ำท าจีน
ELEVATION 02
ELEVATION 01 15.00
ทางเข า
40
41
MATERIAL & FUNITUER
MATERIAL
FUNNITUER
42
หมู 2 า 99 ปลาม ลบาง 58-6408 บ ำ ต 5 3 ล ศบา 7427, 0ู : เท ที่อย 0-3558: โทร
ม
งปลา
ต.บา
M
A
P
T
KAO
KE D MARUSE G OLGUEST HO HOHONME STAY &
T ARKE LD MHOUSE NME GSTAYO& GUEST O H AO HO
K
ONG
H KAO
CECORATE ตลาดเก าห อง
KAO
T ARKE LD MHOUSE NGSTAYO& GUEST O H ME AO HO
K
KAO HONG O
T ARKE LD TMHOUSE H
K
T ARKE
KAO
D MOUSE G OLGUEST H HOHONME STAY &
HOME
& STAY
GUES
KAO
HONG
ลาม
หมู 2 ม า 99 างปลา 8 ำบลบ 8-640 บาลต 7, 0-355 : เทศ 742 ที่อยู 0-3558: โทร
ต.บางป
ET MARK OLGUDEST HOUSE HHOOMENGSTAY &
43
อาทติย
จนัทร
องัคาร
พธุ
พฤหสับดี
ศกุร
เสาร
*วนัหยดุนกัขตัฤกษ
TARGET GROUP
TEENS AND WORKING GROUP
บทที่ 5
บทสรุปและข อเสนอแนะ
44
บทที่ 5
บทสรุปและข อเสนอแนะ
KAO HONG OLD MARKET
H O M E S T A Y & C O N T E X T
บทสรุปและข อเสนอแนะ การออกแบบครั้งนี้ ไม ได ทำเพื่อดึงนักท องเที่ยวกลับมาอย างเดียว แต การออกแบบครั้งนี้ จะทำให ผู คนในชุมชน กลับมามีชีวิตชีวา มีรายได เพิ่มเข ามา ไม มากก็น อย และยังทำให สถานที่โบราณแห ง นี้ กลับมาคึกคักเหมือนแต ก อน ตลาดเก าห อง 100 ป จากการดำเนินงานรวบรวมข อมูลสร างเอกสารข อจัดทำแบบเสนอโครงการออกแบบ 100-year-old Kao Hong community development project นั้น ผู จัดทำ โครงการได ปรึกษาอาจารย ที่ปรึกษา สรุปผลจากการดำเนินการเสนอโครงการ ตามการพิจารณาตามความคิดเห็นดังต อไปนี้ การออกแบบภายใน 100-year-old Kao Hong community development project ทำให ชุมชนตลาดเก าห องกับมามีชีวิตอีกครั้ง ผู คนในชุมชนได มีส วนร วมในการพัฒนาชุมชน และการตกแต งภายในอาคารที่คงความเป นชุมชน การใช สิ่งของที่มีในชุมชน การตกแต งให ได กลิ่นอายความโบราณของตลาดที่มีอายุกว า 100 ป นอกจากนี้การพัฒนา ก็ยังสร างอาชีพให คนในขุมชนได มากขึ้น จากการค าขายที่ซบเซาจะกลายเป นดีขึ้น ไม ว าจะเป น ผู คนหรือสถานที่ จะมีการพัฒนาที่ดีขึ้น แต คงเอกลักษณ ความเป นตลาดเก าห อง
45
RESERCH REFERENCES https://talk.mthai.com/pr/461942.html https://www.paiduaykan.com/travel/เที่ยวชุมชน https://www.ceochannels.com/what-is-branding/ https://www.checkinchill.com/content/ http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/152910.pdf https://www.facebook.com/baanlaesuanmag/?epa=SEARCH_BOX https://www.facebook.com/baanlaesuanmag/photos/pcb. https://www.google.com UPLAY UBISOFT
46
Wongsakorn Phochot wongsakon64@gmail.com TEL : 099-5011507
EDUCATION
2016 - now
Date of birth : 11 December 1997
DEPARTMENT OF INTERIOR college of design , Rangsit university
MOTTO interior design and architectural detailing. I need more experience to walk and travel in world of design and architecture
SKILL
Adobe photoshop Adobe Illustrator AutoCAD Sketchup