ERGONMICS CO - WORKPLACE BOOK

Page 1

CO - WORKPLACE THESIS BOOK

THATTI KHAMKHEAW

THANK YOU



ชื่อโครงการ

โครงการศึกษาโรคออฟฟศซินโดรมและโรคอาคารสำนักงาน เพื่อการออกแบบ CO - WORKPLACE ตามหลัก ERGONOMICS และเวชศาสตรฟนฟูเพื่อการรักษาอยางยั่งยืน ERGONOMICS CO - WORKPLACE

ประเภทของงานศิลปนิพนธ

ประเภทงานออกแบบตกแตงภายใน (Interior Design)

ผูดำเนินโครงงานศิลปนิพนธ

นายทัชติ ขำเขียว รหัส 5905821 นักศึกษาชั้นปที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ

อาจารยวริศว สินสืบผล


APPROVAL SHEET - กรรมการอนุมัติ -

สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปนิพนธฉบับนี้เปน สวนหนึง ่ ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน

............................................................ คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน)


คณะกรรมการศิลปนิพนธ

............................................................ ประธานกรรมการ (อาจารยวริศน สินสืบผล)

............................................................ กรรมการ (อาจารยเกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล)

............................................................ กรรมการ (อาจารยวิรุจน ไทยแชม)

............................................................ กรรมการ (อาจารยถวัลย วงษสวรรค)

............................................................ กรรมการ (อาจารยอรรถกฤษณ อุทัยกาญจน) ............................................................ กรรมการ (อาจารยวริศน สินสืบผล)

............................................................ กรรมการ (อาจารยบัณฑิต เนียมทรัพย)

............................................................ กรรมการ (อาจารยเรวัฒน ชำนาญ)

............................................................ กรรมการ (อาจารยณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน)

............................................................ กรรมการ (อาจารยไพลิน โภคทวี)

อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ

............................................................ (อาจารยวริศน สินสืบผล)


ปจจุบัน พนักงานทีตางทั้งในรูปแบบของพนักงานออฟฟศและ ผูปฏิบต ั ง ิ านตาง ๆ กวารอยละ 60 ประสบปญหากับอาการผิดปกติโครงรางกลาม เนือ ้ จากการทํางานโดยลักษณะ อาการทีพ ่ บสวนใหญคือ ปวดหลังเรือ ้ รัง ปวดศรีษะ และอาการอักเสบของเสนประสาท ซึ่งเกิดจากการกดทับของขอมือ เปนผลมาจาก การทำงาน การใชคอมพิวเตอรติดตอกันเปนระยะเวลานานถึงวันละ 7 ชัว่ โมง การมี สภาวะเครียดและมีพฤติกรรมการนั่งที่ไมถูกตองตามหลักการยศาสตรโครงการนี้ จึงเริม ่ ตนจากการอยากลดอัตราเสีย ่ งในเหลานีใ้ หกับผูทีท ่ ำงานในอาคารสำนักงาน ตาง ๆ ในปจจุบัน จากการรวมรวมและศึกษาขอมูลตาง ๆ ทั้งเรื่องโรคและภาวะ ตาง ๆ ที่เกิดกับผูใชอาคารสำนักงานไดแก ออฟฟศซินโดรม , คอมพิวเตอรวิชชั่น ซินโดรม , กลุมอาการเหตุผูปาวอาคารและภาวะลิ่มเลือดอุดตัน โดยอาการเหลานี้ ปจจัยหลักของการเกิดภาวะตาง ๆ เกิดขึ้นจากการที่ผูปฏิบัติงานอยูในสภาวะแวด ลอมละทานั่งเดิม ๆ ในระยะเวลาะที่เกินกวารางกายควรที่จะแบกรับไวพอดี และมีพฤ - ติกรรมการนั่งที่ไปถูกตองตามหลักการยศาสตร ดวยอาการเหลานี้ที่ขาพเจาไดศึกษาและหาขอมูลมา ขาพเจาได ทำการหาหลักการและทฤษฎีวิธีการตาง ๆ ที่จะมาชวยในการออกพื​ืนนพื้นที่ที่รอง รับคนเหลานี้ ที่ชวยลดความเสี่ยงและไมกอปญหาทางดานสุขภาพตามมาอีก คือ การออกแบบพืน ้ื ทีใ่ หสอดคลองกับหลัการยศาสตร และมีพน ้ื ทีใ่ หคนไดบำบัดตัวจาก การทำงานดวยหลักเวชศาสตรฟนฟู ทีอ ่ ยูใยสภาพแวดลอมทีส ่ บ ั สนุนดวยการออก แบบทีน ่ ำหลักการของกฎกระทรวงทีว่ าดวยการกําหนดมาตรฐานในการบริหารและ การจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานเกีย ่ ว กับความรอน แสงสวาง และเสียง โดยวิธีการตาง ๆ ที่ขาพเจาศึกษามาดวยการแตกจากทฤษฎีสู การออกแบบใหเปนในรูปแบบของพืน ้ ทีต ่ าง ๆ เพือ ่ แทรกซึมเพือ ่ เปลีย ่ แปลงพฤติกรรม การใชพืน ้ ทีต ่ าง ๆ โดยทีผ ่ ใชอาจจะไมทั ู นสังเกตุ ไมวาจะเปนการออกแบบแทรกทาง ลาดชันในพืน ้ ที่ เพือ ่ ใหเกิดการบริหารรางกาย การออกแบบพืน ้ ทีใ่ หผูใชไดยืดกลาม เนือ ้ ในรูปแบบของการออกแบบชัน ้ วางหนังสือทีต ่ องมีการเอือ ้ มหรือนัง ่ ยอเพือ ่ หยิบ หนังสือ การสรางบันไดที่มีขั้นแตละขั้นตางไปจากปกติ ลูกตั้งที่สูงขึ้น และเพื่อไมให เสียพื้นที่ไปโดยปลาวประโยชน ขาพเจาไดออกแบบพื​ื้นที่นั่งที่หลากหลายบนบันได เพื่อเปนการเชื่อมพื้นที่ระหวางชั้นบนละชั้นลาง และเปนพื้นที่ใหผูคนมาพบปะแลก เปลี่ยนความซึ่งคิดกันและกัน

ABSTRACT

ABSTR - บทค


RACT คัทยอ -

Currently, more than 60% of the employees, in the form of office workers and various workers, experience problems with abnormal muscular structure from work. The most common symptoms are chronic back pain, headache, and nerve inflammation. Which is caused by the pressing of the wrist As a result of working, using computers for a continuous period of up to 7 hours a day, having stress conditions and incorrect sitting behavior according to ergonomics This project, started with wanting to reduce these risk rates for those currently working in various office buildings. From the collection and study of various diseases and conditions that occur with office building users. Including Office Syndrome, Computer Vision Syndrome, Building Syndrome, and Thromboembolic Syndrome By these symptoms, The main factor of the occurrence of various conditions is due to the operator in the environment in the same sitting position at a distance that is beyond the body should be fit And has a sitting behavior that is correct according to ergonomics. With these symptoms that I have studied and researched, I have sought out the principles and theories of various methods. That will come to help in the area that supports these people, Which reduces the risk and does not cause further health problems are designing the area following ergonomics. There is a space for people to heal from work through rehabilitation medicine That is in an environment that is supported by a design that incorporates the principles of the Ministerial Regulations on the Establishment of Safety Administration and Management Standards Occupational health and working environment related to heat. Light and sound. With these symptoms that I have studied and researched, I have sought out the principles and theories of various methods. That will come to help in the area that supports these people, Which reduces the risk and does not cause further health problems are designing the area following ergonomics. There is a space for people to heal from work through rehabilitation medicine That is in an environment that is supported by a design that incorporates the principles of the Ministerial Regulations on the Establishment of Safety Administration and Management Standards Occupational health and working environment related to heat. Light and sound.


ค

ACKNOWLEDEGE


ACKNOWLEDGEMENTS - กิตติกรรมประกาศ ผลงานศิลปนิพนธโครงการโครงการศึกษาโรคออฟฟศซินโดรมและโรคอาคารสำนักงานเพื่อการออก แบบ CO - WORKPLACE นัน ้ สำเร็จไดดวยบุพการีทช ่ี วยสนับสนุนทุนทรัพยในการเลาเรียน คำชืน ่ ชมกับความเชือ ่ มัน ่ ในบุตร คนนีว้ าสามารถทำทุกสิง ่ ทุกอยางไดลุลวงดวยตวเอง รวมถึงแรงกดดันบางอยางทีใ่ หโดยทีพ ่ วกทานเองไมทันไดสังเกตุมา ทำใหกระตุนตัวขาพเจาตั้งใจที่จะเรียนในจบดวยผลการเรียนที่นาพึงพอใจ และผลงานที่ขาพเจาทำมันอยางเต็มที่ และไดรับ ทั้งคำติและชมจากคนรอบขางที่ขาพเจาวยินดีรับไว ขอขอบพระคุณไวใน ณ ที่นี้ดวย ขอขอบพระคุณคณะอาจารยสาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบทุกทาน ทีค ่ อยใหคำปรึกษา และแนะนำทั้งในเรื่องของการใชชีวิตและการเรียนวิธีการในการพัฒนาตัวโครงการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นจนสำเร็จไปได ดวยดี ขอบคุณอาจารยแทนที่เห็นสักภาพบางอยางในตัวขาพเจาในเวลาที่ขาพเจาศึกษาอยูในชั้นปที่ 1 ซึ่งเปนอีกหนึ่งแรง ผลักดันและความเชือ ่ มัน ่ ในตัวของขาพเจา จากคนทีไ่ มมีพน ้ื ฐานใดๆ ในดานสาขาวิชานีเ้ ลย จนสงผลในขาพเจาเชือ ่ ในตัวเอง วาจะสามารถศึกษาในวิชาชีพนี้ตอไปได แตยังไมใชแคเพียงในงานของขาพเจาแตรวมไปถึงสักภาพบางอยางในตัวของนัก ศึกษาทุกคน ขอบคุณอาจารยโตงกับคำพูดที่วา “เธอจะเปนเปนนักออกแบบที่ดีไดในอนาคต” ที่อาจารยพูดกับขาพเจาใน วิชา Design 2 ในโปรเจ็ค Foyer and Living ซึ่งเปนคำพูดที่สรางแรงบนนดาลใจในการเรียนเปนอยางมากในการเรียน และเปนคำพูดที่ขาพเจาจำมาจนถึงปจจุบันนี้และขอบคุณคำติชมตาง ๆ ในงานของขาพเจาที่อาจารยโตงจะเปนคนหนึ่ง เสมอที่เห็นจุดดีตาง ๆ ในตัวของขาพเจา ขอบคุณอาจารยกอลฟ อาจารยที่ปรึกษาประจำวิชา Design 3 คำติชมตาง ๆ ที่ไดอรรถรถและคอยใหคำปกษาในวิชาเรียน และแนะนำสิ่งตาง ๆ ที่เกี​ี่ยวของกับงานที่ทำ เพื่อประโยชนในผลงาน ขอบคุณ ที่อาจารยทำใหขาพเจาหันกลับมาอานหนังสือมากขึ้น เพื่อที่จะมี​ีความรูสั่งสมมากขึ้นขาพเขาหวังวาในอนาคต ขาพเจาและ อาจารยกอลฟจะมีมิตรภาพที่ดีตอกัน กลับมาเลาเรื่องอดีตสมัยเรียนและแผนการในสายงานและชีวิตในอนาคต ขอขอบพระคุณอาจารยวริศน สินสืบผล หรืออาจารยโปง อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธที่คอยใหคำแนะ นำและคำปรึกษาตั้งแตกอนเลือกหัวขอศิลปนิพนท จนถึงวันนี้ขาพเจาเขียนกิตติกรรมประกาศนี้ ขอบคุณที่ไมคอยปดกั้น ความคิดและคอยประคองความคิดไมใหออกนอกลูนอกทาง ขอขอบคุณเพือ ่ นทุกคนทีอ ่ ยูรวมกันมาตัง ้ แตชัน ้ ปีท่ี 1 กลุมเพือ ่ นทีแ่ ตละคนมีเอกลักษทางความคิด บุค - ลิกที่แตกตาง ขอบคุณที่ทำใหขาพเจาเคารพและยอมรับความแตกตางนี้ดวยความเต็มใจ เติมเต็มความแตกตางและยอม รับขอเสียบางอยางของแตละคนนั้นใหแปลงเปนความสุขและอารมณที่หลากหลายที่ขาพเจาคิดวาอาจจะไมไดรับจากใครที่ ไหนไดอีก ขอบคุณตั้งแตวันแรกที่รูจักกันจนถึงปจจุบันที่คอยเสนอแนะ และแลกเปลี่ยนความคิดตาง ๆ ใหกันและกัน คอย ชวยเหลือและสนับสนุนกันและกันในรูปแบบของแตละคนที่ตัวเองสะดวก ขอบคุณที่นั่งรวมทำงานดวยกันในชวงทำศิลปะ นิพนท และกอนหนานี้แทบทุกชวงชิวตมหาลัยนี้ ขอบคุณที่ใหสุขภาพจิตที่ดีในชวงชีวิตมหาลัย ขอบคุณเหลารุนพี่และรุนนองทุกคนที่คอยเปนทีปรึกษาและที่พึ่งในหลาย ๆ อยางไมวาจะเปนพีนุก และ พีก ่ านทีค ่ อยถามไถแทบทุกครัง ้ หลังจากการนำเสนองาน คอยใหคำปรึกษาและรับฟงปญหาของขาพเจา ขอขอบคุณรุนนอง ทุกคนที่คอยสนับสนุนทุกขั้นตอนการทำศิลปนิพนทชิ้นนี้ และสุดทายนี้ ขอขอบคุณตัวเองที่พัฒนาสักภาพภาพตัวเองในสายงานนี้มาเรื่อย ๆ ตั้งแตป 1 จนถึง ปจจุบัน จากคนที่ไมมีพื้นฐานใด ๆ จนลงมือทำศิลปนิพนทชิ้นนี้จนจบ สำเร็จลุลวงตามเปาหมาย แตจะมีเพียงสิ่งหนึ่งที่ไม ประสบความสำเร็จจากการทำศิลปนิพนทเรื่อง โรคออฟฟศซินโดรมคือ ตัวขาพเจานั้นไดมีอาการออฟฟศซินโดรมเปนที่ เรียบรอยแลว ขาพเจาตองขอโทษตัวเองและทุกทานที่กลาวมากอนหนานี้ดวย

ขอบคุณครับ ทัชติ ขำเขียว


จ

TABLE OF CONTENTS


TABLE OF CONTENTS - สารบัญ -

CHAPTERS

PAGE

ABSTRACT (TH) (บทคัทยอ ภาษาไทย)

ABSTRACT (ENG) (บทคัทยอ ภาษาอังกฤษ)

ACKNOWLEDGEMENTS (กิตติกรรมประกาศ)

TABLE OF CONTENTS (สารบัญ)

LIST OF ILLUSTRATIONS (สารบัญภาพ)

CHAPTER 1 (บทนำ)

00

CHAPTER 2 (ขอมูลพื้นฐานและรายละเอียดประกอบโครงการ)

00

CHAPTER 3 (หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ศึกษา)

00

CHAPTER 4 (ผลงานการออกแบบ)

00

CHAPTER 5 (บทสรุป)

00

บรรณานุกรม

00

ภาคผนวก

00

ประวัติ

00


LIST OF ILLUSTRATIONS - สารบัญภาพ ILLUSTRATIONS

PAGE

รูปภาพที่ 2.1 : อิริยาบถในการนั่งทางานที่ไมเหมาะสม

20

รูปภาพที่ 2.2 : การนั่งหลังคอม สงผลตอการเกิดแรงกดที่มากขึ้นบริเวณหมอนรองกระดูก

20

รูปภาพที่ 2.3 : ทายืนที่เหมาะสมและทายืนที่ผิดหลักสรีระ

20

รูปภาพที่ 2.4 : การจัดวางองคประกอบแสงไฟและคอมพิวเตอรที่เหมาะสม

24

รูปภาพที่ 2.5 : ลักษณะทาทางท่ีเหมาะสมในขณะใชคอมพิวเตอร

24

รูปภาพที่ 2.6 : การประเมิน ROSA

34

รูปภาพที่ 2.7 : วิธีการประเมิน REBA

35

รูปภาพที่ 2.8 : วิธีการประเมิน RULA

36

รูปภาพที่ 2.9 : TK PARK

60

รูปภาพที่ 2.10 : CASE STUDY BVN

66

รูปภาพที่ 4.1 : RECEPTION

91

รูปภาพที่ 4.2 : ENTRANCE

94

รูปภาพที่ 4.3 : WAITING AREA

95

รูปภาพที่ 4.4 : TOP VIEW

98

รูปภาพที่ 4.5 : RELAX AREA 2

101

รูปภาพที่ 4.6 : RELAX AREA 2

104

รูปภาพที่ 4.7 : KNOWLEADGE AREA 1

108

รูปภาพที่ 4.8 : KNOWLEADGE AREA 2

109

LIST OF ILLUSTRATIONNS


ILLUSTRATIONS

PAGE

รูปภาพที่ 4.9 : KNOWLEADGE AREA 3

110

รูปภาพที่ 4.10 : KNOWLEADGE AREA 4

111

รูปภาพที่ 4.11 : KNOWLEADGE AREA 5

112

รูปภาพที่ 4.12 : WORK STATION

113

รูปภาพที่ 4.13 : RELAX WORK STATION 1

116

รูปภาพที่ 4.14 : RELAX WORK STATION 2

117

รูปภาพที่ 4.15 : RELAX WORK STATION 3

118

รูปภาพที่ 4.16 : LAMP STAIR TYPE 1

121

รูปภาพที่ 4.17 : STAIR SEATING TYPE 2

124

รูปภาพที่ 4.18 : LAMP STAIR TYPE 1

126

รูปภาพที่ 4.19 : SUPPORT AREA

132

รูปภาพที่ 4.20 : WORKPLACE AREA

133

รูปภาพที่ 4.21 : WORKPLACE AREA 2

135

รูปภาพที่ 4.22 : SUPPORT AREA

140

รูปภาพที่ 4.23 : MEETING ROOMS

141

รูปภาพที่ 4.24 : OFFICE SUIT

142

รูปภาพที่ 4.25 : DEDICATE ZONE 1

145

รูปภาพที่ 4.26 : DEDICATE ZONE 2

146

รูปภาพที่ 4.27 : PANTRY

149

รูปภาพที่ 4.28 : PLAYGROUND

151

รูปภาพที่ 4.29 : COPRORATE IDENTITY

158



CHAPTER 1 INTRODUCTION

PROJECT BACKGROUNND OBJECTIVE EXPECTATION AREA OF STUDY RESEARCH SCHEDLE


03

CHAPTER 1


04

ในประเทศไทย สานักงานสถิตแิ หงชาติ ไดมีการสารวจเกี่ยวกับจานวนผูที่มีอาการโรค คอมพิวเตอรซินโดรมของผูปฏิบต ั ง ิ านภายในสำ

PROJECT BACKGROUND

นักพิมพแหงหนึง ่ ในป 2553 พบวา มีผปฏิ ู บต ั ง ิ าน ถึงรอยละ 60 จากจานวนกลุมตัวอยางทัง ้ หมด 400 คน มีอาการโรคคอมพิวเตอรซินโดรม โดย ลักษณะ อาการทีพ ่ บสวนใหญคือ ปวดหลังเรือ ้ รัง ปวดศรีษะ และอาการอักเสบของเสนประสาท ซึง ่ เกิดจากการกดทับของขอมือ เปนผลมาจากการ ทำงาน การใชคอมพิวเตอรติดตอกันเปนระยะเวลา นานถึงวันละ 7 ชัว่ โมง การมีสภาวะเครียดและมี พฤติกรรมการนัง่ ทีไ่ มถูกตองตามหลักการยศาสตร (Ergonomics) นอกจากนี้ 10% ของผูปฏิบัติงานใน

ดวยปญหาและผลกระทบที่กลาวมา

เมือง มีแนวโนมการเปนโรคคอมพิวเตอรซินโดรม

ทั้งหมดนี้ และปญหาบางอยางที่เกี่ยวกับโรค

เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสรางใหเกิดความสูญเสียทาง

ที่เกิดจากผูใชอาคารสำนักงาน ไดเกิดขึ้นเอง

เศรษฐกิจ มากถึง1.1 แสนลานบาทตอปคิดเปน

กับตัวของขาพเจาดวย จึงทำใหขาวเจาสนใจ

มูลคาการสูญเสียมากถึง 38,820 บาทตอปตอ

ที่จะศึกษา และแกปญหาเกี่ยวกับโรคและภาวะ

คน โดยวัดจากจานวนผูปวยนอกทีร่ ก ั ษาอาการ

ตางๆเหลานี้

เกี่ยวกับโครงรางกลามเนื้อ (Work-Related Musculoskeletal Disorders, WMSDs) ซึง ่ เปน ชือ ่ เรียกรวมของอาการของผูที่ ปฏิบต ั ง ิ าน ทีม ่ ี การเคลือ ่ นไหวในอิรย ิ าบถเดิมติดตอกันเปนระยะ เวลานาน เชน การทางานหนา คอมพิวเตอร การ ยืนตอนรับ ซึง ่ ลักษณะอาการของโรคกลุมนี้ สวน หนึ่งเปนผลมาจากโรคคอมพิวเตอรซินโดรม


OBJECTIVE 1.

เพื่อศึกษาพฤติกรรม และอริยาบทตางๆของพนักงาน ผูใชอาคารสำนักงานที่สงผลกระทบตอโรคออฟฟศซิน โดรมและโรคที ่ เ กิ ด กั บ ผู ใชอาคารสำนั ก งานอยางไร

2.

เพื่อศึกษาวิธีการหรือศาตรการรักษาอาการโรคออฟ ฟศซิ น โดรมและโรคที ่ เ กิ ด กั บ ผู ใชอาคารสำนั ก งาน

3.

เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับโรคออฟฟศซินโดรม และโรคที่เกิดกับผูใชอาคารสำนักงาน เพื่อการจัดสรร พื้นที่ภายในสำนักงาน

05

CHAPTER 1


06

EXPECTATION 1.

พฤติกรรม และอริยาบทตางๆของพนักงานผูใชอาคาร สำนักงานทีส ่ งผลกระทบตอโรคออฟฟศซินโดรมและโรค ที่เกิดกับผูใชอาคารสำนักงานอยางไร

2.

วิธีการหรือศาตรการรักษาอาการโรคออฟฟศซินโดรม และโรคทีเ่ กิดกับผูใชอาคารสำนักงาน

3.

ขอมูลพืน ้ ฐานเกีย ่ วกับโรคออฟฟศซินโดรมและโรคทีเ่ กิด กับผูใชอาคารสำนักงาน เพือ ่ การจัดสรรพืน ้ ทีภ ่ ายในสำ นักงาน


07

CHAPTER 1


AREA OF STUDY

08

-

ศึ ก ษาพฟติ ก รรมการทำงานของพนั ก งานผู ใชอาคารสำนั ก งาน

-

ศึ ก ษาโรคออฟฟศซิ น โดรมและโรคที ่ เ กิ ด กั บ ผู ใชอาคารสำนั ก งาน

-

ศึ ก ษาวิ ธ ี ก ารปองกั น และรั ก ษาโรคออฟฟศซิ น โดรมและโรคที ่ เ กิ ด กั บ ผู ใชอาคารสำนั ก งาน

-

ศึ ก ษาฟงกชั ่ น การใชงานพื ้ น ที ่ ท ี ่ ร วมกั น ในอาคารสำนั ก งานใหเกิ ด ประโดยชนสู ง สุ ด

-

เก็ บ ขอมู ล Literature review จากบทความวิ จ ั ย ตางๆที ่ เ กี ย วกั บ โรคออฟฟศซิ น โดรมและโรคที ่ เ กิ ด จากผู ใชอาคารสำนั ก งาน

-

ศึ ก ษาจากขอมู ล ทางการแพทย ที ่ เ กี ่ ย วกั บ หลั ก Ergonomics Desing และ เวชศาสตรฟ นฟู

-

ศึ ก ษากฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริ ห ารและการจั ด การดานความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดลอมในการ ทำงานเกี ่ ย วกั บ ความรอน แสงสวาง และเสี ย ง

-

ศึ ก ษาบริ บ ทโดยรอบของ TK PARK และ หาง Central World


RESEARCH SCHEDULE

09

CHAPTER 1


10

ศึกษาขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับโรคที่เกิดกับผูใชอาคารสำนักงาน ศึกษาการออกแบบพื้นที่ ความตองการ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผูสใชอาคารสำนักงาน ศึกษาเกี่ยวกับกรณีศึกษา เชน ออฟฟศตัวอยางที่ใหความสำคัญกับสุขภาพของพนักงาน ศึกษาบริบทโดยรอบอาคาร วิเคราะหขอมูลเพื่อนำไปสูการหาแนวทางความคิด และการออกแบบที่เปนเหตุเปนผลกัน



CHAPTER 2 A STUDY OF BASIC INFORMATION OF THE PROJECT

BASIC RESEARCH INFORMATION FOR PROJECT REDMEY TARGETGROUP LOCATION / SITE LOCATION RESEARCH SCHEDLE


13

CHAPTER 2


14

BASIC RESEARCH INFORMATION FOR PROJECT


OFFICE SYNDROME - โรคออฟฟศซินโดรม -

COMPUTER VISION SYNDROME - อาการผิดปกติทางตาจากการใชคอมพิวเตอร -

15

CHAPTER 2


16

SICK BUILDING SYNDROME - กลุมอาการผูปวยเหตุอาคาร -

DEEP VEIN THROMBOSIS - ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน -


OFFICE SYNDROME - โรคออฟฟศซินโดรม -

17

CHAPTER 2


18

ระยะที่ 1

ระยะที่ 2

ระยะที่ 3

ปวดกลามเนื้อเฉพาะสวนใด สวนหนึ่งของรางกาย

อาการของระบบประสาท อัตโนมัติซึ่งพบรวมได

อาการทางระบบประสาท ที่ถูกกดทับ

ระยะที่ 1

ระยะที่ 2

จะมีอาการปวดเม่ือยลาในบริเวณที่ถูกใช

จะเริ่มมีอาการปวดเมื่อย ลา ชา หรือออน

งานเปนประจำหลั ง จากทำงานตอเน่ ื อ ง 3-4

แรงหลังจาก ทางานไประยะเวลาสนั้ๆประมาณ

ชั่วโมง และอาการจะหายไปทันทีเมื่อมีการเปลี่ยน

1-2 ชั่วโมงตองลุกเปล่ียนอิริยาบถ บอยครั้ง

ทาทางหรือปรับเปลี่ยนอิริยาบถ ถาหากไปพบ

และอาการมักจะเปนคงคางนานไมหายไปทันที

แพทยอาจตรวจไมพบความผิดปกติโครงสราง

เมื ่ อ เปลี ่ ย น ทาทาง และอาจรบกวนการนอน

รางกาย แตเปนเพียงความรำคาญ หรือหงุด

หลั บ บาง หลั ง จากนอนพั ก อาการจะทุ เ ลา ลง

หงิดกับอาการเมื่อยลาเทานั้นเพราะเคยทางาน

บางเล็กนอย และอาจมีอาการปวดตึงเมื่อตื่น

ไดเปนระยะ เวลานานไดโดยไมมีอาการ

นอน พอไดลกุขนึ้มา เคลื่อนไหวอาการเหมือน ดี ข ึ ้ น แตพอมาทำงานทาเดิ ม ๆสั ก พั ก อาการก็

ระยะที่ 3 อาการปวด เจ็บ ชา หรือออนแรงจะมากขึน ้ และเร็วขึน ้ เร่อ ื ย ๆ จนกระท่ง ั จะมีอาการตลอดเวลา ตองใชเวลาในการฟนฟูสภาพรางกายยาวนาน

กลั บ แยลง ระยะนี ้ ถ าดู แ ลตั ว เองดี ทำตามคำ แนะนาของแพทยหรือนักกายภาพบำบัดที่เชี่ยว ชาญ จะสามารถกลับมาหายเปนปกติได


ปจจัยที่สงผลใหเกิดโรคออฟฟศซินโดรม (The Workers' Compensation Board, 2007)

1. ปจจัยทางดานจิตวิทยาและองคกร

2. ปจจัยทางดานสภาพแวดลอม

(Psychological/Organizational Factors)

(Environmental Factors)

หรือการจัดการสภาพการทางานภายใน

เปนปจจั ย ที ่ เสริ ม สรางใหเกิ ด การสะสม

องคกร (Administrative) เปนปจจั ย ที ่

ของการทางานซ า ๆ ของกล ามเนื ้ อ

เกี่ยวกับการบริหารจัดการองคกรระดับ

การอยู ในอิริยาบทหรือสภาพแวดลอมที่

ของภาระงานภายในองคกร หรื อ ความ

มีความเสี่ยงตอการเกิดโรคคอมพิวเตอร

สั ม พั น ธ การตอบสนองกั บ เพื ่ อ นร วม

ซิ น โดรม อาทิ การมี แ สงสวางที ่ ไ มเอื ้ อ

งาน ที ่ ม ั ก จะส งผลต อความเครี ย ดรู ป

ตอการทางาน การมี เสี ย งรบกวน อุ ณ

แบบการใชชีวิต การแสดงออก การตอบ

- หภูมิที่หนาวหรือรอนจนเกินไป ซึ่งอาจ

สนองตอพฤติกรรม โดยเปนปจจัยหนึ่ง

สงผลใหเกิ ด การไม ไหลเวี ย นของเลื อ ด

ที่เอื้ออานวยตอการเกิดสภาวะกดดันจน

นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงการจัดการเกี่ยว

เปนโรคคอมพิ ว เตอรซิ น โดรม หรื อ การ

กั บ อุ ป กรณ เครื ่ อ งมื อ การปฏิ บ ั ต ิ ง าน

บาดเจ็บ สะสมจากการทางาน

(Engineering) ที ่ เ อื ้ อ อานวย ต อการ ทำงานและเขากั บ สรี ร ะของผู ปฏิ บ ั ต ิ ง าน

โดยหากขาดปจจัยทัง ้ สองเปนระยะเวลานาน ผูปฏิบต ั ง ิ านจะมีแนวโนมความเสีย ่ งการ เปน โรคคอมพิวเตอรซินโดรมไดสูงขึ้น ซึ่งพฤติกรรมอันเปนสาเหตุของอาการเจ็บปวยกลามเนื้อ เนื่อง จากการทางาน เกิดขึ้นไดจากสาเหตุ 2 ประการ ประการแรกคือ การใชกลามเนื้อทางานหนักเกินไป สงผลใหกลามเนื้อเกิดการบาดเจ็บเฉียบพลัน อีกสาเหตุหนึ่งคือ จากทางานเปนเวลานานมาก เกินไป

19

CHAPTER 2


20

ภาพประกอบที่ 2.1 : อิริยาบถในการนั่งทางานที่ไมเหมาะสม

http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Sasipim_Preechom/fulltext.pdf

ภาพประกอบที่ 2.2 : การนั่งหลังคอม สงผลตอการเกิดแรงกดที่มากขึ้นบริเวณหมอนรองกระดูก http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Sasipim_Preechom/fulltext.pdf

ภาพประกอบที่ 2.3 : ทายืนที่เหมาะสมและทายืนที่ผิดหลักสรีระ

http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Sasipim_Preechom/fulltext.pdf


COMPUTER VISION SYNDROME - อาการผิดปกติทางตาจากการใชคอมพิวเตอร -

21

CHAPTER 2


22

ปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดอาการ COMPUTER VISION SYNDROME

1.ปจจัยสวนบุคคล

2. ปจจัยดานส่ิงแวดลอม

3. ปจจัยดานคอมพิวเตอร หรือสมารทโฟน


อาการแสดงของความลา ของสายตาหรือกลุมอาการ จอภาพคอมพิวเตอร อาการแสดงความลาของ สายตาหรืออาการจอภาพ คอมพิวเตอร แบงไดเปน 3 กลุมอาการ

1. Asthenopia

3. Visual symptoms

เปนอาการที่เกี่ยวของกับกลามเน้ือลูกตา ไดแก

เปนอาการท่เี กีย ่ วของกับการมองเห็น ไดแก สาย

อาการปวดตาหรือเมื่อยตาซึ่งเกิดจากการ ใช

ตาพรามัว(blurred vision) ปรับ ภาพมองใกล

สายตาเพงมองวัตถุในระยะใกลเปนเวลานาน ยิง ่

- ไกลไมดี ตองใชเวลานานกวาปกติ (slowness

ใชสายตานานจะทําใหปวดตามากข้น ึ โดยท่ต ี รวจ

of focus change) มองเห็นภาพซอน (double

ตาแลวไมพบสิ่ง ผิดปกติ

vision) อาการที่เรียกวา “smartphone blind

2.Ocular surface-related

แสงสวางไมเหมาะสมทําใหเกิดตามัว เกิดสายตา

(dry eyes) น้ําตาไหล(watery eyes) ระคาย

ส้ันเทียม มองไกลไมชัด เปนแบบช่ัวคราว ซึ่งจะ

เคืองตา(irritated eyes) แสบตา(burning eyes)

เปนสาเหตุ ทําใหสายตาสัน ้ ในเด็กได หรือพบจาก

ตาแดง(redness eyes) เนือ ่ งจากการจองมอง

ผูที่ใชตาขางเดียวดูสมารทโฟนในหองมืดทําให

จอภาพคอมพิวเตอรหรือสมารทโฟนนานๆ ทําให

ตาไมสามารถทนแสงจาเกินไปของ อุปกรณใน

อัตราการกระพริบตาลดลงรอยละ 60 จากเดิม

โทรศัพทมือถือได (Alim-Marvasti et al, 2016)

มากทําใหน้าํ ตาทีเ่ คลือบผิวลดลง จึงเกิดอาการ ดังกลาว

CHAPTER 2

กันเปนเวลานานๆ หรือมีแสงสะทอน จากจอภาพ

เปนอาการที่เก่ียวของกับผิวลูกตาไดแกตาแหง

ท่ก ี ระพริบ 15 คร้ง ั /นาที ทําใหมีนาํ้ ตาระเหยออก

23

- ness” พบในคนที่ใชสายตาเพงจอภาพติดตอ


24

ภาพประกอบที่ 2.4 : การจัดวางองคประกอบแสงไฟและคอมพิวเตอรที่เหมาะสม

ภาพประกอบที่ 2.5 : ลักษณะทาทางท่ีเหมาะสมในขณะใชคอมพิวเตอร


SICK BUILDING SYNDROME - กลุมอาการผูปวยเหตุอาคาร -

25

CHAPTER 2


26

กลุมอาการปวยเหตุอาคาร (Sick Building Syndrome ; SBS) ลักษณะอาการปวย เหตุอาคารตอระบบ ตางๆของรางกาย

เปนภาวะผิดปกติด าน สุขภาพที่เกิดขึ้นในอาคารสานักงาน ที่มีความสัมพันธกับ ชวงเวลาที่อยู ในอาคาร แตไมสามารถระบุ สาเหตุที่แนนอนได ปญหาอาจเกิดขึ้น เฉพาะสวนใดสวนหนึ่งของอาคารหรือทุกสวนของอาคารก็ได โดยอาการปวยดัง กลาวเปนอาการที่ไมมีลักษณะเฉพาะโรค และมักจะหายไปเมื่อออกนอกอาคาร

อาการทางตา เชน ระคายเคือง ตา

อาการทางระบบประสาท เชน ปวด

แหง ตาแดง แสบตา พบบอยในคนที ่ ใ ส

ศี ร ษะ มึ น งง ขาดสมาธิ ออนเพลี ย และ

คอนแทคเลนสรวมดวย

อาจถึงขั้นความจาเสื่อม

CAUSE สาเหตุของกลุ มอาการปวยเหตุอาคาร

อาจเกิ ด ได จากการอยู ในออฟฟ ศที ่ อ า กาศถายเทไมสะดวก ,อุ ณ หภู ม ิ ไ มเหมาะ สม หรื อ อยู ในหองปรั บ อากาศที ่ อ ากาศ ไมสะอาดรวมไปถึงหองที่มีสารเคมี จาก หมึกเครื่องแฟกซและเครื่องถายเอกสาร เจือปนในอากาศ

แดง คัน ตามลาตัว

อาการทางระบบทางเดินทางใจ เชน

อาการทางจมูก เชน คัดจมูก ไอ จาม

คอแหง แสบคอ หายใจลำบาก แนนหนา

คลายคนเปนโรคภูมิแพ มีความผิดปกติ

อก หากรุ น แรงถึ ง ขั ้ น หอบหื ด ปอดอั ก

ของประสาทรับกลิ่น

เสบ และวัณโรค สาเหตุ ข องกลุ มอาการปวยเหตุ อ าคาร

อาการทางผิวหนัง เชน เกิดผื่นแพ


DEEP VEIN THROMBOSIS - ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน -

27

CHAPTER 2


28

สาเหตุเกิดจากการนั่งตอเนื่องเปนเวลานาน โดยที่ไมลุกไปไหนเลยทาใหเลือดที่เคย ไหลเวียนได สะดวก ๆ เกิดการจับตัวเปนลิ่ม เปนกอน มาคั่ง อยู ที่บริเวณเสนเลือดดาตรงสวนขาแลวไหลเขา ไปตามกระแสเลือด ซึ่งอาจไปอุดตันตามอวัยวะที่ สำคัญ เชน ปอด หัวใจ ทำใหเกิด อันตรายถึงแก ชีวิตได

ภาวะลิ ่ ม เลื อ ดในหลอดเลื อ ดดำอุ ด ตั น แบง ออกเปน 2 ประเภท

ภาวะลิ ่ ม เลื อ ดอุ ด ตั น ในหลอดเลื อ ดดำลึ ก

ภาวะลิ ่ ม เลื อ ดอุ ด ตั น ในปอด

(Deep Vein Thrombosis: DVT)

(Pulmonary Embolism: PE)

มั ก เกิ ด ขึ ้ น บริ เ วณขา

มั ก เกิ ด ขึ ้ น เมื ่ อ ลิ ่ ม เลื อ ดที ่ อ ุ ด กั ้ น หลุ ด ไปตาม กระแสเลื อ ดและไปอุ ด ตั น บริ เ วณหลอดเลื อ ด ดำในปอด ซึ่งคอนขางรายแรงกวาภาวะแรก


29

CHAPTER 2


30

REMEDY


ERGONIMICS - การยศาสตร -

31

CHAPTER 2


32

ergon · nomos ( work )

( law )

law of work

คำว า Ergonomics มาจากรากศั พ ท จากภาษากรี ก

ผู ท่ีทางานกับคอมพิวเตอรมีการ

2 คำคื อ ergon แปลวางาน (work) กั บ คำวา nomos ที ่ แ ปล

เคลื่อนไหวของอวัยวะสวนตางๆอยางจำ

วา กฎ (law) เมื ่ อ รวมคำทั ้ ง สองเขาดวยกั น เกิ ด เปนคำใหมวา

กั ด สายตาเพงมองที ่ จ อแสดง ภาพ และ

Ergonomics (Law of Work) มี ค วามหมายถึ ง การศึ ก ษากฎ

ตองวางมื อ บนแปนพิ ม พอยู ตลอดเวลา

เกณฑ ในการทางาน โดยมี เ ป าหมายที ่ จ ะปรั บ ปรุ ง งาน หรื อ

ลั ก ษณการการทางานดั ง กล าวทำให ผู

สภาวะของงานใหเขากั บ แตละบุ ค คล

ปฏิ บ ั ต ิ ง านมี ก ารสั ม ผั ส ปจจั ย ดานการย - ศาสตรที ่ ม ี ผ ลกระทบตอสุ ข ภาพคนทำ งาน กล าวคื อ ผู ปฏิ บ ั ต ิ ง านอาจจะมี ท า ทางที่ไมเหมาะสม เชนมีการโนมตัวไปดาน หนา กางแขน ขอศอก ไหล หรื อ วางมื อ

BODY

SOUL

และบิดขอมือมากเกินไปในการ ปอนขอมูล บนแปนพิมพ มีท าทางการทำงานที่มีการ เคลื ่ อ นไหวซ้ ำ ๆ เชนการพิ ม พงาน หรื อ การคลิ ก เมาสตลอดเวลา ทาทางการทำ งานเหล านี ้ เ ป นการเหตุ ส ำคั ญ ของการ

EMOTION

เกิ ด ความผิ ด ปกติ โ ครงรางกลามเน้ ื อ ได ในประเทศไทยมี ก ารศึ ก ษาความ ชุ ก ของกลุ มอาการผิ ด ปกติ โ ครงร าง กลามเนื ้ อ จากการทำงาน ของบุ ค ลากร สำนั ก งานในสถานประกอบการในกรุ ง

IQ

SOCIAL

เทพมหานคร พบวารอยละ 63.0 มีอาการ ผิ ด ปกติ โ ครงรางกลามเน้ ื อ โดยกลุ มตั ว อย างร อยละ 71.0 ระบุ ว าอาการท่ ี เ กิ ด ขึ ้ น เกี ่ ย เนื ่ อ งกั บ ปจจั ย ดานการยศาสตร


?

RISK ASSESSMENT

การประเมินความเสี่ยงของการเปนโรคออฟฟศซินโดรม

33

CHAPTER 2


การประเมิน ROSA ใชบงชีป ้ จจัยเสีย ่ งของพนักงานทีท ่ ำงานในสำ นักงาน ROSA เปนเครือ ่ งมือทีอ ่ อกมาหลัง RULA และ REBA แตใชหลักการ

ROSA

ประเมินโดยรูปภาพเชนเดียวกัน วัตถุประสงคของการประเมินโดย ROSA คือ การใชเปนเครือ ่ งมือในการบงชีจ ้ ด ุ ทีม ่ ป ี จจัยเสีย ่ งในการทำงานในสำนักงาน เปนหลัก โดยพิจารณาจากอุปกรณทีใ่ ชงาน เชน เกาอี้ หนาจอคอมพิวเตอร โทรศัพท เมาส แปนพิมพ นอกจากนัน ้ ยังพิจารณาถึงระยะเวลาในการใชงาน อุปกรณนั้นๆดวย

ภาพประกอบที่ 2.6 : การประเมิน ROSA http://thai-ergonomic-assessment.blogspot.com/2014/07/rosa.html

34


REBA

(Rapid Entire Body Assessment)

วิธก ี ารประเมินทัว่ ทัง ้ รางกาย (Rapid Entire Body Assessment , REBA) เปนการประเมินทาทางการทำงานทีเ่ ปนการประเมิน ตัง ้ แตสวนของ คอ ลำตัว ขา แขน และมือ เปนเทคนิคทีค ่ ด ิ คนโดย ซู ฮิกเน็ท (Sue Hignett) ซึง ่ เปนนักการยศาสตรของโรงพยาบาลแหงเมือง Nottingham ประเทศสห - ราชอาณาจักร และ Lyn McAtamney ผูอำนวยการของบริษท ั ทีใ่ หบริการ ทางดานการยศาสตรและอาชีวอนามัย (Occupational health and ergo - nomic services Ltd.) ในประเทศ สหราชอาณาจักรเชนกัน การประเมิน ดวยวิธี REBA จะเหมาะสำหรับการประเมินสวนตางๆของรางกายสำหรับ งานที่มีลักษณะเปลี่ยนทาทางอยางรวดเร็วหรืองานที่ไมอยูกับที่ งานที่ไม นัง ่ หรือยืนปฏิบต ั ง ิ านในทาทางเดิมๆซ้ำๆตลอดเวลา รวมถึงงานทีม ่ ท ี าทาง การทำงานทีไ่ มสามารถคาดเดาได เชนงานบริการ เปนตน วิธี REBA ไดถูก นำมาใชในการประเมินทาทางการทำงานของพนักงานในภาคอุตสาหกรรม ดวย เชน โรงงานเลื่อยไม (Jones & Kumar, 2010) ภาพประกอบที่ 2.7 : วิธีการประเมิน REBA http://thai-ergonomic-assessment.blogspot.com/2014/07/reba.html

35

CHAPTER 2


36

RULA (Rapid Upper Limp Assessment)

การประเมินดวยวิธี RULA (Rapid Upper Limp Assessment) เปนวิธก ี ารทีพ ่ ฒ ั นาขึน ้ โดย Lynn McAtamney และ Nigel Corlett ใน ป ค.ศ. 1993 เพือ ่ ใชประเมินทาทางการทำงานในทานัง ่ หรือมุงเนนการประ เมินทาทางการเคลื่อนไหวของรางกายสวนบน ตัวอยางของการประเมิน ดวยวิธน ี ไ้ี ดแก การนำมาใชในการประเมินทาทางการทำงานของพนักงาน ทอผา พนักงานเย็บผา พนักงานขับรถ เปนตน ซึง ่ พบวา สามารถใชในการ ชี้บงระดับความเสี่ยงหรือระดับอันตรายของการทำงานของพนักงานได เปนอยางดี การประเมินนีแ้ บงการประเมินเปน 2 กลุมหลัก คือ กลุม A ประ กอบดวย การประเมินสวนแขนและขอมือ และกลุม B ประกอบดวยการประ เมินในสวน คอ ลำตัว และขา ภาพประกอบที่ 2.8 : วิธีการประเมิน RULA http://thai-ergonomic-assessment.blogspot.com/2014/07/rula.html


PHYSICAL MEDICINE & REHABILITATION - เวชศาสตรฟนฟู -

37

CHAPTER 2


38


กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการ ทํางานเกีย ่ วกับความรอน แสงสวาง และเสียง

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๐๓ แหงพระราชบัญญัตค ิ ม ุ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการ จำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัตใิ หกระทำ ไดโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวงไว แบงออกเปน 6 หมวดคือ

“งานหนัก”

“งานปานกลาง”

ลักษณะงานทีใ่ ชแรงงานมาก

ลักษณะงานทีใ่ ชแรงงานปาน

หรือใชกำลังในการเผาผลาญอาหารใน

กลาง หรือใชกำลังในการเผาผลาญอา

รางกายเกิน 350 กิโลแคลอรี/ชัว่ โมง

หารในรางกายเกิน 200 - 350 กิโลแค - ลอรี/ชัว่ โมง

“งานเบา” ลักษณะงานทีใ่ ชแรง นอย หรือใชกำลังในการเผา ผลาญอาหารในรางกายไมเกิน 200 กิโลแคลอรี/ชัว่ โมง เชน งานเขียนหนังสือ งานพิมพ งานบันทึกขอมูล เปนตน

39

CHAPTER 2


40

หมวดที่ 1 ความรอน ใหนายจางควบคุมและรักษาระดับความรอนภายในสถาน ประกอบกิจการที่มีลูกจางทำงานไมใหเกิดมาตรฐาน

ตองมีมาตรฐานระดับความรอนไมเกินคาเฉลี่ย อุณหูมิเวตบัลบโกลบ 35 °C Wet Bulb Globe Temperature หรือ WBGT ซึ่งเปนการวัดดัชนีความรอน วัดสภาพความรอน ของสภาพแวดลอมหรือ สิ่งแวดลอมในการทํางาน (จะมีหนวยวัดเปน องศาเซลเซียส หรือ องศาฟาเรนไฮท) จะนํา เอาผลกระทบตอความรอนทีส ่ ะสมในรางกาย มาพิจารณา คือความรอนทีเ่ กิดขึน ้ ในรางกาย ขณะทํางาน และความรอนจากสิง ่ แวดลอมใน การทํางาน ในสวนของความรอนจากสิง ่ แวด ลอมในการทํางานจะถูกถายเทมายังรางกาย


งานศึกษาจกาหมาวิทยาลัยคอแนล

สำนักขาว BBC งานวา อุณหภูมิ

อุณหภูมิที่ใหประสิทธิภาพในการที่ดีที่สุดใน

หองไมเพียงแตมีผลกระทบกับประสิทธิภาพ

การทำงานใกลเคียงกับประเทศไทยคือ 25 °C

ในการทำงาน แตยังสงผลตอวิธีคิดของเรา

โดยใชวิธวี ด ั ความเร็วและความถูกตองในการ

ดวย โดยอุณหภูมิที่อุนกวาจะทำใหพนักงาน

พิมพงาน พบวาอุณหภูมท ิ ่ี 25 °C อัตราความ

มีความคิดสรางสรรค สวนออฟฟศที่เย็นจะ

เร็วในการพิมพจะอยูที่ 100% และอัตราการ

ชวยใหพนักงานตื่นตัวระหวางการทำงานที่

พิมพผิดอยูที่ 10% แตถาอุณหภูมห ิ องลดลง

เปนขัน ้ ตอนซ้ำๆ ขณะทีอ ่ ณ ุ หภูมห ิ องทีส ่ ง ู กวา

เหลือ 20 °C ความเร็วในการพิมพจะลดลงเหลือ

27 °C ไมดีกับคนที่ตองทำงานเกี่ยวกับการ

54% และอัตราการพิมพผิดจะเพิม ่ ขึน ้ ไปถึง 25%

คำนวณตัวเลข หองทีอ ่ นทำใหคนทำงานรู ุ สึก อบอุนเปนมิตรกับคนรอบขาง

Temperature affects the way you think.

25

°C

41

CHAPTER 2

อุณหภูมิ

25°C

อัตราความเร็ว ในการพิมพ

อัตราการ พิมพผิด

100% 10% ลดลง

20°C

54%

25%


42

TEMPERATURE FOR WORK

MAIL > FEMAIL นักวิจย ั จากมหาวิทยาลัยเซาเทิรนแคลิฟอร - เนียไดตีพิมพผลงานวิจัยวา ผูหญิงจะทำงานไดดีใน อุณหภูมท ิ ส ่ี ง ู กวาผูชาย หลังจากทดสอบประสิทธิภาพ ในการทำงานของนักเรียนผูชายและผูหญิง เห็นวาในอากาศที่อุนขึ้นผูหญิงจะทำแบบ ทดสอบดานคณิตศาสตรและการพูดไดดีขึ้น แตผลจะ ออกมาตรงกันขามกับผู ชายที่จะทำแบบทดสอบไดดี กวาในหองที่มีอุณหภูมิที่ต่ำกวา แตประสิทธิภาพใน การทำงานของผู หญิงในอุณหภูมิที่สูงขึ้นจะ “สูงขึ้น อยางมีนัยสำคัญ” เมื่อเทียบกับประสิทธิภาพที่ลดลง ของผูชาย อยางไรก็ตาม ความสามารถในการทำแบบ ทดสอบความรูเทาทันพุทธิปญญาของทั้งผูหญิงและ ผูชายไมไดเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิหอง ผูจัดการอาคารสวนใหญมักใชสูตร PPD ทีม ่ ก ี ารคำนวณปจจัยตางๆ เชน เสือ ้ ผา อัตราเมตาบอ - ลิซม ึ (อัตราการผลิตความรอน) ของผูอยูอาศัยในอา คารนั้น ซึ่งอัตราเมตาบอลิซึมจะตองคำนวณจากการ คาดเดาอายุ น้ำหนัก และเพศของคนในอาคารซึงพบวา ผูหญิงจะมีอัตราเมตาบอลิซึมต่ำกวาคอนขางมาก มี กลามเนื้อนอยกวา ทำใหผูหญิงตองการออฟฟศที่อุน กวาที่ผูชายตองการประมาณ 3 องศาเซลเซียส


“ อุณหภูมิที่เหมาะสมกับทุกคน ” ไมมีจริง ! การใหพนักงานแตละคนควบคุมอุณหภูมิของตัวเองไดจะดี ที่สุด หมายความวาที่โตะทำงานของแตละคนควรสามารถ ควบคุมอุณหภูมิได มีระบบทำความรอนบริเวณขา เลือกได วาจะปดหรือเปดการระบายอากาศ เปนตน

43

CHAPTER 2


44

สวมใสเสื้อผาที่เหมาะสม

ออกไปถูกแสงแดด การนั่งอยูกับที่เปนเวลานานยิ่งทำใหรางกายรูสึก หนาวเย็นเพิ่มขึ้น ที่ตองผานแสงแดด หรืออุณหภูมิ ที่สูงขึ้น จะชวยใหรางกายปรับอุณหภูมิจากภายใน ใหมีความสมดุลไดมากขึ้น

ทาน้ำมันหอมระเหย การทาน้ำมันหอมระเหยนั้น สามารถที่ จะชวยสรางความอบอุนใหกับรางกายได นำมาทาที่ผิวหนังอยางบริเวณแขน หรือ บริเวณคอ จะใหความรูสึกอุนสบาย แต ถาทาในปริมาณที่มากเกิดไป ก็อาจจะรอน และแสบผิวไดเชนกัน

ปรับเปลี่ยนทานั่ง/ลุกเดินในระหวางทำงาน หากเปนชวงเวลาที่ตองทำงานอยางตอเนื่องจริงๆ ควรที่จะปรับเปลี่ยนทานั่ง ไมควรนั่งทาเดิมตลอด และเปนเวลานาน และลุกเดินบางเพื่อเปนการเพิ่ม อุณหมูิในรางการ


หมวดที่ 2 แสงสวาง กำหนดให นายจางตองจัดให สถานประกอบกิจการมีความเขมของแสงสวาง ไมต่ำกวามาตรฐานที่กำหนดไวในตาราง สำหรับ บริเวณพื้นที่ทั่วไป ภายในสถานประกอบกิจการ

แสงสวางสงผลตออารมณและจิตใจ ของคนเรา โดยมีหลักฐานจากการศึกษาหลาย ชิ้นวาแสงที่สวางสดใส กระตุนใหรางกายสราง เซโรโทนิน หรือฮอรโมนสุข ที่ชวยยกระดับดาน อารมณ กระตุนความรูสึกถึงการมีพละกำลัง และมีผลตอความคิดในเชิงบวก ที่ชวยกระตุน ในการทำงาน มีปจจัยหลายอยางที่สง ผลตอประสิทธิภาพการทำงาน แตปจจัยหนึง ่ ที่ มักถูกมองขาม นัน ่ คือ แสงสวางภายในออฟฟศ ซึง ่ การจัดแสงอยางเหมาะสมไมเพียงชวยลดตน ทุนดานพลังงานใหกับบริษท ั จากการวิจย ั หลาย ชิน ้ ยังชีว้ ามีสวนชวยเพิม ่ ประสิทธิภาพ ผลผลิต ความคิดสรางสรรค สมาธิและอารมณในการทำ งาน อีกทั้งยังลดอัตราการเจ็บปวยของพนัก งานไดอีกดวย

การทำงานภายใตสภาพแสงที่ตรงกับ รอบของดวงอาทิตย คือ เปนแสงโทนอบอุนใน ตอนเชา แสงจาในตอนกลางวัน และแสงสลัวใน ตอนเย็น สามารถทำใหการปฏิบัติงานตามบท บาทหนาที่เพิ่มสูงขึ้น 12 เปอรเซ็นต พนักงาน 76 เปอรเซ็นตรู สึกมีความสุข กระฉับกระเฉง มากขึน ้ และครึง ่ หนึง ่ ของพนักงานทีท ่ ำการทด ลองยังบอกวาพวกเขารูสึกถึงสภาวะสุขภาพที่ ดีขึ้น การเขาถึงแสงธรรมชาติ จึงสงผลอยาง มากตอสุขภาพกายของคนทำงาน

45

CHAPTER 2

และชักจูงใจในการทำงานในแตละวัน ในขณะที่ หองทีม ่ แี สงนอย มืดทึมตลอดทัง ้ วันนัน ้ สงผล เสียอยางมากใหแกสภาวะจิตใจของคนทำงาน จากการวิจัยพบวาระดับคอรติซอล หรือฮอร - โมนความเครียดในกลุ มผู ที่ทำงานในหองไร หนาตาง และหองที่มืดทึมนั้น สูงกวากลุมคน ที่ทำงานในหองที่มีหนาตางอยางมีนัยสำคัญ ซึ ่ ง กอใหเกิ ด ภาวะผิ ด ปกติ ท างอารมณ เพิ ่ ม ความเสี่ยงตออาการซึมเศราอีกดวย

นอกเหนื อ จากความความสวางแลว อุณหภูมิสีของแสงไฟ ยังมีบทบาทตอการเพิ่ม ผลผลิตในการทำงานตางๆ อีกดวย โดยแสง สี ฟ าในหลอดไฟ Cool White (อุ ณ หภู ม ิ แ สง 4,600K ขึน ้ ไป) สงผลในการลดระดับเมลาโทนิน จะชวยกระตุนใหเกิดการตื่นตัว สรางสมาธิจด จอตองานไดดี ชวยใหเกิดความแมนยำในการ ทำงานสูง แตอาจกอใหเกิดผลเสียบางประการ เชน อาการเหนื่อยลา และอาจสรางปญหาใน การนอนหลับชวงกลางคืน


46

คาเฉลีย ่ ความเขมของ แสงสวาง(ลักซ)

ทางเขา - ทางเขาหองโถง หรือหองพักรอ - บริเวณโตะประชาสัมพันธหรือโตะติดตอลูกคา - ประตูทางเขาใหญของสถานประกอบกิจการ - ปอมยาม - จุดขนถายสินคา

200 400 50 100 100

พืน ้ ทีส ่ ญ ั จร - ทางเดินในพืน ้ ทีส ่ ญ ั จรเบาบาง - ทางเดินในพืน ้ ทีส ่ ญ ั จรหนาแนน - บันได

20 50 50

หองฝกอบรมและหองบรรยาย - พืน ้ ทีท ่ ว่ั ไป

300

หองคอมพิวเตอร - บริเวณทัว่ ไป

400

หองประชุม

300

งานธุรการ - หองถายเอกสาร - หองนิรภัย

300 100

โรงอาหาร - พืน ้ ทีท ่ ว่ั ไป - บริเวณโตะเก็บเงิน

200 300

หองครัว - พืน ้ ทีท ่ ว่ั ไป - บริเวณทีป ่ รุงอาหารและทีท ่ ำความสะอาด

200 300

หองพักพนักงาน - หองเปลีย ่ นเสือ ้ ผาและบริเวณตูเก็บของ - หองพักผอน

100

หองสุขา

100 https://www.klcbright.com/datasheet/thailand_law_safety_hot_sound_luminaire_2549.pdf

ตาราง มาตรฐานคาเฉลีย ่ ความเขมของ แสงสวาง ณ บริเวณพืน ้ ทีท ่ ว ่ั ไป

อาคาร/พืน ้ ที่


หมวดที่ 3 เสียง

นายจางตองควบคุมระดับเสียงที่ลูกจางไดรับเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน ในแตละวัน (Time Weighted Average-TWA) มิใหเกินมาตรฐานที่กำหนดไว

มาตรฐานระดับเสียงทีย ่ อมใหลูกจางไดรับตลอดเวลาในการทำงานในแตละวัน เวลาการทำงานทีไ่ ดรับเสียง (ชม).

ระดับเสียงเฉลีย ่ ตลอดเวลา การทำงาน (TWA) ไมเกิน (เดซิเบลเอ)

12

87

8

90

7

91

6

92

5

93

4

95

3

97

2

100

1 1/2

102

1

105

1/2

110

≤1.44

115 https://www.klcbright.com/datasheet/thailand_law_safety_hot_sound_luminaire_2549.pdf

47

CHAPTER 2


48

ฟงเพลงทีม ่ รี ะดับความดังทีพ ่ อดี

ระดับความดังของเพลงก็มีผลตอการทำงานเชนกัน งานวิจัยจากทั้งสามมหาวิทยาลัย University of Illinois , University of British Columbia และ University of Virginia ไดขอสรุปที่ตรงกันวา เสียงที่พอเหมาะพอดี จะชวย ใหคนทำงานมีความคิดที่สรางสรรคมากขึ้น ทั้งเสียงดังหรือเสียงปกติตางมีผลทำใหความคิดของคุณเปดกวางขึ้น แตถาเสียงดังเกินไปก็อาจทำใหสมองทำงานไดแยลงไดดวย

ดนตรีทม ่ี เี สียงธรรมชาติ

ดนตรีบาโรก

นักวิจัยจาก Rensselaer Polytechnic Institute

งานวิจัยจาก the University of Maryland in

คนพบวา การเพิ่มเสียงธรรมชาติเขามาเปนสวน

Baltimore และ the University of Pennsylvania

หนึ่งของการทำงาน จะชวยใหคุณมีอารมณที่ดีแล

Health System in Philadelphia ที่มายืนยันผล

ะมีสมาธิมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหกระบวนการ

การวิจัยวาการทดลองใหคนทำงานฟงเพลงบาโรค

ทางความคิดทำงานไดดีขึ้น มีสมาธิมากขึ้น และมี

สามารถสรางอารมณการทำงานที่ดีและตอเนื่องได

ความพึงพอใจในการทำงานมากขึ้นดวย ซึ่งเสียง ที่นักวิจัยใชในการวิจัยคือเสียงน้ำจากลำธาร โดย ผลก็คือเสียงน้ำจากลำธารนี้ไมไดทำใหกลุมตัว อยางเสียสมาธิแตอยางใด

ดนตรีทไ่ี มมีเนือ ้ รอง งานวิจัยจาก Cambridge Sound Management พบวา คำรองคือสิ่งที่ทำใหเราเสียสมาธิเนื่องจาก เรามักจะใหความสนใจกับคำรองมากกวางานที่เรา กำลังทำอยู งานวิจัยของ Cambridge ในป 2551 ชี้วา 48% ของคนทำงาน จะถูกทำลายสมาธิไดโดย งายจากคำพูด หรือการฟงคนอื่นคุยกัน คุณมักจะ ไมมีสมาธิเทาที่ควรหากคุณฟงเพลงที่มีเนื้อรอง เพราะสมาธิของคุณมักจะไปอยูกับเนื้อรองมากกวา

ดนตรีทม ่ี จ ี ง ั หวะ larghetto งานวิจัย BMS College of Engineering ประเทศ มาเลเซีย ระบุวา การฟงดนตรีที่มีจังหวะประมาณ 60 บีทตอนาที ศัพททางดนตรีจะเรียกวา larghetto แปลวาเพลงที่ไมเร็วมากและคอนขางชา จะชวยลด ความเครียดรวมถึงชวยใหผอนคลายได


49

CHAPTER 2


50

TARGET GROUP


40%

40%

ETC. 20%

STUDENT

51

CHAPTER 2

BUSSINESS MAN

GIG ECONOMY


52

STUDENT กลุมลูกคาเดิมของ TK PARK ซึ่งสวนมากกวา 70% เปนนักศึกษาเปนสวนมาก เพราะดวยยานนั้น ไกลมหาวิทยาลัยและมี​ีการเดินทางที่สะดวก และคาใชจายในการ เขาแตละครั้งอยูในขอบเขตราคาที่ไมแพง

BUSSINESS MAN ปจจุบันตลาดแรงงานกําลังเปลี่ยนโฉมไปทีละนอยการทํางานอิสระกลายเปนคานิยม ของคนรุนใหม เชน คนรุนเจนวาย (Gen Y) และรุนเจนซี (Gen Z) อยากเปนเจาของ ธุรกิจ รูปแบบการจางงานผานแพลตฟอรมเหลานี้กําลังเติบโตในประเทศไทยเชนกัน ผลสํารวจของอีไอซี (EIC) ระบุวาสัดสวนของคนทํางานอิสระหรือ Gig Worker นั้น คิดเปน 30% ของคนวัยทํางาน เชน รับจางทั่วไป ทําธุรกิจสวนตัว หรือขายสินคา ทางออนไลน โดย 1 ใน 3 เปนฟรีแลนซเต็มตัว ซึ่งทุกคนตองการทำเลในการตั้งฐาน ในการทำธุรกิจที่อยูใจกลางเมือง และคาใชจายในการเชาพื้นที่ ที่ไมสูงมากนัก ETC. ทั้งนี้ยังรวมถึงผูใชงานขาจรไมวาทั้งที่จะตั้งใจหรือผานเขาใชพื้นที่บริเวณนั้นหรื​ือใกล เคียง เนื่องดวยพืนที่อยูบนหางสรรพสินคาใจกลางเมือง


// 53

CHAPTER 2


54

LOCATION / SITE ANALYSIS


LOCATION ANALYSIS

NAPLAB

Work & Play b Servcorp - The Offices at Cen

- Space At Siam Co. - Getaway by A.BIG - True Space Center - Growth cafe & co. - Learn Hub

- KliqueX Samyan - NexDots LINK Collaboration Space

Enginex Co-w

Samyan CO-OP HANGAR Coworking Space by dtac Accelerate Too Fast Too Sleep

OFFICE TOWER

55

CHAPTER 2


56

by Practika ntralworld -

DraftBoard The Great Room Gaysorn Tower Coworking Space Bangkok

., Ltd. G rpoint

Open House Central Embassy

JustCo

working space

DEPARTMENT SOTRE / COMMUNITY MALL

CO - WORKING SPACE


57

CHAPTER 2


58

SITE LOCATION Central World Dazzle Zone Ratchadamri Rd, Pathum Wan, Pathum Wan District, Bangkok 10330


59

CHAPTER 2


60

ภาพประกอบที่ 2.9 : TK PARK


TK PARK

8th FLOOR

EXIT TO PARKING

SF CINEMA

SF CINEMA

61

CHAPTER 2

7th FLOOR

EXIT TO PARKING


62

AREA & REQUIREMENT RELATIONSHIP

CENTRAL WORLD EXIT PLAN

TK PARK

SF CINEMA

EXIT WAY


CENTRAL WORLD’S WORKING TIME 10.00 - 22.00 TK PARK’S WORKING TIME 10.00 - 20.00 SF WORLD CINEMA FINAL TICKET BOOKING 22.20 - 22.35 FINAL MOVIE’S ENDING TIME 01.00 - 01.30 63

CHAPTER 2


64

สรุปเวลาทำการ และ ขยายเวลาทำการ

OPEN 10.00 CLOSE 01.30


65

CHAPTER 2

PROGRAMING CASESTUSY


66

WELLNESS IN THE WORKPLACE WITH FRASERS PROPERTY BY BVN

คนงานใชเวลาหนึง ่ ในสามของสัปดาหไปกับการ ทำงานสำนักงานใหญแหงใหมของFrasers Property ออก แบบโดย BVN สถานที่ทำงานมีความสำคัญตอสุขภาพ นวัตกรรม และ ความเปนผูนำสะทอนวัฒนธรรมและความ มุงมัน ่ ของ บริษท ั เปนหนึง ่ ในสถานทีท ่ ำงานแหงแรกในออส - เตรเลียทีอ ่ อกแบบมาเพือ ่ กำหนดเปาหมาย 6 Star Green Star Interiors v1.1 (Green Building Council of Aus - tralia) and WELL certifications (International Well Building Institute)

เคาชือ ่ วาธุรกิจสามารถเจริญเติบโตไดเมือ ่ คนงาน มีสุขภาพดีมีความสุขและมีประสิทธิผล ในขณะที่สำนักงาน ใหญของ Frasers Property แสดงใหเห็นพวกเขาสามารถ ไดรับการสงเสริมโดยสถานที่ทำงานที่มีทั้งโปรแกรมการ ออกแบบที่ละเอียดออนและสงเสริมความเปนอยูที่ดี นวัต - กรรม และ ความเปนผูนำที่นำไปสูผลผลิตที่มากขึ้นและ ประสบความสำเร็จในที่สุด

ภาพประกอบที่ 2.10 : CASE STUDY BVN



CHAPTER 3 THEORY AND DESIGN CONCEPT


ERGONIMICS - การยศาสตร -

69

CHAPTER 3


70

er · go · nom · ics การออกแบบนำอุปกรณทางดานการยศาสตรเขามาใช โดยมีการปรับอุปกรณใหเหมาะสมกับสรีระของผูใชงาน เชน เกาอี้ที่สามารถปรับระดับความสูง ความลึก ที่ พักแขนได โตะปรับ ระดับความสูง โดยผูปฏิบัติงาน สามารถปรับยืนในระหวางทำงานไดเพื่อเปนการปรับ เปลี่ยนอิริยาบท ชวยลดอาการปวดเมื่อยและหลีก เลี่ยงการเกิดสภาวะหมอนรองกระดูกทับเสนประสาท การมีพื้นที่ที่เอื้ออานวยตอการปรับระยะใหมีความ เหมาะสม เปนตน


สวัสดิภาพ (WELL - BEING)

ประสิทธิภาพ (EFFICIENCY)

71

CHAPTER 3

และนอกจากนี้ จะนำหลักการยศาสตร นำมาออกแบบดพื้นที่ดวยการ จัด สภาพแวดลอมงานใหเหมาะสมกับคน หรือการเลือกงานใหเหมาะกับผูใชงาน และออกแบบสถานที่ทำ งานเพื่อวัตถุประสงค 3 ประการคือ

ภาวะสบาย (COMFORT)


72

ERGONOMICS

BUSINESS การศึกษาอบรมจากวิชาชีวิวทยา วิทยาศาสตร สุขศาสตร อุตสาหกรรม สังคมสงเคราะห จิตวิทยา วิศวกรรมศาสตจร จะทำใหสามารถนาหลักวิชา ตางๆ น้ีมาประยุกตใชกับธุรกิจอุตสาหกรรมได เชน

1. การออกแบบการเปลี่ยนแปลง การบำรุงรักษาเครื่องมือเครื่อง ใชเพื่อเพ่ิมประสทิธภิาพในการผลติ การมคีุณภาพชวีติทด่ี

2. การออกแบบการวางผังโรงงานหรือสถานประกอบการ การ เปล่ียนแปลง เพื่อใหเกิดความสะดวกสบาย ความรวดเร็ว ของการทำงาน รวมทั้งการดูแลบำรุงรักษา

3. การออกแบบเพื่อการเปลี่ยนแปลงอยางเปนระบบในการทางาน โดยใชอุปกรณ เครื่องอำนวยความสะดวกตางๆ อยาถูกตองเหมาะสมกับ สมรรถนะของบุคคลในองคกร

4. การออกแบบเพื่อการควบคุมปจจัยตางๆ ใหทำงานไดอยางมี ประสิทธิภาพและ ความปลอดภัย เชน ความสั่นสะเทือน เสียง แสง เปนตน


PHYSICAL MEDICINE & REHABILITATION - เวชศาสตรฟนฟู -

73

CHAPTER 3


74

กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการ ทํางานเกีย ่ วกับความรอน แสงสวาง และเสียง

หมวดที่ 1 ความรอน

หมวดที่ 2 แสงสวาง

หมวดที่ 3 เสียง

หมวดที่ 4 อุปกรณคุมครอง ความปลอดภัยสวนบุคคล

หมวดที่ 5 การตรวจวัดและวิเคราะห สภาวะการทํางาน

หมวดที่ 6 การตรวจสุขภาพและการราย งานผลการตรวจสุขภาพ



CHAPTER 4 PROJECT DESIGN

PROGRAMING LAY - OUT ZONING PERSPECTIVES BRANDING & CORPORATE IDENTITY


PROGRAMING

77

CHAPTER 4


78


PROGRAMIN PUBLIC

WELCOME AREA

SEMI - PUBLIC

CO - WORKING SPACE

RECEPTION

SHOP

CAFE START UP LAB

79

CHAPTER 4

HOT DESK MEETING AREA


80

NG IN WORK SEMI - PRIVATE

E AREA

SUPPORT AREA

PRIVATE

WORK PLACE

( SUPPORT AREA ) LIBRARY DOC. ZONE NON - WORKING SPACE NAP SPACE PANTRY

( ACTIVITY AREA ) STAIR CORRIDOR

OFFICE SUITE

DEDICATE DESK


L AY

1ST FLOOR

81

CHAPTER 4


82

OUT

2ND FLOOR


RECEPTION AREA

ISOME

EVENT SPCCE

CAFE & STATIONERY STORE ACTIVE AREA RELAX AREA KNOWLEDGE AREA

83

CHAPTER 4


84

ETRIC SERVICE AREA

OFFICE FOR RENT & MEETING ROOM

DEDICATE SPCCE


// 85

CHAPTER 4


86

PERSPECTIVES


87

CHAPTHE 4


2ND FLOOR

1ST FLOOR

ALL FLOOR

88


89

CHAPTHE 4

3 2

4

1

CE AN TR EN

6

5


1

EVENT SPACE

2

CAFE , STATIONERY SHOP

3

WORK STATION

4

LIBRARY

5

SUPPORT AREA

6

RELAX AREA

90


91

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.1 : RECEPTION


PERSPECTIVE

1ST FLOOR

92


93

CHAPTHE 4

PERSPECTIVE

1ST FLOOR


ภาพประกอบที่ 4.2 : ENTRANCE

94


95

ABC

ภาพประกอบที่ 4.3 : WAITING AREA


PERSPECTIVE

1ST FLOOR

96


97

CHAPTHE 4


ภาพประกอบที่ 4.4 : TOP VIEW

98


99

CHAPTHE 4


ISOMETRIC

1ST FLOOR

RELAX AREA

100


101

ACHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.5 : RELAX AREA


PERSPECTIVE

1ST FLOOR RELAX AREA

102


103

CHAPTHE 4

PERSPECTIVE

1ST FLOOR RELAX AREA


ภาพประกอบที่ 4.6 : RELAX AREA (2)

104


105

CHAPTHE 4

BOOKSHELVES

WORK STATION

BE

AN

BO

OK

SH

BA GS

SO

FA B

OO

KS

HE

LV E

S

ELV

ES PE R

CH

SE

AT IN

G


ISOMETRIC

1ST FLOOR KNOLEDGE AREA

ME

ET

IN

GS

TA TIO

N

106


107

CHAPTHE 4

PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA


ภาพประกอบที่ 4.7 : KNOWLEDGE AREA

108


109

ABC

ภาพประกอบที่ 4.8 : KNOWLEDGE AREA (2)

PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA


PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA

ภาพประกอบที่ 4.9 : KNOWLEDGE AREA (3)

110


111

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.10 : KNOWLEDGE AREA (4)

PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA


PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA

ภาพประกอบที่ 4.11 :

KNOWLEDGE AREA (5)

11211


113

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.12 :

WORK STATION


PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA

114


115

CHAPTHE 4

PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA


ภาพประกอบที่ 4.13 : RELAX WORK STATION

116


117

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.14 : RELAX WORK STATION (2)

PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA


PERSPECTIVE

1ST FLOOR KNOWLEDGE AREA

ภาพประกอบที่ 4.15 : RELAX WORK STATION (3)

118


119

CHAPTHE 4

LA

MP

STA

IR

TY

STA PE 1

IR

SE

AT IN

GT

YP E


ISOMETRIC

1ST FLOOR

ACTIVE AREA

STA

IR

SE

AT IN

GT

YP E3

E2

120


121

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.16 :

LAMP STAIR TYPE


PERSPECTIVE

1ST FLOOR ACTIVE AREA

122


123

CHAPTHE 4

PERSPECTIVE

1ST FLOOR ACTIVE AREA


ภาพประกอบที่ 4.17 : STAIR SEATING TYPE 2

124


125

CHAPTHE 4

PERSPECTIVE

1ST FLOOR ACTIVE AREA


ภาพประกอบที่ 4.18 :

LAMP STAIR TYPE 1 (2)

126


127

CHAPTHE 4

2ND FLOOR

1ST FLOOR


ISOMETRIC

STRUCTURE

TR

US

SS

TR

UC

TU

RE

CO LU M

128


129

ABC

3 2

4

5

WC

6

1


ISOMETRIC

2ND FLOOR

1

DEDICATED DESK

2

OFFICE STUDIO FOR RENT SIZE S (FOR 2-4 PEOPLE) , M (FOR 3-6 PEOPLE)

3

OFFICE STUDIO FOR RENT SIZE L (FOR 6-8 PEOPLE) , M (FOR 8-12 PEOPLE)

4

PANTRY

5

SERVICE STATION

6

LERAX AREA (PLAY GROUND)

130


131

CHAPTHE 4

PERSPECTIVE

2ND FLOOR OFFICE SUITE & MEETING ROOM


ภาพประกอบที่ 4.19 :

SUPPORT AREA

132


133

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.20 :

WORKPLACE AREA


PERSPECTIVE

2ND FLOOR

134


135

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.21 :

WORKPLACE AREA(2)


PERSPECTIVE

2ND FLOOR

136


137

CHAPTHE 4

Herman Miller ไดทำการวิจัย โดยใชระบบ PassportTM ในการเก็บขอมูล เพื่อแบงพฤติกรรมในการทำงานที่แตกตางกัน ของพนักงานในแตละแผนก และนำมาออกแบบพื้นที่ใหสอดคลองกับการทำงานในยุคสมัยปจจุบัน ซึ่งแบงไดเปน 2 กลุมใหญ คือ พฤติกรรมที่ทำรวมกัน เชน การพูดคุย การสรางสรรคงานรวมกัน รวมตัว เปนตน และพฤติกรรมที่ทำเดี่ยว เชน การคิดทบทวน การตอบรับ-ประสานงาน เปนตน และจากพฤติกรรมเหลานี้ก็นำไปตีความเปนการจัดวางพื้นที่


ISOMETRIC

2ND FLOOR OFFICE FOR RENT & MEETING ROOM

HERMAN MILLER’S

138


139

CHAPTHE 4

PERSPECTIVE

2ND FLOOR OFFICE SUITE & MEETING ROOM


ภาพประกอบที่ 4.22 :

SUPPORT AREA

140


141

ABC

ภาพประกอบที่ 4.23 :

PERSPECTIVE

MEETING ROOM

2ND FLOOR OFFICE SUITE & MEETING ROOM


PERSPECTIVE

2ND FLOOR OFFICE SUITE & MEETING ROOM

ภาพประกอบที่ 4.24 :

OFFICE SUIT

142


143

CHAPTHE 4

SIT TA STA BL ND E


D

ISOMETRIC

2ND FLOOR DEDICATE SPACE

BO SE OKS AT IN HELV G ES

144


145

ABC

ภาพประกอบที่ 4.25 : DEDICATE ZONE

PERSPECTIVE

2ND FLOOR DEDICATE SPACE


PERSPECTIVE

2ND FLOOR DEDICATE SPACE

ภาพประกอบที่ 4.26 : DEDICATE ZONE

146


147

CHAPTHE 4

RE PL LAX AY GR OU

ND

PE R

CH

SE

AT IN


ISOMETRIC

2ND FLOOR SERVICE AREA

NG

148


149

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.27 : PRANTY


PERSPECTIVE

2ND FLOOR SERVICE AREA

150


151

CHAPTHE 4

ภาพประกอบที่ 4.28 : PLAYGROUD


PERSPECTIVE

2ND FLOOR SERVICE AREA

152


153

CHAPTHE 4


154

BRANDING & CORPORATE IDENTITY


ERGONOMICS - การยศาสตร -

er · go · nom · ics

ergon · nomos ( work )

( law )

law of work

155

CHAPTHE 4

ERGON เออ - กอน

BACKR

9.

- VIC


156

REST 95째 - 100째

95째 - 100째

10

.09 AM

CTORY TIME -

9


SYMBOLIC

BRANDON GROTESQUUUE

157

CHAPTHE 4

ABCDEFG HIJKLM NOPQRS TUVWXYZ

ABCDEFG HIJKLM NOPQRS TUVWXYZ

abcdefg hijklm nopqrs tuvwxyz

abcdefg hijklm nopqrs tuvwxyz

1234567 890

1234567 890

CORPORATE INDENTIT


LOGO

FONT

TY

ภาพประกอบที่ 4.29 : CORPORATE IDENTITY

158



CHAPTER 5 SUMMARY


บทสรุป โครงการศึกษาโรคออฟฟศซินโดรมและโรคอาคารสำนักงาน เพื่อการออกแบบ CO - WORKPLACEถูกคนควาขอมูลตามความเห็น ของคณะกรรมการและอาจารยที่ปรึกษา ผลตอบรับกลับมาในทางที่ดี ในการตรวจครั้งสุดทาย แตบางสวนของโครงการ ยังมีขอผิดพลาด บางอยางอยูบาง อยางเชน การพยายามใส Brainding Identity ทีม ่ าก เกินความพอดีไป และในสวนของการนำเสนองาน มีการตัดตอคนลง ไปใน Perspective ยังคงมีผิดสัดสวนจากความเปนจริงอยูบางรูป

161

CHAPTHE 5

PROJECT S


SUMMARY

162

ขอเสนอแนะ


163

RESEARCH REFERENCE


164

& RESEARCH REFERENCE


-

-

-

165

http://www.siphhospital.com/th/news /article/share/696/Officesyndrome http://www.pt.or.th/knowlage/hu1.pdf http://www.siphhospital.com/th/medi cal-services/treatment-center/rehabil itation-center https://www.bangkokhospital.com/th /rehab_tab https://www.pobpad.com/vte-%E0% B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0 %B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B4% E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B9%80 %E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8% AD%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8 %99%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0% B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%80%E0 %B8%A5 http://thai-ergonomic-assessment.blo gspot.com/2014/07/rosa.html https://pmdu.soc.go.th/gig-economy /4019

RESEARCH REFERENCE

-

-

-

-

http://clmjournal.org/_fileupload/jou rnal/51-11.pdf http://www.est.or.th/ErgoCon2016_ Proceedings/docs/F13.pdf http://elib.coj.go.th/Ebook/data/judge _report/jrp2557_13_54.pdf https://www.si.mahidol.ac.th/th/sic/ admin/news_files/1321_7_1.pdf https://administer.pi.ac.th/uploads/ eresearcher/upload_doc/2018/acade mic/1518686773338757001921.pdf http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/ thesis/2015/TU_2015_5702036269_ 3357_2066.pdf http://cuir.car.chula.ac.th/dspace/bit stream/123456789/45837/1/568711 5920.pdf http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects /thesis/fulltext/thapra/Sasipim_Preec hom/fulltext.pdf


166

วิทยานิพนธ นางสาวธันยวงศ เศรษฐพิทักษ. (2558). ปจจัยที่สงผลใหพนักงานออฟฟศทำงานติดตอ กันเปนระยะเวลานานและเปนโรคออฟฟศซินโดรม. (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี นางสาวฐิฏิมา เสิศอุมดมทรัพย. (2554). นวัตกรรมแนะนำวิธีนวดบรระเทาอาการออฟฟศ ซินโดรม. (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, สหสาขาวิชา

บทความ นางสาวศศิพิมพ ปรีชม. (2556). ความสัมพนัธระหวางการใชงานพนื้ที่เปดโลงบริเวณรอบ อาคารสานักงานกับอาการออฟฟศซินโดรม. อนุสิทธิ์ ไตรรงคทอง. (2557). สภาวะ office syndrome ในผูพิพากษา. อาจารย ดร. นพพร คุรุเสถียร. ศศิธร ชิดนายี. (2560). กลุมอาการจอภาพคอมพิวเตอรหรือความลาของสายตา พาวิณี ใจบาน. (2013). ปจจัยดานการยศาสตรและอาการผิดปกติโครงรางกลามเนื้อของ บุคลากรสายสนับสนุนในโรงพยาบาลที่ทําางานกับคอมพิวเตอร อนุสสรา ฤทธวิ​ิชัย, ณภัควรรต บัวทอง. (2561). กลุมอาการปวยเหตุอาคารและความ เครียดของพนักงาน ที่ปฏิบัติงานในอาคารสํานักงาน กภ.อมร โฆษิดาพันธุ, ผศ.ดร.อริสา สารอง, รศ.นาวาอากาศเอก สุทธิ์ศรีบูรพา. (2559). ความเสี่ยงทางการยศาสตรและอาการปวดที่สงผลตอความบกพรjvงของรยางค แขน ของพนกังานสานกังานที่ใชคอมพิวเตอรในการทางาน


167

CUURRICULUMVITVE


168

CURRICULUMVITAE

NAME

:

THATTI KHAMKHEAW

BIRTH

:

20 MARCH 1996

AGE

:

24 YEARS

ADDRESS

:

99/191 MOO 3 ,THUBMA , MUEANG RAYONG , RAYONG 21000

TEL.

:

+66806116113

E - MAIL

:

thatti.khamkheaw@gmail.com

:

ANUBAN SUPHANBURI SCHOOL (GRADE 1-5)

:

ANUBAN RAYONG SCHOOL (GRADE 6)

SECONDARY

:

RAYONGWITTAYAKOM SCHOOL

UNIVERSITY

:

2015 - 2016

EDUCATION ELEMENTARY

DEPARTMENT OF COMPUTER SCIENCE FACULTY OF SCIENCE AND TECHNOLOGY , THAMMASAT UNIVERSITY 2017 - NOW DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN , COLLAGE OF ART ,RANGSIT UNIVERSITY


5905821


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.