โครงการออกแบบภายใน พิพิธภัณฑ์ ช่างสิบหมู่
Sitikorn Thampramoth 5503067 College of art and Design Department of Interior Design Rangsit University
โครงการออกแบบภายใน พิพิธภัณฑ์ ช่างสิบหมู่ โดย นาย สิทธิกร ธรรมปราโมทย์ รหัสนักศึกษา 5503067
ศิลปนิพนธ์นี �เป็ นส่วนหนึง� ของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ปี การศึกษา 2562
ชื�อโครงการ
:
โครงการออกแบบภายในพิพิธภัณฑ์ ช่างสิบหมู่
ประเภทงานศิลปนิพนธ์ :
ประเภทงานออกแบบภายใน
ผู้ดาํ เนินงานศิลปนิพนธ์ :
นาย สิทธิกร ธรรมปราโมทย์ รหัส 5503067 วิชาการออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยารัยรังสิต ปี การศึกษา 2562
ที�ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์
อาจารย์ไพลิน โภคทวี
สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมตั ใิ ห้ นบั ศิลปนิพนธ์ฉบับนี �เป็ นส่วนหนึง� ของการศึกษา ตามหลักสูตรปริ ญญาบัณฑิตสาขาวิชา ออกแบบภายใน ............................................ คณบดีคณะวิทยาลัยการออกแบบ (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน) ............................................ (อาจารย์ วริ ศว์ สินสืบผล)
ประธานกรรมการ
............................................ (อาจารย์ เกรี ยงศักดิ� สุวรรณบูล)
กรรมการ
............................................ (อาจารย์ วิรุจ ไทยแช่ม)
กรรมการ
............................................ (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์ สวรรค์)
กรรมการ
............................................ กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทยั กาณจน์)
อาจารย์ที�ปรึกษาศิลปนิพนธ์
............................................ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์)
กรรมการ
............................................ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ)
กรรมการ
............................................ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรี ปงุ วิวฒ ั น์)
กรรมการ
............................................ (อาจารย์ ไพลิน โภคทวี)
กรรมการ
............................................ ( )
ก หัวข้ อศิลปนิพนธ์ ผู้ดาํ เนินงาน สาขาวิชา อาจารย์ ท� ปี รึกษา ปี การศึกษา
โครงการออกแบบภายในพิพิธภัณฑ์ ช่างสิบหมู่ นาย สิทธิกร ธรรมปราโมทย์ ออกแบบภายใน อาจารย์ไพลิน โภคทวี 2562
บทคัดย่ อ ช่างสิบหมู่ เป็ นกลุม่ ช่างไทยโบราณ โดยรับราชกาลให้ กรมในวังมีขึ �นตัง� แต่สมัยอยุธยาจนถึงปั จ จุบนั โดยเป็ นองค์ความรู้ทางงานฝี มือ ทางภูมิปัญญาและมรดกไทยที�มีมาช้ านาน จนในโดยปั จจุบนั ค่อยเสื�อม หายไปตามกาลเวลาโครงการออกแบบภายในพิพิธภัณฑ์ชา่ งสิบหมูจ่ งึ เกิดขึ �น เพื�อให้ เป็ นการอนุรักษ์ รักษา มรดกภูมิปัญญาของไทย สถานที�ตงโครงการนั ั� นได้ � เลือกย่านราชดําเนินเพราะย่านราชดําเนินถือเป็ นแหล่งการท่องเที�ยวเชิง ประวัตศิ าสตร์ อีกทังยั � งเป็ นใจกลางของกรุงเทพมหานครที�มีประวัตสิ ร้ างมาตังในสมั � ยรัชกาลที�5 โดยสถานที�ที� ให้ ความรู้เกี�ยวกับช่างสิบหมูอ่ ย่างเปิ ดเป็ นทาการยังไม่มีใน กรุงเทพฯ จะมีก็แต่จงั หวัดข้ างเคียง เช่น กรม ช่างสิบหมู่ ศาลายา จังหวัดนครปฐม ทําให้ เล็งเห็นถึงการเข้ าถึงของ วงการช่างศิลป์ ไทย ดังนันจึ � งเป็ นแหล่งรวบ รวมองค์ความรู้ของ ช่างสิบหมู่ โดยให้ สามารถเข้ าใจและเข้ าถึงง่าย โดยการออกแบบพิพิธภัณฑ์ ที�เจาะกลุม่ ไป ในผู้คนกลุม่ ที�สนใจ ภายใต้ การ Design Displayให้ เข้ ากับยุคสมัยใหม่ โดยใช้ เทคโนโลยีมาเข้ าช่วยในการ ออกแบบ พิพิธภัณฑ์ชา่ งสิบหมู่ หรื อช่างสิบหมูน่ ี �ได้ รับความสนใจอย่างมากของนักท่องเที�ยวเชิงประวัตศิ าสตร์ โดยเป็ นพิพิธภัณฑ์กงึ� ประวัตศิ าสตร์ กงึ� หอศิลป์ เป็ น พิพิธภัณฑ์ที�มีขนาดใหญ่ทาบไปตามแนวถนนราชดําเนิน โดยจีมพื �นที�รองรับสําหรับบุคคลทัว� ไป จนกระทังถึ � งบุคคลที�สนใจ เกี�ยวกับงานหัตถกรรมไทยได้ โดย มี กิจกรรม อาทิ โรงละคร เวริ คช็อป หรื อห้ องปฏิบตั ิการ การออกแบบพิพิธภัณฑ์ โดยจะเลือกใช้ วสั ดุตกแต่งที�มีเรื� องราวเกี�ยวกับความเป็ นไทย ผสมผสาน กับสไตล์ Modernทําให้ รูปลักษณ์ออกมามีลกั ษณะแปลกตาดูทนั สมัยและยังมีความเป็ นไทยแอบแฝง ส่วนการ จัดนิทรรศการนันได้ � รวบรวมสิง� ของที�มีความเก่าแก่ทางด้ านโบราณวัตถุมารวบรวมไว้ โดยส่วนงานระบบ ก็ให้ ความสําคัญเช่นกัน ไม่วา่ จะเป็ นงานระบบ ไฟฟ้า งานระบบห้ องภาพยนตร์ หรื อโรงละคร ไปถึงทางหนีไฟ เพื�อ ความปลอดภัยของผู้เข้ าชม ในปั จจุบนั ประเทศไทยยังไม่คอ่ ยมีพิพิธภัณฑ์ที�ใช้ เทคโนโลยีเข้ ามาช่วยในการออกแบบด้ าน สื�อจัดแสดงยิ�งนัก โดยผู้วิจยั นี �ได้ สรรหาวิ�งแปลกใหม่มาสร้ างออกแบบรวมผนวกกับของเก่าเพื�อให้ เป็ นประโยชน์ แก่สงั คม ให้ เหมาะกับยุคสมัยและไม่ลืมรากเง้ าความเป็ นไทย
ข Title Name Department Advisor Academic Year
Tranditional Thai Craft museum Sitikorn Thampramoth Interior Design Pailin Phokthavi 2019
ABSTRAC Technicians ten groups are a group of ancient Thai craftsmen. By receiving a royal commission for the royal palace to be established From the Ayutthaya period to the present Currently, it is a know ledge of the craft. Of Thai wisdom and heritage for a long time Until nowadays gradually deteriorates Disappeared over time, the museum's interior design project took place In order to be a preserve Thai Heritage The project location has chosen Ratchadamnoen District because Ratchadamnoen District is considered a tourist attraction. history It is also the center of Bangkok that has a history built in the reign of Rama 5. By location Providing knowledge about ten mechanic groups, open, working, in Bangkok. There will be only neighboring provinces such as the Department Changsipmu, Salaya, Nakhon Pathom Province Made foresaw the reach of Thai Art Therefore it is a gathering place.Including the knowledge of the ten technicians in order to be able to understand and access easily By the design of the museum Penetrating Among the people who are interested under the Design Display to match the modern era By using technology to help with design Museum of the Ten Mechanics Or these ten mechanics have received a great deal of historical tourists It is a semi-historical museum, semi-art gallery, which is a large museum leaning along the Ratchadamnoen Road. By GM, support area for general people Until interested parties About Thai ha ndicrafts by having activities Such as theater, workshop, or laboratory Museum design By choosing to use decorative materials that have stories about Thai being mixed With Modern style, resulting in a unique look, modern look and hidden Thai style.The exhibition has collected items that are ancient in the antiquities to be collected. In which the system work provides Important as well Whether electrical system work, movie room system or theater system work Reach the fire exit to Visitor safety At present, Thailand still does not have a museum that uses technology to help with the design of The media exhibited so much. In which this researcher has selected exotic running to create, design, and combine with the old to be useful For society to suit the era and not forgetting the roots of being Thai
ฃ กิตติกรรมประกาศ ผลงานศิลปะนิพนธ์โครงการออกแบบปรับปรุงพิพิธภัณฑ์ ช่างสิบหมูน่ ี � นันสํ � าเร็ จได้ ด้วยบุพการี และญาติ มิตรที�ชว่ ยสนับสนุนทุนทรัพย์ในการเล่าเรี ยนและพัฒนางานมาจนถึงปั จจุบนั ขอขอบพระคุณไว้ ใน ณ ที�นี �ด้ วย ขอขอบพระคุณอาจารย์ไพลิน โภคทวี ที�ปรึกษาและคณะอาจารย์ภาควิชาสาขาออกแบบภายในทุกท่าที� ให้ คําปรึกษาและชี �แนะวิธีการในการพัฒนาตัวโครงการให้ มีประสิทธิภาพมากขึ �นจนสําเร็ จไปได้ ด้วยดี ขอขอบคุณเพื�อน รุ่นพี�และรุ่นน้ องทังในและนอกคณะที � �ให้ ความช่วยเหลือในการทํางาน ในการใช้ ชีวิต ตลอดระยะเวลาที�ได้ ศกึ ษาในมหาวิทยาลัย ให้ ได้ พบประสบการณ์ตา่ ง ๆที�ดี ขอบคุณมิตรภาพที�ดีที�มีให้ ตอ่ กันใน ณ ที�นี �
ผู้จดั ทําศิลป์ นิพนธ์ นาย สิทธิกร ธรรมปราโมทย์ 9 เมษายน 2563
ค สารบัญ หน้ า บทคัดย่อ บทคักย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพประกอบ บทที�1 บทนํา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที�คาดว่าจะได้ รับ ขอบเขตการศึกษา ระเบียบวิจยั แหล่งข้ อมูลอ้ างอิง แผนการดําเนินการวิจยั บทที�2 การศึกษาข้ อมูลพื �นฐานของโครงการ ประวัตชิ า่ งสิบหมู่ ช่างเขียน ขันตอนการเขี � ยนลายรดนํ �า ประวัติ ช่างปั น� ประวัติ ช่างหล่อ ประวัติ ช่างแกะ ประวิต ช่างสลัก ประวัติ ช่างกลึง ประวัติ ช่างหุน่ ประวัติ ช่างรัก ประวัติ ช่างบุ,ช่างปูน Target group Activity Area requirment and Functional relationship Case Study Location and site Analysis Space Analysis and Building Analysis
ก ข ฃ ค-ฅ ฆ-จ 1 2 2 2 3 3-4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22
ฅ สารบัญ หน้ า บทที�3 ทฤษฎี และ แนวคิดในการออกแบบ Design guildline ประเภทของพิพิธภัณฑ์ ประเภทการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ ประเภทสื�อในการจัดแสดง การจัดทางสัญจรในพิพิธภัณฑ์ การจัดผังห้ องจัดแสดง Conceptual Zoning Diagram Conceptual Zoning Floor 1 Conceptual Zoning Floor 2 Conceptual Zoning Floor 3 บทที�4 ผลงานการออกแบบ Plan and Zoning Floor 1 Perspective Reception and craft market Perspective Libary and workshop room Perspective Museum retail and Cafe Perspective Cinema Tricket Plan and Zoning Floor 2 Perspective ช่างรัก,ช่างกลึง+ช่างสลัก+ช่างรัก Perspective ช่างปูน,ช่างกลึง+ช่างสลัก Perspective ช่างปูน,ช่างกลึง Perspective ช่างหล่อ,ช่างปั น� Perspective ช่างหล่อ+ช่างปั น� Plan and Zoning Floor 3 Perspective ช่างเขียนใหม่,ช่างบุดนุ Perspective ช่างเขียนโบราณ Perspective ช่างสลัก Perspective ช่างแกะ(หนังใหญ่) Perspective ช่างหุน่ Perspective โรงละคร Perspective Corporate identity บทที�5 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ บรรณานุกรม
23 24 25 26 26-29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57
ฆ สารบัญภาพ หน้ า ภาพประกอบ ภาพที� 1 : สํานักช่าสิบหมู่ ภาพที� 2 : เครื� องมือระเบียบการวิจยั ภาพที� 3 : ความเป็ นมาช่างสิบหมู่ ภาพที� 4: หมูใ่ นการเขียนภาพไทย ภาพที� 5 : เทคนิคการเขียนสีโบราณ ภาพที� 6 : ลักษณะงานของช่างเขียน ภาพที� 7 : ขันตอนการเขี � ยนลายรดนํ �า ภาพที� 8 : ภาพตัวอย่างานปั น� ปูน ภาพที� 9 : ภาพตัวอย่างประเภทงานปั น� ปูน ภาพที� 10 : ภาพตัวอย่างงานหล่อ ภาพที� 11 : ภาพตัวอย่างขันตอนงานหล่ � อ ภาพที� 12 : ภาพตัวอย่างงานแกะ ภาพที� 13 : ภาพตัวอย่างงานแกะเครื� องสด ภาพที� 14 : หนังใหญ่ ภาพที� 15 : ประเภทงานสลักไม้ ภาพที� 16 : ขันตอนการสลั � กไม้ ภาพที� 17 :ลักษณะการทํางานของช่างกลึง ภาพที� 18 : ผลงานของช่างกลึง ภาพที� 19 : การทําหัวโขน ภาพที� 20: หุน่ ละครเล็ก ภาพที� 21: การลงรักปิ ดทอง ภาพที� 22 : ประดับกระจก ภาพที� 23 : ประดับมุก ภาพที� 24 : ผลงานการบุดนุ โลหะ ภาพที� 25 : หน้ าบันช่างปูน ภาพที� 26 : กราฟแสดงช่วงอายุ ที�เข้ าฝึ กอบรมวิชาชีพ ช่างสิบหมู่ ภาพที� 27 : บรรยากาศการฝึ กอบรม ภาพที� 28 :การWorkshop ที� Thai Craft studio ภาพที� 29 : ออกไปดูงานนอกสถานที� ภาพที� 30 : สอนเขียนลายรดนํ �า
1 2 6 7 7 8 8 9 9 10 10 11 11 11 12 12 13 13 14 14 15 15 15 16 16 17 17 20 20 20
ง สารบัญภาพ หน้ า ภาพประกอบ ภาพที� 31 : อาคารหอศิลป์ ราชดําเนิน ภาพที� 32 : แผนที� ภาพที� 33 : สถานที�รอบอาคาร ภาพที� 34: ภาพภายนอกอาคารหอศิลป์ ราชดําเนิน ภาพที� 35 : ภาพภายในอาคารชันที � �1 ภาพที� 36 : ภาพภายในอาคารชันที � �2 ภาพที� 37 : ภาพภายในอาคารชันที � �3 ภาพที� 38 : การแสดงในพิพิธภัณฑ์ ภาพที� 39 : ประเภทพิพิธภัณฑ์ ภาพที� 40 : การจัดนิทรรศการในร่ม ภาพที� 41 : การจัดนิทรรศการกลางแจ้ ง ภาพที� 42 : ประเภทแผนหูมิในการจัดแสดง ภาพที� 43 : ประเภทกราฟในการจัดแสดง ภาพที� 44 : แผนที� ภาพที� 45 : ประเภทโมเดลจําลอง ภาพที� 46 : Diorama ภาพที� 47 :ตัวอย่างการสาธิต ภาพที� 48 : ตัวอย่างเส้ นทางการสัญจร ภาพที� 49 :ผังการจัดแสดง ภาพที� 50: Zoning floor 1 ภาพที� 51: Zoning floor 2 ภาพที� 52 : Zoning floor 3 ภาพที� 53 : Plan and zoning Floor1 ภาพที� 54 : Reception perspective ภาพที� 55 : Craft market perspective ภาพที� 56 : Libary perspective ภาพที� 57 : Workshop perspective ภาพที� 58 :Museum Retail perspective ภาพที� 59 : Cafe perspective ภาพที� 60 : Cinema tricket perspective
21 21 21 22 22 22 22 24 25 26 26 27 27 28 28 29 29 30 31 33 34 35 37 38 38 39 39 40 40 41
จ สารบัญภาพ หน้ า ภาพประกอบ ภาพที� 61 : Plan and zoning Floor 2 ภาพที� 62 : Perspective ช่างรัก ภาพที� 63 : Perspective ช่างรัก+ช่างสลัก+ช่างกลึง ภาพที� 64: Perspective ช่างปูน ภาพที� 65 : Perspective ช่างกลึง+ช่างสลัก ภาพที� 66 : Perspective ช่างปูนอุโมง มัลติมีเดีย ภาพที� 67 : Perspective ช่างกลึง ภาพที� 68 : Perspective ช่างหล่อ ภาพที� 69 : Perspective ช่างปั น� ภาพที� 70 : Perspective ช่างหล่อ+ช่างปั น� ภาพที� 71 : Perspective ช่างหล่อ ภาพที� 72 : Plan and zoning Floor3 ภาพที� 73 : Perspective ช่างเขียนร่วมสมัย ภาพที� 74 : Perspective ช่างบุดนุ ภาพที� 75 : Perspective ช่างเขียนโบราณ ภาพที� 76 : Perspective ช่างเขียนโบราณ2 ภาพที� 77 :Perspective ช่างสลัก ภาพที� 78 : Perspective อุโมงหนังใหญ่ ภาพที� 79 :Perspective หนังใหญ่ ภาพที� 80: Perspective ช่างหุน่ ไฮไลท์ ภาพที� 81: Perspective ช่างหุน่ ภาพที� 82 : Perspective โรงละคร ภาพที� 83 : Mood board ภาพที� 84 : Coparate identity
42 43 43 44 44 45 45 46 46 47 47 48 49 49 50 50 51 52 52 53 53 54 55 55
1
บทที�1 บทนํา
ภาพประกอบ ที�1 สํานักช่างสิบหมู่
Project background ช่างสิบหมู่ คือ บรรดาช่างทําการศิลปกรรมประเภทต่างๆ ของไทยซึง� จะมีคําอธิบายชนิดงานของช่างดัง แต่ละหมูจ่ ดั ว่าเป็ นกลุม่ บุคคลที�มีความสามารถชํารนาญในการสร้ างสรรค์แบบแผน รูปลักษณะศิลปะลักษณะ ขนบ ทําเนียมและ ประเพณีนิยมสร้ างผลงานขึ �นในงานศลิ ปกรรมแต่ละประเภท เพื�อ บริ การแก่สงั คม งานช่า งสิบหมูก่ ล่าว ได้ วา่ เป็ นงานช่างประเภทประณีตศลิ ป์ และงานประเภทวิจิตรศลิ ป์ เป็ นสําคัญ ที�มาของช่างฝี มื อช่างสิบหมูใ่ นสมัยก่อน มาจากคําว่า “สิปป” หรื อแปลว่า “ศิลป” จึงเพี �ยนมาเป็ นช่างสิบหมูเ่ พื�อสนองความต้ อง การราชการในส่วนพระ มหากษัตริ ย์ ศาสนา และ ประชาชน โดยในยุคสมัยนี � ศิลปไทยได้ รับการเผยแพร่น้อยลง จึงต้ องการศึกษา ประวัติ ขันตอนการทํ � างานของกล่มุ ช่างสิบหมูเ่ พื�อนํามารวบรวมเป็ นการออกแบบในการทําพิพิธภัณฑ์ เพื�อเป็ นแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ เกี�ยวกับ งาน ช่างศิลปไทย วัฒธรรมไทย และเผยแพร่ตอ่ คนสมัยใหม่ เป็ นการจุดประกายการศึกษา ขันตอนเทคนนิ � ค เพื�อนํา ไปใช้ ตอ่ ยอด ในการทําธุรกิจ และ ประกอบอาชีพ
2
Objectives 1.เพื�ออนุรักษ์ “ศิลปวัฒณธรรมไทย” และ ประเพณี ให้ คงอยูโ่ ดยสร้ างเป็ นแหล่งการเรี ยนรู้ 2.ต้ องการนํามาสร้ างสรรค์ ประยุกต์ และต่อยอดทางธุรกิจ โดยกระบวนการเทคนิคโบราณ และนําเสนอต่อบุคคลทัว� ไป และ นักท่องเที�ยว 3.เพื�อค้ นหาแนวทางและเทคนิคในการสร้ างสรรค์งานของช่างสิบหมูท่ ี�เป็ นอัตลักษณ์รวมไปถึง แนวทางพัฒนาการสร้ างสรรค์ตอ่ ยอดไปในอนาคต
Area of Study
1.ศึกษาประวัตคิ วามเป็ นมา และ ความสําคัญ ของช่างสิบหมู่ 2.ศึกษาขันตอน � วิธีการ เทคนิค ของช่างศิลป์ ไทยในสมัยก่อน 3.ศึกษาการจัดแสดง และการออกแบบของพิพิธภัณฑ์
Expectation
1.บุคคลทัว� ไป และนักศึกษา รวมถึงกระทัง� ผู้ที�สนใจ มีความรู้ทางด้ านการทํางานของช่าง สิบหมูม่ ากขึ �น 2.เปิ ดโอกาศให้ บคุ ลากรที�สนใจ สามารถเรี ยนรู้ เทคนิควิธีการ และขันตอนการทํ � างาน ของช่างสิบหมู่ 3.มีความรู้ ความเข้ าใจ ประวัตคิ วามเป็ นมา ของช่างไทย และสามารถนําไปประยุกษ์ ใช้ ในธุรกิจได้
Research methodology Book
Camera
Laptop
Phone
pencil pen
Libary
ภาพประกอบ ที�2 รูปเครื� องมือระเบียบการวิจยั
3
Research Reference
1.สํานักช่างสิบหมู่ กรมศิลปกร https://www.finearts.go.th/traditionalart
2.โรงเรี ยนช่างสิบหมู่ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนาภิเษก วิทยาลัยในวัง 3.หนังสือช่างสิบหมู่ 4.Thai craft studio 5.วิจยั พิพิธภัณฑ์ ช่างสิบหมู่ ของ นางสาว นัตถ์กานต์ ทองดี
Research Schedule
ภาคเรี ยนที�1
นําเสนอหัวข้ อ สํารวจพื �นที� นําเสนอโครงการ 1 สรุปหัวข้ อ และพัฒนา โครงการ นําเสนอโครงการ2 สรุปหัวข้ อ และพัฒนา โครงการ นําเสนอโครงการ3
ส.ค
ก.ย
ต.ค
พ.ย
ธ.ค
4
Research Schedule ภาคเรี ยนที� 2 นําเสนอหัวข้ อ พัฒนาโครงการ นําเสนอโครงการ 1 สรุปหัวข้ อ และพัฒนา โครงการ นําเสนอโครงการ2 สรุปหัวข้ อ และพัฒนา โครงการ นําเสนอโครงการ3 Book thesis
ม.ค
ก.พ
มี.ค
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
5
บทที� 2
การศึกษาข้ อมูลพื �นฐานของโครงการ
6
ช่างสิบหมู่ คือ อะไร
ภาพประกอบ ที�3 ความเป็ นมาของช่างสิบหมู่ ช่างสิบหมู่ หรื อบรรดาช่างทําการศิลปกรรมประเภทต่างๆ ซึง� จะมีคําอธิบายงานของช่างแต่ละหมูต่ อ่ ไป นี � จัดว่า เป็ นกลุม่ บุคคลที�มีความ สําคัญในการสร้ างสรรค์ ศิลปลักษณะขนบนิยม และประเพณีขึ �นในงานศิลปกรรมแต่ละ ประเภท ช่างสิบหมูม่ ีหน้ าที�โดยตรงในการสร้ างสรรค์งานศิลปกรรมต่างๆ ทัง� ประณีตศิลป วิจิตรศิลป มัณฑนศิลป์ แก่ราชการในส่วนพระองค์ อาทิ เครื� องราชูปโภค พระราชพาหนะ พระราชมณเฑียรสถาน เป็ นต้ น และในบันทึก พระองค์เจ้ าประดิษฐ์ วรการ ผู้ควบคุมช่างสิบหมูใ่ น สมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที� 5 ได้ จําแนกไว้ ดงั นี �…1.หมูช่ า่ งเขียน 2.หมูช่ า่ งแกะ 3.หมูช่ า่ งหุน่ 4.หมูช่ า่ งปั น� 5.หมูช่ า่ งปูน 6.หมูช่ า่ งรัก 7.หมูช่ า่ งบุ 8.หมูช่ า่ งกลึง 9.หมูช่ า่ งสลัก 10.หมูช่ า่ งหล่อ เป็ นส่วนที�รวบรวมบรรดาบุคคลที�มีความรู้ ความสา มารถ และฝี มือช่างศิลปะประเภทต่าง ๆ ที�มีอยูใ่ นบ้ านเมือง เข้ ามารับสนองราชการ ประจํา จึงได้ รับการขนานนามมาแต่เดิมว่ากรมช่างสิบหมู่ กลุม่ ช่างสิบหมูใ่ นปั จจุบนั ปฏิบตั ภิ ารกิจในสายงานช่างประณีตศิลปกรรมด้ านช่างสิบหมูข่ องไทยโบราณ ถึงจะ ได้ รับการถ่ายทอดความรู้ความสามารถด้ านช่างจากช่างในยุคกรมช่างสิบหมูเ่ ดิมได้ น้อยมาก ปั จจุบนั ช่าง10หมู่ มีสถานะภาพเป็ น กลุม่ งานช่างสิบหมู่ ในสังกัดสํานักสถาปั ตยกรรมและหัตถศิลป์ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒน ธรรม กลุม่ ช่างสิบหมูม่ ีภารกิจ ดังต่อไปนี � ๑.ปฏิบตั งิ านด้ านสร้ างสรรค์งานประณีตศิลปกรรมด้ านช่างสิบหมูเ่ พื�ออนุรักษ์ และพัฒนาศิลปกรรมด้ านนี � ๒. ปฏิบตั งิ านซ่อมอนุรักษ์ ศลิ ปวัตถุที�ต้องใช้ กระบวนการช่างลักษณะช่างสิบหมู่ เพื�ออนุรักษ์ ศิลปกรรมอันมีคา่ ของชาติให้ คงอยูส่ ืบไป ๓. ค้ นคว้ า วิเคราะห์ วิจยั รวบรวม จัดทําเอกสารทางวิชาการหรื อสื�อทางเทคโนโลยีสารสนเทศเกี�ยวกับศิลปกรรม ด้ านช่างสิบหมูเ่ พื�อเผยแพร่และ สืบทอดศิลปกรรมด้ านนี � ๔. ออกแบบ – เขียนแบบด้ านประณีตศิลปกรรมด้ านช่างสิบหมูเ่ พื�อปฏิบตั กิ ารด้ านช่างสิบหมูใ่ นลักษณะต่าง ๆ และเมื�อมีหน่วยงานภายนอก ขอมาโดยความเห็นชอบของผู้บงั คับบัญชา ๕. จัดสาธิตและบรรยาย อธิบาย ช่วยสอนพิเศษรายวิชา ด้ านประณีตศิลปกรรมด้ านช่างสิบหมูเ่ พื�อเผยแพร่และ สืบทอดศิลปกรรมด้ านนี �
7
1.ช่างเขียน
กนก
กระบี�
นารี
คชะ
ภาพประกอบ ที�4 หมูใ่ นการเขียนภาพไทย 1.กนก ภาษาสันสกฤต แปลว่า “หนาม”สําหรับช่างเขียนโบราณ กนก คือ ดงป่ าดงไม้ มีแบบฟอร์ มคือเปลวไฟ เป็ นรูปสามเหลี�ยม การฝึ กร่างลวดลาย ให้ ร้ ูจกั ความประสานสัมพันธ์กนั ของเส้ นที�ผกู รวมกันเป็ นลายไทย โดยเฉพาะกนกแบบต่างๆ เช่น กนกสามตัวกนกใบเทศ กนกเปลว ถือเป็ นปฐมบทที�ต้องฝึ กฝนให้ ชํานาญก่อน ที�จะทําการช่างอย่างอื�นต่อไป 2. นารี คือ การเรี ยนรู้ฝึกฝนเกี�ยวกับการเขียนหน้ ามนุษย์ เทวดา นางฟ้า พระ และนางทังด้ � านหน้ าตรงและด้ าน หน้ าซึง� ถือว่าเป็ นภาพหลัก ของภาพไทย เมื�อเขียนได้ คล่องแคล่วดีแล้ ว จึงฝึ กเขียนทังตั � วในอริ ยาบถต่าง ๆ ภาพเหล่านี �จะแสดงอารมณ์ด้วย กิริยา ใบหน้ าของตัว ภาพจะไม่แสดงอารมณ์ดงั นันจึ � งฝึ กฝนเขียนตัวภาพไทย ให้ งดงามถูกต้ องตามแบบแผนของศิลปะไทย นอกจากการฝึ กเขียนตัวภาพหลัก ดังกล่าวแล้ ว ยังต้ องฝึ กการ เขียนภาพหรื อตัวภาพที�เป็ นคนธรรมดาและการเขียนภาพจับสําหรับเขียนเรื� องรามเกียรติ�ให้ เกิดความชํานาญ ด้ วย 3.กระบี� คือ การฝึ กเขียนภาพอมนุษย์ตา่ ง ๆ ได้ แก่ พวกยักษ์ วานร เป็ นต้ น ในการฝึ กจะต้ องฝึ กจากภาพลิงหรื อ กระบี�เป็ นอันดับแรก เมื�อเขียน ได้ แม่นยําแล้ วจึงฝึ กเขียนภาพอื�นต่อไป การฝึ กเขียนภาพหมวดนี �จะเป็ น ประโยชน์ในการเขียนภาพเรื� องรามเกียรติ� 4. คชะ คือ การฝึ กเขียนภาพสัตว์สามัญและภาพสัตว์ประดิษฐ์ ตา่ งๆ โดยเริ� มจากคชะหรื อช้ างซึง� เป็ นสัตว์ใหญ่ก่อน แล้ วจึงฝึ กเขียนภาพสัตว์เล็ก ต่อไป ในหมวดนี �จะแบ่งสัตว์ที�เขียนเป็ นสองประเภท ประเภทแรกคือสัตว์ที�มีอยู่ บนโลกมนุษย์ เช่น ช้ าง ม้ า วัว นก เป็ นต้ น ประเภทที�สอง คือ สัตว์ประดิษฐ์ หรื อสัตว์หิมพานต์ เช่น กินรี ราชสิงห์ เป็ นต้ น
Technique
เขียนสีนํ �ากาว
งานเขียนสีรายลดนํ �า
ภาพประกอบ ที�5 เเทคนิคการเขียนสีไทยโบราณ
8
ลักษณะการทํางานของช่างเขียน
2
1
4 3ภาพประกอบ ที�6 ลักษณะงานช่างเขียน 1.รูปภาพการทํางานของช่างเขียน จิตกรรมฝ้าเพดาน 2.รูปภาพการทํางานของช่างเขียน จิตกรรมฝาผนัง 3.การเขียนลายรดนํ �าหน้ าประตูทางเข้ าอุโบสถ
ขันตอนการเขี � ยนลายรดนํ �า 1
2 3
ภาพประกอบ ที�7 ขันตอนการเขี � ยนลายรดนํ �า 1.ขันตอนการเตรี � ยมพื �นผิวของวัตถุ คือ การนํารักสมุกมาถมลงบนพื �นผิวที�เตรี ยมไว้ 2.การปุลายด้ วยกระดาษไข คือการเจาะกระดาษไขให้ เข้ ากับลายที�เราต้ องการ และทาด้ วยดินสอผอง 3.การเขียนลายรดนํ �าด้ วยนํ �ายาหรดาน
9
2.ช่างปั น�
ภาพประกอบ ที�8ตัวอย่างช่างปั น� ช่างปั น� บุคคลประเภทหนึง� ที�มีทงฝี ั � มือ และ ความสามารถเป็ นช่าง อาจกระทําการประมวลวัสดุตา่ งๆ อาทิ ดิน ปูน ขี �ผึ �ง อย่างใดอย่างหนึง� มาประกอบเข้ าด้ วยกัน สร้ างเป็ นรูปทรงที�มีศลิ ปะลักษณะ พร้ อมอยูใ่ นรูป วัตถุที�ได้ สร้ าง ขึ �นนันได้ � เป็ นอย่างดี และ มีคณ ุ ค่าในทางศิลปกรรม งานนปั น� อย่างไทย หรื อ งานปั น� แบบไทย ประเพณี มักเป็ นงานปั น� ที�มีรูปลักษณ์ โน้ มไปในรูปแบบที�เป็ นลักษณะ รูปประดิษฐ์ หรื อ ที�เรี ยกว่า ”อดุมคตินิยม“ ตามคติความเชื�อในหมูค่ นส่วนมากแต่อดีต เนื�องด้ วยเป็ นงานศิลปกรรม ที�ได้ รับการจัดให้ มีขึ �น สําหรับหน้ าที� ประโยชน์ใช้ สอย และ สร้ างเสริ มความสําคัญแก่ถาวรวัตถุ และถาวรสถานทังใน � ฝ่ ายศาสนจักร และ ฝ่ ายอาณา จักรซึง� มีคตินิยมรูปแบบที�เป็ นลักษณะ “บุคลาธิษฐาน” เป็ นสําคัญ โดยประเภทของ งานปั น� ไทยแบ่ง ได้ 3 ชนิดใหญ่ๆ ได้ แก่ 1.ปั น� นูนตํ�า 2.นูนสูง 3.ลอยตัว
นูนตํ�า
นูนสูง ภาพประกอบ ที�9 ประเภทลักษณะของงานปั น�
ลอยตัว
10
3.ช่างหล่อ
ช่างหล่อ งหล่อ เป็ นช่างสร้ างศิลปกรรมประเภทวิจิตรศิลป งานของช่างหล่อ เป็ นงานที�เกี�ยวเนื�องกัน กับ งานปั น� ช่างหล่อจํานวนไม่น้อย มักเป็ นผู้ที�มีความสามารถในการปั น� อยูด่ ้ วย หรื อไม่ก็เป็ นทังช่ � างปั น� และช่างหล่อ อยูใ่ นคน เดียวกัน ทังนี � �เนื�องด้ วยงานปั น� ที�เป็ นประติมากรรมแบบ ไทยประเพณี เป็ นต้ นว่า พระพุทธปฏิมากร เทวปฏิมากร รูปฉลองพระองค์ พระมหากษัตริ ย์ ฯลฯ เมื�อจะทําเป็ นรูปอย่างโลหะหล่อ ก็จะต้ องจัดการปั น� หุน่ รูป นันๆ � ขึ �นเสียก่อน ด้ วยขี �ผึ �ง แล้ วจึงทําการเปลี�ยนสภาพรูปหุน่ นัน� แปรไปเป็ นรูปโลหะหล่อ ซึง� กระบวนการแต่ละขึ �น ตอน ของงานประเภทนี � ย่อมมีความสัมพันธ์แก่กนั และกันทุกขันตอน � ดังนี � ช่างหล่อจึงมักเป็ นช่างปั น� อยูใ่ นตัวเป็ นขนบนิยม เช่นนี �มาแต่โบราณ งานหล่อ ที�เป็ นงานของช่างในจําพวกช่างสิบหมูน่ ี � หมายถึงการสร้ างงานประติมา กรรม หรื อ รูปปฎิมากรรม ให้ มีขึ �นด้ วยการหลอมโลหะ ให้ ละลายเป็ นของเหลว แล้ วเทกรอกเข้ าไปในแม่พิมพ์ที�ได้ จัดทําขึ �น บังคับให้ โลหะเหลวขังอยูใ่ นนัน� เมื�อโลหะคลายความร้ อน และ คืนตัวแข็งดังเดิม ก็จะเป็ นรูปทรงตามแม่ พิมพ์นนั � บังคับให้ เป็ นไป พอแกะ หรื อ ทําลายแม่พิมพ์ออกหมด ก็จะได้ รูปโลหะหล่อ ตามรูปต้ นแบบ หรื อ รูปหุน่ ที� ได้ ทําขึ �นเป็ นแบบก่อนที�จะถ่ายถอนทําแม่พิมพ์ หรื อ ทําแม่พิมพ์ขึ �นหุ้มหุน่ นัน�
ลักษณะงานช่างหล่อ
ภาพประกอบ ที�10 ภาพตัวอย่างงานหล่อ
ขันตอนการหล่ � อ
1
2
5
3
4
5 6 ภาพประกอบ ที�11 ขันตอนการหล่ � อ 1.ปั น� รูป 2.การทําพิมพ์ 3.การหล่อขี �ผึ �ง 4.ทํารางฉนวน 5.รัดเหล็ก 6แกะพิมพ์ เจียร์ รางฉนวนออก 7.ตกแต่งพื �นผิว
11
4.ช่างแกะ
เป็ นช่างประเภทหนึง� ในจําพวกช่างสิบหมู่ จัดเป็ นผู้ที�มีความสามารถ และ ฝี มือในการช่าง อาจทําการสร้ างสรรค์ รูปลักษณ์ ที�ประกอบไป ด้ วยศิลปลักษณะ ประเภทลวดลาย หรื อ รูปภาพให้ ปรากฏขึ �นด้ วยวิธีการ “แกะ” โดยนิยม แกะเพื�อบันทึกเรื� องราวต่าง หรื อตกแต่ทงด้ ั � าน ของใช้ สอย โดย ช่างแกะ สามารถแบ่งเป็ นหมวดหมูใ่ หญ่ๆ ได้ ดงั นี � 1.แกะวัตถุถาวร 2.แกะเครื� องสด
ลักษณะงานของช่างแกะ
ตัวอย่ างงานแกะวัตถุถาวร
งานแกะกระดาษประดับเรื อพระที�นงั� ตัวอย่ างงานแกะเครื� องสด
งานแกะสลักผลไม้
งานแกะหินตราประทับเมือง ภาพประกอบ ที�12 ตัวอย่างงานแกะ
งานแกะงาช้ าง
งานแกะสลักผลไม้ งานแทงหยวก บายศรี ภาพประกอบ ที�13 ตัวอย่างงานแกะเครื� องสด
ลักษณะงานที�โดดเด่นของ หมูช่ า่ งแกะ
ภาพประกอบ ที�14 หนังใหญ่ เป็ นผลงานที�กล่าวถึงกันมากเกี�ยวกับ การแกะ สลักหนังใหญ่ ของช่างแกะ โดยเป็ นการแกะตัวละครเรื� อง รามรามเกียรติ� ลงบนพื �นผิวของหนัง วัว หนังควายโดยใช้ ในงานม มหรสพ มีที�มาในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ การสูญเสี ยกรุงศรี อยุธยา ครัง� ที� ๒ ทําให้ ศลิ ปะการแสดง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ถูกทําลายเสียหายไปมาก ซึง� ได้ มีการ ฟื น� ฟูขึ �นอีกครัง� หนึง� ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ หลังสมัยรัชกาลที� ๗ หนังใหญ่จงึ ไปอยูใ่ ต้ อปุ ถัมภ์ของวัด จึงเรี ยก หนังใหญ่ในสมัยนี �ว่า “หนังราษฎร์ ” โดยสถานที� ที�ขึ �นชื�อเรื� องหนังใหญ่ในประเทศไทยเด่นๆ คือวัดขนอม และจะ มีการจัดงานแสดง ประจําของทุกๆปี
12
5.ช่างสลัก
ช่างสลัก เป็ นช่างประเภทหนึง� ในจําพวกช่างสิบหมู่ เป็ นผู้มีความสามารถ และฝี มือในการช่างทําลวดลาย หรื อ รูปภาพต่างๆ ขึ �นด้ วยวิธีการ ที�เรี ยกว่า “สลัก” คําว่า “สลัก” อาจเรี ยกว่าจําหลัก หรื อ ฉลักก็มี เป็ นวิธีการของช่าง ทําให้ เป็ นลวดลาย หรื อรูปภาพ โดยวิธีใช้ “สิว� ” เจาะเป็ นต้ น งานของช่างสลัก เป็ นไปในลักษณะศิลปภัณฑ์ ที�ทํา ขึ �นด้ วยการใช้ วสั ดุเหล่านี � คือ ไม้ หิน หนัง กระดาษ เป็ นสื�อสําหรับถ่ายทอดความคิด ความเชื�อ ความงาม และ ความสามารถของฝี มือ ให้ ปรากฏอาจแสดงออกเป็ น รูปลักษณ์ด้วยลักษณะเป็ นงานสลักรูปลอยตัว งานสลัก รูปกึง� ลอยตัว งานสลักรูปกึง� พื �นราบ และ งานสลักรูปบนพื �น ราบ เป็ นมาเช่นนี �โดยลําดับแต่โบราณกาล
ลักษณะการทํางาน
ขันตอนการทํ � างาน
1
แท่นบัลลังก์
แท่นบัลลังก์
สถาปั ตยกรรม
ยานพาหนะ
ภาพประกอบ ที�15 ประเภทงานสลักไม้
2 ภาพประกอบ ที�16 ขันตอนการสลั � กไม้
3
1.การจัดรูปไม้ สลัก ทําโดยการ ตัดหรื อเลื�อยไม้ ให้ เข้ ากับขนาดรูปที�ต้องการสลัก 2.การโกลนหุ้น คือการลดทอนส่วนไม้ โดยการสัลกส่วนลายละเอียดลงไปบนไม้ โดยกรดาษ 3.การแกะสัลกลายละเอียด การะแกะรายละเอียดส่วนต่างๆลงบนเนื �อไม้ หลังจากทําตามขั �นตอนทั �งหมดนี � ก็จะมีการเก็บงานไม้ ทั �งหมด โดยการส่งไปที�ชา่ งรักษ์ โดยจะมีวิธีการ เก็บงานไม้ หลากหลายรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็ นการปิ ดทอง การประดับมุกการเขียนระบายสี การประดับกระจก
13
6.ช่างกลึง
ช่างกลึง เป็ นหมูช่ า่ งที�มีลกั ษณะงานเกี�ยวกับการกลึงวัตถุทรงกลม โดยลักษณะงานจะมีทงงานไม้ ั� งานปูน มีทงั � การทํางานทัง� เครื� องอุปโภค และ ส่วน ประกอบของสถาปั ตยกรรม เช่น หัวเสา งานกลึงแบ่งได้ หลักๆ เป็ น 2ประเภทได้ แก่ 1.งานกลึงภายนอก เช่น เครื� องดนตรี หัวเสา ด้ ามมีดพร้ า ด้ ามอาวุธ รูปแบบร่างของพระโกษ 2.งานกลึงภายใน เช่น ชาม กระบวยตักนํ �า โดยการทํางานของช่างกลึงจะสอดคล้ องกับช่างสลักไม้
ลักษณะการทํางาน ของช่างกลึง
เครื� องกลึง
อุปกรณ์การคว้ าน
งานกลึง
ภาพประกอบ ที�17 ลักษณะการทํางานของช่างกลึง
ลักษณะผลงานของช่างกลึง
กลึงขึ �นรูปโกษด้ วยปูน
หัวเสาร์ ทรงมัณฑ์
1 งานกลึงด้ ามจับอาวุธ
งานกลึงหัวเสา และด้ ามจับ ด้ านสถาปั ตยกรรม
ภาพประกอบ ที�18 ชิ �นงานของงานกลึง
14
7.ช่างหุน่
ช่างหุน่ เป็ นช่างฝี มือพวกหนึง� ในจําพวกช่างสิบหมู่ ช่างหมูน่ ี � ทําการช่างในด้ านการสร้ างรูปต่างๆ ที�ประกอบ ไปด้ วยศิลปลักษณะนานาชนิดที�เป็ นลักษณะรูปจําลอง แทนสิง� ที�เป็ นจริงพวกหนึง� กับได้ ทําสิง� ที�ใช้ เป็ นหุน่ โครงร่าง ของสิง� ที�ใช้ เป็ นหุน่ โครงร่าง ของสิง� ที�จะทําการตกแต่งรูปทรงให้ สมบูรณ์ และสวยงามต่อไป โดยจะเน้ นไปที�การ แสดงมหรสพ เรื�องรามเกียริ� คือ1 หุน่ กระบอก 2.โขน
ลักษณะการทําหัวโขน
1
2
3
4
5
ภาพประกอบ ที�19 ขันตอนการททํ � าหัวโขน
1.การปั น� หัวโขนโดยกระดาษนํ �ากาว ตามขนาดหัวของผู้สวมใส่ 2.การผ่าหัวโขน และ กระแหนะรายมงกุฏ ของหัวโชน พร้ อมลง ลายละเอียดส่วนต่างๆบนใบหน้ า 3ลงสีมงุ กุฏโดยการปิ ดทองลงรัก 4.การเก็บดีเทลและการเขียนลายบนใบหน้ าหัวโขน 5.เสร็ จสมบูรณ์
ลักษณะงานหุน่ ละครเล็ก
ภาพประกอบ ที�20 หุน่ ละครเล็ก
15
8.ช่างรัก
ช่างรัก เป็ นช่างที�มีความชํานาญเกี�ยวกับการใช้ ยางรัก ส่วนใหญ่ชา่ งรักจะเป็ นการทํางานขันตอนสุ � ดท้ าย ของหมูช่ า่ งทังหมด � โดยจะเป็ นงานประเภทการตกแต่งพื �นผิว รัก หรื อ ยางรัก มีคณ ุ ลักษณะเป็ นยางเหนียว สามารถเกาะจับพื �นของสิง� ใดสิง� หนึง� ที�ประสงค์จะทา หรื อ ถมทับ หรื อ เคลือบผิวได้ ดี มีคณ ุ สมบัตทิ ี�ทําให้ ผิวพื �น ซึง� ทา หรื อ เคลือบรัก เป็ นผิวมันภายหลังรักแห้ งสนิท มีคณ ุ ภาพคงทนต่อ ความร้ อน ความชื �น กรด หรื อ ด่างอ่อนๆ และ ยังเป็ นวัสดุที�ใช้ เชื�อมสมุก หรื อ สีเข้ าด้ วยกัน เชื�อมระหว่างผิวพื �นกับวัสดุ สําหรับตกแต่ง เช่น กระจกสี เปลือกหอย งานของช่างรักแบ่งเป็ นประเภท ได้ หลักๆดังนี � 1.งานลงรักปิ ดทอง 2.งานประดับกระจก 3.งานประดับมุก โดยจะนิยมตกแต่งกับสิง� ของเครื� องใช้ สถาปั ตยกรรม ต่างๆ
ลักษณะงานลงรักปิ ดทอง
ภาพประกอบ ที�21 การลงรักปิ ดทอง
ลักษณะงานประดับกระจก
ภาพประกอบ ที�22 ประดับกระจก
ลักษณะงานประดับมุก
ภาพประกอบ ที�23 ประดับมุก
16
9.ช่างบุ
ช่างบุดนุ การบุดนุ คือการตีแพร่วตั ถุให้ มีขนาดบางและห่อหุ้มกับวัตถุวตั ถุนงึ เพื�อเพิ�มมูลค่า โดยวัสดุที�ใช้ นิยมใช้ เช่น เงิน ทอง ทองแดงทองเหลือง โดย การบุดนุ มีตงแต่ ั � ขนาดเล็กไปจนถึงใหญ่ เช่น เครื� องประดับ อาวุธ จน กระทังถึ � งสถาปั ตยกรรม โดยการบุดนุ นัน� จะมี ชันเป็ นตัวกลางการประสานระหว่าง โลหะ การบุดนุ แบ่งได้ ตามนี � ได้ 2ประเภท คือ 1.บุผิวเรี ยบ 2.บุรวดลาย
ลักษณะงานบุดนุ โลหะ
ภาพประกอบ ที�24 ผลงานการบุดนุ โลหะ
10.ช่างปูน
ช่างปูน เป็ นช่างประเภทหนึง� ในจําพวกช่างสิบหมู่ งานของช่างปูน เป็ นงานสร้ าง ทําอาคารสถานชนิด เครื� องก่อ ประเภท เจติยสถานและศาสนสถานต่างๆ เช่น พระสถูปเจดีย์ พระพุทธปรางค์เจดีย์ พระอุโบสถ พระวิหาร ฐานชุกชี ซุ้มคูหา กับได้ ทําพระมหาปราสาท พระราชมณเฑียร แท่นฐาน เกยราชยาน ประตู เครื� องยอดต่างๆ ใบเสมา กําแพงและป้อมปราการ เป็ นต้ น และ งานของช่างปูนยังเนื�องด้ วยการปั น� ปูนอีกด้ วย งานปูน หรื อ งานช่างปูนแต่สมัยก่อน มีชื�อเรี ยกเป็ นคําเก่า อีกอย่างหนึง� ว่า “สทายปูน” งานของช่างปูน อาจจําแนก ลักษณะงานของช่างปูนออกได้ เป็ น ๒ ลักษณะ ด้ วยกันคือ ๑. ช่างปูนงานก่อ ช่างปูนจําพวกนี � ทํางานในลักษณะการก่อวัสดุชนิดต่างๆ เช่น อิฐ หิน ศิลาแลง เป็ นต้ น ขึ �นเป็ นรูปทรงสิง� ต่างๆ ตังแต่ � ขนาดเล็ก เช่น ก่อเขามอขึ �นอ่าง ไปจนกระทัง� ก่อพระสถูปเจดีย์ ก่อพระพุทธปราง ค์เจดีย์ หรื อ ได้ ทําการในด้ านบูรณะปฏิสงั ขรณ์ เครื� องหิน เครื� องอิฐก่อที�ชํารุดให้ คืนดีขึ �นดัง� เดิม ๒. ช่างปูนงานลวดบัว ช่างปูนจําพวกนี � ทํางานในลักษณะการถือปูน ทําผิวเป็ นลวดบัวแบบต่างๆ เช่น บัวควํ�า บัวหงาย บัวหลังเจียด บัวปากปลิงบัวลูกแก้ ว บัวอกไก่ สําหรับประกอบทําฐานลักษณะต่างๆ เป็ นต้ นว่า ฐานเชิงบาตร ฐานเท้ าสิงห์ ฐานปั ทม์ ฐานเฉียง ฐานบัวจงกล ฯลฯ หรื อทําการถือปูนจับเหลี�ยมเสาแบบต่างๆ คือ เสาแปดเหลี�ยม เสาย่อมุมไม้ สบิ สอง เสากลม เป็ นต้ น
ปั น� หนาบันพร้ อมลวดลาย
งานปูนปั น� และปูนฉาบซุ้มประตู
ภาพประกอบ ที�25 หน้ าบันช่างปูน
งานปูนปั น� หน้ าบันวัด
17
Target Group
กลุมคนที่สนใจ
นักเรียนนักศึกษา
50%
40%
นักทองเที่ยวตางชาติ
Age
10%
ภาพประกอบ ที�26 กราฟแสดงอายุผ้ เู ข้ าฝึ กอบรมวิชาชีพ
กราฟการจัดหลักสูตรการเรี ยน วิชาชีพช่างสิบหมู่ โดยกลุม่ อายุที�มีมากที�สดุ ได้ แก่ ช่วงอายุ 50-60 ปี โดยเป็ น บุคคลที�สนใจ หรื อหาความรู้เพิ�มเติม โดยส่วนมากบุคคลที�เข้ าการอบรม ในกลุม่ ที�สนใจนัน� มีหลากหลายมาก เช่นบุคลากรที� ต้ องการศึกษา เพื�อไปต่อยอดทางธุรกิจ บุคลากรทางด้ านการศึกษา กล่าวคือเป็ นอาจารย์มา เรี ยนเพื�อหาความรู้เพิ�มเติมไปสอนลูกศิษย์ หรื อกลุม่ แม่บ้าน ที�มาเพื�อทําฆ่าเวลา หรื อ กลุม่ คนที�เข้ ามาฝึ กฝน ไปประกอบอาชีพอย่างจริ งจัง
ภาพประกอบ ที�27 ยรรยากาศการฝึ กอบรม
18
Activity Libary
Retail
เป็ นฟั งค์ชนั� ที�ให้ กลุม่ คนที�สนใจเข้ ามาศึกษาหาข้ อมูล เกี�ยวกับงานศิลปไทย โดยเป็ นห้ องสมุดเฉพาะทาง และยังมีโซนที�เจาะกลุม่ นักเรี ยนนักศึกษา ให้ สามารถเข้ ามานัง� ทํางาน และ อ่านหนังสือได้ Retail นี �จะแบ่งเป็ นสองส่วนคือ ส่วนของพิพิธภัณฑ์ ซึง� เป็ นส่วนหารายได้ เข้ าตัว พิพิธภัณฑ์ซงึ� จะเป็ นการขายของสะสมเกี�ยวกับช่างสิบหมู่ อาทิ เช่น หัวโขน ปากกา ดินสอ เสื �อยืดของตัวMuseum อีกส่วนนึงจะเป็ น Craft marketที�เป็ น ส่วนให้ กลุม่ ช่างศิลป์ ไทยมารวมตัวกันขายของที�ตวั เองทํา
เป็ นส่วนรองรับบุคคลที�เดินทางผ่านไปผ่านมาให้ เข้ ามาดื�มหรื อรับประทานอาหาร
Cafe ส่วนWork shopนี �เป็ นส่วนต้ อนรับบุคคลที�สนใจในงาน Craft ไทย โดยเจาะกลุม่ ไป ที�นกั ท่องเที�ยวแนวประวัตศิ าสตร์ อาทิเช่น การเขียนหน้ าโขน การเขียนรายรดนํ �า เป็ นต้ น
Work shop เป็ นส่วนที�แยกออกมาจากท้ งส่วน นิทรรศการ ซึง� เป็ นการจัดแสดงโชว์เกี�ยวกับ เรื� องโขน หรื อหุน่ ละครเล็ก
Cinema เป็ นนิทรรศการให้ ศลิ ปิ นไทยมาแสดงงาน ทังสมั � ยใหม่และสมัยเก่า เป็ นนิทรรศการหมุนเวียน
Art gallary นิทรรศการถาวรเกี�ยวกับเรื� องช่างสิบหมู่ มีทงหมดสิ ั� บหมู่ ประกอบด้ วยประวัติ ขันตอนการทํ � า และแสดงสิง� ของผลงานช่างแต่ละหมูไ่ ว้ อย่างชัดเจน
Exchibition
19
Area Requirment and Functional Relationship Libary
Retail
Cafe
Work shop
นักเรียนนักศึกษา
นักเรียนนักศึกษา
กลุมคนที่สนใจ
นักทองเที่ยวตางชาติ
นักทองเที่ยวตางชาติ
นักทองเที่ยวตางชาติ
กลุมคนที่สนใจ
Cinema
นักทองเที่ยวตางชาติ
กลุมคนที่สนใจ
Art gallary
นักทองเที่ยวตางชาติ
กลุมคนที่สนใจ
นักทองเที่ยวตางชาติ
กลุมคนที่สนใจ
Exchibition
นักเรียนนักศึกษา
นักเรียนนักศึกษา
นักเรียนนักศึกษา
20
Case study Thai craft studio
ภาพประกอบ ที�28 การWorkshop ที�Thai Craft studio
ไทยคราฟ สตูดโิ อเป็ นสถานที� จัดกิจกรรมเวริ คช็อบ เกี�ยวกับศิลปไทยรวบรวมองค์ความรู้มากมายเกี�ยวกับวิธีการทํา โดย อาจารย์ผ้ สู อนนันเป็ � น บุคลากร ในกรมศิลปกรเก่า มีกิจกรรมหลายอย่าง เช่น การเขียนลายลดนํ �าเขียนหน้ าโขน ปิ ดทอง โดยบางสัปดาห์ จะทําการออกนอกสถานที� เพื�อไปดู นิทรรศการต่างๆ เช่น มีการ ไปวัดขนอม ที�เป็ นต้ น ตําหรับของหนังใหญ่เป็ นต้ น
กิจกรรมสลักไม้ ทหารผ่านศึก
กิจกรรมโขนกลางแจ้ งวัดขนอม ภาพประกอบ ที�29 พาไปดูงานนอกสถานที�
ภาพประกอบ ที�30 การเขียนลายรดนํ �า
เยือนปูนปั น� เพรชบุรี
21
Location&Site Analysis ภาพประกอบ ที�31 อาคารหอศิลป์ ราชดําเนิน
ภาพประกอบ ที�32 แผนที�
Nation museum
ที�อยู:่ 84 ถนน ราชดําเนินกลาง แขวง วัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 ที�ตงของ ั � Site location คือ หอศิลป์ ราชดําเนินโดยเป็ นอาคารอนุรักษ์ ติดอยูก่ บั ถนนใหญ่ราชดําเนิน โดยขนานกับถนนราชดําเนินมีความยาว 130เมตร โดยถนนราชดําเนินนี �มีประวัติการสรา้งมาตังแต่ � สมัยรัชกาลที�5 เพื�อใช้ ในการเดินทางจาก พระบรมมหาราชวังไปสูพ่ ระราชวังดุสติ
Around Location โลหะปราสาท
กลมศิลปกร
วิทยาลัยในวังชาย
ภาพประกอบ ที�33 สถานที�รอบๆอาคาร
ที�ตงของ ั � Site location คือ หอศิลป์ ราชดําเนินโดยเป็ นอาคารอนุรักษ์ ตดิ อยูก่ บั ถนนใหญ่ราชดําเนิน โดยขนาน กับถนนราชดําเนินมีความยาว130เมตร โดยถนนราชดําเนินนี �มีประวัตกิ ารสรา้งมาตังแต่ � สมัยรัชกาลที�5 เพื�อใช้ ในการเดินทางจาก พระบรมมหาราชวังไปสูพ่ ระราชวังดุสติ โดยเหตุผลที�เลือก Site lLocationตรงนี � เพราะว่าใกลที�สําคัญทางประวัตศิ าสตร์ ไทย ซึง� ได้ แก่ โลหะปราสาท พระบรมมหาราชวัง พิพิธภัรฑ์สถานแห่ง ชาติ ซึง� หลังจากกลุม่ เป้าหมายเข้ ามาเยี�ยมชมพิพิธภัณฑ์แล้ วสามารถออกไปดูงาน ฝี มือของช่างไทยจากสถาน ที�จริ งได้ และยังสะดวกต่อการเดินทาง
Transportation
สามารถตังต้ � นที�อนุเสาวรี ย์ชยั สมรภูมิโดย นัง� รถเมย์สาย12 ตรงเกาะ หน้ าโรงพยาบาลราชวิถี หรื อ นัง� รถยนต์ ส่วนตัวมาที�ถนนราชดําเนินนอก
22
Space Analysis & Building Analysis
ภาพประกอบ ที�34 ภาพภายนอกอาคารหอศิลป์ ราชดําเนิน
Exterior เป็ นอาคารสร้ างในสมัยรัชกาลที�5 โดยลักษณะเป็ นอาคาร 3ชัน� ลักาณะการออกแบบอาคารได้ ฮิทธิพล มาจาก Modern Archotec ในสมัยยุค ร.5 โดยใชรูปทรงเลนขาคณิตมาเรี ยงต่อกันและไม่ใส่ลวดลายซับซ้ อนอะไร มากนัก
ภาพประกอบ ที�35 ภาพภายในอาคารชันที � �1
ชันที � � 1. โดยอาคารเดิมเป็ นคูหาติดกันแต่ได้ ผา่ นการปรับแต่งต่อเติม ทุบ เรี ยงต่อกัน ทําให้ มีความสูง 5 เมตร โดยฟั งค์ชนั� หลักของชันที � �1นัน� เป็ น หอแสดงงานศิลป์ หรื อนิทรรศการหมุนเวียน เป็ นการเปิ ดฝ้าเพดาน โชว์ เสาร์ และคาน ทําให้ มีพื �นที� จากพื �น ถึง ฝ้าสูงขึ �น
ภาพประกอบ ที�36 ภาพภายในอาคารชันที � �2
ชันที � � 2. มีฟังค์ชนั� เป็ น หอแสดงงานศิลปะ โดย พื �นถึงฝ้าสูง ขนาด3.5เมตร และมีสว่ นที�เป็ นขายของของหอศิลป์ ไว้ ให้ ผ้ เู ข้ าชมเข้ ามาแวะซื �อ
ภาพประกอบ ที�37 ภาพภายในอาคารชันที � �3
ชันที � � 3 เป็ นส่วนของ นิทรรศการ อาเซียนร่วมใจ มีฟังค์ชนั� ทัง� ส่วนนิทรรศการ และส่วน officeของ ผู้ดู และตึกไว้ ในชันนี � � ได้ มีการปรับปรุง รื อ� ฝ้าออก จนเห็นโครงหลังคา
23
บทที� 3
ทฤษฎี และ แนวความคิดในการออกแบบ
24
Design Guidline จากการศึกษา เกี�ยวกับการออกแบบพิพิธภัณฑ์ และการลงพื �นที�สํานักงานช่างสิบหมูน่ นั � ทําให้ เกิด Programingใหม่ ที�จะใส่เข้ าไปในSpace และจาก การศึกษา Site Location พบว่า ตัวไซด์นนเป็ ั � นพื �น ที�ที�คอ่ นข้ างทึบ หรื อมี สีที�มืด เลยใช้ สีหรื อ วัสดุที�สว่างเข้ าไป ส่วนกิจกรรมข้ างในเนื�องด้ วย เป็ นแหล่งท่องเที�ยว เชิงประวัตศิ าสตร์ ได้ จดั Activity ใหม่เข้ าไปเพื�อ ให้ กลุม่ นักท่องเที�ยว ขาจรสามารถเข้ าถึงได้ และมีพื �นที� ที�หา รายได้ เข้ าพิพิธภัณธ์ เช่นRetail shopของหรื อพื �นที�เช่า คือ Craft Market ซึง� เป็ นโปรแกรมที�ใส่เข้ าไปในไซด์ เพื�อเปิ ดให้ คนที�ทํางานคราฟเข้ ามาเช่าพื �นที�ขายของ
ภาพประกอบ ที�38 การแสดงในพิพิธภัณฑ์
25
Musuem design ชนิดของพิพิธภัณฑ์ แบ่งได้ 2แบบ คือ 1.แบ่งตามลักษณะเจ้ าของ 1.1พิพิธภัณฑ์สว่ นบุคคลขนาดเล็ก 1.2พิพิธภัณฑ์สว่ นบุคคลขนาดใหญ่ 1.3พิพิธภัณฑ์กงึ� ราชการหรื อพิพิธภัณฑ์ของมุลนิธิ 1.4พิพิธภัณฑ์ของรัฐบาล 2.แบ่งตามลักษณะของสิง� ที�รวบรวมตามแขนงวิชา
1.Museum of arts
2.Gallery of contemporary art
3.Natural history museum
4.museum of sciencc and technology
5.Museum of history and archaeology
6.regional museum
ภาพประกอบ ที�39 ประเภทของพิพธภัณฑ์
26
การแบ่งประเภทนิทรรศการในการจัดแสดง 1.นิทรรศการในร่ม (indoor exchibition)
ภาพประกอบ ที�40 การจัดนิทรรศการในร่ม
2.การจัดแสดงกลางแจ้ ง (out door exchibition)
ชนิดของ
ภาพประกอบ ที�41 การจัดนิทรรศการกลางแจ้ ง
3.การจัดแสดงแบบกึง� กลางแจ้ ง ประเภทของสื�อในการจัดแสดง วัสดุกราฟฟิ ค (graphic) หมายถึงสื�อลายเส้ นประกอบด้ วยภาพลายเส้ นตัวอักษร และสัญลักษณ์ตา่ ง เพื�อเสนอ เรื� องราว ความรู้เนื �อหาสาระให้ รับรู้เข้ าใจง่ายโดยรวดเร็ วต้ องเสรอสิง� ที�เป็ นนามธรรม ในรูปแบบที�สามารถ ดึงดูด ความสนใจ แบ่งออกเป็ น 6ประเภทดังนี � 1.แผนภูมิ (chart) ใช้ อธิบายความหมายลวดลายเส้ นและภาพประกอบด้ วย 1.1 แผนภูมิภาพตาราง (Tabular chart) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับเหตุการ์ ณ เช่น ตารางเรี ยน ตารางเวลารถไฟ ตารางกําหนดเวลาต่างๆ 1.2 แผนภูมิอธิบายภาพ (lllustrative chart ) เช่น แสดงรายละเอียดของภาพ เช่น แผนภูมิแสดงส่วนต่างๆ โดยใชภาพแสดงรายละเอียด 1.3 แผนภูมิแบบต้ นไม้ (tree chart and stream chart) แสดงรายละเอียดส่วนย่อย ที�แสดงออกจาก ต้ นหลัก ใช้ สําหรับวิเคาระห์หรื อจําแนกประเภท เช่น ประวัตศิ าสตร์ ความเป็ นมาของตระกูล 1.4 แผนภูมิองค์กร (Organizaton chart) แสดงความสัมพันธ์สายงาน ในหน่วยงานหรื อองค์กร เช่นแผนภูมิ แบ่งสายงาน 1.5 แผนภูมิเปรี ยบเทียบ (comparison chart) ใช้ แสดงเปรี ยบเทียบ ความแตกต่างของสิง� ต่างๆ ระหว่างรูปร่าง ลักษณะแนวความคิดและ อื�นๆ 1.6 แผนภูมิแบบต่อเนื�อง (flow chart) แสดงขันตอนการเปลี � �ยนแปลงจากจุดเริ� มต้ นถึงปลายทาง หรื อแสดงกิจ กรรมนันตามลํ � าดับต่อเนื�อง 1.7 แผนภูมิวิวฒ ั นาการ (Deverlop chart) แสดงพัฒนาการของสิง� ต่างๆ ต่อเนื�องจากลําดับจากจุดเริ� มต้ นไป จุดสุดท้ ายลักษณะคล้ ายแผนภูมิตอ่ เนื�องแต่ไม่ย้อนไปจุดเริ� มต้ น
27
ภาพประกอบ ที�42 ประเภทแผนภูมิในการจัดแสดง
2.แผนสถิติ (graph) : แสดงข้ อมูลเพื�อเปรี ยบเทียบจํานวนหรื อปริ มาณตัวเลขที�เปลี�ยนไป ตามกลาเวลา นิยมใช้ จัดนิทรรศการมีดงั นี � 2.1 กราฟเส้ น(line graph) แสดงความก้ าวหน้ าหรื อเปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ ของข้ อมูล ถ้ าใช้ เปรี ยบเทียบข้ อมูล ตังแต่ � 2เส้ นขึ �นไปอาจแสดงให้ เห็นความแตกต่างด้ วยสี เส้ นประ หรื อเส้ นเต็ม 2.2 กราฟแท่ง (ฺBar graph) แสดงปริ มาณหรื อจํานวนของข้ อมูลด้ วยแท่งสี�เหลี�ยมแต่ละแท่งแทนข้ อมูลโดยความ สูงของแต่ละแท่งต่างกันตามจํานวนหรื อปริ มาณข้ อมูลใช้ สําหรับเปรี ยบเทียบจํานวนข้ อมูล2-3ข้ อมูล 2.3กราฟวงกลม (Circle or pie graph) แสดงเปรี ยบเทียบจํานวนปริ มาณพวงวงกลม โดยใช้ ปริ มาณทังหมด � 100%เทียบจํานวนองศาของวงกลม คือ360องศาแบ่งส่วนข้ อมูลย่อยเป็ นส่วนๆ 2.4 กราฟพื �นที� (Area graph)แสดงข้ อมูลเพื�อเปรี ยบเทียบจํานวนหรื อปริ มาณด้ วยรูปทรงเลขาคณิต เช่นสี�เหลี�ยม สามเหลี�ยม วงกลม 2.5 กราฟรูปภาพ (Pictoriil graph) คือ การใช้ ภาพลายเส้ นแบบง่ายๆ ความหมายข้ อมูลแทนการใช้ กราฟแท่ง เพื�อเป็ นการกระตุ้นความสนใจ เช่น ใช้ ภาพ�ภาพ แสดงแทนคนล้ านคน
ภาพประกอบ ที�43 ประเภทกราฟในการจัดแสดง
28
3. แผนภาพ (Diagrams) : เป็ นวัสดุกราฟฟิ คที�แสดงการทํางานภายในที�ซบั ซ้ อน ของสิง� ต่างๆ ที�ไม่สามารถเห็น ด้ วยตาให้ เข้ าใจง่ายโดยใช้ เส้ นและสัญลักษณ์ 3.1 ภาพประชาสัมพันธ์ (Poster) คือแผ่นป้ายมีภาพประกอบคําบรรยายสันๆ � ใช้ สื�อความหมายที�ต้องการ แสดงเรื� องราวให้ เข้ าใจง่ายและรวดเร็วโดยไม่ต้องแปลงความหมาย 3.2 แผนที� (map) ใช้ แสดงทิศทาง อาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศ โดยใช้ สี สัญลักษณ์ และกําหนดมาตรา ส่วน เพื�อย่อระยะทางให้ สามารถสื�อความหมายในพื �นที�จํากัด 3.3 การ์ ตนู (cartoon) การใช้ ภาพลายเส้ นแทนบุคคล สัตว์ สิง� ของ ทํานองล้ อเรี ยนอารมณ์ขนั เพื�อสื �อความ หมายให้ เข้ าใจง่ายและจดจําได้ นาน
ภาพประกอบ ที�44 แผนที�
4.วัสดุสามมิติ (3D dimension) คือ วัสดุที�มี ความกว้ าง ยาวลึก นิยมใช้ ในการจัดนิทรรศการ มี 4ประเภทดังนี � 4.1 ของจริ ง (Real object) เป็ นสื�อที�สามารถดึงดูดความสนใจได้ ดี เพราะการเรี ยนรู้ด้วยสื�อจริ งทําให้ เกิด ความเข้ าใจง่าย เป็ นการเรี ยนเรี ยนรู้จากประสบการ์ ณตรง 4.2 ของตัวอย่าง(Specimens หรื อ Samples) เป็ นสื�อที�มีลกั ษรณะเหมือนของจริ งแตกต่างกันตรงของตัวอย่าง เป็ นส่วนหนึง� ของของจริ ง หรื อ เป็ นของจริ งที�ประดิษฐ์ ขึ �นมา เพื�อเป็ นของตัวอย่างไม่ใช่ทําเพื�อประโยชน์ใช้ สอย โดยเฉพาะ 4.3 หุน่ จําลองหรื อแบบจําลอง (Model) คือวัสดุที�จําลองมาจากของจริ ง โดยขยาย หรื อย่อส่วนจากวัสดุของ จริ ง มีหลายประเภท คือ 1.หุน่ จําลองแสดงรูปลักษณะภายนอก (Solid model) 2.หุน่ จําลองเท่าของจริ ง (Exact model) 3.หุน่ จําลองแบบขยายหรื อย่อส่วน (Enlarged and reduce model) 4.หุน่ จําลองผ่าซีก (Cut away) 5.หุน่ จําลองแบบแยกส่วน (Build up model) 6.หุน่ จําลองแบบเคลื�อนไหวแสดงการทํางาน (working model)
ภาพประกอบ ที�45 ประเภทโมเดลจําลอง
29 5.อันตรทัศน์ หรื อ ไดโอรามา (Diorama) : หรื อเวทีจําลอง คือภาพแสดงเหตุการณ์ สถาานที�เลียนแบบ ธรรมชาติที�ใกล้ เคียงของจริ งตามสัดส่วนที�เหมาะสมสร้ างความสนใจเร้ าจใเป็ นอย่างดี อันตรทัสน์ เป็ นสื�อแสดงโดยการนําวัตถุหรื อหุน่ จําลองขนาดเล็กประกอบกับฉากหลัง เพื�อจําลองให้ เห็น บรรยากาศโดยมีความลึก เป็ นธรรมชาติใกล้ เคียงความจริ งมากที�สดุ เท่าที�จะทําได้ การจัดแสดงมีตงแต่ ั � ขนาดเล็ก ไปจนถึงขนาดใหญ่ เช่นแสดงไปในตู้ หรื อบางทีแสดงเป็ นห้ อง บางครัง� ใช้ เทคนิคกลไก เช่น การใช้ แสง สี เสียง ร่วมจัดแสดง
ภาพประกอบ ที�46 ตัวอย่าง Diorama
6.วัสดุประดับตกแต่ง ใช้ สร้ างบรรยากาศให้ นิทรรศการมีความสวยงาม มีชีวิตชีวา และ กระตุ้นความสนใจไป สูเ่ รื� องราว แบ่งเป็ น2 ประเภท 1.วัสดุตกแต่งเนื �อหา หมายถึงวัสดุที�ใช้ เสริ มหรื อ ประดับเพื�อให้ เนื �อหานิทรรศการ มีความเด่นสะดุดตา เพราะการนําเนื �อหาวิชาการแต่เพียง อย่างเดียวไม่ชว่ ยสร้ างบรรยากาศ ให้ เกิดความตื�นเต้ น 2.วัสดุตกแต่งเพื�อสร้ างบรรยากาศ เป็ นการนําวัสดุ เช่น ต้ นไม้ ดอกไม้ ผ้ าสี ตลอด จนแสง สีเสียง มาจัด ประกอบร่วมกับนิทรรศการเพื�อให้ ได้ บรรยากาศที�สอดคล้ องกับเนื �อหาเรื� องราว ที�จดั แสดงความสวยงาม แปลกตาน่าดูยิ�งขึ �น สื�อกิจกรรม (Activity) หรื อวิธีการ (Methods) หมายถึงการนําวัสดุอปุ กรณ์ตา่ งๆ จัดแสดงรวมกับโดยใช้ กิจกรรม หรื อ วิธีการเป็ นหลัก ทําให้ ทําให้ กลุม่ เป้าหมายรับรู้สงิ� ต่างๆจากประสาทสัมผัสทังห้ � า รวมทังมี � สว่ นร่วม ในการแสดงของกิจกรรมนันๆ � อาจจัดในรูปของกลุม่ หรื อมวลชนทัว� ไป ตามลักษณะของกิจกรรม แบ่งได้ 3 ประเภทดังนนี � 1.การสาธิต (Demonstration): เป็ นการแสดงให้ เห็นถึงกระบวนการ ขันตอน � หรื อผลของการปฏิบตั ิ โดย ใช้ อปุ กรณ์ประกอบ เพื�อสื�อให้ เห็นถึงการปฏิบตั จิ ริ ง 2.เกมส์ (Game) คือกิจกรรม ที�มีลกั ษณะของการแข่งขันเชิงนันทนาการ ผู้เล่นต้ องเคารพกติกา บางครัง� ใช้ ทกั ษะไหวพริ บปฏิภาณหรื อความแข็งแกร่งของร่างกาย 3.ประสบการณ์นาฏการ (Diramatized experience) คือ การแสดงเพื�อสื�อความหมายให้ ผ้ ชู มเข้ าใจเนื �อหา เรื� องราวที�นําเสนอ เช่น การแสดง ละครหุน่ ดนตรี บทบาท การแสดงพื �นบ้ านได้ แก่ ลิเก หมอรํ า มโนราห์
ภาพประกอบ ที�47 ตัวอย่าง การวสธิต
30
การจัดทางสัญจร (Circulation) ภายในห้ องแสดงเมื�อพิจารณาตามลักษณะแกนสัญจร จะสามารถแบ่งได้ 2ระบบ คือ 1.Centralized System of Access : ข้ อได้ เปรี ยบคือสะดวกต่อการควบคุมดูแล กล่าวคือผู้ชมถูกชักนําไปตาม เส้ นทาง ข้ อเสียเปรี ยบคือถ้ าสิง� ของต่างๆ ที�จดั แสดงก่อนไม่ได้ เกิดความประทับใจแก่ผ้ ชู มจะมีผลต่อสิง� แสดงที�ต้อง การชมโดยเฉพาะ การวางจัดตามเส้ นทางเลื�อนไหลของผู้ชมเดินตามเส้ นทางตามแผนที�ตายตัวจากจุดเริ� มต้ นถึง จุดสุดท้ าย อาจหยุดดูเป็ นช่วงๆ ระบบ Centralized System of Access สามารถแบ่งออกย่อยๆ ดังนี � 1.1 Rectilinear Circuit คือ การเคลื�อนที�ชมเป็ นแนวตรง 1.2 Twising Circuit คือ เส้ นทางเดินที�เป็ นวงจร แบบรอบโถงกลางจากบันไดกลางเชื�อมต่อระหว่างชันโดย � เฉพาะที�จําเป็ นใช้ แสงธรรมชาติหรื อมีพื �นที�หลายชัน� 1.3 Weaving Freely lay out คือ ผังรูปสานไปมาอย่างอิสระ ปกติมกั ใช้ ทางลาดเข้ าช่วยและใช้ องค์ประกอบที� น่าสนใจเป็ นตัวชักนําผังแบบนี �ผู้ชมอาจหลงทางถ้ าลักษณะรูปเลขาคณิตเป็ นแบบต่อเนื�องกันหมด 1.4 Comb type Lay out เป็ นการจัดวางผังที�มีทางเดินกลางเป็ นหลัก มีสว่ นให้ เลือกชมในเวลาเดียวกัน ทางเข้ า อาจเป็ นด้ านท้ ายด้ านใดด้ านนึงหรื อมีทางเข้ าอยูต่ รงกลางผู้ชมสามารถไปทางซ้ ายหรื อขวาได้ ทนั ทีเป็ นการเพิ�มขอบ เขตแก่ผ้ ชู ม 1.5 Chain Lay out เป็ นการวางผังแบบต่อเนื�อง จัดโดย นําหน่วยที�แตกต่างกันมาเชื�อมต่อกัน 1.6 Fan Shape ทางเข้ าจากกลางผังรูปพัด การจัดแบบนี �ทําให้ มีโอกาสมากต่อการเลือกชมแต่ผ้ ชู มต้ องตัด สินใจในการชมเร็วด้ านจิตวิทยา ผู้ชมไม่ชอบเพราะรู้สกึ เป็ นการบังคับเกินไปและที�จดุ รวมจะเป็ นจุดที�วนุ่ วาย 1.7 Star Shape ทางเข้ าจกาศูนย์กลางของผังรูปดาวมีลกั ษณะคล้ ายหวี ผู้ชมไม่สามารถเคลื�อนไหว ได้ สะดวก สามารถแยกออกมาตังหาก � ความสมดุลของการจัดแกนทําให้ เกิดปั ญหาได้ 1.8 Block Arrangement มีลกั ษณะการเข้ าถึง�ลักษณะ คือ ก.เลือกความสะดวกในการจัดแสดงจุดทางเข้ าตรงกลาง ข.ทางเข้ าจําเป็ นต้ องอยูร่ ิ มเพื�อสามารถใช้ พื �นที�จดั แสดงอย่างเต็มที� กล่าวสรุป Centralized System of Access เป็ นระบบที� มีทางเข้ า-ออกทางเดียว จากจุดเริ� มต้ นวกกลับมาที�จดุ เดิมอีกครัง�
ภาพประกอบ ที�48 ตัวอย่างเส้ นทางสัญจรในพิพิธภัณฑ์
31 2.Decentralized system of Access : มีทางออกและทางเข้ าสองทางหรื อมากกว่าผู้ชมอาจไม่ได้ ไปตาม เส้ นทางที�กําหนดสามารถเดินไปมาอย่างอิสระ ลักษณะเป็ นทางเดินในใจกลางเมือง (พิพิธภัณฑ์)เป็ นส่วนนึงของ ตัวเมือง วิธีนี �ผู้ชมอาจชมไม่ครบต่อการชมหนึง� ครัง� อาจเข้ าชมครัง� ต่อไป ปั จจุบนั ประโยชน์ด้านสังคมจิตวิทยาที� พึงได้ มิอาจทําให้ เกิดผลทางปฏิบตั จิ ากการจัดองค์ประกอบอย่างสับสน เทคนิคการจัดผังห้ องจัดแสดง (Exhibition Planing) ในพิพิธภัณฑ์เป็ นสิง� ที�ต้องพิจารณาเนื�องจากเป็ นขัน� ตอน การนําเสนอหรื อถ่ายทอดเรื� องราวสูผ่ ้ ชู ม เทคนิคการจัดแสดงๆ หลักมี 6แบบคือ 1.ผังแบบ Open plan ได้ แก่ ผังที�มีลกั ษณะเป็ นห้ องกว้ างทิศทางการเดินชมแบบอิสระ (Free circulation) มีทางเข้ าทางออกทางเดียวเหมาะกับการจัดแสดงลักษณะทัว� ไป 2.ผังแบบ Core and Satellltes/enfilae ได้ แก่ ผังที�มีห้องหลักอยูต่ รงกลาง และมีห้องย่อย หลายๆห้ องล้ อม รอบทิศการเดินชมแบบอิสระเดินจากห้ องหลักและแยกไปห้ องย่อย มีทางเข้ าออกทางเดียวกันเหมาะ สําหรับการจัดการนิทรรศการหมุนเวียน 3. ผังแบบ Linear procession ได้ แก่ผงั ที�มีห้องหลายห้ องเรี ยงเชื�อมต่อกันมีทิศทางการเดินชมแบบกําหนด ได้ คือ การเดินชมจากห้ องแรกไปห้ องสุดท้ าย มีทางเข้ า-ออกคนละทางเหมาะสําหรับจัดแสดงผลงานลําดับตามหัวข้ อ 4. ผังแบบ Loop ได้ แก่ผงั ที�มีห้องเรี ยงรายต่อกันเป็ นกลุม่ มีทิศทางเดินชมจากห้ องหนึง� ไปอีกห้ องหนึง� จนครบ (Circulation return to entrance) มีทางเข้ าทางออก - ทางเดียว 5.ผังแบบ Complex ได้ แก่ผงั ที�มีห้องหลายห้ องเรี ยงรายและเชื�อมต่อกันหลายลักษณะมีทิศทางการเดินชม ขึ �นอยูก่ บั ความต่อเนื�องของห้ องต่างๆมีทางเข้ า-ออกกทางเดียวกัน 6.ผังแบบlabyrinth ได้ แก่ ผังที�มีห้องเรี ยงรายต่อกันเป็ นกลุม่ มีห้องอยูต่ รงกลางเดินชมแบบอิสระ มีทางเข้ าทางออก ทางเดียวเหมาะสําหรับการจัดแสดงที�เน้ นความสัมพันธ์ของเรื� องราวของผลงานทังหมด �
ภาพประกอบ ที�49 ตัวอย่างการจัดผังการแสดง
32
Zoning Diagram Exhibition Diagram การทำงานร่วมกันของหมู่ช่างต่างๆ ช่างแกะ ตูพระไตรปฏก วัตถุ
หุนละครเล็ก
จิตกรรมฝาผนัง
ชางหุน
สีน้ำกาว
ช่างเขียน
โขน
เทคนิค
รายลดน้ำ
ปดทอง
สีจากพืช ธรรมชาติ พระนาง กนก คชะ
เครื่องสด แทงหยวก
ชางรัก
กระบี่
แกะผลไม
สถาปตยกรรม ทางศาสนา
เครื่องใช สถาปตยกรรม
ชางปูน
ประดับมุก
ชางสลัก
วัด โบสถ สถาปตยกรรม วัง
ชางบุ
เครื่องใช พระ
ช่างกลึง
สถาปต
เพิ่มมูลคาสิ่งของ
พระพุทธรูป/รูปหลอ/อนุสรณ
งานไม/เรือพระที่นั่ง/ราชรถ กลึงภายนอก
ตราประทับเมือง
ปูนปน
ประดับกระจก สถาปตยกรรม
วัตถุถาวร หนังใหญ่
กลึงภายใน
โกศ หัวเสา แกว เครื่องดนตรี
กระบวย
ช่างปั้น รูปปนสัตวตามวัด นูนต่ำ นูนสูง ลอยตัว
ชางหลอ ทำพิมพ หลอขี้ผึ้ง พอกหุน ดินชนวน หลอ
รูปด้ านข้ างต้ นนี � เป็ นการรวบรวม การทํางานหรื อลักษณะการทํางานของช่างสิบหมู่ ที�มีการทํางานคล้ ายๆกันจัด มาอยูด่ ้ วยกัน โดยโซนนิ�งในส่วนนิทรรศการในชัน2 � และชัน3 � จะแบ่งตามการทํางานร่วมกันของช่าง โดยในจุด เริ� มต้ นของช่างสิบหมูน่ นั � ต้ องเริ� มฝึ ก ตังแต่ � การเขียนรายไทย และในส่วนต่อมาก็จะแยกสายงานออกไปตาม ความถนัดของช่างที�สนใจ โดยเส้ นปะสีแดง เป็ นเส้ นแสดงการเชื�อมโยงละหว่างการทํางาน โดยที�มีการทํางาน ร่วมกันอย่างเด่นชัด ได้ แก่ ช่างปั น� และช่างหล่อ กล่าวคือการปั น� นัน� ช่างจะเริ� มปั น� หุน่ ต้ นแบบก่อนและส่งไป ให้ ชา่ งหล่อโดยการทําพิมพ์หนุ่ ขี �ผึ �ง และทําการหล่อโลหะลงไปในพิมพ์ ส่วนที�เชื�อมโยงลําดับ2 ได้ แก่ ช่างสลัก ช่างกลึง โดยการทํางานส่วนใหญ่ ของช่างกลึง และ ช่างสลัก นันจะเน้ � นไปที�งานไม้ โดยช่างกลึงจะเป็ นตัว เก็บจบของงานไม้ หรื อลายละเอียดต่างๆที�เป็ นทรงกระบอกหรื อทรงกลม ส่วนที�3ที�มีการเชื�อมต่อกันนัน� ได้ แก่ชา่ งหุน่ และช่างแกะ(หนังใหญ่) โดยเรื� องที�เชื�อมโยงกันจะเน้ นไปเรื� องมหรสพการแสดงเกี�ยวกับเรื� องรามายานะ หรื อรามเกียรติ� คือการแสดงโขน หรื อ แสดงหนังใหญ่ การเชื�อมโยงนี � ยังรวมไปถึงช่างเขียนที�ทําการเขียนรายหัว โขนให้ ชา่ งหุน่ ในขันตอนสุ � ดท้ ายอีกด้ วย ส่วนช่างรักนันเป็ � นช่างส่วนตกแต่งเกือบทังหมด � โดยช่างสลัก ช่างกลึง ช่างปั น� ช่างหล่อ ช่างหุน่ ช่างปูน นัน� ถ้ าทํามาเสร็ จแล้ วจะส่งต่อให้ ชา่ งรักนันมาเก็ � บงานเช่นตกแต่งสี ด้ วยการลง ทอง ถ้ าเป็ นสถาปั ตกรรม ก็เป็ นการประดับกระจก หรื อเป็ นของใช้ ขนาดเล็กก็ ลงยาร้ อนลงยาเย็นเป็ นต้ น
Craft matket
Craft matket service
3
Cafe
2
1 Office
locker area
5 6
9
8
7
9
10
8
7
Musuem retail shop
Storage
Libary & work shop
ภาพประกอบ ที�50 Zoning Floor 1
Reception
4
5
4
6
Theater tricket lobby
10
ชัน� ที�1 โดยทางเข้ าหลักนันจะเข้ � าไปเจอกับ ส่วนตอนรับคือหมายเลข�โดยด้ านหลังหมายเลข�นันจะเป็ � นส่วนofficeและจะมีบนั ไดที�เป็ นบันไดหลักที�ขึ �นไปสูน่ ิทรรศการช่างสิบ หมูใ่ นชันที � �2 ส่วนพื �นที�หมายเลข�นันมี � ฟังค์ชนั� เป็ นCraft marketเป็ นที�รวบรวมงานของช่างศิลป์ ไทยให้ เอาของมาขายและแลกเปลี�ยนความรู้ทางวิธีการทําพื �นที�หมายเลข�นัน� เป็ นพื �นที�รองรับของบุคคลที�เดินทางผ่านไปผ่านมาด้ านนี �พื �นที�หมายเลข�มีฟงัค์ชนั� เป็ น ห้ องสมุดเฉพาะทางคือห้ องสมุดที�รวบรวมเกี�ยวกับงานศิลป์ ไทยไว้ ทังประวั � ตศิ าสตร์ ขันตอนการทํ � า และยังเป็ นพื �นที�ที�เปิ ดให้ เยาวชนสามารถเข้ ามานัง� ทํางานทําการบ้ านไปได้ ด้วยในตัวอีกทังยั � งมี Workshop roomไว้ เพื�อสําหรับคนที�สนใจเข้ ามาเรี ยนรู้ วิธีการ ทําต่างๆ พื �นที�หมายเลข�นันเป็ � นส่วนร้ านค้ าของตัวพิพิธภัณฑ์ โดยจะเน้ นขายไปที�ของชําร่วย พื �นที�หมายเลข10นันเป็ � นพื �นที�ซื �อตัว� เพื�อขึ �นไปรับชมการแสดงของโรงละครในชัน� 3โดยจะขึ �นบันไดหลังที�ซื �อตัว� ไปโผล่ที�ชน3 ั � หรื อหน้ าห้ องโรงละครนันเอง �
1
2
3
Zoning floor 1
33
6 ช่างปั้น
3 ปูน+กลึง+รัก
ภาพประกอบ ที�51 Zoning Floor 2
8 ช่างหล่อ+ปั้น
5 ช่างสลัก
2 ช่างกลึง
8
9 พื้นที่ห้องสโลปจากชั้น3
7 ช่างหล่อ
4 ช่างปูน
7
1 ช่างรัก
2
3
6 9
โดยขึ �นมาจากบันไดหลักกลางตึกขันมาในชั � นที � �2นัน� จะเข้ ามาเจอกับช่างรักโดยเป็ นการแสดงเกี�ยวกับสิง� ของที�ชา่ งรักทําได้ แก่การ ประดับมุก การะประดับกระจก และ ลงรักปิ ดทอง โดยจะมีสว่ นแสดง ไฮไลท์เป็ นเรื อสุวรรณหงษ์ ที�เป็ นการทํางานร่วมกันของ ช่างสลัก ช่างกลึง ละช่างรัก ส่วนของพื �นที�ที�2นันเป็ � นส่วนแสดงนิทรรศการของช่างกลึงเป็ นพื �นที�การแสดง เกี�ยวกับการกลึงพระบรมโกศของรัชกาลต่างมาพื �นที�สว่ นที�3นัน� เป็ นส่วนแสดงวัตถุเรี ยนแบบของช่างปูนด้ านสถาปั ตยกรรม คืออุโบสถจําลองและเจดีย์จําลองส่วนที�4เป็ นพื �นที�ของ ช่างปูนเกี�ยวกับสถาปั ตยกรรมไทยในยุคสมัยต่างๆ อาทิเช่นยุคทราวดี ยุคอยุทธยา เป็ นเรื� องของที�อยูอ่ าศัย วัดวาอาราม ส่วนที�5 นี �เป็ นส่วนโชว์การทํางานระหว่างช่างกลึงและช่าง สลักที�ทํางานด้ วยกันโดยมี highlightเป็ นราชรถจําลองโดยจะมีการเจาะฝ้าเพดานซึง� บันไดในส่วนนี �สามารถขึ �นไปในชัน�ได้ � เพราะต่อเนื�องไปถึงช่างสลักด้ านบนพื �นที�สว่ นที�6เป็ น พื �นที�ของช่างปั น� ที�แสดงปติมากรรม นูนตํ�า นูนสูง และลอยตัว พื �นส่วนที�7ช่างหล่อมีการหล่อแสดงตังแต่ � ที�เป็ นขนาดเล็กยันถึงขนาดใหญ่พื �นที�หมายเลข�นันเป็ � นพื �นที�แสดงการทํางน ร่วมระหว่างช่างปั น� และช่างหล่อ
5
4
Zoning floor 2
34
9 thearter
6 ช่างแกะ
3 ช่างเขียนโบราณ
10 back stage
9
ขึ �นมาบันไดหลักในส่วนของชันที � �3นันจะพบกั � บพื �นที�หมายเลข�เป็ นลําดับแรกโดยเป็ นการแสดงเกี�ยวกับหอศิลป์ ร่วมสมัยให้ ศลิ ปิ นรุ่นใหม่มาแสดงงานเกี�ยวกับความเป็ นไทย มาส่วนพื �นที�ที�2เป็ นส่วนของพื �นที�ชา่ งบุเป็ นการแสดงงานเกี�ยวกับอุปกรณ์การทําสิง� ของเครื� องประดับต่างๆ พื �นที�ที�3เป็ นพื �นที�ของช่างเขียนโบราณโดยเป็ นนิทรรศการที�รวบรวม องค์ความรู้เกี�ยวกับเรื� องสีในสมัยโบราณ ขันตอนการวาดภาพสมั � ยโบราณ เทคนิคต่างๆพื �นที�หมายเลขที�4 เป็ นช่องโล่งที�สามารถเห็นราชรถได้ จากชัน�เเละเป็ � นพื �นที�ที�แสดง ส่วนรายละเอียดเกี�ยวกับการสลักไม้ พื �นที�หมายเลขที�6 เป็ นพื �นที�แสดงของช่างแกะเกี�ยวกับการแกะสลักเครื� องสด การแกะสลักหนังใหญ่ พื �นที�หมายเลขที�7เป็ นพื �นที�เกี�ยวกับ ช่างหุน่ มีทงหุ ั � น่ ละครเล็ก โขน หัวโขนตัวละครต่างๆในเรื� องรามเกียรติ� พื �นที�หมายเลข�เป็ นพื �นที�โรงละครที�ไว้ แสดงเกี�ยวกับโขนเชื�อมต่อกับบันไดซื �อตัว� ในชันที � �1
ภาพประกอบ ที�52 Zoning Floor 3
8 waiting area theater
5 storage
2 ช่างบุ
7
8
7 ช่างหุ่น
1
6
4 ช่างสลัก
2
5
1 contemporary gallary art
4
3
Zoning floor 3
35
36
บทที�4 ผลงานออกแบบ
1
Craft matket
Craft matket service
3
Cafe
2
3
2
1
Planing Zoning floor 1
9
8
7
ภาพประกอบ ที�53 Plan and Zoning Floor1
locker area
Office
5 6
Reception
4
5
4
6
10
8
7
Musuem retail shop
Storage
Libary & work shop
9
Theater tricket lobby
10
37
38
Reception Area
ภาพประกอบ ที�54 Reception Perspective
พื �นที� หมายเลข4 เป็ นทางเข้ าหลักที�เข้ ามาและเจอโดยชันที � �1มีความสูง�เมตรโดยได้ แรงบันดาลใจในการออก แบบมาจากใต้ ถนุ ของบ้ านเรื อนไทยที�มีการโชว์ตวั โครงสร้ างได้ แก่ตงพื �น และประดับลายฉลุระหว่างเสาถึง ส่วนเฟอร์ นิเจอร์ ได้ เลือกตัง� ที�เป็ นที�นงั� ของคนไทยมาจัดวางพร้ อมด้ วยเปลี�ยนผ้ าให้ เป็ นผ้ าไหมไทย
Craft market
ภาพประกอบ ที�55 Craft market perspective
พื �นที� หมายเลข2 เป็ นปลีกตึกฝั�งซ้ ายโดยเป็ นตลาดงานศิลป์ ไทยซึง� เป็ นพื �นที�รวบรวมแสดงงานฝี มือของช่างไทย ทัว� ประเทศ โดยการตกแต่งได้ แรงบันดาลใจมากจากโครงสร้ างบ้ านทรงไทยเอามาลดทอนลายละเอียดให้ น้อย ลงเหลือแต่ฟรอมหน้ าจัว� ฝ้าเพดานประดับด้ วยไม้ ระแนงซึง� ทําให้ ดมู ีความทันสมัยมากขึ �น
39
Libary
ภาพประกอบ ที�56 Libary Perspective
พื �นที�หมายเลข 7 เป็ นพื �นที�ห้องสมุดโดยในรูป Perspective มีห้องWork shop areaไว้ ตรงกลางโดยเป็ นห้ องที� เป็ นกระจกใสครอบด้ วยชันหนั � งสือ ทําให้ สามารถเห็นคนทํางานได้ จากด้ านนอกและคนด้ านในห้ องWorkshop สามารถมองออกมาข้ างนอกได้ อีกด้ วย โดยเก้ าอี � บุห้ มุ ด้ วยผ้ าไหมไทย
Workshop
ภาพประกอบ ที�57 Workshop Perspective
ห้ องWork shopเป็ นห้ องที�ผ้ ทู ี�สนใจสามารถเข้ ามาทํางานร่วมกัน เกี�ยวกับงานศิลป์ ไทยโดยมีวิทยากรคอยให้ คํา แนะนํา โดยงานWork shopในห้ องนี �จะไม่ใช่งานหนักจะเน้ นไปที�สามารถทําในที�ร่มได้ ได้ แก่ การเขียนหน้ าโขน เขียนรายลดนํ �า โดยในห้ องยังมีอา่ งนํ �าเป็ นฟั งค์ชนั� เสริ มเพื�อสะดวกต่อการทํากิจกรรม
40
Museum shop
ภาพประกอบ ที�58 Museum retail perspective
พื �นที�หมายเลข9 เป็ นพื �นที�ขายของของพิพิธภัณฑ์ ตกแต่งกําแพงโดยไม้ ระแนง ตัดกับสีขาวทําให้ ดมู ีความเป็ น ไทยปนด้ วยความทันสมัย โดยสีที�ใช้ จะเน้ นไปที�ไม้ สีออ่ น โดยจะเป็ นการขายเกี�ยวกับของที�ระลึกที�เกี�ยวกับความ เป็ นไทย อาทิ เช่น หัวโขนเล็ก เรื อจําลองสุวรรณหงษ์ เป็ นต้ น
Cafe
ภาพประกอบ ที�1 59 Cafe Perspective
พื �นที�หมายเลขที�1 เป็ นพื �นที�รองรับของคนภายนอกที�ให้ เข้ ามาดื�มกาแฟหรื ออาหาร โดยการตกแต่ง จะเน้ นไปที� Buil-in ที�นงั� ตรงกลาง ที�มีPartition โชว์ลายฉลุตงแต่ ั � พื �นถึงผนังโดยฝ้าเพดานตกแต่งด้ วยไม้ ระแนงเลียนแบบ โครงส้ รางบ้ านไม้ เฟอร์ นิเจอร์ ห้ มุ ด้ วยผ้ าไทย
41
Cinema Tricket
ภาพประกอบ ที�60 Cinema Tricket Perspective
พื �นที�หมายเลข10 เป็ นพื �นที�เชื�อมต่อกับห้ องสมุด พื �นที�สว่ นนี �เป็ นส่วนของการซื �อตัว� เพื�อขึ �นไปดูการแสดงในชันที � �3 ตกแต่งผนังด้ วยไม้ ระแนงสีออ่ นวางเฟอร์ นิเจอร์ ที�มี Shape โค้ งในด้ านใต้ ส่วนฝ้าเพดาน ประดับด้ วยโคมไฟระย้ า ทรงกลมให้ เข้ ากับเฟอร์ นิเจอร์ ด้ านขวาของภาพเป็ น จอLEDทรงกลมเพื�อให้ เข้ ากับ พื �นที� แสดงรอบการแสดงของ การแสดงโขน ส่วนพื �นใช้ วสั ดุเป็ นกระเบื �องหินอ่อนเพื�อให้ ในพื �นที�มีความสว่าง
5
4
Planing Zoning floor 2
6 ช่างปั้น
3 ปูน+กลึง+รัก
ภาพประกอบ ที�161 Plan amd Zoning Floor2
8 ช่างหล่อ+ปั้น
5 ช่างสลัก
2 ช่างกลึง
8
9 พื้นที่ห้องสโลปจากชั้น3
7 ช่างหล่อ
4 ช่างปูน
7
1 ช่างรัก
2
3
6 9
42
43
ช่างรัก
ภาพประกอบ ที�62 Perspective ช่างรัก
พื �นที� หมายเลข1 เป็ นส่วนจัดแสดงนิทรรศการของช่างรักซึง� ตกแต่งด้ วยฝ้าเพดานไม้ สีออ่ น ส่วนตู้แสดงโชว์นนั � เป็ นลักษณะของเคสกระจกครอบเข้ าไปในตัวกล่องสลับสีขาวสีดําเพื�อให้ เห็นความแตกต่างและโดดเด่นส่วนที� โชว์ของช่างรักจะเป็ นพวกวัตถุจริ งที�ทําการตกแต่งพื �นผิวของหมูช่ า่ งนี �เช่น การประดับกระจก การปิ ดทอง เป็ นต้ น
ช่างรัก+ช่างสลัก+กลึง
ภาพประกอบ ที�63 Perspective ช่างรัก+ช่างกลึง+ช่างสลัก
พื �นที� หมายเลข1 เป็ นส่วนแสดงการทํางานร่วมกันหลักๆของสามช่างได้ แก่ ช่างกลึง ช่างสลักและช่างรัก โดยเป็ นการผ่าเรื อ สุวรรณหงษ์ เพื�อ โชว์โครงส้ รางภายในของเรื อ เจาะช่องโล่งบนฝ้าเพดานเพื�อห้ อยเรื อที�ถกู ตัดในส่วนต่างๆ ป้ายข้ อมูลเป็ นป้าย มัลติมีเดียที� คนชมสามารถเลือกชมส่วนต่างๆ ของเรื อ และวิธีการทําได้
44
ช่างปูน
ภาพประกอบ ที�64 Perspective ช่างปูน
พื �นที� หมายเลข2 เป็ นส่วนจัดแสดงนิทรรศการของช่างปูนที�รวบรวมเรื� องราวเกี�ยวกับยุคสมัยประวัตศิ าสตร์ ของ ประเทศไทยโดย เป็ น Information board +กับ สื�อMultimedia และจะขันกลางระหว่ � าง โมเดลที�เป็ นการจําลอง อาณาจักรไทยพร้ อมด้ วยส่อง โปรเจคเตอร์ ลงมาเพิ�มความเร้ าใจและดึงดูดผู้เข้ าชม
ช่างกลึง+ช่างสลัก
ภาพประกอบ ที�65 Perspective ช่างกลึง+ช่างสลัก
พื �นที� หมายเลข5 เป็ นที�เชื�อมต่อระหว่างช่างกลึง กับช่างสลัก เป็ นเครื� องกลึงให้ ผ้ เู ข้ าชมสามารถลองการกลึง หรื อเป็ นการสาธิต และเป็ นพื �นที�แสดงราชรถ ที�เป็ นHighlight โดยทําให้ พื �นที�ดโู ล่งโดยที�กนเป็ ั � นกระจกตกแต่ง ด้ วยพื �นไม้ ที�มีสีเข้ มขึ �นมาหน่อยเพื�อไม่ให้ เป็ นการกลืนกับตัว ตู้จดั แสดง
45
ช่างปูน
ภาพประกอบ ที�66 Perspective ช่างปูนอุโมงมัลติมีเดีย
พื �นที� หมายเลข3 เป็ นอุโมง Multimedia ที�แสดงเรื� องราวเกี�ยวกับประวัตสิ งิ� ก่อสร้ างของประเทศไทย โดย มี โมเดลเป็ น Highlight และมีการฉายโปรเจคเตอร์ เพื�อดึงดูด ทําให้ เป็ นที�หน้ าสนใจ
ช่างกลึง
ภาพประกอบ ที�67 Perspective ช่างกลึง
พื �นที� หมายเลข2 เป็ นส่วนแสดงงานกลึงเกี�ยวกบัพระบรมโกศรัชกาลต่าง โดยทําเป็ นตู้จดั แสดงกระจกใส ทําให้ เห็นตัววัตถุอยูด่ ้ านในตกแต่งด้ วยฝ้าที�เป็ นลายตะข่ายเพื�อให้ สอดคล้ องกับ ดีไซด์ในชันที � �1
46
ช่างหล่อ
ภาพประกอบ ที�68 Perspective ช่างหล่อ
พื �นที� หมายเลข6 เป็ นพื �นที�แสดงงานหล่อ ด้ วยการหล่อวัตถุ ขนาดสเกลต่างๆ เรี ยงจากเล็กไปหาใหญ่ พร้ อมประวัตสิ งิ� ของโดยตู้จดั แสดงเป็ นกระจกตัดกรอบอลูมิเนียมเพื�อให้ ดโู ดดเด่นมีการซ่อนไฟภายใต้ ตู้เพื�อให้ เป็ นจุดเด่น
ช่างปั น�
ภาพประกอบ ที�67 Perspective ช่างปั น�
พื �นที� หมายเลข7 เป็ นหน้ าบันอุโบสถ ปูนปั น� ของวัดร่องขุน่ จําลอง ในพื �นที�นี �มีความตังใจให้ � พื �นที� เป็ นพื �นที�สว่าง โดยใช้ วสั ดุสีขาวที�มีความมันวาวและด้ าน ตัดกับลายไม้ และเน้ นตัว วัตถุด้วยไฟ Track Light
47
ช่างหล่อ+ช่างปั น�
ภาพประกอบ ที�70 Perspective ช่างหล่อ+ช่างปั น�
เป็ นพื �นที�แสดงการทํางานร่วมกันระหว่างงานหล่อ และงานปั น� เริ� มต้ นจากตรงกลางไปทางด้ านซ้ ายประกอบ ไปด้ วย การปั น� การทําสี และตรงกลางไปทางด้ านขวาประกอบไปด้ วยการปั น� การทําพิพม์ การเข้ าฉนวน และการหล่อ
ช่างหล่อ
ภาพประกอบ ที�71 Perspective ช่างหล่อ
เป็ นพื �นที� โชว์งานเกี�ยวกับรูปปั น� ต้ นแบบของ อนุเสาวรี ย์กษัตริ ย์ไทย ตกแต่งด้ วยลายกราฟฟิ คลายไทย
9 thearter 6 ช่างแกะ
3 ช่างเขียนโบราณ
ภาพประกอบ ที�72 Plan and Zoning Floor 3
8 waiting area theater
5 storage
2 ช่างบุ
7
8
7 ช่างหุ่น
1
6
4 ช่างสลัก
2
5
1 contemporary gallary art
4
3
Planing Zoning floor 3
10 back stage
9
48
49
ช่างเขียน(สมัยใหม่)
ภาพประกอบ ที�73 Perspectiveช่างเขียนร่วมสมัย
พื �นที�หมายเลขที�1 ของชัน3 � เป็ นพื �นที�ที�จดั แสดงหอศิลป์ ไทยร่วมสมัยให้ ศิลปิ นนักวาดภาพของไทยมาจัดนิทรรศ การโดยตัวผนังของที�แขวนเฟรมเป็ นอคิลคิ ใสทําให้ สเปซดูโล่งมีไฮไลท์เป็ นเรื อสุวรรณหงษ์ ห้อยร้ อยไปถึงส่วน ของพื �นที�ชนที ั � �2
ช่างบุดนุ
พื �นที� หมายเลข2 เป็ นพื �นที�สว่ นนิทรรศการของช่างบุดนุ โดยออกแบบให้ ใช้ ลายไม้ ตดั กับสีดําเพื�อเป็ นการดึงดูด ทําให้ ต้ จู ดั แสดงโดดเด่น ส่วนฝ้านันทํ � าเป็ นฝ้าหลุมใช้ อลูมิเนียมเลียนแบบสีของทองคําที�ใช้ ในการบุดนุ
50
ช่างเขียนโบราณ
ภาพประกอบ ที�75 Perspectiveช่างเขียนโบราณ
พื �นที� หมายเลข3 เป็ นการรวมองค์คสามรู้ของเทคนิคการเขียนสมัยโบราณได้ แก่ การเขียนรายรดนํ �า เขียน สีนํ �าลายกาว และประกอบไปด้ วยการเขียนลายไทย ส่วนการตกแต่งนันตกแต่ � งฝ้าเพดานด้ วยลายจิตกรรม ไทยเลียนแบบวัด
ช่างเขียนโบราณ
ภาพประกอบ ที�76 Perspectiveช่างเขียนโบราณ2
พื �นที� หมายเลข 3 อุโมงสื�อเกี�ยวกับองค์ความรู้สีจากธรรมชาติ การสกัดสีจากธรรมชาติโดยแสดง วัตถุเหมือน จริ งขันตอนการทํ � างานของการกลัน� การต้ ม การหุงเพื�อ สกัดสีธรรมชาติออกมา
51
ช่างสลัก
ภาพประกอบ ที�77 Perspectiveช่างสลักDetail
พื �นที� หมายเลข4 พื �นที�ตอ่ เนื�องจากบันไดทางปลีกซ้ าย เพื�อขึ �นมาชมความอลังการของราชรถ โดยส่วนนี � เป็ นตู้จดั แสดงของช่างสลักไม้ เกี�ยวกับลายละเอียดเล็กน้ อย และขันตอนต่ � างๆ
52
ช่างแกะหนังใหญ่
ภาพประกอบ ที�78 Perspectiveช่างแกะ อุโมงหนังใหญ่
พื �นที� หมายเลข 6ส่วนจัดแสดง อุโมง มัลติมีเดียของหนังใหญ่ โดยใช้ ฟรอมหน้ าจัว�
ช่างแกะหนังใหญ่
ภาพประกอบ ที�79 Perspectiveช่างแกะหนังใหญ่
พื �นที� หมายเลข6 พื �นที�แสดงหนังใหญ่ ตัวละครต่างๆในเรื� องรามเกียรติ�โดยออกแบบ ตัวจัดแสดงเลียนแบบ การแสดงของหนังใหญ่ โดยใช้ ผ้าใบขึง ตกแต่งฝ้าเพดานด้ วยลายฉลุเลียนแบบวิธีการแกะหนังใหญ่
ช่างหุน่
ภาพประกอบ ที�80 Perspectiveช่างหุน่ ไฮไลท์
พื �นที� หมายเลข7 เป็ นไฮไลท์กลางห้ องเป็ นรูปปั น� จําลองการทําศึกระหว่างพระรามและทศกัณฑ์ โดยออก แบบให้ ตวั แท่นแสดงใ้ชโทนสีดําตัดกับสีแดงเพื�อให้ โดดเด่น
ช่างหุน่
ภาพประกอบ ที�81 Perspectiveช่างหุน่
พื �นที� หมายเลข7 พื �นที�แสดงหุน่ ที�เรี ยงลําดับทังภาพจิ � ตกรรม หุน่ ละครเล็กและ ชุดแต่งกลายโขน ในเรื� อง � รามเกียรติ
53
54
โรงละคร
ภาพประกอบ ที�82 Perspective โรงละคร
พื �นที� หมายเลข9 ส่วนโรงละครที�จดั แสดงเกี�ยวกับโขนออก ได้ แรงบันดาลใจจากผนังกําแพงของบ้ านเรื อนไทย เอามาผนวกเข้ ากับวัสดุสมัยใหม่ใช้ สีไม้ ออ่ น เพื�อให้ เข้ ากับคอนเซป
55
Mood & concept
ภาพประกอบ ที�83 Mood board
Key Word = Tranditional Thai Contemporary คอนเซปดีไซด์ ได้ เอาแรงบัลดาลใจมากจากองค์ประกอบของบ้ านทรงไทยต่างๆ เช่นผนัง ฝ้าหน้ าจัว� ลายฉลุ ช่องลม โดยเอามาผนวกเข้ ากับสไตล์ Contemporary ให้ ออกมาเป็ นไทยในรูปแบบใหม่
THAI TRANDITIONAL CRAFT MUSUEM
THAI TRANDITIONAL CRAFT MUSUEM
THAI TRANDITIONAL CRAFT MUSUEM
THAI TRANDITIONAL CRAFT MUSUEM
THAI TRANDITIONAL CRAFT MUSUEM
THAI TRANDITIONAL CRAFT MUSUEM
THAI TRANDITIONAL CRAFT MUSUEM
ภาพประกอบ ที� 84 Coparate Identity
Logo design ได้ รับแรงบัลดาลใจมาจาก ลายไทยโบราณ หรื อ ลายประจํายามเอามาลดทอนสัดส่วนให้ มี ความบางลง เหลือแต่เส้ นโครง ทําให้ ดทู นั สมัยว่า เดิมโดยลายประจํายามสมัยก่อน จะมีลกั ษณะดีเทลเยอะ
56
บทที�5 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลโครงการ
หลังจากนําการออกแบบไปพูดคุยกับ กรมช่างสิบหมูแ่ ล้ ว ได้ ผลตอบรับเป็ นอย่างดีเนื�องจากมีสงิ� อํานวยความต้ องการ หลากหลาย เช่น โรงละคร ร้ านขายของที�ระลึก พื �นที� เวริ� คช็อป ซึง� มีความครบคัน ตามความต้ องการของกลุม่ คนที�สนใจ และการออกแบบที�นําจุดเด่นของความเป็ น ไทยมาทําให้ มีความทันสมัยยิ�งขึ �น
ผลสรุ ปการวิจยั
ผลการวิจยั และออกแบบเป็ นไปได้ ตามวัตถุประสงค์ที�ต้องการครบทุกประการ
ปั ญหาจากกระบวนการออกแบบ
ปั ญหาด้ านพื �นที�ใช้ สอยของอาคาร เนื�องจากตัวอาคารมีลกั ษณะยาว ทําให้ การจัดการเส้ นทาง สัญจรภายในอาคารจึงยากแก่การทํา และก็การวางฟั งค์ชนั� ให้ เข้ ากับตัวอาคารอีกด้ วย
ข้ อเสนอแนะต่ อการทําโครงการ
ควรศึกษาการวางเส้ นทางสัญจรในพื �นที�สาธารณะให้ มากกว่า จะทําให้ งานดูมีระเบียบมากขึ �น และสามารถพัฒนางานต่อยอดไปในทางที�ดีขึ �นได้
57
บรรณานุกรม 1.สํานักช่างสิบหมู่ กรมศิลปกร https://www.finearts.go.th/traditionalart 2.โรงเรี ยนช่างสิบหมู่ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนกาญจนาภิเษก วิทยาลัยในวัง (สัมภาษณ์) 3.หนังสือช่างสิบหมู่ 4.Thai craft studio (สัมภาษณ์) 5.วิจยั พิพิธภัณฑ์ ช่างสิบหมู่ ของ นางสาว นัตถ์กานต์ ทองดี 6.ประวัตชิ า่ งสิบหมู่ http://www.suriyothai.ac.th/th/node/516 7.ประวัตชิ า่ งสิบหมู่ http://changsipmu.com/lacquering_p01.html 8.คูม่ ือการออกแบบพิพิธภัณฑ์ โดย ผศ ร.ต.อ. ดร. อนุชา แพ่งเกษร 9.โรงเรี ยนช่างฝี มือในวังชาย 10. พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พระนคร
58
ประวัตผิ ้ ทู ําศิลปนิพนธ์ ชื�อ-นามสกุล : นาย.สิทธิกร ธรรมปราโมทย์ วัน-เดือน-ปี เกิด : 1 เมษายน 2537 อายุ : 26 ปี ที�อยู่ : 224/21 หมูบ่ ้ านสราญสิริ ถนนปั ญญาอินทรา แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กทม10510 โทรศัพท์ : 080-914-4529 การศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้ น : โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาน้ อมเกล้ า มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาน้ อมเกล้ า อุดมศึกษา : วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต