03
Blue zones
CHATTIYA SAEN-UDOM
5907526
FACULTY OF ART AND DESIGN DEPARTMENT OF INTERIOR RANGSIT UNIVERSITY
ชื�อโครงการ
:
โครงการศึกษาศูนย์พฒ ั นาและส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน
ประเภทศิลปนิ พนธ์
:
ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน
ผูด้ าํ เนิ นโครงการ
:
นางสาวฉัตรติยา แสนอุดม รหัส 5907526 นักศึกษาชั�นปี ที� 4 สาขาการออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที�ปรึกษาโครงการ
:
อาจารย์เกรียงศักดิ� สุวรรณบูล
Project Background ทีม� าและความสําคัญ
ในปัจจุบนั สังคมไทยมีการพัฒนา และ การเปลีย� นแปลงทีร� วดเร็วเนื�อง ด้วยเป็ น ยุคมีความเจริญทางเทคโนโลยี และ เศรษฐกิจเป็ นอย่างมาก ทําให้วถิ ชี วี ติ ของคนเมืองทุกคนล ้วนมีคู่แข่งเดียวกันคือ “เวลา” ฉะนัน� ทําให้ทกุ อย่างในแต่ละวันจึงเต็มไปด้วยความเร่งรีบ รวมไปถึงการให้ ความสําคัญกับงาน จนลืมดูแลสุขภาพ การพักผ่อน และ การหาความ สุขให้ตนเอง อีกทัง� คนไทย 91% ระบุวา่ ตนเองมีความเครียด ซึง� สูง กว่าค่าเฉลีย� ทัว� โลกที� 84% และ กว่า 81% ระบุวา่ พวกเขาอยู่ใน วัฒนธรรมการทํางานทีต� อ้ งตื�นตัวตลอดเวลา ส่งผลให้มคี วามเครียดสูง โดยเกือบทัง� หมดเห็นได้วา่ ความเครียดใน สถานทีท� าํ งานส่งผลเชิงลบต่อประสิทธิภาพการทํางาน และ การนําไปสู่ บรรยากาศการทํางานทีน� ่าหดหู่ ทัง� นี�ความเครียดทีเ� กิดขึ�น อาจส่งผล ให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมา โดยสุขภาพนัน� เป็ นตัวบ่งบอกถึง ความสุข และ ร่างกายทีแ� ข็งแรง
เมือ� มีสุขภาพทีแ� ย่ ก็ก่อให้เกิดความทุกข์ทงั� ทางกาย และ จิตใจ ซึง� ยัง ส่งผลต่อการทํางาน และ การใช้ชวี ติ ในแต่ละวัน ดังนัน� การมีสุขภาพทีด� เี ป็ นรากฐานของการคุณภาพชีวติ ทีด� ี ทีท� กุ คน ล ้วนแสวงหา จึงเป็ นทีม� าของ แนวคิดการศึกษาศูนย์พฒั นา และการส่งเสริม สุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน เพือ� ส่งเสริม และช่วยแก้ปญั หา ของกลุม่ คนเหล่านี� ให้มกี ารดูแลสุขภาพทีด� ี ทีถ� กู ต้อง ทัง� ทาง กาย และ ทางใจรวมไปถึง ช่วยป้ องกันโรคในผูส้ ูงอายุทจ�ี ะตาม มาเมือ� อายุมากขึ�น โดยการพัฒนานัน� จะเน้นไปในรูปแบบของ การเพิม� พื�นทีเ� พือ� อํานวยความสะดวกแก่คนวัยทํางาน ในพื�นที� กลางใจเมือง ทีส� ะดวกต่อการเดินทาง และ การสัญจรไปใน ทีพ� �นื ต่างๆรอบข้าง
Objectives วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพือ� ศึกษาแนวคิดสร้างสรรค์ หลักการจัดสรรพื�นทีใ� ช้สอย ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและศึกษาทฤษฎีท�ี เกี�ยวข้องและทฤษฎีอน�ื ๆสู่การออกแบบภายในอาคารพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองวัยทํางาน เพือ� ศึกษาประเภทช่วงอายุ พฤติกรรมการใช้ชวี ติ ประจําวัน และความต้องการของคนวัยทํางานในปัจจุบนั เพือ� ศึกษาการดูแล และส่งเสริมสุขภาพทีเ� หมาะสมของกลุม่ คนวัยทํางาน เพือ� ออกแบบพื�นที� สําหรับส่งเสริมสุขภาพของกลุม่ คนวัยทํางานยุคใหม่ ให้มใี จรักและความสนใจในการ ดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ�น
Expectations ผลทีค� าดว่าจะได้รบั
ได้ศึกษาพฤติกรรม และความต้องการของกลุม่ คนในแต่ละช่วงวัยทํางาน ได้ศึกษาทฤษฎีการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพทีเ� หมาะสมของกลุม่ คนเมืองวัยทํางาน เกิดศูนย์พฒั นาและการส่งเสริมสุขภาพของคนเมืองยุคใหม่ ให้มใี จรักและความสนใจในการดูแลสุขภาพ ของตนเองมากขึ�น
Areas of study ขอบเขตการศึกษา ศึกษาพฤติกรรม และความต้องการของกลุม่ คนในแต่ละช่วงวัยทํางาน ศึกษาทฤษฎีการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพ ทัง� การดูแลสุขภาพทางกาย และทางใจ ศึกษาบริบทโดยรอบของวิถชี วี ติ คนเมืองปัจจุบนั ศึกษาทฤษฎีทเ�ี กี�ยวข้องกับการเสริมสร้างสุขภาพ ศึกษาศิลปะในการเสริมสร้างสุขภาพ
Generations
53-71
Gen B 2489-2507
20-37
Gen Y 2523-2540
38-52 Gen X 2508-2522
-20
Gen Z หลัง พ.ศ.2540
POPULATION OF THAILAND ESTIMATED TOTAL: 67,000,000
GEN Y
19,000,000 คน
GEN Z
10,600,000 คน
GEN X
16,600,000 คน
ระหว่างสงครามโลก
GEN B
15,000,000 คน
ก่อนสงครามโลก
อ้างอิง : http://www.thansettakij.com/content/234315 (24 Nov 2017)
5,400,000 คน 300,000 คน
TARGET GROUP GEN Y
GEN X
20-37
38-52
GEN B , Z
70 %
20 %
10 %
ETC.
พนักงานออฟฟิ ศ หรือ วัยทํางาน เป็ นกลุม่ ทีม� จี าํ นวนมากในสังคมปัจจุบนั ซึง� ทางข้อมูล ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่าคนในกลุม่ นี� ซึง� ควรจะเป็ นกลุม่ ทีม� สี ุขภาพ แข็งแรง แต่กลับเป็ น ครึ�งหนึ�งของผูเ้ สียชีวติ ด้วยโรคทีส� าํ คัญต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และ โรคหลอดเลือดสมอง ดังนัน� การป้ องกันโรคทีด� ี และ การดูแลสุขภาพทีเ� หมาะสมจึงน่าจะช่วยลดอัตราการเสียชีวติ และเพิม� คุณภาพชีวติ ให้แก่คนในวัยนี�ได้ work-life balance หรือ ความสมดุลระหว่าง “งาน” กับ “การใช้ชวี ติ ” ซึง� เป็ นสิง� ทีค� วร ให้ความสําคัญ เนื�องจากในวัยทํางาน มักพบปัญหาจากการเสียสมดุลนี�ไป ซึง� โดยส่วน ใหญ่มปี จั จัยจาก หน้าทีก� ารงาน ภาระหน้าทีข� องการเป็ นพ่อ แม่ หรือ ความเครียดทาง การเงิน จนทําให้มผี ลกระทบอืน� ๆ ตามมา เช่น ภาวะเครียด โรคซึมเศร้า หรือ ปัญหา ทางสุขภาพ เช่น ภาวะนอนไม่หลับ โรคหัวใจ โรคทางระบบภูมคิ ุม้ กัน จนถึงปัญหาทาง ครอบครัวและสังคม
ปัญหาของคนวัยทํางาน
Trend
เทรนด์สุขภาพมาแรง คนเมืองยุคใหม่ตงั� เป้ าชีวติ ดีมสี ุข จากรายได้ทเ�ี พิม� ขึ�น และการขยายตัวของเมือง ทําให้ผู ้ บริโภค เริ�มหันมาใส่ใจสุขภาพของตนเองมากขึ�น ทําให้ กระแสการเป็ นตัวเองทีด� กี ว่ากําลังมาแรงในยุคปัจจุบนั ทัง� ในเชิง สุขภาวะร่างกาย อารมณ์ และ สุขภาพจิตใจ ด้านผลสํารวจ เฉพาะผูบ้ ริโภค ชาวไทย พบว่า คนไทย 48 % กําลังจะเริ�มปฏิวตั วิ ถิ กี ารบริโภคในอีก 12 เดือน ข้างหน้าเพือ� สุขภาวะทีด� ขี �นึ และในกลุม่ ผูบ้ ริโภคเหล่านี� ประมาณ 90 % ระบุวา่ จะรับประทานผลไม้รวมถึงผัก ต่างๆ ให้มากขึ�น ในขณะทีอ� กี 53%วางแผนทีจ� ะลดการ บริโภคเนื�อสัตว์ และ 45% เผยว่า พวกเขาจะเดินตาม แนวทางชีวจิต หรือมังสวิรตั ิ
องค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) คาดการณ์วา่ ในช่วง ค.ศ. 2001-2100 เป็ นศตวรรษแห่งผูส้ ูงอายุทห�ี ลายประเทศทัว� โลกจะก้าวเข้าสู่สงั คมสูงวัย โดยจะเร็วหรือ ช้าขึ�นอยู่กบั ความแตกต่างตามสภาพแวดล ้อมของแต่ละประเทศ เช่น สภาพการเติบโต ทางเศรษฐกิจและสังคม การพัฒนาทางการแพทย์ ภาวะโภชนาการ ฯลฯ องค์การสหประชาชาติได้กาํ หนดนิยาม ‘ผูส้ ูงอายุ’ (older person) หมายถึง ประชากร ทัง� เพศชายและหญิงทีม� อี ายุมากกว่า 60 ปี ข�นึ ไป และได้แบ่งระดับการเข้าสู่สงั คมสูงวัย ออกเป็ นสามระดับ ได้แก่
Aging Society
Aged Society
10%
20%
60+
60+
ประชากรกลุม่ ผูส้ ูงวัยอายุ 60 ปี ข�นึ ไป มีสดั ส่วน 10% ของประชากรทัง� ประเทศ (ปัจจุบนั ประเทศไทยอยู่ในระดับนี�)
ประชากรกลุม่ ผูส้ ูงวัยอายุ 60 ปี ข�นึ ไป มีสดั ส่วน 20% ของประชากรทัง� ประเทศ
Super-Aged Society >20% 65+
ประชากรกลุม่ ผูส้ ูงวัยทีม� อี ายุ 65 ปี ข�นึ ไป มีมากกว่า 20% ของประชากรทัง� ประเทศ
ปัจจุบนั ประเทศไทยเข้าสู่สงั คมผูส้ ูงอายุ (Aged Society) โดยมีจาํ นวนประชากรอายุ 60 ปี ข�นึ ไป คิดเป็ น 17.1 % และ อีก 2 ปี ขา้ งหน้า ราวปี พ.ศ. 2564 จะเข้าสู่สงั คมสูง อายุอย่างสมบูรณ์ (Completely Aged Society) และ ในอีก 20 ปี ขา้ งหน้า คาดว่า ประเทศไทยจะมีสดั ส่วนของผูส้ ูงอายุประมาณ 1 ใน 3 ของประชากรทัง� ประเทศ นัน� คือ การเข้าสู่สงั คมสูงอายุระดับสุดยอด (Super-Aged Society)
อ้างอิง : https://waymagazine.org/family_aging_society/ (10 Apr 2018)
BLUE ZONES
P O W E R
9
'บลู โซน' เป็ น คําทีใ� ช้เรียกสถานทีแ� ห่งหนึ�งแห่งใดก็ตามในโลก ทีม� สี ดั ส่วนของประชากรทีม� คี นอายุยนื นาน ทีส� ุดในโลก นับช่วงอายุตงั� แต่ 80 ปี ข�นึ ไป และ สามารถเฉลิมฉลองอายุครบ 100 ปี คนกลุม่ นี�เป็ นคนชราทีม� สี ุขภาพดี มีกาํ ลังแข็งแรง และ มีชวี ติ ชีวา ด้วยปัจจัยต่างๆ ทัง� 9 ปัจจัย 'บลู โซน' (Blue Zone) มีทม�ี าจาก ดร. ไมเคิล พูเลน (Dr. Michel Poulain) นักวิจยั ด้านประชากรศาสตร์ ชาวเบลเยีย� ม ทีไ� ด้ศึกษาเรื�องราวของกลุม่ ประชากรทีม� อี ายุยนื ทัว� โลก ในงานวิจยั ชิ�นหนึ�ง ท่านได้สงสัยขึ�นมาว่า ทําไม ชายชาวซาดีเนีย มีอายุยนื ยาวกว่าหญิงชาวซาดีเนียเป็ นไปได้อย่างไร ทัง� ๆ ทีง� านสํารวจประชากรทีท� าํ กันมาทัง� หมดมัก จะพบว่า ผูห้ ญิงอายุยนื กว่าผูช้ ายเสมอ ดร.ไมเคิล พูเลน จึงได้ร่วมกับ นายแพทย์เกียนนี เพส (Dr. Gianni Pes) นักวิจยั ด้านประชากรศาสตร์ชาวอิตาลี จึงได้ร่วมกันค้นหาหลักฐานเพิม� เติม เพือ� พิสูจน์รายงานวิจยั ชิ�นนี� ในครัง� แรก ดร. พูเลน ได้ทาํ การศึกษาหาข้อมูลของคนทีม� อี ายุ 100 ปี ข�นึ ไป โดยเริ�มต้นในห้องวิจยั ด้วยการระบุตาํ แหน่งบนแผน ทีโ� ลก เมือ� พบผูท้ ม�ี อี ายุยนื จากสถานทีใ� ด ก็จะนําปากกาสีนาํ� เงินวงพื�นทีต� รงนัน� ไว้ในแผนที� จึงได้กลายเป็ นทีม� าของ คําว่า ‘บลู โซน’ หรือโซนสีนาํ� เงิน และกลายมาเป็ นหนังสือ ‘บลู โซน’ ของ นักวิจยั แดน บิวต์เนอร์ (Dan Buettner) ทีเ� ขียนเรื�อง ‘เคล็ดลับแห่งอายุยนื ’
SARDINIA ITALY
LOMA LINDA CALIFORNIA NICOYA COSTA RICA
ICARIA GREECE
OKINAWA JAPAN
LOMA LINDA, CALIFORNIA : เป็ นพื�นทีพ� าํ นักของโบสถ์มชิ ชัน� นารี ทีม� นี ิกายโปรเตสแตนต์ จึงทําวิถชี วี ติ จะเน้น ไปทีก� ารทําอะไรร่วมกันและสวดมนต์อธิษฐาน รับประทานธัญพืชและพืชผัก NICOYA, COSTA RICA
: เน้นรับประทานธัญพืช โดยเฉพาะถัว,� ข้าวโพด, พืชและผลไม้เขตร้อน ทีอ� ดุ ม ไปด้วยสารอาหารทีช� ่วยให้ร่างกายแข็งแรง
SARDINIA, ITALY
: ออกกําลังกายทุกวัน แม้ในกิจวัตรประจําวัน
ICARIA, GREECE
: ความเครียดทีเ� กิดขึ�นทําให้เกิดกิจวัตรลดเครียดบางประการในอิคาเรียขึ�น นัน� คือ การงีบหลับ พวกเขาจะรวมตัวกันเพือ� หลับประจําวัน
OKINAWA, JAPAN
: ให้ความสําคัญกับครอบครัว และรวมไปถึงความสัมพันธ์กบั คนในชุมชน
อ้างอิง : https://www.emilyfonnesbeck.com/secrets-to-longevity-from-the-blue-zones/
01 Move Naturally
เคลือ� นไหวตามธรรมชาติ ผูค้ นทีม� อี ายุยนื ทีส� ุดในโลกอาศัยอยู่ใน สถานทีซ� ง�ึ ผลักดันพวกเขาให้เคลือ� นไหวตามธรรมชาติ การทํางานกับ ผูว้ างผังเมืองโรงเรียน และสถานทีท� าํ งาน จะช่วยพัฒนาชุมชน ทําให้ ผูค้ นเคลือ� นไหวได้มากขึ�น ในแต่ละวันโดยไม่ตอ้ งคิด และ การปรับ เปลีย� นชีวติ ประจําวันบางประการ เช่น การปลูกต้มไม้ พาตัวเองไป เดินในสวนสาธารณะทีล� ้อมรอบไปด้วยธรรมชาติ เพราะ ธรรมชาติ ถือเป็ นหัวใจสําคัญของชีวติ ทีย� นื ยาว และ สุขภาพทีด� ี รวมไปถึงการ ใช้ชวี ติ ในสิง� แวดล ้อมทีเ� อื�อให้เคลือ� นไหวตลอดเวลาโดยไม่ตอ้ งคิด จะทําให้เราสนุกทีจ� ะออกจากบ้าน และเข้าร่วมในกิจกรรม สนุกกับ การเดินทาง หรือ เดินไปร้านอาหาร
Know Your Purpose
มีเป้ าหมายในชีวติ ตัง� เป้ าหมายของทุกวันทีล� มื ตา ไม่วา่ จะอายุเท่าไรก็ตาม มันหมายความว่า ' สิง� ทีท� าํ ให้คุณลุกขึ�นจากเตียงในตอนเช้า ' และนัก วิจยั ได้ยนิ คนในภูมภิ าคนี�พดู ถึงสิง� ต่าง ๆ เช่น 'เพือ� ดูแลหลานสาวของฉัน' หรือ 'จับปลาเพือ� ครอบ ครัวของฉัน' โดยในประเทศญีป� ่ นุ ชาวโอกินาวาเรียก เป้ าหมายชีวติ ว่า อิคไิ ก (Ikigai) และชาวคอสตาริกา้ เรียกว่า แผนชีวติ (plan de vida) และ การตัง� เป้ า หมายในชีวติ มีค่าเทียบกับช่วงอายุ 7 ปี ทย�ี นื ยาวขึ�น
02
03 Down Shift หาวิธกี ารคลายเครียด ภาวะเครียด และ ความเครียด ก่อให้เกิดการอักเสบเรื�อรังและเกี�ยวเนื�องกับโรคภัยในทุกช่วงวัย ดังนัน� การ คลายเครียดเพือ� สร้างสุขให้ตนเองเป็ นประจํา จะเป็ นการผ่อนคลายทําให้สุขภาพดีข�นึ เช่น ประเทศญีป� ่ นุ ชาวโอกินาวาใช้เวลาในการ กราบไหว้บรรพบุรุษ ชาวอิคาเรียจะนอนพักกลางวัน และ ชาวซาดีเนียจะดืม� ในช่วง happy hour เมือ� เราใช้เวลาในการพักผ่อน หรือ ผ่อนคลายให้กบั ตนเอง กระบวนการทีอ� นั ตรายนี�จะถูกปิ ดและร่างกายของเราจะสามารถกลับสู่สภาวะสมดุลได้
80% Rule
04
กฏ 80 % เป็ นกฏการกินทีไ� ม่ตอ้ งเต็มกระเพาะ ใส่ไว้แค่ 80% และให้เหลือช่องว่าง 20% ระหว่างทีไ� ม่ รูส้ กึ หิว และ ทานอาหารจนอิม� สามารถสร้าง ความแตกต่างในการลดนํา� หนัก หรือ เพิม� นํา� หนัก โดยคนในบลูโซนจะทานอาหารมื�อเล็ก ในช่วงบ่าย หรือค่อนช่วงเย็น และจะไม่ทาน อะไรเพิม� ในช่วงเวลาทีเ� หลือ เพือ� ให้ร่างกาย ได้ทาํ งานได้ตามระบบของมัน
05
ทานผัก ผลไม้ เป็ นหลัก เป็ นการกินอาหารโดยเน้นผักเป็ นส่วนใหญ่ ถัวชนิ � ดต่างๆ เช่น ถัวเหลื � อง ถัวดํ � า ถือเป็ น อาหารหลัก ของการลด นํา� หนักในหมูข่ องผูส้ ูงวัย และจะรับประทาน เนื�อหมูประมาณ 5 ครัง� ในหนึ�งเดือน ครัง� ละไม่เกิน 90-120 กรัม
Plant Slant
Wine at 5
06
ดื�มไวน์ตอน 5 โมงเย็น คนในเขตบลูโซน จะดืม� แอลกอฮอล์ เป็ นประจํา และสมํา� เสมอ เขาเชื�อว่า ผูท้ ด�ี ม�ื นิดหน่อย จะมีช่วงอายุทย�ี นื กว่าผูท้ ไ�ี ม่ดม�ื เลย เคล็ดลับเล็กๆคือ ดืม� ไวน์วนั ละ 1-2 แก้ว และการดืม� ไวน์มกั ดืม� กับเพือ� นหรือครอบครัว พร้อมการรับประทานอาหาร
Family First
07
รักครอบครัวก่อนเสมอ หรือ มีใครให้รกั การมอบความรักให้ใครสักคน กลุม่ คนในบลูโซน มักมอบความรักให้ครอบครัวเป็ นสืง� แรก ให้คาํ มันต่ � อคู่รกั และ มอบความรักให้กบั กลุม่ คนรุ่นลูก รุ่นหลาน สิง� เหล่านี�ไม่เป็ นเพียงตัวเลข ปริศนาทีท� าํ ให้อายุยนื แต่มแี นวโน้มทีจ� ะ ต่อยอดจากความรักนี� ไปได้ ซึง� จะ หมายถึง การดูแลกัน ในยามวัยชรา ซึง� ทําให้เราอยู่ดว้ ยกันยาวนานขึ�น
08 Belong เป็ นผูม้ ีศรัทธา จากการสํารวจกลุม่ คนในบลูโซน พบว่าคนทีย� ดึ มันในศาสนา � และ ประกอบพิธที างศาสนาจะช่วยทําให้อายุยนื ขึ�นราว 4-14ปี ผูค้ นในบลูโซน จะมีการพบปะกัน ของกลุม่ คนทีม� ศี รัทธาใน 4 ครัง� ต่อเดือน
Right Tribe อยู่ในสังคมที�ดี กับกลุม่ คนที�ดี หมายถึง การสร้างกลุม่ สังคมทีช� ่วยสนับสนุนสุขภาพ ทีด� ี เช่นเดียวกับ ชาวโอกินาวา ทีแ� ต่ละคนสร้างกลุม่ “moai” หรือ กลุม่ เพือ� น 5 คน ขึ�นเพือ� ดูแลช่วยเหลือกัน
09
Blue zones Project
Life RadiusÂŽ The built environment : Improving roads and transportation options, parks, and public spaces Municipal policies and ordinances : Promoting activity and discouraging junk food marketing and smoking Restaurants , schools , grocery stores , faith-based organizations , and workplaces : Building healthier options into the places people spend most of their time Social networks : Forming and nurturing social groups that support healthy habits Habitat : Helping people design homes that nudge them into eating less and moving more Inner selves : Encouraging people to re duce stress, find their purpose, and give back to the community
80 % Rule กฏ 80 %
Research methology ระเบียบวิธวี จิ ยั
ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ พฤติกรรมของคนเมืองแต่ละช่วงวัย ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ ปัญหาของคนวัยทํางาน ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ การดูแลสุขภาพเบื�องต้น ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ เทรนด์การดูแลสุขภาพ ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ ศูนย์การดูแลสุขภาพ ศึกษาข้อมูลเกี�ยวกับ ทฤษฎีการดูแลสุขภาพทีเ� หมาะสม
Case study กรณีศึกษา
ศึกษาพฤติกรรม และ ความต้องการของกลุม่ คนในแต่ละช่วงวัยทํางาน ศึกษาการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพของกลุม่ คนวัยทํางาน ทัง� การดูแลสุขภาพทางกาย และทางใจ ศึกษาบริบทโดยรอบของวิถชี วี ติ คนเมืองปัจจุบนั
case study
Minoburi
01
มิโนะบุรี คอมมูนิต� ขี นาดย่อมในย่านมีนบุรแี ห่งนี� เกิดขึ�นจาก ความตัง� ใจของครอบครัวหรุ่นรักวิทย์ ซึง� จัดการบริหารทีด� นิ ใน ย่านมีนบุรี ของครอบครัว ให้กลายเป็ นพื�นทีท� าํ กิจกรรมดี ๆ สําหรับเด็ก และ ครอบครัว รวมไปถึงร้านอาหารอร่อยๆ ทีค� วร ค่าแก่การไปแวะเวียนกันบ่อยๆ คุณป่ อง-ปฐมา หรุ่นรักวิทย์ สถาปนิกแห่ง CASE Studio ผูอ้ อกแบบและเจ้าของโครงการ เริ�มจากอยากสร้างพื�นทีต� รงนี�ให้เด็ก ๆ ในละแวกนี�มกี จิ กรรม ทํามากกว่าแค่หา้ งสรรพสินค้า แต่พอคิดว่ามีเด็กก็ตอ้ งมีผูป้ ก ครองมาด้วย จึงเพิม� ส่วนต่าง ๆ ขึ�นมา พร้อมทัง� เปิ ดให้คนมา เช่าเป็ นร้านอาหาร และยังมีพ�นื ทีแ� ปลงผักสําหรับให้มาปลูกผัก กินเองได้อกี ด้วย การออกแบบ Minoburi เสมือนหมูบ่ า้ นเล็กๆ ทีป� ระกอบไปด้วยบ้านแต่ละหลัง ซึง� ก็จะแยกหน้าทีต� ่างๆ กันไป พื�นทีอ� เนกประสงค์สาํ หรับจัดกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ สอนโยคะ เวทีแสดงดนตรี และ Workshop สอนทํางานคราฟท์ 210/9 ถนนรามคําแหง มีนบุรี กรุงเทพ 10510 เปิ ดวันอังคาร-อาทิตย์ 10:00-22:00 น.
อ้างอิง : https://www.baanlaesuan.com/158993/design/lifestyle/minoburi
case study
RQ 49 Healthy & Lifestyle Mall
02
RQ 49 Healthy & Lifestyle Mall เป็ น คอมมูนิต� ี มอลล์ ทีต� อบโจทย์การใช้ชวี ติ ของคนเมืองปัจจุบนั ทีห� นั มาใส่ใจสุขภาพ กันมากขึ�น ตัง� อยู่ใจกลางกรุงเทพ ฯ ทีส� ุขมุ วิท 49 เอาใจคนรัก สุขภาพทัง� ด้านสุขภาพ ความงาม และ การบริโภคอาหารชัน� นํา แบบฉบับเจแปน เลิฟเวอร์ ทีน� �ีออกแบบและตกแต่งสไตล์เจเปน โมเดิรน์ ให้ความรูส้ กึ เหมือนกําลังเดินอยู่บนถนนโอโมเตะซันโด (Omotesando) ถนนช้อปปิ� งย่านฮาราจูกุ (Harajuku) โตเกียว 49/7 ถนน สุขมุ วิท Phra Khanong, Khlong Toei, Bangkok 10110 เปิ ดทุกวัน ตัง� แต่เวลา 8.00. น. – 22.00 น. ร้านภายในคอมมูนิต� ี มอลล์ : DAIKI Original Jyoshoken Ramen Kimiyo-G MAI REGINA BEAUTY
อ้างอิง : https://travel.trueid.net/detail/e9Nw8kwvDQK
case study
ForREST Massage
03
Forrest Massage Spa เป็ นร้านนวดเพือ� การผ่อนคลายจาก โรค Office Syndrome โดยทีน� ีมกี ารนําท่าทางกายภาพบําบัด ทีใ� ช้ในการรักษา โรค ออฟฟิ ศซินโดรมจริง ๆ มาผสมผสานกับ การนวดแผนไทย นอกจากนี�ยงั มีสปาทรีทเมนต์บาํ รุงผิว เพือ� ความผ่อนคลายอีกด้วย ตัง� อยู่ท�ี Winner Sports Avenue อาคารA ชัน� 2 ช่วงเวลาเปิ ด-ปิ ด : วันธรรมดาจันทร์ - ศุกร์ 12.00-23.00 วันเสาร์ - อาทิตย์ 10.00-23.00 Type of Massage : Office Massage Thai Massage Thai Oil Massage Foot Massage Aroma Oil Massage Body Steam Body Scrub Body Mask
อ้างอิง : https://forrest-massage-spa.business.site/
SITE LOCATION
Sukhumvit 71 BTS Phra khanong
Sukhumvit 46
SITE Sukhumvit Rd Rama IV Rd
Naiipa Art Complex “ ในป่ า ” ตัง� อยู่ในย่านพระโขนง ซึง� เป็ นแหล่งทีพ� กั อาศัย บ้านพัก คอนโดมิเนียม อพาร์ทเม้นต์ และโรงแรม ประกอบกับทีต� งั� ของ “ในป่ า” อยู่ในซอยสุขมุ วิท 46 ห่างจาก สถานีรถไฟฟ้ าพระโขนงเพียง 100 เมตร และ เป็ นจุดเชื�อมต่อระหว่างถนนสุขมุ วิท และ ถนนพระราม 4 อีกทัง� ยังอยู่ใกล ้จุดขึ�นลงทางด่วน สายเอกมัย - รามอินทรา และ ทางด่วนอาจณรงค์ จึงทําให้การเดินทางมา “ในป่ า” สะดวกมากแก่คนเมืองอีกทัง� เป็ น พื�นทีส� เี ขียวกลางกรุงเทพทีย� อดเยีย� มแห่งหนึ�ง ทีล� ้อมรอบไปด้วยต้นไม้ใหญ่อายุกว่า 30 ปี
Naiipa Art Complex BTS Phra khanong (Exit 4) 100 m Sukhumvit 46 Sukhumvit Rd , Rama IV Rd , Sukhumvit 71
EXISTING SITE พื�นทีเ� ช่า ระเบียง ห้องนํา� โถงบันได - ทางเดิน ห้องเก็บของ 1st floor
ห้องไฟฟ้ า
พื�นทีเ� ช่า ระเบียง ห้องนํา� 2nd floor
โถงบันได - ทางเดิน สํานักงาน
พื�นทีเ� ช่า จัดสวน ห้องนํา� 3rd floor
โถงบันได - ทางเดิน สํานักงาน
ACTIVITIES
Move Naturally
Know your purpose Down Shift
Walk
Workshop Exercise
80 % Rule
Plant Slant Wine At 5
Family First
Belong Right Tribe
Organic Food
DIAGRAM
PROGRAMMING
KITCHEN
SPACE
STORAGE
RESTAURANT
STORE
ENTRANCE TOILET
WORKSHOP AREA
RECEPTION
CAFE
SPA
1st floor
YOGA FITNESS SPA MEDITATION
FITNESS
OFFICE
RESTAURANT CAFE STORE
TOILET
TOILET
STAIRS
TOILET
RECEPTION
STORAGE
WORK SHOP
RECEPTION
SPA
2nd floor
OFFICE
MEDITATION COMMON AREA GARDEN
YOGA WORKSHOP AREA
TOILET
GARDEN
3rd floor
ZONING
1st floor RESTAURANT 246 SQ.M. KITCHEN 107 SQ.M.
STORAGE
SPA & RECEPTION 140 SQ.M.
KITCHEN STORAGE
RESTAURANT
STORE
ENTRANCE TOILET
RECEPTION
TOILET
CAFE
SPA
1st floor
STORE 46 SQ.M.
CAFE 58 SQ.M.
ZONING
2nd floor MEDITATION 94 SQ.M.
FITNESS 147 SQ.M. OFFICE
STORAGE
SPA & RECEPTION 249 SQ.M.
MEDITATION
FITNESS
OFFICE
TOILET
STAIRS
TOILET
RECEPTION
STORAGE
WORK SHOP
RECEPTION
SPA
2nd floor
WORKSHOP & RECEPTION 119 SQ.M.
ZONING
3rd floor
YOGA 103 SQ.M. ช่องโล่ง OFFICE
ช่องโล่ง
GARDEN 276 SQ.M.
OFFICE
YOGA WORKSHOP AREA
TOILET
GARDEN
3rd floor
WORKSHOP AREA 158 SQ.M.
GARDEN
SPA
RECEPTION
FITNESS
CAFE
WORKSHOP AREA
W WELLNESS
+
N = NATURAL
WN
WN
WN
WN
RESEARCH REFERENCE source : https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/ocsc-2561-y60b04.pdf source : https://www.ddproperty.com/2016/9/134552/72-courtyard source : https://www.soimilk.com/nightlife/news/72-courtyard-bars-restaurants source : https://www.thansettakij.com/content/234315 source : https://www.honestdocs.co/blue-zone-healthy-aging source : https://www.unlockmen.com/longest-lived-people-never-go-gym/ source : https://goodlifeupdate.com/healthy-body/health-education/21636.html source : http://oknation.nationtv.tv/blog/surasakc/2011/03/28/entry-1 source : https://goodlifeupdate.com/healthy-body/health-education/8422.html source : http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/article/article_work.html source : https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3791 source : https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/february-2019/new-trend source : https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/17186.html source : https://www.home.co.th/hometips/detail/82294 source : https://www.prachachat.net/marketing/news-160285 source : https://forrest-massage-spa.business.site/ source : https://travel.trueid.net/detail/e9Nw8kwvDQK source : https://www.baanlaesuan.com/158993/design/lifestyle/minoburi source : http://www.naiipa.com source : https://www.bluezones.com/live-longer-better/life-radius/ source : https://www.sharecare.com/pages/blue-zones source : https://plenae.com/the-secret-to-a-long-and-happy-life/
CHATTIYA SAEN-UDOM
5907526
03