Course Syllabus INT360.11.01.2016

Page 1


รหัสวิชา ชื่อวิชา

INT360 ระเบียบวิธีวิจัยงานออกเเบบภายใน (Research and Methodologies for Interior Design)

ภาคเรียนที่ ผูเรียน ผูสอน

2 ปการศึกษา 2558/2559 นักศึกษาชั้นปที่ 3 สาขาการออกเเบบภายใน Section 01 เเละ 02 อาจารย เรวัฒน ชำนาญ Rewat Chumnarn ปริญญาเอก (ปจจุบัน) สาขางานวิจัยเเละปฏิบัติ ภาควิชาศิลปะเเละการออกเเบบรวมสมัย คณะการออกเเบบ มหาวิทยาลัยเบาเฮาสเเหงเมืองไวมาร ประเทศเยอรมนี Ph.D. Kunst und Design, Freie Kunst Promotionsstudiengang, Fakultät Gestaltung, BauhausUniversität Weimar, Deutschland.

ปริญญาเตรียมปริญญาเอก (เกียรตินิยมเรียนดี) สาขางานวิจัยเเละปฏิบัติ ภาควิชาทฤษฎีงานออกเเบบ งานศิลปเเละสื่อผสมรวมสมัย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเเหงกรุงปารีส 8 (เเว็งเเซนน - เเซ็งท - เดอนีส) ประเทศฝรั่งเศส Master 2 (DEA) Recherche en Arts Plastiques, Spécialité : Théorie et Pratique de l'Art Contemporain et des Nouveaux Médias, La Faculté d'Arts Plastiques, l'Université Paris VIII (Vincennes - Saint - Denis), France.

ปริญญาโท (เกียรตินิยมเรียนดี) สาขางานวิจัยเเละปฏิบัติ ภาควิชาการออกเเบบเเละสิ่งเเวดลอม คณะวิทยาศาสตรงานศิลป มหาวิทยาลัยเเหงกรุงปารีส 1 (ปองเตอง - ซอรบอนน) ประเทศฝรั่งเศส Maîtrise en Design et Environnement, La Faculté d'Arts Plastiques et Science de l'Art, l'Université Paris 1 (Panthéon-Sorbonne), France.

ปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับหนึ่งเเละนักศึกษาดีเดน) สาขาการออกเเบบภายใน คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต ประเทศไทย Bachelor Degree (First class honors and Out Standing Student Award), B.F.A Interior Design, Department of Interior Design, Faculty of Fine and Applied Arts, Rangsit University, Thailand.

เงื่อนไขรายวิชา ลักษณะวิชา วันเเละเวลา สถานที่

ไมมีวิชาบังคับกอนเเละไมมีวิชาที่ตองเรียนรวม วิชาเฉพาะของคณะศิลปะเเละการออกเเบบ มหาวิทยาลัยรังสิต วันจันทร เวลา 09.00 น. - 12.00 น. (เรียนรวมกลุมเดียว) หอง 8-601


คําอธิบายรายวิชา ศึกษาระเบียบวิธีวิจัยที่ถูกตองโดยอางอิงกระบวนการคิดเเบบวิทยาศาสตร (Scientific) ที่เปนระบบระเบียบหากเเตเปน วิธีคิดเชิงสรางสรรครวมสมัย (Contemporary Creative Thinking) ที่เนนวิธีการศึกษาคนหาขอมูล พรอมวิเคราะหกรณี ศึกษา (Case Study Analysis) จากงานศิลปชิ้นงานออกเเบบนาสนใจอันเปนที่ยอมรับในทั่วโลก โดยสามารถทำการ ศึกษาตามขั้นตอนทั้ง 6 ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. การระบุปญหา (Research Problem) : ใหนักศึกษาลองระบุปญหาโดยทําการศึกษาจากขอมูลพื้นฐานที่ไดจาก คําถามเบื้องตน (Basic Questions) อันไดเเก What, When, Where, Why, How ... 2. ตั้งสมมุติฐาน (Develop Hypothesis) : ใหนักศึกษาทดลองตั้งสมมุติฐานของความนาจะเปนไปไดของโครงการ เเละทําการทดลองตั้งสมการทางการออกเเบบที่เปนผลจากการคิดมาจากกระบวนการมายดเเม็พ (Mind Map) 3. กระบวนการศึกษาคนควา (Research Process) : นักศึกษาตองทําการคนควาขอมูลที่จําเปนอันอาจจะไดมา จากการอานหนังสือเเละบทความเชิงวิชาการ การดูภาพยนตที่มีเนือ้ หาเเฝงปรัชญาหรือทฤษฎีเกี่ยวของเชิงลึก การวิเคราะหเชิงลึกอยางเปนขั้นตอนในชิ้นงานสรางสรรคจากทุกเเขนง ที่ไมจําเปนตองเฉพาะงานออกเเบบ พืน้ ที่ภายในเทานั้น โดยควรคิดวิเคราะหเชิงสรางสรรคกับกรณีศึกษาอยางนอย 10 กรณีศึกษา ตอการจัดทํา 1 โครงการ 4. การวิเคราะหขอมูล (Data Analysis) : ฝกคิดวิเคราะหขอมูล โดยเรียงลําดับความสําคัญของเนื้อหาพรอมรูจัก อางอิงทฤษฎีงานออกเเบบ ยุคสมัยประวัติศาสตรงานศิลปเเละงานออกเเบบ ปรัชญาสําคัญทางการออกเเบบ ของนักคิดนักสรางสรรคทหี่ มายรวมไปถึงเหลากวีเเละนักประวัติศาสตรคนสําคัญผูเ ปนที่ยอมรับของโลก 5. การสรุป (Conclusion) : สรุปผลที่รวบรัดเเละไดเนื้อความสําคัญที่ชัดเจน 6. การสังเคราะห (Synthesis) : นําผลสรุปที่ไดไปตอยอดโดยการพัฒนาเปนชิ้นงานสรางสรรคที่สื่อใหเห็นชัดถึง วิธีการคิดเเละการสรางสรรคเชิงนวัตกรรม (Innovative - Innovation) ที่จะเอื้อประโยชนพรอมเเกปญหาตาม สมการที่เคยระบุไวกอนหนา เพื่อประโยชนสุขเเละสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมาย (User) ที่อางอิงตามรูปเเบบการดําเนินชีวิตโดยรวมในยุคเเหงความรวมสมัย (Contemporary Period) ในปจจุบัน วัตถุประสงค 1. เพื่อใหนักศึกษาเขาใจถึงวิธีการทํางานวิจัยเเละตัวเเบบในสายสหวิทยาการ เพื่อนํามาประยุกตใหเกิดผลเชิงบวก กับกิจกรรมการเรียนรูง านศิลปะเเละงานออกเเบบในทุกเเขนง 2. เพื่อใหนักศึกษาสามารถคิดเปนกระบวนการอยางเปนระบบระเบียบเเละมีหลักเกณฑ หากเเตไมไดปดกั้นเเนวคิด เชิงสรางสรรคอันเปนหัวเรื่องสําคัญของการเรียนรู เเละ การทําวิจัยเชิงสรางสรรค 3. เพื่อใหนักศึกษาสามารถนําความรูทไี่ ดไปปรับใชกับการทํา โครงการเตรียมศิลปนิพนธ ที่เปนสวนของเนื้องานวิจัย เเละ โครงการศิลปนิพนธ ที่เปนสวนของชิ้นงานสรางสรรค ทั้งเพื่อนําไปตอยอดกับวิชาชีพนักออกเเบบผูม จี รรยาบรรณ ที่เปนผูมีเเนวคิดชาญฉลาดเเละพรอมปรับตนเองใหทันตอเหตุการณของยุคสมัยที่เปลี่ยนไปในทุกวินาที ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. สามารถเขาใจถึงวิธีการทําวิจัยเเบบสายสหวิทยาการที่ชาญฉลาดพรอมสามารถประยุกตใหเกิดผลเชิงบวกกับ งานออกเเบบทุกเเขนง 2. สามารถคิดอยางเปนกระบวนการ พรอมสามารถเชื่อมโยงระบบการคิดเเบบวิทยาศาสตรเพื่อวิเคราะหชิ้นงาน สรางสรรคในทุกเเขนงไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. สามารถพัฒนาความรูเพื่องานโครงการเตรียมศิลปนิพนธ เเละ โครงการศิลปนิพนธที่มีผลเชิงบวกไดมาตรฐาน ของทบวงมหาวิทยาลัย ทั้งสามารถ ตอยอดความคิดเพื่อสายวิชาชีพนักออกเเบบผูมีจรรยาบรรณที่ดีเเละมีเเนว คิดเชิงสรางสรรคที่ชาญฉลาด พรอมทันตอเหตุการณในยุคสมัยที่เปลี่ยนไป กิจกรรมการเรียนการสอน เนนการศึกษาคนควาดวยตนเอง (Self Study Base) โดยวิเคราะหเนื้อหาการบรรยายหัวเรื่องเชิงสรางสรรคจากอาจารย ผูสอนเปนเวลา 2 ชั่วโมง พรอมกับการพูดคุยเชิงสัมมนาวิเคราะห อันจะเปนการฝกเเสดงเเนวคิดที่ชาญฉลาดเเบบนักออกเเบบวิชาชีพอีก 1 ชั่วโมง รวมทั้งหมดเปน 3 ชั่วโมง/ครั้ง


สื่อการสอน 1. Power Point Presentation เเละ VDO 2. ชิ้นงานสรางสรรคจริงที่สามารถจับตองพรอมเรียนรูไดเเบบสามมิติโดยอาจารยผูสอนจะเปนผูนํามาเเสดงตามเเต เหตุผลสมควรเเละโอกาสที่เอื้ออํานวย 3. เอกสารประกอบการเรียนการสอนฉบับปรับปรุง วันที่ 11.01.2559 4. Social medias เพื่อรูจักการเสพยเทคโนโลยีใหเกิดประโยชน www.facebook.com/rewatchumnarn.creativity เเละ www.facebook.com/interiordesignrsu 5. การสงงานโดยอาศัยเทคโนโลยีไอทีที่เปนประโยชน E-mail : rewatchumnarn@gmail.com เเละระบบการสง งานของกลุมนักออกเเบบวิชาชีพโดยอาศัย www.wetransfer.com การวัดผลการเรียนรู 1. การสงงานยอยรายบุคคล (40%) a. เเบบเสนอโครงงานวิจัย (Research Proposal) ไมกําหนดรูปเเบบเเละขนาด b. รายงานวิจัยฉบับยอขนาด A4 เขียนตามรูปเเบบบังคับ c. ชิ้นงานวิเคราะหกรณีศึกษาเชิงสรางสรรค 2. การสงงานกลุม (50%) a. เเบบเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal) ไมกําหนดรูปเเบบเเละขนาด b. รายงานวิจัยขนาด A4 เขียนตามรูปเเบบบังคับอยางสมบูรณ c. การวิเคราะหงานวิจัย (ภาคทฤษฏี) d. การสังเคราะหใหเกิดเปนชิ้นงาน (ภาคปฏิบัติ) e. การนําเสนองานวิจัยเชิงสรางสรรคชวงสอบปลายภาคเรียน 3. การเขาเรียน วินัย ความรับผิดชอบตอตนเองเเละงานกลุมที่ไดรับมอบหมาย รวมทัง้ หมด

5% 10% 25% 5% 15% 10% 10% 10% 10% 100%

ขอปฏิบัติชวงเวลาการเรียนการสอน คารวมของเวลาเรียน : นักศึกษาตองมีเวลาเขาชั้นเรียนอยางนอย 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด (ขาดไดไมเกิน 3 ครั้ง เเตตองตามงานเเละเนื้อหาทั้งหมดใหทัน) โดยจะไมมีการรับใบลาใด ๆ ทั้งสิ้นจึงจะมีสิทธิ์ผานการประเมินของวิชานี้ การเช็คชื่อ : นักศึกษาทุกคนตองเขาชั้นเรียนในเวลา 9.15 น. เเละจะเริ่มเช็คชื่อที่เวลา 9.30 น. หลังจากนั้นจะถือวามาสาย เเละนักศึกษาที่เขาหองเรียนสายเกิน 30 นาที (สายเกิน 10.00 น.) จำนวน 2 ครั้ง ถือวาขาดเรียน 1 ครั้ง ทั้งนี้หมายรวมไป ถึงนักศึกษาที่ไมมาเช็คชื่อภายในเวลา 10.00 น. หรือไมเขาเรียนจะถือวาขาดเรียนในวันนั้นโดยไมมีขอโตเเยงใด ๆ การสงงาน : นักศึกษาตองสงงานใหครบทุกชิ้นตามกําหนดเวลาที่มีการกําหนดไวเเลวโดยไมมีการผอนปรน กรณีที่ขาดสง งานหนึ่งชิ้นจะถือวาไมผานในวิชานี้ทันที ในกรณีที่สงงานลาชาจะทําการหักคะเเนนวันละ 10% ในกรณีที่งานไมได มาตรฐานสมบูรณนั้นนักศึกษาสามารถขอเขาพบอาจารยผูสอนนอกเวลา เพื่อรับคําปรึกษาพรอมสามารถนํางานไปปรับ ปรุง หากเเตจะพิจารณาเปนกรณีไป การขอเขาพบอาจารยผูสอน : นักศึกษาตองทําการสงอีเมลหรือลงชื่อกับผูชวยของอาจารยผูสอนเพื่อทําตารางนัดหมาย ใหเปนกิจจะลักษณะ อันจะเปนการฝกตนในเรื่องของระเบียบวินัยเเละการวางเเผนเพื่อวิชาชีพนักออกเเบบผูมีจรรยาบรรณเชิงบวกในอนาคต การเเตงกาย : นักศึกษาตองเเตงกายสุภาพที่ยนื อยูบนพื้นฐานของความเหมาะสมเเละกาลเทศะในการเขาหองเรียน


เอกสารอางอิง ไพลิน โภคทวี เเละ สัญญา สุขพูล (2553), เอกสารคําสอนวิชา ART 360 วิธีวิจัยทางงานศิลปะเเละการออกเเบบ. ปทุมธานี : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรังสิต, 2556. เรวัฒน ชำนาญ. CREATIVITY ฉลาดคิด ฉลาดสุข. บริษัท เรวัฒน ชำนาญ จํากัด, ฐานการพิมพ, กรุงเทพมหานคร, 2555. เรวัฒน ชำนาญ. CREATIVITY ฉลาดคิด ฉลาดสรางสรรค. บริษัท เรวัฒน ชำนาญ จํากัด, ฐานการพิมพ จํากัด, กรุงเทพมหานคร, 2556. เรวัฒน ชำนาญ. EVERYDAY CREATIVE สรางสรรคประจําวัน. บริษัท เรวัฒน ชำนาญ จํากัด, ฐานการพิมพ จํากัด, กรุงเทพมหานคร, 2559. เรวัฒน ชำนาญ. TO BE CREATIVITY สมองสั่งสรางสรรค. บริษัท เรวัฒน ชำนาญ จํากัด, ฐานการพิมพ จํากัด, กรุงเทพมหานคร, 2559. Abercrombie, Stanley. A Philosophy of Interior Design. Harper & Row, Publisher, New York, 1990. Berger, John. Ways of Seeing. British Broadcasting Corporation and Penguin Books, London, 2008. Collins, Hilary. Creative Research - The Theory and Practice of Research for the Creative Industries, AVA Publishing SA, Switzerland Heidegger, Martin. Poetry, Language, Thought. New York : Harper and Row, 1971. Jun IchiroTanizaki. In Praise of Shadows. CT : Leete’s Island Books. Inc., 1977. Sudjic, Deyan. The Language of things. Penquin Books. London, 2009. Suweeranont, Pracha. Design and Culture. Same Sky Books. Bangkok, 2008. Tuan, Yi-Fu. Space and Place, The Perspective of Experience. Minnesota : University of Minneasota Press, 2007. Zumthor, Peter. Peter Aumthor Thinking Architecture, Second, expanded. Basel : Birkhauser, 2006. เอกสารเเละหนังสืออื่นจะทําการชี้เเจงใหทราบในชั้นเรียน ระยะเวลา ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา จำนวน 15 ครั้ง ระหวางวันที่ 11.01 - 02.05.2559 เเละหยุดเพื่อสอบกลางภาคเรียนเปนเวลา 2 อาทิตย (ครั้ง) เเผนการสอนเรียงลําดับตามสัปดาหเเละวันเวลาของการบรรยาย สัปดาห

ว/ด/ป

1

11.01.2559

รายละเอียดของเนื้อหา

กิจกรรมการ เรียนการสอน ประวัติศาสตรศิลปะ ตะวันตก

บรรยายครั้งที่ 1 • เเนะนำรายวิชาเเละอธิบายวัตถุประสงค ของการทําวิจัยงานศิลปเเละงานออกเเบบ 2xFurnitures 2xInterior spaces ตามสาระสําคัญของเนื้อหาวิชา เพื่อนําไป 1xArchitecture+Env ปรับใชในการจัดทําโครงการเตรียมศิลปนิพนธ เเละ โครงการศิลปนิพนธ พรอม ประวัติศาสตรศิลปะ สามารถนําไปพัฒนาตอยอดกับการทํางาน ตะวันออก 2xFurnitures ในวิชาชีพนักออกเเบบในอนาคต 2xInterior spaces • ชี้ประเด็นความสําคัญของประวัติศาสตร 1xArchitecture+Env ศิลปะเเละการออกเเบบ ทั้งรูปเเบบของ ตะวันตกเเละตะวันออก

ชิ้นงานสรางสรรค รายละเอียดของ เฟอรนิเจอรเครื่อง เรือนตามยุคสมัย เขียนเชิงวิเคราะห งานออกเเบบภาย ในอางอิงรูปเเบบ ศิลปะในประวัต-ิ ศาสตรงานศิลป ตะวันตกเเละตะวัน ออก

หมายเหตุ -Furniture sketch -Interior space -Presentation -Analysis Techniques -Free hand sketch -Rendering


2

18.01.2559

3

25.01.2559

4

5

6

7

01.02.2559

08.02.2559

15.02.2559

22.02.2559

บรรยายครั้งที่ 2 • สรางสรรคการคิด • นิยามของเเนวคิดเชิงสรางสรรค • กระบวนการคิดเชิงสรางสรรค • การสรางภาวะเชิงสรางสรรค • ประเภทของเเนวคิดเชิงสรางสรรค • ความจําเปนเเละประโยชนของการคิดเชิง สรางสรรคในบริบทของงานศิลปะเเละงาน ออกเเบบ บรรยายครั้งที่ 3 • เจ็ดคิวกับชีวิตสรางสรรค • ยุทธการสรางซีคิว • นิยามของการวิจัยเชิงสรางสรรคในบริบท งานศิลปเเละงานออกเเบบในทุกเเขนง • ธรรมชาติงานการวิจัยเชิงสรางสรรค • ความสัมพันธของการวิจัยเเละเเนวคิดเชิง สรางสรรค • ทักษะพื้นฐานเบื้องตนเเละการสรางเเรงบัน ดาลใจของการวิจัยเชิงสรางสรรค • การเลือกเเละพัฒนาหัวของานวิจัย • วิธีการเขียนโครงรางงานวิจัย*** บรรยายครั้งที่ 4 • การจัดทําโครงการเตรียมศิลปนิพนธ (ภาคทฤษฏี) • Research diagram • Design development • Design proposal บรรยายครั้งที่ 5 • การพัฒนาเนื้องานของโครงการเตรียมศิลป นิพนธ (ภาคทฤษฎี) • Research diagram • Design development • Design proposal บรรยายครั้งที่ 6 • การนําเสนอเนื้องานโครงการเตรียมศิลปนิพนธอยางมืออาชีพ • วิธีการเขียนโครงรางงานวิจัยที่ถูกตอง • วิธีการเขียนงานวิจัย • ความสําคัญของการเขียนงานวิจัยที่ถูกตอง • การใชเอกสารอางอิง บรรยายครั้งที่ 7 • การสังเคราะหเเละตอยอดผลวิเคราะหเพื่อ สรางสรรคชิ้นงานที่เปนประโยชนพรอม

สนทนาในชั้นเรียน พรอมยกตัวอยางชิ้น งานสรางสรรคที่นา สนใจจำนวน 5 กรณี ศึกษา

1xMovie Timeline 2xCases studies 1xArchitecture+Env 1xInterior space

Case study analysis format

สนทนาในชั้นเรียน พรอมยกตัวอยางชิ้น งานสรางสรรคที่นา สนใจจำนวน 5 กรณีศึกษา

3xCases studies 1xArchitecture+Env 1xInterior space 1xResearch proposal (1st draft)

Case study analysis format

5xกรณีศึกษา 5 2xโครงการศิลปนิพนธ

3xCases studies 1xArchitecture+Env 1xInterior space 1xResearch proposal #R001 (Text+graphic)

Case study analysis format

5xกรณีศึกษา 5 2xโครงการศิลปนิพนธ

2xCases studies 1xResearch proposal #R002 (Text+graphic) 1xConceptual model

Case study analysis format

Research proposal format

Research proposal format

Research proposal format Conceptual model

5xกรณีศึกษา 5 2xโครงการศิลปนิพนธ

3xCases studies 1xResearch proposal #R003 (Text+graphic : FINAL) 1xConceptual model : FINAL 1xDesign proposal

Case study analysis format (25) Research format (1) Conceptual model (1++)

5xกรณีศึกษา 5 1xโครงการศิลปนิพนธ

Research format

(เเบงกลุมทํางานวิจัย ตามหัวเรื่องที่สนใจ)


8

ตอบสนองความตองการของผูใชในยุคเเหง ความรวมสมัย • วิธีการเขียนรายสรุปวิจัยเชิงสรางสรรค 29.02.2559 • สอบกลางภาค

9

07.03.2559 • สอบกลางภาค

10

14.03.2559

11

21.03.2559

12

28.03.2559

13

04.04.2559

14

11.04.2559

15

18.04.2559

16

25.04.2559

17

02.05.2559

บรรยายครั้งที่ 8 ทําวิจัยเเละวิเคราะหเนื้องานตามกลุม บรรยายครั้งที่ 9 ทําวิจัยเเละวิเคราะหเนื้องานตามกลุม บรรยายครั้งที่ 10 สงชิ้นงานพรอมนําเสนองานวิจัยเชิงสราง สรรคตามลําดับกลุมยอยครั้งที่ 1 บรรยายครั้งที่ 11 สงชิ้นงานพรอมนําเสนองานวิจัยเชิงสราง สรรคตามลําดับกลุมยอยครั้งที่ 2 บรรยายครั้งที่ 12 สงชิ้นงานพรอมนําเสนองานวิจัยเชิงสราง สรรคตามลําดับกลุมยอยครั้งที่ 3 บรรยายครั้งที่ 13 สงชิ้นงานพรอมนําเสนองานวิจัยเชิงสราง สรรคตามลําดับกลุมยอยครั้งที่ 4 บรรยายครั้งที่ 14 สงชิ้นงานพรอมนําเสนองานวิจัยเชิงสราง สรรคตามลําดับกลุมยอยครั้งที่ 5 บรรยายครั้งที่ 15 • สรุปเเละประเมินการเรียน พรอมปดคอรส • สงงานวิจัยใหสงเปนเลมสมบูรณกอนเวลา 12:00น.

หยุด 2 อาทิตยเพื่อสอบกลางภาคเรียน หากเเตนักศึกษาตองจัดการงานที่ไดรับมอบหมายเพื่อเตรียม นําเสนอในการบรรยายครั้งตอไปใหสมบูรณเเบบที่สุด Reserach proposal (1st draft)

Brainstorm

Reserach proposal (1st draft)

Brainstorm

- Proposal - presentation

Final research proposal Analysis

Brainstorm

- Proposal - presentation

Final research proposal

ถอนวันสุด ทายติด W 22.04.2559

- Proposal - presentation

Final research proposal

Brainstorm

- Proposal - presentation

Final research proposal

Brainstorm

- Proposal - presentation

Final research proposal

Brainstorm

ซองงานรวมพรอม CD-ROM

ประเมินกิจกรรมการเรียน การสอนใน ระบบออนไลน

หมายเหตุ : กิจกรรมสรางสรรคในหองเรียนอาจจะมีปรับเปลี่ยนตามสถานะการณเพื่อความเหมาะสมในเเตละครั้ง เเละอาจารยผูสอนจะเเจงวันสุดทายของการถอนโดยบันทึก W ใหทราบในหองเรียนภายหลัง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.