โครงการศึกษาอัตลักษณ์ชุมชนริมน้ำจันทบูรเพื่อออกแบบบูทีคโฮเทล

Page 1



ชื�อโครงการ

โครงการศึกษาอัตลักษณ์ชมุ ชนริมนํา� จันทบูรเพื�อออกแบบบูทีคโฮเทล

ประเภทของงานศิลปนิพนธ์ ผูด้ าํ เนินโครงการงานศิลปนิพนธ์

งานออกแบบตกแต่งภายใน (Interior Design) นางสาว เบญญาภา เลาหสุวรรณ รหัส 5905567 นักศึกษาชัน� ปี ท�ี 4 คณะวิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที�ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์

อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์


PROJECT BACKGROUND ชุมชนเป็ นเหมือนรากฐานของวัฒนธรรมหลากหลายเชือ� ชาติและศาสนา เราจะพบรูปแบบของการใช้ชีวิตแตกต่างกันไปตามแต่ละพืน� ที� ชุมชนมีบทบาทสําคัญ มากมายหลายประการ แต่เป็ นที�นา่ แปลกใจเมื�อยุคสมัยเริม� เปลี�ยนสิ�งที�คงเหลืออยู่ กลับกลายเป็ นสิ�งที�คนมองข้าม เสน่หข์ องชุมชนที�เริม� ทรุดโทรมลงกลับมีส�งิ หนึง� ที�กลายเป็ นมรดกของคนในชุมชน พืน� ที�ชมุ ชนริมนํา� จันทบูรเป็ นเมืองเก่าที�มีประวัตคิ วามเป็ นมากว่าร้อยปี รูปแบบของงานสถาปั ตยกรรมที�รบั มาพร้อมกับความเจริญในสมัยรัชกาลที� ๕ กลับเป็ นเสน่หข์ องพืน� ที�แห่งนีท� �ีรวมคนจากหลายกลุม่ เชือ� ชาติเข้ามารังสรรค์งานออกแบบ ในยุคเฟื� องฟู การค้าขายในสมัยก่อนทําให้พืน� ที�นีเ� ป็ นที�รูจ้ กั อย่างกว้างขวาง วัฒนธรรมของการใช้ชีวิต ทําให้เกิดเรือ� งราวมากมายทัง� ภูมิปัญญาของงานฝี มือ และรูปแบบของอาหารที�เป็ นเอกลักษณ์ของกลุม่ ชาวญวณเที�เข้ามาตัง� หลักปั กฐานที�น�ี ภูมิปัญญาเหล่านีไ� ด้ตกทอดมายังคนรุน่ หลังและกลายเป็ นความภาคภูมิใจของคนในพืน� ที� ที�ยงั คงอนุรกั ษ์ไว้ซง�ึ สิ�งเหล่านี � ในปั จจุบนั ชุมชนริมนํา� จันทบูรกําลังพัฒนาต่อไปในด้านการท่องเที�ยวเชิงอนุรกั ษ์ จึงได้เล็งเห็นว่าเราในฐานะนักออกแบบจะเข้าไปช่วยสนับสนุนให้คณ ุ ค่าของสิ�งเหล่านี � กลายเป็ นศุนย์รวมเครือข่ายของคนที�ช�ืนชอบชุมชนเก่าได้อย่างไร เพื�อให้ชมุ ชนริมนํา� จันทบูรกลายเป็ นสถานที� ที�รวมคนจากหลายกลุม่ วัยเข้าไว้ดว้ ยกัน




ชุมชนรมนํา� จันทบูร

TIMELINE OF HISTORY

ชุมชนริมนํา� จันทบูร มีประวัติศาสตร์การตัง� ถิ�นฐานมาตัง� แต่ปลายสมัยอยุธยาเรือ� ยมา จนมาถึงปั จจุบนั ชุมชนริมนํา� จันทบูรรอดพ้นจากการเสียดินแดน ในยุคอาณานิคมฝรั�งเศสสมัย ร.ศ. 112 เป็ นชุมชนเก่าแก่บนถนนสายแรกของจันทบุรี และในสมัยรัชกาลที� 5 พืน� ที�แห่งนีไ� ด้มีหน้าที�เพิ�มเติมคือ เป็ นสถานที�ทาํ งนของรัฐและศาล ดังจะเห็นได้จากการมีดา่ นเก็บภาษี และจวนข้าหลวงจังหวัด เช่น บ้านหลวงราชไมตรี บ้านหลวงประกอบนิตสิ าร บ้านพระยาวิชยาธิบดี เป็ นต้น จากการที�ชมุ ชนแห่งนี � เป็ นย่านการค้า จึงดึงดูดให้ชาวต่างชาติเข้ามาอยูอ่ าศัยทํามาหากิน เป็ นจํานวนมาก ทัง� ไทย จีน ญวน จึงเกิดการผสมผสานวัฒนธรรม ที�แสดงให้เห็นชัดเจนจากสิ�งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ ศาสนสถานที�มีทงั� ศาลเจ้า วัดญวน วัดไทยและโบสถ์คาทอลิก ที�มีอยูภ่ ายในชุมชนและบริเวณใกล้เคียง ส่งผลให้อาคารบ้านเรือน ภายในชุมชน มีศลิ ปะสถาปั ตยกรรมที�เป็ นเอกลักษณ์ จากลวด ลายฉลุท�ีได้รบั อิทธิพลจากฝี มือช่างจีน ญวน และรูปแบบอาคารที�มีทงั� แบบตึกจีน ห้องแถวไม้ นอกจากนีย� งั มีอาคารที�ได้รบั อิทธิพลจากตะวันตกในสมัยโคโลเนียล กระจายอยูท่ �วั ไปภายในชุมชน เพลิงไหม้ครัง� ใหญ่ ในปี พ.ศ.2533 บ้านเรือนได้รบั ความเสียหายเป็ นจํานวนมากชาวชุมชนบางส่วน จึงย้ายออกไป

ในปี พ.ศ.2552-2554 จึงได้รบั การฟื � นฟูชมุ ชนด้วยความร่วมมือจากคนในชุมชน สํานักงานพาณิชย์จงั หวัด จันทบุรแี ละสถาบันอาศรมศิลป์ จึงเกิดกลุม่ อาสาสมัครในนาม ชมรมพัฒนาชุมชนริมนํา� จันทบูร ซึง� ปั จจุบนั มีคณะ ทํางาน 4-5 คน ทํากิจกรรมชุมชนภายใต้วิสยั ทัศน์ “วัฒนธรรมนําการค้า” มีการศึกษาอาคารที�ควรค่าแก่การอนุรกั ษ์ ด้วยการทํากระบวนการคัดเลือกอาคารร่วมกับคนในชุมชน โดยมีเกณฑ์การพิจารณาคือ คุณค่าทางประวัตศิ าสตร์ของ ผูอ้ ยูอ่ าศัยและอาคาร และคุณค่าทางสถาปั ตยกรรม ซึง� มีจาํ นวน 46 หลัง นํามาสูก่ ารอนุรกั ษ์สถาปั ตยกรรมอย่างเป็ น รูปธรรมคือ การปรับปรุงบ้านเลขที� 69ให้เป็ นบ้านเรียนรูช้ มุ ชน ที�มีการจัดแสดงเรือ� งราวทางด้านประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม ประเพณีของชาวชุมชน ทําให้มีนกั ท่องเที�ยวเข้ามาเยี�ยมชมในปริมาณที�เพิ�มขึน�



https://www.arsomsilp.ac.th/baan-luang-rajamaitri-historic-inn/


OBJECTIVES เพื�อศึกษาอัตลักษณ์และรูปแบบงานสถาปั ตยกรรมในชุมชน เพื�อพัฒนาเป็ นพืน� ที�สร้างสรรค์ให้คนในชุมชนและนักท่องเที�ยวได้สร้างเครือข่ายแลกเปลี�ยนความรู ้ เพื�อพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมอัตลักษณ์ของชุมชนให้โดดเด่นมากยิ�งขึน�



EXPECTATIONS เพื�อเป็ นที�พกั เชิงสร้างสรรค์รูปแบบใหม่ เพื�อเป็ นพืน� ที�สร้างสรรค์ให้คนในชุมชนและนักท่องเที�ยวได้สร้างเครือข่ายแลกเปลี�ยนความคิดเห็น เพื�อสร้างศักยภาพและส่งเสริมอัตลักษณ์ของชุมชนให้โดดเด่นมากยิ�งขึน�



AREA OF STUDY ศึกษาอัตลักษณ์ และรูปแบบงานสถาปั ตยกรรมในชุมชน ศึกษาประวัตคิ วามเป็ นมาและการพัฒนาของชุมชน ศึกษากิจกรรมและชีวิตความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชน



COMMERCIAL DISTRICT HISTORY ถนนสุขาภิบาล และ วิถีชีวิตเมื�อ ๑๐๐ ปี ก่อน

การตัง� ถิ�นฐานของชาวจีนและชาวญวณในชุมชนริมนํา� จันทบูร ชาวชุมชนริมนํา� ถนนสุขาภิบาลประกอบด้วยชาวไทยพืน� เมืองชาวจีน เดิมเป็ นเส้นทางคมนาคมสายหลัก ความยาว ๑ กิโลเมตร และชาวญวน จากย่านท่าหลวงไปสิน� สุดท่านํา� ปลายถนน สําหรับชาวจีนในเมืองจันทบุรเี ป็ นกลุม่ คนเดินเรือเพื�อค้าขายและกลุม่ คนที� ตลอดเส้นทางมีบา้ นเรือนตัง� อยูส่ องฟากถนน อพยพหนีความยากลําบากจากเมืองจีนเข้ามามีทงั� จีนแต้จ�ิว จีนแคะ บ้านที�ตดิ ริมแม่นา�ํ มักจะมีทา่ เรือส่วนตัว จีนฮกเกีย� น ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย เมื�อมีฐานะก็จะรวมกลุม่ กัน และบางบ้านก็มีท�ีดนิ มากพอจะสร้างท่านํา� เป็ นสมาคมเพื�อสร้างความเข้มแข็งเป็ นปึ กแผ่นและช่วยเหลือพวกคนจีน เพื�อใช้เทียบท่าเรือขนส่งสินค้า ด้วยกันชาวจีนที�ตงั� ถิ�นฐานบนถนนสุขาภิบาลนีป� ระกอบอาชีพ ข้าราชการ ค้าขาย และรับจ้าง ท่าเรือสาธารณะที�สาํ คัญ ๗ ท่า คนญวนในเมืองจันทร์เริม� เข้ามาในสมัยพศ 2242 เรียงลําดับจากหัวถนนสุขาภิบาลไปจนสุดถนน ได้แก่ มีคริสตชนชาวญวนกลุม่ หนึง� จํานวน 130 ๑.ท่าหลวง เป็ นท่าเทียบจอดเรือ จอดแพ และท่าข้ามฟาก คนได้อพยพลีภ� ยั เบียดเบียนศาสนามาจากทางเรือและมาตัง� ถิ�นฐาน มีพืน� ที�กว้างเป็ นศูนย์กลางคมนาคมขนส่ง ที�เมืองจันทบูรต่อมามีชาวญวนอพยพเพิ�มขึน� อีกโดยติดตามพระสงฆ์ ๒.ท่าหมอทอด ท่านํา� สําหรับชุมชนบริเวณใกล้เคียง ที�สอนศาสนาและติดตามญาติพ�ีนอ้ งเข้ามา มีการตัง� บ้านเรือน ใช้อาบนํา� ซักล้าง กระจายกันไป ในอดีตเมื�อประมาณ 80 ปี ท�ีแล้วบ้านคนญวนเกือบทุกบ้าน ๓.ท่าประชานิยม เป็ นท่าเทียบเรือยนต์ขนถ่ายสินค้า จะขึงหูกทอเสื�อไว้ท�ีชนั� บ้านมีราวตากกกย้อมสี ๔.ท่าแม่ผอ่ งศรี เป็ นท่าเรือแจวข้ามฟากไปโรงสีนายมงคล มีภาชนะย้อมสีและคนปั� นเอ็น หลังสงครามโลกครัง� ที� 2 ๕.ท่าศาลเจ้าที� เป็ นท่าเรือแจวข้ามฟากไปโรงสีนายหวาน กลุม่ คาทอลิกเชือ� สายญวนหันไปจับอาชีพทําพลอยกันมากขึน� เพราะสร้าง ๖.ท่าวัดโรมันคาทอลิก ท่าเรือข้ามฟากสําหรับบุคคลทั�วไป ๗.ท่าตาโท ท่าเรือข้ามฟากไปยังวัดไผ่ลอ้ มสําหรับบุคคลทั�วไป รายได้ดีหลังจากนัน� จึงเกิดการขาดแรงงานทอเสื�อต้องนําแรงงานจากบ้าน บางสระเก้าเข้ามาทอเสื�อในชุมชนคาทอลิก



ในชุมชนริมนํา� จันทบูรร้านค้าสองฟากถนนค้าขายสินค้ากันอย่างหลากหลาย สรุปเป็ นย่านการค้าได้ 3 ลักษณะดังนี � บริเวณย่านท่าหลวงตลาดเหนือ เป็ นศูนย์กลางการซือ� ขายแลกเปลี�ยนสินค้าจากในเมืองนอกเมืองและหัวเ มืองใกล้เคียงบริเวณนีม� ีทงั� เป็ นที�ตงั� ของสํานักงานพาณิชย์จงั หวัดร้านรับซื � อสินค้าทั�วไปเช่น สมุนไพร พริกไทย ถ่านขีไ� ต้ยางพารา ข้าว แป้ง นํา� ตาล ร้านทอง โรงแรม ห้องแถวสําหรับกลางคืนละ 2 บาทบ้านเช่าของหลวงราชไมตรี ร้านหมอชาน ร้านขายอาหาร บริเวณตอนกลางตลาดกลาง เป็ นศูนย์กลางการซือ� ขายในลักษณะซือ� ถูกขายแพงมีการซือ� ขายทุกอย่าง เช่น ร้านเครือ� งมือเครือ� งใช้ในการก่อสร้าง การประมง การเกษตร ร้านขายเสือ� ผ้าเครือ� งนุง่ ห่ม ร้านอาหาร แหล่งบันเทิง ร้านขายเอ็น สียอ้ มเสื�อ ร้านขายส่งเสื�อ ร้านขายเครือ� งเซ่นไหว้ ร้านขายผ้าของแขกจันทร์รา้ นขายของชํา ร้านขายยาจีน ร้านหมอ รวมทัง� ตลาดสด บริเวณตลาดล่างตลาดใต้ ส่วนหนึง� เป็ นบ้านพักอาศัยเพราะออกไปค้าขายในตลาดสดมี ร้านขายเสื�อ ร้านขายยาไทยโบราณ ร้านตีเหล็ก ร้านตัดเย็บเสือ� ผ้า ร้านเสริมสวย ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ร้านขายของชํา ร้านขนม โรงเลื�อย โรงกลึงและการทํางานหัตถกรรมในบ้าน เช่น ทอเสื�อ ปั� นเอ็น เจียระไนพลอย ซือ� ขายพลอย เป็ นต้น




CULTURE AND TRADITIONS ศิลปะวัฒนธรรมของชุมชนริมนํา� จันทบูร ชุมชนริมนํา� จันทบูรได้อนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมมาแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั และมีศาสนาสําคัญของศาสนาคือศาสนาพุทธและศาสนาคริสต์ ชาวชุมชนตลาดเหนือและตลาดกลางส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธแล ะชุมชนตลาดล่างส่วนหนึง� รวมทัง� กลุม่ บ้านญวนนับถือศาสนาคริสต์ โดยมีศาสนสถาน ตัง� อยูส่ องฟากฝั�งริมแม่นา�ํ จันทบูร ตลอดแนวถนนสุขาภิบาล ด้านวัฒนธรรม ชุมชนริมนํา� จันทบูรในอดีตมีการผสมผสานวัฒนธรรม 3 วัฒนธรรม คือวัฒนธรรมไทยจีนและญวนเห็นได้ชดั ในเรือ� งการแต่งกาย ภาษาพูด และการแต่งงานข้ามเชือ� ชาติ การแสดงงิว� เป็ นภาษาไทย

ด้านประเพณี ประเพณีท�ีปฏิบตั กิ ารเป็ นประจําปี ของชุมชนริมนํา� จันทบูรไ ด้แก่การหล่อเทียนพรรษาการลอยกระทงการแข่งเรือและก ารถือศีลกินเจประกอบพิธีบชู าดาวเสริมดวง การแห่เจ้าและการกระจัดของ 4 ศาลเจ้า การบูชาบรรพบุรุษหรือเช็งเม้งและประเพณีตกั บาตรข้าวห่อ





https://thailandtourismdirectory.go.th/



IDENTITY OF ARCHITECTURE ด้านสถาปั ตยกรรม

งานสถาปั ตยกรรมมีสถาปั ตยกรรมที�นา่ สนใจมากมาย ส่วนใหญ่เป็ นบ้านเก่ามีอายุ 100 ปี ขนึ � ไป เช่น บ้านแบบจีนที�มีสถาปั ตยกรรมโดดเด่น (บ้านหลวงประกอบนิตสิ าร) บ้านทรงยุโรป (บ้านขุนบุรพาภิผล) อาคารแบบตึกฝรั�ง (บ้านหลวงราชไมตรี)บ้านไม้หลังคาทรงปั� นหยา เรือนแถวไม้ชนั� เดียวและสองชัน� เป็ นต้น

ด้านศิลปกรรม

ด้านศิลปกรรมสามารถพบเห็นศิลปะประกอบสถาปั ตยกรรม สิ�งก่อสร้างได้เกือบตลอดสองฟากถนน มีทงั� ลวดลายการแกะสลัก แบบฝรั�งเศส แบบจีน แบบไทย และแบบผสมผสานซึง� แต่ละบ้าน จะออกแบบลวดลายแตกต่างกัน เช่น ระบายชายคาไม้ฉลุ แบบขนมปั งขิง ช่องลมไม้ฉลุลายเถาดอกไม้ ราวระเบียงเหล็กหล่อลวดลายสวยงาม ระบายชายคาด้วยสังกะสีฉลุลายไทยใหญ่ ลูกกรงหน้าต่างไม้ฉลุลายจีน เป็ นต้น

สามารถจัดกลุม่ อาคารตามช่วงยุคของอาคารได้ดงั นี �

อาคารยุคแรกของชุมชน เป็ นอาคารไม้ชนั� เดียวหรืออาคารที�มีลกั ษณะเป็ นชิน� ไม้ขนาดใหญ่มีการตกแต่ง ผิวยังหยาบสันนิษฐานว่าก่อสร้างในยุคที�เครือ� งมือการก่อสร้างยังไม่ทนั สมัยมี การเข้าไม้โดยใช้เทคนิคเข้าเดือยแบบความรูช้ า่ งโบราณไม่มีการตกแต่งลวด ลายประดับอาคาร อาคารยุคกลางของชุมชน เป็ นอาคารไม้ตงั� แต่ 2 ชัน� หรืออาคารครึง� ตึกครึง� ไม้ การตกแต่งผิววัสดุ มีความปราณีตมากกว่าอาคารในยุคแรกมีการตกแต่งผิวไม้มากขึน� เริม� มีการใช้ เทคนิคการก่อสร้างแบบใหม่เช่นการใช้กาํ แพงรับนํา� หนัก (Wall beaing) มีการใช้ปนู หมักบนตําสังเกตจากการฉาบจะมีลกั ษณะของชัน� ผิวปูน ที�เห็นได้ชดั เจนมีการผสมผสานศิลปกรรมแบบจีนและญวน อาคารยุคหลังของชุมชน มีระบบการก่อสร้างที�ทนั สมัยมากขึน� มีการใช้โครงสร้างเสาคานพืน� สําเร็จ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กเป็ นโครงสร้างที�มีขนาดเล็กกว่าโครงสร้างของ อาคารในยุคก่อนก่อนมีการใช้วสั ดุสมัยใหม่มีการตกแต่งมากขึน� พบมากบริเวณตอนกลางของชุมชน


https://architservice.kku.ac.th/wp-content/uploads/2016/02/04-Kusuma.pdf





รายละเอียดอาคารสมบัติรมิ นํา�






เหตุการณ์อัคคีภยั ในปี พ.ศ.2533 ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อสถาปั ตยกรรมในชุมชนเป็ นจํานวนมากอาคาร เรือนแถวไม้ในชุมชนถูกเผาจนได้รบั ความเสียหายซึง� ในปั จจุบนั กลายเป็ นพืน� ที� อาคารพาณิชย์บริเวณช่วงกลางของถนนสุขาภิบาลนอกจากนีผ� ลกระทบจาก อุทกภัยที�เกิดขึน� เป็ นประจําในทุกปี ทาํ ให้ผคู้ นอพยพออกจากพืน� ที� ทําให้พืน� ที� การค้าขายซบเซาลง ผลกระทบจากเหตุการณ์ท�ีเกิดขึน� ทําให้อาคารบ้านเรือนถูกทิง� ร้างและขาดการ ดูแลรักษาปล่อยให้เป็ นพืน� ที�เก็บของหรือห้องเช่า จากการสํารวจในปี 2552เพื�อทําการอนุรกั ษ์เก็บข้อมูลของอาคาร ที�ควรทําการอนุรกั ษ์ พบว่ามีอาคารในชุมชนที�ควรค่าแก่การอนุรกั ษ์อยูถ่ งึ 46 อาคารแต่ดว้ ยข้อจํากัดในหลายๆประการทัง� สิทธิอาคาร ขาดงบประมาณ ไม่มีชา่ งพืน� ถิ�น ขาดความรูท้ างเทคนิควิธีกระบวนการปรับปรุงอาคารเก่า ทําให้สว่ นมากอาคารเก่าไม่ได้รบั การดูแลอย่างถูกวิธี เกิดการผุพงั ไปตามกาลเวลา






SITE ANALYSIS

ถนนหลัก

และถนนสายย่อย


อาคารทีม� จี ุดสังเกตทีน� ่าสนใจ


TARGET GROUP

New Target

PROGRAMMING

INFORMATION

WORKSHOP

COMMON AREA

CREATIVE COMMUNICATION EXHIBITION

CLUB

BICYCLE HUB

CREATIVE COMMUNITY MUSEUM

RESTAURANT

HOTEL


SITE IMAGE



CASE STUDY Sella Concept creates "grown-up" interiors inside London co-working space Public Hall พืน� ที�ทาํ งานร่วมกันในกรุงลอนดอน Public Hall ตัง� อยูใ่ นอาคารสมัยศตวรรษที� 19 ใน Westminster ของลอนดอนซึง� แต่เดิมเคยเป็ นสํานักงานใหญ่ของหน่วยสืบราชการลับของอังกฤษ MI6 และต่อมาเป็ นตึกอพาร์ตเมนต์ มีการใช้สีธรรมชาติ เพดานปูนฉาบหรูหราของอาคารและพืน� ไม้จงึ ได้รบั การเก็บรักษาไว้ ในบาร์ของศาลาว่าการและพืน� ที�ฝ่าวงล้อมซึง� มีหลังคาโค้งสีฟา้ นกเป็ ดนํา� อาคารแห่งนีเ� ป็ นอาคารที�ได้รบั การขึน� ทะเบียนเป็ นมรดกโลก จึงไม่สามารถเปลี�ยนแปลงโครงสร้างได้ดงั นัน� สีจงึ เป็ นวิธีท�ีสาํ คัญ ในการเพิ�มเลเยอร์รว่ มสมัย ห้องโถงสาธารณะ หนังสือและเครือ� งประดับถูกนําเสนอบนชัน� วางโค้งที�มีความสูงเต็มซึง� จําลองรูปแบบของหน้าต่างโค้งในห้องทํางาน รายละเอียดการตกแต่งเพียงไม่ก�ีอย่างเช่นแจกันหน้าอกสไตล์โรมัน และขาโต๊ะในห้องประชุมได้รบั การทาสีดว้ ยลายเส้นสีดาํ และสีขาว โดยอ้างอิงกับโลโก้ตราสินค้า monochromatic ของ Huckletree InteriorsLondonUKOfficesEnglandCo-workingSella Concept



AMDAENG Riverside Boutique Hotel บูทีคโฮเทลที�ได้รบั แรงบันดาลใจจากสถาปั ตยกรรมแบบ ย้อนยุคสมัยรัชกาลที� 5 ที�มีการตกแต่งดีไซน์ภายใน สไตล์ไทยประยุกต์ ผสมผสานความเป็ นไทย จีน และตะวันตก Copy Writer และ Art Director เกิดความสนใจและต้องการทําให้พืน� ที�แห่งนีเ� ป็ นที�พกั ติดริมแม่นา�ํ เจ้าพระยา ที�มีคอนเซ็ปต์บอกเล่าถึงบรรยากาศ ของตัวโรงแรมว่าเป็ น The Most Romantic Hotel in Bangkok

https://www.bkkmenu.com/eat/stories/10boutique-thaithemehotels.html


บ้านหลวงราชไมตรี

https://www.arsomsilp.ac.th/baan-luang-rajamaitri-historic-inn/

สถาบันอาศรมศิลป์ และหน่วยงานอื�นๆ ก่อตัง� บริษัท จันทบูรรักษ์ดี จํากัด ขึน� เพื�อเป็ นโครงการตัวอย่างของการอนุรกั ษ์อย่างมีสว่ นร่วม เป็ นแหล่งเรียนรูใ้ นลักษณะชุมชนเรียนรูพ้ ง�ึ พาตนเอง ด้วยแนวคิดธุรกิจสังคมเพื�อการอนุรกั ษ์สถาปั ตยกรรมและการฟื � นฟู ย่านประวัติศาสตร์ เริม� จากการเปิ ดระดมทุนจากชาวชุมชน ชาวจันทบุรี และบุคคลทั�วไปที�มีเจตนารมณ์รว่ มกันซึง� ปั จจุบนั มีผถู้ ือหุน้ มากถึง 501 ราย เพื�อปรับปรุงบ้านหลวง ราชไมตรีให้เป็ นแหล่งเรียนรูช้ มุ ชนและที�พกั ในรูปแบบบ้านพักประวัตศิ า สาตร์ (Historic Inn) ด้วยงบประมาณ 8.8 ล้านบาท โดยรายได้บางส่วนจากการดําเนินกิจการจะถูกนํามาใช้ประโยชน์เพื�อกา รพัฒนาชุมชนในระยะยาว นอกจากนี � โถงชัน� ล่าง ถูกออกแบบให้เป็ นพืน� ที�ตอ้ นรับและส่วนแสดงนิทรรศการของ ท่านหลวงราชไมตรีและจัดแสดงหลักฐานทางโบราณคดีท�ีโครงการ ได้ทาํ การขุดค้นพบเพื�อการเรียนรูข้ องชาวชุมชนและบุคคลทั�วไป


Research Reference วารสารวิชาการ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น บทวิจยั และศึกษาอัตลักษณ์รูปแบบสถาปั ตยกรรมเพื�อเป็ นแนวทางในการออกแบบสภาพแวดล้อมภายในร้านค้า คณะสถาปั ตยกรรมภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง เอกสารรวบรวมข้อมูลและกระบวนการปรับปรุงพัฒนาชุมชน สถาบันอาศรมศิลป์ InteriorsLondonUKOfficesEnglandCo-workingSella Concept https://www.arsomsilp.ac.th/baan-luang-rajamaitri-historic-inn/pt https://www.bkkmenu.com/eat/stories/10boutique-thaithemehotels.html




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.