Music therapy center

Page 1

Music Therapy Center for Improve Autism.




โครงการศิลปนิพนธ คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ชื่อโครงการ : ประเภทงานศิลปนิพนธ : ผูดำเนินงานศิลปนิพนธ : ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ :

โครงการออกแบบพื้นที่ภายศูนยพัฒนาเด็กออทิสติกดวยดนตรีบำบัด (Music Therapy Center for Improve Autism) ประเภทงานออกแบบภายใน นางสาวสหทยา คลองณรงค นักศึกษาชั้นปที่ 4 คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารยอรรถกฤษณ อุทัยกาญจน


Project Background Objective - Expectation - Area of Study Timline of music therapy Music Therapy The Cleveland Music School Settlement Target Group Autism Interview Site Location Zoning of building Process Zoning - Programing Color of music therapy center Concept Research of Schedule Case Study

1 2 5 7 9 11 12 15 16 20 21 22 35 36 38 40


TABLE OF CONTENTS

-1-


Project Background

ดนตรีบำบัด (Music Therapy) เปนศาสตรหนึ่งที่สามารถมุงเนนเยียวยาบำบัดรักษาและพัฒนา ศักยภาพของเด็กได โดยเฉพาะเด็กออทิสติก (Autism) ที่มีความบกพรองดานพัฒนาการหลายๆดาน เชน ปญหาเรื่องพฤติกรรม จิตใจ การสื่อสาร และสติปญญาที่เรียนรูชากวาคนทั่วไป ดนตรีบำบัด คือ การใช กิจกรรมดนตรีเเขามามีบทบาทในการบำบัด เชน การรองเพลง การเลนเครื่องดนตรี การแตงเพลงหรือ การนำดนตรีเขามามีสวนชวยในกิจกรรมอื่นๆ ที่ออกแบบมาใหเหมาะสมกับผูบำบัดแตละคน โดยที่ไมได เปาหมายเพื่อใหผูเขารับบริการเลนดนตรีเกง แตเพื่อพัฒนาทักษะทางดานอื่นๆ เชน ทางดานรางกาย จิตใจ สังคม และกระบวนการของสมองหลายๆดาน ดวยเหตุขางตนนี้จึงเปนที่มาของโครงการพัฒนาเด็กออทิสติกดวยดนตรีบำบัดใหมีการพัฒนาและ เยียวยาผูที่เขามารับการบำบัดสำหรับเด็กและวัยรุนเื่อเปนสถานที่พัฒนาบุคคลที่มีภาวะบกพรองทางสมอง ของสังคมในปจจุบัน

-2-


- เพื่อศึกษาขอมูลและการใชดนตรีบำบัด - เพื่อศึกษากลุมเปาหมายและสาเหตุผูที่เขารับการบำบัด - เพื่อศึกษาพื้นที่และสภาพแวดลอมที่สงผลตอการบำบัด

- ออกแบบพื้นที่ใหตอบสนองความตองการของผูเขารับการรักษา - ออกแบบพื้นที่ภายในเพื่อเปนที่รูจักและตอยอดใหเปนที่แพรหลาย - ออกแบบพื้นที่และสภาพแวดลอมที่สงผลตอการบำบัด

- ศึกษาปญหาและสาเหตุของผูที่มารับการบำบัด - ศึกษาวิธีการบำบัดโดยการใชดนตรี - ศึกษาผลการบำบัดหรือประโยชนที่ผูเขารับการบำบัดไดรับ - ศึกษาพื้นที่และสภาพแวดลอมที่มีผลตอการบำบัด

-3-


Objective

Expectation

Area of Study


Timeline of Music Therapy.

ʧ¤ÃÒÁâÅ¡¤ÃÑ駷Õè 2

¤.È.1914 -1918

¤.È.1939 -1945

ʧ¤ÃÒÁâÅ¡¤ÃÑ駷Õè 1

- 55--


America Music Therapy Association

¤.È.1944

¤.È.1998

Michigan State University

-6-


Music Therapy ดนตรีบำบัด (Music Therapy) คือ ศาสตรที่นำดนตรีมาประยุกตใชเพื่อมุงเนนกระบวนการ เยียวยาบำบัดรักษา ผูที่ขาดความสมดุลทั้งทางดานรางกายและทางดานจิตใจ ตั้งแตเด็กจนไปถึงผูสูง อายุ และกับบุคคลที่มีความตองการแตกตางกัน เชน เด็กออทิสติก ผูปวยโรคเรื้อรังผูมีความพิการทาง สมอง ผูที่มีอาการเครียด ซึ่งดนตรีบำบัดแบงออก 2 ประเภทตามลักษณะกิจกรรม คือ ดนตรีบำบัด ประเภทฟง (Receptive Music Therapy) และ ดนตรีบำบัดประเภทการเลน (Active Music Therapy)

ดนตรีบำบัดประเภทฟง (Receptive Misic Therapy) คือ กิจกรรมดนตรี บำบัดประเภทฟง โดยจะใหคนไขฟงเพลงจากการเลนดนตรีโดยนักดนตรีบำบัดหรือ ฟงจากเครื่องเลนเพลงตางๆ ซึ่งเปนการฟงแบบมีจุดประสงคในทางการรักษาเปน หลัก

-7-


ดนตรีบำบัดประเภทการเลน (Active Music Therapy) คือ กิจกรรมดนตรี บำบัดประเภทการเลน โดยคนไขจะเปนคนเลนเครื่องดนตรีดวยตนเองไปพรอมกับ นักดนตรีบำบัดหรือกับคนไขคนอื่นๆภายในกลุม ซึ่งกิจกรรมการเลนดนตรีในดนตรี บำบัดนั้น คนไขไมจำเปนตองมีความสามารถในการอานโนตดนตรีหรือเลนเครื่อง ดนตรีไดในขณะเดียวกันการทำดนตรีบำบัดนั้นก็ไมไดเปนการสอนใหคนไขเลน ดนตรีเชนเดียวกัน แตจะเนนไปที่เปาหมายในการรักษาอาการผิดปกติ การปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมหรือการปรับเปลี่ยนมุมมองทางความคิดเพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ ดีขึ้น

องคประกอบตาง ๆ ของดนตรี ก็มีประโยชนที่แตกตางกันไป เชน 1. จังหวะหรือลีลา ( Rhythm) : ชวยสรางเสริมสมาธิ ( Concentration) และชวย ในการผอนคลาย ( Relax) 2. ระดับเสียง ( Pitch) เสียงในระดับต่ำ และระดับสูง : ชวยใหเกิดความรูสึกสงบ 3. ความดัง ( Volume / Intensity) : พบวาเสียงที่เบานุม จะทำใหเกิดความสงบ สุข สบายใจ ในขณะที่เสียงดัง ทำใหเกิดการเกร็ง กระตุก ของกลามเนื้อได ความดังที่เหมาะสมจะชวยสรางระเบียบการควบคุมตนเองไดดี มีความสงบ และ เกิดสมาธิ 4. ทำนองเพลง ( Melody) : ชวยในการระบายความรูสึกสวนลึกของจิตใจ ทำให เกิดความริเริ่มสรางสรรคและลดความวิตกกังวล 5. การประสานเสียง (Harmony) : ชวยในการวัดระดับอารมณความรูสึกไดโดย ดูจากปฏิกิริยาที่แสดงออกมาเมื่อ ฟงเสียงประสานตาง ๆ จากบทเพลง

-8-


The Cleveland Music School Settlement.

ในการวิจัยดนตรีบำบัดสำหรับผูปวยออทิสติกใชเวลามากกวา 2 ป สำหรับ 40 คน โดยมีอายุตั้งแต 2-49 ป ซึ่งลวนเปนโรคออทิสติกทั้งหมด ในการบำบัดจะแบงออกเปนการบำบัดแบบตัวตอตัว แบบคู แบบกลุมเล็ก และกลุมใหญ เปาหมายในการบำบัดนั้นเพื่อพัฒนาการสื่อสาร พฤติกรรม การพัฒนาสติ ปญญา การพัฒนาการรับรูและความไพเราะในดนตรี ซึ่งจะแบงเปนเปอรเซ็นเพศของผูเขารับบริการ เปอรเซ็นความบกพรองในดานตางๆของผูเขารับบริการ และเปอรเซ็นการพัฒนาที่ดีขึ้นในดานตางๆหลังใช ดนตรีบำบัด

% of gender clients.

30 % 70 %

Male

-9-

Female


% of Clients with Each Goal.

% of clients with diagnoses on the autism spectrum. 100 80 60 40

39%

41%

20

Behavioral / Psychosocial

Language / Communication

5%

8%

7%

Perceptual

Cognitive

Musical

Primary Goal Areas.

% of clients with diagnoses on the autism spectrum achieved. % of Clients with Each Goal.

100

100%

80

74%

100%

80%

74%

60 40 20

Behavioral / Psychosocial

Language / Communication

Perceptual Primary Goal Areas.

- 10 -

Cognitive

Musical


Target Group

Autism

Personnel

Other

50%

30%

Teacher Music Therapist

20%

Parents Staff

- 11 -


A U T

อายุ 8 - 15

I S M


ÍÒÂØ 3 - 7 »‚

เด็กออทิสติก (Autism) ÍÒÂØ 8 - 15 »‚

ออทิสติก (Autism) หรือ ที่รูจักกันในชื่อกลุมอาการออทิสติก (Autism Spectrum Disorders: ASD) คือ ภาวะระบบประสาททำงานซับซอน ผูที่เปนออทิสติกจะมีความสามารถเกี่ยวกับการพัฒนาการหลายดาน และการปฏิสัมพันธกับผูคนในสังคม พัฒนาการทางภาษา และทักษะการสื่อสารดอยกวาคนปกติ อาจมี พฤติกรรมทำอะไรเหมือนเดิมซ้ำๆ ซึ่งผูปวยออทิสติกแตละคนมีปญหาและความรุนแรงที่แตกตางกัน โดยอาการดังกลาวเกิดกอนอายุ 3 ขวบ ซึ่งมีความรุนแรงของแตละโรคการวินิจฉัยและการรักษาตั้งแตอายุยัง นอยจะทำใหเด็กมีโอกาสพัฒนาไดมากกวาการรักษาเมื่ออายุมากขึ้น

- 13 -


อาการของเด็กออทิสติก -ความบกพรองทางปฏิสัมพันธสังคม - ความบกพรองทางการสื่อสาร - ความบกพรองทางพฤติกรรมและอารมณที่บกพรอง - ความบกพรองดานการเรียนรูทางประสาทสัมผัส - ความบกพรองดานจินตนาการ

- 14 -


Interview พี่ตั้ม พี่พนักงานตอนรับ สวนใหญเด็กจะชอบวิ่งไมอยูนิ่ง อยาก ไดพื้นที่ไดมีแสงสวางเพียงพอและปลอดภัยไมมีมุมคมที่ เปนอันตราย มีกลองวงจรปดมองเห็นทั่วทุกบริเวณในหอง

อาจารยฝน อาจารยหัวสาขาดนตรีบำบัด อยากไดความปลอดภัยของ เด็กเปนหลัก มีบอรดกิจกรรมของเด็ก มีตู built-in เก็บ ของทุกอยางไมใหเกะกะหรือเปนสิ่งเราสำหรับเด็ก สวิตซ และปลั๊กอยากใหกลืนไปกับผนังเพื่อไมใหเด็กเอานิ้วแหย

อาจารยผึ้ง อาจารยสอนดนตรีบำบัด ไมอยากใหมีกระจกมากขนเกินไป เพราะเปนสิ่งเราสำหรับเด็กในการมองออกไปขางนอก ใช พื้นที่เปนพรมหรือวัสดุที่ปลอดภัยเมื่อเด็กลมไมอยากมีใหที่ วัสดุที่เปนยางเพราะเด็กบางคนสามารถแพได มีกลองวงจร ปดทุกบริเวณที่สามารถมองเห็นเด็กแมออกจากหองบำบัด

- 15 -


Site Location


Site Location วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล อาคารพัฒนาการเรียนการสอนและปฏิบัติการทางการดนตรี 25/25 ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170

ถนนผสานเทศไทย สถาบันวิจัยภาษา และวัฒนธรรมเอเชีย

มหิดลสิทธาคาร

อาคารเรียนและปฏิบัติการ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู

พิพิธภัณฑดนตรีอุษาคเนย

วิทยาลัยดุริยางคศิลป โรงเรียนเตรียมอุดมดนตรี

ถนนเทิดจักรี

ถนนชนนีประทาน

อาคารเรียนและปฏิบัติการ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู

ถนนพุทธมณฑล สาย 4

ลานจอดรถ 2

คณะแพทยศาสตร

วิทยาลัยดุริยางคศิลป

คณะแพทยศาสตร

ถนนบรมราชชนนี วิทยาลัยราชสุดา

ศูนยการแพทย กาญจนาภิเศก

โรงพยาบาลทัตกรรม มหาจักรีสิรินธร

17 --17


รถยนตสวนตัว

รถแท็กซี่

รถไฟ (รถไฟสายใต) ขึ้นไดที่สถานีธนบุรี สถานีหัวลำโพง สถานีนครปฐม และลงสถานีศาลายา

- 18 -

สาย 84ก สาย 124 สาย 125 สาย 388 สาย 556 สายปอ. 515 สายปอ. 547

ศาลายาลิงค (salaya link) เปนรถโดยสารจากศาลายา เชื่อมตอกับจากสถานีรถไฟ ฟา (BTS) บางหวา


อาคารพัฒนาการเรียนการสอนและปฏิบัติการทางการดนตรี ตั้งอยูทางทิศใตของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยตึกที่เลือก ใชมีบริเวณโดยรอบที่รมรื่นมีสนามหญาที่รมรื่นตลอดวัน ไมรอน เหมาะสำหรับทำกิจกรรมกลางแจง มีทางเดินเชื่อมไปยังตึก ตางๆที่สะดวก สามารถเขาไดหลายทาง

N - 19 -


Zoning

ชั้นที่ 1 สวนบริการตางๆ ชั้นที่ 2 หองบำบัดสำหรับเด็กอายุ 3-7 ป ชั้นที่ 3 หองบำบัดสำหรับเด็กอายุ 8-15 ป

1

8.00

2

8.00

3

- 20 8.00

4

8.00

5

8.00

6

8.00

7

8.00

8

8.00

9

8.00

10


Process

นักบำบัดจะทำการสอบถามประวัติ สาเหตุที่ มาบำบัดและเปาหมาย เพื่อใหรูจักอุปนิสัย และอธิบายระยะเวลา รูปแบบการรักษา

ทำกิจกรรมเพื่อประเมินทักษะของเด็กคนนั้นๆ เพื่อใหทราบถึงปญหาและรูปแบบการบำบัด

ตอไปเปนการนัดเวลาเพื่อเขามาบำบัด 1 ครั้ง / สัปดาห อายุ 3-7 ป ระยะเวลาการบำบัด 30 นาที อายุ 8-15 ป ระยะเวลาการบำบัด 60 นาที

- 21 -


Zoning 1 st floor

1

8.00

2

8.00

3

8.00

4

A

B

C

D

หองทดสอบ E

F

G

H

I

J

K

สำนักงาน

หองประชุม

หองพักอาจารย

หองน้ำ

RECEPTION

หองรับรอง

หองสังเกตุการณ

ทางขึ้น - ลง

- 22 -

8.00


5

8.00

6

8.00

7

8.00

8

8.00

9

8.00

10

แปลนพนืชนัที 1

- 23 -

SCALE

1:200


Programing

Reception

Waiting Area

Schedule

- 24 -


A

B

C

D

หอ้งทดสอบ E

F

G

H

I

J

K

แปลนพน้ืชน้ัท่ี 1 SCALE

- 25 -

1:200


1

Zoning 2 nd floor

2

8.00

A

B

C

D

E

F

G

H

I

J

K

- 26 -

8.00

3

8.00

4

8.00

5


8.00

6

8.00

7

8.00

8

9

8.00

8.00

10

หองบำบัด หองสังเกตุการณ หองอุปกรณ หองน้ำ ทางขึ้น - ลง

หองนำ 1

แปลนพนืชนัที 2 SCALE

- 27 -

1:200


Zoning 3 rd floor

1

8.00

A

B

C

D

E

F

G

H

- 28 -

2

8.00

3

8.00

4

8.00


5

8.00

6

8.00

7

8.00

8

8.00

9

8.00

10

หองบำบัด หองสังเกตุการณ หองอุปกรณ หองน้ำ ทางขึ้น - ลง

แปลนพนืชนัที 3 SCALE

- 29 -

1:200


Programing

ทักษะการพัฒนาทางดาน

- 30 -


ทักษะการพัฒนาทางดานพฤติกรรม

พฤติกรรม

- 31 -


Programing

ทักษะการพัฒนาการ

- 32 -


ฟนฟูสมรรถภาพการศึกษา

และแกไขการพูด

- 33 -


สำหรับสวนของบำบัดจะใชเปนการ Built in ของตูเพื่อใหกลืนไปกับผนังและเด็กไมเห็นสิ่ง ของที่อาจกอใหเกิดสิ่งเราได ในสวนของปลั๊ก และสวิชตไฟตองซอนเพื่อใหเด็กไมเอานิ้วแหย หรือเลน

- 34 -


Color of music therapy center สีน้ำเงิน - สีประจำมหาวิทยาลัยมหิดล สีเขียว - สีประจำคณะดุริยางค มหาวิทยาลัยมหิดล

- 35 -


Concept

รูปแบบของงานดีไซนศูนยดนตรีบำบัดแหงนี้เปนการนำเอางานออกแบบและดนตรีเขามารวมกันเพราะ ทั้งงานออกแบบและดนตรีสามารถถายทอดความรูสึกออกมาไดเหมือนกันเพียงแคใชวิธีที่ตางกัน โดยการนำ เอาเพลงที่ใชหรือทำนองที่มาเปลี่ยนเนื้อรองในการบำบัดมาเขาโปรแกรม Adobe After Effect เพื่อทำใหเปน Audio Spectrum เปนคลื่นความถี่ของเสียงที่มีความเปนเสนโคงไปมาหรือคลื่น ซึ่งเสนโคงนั้นสามารถแสดงถึง การเคลื่อนไหวไมสิ้นสุด ใหความรูสึกสงบนิ่งจากเด็กออทิสติกที่มีความไฮเปอรหรือ active มากเกินไปจะทำให เด็กรูสึกสงบลงยิ่งขึ้น จังหวะการไหลลื่นของเสนโคงจะชวยเลื่อนสายตาของเด็กไปเรื่อยๆโดยไมรุตัว

- 36 -


Keywords Autism Rhythm Curve Safe

- 37 -


Research of Schedule

25 สิงหาคม 2560 - ฟงแนวทางการทําเตรียมศิลปนิพนธและกฎระเบียบ - ไดรับแบบฟอรมหัวขอโครงการและรายชื่ออาจารยที่ปรึกษา

1 กันยายน 2560

25 สิงหาคม 2560

- สงหัวขอโครงการและรายชื่ออาจารยที่ปรึกษา

- นำเสนอหัวขอศิลปนิพนธและเสนอราง

6 ตุลาคม 2560

27 ตุลาคม 2560

- นำเสนอความคืบหนา

- นำเสนอความคืบหนา

2-3 พฤศจิกายน 2560

2-3 พฤศจิกายน 2560

- นำเสนอศิลปนิพนธครั้งที่ 2

- นำเสนอศิลปนิพนธครั้งที่ 2

1 ธันวาคม 2560

13 - 14 ธันวาคม 2560

- นําเสนอความคืบหนา

- ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่ 3

- 38 -


Month.

08 19 - 20 กันยายน 2560

09

- นำเสนอศิลปนิพนธครั้งที่ 1

10 11 12 - 39 -


Enter projects: edgeclif medical centre for autistic children (ศูนยการแพทย Edgeclif สำหรับเด็กออทิสติก)

- 40 -


โครงการนี้พัฒนาขึ้นจากศูนยการแพทยสำหรับเด็กออกทิสติก ที่ประเทศออสเตรเลีย เนนการตกแตงเปนออนไหว เฟอรนิเจอรที่โคง มนและออนนุม ทำใหเด็กมีอารมณที่ไหลลื่นตอเนื่องไปกับกิจกรรมที่ ทำ ไมแข็งกระดาง และในวัสดุพื้นเปนพรมเพื่อไมกอใหเกิดอันตราย สำหรับเด็ก

- 41 -


A centre for Autism

- 42 -


แสงนี อ อนที ่ ม ากเกิ น ไปนั ่ น ไวต อ ประสาทสั ม ผั ส ของเด็ ก ออทิสติกอยางมากเพราะฉะนั้นควรใชแสงธรรมชาติที่พอเหมาะเพื่อ ไมใหเปนอันตราย ซึ่งแสงสามารถเขาทางหนาตาง แตถาหนาตาง มากจนเกินไปจะเปนสิ่งเราสำหรับเด็กในการเรียนรูทุกอยางจึงตอง อยูในความพอดี

- 43 -


Rítmia music therapy center By Atipus atipus เปนคนออกแบบอัตลักษณสำหรับศูนยบำบัดเพลง 'rítmia' ในสเปนรูปแบบจะขึ้นอยูกับคลื่นเสียงจังหวะของเพลงที่เลนใหกับผูปวยใน ชวงบำบัดของพวกเขา

The patterns developed are based on the rhythmic sound waves of music.

- 44 -


- 45 -


- 46 -


Sunbeams Music Center

- 47 -


สกายไลท เ รี ย งรายอยู  ท ั ้ ง สอง ดานของหลังคาในขณะที่ผนังเวาจะติด ตั ้ ง ไว ใ นแผงโอ ก เพื ่ อ เพิ ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ของเสียงมีชองวางระหวางฝกเหลานี้กับ ตั ว อาคารหลั ก ที ่ ห น า ต า งมองเห็ น ทิ ว ทัศนและประตูสูสวนดานหนา ชองเปด เหล า นี ้ ม ี ข นาดที ่ จ ำกั ด เพื ่ อ จำกั ด ความ ร อ นเกิ น แต ช  ว ยให ม ี ก ารระบายอากาศ และแสงธรรมชาติ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.