NEW ROAD HOSTEL chareonkrung creative district
THE NEW ROAD HOSTEL
โครงการศึกษาวิจัยอัตลักษณแหงยานเจริญกรุง เพื่อนำมาใชในการออกแบบภายในโฮสเทล คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเภทของงาน : ประเภทงานออกแบบภายใน (INTERIOR DESIGN) ผูดำเนินงาน : นางสาวณิชกานต ยิ้มถนอม รหัส 5602073 นางสาวอรัญญา น้ำผึ้ง รหัส 5600545 นางสาวชนกชนม สุวรรณธนรัชต รหัส 5600409 นายธนินนท อรุณเรืองศิริเลิศ รหัส 5601970 นักศึกษาชั้นปที่3 คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ปรึกษาโครงการ : อาจารยเรวัฒน ชำนาญ
TABLE OF CONTENTS 01..........PROJECT BACKGROUND 03..........OBJECTIVE 05..........EXPECTATION 07..........RESEARCH METHODOLOGIES 09..........AREA OF STUDY 11..........LOCATION 17..........TARGET GROUP 18..........TIMELINE OF CHAREONKRUNG 20..........HISTORICAL BUILDING 22..........IDENITY OF CHAREONKRUNG
24..........PROGRAMMING 25..........ZONNING 1st-3rd FLOOR 28..........PLANNING 1st-3rd FLOOR 31..........MOODBOARD 32..........CORPORATE IDENTITY 34..........TIME OF RESEARCH 35..........FUNDAMENTAL REFERENCES
PROJECT BACKGROUND
ในปจจุบันนี้มีการเผยแพรอิทธิพลตางๆจากตางประเทศ ความเปนอยูในอดีตได เลือนหายไป ไมวาจะเปนความเปนอยู วัฒนธรรม และดานสถาปตยกรรม และความเปน สมัยใหมไดเขามาแทนที่ คานิยมเปลี่ยนไป ทำใหหลายคนไดลืมถึงอดีตและประวัติศาสตรที่ งดงาม เมื่อยานเจริญกรุง ที่เปนยานเกาแก เคยเปนยานที่มีคนกลาวกันไววาเปนเมืองที่ดู ล้ำสมัยที่สุด มีวัฒนธรรมมากมาย ผูจัดทำจึงเห็นถึงความนาสนใจในการทำโฮสเทล ที่ ประกอบดวยการนำอัตลักษณของเจริญกรุง มาประยุกตใหเขากับโรงแรมและสะทอนถึง วัฒนธรรมของสมัยนั้นไดดีเมื่อผูพักอาศัยเขามาก็จะไดเห็นถึงความงามทางศิลปะที่เกิดจาก อัตลักษณภายในบริเวณเจริญกรุง
01
OBJECTIVE
เพื่อศึกษาถึงแนวทางการออกแบบ หลักการจัดพื้นที่และประโยชนใชสอย การกำหนดวัสดุในการออกแบบตกแตงภายในและศึกษาเกี่ยวกับอาคารเดิม รวมไปถึงการ นำอั ต ลั ก ษณของเจริ ญ กรุ ง มาประยุ ก ตใชในการออกแบบตกแตงภายในที ่ จ ะทำให “โครงการศึกษาวิจัยอัตลักษณแหงยานเจริญกรุง” ที่ทำใหผูคนสนใจมากขึ้น
1. ภายในโรงแรมแหงนี้มีเรื่องราวของเจริญกรุงที่แสดงความงามทางศิลปะของในสมัยกอน 2. เปนโฮสเทลสำหรับนักทองเที่ยวที่ตองการมาพักผอน 3. เปนโฮสเทลที่สามารถเลาเรื่องของเจริญกรุงไดเปนอยางดี
03
PAST
PRESENT
04
FUTURE
EXPECTATION
ผูจัดหวังเปนอยางยิ่งกวาโครงการนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนภาควิชาออก แบบตกแตงภายในและบริบทโดยรอบ มาประยุกตในการออกแบบ รวมถึงการจัดพื้นที่ใชสอย ความสวาง และอุปกรณตางๆ แกนักศึกษาและบุคคลทั่วไป
1. สรางสรรค และสงเสริมใหอนุรักษสถาปตยกรรมของเดิม 2. สามารถเลาเรื่องราวของเจริญกรุงไดเปนอยางดี 3. มีกลิ่นอายของความคลาสสิคของยุครัชกาลที่ 5 4. สามารถดึงดูดกลุมนักทองเที่ยวใหเขามาในยานเจริญกรุงและกระตุนเศรษฐกิจได
05
06
RESEARCH METHODOLOGIES BROKEN WINDOW
GOOD
BAD
07
08
AREA OF STUDY
สวนเนื้อหาที่จะศึกษา 1. ศึกษาเกี่ยวกับฟงกชั่นการใชงานในโฮสเทล 2. ประโยชนที่เกิดจากการนำอัตลักษณมาประยุกตใช 3. ประวัติของถนนเจริญกรุงและบริบทโดยรอบ ขอบเขตความรูทางศิลปะ 1. ศึกษาที่มาของสถาปตยกรรม 2. ศึกษาอัตลักษณในดานตางๆ ของเจริญกรุง 3. วิเคราะหอัตลักษณในดานตางๆ ของเจริญกรุง
09
SITE LOCATION
MUSLIM COMMUNIT
SITE SELECTION
NEW TCDC
FURNITURE WAREHOUSE
10
CHAREONKRUNG
TY
ART GALLERY
OLD CUSTOMS HOUSE
11
ASSUMPTION CATHEDRA
12
13
15
14
15
TARGET GROUP
40 %
EUROPEAN
20% 30%
3%
CHINESE JAPANESE AMERICAN
http://www.tourism.go.th/
17
7%
INDIAN
TIMELINE OF CH from past 1st period
2nd period
กอน พ.ศ. 2404 กอนพัฒนาเมือง
2404 - 2460 การคาและการฑูต
PAST 18
HAREONKRUNG to present 3rd period
4th period
2460-2518 ศูนยกลางเศรษฐกิจนานาชาติ
2518-ปจจุบัน เศรษฐกิจซบเซา
PRESENT 19
HISTORICAL
1
CLASSIC 2404 - 2460 renaissance neo-classic palladian
20
2
CHINESE/ 2460 อาคารคอน อาค มีระเบ
L BUILDING
/EUROPEAN 0 - 2480 นกรีตเสริมเหล็ก คารสูงขึ้น บียงประดับ
3
MODERN 2480 - 2518 เรียบงายไมเนนการตกแตง
2115
IDENTITY OF CH
22
HAREONKRUNG
23
PROGRAMMING
PRIVATE
RESIDENTAL 43%
PUBLIC
RECEPTION PANTRY CAFE & RESTAURENT SERVICE 57%
24
ZONING
SERVICE AREA RECEPTION AND LOBBY RESTAURANT
1st FLOOR
25
ZONING
RESTROOM RESIDENTIAL AREA CORRIDOR
2nd FLOOR
26
ZONING
RESTROOM RESIDENTIAL AREA PANTRY
3rd FLOOR
CORRIDOR
27
PLAN
SERVICE AREA RECEPTION AND LOBBY
1st FLOOR
RESTAURANT
28
PLAN
RESTROOM RESIDENTIAL AREA
2nd FLOOR
CORRIDOR
29
PLAN
RESTROOM RESIDENTIAL AREA
3rd FLOOR
PANTRY CORRIDOR
30
MOOD BOARD
31
CORPERATE
32
E IDENTITY
33
TIME OF RESEARCH
MARCH
FEBRUARY
topic brainstrom site analysis , theory analysis topic
identity analysis
APRIL
MAY
1st draft Final presentation
29
FUNDAMENTAL REFERENCES
CSI. ทฤษฎีกระจกแตก. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://csd.go.th/Dimensions_csd/Chapter%2007.pdf (วันที่คนขอมูล : 1 เมษายน 2559). TU. creative corridor at charoenkrung, Bangkok. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://issuu.com/kwangraspberri/docs/portfolio_creative_corridor-1_23b9f97c41b2f9 (วันที่คนขอมูล : 1 เมษายน 2559).
35