โครงการศึกษาศิลปะในรูปแบบอิสลามสูก่ ารออกแบบสถาบันศิลปะอิสลาม (ประเทศไทย)
ก่อตั้งขึน้ เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2559 โดยกลุ่มศิลปิน คนไทยที่ต้องการถ่ายทอดความรู้เรื่องศิลปะอิสลาม ซึ่งเป็นมรดกที่กาลังจะเลือนหายไปและเป็นที่รู้จัก เฉพาะกลุ่ม มีเป้าหมายคือเพื่อผลักดันให้เกิดการเรียนการสอน และถ่ายทอด ความรู้ความเข้าใจใน ศิลปะอิสลามให้เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น
ในปัจจุบัน สถาบันแห่งนีไ้ ด้เริ่มต้นผลักดันและเผยแพร่การเรียน การสอนให้กับผู้ที่สนใจผ่าน การจัดกิจกรรมฝึกอบรม(Workshop) ทัง้ หัวข้อเรื่องประวัติศาสตร์ศิลปะอิสลาม และการออกแบบ ลวดลายประดับและการประดิษฐ์อักษรวิจติ ร
LOGO
TARGET GROUP
การออกบูธงานมหกรรมขนาดเล็ก
การเปิดพิพิธภัณฑ์บ้านเขียวอันยูมัน
01
03
02
04
การออกบูธงานมหกรรมระดับชาติ
ติดต่อทางสถาบันโดยตรง
WHAT IS ISLAMIC ART “ ศิลปะที่ปราศจากรูปเคารพ หรือศิลปะที่ปราศจาก แนวคิดที่ขัดต่อหลักการของศาสนาอิสลาม ”
สถาบันศิลปะอิสลามแห่งประเทศไทย
BACKGROUND OF IS ISLAMIC ART “ ความงดงามทางศิลปะ มุสลิมรังสรรค์ขึ้นเพื่อ ถวายพระเจ้าผู้ทรงรักความสวยงาม ”
PATTERN ISLAMIC
Activity 1 Seven Overlapping Circles
Activity 2 Finding Geometric Shapes within Circles
Rosette
Hexagon
Two equilateral triangles
Twelve Pointed
Activity 3 From One Circle to Five Overlapping Circles
Activity 4 Finding Geometric Shapes within Circles
Octagon
Eight-pointed star, version 1
Eight-pointed star, version 2
Four-pointed star
SITE LOCATION Charoen Krung Road, Bang Rak Subdistrict, Bang Rak District, Bangkok
การเดินทาง
หอประชุมอันยุมันอิสลาม 29 ซ.เจริญกรุง 36 ถ.เจริญกรุง แขวง/เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
แผนผังอาคาร
หอประชุมอันยุมันอิสลาม
บ้านเขียวอันยุมัน
สวนอิสลามได้รับอิทธิพลมาจากสวนเปอร์เซีย มักจะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า การออกแบบจะแบ่งเป็นสี่ส่วนด้วยสายน้าเป็นสัญลักษณ์แห่งสรวงสวรรค์
โครงสร้างของอาคารหอประชุมอันยุมันอิสลาม หอประชุมอันยุมันอิสลามจะมีทั้งหมด 5 ชั้น ลักษณะของอาคารจะเป็นอาคารรูปแบบเก่า สร้างขึ้นเพื่อที่จะใช้เป็นห้องประชุมและห้องเรียน
4
คาน 5 คาน
** คานหมายเลข 5 มีความลึก 80 เซนติเมตร ตามความกว้างของขนาดห้องเพื่อที่จะไว้รับน้าหนักของอาคาร
2 เสา
ในปัจจุบันอาคารแห่งนี้ ได้รับการอนุเคราะห์จากคุณมนัส นานา ให้เป็นสถานบันศิลปะอิสลาม และโรงเรียนสอนศาสนาของชาวมุสลิม
1
พืน้
3 ผนัง
ทิศทางของแสงแดด
W N
S E
เวลา 09.00 น.
เวลา 12.00 น.
เวลา 15.00 น.
เวลา 18.00 น.
PROGRAMMING
OFFICE MEETING ROOM OFFICE - ประธาน - เลขานุการ - เหรัญญิก - ฝ่ายวิชาการ - ฝ่ายกิจกรรม - ฝ่ายการสื่อสาร
CLASSROOM WORKSHOP ART LANGUAGE ROOM MEETING ROOM
PRAYER ROOM TOILET
COMMUNITY/COMMERCIAL CAFE LIBARALY AUDITORIUM TEMPORARY EXHILBITION
FACADE
ELEVATION
ELEVATION
ELEVATION
CONCEPTUAL IDEA
FIRST FLOOR PLAN
386.4 ตร.ม.
SECOND FLOOR PLAN
386.4 ตร.ม.
THIRD FLOOR PLAN
386.4 ตร.ม.
FOURTH FLOOR PLAN
386.4 ตร.ม.
FIFTH FLOOR PLAN
386.4 ตร.ม.
CONCEPTUAL IDEA
ท้องถิ่นภิวัตน์ (Localization)
แนวคิดและวิถีชีวิตมุสลิมในเมืองไทย
ศิลปะและวัฒนธรรมอิสลามในประเทศไทย
ศิลปะและวัฒนธรรมอิสลามในประเทศไทย
บทบาทของมุสลิมในประวัติศาสตร์ไทย ที่ปรากฏบันทึกเอกสารและศิลปวัตถุสถานต่าง ๆ ที่แสดงการติดต่อกับชาว มุสลิม โดยพระในรัชกาลของสมเด็จพระรายณ์ ซึ่งนับช่วงเวลาที่ติดต่อกับชาวต่างชาติมากที่สุด ชาวมุสลิมได้เข้ามาสู่ราช สานักและรับราชการในตาแหน่งสาคัญต่าง ๆ รวมทั้งยังมีพ่อค้าและชาวมุสลิมในสาขาวิชาชีพอื่น ๆ อีกมากมาย หลักฐานอีกประเภทหนึ่งที่ให้เห็นถึงแง่มุมของการเข้ามาผสมผสานของวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึน้ คือ งานศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม เป็นต้น ตัวอย่างเช่น มิหรอบ (มัสยิดต้นสน) เป็นสถานที่ท่ีอิหม่านนาละหมาด จะสร้างคล้าย ศาลาเล็ก ๆ มีหลังคาหน้าจั่ว แกะสลักตามแบบหลังคาเรือกัญญา ลงรักปิดทองหน้าจั่ว ช่อฟ้าใบระกา หางหงส์ , มัสยิดบาง หลวง (หน้าบันมัสยิด) เป็นลายปูนปั้นดอกพุตตานตรงหน้าบันของอาคารมัสยิด ลายปูนปั้นพันธุพ์ ฤกษาแทนใบระกา ตรง กลางหน้าบันสลักตัวอักษรอาหรับ เป็นต้น
มิหรอบ (มัสยิดต้นสน)
มัสยิดบางหลวง (หน้าบันมัสยิด)
PATTERN FLOOR
RECEPTION
PERSPECTIVE
EXHILBITION
PERSPECTIVE
CAFE
PERSPECTIVE
PRAYER ROOM
PERSPECTIVE
LIBRARY
PERSPECTIVE
LIBRARY
PERSPECTIVE
WORKSHOP
PERSPECTIVE
ART WORKSHOP
PERSPECTIVE
AUDITIONRUM
PERSPECTIVE
SIGNAGE