Supicha Thongwat

Page 1

ยาน



โครงการศิปนิพนธ คณะวิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ชื่อโครงการ

โครงการศึกษาเรื่องเลาความเชื่อทองถิ่น บริเวณรอบวงเวียนเสาชิงชา สูการออกแบบรานอาหารไทย

ประเภทของงานศิลปนิพนธ

ประเภทงานออกแบบตกแตงภายใน

ผูดําเนินโครงการศิลปนิพนธ

นางสาวสุพิชชา ทองวัฒน รหัส 5704439 นักศึกษาชั้นปที่4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึกษาโครงการศิลปะนิพนธ

อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน (อาจารยที่ปรึกษา)

บทคัดยอ


กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธเลมนี้สําเร็จสมบูรณไดดวยดี เพราะไดรับความกรุณาชี้แนะ จาก อาจารยณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน(อาจารยที่ปรึกษา) ที่ใหคําแนะนํา และ ตรวจแกไขขอบกพรองมาโดยตลอด ตั้งแตเริ่มตนจนสําเร็จเรียบรอย และกราบขอบคุณ อาจารย วริศว สินสืบผล(อาจารยโปง) และพี่นกฮูก ที่คอยชวยเหลือ และใหคําปรึกษาตลอดจนสําเร็จการศึกษา ขอกราบขอบพระคุณ ดวยความเคารพอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ ขอบคุณเพื่อนๆ รุนพี่ รุนนอง ทั้งในสาขาและนอกสาขา ทั้งในสถาบัน และนอกสถาบัน ที่คอยใหความชวยเหลือในดานตางๆอยางเต็มที่ ขอขอบพระคุณมารดา ที่คอยสนับสนุนจนงานสําเร็จลุลวงไปดวยดี ขอกราบขอบพระคุณมารดาและบูรพาจารยทุกทาน ที่ไดอบรมสั่งสอน ใหวิชาความรู และใหความเมตตา เปนกําลังใจสําคัญ ที่ทําใหวิทยานิพนธเลมนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยดี

นางสาวสุพิชชา ทองวัฒน


สารบัญ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1

มาและความสําคัญของโครงการท่ี วัตถุประสงคของโครงการ ขอบเขตของการศึกษาโครงการ สิ่งที่คาดหวังของโครงการ ระเบียบวิธีวิจัย แหลงขอมูลอางอิง ประโยชนที่ไดรับจากโครการ แผนการดําเนินการวิจัย

บทที่2

เสาชิงชา ประวัติเสาชิงชา ภูมิทัศนโดยรอบเสาชิงชา ความเชื่อคนไทย ตํานานเรื่องเลาวัดสะเกษและวัดสุทัศน

บทที่3

ขอมูลพื้นฐานของโครงการ สถานที่ตั้งโครงการ ขนาดพื้นที่ของโครงการ วิเคราะหพื้นที่บริเวณรอบโครงการ

บทที่4

กรณีศึกษา กลุมเปาหมาย casestudy รานอาหาร

บทที่5

ภาคการออกแบบ แนวความคิดในการออกแบบ กลุมเปาหมาย Programing zoning แปลน -ชั้น 1 -ชั้น2 -ชั้น3 Perspective 3D


โปรเจค แบล็คกราว PROJECT BACKGROUND “เสาช�งชา” เสาช�งชา คือ หนึ่งสถานที่สำคัญและเปนอนุสรณสถานแหงหนึ่งในกรุงเทพมหานครที่ตั้งอยูบนถนนบำรุงเมือง เขตพระนคร ถูกสรางข�้นเมื่อป พ.ศ. 2327 เปนโบราณสถานของชาติในป พ.ศ. 2492 และเปนงานศิลปะที่มีคุณคา ทางสถาปตยกรรมประวัติศาสตรอันยาวนานของกรุงเทพมหานคร ยานเสาช�งชาถือเปน “สะดือเมือง” หร�อจ�ดศูนยกลางของพระนครที่ถูกกำหนดข�้นตั้งแตสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร เปนสัญลักษณอันโดดเดนของกรุงเทพฯ ตึกแถวเกาแกที่ตั้งอยูร�มถนนดินสอและถนนบำรุงเมือง รานอาหารมากมายเร�ยงรายไปตามร�ม ถนน ก็เปนอีกหนึ่งสิ่งที่อยูคูยานเสาช�งชามานาน ยานเสาช�งชานี้เปนอีกหนึ่งสถานที่พักผอนหยอนใจ เดินเที่ยวซ�มซับบรรยากาศประวัติศาสตร และช�มของอรอยได พรอมๆกัน ขาพเจาจ�งอยากศึกษาเอกลักษณความเปนไทยบร�เวณโดยรอบเสาช�งชาเพื่อนำไปพัฒนาสูงานออกแบบ โดยดึงเอาเสนห ความสำคัญของสถานที่ รวมไปถึงศิลปะวัฒนธรรมตางๆ มารอยเร�ยงเเละถายทอดผานการดีไซน


วัตถุประสงค OBJECTIVE ศึกษาบร�เวณรอบเสาช�งชา หาเอกลักษณ เพื่อนำไปออกแบบภายใน รานอาหารไทย เพื่อสงเสร�มเศรษฐกิจการทองเที่ยวของไทยและยัง อนุรักษสถานที่เกาแก ประวัติศาตรอันทรงคุณคา ของใจกลางกรุงเทพมหานคร


ขอบเขตการศึกษา ศึกษาประวัติความเปนมาของยานเสาช�งชา ศึกษาเอกลักษณหาจ�ดเดนของยานเสาช�งชา ศึกษาว�ถีช�ว�ตของผูคนในบร�เวณโดยรอบเสาช�งชา ศึกษาการออกแบบ รานอาหารไทย


สิ่งที่คาดหวัง เพื่อนำเสนอใหเห็นถึงความงามและคุณคาของยานเสาช�งชา ชวยอนุรักษยานเกาแกและสงเสร�มการทองเที่ยวของไทย ใหคนรุนหลังไดซ�มซับและสืบสานความเปนอัตลักษณไทย


ระเบียบ วิธีวิจัย


RESEARCH METHODOLOGY เร�่มตน

ศึกษาขอมูลเบื้องตน

ว�เคราะหจ�ดมุงหมายการว�จัย

ว�เคราะหตัวแปรที่เก็บขอมูล

วางแผนการเก็บขอมูล

ดำเนินการทดลองและเก็บขอมูล

รวบรวมขอมูล

ที่ปร�กษาพิจารณา

ขอมูลตัวแปรที่ตองการศึกษา

สิ้นสุด

ปรับปรุงแกไข


แหลงขอมูลอางอิง RESEARCH REFERENCE

www.siamganesh.com/saochingcha.html www.th.wikipedia.org/wiki https://sites.google.com/site/uiiaiieiei/sthan-thi-thxng-theiyw/sea-chingcha https://www.silpa-mag.com/history/article_30355 หนังสือเปรตผูทรมานจากผลของบาป https://ngthai.com/history/32123/tradional-swing-thailand/ http://ir.mcu.ac.th/content/2561/08.%20เปรต%20(86-112).pdf https://www.stou.ac.th/study/projects/training/culture/content/2558/3/ความเช�่อของคนไทยในสมัยโบราณ.pdf


แผนการดำเนินงานวิจัย RESEARCH SCHEDULE การดำเนินงาน

สิงหาคม

กันยายน

ตุลาคม

พฤศจ�กายน

กุมภาพันธ

มีนาคม

เมษายน

นำเสนอหัวขอปญหา และแนวทางแกไข สำรวจพื้นที่ นำเสนอโครงการครั้งที่ 1 สรุปหัวขอและพัฒนาโครงการ

นำเสนอโครงการครั้งที่ 2 สรุปหัวขอและพัฒนาโครงการ นำเสนอโครงการครั้งที่ 3 ART THESIS BOOK

การดำเนินงาน นำเสนอหัวขอปญหา และแนวทางแกไข สำรวจพื้นที่ นำเสนอโครงการครั้งที่ 1 สรุปหัวขอและพัฒนาโครงการ

นำเสนอโครงการครั้งที่ 2 สรุปหัวขอและพัฒนาโครงการ นำเสนอโครงการครั้งที่ 3 ART THESIS BOOK

มกราคม

ธันวาคม


ยาน


เสาไมคูสีแดงที่ยืนเดนเปนสงาอยูหนาวัดสุทัศนเทพวรารามเปนเวลานานกวา 236 ปนั้น ครั้งหนึ่งเคยใชประกอบพระราชพิธ�สำคัญของบานเมือง แตปจจ�บันเหลือเพียงเปนสัญลักษณหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ยอนไปชวงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจ�ฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 กำหนดใหพื้นที่บร�เวณเสาช�งชาเปนจ�ดศูนย กลางของพระนคร หร�อ “สะดือเมือง” จ�งโปรดฯ ใหตั้งเทวสถานโบสถพราหมณและสรางเสาช�งชาข�้น เพื่อรักษาธรรมเนียมการสรางพระนคร ตามอยางโบราณ โดยถือคติวาจะทำใหพระนครมีความมั่นคงแข็งแรง เสาช�งชาสรางข�้นเมื่อเดือนเมษายน ปพ.ศ. 2327 หลังการสถาปนากรุงรัตนโกสินทรได 2 ป สำหรับใชประกอบพิธ�โลช�งชา ในพระราชพิธ�ตร�ยัมปวาย- ตร�ปวาย ที่จัดข�้นเดือนยี่ (มกราคม) ของทุกป เพื่อตอนรับพระอิศวรที่เสด็จมาเยี่ยมโลกตามคติความเช�่อของ ศาสนาพราหมณ-ฮินดู อันเปนพระราชพิธ�สำคัญหนึ่งในพระราชพิธ� 12 เดือน ที่สืบตอมาจากสมัยกรุงศร�อยุธยาเปนราชธานี เสาช�งชาเปนเสาไมขนาดใหญมีความสูง 21.15 เมตร ตัวเสาไมแกนกลางคูประกบดวยเสาตะเกียบ 2 คู เปนเสาหัวเม็ดทำดวยไมสักกลึงกลม ที่ โครงยึดหัวเสาทั้งคูแกะสลักอยางสวยงามกระจังและหูชางไมเปนลวดลายไทยทั้งหมดทาสีแดงชาดติดสายลอฟาจากลวดลายกระจังดานบนลงดิน


พิธีโลชิงชา

” พระราชพิธ�ตร�ยัมพวาย ตร�ปวาย “ พีธ�โลช�งชา หร�อช�่อเดิมวาพระราชพิธ�ตร�ยัมพวาย ตร�ปวาย เปนพิธ�โบราณที่มีมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยและกรุงศร�อยุธยาเปน ราชธานี กระทั้งถึงสมัยราชกาลที่ 7 แตเดิมนั้นพระราชพิธ�ตร�ยัมปวายจะจัดในเดือนอาย (ธันวาคม) ครั้นลวงเขาสูสมัยกรุง รัตนโกสินทรจ�งไดเปลี่ยนมาจัดในเดือนยี่ (มกราคม) พิธ�นี้ถือเปนพิธ�ข�้นปใหมของพราหมณ สำหรับพิธ�โลช�งชานั้น ในราชอาณาจักรไทยปรากฏหลักฐานตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศร�อยุธยา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร ถือ เปนเทศกาลที่ยิ่งใหญในอดีต โดยมีพระยายืนช�งชาเปนตัวแสดงสำคัญ เปร�ยบเปนพระมหากษัตร�ย โดยพิธ�โลช�งชานี้ถูกยกเลิก ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อป 2475 โดยไดคาดการณวาคงเปนเหตุผลดานความปลอดภัย


ภูมิทัศนโดยรอบเสาชิงชา

พื้นผิวการจราจรบร�เวณเสาช�งชาในปจจ�บันเปนทางแยกบนถนนบำรุงเมืองที่ตอเนื่องกัน 2 แยก ไดแกทางแยกดานทิศตะวันตก เปนจ�ดบรรจบระหวางถนนบำรุงเมือง, ถนนตีทอง และถนนดินสอ และดานทิศตะวันออก เปนจ�ดบรรจบระหวางถนนบำรุงเมือง, ถนนอุณากรรณและถนนศิร�พงษ โดยมีฐานเสาช�งชาทำหนาที่คลายวงเว�ยนขนาดเล็กตั้งอยูระหวางทางแยกทั้งสอง ตรงกับดาน หนาวัดสุทัศนเทพวรารามและลานหนาศาลาวาการกรุงเทพมหานคร หร�อลานคนเมือง ซ�่งเปนพื้นที่โลงกวางสำหรับจัดกิจกรรม ตางๆดานลางมีที่จอดรถใตดินของกทม. บนลานคนเมืองดานที่ติดกับเสาช�งชามีประติมากรรมและปายแสดงช�่อเต็มของกรุงเทพ มหานคร จัดสรางข�้นเพื่อเปนที่ระลึกในงานฉลอง 220 ป กรุงรัตนโกสินทร เมื่อป พ.ศ. 2545 บร�เวณยานเสาช�งชาเปนยานเกาแกแหงหนึ่งของกรุงเทพฯ มีสถาปตยกรรมเกาแกจำนวนมากโดยเฉพาะอาคารพาณิชยสองฝง ถนนบำรุงเมืองรอบเสาช�งชาระหวางแยกสี่กั๊กเสาช�งชาและแยกสำราญราษฎรเปนยานจำหนายสังฆภัณฑที่สำคัญของกรุงเทพฯ นอกจากนี้ โดยรอบยังมีศาสนสถาน ที่สำคัญในศาสนาพราหมณ-ฮินดูอยูหลายแหงไดแกเทวสถานโบสถพราหมณ, วัดเทพมณ เฑียร และศาลพระนารายณ ซ�่งสรางข�้นภายหลังบร�เวณเกาะกลางถนนอุณากรรณ-ถนนศิร�พงษ ขางวัดสุทัศน สถานที่สำคัญใกลเคียง - วัดสุทัศนเทพวราราม - ลานคนเมือง และศาลาวาการกรุงเทพมหานคร - เทวสถานโบสถพราหมณ - โรงเร�ยนเบญจมราชาลัย - วัดเทพมณเฑียร สมาคมฮินดูสมาช และโรงเร�ยนภารตว�ทยาลัย - ศาลเจาพอเสือ


ประเพณี วัฒนธรรม พิธีกรรม ความเชื่อ



ความเชื่อคนไทย

ความเช�่อตั้งแตโบราณหร�อแมแตปจจ�บัน เช�่อวาหลายคนคงเคยถูกปูยาตายายหร�อพอแมสั่งสอนหามทำโนนทำนี่ ดวยเหตุผลที่อธ�บายไดยากแตลูกๆหลานๆก็มักยอมทาตามแม ในใจอาจจะคัดคานหร�อนึกสงสัยอยูบาง ความเช�่อเปนความรูสึกยึดมั่นถือมั่นศรัทราของมนุษยในสิ่งตางๆวาจะดลบันดาลอะไรใหเ้ราก็ได หากกระทำและปฏิบัติ ตอความเช�่อในทางที่ถูกที่ควรแลวความสุขก็จะเกิดตามมา หากละเลยความทุกขรอนก็อาจจะเกิดข�้นได


"ช�งเปรต" เปนประเพณีของภาคใตที่กระทำกันในวันสารท เดือน ๑๐ เปนประเพณีสำคัญที่จัดข�้นเพื่อทำบุญอุทิศแกบรรพบุรุษผูลวงลับไปแลว การช�งเปรตที่ปฏิบัติกันในประเพณีสารทเดือน ๑๐ มีลักษณะคลายกับการทิ้งกระจาดของจ�น การทิ้งกระจาดของจ�นเปนการทิ้งทานใหแกพวก ผีไมมีญาติ สวนการช�งเปรตของไทยเปนการอุทิศสวนกุศลไปใหทั้งผี(เปรต) ที่เปนญาติพี่นองของตนเอง และที่ไมมีญาติดวย


ตำนานเรื่องเลา


แรงวัดสระเกศ เปรตวัดสุทัศน เปนตำนานที่เกิดข�้นมันไมใชเพียงเร�่องเลาแตมันคือตำนานที่เกิดข�้นจร�ง ที่เขาวากันวามันคือนรกจำลองดีๆนี่เอง เร�่องราวของ วัดสระเกศ (ภูเขาทอง) นั้น ในอดีตเคยศูนยรวมของแรงนับพันอันเนื่องมาจากโรคหาระบาดเมืองในชวงรัชกาลที่ 2 มีคนตาย หลายหมื่นคนในชวงเวลาเพียงไมกี่วัน กลายเปนเมืองแหงคนตาย ทุกตารางนิ้วเต็มไปดวยซากศพ ในอดีตวัดสระเกศ เปนจ�ด ที่ทางการนำศพที่ตายจากโรคหาระบาด ซ�่งมีคนตายหลายหมื่นคน ทุกตารางนิ้วเต็มไปดวยซากศพ ทำใหเปนจ�ดศูนยรวมของ แรงนับพัน เขาจะขุดหลุมแลวเอาศพมากองรวมกัน

เพราะจำนวนศพมากมายไมสามารถเผาไดไหว เลยใชว�ธ�ใหแรงกำจัดศพให และสาเหตุที่ตองเปนวัดสระเกศก็เพราะเมื่อสมัยกอน นั้นมีกฎหามเผาศพกันในเมือง และประตูเมืองที่สามารถนำศพผานไดก็มีอยูประตูเดียวที่เร�ยกกันวาประตูผี ซ�่งอยูใกลกับวัด สระเกศมากที่สุดนั่นเอง เมื่อพูดถึงแรงวัดสระเกศแลว จะไมพูดถึง เปรตวัดสุทัศน ก็ไมไดเพราะวามักไดยินพูดคูกันเสมอ เปรต เปนมนุษยที่ทำบาปกรรมแบบขั้นสุด เมื่อตายไปแลวจะเกิดเปนเปรตเพื่อชดใชกรรมที่ทำไวเมื่อยังเปนมนุษย ปากเทารูเข็ม มือ ใหญเทาใบลาน มักปรากฎตัวตอนกลางคืน


สมัยกอนบรรยากาศแถววัดสุทัศนจะนากลัวมากๆ มักมีคนเลาวาพบเห็นผีเปรตอยูเสมอ แตบางก็บอกวา นั่นคือเงาจากเสา ช�งชา ความเช�่อแตครั้งตนกรุงรัตนโกสินทรเกี่ยวกับเร�่องราวของเปรตแหง วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาว�หาร ที่เลากัน วาที่วัดแหงนี้มักมีเปรตปรากฏกายในเวลากลางคืน เปนที่นากลัวอยางยิ่ง ประกอบกับอหิวาตกโรคที่ระบาดจนมีผูคนลมตาย เปนจำนวนมากในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 จนเผาศพแทบไมทัน ณ วัดสระเกศ จนมีคำกลาวคลองจองกันวา "แรงวัดสระเกศ เปรต วัดสุทัศน" ซ�่งแทที่จร�งแลว เร�่องเลาเปรตวัดสุทัศนฯนั้น มาจากภาพวาดบนฝาผนังในอุโบสถ ที่เปนรูปเปรตตนหนึ่งนอนพาดกายอยู และ มีพระสงฆยืนพิจารณาอยู ซ�่งภาพนี้มีช�่อเสียงมากในสมัยอดีตเปนที่เลื่องลือกันของผูที่ไปที่วัดแหงนี้วาตองไปดู และสิ่งที่ผูคน เห็นวาเปนเปรตนั้น ผูคนที่อาศัยอยูบร�เวณวัดแหงนี้มายาวนานบอกวา แทที่จร�งแลวเปนเงาของเสาช�งชาที่อยูหนาวัด ในสาย หมอกยามเชาตางหาก อันนี้ก็แลวแตความเช�่อและว�จารณญาณสวนบุคคล


หิมวนตปปเทเส ว�ชาติเปโต นาม เปตว�สโย กาลครั้งหนึ่งยังมีประเทศแหงหนึ่งในปาหิมพานต ช�่อวาว�ชาตประเทศตั้งอยูเบื้องบน แหงนรกข�้นมา อันเปนที่อยูแหงเปรตทั้งหลายมีมหิทธกาเปรตเปนอธ�บดีแกเปรตทั้งปวง และตระกูลเปรตนั้นมีอยู 12 ตระกูล แตนอกจากเปรต 12 ตระกูลนี้แลว ยังมีเปรตอีก 19 จำพวกอีกตางหาก นอกจากความเยอะมากมายของตระกูลและจำพวก ของเปรต แลวมีการแบงพวกที่ไมสมประกอบ ดวยกันอีก 4 ชนิด นั่นคือ 1. ไดแก เปรตชนิดที่มีรูปรางไมสมประกอบ รางกายซูบผอมอดโซ 2. ไดแก เปรตชนิดที่มีรูปรางพิการ เชน กายเปนอยางรางของมนุษยแตศีรษะ เปนอยางสัตวดิรัจฉาน เชน ตัวเปนคนหัวเปนนก กาบาง…เปนสุกรบาง…เปนสุนัขบาง 3. ไดแก เปรตชนิดที่มีรูปรางพิกล เสวยกรรมกรณ (รับกรรม รับอาญา) อยูตามลำพังดวยอำนาจบาปกรรมที่ไดกระทำเอาไว สมัยเมื่อยังมีช�ว�ตอยูบนโลกมนุษย 4. ไดแก เปรตชนิดที่มีรูปรางอยางมนุษยปกติ แมเปนผูเสวยก็มีว�มานอยู แตใน ราตร�ตองออกจากว�มานไปเสวยกรรมจนกวา จะรุงเชา เร�ยกวาว�มานนิกเปรต และอยางที่เราๆ รูกันแลววาเปรตนั้นเปนผีจำพวกหนึ่งซ�่งเคยทำบาปสรางกรรมเอาไวสมัยเมื่อยังมีช�ว�ตอยูครั้น เมื่อตายลงแลว ก็ตองมารับผลกรรมตามที่ไดสรางไวทำใหตองมีความเปนอยูอยางอดอยาก ผอมโซ ชอบสงเสียงรองหร�อปรากฏตัวใหชาว บานเห็นเพื่อขอสวนบุญใหชวยทำบุญอุทิศสวนกุศลไปใหบางเพราะอดอยากหิวโหย


ที่ตั้งโครงการ

ตึกอาคารพาณิชย 7 คูหา 4 ชั้น สถานที่ตั้งตัวอาคารติดถนน อยูบนถนนดินสอชอยชุมชนโบสถพราหมณ จ�ดสังเกตเห็นงาย ใกลบร�เวณเสาช�งชา วัดสุทัศนเทพวราราม


SITE SURROUNDING

ทิศทางการจราจร ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันออก ทิศตะวันออกเฉียงใต ทิศตะวันตกเฉียงใต ทิศตะวันตก

ถนนดินสอ > อนุเสาวร�ยประชาธ�ปไตย ถนนศิร�พงษ > ดานหลังศาลาวาการ กทม. ถนนบำรุงเมือง > เเยกสำราญราษฎร ถนนอุณากรรณ,ถนนศิร�พงษ > แยกอุณากรรณ ถนนตร�ทอง > แยกเฉลิมกรุง ถนนบำรุงเมือง > แยกสี่กั๊กเสาช�งชา


PLAN


PLAN


กลุมเปาหมาย 30 % 50 % 20 %

นักทองเที่ยวชาวตางชาติ -นักทองเที่ยวที่เขามาเยี่ยมชมบร�เวณรอบเสาช�งชา -นักทองเที่ยวที่หลงใหลในเสนหความเปนไทย และช�่นชอบความแปลกใหม

นักทองเที่ยวชาวไทย -ผูคนที่ช�่นชอบอาหารไทย -ผูคนที่สนใจในเอกลักษณศิลปะของไทย และช�่นชอบความแปลกใหม

กลุมนักเร�ยนและนักศึกษา -กลุมนักเร�ยนนักศึกษา -วันรุนอายุ 18 ปข�้นไป


แนวคิดใน การออกแบบ “ กลางวันอยูในวิมาณ กลางคืนชดใชกรรม ”

“แนวคิดในการออกแบบ” เปนรานอาหารไทยกึ่งคาเฟ เปดใหบริการตั้งแต 9.00น. - 23.30น. ซึ่งในตอนกลางวันจะเปนรานอาหารไทย สอดคลองกับชื่อ concept “กลางวันอยูในวิมาณ” และตั้งแตเวลา 18.00น.เปนตนไป จะเปนคาเฟบาร ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล


PROGRAMING รานอาหาร

คาเฟ

บาร


NEILSON HAYS LIBRARY

ไดรบการออกแบบจากสถาปนิกชาว อิตาเลียนช�่อมาลิโอ ตามานโย ผูออกแบบพระที่นั่งอนันตสมาคม เปนอาคารชั้นเดียวแบบ นีโอคลาสสิค หลังคาเปนทรงโดม ที่หัวเสาทุกตนสลักลวดลายสวยงาม


OSHA

รานอาหาร Osha อาหารไทยแนว Modern Twist การออกแบบตกแตงภายในราน มีความเปนไทย มีการนำเร�่องราวของรามเกียรติ์มาใชตกแตงบร�เวณผนัง ฉากกั้นที่ถอดมาจาก รูปทรง มีการใช โทนสีตัดขอบทองที่แสดงถึงเอกลักษณและเปนตัวชูความสวยงามของราน การออกแบบผสมผสานใหเขากับยุค สมัยยังคงมีกลิ่นไอของความเปนไทยที่เห็นไดอยางชัดเจน


BURAPA

EASTERN THAI CUISINE & BAR BY SRI TRAT Burapa Eastern Thai Cuisine & Bar By Sri Trat ดานการตกแตง เลือกใชสี Pantone ของนกยูงมาเปนกิมมิก แทนสัญลักษณของตะวันออกโดยแตละชั้นจะมีโทนสีที่ตางกัน ไดแก สีเข�ยว สีมวง และสีแดงภายในรานถูกแบงออกเปนชั้น Business Classและชั้น First Class เต็มไปดวยบรรยากาศของงานศิลปะยุค 1940 ตรงกับชวงยุคสมัยสงครามโลก ซ�่งเปนยุคที่รถไฟเฟองฟูที่สุด


HOT ROD Hot Rod รานอาหารไทยช�่อแปลกหู ที่ไดยินครั้งแรกก็สะดุดหู ยิ่งไดเขาไปขางในตัวรานก็ยิ่งสะดุดตา และเมื่อไดรับรสชาติอาหาร ของ Hot Rod เขาไปแลว ก็ยิ่งสะดุดใจ ดวยแนวคิด Thai Tapas Bar โดดเดนดวยการนำวัฒนธรรมไทยและรสชาติอาหารไทย โบราณ มานำเสนอใหทันสมัย ดวยการฉีกกฎอาหารไทยแบบเดิมๆ และเพิ่มเติมความเก ไก ใหทุกจานมีเอกลักษณเฉพาะตัวใน สไตล Hot Rod


BOMBYX Jim Thompson แบรนดผาไหมไทยที่โดงดังไปทั่วโลก เปดตัว Bombyx รานอาหารและบารแหงที่ 5 ซ�่งมาพรอมคอนเซ็ปตที่ตอง การผสมผสานไลฟสไตลการกินดื่มอยางมีระดับเขากับศิลปะ ภายในรานคอนขางมืด ตกแตงดวยโทนสีฟาและลายเสนตางๆโดย มาในแนวคิด Art & Cuisine ตั้งใจออกแบบรานใหเปนเหมือน Black Box ที่สามารถปรับเปลี่ยนธ�มรานได ผสมผสานระหวาง พื้นที่จัดแสดงผลงานศิลปะที่เช�่อมโยง Jim Thompson


MOCKING TALES เมื่อเขามาภายในรานเราจะพบกับบรรยากาศและการตกแตงภายในที่ดูลึกลับชวนฝน สไตลการตกแตงรานถูกดีไซนเปนแนวปราสาทที่ทำใหทุกคนหลงใหลกับบรรยากาศที่เปน fairy tale แรงบันดาลใจจากปราสาทในเร�่อง Beauty and the Beast (version ฝรั่งเศส) ถูกนำมาผสมผสานกับ ปราสาทยุคกลางของหนังเร�่องตางๆ ซ�่งโลกแหงนิยายเร�่อง Mocking Tales นี้จะมีกาลเวลาและฤดูกาล ที่คูขนานกับความจร�ง ทำใหกลางวันถูกแบงเปนเมนูขนมหวาน กาแฟ และเคร�่องดื่ม


MOOD


ZONONG


1 st FLOOR


2nd FLOOR


3rd FLOOR


PLAN





ELEVATION



ZONING



PERSPECTIVE










brand corporate




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.