HAROON COMMUNITY DEVELOPMENT

Page 1

HAROON



โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

HAROON COMMUNITY ชื่อโครงการ

โครงการศึกษาพั ฒนาชุมชนมัสยิดฮารูณ

ประเภทของงานศิลปนิพนธ์

ประเถทงานออกแบบภายใน (Interior Design)

ผู้ดําเนินโคงการศิลปนิพนธ์

นางสาวนัฐญามา เจ๊ะอารงค์ รหัส 5901440 นักศึกษาชั้นปีท่ี 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์

อาจารย์อรรถกฤษ์ อุทัยกาญจน์ (อาจารย์ท่ีปรึกษาหลัก)


PROJECT BACK GROUND


ในประเทศไทยมีชุมชนศาสนาอื่นๆ ที่มีความเข้มแข็ง และเฟื่ องฟู อยู่ตามซอกมุมต่างๆทั่วเมืองหลวง ใน ย่านประวัติศาสตร์บางรัก มีชุนชนมุสลิมซึ่งเติบโต มาพร้อมกับถนนสายเศรษฐกิจแห่งแรกของพระนคร อย่างเจริญกรุง และยังอยู่คู่กับถนนสายนี้จนถึง ปัจจุบันนับเป็นเวลาเกือบ 200 ปี ปัจจุบันการขยาย ตัวของโรงแรมและห้างสรรพสินค้าทําให้ชม ุ ชนหดเล็ก ลง กับการทีย ่ า่ นเจริญกรุงถูกให้ความสนใจการเป็น CREATIVE DISTRICT มากขึน ้ จึงเห็นประโยชน์ในการ ที่จะนําชุมชนที่อยู่ในตรอกเล็กๆ นําเสนอความเป็น ตัวตนและอัตลักาณ์ของผูค ้ นในชุมชนทีอ ่ ยูบ ่ นต้นทุน ทางวัฒนธรรม ศิลปะ ที่รุ่มรวยในพื้ นที่มายาวนาน และมีวฒ ั นธรรมการกินทีไ่ ม่เคยเลือนหายตัง ้ แต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ที่สืบทอดต่อกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ เพื่อให้วฒ ั นธรรมอิสลามในชุมชมพัฒนาผ่านความคิด สร้างสรรค์และเข้าถึงผูค ้ นมากยิง ้ และนําไปสูก ่ ารเสริม ่ ขึน สร้างรายได้ให้กับชุมชน



OBJECTIVES เพื่อแสดงความเป็นตัวตนทางด้านวัฒนธรรมของผู้คนในชุมชน เพื่อพั ฒนาชุมชนให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนระหว่างวัฒนธรรม

AREA OF STUDY ศึกษาความอัตลักษณ์ วัฒนธรรมในชุมชน ศึกษาบริบทโดยรอบเพื่ อนํามาพั ฒนาชุมชน ศึกษาการพั ฒนาชุมชนสู่พ้ื นที่สร้างสรรค์

EXPECTATIONS เพื่อให้วัฒนธรรมอิสลามในชุมชมพั ฒนาผ่านความคิดสร้างสรรค์ และเข้าถึงผู้คนมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมกับย่านพื้ นที่สร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น เพื่อให้มีพ้ืนการเรียนรู้แลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรม


HAROON COMMUNITY จํานวนประชากรในชุมชน 1,083 คน จํานวนครัวเรือน 296 ครัวเรือน จํานวนบ้าน 152 หลัง

ชุมชนมุสลิมมัสยิดฮารูนตัง ้ อยูใ่ จกลางกรุงเทพ ย่านเจริญกรุง ถนนสายเศรษฐกิจแห่งแรก ของประเทศไทย ที่นําพาผู้คนหลากหลายเชื่อ ชาติเข้ามาจนถึงปัจจุบัน ชุมชนมุสลิมมัสยิดฮารูนเป็นชุมชนเก่าแก่ทอ ่ี ยูม ่ า ตั้งแต่ต้นรัตนโกสินทร์ มีลักษณะอัตลักษณ์ ด้ายร่องรอยของความเป็นมุสลิมอย่างชัดเจน แม้ยง ั ไม่มห ี ลักฐานแน่ชด ั ว่าชุมชนเริม ้ ้ ขึน ่ ก่อตัง เมื่อใด หากแต่ว่ามีหลักฐานว่าชุมชนมีอายุมา นานถึง 150 ปี

70% SOUTH INDIA

30 % MELAYU

THERE IS NO CULTURE WITHOUT DIVERSITY ชุมชนแห่งนีม ้ ก ี ลุม ่ คนมุสลิมหลากหลายเชือ ้ ชาติอยู่ร่วมกันมาหลายชั่วอายุคน ชนกลุ่ม ใหญ่ท่ีสุดคือกลุ่มที่มีเชื้อสายจากอินเดีย ่ คนทีม ่ า ซึง ่ ไม่ใช่คนอินเดีย 100 % แต่เป็นกลุม ตั้งถิ่นฐานทําการค้าขายอยู่ในอินเดีย เชื้อ สายที่คาดว่าเป็นพ่ อค้าจากชาวเปอเชีย และมีกลุม ่ ชาวมลายูทอ ้ งถิน ่ บ ื เชือ ้ สาย ่ ชวาทีส จากเกาะชวาในประเทศอินโดนเซีย อพยพ มาจากเมืองฟาตอนีหรือปัตตานี จากภาค ใต้ของไทยทําให้ชม ุ ชนแห่งนีเ้ กิดความหลาก หลายทางวัฒนธรรมอย่างสูง




TIMES CHANGE บ้านพักอาศัยในชุมชนส่วนใหญ่เป็นบ้าน ไม้กง ึ่ ปูน ปรับปรุงเนือ ่ งจากทรุดโทรม ตามกาลเวลา แต่ยังคงเค้าโครงแบบ ที่ ดิ น ส่ ว นใหญ่ ใ นชุ ม ชนเป็ น ที่ ดิ น เของ มัสยิด (ที่ดินวะกัฟ) ซึ่งเป็นที่ดินบริจาค เพื่อสาธารณกุศลซึง ่ อยูใ่ นความดูแลของ คณะกรรมกาชุมชนรชุมชน


OPEN COMMUNITY ปัจจุบน ั มัสยิดฮารูณเปิดรับนักท่องเทีย ่ วจากต่างชาติไม่เว้นแต่ละวันโดยเฉพาะ ในวันศุกร์ ซึง ่ คนมุสลิมจะมารวมตัวทํา การละหมาดวันศุกร์ (ญุมอ ุ ะฮฺ) ร่วมกัน ชุมชนจะคึกคักและคับคัง ่ ม ุ ชนตัง ่ ลาง ่ ไปด้วยคนมุสลิม และด้วยความทีช ้ อยูก เมือง สะดวกต่อการเดินทางของนักท่องเที่ยว ทําให้นักท่องเที่ยวต่างชาติท่ี เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเลือกทีจ ่ ะเข้ามาละหมาดทีม ่ ส ั ยิดแห่งนี้ ทําให้มส ั ยิด ฮารูณเป็นที่เดียวในประเทศไทยที่มก ี ารเทศน์ 3 ภาษา ไทย อังกฤษและอาหรับ รวมถึงชาวมุสลิมทีอ ่ ยูใ่ นบริเวณใกล้เคียงทัง ้ คนวัยทํางาน นักเรียน นักศึกษา เข้ามาละหมาดที่มัสยิดแห่งนี้ด้วยเช่นกัน

MON -THU

FRI

SAT - SUN



HAROON MOSQUE BACKGROUND

1837

1899 1934-NOW

ปี ค.ศ. 1837 พ่อค้าเชื้อสาย อินโดนีเซีย-อาหรับ เข้ามาตั้ง รกรากในเขตบางรัก ในขณะนัน ้ ยัง เป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ชื่อว่า ต้นสําโรง และสร้งมัสยิดขึน ้ เพื่อใช้เป็นสถาน ทีป ่ ระกอบศาสนกิจของชาวมุสลิม ในหมู่บ้าน ตั้งแต่ช่วงต้นรัชกาล ที่ 3 แต่ก่อนมัสยิดแห่งนี้เรียกว่า ‘มัสยิดวัดม่วงแค’ เป็นมัสยิดไม้ทง ้ั หลัง และอยูต ่ ด ิ ริมแม่นาํ้ เจ้าพระยา

ปี ค.ส. 1899 ทว่าเมื่อพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชดําริให้ ตั้งโรงภาษีร้อยชักสาม ริมนํา้ เพื่ อ ความสะดวกต่อการค้าขายและย้าย มัสยิดเข้าไปยังทีต ่ ง ั้ ปัจจุบน ั เดิมที มัสยิดบนพื้ นที่ประวัติศาสตร์เคย เป็นอาคารไม้สก ั ยกพื้นชัน ้ เดียวริม แม่นาํ้ เจ้าพระยา ก่อนทรุดโทรมลง ตามกาลเวลา จึงต้องก่ออิฐถือปูน สร้างขึ้นใหม่ในปี ค.ศ. 1934 ซึ่งอยู่ ลึกเข้ามาในชุมชน ไกลออกมาเล็ก น้อยจากริมแม่นํา้


ในสมัยนั้น มัสยิดที่สร้างขึ้นใหม่นั้นเป็นที่กล่าวขวัญถึง ความกว้างขวางเพราะความพิเศษทางศิลปะของมัสยิด ฮารูณอยู่ในลวดลายประดับห้องละหมาด ซึ่งเป็นสไตล์ ‘มูซันนา’ (Musanna) คือ Calligraphy ที่เขียนสะท้อน สองด้านอย่างสมมาตรกัน เนื่องจากภาษาอาหรับอ่าน จากขวาไปซ้าย ด้านที่อ่านตามปกติจึงอยู่ทางด้านซ้าย โดยตัวอักษรใหญ่บนผนังที่ชิดเพดานเล่าช่วงต้นของ ‘ปฐมบท’ ในคัมภีร์อัลกุรอาน สร้างสรรค์โดยช่างฝีมือ ชาวชวา การสะท้อนภาพคู่ขนานเป็นสิ่งที่พบเห็นได้บ่อยในศิลปะ อิสลาม เช่น ทัชมาฮาลก็มีผืนนํา้ เบื้องหน้าที่สะท้อนเงา อาคารทัง ่ ถึงโลกหลังความตายหรือโลก ้ หลัง เป็นการสือ ของวิญญาณ ซึ่งอยู่เคียงข้างโลกของคนเป็น

ตัวอาคารมองจากข้างนอกเป็น ปูนฉาบสีชมพู ไม่ใช่สีทา ซึ่งปัจ จุ บ บั น ถู ก เปลี่ ย นเป็ น ทาสี ข าว เนือ ่ งจากอาคารมีความทรุดโทรม ตามกาลเวาลา ขอบหน้าต่างด้านนอกและชายคา วิจต ิ รด้วยปูนปั้น ซึง ่ ยังคงเหลือ ให้เห็น แต่ปจ ั จุบน ั ตัวอาคารก็ถก ู ดัดแปลงให้กว้างขวางเพือ ่ รองรับ ผู้มาทําละหมาดได้มากขึ้น



FOOD CULTURE ‘อาหาร’ เป็นสิง ่ ก ู พันมุสลิมในชุมชนทีอ ่ พยพมาจากหลากถิน ่ ยู่ ่ ทีผ ่ ทีอ อาศัย ในช่วงเวลาที่ต่างกันได้ดีท่ส ี ุด และเป็นวัฒนธรรมที่ แลกเปลี่ยนกันได้ไม่สน ิ้ สุด ทัง ในด้ านรสชาติ สูตรการปรุง ้ และมิตรภาพ ต่อคนในชุมชนด้วยกันเอง กระทั่งคนนอก ชุมชน ชุมชนฮารูณโดดเด่น ด้วยร้านอาหารฮาลาลนับสิบ ไม่ว่า จะเป็นร้านนํา้ ชา ร้านหอยทอด ผัดไท ร้านอาหารตามสัง ่ ไก่ทอดเครื่อง โรตี ข้าวราดแกง และข้าวหมกต่างๆ ที่ นักท่องเที่ยวจากข้างนอก ทัง ้ ไทยและต่างชาติ แวะเวียน กันมาชิมไม่ขาดสาย โดยเฉพาะในช่วงเช้าถึงเที่ยงของวัน ศุกร์ ที่ร้านค้าร้านอาหารตัง ้ เรียงรายตลอดทัง ้ ตรอกสาย หลักข้างมัสยิด

โรงครัวฮารูณ : พ่ อครัว ชาวบ้าน และศิลปะการกิน

ข้าวหมกเป็นหนึง ่ ในจานอาหารทีส ่ ะท้อนรากเหง้าทางวัฒนธรรม ได้เป็นอย่างดี ข้าวหมกไม่ใช่อาหารของชาติใดชาติหนึง ่ แม้จะ มีตน ้ กําเนิดมาจากตะวันออกกลางก็ตาม แต่เป็นกรรมวิธท ี าํ อาหารทีถ ่ ก ู ส่งต่อมาสูห ่ ลายอารยธรรม สูห ่ ลายประเทศ ไม่วา่ จะเป็นอินเดีย เปอร์เซีย เมียนมา ปากีสถาน ฯลฯ และมีราย ละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ที่ถูกปรับให้แตกต่างกันออกไป ความพิเศษอีกอย่างทีท ่ าํ ให้ขา้ วหมกของฮารูณนัน ้ แตกต่างจาก ข้าวหมกที่หากินได้ทั่วไปก็คือ กรรมวิธีการทําแบบโบราณ ที่ เริม ้ สัตว์กบ ั เครือ ่ งเทศต่างๆ เช่น เครือ ่ ง ่ ต้นด้วยการหมักเนือ กุรุหม่า ลูกกระวาน อบเชย กานพลู ขิง กระเทียม ลูกผักชี ยี่หร่า พริกไทย เกลือ ฯลฯ จนได้ท่ี ก่อนจะนําข้าวลงไปต้ม ในหม้อเดียวกัน โดยในระหว่างที่ข้าวกําลังค่อยๆ สุกและนํา้ ค่อยๆ แห้งไป บรรดาเครือ ่ งเทศเข้มข้นทัง ้ มา ้ หลายจะลอยขึน แต่งเติมรสชาติให้กบ ั ข้าว แล้วจึงตกแต่งหน้าด้วยหญ้าฝรัน ่ นมสด เนย และหอมเจียว โดยเวลาเสิร์ฟจะต้องใช้วิธีการตักแบ่งหน้าข้าวด้านบนที่ เครื่องเทศเข้มข้นน้อยกว่าแยกออกมาอีกหม้อ และตักใส่ จานโดยแบ่งเปอร์เซ็นให้มีข้าวจากทั้งหม้อแรกและหม้อที่ สองทานคูก ่ น ั เพื่อให้รสชาติกลมกล่อม ไม่เค็มและไม่จด ื เกิน ไป ถ้าเสิรฟ ์ ไม่เป็นอาจทําให้ขา้ วหมกทีท ่ าํ ขึน ้ ทัง ้ หม้อไม่อร่อย อย่างที่ต้ง ั ใจได้ในทันที


PUDDING ขนมหวานเนื้อนุ่ม รสหวานละมุนที่ปรุงรสด้วย นมสด เนย และเครื่องเทศสูตรพิ เศษ

SUJI ซูยห ี รือขนมแป้งกวน ขนมทีช ่ าวมุสลิมนิยมทานในช่วงถือศีล อด ประกอบด้วยนมข้นหวาน นมสด เครื่องเทศ ลูกเกด อัล มอนด์ และแป้งซูยีเนื้อละเอียดคล้ายสาคู


YELLOW RICE ข้าวหมกแท้ๆ ที่สีไม่เหลืองจัด แต่เข้มข้นไปด้วยรสชาติของ เครื่องเทศ มีให้เลือกทั้งแบบข้าวไทยเม็ดเรียวสวยและข้าว อินเดียเม็ดยาวอย่างข้าวบาสมาติ แต่ถ้ามาที่น่ย ี ง ั ไงก็ต้อง ห้ามพลาดที่จะกินข้าวหมกแพะ เมนูเด็ดประจําชุมชน!

FISH CURRY

แกงกระหรี่ทํายาก ต้นทุนสูง ที่หากคนทําไม่ชํานาญพอ เนื้อ ปลาจะเละและทําให้นาํ้ แกงเสียรสชาติ พอทําแกงกระหรีเ่ สร็จ หมดต้องค่อยหยอดปลาลงไปตามจุดต่างๆ ในหม้อ ก่อนจะ ต้มต่ออีกไม่นานแล้วปิดไฟโดยทีห ่ า้ มคน โดยการจะตักก็ตอ ้ ง เป็นคนทีต ่ ก ั เป็นเท่านัน ้ เพื่อจะได้รวู้ า่ ต้องช้อนมุมไหน ท่าไหน เพื่ อให้เนื้อปลาไม่เละ เป็นอีกหนึง ่ เมนูทแ ่ี สดงให้เสร็จความละเอียดอ่อนของอาหาร ที่ถึงแม้ว่าจะทําเสร็จแล้วก็ใช่ว่าจะเสร็จสมบูรณ์ แต่วิธีการ เสิร์ฟอาหารนั้นก็สําคัญไม่แพ้ กัน

BAYIA ของว่างสไตล์อส ิ ลามทีอ ่ ด ั แน่นไปด้วยถัว่ ทอง บดละเอียดกําลังดี คลุกเคล้าเข้ากับเครื่อง เทศหอมๆ แล้วนําไปทอดจนกรอบนอกนุ่ม ใน ทานกับนํา้ ใจรสเปรี้ยวหวาน


TELLING STORY

บ้านป้าหน่อย บ้ า นป้ า หน่ อ ยเรี ย นรู้ ก ารทํ า ขนม หลากหลายชนิดมาจากคุณแม่และ ทําขายในชุมชนมัสยิดฮารูณมานาน กว่า 20 ปี ป้านหน่อยมักจะถูกติดต่อให้สอนเด็ก นักเรียนจากโรงเรียนในระแวกนั้ นทําขนนไทยที่บ้านของตนเองอยู่ บ่อยๆ

ขนมครกใบเตย สันนิษฐานว่าดัดแปลงมา จากขนมจอร้อซึง ่ เป็นขนมประจําชุมชนมุสลิม ชาวชวาที่อาศัยอยู่ในย่านเจริญกรุง แล้วนํา มาปรับรสชาติอีกที และเซ็ตขนมทีป ่ ระกอบไปด้วยขนมทีห ่ ากินยาก หรือคนอาจจะไม่ค่อยรู้จก ั กันแล้ว เช่น ขนม โรตีหวานรูปกุหลาบ ขนมกุหลาบแยมบู ขนมปังยาสุม ขนมจอร้อ กินคู่กับชาร้อน รสชาติเข้มข้น ตามแบบฉบับมุสลิมแท้ๆ


TELLING STORY

บ้านข้าวหมก ข้าวหมกสูตรเฉพาะของคุณลุงสืบทอด กันมารุน ่ สูร่ น ุ่ โดยการเรียนรูผ ้ า่ นการ ช่วยหยิบจับเล็ก ๆ น้อย ๆ จนซึบซับ และสามารถทําได้ด้วยตัวเอง โดยปกติจะมีการสาธิตการทําข้าวหมก สูตรเฉพาะในช่วงที่มก ี จ ิ กรรมต่าง ๆ ในชุมชน


ROBINSON BANGRAK

CHAO

BAN-OOU MOSQUE

CH

ARO ENK

RUN

GR

OA D

ASSAMPTION CATHEDRAL

SURROUNDING


EMBASSY OF FRANCE, BANGKOK

PRAYA RIVER

THE OLD CUSTOMS HOUSE

WAT MUANG KAE

GRAND POSTAL BUILDING THAILAND CREATIVE & DESIGN CENTER

MARINE POLICE LOADGING

INSTIUTE OF ISLAMIC ART THAILAND

HAROON COMMUNITY

CHAROENKRUNG ROAD

SOI CHAROENKRUNG

SAPHAN TAK-SIN

CHAO PRAYA RIVER


?

WHAT IS CRATIVE DISTRICT

BTS SILO M LI NE

ย่านสร้างสรรค์ คือ พื้ นที่ท่ใี ช้ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ค น ใ น พื้ น ที่ แ ล ะ ระบบนิเวศนnสร้างสรรค์ในการขับ เคลือ ่ นเศรษฐกิจโดยเพิ่มมูลค่าจาก สินทรัพย์ในพืน ้ ทีเ่ พือ ่ ยกระดับคุณภาพ ชีวต ิ และเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของพื้นที่

POTENTIAL OF COMMUNITY

การจะเป็นย่านสร้างสรรค์ได้นน ้ั ต้อง มี ปั จ จั ย ในการขั บ เคลื่ อ นพื้ น ที่ ใ ห้ เป็นย่านสร้างสรรค์ได้จริงอยูห ่ ลาย ประการ เช่น การมี COMMUNITYที่ แ ข็ ง แรง มีการอนุรักษ์ สินทรัพย์ทาง วัฒนธรรมอย่างถูกต้อง

COSERVATION OF CULTURAL RESOURCE

มีโปรแกรมอบรมความถนัด เอื้ อ ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นไอเดี ย ระหว่างคนในและคนนอกพื้ นที่ รวม ถึงมีกลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ที่รองรับกับย่านโดยเฉพาะ การเป็นตัวกลางเชื่อมโยงกลุม ่ คน ไปจนถึงภาครัฐ ผลักดันไอเดียหรือ โครงการสร้างสรรค์ใหม่ๆเพื่ อให้ เกิดประโยชน์ทง ่ าศัยอยูใ่ น ้ั ต่อคนทีอ ชุมชนเดิมกลุ่มคนที่เข้ามาใช้ชีวิต และกลุ่มคนที่เข้ามาทํางานหรือทํา ธุรกิจในย่านนี้ ความคิดสร้างสรรค์ ที่เป็นมากกว่าแค่งานศิลปะ และไม่ ได้ จํ า กั ด อยู่ แ ค่ ก ลุ่ ม ศิ ล ปิ น เท่ า นั้ น เพียงแค่ศล ิ ปะเป็นส่วนหนึง ่ และเป็น สิง ่ แรกๆ ทีเ่ ราทําได้เอง ศิลปะจะดึง คนให้เขามาในย่านมากขึน ้ ทําให้คนใน ชุมชนมีรายได้

CREATIVE ECOSYSTEM


CHAROEN KRUNG CREATIVE DISTRICT

เจริญกรุง ถนนสายแรกของประเทศไทยที่สร้างขึ้นจากวิทยาการ ตะวันตก อุดมไปด้วยประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมหลากหลายทั้ง ไทย จีน ฝรั่ง มุสลิม มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เจริญเป็นย่านชุมชน และย่านการค้าที่เก่าแก่แห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ รวมทั้งเป็นที่ ตัง ่ าํ คัญๆ อย่างกรมศุลกากรและสถานกงสุลแห่งแรก ้ ของสถานทีส ในประเทศไทย

แม้ว่าในปัจจุบัน ความเจริญใหม่ๆจะกระจายเข้าสู่พ้ื นที่ของย่านมากขึ้น ทําให้รูปลักษณ์ภายนอก ของตัวอาคารดูแปลกตาไปจากอดีต แต่ก็ยังมีกลิ่นอายความเป็นย่านเก่าแก่เจริญกรุง ตั้งแต่ สถาปัตยกรรมร้านค้าและอาหารสูตรดัง ์ องสถาปัตยกรรม ้ เดิม จนกลายเป็นเอกลักษณ์และเสน่หข ในย่านนี้ ปัจจุบันเจริญกรุงกําลังเป็นที่จับตามองในฐานะทําเลทองของการลงทุน แกลอรี่และ ธุรกิจเชิงสร้างสรรค์หลายที่ทยอยเข้าไปเปิดตลาดในย่านนี้



CASE STUDY



HAROON MOSQUE COMMUNITY BANKOK DESIGN WEEK 2019 by Trawell

เกิดจากความตัง ่ อ ้ งการสร้างงานทีไ่ ม่ตอ ้ ง ้ ใจแรกของทีมTrawellทีต รือ ้ ถอนและไม่กลายเป็นขยะในภายหลังแต่มป ี ระโยชน์และกลมกลืนไป กับวิถช ี ว ี ต ิ ของชุมชนได้ในระยะยาว หลังจากงาน Bankok Design Week 2019 ผ่านไป 2 เดือน

SHOP MAKEOVER คือสิง ้ มาใช้ในการทํางานครัง ้ นี้ เพราะเจริญกรุง ่ ที่ Trawell หยิบขึน เป็นพื้นทีซ ่ ง ึ่ เต็มไปด้วยร้านค้าและร้านอาหารมากมาย ทัง ้ ร้านค้าเก่า แก่ฉบับดัง ั สมัยทีก ่ าํ ลังแทรกตัวขึน ้ ทุกหัวมุมถนน ้ เดิมและคาเฟ่ทน และเพื่ อทําให้ร้านค้าดั้งเดิมเหล่านี้สามารถปรับตัวให้เท่าทันกับค่า นิยมและสภาพแวดล้อมที่กําลังเปลี่ยนแปลงไป Trawell จึงอยาก นํา ‘งานดีไซน์’ เข้าไปจับกับการพั ฒนาระบบและกายภาพของร้าน ค้าใน 3 หัวข้อคือ การสื่อสาร อย่างป้ายร้าน เมนู หรือโลโก้ การ ใช้งาน อย่างระบบหน้าและหลังร้าน โต๊ะ เก้าอี้ ระบบครัว และความ สวยงามทางกายภาพอื่นๆ เพื่ อสร้างความเปลี่ยนแปลงที่จะเหลือ ทิ้งไว้ให้กับร้านค้าอย่างยั่งยืน


SHIDORI - BUNKA COMMUNITY SPACE


Chidori-Bunka ตั้งอยู่ในโอซากา เดิมเป็นอาคารที่อยู่อาศัยซึ่งมีผู้ หญิงอายุ 90 ในปี 2014 อาคารที่ถูกปล่อยว่างหลังนี้ ได้มีการ ปรับปรุง จนหลังจากเกือบ 3 ปี ได้เปิดสู่สาธารณะ ศูนย์ชุมชนพื้ นที่ ศิลปะร้านค้าและบาร์ เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจําวันของผู้คน บริเวณนีจ ้ ะค่อยๆกลายเป็นศูนย์กลางสําหรับศิลปินและผูค ้ นทีม ่ ค ี วาม คิดสร้างสรรค์ เป็นพื้นทีเ่ ก็บข้อมูลขนาดใหญ่สาํ หรับศิลปินทีส ่ ามารถ ใช้พ้ื นที่ได้ฟรี



CHURCH HALL COMMUNITY RCKa converts former church hall into colourful community centre

THE GRANVILLE เป็นพื้ นที่ทํางานและศูนย์กลางชุมชนที่ต้ง ั อยู่ใน South Kilburn มีพ้ื นที่ทํางานให้กับผู้ประกอบการในท้องถิ่นและเป็นพื้ นที่สําหรับจัด กิจกรรมชุมชน เป็นพื้ นที่ให้คําแนะนําทางธุรกิจ การฝึกอบรมการ จ้างงาน และยังมีฟง ั ก์ช่น ั เดิมของชุมชนมาไว้ด้วยกันอย่างศูนย์เด็ก ไปจนถึงห้องครัวชุมชน เกิดจากการปรับปรุงโบสถ์ในศตวรรษที่ 19 เป็นการฟื้ นฟู ชุมชนให้ คนในท้องถิน ่ มัน ่ ะนําทรัพยากรชุมชนทีม ่ ค ี า่ นีก ้ ลับมาใช้อย่างเต็ม ่ ทีจ ่ มุง ประสิทธิภาพ ก่อให้เกิประโยชน์สูงสุดกับตัวชุมชนและคนในชุน



SITE ANALYSIS

HAROON COMMUNITY CHAROENKRUNG 36

SITE CHAROENKRUNG ROAD BTS TRANSPORT PIER


THE WALL - GATEWAY

chao praya river

haroon mosque

old customs house

ng 36

enkru

charo

embassy of france

MAIN ENTRANCE


WHAT HAPPEN IN THIS SPACE? ทางเข้าหลักของชุมชน มีรา้ นอาหารตัง ้ แต่ปากทาง เข้าชุมชนตลอดแนวทาง เดิน ทําให้มผ ี ค ู้ นเดินผ่านตลอด เวลา ทั้งคนในชุมชนและ นอกชุมชน เป็นร้านอาหารที่ขายตาม อัธยาศัย และไม่ถาวร ได้ รับการอนุญาติจากคณะ กรรมการชุ ม ชนเพื่ อให้ คนในชุมชนมีรายได้

PROBLEM ทางเข้าแคบ ร้านอาหารเพิ่ มขึ้น ที่นั่งไม่พอ (วันศุกร์คนจะเยอะก ว่าปกติ) ความสะอาด




MULTIPURPOSE BUILDING

chao praya river

haroon mosque

old customs house

ng 36

enkru

charo

embassy of france


WHAT HAPPEN IN THIS SPACE? อาคาร1ศตวรรษ มัสยิดฮารูณ อาคาร 3 ชั้น ตั้งอยู่ตรงกลางของ ชุมชน ตรงข้ามกับมัสยิดฮารูณ มีทาง เชื่ อ มจากชั้ น สองของมั ส ยิ ด และตั ว อาคารสามารถเดินถึงกันได้ อาคารหลัง นี้เป็นพื้ นที่ส่วนกลางของคนในชุมชน ประกอบด้วย 1.สํานักงานคณะกรรมการชุมชน 2.มูลนิธิฮารูน 3.ห้องเรียน 4.ห้องสมุด บริเวณหลังอาคารเป็นกุโบร์ (สุสาน) และเป็ น พื้ น ที่ สี เ ขี ย วขนาดใหญ่ ข อง ชุมชน


FRIST FLOOR

THIRD FLOOR

SECOND FLOOR


MULTIPURPOSE BUILDING EXISTING


USER

คณะกรรมการชุมชน

CHILDREN 3 - 12 y

เด็กในชุมชนและชาว ต่างชาติเข้ามาเรียน อัลกุรอานและศาสนา

MOSQUE MULTIPURPOSE BUILDING

FOREIGNER

เข้ามาละหมาดใน มัสยิดทุกวัน


ANALYSIS

GENERAL

คนทั่วไปที่มาซื้ออาหาร เป็นทางผ่านของกลุม ่ คนและ นักท่องเที่ยวปั่นจักรยาน

GATEWAY CIRCULATION

RESIDENT

ผู้อยู่อาศัยในชุมชน

แม่ค้า ขายอาหารบริเวณทาง เดินเข้าออกของชุมชน


TARGET

40% TOURIST

30% FOREIGNER

70%

นักท่องเทีย ่ วและ ผู้เยี่ยมชมทั่วไป

ชาวต่ า งชาติ ศ าสนา อิสลามทีต ่ อ ้ งการทีพ ่ ก ั และอาหารฮาลาล


GROUP

15% STUDENT

15% CREATIVE

30%

นักออกแบบหรือนักคิด สร้างสรรค์ ทีส ่ นใจลงพื้นทีศ ่ ก ึ ษา ชุมชนและพั ฒนา

นักเรียน / นักศุกษา ทีส ่ นใจเรียนรูเ้ กีย ่ วกับ ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรมของคนใน ชุมชน


CONCEPTUAL IDEA

พื้นทีส ่ ว่ นตัวทีเ่ ปิดรับคนภายนอกเข้ามาสัมผัสชุมชนผ่านความอยากรูเ้ รือ ่ งราว ประวัติศาสตร์ ภาษา หรือผ่านวัฒนธรรมเรื่องอาหาร เรียนรู้ในความแตก ต่าง สร้างการเรียนรู้ ชุมชนที่มีต้นทุนทางศิลปะวัฒนธรรมอย่างสูง อธิบาย ด้วยภาพใหม่ท่ไี ม่ใช่การมองจากคนนอกในมุมองแบบเดิม

MEET LEARNING SHARING LIVING


PROGRAMING DIAGRAM

GATEWAY

CIRCULATION

MAIN ENTRANCE

BUILDING

CO-RESTAURANT

SEAT

NEW FUNCTION

FOOD WORKSHOP

GALLERY

OLD FUNCTION

OFFICE

?

LIBRARY

CLASSROOM

COMMUNITY HUB

HOSTEL


IDEA DEVELOPMENT


GATEWAY


อาคาร บ้านฮารูณ

THE WALL

CO-RESTAURANT

มีหน้าร้าน

ไม่มีหน้าร้าน (ริมกําแพง)

เบอร์เกอร์ด๊ะ

1

HAWA ผัดไท

5

เดียร์/นก อาหารตามสัง ่

8

2

โรติน่ี

6

หวานเย็น ปังเย็น นํา้ ปั่น

9 ช.ชา ฮารูณ

3

ข้าวราดแกง

7

น้าเบี๊ยะ ขนมหวาน

10

4

ก๋วยเตี๋ยวซอและ

โต๊ะวอ อาหารตามสั่ง


CO-RESTAURANT

THE WALL



COMMUNITY HUB


INSIDER

OUTSIDER

COMBINE SPACE


MULTIPURPOSE BUILDING

ZONING

CLASSROOM

LIBRARY

COMMITTEES OFFICE

GALLERY

RELIGIOUS CEREMONY ROOM

FOOD WORKSHOP



HOSTEL



ZONING

RECEPTION

DORMITERY ROOM

COMMON AREA

BATHROOM / WC

STORAGE ROOM



FUNDAMETAL REFERENCES Institute of Islamic art Thailand room selected : series vol.02 100 design hostel worldarchitecture.org www.dezeen.com ผสานวัฒนธรรมผ่าน 'ข้าวหมก' จานอาหารรวมใจ 'ชุมชนมัสยิดวัดม่วงแค' www.voicetv.co.th บางเสียงศรัทธาจากชุมชนมุสลิมฮารูณพื้ นที่ศักดิ์สิทธิ์กับมิติแห่งความรัก www.sarakadee.com ลายแทงศิลปะอิสลามในมัสยิดและอาคารเก่าย่านเจริญกรุง - The Cloud readthecloud.co › walk-islamic-art-trip adaymagazine.com/halal-haroon-style-bkkdw-2019 trawellthailand.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.