PROJECT NAME
INTRODUCE ABOUT THESIS ประเภทงานศิลปนิพนธ์ : ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน Interior design ชื่อโครงการ : โครงการออกแบบศูนย์กลางชุมชนส�ำหรับ ผู้สูงอายุ
Design a community center for the elderly.
ผู้ด�ำเนินงานศิลปะนิพนธ์ : นางสาวกุสุมา เกิดสุข 5903607 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ปรึกษาโครงtการ : อาจารย์ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวัฒน์
Objective
วัตถุประสงค์
- ต้องการปรับเปลี่ยนพื้นที่ท�ำกิจกรรมส�ำหรับผู้สูงอายุ ที่เข้าไปใช้งานพื้นที่ - ต้องการเพิ่มพื้นที่ส�ำหรับให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับทางด้านร่างกาย และจิตใจเพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้สูงอายุในระยะเริ่มต้น - ต้องการเพิ่มพื้นที่ที่สามารถรองรับรถเข็นวีลแชร์ที่ผู้สูงอายุ ใช้งาน
Expectation
ผลที่จะได้รับ
- ศึกษาเกี่ยวกับจุดเริ่มต้นของการเสื่อมของสภาพร่างกายใน ช่วงวัยของผู้สูงอายุ - ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยผลกระทบของการเสื่อมของสภาพ ร่างกายในช่วงวัยของผู้สูงอายุ - ศึกษาเกี่ยวกับแนวทางป้องกันและแก้ไขในระยะเริ่มต้นของการ เสื่อมของสภาพร่างกายในช่วงวัยของผุ้สูงอายุ
สถานการณ์ของผู้สูงอายุ ในปี 2562 ในขณะที่ ป ระเทศไทยก� ำ ลั ง จะ เข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” ในอีกไม่กี่ ปีข้างหน้า การจัดสร้างระบบและนโยบาย เพื่อรองรับประชากรกลุ่มนี้จึงมีความส�ำคัญ ยิ่ง เพราะต้องท�ำความเข้าใจสถิติโครงสร้าง ประชากรที่เปลี่ยนแปลงลักษณะ โดยรวมของ กลุ่มผู้สูงอายุให้มากที่สุด เพื่อการออกแบบ ระบบที่ ส ามารถช่ ว ยเหลื อ กลุ ่ ม ผู ้ ส งู อ ายุ ไ ด้ อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับผู้สูงอายุ แต่ละกลุ่ม และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ จริง
“ผู้สูงอายุ” หรือกลุ่ม ประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี เป็นต้นไป ถือว่าเป็นประชากรกลุ่ม เฉพาะ ที่มีทั้งความเปราะบาง และ ความเสี่ยง ต้องการกระบวนการ พิ เ ศษในการเข้ า ถึ ง การเสริ ม สร้ า ง สุขภาพและสุขภาวะที่ดี
ในปี 2560 ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ จ�ำนวน 11.3 ล้านคน
ชาย 44.9%
หญิง 55.1%
ที่มา : มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส,ผส.) และสถาบันวิจัยสังคมและประชากร มหาวิทยาลัย มหิดล 2561
ในปี 2564 คาดว่าประเทศไทยจะกลาย เป็นสังคมสูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete Aged Society) มี ผู้ สู ง อายุ ท่ี ดู แ ล ตัวเองได้ 96.9%
มี ผู้ สู ง อายุ ที่ ต้ อ ง พึ่ งพาผู้อ่น ื ในบาง กิจกรรม 2%
มี ผู้ สู ง อายุ ท่ี ดู แ ล ตัวเองได้ 96.9% มี ผู้ สู ง อายุ ที่่ ดู แ ล ตัวเองได้ 96.9%
ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ อ า ศั ย อ ยู่ ค น เ ดี ย ว ต า ม ล�ำพั ง 10.8%
ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ อ า ศั ย อยู่กับคู่สมรสตาม ล�ำพั ง 23.3%
ที่มา : มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส,ผส.) และสถาบันวิจัยสังคมและประชากร มหาวิทยาลัย มหิดล 2561
THEORY OF AGING
เมื่อคนเราอายุมากขึ้น สังขาร ของเราก็ย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ตาม วัฏสงสาร คือ เกิด แก่ เจ็บและตาย การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยา เช่น การเปลี่ยนแปลงด้านผิวพรรณ รูป ลักษณ์ภายนอก อวัยวะต่างๆ ก็ย่อม เดินทางไปสู่ทางเสื่อมลงๆ ดังเช่น รถยนต์ ยิ่งนานวัน อายุการใช้งานที่ มากขึ้น ก็ย่อมท�ำให้ประสิทธิภาพและ ศักยภาพต่างๆลดลง ได้มีนัก วิทยาศาสตร์หลายกลุ่มหลายคน ที่ พยายามจะอธิ บ ายทฤษฎื ค วามแก่ (Theory of Aging) ว่าเกิดขึ้นได้ อย่างไร ท�ำไมเมื่ออายุมากขึ้น จึงต้อง แก่ จึงต้องมีโรคภัยหรือมีการเจ็บป่วย ที่ท�ำให้เราต้องสูญเสียการท�ำงานบาง อย่าง หรือเกิดการตายในที่สุด
1.เส่ื่อมตามโปรแกรมที่ตั้งไว้แล้ว (Biological Clock)
ในวงจรชีวิตของคน หรือสัตว์ทั้ง หลาย ได้มีการตั้งเวลาไว้ก่อนแล้วว่า อายุขัยของสิ่งมีชีวิตแต่ละประเภทนั้น ควรจะประมาณกี่ปี เช่น สุนัขก็จะ ประมาณ 10-15 ปี คนเราก็ประมาณ 70-80 ปี
2.เสื่อมจากอุบัติเหตุหรือ ปัจจัยภายนอก (Accidental or environment aging) เป็นการเสื่อมหรือการสิ้นอายุขัย ที่เราท�ำขึ้นมาเอง เช่น จากอุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม การไม่ดูแลใส่ใจในสุขภาพ ตนเอง เป็นต้น ที่มา : เอกสารอ้างอิง Theories on Aging,Board Examination and Fellowship Review and Study guide by Dr.Ronald Klatz and Dr.Robert Goldman,2007-2008 Edition แปล เรียบเรียงและค้นคว้าโดย นพ.จรัสพล รินทระ
BIOLOGICAL CLOCK
นาฬิกาชีวิตคืออะไร?
นาฬิกาชีวิตคือการท�ำงานของร่างกาย คนเราที่ถูกควบคุมเป็นวงจร ซึ่งให้มีการกระ ท�ำตามเวลา 24 ชั่วโมง เป็นกิจวัตรประจ�ำวัน ซ�้ำๆ วนไป เช่น เวลาของการนอนหลับ การ ง่วงนอน และการหลั่งฮอร์โมน นาฬิกาชีวิตนี้ จะขึ้นอยู่กับแสงสว่างและอุณหภูมิภายใน ร่างกาย โดยสมองจะมีหน้าที่ควบคุมการ ท�ำงานระบบต่างๆ ด้วยการส่งสัญญาณ เตือนให้เกิดอาการดังกล่าวเมือ ่ ถึงเวลาทีเ่ คยท�ำ
นาฬิกาชีวิตท�ำงานยังไง?
ในสมองของคนเราจะมีกลุ่มเซลล์ที่ชื่อ ว่า “นิวเคลียสซูพราไคแอสมาติก” ท�ำหน้าที่ส่ง สัญญาณมายังสมองส่วนที่ท�ำงานควบคุม การท�ำงานของระบบต่างๆ เมื่อมีแสง อุณหภูมิ และความมืดมากระตุ้นอย่างเช่น ระบบฮอร์โมนหรือระบบควบคุมอุณหภูมิ หาก เป็นตอนเช้าก็จะกระตุ้นให้มีการชะลอการหลั่ง สารเมลาโทนินเพื่อไม่ให้เกิดการง่วงนอน แต่ ถ้าเป็นเวลากลางคืนก็จะส่งสัญญาณไป กระตุ้นให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนินมาก ขึ้น เพื่อให้เรารู้สึกง่วงนอนและอยากนอนหลับ นั่นเอง
นาฬิกาชีวิตมีผลกระทบอะไรกับการ ด�ำเนินชีวิตบ้าง?
นาฬิกาชีวิตมีผลท�ำให้ระบบการท�ำงาน ของร่างกายแปรปรวน ส่งผลให้ร่างกายหลั่ง สารเมลาโทนินได้น้อยลง เมื่อเกิดขึ้นเช่นนี้ บ่อยๆ ก็จะท�ำให้เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจน เกิดเป็นโรคต่างๆ ดังนี้ เกิดการอ่อนเพลีย เช่น การเดินทางไกล ท�ำให้ ร่างกายไม่สามารถท�ำงานได้ตามปกติ ปรับตัวไม่ได้ เนื่องจากนอนไม่หลับเพราะต้อง ท�ำงานเวลากลางคืน ร่างกายท�ำงานไม่ได้ตามปกติ เช่น เกิด อุบัติเหตุบาดเจ็บร้ายแรงหรือเป็นโรคซึมเศร้า รุนแรงจนท�ำให้ร่างกายไม่สามารถหลับได้ เจ็บป่วยง่าย เพราะไม่สามารถควบคุมเวลา นอนหลับได้ ท�ำให้นอนหลับไม่เป็นเวลาหรือ หลับได้ทุกที่
ที่มา : www.honestdocs.co/what-is-life-clockwhat-is-the-impact-on-the-lifestyle
จะเกิดอะไรขึ้นกับ Biological clock เมื่อคนเราอายุมากขึ้น ?
อายุที่มากขึ้น ดวงตาที่เสื่อมสภาพลง ท�ำให้รับแสงสว่างได้น้อยลง อุณหภูมิร่างกาย เมตาบอริซึม การหลั่งฮอร์โมนส์ ที่ลดลง ส่ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต ่ อ ก า ร ป รั บ เ ว ล า ต า ม จั ง ห ว ะ Biological clock ส่งผลให้เกิดปัญหาการนอน ได้ นอกจากนั้นการท�ำกิจกรรมลดน้อยลง การ อยู่แต่ในบ้าน ก็ท�ำให้เสียโอกาสที่จะได้รับแสง สว่างเช่นกัน ก า ร น อ น มี ค ว า ม ส� ำ คั ญแ ล ะ จ� ำ เป ็ น ต ่ อ ก า ร ประมวลผลความทรงจ�ำ ปัญหาการนอนส่งผล เสียต่อร่างกาย สัญญาณนาฬิกาภายใน ร่างกายช่วยปรับกระบวนการทางประสาท รวม ถึงกระบวนการซ่อมแซม DNA กระบวนการขจัด ของเสียออกจากเซลล์ร่างกาย หากจังหวะ สัญญาณนาฬิกาเกิดความคลาดเคลื่อน ก็จะส่ง ผลเสียต่อระบบประสาท ท�ำให้เกิดวงจรท�ำลาย การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาเรื่องการนอน ไม่ให้ ได้รับผลกระทบจากการนอนไม่เพียงพอ จึงมี ความส�ำคัญมากส�ำหรับคนที่ต้องเข้าสู่วัยชรา
เป็นธรรมดาที่ว่า เมื่อปริมานแสงสว่างที่ได้ รับในแต่ละวันเปลี่ยนแปลงไป วงจรการนอนหลับ ก็ย่อมเปลี่ยนตาม ผู้สูงอายุกลุ่มดังกล่าวจะเริ่มมี อาการตื่นนอนกลางดึกบ่อยครั้งขึ้น นอนหลับใน ตอนกลางวันบ่อยขึ้น นอกจากนี้สิ่งที่เราพบได้ บ่อยเกี่ยวกับการนอนหลับในผู้สูงอายุ ก็คือ ในผู้ สูงอายุนั้น มักจะเกิดภาวะที่เรียกว่า “การนอน ผิดเวลา” อยู่บ่อยๆ หลายคนมาพบแพทย์แล้วมัก เล่าให้ฟังว่ามักจะ “เข้านอนเร็วและตื่นเช้า” เรื่องการนอนผิดเวลา หรือ นอนก่อนเวลา อันควร นั้นพอจะมีค�ำอธิบายอยู่ คือ เมื่อคนเรา อายุมากขึ้นวงจรการนอนหลับจะเริ่มขยับเข้ามา เร็วกว่าปกติ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ของร่างกายที่เวลาที่อุณหภูมิร่างกายเริ่มต�่ำนั้น ขยับเข้ามาเร็วกว่าปกติเมื่อเทียบกับตอนหนุ่มสาว ท�ำให้ง่วงเร็วขึ้น ส่วนใหญ่อุณหภูมิร่างกายของผู้ สูงอายุจะเริ่มต�่ำตอนประมาน 1-2 ทุ่ม แล้วเริ่มสูง ขึ้นเรื่อยๆหลังจากเข้านอนไปประมาน 8 ชั่วโมง และจะสูงที่สุดเมื่อเวลาประมาน ตี 3 ถึง ตี 4 ดัง นั้นผู้สูงอายุจึงมักเข้านอนแต่หัวค�่ำแล้วตื่นนอนมา เช้ากว่าปกติ ภาวะดังกล่าว เรียกว่า Advanced sleep phase syndrome (ASPS)
ที่มา : www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/diseases-of-sleep-misuse
การรั ก ษาจะเป็ น ไปเพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นและ เสริมความแข็งแรงของวงจรการนอนหลับ ได้แก่ “Bright-light therapy” แต่ในบางคน หากมี การขาดเมลาโทนิ น ร่ ว มด้ ว ยอาจให้ ย าเพื่ อ เพิ่ ม ระดับฮอร์โมนเมลาโทนินในร่างกายได้ Brightlight therapy นับเป็นการรักษาที่ดีที่สุดและได้ ผลมากที่สุดในปัจจุบัน หลักการของมันก็คือ จะ มีการเพิ่มแสงสว่างในช่วงเวลาหนึ่งของวันให้กับ ผู้ป่วย เพื่อเลื่อนเวลาการนอนหลับให้ยืดออกไป ไกลขึ้น ผู้ป่วยจะถูกน�ำมารับแสงสว่างในช่วง บ่ายแก่ๆ หรือ ช่วงเย็นๆอย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อ วัน เพื่อเลื่อนวงจรการนอนออกไป ซึ่งแท้จริง แล้ ว นอกจากจะเลื่ อ นวงจรการนอนออกไปได้ ยังสามารถปรับเปลี่ยนระดับอุณหภูมิ และ ฮอร์โมนเมลาโทนินในร่างกายได้อีกด้วย
“Bright-light therapy” จะเอาสิ่งนี้มาจากไหน ?
Bright-light therapy ที่ดีที่สุดก็คือ “แสงอาทิตย์” นั่นเอง ผู ้ ป ่ ว ยควรออกมาท� ำ กิ จ กรรมกลางแจ้ ง บ้ า งใน ช่วงบ่ายแก่ หรือ ช่วงเย็นๆ วันละ 2 ชั่วโมง เพื่อ เลื่อนเวลาการนอนให้ไกลขึ้น ปกติแล้วการรับ แสงจุดแรกจะเริ่มที่ตาก่อน ดังนั้นในช่วงเวลานี้ก็ ไม่ควรสวมแว่นกันแดดตอนท�ำกิจกรรม แต่ให้ สวมในช่ ว งเช้ า และตอนกลางวั น แทนเพื่ อ ไม่ ใ ห้ วงจรการนอนหลับเลื่อนเข้ามาใกล้อีก นอกจากนี้ ใ นปั จ จุ บั น ยั ง มี ก ารท� ำ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า “Light box” ซึ่งผลิตแสงสว่างได้มากถึง 2500 lux ซึ่งนับว่าช่วยได้มากหากไม่สามารถออกไป ท�ำกิจกรรมกลางแจ้งได้ โดยเฉพาะในผู้สูงอายุที่ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ต้องนอนติดเตียงตลอด
ที่มา : www.bangkokhospital.com/th/disease-treatment/diseases-of-sleep-misuse
TA R G E T GROUP
กลุ่มผู้สูงอายุ ก ลุ่ ม ผู้ สู ง อ า ยุ เ ป็ น ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก ที่ เ ข้ า ไ ป ใ ช้ ง า น ใ น พื้ น ที่ เ นื่ อ ง จ า ก มี ก า ร จั ด กิ จ กรรมที่ ทำ�ให้ ก ลุ่ ม เป้ า หมายได้ พ บปะเจอเพื่ อ นและ ทำ�กิ จ กรรมใหม่ ๆ ที่ น่ า สนใจ
กลุ่มบุคคลทั่วไป ก ลุ่ ม บุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป เป็ น กลุ่ ม เป้ า หมายรองที่ เ ข้ า ไป ใช้งานในพื้นที่ เนื่องจากมี พื้ น ห ล า ย ที่ ส า ม า ร ถ เ ข้ า ไ ป ใ ช้ ง า น ไ ด้ แ ต่ เ ป็ น ก า ร ใ ช้ พื้ น ที่ ร่ ว ม กั บ ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก
LOCATION หอจดหมายเหตุ พุทธทาส อินทปัญโญ ที่อยู่ สวนวชิรเบญจทัศ(สวนรถไฟ) ถนน นิคมรถไฟสาย ๒ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ การติดต่อ 02-936-2800 02-936-2900 086-300-0900 วันและเวลาท�ำการ ทุกวัน เวลา 09.00 -18.00 น. ค่าเข้าชม ไม่เสียค่าเข้าชม
การเดินทาง รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีพหลโยธิน ทางออกที่ 3 หรือ สถานีจตุจักร ทางออกที่ 1 และ 2 รถไฟฟ้า BTS สถานีหมอชิตรถประจ�ำทาง สาย 3, 8, 26, 27, 28, 34, 38, 39, 44, 63, 90, 96, 104, 112, 134, 138, 52, 521, ปอ.พ 11, 550 โดยรถยนต์ส่วนตัว ใช้ถนนวิภาวดีรังสิต
ที่มา : www.bia.or.th/html_th/index.php/contact
PLAN
FLOOR 1
FLOOR 2
FLOOR 3
ELEVATION
ZONING
FLOOR 1
FLOOR 1
FLOOR 2
FLOOR 2
FLOOR 3
SENIOR P L AY G R O U N D เพี ย งแค่ ไ ด้ ยิ น ค� ำ ว่ า ‘สนามเด็ ก เล่น’ อาจจินตนาการถึงเด็กๆ ก�ำลังวิ่ง เล่นอย่างสนุกสนานกับเครื่องเล่นต่างๆ สั บ เ ป ลี่ ย น ห มุ น เ วี ย น กั น ไ ป อ ย ่ า ง ไ ม ่ เหน็ดเหนื่อย บางครั้งภาพเหล่านั้น อยู่ใน สายตาบรรดาผู้สุงอายุที่ก�ำลังเฝ้ามอง ด้วยความเอ็นดู พาให้หวนคิดถึงความ หลังวัยกระเตาะจนอยากย้อนเวลากลับ ไปเป็นเด็กอีกครั้ง
แล้วท�ำไมสนามเด็กเล่น จึงกลาย เป็นเรื่องเคอะเขินทุกครั้งเวลาผู้ใหญ่จะ ไปลองเล่นดูบ้าง ทั้งที่ในความจริง นอกจากความสนุ ก สนานปนรอยยิ้ ม ที ได้รับแล้ว การลงเล่นในสนามส�ำหรับ เด็กและผู้ใหญ่ โดยเฉพาะในช่วงวัยสูง อายุ จ ะช่ ว ยพั ฒ นาความแข็ ง แรงของ กล้ามเนื้อหลัก สร้างสมดุลให้กับ ร่างกาย ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้ ร่างกายแข็งแรง
ที่มา : www.urbancreature.com Content Writer : Narisa S.
GREENFIELDS OUTDOOR
โปรเจกต์สุดคูลอนาคตไกลที่ก�ำลังพัฒนา ในหลายรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา อย่าง แมริแลนด์ เวอร์จิเนีย และ วอชิงตัน ดีซี ที่ชื่อว่า ‘Greenfields Outdoor’ มาพร้อมกับโรงยิม กลางแจ้งซึ่งเต็มไปด้วยเครื่องออกก�ำลังกายทุก รูปแบบ ใช้ได้ทุกเพศทุกวัย ทั้งยังช่วยส่งเสริม การใช้ก�ำลัง ‘กล้ามเนื้อ’ เป็นหลัก โดยมีระดับ ความยากง่ า ยแตกต่ า งกั น ไปที่ ส ามารถปรั บ เปลี่ยนได้เองตามความต้องการ หรือส�ำหรับผู้ที่ บกพร่ อ งทางร่ า งกายบางส่ ว นก็ ส ามารถออก ก� ำ ลั ง กายได้ เ หมื อ นคนปกติ เ ช่ น กั น ที่ ส� ำ คั ญ อุ ป กรณ์ เ หล่ า นี้ ส ามารถติ ด ตั้ ง นอกสถานที่ ไ ด้ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นริมถนน ริมทะเลสาบ สวน สาธารณะ โรงพยาบาล โรงเรียน หรือในพื้นที่ สาธารณะที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ อย่างสนามเด็กเล่น เก่า สนามเทนนิส สนามบาสเก็ตบอล ฯลฯ เรียก ว่ า เป็ น หนึ่ ง ในแนวทางการเปลี่ ย นพื้ น ที่ ใ ห้ มี คุณค่ามากขึ้น เป็นประโยชน์ต่อชุมชน และสร้าง ความเท่าเทียมกันระหว่างคนในสังคมด้วย จุดเด่น : เครื่องเล่นส�ำหรับผู้บกพร่องทาง ร่างกาย ที่มา : www.urbancreature.com Content Writer : Narisa S. www.metrorecreation.com/products/outdoor-fitness www.mediafeed.org/playgrounds-for-older-adults-boost-activity-decrease-loneliness
CENTRAL SENIORS EXCERCISE
ตะลุยดินแดนจิงโจ้กับสวนออกก�ำลังกาย กลางแจ้งส�ำหรับผู้สูงอายุ โดยมีเป้าหมายอันแรง กล้ า ที่ จ ะยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู ้ สู ง อายุ ใ น ชุมชนให้ดีขึ้น ซึ่งอุปกรณ์ออกก�ำลังกายเหล่านี้ได้ รั บ การออกแบบมาเป็ น พิ เ ศษส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ มี อ ายุ มากกว่า 65 ปี เพื่อเน้นการเคลื่อนไหวร่างกายที่ ถูกต้อง ทั้งยังเหมาะส�ำหรับการกายภาพบ�ำบัด ของผู ้ ป ่ ว ยในการฟื ้ น ฟู ร ่ า งกายและที่ ส� ำ คั ญ อุปกรณ์ทั้ง 13 ชิ้นนี้สามารถออกก�ำลังได้แทบทุก ส่วนของร่างกาย เรียกว่าตั้งแต่นิ้วมือจรดปลาย เท้าเลยล่ะ แถมบริเวณอุปกรณ์แต่ละชิ้นยังมีป้าย แนะน�ำการใช้งานรวมถึงวิดีโอสาธิตขั้นตอนอย่าง ละเอียด เพื่อช่วยให้คุณใช้อุปกรณ์ได้อย่าง ปลอดภัยมากขึ้น ความพิเศษของอุปกรณ์ยังไม่ หมดเท่านั้น เพราะสามารถปรับระดับได้ตาม ต้องการตั้งแต่ระดับเริ่มต้น ระดับกลาง และระดับ ต�่ำ ท�ำให้ผู้สูงอายุแต่ละช่วงวัยสามารถใช้งานได้ เข้ากับตัวเองมากที่สุดจุดเด่น : การปรับระดับการ ใช้งานตามความเหมาะสม
ที่มา : www.urbancreature.com Content Writer : Narisa S. www.larkindustries.com.au/portfolio_post_list/central-park-seniors-exercise-hoppers-crossing www.seniorsnews.com.au/news/seniors-excited-exercise-playground-melbourne
HYDE PARK SENIOR PLAYGROUND
แ น ว คิ ด ข อ ง ผู ้ ส ร ้ า ง ส น า ม เ ด็ ก เ ล ่ น นี้ ออกแบบให้กับทั้งสองช่วงวัย เพราะไม่ว่าจะเด็ก หรื อ ผู ้ ใ หญ่ ก็ มั ก จะมี ค วามเครี ย ดได้ เ หมื อ นกั น ภายในมี อุ ป กรณ์ ที่ ไ ด้ รั บ การออกแบบมาเป็ น พิเศษเฉพาะส�ำหรับผู้สูงอายุ พร้อมรายละเอียด การใช้ ง านอย่ า งชั ด เจนของเครื่ อ งเล่ น แต่ ล ะชิ้ น ซึ่ ง ช่ ว ยในเรื่ อ งของการยื ด หยุ ่ น กล้ า มเนื้ อ และ สร้างความสมดุลให้กับร่างกาย เรียกว่า เป็นการออกแบบที่ตอบโจทย์การใช้งานของคน ทุกเพศทุกวัยได้อย่างลงตัว ผู ้ ส ร้ า งเชื่ อ ว่ า บางครั้ ง ผู ้ สู ง อายุ อ าจจะอยาก ออกไปเล่นเหมือนเด็กๆ บ้าง แต่การออกไปท�ำ กิจกรรมในแต่ละครั้งอาจกลายเป็นเรื่องยาก ไม่ เหมื อ นกั บ ตอนที่ ยั ง อายุ ยั ง น้ อ ยที่ ท� ำ อะไรก็ กระฉับกระเฉงไปไหนมันก็ง่าย จากปัญหาที่เกิด ขึ้นท�ำให้องค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไรลงมือสร้าง พื้นที่เล่นและกิจ กรรมที่เป็นมิตรกับผู้ สูงอายุให้ กลับไปเล่นเป็นเด็กได้อีกครั้ง จุดเด่น : เครื่องเล่นเฉพาะส�ำหรับผู้สูงอายุ ที่มา : www.urbancreature.com Content Writer : Narisa S. www.huffpost.com/entry/playgrounds-for-seniors www.royalparks.org.uk/parks/hyde-park/things-to-seeand-do/sports-and-leisure/hyde-park-senior-playgrounds
SKETCH
RECEPTION
ทั้งหมด 84.88 ตรม.
WAITING AREA
ทั้งหมด 318.20 ตรม.
BOOK STORE&LIBRARY ทั้งหมด 199.73 ตรม.
CLINIQUE&RELAX AREA ทั้งหมด 199.73 ตรม.
CASE STUDY
LAN+:FALCOGNANA ELDERLY CENTER
'
centro anziani falcognana' โดย IaN + ตั้งอยู่ใน falcognana, การ ปฏิบัติภาษาอิตาเลียนIaN +ได้เสร็จสิ้น การ 'ศูนย์ผู้สูงอายุฟัลคอญนา' ซึ่งตั้งอยู่ ที่ฟาลคัญญานาประเทศอิตาลี ตั้งอยู่ใน บริเวณรอบนอกของใจกลางเมืองโรมรูป ทรงตื้นและความซับซ้อนของสีที่ได้รับแรง บันดาลใจจากธรรมชาติมีจุดมุ่งหมายที่ จะเปลี่ยนจากภูมิทัศน์ของเมืองไปสู่ชนบท ที่ อ ยู ่ ใ กล้ เ คี ย ง สองรู ป ทรงสี่ เ หลี่ ย ม คางหมูตั้งอยู่บนเนินเขาที่ลาดเอียงเบา ๆ เชื่อมโยงกันด้วยบันไดและทางลาดที่เข้า ถึ ง ได้ ง ่ า ย ผนั ง กระจกของเส้ น รอบวง อนุ ญ าตให้ แ สงธรรมชาติ เ ข้ า มาและให้ ผู ้ อยู ่ อ าศั ย เชื่ อ มต่ อ กั บ สภาพแวดล้ อ ม ภ า ย น อ ก ไ ด ้ อ ย ่ า ง ต ่ อ เ นื่ อ ง
ที่มา : www.designboom.com/architecture/ ian-falcognana-elderly-center/
YIYUAN SERVICE CENTRE FOR THE ELDERLY โครงการตั้งอยู่ในเมือง Hotai, Xiqing District, เทียนจินมีขนาด ประมาณ 8000 อาคารเดิมเป็นอาคาร ส�ำนักงานที่ไม่ใช้งานคอนกรีตซึ่งควรจะ เปลี่ยนเป็นศูนย์เกษียณอายุที่อบอุ่นและ ทันสมัย การแปลงรูปแบบนี้เป็นสิ่งที่ดี เลิ ศ ของการฟื ้ น ฟู เ มื อ งภายใต้ ค วาม ท้าทายในแนวโน้มของประชากรสูงอายุ ยิ่ ง ไ ป ก ว ่ า นั้ น ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง อาคารผู้สูงอายุไม่เพียง แต่เกี่ยวกับการ เปลี่ ย นแปลงการใช้ ที่ ดิ น เท่ า นั้ น ความ ท้ า ทายจะมาจากความขั ด แย้ ง ภายใน ของอาคารต่าง ๆ ปัญหาหลักที่ต้อง แก้ไขคือการแบ่งเชิงพื้นที่ที่เกิดจากเครือ ข่ายคอลัมน์เดิม นักออกแบบค่อยๆปรับ กลยุ ท ธ์ รู ป แบบให้ เ หมาะสมหลั ง จาก ค� ำ นวณสั ด ส่ ว นของการจั ด สรรพื้ น ที่ หลายรอบซึ่ ง น� ำ ไปสู ่ ก ารแก้ ป ั ญ หาการ รวมเข้ากับการหายตัวไป ในที่สุดเสา หลัก 96 ต้นส่วนใหญ่ถูกจัดสรรไปยัง พื้นที่ด้านนอกห้องนอนและผสานเข้ากับ ห้ อ งสุ ข าและพื้ น ที่ ส าธารณะอย่ า งชาญ ฉลาด ด้วยความช่วยเหลือของกลยุทธ์ เครื่องบินที่มีประสิทธิภาพหลีกเลี่ยงการ ปรับโครงสร้างหลักมากเกินไป ยิ่งไป กว่านั้นยังปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ พื้ น ที่ โ ดยรวมและท� ำ ให้ ส ภาพความเป็ น อยู ่ ข องผู ้ สู ง อายุ ก ว้ า งขวางสะดวก สบายและสะดวก
ที่มา : www.archdaily.com/914158/yiyuan-service-centre-for-the-elderly-shanghai-tianhua-architectural-design-star-beijing-branch
IKEA AND QUEEN OF SWEDEN ADEPT MODULAR BOLKLOK HOUSING FOR THE ELDERLY
IKEAและ Skanska ก�ำลังร่วม มือกับสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนในการ เปลี่ ย นที่ อ ยู ่ อ าศั ย แบบแยกส่ ว นของ BoKlok ที่จะตอบสนองความต้องการ ของผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะสมองเสื่อม Named SilviaBo โครงการที่อยู่อาศัย ได้รับการพัฒนาในสวีเดนโดยIKEA มันจะขึ้นอยู่กับหน่วยท�ำจากไม้ส�ำเร็จรูป เช่นเดียวกับ BoKlok แต่รวมสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกทางสังคมที่ใช้ร่วมกันและ การตกแต่งภายในที่ได้รับการปรับแต่ง ด้วยรูปแบบที่เป็นมิตรกับสมองเสื่อม อพาร์ทเมนท์ SilviaBo หกแห่งแรก ก� ำ ลั ง ก ่ อ ส ร ้ า ง แ ล ้ ว เ ส ร็ จ น อ ก เ มื อ ง สตอกโฮล์มและ IKEA ก�ำลังอยู่ในขั้น ตอนแรกของการจั ด หาที่ ดิ น ส� ำ หรั บ โครงการในอนาคตที่อื่น
ที่มา : www.dezeen.com/2019/08/20/ikea-boklok-prefabricated-silviabo-elderly-housing/
KENGO KUMA + ASSOCIATES: CENTER FOR THE ELDERLY IN RIKUZENTAKATA โดมุสคุมะก�ำลังร่วมมือกับชุมชน Sant’Egidio สมาคมอาสาสมัครชาว โ ต โ ฮ กุ ส ถ า น เ อ ก อั ค ร ร า ช ทู ต อิ ต า ลี ประจ� ำ ประเทศญี่ ปุ ่ น และคู ม ะแล็ บ ของ มหาวิ ท ยาลั ย โตเกี ย วเพื่ อ เสนอพื้ น ที่ สังคมใหม่ที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับชุมชนผู้สูง อายุ ใน Rikuzentakata เมืองที่ถูก ท�ำลายไปเมื่อปีที่แล้ว โครงสร้างไม้ขัด โค้งที่น�ำเสนอนั้นน�ำรูปร่างมาจากใบบัว ซึ่งเป็นพืชใบกว้างที่เติบโตบนพื้นผิวของ น�้ำตามธรรมชาติ “ ดอกไม้เป็น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องความสั ม พั น ธ์ ที่ เ ปราะ บางระหว่างชีวิตและธรรมชาติในขณะที่ โ ค ร ง ก า ร ส ร ้ า ง ค ว า ม ห วั ง ส� ำ ห รั บ อ น า ค ต ที่ ก� ำ ลั ง จ ะ ม า ถึ ง เ มื่ อ สถาปัตยกรรมจะได้รับการออกแบบเพื่อ เคารพธรรมชาติและไม่ขัดต่อมัน” แนวคิดนี้เป็นแบบญี่ปุ่นไปเรื่อย ๆ และ โครงสร้างเองก็จะเกิดขึ้นในรูปแบบโดย ใช้ไม้ในท้องถิ่นซึ่งประกอบไปด้วยช่างไม้ จากพื้นที่ใกล้เคียงของ Kasennuma โครงการที่ เ ริ่ ม ต้ น การระดมทุ น อย่ า ง เป็นทางการจะท�ำหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ ของการฟื้นฟูร่างกายและจิตวิญญาณ ข อ ง ญี่ ปุ ่ น แ ล ะ บ ท ก วี บ ท ก วี เ กี่ ย ว กั บ น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ ค ว า ม ยื ด ห ยุ ่ น ข อ ง วัฒนธรรม
ที่มา : www.architizer.com/blog/inspiration/ stories/kengo-kuma-lotus-leaf/