PERFORMING ART CENTER BOOK

Page 1

Performing Arts .


Kanchanisara Noipann



โครงการศิลปนิพนธ์

คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาวัยรังสิต

ชื่อโครงการ

่ สดงความสามารถ ทางด้าน Performing Art เพือ ่ เด็ก : โครงการออกแบบสถานทีแ และเยาวชน Performing Art Center

่ รึกษาโครงการศิลปะนิพนธ์ : อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล ทีป ประเภทของงานศิลปนิพนธ์

: ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน ( INTERIOR DESIGN )

ผูด ้ าํ เนินงาน

: นางสาว กัญญ์ชนิสรา น้อยพันธ์ 5906167 นักศึกษาปีท่ี 4 คณะศิลปะและการ ออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาวัยรังสิต


PROJECT BACKGROUND .


้ มามากมาย หลายด้าน ไม่ว่าจะเป็น เนื่องจากในปัจจุบน ั จังหวัดเชียงรายมีศิลปะและการแสดงเพิม ่ ขึน

้ ทุกปี เพือ ่ พัฒนาความสามารถ ร้องเพลง เล่นดนตรี แสดงละครเวที อย่าง HO โฮะ เป็นการแสดงที่ เกิดขึน

ทางด้านต่าง ๆ ของกลุม ่ เยาวชนทีเ่ พิง่ จบ มัธยมปลาย จากโรงเรียนต่างๆของเชียงราย เข้ามาร่วมกิจกรรม

้ ตอนต่าง ๆและจะมีกลุม ทําละครเวที โดยจะมีตวามขัน ่ รุ น ่ พีเ่ ข้ามาช่วยเหลือ ทําให้เกิด มิตรภาพ หรือสิง่ ต่างๆ ่ บมัธยมมีแนวทางต่าง ๆ เพิม ้ มาสนใจทางด้านไหน และ ตามมา กิจกรรมเหล่านี้มเี จตนาให้เยาวชนทีจ ่ มากขึน

่ ี ต่อยอดได้ในอนาคต ใช้ความรู ค ้ วามสารถทีม

่ นับสนุน ความสามารถของเยาวชนได้เท่าทีค ่ วร แต่ในปัจจุบน ั ไม่มพ ี น ื้ ทีส ่ วรจะมีสถานทีส ่ นับสนุนสําหรับการแสดงความสามารถ เพราะเหตุน้ี จึงมองเห็นถึงความจําเป็น ทีค

่ ให้เด็กและเยาวชนรุ น ้ เพือ ่ เหล่านี้โดยตรง เพือ ่ ใหม่ มีพฒ ั นาการทางด้าน ศิลปะและการแสดงเพิม ่ มากขึน

สร้างอนาคตให้กบ ั ตนเองในภายหลังได้

่ ะศิกษากิจกรรมและความต้องการของเยาวชน เพือ ่ นํามาใช้ในการ ด้วยสาเหตุขา้ งต้น จึงต้องการทีจ

่ สดงความสามารถทางด้าน Performing Art เพือ ่ เด็กและเยาวชน เพือ ่ ออกแบบโครงการออกแบบสถานทีแ ให้เกิดประโยชน์


Objective . วัตถุประสงค์ ่ วกับศิลปะ การแสดงทางด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ร้องเพลง เล่น ศึกษาเกีย ดนตรี หรือ การแสดง

ศึกษาวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงราย ว่ามีความแตกต่างทางด้านใดบ้าง

ศึกษาความต้องการ พฤติกรรม ของผูท ้ ส ี่ นใจทางด้านศิลปและการแสดง ่ ศึกษาการออกแบบศูนย์ศิลปะการแสดงเพือ ่ พัฒนาเยาวชน เพือ

Expectation . ผลที่คาดว่าจะได้รับ ่ี นใจ Performing arts มีพน ่ สดงความสามารถที่ การออกแบบให้ผท ู้ ส ื้ ทีแ ้ ชัดเจนมากขึน

่ ตอบสนอง ความต้องการทีจ ่ ะพัฒนาองค์กรทีเ่ กีย ่ วข้องทาง ออกแบบเพือ ด้าน ศิลปและการแสดงเติบโตไปพร้อม ๆ กัน

่ เป็นการสือ ่ กลาง ทางด้านวัฒนธรรมต่าง ๆ ทีม ่ ค เพือ ี วามเป็นเอกลักษณ์

้ ของจังหวัดเชียงรายให้มค ี วามชัดเจนมากขึน


Area of Study . ขอบเขตการศึกษา

่ วกับศิลปะการแสดงทางด้านต่าง ๆ ศึกษาเกีย

ศึกษาวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงราย

้ ทีโ่ ดยรอบเพือ ่ ดูความไปได้ทางด้าน ศึกษาพืน

ต่างๆ

ศึกษากลุม ่ เยาวชนจังหวัดเชียงราย


RESEARCH METHODOLOGY . ระเบียบวิธีวิจัย


HO โฮะ โฮะ คือ กิจกรรมของ ชมรมนักศึกษา จังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่ เข้ามาสนับสนุนความสามารถของเยาวชนจังหวัดเชียงราย ่ บชัน ้ มัธยม โดยกิจกรรมดังกล่าวเป็นกิจกรรมทีเ่ ปิดรับเด็กเยาวชนทีจ ศึกษาปีท่ี 6 ของทุกๆปี เข้ามาทําละครเวทีและกิจกรรมต่างๆร่วมกัน ่ ่ หาประสบการณ์ใหม่ๆ และเพือแสดงศั ่ เพือ กยภาพทางด้านต่างๆ

่ วกับ Performing Arts ของตนเอง ทีเ่ กีย

โดยจะมี รุ น ่ พีเ่ ข้ามาช่วยแนะนํา ว่าควรเริม ่ หรือทําอย่างไร โดยเป็น ่ อนน้อง เพือ ่ พัฒนาละครเวที และ กิจกรรมอืน ่ ๆทีจ ่ ะเกิดขึน ้ ระบบพีส

่ เี กิดขึน ้ และเรียนรู ส ให้กลุม ่ เยาวชนพัฒนาศักยภาพ มีมต ิ รภาพทีด ้ งิ่

่ ะได้ปฏิบต ใหม่ๆ ทีจ ั งิ านจริง

้ ในแต่ละปีนั้น เด็กหรือเยาวชนทีม ่ ศ แต่ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน ี ักยภาพแต่ไม่มี

่ บ ่ ะสนับสนุน สถานทีร ั รอง ในการแสดงความสามารถ และองค์กรทีจ

ได้อย่างชัดเจน


IMPLEMENTATION .


การเชิญชวน ่ ออนไลน์ ผ่านสือ ต่างๆ

สรุ ปยอดผู้ ทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม หาหัวข้อหรือธีมของ งานในปีนั้นๆ สรุ ป ตําแหน่งหน้าที่

หาสถานทีใ่ นการ ซ้อมละคร ทําฉาก หรือประชุมงานต่างๆ ่ งทีส ่ นใจ สรุ ปเนื้อเรือ

ทํางานซ้อม เตรียมอุปกรณ์ ทําฉากต่างๆ และการขอสปอร์น เซอร์

ปรับปรุ งและแก้ไขซ�าๆ ่ ออนไลน์ โปรโมท ทางสือ หรือช่องทางต่างๆ เช่น ถนนคนเดิน เป็นต้น

่ ซ้อมดู เข้าค่ายการแสดงเพือ ข้อผิดพลาดต่างๆ ้ ในระหว่าง ทีเ่ กิดขึน การดําเนินงาน

ตรวจสอบการจัดเตรียม ่ ะต้องใช้ในวัน สถานที่ ทีจ แสดงจริงและตรวจ ดูขอ ้ ผิดพลาด

แสดงจริง

สรุ ปผลทีไ่ ด้รบ ั และ ่ ๆใน ทํากิจกรรมอืน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อไป


HO .

ผลงานโดยรวม



HO USER .



WHAT IS THE PROPLEM ?

การพัฒนาเยาวชนด้วยศิลปะการแสดง เป็นแนวทางที่น่าสนใจ แต่ยังไม่มีองค์กรเพื่อรองรับมาก เท่าที่ควร

้ อํานวยมากนัก สถานทีไ่ ม่เอือ งบประมาณ ไม่เพียงพอ

HO


PERFORMING ART CENTER

OW? CONSERVATOIRE

THEATER


PERFORMING ARTCENTER . ศูนย์ศิลปะการแสดงและการแสดง


การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

กระบวนการทาง ด้านศิลปะ

การพัฒนามนุษย์ ด้​้วยศิลปะ

ควรเริ่มคั้งแต่เยาว์วัย

ความสามารถส่วนบุลคล

การพัฒนาศักยภาพ

พลังของชาติในอนาคต

อ้างอิงจาก : โครงการจัดตั้งศูนย์นวัตกรรมศิลปะการแสดงเพื่อพัฒนาเยาวชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


PERFORMI

PERFORM

่ สารระหว่างมนุษย์ ศาสตร์และศิลป์ แห่งการสือ และ ความปราถนาในจิตใจของมนุษย์ผา่ นรู ปแบ

DANCE

Tap dance, HIP HOP, Ballroom, Dance, Street Dance, Pop Dance, POPPING, Street Jazz, Ballet, Cover Dance,B-BOY,

ACT

STAGEPLAY,M


ING A R T ?

MING ARTS

่ แสดงออกทางอารมณ์ความรู ส เพือ ้ ก ึ จิตนาการ ่ ทางการละคร การเต้นรํา หรือ ดนตรี แบบของสือ

TING

MUSIC THEATRE

MUSIC

Chamber Music, Symphony Orchestra, Popular Music, Combo band, Jazz, Rock n’ Roll, Military Band, Brass Band,


กระบวนการเรียนรู้ของโครงการอบรม การแสดงสำหรับเด็กและเยาวชน


ศิลปะการแสดง

่ งมือทีร ่ ว เครือ ่ ม ใช้พฒ ั นา ( ละคร ดนตรี และศิลปะ)

มีผลต่อพฤติกรรม ประสิทธภาพใน การเรียน ้ รู เ้ พิม ่ ขึน

มีผลต่ออารมณ์

่ ตัวทีจ ่ ะ สมองตืน เรียนรู ้

การเรียนรู อ ้ ย่างมีความสุข การเรียนรู แ ้ บบองค์รวม การเรียนรู จ ้ ากการคิดและปฏิบต ั จ ิ ริง ่ การเรียนรู ร ้ ว ่ มกับบุลคลอืน ่ การเรียนรู ร ้ ว ่ มกับบุคคลอืน การเรียนรู ก ้ ระบวนการเรียนรู ้ ของตันเอง

พัฒนาในทุกด้าน

่ พัฒนาเยาวชน อ้างอิงจาก : โครงการจัดตัง้ ศูนย์นวัตกรรมศิลปะการแสดงเพือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


THEORY .


Theoty . แนวคิด และ ทฤษฏี ่ วกับ เด็กเยาวชน 1. แนวคิด เกีย ่ วกับ ศิลปวัฒน 2. แนวคิด เกีย ธรรมกับการพัฒนา ่ วกับ ศิลปะการ 3. แนวคิด เกีย แสดง ่ ว กับการเรียนรู ้ 4. แนวคิด เกีย และการพัฒนา ่ วกับการบริหาร 5. แนวคิด เกีย จัดการ 6. แนวคิด

่ วกับการตลาด เกีย


่ วกับเด็กและเยาวชน 1. แนวคิด เกีย 1.1 ทฤษฏีความต้องการของมนุษย์ ระดับที่ 1 Biological / Physiological Needs ระดับที่ 2 Security / Safety Needs ระดับที่ 3 Social ( Love, Affection and Belongingness )Needs ระดับที่ 4 Ego / Esteem Needs - ความต้องการรู ส ้ ก ึ พึง่ พอใจ ยอมรับใน ตนเอง - การได้รบ ั การชื่นชม ระดับที่ 5 Self / Actualization Fulfillmont - การเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน


1.2 จิตวิทยา การพัฒนา 1. เด็กตอนต้น ( 2 - 6 ปี ) 1.1 ด้านร่างกาย ่ นไหวได้ - เด็กจะสามารถควบคุมอวัยวะเคลือ 1.2 ด้านอารมณ์ - หงุดหงิดง่าย อยูใ่ นช่วงปฏิเสธ 1.3 พัฒนาด้านสังคม ่ ทีจ ่ ะคบผูใ้ หญ่เป็นเพือ ่ น ต้องการให้สนใจ - เบือ 1.4 ด้านความคิด ่ นเป็นหลัก - อายุระหว่าง 2 - 4 ปี ความคิดทีต - อายุระหว่าง 4 - 7 ปี รู จ ้ ก ั เปรียบเทียบ 2. เด็กตอนกลาง ( 6 - 12 ปี ) 2.1 ด้านอารมณ์ - ไม่สามารถปรับตัวได้ - เด็กชอบเลียนแบบ 2.2 ด้านสังคม - การปรับตัวทางสังคม 2.3 ด้านสติปญ ั ญา ่ าเห็นมีจต เชื่อในสิง่ ทีต ิ นาการ ความคิดสร้างสรรค์ 2.4 ด้านจริยธรรม - พัฒนาในช่วง 6 - 7 ปี เด็กรู จ ้ ก ั ใช้เหตุผล 3. วัยรุ น ่ ( 12 - 18 ปี ) - การปรับตัว : ด้านร่างกาย, จิตใจ, อารมณ์


3. ศิลปะการแสดง 3.1 ด้านการละคร : เป็นขบวนการของจิตนาการ 3.1.1 ละครสร้างสรรค์ ละครในการศึกษา (D.I.E) ่ การศึกษา 3.1.2 ละครเพือ 3.1.3 ละครสําหรับเด็กและเยาวชน 3.1.4 ละครเวที (Theatre) ่ ตกต่างกัน ละครแต่ละประเภทมีคณ ุ ลักษณะทีแ มีประยุกต์ได้โดยเฉพาะละครสร้างสรรค์ ละครสร้างสรรค์ 1. อิสระในการคิด 2. อิสระในการแสดงความรู ส ้ ก ึ 3. มีลก ั ษณะเฉพาะแตกต่างกันไป ้ ฐาน องค์ประกอบพืน 1. การรู จ ้ ก ั ตัวเอง ้ื ทีแ ่ ละรู ปร่าง 2. การใช้พน 3. การรู จ ้ ก ั ลักษณะเฉพาะตน 4. การใช้ประสาทสัมผัส ่ ความหมาย 5. การสือ 6. การนําทักษะต่างๆ มาผสมผสาน


มีการนําละครสร้างสรรค์ มาใช้กบ ั เด็กพัฒนาด้าน บุคลิกการพูด อารมณื สติปญ ั ญา กับปรับตัวเข้าสังคม 1. พัฒนาทางด้านร่างกาย บุคลิกภาพ 2. ด้านกานพูด การใช้เสียง 3. พัฒนาการ ด้ารอารมณ์ 4. ด้านสังคม 5. ด้านสติปญ ั ญา 3.2 ด้านการเต้น (Dance) ้ ฐานทีจ ่ าํ เป็น ตามลักษณะของธรรมชาติ - พืน - จําเป็นต่อการรักษาสมดุล - เด็กจําเป็นต้องได้รบ ั การพัฒนาความสามารถ 4. การเรียนรู แ ้ ละพัฒนา 4.1 การเรียนรู อ ้ ย่างสร้างสรรค์ 4.2 การเรียนรู แ ้ บบยึดผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง 4.3 ทฤษฏีการเพิม ่ พูนไหวพริบ 5. การบริหารจัดการ การจัดการ 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดองค์กร (Organizing) 3. การชักนํา (Leading) 4. การควบคุม (Contrlling) 5.1 การจัดองค์กรและการจัดการ 5.2 หลักการจัดองค์กรธุรกิจขนาดย่อม 6. การตลาด 6.1 การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ 6.2 ความร่วมมือ


CONSERVATOIRE .


CONSERVATOIRE In Chiang Rai

Dance My Dance Academy The Kids Ushystudio

Music Ton music class Yamaha By Heart Music Hooding Club

่ ช - โรงเรียนสอนศิลปะการแสดงส่วนหนึ่งของจังวัดเชียงราย ทีม ี ่อ ื เสียง -


CASE STUDY . กรณีศึกษา


www.facebook.com/MYDanceAcademyThailand/

My Dance Academy แบ่งการเรียนออกเป็น 4 Class

www.facebook.com/MYDanceAcademyThailand/

1. Kids Class มี 2 ช่วงอายุ - เด็กเล็ก อายุ 4 - 8 ปี - เด็กโต อายุ 8 - 12 ปี จํานวนประมาณ 20 คน และมี ่ แบ่งกลุม การแยก Class ออกเพือ ่ 2. K-pop Girl มีครู สอนจากหมาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง จํานวนคนไม่ แน่นอนเต้นจบเป็นเพลงๆไป (ช่วงนี้มค ี วามนิยมสูง) 3. K-pop Boy เต้นเพลงของผูช ้ ายมีผห ู้ ญิงมา เรียนด้วยบ้างเพราะตามกระแส 4. Hip-Hop ้ ฐาน การทีจ ่ ะ เน้นสอนเบสิค, พืน แยกไปเรียนคลาสต่างๆไม่จาํ กัดอายุ 5. สอนร้องเพลง

www.facebook.com/MYDanceAcademyThailand/


SITE ANALYSIS .


Location .

www.google.com.sg/map

พิพิธภัณฑ์ภาพเจียงฮาย จัดแสดงภาพถ่ายวิถีชีวิตชาวบ้าน กลุ่มชาติพันธุ์ และศิลปวัฒธรรมพื้นบ้าน ในจังหวัดเชียงราย ศาลากลางจังหวัดเชียงรายหลังเก่า ศาลากลางจังหวัดเชียงรายหลังเก่าตั้งอยู่ตำบลเวียง อำเภอเมืองเชียงราย เชียงราย เป็นอาคารหลังที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน อาคารแห่งนี้ก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ.2443 ในสมัยของ พระพลอาษา เป็นข้าหลวงเมืองเชียงราย ออกแบบและ ก่อสร้างโดย นายแพทย์วิลเลี่ยม เอ.บริกส์ แพทย์ชาวอเมริกันในนามคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียนแห่งกรุงนิวยอร์ค รูปแบบอาคารเป็นทรงยุโรปแบบโคโลเนียล ก่ออิฐถือปูน3ชั้น ด้านหน้าเป็นรูปโค้งมีโถงทางเดินเชื่อมตลอด ไม่ใช้เสาและคานคอนกรีต

Transportation

Surrounding





PHOTO BY PROMISE

ศูนย์วัฒนธรรมนิทัศน์และพิพิธภัณฑ์เมืองเชียงราย ๗๕๐ ปี ่ ร่วมฉลองเมืองเชียงราย ๗๕๐ ปี และเป็นแหล่งเรียนรู ้ การจัดตัง้ ศูนย์วัฒนธรรมนิทศ ั น์และพิพธ ิ ภัณฑ์เมืองเชียงราย ๗๕๐ ปีเพือ ทางประวัตศ ิ าสตร์ ภูมป ิ ญ ั ญาท้องถิน ี ีวิต ศิลปวัฒนธรรมล้านนา และชนเผ่าชาติพน ั ธุต ์ า่ งๆ ในจังหวัดเชียงราย หอวัฒนธรรม ่ วิถช เชียงราย หอศิลป์ถน ิ่ ล้านนา พิพธ ิ ภัณฑ์เมืองเชียงราย ข่วงเมือง และหอสมุด ๑ ล้านแล่ม รวมทัง้ โครงการปรับปรุ งเส้นทางเดินเท้า ่ อ ่ วกลางใจเมืองให้เป็นเส้นทางเดินเท้า เพือ ่ การท่องเทีย ่ ว เชิงประวัตศ บริเวณแหล่งเรียนรู แ ้ ละสถานทีท ่ งเทีย ิ าสตร์และวัฒนธรรมใน ่ ให้สถานศึกษาในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดใกล้เคียงมีแหล่งเรียนรู ท เมืองเชียงราย เพือ ้ าง วัฒนธรรม ภูมป ิ ญ ั ญาท้องถิน ี ีวิต ่ วิถช ศิลปวัฒนธรรมล้านนา และชนเผ่าชาติพน ั ธุต ์ า่ งๆ ในจังหวัดเชียงราย อันจะเป็นแหล่งเรียนรู ท ้ ม ี่ ค ี ณ ุ ค่าอีกแห่งหนึ่งของประเทศ PHOTO BY PROMISE

ภายในศูนย์วัฒนธรรมนิทศ ั น์และพิพธ ิ ภัณฑ์เมืองเชียงราย ๗๕๐ ปี ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู ท ้ างประวัตศ ิ าสตร์ ภูมป ิ ญ ั ญา ท้องถิน ี ีวิต ศิลปวัฒนธรรมล้านนา และชนเผ่าชาติพน ั ธุต ์ า่ งๆในจังหวัดเชียงราย ่ วิถช ศูนย์วัฒนธรรมนิทศ ั น์และพิพธ ิ ภัณฑ์เมืองเชียงราย ๗๕๐ ปีเปิดให้บริการวันจันทร์ - วันศุกร์ (ฟรี!!! ไม่เสียค่าเข้าชม) และวันหยุด นักขัตฤกษ์ หยุดวันเสาร์และวันอาทิตย์ เวลาทําการ 09.00 - 17.00 น. โทรศัพท์/โทรสาร : 053-601760 E-mail : cr750@chiangraipao.go.th ศูนย์วัฒนธรรมนิทศ ั น์และพิพธ ิ ภัณฑ์เมืองเชียงราย ๗๕๐ ปีองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงรายถนนอุตรกิจ ตําบลรอบเวียง อําเถอ เมือง จังหวัดเชียงราย



EXSITING PLAN



https://earth.google.com/

www.google.com/maps

www.google.com/maps

PHOTO BY PROMISE

พิพิธภัณฑ์ภาพเจียงฮาย จัดแสดงภาพถ่ายวิถีชีวิตชาวบ้าน กลุ่มชาติพันธุ์ และศิลปวัฒธรรมพื้นบ้าน ในจังหวัดเชียงราย ศาลากลางจังหวัดเชียงรายหลังเก่า



EXSITING PLAN



อาคารจําหน่ายสินค้า OTOP CR-KAIDEE องค์การบริหารจังหวัดเชียงราย

EXSITING PLAN


TARGET GROUP

นักเรียน / นักศึกษา / เยาวชน

ผูป ้ กครอง / ครอบครัว

วัยทํางาน / นักศึกษาทีเ่ คยเข้าร่วมชมรม ่ าํ เร็จการศึกษาแล้ว ทีส

เด็กตอนต้น 2 - 6 ปี , เด็กตอนกลาง 6 - 12 ปี


USER

- นักเรียน / นักศึกษา / เยาวชน - นักเรียนจากโรงเรียน ต่างๆในจัง หวัดเชียงรายที่ จบมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ของทุกๆปี - วัยทํางาน / นักศึกษาทีเ่ คยเข้า ่ าํ เร็จ การศึกษาแล้ว ร่วมชมรมทีส หรือ กําลังศึกษา อยูท ่ ี่ มหาวิทยา ลัยเชียงใหม่ ่ วกับ ศิลปะการ - หรือผูท ้ ี่ สนใจเกีย แสดง ่ ค - บุคลากรทีม ี วามสามารถ


PROGRAMMING CASE STUDY . กรณีศึกษา


ทยาลัยดนตรีและศิลปะการแสดง SCA ( Superstar College of Arts )มหาวิทยาลัยสยาม เป็นวิทยาลัย ่ งุ่ เน้นในการสร้างบัณฑิตให้เป็น ศิลปิน ในวงการดนตรี และวงการ แสดงทีม ่ ค ทีม ี ณ ุ ภาพ ตรงกับความต้องการ ่ นฝันไว้จด ของอุตสาหกรรมบันเทิง และผลักดันให้นักศึกษาได้กา้ วเข้าสูว ่ งการบันเทิง อย่าง ทีต ุ เด่นของวิทยาลัย ่ี ร้างศิลปินโดยใช้ครู ผส ่ ช คือ หลักสูตรระดับปริญญาตรีทส ู้ อนทีเ่ ป็นศิลปิน หรือครู ผฝ ู้ ก ี ื่อเสียงในวง ึ สอนศิลปินทีม ่ ค การ ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ รวมคณะครู ผส ู้ อนกว่า 1 00 ท่าน นับเป็นวิทยาลัยทีม ี ณะครู อาจารย์ทท ี่ าํ งาน ่ ด ในวงการบันเทิงมากทีส ุ ในประเทศไทย ่ ่าสนใจ PROGRAMMING ทีน

- DANCE STUDIO

ห้องเรียนเต้น มีหลายขนาด เช่น ห้องเรียนเต้นมาตรฐานขนาดใหญ่พร้อมระบบไฟ LEDเป็นห้องเต้นแห่ง ่ ามารถกระพริบและเปลีย ่ นสีได้ตามจังหวะเพลงซึง่ จะทําให้นักเรียนรู ส แรกใน Asia ทีใ่ ช้ระบบไฟ LED ทีส ้ ก ึ สนุก ่ ยาก ทีจ ่ ะมาเรียนห้องเต้นทุกห้อง กับเรียนเต้นช่วยการจับจังหวะเสริมสร้างจินตนาการ และสร้างแรงบันดาลใจทีอ ่ ามารถบันทึกวีดโี อ ขณะ เรียนซึง่ สามารถเปิดบันทึกการ ที่ Superstar Academy จะติดตัง้ ระบบคอมพิวเตอร์ ทีส ่ ปรับปรุ งท่าเต้นได้ทน ่ ค้นหาเพลง ซ้อมให้ดเู พือ ั ทีและสามารถสําเนากลับซ้อมเองได้ทบ ี่ า้ น พร้อมทัง้ มี Internet เพือ ่ งเสียงทีม ่ ค ทีใ่ ช้ประกอบการเรียนจากระบบ Music Serverใช้ระบบเครือ ี ณ ุ ภาพสูง ติดตัง้ กระจกขนาดใหญ่พเิ ศษ ่ ให้นักเรียนสามารถเห็นตนเองได้ทงั้ ตัวโดยไม่มก เพือ ี ารตัดอีกทัง้ ทางโรงเรียนใส่ใจ ความปลอดภัยของนักเรียนจึง ่ ช่วยลดแรงกระแทกของข้อเข่าและ ออกแบบห้องเรียนเต้นให้มก ี ารบุพน ื้ ห้องด้วยวัสดุกน ั กระแทกหนาชนิดพิเศษเพือ ข้อเท้า ทําให้นักเรียนสามารถเต้นได้อย่างเต็มทีโ่ ดยไม่ตอ ้ งกังวลถึงการบาดเจ็บ - PIANO & MUSIC STUDIO - VOICE STUDIO - RECORDING STUDIO - DJ STUDIO - ACTING, MC, MODELLING, PERSONALITY STUDIO - DRUMS - KEYBOARD - GUITAR - BALLET


่ ะขามป้อมทําหน้าทีบ ่ ม 3 ยุคสมัยทีม ่ เพาะต้นกล้าให้ไปแตกหน่อ เติบโต ออกผลในทุกแห่งหน ่ งมือในการทํางานเพือ ่ พัฒ ยุคแรก : ใช้กระบวนการละครเร่ เป็นเครือ ่ กลางเล็กๆ ทีส ่ ะท้อนปัญหาชาว นาวัฒนธรรม ชุมชนในฐานะ เป็นสือ บ้านสูส ่ งั คมรู ปแบบ การทํางาน คือการแสดงละครเร่และละครรณรงค์ ่ อง เริม ยุคทีส ั นารู ปแบบการทํางานมาเป็น ่ ต้นในปี พ.ศ. 2543 : ได้พฒ ่ การพัฒนา (Community Theatre) เอกลักษณ์ทเี่ ด่นชัดของ ละครเพือ ่ พืน ้ บ้านและศิลปะแบบประเพณีนิยมมาปรับ ยุคนี้ เริม ่ ใช้รูปแบบของสือ ้ แต่กย ปรุ งในการนําเสนอสาระร่วมสมัยมากขึน ็ งั ใช้กระบวนการละคร ่ การพัฒนาโดยเน้นไปที่ "การพัฒนาชุมชน" เยาวชนเพือ ่ าม : เปิดพืน ้ ทีส ่ าํ หรับงานฝึกอบรมเชิงปฏิบต ยุคทีส ั ก ิ าร (Workshop) เผยแพร่กระบวนการเรียนรู ผ ้ า่ นกิจกรรมละคร ทีเ่ น้นให้เด็กรู จ ้ ก ั ตนเอง ่ งมือ ผ่านการคิดและจินตนาการ การทํางานร่วมกันกับผูอ ้ น ื่ เป็นเครือ ่ ะช่วยพัฒนาเด็กและ เยาวชนให้เติบโตเป็นผูใ้ หญ่ทม สําคัญทีจ ี่ ค ี ณ ุ ภาพ รวม ทัง้ ยังมีการทํางานอย่างต่อเนื่องในการฝึกอบรมด้านละครให้แก่ ่ ๆ องค์กรค์พฒ ั นาอืน

www.makhampom.org

่ ชาวบ้าน เป็น "กลุม ่ ละครมะขามป้อม" เดิมเป็นฝ่ายหนึ่งในโครงการสือ ่ าํ งานด้านสือ ่ เพือ ่ การพัฒนา องค์กรพัฒนาเอกชนอีกองค์กรหนึ่ง ทีท ่ งมือสํา อย่างจริงจังเป็นกลุม ่ แรกๆ ในประเทศไทย ทีใ่ ช้ละครเป็นเครือ คัญในการทํางานพัฒนาบุคคล และสังคม เริม ่ นร่วมปฏิบต ั ิ ่ เข้ามามีสว งานกับขบวนการพัฒนาชุมชนของภาคสาธารณะ วัตถุประสงค์ ่ อย่างเท่าทัน 1. ส่งเสริมให้ชม ุ ชนผลิตและเข้าถึงสือ ่ กลาง ในการแลกเปลีย ่ นเรียนรู ้ ด้านละคร และสือ ่ เพือ ่ การ 2. เป็นสือ ่ นแปลงในระดับประเทศและนานาชาติ เปลีย ่ื เพือ ่ การเปลียนแปลงสังคม 3. ผลิตและเผยแพร่สอ ่ ให้เป็นผูน ่ นแปลง 4. ส่งเสริม สนับสนุนพลังหนุ่มสาว เพือ ้ ําการเปลีย ่ ศ 5. เป็นองค์กรทีม ี ักยภาพ ในการระดมทรัพยากรมาดําเนินการอย่าง ยัง่ ยืน จุดแข็ง ่ ูจ 1. มีช่อ ื เสียงมานาน เป็นทีร ้ ก ั ได้รบ ั การ ยอมรับจากวงการศิลปะการ แสดง ่ ค 2. มีผน ู้ ําและบุคลากรหลักทีม ี วามสามารถ ่ งความเป็นพืน ้ บ้าน 3. เป็นตัวของตังเอง โดดเด่นในผลงาน ชัดเจอเรือ 4. ได้รบ ั ความร่วมมือจากต่างประเทศ ่ สังคมทีไ่ ม่หวังผผลกําไร 5. ภาพลักษณ์ดี เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน เพือ จุดอ่อน ่ ใี จ มาทํางานเพือ ่ สังคมยาก 1. ขาดบุคลากรรุ น ่ ใหม่ เนื่องจากหาคน ทีม ้ ขึน 2. อาสาสมัคร ขาดแรงจูงใจในการปฏิบต ั งิ าน 3. มักพบกับปํญหาทางการเงิน แม้แต่ทาํ งานกับหน่วยงานรัฐ 4. ขาดการบริหารจัดการอย่างเป็นระเบียบ มีระบบการทํางานแบบไม่ เป็นทางการ

www.makhampom.org

www.makhampom.org


คณะผลิตการแสดงกลุ่มเล็กๆ สายพันธุ์หัวหินที่มีใจรักในศิลปะการแสดง พวกเขาถ่ายทอดเรื่องราวความเป็นไทยโดยอาศัยศิลปะการเคลื่อนไหว ร่างกายเป็นสื่อกลางเพื่อ ชักชวนให้ผู้ชมมองเห็นในคุณค่าของความเป็น วัฒนธรรม และเชื้อเชิญให้ผู้ชมภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ของความเป็นไทย

Cicada Market Ban Hua Hin, Prachuap Khiri Khan, Thailand 77110

บทสัมภาษณ์ ละครเวทีที่ไม่เก็บค่าเข้าชมมีกลไกการตั้งอยู่อย่างไร เล็ก : เป้าหมายของพื้นที่ตรงนี้ เราอยากทำให้เป็นพื้นที่ของอาชีพจริงๆ แต่ด้วยข้อจำกัดต่างๆ เราอาจจะยังทำไม่ได้ขนาดนั้น แต่เรามองเสมอว่า จะทำอย่างไรถึงจะสร้างพื้นที่แบบนั้นได้ การเก็บค่าเข้าชมหรือไม่เก็บจึง ไม่ใช่ประเด็นสำคัญเท่ากับว่าเราจะทำสิ่งที่คิดออกมาได้หรือเปล่า แล้วสิ่ง ที่เราทำออกมาจะมีคนยอมรับมากน้อยแค่ไหน นั่นคือจุดเริ่มต้น หม่อง : นั่นก็เป็นช่วงเริ่มต้นที่เรารีเสิร์ช และรวบรวมข้อมูล ว่าหัวหินถิ่น มนตร์ขลังนี้จะเป็นอย่างไร จากพื้นที่ที่ไม่มีอะไรเลย หากแต่เราได้พบวิถี แห่งชุมชน เราจะเอาอะไรมานำเสนอเพื่อให้เกิดการยอมรับอย่างยั่งยืน เราจึงไม่ได้เริ่มจากความคิดเรื่องกำไรขาดทุน กลไกของการใช้คนในพื้นที่เป็นหลัก รวมถึงนักแสดงหลักส่วนใหญ่ที่เป็น เด็กๆ ที่เติบโตไปพร้อมๆ กับโรงละคร และเมื่อถึงเวลาหนึ่งเขาก็ต้องก้าว ออกไป ความสม่ำเสมอของการพัฒนาละครอย่างต่อเนื่องเป็นอย่างไร เมื่อเราต้องเปลี่ยนและฝึกซ้อมนักแสดงหลักชุดใหม่ๆ ทุกๆ ปี เล็ก : คำถามนี้เป็นคำถามใหญ่ ที่ผมตอบได้หลายเรื่องเลย อย่างแรกมัน ไม่ใช่การเปิดโอกาสให้น้องๆ แต่น้องๆ ก็ให้โอกาสเรา มันเป็นศิลปะเชิง ทดลองอย่างนึงที่คิดว่าน่าจะดีต่อผู้ชม การที่ได้ร่วมงานกับน้องๆ ในพื้นที่ มันมีสิ่งที่เรามองไปไกลกว่านั้น เช่นสิ่งที่เกิดขึ้นที่นี่ สามารถต่อยอดความ รู้ความสามารถบางอย่างที่น้องสนใจแต่ไม่มีสอนในโรงเรียน เช่น ศิลปะ การแสดง เบื้องหลัง การกำกับ การออกแบบ

Story by อรรฆพงศ์ ผลประเสริฐ

www.facebook.com/pg/CicadaAmphitheatre


PROGRAMMING .

COFFEE CAFE AND SOUVENIR SHOP

OUTSTANDING OUTDOOR STAGE


CAR PARK

THEATER OFFICE DRESSING ROOM RECEPTION TICKET OFFICE WAITING AREA

N


PLAN THEATER FLOOR


PLAN THEATER FLOOR


SECTION THEATER


ISOMETRIC SECTION


DESING GUIDELINE THEATER


ดีไซน์การออกแบบ ได้มก ี ารอ้างอิงมาจากอาคาร ศาลากลางหลังเก่า จีงหวัดเชียงราย

่ มผืนผ้า กว้าง 14. 21 เมตร ยาว 37. 52 อาคารศาลากลางหลังเก่าลักษณะผังอาคารเป็นรู ปสีเ่ หลีย

่ ออกมา ส่วนกลางของอาคารยาว 3 ช่วงเสาแบ่งเป็น 2 ส่วน หน้าเป็นระเบียงมีบน เมตร มีมข ุ หัวท้ายยืน ั

้ เป็นห้องทํางานมุขริมสองข้างเป็นห้องโถงแรกเริม ้ อาจจะเป็น ไดตัง้ อยูท ่ ป ี่ ลายทัง้ สองข้าง ด้านหลังกัน ่ นัน

้ 2 เป็นห้องทํางานข้าหลวงปลัดจังหวัดเสมียน ห้องทํางานของคลังมหาดไทยอัยการและศึกษาธิการ ชัน ่ ข ้ 3 ทีม ตราสรรพากรปศุสต ั ว์และห้องประชุมชัน ุ ทัง้ สองเป็นทีเ่ ก็บ เอกสารลักษณะทางสถาปัตยกรรม เป็นอาคารแบบนีโอคลาสสิค (Neoclassicism) ก่ออิฐฉาบ ปูนแบ่งเป็น 5 ส่วน ส่วนกลางยาว 3ส่วนสูง

้ ปลายสองข้างเป็นมุขกว้าง 1 ส่วนสูง 3 ชัน ้ เหมือนหอคอยแรกเริม ้ หลังคากลางเป็นทรงปั้นหยา 2 ชัน ่ นัน

ประดับด้วยมุขหน้าต่างหลังคา (Dormer) รู ปโค้งครึง่ วงกลม 3 จุดอยูก ่ ง่ึ กลางระหว่างช่วงเสาซึง่ ภายหลัง

้ ออกหลังคามุขเป็น ทรงปิรามิดทัง้ หมดมุงกระเบือ ้ งซีเมนต์ รู ปว่าวจุดเด่นของอาคารอยูท ถูกรือ ่ ก ี่ ารเจาะ ่ ะเบียงหน้าอาคารทัง้ ล่างให้โปร่งโดยใช้โครงสร้างคานโค้งครึง่ วงกลม (Semi-circular arch) ช่องเปิดทีร

่ งต่อหนึง่ ช่วงเสาโดยทีโ่ ค้งกลางจะกว้างกว่าริมสองข้างเล็กน้อยจํานวน 3 ชุดยาวตลอด ชุด 3 โค้งต่อเนือ

้ ล่างอาคารส่วนชัน ้ บนอาคารเป็นหน้าต่างชุด3บานเช่นกันโดยบานกลางเป็นโครงสร้าง ส่วนกลางของชัน

่ มแบบหน้าต่างพาลลาเดียน คานโค้งใหญ่ขนาบสองข้างด้วยหน้าต่างกรอบสีเ่ หลีย

(Palladianwindow)

้ อ ่ ล้ายคลึง กับทําเนียบรัฐบาล อาณานิคมของ ข้อน่าสังเกตสําคัญของอาคารหลังนีค ื ลักษณะ ทีค

่ รุ งฮานอยออกแบบโดยสถาปนิกฝรัง่ เศส Auguste Henri Vildieu ระหว่างปีค. ศ. 1900-1906 ฝรัง่ เศสทีก

(พ. ศ. 2443 2449)


MOOD & TONE THEATER

NEOCLASSICISM COLONIAL DOMER SEMI - CIRCULAR ARCH PALLADIANWINDOW



THEATER PERSPECTIVE


THEATER PERSPECTIVE


THEATER PERSPECTIVE


THEATER PERSPECTIVE


MOOD & TONE LOUNGE


LOUNGE PERSPECTIVE


MOOD & TONE RECEPTION


RECEPTION


RECEPTION PERSPECTIVE


RECEPTION PERSPECTIVE


MOOD & TONE CAFE


CAFE


CAFE PERSPECTIVE


CAFE PERSPECTIVE


PLAN COFFEE CAFE AND SOUVENIR SHOP



MOOD & TONE COFFEE CAFE AND SOUVENIR SHOP


COFFEE CAFE AND SOUVENIR SHOP


COFFEE CAFE AND SOUVENIR SHOP PERSPECTIVE


COFFEE CAFE AND SOUVENIR SHOP PERSPECTIVE


DESIGN GUIDELINE OUTSTANDING OUTDOOR STAGE



BRAND COPERATE IDENITY

https://www.pinterest.com

http://picpanzee.com/tag/แกงโฮะ


BRAND COPERATE IDENITY LOGO


CORPORATE PERFORMING ART CENTER


: เวียงโฮะ ศูนย์ศิลปะการแสดง จังหวัดเชียงราย : VEANGHO.CHIANGRAI@gmail.com


RESEARCH REFERENCE แหล่งข้อมูลอ้างอิง

-

School of Communication arts Bangkok University สาขาวิชาศิลปะการแสดง ศึกษาค้นคว้า ่ 31 สิงหาคม 2562 https://www.bu.ac.th/th/comarts/performing-arts เมือ

-

่ เสาร์, 29/08/2015 - 13:35 | แก้ไขล่าสุด เสาร์, 29/08/2015 - 13:35| โดย ละครเวที เมือ crazyporchz ศึกษาค้นคว้า ่ 31 สิงหาคม 2562 http://www.thaigoodview.com/node/197515 เมือ

-

่ 31 สิงหาคม 2562 beautypich Article ประเภทของการเต้น ศึกษาค้นคว้าเมือ http://km.streesp.ac.th/external_newsblog.php?links=725

-

การกํากับการแสดง (Directing) W a n a s a k P a d u n g s e s t a k i t (Peng) Lecturer / Choreographer Department of Performing Arts (Theatre Arts) Suan Sunandha Rajabhat University 1 U-thongnok Road, Vachira Dusit, Bangkok THAILAND 10300 (e-mail) pwanasak.cu@gmail.comhttp://www.elfar.ssru.ac.th/wanasak_pa/pluginfile.php/20/block_ht ml/content/Directing.pdf

-

่ วันที่ 31 สิงหาคม 2562 ข้อมูลจาก ประเภทของวงดนตรีสากล ศึกษาค้นคว้าเมือ http://student.lcct.ac.th/~51138660/job/to_5.html

-

Thailand Tourism Directory ศูนย์ศิลปะการแสดงกาดสวนแก้ว ตําบล/แขวงสุเทพ อําเภอ/ ่ วันที่ 31 เขตเมืองเชียงใหม่ ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 ศึกษาค้นคว้าเมือ สิงหาคม 2562 ข้อมูลจาก https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/attraction/detail/itemid/5171

-

่ วันที่ 31 สิงหาคม 2562 ข้อมูลจาก การแสดงละคร Perfoeming Arts ศึกษาค้นคว้าเมือ https://sites.google.com/site/perfoemingarts/prapheth-khxng-natsilp-thiy/kar-saedng-lakhr

-

่ วันที่ 31 10 อันดับ งานอดิเรกยอดนิยม ของคนกรุ ง 29th January 2016 ศึกษาค้นคว้าเมือ สิงหาคม 2562 ข้อมูลจาก https://moneyhub.in.th/article/rank-10-hobbit/



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.