โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ชื่อโครงการ
โครงการศึกษาและต่อยอดแบรนด์ คามาคาเมต สูก่ ารออกแบบ คอมมูนิตี ้ สเปซ
ประเภทของงานศิลปนิพนธ์
ประเภทการออกแบบภายใน
ผูด้ าเนินโครงการ
นาย ณเรศ ไพรวัลย์ รหัส 5900704 นักศึกษาชัน้ ปี ท่ี 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน
ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์
อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์
สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมตั ิให้นบั ศิลปนิพนธ์ฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญญญาบัณิิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ...................................................... คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ ( รศ. พิศประไพ สาระศาลิน ) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์
...................................................... ประธานกรรมการ ( อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล ) ...................................................... กรรมการ ( อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ ) ...................................................... กรรมการ ( อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญญจน์ ) ...................................................... กรรมการ ( อาจารย์ บัณิิต เนียมทรัพย์ ) ...................................................... กรรมการ ( อาจารย์ เรวัฒน์ ชานาญญ ) ...................................................... กรรมการ ( อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์ ) ...................................................... กรรมการ ( อาจารย์ กาลัญญญู สิปิยารักษ์ ) ...................................................... กรรมการ ( อาจารย์ไพลิน โภคทวี )
อาจารย์ท่ีปรึกษาศิลปนิพนธ์
...................................................... ( )
ก
หัวข้อศิลปะนิพนธ์ ชือ่ นักศึกษา สาขาวิชา อาจารย์ทป่ี รึกษา ปี การศึกษา
โครงการศึกษาและต่อยอดแบรนด์ คามาคาเมต สูก่ ารออกแบบ คอมมูนิตี ้ สเปซ ณเรศ ไพรวัลย์ ออกแบบภายใน อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ 2563
บทคัดย่อ
ข
สาหรับแบรนด์ท่ีมีจดุ กาเนิดมาจากตระกูลที่ทาเครื่องยาจีนในประเทศจีนสู่การถือกาเนิดร้าน คามาคาเมต ที่เป็ นร้านเครื่องหอมเล็กๆ และเติบโตขึน้ เรื่อยๆในประเทศไทย ด้วยทัง้ ในแง่ความ หลากหลายของสินค้าและแง่ของความลึกซึง้ ทางความคิด ที่ยดึ หลักการหาความหมายของชีวิต การเป็ นเนือ้ แท้ตอ่ ตนเองและส่งต่อความสงบเย็นใจให้ผอู้ ่ืน และเทรนด์ในปั จจุบนั ผูค้ นหันมานิยม เครื่องหอมมมากขึน้ ด้วยความใส่ใจของตัวคุณ ณัทธร ผูก้ ่อตัง้ แบรนด์ ได้เปิ ดตัว แบรนด์ลกู อย่าง เอเวอรี่เดย์ คามาคาเมต เพื่อเพิ่มฐานลูกค้าที่ดงึ ดูดกลุม่ คนรุน่ ใหม่มากขึน้ เพื่อตัวแบรนด์แม่อย่าง คามาคาเมต จะมีฐานลูกค้าที่เป็ นกลุม่ วัยผูใ้ หญญ่เป็ นส่วนมาก แนวทางในการจะขยายกลุม่ ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการคือการเพิ่มประเภทของธุรกิจที่ เกี่ยวกับ เครื่องหอมในด้านธุรกิจสปามาเพิ่มจากการเพิ่งแค่มาซือ้ สิน้ ค้าแล้วกลับเท่านัน้ เพื่อช่วยเพิ่ม ประสบการณ์ในการเข้าถึงคอนเซ็ปต์ของเครื่องหอมของทางแบรนด์อยากจะสื่อได้ตรงจุด การ ออกแบบสปาเพื่อให้ตอ่ ยอดและเข้าถึงแบรนด์ คามาคาเมต ต้องศึกษาในหลายๆด้าน ทัง้ ความ เป็ นมาของแบรนด์ คอนเซ็ปต์ของเครื่องหอม เพื่อทาความเข้าใจแบรนด์ได้อย่างลึกซึง้ รวมทัง้ ต้อง ศึกษาเกี่ยวกับธุรกิจสปา ประเภทของสปาที่เหมาะสมในการนามาใช้ให้เข้ากับแบรนด์เพื่อให้ลกู ค้า ได้ประสบการณ์ท่ีดีท่ีสดุ ในการเข้ามาใช้บริการ สิ่งที่คาดหวังในการออกแบบธุรกิจสปานีค้ ือ สร้างตัวตนให้เข้ากับแบรนด์ คามาคาเมต สร้าง บรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่ส่อื ถึงตัวตนแบรนด์ได้ดีท่ีสดุ
กิตติกรรมประกาศ ศิลปนิพนธ์ฉบับนีส้ าเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี ด้วยความช่วยเหลือและชีแ้ นะอย่างดีย่งิ จาก อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ อาจารย์ท่ีปรึกษาศิลปนิพนธ์ ที่คอยแนะนาให้คาปรึกษาในทุกๆส่วนของการทา โครงการนีแ้ ละคอยให้กาลังใจ รวมถึงคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ทกุ ท่าน ที่ให้คาแนะนาและ ข้อคิดเห็น ต่างๆในการทาศิลปนิพนธ์ จึงขอขอบพระคุณอาจารย์ทกุ ท่านไว้ ณ ที่นี ้ ขอขอบคุณ ในป่ า อาร์ท คอมเพลกส์ ที่เอือ้ เฟื ้ อแบบแปลนและการเก็บภาพสถานที่ เพื่อใช้เป็ น สถานที่ตงั้ โครงการในการทาศิลปนิพนธ์ในครัง้ นี ้ สุดท้ายนี ้ ขอขอบคุณบิดา มารดา ครอบครัว ที่ให้โอกาสในการศึกษา สนับสนุนทุนทรัพย์ ในการ ทาโครงการ ตลอดจนคอยช่วยเหลือและให้กาลังใจ รวมถึงเพื่อนๆ พี่นอ้ งทุกคนที่สนับสนุนและคอยให้ กาลังใจจนสาเร็จไปได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี ้ ณเรศ ไพรวัลย์
ค
สารบัญ หน้า ชือ่ โครงการ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ
ก ข ค ง
01 ง
บทที่ 1 บทนา ทีม่ าของโครงการศิลปนิพนธ์ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั ขอบเขตการศึกษา ระเบียบการวิจยั แผนการดาเนินงานวิจยั
02 บทที่ 2
03 บทที่ 3
4 4 4 5 6
การศึกษาข้อมูลพืน้ ฐานของโครงการ กรณีศกึ ษา กลุม่ เป้าหมาย กิจกรรม ความต้องการด้านพืน้ ที่และความสัมพันธ์ดา้ นการใช้สอย สถานที่ตงั้ โครงการ การวิเคราะห์อาคาร การวิเคราะห์พืน้ ที่ออกแบบ การศึกษาองค์ประกอบ รูปแบบและวัสดุในงานออกแบบภายในโครงการ
40 44 47 47 49 58
ทฤษฎีและแนวคิดการออกแบบ กรณีศกึ ษา
61
04 บทที่ 4
05 บทที่ 5
บรรณานุกรม ประวัตผิ ู้วจิ ัย
หน้า
ผลงานการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบ การวางผังและออกแบบพืน้ ที่ใช้สอย การออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบภาพลักษณ์ของโครงการ
77 84 90 105
บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ สรุปผลของโครงการ สรุปผลการวิจยั ปั ญญหาและข้อเมนอแนะ
112 112 112 113 118
จ
1
Source: https://karmakamet.co.th
2
3
PROJECT BACKGROUND ในปั จจุบนั Karmakamet, Everyday Karmakamet เติบโตขึน้ เรือ่ ยๆ ทัง้ ในแง่ขนาด ความหลากหลายสินค้า และความลึกซึง้ ทางความคิด แต่ สิ่งที่ไม่เปลี่ยนแปลงคือ Karmakamet, Everyday Karmakamet ยังคงพัฒนาสินค้าที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยสี่ แถมยังยึดแก่นขององค์กรในการ ค้นหาความหมายของชีวิตด้วยการเป็ นเนือ้ แท้ตอ่ ตนเองและผูอ้ ่ืน รวมทัง้ เชื่อใน ความรัก ความจริงใจ เพื่อส่งต่อชีวิตที่เป็ นสุขเย็นใจให้ทงั้ ผูร้ ว่ มงานและลูกค้า ผูส้ นับสนุนที่มีเป้าหมายเป็ นความสงบเย็นอย่างยั่งยืนร่วมกัน
Source: https://karmakamet.co.th
OBJECTIVES เพื่อศึกษาแบรนด์ KARMAKAMET เพื่อพัฒนาต่อยอดสูธ่ ุระกิจสปา เพื่อออกแบบ Community space ให้กบั แบรนด์ KARMAKAMET
EXPECTATIONS เพื่อแบบพืน้ ที่ให้ตรงตาม Lifestyle ของแบรนด์ KARMAKAMET เพื่อสร้างธุระกิจสปาให้เป็ นที่รูจ้ กั มากขึน้ เพื่อให้มีพนื ้ ที่สาหรับ คนที่รกั KARMAKAMET แบบครบวงจร
AREAS OF STUDIES ศึกษาความเป็ นมาของแบรนด์มาใช้ในการออกแบบ ศึกษาพฤติกรรมผูใ้ ช้ของแบรนด์ KARMAKAMET ศึกษาธุระกิจของ KARMAKAMET ศึกษาพฤติกรรมเพื่อตอบสมองความต้องการในการใช้งานพืน้ ที่
4
5
RESEARCH METHODOLOGIES
1.การค้นคว้าข้อมูลศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์และ พฤติกรรมความต้องการของคนที่มาใช้บริการ สารวจจากแหล่งที่เชื่อถือได้ รวมถึงการค้าคว้าความเหมาะสมในการจัดการพืน้ ที่ 2.การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสปา กลุม่ เป้าหมาย การพัฒนาพืน้ ที่ โดยรอบเพื่อตอบโจทย์กบั การบ่อบอกอัตลักษณ์ของแบรนด์ผา่ นการดีไซน์ 3.วิธีการรวบรวมข้อมูลการลงพืน้ ที่จริงเพื่อทาการรวบรวมข้อมูล เริม่ จาก ใช้การสังเกตจากบุคคล วัตถุ บรรยายกาศ สภาพแวดล้อม กิจกรรม วิถี ชีวิตของบริเวณใกล้เคียง ทัง้ นีเ้ พื่อข้อมูลที่ครอบคลุม จึงลงพืน้ ที่ทงั้ วัน จันทร์-ศุกร์ และในวัน เสาร์-อาทิตย์และลงพืน้ ที่ในช่วงเวลาต่างๆ เพื่อ รวบรวม ข้อมูล การเข้าใช้พนื ้ ที่ กิจกรรมที่เกิดขึน้ บรรยากาศที่เกิดขึน้ ภายในพืน้ ที่ 4.การวิเคราะห์ขอ้ มูลในการวิเคราะห์ขอ้ มูลจะดาเนินไปพร้อมๆกับการ รวบรวมข้อมูลส่วนการตรวจสอบข้อมูลจะนามาจากข้อมูลที่ได้จากการลง พืน้ ที่มาวิเคราะห์อีกครัง้ เพื่อพิจารณาข้อมูลที่ได้ ที่แต่ละแบรนด์มีอะไรที่ แตกต่างกัน เพื่อนาไปสูก่ ระบวนการออกแบบ 5.การศึกษาเพิ่มเติมเป็ นการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เช่นกรณีศึกษาของ กิจกรรม กรณีศกึ ษาของโครงการอื่นๆรวมถึงแนวคิดและทฤษฎีท่ีสนใจ หรือที่จะนามาใช้ในการออกแบบ
6
RESEARCH SCHEDULE
สิงหาคม
กันยายน
-
ส่งหัวข้อโครงการศิลปะนิพนธ์และรายชื่ออาจารย์ท่ีปรึกษา
-
นาเสนอหัวข้อศิลปะนิพนธ์และเสนอร่างProposal ครัง้ ที่ 1 ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ครัง้ ที่ 1 เสนอหัวข้อโครงการ ที่มา วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย ที่ตงั้ โครงการและการวิเคราะห์ท่ีตงั้ เข้าพบอาจารย์ท่ีปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ขอ้ มูลภายใต้ คาแนะนาของอาจารย์ท่ีปรึกษา
-
7
ตุลาคม
-
-
พฤศจิกายน
นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ครัง้ ที่ 2
-
นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea
-
นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ครัง้ ที่ 3
ธันวาคม
-
มกราคม
กุมภาพันธ์
-
ส่งหัวข้อโครงการศิลปะนิพนธ์และรายชื่ออาจารย์ท่ีปรึกษา
-
นาเสนอหัวข้อศิลปะนิพนธ์และเสนอร่างProposal ครัง้ ที่ 1 ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ครัง้ ที่ 1 เสนอหัวข้อโครงการ ที่มา วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย ที่ตงั้ โครงการและการวิเคราะห์ท่ีตงั้ เข้าพบอาจารย์ท่ีปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ขอ้ มูลภายใต้ คาแนะนาของอาจารย์ท่ีปรึกษา
-
มีนาคม
8 -
เมษายน
-
นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ครัง้ ที่ 2
-
นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea
-
นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ครัง้ ที่ 3
พฤษภาคม
-
9
https://karmakamet.co.th
10
11
Source: https://karmakamet.co.th Source: https://www.glamthailand.com/content/karmakamet
โลกแห่งความลับของ KARMAKAMET จุดเริม่ ต้นของ Karmakamet ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พทุ ธศักราช 2473 จาก ตระกูลทาเครือ่ งยาจีน ที่มณิลไหหลา ประเทศจีน ก่อนจะย้ายมาพานักที่ เมืองตุมปั ต รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย และเดินทางมาตัง้ ถิ่นฐานที่จงั หวัด นราธิวาส ผลิตธูปหอมแบบดัง้ เดิมมาจนกระทั่งปี พทุ ธศักราช 2544 ถือกาเนิด ร้าน Karmakamet แห่งแรกในกรุงเทพฯ ซึง่ ทายาทที่สืบต่อกิจการมา จากบรรพบุรุษก็ได้นาสูตรธูปหอมแบบดัง้ เดิมมารือ้ ฟื ้ นและต่อยอดเป็ น ผลิตภัณิ์ในรูปแบบต่าง ๆ จนเกิดร้านเครือ่ งหอมเล็ก ที่ตลาดนัดจตุจกั ร ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนและตอบบรับที่ดีมากๆ จากลูกค้าชาวไทย และชาว ต่างประเทศ หลังจากนัน้ อีกไม่ถึง 1 ปี รูปแบบร้าน Karmakamet จึงเริม่ พัฒนาอย่างเต็มรูปแบบโดยมี ความคิดและการออกแบบ จากประสบการณ์และพืน้ ฐานชีวิต ของผูก้ ่อตัง้ อย่าง ณัทธร รักษชนะ ซึง่ ได้รบั มรดกทางความคิด และการผลิตเครื่องหอม มาจากบรรพบุรุษ สิ่งที่เป็ นหลักการสาคัญญในการทางานของร้านคือ ทาในสิง่ ที่รกั ให้ดีท่ีสดุ ปั จจุบนั Karmakamet มีรา้ นค้าในเครือ หลากหลาย รูปแบบ ทัง้ ร้านเครือ่ งหอม Karmakamet, ร้าน Life Style Shop - Everyday Karmakamet และร้านอาหาร Karmakmet Diner ในเวลาต่อมา
12
13 ชื่อแบรนด์ Karmakamet (คามาคาเมต) นัน้ ไม่ได้เกิดขึน้ มาโดย บังเอิญญ แต่ทกุ คาในนัน้ เป็ นมวลความคิดแต่ดงั้ เดิมของผูก้ ่อตัง้ ที่มีความ เชื่อ ความศรัทธา ในศาสนา วัฒนธรรม และชีวิตความเป็ นอยูข่ องผูค้ นใน แถบเอเชีย คาว่า Karmakamet มาจากภาษาสันสกฤต (ภาษอินเดียโบราณ) 2 คา ได้แก่ Karma (กรรม) คือ การกระทา และ Kamet (คาเมต) คือ ชื่อของยอดเขา Kamet ในเทือกเขาหิมาลัย ซึง่ เป็ นพรมแดนรอยต่อของ ประเทศอินเดีย และจีน ดังนัน้ Karmakamet จึงแปลว่า การกระทาแห่งขุนเขาคาเมต โดยนัย คือการหลอมหลวมเอารากวัฒนธรรม ปรัซญญา ความเชื่อ ของผูค้ นในแถบ ถิ่นอินโดไชน่า ไว้ดว้ ยกัน
14 รากเหง้ามุมคิดทางวัฒนธรรมเหล่านี ้ เป็ นวัตถุดิบในการกาเนิดแบรนด์ Karmakamet แต่เดิมมา ทัง้ ในด้านองค์ความรูท้ างเครือ่ งหอมที่ ได้รบั สืบทอดจากรุน่ สูร่ ุน่ สอดคล้องพันผูกกับชิน้ ส่วนจากความทรงจา ของคนรุน่ เก่าก่อน และวัฒนธรรมแบบดัง้ เดิม ที่นามาสร้างสรรค์ ตีความในมิตริ ว่ มสมัย กลายเป็ นส่วนหนึ่งของภาพปรากฎในปั จจุบนั ตัง้ แต่รูปแบบร้าน จนถึงหีบห่อบรรจุภณ ั ิ์ ก็ลว้ นมาจากแนวคิดทาง รากเหง้าเหล่านี ้ จึงพอจะกล่าวได้วา่ Karmakamet เป็ นส่วนประกอบหนึ่งทาง วัฒนธรรม และเป็ นพืน้ ที่อนั อุดมไปด้วย เรือ่ งราว ขนบประเพณีหลาก รูปแบบหลายชั่วอายุท่ีได้ส่งั สมมา และยังคงตัง้ มั่นในการรักษา ขนบธรรมเนียม และทักษะการผลิตแบบดัง้ เดิม เพื่อผสานความงดงาม นัน้ กับโลกในยุคใหม่ เพื่อจะเป็ นเครือ่ งช่วยนาคุณเข้าสู่มิติซอ่ นเร้น ใน โลกลับ ของคุณเอง
Source: https://karmakamet.co.th Source: https://www.glamthailand.com/content/karmakamet
HISTORY TIMELINE
15
Source: https://karmakamet.co.th
16
1886 Move From Hainan to Kelantan ช่วงเวลาของสงครามกลางเมืองในจีน การดาเนินกิจการร้านขาย ยาดั่งเดิมของครอบครัวท่ามกลางสงครามเป็ นไปด้วยความลาบาก อากง จึงตัดสินใจอพยพหนีออกจากเมืองไหหลากับพี่ชาย มุง่ หน้า สูร่ ฐั กลันตันเพื่อทางานเป็ นสมุหบัญญชีกบั ยังร้านยาจีนของญญาติ ที่ตงั้ รกรากอยูก่ ่อนแล้ว
1906 17
Grandfather’s Chinese Medicine , HAINAN “กว่า 40 ปี ที่เรายังคงยืนหยัดใน กรรมวิธีการผลิตแบบดัง้ เดิม จากบรรพบุรุษ ส่งต่อจากรุน่ สูร่ ุน่ … จากหัวใจจนถึงมือคุณ”
ตระกูลคามาคาเมต ทายาแผนโบราณแบบจีนตัง้ แต่ปี 1930 ณ มณิลไหหลา ประเทศจีน จนเมื่อลมทะเลเปลี่ยนทิศ เกิด การปฏิวตั ิวฒ ั นธรรมในช่วงปี 1949 จึงได้ตดั สินอพยพไปตาม ลมมรสุมสูเ่ มืองตุมปั ตในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึง่ ต่อมาในภายหลังจึงได้ยา้ ยมาลงหลักปั กฐานยังส่วนใต้สดุ ของ ประเทศไทยที่จงั หวัดนราธิวาส และเริ่มผลิตธูปหอมแบบ ดัง้ เดิมจนกระทัง้ ปี 1971 จึงหยุดผลิต และประกอบอาชีพขาย ของหายาก เช่น สมุนไพร นา้ มันกฤษณา และอื่นๆ
1930
Family’s incense stick factory, Penang ด้วยการเป็ นหนุ่มโสด และยังมีกิจการเล็กๆ ของตนเอง ในรัฐปี นงั จึงมีแม่ส่อื แม่ชกั ชักนาอากงให้มาแต่งงานกับ อาโผ่วที่จงั หวัดนราธิวาส และย้ายจากนราธิวาสมา อาศัยอยูท่ ่ีอาเภอโต็ะเด็ง ด้วยการขายสมุนไพร และ ผลิตธูป จวบจนกระทั่งแม่ถือกาเนิดมา
Source: https://karmakamet.co.th
1941 The Heritage has Inherited from family แม่ได้ใช้ชีวิตช่วยกิจการงานของอากง อยูท่ ่ีอาเภอโต๊ะเด็ง จนกระทั่งถึงวัย แรกรุน่ จึงได้มาเรียนตัดเสือ้ ที่โรงเรียนสอนตัดเสือ้ วีรี กรุงเทพมหานคร และได้พบรักกับพ่อซึง่ เป็ นคนอาเภอสุไหงโกลก ซึง่ มีรกรากมาจากรัฐกลัน ตัน อาเภอ บางแซะ ไปมาหาสูจ่ นกระทั่งแต่งงานกัน แม่จงึ ย้ายมาลงหลัก ปั กฐานใหม่ท่ี อาเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาสตามครอบครัวของพ่อ การย้ายถิ่นฐาน และตัง้ รกรากใหม่จงึ เริ่มสมบูรณ์ จนให้กาเนิดบุตร 3 ท่าน คือ นภนันท์/นวนิสม์ และ ณัทธร รักษ์ชนะ เป็ นอันเริ่มต้นสูป่ ระวัติศาสตร์ ของครอบครัว Karmakamet
1971 Su-ngai Kolok / little family
1983 Padang Bazaar
ณัทธร ถือกาเนิดที่บา้ นในปี 1971 ที่อาเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส มีชีวิตวัยเยาว์ท่ีระหกระเหิน ทัง้ จาก การอยูอ่ าศัยกับ อากง อาโผ่ว ที่อาเภอโต๊ะเด็ง (ซึง่ เป็ นชุมชนคนจีนท่ามกลางไทยอิสลาม) กับตา และย่า ที่อาเภอบางแซะ รัฐกลันตัน (ชุมชนดัง้ เดิมของไทย ก่อนเสียดินแดนให้แก่องั กฤษ) ด้วยอิทธิพลทาง วัฒนธรรม ทัง้ จีน มลายู ที่ผสมผสานกันในคาบสมุทร ตอนใต้
สุไหงโกลกนัน้ เป็ นเมืองหน้าด่านชายแดนของจังหวัด นราธิวาส ติดกับแหล่งค้าขายที่เรียกว่า ลันตู ปั นยัง ในช่วงวัย เยาว์นนั้ ณัทธร และพี่ๆ นัน้ มักตามพ่อแม่ไปเยี่ยมเยียนญญาติ ฝ่ ายแม่ ที่อาเภอหาดใหญญ่ จังหวัด สงขลา อยู่เสมอ ซึง่ ได้มี โอกาสไปเที่ยวเมืองหน้าด่านชายแดนอีกแห่ง ในจังหวัด สงขลา อาเภอสะเดา ที่เรียกว่า ปาดังเบซาร์ ประสบการณ์ใน วัยเด็กในเมืองหน้าด่านชายแดนทัง้ 2แห่งนี ้ มีผลอย่างยิ่งต่อ แรงบันดาลใจในด้านกลิ่น และวัฒนธรรม เช่น กลิ่นหอมของ ผลแอปเปิ ้ล สาลี่ แพร์สกุ และอื่นๆ ที่แตกต่างกันจากผลไม้ เมืองร้อนของถิ่นกาเนิดเดิม
18
1986 Life in Bangkok
2001 19
ความทะเยอทะยานทางด้านความรักสวยงามของแม่นนั้ เป็ น แรงผลักดันหลักในการส่งบุตรทัง้ 3 มาเรียนต่างถิ่น ทัง้ จากอาเภอ หาดใหญญ่จนมาถึงกรุงเทพฯ ทัง้ ความไกลบ้าน และโดดเดี่ยว จึง เป็ นเหตุให้ ณัทธร นัน้ มุง่ หน้าเข้าสูโ่ ลกส่วนตน และพยายามตัง้ ใจ เรียนรูอ้ าศัยอยูใ่ นโลกของศิลปะอย่างจริงจัง ไม่เพียงแต่ศิลปะ บริสทุ ธิ์ในโรงเรียนช่างศิลป(เตรียมศิลปากร) จนถึงการเรียน ออกแบบภายในในระดับอุดมศึกษา และเรียนตัดเย็บเสือ้ ผ้า ด้วย ความรูส้ กึ ว่า การออกแบบภายในนัน้ เหมือนการได้รวมเอาศิลปะ ทุกแขนงมาไว้ท่ีเดียวกัน จนมีผลต่อการออกแบบร้านค้า ยูนิฟอร์ม และผลิตภัณิ์อ่ืนๆ ของ Karmakamet ในภายหลัง
The First Karmakamet Shop
หลังจากเรียนจบ ณัทธร ได้ทางานออกแบบภายในตลอดมา
จนกระทั่งรูจ้ กั กับ มาตร(สมมาตร พิทกั ษ์ก่ิงทอง)ทัง้ 2ได้รว่ มกันทาเครื่องแต่งกายภาพยนต์ องคุลีมาล จนได้รบั รางวัลเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม ในปี 2003 และได้นาเงินจากรางวัลนีเ้ ป็ นทุนรอนก้อนแรกใน การก่อตัง้ ร้าน Karmakamet ซึง่ เริ่มต้นด้วยการเป็ นร้านขายของตกแต่งบ้านในตลาดนัดสวน จตุจกั ร ที่ออกแบบ และผลิตเอง จนกระทั่งได้รบั แรงบันดาลใจจากกระดานชนวนคลึงธูปเก่าของอากง จึงป็ นพลังผลักดันที่ทาให้ตงั้ ใจจะฟื ้ นฟูกิจการดัง้ เดิมของครอบครัวให้กลับมามีชีวิตอีกครัง้ จึงได้ ปรับเปลี่ยนแนวทางสูโ่ ลกแห่งเครื่องหอมทีละนิด และได้นาลวดลายเก่าของป้ายร้านดัง้ เดิมของ ครอบครัวมาออกแบบปรับปรุงใหม่เป็ นเครื่องหมายการค้า Karmakamet และจดลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้ามาจวบจนปั จจุบนั
2003
แรกแย้ม
หลังจากความตัง้ ใจฟื ้ นฟูกิจการดัง้ เดิมของครอบครัว จึงเริ่มต้นด้วยการรือ้ ฟื ้ นสูตรธูปหอมตามสูตร ดัง้ เดิมของครอบครัว เกิดความคิดในการต่อยอดเรื่องกลิ่นหอม จึงสั่งซือ้ นา้ มันหอมระเหยมาเพื่อ ทดลองผลิต จนเกิดเป็ นธูปหอมสูตรดัง้ เดิมหลากกลิ่นเป็ นผลิตภัณิ์แรกสมดั่งใจ จากการณ์ดงั กล่าวก็ได้ขยายกลุม่ สินค้าเกี่ยวกับกลิ่น หอมเพิ่มขึน้ สูน่ า้ มัน Pure Essential Oil ซึง่ ปรากฏว่า ผลตอบรับดีเกินคาด อาจจะเหตุเพราะใน ช่วงเวลานัน้ ผูค้ นยังรูจ้ กั วิธีการใช้เครื่องหอมไม่มากนัก จนในที่สดุ จึงได้ตอ่ ยอดมาเป็ นผลิตภัณิ์อ่ืนๆ ตามมา เช่น เทียนหอม ถุงหอม และอื่นๆ อีกมากมาย
2004
Betrayed แตกหัก ในระหว่างช่วงเวลาแห่งความฝัน ชีวิตของณัทธร ก็มีเหตุพลิกผัน ที่ทาให้ Karmakamet ร้านแรกที่เปิ ดขึน้ ได้ถกู เปลี่ยนมือไป ด้วยเพราะความไร้ประสบการณ์เชิงกฎหมายธุรกิจ ธุรกิจ มีผลทาให้รา้ น Karmakamet แต่เดิมที่ถกู ถอด แบบมาจากผนังลิน้ ชักเก็บเครื่องยาดัง้ เดิมของครอบครัวจึง ตกไปเป็ นกรรมสิทธิ์ของผูอ้ ่ืน เหลือไว้แต่เพียงสิ่งเดียว คือ เครื่องหมายการค้าที่จดลิขสิทธิ์ในนามของคุณณัทธร คือ คาว่า Karmakamet Aromatic 1971
2004 Reopening of The Karmakamet Shop at Chatuchak Weekend Market หลังจากความตัง้ ใจฟื ้ นฟูกิจการดัง้ เดิมของครอบครัว จึงเริ่มต้น ด้วยการรือ้ ฟื ้ นสูตรธูปหอมตามสูตรดัง้ เดิมของครอบครัว เกิด ความคิดในการต่อยอดเรื่องกลิ่นหอม จึงสั่งซือ้ นา้ มันหอมระเหย มาเพื่อทดลองผลิต จนเกิดเป็ นธูปหอมสูตรดัง้ เดิมหลากกลิ่นเป็ น ผลิตภัณิ์แรกสมดั่งใจ ในระหว่างช่วงเวลาแห่งความฝัน ชีวิตของณัทธร ก็มีเหตุพลิกผันที่ทาให้ Karmakamet ร้าน แรกที่เปิ ดขึน้ ได้ถกู เปลี่ยนมือไปด้วยเพราะความไร้ประสบการณ์เชิงกฎหมายธุรกิจ มีผลทาให้รา้ น Karmakamet แต่เดิมที่ถกู ถอดแบบมาจากผนังลิน้ ชักเก็บเครื่องยาดัง้ เดิมของครอบครัวจึง ตกไปเป็ นกรรมสิทธิ์ของผูอ้ ่ืน เหลือไว้แต่เพียงสิ่งเดียว คือเครื่องหมายการค้าที่จดลิขสิทธิ์ในนาม ของคุณณัทธร คือคาว่า Karmakamet Aromatic 1971
2006
Opening of Karmakamet Store at Central World Plaza การเริ่มบทใหม่ในครัง้ นี ้ มีเป้าหมายที่ย่งิ ใหญญ่ขนึ ้ กว่าเคย จากร้านเล็กๆ ที่จตุจกั ร จึงตัดสินใจ ขยายสาขาเป็ นครัง้ แรก โดยเริ่มเปิ ดที่ เซนทรัลเวิลด์ เป็ นที่แรก บริเวณชัน้ 2 ของ ห้าง ซึง่ นอกจากเครื่องหอมแล้ว ยังมีบริการชา และขนมอีก ด้วย
Source: https://karmakamet.co.th
20
2008 Karmakamet Hotel, Samui
และบทใหม่ก็มาเยี่ยมเยือนเมื่อ Karmakamet Aromatic 1971 ได้เปิ ด บูทิคโฮเต็ล โรงแรม หอมๆ แห่งแรกที่เกาะสมุยด้วยการชักนาของ คุณจักรินทร์ และคุณลักษวรรณ อักษราวดีวฒ ั น์ Karmakamet Hotel เปิ ดตัวด้วยโรงแรมที่ได้รบั แรงบันดาลใจมาจากครอบครัวทาธูปในวัยเด็ก กล่าวคือ ประกอบด้วยเรือนที่แตกต่างกัน 3 แบบจาก 3 วัฒนธรรม จีน มลายู และไทยแบบพืน้ ถิ่น ซึง่ ได้เลียนแบบ จากพืน้ ที่ของครอบครัวที่ทาธุรกิจของหอม ซึง่ มีทงั้ เรือน ส่วนของเจ้าบ้าน ช่างทาเรื่องหอม และหมอยาจีน ปั จจุบนั โรงแรมแห่งนีไ้ ด้เปลี่ยนชื่อเป็ นโรงแรม The Scent ภายใต้การดูแลของเจ้าของคนใหม่ เนื่องเพราะต้องการเอา ใจใส่ธุรกิจเครื่องหอมในกรุงเทพฯ ให้แข็งแรงขึน้ มากกว่า
21
2010 2010 Karmakamet at JJ Weekend Market 3 เป็ นเวลากว่า 6 ปี ท่ี ณัทธร มองหาทาเลที่เหมาะสมกับ Karmakamet ในตลาดนัดสวนจตุจกั ร และในปี 2010 ร้าน Karmakamet สาขาใหม่ก็ได้กาเนิดขึน้ เพื่อระลึกถึงร้านแรกที่สญญ ู ไปในตลาด นัดสวนจตุจกั รโดยมีขนาดที่ใหญญ่ขนึ ้ โดยมีคณ ุ สมมาตร หุน้ ส่วน และผูร้ ว่ มก่อตัง้ คามาคาเมต ยังคงไป พบปะลูกค้าเก่าๆ ตัง้ แต่เริม่ แรกที่สาขานีอ้ ย่างเป็ นประจา
New Logo
Source: https://karmakamet.co.th
เมื่อก้าวเข้าสูอ่ ีกยุคสมัยหนึ่ง Karmakamet ได้ปรับปรุงรูปแบบ Logo ให้เหมาะกับยุคสมัยใหม่ โดยถอดเอาลวดลายเถาไม้ และดอกพุดตานเดิมออก โดยยังคงสัญญลักษณ์ทรงกระจกกลมรี และภูเขา แบบดัง้ เดิมที่ได้ปรับปรุงให้เรียบง่ายเพื่อมีลกั ษณะที่จดจาได้ง่าย โดยภูเขาที่มีเส้นทางคดเคีย้ วนีไ้ ด้ถกู แต่งเติมบ้านบนยอดเขาให้เห็นเด่นชัดเพื่อเชื่อมโยงกับสาระหลักของ Logo ซึง่ หมายถึงมรรคอันไปสู่ ตัวตนซึง่ เป็ นจุดกาเนิดของอุดมคติทางรูปธรรม
2012 Opening of A New Store in Aoyama, Japan Opening of A New Store in Megabangna Shopping Centre
22
2013 Opening of Karmakamet Diner
Opening of Everyday Karmakamet, Silom
2016 Opening of Everyday Central Eastville
Opening of Everyday Siam Center
2017 Relocation of Karmakamet Central World
23
Opening of Karmakamet Shop Silom
2018 Opening of Everyday Rush, MRT Phetchaburi Station
Opening of Karmakamet Store at Lhong 1919
Opening of Everyday Hopp at Central World Plaza
Opening of Karmakamet Calssified, MRT Sukhumvit Station
2019 Opening of Everyday Karmakamet at Siam Square Soi 3
24
Opening of Karmakamet Conveyance
Opening of Karmakamet Store at 101 True Digital Park
Source: https://karmakamet.co.th
25
Source: https://thematter.co/life/i-love-my-life-karmakamet/31877 Source: Photos by Adidet Chaiwattanakul
PHILOSOPHY เราเชื่อว่าการให้เวลากับตนเองเพือ่ ทาความเข้าใจ ชาระล้าง ชีวติ จิตใจ ให้ขาว ปลอดนั้น เป็ นเรื่องสาคัญ ก่อให้เกิดสันติภายในและพลังชีวติ ซึง่ มีผลยิง่ ใหญ่ทงั้ ต่อตนเอง และขยายประโยชน์ไปต่อผู้อนื่ และสังคม เราจึงมุ่งมั่นสร้างเครื่องมือ ในมิตติ ่างๆ เพือ่ เป็ นกุศโลบายให้ ใช้เวลากับตนเองมากขึน้ อย่างมีความสุข” ณัทธร รักษ์ชนะ ผู้ก่อตัง้ แบรนด์ คามาคาเมต
26
27
AFFILIATED BUSINESS OF KARMAKAMET
KARMAKAMET AROMATIC EVERYDAY KARMAKAMET KARMAKAMET DINER FINE DINING KARMAKAMET CONVEYANCE HOTEL KARMAKAMET AROMATIC
Source: https://karmakamet.co.th
28
KARMAKAMET PRODUCTS Karmakamet มี products ให้เลือก2 ประเภท คือ ประเภทเครือ่ งใช้ในบ้าน มีตงั้ แต่ room spay ธูปหอม เทียนหอม ไปจนถึงถุงหอม กลิ่น signature ของทาง แบรนด์ก็คือกลิ่น joy ที่ให้ความสดชื่นได้กลิ่นดอกไม้เล็กๆ ทาให้รูส้ กึ ผ่อนคลายสบาย ประเภทใช้กบั ร่างกาย มีทกุ อย่างให้เลือกสรร ตัง้ แต่ massage oil เจลล้างมือ ลิปบาล์ม บอดีโ้ ลชั่น และสบู่ 29 กลิ่น Joy มีสว่ นผสมของ Peppermint (สะระแหน่), English Lavender (ดอกลาเวนเดอร์) และ Geranium (ดอกเจอราเนียม) เป็ นกลิ่นที่มีคณ ุ สมบัติดงั นี ้ 1.Vitality (กระตุน้ ให้มีชีวิตชีวา) 2.Concentration (ช่วยสร้างสมาธิ) 3.Clear Thinking (ช่วยให้สมองปลอดโปร่ง) 4.Colds and Flu (ลดอาการไข้หวัด) 5.Headache (ลดอาการปวดหัว) 6.Allergies (ลดอาการภูมิแพ้อากาศ)
30
Source: https://karmakamet.co.th
WHAT IS SPA ? 31
สปา Spa คือ สถานที่ซง่ึ เป็ นแหล่งพักผ่อน เพื่อคลายความเหน็ดเหนื่อย เมื่อยล้าของร่างกายและจิตใจ ทาให้รา่ งกายและจิตใจแจ่มใส โดยวิธีการ บาบัดของสปานัน้ ส่วนใหญญ่เป็ นวิธีการบาบัดแบบธรรมชาติ ด้วยผลิตภัณิ์ จากธรรมชาติ
The International SPA Association (ISPA- พ.ศ. 2538) แบ่งชนิดของสปาออกเป็ น 7 ประเภทดังนี ้ คลับ สปา (Club Spa) สปาบนเรือสาราญญ (Cruise Ship Spa) นา้ พุรอ้ น สปา (Mineral Spring Spa)
เดสติเนชั่น สปา (Destination Spa) โรงแรมและรีสอร์ต สปา (Hotel & Resort Spa) เมดิคอน สปา (Medical Spa) เดย์ สปา (Day Spa) เป็ นสปาที่ไม่มีหอ้ งพักค้างคืน ใช้ระยะเวลาอันสัน้ ประมาณ 1-5 ชั่วโมง ส่วน ใหญญ่จะเน้นเรือ่ งความสวยงามและผ่อนคลาย เดย์ สปา เป็ นประเภทของส ปาที่เปิ ดบริการมากที่สดุ ในเวลานี ้ มักจะเน้นเรือ่ งความงามและการบาบัด ให้คลายเครียดในเวลาสัน้ ๆ แค่ไม่ก่ีช่วั โมง ไม่ตอ้ งเข้าคอร์สปรับเรือ่ ง โภชนาการอาหารการกิน หรือการออกกาลังกายเป็ นธุรกิจที่ขยายตัว ค่อนข้างสูงในระยะเวลา 10 ปี ท่ีผา่ นมา เนื่องจากใช้เงินลงทุนไม่มากเหมือน ธุรกิจสปาอื่น ๆ อาจจะใช้อาคารสานักงาน ที่พกั อาศัย อาคารพาณิชย์ ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าในสนามบิน หรือบริเวณบ้านที่รม่ รืน่ ดัดแปลงเป็ น เดย์ สปา ได้ไม่ยาก พบว่าหากเลือกทาเลดีจะมีลกู ค้าหมุนเวียนมาใช้บริการ ในปริมาณมาก
Source: https://karmakamet.co.th
32
องค์ประกอบของสปา ตามคานิยามของ The International SPA Association (ISPA) สปาประกอบไปด้วยปั จจัย สาคัญญ 10 ประการ ได้แก่ 1. นา้ (Water) สามารถนาไปใช้ได้หลายรูปแบบทัง้ ภายใน เช่น การดื่ม การกิน และภายนอก เช่น การอบ การแช่ หรือการนามาเป็ นส่วนประกอบ ในการบริการและการตกแต่งสถานที่ 2. การบารุง (Nourishment) เช่น อาหารสุขภาพ เครือ่ งดื่มสมุนไพร และสารอาหารบารุงต่าง ๆ
33
3. การเคลื่อนไหวและการออกกาลังกาย (Movement, Exercise & Fitness) การเคลื่อนไหวในท่าทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์ตา่ ง ๆ กัน สร้างความกระปรีก้ ระเปร่า เพิ่มพลังงาน เช่น การออกกาลังกายแบบต่าง ๆ การผ่อนคลายกล้ามเนือ้ บริการห้องออกกาลังกาย 4. การสัมผัส (Touch) เช่น การนวดและการสัมผัสที่ส่อื สารความรู ส้ กึ ต่าง ๆ ให้ความรูส้ กึ ที่อบอุน่ ผ่อนคลาย และบาบัดอาการปวดเมื่อย 5. Integration กิจกรรมสุขภาพที่บรู ณาการความสัมพันธ์ท่ีสอดคล้อง กันระหว่างกาย ความคิด จิตใจ จิตวิญญญญาณกับสภาพแวดล้อม
6. ศาสตร์ดา้ นความงาม (Aesthetics) การบารุงรักษาความงามกับ กระบวนการที่ใช้ผลิตภัณิ์พืชพรรณธรรมชาติ สมุนไพรต่าง ๆ ที่มีผลกับ ร่างกายมนุษย์ 7. สภาพแวดล้อม (Environment) สถานที่ตงั้ ประกอบไปด้วย สภาพแวดล้อมที่ดี สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม การออกแบบตบแต่ง รู ปแบบ บรรยากาศดี ให้ความรูส้ กึ ผ่อนคลาย 8. การแสดงออกถึงศิลปวัฒนธรรม (Art, Culture & Social) เป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ที่สร้างความสุนทรียะและประทับใจในเวลาที่ได้พกั ผ่อนและมี สังคมที่ดีกบั มิตรสหาย 9. เวลา และจังหวะ (Time, Space, Rhythms) ตระหนักถึงการใช้ เวลาและจังหวะชีวิตทีได้ดแู ลสุขภาพให้แก่ตนเอง มีเวลาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่ดีตอ่ สุขภาพโดยสอดคล้องกับวงจรธรรมชาติ 10. ระบบการบริหารจัดการที่ดี (Management and Operation System) มีการบริหารงานอย่างเป็ นระบบ
Source: https://www.kimptonmaalaibangkok.com/facilities/thai-spa-massage-package/
34
9 รู ปแบบ นวดสปา ยอดนิยม
1. นวดนา้ มัน เป็ นการนวดโดยใช้นา้ มันหอมระเหยจากธรรมชาติเข้าไป กระตุน้ ระบบต่างๆ ของร่างกาย เน้นการผ่อนคลาย บรรเทาอาการเหนื่อยล้า
35
2. นวดคอ บ่า ไหล่ เป็ นการนวดเฉพาะช่วงบน โดยใช้นิว้ มือบีบนวดไป ตามคอ บ่า ไหล่ 3. นวดสวีดชิ คือการนวดโดยใช้นา้ หนักปานกลาง ลูบ เคาะ หรือกดลงตาม เส้นทั่วร่างกาย นิยมใช้นา้ มันหอมระเหยร่วมด้วยเพื่อเพิ่มความลื่นไหล 4. นวดหินร้อนบาบัด เป็ นการนาหินไปแช่นา้ ร้อนให้ได้อณ ุ หภูมิท่ี เหมาะสม แล้วนาไปวางบนจุดต่างๆ ของร่างกาย เพื่อกระตุน้ การไหลเวียน โลหิต 5. นวดประคบสมุนไพรแผนไทย เป็ นการนาลูกประคบสมุนไพรที่ถกู อุน่ ไว้ท่ีอณ ุ หภูมิเหมาะสม กดลงบนผิวหนังอย่างเป็ นจังหวะ โดยแรงที่กดลงบน ผิวและระยะเวลาที่กดลงจะแตกต่างกันไปตามแต่ละส่วนของร่างกาย
Source: https://hdmall.co.th/health-checkup/thai-traditional-massage-90-minutes-peony-spa
6. นวดแผนไทย เรียกอีกชื่อว่า นวดแผนโบราณ เป็ นการนวดด้วยเทคนิค บีบ คลึง ดัด ดึง กด ทุบ เคาะ สับ ประคบร้อน และอบ 7. นวดศีรษะแบบอินเดีย เป็ นการนวดร่วมกับการใช้นา้ มันพร้าวบริสทุ ธิ์ท่ี ถูกอุุ่นในอุณหภูมิท่ีพอเหมาะ บริเวณศีรษะ ต้นคอ บ่า ไหล่ สะบัก และ หน้าผาก โดยจะใช้บริเวณปลายนิว้ มือนวดคลึงบริเวณกล้ามเนือ้ จุดต่างๆ ให้คลายตัวออก 8. นวดตัวปรับสมดุลสุขภาพตามธาตุเจ้าเรือน เป็ นการนวดแผนไทยที่ นาศาสตร์การแบ่งธาตุเจ้าเรือนตามเดือนเกิดมาประยุกต์ใช้รว่ มด้วย 9. นวดทุยหนา เป็ นศาสตร์การนวดของแพทย์แผนจีน โดยใช้วิธีกด คลึง ถู บีบ หรือดีด ไปตามจุดต่างๆ ของเส้นลมปราณบนร่างกาย เพื่อให้เลือดลม ไหลเวียนไปตามอวัยวะต่างๆ ได้ดีขนึ ้
36
BENEFITS OF MASSAGE
ประโยชน์ของการนวด
37
- ช่วยให้เลือดลมไหลเวียนคล่อง เพื่อให้เลือดสามารถนา ออกซิเจน ไปเลีย้ งส่วนต่าง ๆ ภายในร่างกายได้อย่างทั่วถึง - ขับของเสีย ไม่วา่ จะเป็ นทางนา้ เหลือง เพื่อไม่ให้มีการสะสม ของเสียไว้ในร่างกาย สุขภาพก็ดีขนึ ้ - แก้อาการปวดต่างๆ เช่นปวดยอก ปวดคอ ปวดหลัง ปวด สะโพก อาการชา เนื่องจากไหลเวียนเลือดไม่ดี เป็ นต้น - ช่วยคลายการปวดเกร็งตัวของกล้ามเนือ้ สลายพังผืด ที่เป็ น ต้นเหตุในของขัดการไหลเวียนของเลือดและทาให้เกิดการ อักเสบปวดกล้ามเนือ้ - แก้ไขในส่วนที่เป็ นต้นเหตุของการเจ็บปวด ซึง่ ช่วยให้การ เคลื่อนไหวร่างกายให้เป็ นปกติ - เพิ่มความยืดหยุน่ ของข้อต่อ / กล้ามเนือ้ ปรับสมดุลของ ร่างกาย - ช่วยให้รูส้ กึ ผ่อนคลายสบายอารมณ์ สุขภาพจิตดี อารมณ์ สงบ นอนหลับได้งา่ ยขึน้ และหายจากอาการซึมเศร้าได้
CONTRAINDICATIONS AND CAUTIONS ข้อห้าม และสิ่งทีค่ วรระวังจากการนวด - ห้ามนวดบริเวณที่เป็ นมะเร็ง - ห้ามนวดบริเวณที่บาดเจ็บหรืออักเสบเฉียบพลัน บวม แดง ร้อน - ห้ามนวดผูป้ ่ วยภาวะหลอดเลือดดาอุดตัน ภาวะการแข็งตัว ของเลือดผิดปกติ เป็ นโรคเลือดต่าง ๆ มีภาวะเกล็ดเลือดต่า อย่างรุนแรง - ห้ามนวดคนที่มีภาวะกระดูกแตก หัก ปริ ร้าว ที่ยงั ไม่หายดี หรือตาแหน่งที่มีการผ่าตัดกระดูกและยังไม่ประสาน - ห้ามนวดคนโรคติดเชือ้ ทางผิวหนังทุกชนิด - สตรีมีครรภ์ เพื่อความปลอดภัยของทารกและตัวคุณแม่เอง - ผูท้ ่มี ีภาวะกระดูกพรุน กระดูกบาง - ผูท้ ่มี ีโรคประจาตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง - ผูท้ ่ใี ส่อวัยวะเทียม
Source: https://karmakamet.co.th
38
39
CASE STUDY
40
41
ปั ญญ์ปุริ (PANPURI) คือไลฟ์ สไตล์แบรนด์สญญ ั ชาติไทยที่ผสมผสานระหว่างปรัชญญาและ ความเชื่อ ทางตะวันออกเข้ากับวิถีธรรมชาติและความเป็ นออร์แกนิก เกิดเป็ นผลิตภัณิ์ คุณภาพสูงและมีความปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค ทัง้ ผลิตภัณิ์บารุงผิว รวมถึง ผลิตภัณิ์เครือ่ งหอมตกแต่งบ้านชนิดต่างๆ
42
หลังจากเปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการในปี 2003 ด้วยคุณค่า คุณภาพ และ ประโยชน์ท่ีผบู้ ริโภคได้รบั ชื่อของปั ญญญญ์ปรุ จิ งึ เป็ นที่จดจาของผูค้ นในวง กว้าง ปั จจุบนั นอกจากจะจัดจาหน่ายลักษณะของร้านค้าในประเทศ ไทยและส่งออก กว่า 27 ประเทศทั่วโลก ปั ญญญญ์ปรุ ยิ งั ขยับขยายการ บริการออกไปอีกหลาก หลาย ไม่วา่ จะเป็ นการสร้างสรรค์ผลิตภัณิ์ สาหรับโรงแรมและสปาชัน้ นา ตลอดจนบริการด้านสปา ซึง่ ถือว่าเป็ น “ออร์แกนิก สปา” รายแรกในเมืองไทย เพื่อรองรับกลุม่ ลูกค้าผูร้ กั สุขภาพและชื่นชอบผลิตภัณิ์จากธรรมชาติในแบบฉบับปั ญญญญ์ปรุ ิ
Source: https://www.panpuri.com/th
KARMAKAMET COMMUNITY MALL
43
SPA RESTAUREANT CAFE BAR AND LOUNGE SHOP
TARGET GROUP 20%
30-39 YEARS
AGE
50%
40-45 YEARS 20-29 YEARS
30%
FEMALE 40%
GENDER 60%
MALE
THAI
30%
NATION
FOREIGNER 70%
44
TARGET GROUP SPA FEMALE 42%
MALE 58%
45
RESTAUREANT
FEMALE 50%
50%
MALE
CAFE
FEMALE 40% 60%
MALE
BAR
FEMALE 40% MALE
60%
SHOP
FEMALE
30%
MALE 70%
Source: https://karmakamet.co.th
46
KARMAKAMET ACTIVITIES MASSAGE
AROMATHERAPY
47
FOOT SPA
ACUPRESSURE MASSAGE
TRADITIONAL THAI MASSAGE
FOOT MASSAGE
Source: https://www.wac.net/spa/massage/ Source: https://naturatermospa.com/product/therapeutic-feet-or-legs-massage/ Source: https://chirozone.co.uk/treatments/massage/acupressure-massage/ Source: https://www.sfsm.edu/what-is-traditional-thai-massage/
EAT AND DRINK
RESTAURANT
CAFÉ
BAR
SHOP
KARMAKAMET SHOP
EVERYDAY KARMAKAMET SHOP
Source: https://www.thebusinessplanshop.com/fr/blog/business-plan-cafe Source: http://asiaspaindia.com/treatments/hands-feet Source: https://karmakamet.co.th
48
49
LOCATION / SITE ANALYSIS
50
สุขมุ วิท 46 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพ 10110
51
LOCATION MAP
BTS พระโขนง
SITE CONDITION
BTS พระโขนง
52
HOW TO GET TO NAIIPA
NAIIPA ZONING PLAN
53
2 1 3 1
3 3
1ST FLOOR 1. RESTAURANTS 2. RECORDING STUDIO 3. COFFEE SHOP/RETAIL
2ND FLOOR 1. RESTAURANTS 2. OFFICE SPACE 3. DANCE STUDIO 4. REFLECTIVE ROOM
3
2 4 1
2
1
54
3RD FLOOR 1. ART SPACE 2. FITNESS 3. ROOF TERRACE 4. OFFICE SPACE
2
1 4 3
FACADE
EXTERIOR
55
1ST FLOOR
2ND FLOOR
3RD FLOOR
Source: https://www.venuee.co/venues/naiipa-art-complex Source: https://www.eventbanana.com/Seeker/VenueDetail/49/naiipa-art-complex
56
57
BUILDING TYPE
OFFICE SPACE + MALL
MATERIALS USING
58 STEEL
CONCRETE
WOOD
GLASS
TOTAL AREA OF THE BUILDING Site Area: 1,200 sqm. Built Area: 2,400 sqm.
Source: https://www.eventbanana.com/Seeker/VenueDetail/49/naiipa-art-complex
59
https://karmakamet.co.th
60
61
https://karmakamet.co.th
CASE STUDY
62
THE COMMONS The Commons คือพืน้ ที่ชมุ ชนแห่งใหม่ในทองหล่อซอย 17 ที่ไม่มีอะไร เหมือนคอมมูนิตมี ้ อลล์ท่ีเราคุน้ เคย พืน้ ที่สว่ นกลางไม่มีแอร์ ไม่มีรา้ นค้าเฟรน ไชส์ท่ีเคยคุน้ แต่มีผคู้ นที่รกั ในสิ่งที่ทามาอยูร่ วมกัน
63
ตัวอาคารด้านนอก มีความLoft เหมาะกับคนเมืองรุน่ ใหม่ แต่ขา้ งในเป็ น มากกว่านัน้ เพราะที่น่ีตงั้ ใจให้เป็ น Wholesome living คือ พืน้ ที่ใช้ ชีวิตอย่างเป็ นสุขใส่ใจสุขภาพ ผูก้ ่อตัง้ มีอดุ มการณ์วา่ "Our intention is to build first a community, then a mall." จึงพบ จุดเด่นที่แตกต่างจากคอมมูนิตมี ้ อลล์อ่ืนๆ ตรงที่มีพนื ้ ที่สว่ นกลาง ทัง้ ต้นไม้ และโต๊ะเก้าอีใ้ ห้น่งั อยูเ่ ป็ นจานวนมากในแต่ละชัน้ และการออกแบบที่เน้น ความโปร่ง โล่ง ไม่แออัดเหมือนตึกอาคารในย่านนี ้ ซึง่ พืน้ ที่ทงั้ หมดแบ่งเป็ น 4 โซนได้แก่ 1. Market : รวมร้านอาหารและเครือ่ งดื่มคุณภาพ ที่ตงั้ ใจคัดสรรร้านที่จะ มอบรสชาติและคุณภาพที่ดีของอาหารให้กบั ลูกค้า ให้ท่ีน่ีเป็ นครัวที่ 2 ของทุก คนได้ท่ีมือ้ ทุกเวลาโดยมีทงั้ ร้านกาแฟ ร้านซีฟดู้ ร้านอาหารไทยและต่างชาติ ไปจนเบียร์ ซึง่ ชัน้ ล่างมีพนื ้ ที่สว่ นกลางที่คณ ุ สามารถนั่งที่ไหนก็ได้ 2. Village : รวมร้านเล็กๆ ทัง้ ไอเท็มต่างๆ ขนม ของหวานท่ามกลาง บรรยากาศการตกแต่งแบบธรรมชาติ โปร่ง น่านั่ง 3. Play yard : พืน้ ที่ "เล่น" ของทุกวัย ที่น่ีมีตงั้ แต่ Little Pea และ Enginou สาหรับการเล่นและการเรียนรูข้ องเด็กๆ แต่สาหรับผูใ้ หญญ่ท่ีน่ีก็มี Absolute You เรียกกว่าครบทัง้ ครอบครัง ให้คณ ุ พ่อคุณแม่พาลูกมาใช้ ชีวิตที่น่ีได้ในวันหยุด 4. Top yard : ชัน้ บนสุด เขียวชอุม่ ไปด้วยไม้ประดับและสวน ให้คณ ุ ใช้ ชีวิตไปกับ theCOMMONS Kitchen & Bar ซึง่ เป็ นครัวของคน เมืองจริงๆ เพราะมีทงั้ Cooking workshops และพืน้ ที่น่งั รับประทาน อาหารหรือเครือ่ งดื่ม รวมถึงร้านค้าอาหารและของหวาน
64
Source: https://www2.edtguide.com/index.php/www/review/443930/the-commons
สปาเป็ นธุรกิจที่เน้นเรื่องของความสุนทรียไ์ ปพร้อม ๆ กับความรูส้ กึ ผ่อนคลาย เพราะเป็ นบริการที่สง่ ผลต่อ อารมณ์ความรูส้ กึ ของผูร้ บั บริการ การตกแต่งภายใน ร้านสปาจึงต้องคานึงถึงหลักการหลายประการที่ เกี่ยวเนื่องกับประสาทสัมผัสทัง้ ห้า รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส
65
sense
1.รู ป สัมผัสแรกเมื่อก้าวเข้าร้านสปาคงเป็ นเรือ่ งบรรยากาศ การตกแต่ง ภายในร้าน ไม่อบั ทึบ ควรจัดแบ่งสัดส่วนของร้านอย่างชัดเจน ว่าโซนไหน ส่วนตัว ห้องนวด ห้องอบ อ่างนา้ รวมไปถึงห้องเปลี่ยนเสือ้ ผ้า ห้องนา้ ก็ควร ตกแต่งแบ่งสัดส่วน ให้เกิดความสบายตา สะอาด และเรียบร้อย
2.รส สปาเกือบทุกแห่งมักจะมีบริการเสริมนี ้ หลังจากรับการบริการเสร็จ จะ นวดหน้า นวดตัว อบผิว ทางร้านควรมีบริการเครือ่ งดื่มชงร้อนให้จิบ เพื่อปรับ สภาวะในร่างกาย ส่วนใหญญ่ก็เป็ นเครือ่ งดื่มประเภทชา นา้ มะตูม นา้ เก๊กฮวยชง อุน่ ๆ บางแห่งมีบริการอาหารคลีน หรืออาหารที่ช่วยขับสารพิษที่ตกค้างใน ร่างกายไว้บริการ
3.กลิ่น ปฏิเสธเรือ่ งกลิ่นหอมในร้านสปาไม่ได้ เพราะกลิ่นสามารถช่วย บาบัดรักษาอาการต่าง ๆ ได้อีกทางหนึง่ จะเป็ นกลิ่นที่ได้จากการจุดกายาน หรือเทียนหอมกลิ่นต่าง ๆ ก็ช่วยได้มาก เช่น กลิ่นกระดังงา ช่วยเรือ่ งนอนไม่ หลับ อ่อนเพลีย กลิ่นโรสแมรี่ ลดอาการปวดหัว ไมเกรน เมาค้าง และคลาย ปวดเมื่อย หรือในนา้ มันหอมระเหยที่ใช้สาหรับทาเวลานวด ก็ซมึ เข้าสูผ่ ิวหนัง สูดดม อบ แช่ หรือประคบ
66 4.เสียง การตกแต่งร้านสปา นอกจากคานึงถึงเรือ่ งแสงสว่างภายในร้านแล้ว ที่ตอ้ งมาควบคูก่ นั คือเสียง บางร้านตกแต่งให้มีมมุ นา้ ตกเล็ก ๆ ได้ยินเสียงนา้ ไหลริน นา้ ตก ก็รูส้ กึ ถึงความผ่อนคลาย เหมือนอยูท่ ่ามกลางธรรมชาติ บางร้าน ไม่มีสถานที่ตกแต่งก็เน้นเปิ ดเพลงบรรเลงคลอเบา ๆ เสียงเครือ่ งดนตรีนอ้ ยชิน้ เสียงคลื่น เสียงนก เสียงนา้ เป็ นการบาบัดด้านอารมณ์ จิตใจให้คลายความ กังวล
5.สัมผัส ร้านสปาแต่ละแห่งคงมีบริการที่แตกต่างกันออกไป บางแห่งเป็ นการ บาบัดด้วยนา้ ให้สมั ผัสกับนา้ เพื่อผ่อนคลาย เช่น การอาบนา้ การอบตัว การขัด ผิว บางแห่งเป็ นการบาบัดด้วยการนวด การบีบ การจับเส้น ทัง้ นวดอโรม่า หรือ นวดแผนไทย บางแห่งเป็ นการให้บริการเกี่ยวกับความงาม เช่น สปาหน้า สปา ผิว เพื่อขจัดเซลผิวที่ตาย ที่ทาให้ใบหน้าหมองคลา้ กลับมาใส เต่งตึง
THANN
67
บริการนวดสปา นวดไทย และนวดผ่อนคลายในแบบอโรม่า พร้อมดูแล ผิวพรรณด้วยผลิตภัณิ์ธรรมชาติท่ีคิดค้นสูตรเองจึงทาให้ท่ีน่ีได้รบั การ ยอมรับ มีผสู้ นใจที่จะมาใช้บริการจานวนมาก โดยเฉพาะผูท้ ่ีตอ้ งการความ เป็ นธรรมชาติไม่วา่ จะเป็ นวิธีการบาบัดหรือผลิตภัณิ์ตา่ งๆ หากคุณสนใจที่น่ี ตอบโจทย์ได้แน่นอน THANN Sanctuary โอเอซิสแห่งความสงบและเงียบสงบให้บริการท รีทเมนท์สปาหลากหลายรูปแบบโดยใช้ศิลปะธรรมชาติบาบัดของ THANN ซึง่ เป็ นศิลปะในการรักษาสมดุลของร่างกายและจิตใจผ่าน ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า
68
Source: https://www.bareo-isyss.com/service/decor-guide/spa-design/
Hotel Marqués de Riscal ตัง้ อยูท่ ่ีเมือง La Rioja ที่ขนึ ้ ชื่อเรือ่ งการผลิตไวน์ Rioja ของประเทศ สเปน สถานที่ตงั้ ของโรงแรมและสปาแห่งนีต้ งั้ อยูท่ ่ามกลางไร่องุ่นที่ให้ บรรยากาศเงียบสงบ ดังนัน้ เพื่อสร้างความโดดเด่นและแตกต่างกับ บรรยากาศโดยรอบ Frank Gehry จึงได้ออกแบบอาคารที่ยงุ่ เหยิงนี ้ ขึน้ มาจนกลายเป็ นที่จดุ เด่นอีกแห่งในเมือง La Rioja
69
Inspiration ของเส้นสายที่เกิดขึน้ นัน้ มาจากการผสมผสานของ เอกลักษณ์ของ ‘ไวน์’ อันเป็ นของขึน้ ชื่อของพืน้ ที่ โดยนามาเล่นกับการใช้สี ของวัสดุ คือ สีมว่ งไวน์แทนไวน์ของ Rioja, สีเงินแทนฟอยล์ท่ีพนั รอบฝา ขวดไวน์ และสีทองแทนฉลากไวน์ เมื่อนามารวมกันกลายเป็ นเอกลักษณ์ของ พืน้ ที่ท่ีเป็ นสถานที่ผลิตไวน์ นาสีสนั ต่างๆ มารวมกันเป็ นเส้นสายที่เหมือน คลื่น เป็ นตัวแทนของการเขย่าไวน์ให้กระทบกับแก้วก่อนดื่ม ส่วนวัสดุท่ีถกู เลือกใช้คือไทเทเนียมด้านที่โดดเด่นท่ามกลางแสงอาทิตย์และไร่องุ่น และ กระจกที่ทาให้ตวั อาคารเกิดมิติจากการมีวสั ดุทบึ และวัสดุใส Frank Gehry นัน้ เป็ นสถาปนิกผูอ้ อกแบบภายนอกอาคาร ส่วน Yves Collet เป็ นดีไซน์เนอร์ท่ีดีไซน์งานออกแบบตกแต่งภายในค่ะ ดังนัน้ บรรยากาศภายในสงบนิ่งผ่อนคลายคอนทราสกับงานออกแบบภายนอกราว กับอยูค่ นละโลก ตัวพืน้ ที่ภายในจะเน้นให้เกิดความรูส้ กึ ของการพักผ่อนแต่ ยังคงคอนเซปที่จะสื่อถึงไร่องุ่นอันเป็ นสถานที่ตงั้ ของสปา โดย Yves Collet เลือกใช้สีแดงเป็ นสีท่ีส่อื ถึงไวน์และองุน่ เป็ นสีหลักของพืน้ ที่ และมี การเปิ ดด้านหนึง่ ของสปาให้เป็ นหน้าต่างทัง้ แถบมองเห็นวิวไร่องุ่นภายนอก
70
Source: https://www.bareo-isyss.com/service/decor-guide/spa-design/
แผ่นสแตนเลส
71 โดยปกติแล้วหากต้องการใช้โลหะมาตกแต่งทัง้ ภายในและภายนอกอาคาร อาจจะต้องใช้เหล็กหรือแผ่นแสตนเลสยาวทัง้ แผ่น ซึง่ มักจะมีขอ้ จากัดใน การใช้บางเรือ่ ง คือค่อนข้างหนักและต้องมีโครงสร้างรองรับที่สามารถรับ นา้ หนักได้มาก โดยในปั จจุบนั ได้มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาพัฒนาส แตนเลส ให้มีนา้ หนักเบาและมีการใช้งานที่สะดวกมากขึน้ อีกทัง้ ยังมีการ เพิ่มเทคโนโลยีให้แผ่นสแตนเลสมีรูปแบบ แพทเทิรน์ และสีสนั ต่างๆ ซึง่ สามารถนามาประยุกต์ใช้กบั งานได้หลากหลายรูปแบบ โดยสามารถนามา ประดับตกแต่งพืน้ ผิวอาคาร พืน้ ผิววัสดุ และฝ้าเพดาน รวมทัง้ ใช้เป็ นวัสดุ สาหรับผลิตภัณิ์และเฟอร์นิเจอร์ชนิดต่างๆ เพื่อเพิ่มลูกเล่นความแปลก ใหม่และความสวยงามให้กบั อาคารนัน้ ๆได้อย่างน่าสนใจ
พืน้ ผิวของแผ่นสแตนเลสประกอบไปด้วย 3 รูปแบบด้วยกันดังนี ้ 1 ผิวเงา (Mirror) 2 ผิวลายเส้นยาว (Hairline) 3 ผิวลายเส้นสัน้ (Satin) โดยแต่ละแพทเทิรน์ นัน้ ก็จะมีสีท่ีแตกต่างกัน เช่น สีเงิน สีทอง สีทองแดง สี ดา และสีโรสโกลด์ เป็ นต้น ขนาดของแผ่นสแตนเลสจะมีตงั้ แต่ 1.2 x 2.4 m, 1.2 x 3 m และ 1.5 x 3 m ซึง่ ถือว่าเป็ นแผ่นที่มีขนาดใหญญ่กว่าแผ่นสแตนเลสที่ขายตาม ตลาดทั่วไป จึงทาให้มีรอยต่อค่อนข้างน้อย เรียบ เนียนไปกับผิววัสดุท่ี ต้องการติดตัง้ และลักษณะเด่นอีกประการของ Bliss Metal คือมีแพ ทเทิรน์ ของแผ่นที่ดเู ป็ นธรรมชาติ หรือก็คือในแผ่นสแตนเลส 1 แผ่น จะไม่มี พืน้ ที่ตรงไหนที่มีลายซา้ กันนั่นเอง การสร้างแพทเทิรน์ ให้กบั แผ่นสแตนเลส เกิดจากการปั๊ มขึน้ รูปแผ่นด้วย แม่พิมพ์ขนาดใหญญ่ ซึง่ จะมีความนูนต่าแตกต่างกัน ส่งผลให้แพทเทิรน์ ของ แผ่นแสตนเลสมีหลากหลายรูปแบบและไม่ซา้ กัน
ข้อดีและข้อจากัด - ไม่เป็ นสนิม - มีความทนทานและใช้งานได้อย่างยาวนาน - มีรูปแบบ ผิววัสดุ และสีอย่างหลากหลาย - สามารถใช้งานได้ทงั้ ภายในและภายนอก ทนต่อสภาพอากาศใน ช่วงเวลาต่างๆ ส่วนข้อจากัดของวัสดุชิน้ นีม้ ีเพียงไม่ก่ีประการ นั่นคือสแตนเลสจะมี นา้ หนักที่มากกว่าอลูมิเนียม จึงอาจทาให้การขนย้ายลาบากและต้องมี โครงสร้างที่รบั นา้ หนักได้มากกว่า ทาสีในภายหลังได้ยาก โดยผูใ้ ช้งานควร เลือกสี แพทเทิรน์ ผิววัสดุจากโรงงานตัง้ แต่ตอนแรก นอกจากนัน้ แผ่น สแตนเลสนีย้ งั มีราคาที่สงู กว่าเหล็กและอลูมิเนียมอีกด้วย
72
73
Tsvetnoy Central Market พืน้ ที่ 50,000 ตารางฟุตแห่งนีต้ งั้ อยูใ่ นบนถนน Tsvetnoy Boulevard ของกรุงมอสโกมีพืน้ ที่หา้ งสรรพสินค้า อาหารและร้านอาหารสามชัน้ รวมถึง คาเฟ่ บนชัน้ ดาดฟ้าที่สวยงามในแนวคิด ห้างสรรพสินค้า 6 ชัน้ บนพืน้ ที่ของ ตลาดกลางอันเก่าแก่ของกรุงมอสโก เพดานแขวนที่สวยงามของสแตนเลสมีความสัมพันธ์โดยตรงกับรูปทรง เรขาคณิตของซองจดหมายภายนอกสะท้อนให้เห็นถึงผลิตผลและผูเ้ ยี่ยมชม ด้านล่างด้วยรูปแบบสะท้อนแสงจากส่วนของหน้าต่าง และช่องสกายไลท์ท่ี ชัน้ บนสุด
Source: https://www.archdaily.com/184087/tsvetnoy-central-market-lifschutz-davidson-sandilands
74
75
https://karmakamet.co.th
76
77
CONCEPT 78
REFLECTION สะท้อนความเป็ นตัวตนของผูใ้ ช้
BUBBLE DIAGRAM 1ST FLOOR KITCHEN
STORAGE
RESTAURANT
COMMON
ENTRANCE
EVERYDAY SHOP
CAFE
2ND FLOOR
79
SPA ROOM
RECEPTION STORAGE
ENTRANCE KARMAKAMET SHOP
KITCHEN
LOUNGE
BAR
3RD FLOOR THAI MASSAGE
SPA ROOM
ENTRANCE FOOT MASSAGE
ROOF TERRACE
OFFICE
ZONING ISOMETRIC
80
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
CAFÉ RESTAURANT BAR AND LOUNGE SPA SPA FOOT MASSAGE EVERYDAY SHOP KARMAKAMET SHOP OFFICE
ISOMETRIC
81
SOLAR INCIDENCE
1. 2.
OPEN SPACE CAR PARK
OPEN SPACES 82
CIRCULATION DIAGRAM
83
PLANNING
84
85
86
MOOD & TONE
87
MATERIAL
88
89
PERSPECTIVE
SPA RECEPTION PERSPECTIVE
90
SPA RECEPTION PERSPECTIVE
91
WAITING AREA PERSPECTIVE
92
SPA ROOM PERSPECTIVE
93
SPA ROOM PERSPECTIVE
94
SPA ROOM PERSPECTIVE
95
THAI MASSAGE ROOM PERSPECTIVE
96
FOOT MASSAGE ROOM PERSPECTIVE
97
RESTAURANT PERSPECTIVE
98
RESTAURANT PERSPECTIVE
99
KARMAKAMET STORE PERSPECTIVE
100
KARMAKAMET STORE PERSPECTIVE
101
KARMAKAMET STORE PERSPECTIVE
102
103
CORPERATE IDENTITY
104
105
106
107
108
109
https://karmakamet.co.th
110
111
PROJECT SUMMARY & RESEARCH SUMMARY จากการศึกษาวิจยั โครงการศึกษาและต่อยอดแบรนด์ คามาคาเมตสูก่ าร ออกแบบ คอมมูนิตีส้ เปซ โดยการศึกษาแนวทางการต่อยอดธุรกิจ เพื่อการ ออกแบบธุรกิจสปาให้เหมาะสมกับแบรนด์ คามาคาเมต เดิมที่มีอยูเ่ พื่อ เข้าถึงตัวตนและถ่ายทอดออกมาผ่านการออกแบบได้อย่างเข้าถึงมากที่สดุ เพื่อตอกยา้ ตัวตอนของแบรนด์ผา่ นการมองเห็น แทนการที่จะสัมผัสได้จาก กลิ่นเพียงอย่างเดียว นอกจากการศึกษาค้นคว้าทาความเข้าใจในตัวแบ รนด์แล้วยังต้องรวมถึงการศึกษารูปแบบของสปาที่เหมาะสมในการ นามาใช้กบั แบรนด์ เพื่อมอบประสบการณ์ท่ีน่าพึงพอใจที่สดุ ให้กบั ลูกค้าที่ เข้ามาใช้บริการ จากการศึกษาพบว่า แบรนด์คามาคาเมต จะมีกลุม่ ลูกค้า เป็ นกลุม่ คนวัยทางานเป็ นส่วนใหญญ่และในเครือเดียวกันยังมีแบรนด์ เอเวอ รีเ่ ดย์ ที่มีกลุม่ ลูกค้าที่เป็ นวัยรุน่ คนรุน่ ใหม่ ทาให้ความต้องการในการใช้ บริการของสองกลุม่ เป้าหมายนีย้ งั ไม่ตรงกันมากนัก ทาให้ตอ้ งศึกษาความ ต้องการของลูกค้าทัง้ สองกลุม่ และหาความต้องการร่วมที่สามารถอยูใ่ น พืน้ ที่เดียวกันได้จงึ ก่อให้เกิด ธุรกิจสปา และคอมมูนิตีส้ เปซภายในพืน้ ที่ เดียวกันเพื่อให้ตอบโจทย์การเข้ามาใช้บริการของคนทัง้ สองกลุ่มได้ดีท่ีสดุ
112
บรรณานุกรม
BOOK
113
ธิญญาดา วรารัตร์.(2554). ทาเงินกับธุรกิจสปา. Dream & Passion, สนพ ธเนศ จิระเสวกดิลก, พัฒน์พงศ์ รานุรกั ษ์, ขวัญญดวง แซ่เตีย.2552. เปลี่ยนวิกฤตสร้างธุรกิจ ด้วยวิธีคิดที่ไม่ธรรมดา(พิมพ์ครัง้ ที่3) เพื่อนคูค่ ดิ , หจก. พรเทพ ล้อมพรม . คูม่ ือปฏิบตั ิงานสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ. ๒,๐๐๐ เล่ม. บริษัท เจเนซิส มีเดียคอม จากัด ๑๖๘/๗๓ ซอยลาดพร้าว ๗๑ ถนนนาคนิวาส แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร Philip Kotler (ฟิ ลิป คอตเลอร์),Milton Kotler (มิลตัน คอตเลอร์).ผู้ แปลณงลักษณ์ จารุวฒ ั น์). 8 เส้นทางสูช่ ยั ชนะ : การตลาดเพื่อสร้างการเติบโตทาง ธุรกิจ (Market Your Way to Growth). (พิมพ์ครัง้ ที่10). เนชั่นบุ๊คส์, สนพ. สานักพิมพ์ตน้ ฉบับ John Wiley & Sons, Inc. อาจารย์นันทวัน กลิ่นจาปา (เอกวโรภาส).2545.เครือ่ งหอมไทย ภูมิปัญญญญา ไทย.ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ.
INTERVIEW สาภาษณ์ Karmakamet Scent Advisor
WEBSITE ศุภวิชช์ สงวนเลิศฤทัย.(2560). โลกแห่งความลับของ KARMAKAMET. จาก http://www.elledecorationthailand.com/Life/karmaka met-yada-silom/ SAMYAN MITRTOWN.(2553). ตามหาความหอม ต้องที่น่ี! “Everyday Karmakamet”จากhttps://www.samyanmitrtown.com/ ภัทรมน สุขประเสริฐ.วิธีการทางานที่ให้พนื ้ ที่ให้ทกุ คนเป็ นของตัวเองและมี ความสุขแบบ Karmakamet.จาก https://adaymagazine.com/karmakamet-workingculture/ นภษร ศรีวิลาศ.(2560).Here there and everyday wear.จาก https://readthecloud.co/entrepreneur-1/ Kankanid Mitrpakdee.(2560). I Love my Life ในโลกแห่ง ความลับ คุยกับ เอท—ณัทธร แห่ง Karmakamet ความรุม่ รวยที่ตดั ขาดจาก ระบบ.จาก https://thematter.co/life/i-love-my-lifekarmakamet/31877 GLAMthailand. ตามกลิ่นไปชม แหล่งซ่อนตัวใหม่ของ Karmakamet.จาก. https://www.glamthailand.com/content/8%87karmakamet
114
บรรณานุกรม
WEBSITE
115
ธนาคารกสิกรไทย.(2562).เปิ ดสูตรลับอาณาจักรความหอม KARMAKAMET.จาก https://kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKno wledge/article/SMEStory/Pages/KARMAKAMET_Busin ess.aspx Pimjai Lancaster.ความแตกต่างระหว่างนวดไทยกับนวดนา้ มัน.จาก https://spaborn.com/ DERESTSPA.(2560).ประโยชน์ท่ีควรทราบของการนวดสปา.จาก https://www.derestspa.com/th/benefits-to-know-ofspa-massage/ GoWabi Ambassador.(2563). การนวด ประโยชน์ของการนวด และ สิ่งที่ควรระวัง.จาก HTTPS://WWW.GOWABI.COM/BLOG/2020/04/BENEFI T-OF-MASSAGE/ AIRPORTELS.(2562).10 สุดยอดร้านสปาในไทย ปั กหมุดไว้เเวะมาผ่อน คลายในวันหยุด.จาก https://th.airportels.asia/thailandtravel/spa-thai/ อรวรรณ บัณิิตกุล. นิตยสารผูจ้ ดั การ(2547). Panpuri Spa Philosophy.จาก http://info.gotomanager.com/news/printnews.aspx?id =24534 เอิงเอยtrueid.(2561). 12 Community Mall สุดคูล ในกรุงเทพ นั่งก็ ชิล เดินก็ชิล ถ่ายรูปยังชิล.จาก https://travel.trueid.net/detail/y2QZqjgMLDY
sarutkum.(2562). ตกแต่งภายในร้านสปา.จาก https://www.wee-interior.com/ เจ้าของร้านchantra.(2561). การออกแบบตกแต่งร้านสปา อารมณ์ ผสม ความสุนทรีย.์ จาก https://www.productspathai.com/article/ Pramote Patana.(2560). แนวคิดในการออกแบบ.จาก http://fdesignbasis.blogspot.com บริษัทนีโอ เฮ้ลตี ้ โฮม :www.neohealthyhome.com. แนว ทางการออกแบบสปา (Ideas Spa shop design).จาก http://displaybybe101.blogspot.com/p/designshop.html BAREO-ISYSS.Spa Design.จากhttps://www.bareoisyss.com/service/decor-guide/spa-design/ Beauty Editor.(2563). 7 สปาหรูในกรุงเทพฯ ผ่อนคลายพร้อม บรรยากาศเริด่ !.จาก https://www.wongnai.com/listings/luxury-spa-inbangkok?ref=ct GEE.(2560). แผ่นสแตนเลสรูปแบบใหม่ ทีจ่ ะช่วยให้งานตกแต่งอาคาร เป็ นเรื่องง่ายยิง่ ขึน้ .จาก https://dsignsomething.com/
116
117
ประวัติผวู้ ิจยั CURRICULUM VITAE
ชื่อ-สกุล รหัสนักศึกษา การศึกษา
นาย ณเรศ ไพรวัลย์ 5900704 นักศึกษาชัน้ ปี ท่ี 4 สาขาออกแบบภายใน
ปี การศึกษา การติดต่อ
2563 โทรศัพท์ 095-460-2643 Nared.Phraiwan@gmail.com
118