Woraprat Siri

Page 1



โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ชื่อโครงการ : โครงการศึกษาโกโก้เพื่อนําไปสู่คอมมูนิต้ี ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์ : อาจารย์ วริศว์ สินสืบพล ประเภทของงานศิลปนิพนธ์ : ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน (Interior design) ผู้ดําเนินงาน : นาย วรปรัชญ์ ศิริ 5802514 นักศึกษาชัน ้ ปีท่ี 4



สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให้นับศิลปนิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน

คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

.............................................................. ( รศ. พิศประไพ สาระศาลิน )

คณบดีคณะศิลปกรรม

.............................................................. ( อาจารย์ วริศว์ สินสืบพล )

ประธานกรรมการ

.............................................................. ( อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ )

กรรมการ

.............................................................. กรรมการ ( อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์ )

อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์

.............................................................. ( อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์ )

กรรมการ

.............................................................. ( อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ )

กรรมการ

.............................................................. ( อาจารย์ กาลัญญู สิปย ิ ารักษ์ )

กรรมการ

.............................................................. ( อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปง ุ วิวัฒน์ )

กรรมการ

.............................................................. ( อาจารย์ ไพลิน โภควที )

กรรมการ

(

..............................................................

)



หัวข้อศิลปนิพนธ์ ชื่อนักศึกษา สาขาวิชา อาจารย์ที่ปรึกษา ปีการศึกษา

โครงการศึกษาโกโก้เพื่อนําไปสู่คอมมูนิต้ี นาย วรปรัชญ์ ศิริ ออกแบบภายใน อาจารย์ วริศว์ สินสืบพล 2563

บทคัดย่อ ในช่วงระยะเวลา 3-5ปี ที่ผ่านมาปัญหาเศรษฐกิจภายในประเทศทําให้พืชเศรษฐกิจ หลักของประเทศไทยเช่น ยางพารา,ปาล์ม,อ้อย เป็นต้น ราคาลดลงส่งผลทําให้ เกษตรกรผู้ท่ม ี ีอาชีพเพาะปลูกเกี่ยวกับพืชเศรษฐกิจ ได้รับผลกระทบทัง ้ ทางตรงและ ทางอ้อม แต่ยังมีพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่เป็นที่ต้องการมากในตลาดประเทศไทยและ ตลาดโลก นัน ้ คือต้นโกโก้ ภายหลังราคายางและพืชเศรษฐกิจอื่นๆที่ตกตํา่ ทําให้มีกลุ่มเกษตรกรบางกลุ่มมี แนวคิดจะส่งเสริมการปลูกโกโก้ข้น ึ มาเพราะตลาดดูจะสดใสกว่า แต่ถ้าเกษตรกร ่ื ไป ทัง ้ หมดจะหันมาปลูกโกโก้อาจจะทําได้ยากจึงมีการเสนอให้ทดลองปลูกแซมต้นไม้อน ก่อน แต่ปญ ั หาสําคัญคือกลุ่มเกษตรกรหลายๆกลุ่มที่ต้องการปลูกโกโก้ยังขาดความ รู้ในการปลูก การดูแลทัง ้ ก่อนและหลังปลูกเป็นอย่างมาก โกโก้เป็นพืชพื้นเมืองของแถบอเมริกากลาง โดยเฉพาะในประเทศเม็กซิโก สิ่งที่เป็น ผลผลิตสําคัญของต้นโกโก้คือ เมล็ดที่ทีรสหวานและสามารถนําไปแปรรูปได้หลาก หลายอีกทัง ้ ยังอุดมไปด้วยสาร Theobromine ช่วยกระตุ้นระบบประสาทและทําให้ สมองตื่นตัว ตามธรรมชาติของโกโก้แล้วเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดและนํา้ อย่าง สมํา่ เสมอ โกโก้จะเจริญเติบโตได้ดีในเขตร้อนชื้นหรือที่เรียกกันว่า Cacao belt ที่มี อุณหภูมิที่เหมาะสมและฝนตกชุกตลอดทัง ้ ปี ประเทศไทยต้องนําเข้าเมล็ดโกโก้แห้งใน แต่ละปีคิดเป็นมูลค่ากว่า 1,700 ล้านบาท การนําเข้าเมล็ดโกโก้เหล่านี้ก็เพื่อนํามา แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์จากโกโก้ทง ั้ อาหาร ขนมหวาน ยาใช้ภายนอกและเครื่องสําอาง ดังนัน ้ ถ้าเกษตรกรสามารถมีความรู้ตง ั้ แต่ต้นนํา้ คือ กระบวนการปลูก การดูแล รักษาต้นพันธุ์ การเก็บเกี่ยวจนถึงปลายนํา้ คือ การแปรรูปเพื่อนําไปสร้างธุรกิจให้กับ ตัวเองจะสามารถสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนให้กบ ั ประเทศและลดภาระในการนําเข้าเมล็ด โกโก้จากต่างประเทศ แนวความคิดของคอมมูนิต้แี ห่งนี้คือการย้อนกลับไปสู่จุดกําเนิด ของโกโก้ว่าอะไรเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้โกโก้มีคุณภาพที่ดีและแตกต่างกันจนไปสู่การ เป็นแหล่งบ่มเพาะ(Incubtor)ความรู้ให้กับเกษตรกรและผู้ที่สนใจในธุรกิจโกโก้


กิตติกรรมประกาศ

ศิลปนิพนธ์เล่มนี้ผ่านและสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีจากการช่วยเหลือทัง ้ ้ ข้อแนะนํา คําปรึกษา กําลังใจ และข้อคิดในอีกหลายๆด้านเพื่อให้เกิดผลงานชิน นี ไ ด้ ้ ขอขอบคุณอาจารย์ท่ป ี รึกษาศิลปนิพนธ์ อาจารย์วริศว์ สินสืบพล ที่ช่วยชี้แนะและสละเวลาส่วนตัวในบางครัง ้ เพื่อให้คําปรึกษาพัฒนาในทุกๆส่วนของ โครงการและคอยให้กําลังใจจนโครงการนี้สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณคณะกรรมการที่ให้ข้อแนะนําและคําปรึกษาต่างๆในการ ้ ทําศิลปนิพนธ์นี จึงขอขอบคุณอาจารย์ทุกท่านไว้ ณ ที่น้ี ขอขอบคุณ คุณดวงฤทธิ์ บุญนาค สําหรับแบบแปลนและราย ละเอียดข้อมูลต่างๆของโครงการ The jam factory เพื่อใช้เป็นสถานที่ตง ั้ ของ โครงการในการทําศิลปนิพนธ์ในครัง ้ นี้ สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณบุคคลใกล้ตัวทัง ้ บิดา มารดาและครอบครัวที่ สนับสนุนทุนทรัพย์ตลอดจนช่วยให้กําลังใจและรวมถึงเพื่อนพี่น้องใกล้ตัวทุกคนที่ คอยให้กําลังใจจนโครงการนี้สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอบคุณครับ

วรปรัชญ์ ศิริ


สารบัญ

บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที่ 1 บทนํา

ที่มาของโครงการศิลปนิพนธ์ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ท่ค ี าดว่าจะได้รับ ขอบเขตการศึกษา ระเบียบการวิจัย แผนการดําเนินงานวิจัย

บทที่ 2 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมและช่วงเวลา ความต้องการด้านพื้นที่และความสัมพันธ์ด้านการใช้สอย กรณีศึกษา สถานที่ตง ั้ โครงการ การวิเคราะห์อาคาร การวิเคราะห์พ้ืนที่ออกแบบ กรณีศึกษาองค์ประกอบ รูปแบบและวัสดุในงานออกแบบภายในโครงการ บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวความคิดในการออกแบบ กรณีศึกษา บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบ การวางผังและออกแบบพื้นที่ใช้สอย การออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบภาพลักษณ์ของโครงการ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลของโครงการ สรุปผลการวิจัย ปัญหาและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติผู้วิจัย

ก ข ค


COCOA POD



PROJECT BACKGROUND OBJECTIVES EXPECTATIONS AREAS OF STUDIES RESEARCH METHODOLOGIES RESEARCH SCHEDULE


PROJECT BACKGROUND

เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจไม่ดีภายในประเทศ ทําให้พืชเศรษฐกิจหลักของประเทศไทย เช่น ยางพารา,ปาล์ม,อ้อย เป็นต้น ราคาลดลง ทําให้เกษตรกรที่มีอาชีพเพาะปลูกเกี่ยวกับพืช เศรษฐกิจเหล่านี้เกิดความลําบาก เกิดการ ปลูกพืชเศรษฐกิจตามกันจนผลผลิตล้นตลาด แต่มีพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งคือ โกโก้ ที่เป็นที่ ต้องการมากในตลาดประเทศไทยและตลาดโลก ่ งโกโก้ขน ่ นับจากมีกระแสข่าวเรือ ึ้ มา ก็เกิดการตืน ตัวของสังคมมากพอสมควร ย้อนอดีตที่เคย หวานชื่ นและจบลงด้ ว ยความขมขื่ น ของโกโก้ ไทยในยุคที่1 ประมาณ 30 ปี มาแล้ว รัฐบาล ได้จัดทําโครงการส่ งเสริมการปลูกโกโก้แซม สวนมะพร้าวเนื่องจากเป็นช่วงที่มะพร้าวราคา ตกตํา่ พื้นที่การปลูกเน้นมาที่ภาคใต้ และภาค ตะวันออก ปรากฏว่าโกโก้เจริญเติบโตได้ดี แต่ การรับซื้อผลผลิตไม่หวานชื่น ยัง ่ ยืน สุดท้าย เกษตรกรได้โค่นทิง ้ ไปจํานวนมาก ซึ่งบทเรียน ้ ด ่ ลาด บ่งชีช ั เจนว่าโกโก้เป็นพืชอุตสาหกรรมทีต ต้องมาก่อนอย่างชัดเจน หากไม่มโี รงงานแปรรูป ในพื้นที่จึงถือว่าการผลิตย่อมมีความเสี่ยงสู ง



WHY COCOA ?

โกโก้ ( cocoa ) คือ เมล็ดโกโก้ทีไ่ ด้จากต้นคา เคา ( Cacao ) ซึ่งนํามาผ่านกระบวนการคัว่ ด้วย ความร้อนและนําเมล็ดโกโก้มาบดจนละเอียดกลาย เป็นผงที่เรียกว่า โกโก้ มีส่วนประกอบที่เป็นไขมัน จากเมล็ดโกโก้นําไปบดละเอียด ซึ่งเมล็ดโกโก้ จะมีไขมันที่ได้จากธรรมชาติประมาณ 50-60 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะของต้นโกโก้ ต้นโกโก้เป็นพืช ยืนต้นสูงประมาณ 12-25 ฟุ ต และเติบโตตาม ธรรมชาติในภูมิอากาศเขตร้อน ผลของต้นโกโก้ ่ กระดาษหุม เป็นฝักทีเ่ ต็มไปด้วยเยือ ้ กลุม ่ ของเมล็ด โกโก้ประมาณ 20-40 เมล็ด และการนําเอาเมล็ด ่ ของผลโกโก้มาบดแบบเย็นเพื่อรีดนํา้ มันออก ซึง จะทําให้ได้เม็ดขนาดเล็ก มีสีนํา้ ตาลเข้ม ที่เต็มไป ด้วยวิตามิน แร่ธาตุ ไขมัน รวมทัง ้ ไฟเบอร์และ สารอาหาร เรียกว่า คาเคานิบส์ ( Cacao Nib ) ซึ่งสามารถนํามารับประทานได้ทันที เช่น ใช้โรย ่ งดืม ่ หรือจะนําไปแปรรูปเป็นผง หน้าขนมและเครือ โกโก้ เครื่องดื่มสําเร็จรูปหรือช็อกโกแลตแท่ง



OBJECTIVE โครงการนี้จะเป็นตัวกลางงระหว่างเกษตรกรและผู้ประกอบการ -เกษตรกรสามารถส่งผลผลิตเพื่อมาแปรรูปและมาศึกษาวิธก ี ารแปรรูปได้ -ผู้ประกอบการสามารถมาศึกษาว่าโกโก้สามารถเป็นอะไรได้บ้าง เพื่อนําไปต่อยอดในธุรกิจได้

EXPECTATIONS -ชาวเกษตรกรจะสามารถสร้างรายได้ให้กับตัวเองได้เพิ่มขึ้น -ทําให้ประเทศไม่ต้องรับซื้อผลผลิตโกโก้จากต่างประเทศ -เมื่อมีผลผลิตในประเทศแล้ว สามารถแปรรูปได้จะสร้างเศรษฐกิจทําเงินและหมุนเวียนภายใน ประเทศ

AREA OF STUDY -ศึกษาเกี่ยวกับโกโก้ว่าสามารถเป็นอะไรได้บ้าง -ศึกษาการจัดผังแปลนในพื้นที่ขนาดใหญ่ -ศึกษาเกี่ยวกับวัสดุเหลือใช้ท่ส ี ามารถนํามาใช้ในงานออกแบบภายใน -ศึกษาการนําเปลือกโกโก้มาพัฒนาเป็นวัสดุในงานออกแบบภายใน


RESEARCH METHODOLOGIES

1.การค้นคว้าข้อมูล ศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโกโก้ สอบถามชาวสวนหรือผู้ที่อยู่ใน อุตสาหกรรมนี้ รวมถึงค้นคว้าสถานที่ที่เหมาะสมในการจัดทําโครงการ 2.การรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ที่เลือก กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ ภายในและโดยรอบของสถานที่ การเดินทางเข้าถึงต่างๆและกิจกรรมใกล้เคียงที่ สัมพันธ์กับโครงการ 3.วิธีการรวบรวมข้อมูล การลงพื้นที่จริงเพื่อทําการรวบรวมข้อมูล เริ่มจากการสอบถามพู ดคุยกับกลุ่ม เกษตรกรในจังหวัดบ้านเกิด สอบถามปัญหา ความต้องการ กิจกรรม วิถีชีวิตของ ผู้คนที่อยู่ในอุตสาหกรรมโกโก้ ทัง ้ นี้เพื่อข้อมูลที่ครอบคลุม จึงลงพื้นที่ทง ั้ วันจันทร์ -ศุกร์ และในวันเสาร์ -อาทิตย์และลงพื้นที่ในช่วงเวลาต่างๆเพื่อรวบรวมข้อมูลการเข้าใช้พ้ืนที่ กิจกรรมที่ เกิดขึ้น บรรยากาศและวิถีชีวิตที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ 4.การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลจะดําเนินไปพร้อมๆกับการรวบรวมข้อมูล ส่วนการตรวจสอบ ข้อมูลจะนํามาจากข้อมูลที่ได้มาจากการลงพื้นที่มาวิเคราะห์อีกครัง ้ เพื่อพิจารณา ข้อมูลที่ได้ ที่ต่างวันและเวลาว่ามีผลเป็นอย่างไร มีอะไรที่แตกต่างกัน เพื่อนําไปสู่ กระบวนการออกแบบต่อไป 5.การศึกษาเพิ่มเติม เป็นการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น กรณีศึกษาของกิจกรรม กรณีศึกษาของโครง การอื่นๆรวมถึงแนวคิดและทฤษฎีที่สนใจหรือจะนํามาใช้ในการออกแบบ


RESEARCH 1/63

SCHEDULE

AUGUST ส่งหัวข้อโครงการศิลปนิพนธ์

SEPTEMBER -ส่งหัวข้อโครงการศิลปนิพนธ์และเสนอร่างProposal ครัง ้ ที่1 -ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครัง ้ ที่ 1 -เสนอหัวข้อโครงการ ที่มา วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ที่ตง ั้ โครงการและการวิเคราะห์ที่ตง ั้ -เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คํา แนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา

OCTOBER -เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิ​ิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คํา แนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา -นําเสนอความคืบหน้าของข้อมูลที่ค้นคว้ามา -ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครัง ้ ที่2


RESEARCH 1/63

SCHEDULE

NOVEMBER -เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คําแนะนําของ อาจารย์ที่ปรึกษา

DECEMBER -เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิ​ิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คํา แนะนําของอาจารย์ที่ปรึกษา -นําเสนอความคืบหน้าของข้อมูลที่ค้นคว้ามา -ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครัง ้ ที่3


RESEARCH 2/64

SCHEDULE

MARCH -ตรวจศิลปนิพนธ์ครัง ้ ที่1 -พัฒนาและนําเสนอการวางผัง planning -สรุปแนวคิดในการออกแบบ

APRIL -ตรวจศิลปนิพนธ์ครัง ้ ที่2 -พัฒนาและนําเสนอการวางผัง planning -สรุปแนวคิดในการออกแบบ -นําเสนอการพัฒนาแนวความคิดไปสู่การออกแบบและสรุปการ ออกแบบ

MAY -ตรวจศิลปนิพนธ์ครัง ้ ที่3 -สรุปเนื้องานทัง ้ หมดทัง ้ สองเทอม -Working drawing



TRAGERS GROUP AREAS REQUIREMENTS AND RELATIONSHIP CASE STUDY LOCATION


User Inside Project These are the people who administer and manage cocoa within the project.

Staff Administrative Academic department Cocoa researcher

USER ANALYSIS

Traget group

A group of people interested in the cocoa business and want to develop.

Agriculturist (45-60 y) Business people (25-35 y) Children (8-16 y)


USER ANALYSIS

เกษตกร อยากได้ทางเลือกใหม่ที่จะ ช่วยเสริมรายได้ในทางการเกษตร

กลุ่มผู้ประกอบการที่สนใจในช็อกโกแลตเพื่อ สร้างเป็นธุรกิจของตัวเอง วิเคราะห์จากเมื่อ เกิดเทรนด์กาแฟขึ้น ร้านกาแฟมากมายจึงตาม มาและสังเกตุจากงาน Thailand coffee fest2020 มีผท ู้ ห ี่ น ั มาสนใจวงการโกโก้เพิ่มมาก ขึ้น

่ อบทานของหวาน เพราะมีงานวิจย กลุม ่ เด็กเล็กทีช ั ของ ดร.ไมเคิล โมสลีย์ “ช็อกโกแลตช่วยทําให้รําลึกถึงความทรงจํา เกี่ยวกับรสชาติบางอย่างที่ใกล้เคียงกับอาหาร ชนิดแรกที่มนุษย์กินนัน ่ คือ นํา้ นมแม่ เพราะนํา้ นม แม่เป็นเพียงอาหารไม่ก่อ ี ย่างที่สามารถพบ นํา้ ตาลและไขมันอยู่รวมกันได้ เหมือนกับ ช็อกโกแลต”


AREAS REQUIREMENTS AND RELATIONSHIP

พื้นที่ขนาดใหญ่ที่สามารถใช้วิจัย และทดลองในขัน ้ ตอนต่างๆ พื้นที่เฉพาะที่สามารถ รักษาอุณหภูมิของผลโกโก้ที่รับมา

ขัน ้ ตอนการแปรรูปต้องใช้พื้นที่ ขนาดใหญ่ เพราะมีขน ั้ ตอนหลายขัน ้ ตอน

พื้นที่ที่สามารถนําเสนอนิทรรศการ และขายสินค้าที่ใช้ร่วมกันได้


CASE STUDY

ข้อดี - วิเคราะห์การทํา โกโก้อย่างจริงจัง -มีเครื่องมือและอุป กรณ์แปรรูปครบ

ข้อเสีย - ทางร้านรับผลผลิต จากเกษตรกรได้ น้อย - ร้านจะเน้นไปในทาง คาเฟ่ช็อกโกแลต


CASE STUDY

Lindt Home of Chocolate SWITZERLAND


VARIETIES OF COCOA

สายพันธุ์น้ม ี ีต้นกําเนิดมาจากอเมริกากลาง และเติบโตส่วนใหญ่ใน ประเทศแถวโคลัมเบีย เอกวาดอร์ และ เวเนซุเอรา เมล็ดมีคุณภาพ สูงเพราะเมล็ดมีกลิ่นหอม และรสชาติเข้มข้นที่ดี เป็นที่ต้องการ มากในอุตสาหกรรมช๊อกโกแลต แต่เนื่องจากสายพันธุ์น้เี ป็นสาย พันธุ์ที่ต้นมีการเจริญเติบโตไม่ค่อยดี ผลผลิตตํา่ และมักถูกโรค แมลงรบกวนได้ง่าย

ในสายพันธุ์ฟอรัสเทอร์โร่เป็นสายพันธุ์ท่ใี ช้การอย่างแพร่หลายใน ผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตที่ใช้ผลิตกันในปริมาณที่มาก ส่วนใหญ่สาย พันธุ์นี้จะปลูกในตอนใต้ของป่าอเมซอน แอฟริกาตะวันตก และ เม็กซิโก

สายพันธุ์น้เี ติบโตในเกาะ ตรินิแดด ซึ่งเป็นเกิดการขยายของสาย พันธุ์โกโก้ของพื้นที่ปลูกในสมัยก่อน ปัจจุบันสามารถปลูกสาย พันธุ์นี้ได้ที่ อินโดนีเซีย ศรีลังกา และ อเมริกาใต้


CHOCOLATE’S DARK SECRET

Where is the

44.2%

Retail

35.2% Chocolate manufacturers

money from chocolate bar going ? 7.6%

6.6%

Grinding & processing

Cocoa farmers

4.3%

Tax & marketing

2.1% Transportation & traders

่ ร้อยละ 16 ของมูลค่า เมื่อ 30 กว่าปีก่อน เกษตรกรผู้ปลูกโกโก้มีส่วนแบ่งรายได้โดยเฉลีย ช็อกโกแลตหนึ่งแท่ง ปัจจุบันตัวเลขดังกล่าวลดลงเหลือเพียงร้อยละ 6.6 ขณะที่บริษัทผู้ผลิต ช็อกโกแลตได้ส่วนแบ่งรายได้ร้อยละ 35 โดยเฉลี่ย และร้านค้าปลีกหรือซูเปอร์มาร์เก็ตได้มาก ถึงร้อยละ 44 หรือมากกว่าเกษตรประมาณ 5-6 เท่า ที่ตลกร้ายคือ เกษตรกรผู้ปลูกโกโก้ กลับยากจนถึงขัน ้ ที่ว่าไม่สามารถซื้อช็อกโกแลตแม้แต่เพียงแท่งเดียว


EXPLOITATION OF CHILD LABOUR

ในปัจจุบันกว่า 80% ของผลผลิตโกโก้ท่บ ี ริโภคกันทัว่ โลกมาจากประเทศในเขตศูนย์สูตรของ แอฟริกาตะวันตก อย่างประเทศกานาและไอโวรี โคสต์ ซึ่งขึ้นชื่อเรื่องการใช้แรงงานเด็กอย่าง เข้มข้นในการเก็บเกี่ยวและแปรรูปโกโก้แน่นอนว่าด้วยปัญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจทําให้ ฟาร์มโกโก้หลายแห่งเลือกใช้ แรงงานเด็กที่ราคาถูก ซึ่งส่วนมากมักทําแบบผิดกฎหมาย


CONSUMPTION AND PRODUCTION

1,812 Europe

1,276 U.S.

287 Rest of asia

1428 China

319 Rest of americas

258 Rest of south America

Consumption Production

198 Brazil

1,741 Ivory coast

146 Africa

987 Ghana

994 India

165 Japan

79 Rest of asia 405 Indonesia 72 Australia


NORTH AMERICA

การแปรรูปโกโก้ในแถบยุโรป และอเมริกาเหนือตกอยู่ภายใต้ความกดดัน เพราะโรงงานได้กําไร น้อยลง ขณะที่ราคาเมล็ดโกโก้เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา ผู้บริโภคหันมาใส่ใจเรื่อง ‘ลดปริมาณนํา้ ตาล’ มากขึ้น รวมไปถึงลดการนําเข้าเมล็ด และผลิตภัณฑ์โกโก้ ส่วนหนึ่งเพื่อ ให้เสียภาษีน้อยลง ส่งผลให้การผลิตโกโก้ลดฮวบถึง -1.9% โดยปลายปี ค.ศ. 2019 ที่ผ่านมา ยอดขายช็อกโกแลตแคนดี้ในสหรัฐฯ ลดลง 2.8%


ASIA

China

India

ว่ากันว่าแหล่งการบดโกโก้ของโลกคือ ‘เอเชีย’ โดย The International Cocoa Organization (ICCO) เปิดข้อมูลสถิติเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 2019 ระบุว่า ประเทศอินเดีย และจีนเป็นกําลังสําคัญ ที่ขับเคลื่อนให้ความต้องการช็อกโกแลตสูง รวมไปถึงประเทศมาเลเซียมีการบดโกโก้เพิ่มขึ้น 23% ใน ไตรมาสก่อน ซึ่งเมล็ดโกโก้สามารถนําไปทําได้ทง ั้ เนย และผงช็อกโกแลต เพื่อเอาไปทําผลิตภัณฑ์ อย่างอื่นต่อ ไม่ว่าจะเป็นช็อกโกแลตบาร์ เครื่องดื่ม ไอศกรีม และบิสกิต


COCOA IN THAI

Chiang rai

Chiang mai Nan

Chanthaburi

Prachuap khiri khan Chumphon Nakhon si thammarat


THE JAM FACTORY 41/1 charoen nakhon road Klong san Bnagkok 10600

SITE ANALYSIS


SITE ANALYSIS

KLONGSAN PLAZA

MILLENNIUM HILTON

ICONSIAM

THE JAM FACTORY


EXISTING PLAN

3

13

5

2 1

14 12

11

1. Restaurant 2. office 3. BOH 4. Courtyard 5. Gallery 6. Cafe 7. Book Shop

8. Showroom Office 9. Showroom 10.Parking lot 11. Deck 12. Pier 13. Exist Building 14. Chaopraya River

8

4

7

9

10


EXISTING VIEW


EXISTING VIEW



CONCEPT ZONING ACTIVITY PLAN PERSPECTIVE BRANDING


BEAN TO BAR

2

1

6

4

3

7

8

5

9

Bean to bar คือ การทําช็อกโกแลตด้วยการแปรรูปมาจากเมล็ดโกโก้เต็มเมล็ดโดยไม่มีส่วนผสมของไขมัน ่ นอกจากของเมล็ดโกโก้มาผสมซึง ่ ต่างจากช็อกโกแลตบาร์ทผ ่ ก ชนิดอืน ี่ ลิตแบบอุตสาหกรรมจํานวนมากๆทีม ั สกัดไขมันโกโก้ ซึ่งเป็นไขมันดีออกไป แล้วเติมไขมันพืชคุณภาพตํา่ อย่างไขมันปาล์มมาทดแทนเพื่อเพิ่มความ นุ่มนวลของรสสัมผัส ความใส่ใจและต้นทุนที่สูงกว่าของการทําช็อกโกแลตในแบบ bean-to-bar จึงสามารถดึงเสน่ห์ของเมล็ด โกโก้ท่ด ี ีออกมาได้มากกว่าทัง ้ กลิน ้ แต่ต้นทางของการปลูกจนถึงการบรรจุขาย ่ และรสชาติที่ซับซ้อน ตัง


TEMPORARY EXHIBITION

COCOA SHOP WC.

RECEPTION + BACK OFFICE WC.

INFORMATION COUNTER

KITCHEN + STORAGE

CLASSROOM

COCOA HOUSE

WAITING AREA

PUBLIC AREA

INCUBATOR

RESTAURANT

CHOCOLATARY WORKSHOP

LEARNING CENTER

PERMANENT EXHIBITION

EXHIBITION

CRAFT CAFE

CRAFT CAFE

SEATING AREA

WC.


CONCEPT IDEA

INCUBATION SHARING Incubator

+ Sharing idea

แนวคิดในการออกแบบโครงการนี้มาจากการวิเคราะห์แหล่งปลูกของโกโก้ไทยและโกโก้จากถิ่นกําเนิด เดิมพบว่า การดูดซับสารอาหารและแร่ธาตุของโกโก้ไทยสามารถสร้างสรรค์ช็อกโกแลตคุณภาพดี และรสชาติท่ห ี ลากหลาย เปรียบเสมือนกับกลุ่มเกษตรและผู้ประกอบการที่มีความคิดหลากหลายที่จะ พัฒนาโกโก้ไทยให้มารวมตัวและแลกเปลี่ยนความรู้กัน ศูนย์นี้จะทําหน้าที่เป็นศูนย์บ่มเพาะธุรกิจที่นําผู้ ชํานาญการ(Professional)กับผู้ที่ริเริ่มในการพัฒนาโกโก้(Start-up)ไปสู่ธุรกิจของตัวเองและเป็น การยกระดับศักยภาพของวงการโกโก้ไทย


COCOA ANALYSIS

ORIGIN COCOA

THAI COCOA

่ เมริกา ความต่างของเมล็ดทีไ่ ด้จากต้นโกโก้ไทยและต้นโกโก้จากถิน ่ กําเนิดเดิมเช่นประเทศเปรูและพื้นทีอ กลาง คือ เมล็ดจากถิน ่ กําเนิดเดิมจะปลูกต้นโกโก้ในลักษณะพืชเชิงเดี่ยวต่างกับประเทศไทยและพื้นที่ ใน Southeast asia ที่ปลูกโกโก้รวมกับพืชอื่นแบบผสมผสาน ซึ่งต้นโกโก้เป็นพืชที่ดูดซับสารอาหาร และแร่ธาตุของต้นไม้รอบข้างได้ดี ทําให้ใปัจจุบันพื้นที่ใน southeast asia ได้รับความสนใจมากขึ้น และมีรางวัลการันตีคุณภาพแหล่งปลูกยอดเยี่ยมจากแบรนด์ช็อกโกแลตไทยและต่างประเทศที่นํา โกโก้ไทยไปใช้งาน


DESIGN CONCEPT

เมื่อคนส่วนใหญ่นึกถึงโกโก้มักจะนึกถึง chocolate bar แต่ก่อนจะกลายเป็นช็อกโกแลต โกโก้ได้ผ่านกระบวนการต่างๆมากมาย แนวคิดของการออกแบบภายในคือการนําการ ่ เป็นกระบวนการก่อนทีจ ่ ะกลายสภาพเป็นช็อกโกแลตสมบูรณ์แบบมาผสานกับ หลอมละลายซึง รูปทรงธรรมดาๆของช็อกโกแลตเพื่อสร้างภาพจําใหม่ให้กับโครงการ


Contour line คือ เส้นบอกระดับความสูงตํา่ ของพื้นที่ภายในภูมิประเทศนัน ้ ๆ การนํา Con tour line มาใช้เพื่อสื่อถึงต้นกําเนิดของโกโก้ ซึ่งเกิดขึ้นบนเทือกเขาสูงในพื้นที่อเมริกากลาง และกระจายพันธุ์ลงสู่พ้ืนที่ตาํ่ ผ่านแม่นํา้


Higher level

Lower level


ZONING SPACE ANALYSIS


SPACE ANALYSIS

PRIVATE SPACE

HARD TO REACH

PRIVATE SPACE

NON-CONNECT


SPACE ANALYSIS

Seminar area

BOH

Temporary exhibition

Kitchen Restaurant

Incubation space Cocoa factory

Cafe Workspace

Entrepreneur

Cultivator

Retail Shop Temporary exhibition


Master plan


Cafe&shop plan


Learning&Restaurant plan


PERSPECTIVE












BRAND GUILDLINE




บรรณานุกรม

readcacao magazine https://www.chocolasia.com/ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่8 กรม วิชาการเกษตร https://www.chocolateworld.be/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร พี่เอ กลุ่มเกษตรบนดอย พี่แจ๊ค Yellow chocolate


ประวัติ ผู้ทำวิจัย

ชื่อ: นายวรปรัชญ์ ศิริ รหัส: 5802514 การศึกษา: นักศึกษาชัน ้ ปีท่4 ี สาขาออกแบบภายใน ปีการศึกษา: 2563 การติดต่อ: โทรศัพท์ 087-8967502 Email: woraprat3164@gmail.com Line: woraprat416



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.