Parit Mangkhlard

Page 1

Interior design

MARALYN

Beach resort and spa

2020 - 2021




โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิ ต

ชื่อโครงการ

: โครงการออกแบบ MELATI BEACH RESORT AND SPA

ประเภทศิลปนิพนธ์

: ประเภทงานออกแบบภายใน

ผูด้ าํ เนินโครงการ

: นาย พฤทธิ์ มังคลาด รหัส 5701220 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิ ต

ที่ปรึ กษาโครงการ

: อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์

ปี การศึกษา

: 2563


สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิ ต อนุมตั ิ ให้นบั ศิลปนิพนธ์ฉบับนี้เป็ นส่ วนหนื่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริ ญญาบัณฑิตสาขาวิชา ออกแบบภายใน

............................................คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

............................................ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริ ศว์ สิ นสื บผล) ............................................กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์) ............................................ กรรมการ (อาจารย์ ไพลิน โภคทวี) ............................................ กรรมการ (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ............................................ กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรี ปุงวิวฒั น์) ............................................ กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์) ............................................กรรมการ (อาจารย์ มนัสพงษ์ สงวนวุฒิโรจนา) ............................................กรรมการ (อาจารย์ กาลัญญู สิ ปิยารักษ์) ............................................กรรมการ (อาจารย์เรวัฒน์ ชํานาญ)

อาจารย์ที่ปรึ กษาศิลปนิพนธ์

............................................ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์)


ชื่อโครงการ

: โครงการออกแบบ MELATI BEACH RESORT AND SPA

ประเภทศิลปนิพนธ์

: ประเภทงานออกแบบภายใน

ผูด้ าํ เนินโครงการ

: นาย พฤทธิ์ มังคลาด รหัส 5701220 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิ ต

ที่ปรึ กษาโครงการ

: อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์

ปี การศึกษา

: 2563

บทคัดย่อ ปั จจุบนั การดํานํ้าเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจของใครหลายๆคนที่มกั จะดํานํ้าลงไปสัมผัสโลกใต้ทะเล เพื่อดูและสังเกตุพฤติกรรมของ เหล่าสัตว์ทะเลด้วยตัวเอง ด้วยความตั้งใจที่อยากให้นกั ท่องเที่ยวทุกคนได้สมั ผัสถึงความโดดเด่นในเรื่ องของเอกลักษณ์ใต้ทะเลเพื่อสะท้อนถึงความ แปลกและน่าสนใจของนักท่องเที่ยวที่มาพัก Maralyn beach resort and spa samui เท่านั้น จึงนําหลักการออกแบบนี้ให้ตอบโจทย์กบั สภาพแวดล้อมและนํามาปรับใช้กบั เทรนการออกแบบให้ดูร่วมสมัย ตัวไซต์ต้ งั ออยูท่ ี่หาดท้องสน ตําบลบ่อผุด อําเภออเกาะสมุย เป็ นพื้นที่สโลบแต่ไม่ชนั มาก ทําให้สามารถมองวิวจาจที่สูงลงมาสู่ ทะเลได้ไม่มากนัก และนัน่ คือข้อดีของการวางตัววิลล่า เพราะช่วงบ่ายและช่วงกลางคืนลมพัดได้ทวั่ ถึงเกือบทั้งหมดของโครงการ โดยจะ เน้นกลุ่มนักท้องเที่ยวเป็ นวัยรุ่ นและวัยกลางคนสะส่ วนใหญ่เพราะการออกแบบนี้เป็ นการใช้แนวคิดที่ค่อนข้างท้าทายและเหมาะอย่างยิง่ กับกลุ่มที่ชอบสํารวจ ดํานํ้า การพจญภัย แนวความคิดเกี่ยวกับ ทะเลลึก ในการนํารู ปแบบที่แปลกใหม่มาออกแบบรี สอร์ทที่สมุยที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสี ยงใน เรื่ องของทะเลอยูแ่ ล้ว ได้ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบพื้นที่ให้ดูน่าสนใจและแปลกใหม่ร่วมกับโครงการเดิมที่ตอ้ งรี โนเวทใหม่ให้เป็ นโม เดิร์นมากกว่าที่เป็ นอยู่ แล้วยังมีในเรื่ องของฟังชัน่ ที่ตอ้ งออกแบบให้ควบคู่กนั ไปกันพื้นที่ออกแบบ เป็ นการถ่ายทอดเหมือนกับการที่เราไป สํารวจด้วยตัวเอง ได้พบเจอสิ่ งมีชีวติ ที่แปลกใหม่ถึงบางอย่างที่เรายังไม่เคยเจอหรื อยังไม่เคยรู ้มาก่อน จึงใช้แนวคิดนี้ให้คุม้ ค่าที่สุด งานออกแบบที่ลอ้ กับธรรมชาติ หรื อระบบนิเวศ นําความโดดเด่น (character) ของสัตว์แต่ละชนิดตามระดับความลึกของ มหาสมุทรมาออกแบบพื้นที่ท้ งั หมดในโครงการ ก็จะต่างกันออกไปเป็ นการเปิ ดประสบการณ์หรื อเป็ นความรู ้ให้กบั นักท่องเที่ยวที่มีความ สนใจในเรื่ องของ มหาสมุทร ไม่มากก็นอ้ ย ทั้งหมดนี้เพื่อให้การท่องเที่ยวและที่พกั อาศัยเป็ นไปในทางที่ดีข้ ึน น่าสนใจ และเป็ นที่น่าจับตามองในยุคต่อๆไปให้ไปถึงจุดที่ เฟื้ องฟูมากที่สุดและมีชื่อเสี ยงในวงกว่าง อาจจะต้องใช้ระยะเวลาและการเข้าใจในเรื่ องของ ทะเลลึก ให้ดีข้ ึนมากกว่าเดิม


กิตติกรรมประกาศ ผลงานศิลปนิพนธ์โครงการออกแบบ MELATI BEACH RESORT AND SPA การออกแบบนี้ สําเร็ จได้ดว้ ยออาจารย์ที่ปรึ กษา เพื่อนๆที่คอยให้กาํ ลังใจและอาจารย์ท่านอื่นๆ และที่สาํ คัญต้องขอบคุณตัวข้าพเจ้าเองที่สูไ้ ม่ยอ่ ท้อและถอดใจเมื่อปั ญหาวิง่ เข้ามาอย่าง ถาโถม จึงขอขอบพระคุณไว้ใน ณ ที่น้ ีดว้ ย ขอขอบพระคุณคณะอาจารย์ภาควิชาศิลปะและการออกแบบสาขาวิชาออกแบบภายในทุกท่านที่ได้สงั่ สอนและให้คาํ แนะนํา ในการศึกษา วิธีคิด ตั้งแต่เริ่ มเข้าศึกษาชั้นปี ที่ 1 จนถึงชั้นปี ที่ 4 ทําให้ขา้ พเจ้าได้นาํ ความรู ้ท้ งั หมดมาปรับใช้ในการทําศิลปนิพนธ์จนสําเร็ จ ได้น้ ี ขอขอบพระคุณอาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์ อาจารย์เป็ นอาจารย์ที่ปรึ กษาที่เข้าใจ และเชื่อมัน่ ในตัวข้าพเจ้าเสมอ ขอบคุณที่ให้ ทําในสิ่ งที่ตวั ข้าพเจ้าชอบ อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์ ได้สงั่ สอน ให้ความรู ้ ให้โอกาสและให้คาํ แนะนําในการดําเนินชีวติ เสมอมา ถ้าไม่มี อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์ ผลงานศิลปนิพนธ์ชิ้นนี้กค็ งไม่ประสบความสําเร็ จ

นายพฤทธิ์ มังคลาด 1 มิถุนายน 2564


สารบัญ กรรมการอนุมตั ิ

บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

สารบัญ(ต่อ)

บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ

1

วัตถุประสงค์

3

ขอบเขตการสร้างสรรค์ผลงาน

3

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

3

ขั้นตอนการดําเนินงาน

4

บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานและรายละเอียดประกอบโครงการ

5

กลุ่มเป้ าหมาย

10

กิจกรรมและช่วงเวลา

11

ความต้องการของพื้นที่และความสัมพันธ์ในการใช้สอย

12

กรณี การศึกษา

15

สถานที่ต้ งั โครงการ การวิเคราะห์อาคาร การวิเคราะห์พ้นื ที่ออกแบบ

19

การศึกษาอองค์ประกอบ รู ปแบบและวัสดุในงานออกแบบโครงการ

24

บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวความคิดในการออกแบบ

27

หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ได้ศึกษา

27

กรณี ศึกษางานออกแบบภายใน

29


สารบัญ (ต่อ) บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ

32

แนวคิดการออกแบบ

32

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Massage and spa

36

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Lobby

49

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Digital art gallery

57

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Ocean gate

63

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Restaurant

69

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Deep pool

78

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Room type A (Grand deluxe 1st)

83

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Room type A (Grand deluxe 2nd)

84

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Room type B (Private Pool Garden)

88

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Room type C (Pool Villa)

92

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Room type D (Family pool villa)

97

การวางผังโครงการและรู ปทัศนียภาพ Room type E (Presidential suite)

103

Corporate

111

Products

122

บทที่ 5 ผลสรุ ปและข้อเสนอแนะ

130

บรรณานุกรม

132

ประวัติ

133


Chapter 1 PROJECT BACKGROUND


Samui บทนํา ปัจจุบนั การดํานําเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจของใครหลายๆคนที่มกั จะดํานําลงไปสัมผัสโลกใต้ทะเล เพื่อดูและสังเกตุพฤติกรรมของ เหล่าสัตว์ทะเลด้วยตัวเอง ด้วยความตังใจที่อยากให้นกั ท่องเที่ยวทุกคนได้สมั ผัสถึงความโดดเด่นในเรื่ องของเอกลักษณ์ใต้ทะเลเพื่อสะท้อนถึงความ แปลกและน่าสนใจของนักท่องเที่ยวที่มาพัก Maralyn beach resort and spa samui เท่านัน จึงนําหลักการออกแบบนีให้ตอบโจทย์กบั สภาพแวดล้อมและนํามาปรับใช้กบั เทรนการออกแบบให้ดูร่วมสมัย

ข้อมูลต่อจากนีเพื่อแสดงถึงวิธีการพัฒนาของงานวิจยั ทังหมด เกาะสมุย เป็ นเกาะที่อยูก่ ลางทะเลอ่าวไทยมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของประเทศไทย เกาะสมุยมีการเจริ ญเติบโตในด้านธุรกิจ การท่องเที่ยว เพราะมีแหล่งท่องเที่ยวและระบบนิเวศทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ แต่การท่องเที่ยวที่เติบโตขึนย่อมนํามาซึ่ งผลกระทบ เช่น การทรุ ดโทรมของธรรมชาติและระบบนิเวศ

ด้วยความตังใจที่อยากให้ USER ได้สมั ผัสถึงความโดดเด่น ทันสมัย และสะท้อนความเป็ นตัวเองของโรงแรมจึงนําหลักการออกแบบที่ตอบโจทย์กบั สะภาพแวดล้ออมและนํามาปรับใช้กบั เทรนการออกแบบ ให้ดูร่วมสมัยยิง่ ขิน

โดยคํานึงให้สะท้อนเห็นถึงความเป็ นเอกลักษณ์ของตัวโรงแรม ธรรมชาติโดยรอบ และความโดดเด่นไม่เหมือนใครให้เกิดคุณ ค่ามากที่สุด จากทังหมดนีจึงเป็ นที่มาของความสนใจที่อยากการออกแบบรี สอร์ท ให้น่าสนใจ 1.

เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและเป็ นที่รู้จกั ในวงกว้างขึน

2.

มีบุคลิกเป็ นตัวของตัวเอง แตกต่างโดดเด่นและไม่เหมือนใคร

2


OBJECTIVE วัตถุประสงค์ - ศึกษาโลกใต้ทะเลที่นอ้ ยคนจะได้สมั ผัสด้วยตัวเองและนํามาปรับใช้ในการออกแบบรี สอร์ทเพื่อให้เกิดความน่าสนใจ และดึงดูดผูค้ นเข้า มาพัก - ศึกษาและทดลองวัสดุรูปแบบต่างๆและนํามาปรับใช้ในการออกแบบ เพื่อให้ SPACE เกิดความน่าสนใจมากขึน - ศึกษาเทรนการออกแบบรี สอร์ทเพื่อนํามาปรับใช้และออกแบบรี สอร์ทให้ร่วมสมัยมากขึน

AREA OF STUDY ขอบเขตการสร้าสรรค์ผลงาน - ศึกษาทฤษฎีการสะขอองคลื่นทะเล - ศึกษาความเป็ นมาของเกาะสมุย - ศึกษาวัสดุที่จะนํามาใช้ในงานออกแบบ - ศึกษาเทรนการออกแบบรี สอร์ท

EXPECTATION ผลที่คาดว่าจะได้รับ - เพื่อเพิ่มจุดสนใจและอัตลักษณ์ให้กบั การออกแบบรี สอร์ท - เพื่ อเพิ่มมูลค่าทางการท่องเที่ยวของเกาะสมุยและทําให้เป็ นที่รู้จกั มากขึน - เพื่อนําผลลัพธ์จากการศึกษามาปรับใช้กบั การออกแบบในรู ปแบบใหม่

3


4


Chapter 2 Basic information


6

Canyon Wave


คลื่น คือพลังงานที่ถูกส่ งผ่านไปกับนําทะเล แต่มวลนําทะเลไม่ได้เคลื่อนไปกับคลื่นด้วย

จุดเริ่ มต้นของคลื่น เริ่ มมาจาก ลม คลื่นขนาดใหญ่มากๆ เริ่ มต้นจาก แหล่งพลังงานอย่างอื่นคือ อาศัยแรงโน้มถ่วงของ โลกที่ผลักดันกันขึนลงส่ งต่อพลังงานออกไป

การเกิดคลืนมีทงหมด ั 3 เหตุการณ์ 1.

การเกิดคลืนจากกระแสลม

2.

การเกิดคลื่นจากแผ่นดินไหว

3.

การเกิดคลื่นจากแรงดึงดูดของดวงจันทร์

คลื่นพริ วหรื อคลื่นบนผิวนํา ( RIPPLES ) คลื่นลมขนาดเล็กมีความสูงหลักสิ บเซนติเมตร

คลื่นลม ( WIND WAVE ) คลื่นลมขนาดกลางๆ หรื อขนาดใหญ่ มีความสูง หลักสิ บเซนติเมตรถึง 20-30 เมตร

คลื่นลม ( SWELL ) มีพลังงานสูง อาจเคลื่อนที่ไปได้ไกลเป็ นร้อยๆ ถึงเป็ นหมื่นกิโลเมตร จะเพิ่มขนาดใหญ่กว่าคลื่นลม ปกติที่เกิดจากคลื่นเล็กคลื่นน้อยที่แปรปรวนได้ แทรกแซงกันและรวมตัวเข้ากันเป็ นชุดๆ เป็ นริ วแนวระลอกคลื่นที่สมํ่าเสมอ

คลื่นขนาดใหญ่ เกิดจากแผ่นดินไหวหรื อแผ่นดินถล่มใต้นาํ คลื่นแบบนีเคลื่อนที่ได้เร็ วมาก (200-800 กม./ชม.) แต่มีความสูงน้อยมากในนําลึก (ไม่กี่ซม.) จึงมองไม่เห็นด้วยตา จนเมื่อเข้าสู่ที่ตืนอาจยกตัวสูงขึนเป็ น 10-30 เมตร

7


ทะเลลึก

DEEP SEA

เป็ นชันของระดับนําที่มีความลึกตังแต่ 200 เมตรลงไปซึ่ งนับ เป็ น 70% ของนําในมหาสมุทรทัว่ โลกเป็ นที่ ๆ มีแสงน้อยจนถึงไม่มีแสง เลยสิ่ งมีชีวติ ส่ วนใหญ่อาจจะกินสารอินทรี ย ์ มีสิ่งมีชีวติ มากมายในทะเลลึก ลึกนอกจากนียังสามารถเห็นการพัฒนาการที่ความหลากหลายมากมายของ สิ่ งมีชีวติ เพื่อใช้ในการดํารงชีวติ อยู่ ขณะนีมีเพียงประมาณ 1% ของท้องทะเลลึกทังหมดทีมนุษย์ เคยสํารวจเมื่อเทียบกับการศึกษาจักรวาลแล้วเรายังรู ้จกั จักรวาลและดวง จันทร์ดีกว่าทะเลลึก

ลักษณะสิ่ งแวดล้อม ทะเลลึกคือเขตของนําทะเลที่แสงไม่สามารถส่ องถึงได้และจะ มีสิ่งมีชีวติ และปลาทะเลลึกที่ปรับตัวแล้วเท่านันที่จะสามารถอาศัยอยูไ่ ด้

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิอย่างฉับพลัน 1.การเปลี่ยนแปลงระหว่างนําผิวดินกับนําในทะเลลึกซึ่ งการเปลียนแปลนี จะขึนอยูก่ บั ระดับความลึกโดยทะเลเขตที่มีแสงส่ องถึงอุณหภูมิจะอยูท่ ี่ ประมาณ 20 องศาเซลเซียส พอลึงลงไป 1,000 เมตร อุณหภูมิจะอยูท่ ี่ ประมาณ 5-6 องศาเซลเซียส และเมื่ออยูใ่ นระดับนํา 3,000-4,000 เมตร อุณหภูมิจะอยูท่ ี่ประมาณ 0-3 องศาเซลเซียส นําเย็นเหล่านีเกิดจากพวกมัน ไม่โดยแสงแดดและการจมของมวลนําเย็นที่ละลายมาจากขัวโลกทัง 2 ขัว

2.การเปลี่ยนแปลงระหว่างนํามหาสมุทรกับนําร้อนของ ปล่องไฮโดรเทอร์มอล โดยอุณหภูมิของนําบริ เวณปล่องแบบนําร้อนจะอยู่ ที่ประมาณ 400องศาเซลเซียส แต่นาที ํ ่อยูห่ ่างจากบริ เวณปล่อง ไฮโดรเทอร์มอลประมาณ 2-3 เมตรจะมีอุณหภูมิอยูท่ ี่ประมาณ 2-4 องศา เซลเซียสเท่านัน

8


แสงจากดวงอาทิตย์จะไม่สมารถทะลุผา่ นมหาสมุทรลึกได้ยกเว้นเขตที่แสง ส่ องถึงจึงทําให้ไม่มีการสังเคราะห์แสงดังนันพืชจึงไม่สามารถอาศัยอยูใ่ น เขตนีได้ เนื่องจากพืชเป็ นผูผ้ ลิตหลักของระบบนิเวศของโลกจึงทําให้เกือบ ทังหมดของชีวติ ในทะเลลึกนีต้องขึนอยูก่ บั แหล่งพลังงานจากที่อื่นยกเว้น บริ เวณที่ใกล้กบั ปล่องแบบนําร้อน โดยจะพึงพลังงานจากวัสดุอินทรี ยห์ รื อ ซากสัตว์ล่องลอยตกลงมาจากทะเลด้านบนซึ่ งวัสดุอินทรี ยท์ ี่ฝังอยู่ ประกอบด้วยอนุภาคของสาหร่ ายเศษซากและรู ปแบบอื่น ๆ ของขยะทางชี วภาพซึ่ งเรี ยกรวม ๆ กันว่าหิ มะทะเลก็ได้

ความดัน ความดันในทะเลลึกนันอันตรายต่อมนุษย์มากซึ่ งความกดดันในทะเลจะ เพิ่มขึนประมาณ 1 บรรยากาศทุก ๆ 10 เมตรยิง่ มีความลึกมากความดันก็ยงิ่ มาก แต่ถึงอย่างนันหลายปี ที่ผา่ นมาการศึกษาเรื่ องความดันนันขาดข้อมูล และรายละเอียดเกี่ยวกับผลกระทบของแรงกดดันต่อสิ่ งมีชีวติ ในทะเลลึก มากที่สุดเนื่องจากตัวอย่างสิ่ งมีชีวติ เมือนํามาขึนฝั่งเพื่อทําการศึกษานัน พวกมันก็จะตายก่อนที่จะได้ศึกษาเนื่องจากก๊าซที่ถูกบีบอัดภายใต้แรงดัน สูงจะขยายตัวภายใต้แรงดันตํ่า ด้วยเหตุนีสิ่ งมีชีวติ เหล่านีจึงถูกระเบิดหาก พวกมันขึนสู่ผวิ นํา

สิ่ งมีชีวติ ส่ วนใหญ่ของปลาที่อาศัยอยูท่ ี่นี่จะมีการเรื องแสงโดยพวกมันสร้างแสง ของตัวเองผ่านปฏิกิริยาทางเคมีในร่ างกายของพวกมันบางชนิดที่อาศัยอยูท่ ี่ นี่ ชนิดที่แตกต่างกันของทะเลดอกไม้ทะเล

9

LIGHT - LIFE

แสง


Target Group

THAI : 60 %

ASIAN : 40 %

EUROPEAN : 20 %

10


17:30 8:30

00:00

12:00 18:00

22:30

19:00

6:00

00:00

6:00

00:00

Public

18:00

17:30 10:30

18:00 12:00

out 12:00

17:30

19:00

in 14:00

Semi private

00:00

10:30 7:30

18:00 12:00 6:00

8:30

11

00:00

Private

00:00


Zoning


ENTRANCE

DEVELOPED BEACH

ENTRANCE

EXISTING BEACH

13


Reception

Fitness

Bar

Souvenir shop

Dinner

Pool

Spa

Breakfast

Villa

14


Case study


Stella island luxury resort and spa

16


The National Media, United Arab Emirates Pavilion Expo 2015 Awards

17


Pavilion exhibited at the Milan Furniture Fair in April 2012

18


Location Site analysis


20


SITE LOCATION ( MELATI BEACH RESORT & SPA ) SAMUI AIRPORT distance from airport 6.6 km about 15 min

21


ลมพัดยา (มกราคม - สิ งหาคม ) พัดจากภูเขาลงทะเล

ลมพัดหลวง (กันยายน - ธันวาคม ) พัดจากทะเลขึนมาหาด

22


LOBBY

LOBBY

ตัวไซต์ตงออยู ั ท่ ี่หาดท้องสน ตําบลบ่อผุด อําเภออเกาะสมุย เป็ นพืนที่สโลบแต่ไม่ชนั มาก ทําให้สามารถมองวิวจาจที่สูง ลงมาสู่ทะเลได้ไม่มากนัก และนัน่ คือข้อดีของการวางตัววิลล่า เพราะช่วงบ่ายและช่วงกลางคืนลมพัดได้ทวั่ ถึงเกือบทังหมดของ โครงการ

23


Study styles And materials


A

B

C

D

E

F

G

A : CREAM TERRAZZO B : CEMENT WALL C : STONE D : BLACK TERRAZZO E : WHITE TERRAZZO F : MOSAIC TILE G : MDF

25


A

C

B

D

F

A : WHITE FABRIC B : BLACK FABRIC C : STAINLESS STEEL D : WALL PAPER E : WOOD WALNUT LIGHT F : POLYCARBONATE WHITE

26

E


Chapter 3 Theory and design concept


CANYON

DEEP OCEAN

แนวคิดการผสมกันระหว่าง แคนย่อน และ ผาใต้ทะเลลึก มีแรงบันดาลใจมาจากลาดลายและโทนสี เพราะสองชนิดนีต่างกันแค่บนบกและใต้นาํ แต่ลวดลายและผิวเหมือนกันเกือบทุกอย่างเพียงเพราะว่า แคนย่อน แต่ก่อนก็เคยมีนากั ํ ดเซาะเช่นเดียวกัน เมื่อนําแห้งไปจนหมดและโดนแสงแดด ลม สร้างสรรค์ต่อจนเป็ นหุบเขาที่ ไม่ค่อยได้เห็นกันทัว่ ไป

28


Case study interior


SALA SAMUI CHAWENG BEACH RESORT

30


SALA SAMUI CHAWENG BEACH RESORT

31


Chapter 4 Project design


MARALYN

นี่คือผลที่จิตใต้สาํ นึกที่ชื่อ Maralyn มีต่อผูค้ น กล่าวอีกนัย หนึ่งนี่คือสิ่ งที่คนรับรู ้โดยไม่รู้ตวั เมื่อพวกเขาได้ยนิ คํานี สําหรับลักษณะที่ได้รับการทําเครื่ องหมายไว้เป็ นอย่างดี ความรู ้สึกทางจิตใต้สาํ นึกของคํานันก็ยงิ่ แข็งแกร่ งขึน นี่คือการรับรู ้ที่ไม่ได้สติของคนส่ วนใหญ่เมื่อพวกเขาได้ยนิ คํานี โปรด จําไว้วา่ ลักษณะที่เด่นชัดมากขึน - ความสําคัญทางอารมณ์และสติของ คํานันยิง่ แข็งแกร่ งขึน

33


โดยคํานึงให้สะท้อนเห็นถึงความเป็ นเอกลักษณ์ของ คลื่นและธรรมชาติโดยรอบ ความโดดเด่นไม่เหมือนใครเพื่อทําให้ เกิดคุณค่ามากที่สุดจึงเป็ นที่มาของความสนใจในการออกแบบ

เมื่อนําเส้นสายของรู ปแบบคลื่นมาเรี ยงต่อกันจึงทําให้เกิดลวดลาย ใหม่ขึนมา

34


ด้วยที่ดวงจันทร์เป็ นอีกส่ วนหนึ่งของการกําหนดคลื่น เลยนําแบบฟอร์ม ของดวมจันทร์ที่เป็ นทรงกลมมาเป็ นกลอบของตัวโลโก้และนําลวดลาย ใหม่ของคลื่นมารวมกัน

MARALYN

Beach Resort and spa

35


Common area


0 - 10 M

1st

2nd

OIL MASSAGE EXCLUSIVE THAI MASSAGE THAI MASSAGE

FOOT MASSAGE

OIL MASSAGE

STORAGE

COFFEE SHOP

OIL MASSAGE EXCLUSIVE

TOILET

MASSAGE AND SPA

37

ENTRANCE


0 - 10 M

MASSAGE AND SPA

38


MASSAGE AND SPA

39


MASSAGE AND SPA

40


MASSAGE AND SPA

41


MASSAGE AND SPA

42


MASSAGE AND SPA

43


MASSAGE AND SPA

44


MASSAGE AND SPA

45


MASSAGE AND SPA

46


47 MASSAGE AND SPA


MASSAGE AND SPA

48


20-40 M

TOILET

WAITING AREA

RECEPTION

RECEPTION ( Shallow Coral Reef )

49

TO OCEAN GATE

ENTRANCE

WAITING AREA


20-40 M

RECEPTION ( Shallow Coral Reef )

50


RECEPTION ( Shallow Coral Reef )

51


RECEPTION ( Shallow Coral Reef )

52


RECEPTION ( Shallow Coral Reef )

53


RECEPTION ( Shallow Coral Reef )

54


RECEPTION ( Shallow Coral Reef )

55


RECEPTION ( Shallow Coral Reef )

56


150 M

ENTRANCE

TOILET

DIGITAL ART GALLERY ( จุ ดทีม ่ ีแสงแดดเพียง 1% จากผิวนา )

57


150 M

DIGITAL ART GALLERY ( จุ ดทีม ่ ีแสงแดดเพียง 1% จากผิวนา )

58


DIGITAL ART GALLERY ( จุ ดทีม ่ ีแสงแดดเพียง 1% จากผิวนา )

59


DIGITAL ART GALLERY ( จุ ดทีม ่ ีแสงแดดเพียง 1% จากผิวนา )

60


DIGITAL ART GALLERY ( จุ ดทีม ่ ีแสงแดดเพียง 1% จากผิวนา )

61


DIGITAL ART GALLERY ( จุ ดทีม ่ ีแสงแดดเพียง 1% จากผิวนา )

62


ENTRANCE

OCEAN GATE ( Grand Canyon )

TO BEACH

1100 M

63


1100 M

OCEAN GATE ( Grand Canyon )

64


OCEAN GATE ( Grand Canyon )

65


66


67


OCEAN GATE ( Grand Canyon )

68


3000 M

1st

2nd

ENTRANCE TOILET DINING

KITCHEN

RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

69

DINING


RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

70


3000 M

RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

71


RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

72


RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

73


RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

74


RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

75


RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

76


RESTAURANT AND BAR ( Deep Coral Reef )

77


19027 M

DEEP POOL

DEEP POOL

78


19027 M

DEEP POOL

79


DEEP POOL

80


DEEP POOL

81


DEEP POOL

82


Villa


60 M

1st

2nd

ORCA ( Grand deluxe 1st-2nd floor ) | 1st Floor | 74 sqm | 2nd Floor | 44 sqm

84


ORCA ( Grand deluxe 1st-2nd floor ) | 1st Floor | 74 sqm | 2nd Floor | 44 sqm

85


ORCA ( Grand deluxe 1st-2nd floor ) | 1st Floor | 74 sqm

86


ORCA ( Grand deluxe 1st-2nd floor ) | 1st Floor | 74 sqm

87


70 M

WHALE SHARK ( Private Pool Garden ) | 143 sqm

88


70 M

WHALE SHARK ( Private Pool Garden ) | 143 sqm

89


WHALE SHARK ( Private Pool Garden ) | 143 sqm

90


WHALE SHARK ( Private Pool Garden ) | 143 sqm

91


500 M

BLUE WHALE ( Pool Villa ) | 143 sqm

92


500 M

BLUE WHALE ( Pool Villa ) | 143 sqm

93


BLUE WHALE ( Pool Villa ) | 143 sqm

94


BLUE WHALE ( Pool Villa ) | 143 sqm

95


BLUE WHALE ( Pool Villa ) | 143 sqm

96


1280 M

WHITE SHARK ( Family pool villa ) | 200 sqm

97


1280 M

WHITE SHARK ( Family pool villa ) | 200 sqm

98


WHITE SHARK ( Family pool villa ) | 200 sqm

99


WHITE SHARK ( Family pool villa ) | 200 sqm

100


WHITE SHARK ( Family pool villa ) | 200 sqm

101


WHITE SHARK ( Family pool villa ) | 200 sqm

102


4500 M

ANGLER FISH ( Presidential suite ) | 347 sqm

103


4500 M

ANGLER FISH ( Presidential suite ) | 347 sqm

104


ANGLER FISH ( Presidential suite ) | 347 sqm

105


ANGLER FISH ( Presidential suite ) | 347 sqm

106


ANGLER FISH ( Presidential suite ) | 347 sqm

107


ANGLER FISH ( Presidential suite ) | 347 sqm

108


ANGLER FISH ( Presidential suite ) | 347 sqm

109


ANGLER FISH ( Presidential suite ) | 347 sqm

110


Corporate


112


113


114


115


116


117


Branding


Maralyn

Beach Resort and spa

119


120


121


Products


123


124


125


126


127


128


129


Chapter 5 Project summary


Project summary and research summary จากการที่ได้คน้ คว้าข้อมูลเกี่ยวกับ ทะเลลึก ในการนํารู ปแบบที่แปลกใหม่มาออกแบบรี สอร์ทที่สมุยที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ มีชื่อเสี ยงในเรื่ องของทะเลอยูแ่ ล้ว ได้ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบพืนที่ให้ดูน่าสนใจและแปลกใหม่ร่วมกับโครงการเดิมที่ตอ้ งรี โนเวทใหม่ ให้เป็ นโมเดิร์นมากกว่าที่เป็ นอยู่ แล้วยังมีในเรื่ องของฟังชัน่ ที่ตอ้ งออกแบบให้ควบคู่กนั ไปกันพืนที่ออกแบบ ทังหมดนีเพื่อให้การท่องเที่ยวและที่พกั อาศัยเป็ นไปในทางที่ดีขึน น่าสนใจ และเป็ นที่น่าจับตามองในยุคต่อๆไปให้ไปถึงจุดที่ เฟื องฟูมากที่สุดและมีชื่อเสี ยงในวงกว่าง อาจจะต้องใช้ระยะเวลาและการเข้าใจในเรื่ องของ ทะเลลึก ให้ดีขึนมากกว่าเดิม

ข้อเสนอแนะ หาวิธในการนํามาสู่การถ่ายทอดให้เป็ นที่น่าสนใจมากขึนและการนําเสนอข้อมูล การวางแปลน ออกแบบพืนที่ ภาพจําลอง 3 มิติ และการ presentation

131


บรรณานุกรม 100 BEST DESIGN HOSTELS (บ้านและสวน) P I A an experience (N li-zenn) คลื่นใต้มหาสมุทร https://th.wikipedia.org/wiki/ทะเลลึก https://th.wikipedia.org/wiki/ปลาทะเลลึก https://www.blockdit.com/posts/สํารวจโลกสายพันธุ์สตั ว์ประหลาดใต้ทะเลลึก https://www.youtube.com/การเดินทาง 3 มิติสู่สิ่งที่ซ่อนอยูใ่ นความลึกของมหาสมุทร (ชีวติ สดใส / Bright Side Thai) https://th.wikipedia.org/wiki/วาฬเพชฌฆาต (Orca) https://th.wikipedia.org/wiki/วาฬสี นาเงิ ํ น (blue whale) https://th.wikipedia.org/wiki/ฉลามวาฬ (whale shark) https://th.wikipedia.org/wiki/ฉลามขาว (white shark) https://th.wikipedia.org/wiki/ปลาตกเบ็ด (anglerfish) https://www.nsm.or.th/other-service/1757-online-science/knowledge-inventory/sci-article/science-article-nsm/2740-angler-fish-fire-dea th.html https://mgronline.com/science/detail/9540000081737 (เห็ดทะเล) https://www.autoinfo.co.th/article/77744/ https://th.wikipedia.org/wiki/กัลปั งหา

132


ประวัติผวู ้ จิ ยั โครงการออกแบบ Melati beach resort and spa ชื่อ-สกุล ระหัสนักศึกษา ระดับการศึกษา ปี การศึกษา วัน-เดือน-ปี เกิด อายุ ที่อยูต่ ามภูมิลาํ เนา การติดต่อ E-mail Facebook

: นายพฤทธิ์ มังคลาด : 5701220 : นักศึกษาชันปี ที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิ ต : 2563 : 13 มิถุนายน พ.ศ.2538 : 25 : 88/1 ม.6 ต.แม่นาํ อ.เกาะสมุย จ.สุ ราษฎธาร์นี 84330 : 090-052-9428 : mangkhlardio@gmail.com : Parit Mangkhlard

133



2020 - 2021

Interior design


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.