Thanatcha Sukmak

Page 1

NEIGHBOR

NEIGHBOR

NEW EXPERIENCE

CULTURE CAMPER



NAME OF PROJECT :

TYPE OF THESIS :

OWNER OF PROJECT :

ADVISOR OF PROJECT :

ศึกษาประสบการณ์การการท่องเที่ยวแบบแคมป์ป้ง ิ เพื่อนำมาพัฒนาในงานออกแบบ ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน ( Interior Design ) นางสาว ธนัชชา สุขมาก รหัส 6001678 นักศึกษาชัน ้ ปีที่​่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน อาจารย์ถวัลย์ วงศ์สวรรค์


APPROVEAL SHEET

กรรมการอนุมัติ สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะวิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให้นับศิลปนิพนธ์ฉบับนี้ เป็น ส่วนหน่ึ่ง ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน

...................................................................คณบดีคณะวิทยาลัยการออกแบบ (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน)


คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

..................................................................ประธานกรรมการ (อาจารย์วริศว์ สินสืบผล) .................................................................กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์) ................................................................กรรมการ (อาจารย์ไพลิน โภคทวี) ..............................................................กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงศ์สวรรค์) .............................................................กรรมการ (อาจารย์เรวัฒน์ ชำนาญ) .............................................................กรรรมการ (อาจารย์ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวัฒน์)

............................................................กรรมการ (อาจารย์บัณฑิต เนียมทรัพย์) ...........................................................กรรมการ (อาจารย์กาลัญญู

อาจารย์ท่ปรึ ี กษาศิลปนิพนธ์

สิปิยารักษ์)

.................................................................... (อาจารย์ถวัลย์ วงศ์สวรรค์)


Camping Tourism Experience Study for Design Work Project Nowadays, there is a lot more tourism in various styles and one of them is camping which is popular and widely spread at the moment. It is a tourism to seek new experiences and today people give importance to traveling with family spending time with them. Meanwhile, nature tourism or camping also has obstacles in inconvenience, area safety and peace. Still, there is now a development and an innovation for camping erasing old perception of camping. This project then offers the camping tourism development project to improve design work creating a space for family activities which helps making experience from doing family-friendly activities and connecting bonds among family members and other campers. The space is defined under the concept ‘Culture Camper’.


ชื่อโครงการ

ศึกษาประสบการณ์การการท่องเที่ยวแบบแคมป์ป้ง ิ เพื่อนำมาพัฒนาในงานออกแบบ

ที่ปรึกษาโครงการ

อาจารย์ถวัลย์ วงศ์สวรรค์

ผู้ดำเนินโครงการ

นางสาว ธนัชชา สุขมาก รหัส 6001678 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน

ประเภทศิลปนิพนธ์

ประเภทงานออกแบบภายใน ( Interior Design )

บทคัดย่อ ปัจจุบันมีการท่องเที่ยวที่หลากหลายมากขึ้นและหนึ่งในนั้นก็คือการ แคมป์ป้งที ิ ่ได้รับความนิยม และเกิดการแพร่หลายเป็นอย่างมากในปัจจุบัน เป็นการไปเที่ยวเพื่อหาประสบการณ์ใหม่ และ ปัจจุบันคนให้ความสำคัญกับการไปเที่ยวแบบครอบครัว การใช้เวลาร่วมกันในครอบครัว แต่ในขณะเดียวกันการท่องเที่ยวใน เชิงธรรมชาติหรือแคมป์ปิ้ง ก็มีความลำบากทำให้ไม่ สะดวกสบายและเรื่องความปลอดภัยภายในพื้นที่หรือความสงบ แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาและ มีนวัตกรรมเกี่ยวกับการไปแคมป์ท่มี ี การลบล้างภาพลักษณ์เดิมจากก่อนแล้ว ่อพัฒนาในงานออกแบบให้เกิดพื้นที่ จึงเสนอ โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบแคมป์ป้งเพื ิ ทำกิจกรรมสำหรับครอบครัวสร้างประสบการณ์ท่มี ี กิจกรรมที่สามารถเชื่อมความสัมพันธ์ใน ครอบครัวและเพื่อนร่วมแคมป์ ในพื้นที่ถูกจำกัดความภายใต้culture camper



กิตติกรรมประกาศ

ผลงานศิลปนิ​ิพนธ์โครงการศึกษาประสบการณ์การท่องเที่ยวแบบแคมป์ปิ้ง นั้นสำเร็จได้ด้วยบุพการีที่ช่วย สนับสนุนทุนทรัพย์ในการเล่าเรียนและพัฒนางานมาจนถึงปัจจุบันขอขอบคุณไว้ใน ณ ที่นี้ด้วย ขอขอบพระคุณคณะอาจารย์ภาควิชาศิลปะและการออกแบบสาขาออกแบบภายในทุกท่านที่ให้คำปรึกษา และคอยชี้แนะวิธีการในการพัฒนาตัวโครงการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นจนสำเร็จไปได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณอาจารย์ถวัลย์ วงศ์สวรรค์ (อาจารย์กอล์ฟ) ที่คอยชี้แนะแนวทางการพัฒนาโครงการของ ข้าพเจ้าให้มีแนวทางการแก้ไขทางออกที่​่ดีตลอดตั้งแต่เริ่มโครงการ ขอขอบพระคุณอาจารย์ไพลิน โภคทวี ที่เชื่อในตัวข้าพเจ้าและคอยให้คำแนะนำการพัฒนาโครงของข้าพเจ้า เสมอมาตั้งแต่เริ่มโครงการ ขอขอบพระคุณอาจารย์เรวัฒ ชำนาญ ที่ทำให้ข้าพเจ้าเชื่อมั่นในตัวเองในการทำงานมาตลอดและคอยผลักดัน ให้ข้าพเจ้ามีกำลังใจในการผลิตผลงาน ขอขอบพระคุณอาจารย์วริศน์ สินสืบผล ที่ให้คำปรึกษาโครงการกับข้าพเจ้าเมื่อมีข้อสงสัยหรือข้อมูลเพิ่มเติม ในการนำไปพัฒนาผลงาน ขอขอบคุณเพื่อน รุ่นพี่ ทั้งในและนอกคณะที่ให้ความช่วยเหลือในการทำงาน ในการใช้ชีวิตลอดระยะเวลาที่ได้ ศึกษาในมหาวิทยา ให้ประสบการณ์ต่างๆ คำปรึกษาที่ดี มิตรภาพที่ดีที่มีให้ต่อกัน

ขอขอบคุณพี่ฝนเจ้าหน้าที่ทที่ FARM DELEK ที่ให้ข้อมูลในการดำเนินงานและอำนวยความสะดวกในการเข้า ดูสถานที่ อาคารต่างๆและคำแนะนำที่ดีภายในโครงการ ขอขอบบคุณตัวข้าพเจ้าเองที่อดทนและมุ่งมั่นที่จะทำโครงการนี้ให้สำเร็จ ไม่ท้อจนละทิ้งงานไปและขอบคุณ ครอบครัวที่เป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญของข้าพเจ้าในทุกๆด้าน

นางสาว ธนัชชา สุขมาก



สารบัญ

CHAPTER

PAGE

ABSTRACT

ACKNOWLADGEMENTS

TABLE OF CONTENT

CHAPTER01

00

CHAPTER02

00

CHAPTER03

00

CHAPTER04

00

CHAPTER05

00

บรรณานุกรม ภาคภนวก ประวัติ


01


CHAP TER 01

02


PROJECT BACKGROUND ที่มาและความสำคัญ

เนื่องด้วยปัจจุบันมีการท่องเที่ยวที่หลากหลายมากขึ้นและหนึ่งในนั้นก็คือการ แคมป์ปิ้ง ที่ได้รับความนิยม และเกิดการแพร่หลายเป็นอย่างมากในปัจจุบันคนรุ่นใหม่ไม่ได้มองว่า การท่องเที่ยวเป็นแค่การไปเยี่ยมชมสถานที่ปลายทางเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่เป็น การไปเที่ยวเพื่อหาประสบการณ์ใหม่ และ ปัจจุบน ั คนให้ความสำคัญกับการไปเที่ยวแบบ ครอบครัว การใช้เวลาร่วมกันในครอบครัว และสิ่งที่ครอบครัวคำนึงถึงการออกไปเที่ยว ในธรรมชาติคอ ื การให้ลก ู ออกไปอยูก ่ บ ั ธรรมชาติการเรียนรูโ้ ดยธรรมชาติ แต่ในขณะเดียวกันการท่องเที่ยวในเชิงธรรมชาติหรือแคมป์ปิ้ง ก็มค ี วามลำบากหรือผูท ้ ี่ ท่องเที่ยวต้องมีความพยายามในการขนของไปในที่ต่างๆ หรือการนอนบนพื้นโดยตรง ทำให้ไม่สะดวกสบายหรือพักผ่อนได้ไม่เต็มที่ และ เรื่องความปลอดภัยภายในพื้นที่หรือ ความสงบที่ปัจจุบน ั นั้นจะได้ยากจากเดิม ซึ่งทั้งนี้ทั้งนั้นอุปกรณ์ต ์ า่ งๆก็มก ี ารพัฒนาขึ้นเพื่อให้เกิดความสบายมากขึ้นเพื่อตอบโจทย์ ผู้ที่ชื่นชอบในการท่องเที่ยวแบบแคมป์ปิ้ง แต่ผู้ที่สามารถมีความรู้ในเรื่องของอุปกรณ์ หรือสิ่งอำนวยความสะดวกเหล่านั้นจะเป็นผู้ที่ให้ความสำคัญกับการไปพักผ่อนอย่างแท้ จริงหรือผู้ท่ให้ ี ความสนใจกับลายละเอียดที่ต้องศึ​ึกษาของสิ่งอำนวยความสะดวก โดย คำนึงถึงหลักการที่บอกได้ว่า”เต๊นท์คือบ้านเคลื่อนที่”แต่กลับกันยังมีผท ู้ ี่ไม่เข้าใจกับความ แตกต่างหรือการพัฒนาของแคมป์ที่มีการลบล้างภาพลักษณ์เดิมจากก่อนแล้ว จึงเสนอโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบแคมป์ป้ง ิ เพื่อพัฒนาในงานออกแบบให้เกิด พื้นที่ี่ทำกิจกรรมสำหรับครอบครัวสร้างประสบการณ์ที่มีกิจกรรมที่สามารถเชื่อมความ สัมพันธ์ในครอบครัวและเพื่อนร่วมแคมป์ ในพื้นที่ถูกจำกัดความภายใต้culture camper

03


OBJECTIVES

่ กษาการท่องเที่ยวในรูปแบบแคมป์ป้ิ้ง และ ศึกษอริยาบทต่างๆของนักท่องเที่ยว 1. เพือศึ ที่ชื่นชอบการแคมป์ปิ้ง และ การไปเที่ยวแบบครอบครัว 2. เพื่อศึกษามาพัฒนาการออกแบบที่พักและพื้นที่ในรูปแบบที่เเหมาะสำหรับครอบครัว เพื่​่อ พัฒนาให้การท่องเที่ยวเชิงแคมป์ดีข้นและเหมาะสม ึ 3. เพื่อเผยแพร่การท่องเที่ยวแบบแคมป์ให้เป็นกิจกรรมสำหรับครอบครัวที่เกิดประสบการณ์ ใหม่ๆ

EXPECTATION

1. ได้ศึกษาพฤติกรรมของผู้ที่สนใจในการเที่ยวเชิงแคมป์ในลักษณะที่ต่างกันนำไป สู่กิจกรรมใหม่ๆ 2. ได้เรียนรูแ้ ละทำความเข้าใจกับแนวคิดการออกแบบที่พักในลักษณะของแคมป์ปิ้งที่ เหมาะสำหรับครอบครัว 3. ผูค ้ นทั่วไปรูจ ้ ก ั และให้ความสนใจการท่องเที่ยวแบบแคมป์มากขึ้น และ เกิดการเข้าถึงได้งา่ ย การอยากมีประสบการณ์ใหม่ๆกับครอบครัว

04


05


AREA OF STUDY

1. ศึกษาการท่องเที่ยวและกิจกรรมในแบบแคมป์ป้งที ิ ่ทำให้มีอัตราผู้สนใจเพิ่มขึ้น 2. ศึกษาพฤษติกรรมของผู้ที่หลงไหลการแคมป์ปิ้ง ครอบครัว และ แนวคิดการ ท่องเที่ยวแบบครอบครัว 3. ศึกษากิจกรรมของcamperที่นำมาประยุกต์ให้เหมาะสมสำหรับครอบครัว 4. ศึ ก ษาด้ า นการออกแบบและจั ด สรรพื ้ นที ่ เพื ่ อตอบสนองพฤติ ก รรมของ ครอบครั ว

06


07


CHAP TE R 02

08


09


TRAVEL PREDICTIONS 2020 NOW & THEN

10


TRAVEL PREDICTIONS

กระแสเที่ยว “เมืองรอง” จะเพิ่มมากขึ้น

การเที่ยวแบบสโลว์ ๆ จะมาแทนที่

การเที่ยวเมืองรอง เพื่อพยายาม ลดปัญหานักท่องเที่ยวล้นเมือง

แทนที่จะต้องคอยกลัวตกกระแส (FOMO หรือ Fear of Missing Out) และต้องเร่งรีบทำทุกอย่างให้มากที่สุด เท่าที่จะทำได้

ค้นพบการท่องเที่ยวแบบครบครัน

สร้างความทรงจำดี ๆ ด้วย “ทริปสองวัย”

โลกที่หมุนไปอย่างรวดเร็วทำให้ผู้คน ส่วนใหญ่ มักไม่มีเวลาว่างเพียงพอ เป็นเหตุให้ไม่ได้เริ่มทริป หรือ หยุดเพือ ่ พักผ่อน

ปี 2020 เป็นปีแห่ง “ทริปสองวัย” ลืมคำว่าช่องว่างระหว่างวัย

ให้เทคโนโลยีคาดการณ์ ผู้เดินทางจะใช้เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ในการตัดสินใจหลัก

11


TRAVEL PREDICTIONS 2020

TRAVEL/NOW&NEXT

กระแสเที่ยว “เมืองรอง” จะมาแรงขึ้น การเที่ยวเมืองรอง คือ การไปที่จุดหมายที่เป็น ที่รู้จักน้อยกว่าปกติ เพื่อพยายามลดปัญหานัก ท่องเที่ยวล้นเมืองและช่วยปกป้องสิ่งแวดล้อม โดย เทรนด์การท่องเที่ยวนี้ จะเติบโตขึ้นอย่าง ก้าวกระโดดในปีที่จะมาถึงนี้ ผู้เดินทางชาวไทย จำนวนมากกว่าครึ่ง (68%) อยากมีส่วนร่วม ในการลดปัญหานักท่องเที่ยวล้นเมืองที่เกิดขึ้น (จาก 54% ของผู้เดินทางทั่วโลก) ให้เทคโนโลยีคาดการณ์ ในปี 2020 ผู้เดินทางจะใช้เทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ในการตัดสินใจหลัก จะมีการใช้เทคโนโลยีเป็นสือ ่ ในการเลือกสรรไม่วา่ จะเป็น จุดหมาย ที่พักหรือ กิจกรรมน่าสนใจผูเ้ ดินทางชาวไทยจำนวน64% ระหว่างเดินทางจะใช้แอปพลิเคชันที่ทำให้เลือกดู และ จองกิจกรรมต่าง ๆ ได้แบบเรียลไทม์ ขณะ เดียวกัน คนไทยอีก 61% จะมีการวางแผนจะใช้ แอพพลิเคชัน ่ จองกิจกรรมต่างๆADVERTISING

เที่ยวแบบสโลว์ ๆ จะมาแทน แทนที่จะต้องคอยกลัวตกกระแส( FOMO หรือ Fear of Missing Out )และต้องเร่งรีบทำทุก อย่างให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ การเดินทางในปี 2020 นั้นพลิกโฉมไปในทางที่เป็นแบบค่อยเป็น ค่อยไปโดยผู้เดินทางชาวไทย 61%วางแผนที่จะ ใช้รป ู แแบบการเดินทางที่ช้าลงเพื่อลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม และ 78% อยากเลือกเส้นทางที่ ใช้เวลาเพิ่มขึ้น เพือ ่ สัมผัสประสบการณ์จากการ เดินทางให้มากขึ้นขณะเดียวกัน ผูเ้ ดินทาง73% อยากสัมผัสถึงความรูส ้ ก ึ ราวกับได้ยอ ้ นเวลา

สร้างความทรงจำดี ๆ ด้วย “ทริปสองวัย” ปี 2020 เป็นปีแห่ง “ทริปสองวัย” ลืมคำว่าช่อง ว่างระหว่างวัยไปได้เลยเพราะผูส ้ ง ู อายุจำนวนมาก ขึ้นที่พร้อมไปพักร้อนกับหลานๆโดยไม่ได้พาพ่อแม่ ไปด้วย ชาวไทยในรุน ่ ปูย ่ า่ ตายาย 74% ยอมรับว่า การใช้เวลากับหลานๆทำให้ตนเองได้รส ู้ ก ึ ย้อนวัยอีก 56% เชื่อว่าเหล่าพ่อแม่กอ ็ ยากมีเวลาเป็นส่วนตัวบ้าง โดยไม่มเี ด็ก ๆ มารบกวนเมือ ่ จับคูก ่ บ ั ความจริงที่ว่า ผูส ้ ง ู วัยทุกวันนี้แข็งแรงกว่าชอบผจญภัยมากกว่า ค้นพบการท่องเที่ยวที่ได้แบบครบครัน ู้ ก ึ เหมือนกลับไปเป็นเด็ก โลกที่หมุนไปอย่างรวดเร็วทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ และ กระตือรือร้น ที่จะได้รส ้ กระฉับกระเฉงกว่าเมือ ่ ก่อน เราก็จะได้เห็นว่า มักไม่มีเวลาว่างพอเป็นเหตุให้ไม่ได้เริ่มทริปหรือ อีกทัง ิ กรรมสุดแอคทีฟมากมายให้ หยุดพักผ่อน ผูเ้ ดินทางต่างต้องการใช้เวลาให้ “ทริปสองวัย” ซึ่งมีกจ ้ จะได้รบ ั ความนิยมมากขึ้นไป มีประสิทธิภาพทีส ่ ด ุ ระหว่างพักผ่อนดังนัน ้ แทน คนสองวัยได้เข้าร่วมนัน ที่จะเที่ยวแค่แบบเดียวตลอดทริปในปี2020จะมี อีกในปีหน้า ผูเ้ ดินทางที่ต้องการทริปแบบ“ความสนุกครบครัน” เพิ่มขึ้นโดยผูเ้ ดินทางชาวไทย 71% กล่าวว่าต้อง การออกทริปยาว ๆสักครัง ้ เพื่อไปยังสถานที่ที่มี กิจกรรมและสิ่งทีน ่ า่ สนใจสุดโปรดอยูใ่ กล้กน ั ส่วน อีก 77% ยอมรับว่าการเลือกจุดหมายที่มีกจ ิ กรรม และ สิ่งทีน ่ า่ สนใจสุดโปรดอยูใ่ กล้กน ั เพื่อประหยัด เวลาเดินทาง

12


TRAVEL PREDICTIONS

้ (Camping) หรือการตั้งแคมป์ กำลังเป็นเทรนด์ใหม่ล่ามาแรงของปี 2020 ด้วยหลายเหตุผล แคมปิง . แน่นอนว่า โควิด-19 ก็เป็นเหตุผลหนึ่งที่ สำคัญ เพราะโควิด-19 ทำให้ผู้คนอัดอั้นตันใจที่ต้องถูกล็อกดาวน์อยู่ กับบ้านมานานนับเดือน การแคมปิ้งจึงเสมือน ‘ทางออก’ ที่เข้าถึงทุกไลฟ์สไตล์การท่องเที่ยวและตอบโจทย์ผู้ คนทุกเพศทุกวัย ด้วยราคาที่ไม่แพง เข้าถึงธรรมชาติมีตั้งแต่แคมปิ้งโซโลเที่ยวคนเดียว เป็นคู่กับแฟน เพื่อน หรือแม้แต่ขนมาทั้งครอบครัวที่มีต้ง ั แต่ลูกเล็กเด็กแดงไปจนถึงผู้สูงอายุ ทำให้ทั้งครอบครัวได้ออกมาพักผ่อน นอนแนบกายกับธรรมชาติคลายความเหี่ยวเฉากันอีกครั้ง .

“CAMPING TO GLAMPING” Google Trends รายงานว่า คำว่า ‘glamping’ หรือ ‘แกลมปิ้ง’ ปรากฎขึ้นครั้งแรกในกูเกิลเสิร์ชเมื่อปี 2007 คำนี้มาจาก การรวมคำว่าแคมป์ปิ้ง (camping) และ หรูหรา (glamorous) เข้าด้วยกัน แต่เทรนด์การกางเต็นท์นอนกลางป่​่าแบบหรูหรา อยู่สบายเพิ่งเริ่มขึ้นในทศวรรษที่ผ่านมา CAMPING + GLAMOROUS

= GLAMPING

13


TRAVEL PREDICTIONS

ASIA GLAMPING

ชาวเอเชียอย่างญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน จะนิยมตั้งแคมป์ด้วยเต็นท์แบบใกล้ชิดธรรมชาติ แต่มีความ ‘แกลม’ หรือหรูหรา ด้วยอุปกรณ์ตั้งแคมป์ที่สะดวกสบาย ขนาดกะทัดรัด พับเก็บง่าย ดีไซน์สวย และให้ความรู้สึกเหมือน ยกบ้านย่อส่วนมาไว้บนดอย ริมแม่น้ำ หรือใกล้น้ำตก หันกลับมามองที่จุดกางเต็นท์ท้งของทางอุ ั ทยานแห่งชาติและ ของภาคเอกชนในประเทศไทย ต้องบอกว่าไม่ได้ขี้ริ้วขี้เหร่ไปกว่า ใคร ๆ ความเขียวขจีจากป่​่าไม้ และเสียงสายน้ำลำธารจากป่าต้นน้ำ รวมไปถึงน้ำตก อุทยานแห่งชาติแทบทั้งหมดมีจุดกางเต็นท์

14


15


TRAVEL PREDICTIONS

่ ผลสำรวจของ Pinterest เกียวกั บคำค้นหายอดนิยมแห่งปี พบว่า คำว่า “BUSHCRAFT CAMPING” หรือการตั้งแคมป์ถูก ค้นหาเพิ่มข้ึ้นมากกว่าร้อยละ 1,000 ต่อปีซ่งแสดงให้ ึ เห็นถึงการเติบโตอย่างก้าวกระโดดมากที่สุด

16


17


TAR GET GRO -UP 18


FAMILY TOURIST 50%

CAMPER 40%

ETC.

10%

19


TARGET GROUPS

20


SOURCE

V6横アリライブ映像作品、 ジャ

21


ャケットはグッズに続き長場雄が担当

22


23


24


ACTIVITY

SOURCE

SOURCE

Facebook Page : neighborcamper

https://www.japan-experience.com/

SOURCE

SOURCE

https://www.japan-experience.com/

https://www.japan-experience.com/

25


SOURCE https://www.japan-experience.com/

26


27


PRO GRAM -MING 28


PROGRAMMING

FAMILY |

NATURE |

GET DOING |

LEARNING

29


PROGRAMMING

STAY VILLAGE CAMPGROUND

ACTIVE AREA (YARD) PLAY GROUND AND LEARNING OUTDOOR ANIMAL EXPLORING

MEET UP CAMP FIRE COMMUNAL SPACE

EAT CAFE HOMEMADE COOKED MEAL

CRAFT WOOD CRAFT NATURAL TIE DYE CLOTHE ACRYLIC PAINTING ON CANVAS

RETAIL SOURVENIR RENTAL

30


EST.

2020

NEIGHBOR CAMPSITE

31


LO CA TION 32


33


SITE ANALYSIS

46km. Road N0.305 klong15/Rangsit-Nakhon Nayok Unnamed Rd, Tambon Khlong Yai, Amphoe Ongkharak, Nakhon Nayok 26120

34


35


SITE ANALYSIS

36


37


SITE ANALYSIS

38




GARDENER / HOUSEKEEPER STAFF

ETC.

41


USER ANALYSIS

FAMILY TOURIST CAMPER

WORKSHOP CREATOR

42



C H AP TER 03


“CONNECT WITH YOUR NEIGHBOR”

45


CONCEPT

“CONNECT WITH YOUR NEIGHBOR” ตามช่ื่อ Neighbor คือเพื่อนบ้าน เป็นการconnect กันโดยที่ี่ คำว่า neighbor เปรียบเป็นความสัมพันธ์ ใหม่ๆที่เกิดขึ้นและไม่ได้หมายถึงแค่เพื่อน บ้านที่เป็นมนุษย์แต่รวมไปถึงสิ่งมีชีวิต อื่นๆที่เราสามารถสร้างความสัมพันธ์และ มีประสบการณ์ใหม่ๆกับสิ่งต่างๆได้

46


47


CHANGE RESORT TO

“FAMILY OUTING” “CAMPER MEETUP”

EST.

2020

NEIGHBOR CAMPSITE

48



C H AP TER 04


ACTIVITY

STAY 20%

40%

GET DOING

51


FACILITY 10%

STAFF 10%

20%

52


RECEPTION

PARKING LOT

YAR

BARNHOUSE

VEGETABL GARDEN

53


ZONNING

MAIN DINING AREA HORSE STABLE

RECEPTION / LOUGE

D

YARD

LE

STAY / 3 TYPE

54


55


56














69


70










79


80










89


90












101


102










111


112










121


122










131


132










141


BRANDING AND CORPORATE IDENTITY NEIGHBOR CAMPSITE

142














156


C H AP TE R 05

157


บทสรุป โครงการศึกษาประสบการณ์การท่องเที่ยวแบบ camping ถูกค้นคว้าข้อมูลถามความเห็นจาก คณะกรมการและอาจารย์ที่ปรึกษา ผลตอบรับ ไปในทางที่ดี แต่ยังมีจุดบกพร่องในบางส่วน เช่น งานสามารถทำให้มีความเป็นcampได้มาก กว่านี้ เป็นสาเหตุมาจากการยึดติดในภาพของ ความที่จะต้องเป็นงานออกแบบภายใน

PROJECT S


SUMMARY

ข้อเสนอแนะ


160


RESEARCH AND REFERENCE

161



SOURCE V6横アリライブ映像作品、 ジャケットはグッズに続き長場雄が担当 Facebook Page : neighborcamper https://www.japan-experience.com/ https://www.japan-experience.com/ https://www.japan-experience.com/ https://www.japan-experience.com/ https://adaybulletin.com › life-feature-camping-is-life https://www.facebook.com › sccampingthailand https://www.stepextra.com › Tips & Technics The Cloudhttps://readthecloud.co › thoughts-9 https://www.facebook.com › adaybulletin › posts https://mgronline.com https://onceinlife.co › camping-tours https://www.stepextra.com › News https://www.bangkokbiznews.com › .https://thestandard.co › 5-health-benefits-of-camping


CURRICULUMVITAE


NAME

THANATCHA

BRITH

02 APRIL 1999

AGE ADDRESS

SUKMAK

22 YEAR 306 MOO,8 CHA-OM ,KHANGKOI SARABURI 18110

TEL E-MAIL

+6682712042

THANATCHA.SUKMAK@GMAIL.COM

EDUCATION ELEMENTARY

SECONDARY UNIVERSITY

MALASAWAN PHITTAYA SCHOOL

SUANKULARB WITTAYALAI SARABURI

DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN, COLLAGE OF DESIGN,RANGSIT UNIVERSITY


EST.

2020

NEIGHBOR CAMPSITE


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.