EXTREME SPORT COMPLEX BOOK

Page 1

SPORT COMPLEX

EXTREME



โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ชื�อโครงการ

“EXTREME SPORT COMPLEX” โครงการออกแบบศูนย์รวมเอ็กซ์ตรีมสปอร์ตเตอร์ เพื�อส่งเสริมกีฬาเอ็กซ์ตรีมภายในประเทศไทย

ประเภทโครงการศิลปนิพนธ์

Innovation Research

ผูด้ าํ เนินโครงการศิลปนิพนธ์

นายภูรชิ กานต์ แทนเคน รหัส 5903312 นักศึกษาชัน� ปี ท�ี 4 สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

ที�ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์

อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล


สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมตั ใิ ห้นบั ศิลปนิพนธ์ฉบับนีเ� ป็ นส่วนหนึง� ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน ............................................................ คณบดีคณะศิลปกรรม (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

............................................................ ประธานกรรมการ (อาจารย์วริศน์ สินสืบผล) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์เกรียงศักดิ� สุวรรณบูล) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์วิรุจน์ ไทยแช่ม) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์บณ ั ฑิต เนียมทรัพย์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์เรวัฒน์ ชํานาญ) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ณฐั พงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพนธ์

............................................................ (อาจารย์วริศน์ สินสืบผล)


หัวข้อศิลปนิพนธ์ ผูด้ าํ เนินงาน อาจารย์ท�ีปรึกษา ปี การศึกษา สาขาวิชา

: : : : :

โครงการออกแบบศูนย์รวมเอ็กซ์ตรีมสปอร์ตเตอร์เพื�อส่งเสริมกีฬาเอ็กซ์ตรีมภายในประเทศไทย นายภูรชิ กานต์ แทนเคน อาจารย์วริศว์ สินสืบผล 2562 ออกแบบภายใน

บทคัดย่อ กีฬาเอ็กซ์ตรีมเป็ นกีฬาที�เน้นการเล่นผาดโผน,เสี�ยงอันตรายซึง� กีฬาเอ็กซ์ตรีมนัน� ก็มีดว้ ยกันมากมายหลายแบบทัง� ที�มีอปุ กรณ์พิเศษเพิ�มขึน� มา หรือเครือ� งเล่นตามปกติท�ีหาได้ท�วั ไปอย่างSkateboard, Roller Skate รวมไปถึงการเล่นผาดโผนสุดๆแบบSkydiving, Mountain Climbing ซึง� กีฬาเอ็กซ์ตรีมในประเทศไทยนัน� เป็ นกีฬาที�คนยังไม่คอ่ ยพูดถึงมากในวงกว้างและยังถูกมองว่าเป็ นการเล่นกีฬา จําพวกนีเ� ป็ นการไปมั�วสุมกันของวัยรุน่ โครงการนีจ� งึ ตัง� ใจศึกษาและปรับเปลี�ยนภาพลักษณ์ของกีฬาเอ็กซ์ตรีมให้เป็ นไปใน ทางที�ดีขนึ � เพื�อให้กีฬาเอ็กซ์ตรีมเป็ นกีฬาเป็ นที�ถกู พูดถึงในวงกว้างมากขึน� โดยตัง� ใจทําให้โครงการเป็ นเหมือนกับCommunityของเหล่าเอ็กซ์ตรีมสปอร์ทเตอร์ หรือคนที�สนใจได้เข้ามาใช้และ นําแนวคิดที�วา่ ถ้าการเล่นกีฬาเอ็กซ์ตรีมไม่ใช่แค่การไปมั�วสุม่ กันของวัยรุน่ แต่เป็ นการเล่นเพื�อออกกําลังกายและส่งเสริม ผลักดันเหล่าเอ็กซ์ตรีมสปอร์ทเตอร์ให้ไปเป็ นนักกีฬาทีมชาติ และลบภาพลักษณ์ของกีฬาเอ็กซ์ตรีมให้เป็ นไปในทางที�ดีขนึ �


ค

Title Name Advisor Academic Year Department

: : : : :

EXTREME SPORT COMPLEX Poorichakan Thanken Aj. Waris Sinsuebpol 2019 Interior Design

ABSTRACT Extreme sports are sports that focus on exercising and playing different sports, additional accessories or regular players such as skateboarding, roller skate, as well as extreme skydiving, rock climbing. The extreme sport in Thailand is a sport that is not very popular in the general public and is seen as playing this type of sport as a conspiring of teenagers.This project is to study and change the image of high-level sports in the same direction. The purpose of the project is to make the project go smoothly. A community of Extream sporter community members or interested people can use it and bring the knowledge of " Extream sport need to promoting these pushes. Extream sporter provides Being a national team athlete and removing the bad image and adjusting the conception of people towards extreme sports for the better. "


กิตติกรรมประกาศ ผลงานศิลปนิพนธ์โครงการออกแบบศูนย์รวมเอ็กซ์ตรีมสปอร์ตเตอร์เพื�อส่งเสริมกีฬาเอ็กซ์ตรีมภายในประเทศไทย นัน� สําเร็จได้ดว้ ยบุพการีท�ีชว่ ยสนับสนุนทุนทรัพย์ในการเล่าเรียนและพัฒนางานมาจนถึงปั จจุบนั ขอขอบพระคุณไว้ใน ณ ที�นีด� ว้ ย ขอขอบพระคุณคณะอาจารย์ภาควิชาศิลปะและการออกแบบสาขาวิชาออกแบบภาคในทุกท่านที�ให้คาํ ปรึกษา และคอยชีแ� นะวิธีการในการพัฒนาตัวโครงการให้มีประสิทธิภาพมากขึน� จนสําเร็จไปได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคุณอาจารย์วริศว์ สินสืบผลที�คอยช่วยเหลือและให้คาํ แนะนําตลอดตัง� แต่เริม� โครงการอีกทัง� ยังให้คาํ แนะนําและคอยสั�งสอนผมนอกห้องเรียน ขอขอบคุณเพื�อนรุน่ พี�และรุน่ น้องทัง� ในและนอกคณะที�ให้ความช่วยเหลือในการทํางานในการใช้ชีวิตตลอดระยะ เวลาที�ได้ศกึ ษาในมหาวิทยาลัย ให้ได้พบประสบการณ์ตา่ ง ๆที�ดี ขอบคุณมิตรภาพที�ดีท�ีมีให้ตอ่ กันใน ณ ที�นี � ขอขอบคุณพี�ๆที�ฝึกงานที�คอยเป็ นกําลังใจและช่วยเหลือสั�งสอนในทุกๆเรือ� งพร้อมทัง� ให้ความอบอุน่ กับดิฉนั มาตลอด ขอบคุณมิตรภาพที�ดีท�ีมีให้ตอ่ กันใน ณ ที�นี � ขอขอบคุณ นักกีฬาเอ็กซ์ตรีมทุกคนรวมถึงคนที�ชอบในกีฬาเอ็กซ์ตรีมที�คอยผลิตผลงานไม่วา่ จะเป็ นคลิปการเล่น หรือการแข่งในYoutube หรือในช่องทางอื�นๆให้ผมได้รบั ชมตลอดการศึกษาในมหาวิทยาลัยซึง� เป็ นแรงผลักดันให้ผมได้ ทําโครงการนีจ� นสําเร็จ จึงขอขอบพระคุณไว้ใน ณ ที�นี � นายภูรชิ กานต์ แทนเคน 1 กรกฎาคม 2563


สารบัญ

บทที� หน้ากรรมการอนุมตั ิ บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ บทที� 1 บทนํา (Chapter1) 1.1 ที�มาและความสําคัญ (Project Background) 1.2 วัตถุประสงค์ (Objective) 1.3 ขอบเขตการสร้างสรรค์ผลงาน (Area of Study) 1.4 ขัน� ตอนการดําเนินงาน (Research Schedule) 1.5 ผลที�คาดว่าจะได้รบั (Expectation) บทที� 2 ข้อมูลพืน� ฐาน และรายละเอียดโครงการ (Chapter2) รายละเอียดเบือ� งต้นของโครงการ ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล้อมของโครงการ รายละเอียดทางสถาปั ตยกรรม กรณีศกึ ษา บทที� 3 หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที�ศกึ ษา(Chapter3) แนวคิดในการออกแบบ บทที� 4 ผลงานการออกแบบ(Chapter4) แนวคิดในการออกแบบ หลักการในการออกแบบ ผลงานการออกแบบ บทที� 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ(Chapter5) สรุปผลและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติ

หน้า ก ข ค ง จ ฉ 1 3 3 4 4 5-16 17-18 19-20 21-25 26-27 28-29 30-32 33-53 54 55 56


สารบัญภาพ

ภาพประกอบ ภาพประกอบคําอธิบายประเภทของกีฬาเอ็กซ์ตรีม ภาพประกอบคําอธิบาย(สเก็ตบอร์ด) ภาพประกอบคําอธิบาย(อินไลน์สเก็ต) ภาพประกอบคําอธิบาย(บีเอ็มเอ็กซ์) ภาพประกอบคําอธิบายสนามแต่ละแบบ ภาพประกอบคําอธิบายสนามแบบStreet ภาพประกอบคําอธิบายสนามแบบPark ภาพปั ญหาของกีฬาเอ็กซ์ตรีมที�พบเจอในประเทศไทย ภาพแสดงที�ตงั� ของโครงการ ภาพแสดงการวิเคราะห์ท�ีตงั� ของโครงการ ภาพภายนอกและภายในของโกดัง แปลน,รูปด้าน,รูปตัดและIsometricของโกดัง ภาพกรณีศกึ ษาที�1 ภาพกรณีศกึ ษาที�2 ภาพกรณีศกึ ษาที�3 ภาพกรณีศกึ ษาที�4 ภาพกรณีศกึ ษาที�5 ภาพประกอบแนวคิดในการออกแบบ ภาพประกอบProgrammingและZoning ภาพประกอบการออกแบบบริเวณรอบโกดัง Planของโกดังทัง� ชัน� �และชัน� ลอย Isometric,Sectionของส่วนActivity ภาพประกอบการออกแบบโซนReception ภาพประกอบการออกแบบโซนShop ภาพประกอบการออกแบบโซนMember Area ภาพประกอบการออกแบบโซนLounge,Staff Corridor ภาพประกอบการออกแบบโซนSkate Workshop ภาพประกอบการออกแบบโซนCanteen,Cafe ภาพประกอบการออกแบบโซนStreet Skate Park ภาพประกอบการออกแบบโซนSkatePark,Skate Vert ภาพประกอบการออกแบบBranding ภาพประกอบการออกแบบBrand Corporate

หน้า 5-6 7 8 9 10 11-12 13-14 15-16 17 18 19 20 21-22 23-24 25 26 27 28-29 30-32 33-34 35-36 37-38 39 40 41 42 43-44 45-46 47-48 49-50 51-52 53


1

CHAPTER 1 บทนํา

PROJECT BACKGROUND ในปั จ จุ บัน กี ฬ าเอ็ ก ซ์ต รี ม เป็ นกี ฬ าที� ค นกํา ลัง ให้ค วาม สนใจเป็ นอย่างมากจากผลสํารวจของคนใน BrightonUniversity พบว่ามีคนที�ให้ความสนใจในกี ฬาเอ็กซ์ตรีมมากขึน� ทุกวันและยัง มีผใู้ หญ่รอ้ ยละ 12 (จาก 5.8 ล้านคน) ปรารถนาที�จะเล่นกีฬา เอ็ ก ซ์ ต รี ม ถึ ง แม้ รู ้ ว่ า มี ค วามเสี� ย งที� จ ะประสบอุ บั ติ เ หตุ ร ้ า ย แรงหรืออาจเสียชีวิตได้ แต่ใ นทางกลับ กัน นั�น ในประเทศไทยกี ฬ าเอ็ก ซ์ต รีม กลับ ไม่ไ ด้เ ป็ น ที� ย อมรับ มากนัก เพราะว่า คนไทยส่ว นใหญ่ ม องว่า การ เล่ น กี ฬ าพวกนี �เ ป็ นการมั� ว สุ ม มี แ ต่ เ ด็ ก เกเรไปเล่ น กั น แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว ในประเทศไทยมี นั ก กี ฬ าเอ็ ก ซ์ ต รี ม หลายคนที� เ ป็ นตั ว แทนไปประเทศแข่ ง ขั น และได้ ส ร้า งชื� อ เสี ย งให้ กั บ ประเทศ หลายคนและเมื� อ ปี ท�ี แ ล้ว (2018)คณะกรรมการโอลิ ม ปิ ค สากล หรื อ ไอโอซี ไ ด้มี ก ารอนุมัติ บ รรจุกี ฬ าสเก็ ต บอร์ด เข้า ไปซึ� ง ก็ เ ป็ น อี ก หนึ�ง ในกี ฬ าเอ็ ก ซ์ต รีม ที� ก าํ ลัง ได้ร ับ ความสนในมากในขณะนี � โครงการออกแบบศูนย์รวมเอ็กซ์ตรีมสปอร์ตเตอร์เพื�อส่ง เสริมกีฬาเอ็กซ์ตรีมภายในประเทศไทย(EXTREME SPORTS COMPLEX)เป็ น โครงการที� เ กิ ด ขึ น� จากการสมมุติ ฐ านว่ า ถ้า มี พื น� ที� ๆ เป็ น ศูน ย์ร วมส่ ง เสริ ม และผลัก ดัน กลุ่ม คนที� เ ล่ น กี ฬ าเอ็ ก ซ์ต รี ม อย่างจริงจังและมีกิจกรรมที�ดงึ คนที�สนใจในกีฬาพวกนีเ� ข้ามาดูเข้า มาเห็ น มุ ม มองที� ค นภายนอกจะมองต่ อ พวกเขาจะเปลี� ย น ไปหรือไม่ จึงเกิดเป็ นโครงการนีข� นึ � มา


2


3

OBJECTIVES - เพื�อให้ผคู้ นเข้าใจและเห็นศักยภาพของ เอ็กซ์ตรีมสปอตเตอร์มากขึน� - เพื�อส่งเสริมและผลักดันให้กีฬาเอ็กซ์ตรีม เป็ นที�ยอมรับจากสายตาผูค้ นมากขึน� - เพื�อเป็ นศูนย์รวมใหม่ๆของคนที�อาจจะ สนใจในกีฬาเอ็กซ์ตรีมหรือคนที�เล่นอยูแ่ ล้ว - เพื�อพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม

AREA OF STUDY - ศึกษาประเภทของกีฬาเอ็กซ์ตรีม - ศึกษาการแข่งขันแต่ละประเภทของกีฬา Skateboard, Inline Skateและ BMX - ศึกษาสอบถามข้อมูลของสมาคมกีฬาเอ็กซ์ตรีมแห่งประเทศไทย (TESA) - ศึกษาขนาดมาตราฐานของRampเพื�อใช้ในการเล่นกีฬาจําพวกนี �


4

RESEARCH SCHEDULE EXPECTATION 1.ศึกษาข้อมูลของกีฬาเอ็กซ์ตรีม 2.จําแนกประเภทของกีฬาเอ็กซ์ตรีม 3.กําหนดขอบเขตพืน� ที� ที�เหมาะกับการออกแบบ 4.หาพืน� ที�และสํารวจเพื�อนํามาออกแบบ 5.คิดConcept Designตามข้อมูลที�ศกึ ษาค้นคว้ามา 6.ออกแบบตามConcept Design

- ทําให้คนเข้าใจและเห็นศักยภาพของ เอ็กซ์ตรีมสปอร์ตเตอร์มากขึน�

- ทําให้สงั คมในปั จจุบนั เกิดการยอมรับเพื�อ ผลักดันและส่งเสริมกีฬาประเภทนี � - โครงการนีเ� ป็ นศูนย์รวมใหม่ของคนที�ไม่ได้ เล่นกีฬาเอ็กซ์ตรีมไปจนถึงคนที�เล่นกีฬา เอ็กซ์ตรีมอยูแ่ ล้วในปั จจุบนั


5 MOUNTAINCLIMBING

RAFTING

BMX

SURFBOARD

CHAPTER 2 ข้อมูลพืน� ฐานและรายละเอียดโครงการ

EXTREME SPORT ?

กีฬาเอ็กซ์ตรีมคือกีฬาที�เน้นความผาดโผนเป็ นกีฬาที�แข่งในสภาพแวดล้อม และกฎกติกาอันหลากหลายกีฬาเอ็กซ์ตรีมชนิดใหม่เกิดขึน� อยู่เสมอบางชนิดก็นิยม บางชนิดก็ไม่เป็ นที�นิยมกีฬาเอ็กซ์ตรีมมีหลายประเภททัง� ทางบกและทางนํา� ยกตัวอย่างเช่นปี นเขา, ล่องแก่ง ,จักรยานบีเอ็มเอ็กซ์, เซิรฟ์ บอร์ด, สเก็ตบอร์ด,อินไลน์สเก็ต, สโนว์ บ อร์ด ฯกี ฬ าพวกนี �เ หมะสํา หรั บ คนที� ช อบความท้ า ท้ า ย,ความตื� น เต้ น กีฬาเอ็กซ์ตรีมจึงเป็ นที�นิยมในหมูว่ ยั รุน่ มากว่าผูใ้ หญ่ ผลการสํารวจความชื�นชอบของกีฬาเอ็กซ์ตรีมของ เด็กอายุ 11-14 ในอังกฤษ

27%

21%

17%

10%

6%


6 INLINE SKATE

SNOWBOARD

SKATEBOARD

WINGSUITSKY DIVING

TOP 3 EXTREME SPORT SKATEBOARDINLINESKATEBMXFREESTYLE-

WHY?

ทําไมกีฬาพวกนีถ� งึ ได้รบั ว่านิยมมากกว่ากีฬาอื�น เนื�องด้วยกีฬาพวกนีเ� ป็ นกีฬาที�สามารถเล่นได้ทกุ ที�ไม่จาํ เป็ นต้อง หาที�เล่นยกตัวอย่างง่ายๆเช่นล่องแก่งเราก็ตอ้ งไปที�แม่นา�ํ หรือ เขื� อ นเพื� อ ที� จ ะทํา กิ จ กรรมนี แ� ต่ใ นทางกลับ กัน สเก็ ต บอร์ด เรา สามารถที�จะเล่นที�ไหนก็ได้เพียงแต่จะไม่ค่อยมีอุปกรณ์ท�ีเป็ น มาตราฐานให้เล่นมากนักในประเทศไทย


7

SKATEBOARD

ประวัตสิ เก็ตบอร์ด สเก็ตบอร์ดเป็ นกีฬาที�ได้รบั ความนิยมที�สดุ ในกลุม่ วัยรุน่ สเก็ตบอร์ดจริงๆแล้วเริ�มมาจากกลุ่มคนที�เล่นเซิรฟ์ และในช่วงที� ไม่มีคลื�นทะเลคนกลุ่มนีเ� ล่นคิดคนสเก็ตบอร์ดขึน� มาเพื�อใช้เล่น เวลาที� ไม่มีคลื�นเล่นเซิรฟ์ ซึ�งในปี 200พบว่าตลาดสเก็ ตบอร์ดมี มูลค่าประมาณ 4.8 พันล้านเหรียญต่อปี และมีรายรับต่อปี 11.08 ล้านทั�วโลก

ประเภทของการแข่งสเก็ตบอร์ด ประเภทการเล่นสเก็ตบอร์ดจริงๆแล้วสามารถเล่นได้ หลายแบบหลายประเภทได้แ ต่ ถ้า แบ่ ง ตามการแข่ ง ขัน ที� มี ใ น หลายๆรายการจะแบ่งได้3ประเภทหลักๆ 1.Street Skateคือการแข่งที�ใช้การคิดครีเอทท่าต่างๆ ผ่านrampหรือสิ�งกีดขวางต่างๆในเวลาที�กาํ หนดโดยคะแนนที�ได้ มากน้อยจะขึน� อยูก่ บั ความยากของท่านัน� ๆ 2.Skateparkคือการเล่นหรือการแข่งที�คล้ายๆกับStreet Skateแต่จะเป็ นการเล่นที�อยูใ่ นหลุม(bowl) 3.Skate Vertคือการแข่งที�เล่นอยูใ่ นramที�โค้งเป็ นคล้าย ๆตัวยู(U)ซึง� rampแบบนีถ� กู เรียกว่าVertซึง� Vertนัน� มีหลายขนาด ขึน� อยูค่ นที�จดั แข่งของรายการนัน� ๆ X Games Skate Vert - ESPN 2015 (Vert)

Tampa Pro 2016 (Street)

Toyota Men's Skateboard Park finals 2016 (Park)


8

BMX ประวัตบิ เี อ็มเอ็กซ์ จักรยานBMXเกิดขึน� ประมาณยุค70ในทางตอนใต้ ของคาลิฟอร์เนี ยโดยกลุ่มเด็กกลุ่มหนึ�งได้ปรับแต่งจักรยาน ขนาดล้อ20นิว� ซึ�งพวกเขาได้แรงบรรดาลใจจากการชมภาพ ยนตร์ท�ีเกี�ยวกับการแข่งขันจักรยานยนต์ Motocass แล้วทําให้ เป็ นที�นิยมกันมากในตอนนัน� ประเภทของการแข่งบีเอ็มเอ็กซ์ การแข่งขัน BMX ยังมีการแข่งขันที�มีหลายแบบเช่น Street, Park, Vert, Durth และ Flatland เป็ นที�แตกต่างกัน และรูปแบบสนามที�แข่งก็ไม่เหมือนกัน X GAMES 2019 - BMX VERT FINALS (Vert)

BMX Pro Flatland World Champion2019 (Flatland)

2014 Dew Tour Toyota City Championships (Street)

BMX Freestyle Park Finals (Park)


9

INLINE SKATE ประวัตอิ นิ ไลน์สเก็ต Inline Skate เกิดจาก สก็อต โอลเซ่น (Scott Olsen) นักฮ็อกกีน� า�ํ แข็งได้เห็นอินไลน์สเก็ตในร้านขายเครื�องกีฬาและ เห็นศักยภาพในด้านการออกแบบ จึงเดินทางไปชิคาโกซือ� บริษัทChicago Roller Skateที�ยงั ไม่มีช�ือเสียงและตัง� ชื�อใหม่วา่ Rollerblade ซึง� ในสหรัฐอเมริกา กีฬานีไ� ด้รบั ความนิยมเป็ น อันดับ 5 เป็ นกีฬาที�ได้รบั ความนิยมอันดับ 1 ในหมูผ่ ชู้ ายอายุ ระหว่าง 6-17 ปี ประเภทของการเล่นอินไลน์สเก็ต กีฬาประเภทนีแ� บ่งออกเป็ นประเภทย่อยๆ ได้อีก 4 ประเภทคือ 1.Speedคือการเล่นที�เน้นวิ�งเร็วอย่างเดียวล้อมี ลักษณะใหญ่กว่าสเก็ตประเภทอื�นๆ 2.Fitnesคือการเล่นที�เน้นออกกําลังกายแบบสบายๆ วิ�งไปเรือ� ยๆ 3.Slalomคือการเล่นที�เน้นท่วงท่าลีลาสวยงามมีอปุ กรณ์ประกอบ คือ โคนยาง สําหรับเล่นซิกแซก และอื�นๆ 4.Aggressive - เน้นแนว Extreme กระโดดโลดโผน อุปกรณ์ประกอบ คือ Ramp รูปแบบต่างๆ Inline Speed Skating 2018 (Speed)

Singha Light Inline skate Circuit 2014 (Street)


10

SKATEBOARDINLINESKATEBMXFREESTYLEซึง� จากข้อมูลที� Research จะสังเกตุได้วา่ ทัง� กีฬาทัง� 3 ประเภทนีจ� ะมีการแข่งหรือการเล่นที�คล้ายๆกันก็คือแบบ Street, Park เพราะฉนัน� 3 กีฬานีเ� ลยเล่นถูกเรียกว่าเป็ น Street Extreme Sport และเนื�องด้วยความที�มนั เล่นคล้ายกันมากเราจะเห็นได้วา่ คนหรือกลุม่ คนที�เล่น 3 กีฬานีจ� ะมีแนวโน้มที�จะเล่นหรือไปไหนมาไหนด้วยกันบ่อย เลยเห็นว่าศักยภาพที�จะนํากีฬาทัง� 3 ประเภทนีม� าไว้ในโครงการและออกแบบRampที�เหมาะสมและสามารถทํากีฬา ทัง� 3 แบบนีเ� ล่นด้วยกันได้ Junkyard – Skatepark & Pumptrack (Street)

Linda Vista Skatepark, San Diego. (Park)


11

STREET SKATEPARK RESEARCH STREET LEA

ถ้าพูดถึงStreet Skateในวงการกีฬาเอ็กซ์ตรีมคงไม่มีใครไม่รูจ้ กั STREET LEAGUE SKATEBOA มืออาชีพ Rob Dyrdek ในปี 2010 Street League Skateboarding (SLS) ถูกสร้างขึน� เพื�อส่งเสริมการเ สตรีททั�วโลก ตัง� แต่นนั� มา SLS ได้พฒ ั นาเป็ นแพลตฟอร์มที�ให้บริการเพื�อสร้างความตื�นเต้นให้กบั ชุมชนส สนับสนุนชุมชนผ่าน SLS Foundation ของตัวเอง

SECTION #1 เป็ นช่วงที�มีความสูงตัง� แต่ 1.80-2.00 หรือมากกว่านีม� ี บันไดอยูท่ �ี 9-10 ขัน� เป็ นช่วงเตรียมตัวส่วนมากนักกีฬา จะใช้เล่นเก็บคะแนนในรอบ Best Trick

2019 World Championship Course Reveal

SECTION #2 ช่วงนีจ� ะเป็ นพืน� ที�ๆไม่สูงมากเป็ นช่วงที�มีความสูง ตัง� แต่ 1.00 ไม่เกิน 1.20 เป็ นช่วงที�ใช้เล่นท่าต่างๆ เพื�อเก็บคะแนนในรอบ Run of Attempt

SE ช่ว ผล คว


12

AGUE SKATEBOARDING (SLS)

ARDING (SLS) ก่อตัง� ขึน� โดยผูเ้ ล่นสเก็ตบอร์ด เติบโตความนิยมและการยอมรับของสเก็ตบอร์ด สเก็ตบอร์ดให้ความรูท้ งั� แฟนตัวยงและแฟนๆและ

ECTION #3 วงนีจ� ะมีความสูง 1.50-2.00เป็ นช่วงที�ไม่คอ่ ยมี ลกับคะแนนเท่าไรนักกีฬาจะใช้ชว่ งนีเ� พื�อสร้าง วามไหลลื�นของการเล่น

2019 Los Angeles Course Reveal

2018 SLS Pro Open London course

2017 Chicago Course Reveal


13


3.6 m.

14

3.0 m.

12’ Tall, 10’ Transition Radius 16’ Flat Bottom

2.4 m.

10’ Tall, 10’ Transition Radius 16’ Flat Bottom

1.8 m.

8’ Tall, 8’ Transition Radius, 14’ Flat Bottom

1.5 m.

6’ Tall, 8’ Transition Radius, 12’ Flat Bottom

1.2 m.

5’ Tall, 8’ Transition Radius, 10’ Flat Bottom

1.0 m.

4’ Tall, 8’ Transition Radius, 8’ Flat Bottom

3’ Tall, 7’ Transition Radius, 8’ Flat Bottom

SKATEPARK RESEARCH

ขนาดของหลุม หรื อ Skatepark จะมีหลายขนาดหรือความลึกที�ตา่ งกันออก ไปซึง� จริงๆแล้วขนาดที�ใช้ในการแข็งสเก็ตบ อร์ดแบบ Park จะใช้เป็ นความลึกอยูท่ �ี3.00 ,2.4และ 1.8 เมตร เพื�อให้นกั แข่งจะมีพืน� ที� ในส่วนที�จะเร่งความเร็วในการครีเอทและ เพิ�มความท้าท้ายในการแข่ง


15

PROBLEM

ปั จ จุบัน กี ฬ าเอ็ ก ซ์ต รี ม แนวสตรี ท ในประเทศไทยยัง ไม่ได้ท�ียอมรับมากเท่าที�ควรเนื�องจากคนยังมองว่าการไปเล่นกี ฬาพวกนี เ� ป็ น การที� วัย รุ ่น ไปมั�ว สุม กัน เลยยัง ไม่ มี S paceรอง รั บ กลุ่ ม คนเหล่ า นี �ใ ห้ มี ท�ี เ ล่ น เป็ นหลั ก เป็ นแหล่ ง พวกเขา เลยต้องไปจับกลุ่มรวมตัวกันหาพืน� ที�ว่างอย่างใต้สะพานหรือ ใต้ทางด่วนเพื�อเล่นกีฬาพวกนี � ซึ�ง นี� ก็ อ าจจะเป็ น เหตุผ ลที� ว่า ทํา ไมคนยัง มองว่า กี ฬ า พวกนีเ� ป็ นการที�วยั รุ น่ ไปมั�วสุมกันเพียงเพราะว่าพวกเขาเข้าไป เล่นในที�ๆมันอาจจะเป็ นจุดลับสายตา คนเลยมองและตีความ กันไปเองว่าพวกเขาเข้าไปมั�วสุมกัน โดยโครงการนีก� ็เป็ นที�ผมทําขึน� เพื�อสร้างมุมมองแบบ ใหม่ให้เป็ นไปในทางที�ดีขึน� ให้คนได้เห็นถึงศักยภาพของเอ็กซ์ ตรีมสปอร์ตเตอร์ว่าจริงๆแล้วคนที�เล่นกี ฬาเอ็กซ์ตรีมมันไม่ได้ เป็ นอย่างที�ทกุ คนคิด


16

TARGET GROUP กลุม่ เป้าหมายหลักของโครงการคือกลุม่ คนที� ชื�นชอบในกีฬาเอ็กซ์ตรีมหรือคนที�เล่นกีฬาเอ็กซ์ตรีม อยู่แล้วรวมไปถึงบุคคลที�ไปที�ช�ื นชอบในสตรีทอาร์ต และอยากเข้ามาทําความรูจ้ กั กับกีฬาเอ็กซ์ตรีม


17

ที�ตงั� โครงการ ตัง� อยูท่ �ี 444 ถนนเกษมราษฎร์ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โดยพืน� ที�รวมทัง� ไซท์อยูท่ �ี 23,000 ตร.ม. คลองเตยขึน� ถูกมองว่าเป็ นพืน� ที�สลัมหรือแหล่งมั�วสุมที�ใหญ่ท�ี สุดในกรุ งเทพแต่จริงๆแล้วคลองเตยเป็ นอะไรมากกว่านัน� คลองเตย เป็ นพืน� ที�ๆมีโกดังขนาดใหญ่คอ่ นข้างเยอะเนื�องจากเป็ นพืน� ที�สง่ สินค้า ทางนํา� เพราะว่ามีการท่าเรือตัง� อยูท่ �ีน�ีเนื�องจากโกดังที�มีขนาดใหญ่เลย เห็นPotentialที�จะนํามาปรับปรุ งและออกแบบโครงการนีโ� ดยตัวโครง การของเรานัน� ก็จะมีการจัดกิจกรรมหรืออีเว้นท์เพื�อเชิญชวนให้เด็ก หรือคนที�สนใจได้เข้ามาใช้เล่นหรือออกกําลังกายซึ�งจากการทํากิ จ กรรมแบบนีเ� ราก็สามารถเปลี�ยนทัง� ภาพลักษณ์ท�ีไม่ดีของสลัมคลอง เตยและภาพลักษณ์ของ กีฬาเอ็กซ์ตรีมไปพร้อมๆกันเลย


18

SITE ANALYSIS

ในส่วนของการเดินทางสามารถมาได้ทงั� รถไฟใต้ดนิ แล้วต่อรถเมล์หรือจะมารถเมล์โดยตรงเลยก็ได้ ถ้า มีUser นํารถมาเองก็ สามารถขึน� Tollway เฉลิมมหานครโดยตัวไซท์จะตัง� อยูข่ า้ งๆ Exis การท่าเรือพอดี โดยบริบทรอบๆโครงการก็จะมีสาํ นักงานของการ ท่าเรืออยูร่ อบๆก็อาจจะสามารถดึงคนกลุม่ นีเ� ข้ามาใช้พืน� ที�ในโครงการได้ รวมไปถึงบริเวรใกล้ๆก็มีโรงพยาบาล ท่าเรือ เผื�อเกิดเหตุ ฉุกเฉินก็สามารถพา User เข้าไปรักษาเบือ� งต้นที�โรงพยาบาลนีไ� ด้


19

BUILDING ANALYSIS ลักษณะของโกดังเป็ นโกดังขนาดใหญ่โดยมีพืน� ที�ทงั� หมดอยูท่ �ี 5,900ตร.ม. โดยมีฐานสูงขึน� จากพืน� 1เมตรโดยตัวโกดัง จะแบ่งเป็ นพืน� ที�ภายในและภายนอกโดยใช้กาํ แพงเป็ นตัวกัน� อีกที จากการเข้าไปสํารวจพืน� ที�ในโครงการจะเห็นได้วา่ ด้วยความสูงของโครงการสามารถที�จะทําชัน� ลอยได้แต่จาํ เป็ นต้อง เพิ�มเสาและคานเข้าไปเพื�อเสริมความแข็งแรงของชัน� ลอยส่วนตัวผนังของกําแพงถูกสร้างขึน� ด้วยวิธีก่ออิฐบล็อกขึน� ไปทําให้รูว้ า่ เราสามารถทุบเพื�อเปิ ดหรือปิ ดผนังของโครงการได้

รูปภายใน ด้านหน้าโกดัง

รูปภายนอก ด้านหน้าโกดัง

รูปภายใน ตรงกลางโกดัง

รูปภายนอก ด้านข้างโกดัง

รูปภายนอก ด้านหน้าโกดังฝังที�ตดิ กับถนนใหญ่

รูปภายนอก ด้านข้างโกดังฝังที�ตดิ กับทางด่วน


20

Isometric ประกอบคําอธิบาย

แปลนของโกดัง

รูปด้านของโกดัง

รูปตัดของโกดัง


21

STREEMEKKA VIBORG / EFFEKT

Viborg, Denmark Site : Building 4,000 Sq. m. , Landscape 6,000 Sq. m. Photographs : Rasmus Hjortsh Game Streetmekka Viborg เป็ นอีกหนึง� โปรเจคที�ให้ความสนใจกับกีฬาเอ็กซ์ตรีมซึง� เขาใช้ตกึ เก่านํามารีโนเวท เป็ นพืน� ที�ออกกําลังกาย เช่น ปิ งปอง, บาสเก็ตบอล, สเก็ตบอร์ด, อินไลน์น�ิงสเก็ต ฯ ก็เป็ นอีกหนึง� เคสที�คล้ายๆกลับโปรเจค Extreme Sport Complex ข้อดีของโครงการนีค� ือ มีระบบที�ชดั เจนไม่วา่ จะเป็ นเรือ� งของการสมัครสมาชิกความต่อเนื�องของSpace การดีไซน์ facadeที�ทาํ ให้แสงเพียงพอต่อการใช้งานในพืน� ที� ข้อเสียที�พบเจอในโครงการก็นา่ จะเป็ นเรือ� งของการเล่นที�มากจนเกินไปทําให้ระบบสมาชิกอาจจะไม่ได้รบั ความ เท่าเทียมเท่าที�ควร


22


23

GUANGZHOU EXTREME SPORT CENTER

X-Treme Sports Centre, China เป็ นโปรเจคProposalของประเทศจีนที�ใช้พืน� ที�ถงึ 15,200 ตารางเมตรโดยมีพืน� ที�เล่นกีฬาเอ็กซ์ตรีมถึง11,500ตารางเมตร โดยมีพืน� ที�สาํ หรับกีฬาเอ็กซ์ตรีมต่างๆเช่น Inline Skate, BMX, Skateboard ฯ ไม่มีเพียงแต่กีฬาเอ็กซ์ตรีมเท่านัน� พืน� ที�นีย� งั มีท�ีสาํ หรับเล่นกีฬาประเภทอื�นอีกเช่น บาสเก็ตบอล, วิ�ง ฯ สิง� ทีศ� กึ ษาจากโครงการนีเ� ป็ นเรือ� งของการใช้งานพืน� ทีภ� ายในแล้วภายนอกให้มคี วามสัมพันธ์กนั รวมถึงการเชื�อมต่อ Spaceภายในด้วย


24


25

สมาคมกีฬาเอ็กซ์ตรีมแห่งประเทศไทย เดิมชื�อสมาคมกีฬาสเก็ต จัดตัง� ขึน� เมื�อ พ.ศ.2546 ต่อมาได้เปลี�ยนชื�อเป็ น “สมาคมกีฬาเอ็กซ์ตรีม”ต่อมาได้รบั อนุญาติจากการ กีฬาแห่งประเทศไทยให้ใช้ “แห่งประเทศไทย” พ.ศ.2551 ซึง� กีฬาที�รองรับในสมาคมก็จะมีอยู่ 5 กีฬาคือ สเก็ตบอร์ด, บีเอ็มเอ็กซ์, อินไลน์สเก็ต, เวคบอร์ด, สกีนา�ํ

ซึง� ระบบของสมาคมจะเป็ นระบบแบบสปอนเซอร์ก็คือบริษัทบริษัทสิงห์ คอร์เปอเรชั�น จํากัดกกท.(การกีฬาแห่งประเทศไทย)

สมาคมนีต� งั� อยูท่ �ี Skate Park Huamark ห้อง 253 สนามราชมังคลากีฬาสถาน ถ.รามคําแหง หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ แผนการพัฒนาของสมาคมคือการเปิ ดให้สมัครสมาชิกกับสมาคมเพื�อเปิ ดเป็ นชมรมและอยู่ตามจังหวัดต่างๆได้ซ�ึงชมรมที� สมัครนัน� จะมีสทิ ธิในการส่งตัวนักกีฬาเพื�อไปคัดเลือกเป็ นตัวแทนของประเทศได้ซง�ึ ตัวก็โครงการExtreme Sport Complex ก็ อ าจจะเข้า ร่ ว มกั บ สมาคมนี �เ พื� อ ส่ ง เสริ ม และผลั ก ดั น ให้กี ฬ าเอ็ ก ซ์ต รี ม สปอร์ต ในประเทศไทยเป็ นที� รู ้จั ก มากขึ �น ข้อดี ด้วยความที� TESA มีสมาคมกกท.เป็ นผูส้ นับสนุนเลยทําให้สมาคม สามารถที�จะส่งนักกี ฬาที�ได้รบั การคัดเลือกไปแข่งทั�งในระดับมหกรรม กีฬาภูมิภาคเอเชีย และระดับการแข่งขันของสหพันธ์ระดับโลก ข้อเสีย เนื�องจากการรันขององค์กรนีไ� ม่คอ่ ยมีความคล่องตัวทางด้านการ เงิ น เนื� อ งการเป็ น ระบบสปอนเซอร์ใ ห้เ รื� อ งของการปรับ ปรุ ง ซ่ อ มแซ่ ม อุปกรณ์ก็อาจจะทําได้ไม่คอ่ ยดีนกั


26

LEAKE STREET ARCHES

ANH BAO BROTHERS

CHAPTER 3 หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที�ศกึ ษา

THE BAR @ 26 LEAKE STREET

Location : Waterloo Station, London

เป็ นอีกหนึง� ตัวอย่างที�อาจจะเรียกว่าแนวคิดที�นาํ มาใช้ในโครงการคือ Leake Street Arches เป็ นอุโมงที�อยูท่ �ีลอนดอน ประเทศอังกฤษที�เปิ ดให้ Artist หรือ คนที�ตอ้ งการที�มีความสนใจในกราฟฟิ ตีไ� ด้แสดงฝี มือโดยทุกๆเดือนกราฟฟิ ตีท� �ีถกู ล้างออก และเปิ ดโอกาสให้คนที�สนใจใหม่ได้เข้ามาแสดงฝี มือเลยเกิดเป็ นไอเดียมาใช้ในโครงการโดยทําผนังฝั� งด้านที�จอดรถมาเปิ ดให้ Artistได้มาแสดงฝี มือผลที� จะจากการนําไอเดียนี ม� าใช้อาจจะทําให้ตัวโครงการเกิ ดเป็ นแลนด์มาร์กจุดใหม่ในการถ่ายรู ป แนวสตรีทและยังสามารถดึงให้คนที�สนใจในสตีทอาร์ทเข้ามาใช้โครงการอีกด้วย


27

GRAYSTONE ACTION SPORTS อีกหนึ�งแนวคิดที�นาํ มาใช้ใน โครงการเกิดจากการที�ศกึ ษาโครงกา -รGRAYSTONE ACTION SPORTS เป็ นเรื�องของระบบของโครงที�ทาํ ให้ ตัวโครงการมีเงินหมุนเวียนได้ในโครง การโดยการเพิ� ม โปรแกรมมิ� ง ที� จ ะ สร้างรายได้กลับมาเข้าโครงการยก ตัวอย่างเช่นร้านค้า,คาเฟ่ ร้านอาหาร รวมไปถึงการสมัครสมาชิกเพื�อเข้าไป ใช้ง านพื �น ที� บ างส่ ว นของโครงการ และยัง มี โ ปรแกรมที� เ ปิ ดคอสสอน น้อ งๆหรื อ คนที� ส นใจในกี ฬ าเอ็ ก ซ์ ตรีมสปอร์ตอีกด้วย


28

CONCEPT DESIGE “ TRACES SCRATCH ” นําเอาคําว่า Traces Scratchมาตีความ ใหม่ จ ากร่ อ งรอยขี ด ข่ ว นที� เกิ ด ขึ �น จากการเล่ น ที� เ ป็ น เพียงมิติมาออกแบบในส่วน ต่ า งๆของโครงการไม่ ว่ า จะ เป็ นช็อปขายอุปกรณ์เอ็กซ์ตรี มหรือคาเฟ่ รวมถึงเสือ� ผ้าและ เครื�องประดับต่างๆโดยทําให้ Traces Scratchออกมาเป็ น 3มิติผ่านการออกแบบรวมไป ถึงการเลือกใช้แมทเทเรียลที� เป็ น Raw Materialที�เมื�อผ่าน การใช้ง านไปเรื� อ ยก็ จ ะเกิ ด ร่องรอยขีดข่วนขึน� แต่มนั ก็ยงั คงความสวยของมั น ต่ อ ไป เรื�อยๆ

ผลงานการออกแบบ

CHAPTER 4


29

MOODS AND TONE

จากแนวคิดและConceptที�บอกไปข้างต้นทําให้เกิดMoodของงานInteriorที�จะเป็ นปูนเปลือยหรือวัสดุตา่ งๆที�เป็ นRaw Materialแล้วเสริมแทรกgrafitiเข้าไปเพื�อเพิ�มความสนุกสนานให้Spaceดูไม่หน้าเบื�อด้วย


30

PROGRAMMING

ACTIVITY - STREET PARK - SKATEPARK - SKATE VERT - WORKSHOP & BEGINNER AREA SERVICE - SHOP - DIRECTOR TEAM - SETUP AREA - MEDICAL ROOM - CAFE - CANTEEN - WAITING AREA - HANGOUT AREA - BATHROOM - TOILET STAFF AREA - RECEPTION - OFFICE โดยProgrammingต่างๆก็มาจาก ข้อมูลที�ศกึ ษามาข้างต้นเช่นส่วนที� สร้า งรายได้ใ ห้โ ครงการเช่น ส่ว น CafeหรือCanteenรวมไปถึงพืน� ที� สําหรับทํากิจกรรมต่างๆเช่นSkate park,StreetSkateParkหรือSkate Vertและยัง มี โ ปรแกรมที� ไ ว้ส าํ หรับ รองรับ กลุ่ม ผู้เ ล่ น ใหม่ อ ย่ า ง โซนSkate Workshopโดยตัวโครง ก็จะมีโปรแกรมที�ไว้สาํ หรับรองรับ Userอย่ า งLounge,Bathroom หรือห้อง Medical Room เพื�อรอง รับUserในกรณีฉกุ เฉินอีกด้วย


31

0 87

.

.m

sq

STREET PARK

.

q.m

5s

64

SKATE PARK

.

q.m

s 45

2

WORKSHOP & BEGINNER AREA

.

.m

sq

0 21

SHOP

.

q.m

s 90

1

CANTEEN

.

BATHROOM

.

CAFE

.

LOUNGE

q.m

s 90

1

.m

sq

0 19

.m

sq

0 19

MEDICAL ROOM

.

.m

q 0s

13

SETUP AREA

m.

q.

0s

10

STAFF AREA

m.

q.

0s

40

0 13

5 12

SKATEVERT

.

WAITING AREA

.m

sq

m.

.

q 0s

11

80

.

.m

sq

ทาง RECEPTION

.

.m

sq

TOILET

.

q.m

s 50

HANGOUT AREA

พิเศ ษ


WAREHOUSEBUILDINGDEVELOPMENT& ZONINGด้ว ยความสูง ของไซท์ส ามารถ ทํา ชั� น ลอยได้ เ ลยดึ ง Programming บางส่ ว นขึ น� ไปชั�น ลอยยกตัว อย่ า งเช่ น โรงอาหาร,คาเฟ่ การนําโปรแกรมพวกนีข� ึ � นไปบนชั�น ลอยทํา ให้ผู้ท�ี เ ข้า มาใช้ง าน โรงอาหารหรือคาเฟ่ สามารถดูผูท้ �ีเล่นกีฬาเอ็ ก ซ์ต รีม ข้า งล่า งอยู่จ ากชั�น ลอยได้

การ

ทา่ เร อื

ถนน

แหง่

การ

ประ

ทา่ เร อื

เทศ

ไทย

1

เฉล

มิ มห

ถน านค

ฎร ์

มรา

ษ น เก

32


33

MASTER PLAN & PERSPECTIVE

ด้วยความที�พืน� ที�ภายนอกอาคารมีพืน� ที�คอ่ นข้างเยอะผมเลยจัดสรรพืน� ที�ภายนอกโดยแบ่งสัดส่วนเป็ นที�จอดรถรถมอเตอร์ไซค์ท�ีจอด รถ�ล้อทั�วไปและยังที�พืน� ที�ท�ีเป็ นส่วนHangout Area, Skate Park Outdoor และยังเพิ�มพืน� ที�สีเขียวให้กบั โครงการด้วย

รูปด้านฝั�งที�ตดิ กับทางด่วน


34

ตัวrampของสเก็ตพาร์คภายนอกจะเป็ นตัวจะถูกออกแบบแบบให้สามารถเล่นได้จากทุกมุมโดยวัสดุท�ีใช้จะเป็ นคอนกรีตส่วนใหญ่ และแทรกด้วยอลูมิเนียมเพื�อเพิ�มความลื�นในการเล่นทางต่างๆโดยที�สว่ นskate park outdoorก็จะมีสว่ นที�เชื�อมเข้าไปด้านในตัวอาคารด้วย

รูปด้านฝั�งที�จอดรถ


35

FURNITURE LAYOUT PLAN

FIRST FLOOR PLAN SCALE 1:100


36

MEZZANINE FLOOR PLAN SCALE 1:100


37

SKATE ISOMETRIC

IsometricแสดงRoopการเล่นของRampที�ออกแบบมาโดย จะแบ่งเป็ นSkate Parkที�เป็ นส่วน Outdoor และส่วนของ Member โดยในส่วน Outdooสามารถเล่นเข้าไปในส่วนของอาคารได้โดยจาก เราออกแบบRoopแบบนีก� ็เพื�อไม่ให้เกิดการรูส้ กึ แบ่งแยกของผูเ้ ล่น

m

t m

b

k

m


38

4.00 m

3.00 m 3.50 m

2.85 m

2.40 m

2.20 m

1.80 m

0.30 m 1.60 m

0.58 m

0.25 m

0.65 m

1.00 m 2.40 m

1.50 m

1.00 m 1.50 m

2.50 m

0.95 m

2.30 m

1.00 m 1.90 m

0.50 m

2.00 m

2.00 m

IsometricแสดงระยะความสูงความลึกของRampที�ออกแบบมา

Section ของSkate Parkที�เป็ นส่วนOutdoorและส่วนของ Member

k c u

p x


39

R E C E P T I O N

ส่ว นต้อ นรับ ที� เ ป็ น ทั�ง InformationและReceptionเป็ น ทั�ง ที� ส มัค ร สมาชิกโดยผูท้ �ีสมัครสมาชิกจะได้รบั คียก์ าร์ดเพื�อใช้สแกนเพื�อเข้าในใช้ส่วน ของMember AreaรวมถึงSkateparkในที�รม่ ด้วย


40

S H O P

โดยทางด้ า นซ้ า ยของReceptionก็ จ ะเป็ นร้ า นขายอุ ป กรณ์ กี ฬ าเอ็ ก ซ์ต รี ม ของโครงการมี ตั�ง แต่ เ ครื� อ งประดั บ จนไปถึ ง Hardware ต่างๆของอุปกรณ์ท�ีใช้เล่นกีฬาเอ็กซ์ตรีม


41

MEMBER AREA

LOUNGE


42

ถั ด จากShopและReceptiongเข้ า มาก็ จ ะเป็ นพื �น ที� ส ํา หรั บ คนที� เ ป็ นMemberโดยในส่ ว นจะเป็ นพื �น ที� ๆ สามารถไถ่ ส เก็ ต ได้ โ ดยเสาที� อ ยู่ ใ นส่ ว นนี �จ ะถู ก หุ้ ม ด้ ว ยโฟมกั น กระแทกซึ� ง ในAreaนี �ก็ จ ะประกอบด้ ว ย ห้องสําหรับอาบนํา� แยกชายหญิง,Lounge,Skate Workshop,StreeSkate,Skatepark,SkateVertรวมไปถึงStoreที� Memberสามารถนําเอาอุปกรณ์มาฝากไว้กบั โครงการได้

STAFF CORRIDOR

เป็ นพืน� ที�ท�ีเอาไว้เก็บอุปกรณ์ สําหรับซ่อมแซมRampสที�เสียหาย


43


SKATE WORKSHOP Skate Workshopเป็ นพืน� ที�อยูใ่ นส่วนMember Area เอาไว้ใช้สาํ หรับการสอนหรือ Workshop คนที�สนใจและสมัครคอร์สเรียนกับโครงการเอาไว้โดยในส่วนSkate Workshop จะมีRampขนาดเล็กและพรมเพื�อใช้สาํ หรับการเรียนการสอนBasicกีฬาเอ็กซ์ตรีมซึง� ในส่วน นีเ� องก็จะเอาไว้ใช้สาํ หรับจัดกิจกรรมหรืออีเว้นร่วมกับเด็กๆในคลองเตยด้วย

44


45


CANTEEN & CAFE

1

ในส่วนของชั�นลอยก็จะมีโรงอาหารและคาเฟ่ ของ โครงการที�ขายทัง� อาหารและเครื�องดื�มฯซึง� ในขณะที� นั�งรับประทานอาหารหรือดื�มนํา� ก็ยังสามารถมอง เห็นคนที�เล่นกีฬาได้อีกด้วยเหมาะสําหรับผูป้ กครอง ที� ม านั� ง รอน้อ งๆที� ม าworkshopและเป็ นห่ ว งก็ สามารถที�จะมานั�งรับประทานอาหารรอและยังสามารถนั�งมองพวกน้องๆจากข้างบนได้รวมไปถึงคนที� สนใจในกีฬาเอ็กซ์ตรีมก็สามารถมานั�งดูได้

46


STREET SKATE PARK (MEMBER)

ถัดมาก็จะเป็ นพืน� ที�อยูใ่ น Member Areaเอาไว้ใช้สาํ หรับการเล่นกีฬาเอ็กซ์ตรีมประเภทสตรีทพาร์ค โดยการออกแบบตัว ramp เป็ น 3 sectionหลักๆคือพืน� ที�เตรียมตัว,พืน� ที�สาํ หรับเล่นท่า,พืน� ที�สาํ หรับ สร้างการไหลลื�นในการเล่นโดยส่วนนีจ� ะเป็ นพืน� ที�สาํ หรับผูท้ �ีเป็ นMemberเท่านัน� ถึงจะเข้าใช้ได้

47


48

ต่ อ มาข้ า งๆสตรี ท สเก็ ต พาร์ค ก็ จ ะมี ส ตรี ท สเก็ ต พาร์ค ที� จ ะมี R ampที� เ ชื� อ มออกไปที� ล านสเก็ต Outdoor ได้เพื�อไม่ให้เป็ นการแบ่งแยกจนเกินไปสําหรับผูเ้ ล่นที�เป็ น Member กับคนที�ไม่ได้ เป็ น Member โดยตัวRampออกแบบให้ตวั Rampเชื�อมต่อกันกับในส่วนของMember

STREET SKATE PARK


49


SKATE VERT & SKATEPARK สุดท้ายนีค� ือจุดไฮไลท์ของโครงการนัน� ก็คือตัวSkate Vert และ Skateparkโดยจากการออกแบบผมออก แบบให้Skate Vertเป็ นจุดเชื�อมของ Skatepark และ Street Skate Park(Member) Skate vert ก็เป็ นพืน� ที�อยูใ่ นMember Areaเช่นกันโดยSkateVertมีความสูงอยูท่ �ี 2.4 เมตร Skatepark เป็ นจุดhighlightของโครงการเป็ น Skatepark ที�มีความสูงจากพืน� อยูท่ �ี4เมตร และมีความลึก ของตัวBowl ถึง 3 ระดับคือ 1.8เมตร, 2.4เมตร, 3.0,เมตร

50


51

TM


IDEA FOR BRANDING

52

TM

“ TRACES SCRATCH ”


53

BRAND CORPORATE


54

CHAPTER 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ

สรุ ปผลการออกแบบ หลังจากออกแบบและนําเสนอไปผลตอบรับค่อนข้างเป็ นที�พง�ึ พอใจ เนื�องจากได้ออกแบบตัวRampได้ถกู หลักตาม มาตราฐานสากลอย่างที�ควรจะเป็ นและมีการวางระบบในเรือ� งของโปรแกรมมิ�งที�คอ่ นข้างชัดเจน แต่ยงั มีบางจุดที�ยงั ต้อง ปรับแก้เช่นเรือ� งของการใช้ Lighting ที�อาจจะไม่เหมาะสมในบางตําแหน่ง ข้อเสนอแนะ -


55

REFERENCE https://www.arch2o.com https://www.archdaily.com https://www.unlockmen.com/the-life-on-deck-preduce https://adaybulletin.com/life-viewfinder-rama-viii-bridge/30745 https://www.pinterest.com https://sites.google.com/site/kilaxekstrim/team-schedules https://www.google.com https://tokyo2020.org/ https://www.wikipedia.org/ http://www.rampplansonline.com/ http://streetleague.com/page/3/?s=course&x=0&y=0


RESUME ประวัติ ชื�อ-นามสกุล

: นายภูรชิ กานต์ แทนเคน

วัน-เดือน-ปี เกิด

: 29 สิงหาคม พ.ศ.2540

อายุ

: 22 ปี

ที�อยู่

: 1 ติวานนท์ 24 แยก 7 อําเภอเมืองนนทบุร,ี อําเภอเมืองนนทบุร,ี นนทบุรี 11000

โทรศัพท์

: 0875569702

E-mail

: poorichakan.thanken@gmail.com

Facebook

: Poorichakan Thanken

การศึกษา ประถมศึกษา

: โรงเรียนอนุราชประสิทธิ�

มัธยมศึกษาตอนต้น

: โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม

มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม อุดมศึกษา

: สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

56



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.