เวียงเจ็ดลิน ปีที่ 7 ฉบับที่ 1

Page 1



วฯงเจัฯลิฯ

เวียงเจ็ดลิน ปที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (๒๕๖๐)

ปกหนา – จิตรกรรมลายคําน้ําแตม โดย ผศ.ลิปกร มาแกว: ลวจังกราชเทวบุตร ปกหลัง – จิตรกรรมลายคําน้าํ แตม โดย ผศ.ลิปกร มาแกว: พระญามังราย พระญางําเมือง และพระญารวง พบชัยมงคล ๗ ประการ ในตอนสรางเมืองเชียงใหม

คํ¶ฯบฯกแจ้ฯ คําบอกแจง

ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดจัดทําวารสาร ทางศิลปะและวัฒนธรรมราย ๖ เดือน ในนามวารสาร “เวียงเจ็ดลิน” จัดพิมพมาแลว ๖ ป จํานวน ๑๒ ฉบับ เพื่อเปนการเผยแพรองคความรูทางศิลปวัฒนธรรมสูหนวยงาน ชุมชน และ ผูสนใจทั่วไป นอกจากนี้ถือวาเปนการเผยแพรภูมิปญญาอันมีคาของทองถิ่นใหเปนที่รูจักกัน อยางกวางขวาง ในปที่ ๗ ฉบับที่ ๑ นี้ นําเสนอองคความรูที่ไดจากการจัดการความรูเรื่อง “เวียงเจ็ด ลินกับชุมชนชางเคี่ยน” เพื่อใหองคความรูเกี่ยวกับเวียงเจ็ดลิน สมบูรณมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ที่ สํ า คั ญ ในฉบั บ นี้ ยั ง มี บ ทสั ม ภาษณ ศิ ล ป น และในขณะเดี ย วกั น เป น อาจารย ป ระจํ า คณะ ศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร ที่รังสรรคผลงาน “ลายคํา น้ําแตม” ในฉบับนี้จะพาไป รูจักงานชิ้นนี้รวมถึงที่มาที่ไปของการสรางผลงานออกมา ขอใหเพลิดเพลินและเรียนรูไปพรอมๆ กัน กองบรรณาธิการ “เวียงเจ็ดลิน”

เจาของ : ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ที่ปรึกษา: ชัยปฐมพร ธนพัฒนปวงวัน และหัวหนาศูนยวัฒนธรรมศึกษา ทุกเขตพื้นที่ บรรณาธิการ: ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว กองบรรณาธิการ: ผศ.ลิปกร มาแกว ดร.ภาณุพงษ จงชานสิทโธ อ.ยุรธร จีนา อ.ชวรินทร คํามาเขียว วิภาพรรณ ติปญ  โญ คชานนท จินดาแกว วันทนา มาลา อุไรพร ดาวเมฆลับ พิสูจนอกั ษร: น.ส.กนกวรรณ เฮาสแมนท, น.ส.เบญจวรรณ เสติละ, นายนฤพล เจริญ ออกแบบจัดทํารูปเลม: ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว พิมพที่: แม็กซพรินติ้ง (MaxxPRINTIMG) โทร. ๐๘๙-๖๓๕๖๔๑๓, ๐๕๓-๒๒๑๐๙๗ ๑๔ ถ.ศิริมังคลาจารย ซ.สายน้ําผึ้ง ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๒๐๐


เส้ฯหฯาฯหฯ้า สารบัญ คําบอกแจง สารบัญ เวียงเจ็ดลินกับชุมชนชางเคี่ยน การบูรณาการการเรียนการสอนการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง กับภูมิปญญาทองถิ่นและพื้นฐานความรูดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี บทสัมภาษณ ลายคําน้ําแตม ปุปผาลานนา ดอกผักกาด ครัวคชา แกงแค แวดบาน (มทร.)ลานนา

๑ ๒ ๓ ๑๕ ๒๑ ๓๙ ๔๓ ๔๖


วฯงเจัฯลิฯ กัฯ ชุมช฿ฯช้าฯฅ่ฯร เวียงเจ็ดลิน กับชุมชนชางเคี่ยน * 0

ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา

จากการที่เราทราบกันดีแลววา เวียงเจ็ดลินเปนเมืองโบราณที่มีลักษณะพิเศษอยาง ยิ่ ง แห ง หนึ่ ง ด ว ยเป น เวี ย งที่ มี อ ายุ นั บ ๑๔๐๐ กว า ป หากนั บ ตามการตรวจด ว ยเทคนิ ค วิทยาศาสตร หรือสรางเปนเวียงสําหรับแปรพระราชฐานของกษัตริยในสมัยเจาสามฝงแกน เปนตนมา ก็นับได ๖๐๖ ป (นับถึงปพ.ศ.๒๕๖๐) ซึ่งมีลักษณะเปนรูปวงกลมอยางนาอัศจรรย ในเทคโนโลยีสมัยกอน เปนเมืองโบราณที่มีถูกบุกรุกทําลายบาง แตก็ยังเห็นสภาพเวียงที่ ชัดเจนไดอยางยิ่ง หากเทียบกับเวียงสวนดอก ที่ถูกทําลายไป ๓ ดาน ดวยในเขตเวียงโบราณ เปนที่ตั้งของหนวยงานราชการ ที่มีการเปลี่ยนแปลงนอย จึงนับวาเปนประโยชนตอการรักษา สภาพความเปนเมืองโบราณเอาไว กอนที่จะเติมเต็มขอมูลในเรื่องของเวียงเจ็ดลินกับชุมชนชางเคี่ยน อันเปนชุมชน ๑ ใกลเคียงมาแตเดิม ดังนั้นจึงขอหยิบยกเอาประวัติเวียงเจ็ดลินมาใหทราบที่มาที่ไปโดยสังเขป ดังนี้ 1

แผนที่เวียงเจ็ดลินกับชุมชนชางเคี่ยน (ภาพจาก Google map) *

ถอดองคความรูจากโครงการ การจัดการความรูเรื่องเวียงเจ็ดลินอยางมีสวนรวมกับชุมชน โดยศูนย วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ณ วัดชางเคี่ยน ต.ชางเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ๑ เนื้อหาฉบับเต็ม อยูในวารสารเวียงเจ็ดลิน ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ ๓


เวียงเจ็ดลิน เปนเมื องโบราณรูปวงกลม บริเวณเชิงดอยสุเ ทพ โดยคําวา คําว า “ลิน” นี้ ก็หมายถึง รางริน และ คําวา “เจ็ดลิน” ก็คือรางรินทั้งเจ็ด หรือสายน้ําทั้งเจ็ดสายที่ ไหลผานตัวเวียงเจ็ดลิน เวียงเจ็ดลินยุคกอนลานนา ยุคกอนประวัตศิ าสตร มีการขุดพบเครื่องมือหินกระเทาะบริเวณเวียงเจ็ดลิน ชี้ใหเห็นชัดเจนวา ในบริเวณเวียงเจ็ดลิน นั้น มีการอยูอาศัย หรือการใชประโยชน ในการหาของปาลาสัตวมาแตยุคหินใหมเรื่อยมา และกระจายตัวทั่วไปในบริเวณดอยสุเทพ เวียงเจ็ดลิน...กอนหริภุญไชย-ชนพื้นเมือง จากตํานานตาง ๆ ที่เกี่ยวของนี้ ชี้ใหเห็นวา แถบเชิงดอยสุเทพ เปนเขตที่มีการ พัฒนาและเจริญมาในระดับหนึ่ง มีการตั้งถิ่นฐานของผูคนในดินแดนนี้มาเนิ่นนานแลว โดยมี การรวมกันเปนกลุมตาง ๆ ที่ในตํานานจะใชสัญลักษณในรูปแบบของคนในรอยเทาสัตว หรือ ใชสัตวเปนสัญลักษณประจํากลุมตาง ๆ โดยภาพของแตละกลุมนั้นก็อาจจะสงผลทําใหการ รวมตัวกันของกลุมชนตางๆ บริเวณนี้ไมเขมแข็งเทาที่ควร จนลมสลายลง เมื่ออาณาจักรหริ ภุญไชยขยายตัว ดวยการอยูเปนกลุมตางๆ ยากตอการรวมกันเปนปกแผน กอปรกับลักษณะ แตละกลุมก็มีความแตกตางกัน การติดตอสื่อสารก็มีดวยความยากลําบาก ดังเชนกลุมลัวะ หรือละวาในปจจุบัน ก็จะพบวาชาวลัวะในแตละเขตมักจะมีภาษาเฉพาะและสื่อสารกันดวย ความลําบาก จากตํานานตาง ๆ ของการสรางบานแปลงเมืองบริเวณเชิงดอยสุเทพมาจนถึงสมัย ตนหริภุญไชยนั้น ก็มีหลักฐานสนับสนุนความเปนไปไดวามีการสรางเมืองในแถบนี้อยูจริง นั่น คือเมื่อประมาณ ๑,๔๔๐ ปกอน มีการสรางกําแพงเวียงเจ็ดลิน โดยสํานักโบราณคดีที่ ๘ เชียงใหม กรมศิลปากร นําดินจากกําแพงเวียงเจ็ดลินไปตรวจสอบหาอายุ โดยผลที่ออกมานั้น มีอายุเกากวาเมืองหริภุญไชยที่สรางราว พ.ศ.๑๓๑๐ – ๑๓๑๑ หรือตนพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ยุคหริภุญไชย จากตํานาน จะคาบเกี่ยวมาจนถึงสมัยหริภุญไชย จากเรื่องราวของจามเทวี และขุน หลวงวิรังคะ สื่อใหเห็นถึงชัยชนะของกลุมวัฒนธรรมใหมที่เหนือกวากลุมเดิมในแถบลุมน้ําปง ในบางเรื่องเลา ยังมีการสืบตอไปอีกวา เมื่อขุนหลวงวิรังคะพายตอพระนางจามเทวี มีการ ผนวกของสองกลุมเขาดวยกัน เมื่อมีการแตงงานระหวางโอรสแฝดของพระนางจามเทวี กับ ๔


ธิดาแฝดของขุนหลวงวิรังคะ อันเปนตัวแทนวา กลุมลัวะไดถูกผนวกเขาสูยังวัฒนธรรมของ หริภุญไชย เมื่อเวลาลวงเลยมาชวงสมัยหริภุญไชย การสถาปนาความเชื่อแบบพุทธ ในแถบที่ ราบลุมแมน้ําปง ก็เจริญรุงเรืองขึ้นมาก ทําใหมีการสรางวัด และสิ่งกอสรางตางๆ ตั้งแตเชิง ดอย ไปจนถึงสันกู ดังปรากฏหลักฐานศิลปะหริภุญไชย เวียงเจ็ดลินสมัยลานนา ตั้งแตสมัยราชวงศมังราย – สมัยเจาเจ็ดตน เวี ย งเจ็ ด ลิ น ที่ ป รากฏในเอกสารทางประวั ติ ศ าสตร นี้ สร า งในสมั ย ของพระญา สามฝงแกน ในป พ.ศ. ๑๙๕๔ เพื่อเปนปอมปราการ ในการปองกันเมืองเชียงใหม ในคราวที่ ทาวยี่กุมกามพี่ชาย ไดชักชวนพระญาไสลือไทแหงสุโขทัย ยกทัพมาตีเชียงใหม และมาตั้งทัพ อยูบริเวณเชิงดอยเจ็ดลิน อันเปนบริเวณเวียงเจ็ดลิน และน้ําจากเวียงเจ็ดลินก็เปนที่ลือชาปรากฏในสมัยของพระญาไสลือไทยกลาววา “คูไดกินน้ํา ๗ ลิน ลําแกใจนัก น้ําที่ใดยังจักเปนดั่งน้ํา ๗ ลินนั้นชา” และใชเปนน้ําทิพยในการ สรงน้ําพระธาตุเจาดอยทุง และใชเปนที่ตอนรับแขกเมือง ในสมัยพระนางจิรประภามหาเทวี อีกดวย เวี ยงเจ็ ดลิ นยั ง มีค วามสํ าคั ญมาจนถึง สมั ยของเจา เจ็ ดตน ดัง สมัย ของเจา หลวง พุทธวงศ (พ.ศ. ๒๓๖๙ – ๒๓๘๙) ก็มาประทับที่เวียงเจ็ดลิน ในระหวางที่มีเคราะห จนมีการ เปลี่ยนแปลงการใชที่ดินเมื่อมีการรวมเขากับสยามในเวลาตอมา เวียงเจ็ดลินในยุคการเปลี่ยนแปลง... หนึ่งฟาดินเดียว ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว รั ช กาลที่ ๖ ในระหว า งป พ.ศ. ๒๔๕๘ – ๒๔๖๘ เวียงเจ็ดลินก็ใชเปนที่ตั้งของโรงเรียนมหาดเล็กหลวง เชียงใหม แตใน ปลายรัชกาลที่ ๖ จึงยุบรวมกับโรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพฯ หรือวชิราวุธวิทยาลัยใน ปจจุบัน สวนพื้นที่เดิมของโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเชียงใหม ปจจุบันคือ สํานักงานปศุสัตว เชียงใหม บางส ว นเป น พื้ น ที่ ข องทางป า ไม จั ง หวั ด เชี ย งใหม ณ บริ เ วณของสวนรุ ก ขชาติ ปจจุบัน ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ก็ไดเปนที่ตั้งฐานทัพญี่ปุน (สวนฐานทัพญี่ปุนที่ใชทําเปน โรงพยาบาล จะอยูดานทิศเหนือของเวียง) ทําใหพื้นที่มีความเสียหายหนัก ทางปาไมจังหวัด จึงไดจัดใหมีการฟนฟูเปนสวนพฤกษศาสตร ในนามของ “สวนพฤกษศาสตรหวยแกว” และ ตอมาในปพ.ศ.๒๔๙๙ มีการจัดพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวสําหรับประชาชนทั่วไป ในนามวา “สวนรุกขชาติหวยแกว” ๕


กอปรกับระยะเวลานั้นนายฮาโรลด เมสัน ยัง (Mr.Harold Mason Young) มิชชั่นนารีชาวอเมริกัน ไดขอพื้นที่เชิงดอยสุเทพ จากทางผูวาราชการจังหวัดเชียงใหมสมัยนั้น เพื่อกอตั้งเปนสวนสัตว ที่ยายมาจากบานเวฬุวัน ของนายกี – นางกิมฮอ นิมมานเหมินท มายัง สวนสัตวเชียงใหมในปจจุบัน และเปดใหบริการตั้งแตวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๐ เปนตนมา ในวั น ที่ ๘ สิ ง หาคม ๒๕๐๐ ได มี ก ารวางศิ ล าฤกษ ก ารสร า งวิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ภาคพายัพ ขึ้น ที่ตอมาคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ในปจจุบัน ในขณะนั้น มีการรื้อแนวกําแพงลงเพื่อสรางอาคารตาง ๆ นอกจากนี้ ยังมีการขยายถนนหวยแกวใน ป ๒๕๐๕ เพื่อรับพระราชอาคันตุกะจากตางประเทศ ในการนี้มีการถมคูน้ําและรื้อแนวกําแพง ดิน ก็เปนอีกปจจัยหนึ่ง ที่ทําลายโบราณสถานลงไปอีก แมนวาในสมัยหลังมีการสงเสริมการทองเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม โดยเฉพาะในเชิง ดอยสุ เ ทพ มี ก ารกล า วขวั ญ ถึ ง สถานที่ ต า งๆ เช น น้ํ า ตกห ว ยแก ว สวนรุ ก ขชาติ ห ว ยแก ว วังบัวบาน ฯลฯ แตเวียงเจ็ดลินกลับเลือนหาย จากการศึกษาประวัติเวียงเจ็ดลินโดยสังเขปดังกลาวมาทั้งหมดนี้ ลวนขาดการ ปะทะสังสรรค หรือความสัมพันธกับชุมชนโดยรอบ ในการนี้ เพื่อใหความรูเรื่องเวียงเจ็ดลินนี้ สมบูรณยิ่งขึ้น ทางศูนยวัฒนธรรมศึกษาจึงไดจัดโครงการการจัดการความรูเรื่องเวียงเจ็ดลิน อยางมีสวนรวมกับชุมชน โดยมีชุมชนชางเคี่ยนเปนชุมชนเปาหมาย ชุมชนชางเคี่ยน เปนชุมชนเกาแก หากยอนไปถึงในชวงสรางวัดพระธาตุดอยสุเทพ เปนตนมา ดวยตํานานเรื่องเลาวาชางไดมาเวียนอยูบริเวณนี้ จึงเรียกวา “ชางเวียน” การเวียน รอบ มีอีกคําหนึ่งในภาษาลานนา คือวา วาเคียน เชนผาเคียนหัว ซึ่งคือผาพันหัวหรือผาโพก ศีรษะ ชางเวียนจึงผันเปนชางเคียน และกลายมาเปนชางเคี่ยนในปจจุบัน แตคําวาชางเคี่ยน ยังกลับกลายมีความหมายถึงชางในลานนา เมื่อกลาวถึงชุมชน ช า ง มั ก จะอ า งว า ชุ ม ชนนี้ เ ป น ชุ ม ชนช า งกลึ ง โดยคํ า ว า เคี่ ย น คื อ ว า กลึ ง ในภาษาไทย เชนเดียวกับชื่อชุมชนที่ขึ้นตนดวยคําวาชางหลายๆ ชุมชน เชน ชางแตม ชางฆอง ชางคํา ชางกระดาษ เปนตน แตปรากฏวาในชุมชนแหงนี้ไมปรากฏการมีถึงชางเคี่ยนเลยแมแตนอย


ถึงแมวา ในสมัย กอนจะมีโรงงานแกะสลักไม ของนายวิเชีย ร พิมพ ประเสริฐ ที่ ชาวบา น ชางเคี่ยนเขามาเรียนรูและทํางานดวยเทานั้นเอง 2

อุโบสถวัดชางเคี่ยน

ชุมชนชางเคี่ยนนั้น แตเดิมจะอยูบริเวณใกลกับวัดชางเคี่ยน และบริเวณหาแยก ชางเคี่ยน และขยายไปทางทิศเหนือ เลยปา ชาไปเรียกวา “บานหั วโตง” หรื อบานหัวทุ ง เลยนั้นไปจะเปนที่ของทหาร ดวยชางเคี่ยนแตกอนทํานาเปนหลัก และอาศัยน้ําจากหวย ชางเคี่ยน ในการทํานา โดยนา จะกินบริเวณกวาง ตั้งแตชางเคี่ยนไปถึงเจ็ดยอด รวมถึงไปทาง ฝงหลังโรงแรมเชียงใหมภูคํา จนถึงบานปาหา พอหลวงบุญยืน อนนทสมิง ไดเลาใหฟงถึงอาชีพของชาวบานชางเคี่ยนวา นอกจาก ทํานาแลว ชาวบานชางเคี่ยนจะเก็บของปามาขาย ตามน้ําหวยชางเคี่ยนทางคายลูกเสือไป จนถึงนาไรหลวง (ปจจุบันเปนที่อยูชาวมง) โดยเฉพาะตองตึงมาขาย ตองตึงใชหอขาวก็ได นํามากรองเปนตับมุงหลังคาก็ได เก็บมาจนเต็มตะกรา ขายได ๖ – ๗ บาท นอกจากนี้ยัง รับจางตัดไมปอกเปลือกเอาลงปามา ไดตนละ ๖ บาท พอถึงฤดูมดแดงก็ไปสอยไขมดแดงมา

โดยคุณเรือนแกว อนนทยี ไดเลาไวในหนังสือ ยานหวยแกว (สังคมเมืองเชียงใหมเลมที่ ๔๒) ของ พ.ต.อ.อนุ เนินหาด ๗


ขาย และมีการทุบหินขาย ๒๐ ปบ ได ๘ บาท นอกจากนี้ ปนอิฐ ปนกระเบื้อง อันเปนอาชีพ ของชาวบานชางเคี่ยน

นาไฮหลวง อยูบ นดอยตามหวยชางเคีย่ นขึ้นไป

สวนการใชพื้นที่ของลําหวยนั้น สวนใหญชาวบานชางเคี่ยนจะใชน้ําหวยชางเคี่ยน เปนสําคัญ ทั้งที่หาปู หาปลา บางแหงก็ไปตกเบ็ด บางแหงก็ใชลูกตะขบ (บาเกวน) ทุบให แหลก ลงแชน้ํา พอใหปลาเมาก็จับปลาขึ้นมา พอหลวงบุญยืน อนนทสมิงกลาวอีกวา แตลํา น้ําหวยนี้ใสมาก มีปริมาณมาก น้ําหวยกวางและลึก หากเวลาน้ํานองจะตองขี่ควายขามไป ถึงจะขามได บางทีก็ไปหาปลาบูที่หวยแกว สว นในพื้ น ที่ เวี ย งเจ็ ด ลิ น พ อ หลวงบุ ญ ยืน เล า ว า ที่นั้ น มี บ อ น้ํ า ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ไ หล ออกมาตลอด และมักไดยินถึงการที่ มีคนไปขุดพระวัด หมูบุน ไปขายได ราคาแพง เพราะ พระเครื่องกรุวัดหมูบุนนี้ดัง อาจจะเปนพระคง พอหลวงบุญยืนเคยไดพระคงแดง ที่ปาชา ชางเคี่ยนนี้องคหนึ่ง เขาฝงไวกับคนตาย ขณะที่พอหลวงบุญยืนเปนทายรถขุดดินเอาไปถมที่ แลวมีคนไดพระมา เอามาขายให ๕ บาท ตอมามีกลุมผูกอการราย จะซื้อเอา ๘๐๐ บาท ดวย เงินแตกอนหายาก ปจจุบันนี้ราคาอาจจะเปนแสน ตอนนั้นเรารูเทาไมถึงการณจึงไดขายไป จากคําบอกเลาจะพบวา ชาวบานชางเคี่ยนจะหากินตามลําหวยชางเคี่ยนไปถึงบน ดอยขุนชางเคี่ยน ดวยดานบนมีนาเกา เรียกวานาไฮหลวง หรือนาลัวะ ที่เปนที่เลี้ยงควาย ๘


ในฤดูวางเวนจากการทํานา และเก็บของปาหากินในละแวกนี้ โดยมักจะไมขามไปทางหลังปา ชาชางเคี่ยนเทาใดนัก และนายตา สุขเกษม กลาววาผูเฒาผูแกมักจะหามเด็กไมใหไปในพื้นที่ แถวนั้น ดวยกลัววาผีจะทํารายทําใหไมสบายได การที่ออกไปหาของปาในละแวกใกลเคียง สวนทางดานเหนือบางทีก็สามารถวกลง ไปหาของปายังในเวียงเจ็ดลินได แมเรือนแกว อนนทยี ไดเลาใหฟงวา มีแมอุยตา ไปหวย ไปดอย แลวเห็นหมูทองคําออกมา แตไมสามารถจับเอามาได ใกลกับวัดรางตรงนั้นจึงไดชื่อวา วัดหมูบุน นอกจากนี้ยังเลาวาพื้นที่ ที่เปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไลเลยไป ถึงที่ของสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ มักใชเปนสถานที่เลี้ยง วัวเลี้ยงควายของชาวบานชางเคี่ยน

ซอยพระนาง โดยชื่อมาจากพระนามของสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณีพระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗ ดวยพื้นที่ดา นตะวันออกของถนนเปนที่ของพระองค

สวนพื้นที่ดานทิศเหนือของเวียงเจ็ดลิน ชาวบานชางเคี่ยนมักไมยางกรายเขาไป คุณแมเรือนแกว อนนทยี ไดเลาวาแถวนั้นเปนพื้นที่ที่มีผีมาก ไมกลาขึ้นไปคนเดียว หรือหาก จะไปมักจะไปถึงแคซอยคายลูกเสือซอย ๑ ไปจรดซอยพระนางเทานั้น ไมขึ้นไป จากคําบอกเลาของชาวบานและอาจารยจําเหลาะ สมจิตต อาจารยอาวุโสของ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนา ที่ เ ข า มาอาศั ย ตั้ ง แต ตั้ ง เป น วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค ๙


ภาคพายั พ ไดเ ลาวาต อมาพื้น ที่ตรงนั้ นมีการบุกเบิก แผวถางจับจอง จากคนที่อยู ในเมือ ง มาเบิกพื้นที่แถวนั้น กอปรกับมีชาวกะเหรี่ยงที่มากับครูบาศรีวิชัยในการสรางทางขึ้นดอย สุเทพ ก็เขามาอยูอาศัยในพื้นที่เหนือเวียง พรอมกับชาวดอยเตาที่หนีน้ําทวมก็มาอาศัยในดาน นอกเวียงเจ็ดลิน “เขาหาวาผมบา” อาจารยจําเหลาะ สมจิตต ไดกลาวเชนนั้น เพราะเขาไปอาศัยใน พื้นที่ ที่ชาวบานไมเขาไปอยูและเกรงกลัว

เลยจากจุดนี้ ชาวบานชางเคีย่ นมักไมคอยขึ้นมา

อาจารยจําเหลาะไดเลาถึงพื้นที่เวียงเจ็ดลินในชวงหนึ่งวา หลังจากที่หมดโรงเรียน มหาดเล็กหลวง พื้นที่ในเขตเวียงเจ็ดลินนั้นก็เปนพื้นที่ของราชพัสดุ กลุมที่มาใชประโยชน ไดแกกรมปศุสัตวโดยปลูกหญา ปลูกขาวโพด เพื่อการเลี้ยงสัตว ดวยหางไกลจากชุมชนและ ตัวเมือง ตอมาทางวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ก็มาขอใชในพื้นที่ในเขตเวียงเจ็ดลิน เพียงเสี้ยว หนึ่ง (ทางดานตะวันออกของเวียงเจ็ดลิน) โดยแรกเริ่มมีการสรางเปนอาคารกํามะลอมุงตอง ตึง เปนอาคารฝกของโรงงาน บางสวนก็ไปเรียนที่บริเวณแจงหัวริน ณ ตึกอาสาสงคราม ทางวิทยาลัยเห็นวาพื้นที่วิทยาลัยที่อยูในตัวเวียงเกานั้นคับแคบ จึงทําเรื่องไปยัง มหาดไทย ขอใช พื้ น ที่ ต ะวั น ออกไปจรดลํ า ห ว ยช า งเคี่ ย น เพื่ อ ใช เ ป น พื้ น ที่ ข องวิ ท ยาลั ย ในตอนนั้น พื้นที่ที่เคยใชปลอยวัวปลอยควาย ก็ถูกใชเปนสถานศึกษาไป ๑๐


สวนพื้นที่ใกลเคียงนั้นก็เปนพื้นที่ของเอกชนที่มาจับจองและซื้อขายกันไปบางสวน ใช เปนพื้นที่ของการปลูกผักของโกสิ่ว หรือนายอุดมสิทธิ์ โกมลพงศภักดี ตอมาประมาณป พ.ศ. ๒๕๑๖ มีการปลูกสตรอวเบอรี โดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ ไดพระราชทาน พันธุสตรอวเบอรี มาแจกใหกับเกษตรกร ในชุมชนชางเคี่ยน และมีการปลูกสตรอวเบอรี กัน ๓ อยางกวางขวาง ในบานชางเคี่ยนไปจนถึงเจ็ดยอด และในพื้นที่ดานทิศเหนือของเวียงเจ็ดลิ นดวย นับวาเปนเจาแรกๆ ในจังหวัดเชียงใหมที่มีการปลูกสตรอวเบอรี แตตอมาการปลูกสต รอวเบอรี ในชุมชนชางเคี่ยนก็เลิกไป พื้นที่โดยรอบเวียงเจ็ดลินยังพบโบราณสถานเกาที่ปจจุบันไดสูญหายไปแลว จากคํา บอกเลาของอาจารยจําเหลาะ สมจิตต เลาวามีวัดเกานอกเวียงหลายวัด เชน วัดนอย ดาน ตะวันตกเฉียงเหนือของเวียงเจ็ดลิน ยังคงเหลือเศษอิฐ และใครมาอาศัยอยูในบริเวณนั้นไมได และอีกที่หนึ่ง เลยซอยพระนางขึ้นเนินกอนที่จะโคงเลี้ยวซาย เคยมีเจดียเกาอยูสามองคตรง นั้น และพื้นที่สวนดานทิศเหนือของเวียง นอกจากนี้ยังมีวัดกูดินขาว ในสวนสัตว ในเวียงก็จะ มี วั ด หมู บุ น นอกจากนี้ ยั ง มี ซ ากวั ด เก า ในมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม ด ว ย เช น ที่ ป ระตู ห น า มหาวิทยาลัยเชียงใหม บริเวณศาลาธรรม เปนตน” นอกจากนี้ บรรยากาศของเวียงเจ็ดลิน ยังหลอหลอมศิลปนลานนาที่ยิ่งใหญคนหนึ่ง คือ จรัล มโนเพ็ชร สมัยที่จรัล มโนเพ็ชร มาเรียนหนังสือ เมื่อป ๒๕๐๙ และแตงเพลง “บาน บนดอย” ในป ๒๕๑๔ ตอนที่จรัล มโนเพ็ชร มาเรียนบัญชีกับ อ.จําเหลาะ สมจิตต และ ศึกษาเรียนรูถึงการแตงเพลง ในบรรยากาศของธรรมชาติเวียงเจ็ดลิน อันประกอบไปดวย เสียงน้ําตกของน้ําตกตาดเหมย น้ําตกหวยแกว และเสียงลมพัดหวีดหวิว ในขณะนั้นก็ไดแตง เพลง “ไลเหลา” ออกมา แตมาอีกหลายป เมื่อจบไป ก็ไดกลับมาเยี่ยม อ.จําเหลาะอีกครั้ง ในครั้งนั้นพบกับบรรยากาศของเวียงเจ็ดลินในฤดูหนาว ที่มีการจี่ขาวเหนียวกิน เลยออกมา เปนบทเพลงบานบนดอย ทอนหนึ่งที่วา 3

อนุ เนินหาด,พ.ต.อ. ยานหวยแกว (สังคมเมืองเชียงใหมเลมที่ ๔๒), (เชียงใหม:บริษัทนพบุรีการพิมพ จํากัด, ๒๕๕๗) หนา๑๙๑ ๑๑


“...บานบนดอย บมีแสงสี บมีทีวี บมีน้ําประปา บมีโฮงหนัง โฮงนวด คลับบาร บมีโคลา แฟนตา เปบซี่ บมีเนื้อสัน ผัดน้ํามันหอย คนบนดอย ซอบกินขาวจี่ บมีน้ําหอม น้ําปรุงอยางดี แตหมูเฮามี ฮึม มีน้ําใจ” นอกจากนี้ เพลงของวิทยาลัยเทคนิค ภาคพายัพ ทั้ง ๔ เพลงก็ยังเปนที่รูจัก และทํา ใหผูคนทั้งชุมชนชางเคี่ยน, นักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดยินถึง เวียงเจ็ดลินจากเพลงเหลานี้ เพลงวังเจ็ดลิน เปนเพลงที่ทําใหคนรูจักเวียงเจ็ดลินในระดับหนึ่ง เพลงนี้เกิดขึ้นใน คาบวิชาเศรษฐศาสตร โดย อ.จําเหลาะ สมจิตต ไดเลาประวัติความเปนมาของเวียงเจ็ดลิน ใหกับนักศึกษาในชั้นเรียนฟง และใหแตละคนเขียนเปนเพลงหรือเปนกลอนออกมา ในที่สุดก็ ไดเนื้อเพลงของคุณอรพรรณ จารุเศรณี และ อ.จําเหลาะ สมจิตต เปนผูใหทํานอง และทํา ดนตรีและขับรองโดยวงดนตรีสุนทราภรณ “วังเจ็ดรินถิ่นนี้เหมือนมีมนตรา ใครไดมาจะพาเคลิ้มใจยามมอง โนนดอยสุเทพเทพดํารงทรงเฝาคุมครอง พระธาตุเรืองรองดังตองดวยแสงสุรีย เพลินวิญญาณเพลินขวัญตาทุกยาม นั่นคือสนามแสนงามดวยความขจี แคฝรั่งวังของเรานี้ เห็นอยูแรมปผลิดอกออกเปนแถวไป เนินเขาเบื้องหลังวังชื่น ดาษดื่นดวยสักพะยอมมีดอกหอมยอมใจ เสียงนกในปาคะนองรองเพลงแตไกล หวยธารก็ใสเมื่อมองแลวใจชื่นบาน วังเจ็ดรินถิ่นนี้ทุกปเคยเนา ใจพวกเราผูกพันทุกวันและวาน หากแมนคิดเปรียบเทียบวังเราก็เทาวิมาน มีปามีธารตะหงานดอยสูงสุดตา” ๑๒


เราภูมิใจความวิไลของวัง หทัยเราฝงรักวังดังดวงชีวา อันพระธาตุงามเหนือภูผา ศูนยรวมบูชารวมหนาสามัคคี ครานี้พอเห็นแครวง สุดหวงสุดหักอาลัยจําจากไกลนองพี่ ถึงกายจะหางไมจางสัมพันธที่มี เทคนิคครานี้ลาทีหนอวังเจ็ดริน” สวนเพลงอื่นๆ ก็มี อ.สามภพ เชิญธงชัย ก็อยากจะเขียนเพลงบาง เลยเขียนเปน กลอนมา ในเพลงครูบาศรีวิชัย ตอมาเปลี่ยนชื่อมาเปน เพลงตามความฝน พอเปลี่ยนจาก เทคนิคภาคพายัพ มาเปนสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ก็เปลี่ยนชื่อเปนไหวสาครูบาเจาและ เปลี่ยนเนื้อเล็กนอย โดยเพลงนี้ ทํานองโดยครูเอื้อ สุนทรสนาน “สูงเดนเปนสงางามล้ําคาวิทยาลัย เทคนิคแหงเชียงใหมมิ่งขวัญใจชาวนครพิงค ครูบาศรีวิชัยปกปองภัยใหสุขยิ่ง รวมแรงรวมใจจริงทั้งชายหญิงทุกสิ่งสรรพ เราชาววังเจ็ดรินอันเปนถิ่นเมืองโบราณ ขุนเขาและสายธารหวยละหานกั้นเวียงมา บัดนี้เปนที่ตั้งแหงเวียงวังการศึกษา พวกเราชาวลานนาทุกถวนหนาภาคภูมิใจ...” สวนอีกสองเพลง คือเพลงมารชวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ และรําวงสาวชาววัง สองเพลงหลังนี้ อ.จําเหลาะ สมจิตต ไดเลาเรื่องราวของเวียงเจ็ดลิน และวิทยาลัยเทคนิค ภาคพายั พ ให ค รู เ อื้ อ สุ น ทรสนานฟ ง ขณะที่ ม าเป ด การแสดงอยู ที่ โ รงหนั ง จิ น ทั ศ นี ย เลยออกมาเปนอีกสองเพลง

๑๓


เพลงมารชวิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ ขอคัดเนื้อเพลงบางสวนมาดังนี้ “วังเจ็ดรินถิ่นตั้งวิทยาลัย นามนั้นเกริกไกรกองไปทั่วในธาตรี เราภูมิภาคพายัพยงยศเยี่ยมในศักดิ์ศรี อาชีวะแหงนี้มากมีหลักการ ฯลฯ” สวนเพลงรําวงสาวชาววังขอยกทอนที่กลาวถึงวังเจ็ดลินมาเปนตัวอยาง ดังนี้ สาวนอยรอยชั่งชาววังเจ็ดริน สาวงามเวียงพิงคเสมือนตองมนต พี่ปรารถนาขวัญตาหนามน

“...โยนโยนแมสาวชาววัง นึกรักแมโฉมยุพิน นะแมสาวพายัพรับรักพี่สักคน มาสรางกุศลทําบุญรักไวรวมกัน...”

การที่เพลงของสถาบันสี่เพลงแรกที่ออกมา ทุกเพลงลวนแลวแตบอกกลาวถึง “เวียง เจ็ดลิน” ทุกเพลง ดวย ตัวอาจารยจําเหลาะ เปนผูศึกษาเรื่องเวียงเจ็ดลิน ทําอยางไรจะใหคน รูจักเวียงเจ็ดลินใหมากขึ้น และนี่เปนเวียงลัวะ ลานนา มีคนพื้นถิ่นเปนชาวลัวะ และชาวลัวะ ไมหายไปไหน และยังอยูจนทุกวันนี้ จึงไดเลาเรื่องราวเหลานี้ใหทางคณะสุนทราภรณถายทอด ออกมาเปนบทเพลง ใหไดรับฟงถึงปจจุบัน

บรรยากาศการบอกเลาเรื่องราวของชุมชน ๑๔


กาฯบูรณากาฯ กาฯรฯรกาฯสฯรกาฯแหฯ่ช้เสฏฯกิฯพํฯพฯง

กัฯภูมิบ¡าท้ฯงถิฯ¦พืฯรู้ท¶ฯฯวิทฯาศา�์§ฯเทฯโนโลยี การบูรณาการการเรียนการสอนการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง กับภูมิปญญาทองถิ่นและพื้นฐานความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย

อาจารยภีราวิชญ ชัยมาลา หัวหนาศูนยวัฒนธรรมศึกษา เชียงราย อาจารยประจํา กลุมวิชาสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย ไดจัดการเรียนการ สอนในรายวิชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่มุงเนนใหนักศึกษามีความรู พื้น ฐานปรั ชญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ตระหนั กถึ ง คุ ณ ค า เห็ น ความสํา คั ญ และร ว มส ง เสริ ม อนุรักษ ภูมิปญญาไทย เพื่อเปนการเตรียมความพรอมในการนําความรูที่เรียนไปประยุกตใช ในการดํารงชีวิต การประกอบอาชีพและการอยูรวมกับผูอื่นในสังคมและรายวิชาสังคมวิทยา เบื้องตน โดยจัดการเรียนการสอน ที่บูรณาการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงกับภูมิปญญา ทองถิ่นโดยนําความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาเปนพื้นฐานในการเรียนรู เพื่อสราง ผลงานนวัตกรรมที่นําเอาภูมิปญญาทองถิ่นมาเปนแนวทางในการพัฒนา

การนําเสนอผลงานของนักศึกษา ๑๕


คิดคนใหผลงานมีความทันสมัย สามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และอยูบน พื้ น ฐานของความพอเพี ย ง และความเป น ไปได ใ นทางปฏิ บั ติ ซึ่ ง เน น ให นั ก ศึ ก ษาได เ กิ ด กระบวนการคิดที่เปนระบบ มีการวางแผนการทํางานที่เปนขั้นตอน เพื่อใหเกิดทักษะในการ ทํ า งานที่ ดี เกิ ด การเรี ย นรู ใ นด า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม และภู มิ ป ญ ญาควบคู กั บ ความรู ด า น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อสรางนักศึกษาใหเปนบัณฑิตนักปฏิบัติอยางแทจริง โดยใหนักศึกษาไดลงพื้นที่ศึกษาขอมูล จากชาวบานหรือปราชญชาวบาน ที่มีความรู ดานภูมิปญญา ฝกใหนักศึกษาเกิดทักษะชีวิต ในการอยูรวมกันกับผูอื่นในสังคม และสามารถ นําความรูที่ไดรับจากการลงพื้นที่ศึกษาขอมูล มาพัฒนากระบวนการเรียนรู จนสามารถสราง เปนผลงานนวัตกรรมตางๆ ที่พัฒนามาจากภูมิปญญาทองถิ่น หรือนําเอาภูมิปญญาทองถิ่นมา เปนแนวทางในการสรางสรรคผลงาน เชน เครื่องกะเทาะเมล็ดขาวโพด ที่นําเอาความรูดาน วิศวกรรม มารวมกับภูมิปญญาทองถิ่นที่มีอยูแลว มาพัฒนาใหมีความสะดวกสบาย สามารถ ใชงานไดอยางดี มีตนทุนการผลิตไมสูง, ที่แยกไขขาวไขแดง ที่นําเอาเรื่องใกลตัวมาคิดพัฒนา ออกมาเปนผลงานที่สามารถใชงานไดจริง ซึ่งนักศึกษาไดสะทอนความคิดสรางสรรคออกมายัง วัสดุที่เลือกใช ทําใหเห็นไดวานักศึกษาแตละคน มีกระบวนการคิดที่แตกตางกันออกไป และ โคมไฟจากเครื่องจักสาน และวัสดุเหลือใชถือวาเปนผลงานที่นักศึกษาวิศวกรรมอุตสาหการ ใชความรูในศาสตรที่ตนเองเรียนรูมา เปนพื้นฐานในการออกแบบโครงสราง และนําผลิตภัณฑ ที่เกิดจากภูมิปญญา และวัสดุเหลือใชมาเพิ่มมูลคาใหสูงขึ้น ตัวอยางผลงานนักศึกษา

ที่คัดแยกไขขาว ไขแดง ผลิตจากวัสดุเหลือใช

๑๖


ที่คัดแยกขนาดมะนาว ประยุกตจากสิง่ ของเหลือใช โดยใชภมู ิปญ  ญาชาวบาน เมื่อคัดแยกผลมะนาว ได ตามขนาดทีต่ องการ ผลมะนาวก็จะตกลงมาในชองตามขนาดที่คัดแยกไว

ที่กะเทาะเมล็ดขาวโพด แบบใชมือหมุนหรือใชเครื่องสวาน สามารถกะเทาะเมล็ดไดเร็วและประหยัดเวลา

๑๗


ที่หอผลไม

โคมไฟจากฝาชีและกะลามะพราว

๑๘


แรวดักหนู

เครื่องสูบน้ําชนิดเพิ่มแรงดัน

๑๙


กาลักน้ํา (เครื่องสูบน้ําแบบสุญญากาศ) ไมใชน้ํามันและกระแสไฟฟา สูบน้ําไดทั้งวันทั้งคืนโดยไมเสียเงินสุดประหยัด

ผลงานนวัตกรรมทุกชิ้น ที่นักศึกษาไดคิดสรางสรรคขึ้นมา จะอยูบนพื้นฐานของการ ประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง และนําความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาประยุกตใช ผลงานที่ยกตัวอยางมา เปนเพียงผลงานสวนหนึ่ง ที่เกิดจากการจัดการเรียนการ สอนแบบบูรณาการ เนนใหนักศึกษาไดปฏิบัติจริง คิดเอง ทําเอง ใหสมกับเปนบัณฑิตนัก ปฏิบัติ (Hands on) อยางแทจริง สามารถนําความรูที่ไดรับจากการเรียนไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวัน ใหเกิดประโยชนสูงสุด

๒๐


บ฿ฯสมฯาษฯ์ ลาฯฅา ¢ํแต้ฯ กัฯ ผศ.ลิิกฯร มาแก้ฯ บทสัมภาษณ ลายคําน้ําแตม กับผศ.ลิปกร มาแกว * 0

ผศ.ลิปกร มาแกว ที่มา FB: Lipikorn Art

*

บทสัมภาษณ ผศ.ลิปกร มาแกว โดยกองบรรณาธิการวารสารเวียงเจ็ดลิน เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ๒๑


ผาพระบฏที่ไดจากวัดดอกเอื้อง อ.ฮอด ปจจุบันจัดแสดงที่หอศิลป ถนนเจาฟา กรุงเทพมหานคร ที่มา ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว

- ภาพลายคําในบานเรา มีมาปรากฏแรกเริ่มที่ใด ผศ.ลิปกร มาแกว: บานเราที่หมายถึงวา ลานนาใชไหม... ถาตามหลักฐานภาพจิตรกรรม ฝาผนังที่เกาที่สุดในลานนาคือจิตรกรรมฝาผนังวัดอุโมงค แตในวัดอุโมงคไมไดเขียนเรื่อง เกี่ยวกับพุทธประวัติ ไมไดเขียนเรื่องเกี่ยวกับชาดก ไมไดเขียนเรื่องเกี่ยวของกับพุทธะ ใดๆ ซึ่ง จะเปนแคสวนหนึ่งก็คือการประดับตกแตงลวดลายของอุโมงค ใชแพตเทิรนของลายจาก เครื่องถวยลายครามของจีน ในราชวงศหยวน – หมิง ในกลุมนี้ ซึ่งมีหลักฐานวาลักษณะนี้ ปรากฏอยูที่เวียงทากาน เขาบอกวาไดไหที่มีลวดลายใกลเคียงกันนี้ และปรากฏในที่ตางๆ ซึ่งอายุก็ประมาณยุคราชวงศมังราย ประมาณ ๕๐๐ กวาป หลังสมัยพระเจาติโลกราชมา ๒๒


หนอยหนึ่ง ที่นี้หลักฐานที่ไปดู ที่มีหลักฐานอยู ถาพูดถึงการปดทองในจิตรกรรมฝาผนังที่นั่น ก็ไมมีการปรากฏวาใชทองในการปด ในการเขียน ปกติในสมัยกอน การใชทองติด ตองเปนตัว ละครที่สําคัญ เชนพระพุทธรูป หรือลวดลายที่เกี่ยวของกับพุทธะ ทั้งหลายแหล ลายหมอ บูรณฆฏะ หรืออะไรตางๆ ลานนาเราก็ถือคตินิยมประมาณนี้ แตวาสิ่งที่ใชทองปดนี้ มันก็มี ปรากฏในจิตรกรรมพระบฏ ของฮอด คือวัดเจดียสูง กับวัดดอกเงิน ผืนแรกที่มีความละเอียด มาก อยูที่พิพิธภัณฑหอศิลปเจาฟา กรุงเทพฯ ผืนที่สองผืนใหญ และผืนที่สาม ผืนเล็ก อยูที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห ง ชาติ เ ชี ย งใหม แต ก็ ป รากฏการใช ท องเข า ไปติ ด ในภาพพระบฏ เพราะฉะนั้น ถาเราดูแลว ตามหลักฐานก็อยูในยุคประมาณนี้ ที่มีการใชทอง

ผาพระบฏจากวัดเจดียสูง อ.ฮอด ปจจุบันจัดแสดงและจัดเก็บที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม ที่มา ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว ๒๓


- แสดงวายุคนั้นร่ํารวย ผศ.ลิปกร มาแกว: ก็เ ป น ไปได แต ว าไม ไ ดใ ช ท องเต็ มทั้ ง หมด แตจ ะมี ติด เฉพาะในส ว นที่ สําคัญ - ก็ยังมีการใชหางหรือชาดรวมดวย ผศ.ลิปกร มาแกว: ใช ในยุคกอน เกี่ยวกับเรื่องสีดวย แตก็เห็นรองรอย อีกสวนหนึ่งก็ปรากฏ ใน ที่เรียกวา หองสําหรับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่เจดียของวัดอุโมงค ที่เปนลายเสน แตวา ลักษณะบอกวาเปนการปดทองหรือเขียนสี ซึ่งเห็นแตเพียงรองรอย เปนพระพุทธเจา อตีต พุทธเจา คลายๆกับพุกาม ที่มีพระพุทธเจาเรียงกันเปนแถว ถานับที่เห็น แตกอนก็อาจจะมี เยอะกวานี้อยู - แลวเอกสารอื่น ที่กลาวถึงหอคํา มีบางไหม ผศ.ลิปกร มาแกว: ที่จะมีอีกอยางหนึ่งคือ ลายคําที่กลาววา “ระเบียงเขียนขีดหั้น ลายคํา” ในโคลงมังทรารบเชียงใหม อยูในยุคพมา ซึ่งเปนยุคหลังแลว กอนหนานี้ก็ยังไมปรากฏ แตก็ กลาวถึงลายคํา การใชลายคํา การติดแตมทั้งหลายแหล - มีลายคํากี่แบบ ผศ.ลิปกร มาแกว: แยกตามสถานที่ ก็จะมีใชตามวัง ตามวัด เครื่องสักการะ เครื่องใชทั่วไป ถาโดยเทคนิควิธีการ แบบโบราณจริงๆ ในลานนา ก็จะมีที่วิหารพระพุทธ วัดพระธาตุลําปาง หลวง จะมีการปดคํา จะใชวิธีการดั้งเดิม คือวิธีการปดคําแลวจารลาย หรือลักษณะที่ว า ขูดลายฮายดอก หรือขูดดอกฮายลาย เหมือนเครื่องเขินที่ใชเหล็กจารหรือเหล็กแหลมขูด ซึ่งลักษณะนี้ชางจะตองมีความชํานาญ ในการเขียนลาย - เพราะวาเขียนครั้งเดียว ผศ.ลิปกร มาแกว: ใช ก็เหมือนกับแพตเทิรน พอลงรักลงหางเขาไป ปดคําเขาไปเปนแผง เปนแผนเรียบไปหมด ก็อาจจะรางเปนโครงรางใหญๆ รูปทรงใหญ สวนลายละเอียดตอง ดนสด หรือมีแพตเทิรนที่มองเห็นแลวเขียนลงไป แบบที่สองคือลายฉลุ หรือฉลุลาย สมัยแต กอนก็บอกวา จะใชวิธีการฉลุบนหนังสัตว เอาหนังวัวมาขูดใหบางๆ แลวใชสิ่วตอง(ฉลุ) ลาย ๒๔


เขา เขียนลายหรือตองลายใหเปนรู เปนการฉลุลาย ลงรักลงหาง แลวก็เอาทาบลงไป ปดคํา อันที่สาม คือการผสมผสาน กันระหวางลวดลายที่เปนลายฉลุกับจารลาย หรือขูดดอกฮายลาย

ลายคําที่วิหารพระพุทธ วัดพระธาตุลาํ ปางหลวง ที่มา ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว

- คือการขูดดอกนี้เปนการตกแตงรายละเอียด ผศ.ลิปกร มาแกว: ใช. .. ซึ่ งลั กษณะนี้ ก็ป รากฏที่ ลํา ปาง ที่ยั งหลงเหลื ออยู แตที่ เชี ยงใหม ก็อนุมานไดวามันหายไป หลังจากที่ชวงพมาครองเมือง แลวหายไป ซึ่งในยุคนั้นมีหลายชวง ที่มีก ารบูร ณปฏิสั งขรณ พอเจา กาวิล ะฟ นม าน ก็ พาเอาสลา เอาช างเข ามา แต ในตํา นาน พื้นเมืองเชียงใหม ก็กลาวถึงการนําเอาชางหรือสลามาสองยุค ที่เปนครั้งใหญๆ ก็คือตอนที่ พระญามังรายยกทัพไปเมืองพุกาม – อังวะ ทางเมืองพุกาม – อังวะเองนั้น ก็มอบชางตางๆ ๕๐๐ ครอบครัว พระญามังรายก็สงชางเหลานั้นไปอยูตามเมืองตางๆ นอกจากนี้ ก็ยังมีเขามา อยูกลุมหนึ่ง กับอีกยุคหนึ่งที่ติดปากกันวา ยุคเก็บผักใสซา เก็บขาใสเมือง ในสมัยพระเจากาวิ ละ ที่เอาชางตามหัวเมืองตางๆ เชนเมืองเชียงตุง เมืองยอง ที่อยูรอบๆ ในยุคนี้ก็มีสลา มีชาง เขามา กอเกิดตางๆ ๒๕


อันที่สามที่เปนการผสมผสานในเทคนิคนี้ ก็ปรากฏอยูที่ลําปาง ซึ่งลําปาง นี้ มั น เหมื อ นเป น แหล ง ที่ เ ราเห็ น ล า นนาในอดี ต เราเห็ น ด า นงานช า ง ซึ่ ง เราจะเห็ น สถาปตยกรรมเกาที่สุดก็ที่ลําปาง ลายคําเกาที่สุดก็ที่ลําปาง มันมีอีกอยางหนึ่ง ก็คืออันที่สี่ คือลายคําน้ําหด หรือลายรดน้ํา บางก็วามา จากสุโขทัยหรือเปลา ก็มีหลักฐานไมชัดเจน หรืออยุธยาหรือเปลา ซึ่งมันก็แพรหลายในอยุธยา แตตนเคานั้นก็ไมรูวาไดเทคนิควิธีการนี้มาจากที่ไหน แตแพรหลายในอยุธยา รัตนโกสินทร

ลายคํา รูปเทวดา ประดับหีบธรรม วัดปงสนุกเหนือ ที่มา ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว

๒๖


- แตวัตถุดิบตองอาศัยรัก ผศ.ลิปกร มาแกว: ใช พื้นมันตองอาศัยรัก เปนหาง แตถาลายกํามะลอ คือการใชหาง ผสม การเขียนสีเขาไป ไมใชลายรดน้ําจริง เราจะเห็นไดวายุครุงเรืองที่สุดของลายรดน้ําคืออยุธยา และสงตอไปยังรัตนโกสินทร และในชั้นหลังก็มีลายคําน้ําหด หรือลายรดน้ําเขามาในลานนา แลวมีอีกอยางหนึ่งก็คือ อันที่เกาที่สุดนั้น ไมแนใจวาที่ประตูอุโบสถสองสงฆ มีอยูสองชวง คือชวงกอนเขียนเปนลายรดน้ํา อีกยุคนึ่ง คือยุคที่ครูบาศรีวิชัยมาบูรณปฏิสังขรณ เลยเขียน เขาไปใหม แตในปจจุบันอันที่สองที่ ทาทับเขาไปเริ่มหลุด และก็จะเริ่ม เห็น รองรอยตัว นี้ ซึ่งมันเปนฝมือชั้นครู ดวยความพลิ้วไหวของเสน นาจะเปนทวารบาล แตทวารบาลเหมือนจะ เปนพรหมสี่หนา โดยมีหนาตรง และหนาดานขางสองขาง แตอีกดานจะไมเห็น และมีมือสี่มือ ซึ่งจะตองนาคนหา รูสึกวาในสมัยกรมพระยาดํารงราชานุภาพขึ้นมาก็ยังเปนภาพเกา แตเราก็ ยังไมทราบวาลายรดน้ําเขามาในสมัยใดกันแน แตที่แนๆ ก็คงตองหลังพระเจากาวิละ - ฉะนั้นก็มี ๔ เทคนิค ผศ.ลิปกร มาแกว: แตมีเทคนิคที่ ๕ สุดทาย ที่ทําขึ้นใหม ก็เปนเทคนิคที่ตอยอดจากการใช ยางมะเดื่อ ในสมัยกอนใชยางมะเดื่อในการปดคําในสวนที่ไมใหญมาก จะเขียนบนสมุดพับสา สมุดดํา ถาไปพบที่อยุธยา ของภาคกลางก็จะปดทองโดยใชยางมะเดื่อเขียน ซึ่งจะไมใหญมาก - ดังนั้นการใชยางมะเดื่อ พบไดทั้งของอยุธยาและลานนาเราดวย ผศ.ลิปกร มาแกว: ของเรานี่ถาไปเห็น ก็จะมีปรากฏอยูที่การเขียนสมุดดํา ที่พิพิธภัณฑวัด พระธาตุลําปางหลวง ซึ่งจะเขียนเปนตัวอักขระ เปนธรรมกรรมวาจา - ก็คือที่เขียนเปนอักขระ และปดทองเปนตัวอักษรสีทองๆ ผศ.ลิปกร มาแกว: ใชแลว... ใชยางมะเดื่อเขียนเปนตัวหนังสือขึ้นมา และมีลวดลายประดับ ตกแตงเล็กๆ นอยๆ ซึ่งเราจะเห็นลักษณะการใชเหลานี้มาก ก็เลยเปนสาเหตุในเบื้องตน และ ตอนนั้นก็ไดรับการติดตอใหเขียนรูปพระราชประวัติพระญามังราย เมื่อป พ.ศ.๒๕๕๐ - แลวกอนที่ จะรับเขียนรูปพระญามังราย ทําไม ถึงไดสนใจในเรื่องลายคําเหลานี้ ผศ.ลิปกร มาแกว: คือที่จริงกอนหนานี้ ก็ไมไดเขียนอะไรที่เปนลายคําแบบจริงๆ จังๆ เทาไร นัก เพียงแตเรานํามาใสงานของเรา คือเราชอบของเกา พับสา ใบลาน วาดรูป และเราก็มักจะ ๒๗


ใชยางมะเดื่อเขียนแตมๆ สรางโดยวิธีการใหรูปภาพเหมือนพับสาใบลาน โดยเอากาแฟ เอาสี เขาใสใหมันเหมือนเกาๆ แลวก็เขียนแตมเปนรูปเขาไป เหมือนทําใหมันเกา พอทําอยางนั้นปุบ ก็เริ่มใชยางมะเดื่อ ในป ๔๙ – ๕๐ และเริ่มจริงๆ ก็ป ๕๐

ลายคําเทคนิคปดทองจารลาย รูปขุนสังกรานต โดย ลิปกร มาแกว ที่มา FB: Lipikorn Art

- เราสามารถใชอยางอื่นไดอีกไหม นอกจากยางมะเดื่อ ผศ.ลิปกร มาแกว: ยางมะเดื่อแตกอนเปนยางมะเดื่ออุทุมพร แตกรีดออกมาจะเก็บไวไมนาน แตมันมียางมะเดื่อสังเคราะห ซึ่งก็ไมรูวาใครทําขึ้นมา ซึ่งไดนํามาใชในงานศิลปะนี้นานแลว ๒๘


แตกอนมีขายอยูแถวๆ ศิลปากร ก็เลยเอามาใช ถานับกอนนั้นตั้งแตไปเรียนในป ๒๕๓๐ ก็ใช ยางมะเดื่อแลว

การใชยางมะเดื่อและปดทอง โดย ผศ.ลิปกร มาแกว ที่มา FB: Lipikorn Art

๒๙


- แลวใชยางรักละ ผศ.ลิปกร มาแกว: ก็ไดอยูนะ แตมันก็มีขอจํากัดวา น้ํายางรักจะเขียนแลวทิ้งไวนานก็ยาก วิธีการที่เขียนแลวจะซึมลงไปในกระดาษ วูบหายไปเลย แตตอนนั้นตัวนี้หางายกวา สวนรักนั้น มันใชเขียนไดอยูแลว โดยใชรักน้ําเกลี้ยงและใชพูกันเขียน แตโดยปกติแลวยางรัก กับยาง มะเดื่อ ยางมะเดื่อหาไดงาย และใชกับงานไมใหญมาก งานกระดาษ ถารักจะใชกับงานพื้นผิว มัน เหมือนแล็กเกอร จากนั้นก็มาทําชุดพระญามังราย มันมีขอจํากัดก็คือ เขียนที่วิหารทั้งหลัง เราก็ไมมีเวลาไปเขียน เราก็ตองสอน เลยใชวิธีการเขียนที่บาน วัดขนาดใหพอดีกับล็อกใน วิหาร ไดทั้งหมด ๒๘ รูป พอทําไปแลวก็มีปญหา เลยใชยางมะเดื่อเขียนบนเฟรม ทีนี้พอเขียน บนเฟรมปุบ ปญหาก็มีอยูวาเราอยากใหงานไปนาน เลยเขียนสีอะคริลิก แลวเขียนยางมะเดื่อ ลงไป ปรากฏวามันเลอะ เพราะสีอะคริลิกมันเหนียว ดานขางมันเลอะออกหมด ไมคม นั่นก็ คือปญหา ก็เลยหาวิธีใชสีพลาสติกผสมกับสีอะคริลิก ลักษณะสีจะดานมาหนอย คือพื้นจะตอง ดาน เมื่อเรียนรูเทคนิคมา ก็เลยเขียนเปนภาพใหญขึ้นมา ปญหาตอมาอีกอยาง คือเศษสีที่ เขียนดวยดินสอสี ขัดอยางใดก็ไมออก แตไมรูวาตอนนั้นคิดอยางไร เลยเอาน้ําสาดดู ฉีดดู ปรากฏวาลางออกหมด แตยางมะเดื่อยังติดอยู สวนเศษทองที่อยูดานขางมันหลุดออกหมด ก็เลยรูสึกวา เออ...มันก็ไดอีกเทคนิควิธีการหนึ่ง และมันก็สะอาดสะอานขึ้น

การเขียนลายคําประวัติพระญามังราย ที่มา FB: Lipikorn Art ๓๐


- อยางกับลายรดน้ําเลยเนาะ ผศ.ลิปกร มาแกว: (หัวเราะ) ก็เหมือนกับเปนการผสมผสาน เหมือนเปนลายรดน้ําไปดวย แต มันเปนการลดขั้นตอนไง ถาเปนลายรดน้ํามันตองใชหอระดาน ตองมีน้ําปรุง น้ําสมปอย อะไร อีกหลายอยาง จากนั้นก็เลยใชเทคนิควิธีการนี้ ก็เหมือนกับวามันเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการ เขียน จากนั้นก็ทําเรื่องทอง ทําเรื่องแล็กเกอร คราวกอนมีโอกาสไปแสดงงานเกี่ยวกับแล็ก เกอร ที่งานกลุม Lacquer Asian Art ก็มีกลุมของญี่ปุน มีอาจารยซากุราโกะ มีของพมา มีของเวียดนาม แตพอเราไปไดเรียนรูเหลานี้ ก็ใชเทคนิคดั้งเดิมมาทํา โดยใชแรงบันดาลใจใน ความเปนปจจุบัน และเทคนิคอันเปนของโบราณ คือเราถนัดในเรื่องของเสน เลยใชเทคนิคใน การจารลาย หรือขูดลายฮายดอก เขียนลายเสน เหมือนกับเปนสิ่งที่เราถนัดในเรื่องของการ เขียนลาย คือการลงรัก เสร็จแลวก็ใชรักเช็ดเขาไปและปดทอง แลวเขียนลาย เหมือนกับเรา Drawing เขียนเสนลงไป

ลายคําน้ําแตม พระราชประวัติพระญามังราย ที่วดั ตนโชค อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม ที่มา FB: Lipikorn Art

๓๑


- จริงๆ แลวมันก็คือเทคนิคการ “ฮายดอก” หรือเปลา ผศ.ลิปกร มาแกว: ถา ฮายนี้ เหมื อ นกั บ วา เป น การเอาออก มั น นา จะเปน การ ‘จารลาย’ ลักษณะการฮายคือการขูดพื้นผิวออก แตเราไมไดเอาพื้นผิวออก เราขูดออกเฉพาะแผนทอง ก็ คงจะเรียกวา จารลาย มากกวา เราไดรับแรงบันดาลใจแบบรวมสมัย มาใชในงานศิลปะโดยใช เทคนิควิธีการแบบดั้งเดิม เอามาใช ถาเรายอนไปดูในอดีตจะพบวา จีนเลนเรื่องนี้มานาน หรือ ทางญี่ปุน ในเรื่องการปดทอง การใชทองเดินเสน - อยางของจีนหรือญี่ปุน มักจะมีการใชสีอื่นเขามาประสม เชนสีเขียว สีฟา เปนตน แลว ทําไมเราถึงมักจะเปนสีทองลวน ผศ.ลิปกร มาแกว: มันอาจจะเปนคานิยม ก็ไดแสดงถึงความร่ํารวย ในดินแดนสุวรรณภูมิแหง นี้ ถาไปดูที่สิบสองปนนา ปจจุบันนี้เรียกวา ‘ลายจ้ําคํา’ หรือ ‘ลายน้ําคํา’ หรือ ‘ลายจ้ําน้ําคํา’ เคยไปสัมภาษณพี่หนานคนหนึ่งเขาก็ทําปดทองอยางนี้เหมือนกันเรียกวา ลายคํา แตถาเปน น้ําคําที่เปนสีทอง ฉลุลายปดแลวใชน้ําคําจ้ําลงไป ซึ่งเปนคนชั้นหลังแลว แตเดิมก็เปนลายคํา เหมือนกัน - แสดงวาแบบฉลุลายนี้เจอเยอะที่สุด ผศ.ลิปกร มาแกว: มันก็จะมีสิบสองปนนา เทาที่เจอมาก็อยางที่หลวงพระบาง ที่วัดเชียงทอง ก็เ ห็น ชั ดเจนทั้ งหลัง แตจ ะใช พื้น ดํา แต ถามแล ว ก็ป รากฏว า จะมี การแยกชั ด เจนว า งาน เกี่ยวกับวัดวาจะใชสีดํา - ทอง ถาเปนพระราชวังจะใชแดง – ทอง อยางในวันเจามหาชีวิต

๓๒


ลายทองบนพื้นรัก วัดเชียงทอง เมืองหลวงพระบาง ที่มา ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว

- อยางมีคําวา หอคํา หอหาง ก็คงจะเปนแบบนี้ ผศ.ลิปกร มาแกว: สมัยกอนคําเปนสิ่งมีคาที่สุด ทําอะไรก็ตองใชคํา นํามาเขียนบานคนไม อาจจะใชได คงจะมีความเชื่อเขามากํากับอีก - แตก็ยังมีงานที่เขียนบนผาไหมดวย ผศ.ลิปกร มาแกว: งานเขียนบนผาไหม เปนงานที่พัฒนาจากการเขียนบนผาใบ และผาไหมมี ความนาสนใจ ของเรามีความพิเศษในเรื่องของไหม ซึ่งในการนํามาใชเขียนรูปปดทอง มันเปน การยากที่จะใชยางมะเดื่อเขียนแลวปดคํา ซึ่งไหม เปนเสนไหมเวลาใชยางมะเดื่อเขียนมันก็จะ ซึมลงไปหมด แตเดิมเขียนบนผาใบเราตองทาสีพื้นแลวถึงจะลงยางมะเดื่อ แตผาไหม พื้นมัน เปนสีอยูแลว แตจะเขียนยางมะเดื่อลงไปไมได จึงตองมีการระบายสีเฉพาะสวนรูปทรงในที่เรา

๓๓


จะปดทองลงไป แตตองผสมสีใหไดสีที่ใกลเคียงกับสีพื้นผาไหม จากนั้นก็ลงลายและปดทองลง ไป แตปจจุบันมีบริษัทสีที่ทําเฉดสีแบบโบราณเอาไว แตก็ตองเทียบสีโดยสายตา - การเขียนผาไหมจะตองมีการขึงใหตึงดวยสะดึงอยางเฟรมไมไหม ผศ.ลิปกร มาแกว: งานเขียนผาไหมจะแขวนใหทิ้งตัวลงมาแบบผาพระบฏ และเขียนแบบ ภาพพระบฏ แตตองรีดใหเรียบแลวเขียนไดเลย

ลายคําบนผาไหม โดย ผศ.ลิปกร มาแกว ที่มา หนังสือลายคํา น้าํ แตม

- ผลงานตอนนี้มีกี่ชุดแลว ผศ.ลิปกร มาแกว: หากชุดที่ไดรับการแสดงแบบจริงๆ จังๆ ก็จะเปนรูปจิตรกรรมบนฝาผนัง ของวัดตนโชค อําเภอไชยปราการ ๑๘ รูป แลวชุดที่ไปเขียนบนผาไหมชุดพระประจําวันเกิด แลวก็จะมีชุดที่เขียนบนเฟรมที่ถูกไฟไหม ที่พิพิธภัณฑพื้นถิ่นอําเภอแมสะเรียง ๔ ชิ้น ตอมาก็ ๓๔


เขียนบนวัสดุตางๆ ที่เปนการสรางงานบนวัสดุที่เปนพื้นรักบาง พื้นหางบาง ที่เปนปนเกาๆ ที่มาสรางเปนงานศิลปะ ก็มีหลายชิ้น - บนใบลานละ ผศ.ลิปกร มาแกว: ถาเปนใบลานจะเปนชุดเกาๆ แตก็มีปดทองอยูนะ พอจารใบลานเสร็จก็ เอาเขมาผสมน้ํามันเช็ด แลวก็เอากระดาษทรายขัดออก ในพื้นที่สวนที่จะปดทองก็ใชยาง มะเดื่อเขียนแลวก็ปดทองไดเลย ก็มีเหมือนกัน สรุปงานชุดตางๆ ที่เกิดขึ้น ก็จะมีทองเขาไป ประกอบเปนสวนมาก - แตสวนที่เปนทองลวนๆ ก็จะตั้งแตชุดที่ทําบนเฟรม บนผาไหม และที่วิหาร แลวอันใดที่ คิดวายากที่สุด ผศ.ลิปกร มาแกว: ก็คงจะเปนชุดพระญามังราย เพราะวาเปนชุดที่แกปญหาไปดวย

ภาพลายคําตอนสิบินนิมิตของนางเทพคําขาย ที่มา หนังสือลายคํา น้าํ แตม

- มันยากที่เทคนิคหรือ ผศ.ลิปกร มาแกว: มั น ยากที่ เ ราเริ่ ม ต น ไง ที่ จ ริ ง ก็ คื อ เรื่ อ งพระญามั ง รายลายคํ า น้ํ า แต ม เราอานจากตํานานพื้นเมืองเชียงใหม ในการคัดตอนใหได ๑๘ รูป ก็คัดเอาตอนสําคัญ เชน เกิด มีกิจกรรมอะไรบาง มีความเปนมาอยางไร ใหไดครบ ๑๘ หอง ไลจากสามเหลี่ยมบนสุด ๓๕


ลงมา คื อ ตั้ ง แต ส วรรค ลงมาดอยตุ ง ลวจั ง กราชไต เ กิ๋ น เงิ น หรื อ บั น ไดเงิ น ลงมาเกิ ด แบบโอปปาติกะ ที่ใตตนพุทรา จากนั้นก็ไลลงมา เกี่ยวของกับเวียงไชยปราการ แลวเราก็ เขียนในเนื้อหาที่เกี่ยวของกับพื้นถิ่นเขาไปดวย เพราะที่เจาะจงที่วัดนั้นเพราะทางวัดเชื่อวา ที่ตรงนั้นคือเวียงเกาของพระญามังราย ไลเรียงพระราชประวัติลงไปจนถึงสวรรคต แลวกลับ ขึ้นไปอยูบนสวรรค ก็คือเปนที่มาที่ไ ปของงาน ปจจุบันก็ยังทําอยู แตก็ยังคิดอยูในใจวาจะ ทดลอง ... คื อตอนที่ไปแสดงงาน Lacquer Asian Art โดยสนใจใน Lacquer Art มันนาสนใจตรงที่คนญี่ปุนก็ใชรักในการยอมกับกระดาษ ซึ่งเปนกระดาษทํามือ แลวมาสราง เปนรูปทรง แลวเอาไฟใสเขาไป แลวเกิดแสงเงา เลยมานึกวา เอ?? ที่จริงนาจะลองเอารักมา เขียนบนผาไหม แลวปดคําดู

ภาพลายคํา ตอนสามกษัตริยพบไชยมงคล ๗ ประการ ที่มา หนังสือลายคํา น้าํ แตม

- แตรักญี่ปุน กับรักบานเรามันคนละอยางกัน ผศ.ลิปกร มาแกว: ก็คงตองใชรักบานเรา... แตรักบานเรานี้ คือที่มาจากเมียนมานะ (หัวเราะ) ก็ใชเอาสิ่งที่มีอยูในบานเรา ก็มีความคิดวาถาเราลองมาละลายดู โดยใชน้ํามันสน หรือน้ํามัน พืช ๓๖


- แลวผลงานทั้งหมด มีความชอบหรือภูมิใจในชิ้นไหนชุดไหนมากที่สุด ผศ.ลิปกร มาแกว: ก็จะเปนชุดพระญามังราย คือเราไดเริ่มตนและไดเรียบรูกับสิ่งที่เราทํา พรอมกับไดเปนองคความรูใหมที่ตอยอดจากองคความรูเดิม และเราก็สามารถแตกออกมา เป น องค ค วามรู ย อ ยๆ อี ก มากในเทคนิ ค วิ ธี ก ารนี้ แต เ ราก็ พ อมี ฐ านความรู ใ นเรื่ อ งนี้ ไดแกปญหาไปดวย - แลวคํา ที่เราใชเอามาจากไหน ผศ.ลิปกร มาแกว: ก็ ค งต อ งมี ชา ง... ในสมั ย ก อ นคงต อ งตี กั น ในชุ ม ชน เพราะมี ชา งเยอะ ปจจุบันจะใชทองอยุธยา ที่มาขายบริเวณบานตําหนัก ทางเสนไปหางดง หรืออีกที่ก็รานแถว หนาโรงพักสารภี - ทองหรือวาคําปจจุบันมีกี่แบบ ผศ.ลิปกร มาแกว: แต เ ดิ ม ก็ มี คํ า หลายแบบ มี คํ า แดง คํ า เหลื อ ง ส ว นมาก็ มี ป ระมาณนี้ สวนปจจุบันมีแยกออกมาคือ ทองสําหรับปดพระ หรือทองเต็ม ทองเต็มก็คือทองที่ตีเปนแผน แลวตัดขอบออก และมันยังมีทองตอ เปนทองสําหรับติดลาย คือสีจะไมสม่ําเสมอกัน เพราะ เอาเศษจากที่ตัดออกจากทองเต็มนั้นเอามาตอกัน ราคามันก็จะถูกกวา ถาปดพระตองใชทอง เต็ม เพราะตองปดใหสม่ําเสมอกัน บายกันประมาณ ๒ มิลลิเมตรถึงจะเรียบสวย สวนปดลาย มันมีลายเล็กลายยอย ไมจําเปนตองใชคําที่มีสีเสมอกันก็ได สวนการตีทองที่บานเราไดยินวามี การตีทองแถวสันทรายแมยอย แตก็ยังไมไดเขาไปดูเหมือนกัน นึกถึงเมืองคานาซาวะ ของ ญี่ปุน ที่วาทําทองที่บางที่สุดในโลก และเฉดทองมีเปนรอยเฉด มีหลายขนาดเชน ๕ x ๕ นิ้ว ก็ มี มีแผนกระดาษที่รองแผนทองที่ดีที่สุด แตเขาใชเครื่องตี ที่มาจากเยอรมัน .- สวนใหญจะใชขนาดใดในการทํางานดานศิลปะ ผศ.ลิปกร มาแกว: สว นใหญ ที่ เ ห็ นก็ จ ะใช ๔ x ๔ หรื อ ขนาดกลาง หรื อเล็ ก ลงมาเป น ๒.๕ x ๒.๕

๓๗


- หากมีใครสนใจในเรื่องลายคํา หากไมใชนักศึกษา จะมาเรียนรูไดอยางไร ผศ.ลิปกร มาแกว: ก็ส ามารถไปที่ บา นแมค รูด วงกมล ใจคํา ปน ที่ บา นนั นทาราม หรือ ไป แลกเปลี่ ย นพู ด คุ ย ได ที่ เ ฮื อ นศิ ล ป ใ จ ย อง และมี ผ ลงานจั ด แสดงอยู ที่ นั่ น ตอนนี้ ท าง คณะศิลปกรรมฯ กําลังทําสื่อการสอนเกี่ยวกับลายคําอยู - แลวสื่อตัวนี้จะเผยแพรไหม ผศ.ลิปกร มาแกว: ก็จะเผยแพรอยู และจะเปดหลักสูตรอบรมระยะสั้น ตองรอตึกใหมเสร็จ กอน - ขอขอบพระคุณครับ

ผศ.ลิปกร มาแกว กับผลงานทีภ่ ูมิใจ ที่มา FB: Lipikorn Art

๓๘


ปุปผาลานนา: บุบฯฯาล้าฯ¢

จอน(ดอก)ผักกาด จ้ฯร(ดฯก)ผัฯกาฯ สลุงเงิน

๓๙


แทน

สําหรับดอกนี้ อาจจะแปลกหูสักหนอยที่ไมไดเรียกวา “ดอก” แตเรียกเปน “จอน”

จอน เปนภาษาลานนา แปลไดวา ดอก นั่นเอง หากแตไมไดใชกับดอกของพืชทั่ว ๆ ไป คําวา “จอน” นี้ จะจําเพาะเจาะจงเอากับ ผักกาดอยางเดียว นอกจากนี้ ยังเรียกผักกาดที่ มีดอกวา ผักกาดจอน อีกดวย มีเจี้ย หรือเรื่องเลาเชิงขบขันเกี่ยวกับผักกาดอยูวา มีวัดอยูวัดหนึ่ง ในฤดูของผักกาด พอออกแมออกศรัทธาทั้งหลายตางนําผักกาดที่ ขึ้นอยูตามทุงตามนา มาจอกิน ตามมีตามเกิด ในชนบทเมื่อมีอันใด ก็กินอันนั้น และก็ ‘ทาน’ อันนั้นดวย ทําใหที่วัดมีแตจอผักกาดกินทุกวัน ๆ จนสวาธุเจาที่วัดออกอาการเบื่อจอผักกาด จับจิตจับใจ คงจะเบื่ออยางที่เพลง ผักกาดจอ ของอายจรัลวาไววา “…โอย กลั๋วแลวตายแลว กลั๋วแลวเจาขา กลั๋วนักกลั๋วหนา กลั๋วจอผักกาด เจาตื่น ขึ้นมา สีมอยไปกาด ซื้อผักกาดมาจอ ใสสมบาขาม ตี้ฝกงอๆ คาบเดียว คาบเดียวบปอ กิ๋นผักกาดจอ จนตองไก ตองปอง ขึ้นเฮือน ขึ้นเฮือนมาตองแตง เปดผอหมอแกง โอะ ผักกาดจอ อายไปแอวสาวบาน เหนือ สาวมักสาบาเขือ กับผักกาดจอ อายไปแอวสาวบานใต สาวมักแคบไข กับผักกาดจอ. นองสาว หนาขาว อลองฉอง ซ้ํามัก น้ําพริกออง กับผักกาดจอ กึ๊ดไป เปนดีไคหุย กิ๋นยาหมูตุย กับผักกาดจอ. หนึ่งจอ สองจอ สามจอ สี่จอ หาจอ หกจอ เจ็ด..จอ ปอกอนหนอ. ผักกาดจอ.” ดวยอารมณเบื่อหนายผักกาดจอ ก็เลยออกมานั่งเลนที่หนาวัด พอดีมีแมออกคน หนึ่งหิ้วปนโตใสอาหารจะเอามาสงที่วัดที่เรียกวา ‘สงซาเขา’ ตุพี่ก็ทักไปวา “เอ??... แมออก วันนี้เอาอะหยังมาสงจา?” “ก็... ตมสมปูเขียวหางดอก นะกาตุ” เพียงไดยินวา ตมสมปูเ ขียวหางดอกเทานั้น ทุพี่ก็ยิ้มออกทันที “แตกาแมออก... อั้น ก็เอาใสตูไวเลยเนอ ยินดีนัก ๆ เนอแมออกเนอ” ดวยความหมายมาดวา วันนี้จักไดกินตมสมไกใหหนําใจ เปลี่ยนรสชาติจากผักกาด จอบาง ครั้นพอถึงเวลาเพล ขะโยมก็หางดาขันขาวเสร็จสรรพ ก็ออกมานิมนตตุพี่ไปฉันเพล ทั น ที ที่ ตุ พี่ เ ป ด ฝาดู กั บ ข า วเท า นั้ น ก็ ต ะโกนโหวกเหวกว า ต ม ส ม ไก ห าย กลั บ กลายเป น “ผักกาดจอ” อยางเดิม ถึงไดถึงบางออวา ‘ปูเขียวหางดอก’ ที่วานั้น หาไดหมายถึงไกไม แต หมายถึงผักกาดจอน ผักกาด มีอยูหลายพันธุ แตที่มีดอก หรือที่เรียกวาผักกาดจอนนี้ มักจะหมายถึง ผักกาดกวางตุง ที่มีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Brassica chinensis Jusl อยูวงศ Cruciferae ๔๐


เปนพืชลมลุกที่ชาวบานมักใชเมล็ดหวานไปตามรองแปลง หรือบนแปลงไปพรอม ๆ กับผักชี และผักกินใบอื่น ๆ ระหวางชองวางของพืชหลักเชน พริก หอม เปนตน ในระหวางที่รอใหพืชหลักที่ปลูกเติบโตเต็มที่ ผักกาดที่หวานก็พรอมที่จะเก็บไป ประกอบอาหารได โดยตั้งแตผักกาดยังตนเล็ก ๆ ใบเขียวไปจน ‘ออกจอน’ หรือแทงดอกสี เหลืองออกมา จ อ นผั ก กาด สี เ หลื อ งชู ชอ อยูในทองทุงนา หากวาทุงนา นั้นมีทั้งผักกาด และผักชีดวยแลว ดอกสีเหลืองของผักกาด และดอก สีขาวของผักชีบานเบงสอดแทรก สับ หว า งกั น เต็ ม แปลง เป น ความ งามเล็ก ๆ นอย ๆ ที่อิ่มเอมใหผอน หายคลายความเหนื่อยเมื่อยลาใน การทํางานลงไดบาง แตความงามของมัน ไม ฉูดฉาด หรือหอมกรุนละมุนละไม แ ล ะ ไ ม มี รั ต น ก วี ค น ใ ด ที่ จ ะ พรรณนาความงามใหเพริศแพร ว ชวนใหเคลิบเคลิ้มใหลหลงได หาก ดอกผักกาดนี้ ปรากฏอยูในธัมม... ธัมมที่วานี้ หาใชธัมมชาดกทั่วไปไม แตเปนถึงเวสสันตรชาดก ฉบับไมไผแจเรียวแดง ในกัณฑมหาราช ตอนที่ทาวปรัมมสัญเชยย ไดไถสองกุมารผูหลาน กัณหาและชาลี จาก พราหมณ เ ฒ า ชูชกะ ดว ยค า ที่พ ระเวสสั น ตระได กํ าหนดไวแ ล ว นั้ น หลั ง จากที่ ส องหลาน พรรณนาถึงความทุกขยากของพระเวสสันตระและพระนางมทรี ทาวปรัมมสัญเชยยก็ใครไป ราธนาใหพระเวสสันตระสึกออกมาครองเมืองสีพีตอไป กอนที่ทาวปรัมมสัญเชยยพรอมกับ พระนางผุสสดี กัณหา และชาลี จะออกเดินทางไปรับพระเวสสันตระและพระนางมทรีที่เขา วงกตนั้น ไดปาวประกาศใหชาวบานชาวเมืองทั้งหลายเตรียมการตอนรับพระเวสสันตระไววา

๔๑


“...เอวํ ราชา ทาวปรัมมสัญเชยยพิจจรณา จตุรงคเสนา ๔ จําพวกแลว ทีนั้นทาว ปรัมมสัญเชยยจักปลงราชอาชญา หื้อประดับประดาหองราชมัคคา อันกวางได ๘ อุสุภคณนา นับเปนวาวาได ๒ รอย ๘๐ วาเปนขนาด แตครุมนอยราชเชตุตตรนคอรไพจุจอด ตอเทารอด เขาวังกตปพพตคีรี มีประหมาณวาได ๖๐ โยชนะคณนา หื้อประดับประดาทุกสิ่ง จิ่งปลงราช อาณัต แกอามาตยบอรบัตวา สูทานทังหลาย จุงจักมารับเอาอาณญาสุภสาร หื้อเอาฅนการมา มวลมาก หื้อเผี้ยวถากซวากทางไพ หื้อเหมือนดั่งหนากลองไชยเรียงราบ บล้ํากวาอามาตยสู กะทําแทดีหลี จิ่งจักมีพระราชคาถาวา ‘ราชา โอโลกิยา ปุปฺผา’ ดั่งนี้ โภนฺโต อมจฺจา ดูราเสนาอามาตย อันมาเตมหองราช สิงสนาม อันลูกคูเจาพระญาเวสสันตระจักไตเตาเขามาเมืองดวยหนทางอันใด หนทางอันนั้น ทานทังหลายจุงประดับประดาหื้อรอดแลว ควรลูกแกวพอจักมา คือวา ปญจมาลา ๕ สิ่ง คือ ดอกทายหานดอกพุดดอกซอน ดอกหยาแพรด ดอกผักกาด แลเขาตอกเปนถวน ๕ ตอนอยู ถาดาผาย ไพกอนหนาลูกคูจักมานั้นเทิอะ...” ดอกผักกาด เปนหนึ่งใน ปญจมาลา ที่ทาวปรัมมสัญเชยยจัดแตงเตรียมดาใหผูคน ประปรายดอกไมทั้งหมดนําหนาขบวนเสด็จของพระญาเวสสันตระตอนเขาเมือง ยามนั้ นดอก ผั ก กาด แม น ไม บ านเบ ง ย อ ยหยาดเยิ้ ม แต ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ร อรั บ โพธิ สั ต ว ที่ จ ะกลั บ คื น เมื อ ง เหมือนกับรอรับสิ่งที่ดีที่งามกลับมาสูตัวตน๚๛

๔๒


�฿ฯคชา: ครัวคชา: โดย คชานนท จินดาแกว

แกฯทูรใส่ปฯา ¦ใบผัฯแฅฯ แกงตูนใสปลาและใบตําลึง หนาฝนเริ่มเขามาแลวอาหารตามฤดูกาล อาหารที่คนภาคเหนือนิยมทํากินกันก็ไม พน แกงตูนกับผักแคบ(ผักตําลึง) ใสปลาหลิม (ปลาชอน) ปลากด ปลาเล็กปลานอย หรือกุง หอยปูปลาที่หาไดตามลําน้ํา หรือทุงนาที่ถูกน้ําทวม เปนอาหารตามฤดูกาลในฤดูฝน และ ในชวงนี้ตนตูนและผักแคบ(ผักตําลึง) กําลังขึ้นงาม ซึ่งการกินอาหารตามฤดูกาล ที่พืชผัก ขึ้นอยูตามธรรมชาติหรือการปลูกผักจําพวกนี้ โดยปลอดสารพิษ ผูเขียนเชื้อวาการกินอาหารที่ หลากหลายและตามฤดูกาล จึงเปนผลดีตอสุขภาพของเรา สวนประกอบของแกงตูนและผัก แคบใสปลา ซึ่งรสชาตของอาหารที่ปรุงนั้นขึ้นอยูกับวัสดุที่นํามาทําอาหารที่สดใหม แกงตูนใสปลา ดูจะเปนอะไรที่เขากัน และถือเปนของคูกันในทันที ในบทจอยมัก กลาวมาเปนคูกันวา “แกงหยวกใสงุน แกงตูนใสปลา น้ําพริกแมงดา บาเขือแจสา” นอกจากนี้ ยั ง มี คํ า สร อ ยในค า วที่ มั ก จะกล า วกั น ในบทค า ว หรื อ ในบทซอว า “แกงปลาใสตูน ลําเพื่อใสสม” นั่นก็แสดงวารสชาติของแกงชนิดนี้จะออกรสเปรี้ยว รสเปรี้ยว ของน้ําแกงจากการปรุงดวยน้ํามะกรูด จะใหรสชาติที่เปรี้ยวหอมอรอยกวาน้ํามะนาว ในสวนของการทําปลาชอนหรือปลากด เพราะปลาทั้งสองชนิดนี้มีน้ําเมือกของปลา ที่มีกลิ่นคาว ใหใชเกลือปน น้ํามะกรูดหรือน้ํามะนาว(อยางใดอยางหนึ่ง) คลุกเคลากอนที่จะ หั่นปลาเปนชิ้น สวนปลาที่หั่นแลวถาเราบีบมากรูดคลุกเคลากอนเวลาแกงปลาจะทําใหเนื้อ ปลาสด ไมเละ และไมคาวดวย วัตถุดิบหลักคือ กานตูน หรือกานคูน ที่เวลาตัดมาแลว ตองปอกเอาเปลือกออก กอน แลวหั่นเปนทอนๆ พอคํา ซึ่งกานตูนนี้เมื่อปอกเอาเปลือกออกแลว ก็จะสามารถกินสดๆ ได เปนผักที่ใชเปนเครื่องเคียงพวกตําผลไมที่มีรสเปรี้ยว และนํามาแกง นอกจากนี้จะตองมีการเตรียมผักแคบ หรือผักตําลึง เด็ดและลางน้ําใหสะอาด ใบแมงลัก (ทางภาคเหนือกอมกอขาว)

๔๓


เครื่องปรุง เนื้อปลาชอนหรือปลากด หรือปลาเล็กปลานอย ตนตูนที่ปอกเปลือกแลวหั่นเปนชิน้ ผักแคบ(ผักตําลึง) เด็ดกานใบ ใบแมงลักหรือใบอีตู(กอมกอขาว) มะกรูด(สวนอีกหนึ่งลูกใหใชบีบคลุก เคลากับปลาที่หั่นไว) มะเขือเทศลูกเล็ก น้ําเปลา

๒๐๐ กรัม ๑ ถวย ๒ ถวย ๑/๔ ถวย ๒ ลูก ๕ ลูก ๓ ถวย

๔๔


น้ําพริกแกง พริกสดเม็ดใหญ(พริกหนุม) หรือพริกชี้ฟา ตะไครหั่นฝอย ขมิ้นสดหั่นชิ้นเล็ก หอมแดงแกะเปลือก กระเทียมแกะเปลือก เกลือทะเลปน กะปอยางดี ปลารา

๕ เม็ด ๗ เม็ด ๓ ชอนโตะ ๑ ชอนโตะ ๓ หัว ๑ หัว ๑ ชอนชา ๑/๒ ชอนโตะ ๑ ชอนโตะ

โขลกขมิ้น กอนและตามดวยตะไครให ละเอียด และทั้งหมดเขาด วยกัน (วัส ดุ เครื่องปรุงจะใสมากกวานี้แลวแตผูปรุงอาจชอบรสชาติเขมขน ก็ใหเพิ่มอัตราสวนตามชอบ) วิธีทํา ๑. ตั้งหมอแกง ใสน้ําใหเดือดใสตูนลงไป ตมใหสุกและเติมน้ําพริกแกงที่เตรียม ไว ๒. เมื่อน้ําแกงเดือดแลว ใสปลาชอนหรือ ปลากด หรือปลาเล็กปลานอยลงไป (ขอใหน้ําเดือดเพื่อปลาจะไมคาว) ๓. ตามดวยผักแคบ(ผักตําลึง) และใบ แมงลัก หรือผักอีตู(กุมกอสม) แลวยก ลงตามดวยน้ํามะกรูด น้ําปลา ชอบ เปรียวหรือเค็มตามใจชอบ

๔๕


แวฯบ¶ฯ มทร.ล้าฯ¢ แวดบาน มทร.ลานนา

ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มทร.ลานนา

- โครงการนิท รรศการใตร ม มงคลแห งราชา รอยยาตราด ว ยศาสตรแ ละศิ ลป ในวั น ที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเปนการเผยแพรความรู จากการทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ใหแกคณาจารย บุคลากร และนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ศูนยวัฒนธรรมศึกษา รวมดวย คณะศิลปกรรม และสถาปตยกรรมศาสตร จัดโครงการจัดกิจกรรมสงเสริมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร ในงานประเพณียี่เปง จังหวัดเชียงใหม ในวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ -

๔๖


- จัดโครงการงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๗ “สานศิลป ถิ่นสองแคว” ในระหวาง วันที่ ๑ – ๓ กุมภาพันธ ๒๔๖๐ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยงานนี้ไดนําการ แสดงชุด “นบเกลาไหวสา พระธาตุแกงสรอย” ไปแลกเปลี่ยนเรียนรูในงานดังกลาว

- ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา จัดโครงการนิทรรศการและ สงเสริมคุณธรรม อุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ระหวางวันที่ ๑๕ – ๒๓ กุมภาพันธ ๒๕๖๐ ในงานจัดกิจกรรม “ธัมมนวราตรี ศรีราชมงคลลานนา” มีการ สวดมนต และฟงพระธรรมเทศนาจากพระนักเทศน เพื่อสงเสริมคุณธรรมใหกับคณาจารย บุคลากร และนักศึกษา

๔๗


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย - โครงการขวงวัฒนธรรมราชมงคลลานนา สืบสานตํานานภูมิปญญาทองถิ่น เชียงราย ครั้งที่ ๓ กิจกรรม ตานกวยสลาก วันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ณ ลานกิจกรรมตึกศึกษา มทร. ลานนา เชียงราย โดยศูนยวัฒนธรรมศึกษา เชียงราย รวมกับ กลุมวิชาสังคมศาสตร และคณะ บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มทร.ลานนา เชียงราย

- โครงการ วัน สถาปนามหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล านนา เชียงราย ใน วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๐ ณ ลานธรรมพระเจาทันใจ มทร.ลานนา เชียงราย โดยศูนยวัฒนธรรม มทร. ลานนา เชียงราย จัดโครงการวันสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย (พิธีทําบุญเนื่องในวันครบรอบการกอตั้ง ๒๒ ป และครบรอบวันสถาปนามหาวิทยาลัย ๑๒ ป) โดยไดรับเกียรติจาก ผูชวยศาสตราจารยอุดม สุธาคํา รองอธิการบดี มทร.ลานนา เชียงราย เปนประธาน ณ ลานธรรมพระเจาทันใจ มทร.ลานนา เชียงราย กิจกรรมในชวงเชาประกอบ พิ ธี บ วงสรวงเทพไท เ ทวาและสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ พิ ธี บํ า เพ็ ญ กุ ศ ลแด พ ระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุลยเดช และพิธีสืบชะตาหลวง

๔๘


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก รวมจัดงานประเพณีลอยกระทงสายไหล ประทีป ๑,๐๐๐ ดวง ประจําป ๒๕๕๙ ระหวางวันที่ ๑๒ - ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ภายใต แนวคิด “ประทีปทองสองธารา เลิศราชาแหงมหานที” เพื่อนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และจัดนิทรรศการนอมสํานึกใน พระมหากรุณาธิคุณฯ และประเพณีลอยกระทง ๓ ยุค ประกอบดวย “ประทีปทองสองธารา” “บูรพประทีป” และ “ประทีป ๑,๐๐๐ ดวง” ใหประชาชนและนักทองเที่ยวไดรับชม

- มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนา ตาก ร ว มจั ด ขบวนแห พิ ธี เ ป ด งานตากสิ น มหาราชานุสรณ และงานกาชาดจังหวัดตาก ประจําป ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ และจัดนิทรรศการ นอมระลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได และนิทรรศการเรียงรอยเรื่องราวจากปฐม อาชีพชางไมตาก สู มทร.ลานนา ตาก ครบรอบ ๘๐ ป ระหวางวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ วันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๐ ไดรับความสนใจมากมายจากประชาชนและนักทองเที่ยว และไดรับ รางวัลชนะเลิศผลการประกวดการออกรานประจําปของหนวยงานตางๆ ของจังหวัดตากใน งานฯ อีกดวย

๔๙


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน กิจกรรมเดินเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ วั น เสาร ที่ ๑๘ กุ ม ภาพั น ธ ๒๕๖๐ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนา น า น จัดกิจกรรมเดินเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดวยสํานึก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ เปน ล น พ นที่ พ ระบาทสมเด็ จพระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯในรัชกาลที่ ๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จแทนพระองค พระราชทานปริญญาบัตรใหแกบัณฑิต และมหาบัณฑิตตอเนื่องทุกป และเพื่อรายไดเพื่อทูลเกลาถวายโดยเสด็จพระราชกุศลตาม พระราชอั ธ ยาศั ย โดยมี รศ.ดร.คมสั น อํ า นวยสิ ท ธิ์ รองอธิ ก ารบดี มทร.ล า นนา น า น เปนประธานในพิธี ซึ่งกิจกรรมในครั้งนี้ มีห นวยงานภายนอกเขารวม ไดแก ป องกันและ บรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนาน มณฑลทหารบกที่ ๓๘ ตางก็สํานึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ พระองคทานทรงมีตอชาวราชมงคลลานนา และชาวจังหวัดนาน กิจกรรมดังกลาวจัดขึ้น ณ บริเวณหนาอาคารอํานวยการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน หลังจากเดิน กิจกรรมเสร็จสิ้นแลว ยังมีการจับสลากหางบัตรอีกดวย ๕๐


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก - ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มทร.ลานนา พิษณุโลก จัดนิทรรศการเรื่อง “ขาวเพื่อชีวิตและภูมิ ปญญาไทยที่มาจากขาว” ณ ศูนยเรียนรูเรื่องขาวและภูมิปญญาไทย และออกทํากิจกรรม รวมกับชาวบานวัดเดนโบสถ เพื่อใหนักศึกษา บุคลากร และประชาชนมีความรูเรื่องขาว และ ความสําคัญของขาวที่มีมาแตโบราณ รวมถึง สามารถนําขาวมาตอยอดภูมิปญญาไทย

- ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มทร.ลานนา พิษณุโลก รวมกับหนวยงานในจังหวัดพิษณุโลก เจริญ พระพุ ท ธมนต อ ธิ ษ ฐานจิ ต เพื่ อ เป น พระราชกุ ศ ลแด พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก

๕๑


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เปนเจาภาพถวายกฐินประจําปของมหาวิทยาลัย โดยในป ๒๕๕๙ นี้ มีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลําปาง เปนเจาภาพหลัก ทอดถวาย ณ วัดมิ่งเมืองมูล ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลําปาง เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๙

- ศู นย วั ฒนธรรม มทร.ล านนา ลํ าปาง จั ดงานวั นวั ฒ นธรรม ขึ้น เมื่อ วั นที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๐ เพื่ อ ส ง เสริ ม ให นั ก ศึ ก ษาในด า นการมี ส ว นร ว ม ความสํ า นึ ก คุ ณ ค า ด า นประเพณี วัฒนธรรม อันดีงามของชาวไทยและเนนการบูรณาการ การเรียนการสอนกับงานดานทํานุ บํารุงศิลปวัฒนธรรม

๕๒




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.