เวียงเจ็ดลิน ปีที่ 6 ฉบับที่ 1final

Page 1



วฯงเจัฯลฯิ เวียงเจ็ดลิน ปที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (๒๕๕๙) ปกหนา – ปกหลัง จิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร อ.เมือง จ.นาน

คํ¶ฯบฯกแจ้ฯ คําบอกแจง

เวียงเจ็ดลิน เปนวารสารขอมูลทางศิลปวัฒนธรรม ที่ทางศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดทําการศึกษา คนควาและเรียบเรียง เพื่อเปน การนําความรูนั้น ไปสูผูที่สนใจและบุคคลทั่วไปใหไดรับทราบขอมูลอันเปนประโยชนใน การศึกษาและสามารถนําไปพัฒนาตอยอดได ในฉบับนี้ เปนการนําเสนอองคความรู ที่มีความหลากหลายเนื้อหา สาระ และ หลากรสชาติ หากเลมเปนเปนอาหารจานหนึ่ง ก็จะเปนอาหารที่มีความกลมกลอมและ ครบรสอยูในที ในเลมนี้ไดมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปเลม ใหมีความนาอาน และงาย ตอการพกพา เหมาะสําหรับทุกคนทุกวัย และสามารถรวมสนุกกับทางศูนยวัฒนธรรม ศึกษานี้ได อยางไรก็ตาม ขอใหทานมีความสุข ไดรับความรูและสุนทรียะไปพรอมกันใน เลมนี้เถิด ดวยจิตคารวะ ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา “เวียงเจ็ดลิน” เจาของ : ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ที่ปรึกษา: ชัยปฐมพร ธนพัฒนปวงวัน, วิภาพรรณ ติปญโญ, คชานนท จินดาแกว

และหัวหนาศูนยวัฒนธรรมศึกษา ทุกเขตพื้นที่ บรรณาธิการ: ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว กองบรรณาธิการ: วันทนา มาลา, อุไรพร ดาวเมฆลับ พิสูจนอกั ษร: วิภาพรรณ ติปญ  โญ ออกแบบจัดทํารูปเลม: ธนพล มูลประการ พิมพที่: แม็กซพรินติ้ง (MaxxPRINTIMG) โทร. ๐๘๙-๖๓๕๖๔๑๓, ๐๕๓-๒๒๑๐๙๗ ๑๔ ถ.ศิริมังคลาจารย ซ.สายน้าํ ผึง้ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม ๕๐๒๐๐


เส้ฯหฯาฯหฯ้า สารบัญ คําบอกแจง สารบัญ บทความ การจัดการความรูจากแนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง ฐานขอมูลทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น สู AEC หอธรรม สถาปตยกรรมที่ถูกลืม “เมืองนาน” : ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง ปุปผาลานนา ดอกอาว “..นอนวัดจําศีล...ภาพลานนาวิถี..ที่กําลังเลือนหาย..” ครัวคชา แกงฮังเล แวดบาน (มทร.)ลานนา ขวงเหลน

๑ ๒ ๓ ๗ ๑๕ ๔๒ ๔๕ ๕๐ ๕๓ ๕๖


กาฯจัฯกาฯฅฯาฯรู้จาฯแนฯบฏิบัตฯิ์ทีดี เริฯง ฐาฯขํ�ฯมูล์ท¶ฯฯศิลฯวัฑฯนธัมฯ์¦ภูมิบ¡าท้ฯงถิฯสู่ AEC บทความ การจัดการความรูจากแนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง ฐานขอมูลทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นสู AEC ถอดองคความรูโดย อุไรพร ดาวเมฆลับ * 0

วัฒนธรรม คือทุกสิ่งที่เกิดขึ้นจากการกระทํา ความเชื่อ ซึ่งสะทอนถึงตัวตนของกลุม บุคคล ประเพณี คานิยม ที่แสดงออกมาในรูปแบบที่ตางกันไปของแตละภูมิภาค เรียกวาเปน ความหลากหลายของวัฒนธรรม ซึ่งการบริหารจัดการแตละภูมิภาคมีทั้งสวนที่คลายกันและ สวนที่ตางกันออกไปอยูหลายอยาง รวมไปถึง ยุคสมัยปจจุบันไดมีการนําเอาเทคโนโลยีเขามา ผสมผสานเพื่อใหเขาถึงขอมูลไดงายยิ่งขึ้น ภู มิ ป ญ ญาชาวบ า นและองค ค วามรู ซ อ นอยู ใ นแต ล ะท อ งถิ่ น หากมี ก ารจั ด ทํ า ฐานขอมูลทางศิลปวัฒนธรรมแตละทองถิ่น ก็จะมีประโยชนตอการศึกษาและการสืบสานได โดยสะดวกขึ้น จากขอมูลที่ไดรับในการประชุมสัมมนาการจัดการความรู ระหวางมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ทั้ง 9 แหง รวมกับ สถาบันการพลศึกษาและสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป สามารถสรุปขอมูลในดาน การจัดการฐานขอมูลทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นสู AEC โดยแบงเปนภูมิภาคตางๆ ดังนี้ ภาคเหนือ : มทร.ลานนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : มทร.อีสาน ภาคกลาง : มทร.กรุงเทพ, มทร.พระนคร, มทร.สุวรรณภูมิ, มทร.รัตนโกสินทร, มทร.ธัญบุรี ภาคตะวันออก : มทร.ตะวันออก ภาคใต : มทร. ศรีวิชัย, สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป

*

นักวิชาการศึกษา ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา


ภูมิภาค ภาคเหนือ

กระบวนการ แนวทางการดําเนินการ (กลยุทธ trick & technic) มีกระบวนการ แนวทางการดําเนินการในการจัดการฐานขอมูล ดวยการรวบรวมขอมูลทางดานศิลปวัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่น ในแต ละจังหวัดที่มีพื้นที่ของมหาวิทยาลัยตั้งอยู เพื่อสะดวกตอการดําเนินการ จัดเก็บขอมูล หลังจากนั้น นําองคความรูที่ไดมาเรียบเรียงในรูปแบบของ เอกสาร วารสาร สื่อตางๆ และเผยแพรองคความรู ผานชองทางตางๆ เชน วารสารของมหาวิทยาลัย เว็บไซต สื่ออิเล็กทรอนิกส โซเชี่ยลมีเดีย ตางๆ ภาค เนื่องจากมีจุดเดนในการเชื่อมความสัมพันธระหวางไทย ลาว และ ตะวันออกเฉียง กัมพูชา อยางตอเนื่อง ในการเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน เหนือ นั้น ดําเนินการโดยนําวัฒนธรรมเรื่องขาว ซึ่งเปนวัฒนธรรมที่มีรากฐาน เดียวกันของประเทศ ลุมแมน้ําโขง ทั้ง 6 ประเทศ มาเปนแนวทางใน การเชื่อมความสัมพันธและแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกัน ภายใตวิถี วัฒนธรรมชาวพุทธ ระหวาง จีน เมียนมาร สปป.ลาว ไทย กัมพูชา และ เวียดนาม มี อ งค ค วามรู ที่ เ ชื่ อ มโยงวั ฒ นธรรมท อ งถิ่ น อี ส านผนวกกั บ ศิลปวัฒนธรรมของประเทศลุมแมน้ําโขง โดยใชวัฒนธรรมของชาวพุทธ เปนแกนกลางในการเชื่อมโยง โดยนําศิลปวัฒนธรรมเหลานี้มาเผยแพร ในงานเทศกาล เชน วันสงกรานต แหเทียนพรรษา ภาคกลาง กําหนดโครงสรางการดําเนินงานศิลปวัฒนธรรมใหชัดเจน สราง เครือขายทางศิลปวัฒนธรรม บูรณาการศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการ สอน การวิจัย และการบริการวิชาการ จัดตั้งศูนยวัฒนธรรมเพื่อรวบรวม องค ค วามรู ท างศิ ล ปวั ฒ นธรรมในห อ งภู มิ ป ญ ญาไทย มี ง านวิ จั ย ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น จากวิ ถี ชี วิ ต ของชุ ม ชน รวบรวมองค ค วามรู ท าง ศิล ปวั ฒ นธรรมจากกิ จ กรรมการจั ด การองค ค วามรู จ ากทฤษฎี สู ก าร ปฏิ บัติ บทความวิ ชาการทางศิล ปวัฒ นธรรม งานวิ จัย และแผนงาน พิเ ศษของนั ก ศึก ษาดา นศิ ล ปวั ฒ นธรรม เพื่ อ จั ดทํ า ฐานข อ มู ลในคลั ง ปญญาของมหาวิทยาลัยทั้งภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมศิ ล ปวั ฒ นธรรมนานาชาติ รวบรวมผลงาน ศิ ล ปกรรมจากศิ ล ป น แห ง ชาติ เพื่ อ จั ด ทํ า ทะเบี ย นรู ป และจั ด เก็ บ ใน ฐานขอมูลเพื่อการสืบคน


มีการถายทอดองคความรูโดยปราชญชาวบาน เพื่อสรางความ เขมแข็งใหเยาวชนเห็นถึงความสําคัญของรากเหงาในศิลปวัฒนธรรมไทย กอนที่จะรับวัฒนธรรมจาก AEC การบู ร ณาการเทคโนโลยี เ ชิ ง สร า งสรรค กั บ ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น สรางเครือขายทางดานศิลปวัฒนธรรมรวมกับหนวยงานภายนอก จัด กิจกรรมสนับสนุนงานศิลปวัฒนธรรม และสรางการเรียนรูระดับชาติ ภาคตะวันออก มี แ นวทางการดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด การฐานข อ มู ล ทาง ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นสู AEC ดวยการอบรมใหความรู เรื่องศิลปวัฒนธรรมและแนวทางพัฒนา การสงเสริมใหบุคลากรของ มหาวิ ทยาลั ยเข ารวมอบรมการทําเว็ บไซต และการจัดทํ าฐานขอมู ล ทางดานศิลปวัฒนธรรม รวมไปถึงการสงเสริมใหบุคลากรและนักศึกษา ตระหนักถึงความสําคัญของการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เริ่มจัดทําฐานขอมูลในเว็บไซต โดยอบรมการดําเนินงานจัดทํา ฐานขอมูล นําเสนองานวัฒนธรรมทองถิ่นในแตละวิทยาเขต เพื่อเก็บ รวบรวมองคความรู ภาคใต ใชวัฒนธรรมเปนตัวตั้งในการขับเคลื่อนเชื่อมโยงบูรณาการทุก ศาสตร สูชุมชนในแตละทองถิ่น ดวยการลงพื้นที่สรางความเขาใจอยาง แทจริง ดวยวิถีชีวิตที่ยั่งยืน เชน ชุมชนรําแดง ตลาดน้ําคลองแดน เพื่อ เพิ่มมูลคาทางศิลปวัฒนธรรม โดยใชทรัพยากรในทองถิ่น ไดแก ขาว โหนด นา เล คน เพื่อการบูรณาการสูงานวิจัย งานบริการวิชาการตอ สังคมอยางยั่งยืน มุ ง เน น งานด า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมโดยตรง มี ก ารสร า งสรรค ง าน ศิลปะการแสดง ของนักศึกษาทุกป ในการเรียนการสอน มีการบริหาร การจั ด การความรู บั น ทึ ก องค ค วามรู เ ป น วี ดี ทั ศ น เพื่ อ จั ด ทํ า เป น ฐานขอมูลจากครูภูมิปญญาทองถิ่น บูรณาการสูการเรียนการสอน ปจจัยที่สงผลใหเกิดความสําเร็จในดานการจัดการฐานขอมูลทางศิลปวัฒนธรรมและภูมิ ปญญาทองถิ่นสู AEC ประกอบดวย 1) การตระหนักถึงความสําคัญและเขาใจในเปาหมายของการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และเห็นความสําคัญขององคความรูและการรวบรวมองคความรู 2) การใหการสนับสนุนดานงบประมาณในแตละสถาบันทางการศึกษา ๕


3) การมีสวนรวมของชุมชนจากปราชญชาวบานและการถายทอดองคความรูจากครูภูมิ ปญญาทองถิ่น 4) การทุมเทการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมของบุคลากรเพื่อการบูรณาการสูสังคม 5) การทํางานเปนทีมของบุคลากรในการรวบรวมองคความรู 6) มีการดําเนินงานและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมอยางตอเนื่องในการสรางและ รวบรวมองคความรู เพื่อเผยแพรในสื่อตางๆ สู AEC ในรูปแบบ 2 ภาษา 7) ความเขาใจในเปาหมายที่ชัดเจน รวมถึงวิสัยทัศนในการทํางานทีแ่ ทรกซึมเขาไปเปน วัฒนธรรมองคกร 8) มหาวิทยาลัยฯ ตั้งอยูในเมืองโบราณและในพื้นที่เปนแหลงวัฒนธรรมที่มีความเปนมา ยาวนาน และ มีความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบานตั้งแตอดีตกาลจนถึงปจจุบัน อีกทั้ง ยัง ไดรับการสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยฯ ในการนําเทคโนโลยีเขามาบริหารจัดการงานทางดาน ศิลปวัฒนธรรม ถึง แมจ ะมีห ลายป จจั ย ที่ทํ า ให เ กิด ความสํา เร็จ ในการบริ หารการจั ด การความรู ทางดานวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาทองถิ่นสู AEC อยางไรก็ตามกระบวนการดําเนินงานยังเกิด ปญหาในหลายๆ ดาน ที่อาจทําใหการดําเนินงานไมเปนไปตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว เชน ชุมชนที่มีสวนเกี่ยวของในการเขารวมถายทอดองคความรูยังขาดทักษะที่เพียงพอตอการ ถายทอดขอมูล ปญหาในดานความตางวัยของผูสืบทอดศิลปวัฒนธรรมและครูภูมิปญญาซึ่ง อาจเกิดความเขาใจคลาดเคลื่อนในการสื่อสารและสืบทอด ความสูงวัยของครูภูมิปญญา หาก ไมรีบดําเนินการถอดองคความรูใหอยูในรูปแบบของขอมูลดิจิทัลอาจสูญเสียองคความรูที่ดี ของครูภูมิปญญา หรือปราชญชาวบานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะในศาสตรตางๆ ทางดาน ศิลปวัฒนธรรม ถึ ง กระนั้ น ก็ ต าม ใช ว า จะไม มี แ นวทางในการพั ฒ นาต อ ไปอนาคต สิ่ ง ที่ จ ะต อ ง ดําเนินการเปนอันดับแรกเพื่อปรับปรุงแกไขปญหาที่เกิดขึ้นและเพื่อสรางแนวทางพัฒนา คือ การจัดเก็บ รวบรวมองคความรูในสื่ออิเล็กทรอนิกส ของทั้ง 9 มทร. รวมกับ สถาบันการพล ศึกษาและสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป เพื่อจัดเตรียมฐานขอมูลที่สามารถสืบคนไดอยางสะดวก และรวดเร็ว รวมไปถึงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการฐานขอมูล ที่ตองอาศัยความรวมมือ ของเครือขาย 9 มทร. สถาบันการพลศึกษาและสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ทั้งภาคภาษาไทย และภาคภาษาอังกฤษสู AEC เพื่อใหเปนขอมูลองคความรูที่เกิดประโยชนสามารถสืบทอด และอนุรักษศิลปวัฒนธรรมตอไป


dหํฯธมฯ์ สถาบัตฯกัมฯ์ทีถูกลืฯl หอธรรม สถาปตยกรรมที่ถูกลืม * 0

ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว ** 1

หอธรรม หรือหอไตร เปนอาคารที่ใชเก็บคัมภีรทางพระพุทธศาสนา โดยคําวา “หอ ไตร” เปนคําที่ทางภาคกลางของไทยใช โดยจะหมายถึงหอที่เก็บพระไตรปฎกเปนสําคัญ สวน ในทางลานนา จะใชคําวา “หอธรรม” อันเปนที่เก็บคัมภีรทางพระพุทธศาสนา ทั้งที่เปนพระ ไตรปฏก และพระธรรมอื่นๆ นอกเหนือจากพระไตรปฏกที่โบราณาจารยไดรจนาขึ้นดวย ฉะนั้นการเรียกวาหอธรรมจึงกินความหมายที่กวางกวา แตโบราณ การเรียกชื่อหอธรรม อาจจะมีการเรียกหลากหลาย หอมณเฑียรธัมม มณฑกไวพระธัมม บางโดย ศ.ดร.อุดม รุงเรืองศรีไดสันนิษฐานวาอาจจะมีการสรางหอธรรม พรอมกับการสรางพระไตรปฎกขึ้นในสมัยหริภุญไชย แมวาจะไมไดระบุวามีการสรางหอธรรม ๑ ขึ้นก็ตาม การสรา งหอธัมม ในอดีตนั้ นนอกจากจะเป นการสร างอาคารที่ ใชเ ก็บคั มภีร ทาง ศาสนาแลว ก็จะจําเปนตองมีการสราง หรือถวายพระธรรมไปดวย โดยมีสิ่งที่เกี่ยวของตางๆ ดังนั้น มี ใ บลานที่ ใ ช จ ารพระธรรมด ว ยอั ก ษรในท อ งถิ่ น นั้ น เช น อั ก ษรธรรมล า นนา อักษรไทยใหญ อักษรไทลื้อ อักษรไทขืน อักษรพมา เปนตน ที่เปนการบันทึกพระธรรมคํา สอน ทั้งที่เปนบาลี และโวหารสํานวนทองถิ่นตางๆ เมื่อจารใบลานแตละใบแลวก็รอยดวย เชือกที่เรียกวา สายสนอง หรือสายสยอง มัดใหเปนผูก และติดขนาบไวดวยไมประกับธรรม 2

*

บทความชิน้ นี้ เปนบทความประกอบ โครงการเผยแพรองคความรูงานสถาปตยกรรมลานนา “หอ ธรรมลานนา สู ๗๒๐ ป เมืองเชียงใหม” วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๙ ณ ลานกิจกรรม ชั้น ๔ ศูนยการคา เมญา จังหวัดเชียงใหม จัดโดยสาขาสถาปตยกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปตยกรรมศาสตร และศูนย วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ** นักวิชาการศึกษา ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ๑ อุดม รุงเรืองศรี. หอธัมม ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ เลมที่ ๑๔. (กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สารานุกรมวัฒนธรรมไทย), หนา ๗๕๐๐ ๗


ประกบไวสองดาน จากนั้นก็หอดวยผาหอคัมภีร มัดเก็บพรอมกับเสียบไมบัญชัก ไวแสดง รายการคัมภีรที่หอไว จากนั้นก็จัดเรียงลงในหีบธรรม และเก็บรักษาไวในหอธรรม ฉะนั้นการสรางหอธรรม วัตถุประสงคหลัก หรือหนาที่หลักของตัวอาคารก็คือ ที่เก็บ รักษาพระธรรมคัมภีร เปนสําคัญ แตบางทีผูที่สรางถวายอาจจะมองเห็นในเรื่องอานิสงสเปน สําคัญ รองลงมาจากหนาที่หลักของตัวหอธรรม การสราง การถวาย หรือการทํากิจกรรมสิ่งหนึ่งสิ่งใดอันเนื่องกับพระพุทธศาสนา ในลานนา นิยมสรางธรรมประเภท “อานิสงส” ประกอบดวยเสมอ เพื่อเปนการตอกย้ํา หรือ โฆษณาชวนเชื่อถึงผลที่ไดจากการทําบุญ ดังในธรรม “อานิสงสสางหอธัมมเปนทาน” ฉบับวัด บุญยืน อ.เวียงสา จ.นาน ๒ ไดกลาวถึงอานิสงสของการสรางมณฑก (มณฑป) ไวเปนที่เก็บพระ ธรรมและเขียนธรรมถวายไวค้ําชูศาสนาวา เมื่อสิ้นจากภาวะชาตินี้ไปแลว จะไปเกิดในสวรรค ชั้นดาวดึงส ดวยผลแหงการสรางมณฑกนั้น เมื่อจุติจากสวรรคชั้นดาวดึง ก็จะไปเกิดเปนลูก ของทาวพระญามหากษัตริย ขณะเกิดนั้นก็มีฝนหาแกว หรือ รัตนะ ๗ ประการตกจากฟาดุจ ดั่งห าฝน ด วยอานิส งส แหง การสร างมณฑกนั้น เช นกัน นอกจากนั้ นแลวยั งมีเ ทวดา นาค ราชสีห ชาง เจาประเทศราช ตางนําของวิเศษมาบูชาอยางไมขาดสาย ดวยธรรมอานิสงสเหลานี้ เปนสิ่งที่สรางแรงผลักดันในการสรางหอธรรมขึ้น (หากไม นับ เป นการสรา งอาคารที่ เก็ บ รั ก ษาคั ม ภี ร) โดยเฉพาะการปรารถนาถึ ง นิพ พาน อั น เป น เปาหมายหลักของพระพุทธศาสนา นอกจากจะไดสมบัติในระดับโลกียะตามที่โพธิสัตวไดรับ ในธรรมอานิสงส แตสุดทายก็เขาถึงนิพพานในที่สุดเชนกัน ดังปรากฏในคําปรารถนาของ ผูสรางหอธรรมในยุคตางๆ ดังจะขอยกตัวอยางมาบางหลัง ดังนี้ การสรางหอธัมมมณเฑียรของวัดพระธาตุหริภุญชัย ในสมัยของพระเมืองแกวและ มหาเทวี ในปพ.ศ.๒๐๔๗ เมื่อมีการสรางแลวถวายเปนพระราชกุศลแดสมเด็จมหาราชเจาทั้ง สองพระองค ดัง นี้ “ด วยพระราชกุศลอนันตเจตนาฝูงนี้ จุงใหสมเด็จมหาราชเจาทั้ งสอง พระองค ทรงธนสารสองประการ คืออัชฌัตติกพาหิรธนอันบริบวรณดี และมียศเดโชชัย บมี ใครจักเปรียบไดทุกกําเนิด เกิดเปนดุจกัลปพฤกษแกสกลชนเทพคณา และทรงปรัชญาอัน เฉลียวฉลาด อาจตรองครัสอรรถธรรมบมีเศษ แลไดเทศนาสั่งสอน อมรนรนิกรทั้งผอง จุงไดลุ 3

ชื่อเรื่อง อานิสงสสางหอธัมมเปนทาน เลขรหัส 0793 จากเว็บไซด ttp://lannamanuscripts.net ๘


ถองศรีสมบัติสวัสดีทั้งมวล บควรจักคณนา มีมหานิโรธโพธิญาณเปนปริโยสาน ในอนาคตกาล เทาวัน” ๓ จารึกวัดแสนฝาง พ.ศ.๒๔๓๑ ที่กลาวถึงการสรางหอไตรวัดแสนฝาง โดยเจาอาวาส และพระเจาอินทวิชยานนท ไดปรารถนาไววา “ไดมาริรังสรางแปงยัง โกศธรรมกรัง โรงธรรม ไวค้ําชูวรพุทธศาสนาในวัดแสนฝางที่นี้ตราบ ๕,๐๐๐ พระวรรษา ขอจงเปนปรโมปกตุอุปนิสัย เปนป จจัย(ให) วายรอดจอดถึง เวียงแกวยอด กลาวคือวา อมตะมหานครเนรพาน แกผูข า ทั้งหลายแทดีหลีแดเตอะ นิพฺพานปจฺจโย โห(ตุ)เม นิจฺจํ ธุวํ ธุวํ แดเตอะ” ๔ จารึกวัดเกตการาม พ.ศ.๒๔๒๑ กลาวถึงการสรางหอไตรปฎก โดยเจกมาน และ นางแหวด โดยเขียนเปนภาษาบาลี แปลไดความวา “ผูขาทั้งหลายไดสรางยังหอธรรม ทรง มณฑปอันประดับดวยแกวมณีและทองเหลืองอรามเปนที่นาชื่นชม ไวค้ําชูสาสนาตราบเทา ๕,๐๐๐ พระวรรษา ดวยบุญนี้ผูขาทั้งหลายจงไดสมบัติทั้งปวง ทั้งที่เปนโลกิยะและโลกุตระ ที่ โจรแยงเอาไปไมได และไมสาธารณแกบุคคลอื่น แลวขอใหผูขาทั้งหลายชายหญิง จงไดเปน อรหันตา พระอรหันตี ถึงมรรคญาณ ขอบุญกุศลอันนี้จงเปนปจจัยแหงพระนิพพาน แกผูขา ทั้งหลายเที่ยงแทเทอญ” ๕ จารึก วัดสัน ทรายหลวง พ.ศ.๒๔๗๑ ที่ พระญาณะ เจาอาวาสวัดสัน ทรายหลวง พร อ มทั้ ง ภิ ก ษุ สามเณร ศรั ท ธาประชาชนร ว มกั น สร า งหอพระธรรมขึ้ น ว า เป น การค้ํ า ชู พระพุทธศาสนาใหอยูถึง ๕,๐๐๐ พระวรรษา ดังที่วา “การกอสรางก็สําเร็จบรมวลแลว ก็ได พรอมกันฉลองทําบุญเปนปางใหญ ยกเอาหอพระธรรมไตรปฎกถวายเปนทานถึงพระแกวเจา 4

5

6

ลพ.๑๕ . ใน จารึกลานนาภาค ๒ เลม ๑ – ๒ : จารึกจังหวัดเชียงใหม ลําปาง ลําพูน และแมฮองสอน. (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร,๒๕๕๑) หนา ๓๐๐ – ๓๐๑ ๔ จารึกวัดแสนฝาง พ.ศ.๒๔๓๑. ใน ประชุมจารึกลานนา เลม ๑๐: จารึกในจังหวัดเชียงใหมภาค ๒. (เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๘) หนา ๑๒๖ ๕ จากตนฉบับภาษาบาลีวา “อิมินามณฺฑปคารํ มณีกาจ สุวณฺณ คณฺฑิกา ภิริมปตฺต ธมฺมธรทานํ ชินโชตก สาสนา ยาวปฺจ สหสฺสวสฺส นิ อเภชฺช (อส)ทารณ สพฺพโลกิย โลกุตฺตร สพฺพสมฺปตินํ อรหนฺต อรหนฺติ มคฺคญานํ ทินฺนํ นิพฺพานปจฺจโย โหตุ โน นิจฺจํ” ใน ประชุมจารึกลานนา เลม ๑๒ :จารึกในจังหวัด เชียงใหมภาค ๔. (เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๘) หนา ๖๔ – ๖๕ ๙


๓ ประการ ในวัดสันทรายหลวงที่นี้ เพื่อหื้อเปนศาสนูปถัมภก สืบอายุพระพุทธศาสนาตราบ ตอเทา ๕,๐๐๐ พระวรรษา แดเทอญ” ๖ ดังนั้นจะเห็นวา นอกจากจะเปนการสรางที่เก็บพระธรรมแลว ยังถือเปนการสืบ ทอดอายุพระพุทธศาสนา และผูทําบุญเองก็หวังเอาพระนิพพานเปนที่หมาย แตกระนั้นการ สรางหอธรรมยังปรากฏไมมากนักในสังคมลานนา แตเดิมการสรางวัด พระพุทธรูป หรือเสนาสนะตางๆ ภายในวัดจะเปนกษัตริย เชื้อ พระวงศ ขุ น นาง เพี ย งแต ก ารสร า งวั ด หรื อ สิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใดก็ แ ล ว แต จะต อ งทํ า ความมาขอ พระราชทานพระราชานุญาตใหสรางเสียกอน จึงสรางได ดวยการสรางทําบุญประการหนึ่ง ประการใดในสมัยนั้น ยอมหมายถึงจํานวนประชากรสวนหนึ่งของอาณาจักรที่จะหายไปจาก ไพรไทกลายไปเปน “ขา” สวนหนึ่ง การสรางหอธรรมก็เฉกเดียวกัน มักจะมีการกัลปนาขาคนไวสวนหนึ่ง ใหดูแลรักษา หอธรรมดังการกัลปนาคนไวกับหอธรรมมณเทียรที่วัดพระธาตุหริภุญชัยของพระเมืองแกว และมหาเทวีไววา “ไวนา ๒ ลาน อันควรคํานับ กับคน ๑๒ ครัว ทั้งลูกหลานเหลนเขา นาฝูง นั้นไวเปนขาวบูชาพระธรรม ๕ แสน นายหอปฎกกิน ๕ แสน ....(คน) ๑๐ คน กินแลคนแล แสน คน ๑๒ ครัวนั้น นายนนทหนอ.......................พุทธรักขิดโพธิ ๑ แกวเสนาพุด ๑ ญี่หมื่น อินหนอ ๑ ..... หนอ ๑ นารอดอุดมมงคล ๑ โกวิทามงคล ๑ สอยสารอด ๑ พุทธคําเพียรสาม ๑ จินดาหนอสาม ๑ ชางอุนสุวัณแกว ๑ กันคนครบ เขามีเทาใดก็ดี พระราชทานทั้งมวลฝูงนี้ สมเด็จบพิตรมหาราชเจาทั้งสองพระองค ปลงพระราชอาชญาไววาดังนี้ นาแลคนทั้งปวงฝูงนี้ จุงไวใหเปนอุปการรักษาพระธรรมมณเทียร ใหเสถียรสืบสายไป ใครอยากลั้วเกลาเอาใสเวีย กงานการเมื อ งใช ส อยไปมา แมน ท า วพญาในอนาคตกาล คือ ลู ก หลานเหลนอั น เปนราช ปรัมปรามาก็ดี จุงมีพระราชหฤทัยใสสุทธิ์ในพุทธศาสนา แลไดมาพิทักษรักษาสถานที่นี้ทุกเมื่อ เพื่อใหเปนอดุลยบุญญาภิสนทมากนักแกเราเทาวัน” ๗ 7

8

จารึกวัดสันทรายหลวง พ.ศ.๒๔๗๑. ใน ประชุมจารึกลานนา เลม ๑๒ :จารึกในจังหวัดเชียงใหมภาค ๔. (เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๔๘) หนา ๒๘๖ ๗ ลพ.๑๕. อางแลว หนา ๒๙๙ – ๓๐๐ ๑๐


หอธรรมมณเทียร หรือหอธรรมวัดพระธาตุหริภุญชัย

ขา ที่รั กษาหอธรรมมณเที ยร ในจารึ กนี้ เ รีย กว า นายหอป ฎ ก เป นผู ที่ดู แล และ ซอมแซมในสวนที่พัง ดังจะมีชางอยูในกลุมที่กัลปนาดวย และนายหอปฎกนี้ สืบเชื้อสายไป เรื่อยๆ และไดรับอภิสิทธิ์เชนเดียวกับขาพระธาตุอื่นๆ ที่ไมตองไปเขาราชการงานเมือง หรือ แมแตคราวศึกสงคราม โดยทําหนาที่ดูแลรักษาหอธรรมนี้เพียงประการเดียว แตในยุคหลัง แมนจะมีการสรางหอธรรมใหมในยุคประเทศราชของสยาม ก็ไมคอย มีการกัลปนาผูคนดูแลหอธรรม ดังการสรางหอไตรวัดพระสิงหในสมัยพระเจากาวิละ ในป พ.ศ.๒๓๕๕ กลาวถึงการสรางเสนาสนะตางๆ ในวัดพระสิงหและหอพระไตรปฎกดวย แตไมมี การกัลปนาผูคนไวดูแล เชนในสมัยราชวงศมังราย สวนในยุคหลังการสรางเสนาสนะตางๆ ในวัด ก็ขึ้นกับพระสงฆและผูมีจิตศรัทธา รวมกันสรางขึ้น หากเมื่อเทียบจํานวนวัดทั้งหมด กับจํานวนหอธรรมทั้งหมดแลวนับวา มีอยู นอยมาก ยิ่งปจจุบัน หอธรรมที่มีอยูนอย ก็ยิ่งเหลือนอยลงไป ดวยสภาพของตัวอาคาร และ หนาที่ที่เปลี่ยนแปลงไป ตามเหตุปจจัยตางๆ โดยจะพิเคราะหจําแนกออกมาดังตอไปนี้ ประเด็นที่ ๑ ขาดการดูแลใหอยูในสภาพที่สมบูรณ ดวยไมมี “นายหอปฏกะ” ดังสมัยพระเมืองแกวที่จะทําหนาที่ดูแล สืบชั่วลูกชั่ว หลาน เมื่อสภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป นายหอปฏกะ หรือขาหอธรรม พนจากสภาพขาหรือ ๑๑


ทาส หนาที่มีตอหอธรรมจึงหมดสิ้นลง ไมเหมือนขาพระธาตุองคสําคัญที่ถึงแมจะพนสภาพ จากการเปนขาวัดแลว แตความรูสึกผูกพันตอวัด หรือพระธาตุนั้นยังคงอยู เชนขาวัดของวัด พระธาตุศรีจอมทอง เปนตน สวนหอธรรมที่เคยมีคนดูแลก็รางราไป นอกจากนี้รูปลักษณของ หอธรรมที่มักจะไมมีบันไดที่พรอมใหขึ้นไปบนหอไดโดยสะดวกนั้น ดวยเปนการปองกันภัย หรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้น ก็เปนตัวกั้นไมใหเขาไปดูแลไดพรอมๆ กัน บางแหงจึงเปนที่อยู อาศัยของสัตวตางๆ โดยเฉพาะนกพิราบ ที่ขึ้นไปทํารังอาศัยและถายมูลทิ้งไวเรี่ยราด เปน แหลงเพาะเชื้อโรคไดเปนอยางดี ประเด็นที่ ๒ ตัวเอกสารคัมภีร และหนาที่ของสถานที่เก็บคัมภีรเปลี่ยนไป ตัวเอกสารคัมภีรใบลาน รุนเกาตางนอนหลับใหลอยูในหีบธรรม ทั้งที่อยูบนหอธรรม และหีบธรรมที่เคลื่อนยายลงมา กลายเปนของเกาของโบราณใหกับนักสะสม ทั้งใบลาน ไม ประกับธรรม ไมบัญชัก หีบธรรม หรือแมแตหอธรรมเอง ตางถูกผาติกรรมออกไปจากวัด สวนเอกสารพระธรรมคัมภีรตางๆ พิมพออกมาในรูปแบบหนังสือ หรือในรูปแบบ ธรรมกระดาษ ที่เก็บในตูเอกสาร โดยสรางหองหนังสือ หรือหองสมุดไวในอาคารหนึ่งอาคาร ใดของวัด แทนอาคารหอธรรมเดิม สวนอาคารหอธรรมเดิมที่เคยมี อาจกลายมาทําหนาที่อื่นแทน เชน ที่จําวัดของ พระภิกษุ-สามเณร กลายมาเปนอาคารเก็บของเกา (ซากเกา) ไปก็มี บางพื้นที่อาจดีหนอยที่ แปรสภาพหอธรรม เปนพิพิธภัณฑของวัดรวมไปดวย ประเด็นที่ ๓ ภิกษุ-สามเณรไมสามารถอาน – เขียน อักษรธรรมลานนาได องคความรูในธรรมอักษรลานนาถูกผนึกไวแตภายในหีบธรรม และอยูบนหอธรรม ดวยพระภิกษุ-สามเณรรุนใหม ไมสามารถที่จะอาน และใชคัมภีรใบลานของเดิมศึกษาหา ความรู และเทศนาถายทอดใหกับศรัทธาประชาชนไดอีกตอไป เพียงแตอาศัยคัมภีรที่พิมพ ขายกันโดยทั่วไป ที่มักมีการตัดตอ หรือตัดแตงคําเรียบรอยแลว ทําใหวรรณกรรมดั้งเดิมถูก ละเลย นอกจากนี้องคความรูอื่นๆ ที่คนโบราณไดเก็บรักษาไวก็ขาดชวงไปดวย เพราะในธรรม ใบลานนั้นมีเรื่องราวอีกมาก ดังมีการจัดกลุมหมวดหมูเอกสารดังนี้ พระวินัย พระสุตตันตปฎก พระอภิธรรม บทสวดมนต อานิสงส ชาดก โอวาทคําสอน ประเพณีพิธีกรรม ธรรมทั่วไป นิยายธรรม นิทานพื้นบาน ตํานานพุทธศาสนา ๑๒


ตํานานเมือง / ราชวงศ กฎหมาย ตําราอักษรศาสตร ๘ กวีนิพนธรอยกรอง ตําราโหราศาสตร เวชศาสตร จักรวาลวิทยา ๙ ทําใหขอมูลเหลานี้สูญหายไปดวย เนื่องจากขาดการใชงานในเอกสารโบราณที่มีอยู ในวัด เมื่อขาดความใชงาน การเกี่ยวของระหวางภิกษุ – สามเณร กับหอธรรม หีบธรรม ตางๆ ก็หางหายไป ทําใหขาดความเหลียวแล และดูแลรักษาไปดวย นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการสืบอายุลาน หรือการคัดลอกพระธรรม และการถวาย ธรรม เริ่มสูญหายไป เหลือเพียงแตการ “ซื้อ” แลวนําไปถวาย ทําใหเอกสารรูปแบบเดิม เริ่ม หายไป เมื่อธรรมใบลานหายไป ไมประกับธรรมก็หาย ผาหอคัมภีรก็หาย ไมบัญชักก็หาย หีบ ธรรมก็หาย หอธรรมก็หาย และสุดทายพระธรรมอันถือเปนศาสดาตัวแทนของพระพุทธเจาก็ หางหายจากผูคนไปดวย ประเด็นที่ ๔ สภาพสังคมที่เปนบริโภคนิยมสงผลใหวิถีชีวิตดั้งเดิมเปลี่ยนแปลง สภาพสังคมที่เปนแบบบริโภคนิยม เนนใหผูคนแสวงหาทุนและกําไรมากขึ้น ทั้งตัว ของฆราวาสศรัทธาเองก็ตาม ที่มักจะทํางานหาเงิน โดยไมไดเขาวัด หรือแมจะเขาวัด ก็หา ของเกาบูชาและผาติกรรมไปขาย ทําใหของจากวัดกลายเปนสินคา ที่เรียกวา “ของเกา” นอกจากนี้ผูคนเขาวัดก็เพื่อ “ขอ” และ “บน” สวนพระสงฆก็ตอบสนองความตองการของศรัทธาโดยกลายเปนพุทธพาณิชยบาง ลางแหง การศึกษาธรรมะก็นอยลงไป จากประเด็นตางๆ ที่กลาวมา อาจจะเปนสวนหนึ่งจากหลายๆ สวน ก็พอที่จะทําให เห็นเหตุและปจจัยที่ทําให “หอธรรม” ถูกลืมไป การที่จะฟนฟูหอธรรม ก็ควรจะทําเปนระบบ โดยฟนฟูการเรียนอักษรธรรมลานนา ดวยอักษรธรรมลานนา เปนกุญแจที่สามารถไขเขาถึง องค ความรู ตา งๆ ได และเมื่อ รูอั กษรธรรม ก็มี การเขี ยนธรรมถวายทาน และอา นคั มภี ร เอกสารตางๆ ได จนถึงสามารถแตงรจนาคัมภีรไดในเบื้องปลาย การที่ได “ขึ้นหอเปดหีด” จนไปถึง “แกผาในวัด” ก็จะเปนสงเสริมและสืบทอดอายุ พระพุทธศาสนาไดทางหนึ่ง 9

10

http://lannamanuscripts.net/th/search/new ฐานขอมูลเอกสารโบราณ. สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม (http://www.culture.cmru.ac.th/manuscript_database/bailan_dblist.php) ๙

๑๓


“ขึ้นหอเปดหีด” หรือการขึ้นหอไตรและเปดหีบธรรม นําเอาคัมภีรใบลานนาออกมา โดย “แกผาในวัด” หรือการเปดผาหอคัมภีรออกมาเพื่อนําคัมภีรนั้นมาอาน มาศึกษา เมื่อนั้น หอธรรม ก็จะตั้งมั่นไมหมนหมองรกราง ใหสมกับเปนที่อยูแหงธรรมมะของพระพุทธเจา และ การศึกษาธรรมมะก็เปรียบเหมือนการไดเขาไปเขาเฝาพระพุทธเจา สดับพระธรรมเทศนาจาก พระโอษฐดังพุทธดํารัสที่วา “ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นเห็นเรา” เอกสารอางอิง จารึกลานนาภาค ๒ เลม ๑ – ๒ : จารึกจังหวัดเชียงใหม ลําปาง ลําพูน และแมฮองสอน. ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร ศรีเลา เกษพรหม, อภิรดี เตชะศิริวรรณ. ๒๕๕๑. ประชุมจารึกลานนา เลม ๑๓ :จารึกในจังหวัด เชียงราย. เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม อุดม รุงเรืองศรี. หอธัมม. ๒๕๔๒.ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ เลมที่ ๑๔. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ฮันส เพนธ, ศรีเลา เกษพรหม. ๒๕๔๘. ประชุมจารึกลานนา เลม ๑๐: จารึกในจังหวัดเชียงใหมภาค ๒. เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม _____________________________, อภิรดี เตชะศิริวรรณ. ๒๕๕๐. ประชุมจารึกลานนา เลม ๑๒ : จารึกในจังหวัดเชียงใหมภาค ๔. เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม สื่ออิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลเอกสารโบราณ. สํานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม. [online] เขาถึงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙. http://www.culture.cmru.ac.th/manuscript_database/bailan_dblist.php อานิสงสสางหอธัมมเปนทาน เลขรหัส 0793 จากเว็บไซด หอสมุดดิจิทัล คัมภีรใบลานลานนา. [online] เขาถึงเมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙ http://lannamanuscripts.net

๑๔


“เมิฯง¢่ฯ : บวัตฯิศา�์ทีกําลัฯหาส้าฯ” “เมืองนาน” : ประวัติศาสตรที่เพิ่งสราง * 0

โดย ศักรินทร ณ นาน

**

1

เกริ่นนํา เนื่องในโอกาสงานทอดกฐินประจําป 2558 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา คณะผูจัดงานไดจัดพิมพหนังสือที่ระลึกที่มีบทความเกี่ยวกับประวัติศาสตรเมืองนาน แตความที่ประวัติศาสตรเมืองนานไดมีนักวิชาการและผูสนใจประวัติศาสตรเขียนไวมากแลว (ตัวอยางเชน คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549b; คณะผูจัดทําหนังสือนาน อนันตกาล ตํานานแหงขุนเขา เมืองเกาที่มีชีวิต 2556a; สรัสวดี อองสกุล 2539; 2551; สายันต ไพร ชาญจิตร 2540; สําราญ จรุงจิตรประชารมย 2542) ตัวผูเขียนไมใชนักประวัติศาสตรที่ ศึกษาเมืองนานมาอยางเชี่ยวชาญ ดังนั้น จึงขอแจงผูอานใหทราบตั้งแตตนบทความนี้วา หาก ท า นต อ งการศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร เ มื อ งน า นอย า งละเอี ย ด ท า นควรตามอ า นงานเขี ย น ประวัติศาสตรเมืองนานของบรรดาผูเชี่ยวชาญตอไป ในบทความนี้ ผูเขียนไดทดลองนําเสนอ “ประวัติศาสตรเมืองนาน” อีกแบบหนึ่งที่มี ขนบการเขียนตางไปจากเดิม ดังทีเ่ รามักคุนชินกับการพรรณนาพัฒนาการทางประวัติศาสตร แบบเสนตรงเปนไปตามชวงเวลายาวนานตอเนื่องจากจุดกําเนิดเดียว แตบทความนี้ไดหันมา เสนอแนวทางพินิจประวัติศาสตรเมืองนานในฐานะของ “สิ่งที่เพิ่งถูกประกอบสรางขึ้นมา” โดยคนในยุคสมัยใหมที่เขียนถึงเมืองนานสัมพันธไปกับประวัติศาสตรการกอตัวของรัฐชาติ และสภาวะความเปนสมัยใหม (Modernity) ขอเสนอดังกลาวสวนหนึ่งมาจากขอจํากัดของ ผูเขียนเองดวยที่ไมไดมีความเชี่ยวชาญในการอานจารึกโบราณและการเขาถึงเอกสารชั้นตน ผูเขียนจึงเลือกใชขอมูลที่อยูในเอกสารที่เขียนขึ้นมาในยุคสมัยใหมเทานั้น ในอีกสวนหนึ่ง ผูเขียนอาศัยมุมมองของแนวคิดหลังโครงสรางนิยม (Post-structuralism) มากําหนดแนว *

เปนบทความสําหรับเผยแพรในหนังสือที่ระลึกในงานทอดกฐิน ณ วัดภูมินทร อ.เมือง จ.นาน วันที่ 21 พฤศจิกายน 2558 โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา นาน บทความนี้เปนความเห็นของผูเขียน ไมจําเปนตองเหมือนกองบรรณาธิการ ความผิดพลาดประการใดในบทความเปนของผูเขียนแตเพียงคนเดียว

**

หัวหนาศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน ๑๕


ทางการตั้งคําถามตอ ประวัติศาสตรเมืองนานที่เพิ่งสราง โดยผูเขียนไดอธิบายแนวคิดหลัง โครงสรางนิยมไวในหัวขอถัดไปแลว หากพินิจดูงานเขียนประวัติศาสตรเมืองนานในยุคสมัยใหมแลว พบวา มีงานไมมาก นักที่สาธิตใหเราเห็นถึงการนําแนวคิดแบบหลังโครงสรางนิยมมาชวยตีความประวัติศาสตร เมืองนาน โดยมีงานชิ้นสําคัญไดแก งานวิจัยประวัติศาสตรเมืองนานของชูศักดิ์ วิทยาภัคและ คณะ (2546) ที่แสดงใหเห็นการทําความเขาใจประวัติศาสตรเมืองนานผานประวัติศาสตร ของคนเมืองนานกับการเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติและการเมืองเชิงวัฒนธรรม งานเขียนของ วริศรา ตั้งคาวานิช (2557) แมจะศึกษาประวัติศาสตรสุโขทัย แตงานดังกลาวมีสวนสําคัญตอ บทความชิ้นนี้ ดังที่งานของวริศราไดชวนตั้งคําถามตอประวัติศาสตรสุโขทัยที่คนทั่วไปคุนชิน ในฐานะของอาณาจักรอันเกาแกในตําราประวัติศาสตรชาติไทย แตจริงแลว สิ่งที่เรารับรูและ เขาใจกลับเปน “สุโขทัยที่เพิ่งสราง” โดยคนในสมัยกรุงเทพฯ ในชวงหลัง พ.ศ. 2450 ที่มี การสรางใหสุโขทั ยเขามาเปนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรชาติ เทานั้น ผูเขียนไดนําแงมุ ม ดังกลาวมาเปนแนวทางพินิจ “ประวัติศาสตรเมืองนาน” ดังเห็นไดตั้งแตการตั้งชื่อบทความ ชิ้นนี้ บทความนี้ แ บ ง ออกเป น 4 ส ว นสํ า คั ญ ได แ ก ส ว นแรก เสนอแนวทางพิ นิ จ ประวัติศาสตรที่เปลี่ยนผานจากประวัติศาสตรแบบจารีตมาสูขอเสนอการศึกษาประวัติศาสตร ดวยแนวคิดหลังโครงสรางนิยม สวนที่สอง ทําความเขาใจการประกอบสรางประวัติศาสตร เมืองนานในการผุดขึ้นของยุคกอนประวัติศาสตร สวนที่สาม ทําความเขาใจประวัติศาสตร เมืองนานในชวงของรัฐจารีต และสวนสุดทาย เปนสรุปทิ้งทายของบทความนี้ 1. แนวทางพินิจประวัติศาสตรเมืองนาน หากประวัติศาสตรหมายถึงการเลาเรื่องราวเกี่ยวกับผูคนผาน “แวน” บางอยางแลว การทํ า ความเข า ใจประวั ติ ศ าสตร เ มื อ งน า นอาจเริ่ ม จากการศึ ก ษาแนวทางการเขี ย น ประวัติศาสตร โดยบทความนี้ไดชวนมอง “ประวัติศาสตรเมืองนาน” ใน 2 แนวทาง ดังนี้ แนวทางแรก การศึกษาเมืองนานในประวัติศาสตรทองถิ่นโดยเฉพาะประวัติศาสตรลานนา และแนวทางที่สอง การศึกษาเมืองนา นในประวั ติศาสตร ทางวัฒนธรรมที่รับอิ ทธิพลจาก

๑๖


แนวคิดหลังโครงสรางนิยม ๑ โดยเฉพาะการศึกษาของ Michel Foucault (1977) ที่สงผล ตอการศึกษาประวัติศาสตรสมัยใหม หากพิ จ ารณาการศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร เ มื อ งน า นในฐานะที่ เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของ การศึกษาประวัติศาสตรลานนาแลว การศึกษาประวัติศาสตรเมืองนานอาจแยกไดเปนสอง แนวทางอยางคราวๆ ตามการศึกษาประวัติศาสตรลานนาที่ สุรัสวดี อองสกุล (2551: 1-7) จําแนกไว ไดแก แบบแรก เปนแนวทางจารีตทองถิ่นที่พัฒนาการศึกษามาจากแนวตํานานที่ ผูรูในทองถิ่นยังคงศึกษาร่ําเรียนกันมาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 20 จนถึงปจจุบัน และแบบที่สอง เปนแนวประวัติศาสตรที่มากับการศึกษาในยุคสมัยใหม โดยแนวทางหลังนี้ไดกอใหเกิดการ สรางความรูประวัติศาสตรลานนาไปสูสากล แนวทางการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นใน ป จ จุ บั น ยั ง มี แ นวโน ม ในการพั ฒ นาแนวทางการศึ ก ษาที่ ใ ห ค วามสนใจในการศึ ก ษา ประวัติศาสตรสามัญชนมากขึ้นแตกตางไปจากการศึกษาเดิมที่เนนประวัติศาสตรของรัฐ (ดู ตัวอยางงานเชน Baba 2009; Chusak Wittayapak 2008) อยางไรก็ตาม การศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นยังคงมีปญหาที่จําเปนตองคํานึงไว ดวย โดยในมุมมองของนักประวัติศาสตรลานนาอยาง สรัสวดี อองสกุล (2551: 13-20) เห็นวา มีปญหาสําคัญอยูส องประการ กลาวคือ ปญหาดานหลักฐาน ที่ไดจากการอานเอกสาร เชน บันทึกใบลาน พับสา จารึก และเอกสารรัฐบาลรวมไปถึงเอกสารทางประวัติศาสตรที่ บันทึกโดยชาวตางประเทศที่เก็บไวในประเทศตางๆ เอกสารแตละแบบตางมีขอดี-ขอจํากัด ของตนเอง และปญหาดานแนวคิดและวิธีการศึกษาคนควา ที่ผูศึกษาประวัติศาสตรเลือก นํามาใชในการคนควาหาความจริงจากหลักฐานอยางละเอียดเพื่ออธิบายเรื่องราวในอดีตให 2

แนวคิดหลังโครงสรางนิยม เปนสกุลความคิดสายหนึ่งที่รวมกันแบบหลวมๆ อยูในแนวคิดที่เรียกกันวาหลัง สมัยใหม (Postmodernism) โดยเกิดขึ้นจากวิกฤตความรูที่แนวคิดสมัยใหม (modernism) ถูกตั้งคําถามใน การแสวงหาความจริงและเหตุผลที่ถือกําเนิดในยุคแสงสวางทางปญญาของศตวรรษที่ 18 (Enlightenment) ที่เชื่อมั่นในเหตุผลและวิทยาศาสตร เปนยุคที่คนมองโลกในแงดี เชื่อมั่นในพัฒนาการของมนุษยและสังคมวา จะกาวไปสูสิ่งที่ดีขึ้นเรื่อยๆ คนไมเพียงควบคุมธรรมชาติไดเทานั้น แตยังเขาใจกฎธรรมชาติอีกดวย ความเชื่อ ในความจริงอันเปนแกนแกน (Essentialism) และมีความเปนสากล (Universalism) อันมาจากความรูที่วาง อยูบนรากฐานของเหตุผล ถูกเชื่อวาจะชวยปลดปลอยมนุษยชาติจากความขาดแคลน ความยากจน ความหิว โหย ความงมงายในศาสนาและไสยศาสตร จากการใชอํานาจอยางปาเถื่อน แตพัฒนาการทางประวัติศาสตร ของสังคมกลับชี้ใหเห็นความจริงที่แยงกับอุดมคติดังกลาว แนวคิดหลังสมัยใหมจึงตั้งขอสงสัยตอเหตุผลใน ฐานะเครื่องมือเขาถึงความจริงและหันมาปรับแนวทางการศึกษามาสูเรื่องของภาพแทนความจริง (อภิญญา เฟองฟูสกุล 2546: 37-43) ๑๗


ใกลเคียงกับความเปนจริง สรัสวดี อองสกุล ยังไดตั้งขอสังเกตอีกประการหนึ่งที่นาสนใจวา ความรูสึกทองถิ่นนิยมอาจกลายเปนความคับแคบ แมวาการศึกษาเรื่องทองถิ่นจะชวยใหเกิด ความภาคภูมิใจในบานเมืองของตนเองก็ตาม ขอเสนอของสุรัสวดี อองสกุลจึงมีนัยยะตอ ปญหาการศึกษาประวัติศาสตรเมืองนานที่บทความนี้กําลังชี้ชวนใหเห็น นั่นคือ เราไมอาจ พิจารณาเพียงปญหาดานหลักฐานเทานั้น หากแตตองพิจารณาถึงปญหาทางดานแนวคิดและ วิธีการศึกษาประวัติศาสตรที่สงผลตอการรับรูและความเขาใจประวัติศาสตรดวยเชนกัน สําหรับผูเขียนแลว เห็นดวยกับ อานันท กาญจนพันธุ (2543: 130-131) ที่เสนอ การปรับเปลี่ยนแนวทางและทิศทางการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นอยางนอยสามแนวทาง ไดแก ประการแรก การเปลี่ยนมุมมองที่ยังคงเนนประวัติศาสตรการเมืองของศูนยกลางไปสู การศึกษาประวัติศาสตรแบบองครวมมากขึ้น โดยหันมาสูการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นใน มิ ติ สํ า คั ญ อื่ น ๆ เช น มิ ติ ท างสั ง คม เศรษฐกิ จ และวั ฒ นธรรม ประการที่ ส อง การศึ ก ษา ประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น ต อ งเสริ ม ด ว ยการทํ า ความเข า ใจวาทกรรม (Discourse) ที่ ทํ า ให แนวทางการศึกษาสามารถทําความเขาใจประวัติศาสตรที่มีการสื่อความหมายที่แตกตางกันไป ในแตละยุคสมัย นั่นทําใหเรื่องราวแบบหนึ่งมีการตีความหมายแตกตางกันไป โดยที่การศึกษา ทํานองนี้สามารถชวยวิเคราะหถึงการเคลื่อนไหวทางความคิดที่สัมพันธกับความสัมพันธเชิง อํ า นาจ การศึ ก ษาที่ เ ห็ น ถึ ง บทบาทของวาทกรรมจะช ว ยให ผู ศึ ก ษาไม ยึ ด ติ ด อยู แ ต เ พี ย ง ขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรอยางตายตัวเทานั้น หากแตยังเห็นถึงความสัมพันธเชิงอํานาจที่ กํากับความคิดตอการทําความเขาใจสิ่งที่ดูเหมือนเปนขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรอีกดวย ประการที่ สุ ด ท า ย การศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง บริ บ ททางสั ง คมและ กระบวนการทางประวัติศาสตรในวงกวาง นั่นเพราะประวัติศาสตรทองถิ่นไมไดมีลักษณะที่ สมบูร ณ ในตั วเองที่ ทํ าใหส ามารถศึ ก ษาไดด วยการตั ดแยกออกจากบริบ ททางสัง คมและ กระบวนการทางประวั ติศ าสตรใ นวงกวาง เพราะ “ประวัติ ศาสตร เป นเรื่อ งราวของการ เคลื่อนไหวทางความคิด ที่มีการขัดแย ง ตอสู ครอบงําและแลกเปลี่ยน ผสมผสานกันอยู ตลอดเวลา” (อานันท กาญจนพันธุ 2543: 131) นั่นชวยใหเราเขาใจประวัติศาสตรในมิติ ทางวั ฒ นธรรมมากยิ่ ง ขึ้น เพราะวั ฒ นธรรมไมใ ช ร ะบบป ด เสมอไป โดยภายใต บ ริบ ททาง ประวัติศาสตรนั้น วัฒนธรรมเกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวที่แสดงออกมาในรูปแบบตางๆ ทั้ง การผสมผสาน การปรับรูปแบบและการผลิตความหมายใหมทางวัฒนธรรมดวย

๑๘


สําหรับการทําความเขาใจประวัติศาสตรดวยสกุลความคิดแบบหลังโครงสรางนิยม และโดยเฉพาะอิท ธิพลจากนักคิ ดอย างมิ เชล ฟูโ กต (Michel Foucault) การศึก ษาใน แนวทางดังกลาวมีทิศทางในการอธิบายประวัติศาสตรที่โตแยงกับการหมกมุนหาขอเท็จจริง ทางประวัติศาสตรในแบบสารัตถะนิยม (Essentialism) มากจนเกินไป ประวัติศาสตรในที่นี้ จึงไมใชการนําเอาเหตุการณตางๆ มาเรียงลําดับไวราวกับวา มันเปน “ความจริง” ที่สงบนิ่ง เปนกลางรอใหเพียงผูเขียนมาคนพบแตอยางใด มิเชล ฟูโกต (ดูใน ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร 2554: 85 - 90) เสนอแนวทางศึกษาเชิงประวัติศาสตรแบบหนึ่งที่เรียกวา “วงศาวิทยา” (Genealogy) การศึกษาประวัติศาสตรแนวนี้ใหความสําคัญกับรายละเอียดปลีกยอยอยาง มากและเปนวิธีการศึกษาที่ตองอดทนตอการคนควาเอกสารจํานวนมาก วงศาวิ ท ยายั ง มี ค วามแตกต า งไปจากการศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร แ บบจารี ต (Traditional history) โดยประวัติศาสตรแบบจารีตมีวิธีคิดแบบเสนตรงและตอเนื่อง โดยมอง เหตุการณหนึ่งเชื่อมโยงกับเหตุการณอื่นๆ ในประวัติศาสตร ประวัติศาสตรจารีตหลบซอน ตั ว เองอยู ภ ายใต สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า “ความเป น วิ ท ยาศาสตร ” หรื อ “ความเป น วั ต ถุ วิ สั ย ” (Objectivity) ดวยการชู “ขอเท็จจริง” ทางประวัติศาสตรราวกับวา มันดํารงอยูอยางเปน เอกเทศ สวนประวัติศาสตรแบบวงศาวิทยามีความแตกตางจากประวัติศาสตรแบบจารีตใน สามมิติ ไดแก ประการแรก วงศาวิทยามองวา ประวัติศาสตรไมใชเรื่องของความทรงจําหรือ การเก็ บ สะสมเรื่ อ งราวในอดี ต แต ม องที่ ก ารสร า งความหมายขึ้ น มา ประการที่ ส อง ประวัติศาสตรแบบวงศาวิทยาไมใชเรื่องความตอเนื่อง สืบทอด หรือสานตออดีต และประการ สุดทาย ประวัติศาสตรไมใชเรื่องของความรู แตเปนเรื่องความอยากรู ความรูเปนรูปแบบหนึ่ง ของอํานาจ ประวัติศาสตรแบบวงศาวิทยาจึงไมใชเรื่องของการขุดลงลึกเพื่อคนหารากเหงา หรื อ จุ ด กํ า เนิ ด เพราะวงศาวิ ท ยาไม ส นใจเรื่ อ งจุ ด กํ า เนิ ด (Origin) แต ส นใจจุ ด เริ่ ม ต น (Beginning) ที่เปนการเผยใหเห็นการสรางขึ้นของบรรดาเอกลักษณตางๆ ในประวัติศาสตร ทั้งนี้เพื่อแสดงใหเห็นถึงความไมตอเนื่อง การขาดตอน ความแตกตางหลากหลาย ไมใชเรื่อง ของเอกภาพ หาก “ความรู” และ “เจตนาที่จะรู” คือแรงขับเคลื่อนประวัติศาสตรแบบจารีต แลว ประวัติศาสตรแบบวงศาวิทยาก็คือ การพยายามจะเปดเผยความอยากรูที่เปนหนทางที่ นําไปสูการครอบงํา การทําลายลาง การจัดระเบียบควบคุมแบบตางๆ ในรูปของ “ความรู” อยางไรก็ตาม สิ่งที่เรียกวา “ประวัติศาสตร” ตามแนวคิดหลังโครงสรางนิยมที่รับ อิทธิพลจากฟูโกตมักถูกวิพากษวา ลดทอนสิ่งตางๆ ลงมาเหลือเพียงการดํารงอยูของความจริง ๑๙


ในวาทกรรมเทานั้น โดยแนวคิดเรื่องวาทกรรมเนนอธิบายเรื่องการผลิตการรับรูโดยผานภาษา หรือใชภาษาเปนสื่อ วาทกรรมกําหนดการผลิตภาพตัวแทนที่กลายมาเปน “วัตถุเปาหมาย” (the objects of knowledge) ของการรับรูของเรา แตการกลาวอยางนี้ก็ไมถูกเสียทีเดียว เพราะจริงแลว ฟูโกตไมไดปฏิเสธวา ไมมี “สิ่ง” ที่ดํารงอยูนอกวาทกรรม อันหมายถึง สิ่ง ตางๆ ในโลกที่ยังคงสามารถมีสภาวะการดํารงอยูในเชิงวัตถุวิสัยหรือดํารงอยูในเชิงกายภาพ (ไพโรจน คงทวี ศั ก ดิ์ 2552: 34) โดยการนํ า แนวคิ ด ของฟู โ กต ม าทํ า ความเข า ใจ ประวัติศาสตรสมัยใหมชวยขยายเสนขอบฟาทางวิชาการดานประวัติศาสตรมากยิ่งขึ้น ดังที่ อานันท กาญจนพันธุไดชี้ใหเห็นการปรับแนวทางการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นในแบบ ประวัติศาสตรเชิงวัฒนธรรมที่หันมาสนใจประวัติศาสตรในฐานะของเรื่องเลา (narrative) และภาพแทนความจริ ง (representation) ที่ แ ตกต า งหลากหลาย ดั ง นั้ น การอธิ บ าย ประวัติศาสตรเมืองนานในแบบเรื่องเลาทางประวัติศาสตรขนาดใหญที่เสร็จสมบูรณตอเนื่อง เป นเรื่ องเดี ย ว (Meta-narrative) จึง ควรได รั บถกเถี ยงถึ งข อจํ า กัด เพื่อ ตอ ยอดการศึก ษา ประวัติศาสตรเมืองนานในประเด็นตางๆ ตอไป ในสวนถัดไปของบทความ ผูเขียนไดเสนอการเขียนประวัติศาสตรเมืองนานแตกตาง ไปจากขนบการเขียนประวัติศาสตรเชิงจารีตดวยการทดลองใชมุมมองแบบหลังโครงสรางนิยม การอธิ บ าย “เมื อ งน า น” ที่ ถู ก สร า งขึ้ น มาในแต ล ะยุ ค สมั ย ช ว ยให เ ข า ใจมากขึ้ น ว า ประวัติศาสตรเมืองนานที่เรารับรูในชวงเวลาไมกี่ทศวรรษที่ผานมานั้น เปนสิ่งที่เพิ่งไดรับการ สรางขึ้นในยุคสมัยใหม โดยผูเขียนไดชวนถกเกี่ยวกับภาพสรางแทนความจริงของเมืองนานยุค กอนประวัติศาสตรและเมืองนานยุคประวัติศาสตร ดังจะเห็นตอไปขางหนา

๒๐


2. นานยุคกอนประวัติศาสตรที่ถูกสรางผานแนวคิดวิวัฒนาการนิยมในโบราณคดีกอน ประวัติศาสตร ๒ กอนจะไดอธิบายตอไป ผูเขียนขอชี้แจงกอนวา จากการที่บทความชิ้นนี้มุงเสนอ ประเด็น เรื่องประวัติศ าสตรที่ ไมตอเนื่องและยังมีการสรางขึ้นใหม นั้น ผูเ ขียนได เนนไปที่ ชวงเวลาของ “เมืองนาน” ที่ไดระบุไว 2 ยุคคราวๆ คือ เมืองนานยุคกอนประวัติศาสตรและ เมืองนานยุคประวัติศาสตร โดยสวนนี้จะนําเสนอเมืองนานยุคกอนประวัติศาสตร และสวน ถัดไปเปนเมืองนานยุคประวัติศาสตรที่เริ่มตั้งแตชวงการกอตั้งแวนแควนในราวพุทธศตวรรษที่ 18 จนถึงชวง ป พ.ศ. 2474 อันเปนชวงสุดทายที่เมืองนานยังมีเจาผูครองนครเทานั้น สําหรับประวัติศาสตรชวงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามและเมืองนานในยุคแหง การพัฒนาที่เขาสูความทันสมัยและโลกาภิวัตนอยางเขมขนในปจจุบัน ผูเขียนเห็นวา มีงาน จํานวนหนึ่งที่ไดอธิบายไวชัดเจนในประวัติศาสตรชวงดังกลาวโดยเฉพาะการใหภาพการ เปลี่ยนแปลงในระดับชุมชนในหลายประเด็นแตกตางตามหัวขอศึกษาของแตละคน (เชน ชู ศักดิ์ วิทยาภัค, et al. 2546; บานจิตร สายรอคํา 2541; ยศ สันตสมบัติ 2545; ศักรินทร ณ นาน 2548) ดังนั้น ผูอานควรติดตามงานวิจัยทองถิ่นเหลานั้นตอไป หากสํารวจงานเขียนเกี่ยวกับพัฒนาการทางประวัติศาสตรของสิ่งที่เรียกวา “เมือง นาน” แลว มีสิ่งหนึ่งที่มักพบในงานเขียนจํานวนมาก นั่นคือ การพรรณนาประวัติศาสตรโดย เริ่มเรียงลําดับยุคสมัยตางๆ ที่มีพัฒนาการเขาสูยุครัตนโกสินทร (ตัวอยางเชน ดวงจันทร อาภาวั ชรุตม เจริญเมือง 2547; สมั ย สุทธิ ธรรม 2539) อยางไรก็ตาม การนับอายุ พัฒนาการทางประวัติศาสตรเมืองนานไดมีการเปลี่ยนแปลงไปภายหลังการผุดขึ้นของ “เมือง นานยุคกอนประวัติศาสตร” ที่กลายมาเปนหมุดหมายสําคัญทางประวัติศาสตรที่เพิ่งถูกสราง ขึ้นในชวงประมาณสองทศวรรษที่ผานมา (ดู คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549a; คณะ ผูจัดทําหนังสือนาน อนันตกาล ตํานานแหงขุนเขา เมืองเกาที่มีชีวิต 2556a; ชาตรี เจริญศิริ 2549; อภิญญตา ทนะขวาง 2553) กลาวไดอีกวา การเรียงลําดับทางประวัติศาสตรดวย 3

โบรารณคดีกอนประวัติศาสตร (Prehistoric archaeology) เปนการศึกษาวัฒนธรรมของมนุษยในอดีต กอนมีการประดิษฐและใชตัวอักษร โดยนับตั้งแตบรรพบุรุษของมนุษยปรากฏขึน้ จนถึงสมัยประวัติศาสตรที่มี การบันทึกเปนลายลักษณอกั ษร ความเชี่ยวชาญแยกออกตามสาขายอยๆ เชน ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี เครื่องมือหิน (Stone tool technology) เนนศึกษาพัฒนาการของการทําและใชรวมไปถึงพฤติกรรมอื่นๆ ที่ เกี่ยวของกับเครื่องมือหินในสมัยตางๆ (สวาง เลิศฤทธิ์ 2547: 8) ๒๑


การแบงชวง (periodization) ที่นิยมทํากันมาแตเดิมในงานเขียนประวัติศาสตรเมืองนานใน ยุคสมัยใหมนั้น ไดมีการขยับขยายหวงเวลาอางอิงหางไกลจากปจจุบันเปนอันมาก จากเดิม เคยอางอิงชวงเวลาหลายรอยปก็ขยายเปนชวงเวลาหลายพันจนถึงหลายแสนป ในสวนของการนําเสนอภาพความตอเนื่องทางประวัติศาสตรของลานนาจากยุคหิน มาสูยุคปจจุบันนั้น พบวา งานคนควาดานประวัติศาสตรลานนาอยางละเอียดเชนงานของ สุ รั ส วดี อ อ งสกุ ล (ดู สรั ส วดี อ อ งสกุ ล 2539; 2551) ได พ รรณนาพั ฒ นาการทาง ประวัติศาสตรที่จัดวางอดีตของลานนาเชื่อมตอกับชวงเวลาของยุคกอนประวัติศาสตรในชวง หลายแสนป ดังนี้ “ยุ ค กอ นประวั ติ ศาสตรใ นดิ นแดนล า นนาพบรอ งรอยของ มนุ ษ ย ก ระจั ด กระจายอยู ต ามจั ง หวั ด ต า งๆ และเป น การพบที่ หลากหลาย บงชี้ระดับขั้นพัฒนาการของมนุษยดวย...รองรอยดังกลาว บงชี้วา ดินแดนลานนามีมนุษยอยูอาศัยมาหลายแสนปแลวหรือกลาวได ว า มี ม นุ ษ ย ม าตั้ ง แต ส มั ย เริ่ ม แรกหรื อ ยุ ค หิ น เก า นั บ ว า ล า นนาเป น ดินแดนที่เกาแกมากในแงประวัติศาสตรความเปนมาและพัฒนาการทาง วัฒนธรรมของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร แบงตามพัฒนาการดาน ความเจริญทางวัฒนธรรมออกเปนยุคสังคมนายพราน ยุคสังคมเกษตร และยุคโลหะ” (สรัสวดี อองสกุล 2551: 34) จะเห็นไดวา การเขียนประวัติศาสตรลานนาของ สุรัสวดี อองสกุล ไดใหภาพของ เรื่องเลาขนาดใหญผานตัวแบบวิวัฒนาการทางสังคม (Social evolution model) โดยมีการ อธิบ ายพัฒนาการของสัง คมมนุษ ยใ นแตละยุค ตามลํา ดับ ขั้นวิ วัฒ นาการแบบเสนตรง (ดู คําอธิบายแนวคิดวิวัฒนาการเพิ่มเติมใน สวาง เลิศฤทธิ์ 2547: 99-128) ๓ โดยเริ่มจากยุค 4

ความสนใจในวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมมีรากฐานทางความคิดตั้งแตยุคการฟนฟูศิลปะวิทยาการของ ตะวันตกในชวงคริสตศตวรรษที่ 15-16 เมื่อชาวยุโรปออกเดินทางและลาอาณานิคมแลวพบคนพื้นเมือง แตกตางจากตน นักวิชาการตะวันตกจึงเริ่มใหความสําคัญกับอดีตกอนประวัติศาสตร ตอมาแนวคิดนี้ไดรับ การพัฒนาขึ้นอยางจริงจังในคริสตศตวรรษที่ 19 โดยมีนักวิชาการที่โดดเดนเปนที่รูจักอยาง ชารลส ดารวิน และเฮอรเบิรต สเปนเซอร แนวคิดวิวัฒนาการมองวา ผูคนในดินแดนตางๆ ของโลกลวนผานกระบวนการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมเหมือนกัน อยางไรก็ตาม แนวคิดนี้เสื่อมความนิยมลงในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ในการอวสานของการลา อาณานิคมสํ าหรับอั งกฤษและหลังสงครามเวีย ดนามสํา หรับ สหรัฐอเมริ กาหลั ง ทศวรรษ 1960 (สวาง เลิศฤทธิ์ 2547: 99-128) ๒๒


กอนประวัติศาสตรที่สังคมมนุษยยังเก็บของปาลาสัตวในแบบสังคมนายพรานมาสูยุคสังคม เกษตรไปจนถึงยุคโลหะ ดังนั้น การนําเสนอหลักฐานทางโบราณคดีที่ขุดคนตามแหลงตางๆ ในภาคเหนือจึงไดรับการอธิบายอยางเชื่อมโยงภายใตตัวแบบวิวัฒนาการทางสังคมถึงการมี อดีตอันเกาแกยาวนานตอเนื่องเปนแสนปของดินแดนลานนา ถึงกระนั้น ผูเขียนไมพบวา สุรัสวดี อองสกุล ไดจัดวางประวัติศาสตรเมืองนานอยาง จํ า เพาะเจาะจงย อ นหลั ง ไปไกลถึ ง ยุ ค ก อ นประวั ติ ศ าสตร แ ต อ ย า งใด โดยในส ว นของ ปรากฏการณดังกลาวนี้ ผูเขียนมีขอสังเกตวา การเขียนประวัติศาสตรที่จัดวางเมืองนานไวใน อดีตอันหางไกลถึงยุคหินนั้น เพิ่งไดรับอิทธิพลจากงานศึกษาของนักโบราณคดีที่เขามาขุดคน แหลงโบราณคดีกอนประวัติศาสตรและศึกษากลุมชนเก็บของปาลาสัตวในจังหวัดนานในชวง ไมกี่ทศวรรษที่ผานมา โดยเฉพาะอยางยิ่งนับตั้งแตชวงกลางทศวรรษ 2520 เมื่อสงครามใน เขตปาเขาในเมืองนานสงบลงหลังการพายแพของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย การ สํ า รวจทางด า นโบราณคดี ก อ นประวั ติ ศ าสตร แ ละโบราณคดี เ ชิ ง ชาติ พั น ธุ ว รรณา (Ethnoarchaeology) ในจังหวัดนานจึงเริ่มคึกคักและมีการผลิตเอกสารทางวิชาการเพิ่มมาก ขึ้น (ดู กรมศิลปากร 2530; สายันต ไพรชาญจิตร 2540; สุรศักดิ์ ศรีสําอาง, et al. 2530; สุรินทร ภูขจร 2526)

ภาพอธิบายวิวัฒนาการของสังคมมนุษยในชวงเวลาทางประวัติศาสตรและเครื่องมือยุคหินเกาที่คนพบใน จังหวัดนาน (ที่มา คณะทํางานเอกลักษณนาน (2549a: 15-16))

การสํารวจแหลงโบราณคดีกอนประวัติศาสตรที่มีการคนพบเครื่องมือหินในพื้นที่ จังหวัดนาน ไดดําเนินการในหลายชวง ตั้งแต พ.ศ. 2524 - 2546 (ดู คณะทํางาน เอกลักษณนาน 2549a: 17) ดังนี้

๒๓


สถานที่ บริเวณเสาดินนานอย บานน้ําหก ตําบลเชียงของ อําเภอนานอย บานปางสีเสียด ตําบลน้ําปว อําเภอเวียงสา บานเชียงราย ตําบลดูใต อําเภอเมืองนาน เขาหินแกว เขาชมพู ดอยปูแกว ตําบลดูใต อําเภอเมืองนาน ดอยภูทอก ตําบลทุงทอง อําเภอเวียงสา บานนามน ตําบลสวก อําเภอเมืองนาน ถ้ําอมรินทร หรือ ถ้ําปูแลม ตําบลสาน อําเภอเวียงสา ดอยภูซาง ตําบลนาซาว อําเภอเมืองนาน ที่มา คณะทํางานเอกลักษณนาน (2549a: 17)

ป พ.ศ. ที่มีการพบ 2524-2525 2524-2525 2524-2525 2527 2528 2529 2540 2545

นอกจากนี้ นักประวัติศาสตรสมัครเลนที่สนใจประวัติศาสตรเมืองนานอยางจริงจัง มีบทบาทสําคัญในการผลิตงานเขียนเกี่ยวกับ “เมืองนานยุคกอนประวัติศาสตร” ดวยเชนกัน หนึ่งในนั้นคือ งานเขียนของ ชาตรี เจริญศิริ (2549) แมเขาจะยอมรับวา “ผูเรียบเรียงรับ ราชการเปนแพทย ไมใชผูเชี่ยวชาญโบราณคดี” (ดู ชาตรี เจริญศิริ 2549: คํานํา) แตสิ่งนี้ก็ ไมไดทําใหเรื่องเลาทางโบราณคดีที่เขาเขียนนั้น สามารถหลุดกรอบไปจากขนบการเขียน ประวัติศาสตรแบบจารีต กลาวคือ ตัวบทของเขายังคงประกอบสรางประวัติศาสตรเมืองนาน ผานแนวทางประวัติศาสตรแบบเสนตรงที่จัดวาง “เมืองนาน” กลับเขาไปในเรื่องเลาของ พัฒ นาการทางประวั ติ ศ าสตร ที่ ยาวนานต อ เนื่ อ งเป น ล านป ใ นกํา เนิ ดเผ า พัน ธุ ม นุษ ย ต าม ขั้นตอนวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตคลายลิงอยาง “โฮโม อีเรกตัส” (Homo erectus) “เมือง นานยุคกอนประวัติศาสตร” จึงสามารถนับเวลายอนหลังกลับไปไกลเปนพันป ดังที่เขาอธิบาย วา “เราทราบเรื่องราวในยุคกอนประวัติศาสตรจากเครื่องมือที่ เขาใช จากหลุ ม ศพ จากภาพเขี ย นตามผาหิ น ซึ่ ง ในน า นมี ผู พ บ หลักฐานยุคกอนประวัติศาสตรมากมาย แตขาดการนําเรื่องราวมาเลา ตอ มาสอนนักเรียน หนังสือนี้คือ บันทึกเรื่องเลา เครื่องมือหินแตละ ชิ้น บอกเรื่ อ งราวย อ นกลั บ ไปนั บพั น ป ไ ด ถ า รู จั กมองหาหลั ก ฐาน เหลานี้และรักษาไวใหคนรุนหลังไดภาคภูมิใจวา แผนดินนานรุงเรือง

๒๔


มาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร ถาไมบันทึกไว ปญญาเราอาจถอย ไปสูยุคกอนประวัติศาสตรอีกครั้ง” (ดู ชาตรี เจริญศิริ 2549: คํานํา) ทําไม “เมืองนานยุคกอนประวัติศาสตร” ซึ่งเปนอดีตของสิ่งที่ผานพนไปหลายพันป แลว กลับมามีชีวิตชีวาในยุคสมัยใหม? ยุคกอนประวัติศาสตรมีความหมายตอผูคนในยุค สมัยใหมอยางไร? สิ่งนี้จะเป นเรื่องดีหรือไม นั้น คงเปนประเด็นที่ถกเถียงกันไดตอไป แต ผูเขียนเสนอวา การใหความสําคัญกับเรื่อง “กอนประวัติศาสตร” ที่ไดเห็นไปแลวจากงาน เขียนของชาตรีเกิดขึ้นในบริบทของเมืองนานยุคสมัยใหมที่ไมไดแยกออกจากโครงการสราง สํานึกทองถิ่นนิยม (Localism) ดังจะเห็นไดจากตัวบทของชาตรี เจริญศิริ (2549: 13) ที่ กลาวถึงความนาอัศจรรยของแหลงโบราณคดีดอยภูซางที่ตําบลนาซาวอีกวา “พบรองรอยการกะเทาะผลิตเครื่องมือหินตั้งแตตามที่ลาด เชิงเขาเรื่อยไปจนถึงยอดเขาครอบคลุมพื้นที่มากกวารอยละ 60 ของ ภูเขา นาจะเปนแหลงผลิตที่ใหญที่สุดในเอเชียหรือของโลก” ขอเสนอวา “เปนแหลงผลิตที่ใหญที่สุดในเอเชียหรือของโลก” ยังไดรับการผลิตซ้ํา อยูในเอกสารประวัติศาสตร เมือ งนา นของคณะทํางานเอกลัก ษณน าน (2549a: 27) เชนเดียวกัน สิ่งนี้นับวามีความนาสนใจเพราะชวยสะทอนกระแสความตื่นตัวในการศึกษา โบราณคดียุคกอนประวัติศาสตรที่ไมใชเกิดขึ้นแคในจังหวัดนานเทานั้น แตแนวโนมดังกลาว สอดคลองกับการศึกษาโบราณคดียุคกอนประวัติศาสตรในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใตดวย ดังที่การศึกษาดานโบราณคดีของเอเชียตะวันออกเฉียงใตในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ สองได หั น มาชู ภ าพความแตกต า งหลากหลายของภู มิ ภ าคนี้ แตกต า งไปจากการศึ ก ษา โบราณคดียุคกอนประวัติศาสตรในชวงที่ประเทศตางๆ ตกอยูภายใตการปกครองชวงอาณา นิคม อยางไรก็ตาม พบวา การศึกษาในชวงหลังบางครั้งนํามาสูขอเสนอทีช่ คู วามเปนที่สุดหรือ ภาพสุดขั้วของวิวัฒนาการในภูมิภาคนี้ โดยเปนผลจากการคนพบทางโบราณคดีที่สรางการ รับรูและความเขาใจใหมๆ ดังเชนขอเสนอพัฒนาการทางวัฒนธรรมใหเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนแหลงเกษตรกรรมยุคตนของโลก เปนพื้นที่ของยุคสําริดที่เกาแก และเปนแหลงใชเหล็ก แหงแรกของโลก เปนตน (พิเชฐ สายพันธ 2557: 22) การใหความสําคัญกับเมืองนานยุคกอนประวัติศาสตรอีกสวนหนึ่งยังสัมพันธกับ การดําเนินโครงการพัฒนาชุมชนดวย ประเด็นดังกลาวนี้จะเห็นไดชัดเจนขึ้นเมื่อพิจารณา ผลงานของนั กโบราณคดีที่ มีบทบาทสํ าคั ญในการศึ กษาโบราณคดีก อนประวัติ ศาสตรใ น ๒๕


จังหวัดนานอยางเชนงานของ สายัญ ไพรชาญจิตร ผูซึ่งผลงานของเขามักไดรับการอางถึงใน เอกสารที่เขียนเกี่ยวกับ “เมืองนานยุคกอนประวัติศาสตร” (เชน คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549a; ชาตรี เจริญศิริ 2549; สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 2548) เขาเปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการเสนอแนวคิดการพัฒนาชุมชนทองถิ่นที่ ผนวกเขากับการทํางานโบราณคดี (ดู สายันต ไพรชาญจิตร 2547) โดยเฉพาะการพัฒนา แหลงขุดคนที่สําคัญสองแหลง ๔ ที่ภายหลังไดกลายมาเปนแหลงศึกษาและแหลงทองเที่ยวทาง โบราณคดีของจังหวัดนาน นั่นคือ แหลงโบราณคดียุคกอนประวัติศาสตรที่ขุดสํารวจเครื่องมือ หินในบริเวณเขาภูซางที่ตําบลนาซาวและแหลงโบราณคดียุคประวัติศาสตรที่ขุดสํารวจเตาเผา โบราณที่ตําบลสวก หากพิจารณาในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมกวางขึ้น ความรูวาดวยเมืองนานยุค กอนประวัติศาสตรไมไดถูกนํามาใชในการพัฒนาระดับชุมชนเทานั้น แตยังไดรับการยกระดับ ความคาดหวั ง ที่ มี ต อ อนาคตของโครงการพั ฒ นาระดั บ จั ง หวั ด อี ก ด ว ย ยกตั ว อย า งเช น โครงการนําเมืองนานไปสูความเปนมรดกโลกที่ถูกจุดประเด็นขึ้นในป พ.ศ. 2540 โดย สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน แนวทางดังกลาวเริ่มกอตัวอยางชัดเจนขึ้นในป พ.ศ. 2543 ที่มีการหารือแนวทางจัดการสิ่งแวดลอมเชิงศิลปกรรมเพื่อมุงสูมรดกโลก จนกระทั่งในป พ.ศ. 2545 มีแหลงโบราณคดีที่ไดรับความสนใจใหบรรจุไวในเอกสารเรื่อง “ภูมิทัศนบูรณาการ ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติในเขตลุมน้ํานานและวาของประเทศไทยภาคเหนือ” เมื่อถึงป พ.ศ. 2546 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนานจึงไดเขามารับหนาที่ดําเนินงานพัฒนาเมืองนาน สูมรดกโลกและมีการเสนอแหลงโบราณคดีกอนประวัติศาสตรที่มีการขุดคนภายหลังเขาสูการ พิจารณาดวย นั่นคือ แหลงโบราณคดีเขาภูซาง ยิ่งไปกวานั้น โครงการนี้ยังไดหันมาผนวกรวม แหลงโบราณคดีอยางเตาเผาบานบอสวกและกลุมชาติพันธุมลาบรีเขามาไวดวยกัน (ดู จังหวัด นานและสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน 2552; อภิญญตา ทนะขวาง 2553) 5

แหลงขุดคนทั้งสองภายหลังไดรับความสนใจจากทางจังหวัดนาน ดังป 2546 ไดมีโครงการอนุรักษและ พัฒนาแหลงโบราณคดีกอนประวัติศาสตรเพื่อเตรียมเสนอขอขึ้นทะเบียนเปนแหลงมรดกโลก (ดู อภิญญตา ทนะขวาง 2553: 24) ๒๖


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทอดพระเนตรหลุมขุดคนทางโบราณคดี บริเวณไร ขาวโพดของนางฐิติรัตน กาคําและบริเวณสวนปาสักของนายจอย กะถาไชย ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2548 (ภาพพระราชทานแกองคการบริหารสวนจังหวัดนาน ใหจัดทําปฏิทิน พ.ศ. 2549 อางใน ชาตรี เจริญศิริ 2549: 15)

อยางไรก็ตาม หากพิจารณาโครงการนําเมืองนานสูมรดกโลกที่นําเสนอกลุมชาติ พันธุมลาบรีเขามาไวดวยนั้น ขอเสนอดังกลาวนี้เกิดขึ้นมาไดอยางไร? ทําไมจึงเปนชาวมลาบรี เพียงกลุมชาติพันธุ เดียวที่ถูกโยงเข าสูเรื่องเลาเมืองนานยุคกอนประวั ติศาสตร ขณะที่ใ น จังหวัดนานมีกลุมชาติพันธุอีกหลายกลุม? ในชวงที่ผูเขียนยังทําวิจัยภาคสนามในจังหวัดนาน ชวงป พ.ศ. 2546 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนานยังคงพยายามจัดทํารายงานเพื่อเสนอ กรรมการแห ง ชาติว า ด ว ยอนุสั ญ ญาคุ มครองมรดกโลก มีก ารจั ด งานประชุ มในวั น ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2546 นายอดุล วิเชียรเจริญ ประธานกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญา คุมครองมรดกโลก ไดชี้แนะแนวทางการเขียนรายงานที่นําชาวมลาบรีหรือ “ตองเหลือง” เขามาประกอบไวในโครงการเสนอแหลงโบราณคดีกอนประวัติศาสตรในจังหวัดนานเพื่อนําสู มรดกโลก (ดู สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน 2546 อางใน ศักรินทร ณ นาน 2548: 172) ดังนี้

๒๗


“การมีแหลงกอนประวัติศาสตรเครื่องมือหิน ถาเราจะเอา เครื่อ งมือ หินขึ้ นมา ตองพยายามศึกษา ค นควา มาอี ก น าจะตองมี แหลงที่เปนชุมชนกอนประวัติศาสตร...ผมไดยกตัวอยางและไดพูดถึง เผ า ตองเหลื อ งนั้ น ไม ใ ชส ว นที่เ ราจะนํ าไปขึ้น ทะเบี ย น แต จะเป น สวนประกอบขอบขายโยงใย เรานาจะพัฒนาแนวทางในการทําเรื่อง และเปนประโยชนในการที่เราจะอนุรักษที่จะชี้ใหเห็นถึงความตอเนื่อง ของทานที่เปนแหลงที่มีมนุษยเริ่มมาตั้งถิ่นฐานกอนประวัติศาสตร จนกระทั่ งผ านยุค ตา งๆ ตามอารยธรรมในรูป แบบต างๆ จนมาถึ ง ปจจุบัน” การจัดวางชาวมลาบรีไวในเรื่องเลา “เมืองนานยุคกอนประวัติศาสตร” จะชวยให เกิดความตระหนักถึงการมีอยูของชาวมลาบรีในการพัฒนาเมืองนานตามขอเสนอวา “ถานาน รักษาเผาพันธุมลาบรีไวได ก็สมควรเขาขายจะไดรับการยกยองเปนมรดกโลก” หรือไมก็ตาม (ดู ชาตรี เจริญศิริ 2549: 33) แตขอเสนอดังกลาวไมเพียงแตนําแนวคิดวิวัฒนาการนิยมมา ใชอยางแข็งทื่อเทานั้น ยังสะทอนใหเห็นถึงความเขาใจที่คลาดเคลื่อนอีกดวย (ศักรินทร ณ นาน 2555: 22-23) กลาวคือ ชาวมลาบรีกลายเปนกลุมชาติพันธุที่ไดรับการอธิบายอยาง ผิดฝาผิดตัวดวยภาพที่แชแข็งวัฒนธรรม เชน “มนุษยโบราณ”, “มนุษยดึกดําบรรพ”และ “ชุมชนยุคหิน” (ดู คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549a: 19; ชาตรี เจริญศิริ 2549: 1) วัฒนธรรมของชาวมลาบรียังถูกมองในแบบวัฒนธรรมของ “ชนเผาฮัวบินเนียน” (ดู สมเจตน วิมลเกษม และคณะ 2540) ผูเขียนเห็นวา การสรางภาพที่แชแข็งอัตลักษณทางชาติพันธุ ดังกลาวมองไมเห็นการดํารงอยูของชาวมลาบรีในฐานะคนรวมสมัยกับกลุมชนอื่นๆ (Sakkarin Na Nan 2009: 236) โดยมุมมองดังกลาวยังคงผลิตซ้ําแนวคิดวิวัฒนาการนิยมที่จัดวางกลุม ชนเก็บของปาลาสัตวไวในอดีตที่ถูกทิ้งไวขางหลังนานแลวในเสนทางกาวไปสูความทันสมัย ของสังคมสมัยใหม แตที่สําคัญคือ คําวา “ฮัวบินเนียน” ก็ไมใชชื่อเรียกตนเองของผูคนแต อยางใด หากแตเปนศัพทบัญญัติทางโบราณคดีที่ใชอางอิงในหมูนักโบราณคดีเพื่อจัดการกับ ขอมูลทางโบราณคดีที่จะนําไปเปรียบเทียบกับขอมูลจากหลักฐานและแหลงโบราณคดีใน เอเชียตะวัน ออกเฉีย งใต แหล งอื่น ๆ โดยเริ่มเปนที่ รูจัก กันครั้งแรกจากนั กวิชาการดา น โบราณคดีที่เขาไปศึกษาขุดคนแหลงโบราณคดีที่เมืองฮัวบิง (Hoa Binh) ประเทศเวียดนาม ในชวงตนคริสตศตวรรษ 1900 (Higham 2002) ๒๘


ถึ ง ตรงนี้ จะเห็ น แล ว ว า การนํ า “เมื อ งน า น” ย อ นกลั บ ไปไกลถึ ง ยุ ค ก อ น ประวั ติ ศ าสตร เ ป น ปรากฏการณ ที่ เ พิ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในยุ ค สมั ย ใหม เ ท า นั้ น “เมื อ งน า นยุ ค ก อ น ประวัติศาสตร” จึงเปนผลผลิตของความทันสมัยและเกี่ยวของกับผูกระทําการที่ประกอบ สรางเรื่องเลาทางประวัติศาสตรแตกตางกันไปตามตําแหนงแหงที่ของตัวเอง ในสวนถัดไป ผูเขียนไดนําเอาการสรางเมืองนานในประวัติศาสตรรัฐจารีตมาวิเคราะห ดังจะไดเห็นตอไป 3. นานที่ถูกสรางผานการเขียนประวัติศาสตรรัฐจารีตภายใตการกอตัวของรัฐชาติ น า นเป น จั ง หวั ด หนึ่ ง ในประเทศไทยที่ มั ก ถู ก กล า วถึ ง ในฐานะดิ น แดนที่ มี ประวัติศาสตรเกาแกยาวนาน การศึกษาประวัติศาสตรเมืองนานถือวามีจุดเดนจากการที่มีการ จดบันทึกไวจํานวนมากในหลายรูปแบบตั้งแตคัมภีรใบลาน พับสา จารึกที่มีอยูตามฝาหีบ ธรรม ศิลาจารึก ฯ ขาราชการในจังหวัดนานยังเคยจัดทําเอกสารขอมูลของจังหวัดในชื่อ “นครนาน” ที่พิมพในป พ.ศ. 2478 เพื่อเปนของที่ระลึกในงานฉลองรัฐธรรมนูญดวย (สรัสวดี อองสกุล 2551: 104) เมื่อกลาวถึงจุดกําเนิดของเมืองนานยุคประวัติศาสตรแลว งานเขียนยุคใหมมักชี้ไปที่จุดกําเนิดเมืองปวหรือวรนคร (ตัวอยางเชน คณะอนุกรรมการ อนุรักษและพัฒนาเมืองนาน 2553: 11; จังหวัดนานและสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน 2552: 3-3; ดวงจันทร อาภาวัชรุตม เจริญเมือง 2547: 176; สมัย สุทธิธรรม 2539: 5; สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2548: 6) ดังมีหลักฐานการ กอตั้งเปนเมืองโบราณในหุบเขามาตั้งแตกลางพุทธศตวรรษที่ 18 (คณะทํางานเอกลักษณ นาน 2549b: 1) ประเด็นที่นาสนใจคือ ชวงเวลากอนหนาการตั้งบานแปงเมือง จึงบงบอกถึง “ชองวาง” ทางประวัติศาสตรของเมืองนานหรือไม? สําหรับพัฒนาการทางประวัติศาสตรของเมืองนานในยุคจารีต มีการแบงชวงเวลา หลายแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการเลือกของผูเรียบเรียงวาจะใชเหตุการณใดเปนสําคัญ โดยแตเดิม นั้น ในเอกสารโบราณอยาง “ราชวงษปกรณ พงศาวดารเมืองนาน” ที่เปนเอกสารเกาแกแตง ขึ้นในป พ.ศ. 2446 มีการแบงเนื้อหาเปน สองตอนที่แยกความสําคัญในตอนแรกเปนความ เปนมาของลานนาไทยและตอนสองเปนเรื่องความเปนมาของการตั้งบานแปงเมืองจากชวง กําเนิดขุนนุนขุนฟองที่เมืองปว สวนเอกสารที่แตงในยุคสมัยใหมอยาง “แผนแมบทและผัง แมบทการอนุรักษและพัฒนาบริเวณเมืองเกานาน” แบงประวัติศาสตรเมืองนานอยางคราวๆ เปนสองยุค คือ ยุคกอนประวัติศาสตรและยุคประวัติศาสตร (จังหวัดนานและสํานักงาน ๒๙


วัฒนธรรมจังหวัดนาน 2552: 3-2) ในเอกสารของ จังหวัดนานและสํานักงานวัฒนธรรม จังหวัดนาน (2552: 3) แบงชวงประวัติศาสตรเมืองนานเปนหาชวง ไดแก ชวงสรางเมืองปว และเมืองนาน ระหวางพุทธศตวรรษที่ 18 – 1911 ชวงความสัมพันธกับกรุงสุโขทัย ระหวางป พ.ศ. 1915 – 1981 ชวงเมืองนานขึ้นกับอาณาจักรลานนา ระหวางป พ.ศ. 1993 – 2101 ชวงเมืองนานตกเปนเมืองขึ้นของพมา ระหวางป พ.ศ. 2103 – 2328 ชวงเมืองนานขึ้นกับกรุงรัตนโกสินทร ระหวางป พ.ศ. 2331 – 2474 การแบงชวงดังกลาว มีความคลายคลึงกับความการแบงชวงที่แสดงตอเนื่องของเมืองนานยุคประวัติศาสตรเปนหา ยุคสําคัญของเมือง โดยดูจากยุคสมัยการปกครองและการโยกยายเมืองไปพื้นที่ตางๆ ไดแก (1) เมืองปว ชวงกลางพุทธศตวรรษที่ 18 - 1901 (2) ภูเพียงแชแหง ชวง พ.ศ. 1902 1906 (3) เวียงใต ชวง พ.ศ. 1911 - 2360 (4) เวียงเหนือ ชวง พ.ศ. 2362 - 2397 (5) เมืองนานในปจจุบัน ชวง พ.ศ. 2397 – 2474 (ดู สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2548: 6-15) หากเราวางเมืองนานยุคประวัติศาสตรลงไปในบริบททางประวัติศาสตรที่กวางขึ้น อยางประวัติศาสตรลานนาแลว จะเห็นไดวา แนวโนมของการแบงชวงเวลาการเปลี่ยนแปลง ของเมืองนานจะยังคงมีทิศทางสอดคลองกับภาพการเปลี่ยนแปลงของอาณาจักรลานนา แต อยางไรก็ตาม ผูเขียนพบวา ยังมีความแตกตางจากการจัดวางภาพประวัติศาสตรที่ลดทอน ความซับซอน โดยสามารถเห็นจากแนวทางการเลือกตั้งชื่อยุคสมัยไปที่เรื่องของ “เมือง” อัน แสดงลักษณะทางกายภาพมากกวาจะแสดงใหเห็นการเชื่อมโยงเมืองเขากับปรากฏการณอัน ซับซอนของความสัมพันธทางสังคมและวัฒนธรรมในแตละยุคสมัย (ดู สํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2548: 6-15) ขอสังเกตดังกลาวสามารถเขาใจไดมากขึ้น หากพิจารณาความแตกตางของการ เลือกตั้งชื่อยุคสมัยของประวัติศาสตรเมืองนานกับประวัติศาสตรลานนา ดังตัวอยางที่พบได จากงานเขียนของ สุรัสวดี อองสกุล (2551) ที่สะทอนความเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร ไดจากการแบงชวงประวัติศาสตรลานนา ไดแก (1) ยุคแวนแควน-นครรัฐในดินแดนลานนา กอนกําเนิดอาณาจักรในพุทธศตวรรษที่ 19 (2) ยุคอาณาจักรลานนา (พ.ศ. 1839 – 1898) พัฒนาการของอาณาจักร และอาณาจักรลานนา (พ.ศ. 1839 – 2101) การ ปกครอง เศรษฐกิจ ความสัมพันธระหวางอาณาจักรลานนาและรัฐไทยใกลเคียง (3) ยุคพมา ปกครอง (พ.ศ. 2101-2317) จากศูนยกลางอํานาจสูรัฐชายขอบ (4) ยุคลานนาสมัยเมือง ๓๐


ประเทศราชแหงราชอาณาจักรสยาม (พ.ศ. 2317 – 2442) (5) ยุคอิทธิพลจักรวรรดินิยม ตะวันตกในดินแดนลานนาและปญหาที่เกิดขึ้น (6) ยุคการรวมหัวเมืองประเทศราชเขาสู สวนกลาง ลานนาสมัยรัฐสมบูรณาญาสิทธิราช (7) ยุคภาคเหนือยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง ยิ่ ง ไปกว า นั้ น ดั ง ที่ ผู เ ขี ย นเคยเสนอให เ ห็ น ประเด็ น ป ญ หา “เมื อ งน า นยุ ค ก อ น ประวัติ ศาสตร” เป นผลผลิต ในยุคสมัย ใหมที่ ความรูดา นโบราณคดี กอนประวั ติศ าสตร มี ความสําคัญไปแลว แตสําหรับ “เมืองนานยุคประวัติศาสตร” ผูเขียนมีขอสังเกตเพิ่มอีกวา ในขณะที่ เ ราได เ ห็ น “ช อ งว า ง” ทางประวัติ ศ าสตร ก อนหน า การตั้ ง เมื อ งโบราณในพุ ท ธ ศตวรรษที่ 18 การนําเอา “เมืองนานยุคประวัติศาสตร” ไปเชื่อมตอกับ “เมืองนานยุคกอน ประวัติศาสตร” จึงเปนการเชื่อมตอระหวางยุคสมัยที่ไมไดเปนไปอยางไรรอยตอ กลาวอีกนัย หนึ่งก็คือ ความตอเนื่องของประวัติศาสตรเมืองนานที่เรารับรูเปนเพียงการสรางขึ้นมาดวย กรอบมุ ม มองที่ มุ ง เชื่ อ มโยงเหตุ ก ารณ ห นึ่ ง ไปสู เ หตุ ก ารณ ห นึ่ ง ภายใต ข นบการเขี ย น ประวัติศาสตรแบบจารีตเทานั้น ประวัติศาสตรเมืองนานจึงไมไดมีความตอเนื่องอยางที่เราเคย รับรูผานเอกสารที่เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตรเมืองนาน ขอเสนอดังกลาวอาจดูเหมือนสุดขั้ว สําหรับคนที่ยังคงเชื่อวา ประวัติศาสตรเมืองนานมีความตอเนื่องและเกิดขึ้นจากการนําเอา “ขอเท็จจริง” มาจดบันทึกลงไปอยางปราศจากอคติใดๆ ความเขาใจดังกลาวจึงอาจมองไม เห็นวา เมื่อจับประวัติศาสตรเมืองนานใสลงไปในบริบทของยุคสมัย ประวัติศาสตรเมืองนาน ไมไดเปนเพียง “ความรู” เทานั้น หากแตเปน “ความอยากรู” ที่สัมพันธอยางแยกไมออกกับ การเมืองของการบงบอกอัตลักษณของผูคนภายใตบริบทของการกอตัวของรัฐชาติไทย โดย ผูเขียนขออธิบายตอไปขางหนา จากการคนควาเอกสารโบราณของ สุรัสวดี อองสกุล (2551: 105) ไดชี้ใหเห็น รองรอยของความไมตอเนื่อง ดังทีก่ ารเรียบเรียงเอกสารที่มีความเกาแกทางประวัติศาสตรของ เมืองนานเรื่อง “ราชวงษปกรณ พงศาวดารเมืองนาน” ในประชุมพงศาวดารภาคที่ 10 ที่ เรี ย บเรี ย งในป พ.ศ. 2446 โดยพระเจ า สุ ริ ย พงษ ผ ริ ต เดชสั่ ง ให แ สนหลวงราชสมภาร ดําเนินการ ผูเรียบเรียงไดมีการตัดตอขอความบางอยางจากตํานานเกาลงไปดวย โดยสงผลทํา ใหเกิดความตอเนื่องทางประวัติศาสตรที่สามารถสรางความชอบธรรมใหกับการเชื่อมโยง ราชวงศนานเขากับ เชื้อสายของราชวงศลวจังกราชที่มีค วามเก าแกใ นการสถาปนาความ เปนมาของลานนา โดยพบวา มีการอางในเนื้อหาตอนที่หนึ่งของพงศาวดารวา ราชวงศลวจังก ๓๑


ราชไดสงราชบุตรมาปกครองเมืองนาน แต เมื่อตรวจสอบแลวจึงพบวา เนื้อหาที่กลาวถึ ง ราชวงศลวจังกราชกลับไมไดสัมพันธกับเรื่องใดในตอนสองที่เริ่มจากเรื่องกําเนิดขุนนุนขุนฟอง ที่มีลําดับเหตุการณเรื่อยมาถึงสมัยพระเจาสุริยพงษผริตเดชเลย ดังนั้น หากพิจารณาจาก ขอสังเกตของสุรัสวดี อองสกุล “ประวัติศาสตรเมืองนาน” โดยเฉพาะประวัติศาสตรเมืองนาน ยุคจารีตจึงเปนสิ่งที่ถูกตัดตอขึ้นใหมโดยการเรียบเรียงของคนในชวงกลางทศวรรษ 2440 กระนั้น แมขอเสนอของสุรัสวดี อองสกุล ในเรื่องการตัดตอและความคลาดเคลื่อน ดังกลาวจะมีความนาสนใจ แตผูเขียนพบวา ขอเสนอดังกลาวกลับไมไดรับการนํามาถกเถียง กันตอในการศึกษาและเรียบเรียงประวัติศาสตรเมืองนานในงานเขียนสมัยใหม ดังที่การเขียน ประวัติศาสตรเมืองนานตามที่ปรากฏในเอกสารสมัยใหมในภายหลังหลายชิ้นก็ยังคงผลิตซ้ํา ความตอเนื่องทางประวัติศาสตรเมืองนานที่อางอิงความเชื่อมโยงของราชวงศนานกับราชวงศ ลวจังกราชเชนเดิมตอไป ซึ่งเทากับเปนการไมยอมถกเถียงประเด็นดังกลาวและไมมีแมกระทั่ง การใสวงเล็บที่เปนขอสังเกตของสุรัสวดี อองสกุล เอาไวแตอยางใด นอกจากนี้ อิทธิพลการกอตัวของรัฐชาติไทยยังสงผลตอการเขียนประวัติศาสตร ทองถิ่นโดยเฉพาะอยางยิ่งความพยายามจะอธิบายอดีตอันหางไกลดวยใชแวนของ “ความ เปนไทย” มากํ าหนดมากเกิน ไปดวย หากใช ขอสังเกตในงานเขียนเรื่อง “ประวั ติศาสตร สุโขทัยที่เพิ่งสราง” ของ วริศรา ตั้งคาวานิช (2557) พบวา นับจากชวง ป พ.ศ. 2450 – 2495 นับเปนชวงเวลาที่มีการสรางสุโขทัยใหกลายเปนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรชาติ การ สรางความเปนไทยและการสรางความเปนอุดมคติหรือเปนยุคทองของไทยอันเกิดขึ้นจากการ สรางประวัติศาสตรสมัยใหม โดยปริศราไดตั้งขอสังเกตปรากฏการณการสรางวัดและการแปล คัมภีรตางๆ ที่เรื่องราวสวนใหญอยูในลานนาในชวงรัตนโกสินทรวา มีการตัดตอความเปนพวก เดี ย วกัน ลงไปในประวั ติ ศาสตรสุ โ ขทัย ในขณะที่ ลา นนาในทั ศนะของสยามยั ง ไมใ ช พ วก เดียวกับตน แมในสมัยรัชกาลที่ 5 ก็ยังมีการรียกชาวลานนาวาเปน “ลาว” ทั้งนี้เปนพื้นฐาน ของการสรางประวัติศาสตรของรัฐชาติสมัยใหมที่เนนการสรางสํานึกทางประวัติศาสตรที่มี ลักษณะอยางนอย 3 ประการ กลาวคือ มีเอกภาพ มีความตอเนื่องและมีความยาวนาน การ สรางประวัติศาสตรของ “ชาติไทย” จึงตองแสดงความตอเนื่องยาวนานไมขาดตอนและ สามารถสื บ ย อ นไปได ไ กลมากที่ สุ ด ทั้ ง ที่ สิ่ ง เหล า นี้ เ พิ่ ง ถู ก สร า งขึ้ น ในยุ ค สมั ย ใหม เ ท า นั้ น (วริศรา ตั้งคาวานิช 2557: 7-30)

๓๒


เมื่อหันมาพิจารณาการอธิบายประวัติศาสตรของเมืองนานในชวงการกอตัวของรัฐ จารีตแลว ผูเขียนพบวา ไมวาผูเรียบเรียงประวัติศาสตรจะรูตัวหรือไมก็ตาม เอกสารยุคใหม หลายชิ้ น ดู เ หมื อ นไม ไ ด ตั้ ง คํ า ถามกั บ การนํ า เอาอุ ด มการณ ค วามเป น ไทยมาวางลงไปใน ประวัติศาสตรเมืองนานยุคจารีตและที่สําคัญคือ ไมมีการอางอิงกับการตีความหลักฐานทาง ประวัติศาสตรจนทําใหดูเปน “ขอเท็จจริง” ที่นาเชื่อถือจนยอมรับไดโดยไมตองมีการพิสูจน ตรวจสอบอีกตอไป ดังจะเห็นไดจากตัวอยางขอความตอไปนี้ “นครนาน หรื อ “นันทบุรี” เป นนครรัฐ ของชนชาวไทย ที่ รวมตั ว กั น บริ เ วณที่ ร าบลุ ม แม น้ํ า น า นในหุ บ เขาภาคเหนื อ ทาง ตะวั น ออกตั้ ง แต ก ลางพุ ท ธศตวรรษที่ 18 ซึ่ ง เป น ช ว งระยะเวลา ใกลเคียงกับการรวบรวมตัวกอตั้งนครรัฐหรือแวนแควนของชนชาว ไทยผูอยูอาศัยในบริเวณลุมแมน้ํากกและแมน้ําปงทางตอนบนของ ภาคเหนือ” (คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549b: 1) แนวคิดดังกลาวอาจเปนไปไดเมื่อพิจารณาจากขอสังเกตเรื่อง “รัฐกาว” ที่สรางบาน แปงเมื องในบริเ วณลุ มน้ํ าน านตอนบนอยา งเมืองปว ที่เ กี่ยวขอ งกั บพญาภู คาปฐมกษั ตริ ย ราชวงศกาว ครองเมืองขนาดเล็กในบริเวณที่ราบลุมน้ํายาง น้ําสาขาของแมน้ํานานในบริเวณ เขตอําเภอทาวังผา โดย สุรัสวดี อองสกุล ไดชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวางสุโขทัยกับชาวกาว ที่มีการกลาวถึงไวในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 และเอกสารอยางพื้นเมืองนาน ฉบับวัดพระ เกิด ยังไดขยายความเกี่ยวกับชาวกาววา เปนคนไทยกลุมหนึ่ง (ดู สรัสวดี อองสกุล 2551: 107) แตขอสังเกตดังกลาวก็ไมไดรับการอางถึงแตอยางใดในเอกสารสมัยใหมที่เลาเรื่องราว เกี่ยวกับประวัติศาสตรนาน (ดู คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549a: 31; คณะทํางาน เอกลักษณนาน 2549b: 1) แตกระนั้น แมจะนําเอาขอสังเกตเรื่องกาวนานโดยอางถึง ขอสังเกตของสุรัสวดี อองสกุลมาใชก็ตาม ประเด็นสําคัญก็ยังคงอยู นั่นคือ ผูคนในดินแดน แถบนี้ไมวาจะเปนลุมน้ํานาน ลุมน้ํากกและแมน้ําปง ไดถูกอธิบายดวยแวน “ความเปนไทย” อันทํา ใหผู คนที่มี ความแตกตางหลากหลายทางชาติ พันธุ ในดิ นแดนแถบนี้ทั้งหมดละลาย หายไปดวยการเหมารวมใหเปนคนไทย ตัวอยางขางตนยังชี้ใหเห็นอีกดวยวา การนําประวัติศาสตรมาใชเปนเครื่องมือสราง สํานึกชาตินิยมที่ดําเนินการมานานจึงไมไดมีทิศทางในการเขียนจากสวนกลางเทานั้น แตยัง เกิดขึ้นจากการเขียนประวัติศาสตรจากภายในทองถิ่นเองอีกดวย การเขียนประวัติศาสตร ๓๓


เมื อ งน า นในยุ คสมั ยใหมจึ ง สะท อ นความสํ า เร็ จ ของโครงการสรา งสํา นึ กความเป นไทยที่ ดําเนินการมานานในพื้นที่ภาคเหนือ โดยการสรางสํานึกความเปนไทย เริ่มมาตั้งแตยุคการ สรางเอกภาพแหงชาติในสมัยรัชการที่ 5 และเริ่มเขมขนมากขึ้นในสมัยจอมพล ป. พิบูล สงคราม ที่มีนโยบายชาตินิยม โดยประวัติศาสตรกระแสหลักของชาติไดหันมาสรางสุโขทัยใน ฐานะราชธานีเกาแกกอนสมัยอยุธยา ประวัติศาสตรแนวนี้เกิด ขึ้นจากพระราชดํารัสของ รัชกาลที่ 5 เมื่อถึง พ.ศ. 2471 ขุนวิจิตมาตรา (สงา กาญจนาคพันธุ) ผูเขียนหนังสือหลัก ไทย ยังไดแผขยายความเปนไทยไปไกลมากขึ้นดวยการเสนอวา ถิ่นกําเนิดของชนชาติไทยอยู ที่ภูเขาอัลไต และเคยปกครองดินแดนอันเปนประเทศจีนในทุกวันนี้ไดเกือบทั้งหมด (สรัสวดี อองสกุล 2551: 569) โดยในทศวรรษ 2480 จอมพล ป. ไดสรางนิยาม “ชาติไทย” เพื่อ ทําใหคนไทยสนับสนุนการสรางกองทัพที่จะนําไปสูการขยายอํานาจไปครอบครองดินแดนที่ คน “เชื้ อ ชาติ ไ ทย” ทั้ ง หลายอาศั ย อยู โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ช ว งสงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง หนังสือพิมพและวิทยุกระจายเสียงไดนํางานของพระยาอนุมานราชธนออกเผยแพรภายใต นโยบายการสราง “ชาติไทย” ใหเปน “มหาประเทศ” ที่มี “อารยธรรม” ระดับสูง เพื่อทําให “ชาติไทย” กลายเปน “มหาอํานาจในแหลมทอง” (สายชล สัตยานุรักษ 2556: 65-66) นอกจากตําราแลว แผนที่เปนอีกสิ่งหนึ่งที่ถูกนํามาใชกระตุนความรูสึกชาตินิยมและ เนนถึงอารมณความรูสึกใหอยากเอาดินแดนที่มีคืนมา ดังที่สายชล สัตยานุรักษ (2556: 7374) ไดพบวา พระยาอนุมานราชธนไดนําแผนที่มาใชยืนยันดินแดนอันกวางใหญใหเปนที่อยู ของ “ชนชาติ ใ ช ภ าษาไทย” นั้ น เป น “ดิ น แดนของไทย” โดยมี ก ารนํ า มาใช ใ น “แผนที่ ประกอบเรื่องไทย-จีน” ที่พิมพขอความขนาดใหญวา “ดินแดนไทย” ไวเหนือแผนที่ดังกลาว ดวย ประเด็นของสายชลไมไดโตแยงวา ไมมีคนเชื้อชาติไทยในดินแดนทางใตประเทศจีน แต ตอ งการชี้ ใ ห เ ห็ น ว า สิ่ ง นี้ เ ป น “ความรู ” ที่ ผ ลิ ต ขึ้ น โดยนั ก ปราชญ แ ละวงวิ ช าการในช ว ง ทศวรรษ 2480 โดยเฉพาะเจาะจงมาที่พระยาอนุมานราชธน ผูซึ่งเสนอการวิเคราะหตํานาน พื้นเมืองตางๆ ในภาคเหนือใหสามารถเชื่อมตอเขากับขอสรุปที่จะรวมเอาดินแดนเหลานั้นเขา เปน “อาณาเขตไทย” โดยพระยาอนุมานราชธนถึงกับเสนอวา กษัตริยหลายองคในตํานาน เปน “ไทย” เชน ลวจังกราชและขุนเจือง ที่ไดรับการบรรยายวา “เปนกษัตริยไทย มีอานุภาพ มาก ตี ไ ดเ มื อ งหลวงพระบางตลอดมาออกไปถึ งดิ น แดนตั งเกี๋ ย เมื องญวณแล วไปตายใน สงคราม ทางลานนาไทยไดมีกษัตริยสืบๆ มา”

๓๔


ในสวนการนําแผนที่มาใชในการแสดง “อาณาเขต” ของเมืองนานในยุคจารีตนั้น สามารถเห็นไดจากเอกสารสมัยใหม (ดู คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549b: หนาปก; สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2548: 6) ที่นําเอาภาพแผน ทีเ่ มืองนานมานําเสนอดวยเชนกัน โดยผูเรียบเรียงจะรูตัวหรือไมก็ตาม เมื่อพิจารณาภาพบน หนาปกหนังสือ นครนาน: พัฒนาการเปนนครรัฐ (คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549b) จะ เห็นไดวา นอกจากภาพขาหลวงและเจานายเมืองนานแลว ยังมีการเลือกนําเสนอภาพแผนที่ ประวัติศาสตรในยุคที่เกิดความขัดแยงในชวงของการลาอาณานิคมที่เกิด “การเสียดินแดน” ในแถบฝงขวาแมนําโขงที่ขึ้นกับเมืองนานใหกับฝรั่งเศสในชวง พ.ศ. 2446 ยิ่งไปกวานั้น หากจะตีความไปอีกชั้นหนึ่ง ดังที่สีแดงมักถูกใชในลักษณะที่หมายถึงสีประจําธงชาติไทยแลว แผนที่ดังกลาวแมตองการบงบอกถึง “ดินแดนไทย” แตไดมองขามไปหรือไมวา อักษรสีแดง ขนาดใหญที่เขียนวา “นครนาน” ไดครอมลงไปบนเมืองเวียงจันทรที่เปนเมืองหลวงของ ประเทศลาวในปจจุบันดวย

ภาพหนาปกหนังสือเรื่อง นครนาน: พัฒนาการเปนนครรัฐ (คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549b)

๓๕


นอกจากการสูญ เสีย ดิ นแดนแล ว โครงสรา งการปกครองของเมือ งนา นก็มี ก าร เปลี่ยนแปลงไป นับตั้งแตที่มีการปฏิรูปการปกครองมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมีการลด อํานาจการปกครองของเจาผูครองนครลง โดยเฉพาะหลังป พ.ศ. 2474 เมื่อเจามหาพรมสุร ธาดาที่เปนเจาผูครองนครนานองคสุดทายถึงแกพิราลัย ตําแหนงนี้ก็ถูกยุบไป โดยเมืองนานได กลายเปนจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยในป พ.ศ. 2477 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการ ปกครองของประเทศไทยจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาสูระบอบประชาธิปไตยในชวง พ.ศ. 2475 โดยสรุป ผูเขียนไดชี้ใหเห็นแลววา การสรางประวัติศาสตรเมืองนานในยุครัฐจารีต เกิดขึ้นภายใตการกอตัวของรัฐชาติสมัยใหม ประวัติศาสตรเมืองนานจึงไมไดแยกออกจาก ประวัติศาสตรชาติที่ถูกนํามาเปนสวนหนึ่งในโครงการสรางเอกภาพของชาติ ประวัติศาสตร เมืองนานจึงไมใชเพียง “ขอเท็จจริง” ที่มีอยูรอใหผูเขียนนํามาบันทึกเทานั้น หากแตการสราง ประวัติศาสตรเมืองนานกลับแสดงใหเห็นถึงความเคลื่อนไหวทางความคิดและไมไดแยกออก จากบริบททางสังคมและกระบวนการทางประวัติศาสตรในวงกวาง การอธิบายประวัติศาสตร เมืองนานผานภาพเมืองแหงขุนเขาอันแสนหางไกล แลดูสงบนิ่งและชีวิตของผูคนก็ดําเนินไป อยางเนิบนาบมาชานาน อาจใชไดในกระแสการทองเที่ยววัฒนธรรมในปจจุบันเทานั้น แตการ รับรูที่ลดทอนภาพเมืองนานแบบนั้น ไมชวยใหเราเขาใจประวัติศาสตรเมืองนานที่เต็มไปดวย การเปลี่ยนแปลงได 4. บทสรุปทิ้งทาย ตามที่บทความไดแสดงใหเห็น “เมืองนาน” ทั้งในชวงกอนประวัติศาสตรและชวง ประวัติศาสตรไปแลว ในปจจุบันนี้ การเปลี่ยนแปลงในการรับรูที่มีตอเมืองนานก็ยังคงมีพล วัตรตอไป ดังจะเห็นไดจากการปรับเปลี่ยนตําแหนงแหงที่จากจังหวัดหางไกลอันเปนเมืองที่ ไดรับการพัฒนาภายหลังจากที่รัฐหันไปเนนการพัฒนาในเขตเมืองหลักอื่นๆ ในภาคเหนือแลว กระแสการพัฒนาสมัยใหมที่คํานึงถึงความยั่งยืนนั้น มีสวนกอรูปแบบเชิงอุดมคติที่มีตอ “เมือง นาน” ดังจะเห็นไดจากการวางยุทธศาสตรการพัฒนาที่ตองการให “จังหวัดนานเปนจังหวัดที่ มีระบบนิเวศแบบยั่งยืน มีประสิทธิภาพ และจะเปนนิวซีแลนดใหมจังหวัดสุดทายในประเทศ ไทยและของโลกที่ประสบปญหามลภาวะ” (ดู แผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดนาน (มปท. มปป.) น. 7 อางใน ดวงจันทร อาภาวัชรุตม เจริญเมือง 2547: 245-246) ๓๖


สําหรับทิ้งทายของบทความนี้ ผูเขียนขอสารภาพวา ดวยขอจํากัดของเวลาในการ เตรียมบทความเพียงเดือนเศษและความรูทางประวัติศาสตรที่มีอยางจํากัดของตัวผูเขียนเอง บทความชิ้นนี้จึงไมไดมุงหวังและยังเปนไปไมไดที่จะเสนอภาพประวัติศาสตรเมืองนานอยาง ละเอียดเต็มไปดวย “ขอเท็จจริง” อยางไรก็ตาม ผูเขียนเห็นวา แมประวัติศาสตรเมืองนานจะ ไดรับการเขียนไวเปนจํานวนมากแลว แตการศึกษาประวัติศาสตรเมืองนานยังคงขาดการ คนควาและตีความขอมูลในอีกหลายมิติที่อาจปรากฏแทรกอยูตามหลักฐานและงานเขียนทาง ประวัติศาสตรอีกเปนจํานวนมาก การศึกษาเพิ่มเติมในอีกหลายมิติจึงอาจชวยปะติดปะตอ ภาพประวั ติ ศ าสตร เ มื อ งน า นที่ แ ตกต า งหลากหลายต อ ไป ยกตั ว อย า งเช น การศึ ก ษา ประวัติศาสตรในมิติชาติพันธุ (Ethnic history) ที่ใหความสนใจกลุมชนตางๆ ในสังคมที่มีพล วัตรของความสัมพันธระหวางกันในแตละยุคสมัย การศึกษาประวัติศาสตรในมิตินิเวศวิทยา (Ecological history) ที่สนใจความคิดวาดวยธรรมชาติและปฏิสัมพันธระหวางผูคนกับ สิ่งแวดลอมในอดีต และการศึกษาประวัติศาสตรในมิติเพศสภาวะ (Gender history) ที่สนใจ การรับรูประวัติศาสตรผานมุมมองและการจัดความสัมพันธระหวางเพศของคนในอดีต เปน ตน โดยที่ผานมา พบวา มีความพยายามขยายความเขาใจเมืองนานในหลายมิติอยูบางแลว (ตัวอยางลาสุดเชน คณะผูจัดทําหนังสือนาน อนันตกาล ตํานานแหงขุนเขา เมืองเกาที่มีชีวิต 2556a; 2556b; 2556c; 2556d) ผู เ ขี ย นจึ ง หวั ง ให เ กิ ด การศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร เ มื อ งน า นมากยิ่ ง ขึ้ น โดยค น คว า หลักฐานเพิ่มเติมและพัฒนาแนวคิดที่ใชในการศึกษาประวัติศาสตรเมืองนานที่หลากหลาย ตอไป ดังจะเห็นแลววา ในแงมุมของประวัติศาสตรทองถิ่น ประวัติศาสตรนานมีลักษณะ เฉพาะเจาะจงอยูภายใตเงื่อนไขของสถานที่และเวลา เต็มไปดวยขอมูลที่เปนขอเท็จจริงเชิง ประจักษที่สามารถพบเห็นสัมผัสไดทั่วไปในหลายรูปแบบ (ชูศักดิ์ วิทยาภัค และคณะ 2546) แตบทความนี้ไดอธิบายใหเห็นในอีกแงมุมหนึ่งวา ประวัติศาสตรเมืองนานเปนสิ่งที่เพิ่งสรางขึ้น จากคนในยุ ค สมั ย ใหม ด ว ยเช น กั น ดั ง ที่ มี ค วามพยายามจากนั ก วิ ช าการและผู ส นใจ ประวัติศาสตรตลอดจนชุมชนทองถิ่นอีกจํานวนหนึ่งที่มีสวนผลิตความรูและดําเนินกิจกรรม ทางวัฒนธรรมที่กอใหเกิดการรื้อฟนความทรงจําทางสังคมขึ้นในชวงหลายทศวรรษที่ผานมา การหั น มาทํ า ความเข า ใจประวั ติ ศ าสตร น า นในฐานะที่ เ ป น วาทกรรมทาง ประวัติศาสตรแบบหนึ่งจึงชวยใหเราตระหนักถึงปญหาของการพยายามทําใหประวัติศาสตร นานกลายเปนเรื่องเลาขนาดใหญที่เสร็จสมบูรณตอเนื่องในตัวเอง ความพยายามดังกลาว ๓๗


แทนที่จะชวยใหประวัติศาสตรนานทําหนาที่เชิงวัฒนธรรมที่นําไปสูการยอมรับประวัติศาสตร ที่แตกตางหลากหลาย อาจกําลังนําไปสูการแชแข็งประวัติศาสตรเมืองนานดวยการทําให กลายเรื่องเลาขนาดใหญอยางตายตัวอยางนั้นหรือไม? หากทําความเขาใจในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่กวางขึ้น จังหวัดนานเปน พื้ น ที่ ซึ่ ง มี ลั ก ษณะพหุ ลั ก ษณ ท างวั ฒ นธรรม (Cultural pluralism) ผู ค นมี ก ารติ ด ต อ เคลื่อนยายเชื่อมโยงขามแดนมานานและทวีความเขมขนมากยิ่งขึ้นภายใตกระบวนการโลกาภิ วัตน การดํารงประวัติศาสตรเมืองนานตอไปในอนาคตจึงควรคํานึงถึงประวัติศาสตรเชิง วัฒนธรรมทีแ่ ตกตางหลากหลายจากผูคนหลายกลุม การหมกมุนอยูกับการมุงหาหลักฐานทาง ประวัติศาสตรในแบบสารัตถะนิยมมากเกินไปอาจมองไมเห็นความสําคัญของประวัติศาสตร ทองถิ่นในฐานะของกระบวนการของการบงบอกอัตลักษณของผูคน โดยสิ่งนี้มีสวนสําคัญตอ การวางรากฐานการเรียนรูของผูคนและการเสริมพลังในการจัดการความสัมพันธของผูคน ทามกลางการเปลี่ยนแปลง ทิ้งท ายของบทความนี้ จึงมี ขอเสนอวา ตามที่แนวทางการพัฒ นาจั งหวั ดนา นใน ปจจุบันตองการใหนานเปนจังหวัดที่รักษาคุณคาทางวัฒนธรรมทองถิ่นพรอมไปกับการพัฒนา ที่ ยั่ ง ยื น นั้ น การประกอบสร า งประวั ติ ศ าสตร น า นจึ ง ไม น า จะใช แ ต เ พี ย งแค ก ารนํ า “ข อ เท็จ จริ ง” มาจั ด เรีย งลํ าดั บ และยึ ด โยงอยูกั บ มุ มมองของคนกลุ ม ใดกลุ มหนึ่ ง เท า นั้ น หากแต ก ารประกอบสร างประวั ติศ าสตร เ มือ งนา นในอนาคตควรทํา หน าที่ เ ปน พื้ นที่ ท าง วัฒนธรรมที่เปดกวางใหกับผูคนหลายกลุมที่มีประวัติศาสตรทางวัฒนธรรมของตนเอง สิ่งนี้ อาจชวยเพิ่มทางเลือกในการสรางประวัติศาสตรเมืองนานอันสอดคลองกับคุณคาในสังคม ประชาธิปไตยที่เปดกวางและเคารพในคุณคาความแตกตางหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ชวย ใหผูคนอยูรวมกันอยางมีศักดิ์ศรีในสังคมอยางมีความสุขตอไป อางอิง Baba, Yuji

2009 Interpretation of Migration History in Rural Development Age: Written Documents and Other Sources of History. In Senri Ethnological Studies: Written Cultures in Mainland Southeast Asia. M. Kashinaga, ed. Pp. 51 - 61, Vol. 74. Chusak Wittayapak 2008 History and geography of identifications related to resource conflicts and ethnic violence in Northern Thailand. Asia Pacific Viewpoint 49(1):111-127. Foucault, Michel ๓๘


1977 Nietzsche, genealogy, history. In Language, Counter-Memory, Practice: Selected Essays and Interview. D.F. Bouchard, ed. Pp. 139-164. Ithaca, New York: Cornell University Press. Higham, Charles 2002 Early Cultures of Mainland Southeast Asia. Bangkok: River Books Ltd. Sakkarin Na Nan 2009 Resource Contestation between Hunter-Gatherer and Farmer Societies: Revisiting the Mlabri and the Hmong Communities in Northern Thailand. In Interactions between Hunter-Gatherers and Farmers: from Prehistory to Present. K. Ikeya, H. Ogawa, and P. Mitchell, eds. Pp. 229 - 2446. Osaka, Japan: National Museum of Ethnology. ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร 2554 แนะนําสกุลความคิดหลังโครงสรางนิยม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสมบัติ. ไพโรจน คงทวีศักดิ์ 2552 เมืองคืออะไร? ฤาเปนเพียงคําถามที่ไรสาระ. วารสารสังคมศาสตร (ภูมิศาสตรและ การเปลี่ยนแปลงในลานนา) 21(1):13-44. กรมศิลปากร 2530 เมืองนาน (Muang Nan). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. คณะทํางานเอกลักษณนาน 2549a เอกลักษณนาน (Nan uniqueness in brief). เชียงใหม: Maxxprint (ดาวคอมพิวก ราฟก). — 2549b นครนาน: พัฒนาการเปนนครรัฐ. นาน: คณะทํางานเอกลักษณนาน. คณะผูจัดทําหนังสือนาน อนันตกาล ตํานานแหงขุนเขา เมืองเกาที่มีชีวิต 2556a นาน อนันตกาล ตํานานแหงขุนเขา เมืองเกาที่มีชีวิต: เมืองเกานาน. — 2556b นาน อนันตกาล ตํานานแหงขุนเขา เมืองเกาที่มีชีวิต: มหาการุณย. — 2556c นาน อนันตกาล ตํานานแหงขุนเขา เมืองเกาที่มีชีวิต: รอยพระบาท. — 2556d นาน อนันตกาล ตํานานแหงขุนเขา เมืองเกาที่มีชีวิต: หลากขุนเขา. คณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองนาน 2553 นาน: เมืองเกามีชีวิต (Nan Living Old Town). นาน: คณะอนุกรรมการอนุรักษและ พัฒนาเมืองนาน, สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน. จังหวัดนานและสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน 2552 แผนแมบทและผังแมบทการอนุรักษและพัฒนาบริเวณเมืองเกานาน. จังหวัดนาน: จังหวัดนานและและสํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน. ๓๙


ชาตรี เจริญศิริ 2549 นานยุคกอนประวัติศาสตร: เรื่องราวกอนมีการบันทึกดวยตัวอักษร. นาน: สํานักงาน อนุกรรมการการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกานาน. ชูศักดิ์ วิทยาภัค, สํารวย ผัดผล, and รณยุทธ ศรีนอย 2546 โครงการวิจัยประวัติศาสตรการตอสูเพือ่ เขาถึงทรัพยากรของคนเมืองนาน (History of the contestation for access to resources of Nan people). รายงานการวิจยั ฉบับ สมบูรณ. กรุงเทพฯ: สภาวิจยั แหงชาติ (สกว.). ดวงจันทร อาภาวัชรุตม เจริญเมือง 2547 เมืองยั่งยืนในสังคมไทย: แนวคิดและประสบการณของนานและพิษณุโลก. เชียงใหม: สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม. บานจิตร สายรอคํา 2541 บทบาทผูหญิงกับรูปแบบการจัดการพืชพื้นบาน กรณีศึกษาบานใหมสันติสุข กิ่ง อําเภอภูเพียง จังหวัดนาน, สาขาวิชาการจัดการมนุษยกับสิ่งแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. พิเชฐ สายพันธ 2557 เปดหนาตางเขาใจอาเซียน: แนวคิดทางวัฒนธรรมในการเขาใจเอเชียตะวันออกเฉียง ใตและอาเซียน. In จากคนสูประชาคม: เรียนรูอาเซียนในมิติวัฒนธรรม. พิเชฐ สายพันธ and ปยณัฐ สรอยคํา, eds. Pp. 17-32. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ยศ สันตสมบัติ 2545 พลวัตและความยืดหยุนของสังคมชาวนา : เศรษฐกิจชุมชนภาคเหนือ และการปรับ กระบวนทัศนวา ดวยชุมชนในประเทศโลกที่สาม. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.). วริศรา ตั้งคาวานิช 2557 ประวัติศาสตร "สุโขทัย" ที่เพิ่งสราง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมติชน. ศักรินทร ณ นาน 2548 มลาบรีกับการชวงชิงทรัพยากรในบริบทของการพัฒนาโดยรัฐ (The Mlabri and the resource contestation in the context of state-led development ) วิทยานิพนธ มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. — 2555 มลาบรีบนเสนทางการพัฒนา. เชียงใหม: ศูนยศึกษาชาติพันธุและการพัฒนา, คณะ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สมเจตน วิมลเกษม และคณะ 2540 ขอมูลวัฒนธรรมนิทัศนโครงการสื่อปฏิสมั พันธวัฒนธรรมชาติ จังหวัดนาน. นาน: ศูนย วัฒนธรรมจังหวัดนาน โรงเรียนสตรีศรีนาน. สมัย สุทธิธรรม 2539 สารคดีชุดถิ่นทองของไทย: นาน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร.

๔๐


สรัสวดี อองสกุล 2539 — 2551 สวาง เลิศฤทธิ์ 2547

พื้นเมืองนานฉบับวัดพระเกิด. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด. ประวัติศาสตรลานนา. กรุงเทพฯ: อมรินทร. โบราณคดี: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร.

สายชล สัตยานุรักษ 2556 พระยาอนุมานราชธน: ปราชญสามัญชนผูนิรมิต "ความเปนไทย". กรุงเทพฯ: มติชน. สายันต ไพรชาญจิตร 2540 โบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตรของเมืองนาน: ขอมูลเกาและขอมูลใหม. เอกสาร ประกอบการสัมมนาทางวิชาการ จัดโดยโครงการศึกษาชนชาติไทย มหาวิทยาลัยพายัพ รวมกับ ประชาคมเมืองนาน ณ โรงแรมซิตี้พารค จังหวัดนาน วันที่ 18 -21 ธันวาคม 2540. — 2547 การฟนฟูพลังชุมชนดวยการจัดการทรัพยากรทางโบราณคดี และพิพิธภัณฑ : แนวคิด วิธีการ และประสบการณจากจังหวัดนาน. กรุงเทพฯ: โครงการเสริมสรางการเรียนรูเพื่อชุมชน เปนสุข (สรส.). สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2548 แผนที่ชุมชนเมืองเกานาน (Nan Cultural Heritage Atlas). นาน: สํานักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. สําราญ จรุงจิตรประชารมย 2542 บันทึกความทรงจํา สําราญ จรุงจิตรประชารมย : ที่ระลึกครบ 7 รอบนักษัตร 9 มีนาคม 2542. นาน: ม.ป.พ. สุรศักดิ์ ศรีสําอาง, สมชาย ณ นครพนม, and ทิม มีเต็ม 2530 เมืองนาน : โบราณคดี ประวัติศาสตร และศิลปะ. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. สุรินทร ภูขจร, ed. 2526 รายงานเบื้องตน กลุมสังคมลาสัตว ชนกลุมนอยเผา "ผีตองเหลือง" ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. อภิญญตา ทนะขวาง 2553 นาน: เมืองเกาที่มีชีวิต (Nan: Living Old Town). พิมพครั้งที่ 2. นาน: สํานักงาน คณะอนุกรรมการอนุรักษและพัฒนาเมืองเกานาน, สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนาน. อานันท กาญจนพันธุ 2543 ความคิดทางประวัติศาสตรและศาสตรของวิธีคิด: รวมบทความทางประวัติศาสตร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอมรินทร.

๔๑


ปุปผาลานนา: บุบฯฯาล้าฯ¢ ดอกอาว

ดฯกอาฯ

สลุงเงิน จากป า แล ง แห ง เหลื อ ง ตลอดช วงหน ารอน ทําเอาหลาย ชีวิ ต แทบจะม ว ยเมื อ มรณ ต น ไม หลายตนตางละเรียวกิ่งกาน ใบไม สีน้ําตาลรวงหลนทับถมบนผืนดิน อันแหงผาก และรอคอยน้ําฟาที่จะ หยาดลงมาเมื่อเขาฝน ชวงในเวลาไมกี่วันที่ฝน ฉ่ํ า ฟ า ได นํ า ความชุ ม ชื่ น คื น สู ผื น ดิ น อี ก ครั้ ง ต น หญ า ต น เล็ ก ๆ ก็ เพิ่มฟนคืนชีวิต สีเขียวสดตามติด อยู ทั่ ว พื้ น ดิ น และกิ่ ง ก า นของไม ใหญ ความสมบูรณแหงธรรมชาติ ไดกอตัวขึ้นอีกครั้ง หวงโซอาหาร ในระบบนิเวศ เริ่มขับเคลื่อนตาม กระแสแหงวัฏฏะ แมลงตัวเล็ก ๆ ตางออกหากินตามตนไมใบหญา เสียงนกรองดังอยูแวว ๆ กลางปา ยามเขาฝนเชนนี้ ดูมีชีวิตชีวานาภิรมยชมชื่นยิ่งนัก ยามนี้อาหารการกินชางอุดมสมบูรณ เห็ด ถอบกลมมนซุกซอนอยูในดิน กวาจะไดกินตองกมหนาลงแซะหา แตก็ตองสะดุดตากับชอดอกที่มีกาบสีขาวซอนกันหลายชั้น ปลายกาบมีสีชมพู ออนหวานเหมือนมีใครเอาพูกันแตะสีมาแตงแตมติด มีดอกสีเหลืองเล็ก ๆ แทรกอยูระหวาง แตละกาบ สูงจากดินสักคืบ เปนดอกไมที่ประดับปาเต็งรังบนเชิงเขาเตี้ย ๆ แหงนี้ หลังจากที่ ระทมตรมไหมกับไฟปาเมื่อรอนที่ผานมา ดอกอาวตนเล็ก ๆ ที่ชูชอแทงโผลพนผิวดินขึ้นมา หลังจากรับน้ําฟาเมื่อแรกฝน เปน ที่อวดอางความงามยามนี้ได ๔๒


บางแหง ตางพรอมใจกันชูชอออกมาพรอมกันเต็มผืนปา ดอกอาว อาจมีทั้งดอกอาวขาว และดอกอาวแดง สวนใหญจะรูจักกันเพียงดอกอาว แดง ที่ทางภาคกลางวา ดอกกระเจียวแดง นั่นเอง นักพฤกษศาสตรจัดใหอยูในกลุมขิงขา หรือ ในวงศ ZINGIBERACEAE และมีชื่อทางวิทยาศาสตรวา Curcuma sessilis Gage. ซึ่งเปนพืช ลมลุก เพราะวามีหัว(ลําตน) อยูใตดิน เมื่อใดที่ไดน้ําฝนก็จะแตกหนอสงกาบใบที่อัดแนนคลาย ลําตนพาชอดอกขึ้นเหนือพื้นดิน เมื่อโตขึ้นมาหนอยใบสีเขียวเหนียวนุม มีขนออนปกคลุมดาน ทองใบ ก็จะขึ้นมาปกหม แตเมื่อยามเขาแลงก็จะเหี่ยวแหงหลุดไป สวนคําวา “อาว” นอกจากจะหมายถึงดอกกระเจียวแลว คํา ๆ นี้ยังหมายถึงนอง ของพอ หรือคนที่นับถือที่มีศักดิ์เชนนั้นดวยเชนกัน แตตอมา คํา ๆ นี้ไดเลือนไปจากทาง เชียงใหม ตั้งแตมีคําวา “อา” ไดมาแทนที่ แตบางแหงก็ยังใชคํานี้กันอยูอยางกวางขวางทาง เมืองแพรเมืองนาน สวนเหตุที่เรียกชื่อนี้ตามการลําดับญาตินี้ มีเรื่องเลาอยูวา มีอาวผูหนึ่ง ออกไปหาสมุนไพรในปาเพื่อมารักษาหลานที่นอนปวยอยูที่บาน แตไดดอกไมดอกหนึ่งมา ทํา การรักษาหลานนั้นจนหายดี ภายหลังคนทั่วไปจึงเรียกชื่อดอกไมดอกที่อาวผูนั้นนํามารักษา หลานวา “ดอกอาว” นอกจากชาวบานรานปาจะไดเห็ดถอบไปเปนอาหารแลว ยังไดดอกอาวกลับไป พรอมกันอีกดวย ตองตึงใบออนหอเห็ดถอบแลวเอากิ่งไมมากลัดเปนหอ ๆ แลวก็เอามาหอ ดอกอาวดวยความระมัดระวัง พรอมกับผักไมแรกฝนอีกจํานวนหนึ่ง ดอกอาวหากแกหนอยอาจจะเอาไปประดับได แตตอนยังออนอยูนี้หากไปทําอยาง อื่นคงจะพลาดอาหารอันโอชะไปเปนแนแท ดอกอาวดอกหอม หอมเหมือนผักชีฝรั่ง จะนําเอามายําพรอมกับผักอื่น ๆ เปนยําผัก ก็ได หรือจะเอาใสแกงก็ได รสชาติออกขมนิด ๆ เผ็ดหนอย ๆ สวนที่นิยมที่สุดก็คือนําชอดอก ที่โผลพนดินไมเกิน 2 วัน เอามานึ่งหรือเอามาตมเคียงกับน้ําพริกปลารา หรือน้ําพริกอื่น ๆ ก็ ได หากเปนดอกสด มักจะนํามาเปนเครื่องเคียงของลาบ ได หรือนํามาปรุงเปนแกงสม หรือ อาจจะแกงรวมกับผักอื่น ๆ เปนแกงแค เปนตน เหลานี้นับเปนอาหารที่ธรรมชาติหยิบยื่นให เพียงแตวาคนเราจะรูจักนํามาใชหรือไมก็เทานั้นเอง เปนอาหารที่ใหทั้งความอรอย และยังใหคุณคาในเชิงสมุนไพรอีกดวย รสชาติเผ็ด รอนปนขมออน ๆ ของดอกอาว ชวยการขับลมในรางกายไดดีอยางยิ่ง นอกจากนี้ยังชวยทําให นอนหลับสบายและชวยผอนคลายความตึงเครียดในแตละวันไดเปนอยางดี นับเปนภูมิปญญา ที่สูงยิ่ ง คนสมัยก อน ไดสั่งสมวิธีก ารกิน การอยู และใช ประโยชนจ ากธรรมชาติเพื่อ ใหไ ด ประโยชนสูงสุด ไมจําเปนตองไปอาศัยหยูกยาสมัยใหมอันแพงแสนแพง เพราะแตละวันก็กิน อาหารที่มีตัวยาเปนสวนประกอบทั้งสิ้น ๔๓


ดอกอาวสี ข าวแต ม สี ช มพู ไ ว ที่ ป ลายกาบ ฉายโฉมหลั ง รั บ น้ํ า ฟ า เมื่ อ ปลายร อ น ดูออนหวาน ดูสวยงามเหมือนหญิงสาวแรกรุน จนมีคําเรียกผูหญิงที่มักปรากฏในคําซอวา “แมจีดอกอาว” และการที่ดอกอาวมักออกอยูตามปาแลงแหงเหลือง จึงมีคําเปรียบถึงความแหงแลง ยากไรไดเปนอยางดี ในคําคราวอูบาวอูสาว ของลานนา เมื่อมีหนุมมาติดพันและเที่ยวหา สาว มักจะออกตัววา บานตัวเองนั้นยากจน อาจจะไมสมเพิงควรกับตัวพี่อายกระมัง “บานนองบานแหงบานแลง บานแผนดินขาว เซาะหาดอกอาว มาแลกกินเขา” หรืออีกสํานวนหนึ่งวา “ทุกขก็ทุกข เก็บจีดอกอาว

หนาวก็หนาว มาแลกกินเขา"

เปนการนําเอาธรรมชาติมาเรียงรอยเขามาในวิถีชีวิต การอยูกับธรรมชาติ จะตอง รูจักการสังเกตธรรมชาติ ถึงความเปนไป เมื่อนั้นจะอยูรวมกับธรรมชาติไดอยางเปนสุขและ ยาวนาน เหมือนกับดอกอาวที่เก็บตัวอยูใตดินที่แหงแลง ยามเมื่อไดฝนก็ชูดอกออกมาใหเบง บาน๚๛

๔๔


Wนฯรวัฯจําสีฯ ภาฯล้าฯ¢ ทีกําลัฯเลิฯรหาฯw “..นอนวัดจําศีล...ภาพลานนาวิถี..ที่กําลังเลือนหาย..”

ยุรธร จีนา * พระพุ ท ธศาสนามี อิ ท ธิ พ ลสํ า คั ญ ต อ วิ ถี ชี วิ ต ของคนล า นนา นั บ ตั้ ง แต ก ารเกิ ด จนกระทั่งเสียชีวิต สงผลใหชาวลานนามีลักษณะนิสัยในการชอบทําบุญ ดวยมีความมุงมั่น ศรัทธาในการสั่งสมบารมีเพื่อการไปเกิดในภพภูมิที่ดี หรือการไดบรรลุซึ่งมรรคผลขั้นใดขั้น หนึ่ง โดยชวงเวลานอกจากวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาที่จะไดทําบุญแลว ในชวงของฤดูกาล เขาพรรษา ยังถือเปนชวงเวลาที่ชาวลานนาจะใหความสําคัญเปนพิเศษเนื่องดวยเปนชวงเวลา ที่พระสงฆจะจําพรรษาอยูที่วัด ไมจาริกไปในที่แหงใดตลอดระยะเวลา ๓ เดือน ชาวลานนา เองจึงมีแนวความคิดในการอยูถือศีล ปฏิบัติธรรม ในวันพระระหวางพรรษา จนออกพรรษา หรือบางแหงก็นิยมนอนวัดจนถึงชวงลอยกระทง จนเรียกไดวาเปน “ประเพณีนอนวัดจําศีล” 0

แมอุยหอบเสื้อหมอนไปนอนวัดในวันศีล วัดหาดบาย อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ที่มา: ศักดิ์นรินทร ชาวงิว้

ประเพณีนอนวัดจําศีลของคนลานนา ตรงกับประเพณีภาคกลางวา ถืออุโบสถศีล (ถือศีล ๘) เปนประเพณีที่ชาวเหนือถือ ปฏิบัติกันมาตั้งแตโบราณสืบทอดกันมา โดยผูที่ไป *

อาจารยแผนกวิชาสังคมศาสตร คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา เชียงใหม ๔๕


นอนวัดจําศีลสวนมากมักจะเปนผูสูงอายุทั้งชายและหญิง คือ ผูเฒาผูแก เปนผูที่ไมมีภารกิจ หรือธุรการงานในหนาที่ ที่จะตองรับผิดชอบ คือไมมีภาระผูกพัน ที่จะตองรับผิดชอบ คือไมมี ภาระผูกพันทางบาน หรือคนหนุมคนสาว บางคน คนที่มีจิตศรัทธาแกรงกลา ก็จะไปนอนวัด จําศีลรวมกับผูเฒา ผูแก ไดเชนเดียวกัน การนอนวัดจําศีลหรือถืออุโบสถศีลนิยมทํากันเปนประเพณี ทุกวันพระขางขึ้นหรือ แรม ๘ ค่ํา ๑๕ ค่ํา ซึ่งเรียกวาวันศีล (ภาคเหนือ) และตรงกับวันอุโบสถศีลของภาคกลาง ปฏิบัติตลอดระยะเวลาเขาพรรษา แตบางวัดเมื่อออกพรรษาแลวก็ยังมีการนอนจําวัดจําศีล ตอไปอีกจนถึงเดือนยี่เหนือ ตรงกับเดือน ๑๒ ลอยกระทง ของภาคกลาง ซึ่งมีคานิยม เกี่ยวกับการนอนวัดจําศีล ประกอบดวย ๑. มีความเลื่อมใสศรัทธาในพระรัตนตรัย ไดแก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ๒. เพื่อตองการใหไดรับจริยาวัตรอันดีงามจากพระสงฆ ไดเรียนรูวัตรปฏิบัติของ พระสงฆ นับตั้งแตการตื่นทําวัตรเชา สวดมนต การงดเวนสิ่งจรรโลงใจทางโลก การลด ละ เลิกอบายมุขทั้งปวง ๓. เพื่อฝกหัดอบรมจิตใจใหสงบ ปฏิบัติสมถกรรมฐาน และวิปสสนากรรมฐาน ตาม กําลังของตน ๔. เพื่อหวังผลแหงความสุขในภพหนา โดยเชื่อวาเปนการสั่งสมบุญไว เพื่อเปน เสบียงในภพภูมิตอไป ๕. เพื่อค้ําจุน อนุรักษ เผยแผ และสืบทอดพระพุทธศาสนา โดยนําหลักธรรมคํา สอนของพระพุทธองคมาดําเนินชีวิต ขอปฏิบัติในการนอนวัดจําศีล ชาวลานนา มีธรรมเนียมการถือปฏิบัติคลาย ๆ กัน แตก็อาจแตกตางกันไปบาง เล็กนอย ตามสภาพบริบท หรือตามแนวทางปฏิบัติของแตละชุมชน อยางไรก็ตามหลักใหญ ๆ ในการปฏิบัตินั้นสวนมากไดปฏิบัติกันดังตอไปนี้ อุปกรณและสิ่งที่ตองเตรียมเพื่อไปนอนวัดจําศีล ๑. เมื่อถึงวันศีล (วันอุโบสถศีล/วันพระ) ผูที่จะไปนอนวัด จะแตงกายดวยชุดขาว คือ หญิงจะใสผาถุง เสื้อและหมสไบสีขาว สวนชายจะใสกางเกงสะดอ (กางเกงจีนขาสาม สวน) และเสื้อคอกลมสีขาว มีผาขาวมาพาดบา ๒. เตรียมเครื่องนอนวัด โดยลูกหลานจะนําไปสงใหที่วัด ประกอบดวย หมอน ผา หมนอน ไมนิยมนอนบนฟูก เสื่อ โดยเฉพาะจะเตรียมเสื่อตองสาด ที่ทําจากตนตองสาด ซึ่งคน เฒาในลานนาจะนําไปปูรองนอนที่วัด โดยหากผืนเกาขาดแลวก็จะหาซื้อใหม และเสื่อตอง สาดนี้เอง หากผูเปนเจาของเสียชีวิตลง ลูกหลานจะใชเปนเสื่อรองศพในโลง ๔๖


๓. เตรียมขันขาวตอกดอกไม (พานใสดอกไม) ธูป เทียน ขวดน้ําหยาด (น้ํา สําหรับกรวดเพื่ออุทิศสวนกุศล) พรอมทั้งอาหารคาวหวาน สําหรับนําไปใสบาตร หรือถวาย พระ ๑ ชุด และเตรียมสําหรับตัวเองอีก ๑ ชุด เพื่อเอาไปรับประทานอาหารมื้อกลางวัน ๑ มื้อ ๔. หนังสือธรรมะ หรือบทสวดมนตตาง ๆ สําหรับนําไปทอง หรือใชประกอบ พิธีกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการนอนวัด ซึ่งปจจุบันวัดบางแหงไดจัดเตรียมไวใหแลว ขั้นตอนของการปฏิบัติ ๑. เมื่อไปถึงวัดแลว ใหใสขันดอก (บูชาพระรัตนตรัย) ดวยการนําเอาดอกไม ธูป เทียน และขาวตอกใสในขันแกวตังสาม (พานใหญมีเชิงสูง) โดยจัดวางเปนสามกอง เพื่อบูชา พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆแลวบางแหงอาจมีการจุดธูปเทียนบูชาพระพุทธรูปอีกครั้ง หนึ่ง ๒. รวมทําพิธี ทําวัตรเชา รับศีล ๕ กลาวคําถวายอาหารแกพระภิกษุรวมกับคณะ ศรัทธาที่รวมทําบุญในวัดครั้งหนึ่งกอน ๓. เมื่อพิธีในตอนเชาเสร็จเรียบรอยแลว ผูคนก็จะลาพระกลับบาน ตอนนี้ผูที่จะ นอนวัดจําศีลก็จะพากันไปรับศีล ๘ คือ อุโบสถศีลจากพระสงฆ เพื่อตั้งใจปฏิบัติอยูในวัดเปน เวลา ๑ วัน กับ ๑ คืน โดยมีศีลที่เพิ่มจากศีล ๕ อีก ๓ ขอ คือ ๑. การงดเวนจากการ บริ โ ภคอาหารในยามวิ ก าล คื อ ไม รั บ ประทานอาหารหลั ง จากเที่ ย งวั น ไปแล ว จะไม รับประทานของขบเคี้ยวอีก นอกจากน้ําดื่มและน้ําปานะ ๒.การงดเวนจากการละเลน การ ขับรองเพลง การดูสิ่งบันเทิง การงดเวนจากการใชเครื่องประทินผิวหนัง น้ําอบน้ําหอม และ ๓. การงดเวนจากการนอนบนที่สูง และการนอนฟูกหรือพื้นอันนุม ๔. ตอจากนั้นก็จะพรอมกันขอขมาแกว ๕ โกฐาก คือ นําดอกไมธูปเทียน และ ขาวตอกไปใสลงในพานใบใหญซึ่งเรียกวา ขัน ๕ โกฐาก วางเปน ๕กอง เพื่อบูชาสิ่งสําคัญ ๕ สิ่ง คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ครูบาอาจารย และพระกัมมัฎฐาน แลวจึงสวดมนต กัมมัฎฐานพรอมกัน ๕. มีการนั่งบําเพ็ญภาวนา (นั่งสมาธิ) พรอมกันโดยจะมีพระสงฆเปนผูอบรม ให เมื่อไดรับการอบรมแลวถามีโอกาสใครจะปฏิบัติภาวนากี่ครั้งก็แลวแต หากมีเวลาและความ ประสงคของแตละคน ๖. ตอนบายจะมีการฟงเทศนจากพระสงฆสามเณร โดยสวนใหญระหวางพรรษา จะเปนการเทศนธรรมแบบทํานองพื้นเมืองลานนา เปนเนื้อเรื่องธรรมชาดกใหติดตามทุกวัน พระ นอกจากนี้เวลาวางก็สามารถศึกษาหัวขอธรรมะตาง ๆ ดวยตนเอง หรือการสนทนาธรรม

๔๗


กับผูรู ผู ที่สามารถจะใหความกระจา ง หรือ จะทองบทสวดมนต คํ ากลาวในพิธีก รรมทาง ศาสนาตาง ๆ ก็แลวแตจะเห็นสมควร ๗. ตอนเย็นหลังจากอาบน้ําชําระลางรางกายเรียบรอยแลว ก็จะมีการทําวัตร สวด มนต หรือรับฟงการบรรยายธรรมะกอนนอน บางคนอาจนั่งบําเพ็ญภาวนาตอไปอีก หรือจะ พักผอนนอนหลับแลวแตเห็นควร ๘. ครั้นถึงตอนใกลรุง หลังจากทํากิจวัตรประจําวันแลวก็มาพรอมกันทําวัตรเชา สวดมนต รวมทั้งสวดกัมมัฎฐาน และภาวนาตอจนรุงเชา จบแลวจะรวมกันสมาทานศีล ๕ จากพระสงฆ เมื่อสวางแลวก็เก็บเครื่องนอน ปดกวาดวัดวาอารามใหสะอาด แลวก็ลาพระ กลับไปสูบานของตน โดยบางครั้งลูกหลานจะมารับและชวยขนสิ่งของสัมภาระกลับบานให การนอนวัดจําศีลจึงเปนประเพณีที่ถือควรปฏิบัติ เพราะเปนการขัดเกลาจิตใจ ให เกิดความสงบสุขแกตนเอง และแกสังคมที่อยูรมกันไดเปนอยางดี

คนเฒานอนวัด นั่งกัมมัฏฐาน ที่วัดสีดอนไซ เมืองสิง แขวงหลวงน้ําทา สปป.ลาว ที่มา: ศักดิ์นรินทร ชาวงิว้

ภาพที่กําลังเลือนหาย ปจจุบันประเพณีการนอนวัดจําศีลของคนลานนา เริ่มเลือนหายไป ดวยเหตุผลของ การเปลี่ยนแปลงยุคสมัย จากเดิมคนเฒาคนแกไมมีภาระผูกพัน ไมตองรับผิดชอบงานที่บาน กลับกลายเปนวาตองเลี้ยงดูหลาน เพราะลูกของตนจําเปนตองออกไปทํางานหาเงินมาจุนเจือ ครอบครัว เมื่อมีผูมาชักชวนใหไปรวมนอนวัดจําศีล ก็จะไดรับการปฏิเสธ บางก็ไมสามารถ ๔๘


ไปไดเพราะปญหาสุขภาพ นั่งนาน ๆ ไมได หรือบางคนก็ปฏิเสธเพราะไมมีใครอยูเฝาบาน แมบางวัดจะสรางที่พักและสิ่งอํานวยความสะดวกใหแลวก็ตาม ทําใหมีเพียงผูเฒาผูแกที่ไปใส บาตรตอนเชา ไปฟงเทศนตอนบาย ไปรวมทําวัตรสวดมนตตอนเย็น แตไมนอนคางคืนปฏิบัติ ธรรมที่วัด นอกจากนี้แนวทางการปฏิบัติธรรมยังมีรูปแบบที่เปลี่ยนไป เปดโอกาสใหผูสนใจ เขารวมปฏิบัติโดยมีระยะเวลา ๓ วัน ๗ วัน ๑๕ วัน ตามแตจะสะดวกหรือสํานักปฏิบัติธรรม จัดเปนคอรสใหเลือก ทําใหมีแนวทางในการปฏิบัติธรรมสําหรับคนยุคใหมมากยิ่งขึ้น แตใน ความลางเลือน ก็ยังคงมีความหวัง ทั้งนี้ตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ ที่จะมี การรณรงค ให ป ระเพณีก ารนอนวัด จํา ศีล กลางพรรษา ยั งคงเปน ประเพณีที่ มีค วามเป น เอกลักษณแหงวิถีลานนา ใหคงอยูคูลูกหลานสืบไป เอกสารอางอิง นิคม พรหมมาเทพย. ๒๕๔๒. ผะหญาลานนา. เชียงใหม : สํานักพิมพมิ่งขวัญ. มณี พยอมยงค. ๒๕๓๗. ประเพณีสิบสองเดือนลานนาไทย. เชียงใหม : ส.ทรัพยการพิมพ. ประเพณีนอนวัดจําศีล. http://www.lanna-arch.net/society/jul_1. สืบคน ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙.

๔๙


�฿ฯคชา...ครัวคชา:

แกฯฮังเล “แกงฮังเล”

โดย คชานนท จินดาแกว * ในงานเลี้ยงขันโตกแบบคนลานนายุคขันโตกดินเนอรเปนตนมา พระเอกของโตก สวนใหญมักจะเปนแกงฮังเล พรอมกับ น้ําพริกออง แคบหมู และอะไรอื่นๆ อีกตางๆ นานา และทําให แกงฮังเล เปนที่รูจักกันอยางกวางขวาง ทําใหหลายคนเมื่อถามถึงอาหารเหนือ มักจะคิดถึงแกงฮังเล เปนอันดับตนๆ แกงฮังเล ในภาษาลานนา มีอยูสองแบบคือ แกงฮังเลเชียงแสน ซึ่งจะหมายถึงแกง โฮะ ที่มีแกงมาผัดผสมวุนเสน หนอไมดอง และผักอีกตามใจชอบ แกงโฮะที่อรอยก็ตองใชแกง ฮังเลมาทํา พอวันนี้แกงฮังเล วันพรุงนี้ก็มักจะไดกินแกงโฮะตอทันที สวนแกงฮังเลอีกแบบ หนึ่ง ก็คือ แกงฮังเลมาน ที่เรียกกันวา “ฮังเล” ในปจจุบัน จะวาไปแลว แกงที่ใสเครื่องเทศในพมาก็มีหลายแบบ แตที่เห็นวาใกลเคียงกับแกง ฮังเลบานเราที่สุด ก็เห็นจะเปน “อะสี่ปยาน” (အဆီြပန်) สวนวัตถุดิบจะมีทั้งเนื้อหมู ปลา เนื้อวัว หรือแมแตไก ก็สามารถทําอะสี่ปยานได แตแกงฮังเลบานเราจะใชหมูเทานั้น สวนทาง ไทยใหญจะเรียกวา “หมูอุบ” 2

ဝက်သားဆီြပန်

ที่มา ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว *

นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชํานาญการ ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลานนา

๕๐


สิ่งที่ขาดไมได นั่นคือผงเครื่องเทศที่บานเราเรียกวา ผงฮังเลนั้น เปนผงเครื่องเทศที่ เรียกวา “มะฉะหลา” ประกอบไปดวยเครื่องเทศหลากหลายชนิด ไดแกเมล็ดผักชี ผงยี่หรา พริกไทยดํา อบเชย กระวานเขียว กานพลู ใบกระวาน (ไมใชใบจากตนกระวาน โดยมากเปน ชนิด Laurus nobilis) เทียนสัตตบุษย ดอกโปยกั๊ก ลูกซัด ลูกจันทนเทศ และเมล็ดมัสตารด นํ า ส ว นประกอบแต ล ะส ว นมาตํ า ให ล ะเอี ย ดประสมกั น เป น ผงที่ เ รี ย กว า “มะฉะหล า ” (မဆလာ) หรือ “ผงฮังเล” ที่เรียกกันในภาคเหนือของไทย

ผงฮังเล หรือผงมะฉะหลา ที่ขายกันอยูในทองตลาด

ตอไปก็พรอมที่จะลงมือทํา เตรียมครัวอุปกรณตางๆ และเครื่องปรุง ใหพรอม เครื่องปรุง เนื้อหมูสันนอก หมูสามชั้น หรือ เนื้อหมูสันคอ(ซึ่งมีมันติดอยูแลว) หอมแดงแกะเปลือกหรือหอมหัวใหญ(หั่นหยาบ) กระเทียมแกะเปลือก ขิงซอย น้ําปลาอยางดี น้ําตาลปบ น้ํามะขามเปยก ผงแกงฮังเล ซีอิ้วดํา ซีอิ้วขาว ถั่วลิสงคั่วแกะเปลือก (ถาชอบ) ๕๑

1 กิโลกรัม 0.5 กิโลกรัม 1.5 กิโลกรัม 0.5 ถวย 1/3 ถวย 0.5 ถวย 2 ชอนโตะ 1 ชอนโตะ 4 ชอนโตะ 1.5 ชอนโตะ 2 ชอนโตะ 1 ชอนโตะ 2 ชอนโตะ


น้ําพริกแกงฮังเล

1. 2. 3. 4. 5.

พริกเม็ดใหญแชน้ํา บีบน้ําออกซอย 7 เม็ด ขาหั่นละเอียด 1 ชอนโตะ ตะไครหั่นฝอย 3 ชอนโตะ ขมิ้นหั่นละเอียด 1 ชอนชา หอมแดงแกะเปลือกหั่นละเอียด 4 ชอนโตะ กระเทียมแกะเปลือกหั่นละเอียด 3 ชอนโตะ เกลือทะเลปน 1 ชอนชา กะปอยางดี 1 ชอนโตะ โขลกเครื่องแกงทั้งหมดเขาดวยกันใหละเอียด เมื่อเครื่องปรุงพรอม น้ําพริกพรอม ก็ลงมือทํากันเลย วิธีทํา ลางเนื้อหมูและสามหรือสันคอใหเสด็จน้ําหั่นเปนชิ้นขนาด 1x1 นิ้ว ใสในชามผสม ใสซีอิ้วดํา ซีอิ้วขาวและน้ําพริกแกงผสมใหเขากันและหมักไว ครึ่งชั่วโมง ใสเนื้อหมูที่หมักลงในหมอ ยกขึ้นตั้งไฟออนๆ ใสน้ําลงไป 1 ถวย ตามดวยหอมแดง หรือหอมหัวใหญ ใสเครื่องแกงฮังเล ผัดพอใหหมูตึงตัว แลวใสนา้ํ ที่เหลือลงไปใน หมอ ปดฝา แลวตั้งไฟตอ เคี่ยวจนหมูนุมเปอยพอประมาณ ใสน้ํามะขามเปยก และน้ําตาลปบตั้งไฟตอจนหมูเปอยนุมไดที่ ใสขิงซอยกับกระเทียม และถั่วลิสงคั่ว (ถาชอบ) แลวปรุงรสดวยน้ําปลา ชิมรส ใหได 3 รส เค็ม เปรี้ยว หวาน ตั้งไฟตอจนขิงและกระเทียมสุก ปดไฟ ตักใสถวย(กินกับผักสดตามชอบ) และขาวเหนียวนึ่งรอนๆ

หมายเหตุ เครื่องปรุงแกง ฮั ง เลส ว นผสมถ า ชอบรส จัด ก็ สามารถเพิ่ ม สัด ส ว น เครื่ อ งปรุ ง ได ซึ่ งอาหาร ไทยก็ ไ ม จํ า เป น ต อ งเป น สูตรตายตัว แกงฮังเล ที่มา ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว

๕๒


แวฯบ¶ฯ (มทร.) ล้าฯ¢ ...แวดบาน (มทร.)ลานนา ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มทร.ลานนา

ศูนยวัฒนธรรมศึกษา รวมงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๖ “วิศิษฏศิลปนสรรพศิลปสโมสร” ระหวาง วันที่ ๑๔ – ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับการแสดงในชุด “๗ มาลี ๔ ธารา เฉลิม หลาราชกุมารี”

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนานําโดยศูนยวัฒนธรรมศึกษา และสาขาสถาปตยกรรม ควารางวัลรอง ชนะเลิศอันดับหนึ่ง ในงานประกวดขบวนโคมยี่เปงจังหวัดเชียงใหม ครั้งที่ 24 ไนทบาซาร ณ ขวงประตูทา แพ-หางพันทิพย ประจําป 2558 เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ในชุดขบวนรถ“บุตรพรหมฆติกา รอยรอยบูชาพุทธบาท นาวาชาติสะเปาคํา”

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รถขบวนกระทง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เฉลิมฉลองครบ ๕ รอบ สมเด็จพระเทพฯ กับเมืองเชียงใหมนครอันเปนที่สุดแหงความสงางามทางวัฒนธรรม ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ๕๓


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย

โครงการมหกรรมไมดอกอาเซียนเชียงราย ประจําป 2558 ณ บริเวณขัวพญามังราย ถึง ณ บริเวณสวนไม งานริมกก ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ตาก ไดรวมสืบสานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง ประจํา ป 2558 ระหวา งวั น ที่ 21 - 26 พฤศจิ ก ายน 2558 ซึ่ งเป นประเพณี ทอ งถิ่ นที่ สืบ ทอดกั นมา ยาวนานและเปนการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามไวใหกับอนุชนรุนหลังสืบไป

------------------------------------------------------------------------------------------------------------มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา นาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ทอดถวายผากฐินสามัคคี ณ วัดภูมินทร ต.ในเวียง อ.เมือง จ.นาน โดยมี มทร.ลานนา นาน เปนพื้นที่เจาภาพในการถวาย ในวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ๕๔


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พิษณุโลก

พิธีเจริญพระพุทธมนตนพเคราะห อธิษฐานจิต เปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว วันศุกรที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 17.00-19.30 น. หนาวิหารพระพุทธชินราช จ.พิษณุโลก

------------------------------------------------------------------------------------------------------------มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง

ศูนยวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ลําปาง จัดโครงการราชมงคลรวมใจสืบสานวิถีไทย “นอมรําลึกวันพระราชทานนาม ๑๕ กันยายน” เพื่อใหนักศึกษาเห็นคุณคาของวิถีแบบไทยๆ และมีสวนรวม ในการอนุรักษวัฒนธรรมไทยใหคงอยูสืบไป ซึ่ งมีกิจกรรมการแสดงศิ ลปวัฒนธรรมจากมหาวิ ทยาลัยและ สถาบันการศึกษาภายในจังหวัดลําปาง กิจกรรมกาดหมั้วคัวแลง กิจกรรมการแขงขันมวยทะเล กิจกรรม การแขงขันสมตําลีลา กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย กิจกรรมการประกวดนางในวรรณคดี นิทรรศการ ไทยศึกษา

๕๕


ข่ฯงเหฯ้ร...ขวงเหลน

*

ธนพล มูลประการ “บเหลน ก็บมวน บมีฅวน ก็บมีที่ไวครัว” ก็เปนคําพูดที่ชาวลานนา พูดกันติดปาก ในการพู ด คุ ย กั น หยอกล อ กั น โดยสะท อ นให เ ห็ น ถึ ง ความ “ม ว น” ที่ เ กิ ด จากการเล น การละเลนของลานนามีหลายอยาง ทั้งการละเลนของเด็ก ที่เลนเปนกลุม การเลนปริศนาคํา ทาย หรือการละเลนที่ใชอุปกรณเปนสื่อ เชน พญาลืมงายเปนตน ในที่นี้จึงชวนกันมาเลนเพื่อ ฝกสายตา และผอนคลายความเครียดกันสักเล็กนอย จากรูปปูมานยามาน จิตรกรรมฝาผนัง วัดภูมินทรอันเลื่องชื่อ สองภาพนี้ ลองมาหาจุดแตกตางกันจากรูปทั้งสองนี้ วามีกี่จุด ตรงไหน บาง วงมาใหเห็น ถายเอกสาร พรอมเขียนชื่อ ที่อยู สงมายัง ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มทร.ลานนา เลขที่ 128 ถ.หวยแกว ต.ชางเผือก อ.เมือง ส ง มาทาง Email: จ.เชี ย งใหม 50300 หรื อ ถ า ยภาพแนบไฟล พร อ มชื่ อ ที่ อ ยู rmutlculture1@gmail.com รวมชิงรางวัลกับทางศูนยวัฒนธรรมศึกษา 0

*

นักวิชาการศึกษา ศูนยวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ๕๖




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.