สารบัญ เวียงเจ็ดลิน ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๔)
คาบอกแจ้ง วารสารเวี ยงเจ็ ด ลิน จั ด ทํา ขึ้ นโดย ศูนย๑วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล๎ า นนา เพื่ อเป็ นการเผยแพรํอ งค๑ ความรู๎ทางด๎านศิลปวัฒนธรรม ให๎เป็นที่รู๎จัก กว๎างขวาง ตลอดถึงธํารงทํานุบํารุงให๎ยืนยงคง อยูํกับผืนแผํนดินไทยสืบตํอไป วารสารเวียงเจ็ดลินฉบับนี้เป็นฉบับ ปฐมฤกษ๑ จึ ง นํ า เสนอในเนื้ อ หาสาระที่ เ ป็ น ข๎อมูลใหมํๆ ทางวงการวิชาการ ทั้งเรื่องเชื้อ เครือเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํ เรื่องซอพมําที่ไมํ ได๎มาจากพมํา เป็นต๎น จึงถือเป็นการเบิกฟ้า หน๎าใหมํของวงการศิลปวัฒนธรรมล๎านนาให๎ ก๎านกุํงรุํงเรืองงามสืบไป
- คําบอกแจ๎ง ๑ - พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว พระราชทานพระบรมราโชวาท ในวัน มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๒ - ซอพมําที่ไมํได๎มาจากพมํา ๓ - ตํานานเชื้อเครือเจ๎าฟ้า เมืองหมอกใหมํ ๙ - ปุปผาล๎านนา กาสะลอง ๒๐ - การรักษาซากสังขาร : จากภูมิปัญญา ในอดีตสูํเทคนิควิธีปัจจุบัน ๒๒ - เครื่องเงินในจังหวัดเชียงใหมํ ๒๖ - ประเพณีลอยกระทงสาย ไหลประทีป ๑๐๐๐ ดวง ๒๗ - เชียงรายที่คุณ(อาจจะไมํ)รู๎จัก พระธาตุจอมแวํ ๒๙
ศูนย๑วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา
“เวียงเจ็ดลิน”
เจ้าของ : ศูนย๑วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา ที่ปรึกษา: อ.คูณธนา เบี้ยวบรรจง, ผู๎ชํวยศาสตราจารย๑ลิปิกร มาแก๎ว, อ.สมบัติ เสนีย๑วงค๑ ณ อยุธยา, อ.สุชาดา อรุณศิโรจน๑, อ.ชวรินทร๑ คํามาเชียว, อ.สุพจน๑ ใหมํกันทะ, หัวหน๎า ศูนย๑วัฒนธรรมศึกษาทุกเขตพื้นที่ บรรณาธิการ: ศักดิ์นรินทร๑ ชาวงิ้ว กองบรรณาธิการ: วันทนา มาลา, อัญชลี เงาใส พิสูจน์อักษร: อ.ชวรินทร๑ คํามาเขียว, อ.สุพจน๑ ใหมํกันทะ ออกแบบจัดทารูปเล่ม: ธนพล มูลประการ พิมพ์ที่: Maxx International Corporation, Thailand. 14 ถ.ศิริมังคลาจารย๑ ซ.สายน้ําผึ้ง ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหมํ 50200 . 1
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระบรมราโชวาท ใน วันมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๓ * ผู๎ชํวยศาสตราจารย๑สุภวรรณ พันธุ๑จันทร๑ ในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๓ พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวเสด็จขึ้นประทับเหนือพระที่นั่งพุดตาน กาญจนสิงห๑หาสน๑ หน๎าพระแทํนนพปฎลมหาเศวตฉัตร โดยมีสมเด็จ พระบรมโอรสาธิ ราชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ มาร กราบบัง คมทูล พระ กรุณาถวายพระพรชัยมงคลแทนพระบรมวงศานุวงศ๑ และพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวทรง พระราชทานพระบรมราโชวาท ใจความวํา “ขอขอบพระทัยและขอบใจท่านทั้งหลายเป็นอย่างยิ่งที่มีไมตรีจิตพรั่งพร้อมกันมาให้พรวันเกิด รวมทั้งให้คามั่นสัญญาโดยประการต่างๆ ข้าพเจ้าขอสนองพรและไมตรีจิตทั้งนั้นด้วยใจจริงเช่นกัน บ้านเมือง ของเราเป็นปึกแผ่นมั่นคง และร่มเย็นเป็นปรกติสุขสืบมาช้านาน เพราะเรามีความยึดมั่นในชาติ และต่างร่วม แรงร่วมใจกันบ าเพ็ญกรณี ยกิจต่างๆ ตามหน้าที่โดยถื อประโยชน์ส่ว นร่วมของชาติเ ป็ นเป้ าหมายสูง สุ ด ท่านทั้งหลายในสมาคมนี้ ตลอดจนคนไทยทุกหมู่เหล่า จึงควรจะได้ทาความเข้าใจในหน้าที่ของ ตนให้กระจ่าง แล้วตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด ด้วยความไม่ประมาท และด้วยความมีสติรู้ตัวอยู่เสมอ เพราะการกระทาโดยประมาทขาดความรอบคอบ เป็นเหตุให้เกิดความผิดพลาดเสียหายในหน้าที่ และการ กระทาโดยขาดสติยั้งคิด ขาดเหตุผลความรู้จักถูกผิดนั้น เป็นเหตุให้เกิดความหลงความลืมตัว นาพาให้กระทา สิ่งที่มิใช่หน้าที่โดยชอบได้ ซึ่งเป็นอันตรายมาก อาจนาความเสื่อมสลายมาสู่ตนเอง ตลอดถึงประเทศชาติได้ จึงขอให้ทุกคนได้สังวรระวังให้มาก และประคับประคองกายใจให้เที่ยงตรงหนักแน่น ในอันที่จะปฏิบัติภารกิจ ของตนให้ถูกต้องตามหน้าที่ เพื่อความมั่นคงและเพื่อประโยชน์สุขอันยั่งยืนของชาติไทยเรา ขออานาจแห่ง คุณพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์จงคุ้มครองรักษาท่านให้ปราศจากทุกข์ปราศจากภัย และอานวยสุขสิริสวัสดิ์ พิพัฒนมงคลให้สัมฤทธิ์แก่ท่านทั่วหน้ากัน”
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัว ได๎ทรงมอบให๎กับคนไทยทุก คน ทรงเน๎นย้ําให๎เราทุกคนต๎องรู๎จักหน๎าที่ของตนเองให๎ชัดแจ๎งและต๎องรู๎วําเรามีหน๎าที่อะไร จงทําหน๎าที่นั้นให๎ดีที่สุดและต๎องปฏิบัติหน๎าที่อยํางรอบคอบ ไมํประมาท ทํา งานอยํางมีสติใช๎ เหตุ ผ ล และที่ สํ า คั ญ คื อ ประชาชนชาวไทยต๎ อ งยึ ด ถื อ ประโยชน๑ สํ ว นรํ ว มของชาติ เ ป็ น เป้าหมายสูงสุด ข๎าพระพุทธเจ๎า นักศึกษา บุคลากรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล๎านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก ขอถวายสัตย๑ปฏิญาณตนรับพระบรมราโชวาท เป็นหลักในการ ปฏิบัติหน๎าเพื่อประโยชน๑สุขอันยั่งยืนของประเทศชาติตลอดไป ด๎วยเกล๎าด๎วยกระหมํอมขอเดชะฯ ผู๎ชํวยศาสตราจารย๑สุภวรรณ พันธุ๑จันทร๑ *
หัวหน๎าศูนย๑วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก 2
ซอพม่า ที่ไม่ได้มาจากพม่า ศักดิ์นรินทร๑ ชาวงิ้ว “คํอยฟังรา หมู่ชุมพี่น้อง
*
จักไขทานอง เรื่องนางบัวคา ติดต่อบทเค้า เจ้าสุวัตต์ทวยมา”
ไขตามระบา ที่ออกในธัมม์พระเจ้า
เสียงซอพมําที่คุ๎นเคยกันของคนล๎านนา ยังคงได๎รับการสืบทอดกันมารุํนตํอรุํน และ เป็นบทที่แพรํหลายและรู๎จักกันดีเรื่องหนึ่ง โดยเฉพาะซอเรื่องเจ๎าสุวัตร – นางบัวคํา ที่ได๎รับ ความนิยมจนทําให๎ชื่อเรื่องกลายเป็นชื่อทํานองในบางครั้ง โดยเรียกซอพมํา วํา ซอนางบัวคํา ไปก็มี ระบําหรือทํานองนี้คือ “ซอพมํา” ที่มีทํวงทํานองที่อํอนอ๎อย ถ๎อยคําเรียงร๎อยใน รูปแบบของรําย ที่วรรคหนึ่งมีอยูํ ๘ คํา ชํางซอนิยมใช๎ในการแตํงบทซอที่ต๎องการความหวาน สํวนบนผามหรือเวทีซอ มักนิยมใช๎ในการซอสมมาครัวทาน หรือขอขมาเครื่องไทยทาน(ชมรม สืบสานตํานานปี่ซอ,๒๕๔๘:๒๑) อันเป็นบทซอที่แตํงไว๎แล๎วแตํเดิม ไมํนิยมใช๎ซอยาว ๆ ด๎วย ฉันทลักษณ๑ที่สํงสัมผัสไว ยากแกํการด๎นสด ซึ่งแตกตํางจากบทซออื่น ๆ ที่จะใช๎ซอบนผามได๎ นานกวํา ฉะนั้น ซอพมํา จึงกระโดดออกมาจากระบําซออื่น ๆ รวมถึงชื่อด๎วย ชื่อระบําซอทางล๎านนา สํวนใหญํมักจะเรียกตามชื่อเมืองหรือกลุํมชาติพันธุ๑ เชํน ระบําจะปุ ละม๎ายเชียงแสน ซอเงี้ยว เป็นต๎น แตํซอพมําแม๎นวําปัจจุบันจะเป็นการเรียกชื่อ เมืองหรือคนพมํา แตํก็ผิดไปจากภาษาล๎านนา ซึ่งคนพมํา คนล๎านนาจะเรียกวํา “มําน” หรือ ประเทศพมําก็จะเรียกวํา เมืองมําน โดยคําวํา พมํา เป็นคําเรียกโดยคนไทยลุํมน้ําเจ๎าพระยา กอปรกับดนตรีของพมํานั้น จังหวะเรํงเร๎ารุนแรง ขัดแย๎งกับจังหวะของซอพมําของ ล๎านนาโดยสิ้นเชิง จึงเป็นทําให๎กลับมามองดู “ซอพมํา” อีกครั้งวํา มาจากพมําจริงหรือไมํ จากเอกสารที่ผํานล๎วนแล๎วแตํสันนิษฐานกันวํามาจากพมําในชํวงที่ล๎านนาตกเป็น เมืองขึ้นของพมํา เชํน ศ.เกียรติคุณมณี พยอมยงค๑ กลําววํา “เพลงพม่า หรือทานองของพม่า ลานนาไทยได้มาจากชาวพม่าที่เข้ามาปกครองในสมัยบุเรงนอง เป็นทานองของตน แต่เนื้อ ร้อ งเป็ นของลานนาไทยทั้ ง หมด ” (มณี พยอมยงค๑ , ๒๕๒๔ :๑๖๘) สํว นทางด๎า น อ.สิง ฆะ วรรณสัย กลําวไว๎อีกสองทางบอกวํา “แต่บางท่านว่าเป็นซอทานองของมอญ หากว่าเป็น ทานองที่ดัดแปลงมาจากทานองพม่า ก็คงจะมีขึ้นในระหว่างลานนาไทยตกเป็นประเทศราช ของพม่า ในระหว่าง พ.ศ.๒๑๐๑ ถึง พ.ศ.๒๓๐๐ เศษ” (สิงฆะ วรรณสัย,๒๕๒๔:๑๐) และสิริ กร ไชยมา กลําววํา “เพลงพม่า เป็นทานองเพลงซอที่ได้มาจากชาวพม่าที่เข้ามาปกครอง *
นักวิชาการศึกษา ศูนย๑วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา 3
ล้านนา ตั้งแต่สมัยพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์พม่า ” (สิริกร ไชยมา, ๒๕๔๓:๑๘) จึงเป็นไปใน แนวทางเดียวกันทั้งสิ้น เมื่อมองจากชื่อทานองดูจะมีความขัดแย้งกันในตัวอยู่แล้วเป็น ปฐม เมื่อมองดูลง ไปในทํวงทํานองและเนื้อหาสาระแล๎ว ก็ยิ่งเห็นชัดเจนวํา ไปไมํไกลถึงสมัยพมําปกครองเลย ซึ่งอาจสันนิษฐานได๎วํา ระบําซอพมํานี้อาจผํานมาทางรัตนโกสินทร๑ เมื่อ ๑๐๐ กวําปีที่ผํานมา นี้เอง ประการแรก เพลงซอพมํา มีความคล๎ายคลึงกันกับเพลง “พมํารําขวาน” ของไทย มาก ด๎วยทางรัตนโกสินทร๑ ตั้งแตํสมัยต๎นรัชกาลที่ ๑ มีเพลงที่ใช๎ชื่อชาติภาษาตําง ๆ มากขึ้น ทั้ง ลาว เขมร แขก มากขึ้นโดยรับสําเนียงของตํางชาติมาปรับเป็นทํวงทํานองแบบของไทย เอง แล๎วใสํชื่อชาติตําง ๆ เพื่อบํงบอกสําเนียง (ดนตรีไทยในล๎านนา, ๒๕๓๐:๖๑-๖๒) สําหรับ เพลงพมํารําขวาน มีโน๎ตเพลงดังนี้ - - ซ ล - ซ - ดํ - ฟ ซ ล - ซ ซ ซ - - ซ ล - ซ - ดํ - ฟ ซ ล - ซ ซ ซ ---- -ร-ฟ ---- -ซ-ท --ดร -ซ-ท -ฟซล -ซฟร --รม -ร-ซ -ดรม -รรร --รม -ร-ซ -ดรม -รรร - - - - ด ร ฟ ซ ล ซ ฟ ร ดํ ท - ดํ - - - ซ - - ท ดํ รํ ดํ ท ซ - ด - ท - - - - ซ ท ดํ รํ ฟ ซ ฟ ร - ด - ท - - - - ซ ท ดํ รํ ฟ ซ ฟ ร ฟ ร ด ท - ล ซ ฟ - - ซ ล - ซ - ดํ - ท ล ซ (ที่มา: สมุดจดโน๎ตเพลงของ นายธีรวัฒน๑ หมื่นทา บัณฑิตจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์) จากเพลงพมํารําขวาน จึงมีการปรับเปลี่ยนมาเป็นเพลงซอพมํา ตามโครงสร๎างของ เพลงที่เลํนตามโน๎ตเพลงซอพมําดังนี้ -ลซฟ -----ซท
ซ ล ซ ดํ - - ซ ดํ ดํ ล ซ ฟ ซ ล ซ ฟ ซ ท ดํ รํ ฟ ซ ฟ ร
ทลฟซ ซฟดร ฟรดท
- ล ซ ฟ ซ ล ซ ดํ - - ซ ดํ ท ล ฟ ซ - - ฟ ซ ฟ ร ฟ ด ร ด ท ซ ท รํ ดํ ท - ดํ รํ ดํ - - ซ ล ซ ฟ ซ ดํ - ท ล ซ (ที่มา: สนั่น ธรรมธิ, ๒๕๔๒:๔๗๗๔)
ประการที่สอง ในโครงสร๎างทางดนตรีของเพลงซอพมํานี้ อ.รักเกียรติ ปัญญายศ ได๎กลําวถึงทางเพลงนี้วํา หากเลํนตามโน๎ตนี้ เป็นการเดินทํานองแบบไทยภาคกลาง ไมํเกิน ๒๐๐ ปี แตํทางปี่ซอไมํได๎ เลํนแบบนั้น หากพิจารณาตามข๎อสังเกตของอาจารย๑รักเกียรติ การณ๑นี้ก็สามารถอธิบายได๎วําด๎วยทางปี่จุมมีระบบการเลํนอีกแบบหนึ่ง โดยปีแตํละเลาก็จะมี การเลํนไปคนละทาง แตํเมื่อมาประสมกันก็จะได๎ทํวงทํานองที่กลมกลืนกันไปในเพลงเดียวกัน นั่นเอง คล๎ายกับวําเป็นการรับเอาเพลงมาปรับเปลี่ยนและเลํนในแนวทางพื้นบ๎าน 4
ประการที่สาม พิจารณาถึงบทซอ บทซอในระบําพมําที่เกําที่สุด เทําที่รวบรวมได๎ ก็จะมีอยูํประมาณ ๓ บทด๎วยกัน คือ บทซอเจ๎าสุวัตร – นางบัวคํา ดังบทตัวอยํางข๎างต๎น ที่ ทางท๎าวสุนทรพจนกิจ (บุญมา สุคันธศีล) กวีในพระราชสํานักพระราชชายาเจ๎าดารารัศมี ได๎ ประพันธ๑บทซอนี้จากครําวธัมม๑เรื่องเจ๎าสุวัตรนางบัวคํา (สนั่น ธรรมธิ, ๒๕๕๐:๑๓๓) บทหนึ่ง คือบทเพลงพมํา ที่ถํายทอดกันมาในวิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหมํ คาดกันวํา อาจจะเป็นบท ที่มาจากท๎าวสุนทรพจนกิจด๎วยเชํนกัน ดังเชํน เพลงพมํา พี่เปนนักเลง จะออกซอเพลงพมํา น๎องเหน็บดอกขํา พี่จะเหน็บดอกขิง พี่หมายเพาพิง หวังเอาฅิงซ๎อนข๎าง ตัวแมํใบหน๎ากว๎าง น๎องจะเอาคาบํเอา ตัวพี่ทึงเมา ตัวแมํเลาแก๎มเกลี้ยง ใจพี่บํเสี้ยง กับแมํสีทองแดง พอรักพอแพง พี่สักนิดหน๎อยเทิอะ พี่จะปันนัมเบอร๑ หื้อนายเปนที่หนึ่ง คอนน้ําบํยึ่ง ขอนก็ทึงบํลอย รักแมํสีดํามอย ค็บําฝักแก๎วหนุํม หากแมํสีชุํม ค็ตะกั่วพลอยดี หลอนบุญพี่มี พี่จะได๎เจ๎าวันนึง (ที่มา: CD-Rom ตํานานดนตรี ๙๐ ปี เจ๎าสุนทร ณ เชียงใหมํ. วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหมํ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๑) ด๎วยซอบทนี้ระบุไว๎จัดเจนวํา ทํานองเพลงนี้คือซอเพลงพมํา และเป็นชํวงหลังที่ อังกฤษเข๎ามา ด๎วยมีภาษาอังกฤษปนเข๎ามาด๎วย สํวนอีกบทหนึ่ง ที่มีการบันทึกแผํนเสียงไว๎ และเป็นบทที่ใช๎กันบนผาม นั่นคือ ซอสมมาครัวทาน ที่พํอครูจันทร๑ตา เลาคํา ศิลปินซอกลําว ไว๎วํา อาจแตํงโดยชํางซอพํอน๎อยปั๋นแก๎ว บ๎านทา ดังตัวอยําง ซอสมมาครัวทาน สาธุโน ขอโอกาสไหว๎ ขอเปนไม๎ไต๎ สํองโลกโลกา ข๎าจักขอสูมา ครัวทานทั่วหน๎า บัดนี้ผู๎ข๎า ขอยกยอวาน อุตมทาน เปนอันล้ํายิ่ง เปนที่ข๎อนฅิง สิ่งของทานา มูลศรัทธา ผู๎ข๎าหน๎อยใหยํ ขอหื้อเปนปัจจัย เยื่องของทานา (ที่มา: ถอดจากแผํนเสียงโดย พํอครูจันทร๑ตา เลาคํา (นายอินตา เลาคํา))
ประการที่สี่ ความนิยมศิลปะดนตรีแบบไทยในราชสํานักล๎านนา มีมาตั้งแตํปลาย รัชกาลที่ ๔ และเพิ่มขึ้นถึงขีดสุดในสมัยรัชกาลที่ ๗ แหํงกรุงรัตนโกสินทร๑ (ดนตรีไทยใน ล๎านนา,๒๕๓๐:๖๒ – ๖๓) กอปรกับพระราชชายาเจ๎าดารารัศมี ทรงมีพระปรีชาสามารถใน ด๎านดนตรี ทั้งดนตรีพื้นเมืองและดนตรีไทย โดยพระองค๑ได๎ทรงเรียนดนตรีไทยภาคกลางจาก หลายทําน เชํน ครูช๎อย สุนทรวาทิน, ครูสังวาลย๑ กุลวัลกี (ดนตรีไทยในล๎านนา,๒๕๓๐:๖๗ – ๖๘) เมื่อเสด็จกลับมาประทับที่เชียงใหมํเป็นการถาวรก็มีครูดนตรีไทยเดินทางขึ้นมาสอนถึง ในคุ๎มที่เชียงใหมํ เชํน ครูรอด อักษรทับ, ครูชั้น อักษรทับ เป็นต๎น (เบญจวรรณ ทองศิริ 5
,๒๕๔๗:๑๙๐) ทําให๎อิทธิพลของทางไทยภาคกลางเข๎ามามีบทบาททางด๎านดนตรีล๎านนาก็มี มาก ดังเชํน ซอยิ้น ที่ใช๎กับเพลงบรรเลงปี่พาทย๑ เป็นต๎น จึงไมํนําแปลกใจวํา เพลงพมํารํา ขวาน จากไทย จะกลายมาเป็นเพลงซอพมํา ในชํวงเวลานี้เอง จากเหตุผลตําง ๆ ที่ยกอ๎างมานี้ ก็ทําให๎เห็นวํา เพลงซอพม่าแท้จริงแล้ว ไม่ได้มา จากพม่าในช่วงที่พม่าปกครองล้านนาอย่างที่เข้าใจกันตลอดมา หากเพิ่งมีมาช่วงพระราช ชายาเจ้าดารารัศมีนี้เอง โดยได้รับอิทธิพลเพลงจากไทยภาคกลางที่เป็นเพลงไทยสาเนียง พม่า เป็นพื้นฐาน แล้วมาปรับเปลี่ยนมาเป็นแนวทางเฉพาะตัวของพื้นเมืองล้านนาเอง นอกจากนี้ เพลงซอพมํา ในเชียงใหมํ ยังเป็นศูนย๑กลางในการเผยแพรํทํานอง ออกไปยังพื้นที่ตําง ๆ แตํก็นําไปปรับเป็นแนวทางของตนเองอีกตํอหนึ่ง และยังคงเค๎าเดิมของ เพลงซอพมําทางเชียงใหมํอยูํ คือ เต๎ยพมํา ซอพมําตะโตงเตง และเพลงทํานองซอพมํา เต้ยพม่า เป็นทํานองหนึ่งของลําเต๎ย หรือทํานองลําของทางภาคอีสาน โดยเป็น ทํานองที่มาจาก ซอพมํา ของทางล๎านนา (สุดใจ สุนทรส, ๒๕๓๕:๒๙) ได๎มาในชํวงสงคราม มหาเอเชียบูรพา ที่มีการเกณฑ๑ทหารจากทางภาคอีสานขึ้นมาทางภาคเหนือ หนึ่งในนั้นคงมี หมอลําปะปนขึ้นมาด๎วย เมื่อได๎ฟังซอพมําของทางเหนือ จึงนํากลับไปปรับเป็นกลอนลําเต๎ย พมําในที่สุด ดังตัวอยํางกลอนลําเต๎ยของแมํครูฉวีวรรณ ดําเนิน (ฉวีวรรณ พันธุ) กลอนหนึ่ง ซึ่งมีเนื้อความเหมือนกับเพลงพมําของทางเชียงใหมํ บทที่วํา มาเถิดพํองามขํา มาร๎องรําเต๎ยพมํา อ๎ายเหน็บดอกขํา น๎องจะเหน็บดอกขิง น๎องขอแอบอิง เข๎าพิงเป็นคูํอ๎อน น๎องขอเข๎าซ๎อน แอบหมอนนอนเคียง (ที่มา: ฉวีวรรณ พันธุ ศิลปินแหํงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ปี ๒๕๓๖)
จากบทลําเต๎ยนี้ ชํวยยืนยันให๎เห็นเป็นอยํางดีวํา เต๎ยพมํานี้ ได๎กลายมาจาก ซอพมํา ของทางล๎านนา อยํางมิต๎องสงสัย ซอพม่าตะโตงเตง เป็นทํานองอีกทํานองหนึ่งของทางเมืองนําน ที่แตํงโดยพํอครู ไชยลังกา เครือเสน ศิลปินแหํงชาติ ปี ๒๕๓๐ โดยกลายมาจากซอพมํา มาดัดแปลงทํวง จังหวะและตัวโน๎ตให๎กลายทางออกไปอีกทางหนึ่ง ซึ่งโน๎ตเพลงตะโตงเตง เป็นดังนี้ ---ร - - - ดํ -มรด
-ฟ-ล - ลํ - รํ รมรซ
---- -ด-ร --ฟร - - - ลํ ดํ ลํ ซํ ฟํ - ซํ ลํ ด -ฟมร
-ด-ฟ --รม
---- ร - ซํ
- ซํ – ลํ -ม-ร
(ที่มา: จากสมุดโน๎ตเพลงของนายวศิน กองคํา นักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ห๎องเรียนเครือขําย วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหมํ)
6
นอกจากทํวงทํานองจะคล๎ายกับทางเชียงใหมํแล๎ว บทซอก็ยังคล๎ายกันอีกด๎วย โดย ซอพมําตะโตงเตงนี้ ไมํมีการซอนอกบท ไมํวําชํางซอคนใดซอ ก็จะต๎องซอในบทนี้อยูํร่ําไป ตัวอยํางบทซอพมําตะโตงเตงเป็นดังนี้ ช) หลอนวําตะโตงเตง อ๎ายจักออกซอเพลง ญ) หลอนพี่เหน็บ แล๎วยังดอกขํา มาขดตัวไหลเข๎าอิง
จิ่งดาฟังฅนนักเลง เปนระบํา พมํา อี่น๎องจักวาง ดอกขิง น๎องหมายเอาฅิง เอาฅิงซ๎อนข๎าง
(ที่มา: บทซอพมําตะโตงเตง ซอโดยพํอครูคําผาย นุปิง และแมํกุหลาบ ขันทะแก๎ว ถอดเทปโดย สลุงเงิน)
สํวนทํวงทํานองซอพมําแบบเดิมนั้นก็ยังมีใช๎อยูํ แตํไมํคํอยจะใช๎ซอเก็บความบนผาม โดยจะซอในบทเรื่องเจ๎าสุวัตร – นางบัวคํา และเพื่อให๎แตกตํางจากซอพมําที่แปลงทางมาใหมํ นี้ก็เลยเรียกซอพมําแบบเดิมวํา ซอนางบัวคํา ตามชื่อเรื่องไป นอกจากสองสํวนหลักๆ ที่พัฒนาไปจากซอพมําแล๎ว ยังมีการทําเพลงขึ้นมา โดยใช๎ ทํานองซอพมําเป็นฐาน หากไมํนับในดินแดนล๎านนาภาคเหนือนี้แล๎ว สํวนอื่น ๆ ก็หยิบยก ทํานองนี้ไปใช๎ เชํน ทํานองนี้ย๎อนกลับไปยังภาคกลางของประเทศไทย อันเป็นต๎นกําเนิดของ ซอทํานองพมํา ก็มีการนําไปแตํงเป็นเพลงลูกทุํง เชํนเพลง หนุํมเหนือแอํวนาง ขับร๎องโดยคุณ คํารณ สัมปุณณานนท๑ นอกจากจะไหลเลื่อนกลับไปยังภาคกลางแล๎ว ยังไหลเลื่อนขึ้นไปทาง ตอนเหนือ รัฐฉาน สหภาพเมียนมา อีกด๎วย เชํนเพลง ฟ้อนก๎าแปดนาง ของจายหนุํม เมือง เชียงตุง ร๎องเป็นภาษาไทขืน และเพลง โมธิเอาง๑มฺยีชานโอสี่ ของจายทีแสง ขับร๎องเป็นภาษา พมํา เป็นต๎น จะเห็นได๎วํา ทํานองซอพมํานั้น ไมํได๎มาจากพมําแตํเป็นการไหลเลื่อนมาจากภาค กลางของไทยและปรับเปลี่ยนไปในแตํละพื้นที่ และแตํละพื้นที่ก็จะมีการปรับเปลี่ยนให๎เข๎ากับ แตํละท๎องถิ่น เพื่อรับใช๎ท๎องถิ่น โดยคนท๎องถิ่นและเพื่อท๎องถิ่นอยํางแท๎จริง๚๛
7
นางบัวคําและนายพราน ภาพลายไทยจากสมุดภาพของวัดสุวรรณภูมิ จังหวัดสุพรรณบุรี (ภาพจาก ศิลปากร,กรม. โสวัตกลอนสวด.กรุงเทพฯ:เอดิสัน เพรส โพรดักส๑, ๒๕๔๘) เอกสารอ้างอิง กิจชัย สํองเนตร. กรณีศึกษานักคิดท้องถิ่นในกลุ่มซอพื้นเมือง:นายคาผาย นุปิง: รายงานวิจัยฉบัยสมบูรณ์.กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๒ ชมรมสืบสานตํานานปี่ซอ. ซอพื้นบ้านศิลปะการขับขานล้านนา. เชียงใหมํ : โครงการสือ่ พื้นบ๎านเพือ่ การพัฒนาท๎องถิน่ , ๒๕๔๘ ดนตรีไทยในล้านนา. กรุงเทพฯ:รักษ๑สิปป์, ๒๕๓๐ เบญจวรรณ ทองศิร.ิ พระราชชายาเจ๎าดารารัศมีกับการดนตรีนาฏศิลป์และการละคร. ใน ขัตติยานีศรีล้านนา. เชียงใหมํ: วิทอินดีไซด๑, ๒๕๔๗ มณี พยอมยงค๑. เพลงพืน้ บ้านล้านนาไทย. เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เรือ่ งเพลงพื้นบ๎านลานนาไทย ณ วิทยาลัยครูเชียงใหมํ วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๒๔ สนั่น ธรรมธิ. นาฏดุริยการล้านนา. เชียงใหมํ : สํานักสํงเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ, ๒๕๕๐ ________. เพลงซอ. ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย๑, ๒๕๔๒ สําเร็จ คําโมง. ลําเต๎ย : เพลง. ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคอีสาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรม วัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย๑, ๒๕๔๒ สิริกร ไชยมา. ซอ เพลงพื้นบ้านล้านนา ภูมิปัญญาชาวเหนือ. แพรํ : แพรํไทยอุตสาหการพิมพ๑, ๒๕๔๓ สิงฆะ วรรณสัย. ซอ. เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เรื่องเพลงพื้นบ๎านลานนาไทย ณ วิทยาลัยครูเชียงใหมํ วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๒๔ สุดใจ สุนทรส. ลาเต้ย. วิทยานิพนธ๑ วิชาเอกไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม , ๒๕๓๕ สัมภาษณ์ ฉวีวรรณ พันธุ. ศิลปินแหํงชาติ. สัมภาษณ๑วันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๑ โดย นายศักดิ์นรินทร๑ ชาวงิ้ว ณ ศูนย๑มานุษยวิทยาสิรนิ ธร ตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร รักเกียรติ ปัญญายศ. วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหมํ สัมภาษณ๑วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ๑ ๒๕๕๓ โดย นายศักดิ์นรินทร๑ ชาวงิ้ว ณ มหาวิทยาลัยพายัพ อินตา เลาคํา (พํอครูจันทร๑ตา เลาคํา). ศิลปินชํางซอ. สัมภาษณ๑วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ โดยนายศักดิ์นรินทร๑ ชาวงิ้ว. ณ บ๎านเลขที่ ๘๑/๑ หมูํ ๑๐ ต.ดอนแก๎ว อ.แมํรมิ จ.เชียงใหมํ 8
ตานานเชื้อเครือเจ้าฟ้าเมืองหมอกใหม่ หลักฐานใหม่ทางประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์รัฐฉาน - ล้านนา ภูเดช แสนสา วิเคราะห๑และปริวรรต ยุ ค จารี ต บ๎ า นเล็ ก เมื อ งใหญํ ทั้ ง หลายที่ เ ป็ น รั ฐ ในหุ บ เขา แม๎ จ ะกระจายตั ว ตั้ ง บ๎านเมืองของตนอยูํตามแอํงตํางๆ โดยมีเทือกเขาสูงกั้นล๎อมรอบ แตํก็มีการติดตํอสัมพันธ๑ กันอยูํเสมอทั้งในรูปแบบความสัมพันธ๑เชิงเครือญาติ การติดตํอค๎าขาย ตลอดจนถึงการศึก สงคราม กรณีของล๎านนากับรัฐฉานก็เชํนกันที่มีการติดตํอสัมพันธ๑กันอยูํเสมอ จนกระทั่งเข๎า สูํยุครัฐชาติที่มีการขีดแบํงเส๎นพรมแดนขึ้นใหมํให๎ชัดเจน รัฐฉานได๎อยูํในเขตของประเทศ พมํา(เมียนมาร๑) ล๎านนาอยูํในเขตของประเทศสยาม(ไทย) จึงสํงผลให๎ความสัมพันธ๑แบบยุค จารี ต ได๎ คํ อ ยลดลงและจางหายไปในที่ สุ ด จนอาจทํ า ให๎ ค นยุ ค ปั จ จุ บั น จิ น ตนาการถึ ง ความสั ม พั น ธ๑ ร ะหวํ า งกั น ในยุ ค จารี ต ได๎ ย ากวํ า เป็ น อยํ า งไรบ๎ า ง ประกอบกั บ หลั ก ฐานที่ กลํ า วถึ ง ความสั ม พั น ธ๑ ร ะหวํ า งรั ฐ ฉานกั บ ล๎ า นนามี จํ า นวนไมํ ม ากนั ก เรื่ อ งราวทาง ประวัติศาสตร๑ความสัมพันธ๑ระหวํางรัฐทั้งสองจึงยังคงมีความคลุมเครืออยูํไมํน๎อยสืบมาจนถึง ปัจจุบัน ในบทความฉบับนี้ผู๎เขียนจึงได๎นําเรื่องราวของตํานานเชื้อเครือเจ๎าฟ้าเมืองหมอก ใหมํ ที่ถือวําเป็น “พื้น” หรือ “ตํานานฝ่ายเมือง” ของเมืองหมอกใหมํ ซึ่งเป็นเมืองขนาด ใหญํเมืองหนึ่งของรัฐฉานที่มีอาณาเขตติดตํอกับเมืองแมํฮํองสอน และเมืองปาย หัวเมือง ชายแดนทางด๎านตะวันตกของล๎านนา เมืองหมอกใหมํในชํวงพ.ศ.๒๔๓๒ นั้นมีหัวเมือง บริวารขึ้นอยูํ ๒๗ เมือง เชํน เมืองใหมํ เมืองกั่นตู เมืองแมํ สะกึ๋น เมืองลางเคอ เป็นต๎น เจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํมีพระนามอยํางเป็นทางการวํา “เจ๎าฟ้าหลวงกัมโพชรัฐวังสะสีหะมหา ธรรมราชา”1 อาณาเขตของเมืองตั้งอยูํครอบคลุม ๒ ฟากฝั่งแมํน้ําคง(สาละวิน) ทิศเหนือ ติดกับเมืองนาย(รัฐฉาน) ทิศใต๎ติดกับรัฐกะยา(รัฐกะเหรี่ยงแดง) ทิศตะวันตกติดกับเมืองสะ ทุํงและเมืองใหมํ(รัฐฉาน) ทิศตะวันออกติดกับเมืองปั่น (รัฐฉาน) เมืองแมํฮํองสอนและเมือง ปาย(ล๎านนา)2 ตํานานเชื้อเครือเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํฉบับนี้ ผู๎เขียนได๎เลือกปริวรรตไว๎ตั้งแตํเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๐ เนื่องจากเห็นวําเป็นเอกสารที่มีคุณคํ า สามารถชํวยเติมภาพประวัติศาสตร๑ ความสัมพันธ๑ระหวํางรัฐฉานกับล๎านนาได๎ดีระดับหนึ่ง ตํานานฉบับนี้ต๎นฉบับเป็นของพํอ จันทร๑ อินทสาร อําเภอแมํแจํม จังหวัดเชียงใหมํ เขียนด๎วยอักษรธรรมล๎านนาในพับสา ขนาดกว๎าง ๑๘ เซนติเมตร ยาว ๔๐ เซนติเมตร จํานวน ๑๐ หน๎า (ผู๎เขียนได๎ใสํตัวเลข 1
กจช. ร.๕ ม.๕๘/๑๐๕ หนังสือมหาดไทยราชการฝ่ายเมืองนครเชียงใหมํ, นําน, แพรํ, ลําปาง (๑๙ ส.ค.๑๐๘ ๕ พ.ค.ร.ศ.๑๐๙) 2 บุญชํวย ศรีสวัสดิ,์ คนไทยในพมํา,(กรุงเทพฯ : สามัญ, ๒๕๐๓), หน๎า ๓๒๒ – ๓๒๓. 9
กํากับไว๎ในวงเล็บแตํละยํอหน๎าเพื่อแสดงถึงจํานวนลําดับของหน๎าพับสาที่ปริวรรต) แตํละ หน๎ามี ๑๐ - ๒๐ บรรทัด เป็นตํานานขนาดสั้นๆ คล๎ายบันทึกความจํา ตํานานจะ แบํงเป็น ๒ ตอน คือ ตอนแรกกลําวถึงเรื่องราวความเป็นมาของสกุลวงศ๑เจ๎าฟ้าเมือง หมอกใหมํที่ผูกกับเหตุการณ๑ทางประวัติศาสตร๑ สํวนตอนที่สองเป็นการบันทึกเหตุการณ๑ ตํางๆ ในเมืองหมอกใหมํและหัวเมืองใกล๎เคียงที่มีค วามสัมพันธ๑เรียงตามลําดับปีศักราช เหมือนการบันทึกปูมโหร ไมํปรากฏนามผู๎แตํง แตํสันนิษฐานวําผู๎แตํงตํานานเป็นเจ๎านาย หรือขุนนางในเมืองหมอกใหมํ มีจํานวนหลายคน และเป็นผู๎ที่ใกล๎ชิด จึงรับรู๎เหตุการณ๑ ความเป็ น ไปของเจ๎ า นายและบ๎ า นเมื อ งเป็ น อยํ า งดี มี ก ารบั น ทึ ก สื บ ตํ อ กั น มาอยูํ ใ นชํ ว ง ระยะเวลา ๙๘ ปี ซึ่งปีแรกที่ตํานานกลําวถึงคือพ.ศ.๒๓๔๐ และสิ้นสุดในพ.ศ.๒๔๓๘ ตํานานนี้เขียนขึ้นตามทัศนะของคนในเมืองหมอกใหมํดังเรียกชื่อคนในแถบล๎านนาวํา “กลํอม ไทโยน” แตํขณะเดียวกันจากตํานานนี้ก็แสดงถึงการรับวัฒนธรรมหลายๆ อยํางของล๎านนา เข๎าไปใช๎ในเมืองหมอกใหมํ เนื่องจากกลุํมผู๎ปกครองและชาวเมืองจํานวนไมํน๎อยมาจากหัว เมืองในล๎านนา เชํน ใช๎อักษรธรรมล๎านนาในบันทึกตํางๆ ใช๎คํา นําหน๎าชื่อผู๎ผํานการบวชวํา “น๎อย” และ “หนาน” มีการนับเดือนแบบล๎านนา ดังตํานานกลําววํา “...๑๑๖๒ ฟ้าชาย แก้วเข้านั่งเมืองหมอกใหม่ เดือน ๓ เชียงใหม่...” หรือแม๎กระทั่งรูปแบบสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมของพระธาตุเจดีย๑ในเมืองหมอกใหมํและหัวเมืองใกล๎เคียงจํานวนหลายวัดก็ เป็ น แบบล๎า นนา 1 นอกจากนี้ในตํา นานยัง ปรากฏมีคํ าศั พท๑ภาษาพมํา ปนอยูํบ๎างด๎วยอยูํ ภายใต๎ อิ ท ธิ พ ลของพมํ า เชํ น “เองเซ” “หวุํ น แมงคลี ” และ “ชางหวา” เป็ น ต๎ น ลักษณะการแตํงตํานานขึ้นต๎นด๎วยบทบาลีสั้นๆ และเขียนแบบเลําเรื่อง สํานวนที่ใช๎จึ ง เริ่มต๎นด๎วย “จักกลําวด๎วย” “คันวํา” “เมื่อนั้น” “ถํานั้น” “ในกาละนั้น” “วําอั้นแล๎ว” และ “ทีนี้จักจาด๎วย” ฯลฯ และลงท๎ายเมื่อเลําเรื่องจบด๎วย “แล” “หั้นแล” “แล๎วแล” และ “แลเฮย” ฯลฯ มีการแทรกบทสนทนาคล๎ายกับผู๎แตํงอยูํรํวมเหตุการณ๑ในขณะนั้นด๎วย ในด๎านการเดินเรื่องของตํานานมีความกระชับ สํวนจุดสําคัญที่ตํานานต๎องการเน๎นเป็นพิเศษ อยํางเห็นได๎ชัดคือให๎ความสําคัญกับเจ๎าฟ้าชายแก๎ว เนื่องจากพระองค๑ทรงเป็นต๎นราชวงศ๑ ของเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํ ด๎วยตํานานเชื้อเครือเจ๎าฟ้า เมืองหมอกใหมํในปัจจุ บันพบเพียงฉบับเดียว จึงไมํ สามารถนํามาตรวจสอบเนื้อความกันเองได๎ ผู๎เขียนจึงได๎นําไปตรวจสอบกับตํานานอื่นๆ ที่มี ความนําเชื่อถือสูง เชํน ตํานานพื้นเมืองเชียงใหมํ ตํานานพื้นเมืองเชียงแสน และตํานาน คํามะเกําเมืองเชียงแสน เป็นต๎น ทําให๎สามารถประเมินได๎วําตํานานฉบับนี้มีความนําเชื่อถือ สูง เพราะมีการบันทึกเรื่องราวไว๎ตรงกันกับตํานานทั้ง ๓ เรื่องข๎างต๎น เชํน กลําวถึงพมํา ยกกําลังจํานวนมากเข๎ามาตีเมืองนครเชียงใหมํในพ.ศ.๒๓๔๐ ภายหลังจากที่พระเจ๎ากาวิละ 1
บุญชํวย ศรีสวัสดิ,์ คนไทยในพมํา,(อ๎างแล๎ว), หน๎า ๓๒๗. 10
ทรงยกกําลังไพรํพลจากเวียงป่าซางมาตั้งฟื้นฟูเมืองนครเชียงใหมํได๎เพียงหนึ่งปี แตํตํานาน พื้นเมืองเชียงใหมํ ตํานานพื้นเมืองเชียงแสน และตํานานคํามะเกําเมืองเชียงแสน กลําวถึง ตอนนี้ไว๎เพียงสั้นๆ วํากองกําลังพมําตีเมืองนครเชียงใหมํไมํสําเร็จต๎องยกทัพกลับ ดังบันทึก ไว๎วํา “...สักกราชะได้ ๑๑๕๙ ตัว..ม่านอิงเซะโป่ ซิดซิงโป่ มีริพล ๙ หมื่น ๙ พัน ลุก แต่เมืองอังวะมาแวดวังขังเมืองเชียงใหม่ ..ม่านอิงเซะโป่ต้านทานบ่ได้ ค็แตกกระจัดกระจาย ไพนับเสี้ยง จับยับได้ม่านอุปปะคองโป่ ที่ท่งหนองช้างคลานกับไพร่ม่านเปนอันมาก...”1 (พื้นเมืองเชียงใหมํ), “...สกราช ๑๑๕๙ ตัว..เอาริพลลงไปเชียงใหม่มีฅน ๔ หมื่น ไปเอา เชียงใหม่วันนั้น เถิงเดือน ๖ เพ็งแตกเสียเชียงใหม่...” 2(พื้นเมืองเชียงแสน) และ “...เมงคี หงวนขึ้นมาเปนโป่ซุกแล้ว มีกาลัง ๑๐๐๐ ลงไปแวดเชียงใหม่ บ่ได้ ค้านเชียงใหม่หนีมาก็ปี นั้นแล เมงคีหงวรลวดเปนโป่ซุกอยู่เชียงแสนบ่ลงอ่างวะ...” 3(คํามะเกําเมืองเชียงแสน) ซึ่ง ตํานานทั้ง ๓ เรื่อง ทั้งที่บันทึกตามทัศนะของพมํา (พื้นเมืองเชียงแสน,คํามะเกําเมืองเชียง แสน)และบันทึกตามทัศนะของล๎านนา(พื้นเมืองเชียงใหมํ) ตํางก็ให๎ภาพวํากองกําลังของพมํา พํายแพ๎กลับไป เนื่องจากทางล๎านนาได๎ขอกําลังจากสยามให๎ขึ้นมาชํวย แตํตํานานเชื้อเครือ เจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํกลับให๎ภาพเพิ่มเติมวําถึงแม๎พมําไมํสามารถตีเมืองนครเชียงใหมํได๎ แตํ หัวเมืองบริวารตามชายแดนด๎านตะวันตกของล๎านนาที่ติดกับพมํา และรัฐฉาน เชํน เมือง แจ๐ม เมืองป๋อน เมืองยวม เมืองปาย และเมืองฝาง เป็นต๎น กลุํมผู๎ปกครองและชาวเมือง ก็ไ ด๎ถู กกวาดต๎ อนในศึ ก คราวนี้ลงไปอยูํที่พ มํา เป็นจํ า นวนไมํน๎ อย ซึ่ง คนเหลํา นี้บางสํว น กษัตริย๑พมําก็ได๎ให๎ตั้งบ๎านเรือนอยูํในแถบชนบทที่หมูํบ๎านจอละหรือหากมีฝีมือก็ให๎เป็นทหาร กองทัพหน๎าของพมํา ตํานานยังได๎กลําวถึงต๎นตระกูลของเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํวํามาจากเจ๎าเมืองแจ๐ม (แมํแจํม) คือ “แสนหลวงสุมนะ” มีบุตรชายชื่อ “ชายแก๎ว” ได๎ยศศักดิ์เป็น “ท๎าวสม ฤทธิ์” ในเมืองแจ๐ม ซึ่งในปีพ.ศ.๒๓๔๐ นี้ได๎ถูกกวาดต๎อนโดยกองทัพพมําที่เข๎ามาตีเมือง นครเชี ย งใหมํ ไ มํ สํา เร็ จ และได๎ แวะตี หั ว เมื อ งแถบชายแดนของล๎ า นนาแทน ชาวเมื อ ง บางสํวนก็หลบหนีเข๎าป่า บางสํวนก็ถูกกวาดต๎อนไป ซึ่งชายแก๎วภายหลังการกวาดต๎อนได๎ ถูกจัดให๎อยูํในเมืองนาย เป็นกลุํมคนที่กลุํมเจ๎าฟ้าทั้ง ๙ เมืองเกณฑ๑ให๎เฝ้า ๕ ทํา ๕ ก๎าง ซึ่งเป็นดํานจัดเก็บผลประโยชน๑ที่ตั้งอยูํบริเวณอาณาเขตของเมืองหมอกใหมํเพื่อสํงให๎กษัตริย๑ พมํา จนกระทั่งชายแก๎วมีความดีความชอบจากการที่อาสาปราบกลุํมโจรที่ปล๎นเมือง ล็อก จ็อก พระเจ๎าโพธิพญา(ปะดุง) กษัตริย๑พมําจึงพระราชทานยศศักดิ์ให๎เป็น “พญามหาเสนา ราชา” ในพ.ศ.๒๓๔๓ และชายแก๎วได๎ขอให๎กลุํมญาติพี่น๎อง ขุนนาง และชาวเมืองที่เป็น 1
ศูนย๑วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหมํ, ตํานานพื้นเมืองเชียงใหมํ ฉบับเชียงใหมํ ๗๐๐ ปี,(เชียงใหมํ : มิ่งเมือง, ๒๕๓๘), หน๎า ๑๒๙ – ๑๓๐. 2 สรัสวดี อ๐องสกุล, พื้นเมืองเชียงแสน,(กรุงเทพฯ : อัมรินทร๑, ๒๕๔๖), หน๎า ๑๗๙. 3 สรัสวดี อ๐องสกุล, พื้นเมืองเชียงแสน,(อ๎างแล๎ว), หน๎า ๒๔๙. 11
“ไทยวน” ที่ถูกกวาดต๎อนเมื่อสามปีกํอนมารวมกันอยูํที่เมืองหมอกใหมํ ซึ่งกษัตริย๑พมําก็ ทรงพระราชทานอนุญาต และสถาปนาให๎ช ายแก๎วขึ้นเป็น “เจ๎ า ฟ้า เมืองหมอกใหมํ ” มี อํานาจปกครองครอบคลุมถึงเมืองนาย เมืองจีด และเมืองป๋อน ดังนั้นจึงทําให๎เมืองหมอก ใหมํยุคนี้มีกลุํมผู๎ปกครอง และชาวเมืองจํานวนมากเป็นชาวไทยวน โดยอยูํรํวมกันกับชาวไท ใหญํ และชาวกะเหรี่ยงที่ตั้งถิ่นฐานมากํอนในบริเวณนี้ ตํานานเชื้อเครือเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํยังกลําวถึงทายาทที่สืบสายโลหิตมาจากเจ๎า ฟ้าชายแก๎วไว๎อยํางละเอียด และทําให๎ทราบความสัมพันธ๑ระหวํางหัวเมืองในรัฐฉานกับ ล๎านนาชํวงนี้วํานอกจากมีการอพยพเคลื่อนย๎าย ยังมีการสร๎างความสัมพันธ๑ผํานทางการเสก สมรสระหวํางกัน เชํน ชายาองค๑หนึ่งของเจ๎าฟ้าชายแก๎ว คือ เจ๎านางนํา เป็นพระธิดาของ เจ๎าเมืองเชียงแสนหลวง เป็นต๎น ตลอดจนถึงสามารถเติมเต็มในสํวนที่เกี่ยวข๎องกับต๎นสกุล วงศ๑ผู๎ปกครองเมืองแมํฮํองสอน หัวเมืองขึ้นของเมืองนครเชียงใหมํได๎อีกด๎วย โดยเฉพาะเจ๎า ฟ้าโกหลําน หรือ เจ๎าน๎อยอภิ ไชย เจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํเชื้อสายของเจ๎าฟ้าชายแก๎ว มี หลานองค๑หนึ่งคือเจ๎านางเมี๊ยะ หรือ เจ๎านางเมวดี ได๎เป็นเจ๎าฟ้าเมืองแมํฮํองสอนองค๑ที่ ๒ (พ.ศ.๒๔๒๗ – ๒๔๓๔) ในภายหลังก็ปรากฏมีการเสกสมรสระหวํางเชื้อสายของเจ๎าฟ้าเมือง หมอกใหมํที่อยูํในเมืองแมํฮํองสอนกับเชื้อสายของเจ๎าหลวงนครเชียงใหมํอีกด๎วย คือ พระธิดา องค๑หนึ่งของเจ๎านางเมี๊ยะ คือ เจ๎านางคําแดง ได๎เสกสมรสกับเจ๎าน๎อยศุขเกษม(เจ๎าน๎อยกบ) ราชบุต รของเจ๎ า หญิ ง อุบ ลวรรณา(ราชธิด าของพระเจ๎ า กาวิ โลรสสุริ ย วงศ๑ พระเจ๎ า นคร เชียงใหมํพระองค๑ที่ ๖)1 นอกจากนี้ยังทําให๎ทราบเหตุการณ๑ตํางๆ ที่เกิดขึ้นภายในเมืองหมอกใหมํ หัว เมืองใกล๎เคียง หรือหัวเมืองที่เมืองหมอกใหมํได๎เข๎าไปเกี่ยวข๎อง เชํน ลําดับของเจ๎าฟ้าเมือง หมอกใหมํในสกุลวงศ๑เจ๎าฟ้าชายแก๎ว , ปรากฏการณ๑ธรรมชาติในเมืองหมอกใหมํ , กลําวถึง การกํอกําแพงเวียงนครเชียงตุงในพ.ศ.๒๓๗๗, คูลวา(อังกฤษ)จับตัวกษัตริย๑พมําไปในพ.ศ. ๒๔๒๘ หรือกลําวถึงเมืองหมอกใหมํแตกถึงห๎าครั้งตั้งแตํชํวงพ.ศ.๒๔๐๑ – ๒๔๓๐ ผู๎คนสํวน ใหญํจึงอพยพเข๎ามาอยูํชายแดนล๎านนาโดยเฉพาะเมืองแมํฮํองสอนเป็นจํานวนมาก ซึ่งก็ได๎ ตั้งถิ่นฐานสืบลูกสืบหลานมาจนถึงปัจจุบัน และเมืองหมอกใหมํแตกครั้งแรกในพ.ศ.๒๔๐๑ นี้เองที่แกมเมือง(เจ๎าอุปราช)เมืองนายได๎เข๎ายึดเมือง และขึ้นเป็นเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํ ดัง ตํานานกลําววํา “...เมืองหมอกใหม่แตกหลวงข้าม่านฅนเมืองหนีรอดเชียงใหม่แล ๑๒๒๐ (พ.ศ.๒๔๐๑) แกมเมืองนายได้เมืองหมอกใหม่แล เมืองแตก เดือน ๕ แรม ๘ ฅ่า...” สํวน เจ๎าฟ้าโกหลําน(เจ๎าน๎อยอภิไชย) ที่เป็นเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํในขณะนั้นจึงได๎พาชายาคือ เจ๎านางตาเขียว(เป็นหลานเจ๎าฟ้าชายแก๎ว) ราชบุตรคือ ขุนหลวง(ราชบุตรเจ๎าฟ้าโกหลํานกับ เจ๎านางตาเขียว) พร๎อมกับหลานคือ ขุนแอ เจ๎านางนุ และเจ๎านางเมี๊ยะ หนีลี้ภัยเข๎ามาพึ่ง 1
กจช. ร.๕ ม.๕๘/๑๑๕ ปกครองบริเวณเชียงใหมํตะวันตกแลเมืองแมํฮํองสอน (๑๗ ต.ค.ร.ศ.๑๑๒ – ๑๑ พ.ค.๑๒๖) 12
แสนโกม ที่ บ๎า นแมํฮํ องสอน ในอาณาเขตของเมื องนครเชี ยงใหมํ ซึ่ ง เจ๎ า นางเมี๊ ยะผู๎ นี้ ภายหลังได๎รับการแตํงตั้งจากพระเจ๎าอินทวิชยานนท๑ พระเจ๎านครเชียงใหมํพระองค๑ที่ ๗ (พ.ศ.๒๔๑๖ – ๒๔๔๐) ให๎ขึ้นเป็น “เจ๎าฟ้าเมืองแมํฮํองสอน” องค๑ที่ ๒ (พ.ศ.๒๔๒๗ – ๒๔๓๔) สํวนเมื่อเมืองหมอกใหมํแตกครั้งที่สองในพ.ศ.๒๔๐๗ เจ๎าฟ้าโกหลํานก็หนีเข๎ามาใน เขตเมืองนครเชียงใหมํอีกครั้ง ซึ่งครั้งนี้ในปีพ.ศ.๒๔๑๒ เจ๎าฟ้าโกหลํานได๎เป็น “เจ๎าฟ้าเมือง ปาย”(อ.ปาย จ.แมํฮํองสอน ในปัจจุบัน)1 อยูํชั่วระยะเวลาหนึ่งกํอนกลับไปยึดเมืองหมอก ใหมํกลับคืนอีกครั้ง ดังนั้นคุณประโยชน๑ของตํานานเชื้อเครือเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํฉบับนี้ สามารถให๎ เห็นภาพความสัมพันธ๑บางสํวนของรัฐในหุบเขาระหวํางรัฐฉานกับล๎านนา โดยเฉพาะบรรดา หัวเมืองชายพรมแดน ที่ตํา นานพื้นเมืองหลักๆ มักไมํกลําวถึงหรือบันทึกไว๎อยํา งผิวเผิน ถึงแม๎วําจะเป็นการบันทึกชํวงระยะเวลาสั้นๆ ก็ตาม แตํตํานานก็ให๎ภาพเหตุการณ๑บ๎านเมือง ในยุครอยตํอทางประวัติศาสตร๑จากชํวงปลายยุคจารีตกํอนจะเข๎าสูํยุคสมัยใหมํหรือยุครัฐชาติ ได๎ดีระดับหนึ่ง สํวนข๎อจํากัดของตํานานคือไมํได๎ให๎ภาพระยะยาวหรือย๎อนเวลาไปไกลมาก จนถึงล๎านนาในยุคราชวงศ๑มังราย และยุคพมําปกครอง แตํเริ่มบันทึกในชํวงฟื้นฟูล๎านนายุค เป็นประเทศราชของสยามแล๎ว บางชํวงตํานานก็ขาดการบันทึกรํวมสิบกวําปี รวมไปจนถึง บางตอนตํานานก็กลําวสับสน เชํน ลําดับและชํวงปีที่ปกครองของเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํที่ กลําวแย๎งกันเอง ดังตอนชํวงแรกตํานานได๎กลําวเรียงลําดับเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํไว๎ดังนี้ คือ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗)
พญามหาเสนาราชา (เจ๎าฟ้าชายแก๎ว) พ.ศ.๒๓๔๔ – ๒๓๖๒ เจ๎าฟ้าขัติยะ พ.ศ.๒๓๖๒ – ๒๓๖๘ เจ๎าฟ้ามหาขนานอรินทะ พ.ศ.๒๓๖๙ - ๒๓๗๕ เจ๎าฟ้าคําอู พ.ศ.๒๓๗๕ – ๒๓๘๗ เจ๎าฟ้าโกหลําน (เจ๎าน๎อยอภิไชย) พ.ศ.๒๓๘๗ – ๒๔๑๘ เจ๎าฟ้าขุนหลวง พ.ศ.๒๔๑๘ – ๒๔๒๙ เจ๎าฟ้าขุนมุง (เจ๎าฟ้าคํามุง) พ.ศ.๒๔๒๙
สํวนในตอนหลั ง ที่บั นทึก ลํา ดั บเหตุการณ๑ เรี ยงตามปี ได๎มีก ารบั นทึก ไว๎ขั ดแย๎ ง กันเอง เชํน กลําววํา เจ๎าหนานขัติยะ เป็นเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํในพ.ศ.๒๓๖๑ ขณะที่ กํอนหน๎านี้เป็นพ.ศ.๒๓๖๓ คลาดเคลื่อนสองปี หรือเจ๎าฟ้าโกหลํานเป็นเจ๎าฟ้าเมืองหมอก ใหมํมาจนถึงพ.ศ.๒๔๒๙ แตํกํอนหน๎าบันทึกวําถึงพ.ศ.๒๔๑๘ เพราะในปีนี้ขุนหลวง ราช บุตรของเจ๎าฟ้าโกหลํานได๎ขึ้นเป็นเจ๎าฟ้าแทน หรือในพ.ศ.๒๔๐๑ แกมเมือง(เจ๎าอุปราช) 1
หนํวยศึกษานิเทศก๑, ประวัติหมูํบ๎านอําเภอปาย จังหวัดแมํฮํองสอน,(เชียงใหมํ : ดาราวรรณการพิมพ๑,๒๕๔๐), หน๎า ๓๕. 13
เมืองนายได๎เป็นเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํ ขณะที่กํอนหน๎านี้บันทึกวําเป็นชํวงที่เจ๎าฟ้าโกหลําน ปกครองอยูํ เป็นต๎น เหตุที่มีการบันทึกแย๎งกันเองหรือคลาดเคลื่อน ผู๎เขียนสันนิษฐานวํา เนื่องจากมีผู๎แตํงหลายคน บันทึกตํางชํวงตํางวาระกัน บางชํ วงเว๎นการบันทึกรํวมสิบกวําปี กอรปกับเมืองหมอกใหมํชํวงทศวรรษ ๒๔๐๐ เป็นต๎นมามีศึกสงครามบํอยครั้งกวํายุคกํอน หน๎านี้ เกิดความวุํนวายอยูํเสมอ ดังปรากฏในตํานานวําชํวงระยะเวลา ๒๙ ปี ตั้งแตํพ.ศ. ๒๔๐๑ – ๒๔๓๐ เมืองหมอกใหมํแตกถึง ๕ ครั้ง มีการอพยพหลบลี้หนีภัยไปอยูํตํางเมือง ทั้งใกล๎ และไกลอยูํเสมอ ทําให๎ปรากฏมีเจ๎านายจากเมืองอื่นที่เข๎ามาตี เมื่อได๎รับชัยชนะก็ขึ้น เป็นเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํปกครองอยูํในชํวงระยะเวลาหนึ่ง เมื่อเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํองค๑ เดิมกลับเข๎ามาตีเมืองคืนได๎ก็เข๎ามาปกครองดังเดิม ด๎วยเหตุที่กลํ าวมาจึงอาจทําให๎ปรากฏมี การบันทึกคลาดเคลื่อน และมีบางเหตุการณ๑บันทึกขัดแย๎งหรือไมํตรงกันในชํวงต๎นกับชํวง หลังของตํานาน ข๎อจํากัดอีกประการหนึ่ง คือ ด๎วยเป็นตํานานฝ่ายบ๎านเมืองที่ต๎องการเน๎นย้ําที่มา สิทธิธรรม และบทบาทของกลุํมราชวงศ๑ผู๎ปกครองเมืองหมอกใหมํ จึงให๎ความสําคัญในการ บัน ทึกเรื่องราวของชนชั้ นสูง คื อกลุํมเจ๎ า นายเป็นหลัก มีผลทํา ให๎ขาดภาพความสัมพันธ๑ ระหวํางกันของกลุํมชนชั้นลํางที่เป็นสามัญชนทั่วไป แตํอยํางไรก็ตามเอกสารฉบับนี้ถือได๎วํามี คุณคํา และความนําเชื่อถือสูง สามารถชํวยเติมเต็มหน๎าประวัติศาสตร๑ล๎ านนา ตลอดจนถึง ความสัมพันธ๑ระหวํางรัฐฉานกับล๎านนาได๎ดีในระดับหนึ่ง ซึ่งในตอนท๎ายของบทความฉบับนี้ ผู๎เขียน ได๎นําตํานานเชื้อเครือเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํที่ได๎ปริวรรต มานําเสนอประกอบไว๎ด๎วย เพื่อให๎เห็นภาพได๎ชัดเจนมากยิ่งขึ้น และเป็นประโยชน๑ตํอวงวิชาการล๎านนาคดี และฉานคดี สืบไป
ตานานเชื้อเครือเจ้าฟ้าเมืองหมอกใหม่ (เจ้าอุปราชพม่าตีนครเชียงใหม่ และต้นสกุลวงศ์เจ้าฟ้าเมืองหมอกใหม่) (๑)ไชยฺยตุ สพฺพมงฺคล จักกลําวด๎วยเชื้อเครือเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํกํอนแล เมื่อ สกราช ๑๑๕๙ (พ.ศ.๒๓๔๐) ปลีนั้น เจ๎าเองเซ ขุนนายเมืองอังวะเปนแมํทัพใหยํ แล๎วยก ทัพเข๎าไพตีเมืองเชียงใหมํ แล๎วกวาดเอากลํอมไทโยนเมืองเชียงใหมํมาเถิงวันตกฅงแล๎วเอาลง ไพถวายพระมหากระสัตรมํานเมืองอังวะ แล๎วเอาไพไว๎บ๎านนอก พรํองค็เข๎าไพทําราชการ เปนตาหานขระสัตรได๎ชื่อวํากองหน๎าวําอั้นแล พั่นดั่งเจ๎าฟ้าชายแก๎วนี้เมื่อกํอนนั้นทํานอยูํ เมืองแจม ชื่อท๎าวสมริทธิ์ พํอทํานชื่อวํา สุมนะ เปนแสนหลวงพํอเมืองแจมหั้น แมํทํานชื่อ วํา ยําปลา แลมีลูกสองยิงสองชาย ผู๎พี่เอ๎ยชื่อวํา ยํางาว แลน๎องยํางาวชื่อวําน๎อยมังคละ น๎องถัดนั้นชื่อวํา ชายแก๎ว น๎องชายแก๎วชื่อวํา นางสัมพันธ๑ คันวําพํอแมํตายไพแล๎ว มํานไพ กวาดเอาได๎มายํางาวผู๎๑ น๎อยมังคละผู๎๑ ชายแก๎วผู๎๑ ๓ ฅนพี่น๎อง พั่นดั่งนางสัมพันธ๑นั้นค็ ยังฅ๎างอยูํที่เมืองแจมหั้นแล ดั่งฟ้าชายแก๎วได๎เมียมาฅนนึ่งชื่อวํา นางตา มาแลฅ๎างอยูํเมือง 14
หมอกใหมํหั้นแล ดั่งหมุกขาฅนทังหลายนั้นมี ท๎าวจอมใจ แลปู่หมื่นฟ้อน แลแสนจะหลุก นั้น มํานเอาลงไพไว๎บ๎านนอก คือวําบ๎านจอละ พรํองค็พาเอากันเข๎าไพทําราชการเปนตา หานหน๎ากระสัตรหั้นแล ถํานั้นชาวแจม แลชาวปอน ชาวยวม ชาวสะมาด ผาบํอง ชาว พลาย แลชาวฝาง ค็พลัดพรากกันไพเสี้ยงแล๎วแล คันวํามาเถิงสกราชได๎ (เกิดกองโจรเมืองล็อกจ็อก และชายแก้วอาสาทาการปราบ) (๒)๑๑๖๐ ปลี(พ.ศ.๒๓๔๑) แล๎วโจรผู๎ร๎ายเกิดมีมายังเมืองล็อกจ็อก แล๎วกระสัตร มํานจิ่งเกณฑ๑เอาเจ๎านาย ตาหานทังหลาย แล๎วยกทัพกําลังทัพขึ้นไพตํอสู๎รบกับโจรผู๎ร๎ายนั้น กล๎าหานนัก ตํอสู๎รบกับมันค็บํแพ๎มันได๎ ถํานั้นบ๎านเมืองพระราชอาณาเขตต๑ทังมวลค็ตื่นท๎วง ขําเขือกสนั่นหวั่นไหวไพมาเปนอันมากนักแล พระมหากระสัตรจิ่ งเรียกร๎องหาตาหานกลํอม ไทโยนมาแล๎วถามวํา ดั่งโจรผู๎ร๎ายนี้สูไพรบเอาจักได๎บํชาวําอั้น เมื่อนั้นท๎าวจอมใจ แลปู่หมื่น ฟ้อน แลแสนจะหลุก จิ่งไหว๎วําได๎บํได๎ค็ยังบํรู๎เทื่อข๎าแลพระบาทเจ๎าขอพิจจรณาดูกํอน เทํา วําข๎าพระบาทเจ๎าขอเรียกเอาพี่น๎องข๎าบาทเจ๎ามีเมืองใดบํวํา ในกาละนั้นพระมหากระสัตรจิ่ง ปลงพระราชอาญาหื้อเรียกร๎องเอาตามใจ คันได๎ราชอาญาอนุญาตแล๎วขึ้นมาเรียกร๎องเอาฟ้า ชายแก๎วเขาพี่น๎อง กับหมูํฅนเขาลงไพ รอดเมืองอังวะแล๎ว เขาเธอุบายทําตัวเปนดั่งโจรผู๎ร๎าย นั้น แล๎วค็ขึ้นมาขอเปนพวกพ๎องอยูํกับนายโจรนั้นนานประหมาณห๎าหกเดือน แล๎วนาย โจรค็อยั่งเนื้อเชื่อใจเขาแล๎ว เขาเลือกเอาฅนดีเข๎าไพไว๎เปนเพื่อนนายโจร อาณัติใสํปากเขาไว๎ แล๎ว ชายแก๎วรับอาสาวําจักคั้นปล้ําเอาตัวดิบมันหื้อได๎ วําอั้นแล๎ว คันเถิงรุํงแจ๎งมาชาย แก๎วค็ไหว๎บนผีอารักข๑เจ๎านายแลท๎าวทัง ๕ แล๎วค็เข๎าไพสูํเรือนนายโจรยังผ๎งลุกจากที่นอน ออกมายังบํทันล๎างหน๎า (กษัตริย์พม่าแต่งตั้งชายแก้วขึ้นเป็นเจ้าฟ้าเมืองหมอกใหม่) (๓)เทื่อ หมูํโจรนั้นลางพรํองค็นอนอยูํ พรํองค็ต๎มเข๎าหุงแกงอยูํ พรํองค็ยังผ๎งดัง ไฟอยูํฅวัน ชายแก๎วเข๎าไพเถิงนายโจรแล๎วค็คั้นปล้ําเอานายโจร แลชายแก๎วค็ร๎องเอาฅนอัน บํมไว๎กับนายโจรนั้นมาฟันโจรทังหลาย พรํองค็ตายพรํองค็หนีแตกตื่นไพเสี้ยงแล๎วค็พร๎อมกัน มัดเอานายโจรนั้นลงไพถวาย พระมหากระสัตรอังวะค็ชมชื่นยินดี ค็พระราชพระทานรางวัล สิ่งของเงินฅําเปนอันมากแล๎ว ค็มีรับสั่งถามวําชายแก๎วฅนผู๎นี้มันอยูํเมืองใด เขากราบทูลไหว๎ สาวํา มันเปนฅนเมืองนาย มันอยูํเมืองหมอกใหมํที่ ๙ เจ๎าฟ้าเกณฑ๑ฅนไพเฝ้าทํา ๕ ทํา ก๎าง ๕ ก๎างนั้นแล ไหว๎สาวําอั้นแล๎ว อยูํมานานได๎ ๒ ปลี เจ๎าฟ้าสํวยวาแลพร๎อมกันกับเจ๎าฟ้าหัว เมืองทังหลายเปน ๙ เมือง แล๎วไหว๎สาเจ๎าหวุํนแมงคลีมหาเสนาธิบดี ผู๎ใหยํวํา ดั่งทํา ๕ ทํา ก๎าง ๕ ก๎างนี้ค็เปนทุกข๑ข๎าเจ๎าทังหลายได๎เกณฑ๑ฅนไพเฝ้าแหนรักสาเทอะวําอั้น เจ๎าหวุํนแมง คลีจิ่ งเข๎าไพกราบทูลสา พระมหากระสัตรจิ่ งปลงอาชญารางวัลนามศักดิ์หื้อชายแก๎ววํา พระญามหาเสนาราชา เมื่อสักกะ ๑๑๖๒ ปลีนั้น(พ.ศ.๒๓๔๓) หื้ออยูํเมืองหมอกใหมํเฝ้าทํา 15
๕ ทํา ก๎าง ๕ ก๎างตามคําเจ๎า ๙ เจ๎าฟ้าเจ๎าไหว๎สานั้น อยําหื้อปุคละผู๎ใดได๎กดขี่แลขํมเหง กวนควีหื้อชายแก๎วแลพวกเพื่อน (๔)ได๎ทําราชการไพตามสวัสสดี วําอั้นแล๎ว แลชายแก๎วซ้ําไหว๎สาแถมวําพะดาไท โยนมีเมืองใด ขอรับพระราชทานเรียกร๎องเอามาอยูํ ทวยข๎าเจ๎ายังเมืองหมอกใหมํ แล๎ว ชํวยกันทําราชการสืบตํอไพ ถ๎ามี เสิก็มีโจรผู๎ร๎ายเกิดขึ้นมาในพระราชอาณาเขตต๑ข๎าเจ๎าขอ อาสาเปนทัพหน๎า พระมหากระสัตรจิ่ งปลงอาชญาหื้อเจ๎าฟ้าชายแก๎วยามเมื่อสกราชได๎ ๑๑๖๓ ปลี(พ.ศ.๒๓๔๔) ขึ้นมาย่ําเขตต๑น้ําหนังดินเมืองนาย เมืองจีด เมืองปอน ชิดฝ่าย ทางใต๎ตั้งแตํนาหมากอํางขาง กรอซายน้ําล๎อง ลงไพเถิงสองแควแภกันลงเถิงสบน้ําแมํสีสาก แลน้ําสีตอ แล๎วขึ้นมาตามสบห๎วยหลวงมาเถิงน้ําหูผักไผํ หลุกหว๎าย ตักวะ หายหนัง บ๎าน หมาก ตามริมน้ํา ปอนขึ้นมาทางเหนือตามน้ํา อันคดแลซื่อ แผวน้ํา แมํละ ผาชั น ดอย ขานฅน หัวจะล๎อง หนองปลี ดอยผุย นาแขมกืด ดอยขวางผักบอน เวียงธะหมง ดอย บัก ดอยตั้ง ดอยกาแผก เทอกนาปางเพลา หนองหลวงคุนแคง ตองแคะ วันออกแผวเถิง ปางหมากผีด ปางหนู ไพตามดอยหลวง สีเดื่อ ดอยอี่วอก ลงไพ รอดน้ําฅงฝ่ายวันตกเปน ดินพระญามหาเสนาราชาคือวํา เจ๎าฟ้าชายแก๎วแล ทีนี้จักจาด๎วยเมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วกํอนแล เมียหลวงฟ้าชายแก๎วเอาเมียมาแตํเมืองแจมพุ๎นมานั้นชื่อวํานางตา มีลูกชายชื่อวําเจ๎านาย หนานสุรินตา เปนแกมเมือง (เชื้อเครือเจ้าฟ้าชายแก้ว เมืองหมอกใหม่) (๕)มามีลูกชายนึ่งชื่อวํา ฅําปอก แลเมียผู๎ ๑ ชื่อวํา อุสาห๑ มีลูกชื่อวํา หลวง หนองตอ ฅน๑ ชื่อวํา เจ๎าจันท๑ และมีลูกยิงสองฅน ผู๎ ๑ ชื่อวํา นางเขียว แลผู๎ ๑ ชื่อวํา นางแอ แลนายน๎อยนันทะแลฅนนี้ไพอยูํวัดได๎ชื่อครูบาหื้อแล แลผู๎ ๑ ชื่อ เจ๎าจันท๑ ดั่งอั้นบํ อยูํวัดแล เมียขุนหมํองฅน๑ ชื่อ นางพิน มีลูกชายนึ่งชื่อวํา นายน๎อยอภิไชยแลได๎ชื่อวําโค ลําน แลมีลูกยิงสองฅนแล นางชา นางแสง แลเมียขุนหมํองเมียฅนนึ่งชื่อนางน้ําครกชื่อ นางใส มีลูกผู๎๑ ชื่อ ขุนพ็อกแลขุนฟัน เจ๎าชายแก๎วมีเมียฅนนึ่งชื่อ นางฅําพอ แลมีลูกชาย ๑ ชื่อวํา แกมเมืองฅําฝั้น แลผู๎ ๑ ชื่อ นางเอ๎ย ลูกนางเอ๎ยชื่อ นางหลวง แลเมียแกม เมืองฅําฝั้นฅน๑ ชื่อ นางใส มีลูกชาย๑ ชื่อ ขุนนาย แลเมียฅําฝั้นฅน๑ ชื่อ นางตาฅํา มี ลูกชาย๑ ชื่อ นายน๎อยอรินท๑ แลเมียฅําฝั้นฅน๑ ชื่อ นางพา มีลูกยิง ๑ ชื่อ นางฅําผอง แลลูกนางฅําผองชื่อ นางมน ลูกนางมนชื่อ เจ๎ าฅําหนุํม ผู๎๑ ชื่อ เจ๎าขี้สุน เปนลูกโคลําน แลเจ๎าฅําหนุํม ขุนมุงเอาเปนเมียได๎ชื่อเจ๎าเมืองหมอกใหมํ แลเมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วฅน๑ ชื่อ นางเขียว มีลูกชาย๑ ชื่อ เจ๎าฟ้านายหนานขันติ ไพหายเสิก็คุลวาเสียแล ลูกเจ๎าฟ้านาย หนานขันติยะได๎ชื่อ เจ๎าฟ้าฅําอู ลูกฅํา อูชื่อ ฟ้าฅํามุง มีลูกยิงฅน๑ ชื่อ นางฅําฟู เปนน๎อง นายหนานขันติยะ แลลูกนางฅําฟูชื่อ นางหนํอ ลูกนางหนํอ ขุนปุก นางฅําผอง 16
(๖)ลูกนางหนํอชื่อ นางใจ ลูกนางใจชื่อ นางจันฅํา ชื่อเจ๎าฟ้าบุญมุงซาเปนลูกโค ลํานแล๎ว แลเมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วฅน๑ ชื่อ นางฅํา ลูกนางฅําชื่อ นางฅําผอง แลนางฅําอู บเปนเมียเจ๎าหนองตอ นางฅําผองเปนเมียเจ๎าฟ้าเมืองปั่นแล เมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วฅน๑ ชื่อ นางใหมํ มีลูกชายฅน๑ ชื่อวํา นายน๎อยธนไชยแล เมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วฅน๑ ชื่อวํา นางตา เขียว ฅน๑ ชื่อนางฅําผอง สองฅนพี่น๎องนี้บํมีลูก เมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วฅน๑ ชื่อ นางนํา เป นลูกเจ๎าเมืองเชียงแสนหลวงมีลูกชาย๑ ชื่อวํา นายน๎อยพิมพิสารแล เมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วฅน ๑ ชื่อ นางชา มีลูกผู๎ ๑ ชื่อวํา เจ๎าฟ้านายหนานอรินทะแล เมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วฅน๑ ชื่อ นางพิมพา มีลูกชาย๑ ชื่อวํา นายน๎อยเนรัญชาแล เมียเจ๎าฟ้าชายแก๎ วฅน๑ ชื่อ นางจัน มีลูกชาย๑ ชื่อวํา นายน๎อยเตชา เมียเจ๎าฟ้าชายแก๎วตน๑ ชื่อ นางจันฟอง มีลูกยิง ๑ ชื่อ นางน๎อย ลูกนางหน๎อยชื่อ นางตาเขียวเปนเมียฟ้าโคลําน มีลูกชาย๑ ชื่อ ฟ้าขุนหลวงแล เมียฟ้าชายแก๎วฅน๑ ชื่อ มะซานเปนนางมํานบํมีลูกแล สักกะ ๑๑๕๙ ปลี(พ.ศ.๒๓๔๐) เอง เซหวุํนยกไพตีเมืองเชียงใหมํไพกวาดเอาฅนมาแล สักกะ ๑๑๘๒ ปลี(พ.ศ.๒๓๖๓) เจ๎าฟ้า นายหนานได๎กินเมืองหมอกใหมํ ๖ ปลีแล สักกะ ๑๑๘๘ ปลี(พ.ศ.๒๓๖๙) เจ๎าฟ้านายหนาน อรินทะได๎กิน (ลาดับเจ้าฟ้าเมืองหมอกใหม่สกุลวงศ์เจ้าฟ้าชายแก้ว) (๗)เมืองหมอกใหมํ ๖ ปลีแล สักกะ ๑๑๙๔ ปลี(พ.ศ.๒๓๗๕) เจ๎าฟ้าฅําอูได๎กิน เมืองหมอกใหมํได๎ ๑๒ ปลีแล สักกะ ๑๒๐๖ (พ.ศ.๒๓๘๗) ฟ้าโคลํานได๎กินเมืองหมอกใหมํ ได๎ ๒๑1 ปลีแล สักกะ ๑๒๓๗ ปลี(พ.ศ.๒๔๑๘) ฟ้าขุนหลวงได๎กินเมืองหมอกใหมํได๎ ๑๑ ปลีแล สักกะ ๑๒๔๘ ปลี(พ.ศ.๒๔๒๙) ฟ้าขุนมุงได๎กินเมืองหมอกใหมํแลทํา ๕ ทํานั้นคือวํา ทําละงวง ๑ ทําห๎วยปุง ๒ ทําสบเทง ๓ ทําห๎วยฅา ๔ ทํากุนซิม ๕ แล๎วแล อํายก๎างห๎าที่ นั้นคือวํากันทูหลวง ๑ บ๎านหมาก ๒ นาหิ ๓ ผาล๎อม ๔ ซอนหวาน ๕ อําย ๕ ที่แลเฮย (ลาดับเหตุการณ์ต่างๆ ในเมืองหมอกใหม่ และหัวเมืองใกล้เคียง ช่วงพ.ศ.๒๓๔๑ - ๒๔๓๘) (๘)๑๑๖๐ (พ.ศ.๒๓๔๑) เจ๎าฟ้าชายแก๎วได๎รบเสิก็ตองอูแล ๑๑๖๑ (พ.ศ.๒๓๔๒) เจ๎าฟ้าชายแก๎วได๎เมืองหมอกใหมํแล ๑๑๖๒ (พ.ศ.๒๓๔๓) ฟ้าชายแก๎วเข๎านั่งเมืองหมอก ใหมํ เดือน ๓ เชียงใหมํ แรม ๒ ฅ่ํา วัน ๓ ยามแตรเที่ยงแล ๑๑๖๓ (พ.ศ.๒๓๔๔) ชาวบ๎าน นามาย่ําเขตแดนดินเมืองหมอกใหมํแล ๑๑๖๔ (พ.ศ.๒๓๔๕) ครูบานารทะ อนิจจะไพแล ๑๑๖๕ (พ.ศ.๒๓๔๖) น้ํายุมนองถ๎วมขึ้นขั้นใด ๓ ซี่ ปลาตายนักแล ๑๑๖๖ (พ.ศ.๒๓๔๗) พอยหลวงกลางทางวันตกเวียงแล ๑๑๖๗ (พ.ศ.๒๓๔๘) มิงคลีเสกตอซะขี่เมืองนาย 1
ในตํานานระบุเจ๎าฟ้าโกหลํานเป็นเจ๎าฟ้าเมืองหมอกใหมํ ๒๑ ปี แตํควรเป็น ๓๑ ปีในระหวํางพ.ศ.๒๓๘๗ – ๒๔๑๘ 17
แล ๑๑๖๘ (พ.ศ.๒๓๔๙) ฟ้าสํวยหวําขี่เสิก็วันออกของแลโป่นะนอลอง ฅนพญาสุริยะขําว เสิก็แข็ง ๑๑๖๙ (พ.ศ.๒๓๕๐) หมํองพะแลเปนโป่มูโปนะนอลอง ฅนพญาสุริยะ ขําวเสิก็ แข็ง ๑๑๗๐ (พ.ศ.๒๓๕๑) โป่แอยแซขี่เสิก็เมืองธา มหาเสดตอเซนลงอังวะ ชะคลีชาแถขี่ ๑๑๗๑(พ.ศ.๒๓๕๒) ฟ้านายหนานขัตติยะขึ้นเชียงตุงเสิก็ ฟ้ามหาขนานอรินทะค็ไพทวยแล ๑๑๗๒ (พ.ศ.๒๓๕๓) ฟ้าโคลํานเกิดปลีนั้นแล ๑๑๗๓ (พ.ศ.๒๓๕๔) ฟ้าสํวยหวําตายปลีนั้น แล ๑๑๗๔ (พ.ศ.๒๓๕๕) แตมํวยตํอริมน้ํายุมแล ๑๑๗๕ (พ.ศ.๒๓๕๖) แกมเมืองนาย หนานสุรินทะนอนแพรแล๎วแล ๑๑๗๖(พ.ศ.๒๓๕๗) ตํางธีมวยตอริมยุมพายมหาตามปลีนั้น แล ๑๑๗๘ (พ.ศ.๒๓๕๙) ปกชองครูบาสุริยะปลีนั้นแล ๑๑๗๙ (พ.ศ.๒๓๖๐) ฟ้าเชียงทอง มานั่งเมืองนายแล ๑๑๘๐ (พ.ศ.๒๓๖๑) ฟ้านายหนานขัตติยะเปนฟ้าเมืองหมอกใหมํแล ๑๑๘๑ (พ.ศ.๒๓๖๒) สังฆะลงไหว๎ทําโคํงหงสา เดือนเจียงเพง มวยตอริมยุมพังแล ๑๑๘๒ (พ.ศ.๒๓๖๓) ครูบาสุริยะได๎เปนสลําตอแล ๑๑๘๓ (พ.ศ.๒๓๖๔) ปกชองทําน้ําปลีนั้นแล ๑๑๘๕ (พ.ศ.๒๓๖๖) เดือน ๖ แรม ๑ ฅ่ํา ลูกเจ๎าเองเซขึ้นนานตอแล ๑๑๘๖ (พ.ศ.๒๓๖๗) ฟ้านายหนานขี่เสิกก็ ล๎าตามหาหมํองมวยภูขึ้นมาเมืองนายแล ๑๑๘๗ (พ.ศ.๒๓๖๘) เปนเสิก็ มาเมืองแล๑๑๘๘ (พ.ศ.๒๓๖๙) ฟ้าแขํขึ้นแสนหวี ฟ้านายหนานกินเมืองหมอกใหมํ ๑๑๙๐ (พ.ศ.๒๓๗๑) ฟ้าเมืองพูได๎กาวิมา นายน๎อยเตชาลงอังวะแล ๑๑๙๑ (พ.ศ.๒๓๗๒) ฟ้าเมือง นายได๎เมืองปอน ๑๑๙๒ (พ.ศ.๒๓๗๓) เดือน ๑๐ ออก ๕ ฅ่ํา ปกชองเมืองปอนหลังไฟไหม๎ เสียนั้น ๑๑๙๓ (พ.ศ.๒๓๗๔) แตํสิมสามุกเมืองนาย ๑๑๙๔ (พ.ศ.๒๓๗๕) พระเจ๎าออก เหื่อ เสิก็ฟ้าเมืองแรม ฟ้าฅําอูกินเมือง ๑๑๙๕ (พ.ศ.๒๓๗๖) เขาคลาห๎วยนี้แล ๑๑๙๖ (พ.ศ.๒๓๗๗) กํอเวียงเชียงตุงแล ๑๑๙๗ (พ.ศ.๒๓๗๘) ชาวใต๎มาเชียงตุง ฟ้าฅําอูข๎าซึ่งอ๎าย แดง อ๎ายละ ๑๑๙๘ (พ.ศ.๒๓๗๙) อังวะเปนเสิก็ห๎าปลี ฟ้าฅําอูข๎าซึ่งอ๎ายแดง อ๎ายละเข๎า กํอแล ๑๑๙๙ (พ.ศ.๒๓๘๐) เสิกย็ องหุยแล ๑๒๐๐ (พ.ศ.๒๓๘๑) แผํนดินไหวหลวงแล (๙)๑๒๐๑(พ.ศ.๒๓๘๒) สุริยคราสหลวงมืดไพทังเมืองแล ๑๒๐๒ (พ.ศ.๒๓๘๓) ได๎แก๎วกันทุมาเชํนเจ๎าฟ้าฅําอูแล ๑๒๐๓ (พ.ศ.๒๓๘๔) กระสัตรมํานไพทําโกํงข๎าแล ๑๒๐๔ (พ.ศ.๒๓๘๕) มํานสั่งหมํอมหอหน๎อยแล ๑๒๐๕ (พ.ศ.๒๓๘๖) ฟ้าเชียงทองตาย ขุนหนุํม กินเมืองนายแล ๑๒๐๖ (พ.ศ.๒๓๘๗) โคหลํานกินเมืองหมอกใหมํขี่เสิก็หนองผลาย ขุนสาร รัตตราตายแล ๑๒๐๗ (พ.ศ.๒๓๘๘) ลุกเสิกย็ างมานักแล ๑๒๐๘ (พ.ศ.๒๓๘๙) เมืองจีดย่ํา ดินหมอกใหมํ แลเมืองหลํายข๎ากับทัพมํานฟันพลอง ฟ้าขุนเกิด ๑๒๐๙ (พ.ศ.๒๓๙๐) สลํา ตอเมืองนาย ชางหวาครูบาเมทธา อนิจจะไพแล ๑๒๑๐(พ.ศ.๒๓๙๑) ฟ้าโคหลํานได๎แก๎วขุม มาขุดหนองกลางเวียง พอยขัวหลวงกลางเวียงค็ปลีนั้นแล (๑๐)๑๒๒๖ (พ.ศ.๒๔๐๗) เมืองหมอกใหมํแตกหลวงข๎า มํา นฅนเมืองหนีรอด เชียงใหมํแล ๑๒๒๐ (พ.ศ.๒๔๐๑) แกมเมืองนายได๎เมืองหมอกใหมํแล เมืองแตก เดือน ๕ แรม ๘ ฅ่ํา ขุนพ็อกมาตีเมืองแลเจ๎าตาดผาแสงหัวดอยพังแล ๑๒๒๐ (พ.ศ.๒๔๐๑) แกม เมืองนายได๎กินเมืองหมอกใหมํ เมืองหลุเดือน ๕ แรม ๘ ฅ่ํา ขุนพร็อกมาเทิกแล ๑๒๒๖ 18
(พ.ศ.๒๔๐๗) เมืองหมอกใหมํแตกทุติยะแล ๑๒๔๔ (พ.ศ.๒๔๒๕)เมืองหมอกใหมํ แตกตติยะแล ๑๒๔๕ (พ.ศ.๒๔๒๖) เมืองหมอกใหมํแตกจตุถะแล ๑๒๔๗ (พ.ศ.๒๔๒๘) คูลวายับเอากระสัตรมํานไพแล ๑๒๔๘ (พ.ศ.๒๔๒๙) โคหลํานแลเมียฟ้าขุนนอนแพรแล ฟ้า ขุ นมุง กินเมือ งหมอกใหมํแ ล ๑๒๔๙ (พ.ศ.๒๔๓๐) เมืองหมอกใหมํแ ตกปั ญจมะแล ๑๒๕๐ (พ.ศ.๒๔๓๑) คูลวารบได๎เมืองยางแดงแล ๑๒๕๔ (พ.ศ.๒๔๓๕) คูลวาย่ําดินวัน ออกฅง ป่าไม๎หื้อฟ้ายางแดงแล ๑๒๕๕ (พ.ศ.๒๔๓๖) เดือน ๖ แรมฅ่ํา๑ ยามตระขือจันท คราส เดือน ๗ ขึ้น ๒ ฅ่ํา ยามตระสุริยคราสบาก ๑๒๕๗ (พ.ศ.๒๔๓๘) เดือน ๔ แรม ๒ ฅ่ํา สุริยคราสทือเดือนแล
พญาพิศาลฮ่องสอนบุรี (ขุนหลู่) เจ้าฟ้าเมืองแม่ฮ่องสอนองค์สุดท้าย (พ.ศ.๒๔๔๘ – ๒๔๘๑) และครอบครัว ขุนหลู่เป็นบุตรของเจ้านางเมี๊ยะ เจ้าฟ้าเมืองแม่ฮ่องสอน องค์ที่ ๒ และเจ้านางเมี๊ยะเป็นหลานของเจ้าฟ้าโกหล่าน เจ้าฟ้าเมืองหมอกใหม่ (ที่มา : หจช.ถํายประมาณ พ.ศ.๒๔๔๕ - ๒๔๕๓)
19
ปุปผาล้านนา:
บุบผฯฯาล้านฯนาฯ
ดอกกาสะลอง
ดอฯกกาสลอฯง โดย สลุงเงิน
“กาสะลอง ดอกน้อยบานลอยเลิศฟ้า เป็นดอกไม้แพงค่าล้านนาบ้านเรา บ่แม่น ดอกปีบ หล่นลมถมเก๊า บ้านอื่นเมืองเขา ตกเปล่าเน่าดาย...” เสียงอันหวานซึ้งของคุณสุนทรี เวชานนท๑ นักร๎องเมืองเหนือ ที่เอื้อยเอํยทํานอง เพลง “กาสะลอง” ซึ่งแตํงเนื้อร๎องโดย อ. มาลา คําจันทร๑ ชํางไพเราะอํอนหวาน ชํวยขับเน๎น คุณคําแหํงความเป็นดอกไม๎บ๎านเราเมืองเราให๎เบํงบานในใจของใครอีกหลายคนเมื่อได๎ยินได๎ ฟัง จากเพลงเป็นการเปรียบเปรยคุณคําของหญิงสาวผู๎เปรียบเสมือนดอกกาสะลองอั น สูงคํา เมื่อไหลลํองไปอยูํเมืองใต๎ ก็เหลือเพียงแคํดอกปีบที่ตกเกลื่อนดิน ไมํมีใครเห็นคําเหมือน ตอนอยูํบ๎านเรา แม๎วําความเป็นดอกไม๎จะเหมือนกัน แตํวําเมื่ออยูํตํางแหลํงแหํงที่ คุณคํา และความหมายกลับแผกไปอยํางมาก มากลําวถึงดอกกาสะลองดอกนี้กันดีกวํา วําแพงคําปานใด กาสะลอง , กาซะลอง เป็นคําเรียกขานของทางล๎านนาบ๎านเรา คนไทยเมืองใต๎จะเรียกวํา ปีบ ชื่อภาษาอังกฤษวํา Indian Cork Tree ไมํวําจะเรียกชื่ออะไร ก็เรียกชื่อทางวิทยาศาสตร๑เหมือนกัน นั่นก็คือ Milingtonia hortensis Linn. f. จัดอยูํในวงศ๑ BIGNONIACEAE กาสะลอง เป็นไม๎ยืนต๎น ขนาดกลางถึงใหญํ ผิวของลําต๎นหนาและแตกเป็นรํอง ใบ เป็นแผงแบบขนนก โคนใบมน ปลายแหลม ขอบใบมีรอยหยัก ดอกจะออกเป็นชํอใหญํ ดอก หนึ่งมีห๎ากลีบ สํวนฐานของกลีบจะเชื่อมติดกัน ทําให๎ดูเป็นทํอ ที่มีปลายเป็น 5 แฉก ในชํวงปลายฝนต๎นหนาว หรือในราวเดือน ตุลาคม – พฤศจิกายน หลังจากที่อิ่มกับ น้ําฝนมาในตลอดฤดูฝนนั้น กาสะลองดอกขาวก็ชูชํอขาวพราวเต็มต๎น สํงกลิ่นหอมเย็น ๆ มา กับสายลมในยามค่ําคืน กลิ่นหอมไมํรุนแรง ไมํแสบร๎อน หากแตํกรุํนพอดี ๆ ชวนให๎ใจสงบ ไมํพะวงฟุ้งซําน เป็นกลิ่นหอมที่ชวนอิ่มอกอิ่มใจ สมกับที่รองรับความฉ่ําเย็นมาตลอดฤดูฝน และกลิ่นหอมนี้เอง ที่นิยมนํามาปลูกไว๎ตามบริเวณบ๎าน สวน วัด ซึ่งหากอยูํตาม ธรรมชาติแล๎ว ต๎นกาสะลอง จะอาศัยในป่าเบญจพรรณ ซึ่งเป็นป่าที่มีอยูํทั่วไปในดินแดน ล๎านนาบ๎านเรานี้ การที่เรานํามาปลูกไว๎ใกล๎บ๎าน ก็เนื่องจากวํา เก็บงําย เก็บมาใสํขัน ประดับ ห๎องรับแขก ก็จะชํวยทําให๎บรรยากาศสดชื่นขึ้น และที่สําคัญ นํามาเป็นสํวนประกอบของยา ตําง ๆ ได๎ด๎วย การที่ดอกปีบ มีสีขาวพราวสะพรั่งมีกลิ่นหอมอันต๎องใจแบบนี้ ทางมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา จึงได๎หยิบยกดอกกาสะลอง ให๎เป็นต๎นไม๎ประจํามหาวิทยาลัย ด๎วยคุณลักษณะของดอกกาสะลองเปรียบเหมือนคุณลักษณะของบัณฑิตที่พร๎อมด๎วยคุณธรรม จริยธรรม ความรู๎ ความเชี่ยวชาญ ที่จะไปพัฒนาสังคมประเทศชาติ 20
ในหนังสือ “มหาพนตํารายา” กลําวถึงโรคตําง ๆ ที่อาจบังเกิดมีกับคนเรา ซึ่งยาที่ นํามารักษานั้นมีมากมายหลายหลาก หาได๎ตามป่า และหนึ่งในนั้นก็คือ “กาสะลอง” บ๎างก็วํานํามาเข๎ายา หรือนํามาเป็นสํวนประกอบของยา “ยาตับไค่ ยินหนาวไข้เจ็บมัวตา ยาฝี เครือสันนิบาต ยาขางแกมสาน ยาขางกินดูกกินไส้กินปุมเปิดเหลืองขางลม ยาแก้ตู้ ยาพอง ยาไข้บ่รู้หาย” เป็นต๎น เมื่อศึกษาพบวํา ใช๎ประโยชน๑ได๎ทั้ง ดอก ใบ และราก ใบใช๎มวนบุหรี่สูบ ดอกแห๎งก็ใช๎สูบ รักษาหืดหอบ แก๎ริดสีดวงจมูก หรือนําดอก กาสะลอง มาต๎มกับเครือรางจืด ดื่มชํวยลดความดันได๎ สํวนราก ก็แก๎เหนื่อยหอบ แก๎ไอ บํารุง ปอด แก๎วัณโรค สรรพคุณทางยามีมายมาย นับเป็นคุณประโยชน๑ที่เห็นได๎เดํนชัด นอกจากนี้ ดอกกาสะลอง ยั ง เป็ น ไม๎ มงคล มีกลิ่นที่หอมเย็น จึงนําไปถวายพระ เชื่อวํา จะทําให๎อยูํเย็นเป็นสุข ปราศจากเรื่องราวเดือน ร๎อนตําง ๆ นอกจากนี้ ยังเป็นดอกไม๎ที่สําคัญใน ประเพณี ตั้ ง ธั ม ม๑ห ลวง หรื อ การเทศน๑ ม หาชาติ ด๎วย เวลามีการตั้งธัมม๑หลวงเมื่อใด ชาวล๎านนา จึงเก็บดอกกาสะลอง ที่หลํนลงดิน มาใสํในตลับ ไว๎ เพื่อให๎แห๎ง จากนั้นนําไม๎ไผํมาสานขัดแตะ มา ประกบดอกกาสะลอง ไปแขวนไว๎รอบธรรมาสน๑ เพื่อเป็นการบูชา คาถาพัน ตลอดการเทศน๑ บ๎างก็วํา ในคัมภีร๑ล๎านนาบางฉบับ บอกวํา พระแทํนบัณฑุกัมพลศิลาอาสน๑ของ พระญาอินทาเจ๎าฟ้าตั้งอยูํใต๎ต๎นกาสะลอง ฉะนั้น ดอกกาสะลองจึงเทียบเคียงต๎นปาริฉัตรได๎ เลยทีเดียว สํวนในธัมม๑ของล๎านนาเรื่อง อรุณวดี ยังกลําวถึงไม๎กาสะลองวํา เป็นโพธิพฤกษ๑ หรือต๎นไม๎อันเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ๎าในวันตรัสรู๎พระสัมโพธิญาณ และไม๎กาสะลองนี้ เป็นโพธิพฤกษ๑ของ ปทุมพุทธเจ๎า ดอกกาสะลองที่หลํนลงดิน ไมํได๎หลํนเปลําเนําดายเหมือนบ๎านอื่นเมืองอื่น บ๎านเรา เมืองเรา จะบรรจงเก็บมาเพื่อบูชาน้ําธัมม๑คําสอนของพระพุทธเจ๎า ‘คํา’ ของมัน ไมํสามารถตี เป็น ‘ราคา’ ได๎เลย ของบางอยํางมี “คํา” อยูํในตัวเอง และ ไมํสามารถที่จะตีตราราคา ตัวเลขออกมา และในทางกลับกัน ของบางอยํางแม๎วําจะมีราคาที่สูงลิบลิ่ว แตํก็หา “คํา” มิได๎เลยก็มี ในงานไม๎ดอกไม๎ประดับ หรือที่กาดดอกไม๎ แถวกาดหลวง มีแตํดอกไม๎ตํางชาติตําง ภาษา จะหาดอกไม๎เมือง สักดอกหนึ่งก็ยากเย็นแสนเข็ญ ดอกไม๎เมืองถูกเมิน และทิ้งขว๎าง ตํอไปดอกไม๎เมืองตําง ๆ คงถูกลบออกไปจากสํานึกของคนที่อยูํบนผืนแผํนดินล๎านนาเป็นแนํ ดอกไม๎ เ มื อ ง งามในคุ ณ คํ า และมี เ สนํ ห๑ ที่ ซึ ม ซั บ เข๎ า ไปถึ ง หั ว ใจ ไมํ ไ ด๎ ง ามแบบ ฉาบฉวยเหมือนดอกไม๎เมืองอื่น๚๛ 21
การรักษาซากสังขาร : จากภูมิปัญญาในอดีตสู่เทคนิควิธีปัจจุบัน ชวรินทร๑ คํามาเขียว
*
การตายหรื อ ความตายตามนั ย การรั บ รู๎ ข องมนุ ษ ย๑ แ ล๎ ว หมายถึ ง การเปลี่ ย น สถานภาพจากสิ่งที่มีชีวิตสูํโลกของวิญญาณ และเมื่อเวลานั้นมาถึงก็ขึ้นอยูํกับวัฒนธรรมของ กลุํมชนนั้น ๆ วําจะจัดการกับศพนั้นอยํางไรซึ่งก็จะมีขั้นตอนที่แตกตํางกันไปตามประเพณี ปฏิบัติ แตํมีอยูํหนึ่งขั้นตอนที่ผู๎เขียนเชื่อวําในทุกกลุํมชาติพันธุ๑จะต๎องปฏิบัติเหมือนกันก็คือ การพยายามค๎ นหาวิธี การรั กษาสภาพศพนั้ นให๎สมบูร ณ๑ ที่ สุดเทํา ที่จ ะทํา ได๎ ในสํ วนของ วัฒนธรรมไทยตลอดจนวัฒนธรรมของคนล๎านนานั้นการจัดงานศพอาจกลําวได๎วํามีขั้นตอนที่ ซับซ๎อนและคํอนข๎างที่จะใช๎เวลานานโดยอาจใช๎เวลาตั้งแตํ ๓ วัน ๕ วัน ๗ วัน ๑ เดือน ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน หรืออาจกินเวลานานถึง ๑ ปี ซึ่งก็จะขึ้นอยูํกับสถานะภาพ ของผู๎ตายเป็นหลัก แตํด๎วยสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยที่ร๎อนชื้นจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทําให๎เชื้ อ แบคที เ รี ย ที่ กั ด กิ น ศพสามารถเจริ ญ เติ บ โตและทํ า ลายสภาพศพได๎ อยํ า งรวดเร็ ว ดั ง นั้ น ขบวนการรวมไปถึงขั้นตอนในการรักษาสภาพศพให๎คงอยูํในสภาพดี จึงนับวําเป็นเรื่องที่มี ความสําคัญไมํน๎อยไปกวําขั้นตอนอื่น ๆ ดังนั้นสิ่งของ ตําง ๆ รอบตัวจึงได๎ถูกนํามาศึกษา หาคุณสมบัติพิเศษจนกลายเป็นตัวยาและเครื่องมือสําคัญในการรักษาสภาพศพซึ่งอาจเรียก ได๎วําเป็นการสร๎างและสั่งสมเป็นภูมิปัญญาแขนงหนึ่งของบรรพชนไทยก็วําได๎ ซึ่งสิ่งของ ตลอดจนสมุนไพรที่ถูกนํามาดัดแปลงให๎เป็นยาถนอมหรือรักษาสภาพศพก็มีอยูํหลายอยําง ด๎วยกัน อาทิ น้ําผึ้ง ผลฝรั่งสุก พักเขียว ถํานไม๎ ขี้เถ๎าฟาง เหล๎าขาว ใบชา รวม ไปถึงน้ํามันก๏าด ในที่นี้ผู๎เขียนขอเริ่มต๎นด๎วยน้ําผึ้งกํอนเป็นอันดับแรก ทั้ งนี้ในสมัยโบราณ นั้นเมื่อมีคนตายน้ําผึ้งจะถูกนํามาใช๎เป็นตัวยาในการรักษาศพเป็นอันดับแรก ด๎วยสรรพคุณ ที่วําความหวานของน้ําผึ้งนั้นจึงสามารถชะลอหรือหยุดการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียใน ชํองท๎องของศพได๎ ทั้งนี้เพราะในกระเพาะอาหารและลําไส๎ของศพอาจมีเศษซากอาหารตํา ง ๆ ตกค๎ า งอยูํ แ ละเศษอาหารเหลํ า นี้ ก็ คื อ ที่ ปั จ จั ย สํ า คั ญ ที่ เ รํ ง ให๎ เ ชื้ อ แบคที เ รี ย ในท๎ อ งศพ เจริญเติบโตและกัดกินซากศพอยํางรวดเร็วจนเป็นสาเหตุให๎ศพเนําเหม็นนั่นเอง สําหรับวิธีการกรอกน้ําผึ้งนั้นถ๎าศพไมํแข็งก็ไมํใชํเรื่องยากเพียงแคํภายหลังจากการ อาบน้ําศพหรือที่ทางภาคเหนือเรียกวําห๎างลอยและจัดเปลี่ยนเสื้อผ๎าหรือครองผ๎าให๎แกํศพ แล๎วก็จัดศพนั้นให๎อยูํในทํานั่ง จากนั้นก็จับปากของศพให๎เปิดออกแล๎วคํอย ๆ กรอกน้ําผึ้งให๎ ไหลลงไปทีละน๎อย ประมาณวํา ๑,๐๐๐ ซีซี หรือ ๑ ขวดเหล๎าแมํโขง แตํถ๎าศพนั้นตายมา นานจนกรามแข็งค๎างการกรอกน้ําผึ้งก็คํอนข๎างที่จะทําได๎ยาก *
อาจารย๑ประจําภาควิชาภาษาตะวันออก คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร๑ 22
นอกจากน้ําผึ้งแล๎วเหล๎าขาวและน้ํามันก๏าดก็นิยมนํามากรอกเพื่อรักษาสภาพศพ เชํ น กัน ด๎ว ยความเชื่ อที่ค ล๎า ยคลึง กั นกั บคุ ณ สมบัติ ของน้ํา ผึ้ง ที่วํ า แอลกอฮอล๑ เ ข๎ม ข๎น และ สารเคมีในน้ํามันก๏าดนั้นสามารถชะลอการเนําเสียของศพได๎ ซึ่งเหล๎าขาวและน้ํามัน ก๏าดนั้น มีข๎อดีกวําน้ําผึ้งตรงที่วํากรอกลงไปในปากศพได๎งํายกวําเพราะไมํมีความหนืดเหนียวเหมือน น้ําผึ้ง แตํทั้งนี้ทั้งนั้นในสมัยโบราณตลอดจนถึงปัจจุบันน้ําผึ้งก็ยังคงดูมีคํามากกวํา ดังนั้นใน สมัยโบราณศพของพระมหากษัตริย๑ เจ๎านาย พระสงฆ๑ ขุนนาง ตลอดจนคหบดีผู๎มีฐานะจึง นิยมที่กรอกน้ําผึ้งมากกวําเหล๎าขาว เมื่อห๎างลอย เปลี่ยนผ๎าให๎ศพ ตลอดจนกรอกน้ําผึ้งเป็นที่เรียบร๎อยแล๎วขั้นตอน 1 ตํอไปคือการนําศพเข๎าหล๎อง หรือใสํโลงในขั้นตอนของการใสํโลงนี้นับวํามีความสําคัญไมํ น๎อยไปกวําการกรอกน้ําผึ้ง ทั้งนี้ในอดีตโลงสําเร็จรูปไมํมีขายจึงต๎องจัดทําเองโดยใช๎ไมํงิ้วเป็น พื้ น แตํ ถ๎ า หากเป็ น ผู๎ มี บ รรดาศั ก ดิ์ ห รื อ พระสงฆ๑ ค รู บ าสั ง ฆะแล๎ ว ก็ จ ะนิ ย มใช๎ ไ ม๎ เ นื้ อ แข็ ง โดยเฉพาะไม๎สักเป็นพื้น ทั้งนี้ เพราะไม๎มีลายเนื้อไม๎ที่งดงามอีกทั้งเมื่อเก็บศพไว๎เป็นเวลานาน ๆ ไม๎สักก็มีความทนทานตํอสภาพแวดล๎อมมากกวําไม๎งิ้วอีกด๎วย ย๎อนกลับมาถึงเรื่องการนํา ศพเข๎าหล๎องอีกครั้ง ในที่นี้ถ๎าเป็นฆราวาสจะใสํเสื้อผ๎ากลับด๎านโดยเอาด๎านหน๎าเป็นด๎านหลัง ด๎านหลังเป็นด๎านหน๎า อีกทั้งต๎องกลับทั้งเอาด๎านในเป็นด๎านนอกเอาด๎านนอกเป็นด๎านใน การทํา เชํ นนี้ เชื่ อวํา เป็นการใสํเสื้อผ๎า เพื่อผู๎ตายจะได๎ไปเกิดใหมํในภพหน๎า สํวนศพของ พระสงฆ๑นั้นนิยมหํมผ๎าให๎ศพแบบหํมดอง คือเปิดไหลํข๎างหนึ่งพร๎อมกับมีผ๎ารัดอกซึ่งการหํม ผ๎าจีวรแบบนี้เป็นการหํมที่เ รียบร๎อยที่สุดอีกทั้งไมํหลุดงํายอีกด๎วยซึ่งวิธีการนําศพเข๎าหล๎อง หรือโลงนั้น ในอดีตอันดับแรกจะต๎องนําขี้เถ๎าที่ได๎จากการเผาฟางข๎าวรองลงไปที่ใต๎ก๎นโลงศพ กํอนโดยให๎หนาประมาณ ๑๐ เซนติเมตร เหตุที่คนโบราณนําขี้เถ๎าฟางใสํรองก๎นโลงศพนั้นก็ เพื่อวําจะได๎ซับของเสียที่ไหลออกมาจากศพกับทั้งคุณสมบัติของขี้เถ๎าฟางยังสามารถดูดกลิ่น ได๎เป็นอยํางดีอีกด๎วย ภายหลังจากที่รองก๎นหล๎องด๎วยถี้เถ๎าฟางแล๎วสิ่งที่จะต๎องนําใสํลงไป เป็นอันดับสองคือแครํที่ด๎วยไม๎ไผํตีเป็นซี่ ๆ ตามความยาวของหล๎อง โดยให๎แครํนั้นมีความสูง กวําขี้เถ๎าเถ๎าฟางประมาณวําไมํให๎ศพแชํอยูํในของเสียซึ่งจะทําให๎ศพเปียกชื้นและเนําเหม็น จากนั้นจึงวางเสื่อที่บุด๎วยผ๎าขาวธรรมดาโดยห๎ามใสํฟูกเพราะจะทําให๎ศพเปียกชื้นและเนํา เหม็นอีกเชํนกัน เสร็จแล๎วจึงวางศพลงไปคลุมทับด๎วยผ๎าขาวอีกครั้ง ทั้งนี้บางครั้งอาจใสํผล ฝรั่งสุกและฟักเขียวผําครึ่งลงไปด๎วยก็ได๎เพราะของสองสิ่งนี้มีคุณสมบัติสามารถดูดกลิ่นเหม็น ของศพได๎เป็นอยํางดี ด๎วยเหตุนี้เองในงานศพจึงไมํนิยมนําพักเขียวและฝรั่งมาทําอาหาร เลี้ยงแขกเพราะเชื่อวําของสองสิ่งนี้จะดูดกลิ่นศพไว๎ในนั้น 1
หล๎องเป็นการเรียกตามรูปรํางเพราะการทําหล๎องหรือโลงศพของคนล๎านนาโบราณนั้นเริ่มด๎วยการตัดต๎นงิ้วให๎ เป็นแล๎วขุดเบิกจากด๎านบนลงไปหาด๎านลํางให๎ทะลุจึงเรียกรูปรํางลักษณะดังกลําวจึงเรียกวําหล๎องที่หมายถึงเป็น รํองลงไป 23
ที่กลําวมาข๎างต๎นคือวิธีการเก็บรักษาและถนอมศพอยํางโบราณแบบเบื้องต๎นแตํถ๎า มีการเก็บศพไว๎เป็นระยะเวลานานแบบเป็นเดือนเป็นปีแล๎ววิธีการดังกลําวก็ยังถือวําไมํเสร็จ สมบูรณ๑และเพียงพอ เพราะศพที่เก็บไว๎นาน ๆ อยํางศพพระสงฆ๑ หรือ เจ๎านาย คหบดี นั้นยังต๎องการการรักษาที่มากกวํานี้ทั้งการระบายความชื้นด๎วยการเจาะสะดือหล๎ องหรือโลง 1 ศพ ซึ่งมีวิธีการคือเจาะกึ่งกลางของฝาหล๎องหรือโลงศพให๎เป็นรูแล๎วใช๎ไม๎ ไผํทะลุปล๎องตํอขึ้น ไปถึงหลังคาวิหารหรือบ๎านที่ตั้งศพแล๎วเปิดกระเบื้องออกโดยให๎ปลายไม๎ไผํนั้นโผลํพ๎นหลังคา ออกไปข๎างนอกซึ่งการทําเชํนนี้จะทําให๎ระบายกลิ่นศพออกไปได๎ นอกจากการเจาะสะดือห ล๎องหรือโลงศพแล๎วบางครั้งยังต๎องมีการเปลี่ยนขี้เถ๎าฟางที่รองศพด๎วยเพื่อลดความอับชื้นจาก ของเสียที่ไหลลงมาจากศพเชํนกัน ซึ่งการเปลี่ยนขี้เถ๎าฟางนั้นอาจเปลี่ยนเดือนละครั้งหรือถ๎า ศพนั้นมีรํางกายใหญํโตของเสียมากก็อาจเปลี่ยนเดือนละสองครั้งก็ได๎ตามความเหมาะสมและ หากถ๎าศพนั้นมีของเสียมากจริง ๆ ก็อาจมีการตํอทํอระบายของเสียให๎ไหลลงมาในหม๎อหรือ ไหที่เตรียมไว๎ก็ได๎
ที่กลําวมาทั้งหมดนี้เรียกได๎วําเป็นขั้นตอนและวิธีการในการรักษาสภาพศพที่เป็น ภูมิปัญญาของคนโบราณที่รู๎จักนําสิ่งตําง ๆ รอบตัวมาใช๎ให๎เกิดประโยชน๑ สํา หรับในสํวนของ การรักษาสภาพศพของพระสงฆ๑ตลอดจนฆราวาสในปัจจุบันนั้นเรียกวํามีความเปลี่ยนแปลง ไปมาก เรียกได๎วําตามยุกต๑ตามสมัยทุกขั้นตอนมีความสะดวกสบายกวําแตํกํอน ด๎วยเพราะ มีวิทยาการทางการแพทย๑สมัยใหมํกอปรกับความเจริญทางด๎านเทคโนโลยีที่มีสํวนชํวยให๎การ รักษาศพมีความงํายมากขึ้นทั้ง น้ําแข็ง น้ําแข็งแห๎ง ฟอร๑ มาลินและโลงเย็นหรือที่เรียกกัน อีกหนึ่งวําโลงติดแอร๑ซึ่งเมื่อมีผู๎เสียชีวิตญาติสามารถเลือกได๎วําจะรักษาศพโดยวิธีใดทั้งการทับ ศพด๎วยแข็ง ฉีดฟอร๑มาลิน หรือใช๎โลงเย็นซึ่งการรักษาศพทั้งสามวิธีนี้เรียกวําการรักษาศพ แบบเปียกเหมาะสําหรับการรักษาศพที่ใช๎เวลาไมํนานจนเกินไปแตํถ๎าหากเจ๎าภาพมีความ 1
สะดือหล๎องคือ สํวนที่อยูํกึ่งกลางของฝาหล๎องหรือฝาโลงโดยการเจาะเป็นรูขนาดพอเหมาะที่สามารถใสํไม๎ไผํ ทะลุปล๎องลงไปได๎ 24
ประสงค๑ที่เก็บศพนั้นไว๎นาน ๆ ก็จะต๎องเข๎าสูํกระบวนการรักษาศพแบบแห๎งซึ่งมีขั้นตอนและ วิธีการที่ซับซ๎อนกวํา กํอนที่จะไปพูดถึงการรักษาศพแบบแห๎งด๎วยวิธีการสมัยใหมํผู๎เขียนขอเลําถึงวิ ธีการ และขั้นตอนการรักษาศพแบบเปียกกํอนในสมัยที่น้ําแข็งสามารถซื้อหาได๎งํายมากขึ้นนั้น น้ํ า แข็ ง ได๎ ถู ก นํ า มาใช๎ ใ นการถนอมศพด๎ ว ยการแชํ ห รื อ ทั บ ด๎ ว ยน้ํ า แข็ ง ก๎ อ นหรื อ ที่ รู๎ จั ก กั น โดยทั่วไปวําน้ําแข็งมือซึ่งวิธีการนั้นจะนําน้ําแข็งก๎อนมาใสํในถุงพลาสติกอยํางหนาแล๎วทําลง ไปบนตัวศพที่รองด๎วยผ๎ายางประมาณ ๑๐ - ๑๒ ก๎อน โดยจะมีการเปลี่ยนน้ําแข็งใหมํทุกวัน วิธีการนี้นับได๎วําเป็นที่นิยมมากจนถึงปัจจุบันหลายหมูํบ๎านที่ไมํมีโลงเย็นหรือมีโลงเย็นแล๎วก็ ยังใช๎วิธีการนี้อยูํโดยเฉพาะศพที่มิได๎เสียชีวิตที่โรงพยาบาลจะนิยมทับศพด๎วยน้ําแข็งมากที่สุด เพราะสะดวกและงํายอีกอยํางบางท๎องที่ก็ยังไมํนิยมฉีดยาศพด๎วยฟอร๑ มาลินเพราะเชื่อวําเผา ยากและใช๎เวลานาน แตํการทับศพด๎วยน้ําแข็งก็ยังมีข๎อเสียอยูํบ๎างคือทําให๎ศพชื้นและต๎อง คอยเปลี่ยนน้ําแข็งอยูํเสมอนั่นเอง สํวนการรักษาศพด๎วยการทับด๎วยน้ําแข็งแห๎งหรือคาบอน ไดออกไซด๑แข็งนั้นใช๎วิธีเดียวกันคือวางน้ําแข็งที่หํอด๎วยกระดาษลงไปบนผ๎ายางแตํมีข๎อแม๎วํา อาจต๎องคลุมด๎วยผ๎าหํมอีกหนึ่งชั้นเพื่อกันไมํให๎น้ําแข็งแห๎งกัดผิวหนังของศพซึ่งการรักษาศพ ด๎วยน้ําแข็งแห๎งนี้บางท๎องที่ให๎ความนิยมมากด๎วยเพราะวําไมํต๎องเสียเวลาเปลี่ยนน้ําแข็งหรือ ทําให๎ศพเปียกชื้นแตํน้ําแข็งแห๎งก็มีข๎อจํากัดที่วํามีราคาแพงคือประมาณกลํองละพันกวําบาท สํวนการรักษาศพแบบแห๎งนั้นจะต๎องอาศัยการฉีดฟอร๑มาลินเข๎าไปในตัวศพโดยตัว ยาจะรักษาสภาพให๎คงอยูํได๎ซึ่งถ๎าเป็นศพของชาวบ๎านธรรมดาทั่วไปที่สวด ๓ - ๔ ก็อยูํที่ ประมาณ ๔-๕ กระปุกซึ่งอาจผสมน้ําไปด๎วยก็ได๎ แตํถ๎าหากต๎องการจะเก็บไว๎เป็นเวลานานก็ ต๎องเพิ่มฟอร๑มาลินเป็น ๑๐ ถึง ๑๒ กระปุกโดยการฉีดผํานทางเส๎นเลือดใหญํที่ต๎นขาก็ เป็นอันวําเรียบร๎อยแตํถ๎าเป็นศพของพระสงฆ๑ก็จะมีการปิดทองคําเปลวลงไปด๎วยและอาจมี ขั้นตอนในการรักษาสภาพเพิ่มเติมดั งนี้ วิธีการปิดทองคําเปลวทําได๎โดยการชโลมวาสลิ นให๎ ทั่วรํา งของศพจากนั้ นนํา ทองคํ า เปลวปิ ดลงไปบนศพเฉพาะสํวนที่พ๎ นจากผ๎า จี วรเทํา นั้ น สําหรับความนิยมในการปิดทองคําเปลวบนศพของพระเถระนั้นพบวําโดยมากนิยมเฉพาะใน จังหวัดเชียงใหมํและลําพูนเทํานั้น ภายหลังจากที่ปิดทองคําเปลวแล๎วบรรดาลูกศิษย๑ลูกหา ทั้งหลายก็จะเชิญศพลงในหล๎องหรือโลงที่บุด๎วยผ๎ายางหรือผ๎าตาดและรองก๎นโลงด๎วยใบชา เพื่อดับกลิ่นจากนั้นจึงปุอีกชั้นด๎วยเสื่อแล๎วคลุมด๎วยผ๎าจีวรหรือผ๎าขาวจากนั้นจึงปิดฝาโลงแตํ กํอนจะปิดฝาโลงนั้นจะต๎องนําผ๎าจีวรที่ตัดให๎ได๎ขนาดกับโลงศพมาขึงและตอกด๎วยหมุดหรือ ยิงด๎วยเครื่องยิงจากนั้นจึงนํา ไม๎ชิ้นเล็ก ๆวางไว๎ที่ขอบโลงแล๎วจึง ปิดผาโลงโดยที่ให๎เหลือ ชํองวํางไว๎ โดยเหตุผลที่ต๎องใช๎ผ๎าจีวรขึงปิดฝาโลงและใช๎ไหมหนุนฝาโลงนั้นก็เพื่อให๎การ ระบายอากาศภายในโลงดีขึ้นนั่นเองเพราะถ๎าอากาศถํายเทได๎ดีศพก็จะไม๎อับ ชื้นขึ้นราอีกทั้ง ยังทําให๎ศพแห๎งเร็วอีกด๎วยแตํทั้งนี้ต๎องระวังเรื่องแมลงที่จะเข๎าไปทําลายศพ ดังนั้นการตอก หมุดหรือยิงเครื่องยิงนั้นต๎องสํารวจความเรียบร๎อยด๎วย แตํใชํวําขบวนการรักษาศพจะเสร็จ 25
สิ้นลงเทํานี้เพราะถ๎าจะนําศพใสํโลงแก๎วแล๎วบรรดาผู๎เกี่ยวข๎องและเจ๎าหน๎ าที่จะต๎องนําศพ ออกมาชโลมด๎วยวาสลิ นทุกอาทิตย๑หรือตามความเหมาะสมการชโลมด๎วยวาสลิ นนี้จะชํวย รักษาสภาพผิวหนังของศพให๎แห๎งเมื่อชโลมด๎วยวาสลิ นครบ ๓ เดือนแล๎วก็ปิดทองลงไปอีก รอบแล๎วนําศพใสํโลงแก๎วได๎เลยแตํทั้งนี้ต๎องใสํยากันชื้นไว๎ด๎วย จากที่ได๎กลําวมาข๎างต๎นเรียกได๎วําเป็นภูมิปัญญาของบรรพชนไทยและบรรพชน ล๎านนาที่เกิดจากพลังความศรัทธาและความรักที่บรรดาญาติสนิทมิตรสหายและศิษยานุศิษย๑ มีตํอผู๎วายชนม๑และครูบาอาจารย๑ของตนจนปรากฏเป็นขบวนการรักษาสภาพศพเพื่อให๎ศพ นั้นอยูํในสภาพสมบูรณ๑ที่สุดนั่นเอง
26
เครื่องเงินในจังหวัดเชียงใหม่ สุพจน๑ ใหมํกันทะ
*
จังหวัดเชียงใหมํ เป็นจังหวัดหนึ่งที่ได๎รับการยอมรับด๎านศิลปหัตถกรรมด๎านตําง ๆ ประกอบด๎วยกลุํมชํางศิลป์ ๘ ประเภท กลุํมชํางศิลป์เหลํานี้ตั้งบ๎านเรือนอยูํในเมืองเชียงใหมํ ดังนี้ ช่างเงิน อาศัย อยูํในบ๎านวัวลาย, ช่างเขิน อาศัยใกล๎วัดนันทารามและบ๎านวัวลาย, ช่าง ฆ้อง อยูํบริเวณถนนกําแพงดินด๎านตะวันออก, ช่างแต้ม อยูํบริเวณถนนประปกเกล๎า , ช่าง หล่อ อยูํนอกกําแพงเมืองด๎านประตูสวนปรุง , ช่างเปี๊ยะ อยูํบริเวณวัดพวกเปีย, ช่างทาหงส์ อยูํบริเวณถนนสามล๎าน และช่างเคี่ยน อยูํแถวหมูํบ๎านชํางเคี่ยน สํ า หรั บ เครื่ อ งเงิ น ในจั ง หวั ด เชี ย งใหมํ มี ห ลากหลายรู ป แบบทั้ ง ภาชนะสิ่ ง ของ เครื่องใช๎ เชํนขันหรือพาน สลุง ถาด เชี่ยนหมาก ตลับ กระเป๋า รวมไปถึงเครื่องประดับแตํละ ประเภท เครื่องพุทธบูชา เป็นต๎น เครื่องเงินจังหวัดเชียงใหมํ มีรู ปแบบหลากหลายลักษณะเดํนอยูํที่วิธีการแกะลาย สองด๎าน โดยมีการแกะสลักลายจากด๎านใน ให๎นูนตามโครงสร๎างรอบนอกกํอน แล๎วตีกลับ จากด๎านนอกเป็นรายละเอียดอีกครั้ง สําหรับลวดลายจะเน๎นความเรียบงํายแตํยิ่งใหญํ โดย ชํางเงินได๎รับแรงบันดาลใจจากธรรมชาติรอบตัวมาเป็นสํวนประกอบ ลวดลายที่นิยมทําคือ ลายชาดก ลายสิบสองนักษัตร(โดยปีกุน ทําเป็นรูปช๎างแทนรูปหมู ) ลายดอกกระถิน ลาย นกยูง ลายแส้ดอกหมาก แส้หางนกยูง ลายเครือเถา ลายนก ลายเทพพนม ฯลฯ ลาย ดังกล่าวล้วนนามารังสรรค์เพื่อเป็นมงคลแก่การดารงชีวิต (จากการสัมภาษณ์คุณอุไร วรรณ จิโนรส เจ้าของร้านวัวลายศิลป์ และคุณพนม บุญมา พ่อครูด้านเครื่องเงินบ้านแม่ ย่อย) ปัจจุบันเครื่องเงิน บ้านวัวลาย ยังขาดผู้สืบทอด สานต่อ ฝีมือช่างของบรรพชน อีกมาก ช่างรุ่นเก่าเหลือไม่กี่คน การที่รัฐและเอกชนให้การสนับสนุน ให้มีศูนย์กลางการ เรียนรู้ที่วัดศรีสุพรรณ ทาให้งานศิลปะเครื่องเงินกลับมาทรงคุณค่าอีกครั้ง หากมีผู้สานต่อ สืบทอดต่อยอดภูมิปัญญาทั้งบูรณาการองค์ความรู้ต่อไป เครื่องเงินของล้านนาในจังหวัด เชียงใหม่ จะยังคงเป็นอัตลักษณ์ของเมืองเราสืบไป
*
อาจารย๑ประจําคณะศิลปกรรมศาสตร๑และสถาปัตยกรรมศาสตร๑ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา 27
ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป ๑๐๐๐ ดวง
*
อ.นิวัตร สระบัว
งานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป ๑๐๐๐ ดวง ของจังหวัดตาก เป็นงาน ประเพณีที่นําหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ภูมิปัญญาชาวบ๎าน และงานศิลปวัฒนธรรม มาหลํอหลอมรวมกันจนเกิดเป็นรูปแบบที่โดดเดํน ได๎มีการปฏิบัติสืบทอดตํอกันมาเป็นเวลา ยาวนานหลายชั่วอายุคน ซึ่งจะแตกตํางกับงานประเพณีลอยกระทงของจังหวัดอื่น เพราะ สํวนประกอบของกระทงจะมีการนํา กะลามะพร้าว มาใช๎เป็นสํวนใหญํ เหตุที่มีการนําเอา กะลามาเป็นสํวนประกอบนั้น เนื่องมาจากชาวเมืองตาก มีการนําเอามะพร๎าวมาแปรรูปทํา เป็นอาหารวําง ที่เรียกวํา “เมี่ยง” โดยถือเป็นอาหารวํางที่ชาวเมืองตากรับ ประทานเป็น ประจําหลังอาหาร ซึ่งมีมะพร๎าว ถั่วลิสง ใบเมี่ยงหมัก เป็นสํวนประกอบหลัก นอกจากทําเพื่อ รับประทานกันเองภายในครอบครัวแล๎ว ยังมีการนํามาขายเป็นอาหารพื้นเมืองและได๎รับ ความนิยมในภาคเหนือโดยทั่วไป กรรมาวิธีในการแปรรูปมะพร๎าวเป็น “เมี่ยง” นั้น มีการขูด เอาเฉพาะเนื้อมะพร๎าวมาทํา สํวนกะลามะพร๎าวจะถูกทิ้งไว๎ในบริเวณบ๎านเป็นจํานวนมาก ไมํ มีการนําเอามาใช๎ประโยชน๑อยํางเต็มที่ ครั้นถึงวันเพ็ญ เดือนสิบสอง ตามปฏิทินทางจันทรคติ ประมาณเดือนพฤศจิกายน ชาวบ๎านจึงได๎ทดลองนํากะลาด๎านที่ไมํมีรูมาทําเป็นกระทง โดยเอากะลามาขัดถูจนสะอาด ตกแตํงลวดลายสวยงาม ภายในกะลาใสํด๎ายดิบที่ฟั่นเป็น รูปตีนกา แล๎วหลํอ เทียนขี้ผึ้ง ซึ่ง นํามาจากเทียนจํานําพรรษาที่พระสงฆ๑จุดเพื่อทําพิธีสวดมนต๑ในโบสถ๑วิหารตลอดสามเดือน หลังจากออกพรรษาชาวบ๎านจะนําเทียนขี้ผึ้งเหลํานั้นมาหลํอใสํในกะลา ซึ่งถือวําเป็นของ ศักดิ์สิทธิ์และเป็นศิริมงคลแกํผู๎นําไปลอย กํอนที่จะปลํอยลงลอยในแมํน้ําปิง ประกอบกับ แมํน้ําปิงที่ไหลผํานจังหวัดตากจะเกิดสันทรายใต๎น้ํา ทําให๎เกิดเป็นรํองน้ําที่สวยงามเป็น ธรรมชาติ เมื่อนํา กระทงกะลา ลงลอย กระทงกะลาจะไหลไปตามรํองน้ําดังกลําว ทําให๎ดู เป็นสายอยํางตํอเนื่อง จนสุดสายตา ซึ่งไฟในกะลาจะสํองแสงระยิบระยับเต็มท๎องน้ํา โดยเดิมทีกํอนที่จะมาเป็นงานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป ๑๐๐๐ ดวง นั้น ชาวบ๎านแตํละชุมชนนําเอากระทงกะลามาลอยเป็นสาย ซึ่งในระยะตํอมาเทศบาลเมืองตาก องค๑การบริหารสํวนจังหวัดตากและการทํองเที่ยวแหํงประเทศไทยได๎พัฒนาการลอยมาเป็น การแขํงขันกัน และได๎เชิญชวนชาวบ๎านจากชุมนุมตํางๆ จัดสํงกระทงสายเข๎าประกวดตั้งแตํปี พุทธศักราช ๒๕๓๒ เป็นต๎นมา ตํอมาในปี พุทธศักราช ๒๕๔๐ ได๎รับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช โปรดเกล๎าฯ พระราชทานถ๎วย รางวัลสําหรับทีมชนะเลิศในการประกวดกระทงสาย และในปี พุทธศักราช ๒๕๔๑ ได๎รับพระ *
หัวหน๎าศูนย๑วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา เขตพื้นที่ตาก 28
มหากรุณาธิคุณ โปรดเกล๎าฯ พระราชทานพระประทีป สําหรับอัญเชิญลงลอยเป็นกระทงนํา จนเป็นงานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป ๑๐๐๐ ดวง ที่ยิ่งใหญํในปัจจุบัน เป็น รูปแบบที่โดดเดํนและเป็นเอกลักษณ๑ของชาวจังหวัดตากที่ภาคภูมิใจเป็นอยํางยิ่ง
มะพร๎าวที่ใช๎ทําเมี่ยง
ด๎ายฟั่นเป็นตีนกา
กระทงกะลา
ตานานการฟั่นด้ายตีนกา เหตุที่ต๎องฟั่นด๎ายดิบเป็น รูปตีนกา นั้น มีตํานานเลําขานจากผู๎เฒําผู๎แกํสืบทอดตํอกันมา วํา ในอดีตกาลมี สามเณรน้อย ผู๎ชอบเที่ยวซุกซนอยูํรูปหนึ่ง มีนิสัยที่ชอบลําสัตว๑ ยิงนก ตก ปลาเป็นประจํา วันหนึ่งเณรน๎อยได๎ยิงไกํ วัว เตํา และพญานาค ตาย จึงเกิดสํานึกในบาปที่ตน ได๎กระทํามาตลอด จึง ได๎อธิษฐานกับพวกไกํ วัว เตํา และพญานาค วําถ๎าได๎เกิดมาในชาติ หน๎าขอให๎เป็นพี่น๎องท๎องเดียวกัน ณ ริมฝั่ง แม่น้าคงคา มีต๎นไทรอยูํต๎นหนึ่งเป็นที่อาศัยของกาเผือกสองตัวผัวเมีย ซึ่งได๎ ออกไขํมา ๕ ฟอง อยูํมาวันหนึ่ง ขณะที่กาเผือกสองตัวผัวเมียออกเที่ยวหาอาหารอยูํนั้น ท๎องฟ้ามืดครึ้ม มีลมพัดแรง ได๎พัดเอาไขํ ๕ ฟอง ตกลงในแมํน้ํา แตํไขํนั้นหาจมน้ําไมํ กลับ ลอยไปติดชายหาดแหํงหนึ่ง และไขํทั้ง ๕ ฟอง ก็แตกออกมาเป็นเด็กทารก ๕ คน คือ เณร น๎อย ไกํ เตํา วัว และพญานาคที่มาเกิดนั้นเอง ทารกทั้ง ๕ คน ก็พากันตั้งจิตอธิษฐานวํา ถ๎า ตนทั้ง ๕ เป็นพี่น๎องรํวมท๎องเดียวกัน ก็ขอให๎มีโอกาสพบพํอแมํด๎วยเถิด สํวนกาเผือกสองตัวผัวเมีย เมื่อตายลงไปเกิดเป็นเทวดาอยูํบนสวรรค๑ จึงมาเข๎าฝันทารก ทั้ง ๕ คน วํา “ หากเจ้าทั้ง ๕ คน อยากเห็นหน้าและระลึกถึงพ่อแม่ ก็จงฟั่นด้ายเป็น รูป ตีนกา แล้วลอยแม่น้าคงคาไป” ตํอมาทารกทั้ง ๕ คน ก็ได๎สําเร็จอรหันต๑เป็น พระพุทธเจ๎า ๕ พระองค๑ ด๎วยเหตุนี้การลอยกระทงสายทุกครั้ง จึงมีการฟั่นด๎ายเป็นรูปตีนกา เพื่อบูชาแมํกา เผือกของพระพุทธเจ๎า ๕ พระองค๑ ซึ่งเป็นงานประเพณีการลอยกระทงสายของจังหวัดตาก ไหลประทีป ๑๐๐๐ ดวง สืบมาจนทุกวัน
29
เชียงรายทีค่ ุณ (อาจจะไม่) รู้จัก1 ตอนที่ ๑ วัดพระธาตุจอมแว่2 (ตอนที่ ๑) ศูนย๑วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล๎านนา เชียงราย
จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร๑ความเป็นมาอยํางยาวนานจังหวัดหนึ่ง ในประเทศไทย โดยเฉพาะในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จะเป็นปีครบรอบ ๗๕๐ ปี ซึ่งพญามังรายได๎ กํอตั้งเมืองเชียงรายมาตั้งแตํปี พ.ศ. ๑๘๐๕ นอกจากเป็นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร๑ความ เป็นมายาวนานแล๎ว ยังเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีศักยภาพทางด๎านเศรษฐกิจมาตั้งแตํสมัยโบราณ เรื่อยมาตราบจนถึงปัจจุบัน และในปัจจุบันนี้เอง คงไมํมีใครปฏิเสธศักยภาพในเรื่องการ ทํองเที่ยวของจังหวัดเชียงรายได๎ ดังจะเห็นได๎จ ากอําเภอตํางๆ ในจังหวัดเชียงรายตํางก็มี สถานที่ทํองเที่ยวที่เชิดหน๎าชูตาประจําอําเภอปรากฏแกํสาธารณชนคนทั่วไป อํา เภอพานเป็ น อํ า เภอหนึ่ง ในจั ง หวั ด เชี ย งรายอั น มีเ ขตพื้ น ที่ ข องมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลล๎านนาตั้งอยูํ อําเภอพานเป็นอําเภอที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน ควบคูํกับเมืองเชียงรายและเมืองพะเยา ถือได๎วําเป็นเมืองชนแดนระหวํางอาณาจักรล๎านนา ของพญามังรายและอาณาจักรภูกามยาวของพญางําเมืองก็วําได๎ อีกทั้งอําเภอพานเป็นอําเภอ ที่มีศักยภาพในด๎านการทํองเที่ยวไมํยิ่งหยํอยกวําอําเภออื่นๆ แตํปรากฏวํา ยังขาดความรู๎ ความเข๎าใจในประวัติศาสตร๑และการพัฒนาสถานที่ทํองเที่ยวทางโบราณสถานภายในท๎องถิ่น โดยเฉพาะในเรื่องของข๎อมูลขําวสารของแหลํงทํองเที่ยวนั้นๆ ซึ่งถือวําเป็นหัวใจหลักของ เรื่องราว (story) ที่ดึงดูดให๎ผู๎คนเดินทางเข๎ามาทํองเที่ยว ในเบื้ อ งต๎ น จึ ง ขอกลํ า วถึ ง แหลํ ง ทํองเที่ยวที่เป็นที่รู๎จักกันอยํางดีสําหรับท๎องถิ่น และได๎รับการบรรจุเข๎าเป็นหนึ่งในสถานที่ของ เส๎นทางการทํองเที่ยวจังหวัดเชียงรายประเภท ศิลปวัฒนธรรม เส๎นทาง “พระธาตุ ๙ จอม” นั่นก็คือ วัดพระธาตุจอมแวํ วัดพระธาตุจอมแวํ ตั้งอยูํ ณ เลขที่ ๑ หมูํที่ ๑๑ ตําบลเมืองพาน อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย วัดแหํงนี้ตั้งอยูํบนดอยจอมแวํ และ องค๑พระธาตุซึ่งตั้งอยูํบนยอดดอย ความสูงจากพื้นราบประมาณ ๘๐๐ ฟุต (๒๔๓.๘๔ เมตร) 1
2
บทความนี้ปรับปรุงจากชื่อและหัวเรื่องเดียวกันในวารสารประชาสัมพันธ๑ราชมงคคลล๎านนา เชียงราย ฉบับที่ ๑๐ ภาคเรียนที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ หน๎า ๖ และฉบับที่ ๑๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ หน๎า ๖ ความในนี้เรียบเรียงและปรับปรุงจากรายงานประกอบรายวิชา ๐๑-๗๒๐-๐๑๓ โบราณสถานและแหลํงทํองเที่ยวที่ สําคัญในประเทศไทย ประจําภาคการศึกษาที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ จัดทําโดยนางสาวพิมพรรณ ทะปะละ นักศึกษาหลักสูตรการทํองเที่ยว ชั้นปีที่ ๓ 30
และสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๒,๐๐๐ ฟุต (๖๐๙.๖ เมตร) อาณาเขตของวัดมีประมาณ ๑,๐๐๐ ไรํ ภายนอกเขตวัดยังถือวําเป็นพื้นที่สีเขียวที่ยังพออุดมสมบูรณ๑ไปด๎ว ยสัตว๑ป่าขนาด เล็กและฝูงนกจํานวนมากที่ยังหลงเหลือเพียงแหํงเดียวของตําบลเมืองพาน ทํานสามารถเดินทางไปยังวัดพระธาตุจอมแวํได๎โดยรถยนต๑สํวนตัว มุํงสูํตัวอําเภอ พาน ตามถนนหลวงหมายเลขหนึ่ง ๑ หรือสาย AH 2 เลี้ยวเข๎าสูํตัวอําเภอบริเวณสามแยกวัด ชัยมงคล ระหวํางกิโลเมตรที่ ๗๘๖ และ ๗๘๗ ให๎เลี้ยวขวาไปประมาณ ๑๐๐ เมตร จึงจะถึง ทางขึ้นวัดพระธาตุจอมแวํ จากทางขึ้นไปถึงบริเวณวัด ระยะทางประมาณ ๕๐๐ เมตร หากเดินทางโดยรถโดยสารประจําทาง สามารถนั่งรถประจําทางสายเชียงรายพะเยา เชียงราย-ลําปาง และเชียงราย-แพรํ โดยลงบริเวณตลาดพาน แล๎วตํอมอเตอร๑ไซต๑ รับจ๎าง คําโดยสารแล๎วแตํการตํอรองและราคาน้ํามันในระยะเวลานั้นๆ หรือทํานอาจลงหน๎า วัด แล๎วเดินขึ้นบันใดจํานวน ๓๒๗ ขั้น เพื่อเข๎าสูํอาณาบริเวณวัดซึ่งตั้งอยูํบนยอดดอย สํวนความเป็นมาของวันนั้น 1 อ๎างตามตํานานพระเจ๎าเลียบโลก ได๎ กลําววํา พระพุทธเจ๎ า ได๎เสด็จ มายัง ดอยซางคํ า ทรงพั ก พระวรกายบน ยอดดอย ทรงหยั่ ง รู๎ ด๎ ว ยพระปรี ช า ญาณวํา สถานที่แหํงนี้ (ดอยซางคํา) จะเป็นพุทธสถานที่สําคัญแหํงหนึ่งใน อนาคตกาล พระองค๑จึงทรงประทาน พระเกศาจํานวนหนึ่ง [ตํานานไมํได๎ ระบุ จํ า นวนที่ แ นํ ชั ด -ผู๎ เ รี ย บเรี ย ง] ให๎แกํผู๎ที่มาเฝ้านมัสการเพื่อบูชาแทนพระองค๑และเพื่อเป็นอนุสรณ๑วําพระองค๑เคยเสด็จมา แวะพัก ณ สถานที่แหํงนี้ จากนั้นพระพุทธองค๑ก็ได๎เสด็จตํอไปที่อื่น ชาวบ๎านจึงได๎สร๎างที่ บรรจุพระบรมเกศาธาตุนั้นไว๎บนยอดดอยซางคํา [ตํานานไมํได๎ระบุวําวําเป็นเจดีย๑หรือรูปทรง 2 อะไร-ผู๎เรียบเรียง] พร๎อมเรียกขานดอยลูกนั้นใหมํวํา ดอยจอมแวํ อันเนื่องมาจากการที่พระ พุทธองค๑ทรงได๎แวะประทับบนดอยลูกนั้น 1
2
ตํานานพระเจ๎าเลียบโลก เป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา กลําวถึงการเสด็จไปยังดินแดนตํางๆ ในเขตล๎านนา พมํา ไทยใหญํ และสิบสองปันนา อาจปรากฏในชื่ออื่นๆ เชํน พุทธตํานาน และตํานานพระบาทพระธาตุ ซึ่งปรากฏ จารลงในคัมภีร๑ใบลานอยูํหลายฉบับ ตํานานพระเจ๎าเลียบโลกที่กลําวถึงในเรื่องนี้เป็นมุขปาฐะ (เรื่องเลําตํอๆ กันมา) จึงไมํปรากฏเป็นลายลักษณ๑อักษรให๎สืบค๎นได๎ รายละเอียดเพิ่มเติมที่เป็นลายลักษณ๑อักษรสามารถหาอํานเพิ่มเติมได๎ ที่สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหมํ และหากทํานใดพบเจอหรือมีเก็บไว๎ในครอบครอง โปรดแจ๎งหลักสูตรการ ทํองเที่ยว เพื่อประโยชน๑ทางด๎านการศึกษาและเพื่อประโยชน๑แกํอนุชนคนรุํนหลัง “แวํ” ในภาษาคําเมือง (ภาษาล๎านนา) แปลวํา แวะ หยุดพักชั่วคราวระหวํางทาง เชํน “มาแวํมากอย” แปลวํา “มา แวะดู” 31
จวบจนกระทั่งในสมัยล๎านนาตอนต๎น ราว พ.ศ. ๑๘๒๙ (จ.ศ. ๖๔๘) พญางําเมือง กษัตริย๑แหํงอาณาจักรภูกามยาว (คือจังหวัดพะเยาในปัจจุบัน) ได๎เสด็จตรวจเยี่ยมราษฎรทาง ตอนเหนือของอาณาจักร เมื่อเสด็จมาถึงพันนาแชํพราน ได๎ทอดพระเนตรอาณาบริเวณจาก บนยอดดอยจอมแวํ จึ ง พบวํา ที่บรรจุ พระบรมเกศาธาตุอยูํในสภาพชํ า รุดทรุดโทรม เมื่อ พระองค๑เสด็จกลับเวียงของพระองค๑แล๎วได๎โปรดให๎เสนาอํามาตย๑นําผู๎มีความรู๎ในการกํ อสร๎าง เจดีย๑พร๎อมกับไพรํฟ้าปลายแดนมาลงแรงชํวยกันสร๎างพระธาตุจอมแวํขึ้นโดยได๎กํอทับรอย ฟาน [เก๎ง-ผู๎เรียบเรียง] พร๎อมครอบที่บรรจุพระบรมเกศาธาตุและแก๎วแหวนเงินทองอันมีคํา เพื่อเป็นเครื่องพุทธบูชาพระบรมเกศาธาตุ โดยแล๎วเสร็จในเดือน ๘ [นําจะเป็นเดือน ๘ เหนือ ตรงกับเดือน ๖ ทางภาคกลาง-ผู๎เรียบเรียง] ปี พ.ศ. ๑๘๓๙ พระเจดีย๑ธาตุดังกลําวมีฐานกว๎าง ด๎านละ ๑ วา ๒ ศอกคืบ สูง ๒ วา ๓ ศอกคืบ มีการเฉลิมฉลองสมโภชเป็นเวลา ๓ วัน ๓ คืน ตํอมาภายหลังอาณาจักรภูกามยาว [หรืออีกชื่อหนึ่ง พยาว-ผู๎เรียบเรียง] ถูกผนวกเข๎ากับ อาณาจักรล๎านนา ผู๎คนถูกกวาดต๎อนหรืออพยพไปที่อื่น ทําให๎ขาดผู๎ดูแลอาณาบริเวณรวมไป ถึง องค๑ พ ระธาตุ เ จดี ย๑ พระธาตุ เ จดี ย๑ จึ ง ขาดการบํ า รุ ง ดู แ ลและได๎ ชํ า รุ ด ทรุ ด โทรมไปตาม กาลเวลาอีกครั้งหนึ่ง จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๓๘๐ (จ.ศ. ๑๑๙๙) พระยาหาญ เจ๎าเมืองพานคนแรกได๎ทํา การบูรณปฏิสังขรณ๑ซากพระเจดีย๑ที่หลงเหลืออยูํ [ไมํได๎บอกวิธีการบูรณะไว๎วําสร๎างครอบหรือ รื้อออกแล๎วสร๎างใหมํหมด-ผู๎เรียบเรียง] รวมทั้งได๎สร๎างพระอุโบสถหลังแรก มีขนาดกว๎าง ๓ วา ๒ ศอก ๓ ห๎อง และในสมัยของพระยาไชยชนะสงคราม เจ๎าเมืองพานคนที่ ๓ ได๎รวม ศรัทธา ๓ หมูํ รํวมกันบูรณะพระธาตุเจดีย๑ขึ้ นมาใหมํอีกครั้งหนึ่งให๎ใหญํกวําเดิม แล๎วบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุไว๎ และหลังจากนั้นก็ได๎รับการบูรณะปฎิสังขรณ๑เรื่อยมาตลอดจนปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ได๎เกิดอัคคีภัยจากธรรมชาติ [อาจเป็นไฟป่า-ผู๎เรียบเรียง] พระอุโบสถ และเสนาสนะตํางๆ ได๎รับความเสียหายอยํางมาก ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ คณะสงฆ๑ ข๎าราชการ และประชาชน ได๎รํวมกันสร๎างพระอุโบสถขึ้นมาใหมํ ลักษณะจึงเป็นดังเห็นเชํนในปัจจุบัน และเมื่ อ วั น ที่ ๒๒ กุ ม ภาพั น ธ๑ พ.ศ. ๒๕๐๘ วั ด พระธาตุ ด อยจอมแวํ ไ ด๎ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา จัดตั้งเป็นวัดในสังกัดมหานิกาย
32