TAT
The Journey
60 ปี ททท. A STORY BASED ON TRUE JOURNEY
60 ปีทผ ่ี า ่ น กับ งานทีต ่ อ ้ งสานต่อ
1
TAT The Journey A Story Based on True Journey
บรรณาธิการที่ปรึกษา ยุทธศักดิ์ สุภสร
ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ศรีสุดา วนภิญโญศักดิ์
รองผู้ว่าการด้านตลาดยุโรป แอฟริกา ตะวันออกกลาง และอเมริกา
ธเนศวร์ เพชรสุวรรณ
รองผู้ว่าการด้านสื่อสารการตลาด
ฉัททันต์ กุญชร ณ อยุธยา
รองผู้ว่าการด้านตลาดเอเชียและแปซิฟิกใต้
นพดล ภาคพรต
รองผู้ว่าการด้านตลาดในประเทศ
ศิริปกรณ์ เชี่ยวสมุทร
รองผู้ว่าการด้านดิจิทัล วิจัย และพัฒนา
สมฤดี จิตรจง
รองผู้ว่าการด้านบริหาร
น้ําฝน บุณยะวัฒน์
รองผู้ว่าการด้านนโยบายและแผน
ฐาปนีย์ เกียรติไพบูลย์
รองผู้ว่าการด้านสินค้าและธุรกิจท่องเที่ยว
วินิจ รังผึ้ง
ผู้อํานวยการฝ่ายบริการการตลาด
บรรณาธิการ ยุวดี นิรัตน์ตระกูล
กองบรรณาธิการ จ.ส.ท.กริช นนทฤทธิ์
ผู้อาํ นวยการกองวางแผนและผลิตสื่อ
ปริญญ์ พงษ์เจริญ
หัวหน้างานวางแผนการผลิตและประเมินผล กองวางแผนและผลิตสื่อ
ณัฐดร หัสวาที
หัวหน้างานวิเคราะห์ตลาดต่างประเทศ กองกลยุทธ์การตลาด
ณัฏฐิรา อําพลพรรณ
หัวหน้างานส่งเสริมการเรียนรู้ กองการเรียนรู้ด้านการตลาดท่องเที่ยว
ฉันทมน ชินวัฒน์
กองวางแผนและผลิตสื่อ
พรรณรศา ธีระวงศ์สกุล
กองวิจัยการตลาดการท่องเที่ยว
บัณฑิต อเนกพูนสินสุข
กองวิจัยการตลาดการท่องเที่ยว
สุจิตรา แย้มงามเหลือ
กองวิจัยการตลาดการท่องเที่ยว
TAT The Journey The Story Based on True Journey (60 ปี ททท.) จัดทําโดย
ออกแบบและผลิต
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
บริษัท อัญแปลน จํากัด
1600 ถนนเพชรบุรี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
พิมพ์ที่
โทรศัพท์ โทรสาร
2
0 2250 5500 0 2253 7450
www.tourismthailand.org
บริษัท ภาพพิมพ์ จํากัด พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ 2563 ISBN 978-974-679-299-8
00
3
4
A Story Based on True Journey
01
02
03
04
05
06
07
TAT The Journey
00
จัดทัพ ขับเคลือ ่ น เตือนภัยวิกฤต จับจริตความสุข เป็นทุกข์เรือ ่ งตัวเลข หลังเมฆฝนผ่านพ้นไป อนาคตสดใสรอเราอยู่ 5
TAT The Journey
สารบัญ
A Story Based on True Journey
จัดทัพ
6
1.1
ททท. กําเนิดและเติบโต
1.2
ภาครัฐผนึกกําลัง สร้างทัพท่องเทีย ่ วไทย
1.3
ภาคเอกชนท่องเที่ยวไทย จับมือไว้ แล้วไปด้วยกัน
1.4
สถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจัย ผู้ผลิต และผู้สนับสนุนองค์ความรู้
1.5
ทัพท่องเที่ยวแห่งชาติ
ขับเคลือ ่ น 2.1
ใช้แผน นําทาง
2.2
ขับเคลือ ่ นโดยคณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย ่ วแห่งชาติและกลุม ่ จังหวัด
2.3
ขับเคลือ ่ นโดย ททท.
2.4
ความผิดพลาดและบทเรียนจากการขับเคลือ ่ น
เตือนภัยวิกฤต 3.1
วิกฤตที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
3.2
การรับมือวิกฤต
3.3
วิกฤตที่คาดว่าจะต้องเผชิญในอนาคต
3.4
UNWTO ข้อเสนอแนะด้านความเสี่ยงและวิกฤตในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
10
24
40
จับจริตความสุข 4.1
ความสุขจากการท่องเที่ยวตามรอยภาพยนตร์
4.2
ความสุขจากการท่องเที่ยวเชิงอาหาร
4.3
ความสุขจากการท่องเที่ยวเชิงกีฬา
เป็นทุกข์เรือ ่ งตัวเลข 5.1
ทุกข์ 1 นักท่องเที่ยวลด
5.2
ทุกข์ 2 นักท่องเที่ยวล้น
5.3
ทุกข์ 3 รายได้เป็นอันดับ 4 แต่ขีดความสามารถในการแข่งขันอันดับ 31
5.4
ทุกข์ 4 ประเทศไทยติดอันดับโลก
หลังเมฆฝนผ่านพ้นไป 6.1
การสรุปบทเรียน
6.2
การปรับตัว
6.3
การจัดการตน
อนาคตสดใสรอเราอยู่ 7.1
การออกแบบอนาคต (Designing Future)
7.2
การเข้าใจนักท่องเที่ยวอนาคต (Tomorrow Tourist)
7.3
อนาคตท่องเที่ยวไทย นับแต่นี้ไปไม่เหมือนเดิม
00
สารบัญ
52
64
72
76
7
8
A Story Based on True Journey
TAT The Journey
00
สารจากผู้ว่าการ
การศึกษาข้อมูลเรื่องราวเกี่ยวกับการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยที่ผ่านมา ตลอดระยะเวลา 60 ปี เท่ากับเป็นการมองย้อนไปหาต้นธารของช่วงชีวิตการทํางาน
ของกลุม ่ บุคคลหลายกลุม ่ หลายรุน ่ หลายอาชีพ ซึง่ ล้วนเกีย ่ วเนือ ่ งเชือ ่ มโยงกันและกัน ครอบคลุมถึงมิติความสัมพันธ์กับสภาพทางเศรษฐกิจ
การเมือง
การปกครอง
ความเชือ ่ มัน ่ และความศรัทธา โดยอาจรวมไปถึงการดําเนินการเกีย ่ วกับอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวที่สอดแทรกอุดมการณ์ความรักชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ไว้อย่างแยบคาย
หนั ง สื อ เล่ ม นี้ พ ยายามที่ จ ะทบทวนถึ ง เส้ น ทางการดํ า เนิ น งานด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว
ของไทยอย่างกระชับ โดยจับประเด็นต่าง ๆ มาเรียบเรียงใหม่ อ้างอิงข้อมูลจาก
หลากหลายแหล่ง ทัง้ ข้อมูลในประเทศและต่างประเทศ ทีป ่ รากฏในช่วงเวลาของแต่ละ ทศวรรษ เหตุการณ์สาํ คัญในระดับโลก และภูมภ ิ าค ตลอดจนบุคคลสําคัญทีเ่ กีย ่ วข้อง จัดทัพ ขับเคลื่อน เตือนภัยวิกฤต จับจริตความสุข เป็นทุกข์เรื่องตัวเลข หลังเมฆฝนผ่านพ้นไป อนาคตสดใสรอเราอยู่ คือ 7 เรือ ่ งทีน ่ าํ เสนอในหนังสือเล่มนี้ โดยเทคนิคการวางเรือ ่ งและการถ่ายทอดเนือ ้ หา
ในแต่ละเรือ ่ ง แต่ละประเด็นเป็นอิสระไม่ขน ้ึ ต่อกัน สามารถอ่านเฉพาะเรือ ่ งเฉพาะหัวข้อ ที่สนใจได้ ถูกออกแบบสําหรับผู้คนในยุคสมัยนี้
ความรูแ ้ ละประสบการณ์ดา้ นการท่องเทีย ่ วเกีย ่ วกับอดีตและปัจจุบน ั ยิง่ มีมากยิง่ ทําให้ เกิดความมั่นใจต่อการตัดสินใจเรื่องในอนาคตมากขึ้น
ในช่วงเวลาที่อุตสาหกรรม
ท่องเทีย ่ วต้องเผชิญกับความยากลําบากและปัญหา ย่อมเกิดการรวมตัวเพือ ่ ลุกขึน ้ สู้ โดยใช้สติปัญญา ความร่วมมือ ร่วมใจ ก่อให้เกิดความคิดใหม่ เพื่อฝ่าภัยวิกฤตดังกล่าว
นวัตกรรมใหม่
60 ปีที่ผ่าน กับงานที่ต้องสานต่อ ปลดวางความสําเร็จเดิม เก็บไว้เป็นความภาคภูมิใจ มุ่งมั่นสรรค์สร้างงานใหม่ นําพาท่องเที่ยวไทยสู่ความยั่งยืน
ยุทธศักดิ์ สุภสร ผูว้ า่ การการท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย 99
10
A Story Based on True Journey
01
TAT The Journey
01
จัดทัพ หากเราต้องการย้อนดูการเติบโตและความก้าวหน้าของอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวในประเทศไทยตั้งแต่อดีตจวบจนถึงปัจจุบัน ปฏิเสธไม่ได้ว่า การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย หรือ ททท. เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ได้รับ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และสถาบันการศึกษา ปี พ.ศ. 2563 เป็นปีที่ ททท. ดําเนินการด้านการส่งเสริมและพัฒนา
จัดทัพ
มอบหมายให้ดาํ เนินการในภารกิจนีร ้ ว ่ มกับหน่วยงานอืน ่ ๆ ทัง ้ หน่วยงาน
การท่องเทีย ่ วมาเป็นปีท่ี 60 หากพิจารณาจากจุดตัง ้ ต้นจนถึงปัจจุบน ั เรื่องราวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวนั้น มีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง และสภาพสังคมทั้งในระดับโลกและ ระดับภูมิภาคอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
11 11
TAT The Journey
1.1
ททท. กําเนิดและเติบโต
ช่วงก่อนปี พ.ศ. 2503 ถ้าเราใช้ปี พ.ศ. 2503 เป็นหมุดหมายการเกิดขึ้นของหน่วยงานด้านการท่องเที่ยว
ของประเทศไทย เราลองย้อนดูขอ ้ มูลทีเ่ กิดขึน ้ ก่อนปี พ.ศ. 2503 พบว่ามีเรือ ่ งราวที่ น่าสนใจทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ ดังนี้
ระดับโลก ในปี พ.ศ. 2468 (ค.ศ.1925) มีการจัดตัง ้ สมัชชาสหพันธ์องค์การส่งเสริม
การท่องเที่ยวนานาชาติ (International Union of Official Travel Organisations:
IUOTO) ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) เปลีย ่ นชือ ่ เป็นองค์การท่องเทีย ่ วโลก (World Tourism Organization: WTO) และเป็นองค์การท่องเที่ยวโลกแห่ง
สหประชาชาติ (UNWTO) ในปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ภารกิจหลักครอบคลุม A Story Based on True Journey
เรื่องการให้ความร่วมมือด้านการพัฒนา การให้ความรู้ การศึกษาและฝึกอบรม การดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและการวางแผน
การดําเนินงานด้านสถิติ แ ละ
การวิจย ั ตลาด การดําเนินการด้านคุณภาพในการให้บริการการท่องเทีย ่ วและการเป็น ผู้ประสานงานและให้ข้อมูล
ระดับประเทศ ประเทศไทยเริ่มมีการจัดรูปหน่วยงานย่อยที่ดูแลรับผิดชอบด้าน
การท่องเที่ยวครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2467 โดยพระดําริของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกําแพงเพชรอัครโยธิน ในฐานะผูบ ้ ญ ั ชาการกรมรถไฟ ท่านส่งเรื่องราวของ
ประเทศไทยไปเผยแพร่ที่สหรัฐอเมริกา และก่อตั้งแผนกโฆษณา ทําหน้าที่รับรอง
และให้ความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย รวมทัง้ โฆษณาเผยแพร่ประเทศไทยให้เป็นทีร่ จ ู้ ก ั ของชาวต่างประเทศ
ต่อมามีการโอนงานส่งเสริมการท่องเที่ยวไปสังกัดกระทรวงพาณิชย์และคมนาคม และงานส่งเสริมการท่องเที่ยวได้เริ่มอย่างชัดเจนในปี พ.ศ. 2479 มีการนําเสนอ โครงการและแผนบํารุงอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วต่อคณะรัฐมนตรี จํานวน 3 งาน คือ งานโฆษณาชักชวนนักท่องเที่ยว งานรับรองนักท่องเที่ยว และงานบํารุงสถานที่ ท่องเทีย ่ วและทีพ ่ ก ั ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 มีการจัดตัง้ สํานักงานส่งเสริมการท่องเทีย ่ ว
มีฐานะเทียบเท่ากอง ตามพระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมโฆษณาการ ในสํานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2493
12
01
ก่อตั้ง อ.ส.ท. และยกระดับเป็น ททท. ปี พ.ศ. 2503 ในช่วงที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีได้ก่อตั้งองค์กร
ที่รับผิดชอบเรื่อง “การท่องเที่ยว” โดยตรงเป็นครั้งแรก ชื่อ องค์การส่งเสริม การท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย หรือ อ.ส.ท. ภาระหน้าที่ที่มุ่งเน้นในขณะนั้นคือ การสร้างสรรค์กจ ิ กรรมที่เกี่ยวกับการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การเดินทางท่องเที่ยว
ผู้อํานวยการคนแรกคือ พลเอก เฉลิมชัย จารุวัสตร์ สํานักงานตั้งอยู่ที่อาคารตรงข้าม วัดเบญจมบพิตรฯ
ภารกิจของ อ.ส.ท. มุง ่ เน้นเฉพาะงานด้านการส่งเสริม เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์
จนทําให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยขยายตัวอย่างรวดเร็ว ภาระงานที่เกี่ยวกับ
การพัฒนา การอนุรก ั ษ์ และการจัดระเบียบธุรกิจทีเ่ กีย ่ วข้องกับการบริการการท่องเทีย ่ ว ซึ่งเป็นงานที่สาํ คัญ จึงจําเป็นต้องมีหน่วยงานรับผิดชอบและกํากับดูแล
ในปี พ.ศ. 2522 รัฐบาลจึงผลักดันให้เกิดพระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่ง ขยายภาระงานเดิมของ อ.ส.ท. ให้ครอบคลุมเรื่องการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยว การดูแลความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว
และเปลี่ยนชื่อจากองค์การส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (อ.ส.ท.) เป็นการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
จัดทัพ
ประเทศไทยและจัดตัง ้ หน่วยงานการท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) โดยเป็นการ
ชื่อภาษาอังกฤษ คือ Tourism Authority of Thailand (TAT)
ในปี พ.ศ. 2503 พบว่า นอกจากรัฐบาลจะจัดตั้ง อ.ส.ท. แล้ว ยังจัดตั้งบริษัท
การบินไทย จํากัด โดยทําสัญญาร่วมทุนระหว่างบริษท ั เดินอากาศไทยและสายการบิน
สแกนดิเนเวียน ทําการบินระหว่างประเทศ ซึ่งนับได้ว่า รัฐบาลให้ความสําคัญกับ กิจการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเดินทางและการท่องเที่ยว
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาองค์การท่องเที่ยวแห่งชาติในประเทศอื่น ๆ พบว่ามี ช่วงเวลาการก่อตั้งองค์กรที่ใกล้เคียงกับประเทศไทย
เช่น
องค์การส่งเสริมการ
ท่ องเที ่ ยวแห่ งชาติ เ กาหลี (Korea National Tourism Organization: KNTO)
ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2505 องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งชาติญี่ปุ่น (Japan National Tourism Organization: JNTO) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2507
13
TAT The Journey
ททท. กับการเติบโต หากจัดแบ่งช่วงเวลาของการทํางานตามการจัดรูปองค์กร สามารถแบ่งได้เป็น 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 ปี พ.ศ. 2503 ถึงปี พ.ศ. 2522 หน่วยงาน อ.ส.ท. มีหน้าที่หลักคือ การส่งเสริมการตลาด และประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของประเทศ
ช่วงที่ 2 ปี พ.ศ. 2522 ปรับรูปแบบองค์กรจาก อ.ส.ท. เป็น ททท. นอกจากจะทํา
หน้าทีด ่ า้ นการส่งเสริมการตลาดแล้ว ยังมีหน้าทีด ่ า้ นการวางแผนพัฒนาการท่องเทีย ่ ว และกําหนดมาตรฐานการบริการ จนถึงปี พ.ศ. 2545 ที่รัฐบาลจัดตั้งกระทรวง
การท่องเทีย ่ วและกีฬา มีการถ่ายโอนภาระงานด้านการวางแผนพัฒนาการท่องเทีย ่ ว
A Story Based on True Journey
และมาตรฐานการบริการจาก ททท. ไปยังกระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา
ช่วงที่ 3 ปี พ.ศ. 2545 ถึงปัจจุบน ั ททท. มีบทบาทหลักเกีย ่ วกับการส่งเสริมการตลาด และประชาสัมพันธ์ โดยประสานงานกับหน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ขยายสํานักงาน จัดวางกําลัง ปัจจุบัน ททท. มีสํานักงานใหญ่ ตั้งอยู่ที่ถนนเพชรบุรี กรุงเทพมหานคร และ ททท. สํานักงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ดังนี้
ททท. สํานักงาน ในประเทศ 45 สํานักงาน กระจายอยูใ่ นพืน ้ ทีภ ่ าคเหนือ11 สํานักงาน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 สํานักงาน ภาคกลาง 9 สํานักงาน ภาคตะวันออก
6 สํานักงาน และภาคใต้ 11 สํานักงาน สํานักงานส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศ แห่งแรก คือ สํานักงานเชียงใหม่ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2511
ททท. สํานักงาน ต่างประเทศ 29 สํานักงาน กระจายอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
11 สํานักงาน ภูมิภาคอาเซียน เอเชียใต้ และแปซิฟิกใต้ 7 สํานักงาน ภูมิภาคยุโรป แอฟริกา และตะวันออกกลาง 8 สํานักงาน และภูมิภาคอเมริกา 3 สํานักงาน สํานักงานส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งแรกในต่างประเทศ คือ สํานักงานนิวยอร์ก จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2508 จริงจังกับวิกฤต เมือ ่ สถานการณ์ในระดับโลก ภูมภ ิ าค และประเทศ เริม ่ เผชิญกับภัยคุกคามในรูปแบบ
วิกฤตต่าง ๆ ทั้งวิกฤตเศรษฐกิจ วิกฤตการเมือง การก่อการร้าย วิกฤตโรคระบาด
วิกฤตพิบัติภย ั ธรรมชาติ วิกฤตทีส ่ ง ่ ผลต่ออุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วมีทั้งตัววิกฤตเอง
และวิกฤตจากการสื่อสาร ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมกับสถานการณ์นั้น ๆ
ในปี พ.ศ. 2550 ททท. จึงเปิดศูนย์ปฏิบัติการวางแผนการท่องเที่ยวและศูนย์ ปฏิบัติการในภาวะวิกฤต (ศวก.) โดยเป็นหน่วยงานย่อยที่เน้นเรื่องการสื่อสารเป็น หลัก โดยร่วมดําเนินการกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง 14
01
คิดการณ์ไกล ใฝ่อนุรักษ์
ในแนวคิดและทิศทางเกี่ยวกับการอนุรักษ์นั้น ททท. เล็งเห็นความสําคัญเช่นกัน จึงได้ผลักดันงานที่ให้ความสําคัญเรื่องสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ตามแนวทางขององค์การสหประชาชาติ โดยในช่วงปี พ.ศ. 2531-2537 ททท. ดําเนินการศึกษาวิจย ั เกีย ่ วกับการกําหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเทีย ่ ว เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ และหมู่เกาะช้าง จังหวัดตราด ก่อตัง้ มูลนิธพ ิ ท ิ ก ั ษ์สง่ิ แวดล้อมและการท่องเทีย ่ วในปี พ.ศ. 2535 และในปี พ.ศ. 2541 ร่วมมือกับสมาคมโรงแรมไทย โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การประปานครหลวง และสมาคมพัฒนาคุณภาพสิง ่ แวดล้อม ก่อตัง ้ มูลนิธใิ บไม้เขียว เพื่อเผยแพร่ความรู้ ส่งเสริมผู้ประกอบการในการพัฒนามาตรฐานการจัดการด้าน สิ่งแวดล้อมและการประหยัดพลังงาน
จัดทัพ
ในปี พ.ศ. 2535 สถานการณ์โลกให้ความสําคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อม มีการประชุม Earth Summit ทีเ่ มืองรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล และประกาศใช้แผนปฏิบต ั ก ิ าร 21 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Agenda 21 รวมทั้งการจัดทําเป้าหมายการพัฒนาแห่ง สหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) ในช่วงปี พ.ศ. 2543-2558 และเมื่อ MDGs สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2558 องค์การสหประชาชาติยังคงดําเนินการ ต่อเนือ ่ งโดยกําหนดเป้าหมายการพัฒนาทีย ่ ง ่ั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เป็นกรอบทิศทางการพัฒนาของโลก ช่วงปี พ.ศ. 2558-2573
(ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.greenleafthai.org)
นอกจากการศึกษาเกีย ่ วกับประเด็นขีดความสามารถในการรองรับด้านการท่องเทีย ่ วแล้ว ททท. ยังศึกษาเพือ ่ กําหนดนโยบายการท่องเทีย ่ วเพือ ่ รักษาระบบนิเวศ (Ecotourism) ในปี พ.ศ. 2540 และตัง้ กองอนุรก ั ษ์ เสนอคําขวัญ “พัฒนาคูอ ่ นุรก ั ษ์ พิทก ั ษ์ทอ ่ งเทีย ่ ว ไทย” ในปีเดียวกัน (เมือ ่ มีการจัดตัง้ กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา ในปี พ.ศ. 2545 ททท. ปรับโครงสร้างองค์กรทําให้ต้องยกเลิกกองอนุรักษ์) กิจกรรมด้านการอนุรักษ์อื่น ๆ ที่ ททท. สร้างสรรค์และผลักดัน เช่น ปี พ.ศ. 2539 จัดทําโครงการรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Awards) ปี พ.ศ. 2551 ผลักดันโครงการ 7 Greens ปี พ.ศ. 2553 จัดทําโครงการเทีย ่ วหัวใจใหม่ เมืองไทยยัง่ ยืน ปี พ.ศ. 2559 จัดทําโครงการ Village to the World เข้าร่วมโครงการ Trash Hero และ Up Cycling the Oceans
ผลักดันสูอ ่ งค์กรสมรรถนะสูง TATIC/TAT Academy
TAT
Intelligence Center
เพือ ่ เพิม ่ ประสิทธิภาพการทํางานในยุค Digital Transformation ททท. ให้ความสําคัญ กับการขับเคลือ ่ นอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วด้วยองค์ความรู้ ข้อมูลทีท ่ น ั สมัยและเท่าทัน พฤติกรรมนักท่องเทีย ่ ว นักเดินทางทีเ่ ปลีย ่ นแปลงตลอดเวลา ททท. เห็นความสําคัญ ในเรื่องนี้ จึงจัดตั้งหน่วยงานในลักษณะพิเศษ 2 หน่วยงาน คือ ศูนย์วิจัยด้านตลาด การท่องเทีย ่ ว (TAT Intelligence Center: TATIC) จัดตัง ้ ในปี พ.ศ. 2557 จัดตัง ้ ศูนย์ พัฒนาวิชาการด้านตลาดการท่องเที่ยว (TAT Academy) ในปี พ.ศ. 2558
15
TAT The Journey
1.2
ภาครัฐผนึกกําลัง สร้างทัพท่องเทีย ่ วไทย
กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา บูรณาการภาพรวม เมือ ่ พิจารณาองค์กรรัฐทีเ่ กีย ่ วกับการท่องเทีย ่ ว นอกจาก ททท. แล้ว รัฐบาลไทยยังให้ ความสําคัญกับการพัฒนาและเติบโตก้าวหน้าของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยการ ผลักดันองค์กรทีด ่ แ ู ลและรับผิดชอบเรือ ่ งการท่องเทีย ่ วเพิม ่ เติม ดังนี้
พ.ศ. 2545 รัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร ประกาศจัดตัง้ กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา
มีอาํ นาจหน้าทีใ่ นการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ ว การกีฬา
การศึกษาด้านกีฬาและนันทนาการ โดยแต่งตัง ้ นายสนธยา คุณปลืม ้ เป็นรัฐ มนตรี ว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นคนแรก
ปัจจุบันมีหน่วยงานในสังกัด
4 หน่วยหลัก คือ กรมพลศึกษา กรมการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย A Story Based on True Journey
และการกีฬาแห่งประเทศไทย
สํานักงานส่งเสริมการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. บุกตลาดประชุม นิทรรศการ สํานักงานส่งเสริมการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. ก่อตัง ้ ขึน ้ ในปี พ.ศ. 2545 (เดิมงานด้านการส่งเสริมการประชุม เป็นหน่วยงานระดับกองใน ททท.)
ทําหน้าที่ส่งเสริมอุตสาหกรรม MICE (Meetings, Incentive Travel, Conventions and
Exhibitions) โดยอํานวยความสะดวกและพัฒนามาตรฐานการจัดงานให้สอดคล้องกับ บทบาทของไทยที่ มี ค วามสํ า คั ญ มากขึ้ น ในฐานะเป็ น ประเทศที่ ส ามารถเป็ น ที่ จั ด
การประชุมและนิทรรศการระดับนานาชาติได้อย่างมีศก ั ยภาพ และมุง ่ หวังทีจ ่ ะให้ไทย เป็นศูนย์กลางการจัดประชุมการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลและการจั ด นิ ท รรศการ
ระดับโลกในภูมิภาคเอเชียอีกด้วย ทั้งนี้ ก็เพื่อประโยชน์ในการเพิ่มรายได้ของ ประเทศไทย และสร้างศักยภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรม MICE ในตลาดโลก
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. พ.ศ. 2546 จัดตัง้ องค์การบริหารการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ วอย่างยัง่ ยืน
(องค์การมหาชน) หรือ อพท. มีหน้าทีบ ่ ริหารและพัฒนาพืน ้ ทีเ่ พือ ่ การท่องเทีย ่ วในเชิง บูรณาการ เป็นองค์กรกลางทําหน้าที่กําหนดนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ และ ประสานงานกับท้องถิน ่ หรือพืน ้ ทีท ่ เ่ี ป็นแหล่งท่องเทีย ่ วรวมถึงส่งเสริมและพัฒนาพืน ้ ที่
ที่ มี ศัก ยภาพในการท่ อ งเที่ย วให้ มีก ารบริ ห ารจั ด การพื้น ที่เ พื่อ การท่ อ งเที่ย วใน เชิงคุณภาพ ปัจจุบน ั ดําเนินการพัฒนาพืน ้ ทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วตามทีค ่ ณะกรรมการนโยบาย ท่องเที่ยวแห่งชาติกาํ หนด
16
01
หน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ นอกเหนือจากกระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา สสปน. อพท. และ ททท. แล้ว การพัฒนา และส่งเสริมอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วไทยจําเป็นต้องมีการบูรณาการการทํางานในทุกภาค
ส่วนหลัก ซึง่ เกีย ่ วข้องกับกระทรวงต่าง ๆ เกือบทุกกระทรวง เช่น กระทรวงทีร่ บ ั ผิดชอบ
เกี่ยวกับสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสร้างพื้นฐาน การขนส่ง ไฟฟ้า ประปา กระทรวงทีร่ บ ั ผิดชอบเกีย ่ วกับสุขอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรค เป็นต้น ตัวอย่างองค์กรภาครัฐทีด ่ าํ เนินการในส่วนทีเ่ กีย ่ วข้องกับอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ ว กระทรวงคมนาคม รับผิดชอบเกีย ่ วกับความสะดวกและปลอดภัยด้านการเดินทางโดย ในปี พ.ศ. 2548 เปิดให้บริการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในปี พ.ศ. 2547
เปิดให้บริการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ปี พ.ศ. 2553 เปิดให้บริการ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link: ARL)
การปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน ตัวอย่าง การดําเนินงานในปี พ.ศ. 2545 เริ่มโครงการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (One Tambon One Product: OTOP) ต่อมาในปี พ.ศ. 2561-2562 พัฒนาเป็นโครงการ
จัดทัพ
กระทรวงมหาดไทย มีขอบเขตความรับผิดชอบทีก ่ ว้างขวาง เช่น เรือ ่ งความปลอดภัย
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี โดยกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงสาธารณสุ ข ดําเนินการเรือ ่ งการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางทาง การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ดังนัน ้ การประสานงานและบูรณาการการทํางานทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพจึงเป็นเรือ ่ งจําเป็น และสําคัญอย่างยิ่ง
17
TAT The Journey
1.3
ภาคเอกชนท่องเทีย ่ วไทย จับมือไว้ แล้วไปด้วยกัน
การผนึกกําลังขององค์กรภาคเอกชนในภาคบริการ คือ ส่วนสําคัญที่จะผลักดันให้ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวก้าวหน้าอย่างมั่นคงและมีดุลยภาพ จากอดีตจนถึงปัจจุบัน
พบว่า มีองค์กรภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยรวมตัวจัดตั้ง เป็นรูปแบบสมาคมต่าง ๆ ดังนี้
2506
ก่อตัง้ สมาคมโรงแรมเพือ ่ นักทัศนาจรแห่งประเทศไทย
ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 เปลีย ่ นชือ ่ เป็น สมาคมโรงแรมไทย
A Story Based on True Journey
(Thai Hotels Association: THA)
2511
ก่อตัง ้ สมาคมไทยธุรกิจการท่องเทีย ่ ว
2518
ก่อตัง ้ สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพแห่งประเทศไทย
2540
ก่อตัง ้ สมาคมไทยท่องเทีย ่ วเชิงอนุรก ั ษ์และผจญภัย
2542
ก่อตัง ้ สมาคมรถเช่าไทย
2544
ก่อตัง ้ สภาอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย
(Association of Thai Travel Agents: ATTA)
(Professional Tourist Guide Association of Thailand)
(Thai Ecotourism and Adventure Travel Association: TEATA)
(Thai Car Rental Association)
(Tourism Council of Thailand)
นอกจากหน่วยงานภาคเอกชนข้างต้นแล้ว ยังมีภาคเอกชนอื่น ๆ ที่เริ่มมีบทบาท สําคัญและโดดเด่น เช่น การรวมตัวของภาคเอกชนในธุรกิจสปา ศูนย์การค้า และ ภาคธุรกิจบันเทิง เช่น ภาพยนตร์ ละคร ดนตรี และกีฬา ล้วนมีสว่ นในการสร้างสรรค์ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยทั้งสิ้น
18
สถาบันการศึกษา หน่วยงานวิจย ั ผูผ ้ ลิต และผูส ้ นับสนุนองค์ความรู้
01
1.4
ปัจจุบน ั ประเทศไทยมีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาทัง ้ ภาครัฐและภาคเอกชนที่
เปิดสอนวิชาการโรงแรม การท่องเทีย ่ ว การบิน และการบริการอืน ่ ๆ จํานวนมากกว่า 100 สถาบัน กระจายอยูท ่ ก ุ ภูมภ ิ าคของประเทศทีส ่ นับสนุนภาคการท่องเทีย ่ วและบริการ ของไทย
ซึ่งนอกจากสถาบันการศึกษาจะทําหน้าที่ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพและ
ได้มาตรฐานแล้ว สถาบันการศึกษายังได้ผลิตงานวิจัย งานวิชาการจํานวนมากที่ ตอบโจทย์ความต้องการของท้องถิน ่ และสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ เพือ ่ สร้างมูลค่า เพิ่มให้กับอุตสาหกรรม
ในส่วนของหน่วยงานภาครัฐด้านการวิจัย
ที่มีบทบาทในการสนับสนุนการพัฒนา
การท่องเทีย ่ วไทย เช่น สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจย ั และนวัตกรรม (สกสว.) สํานักงานการวิจย ั แห่งชาติ (วช.) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) สถาบันวิจัยสมุนไพร กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูลจากการวิจัย สามารถนําไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ การแก้ไขปัญหาอุปสรรคในพืน ้ ที่ และใช้ประกอบ
จัดทัพ
การตัดสินใจเชิงนโยบาย
1.5
ทัพท่องเทีย ่ วแห่งชาติ
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่ต้องบูรณาการในทุกภาคส่วน ดังนั้น
รัฐบาลจึงกําหนดไว้ในพระราชบัญญัตินโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ (ท.ท.ช.) โดยมีนายก
รัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ มีผแ ู้ ทนกระทรวงผูแ ้ ทนภาคเอกชน และผูท ้ รงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ โดยมีอํานาจหน้าที่ครอบคลุมเรื่องการจัดทํานโยบาย ยุทธศาสตร์
แผนพัฒนาการท่องเทีย ่ วแห่งชาติ การกําหนดเขตพัฒนาการท่องเทีย ่ ว การรับรอง มาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว และการบริหารกองทุนท่องเที่ยว
19
TAT The Journey
ลําดับการจัดตัง ้ องค์กรทีเ่ กีย ่ วข้องกับอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วไทย 2467 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกําแพงเพชรอัครโยธิน เผยแพร่เรือ ่ งราวของประเทศไทย ในสหรัฐอเมริกา และก่อตั้ง แผนกโฆษณาทําหน้าที่รับรอง และให้อํานวยความสะดวก นักท่องเที่ยว รวมทั้งโฆษณา เผยแพร่ประเทศไทย
2468
A Story Based on True Journey
LOGO UNWTO สมัชชาสหพันธ์องค์การ ส่งเสริมการท่องเทีย ่ วนานาชาติ (International Union of Official Travel Organisations: IUOTO) ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 เปลี่ยนชื่อเป็นองค์การ ท่องเทีย ่ วโลกแห่งสหประชาชาติ (World Tourism Organization: UNWTO)
2479 ประเทศไทยเริ่ม “งานส่งเสริมการท่องเที่ยว” โดยเสนอแผนงานหลัก 3 แผนงานต่อคณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยงานโฆษณา ชักชวนนักท่องเที่ยว งานรับรองนักท่องเที่ยว และงานบํารุงสถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ ว
2493 จัดตั้งสํานักงานท่องเที่ยว ตามพระราชกฤษฎีกาจัดวาง ระเบียบราชการกรมโฆษณาการ สํานักนายกรัฐมนตรี
20
2400
2511 เปิดสํานักงานส่งเสริม การท่องเที่ยวในประเทศไทย แห่งแรกที่จังหวัดเชียงใหม่ บริษัทการบินกรุงเทพ เปิดดําเนินการ
2503
LOGO ATTA
2522
LOGO อสท จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีจัดตั้ง “องค์การส่งเสริมการท่องเทีย ่ ว แห่งประเทศไทย” หรือ อ.ส.ท. มีภารกิจในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การเดินทาง ท่องเที่ยว
ภาคเอกชนก่อตัง้ สมาคมไทยธุรกิจการท่องเทีย ่ ว (Association of Thai Travel Agents: ATTA)
ปฏิรูปองค์กรจาก องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย (อ.ส.ท.) เป็นการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย (ททท.)
ก่อตั้งบริษัท การบินไทย จํากัด
2524 2506
ภาคเอกชนรวมตัวก่อตัง้ สมาคมโรงแรมเพือ ่ นักทัศนาจร แห่งประเทศไทย ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 เปลี่ยนชื่อเป็น สมาคมโรงแรมไทย (Thai Hotels Association: THA)
2508 เปิดสํานักงานส่งเสริม การท่องเที่ยวไทย ในต่างประเทศแห่งแรก ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
2500
ททท. เปิดสถาบันฝึกอบรม วิชาการโรงแรมและการท่องเทีย ่ ว (สรท.) ที่บางแสน ดําเนินการเป็นระยะเวลา 22 ปี และปิดสถาบันฯ ในปี พ.ศ. 2546
2518
ภาคเอกชนรวมตัวตั้ง สมาคมมัคคุเทศก์อาชีพ แห่งประเทศไทย (Professional Tourist Guides Association of Thailand)
2519 ททท. เปิดศูนย์ช่วยเหลือ นักท่องเที่ยว
2510
2528
ภาคเอกชนรวมตัวก่อตั้ง สมาคมส่งเสริมการประชุม นานาชาติไทย (Thailand Incentive and Convention Association: TICA)
2520
01
2540
2550
ททท. ตั้งกองอนุรักษ์ และเสนอคําขวัญ “พัฒนาคู่อนุรักษ์ พิทักษ์ท่องเที่ยวไทย”
ททท. เปิดศูนย์ปฏิบต ั ก ิ ารวางแผน การท่องเทีย ่ วและศูนย์ปฏิบัติการ ในภาวะวิกฤต (ศวก.)
2541 2545
ททท. ร่วมมือกับ 6 องค์กร ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ จัดตั้งมูลนิธิใบไม้เขียว
จัดทัพ
2542
จัดตัง้ กระทรวงการท่องเทีย ่ ว และกีฬา โดยมีนายสนธยา คุณปลื้ม เป็นรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา คนแรก
2535
ททท. ก่อตั้งมูลนิธิพิทักษ์ สิง ่ แวดล้อมและการท่องเทีย ่ ว ต่อมาในปี พ.ศ. 2563 เปลีย ่ นชือ ่ เป็น มูลนิธเิ พือ ่ การท่องเทีย ่ วอย่างยัง ่ ยืน
ภาคเอกชนรวมตัวก่อตั้ง สมาคมรถเช่าไทย (Thai Car Rental Association)
2544 ตั้งบริษัท Thailand Long Stay Management เพือ ่ ส่งเสริมตลาดพํานัก ระยะยาว
จัดตั้งสภาอุตสาหกรรม การท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย (Tourism Council of Thailand)
จัดตั้งสํานักงานส่งเสริม การจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) (Thailand Convention & Exhibition Bureau)
2540
TAT
Intelligence Center
2546
จัดตัง้ องค์การบริหารการพัฒนา พืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ ว อย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) ททท.เปิดตัวบริษัทไทยแลนด์ พริวิเลจ คาร์ด จํากัด ดําเนินการในโครงการ บัตรเอกสิทธิ์พิเศษ “ไทยแลนด์ อีลิท คาร์ด”
2530
2557
ททท. เปิดศูนย์วิจัย ด้านตลาดการท่องเที่ยว (TAT Intelligence Center: TATIC)
2558
ททท. เปิดศูนย์พฒ ั นาวิชาการ ด้านการตลาดการท่องเที่ยว (TAT Academy)
2550
2560
21
22
22
A Story Based on True Journey
TAT The Journey
23
จัดทัพ
24
A Story Based on True Journey
02
TAT The Journey
02
ขับเคลือ ่ น แม้ จ ะมี ค วามประสงค์ อัน แน่ ว แน่ ท่ีจ ะใช้ ก ารท่ อ งเที่ย วเป็ น เครื่อ งมื อ ในการพั ฒ นา เศรษฐกิจ ควบคูก ่ บ ั การรักษาสิง ่ แวดล้อมและการธํารงไว้ซง ่ึ คุณค่าความเป็นไทย อันมี หนึง ่ เดียวในโลก แต่ถา้ การขับเคลือ ่ นการท่องเทีย ่ วยังเป็นไปอย่างไร้ทศ ิ ทาง ย่อมไม่อาจ
การวางแผนพัฒนาการท่องเทีย ่ ว คือ ขัน ้ ตอนสําคัญในการขับเคลือ ่ นทิศทางการเติบโต ด้านการท่องเที่ยว แต่การวางแผนจะไม่มีผลใด ๆ หากไม่มีการนําแผนไปสู่การปฏิบัติ
จัดทัพ
บรรลุความประสงค์อันยิ่งใหญ่นั้นได้
ทีเ่ ป็นจริง รวมทัง ้ การสร้างรูปแบบกลไกการทํางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้อง กับการท่องเทีย ่ ว เช่น การจัดตัง ้ คณะกรรมการในระดับต่าง ๆ แต่ถา้ ไม่มก ี ารทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม คณะกรรมการนั้น ๆ ก็จะมีเพียงรายงานการประชุมและมติ ที่ประชุมเท่านั้น ข้อสังเกตที่น่าสนใจและมีนัยสําคัญต่อการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวของไทย ตลอดระยะเวลา 60 ปีที่ผ่านมา คือ การดํารงอยู่และแก้ไขไม่ได้ของปัญหาพื้นฐาน ที่เกี่ยวกับนักท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว เช่น ปัญหาขยะ น้ําเสีย การหลอกลวง นักท่องเทีย ่ ว ในขณะทีม ่ ช ี ด ุ ของปัญหารูปแบบใหม่เกิดขึน ้ เช่น ปัญหาแรงงานต่างด้าว ในภาคบริการ ปัญหาการให้บริการรูปแบบใหม่อน ั เกิดจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี สิ่งเหล่านี้ คือประเด็นท้าทายของการขับเคลื่อนท่องเที่ยวไทยในอนาคต
25 25
TAT The Journey
2.1
ใช้แผน นําทาง
ตลอดระยะเวลา 60 ปี ของการพัฒนาการท่องเที่ยวของไทย พบว่า มีความพยายาม ในการวางแผน และกําหนดทิศทางการเติบโตมาโดยตลอด พิจารณาจากสิ่งที่ ดําเนินการจริง ดังนี้
จากแผนพัฒนาการท่องเที่ยวฉบับแรก ถึงแผนปฏิบัติการด้าน การตลาดประจําปี และแผนพัฒนาการท่องเทีย ่ วแห่งชาติฉบับปัจจุบน ั พ.ศ. 2518 แผนพัฒนาการท่องเทีย ่ วฉบับแรกของประเทศไทย จัดทําขึน ้ จากความ ช่วยเหลือของ Institute of Tourism Development Consultants ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เสร็จสิ้นใน
A Story Based on True Journey
ปี พ.ศ. 2519 โดยเป้าหมายของแผนคือ สร้างแนวทางในการรองรับการเติบโต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น และตอบสนองความต้องการของตลาด
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฉบับแรกได้ผนวกรวมไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) และนําไปสูก ่ ารจัดทําแผนแม่บท ควบคู่ ไปกับการศึกษาความเป็นไปได้ ในเมืองท่องเที่ยวหลักหลายเมือง เช่น พัทยา ในปี พ.ศ. 2521 จังหวัดภูเก็ต ในปี พ.ศ. 2522 ติดตามมาด้วยจังหวัดเชียงใหม่ และอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นต้น
นอกจากแผนพัฒนาการท่องเทีย ่ วทีด ่ าํ เนินการไว้แล้ว ททท. ยังได้ดาํ เนินการกําหนด แผนปฏิบต ั ก ิ ารด้านการตลาดประจําปี (Marketing Action Plan: MAP) ครัง ้ แรก
ในปี พ.ศ. 2521 ซึง ่ เป็นผลมาจากการประชุมร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และ ททท. เพื่อหาแนวทางต่าง ๆ สําหรับการกําหนดกลยุทธ์ เป้าหมาย และกิจกรรมทาง
การตลาดทีบ ่ รู ณาการและวัดผลได้ กิจกรรมการจัดทําแผนปฏิบต ั ก ิ ารด้านการตลาด
ประจําปีปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยมีการปรับชื่อแผนเป็นแผน ปฏิบัติการประจําปีด้านการท่องเที่ยวของ ททท. (TAT Action Plan: TATAP) และ ททท. ได้ใช้แผนปฏิบัติการนี้ในการขับเคลื่อนงานตามทิศทางที่ได้กําหนดไว้
เมือ ่ รัฐบาลจัดตัง ้ กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬาในปี พ.ศ. 2545 จึงได้มก ี ารโอน
ภาระงานการจัดทําแผนพัฒนาการท่องเทีย ่ วจาก ททท. มายังกระทรวงการท่องเทีย ่ ว และกีฬา ซึ่งที่ผ่านมามีการจัดทําแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติจํานวน 2 ฉบับ
ฉบับที่ 1 ปี พ.ศ. 2555-2559 และฉบับที่ 2 ปี พ.ศ. 2560-2564 ซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบัน
26
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ถึงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี การขับเคลือ ่ นอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วของประเทศไทยทีผ ่ า่ นมาในอดีตจนถึงปัจจุบน ั
จะให้ความสําคัญกับการชี้นําของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1-3 ในช่วงปี พ.ศ. 2504-2519 ไม่ปรากฏข้อมูลเกีย ่ วกับการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเทีย ่ ว เนือ ่ งจากรัฐบาลในยุคนัน ้
ยังให้ความสําคัญกับการส่งออกและการพัฒนาชนบท เน้นสินค้าเกษตรและชาวนา
ภาคการท่องเที่ยวและบริการได้รับการระบุไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) เป็นครั้งแรก จากนั้นมีการผนวกภาคการ
ท่องเที่ยวและบริการไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทุกฉบับจนถึง ฉบับปัจจุบน ั คือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2565) สาระสําคัญในภาคบริการและการท่องเทีย ่ วทีป ่ รากฏอยูใ่ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่ง
ชาติแต่ละฉบับ จะขึน ้ อยูก ่ บ ั การวิเคราะห์ปจ ั จัยแวดล้อมทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ทั้งการเพิ่มค่าใช้จ่ายและวันพักเฉลี่ย รวมทั้งการให้ความสําคัญกับเรื่องคุณภาพ มาตรฐานของสินค้าและบริการทางการท่องเทีย ่ ว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) ระบุเรื่องความร่วมมือกับต่างประเทศด้าน
ขับเคลื่อน
ส่วนใหญ่แผนฯ เกือบทุกฉบับจะระบุเรื่องการเพิ่มรายได้ในรูปเงินตราต่างประเทศ
การส่งเสริมการตลาด และฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) ระบุให้ไทยเป็นศูนย์กลาง ทางการท่องเทีย ่ วในภูมภ ิ าค โดยจุดเน้นในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 ระบุเรื่องปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ฉบับที่ 10 ระบุเรือ ่ งการเพิม ่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) เน้นหลักการเรือ ่ งความมัน ่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน การลดความเหลือ ่ มล้าํ กระจายรายได้ วิสย ั ทัศน์การท่องเทีย ่ วไทย พ.ศ. 2579 คือ
“ประเทศไทยเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วคุ ณ ภาพชั้ น นํ า ของโลกที่ เ ติ บ โตอย่ า งมี ดุลยภาพบนพื้นฐานความเป็นไทย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ กระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน”
นอกจากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแล้ว จะพบว่าเรือ ่ งการท่องเทีย ่ วได้รบ ั ความสนใจและผนวกไว้ในยุทธศาสตร์หรือ แผนพัฒนา
อืน ่ ๆ ด้วย เช่น แผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลาง สุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) พ.ศ. 2559-2568 แผนยุทธศาสตร์ครัวไทยสู่ ครัวโลก (พ.ศ. 2560-2564)
27
TAT The Journey
การขับเคลือ ่ นการท่องเทีย ่ วผ่านนโยบายของรัฐบาล
การให้ความสําคัญกับภาคการท่องเที่ยวและบริการ นอกจากจะพิจารณาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติแล้ว ทิศทางการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวที่ผ่านมา ยังเกิดจากการผลักดันผ่านคําแถลงนโยบายรัฐบาล จากการวิเคราะห์คําแถลงนโยบายของรัฐบาลในส่วนที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวมีประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้
พ.ศ. 2518
รัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช คือรัฐบาลแรกที่บรรจุเรื่องการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวในคําแถลงนโยบาย โดยระบุว่า “รัฐบาลนี้จะ
ส่งเสริมอุตสาหกรรมให้เจริญยิง่ ขึน ้ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมทีใ่ ช้วต ั ถุดบ ิ
ในประเทศ อุตสาหกรรมทีส ่ ง ่ ผลผลิตออกไปจําหน่ายยังต่างประเทศ
A Story Based on True Journey
และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว” พ.ศ. 2519
รัฐบาลนายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นรัฐบาลแรกที่เริ่มระบุเรื่องความ
พ.ศ. 2526
รัฐบาลพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เริม ่ ระบุเรือ ่ งการจัดทําแผนพัฒนา
ร่วมมือด้านการท่องเที่ยวกับกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การท่องเทีย ่ วอย่างมีระบบ และกฎหมายการจัดระเบียบธุรกิจเกีย ่ วกับ การท่องเทีย ่ ว
พ.ศ. 2535
รัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นรัฐบาลแรกทีก ่ าํ หนดให้ไทยเป็นศูนย์กลาง
พ.ศ. 2538
รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา ระบุเรือ ่ งพัฒนาแหล่งท่องเทีย ่ วให้มี
ทางการท่องเทีย ่ วของภูมภ ิ าค
ความสมดุลกับปริมาณนักท่องเที่ยวและส่งเสริมค่านิยมให้คนไทย ท่องเทีย ่ วในประเทศ
พ.ศ. 2540
รัฐบาลนายชวน หลีกภัย ระบุเรือ ่ งการกระจายอํานาจการบริหารจัดการ
งบประมาณ การจัดสรรรายได้ รวมทั้งบุคลากรด้านการท่องเที่ยวไปสู่ ท้องถิน ่ ควบคูก ่ บ ั ส่งเสริมบทบาทชุมชนและองค์กรเอกชนในการอนุรก ั ษ์ บํารุงรักษา และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
พ.ศ. 2544
รัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร ระบุเรื่องการใช้กลยุทธ์การตลาดเชิงรุก
พ.ศ. 2551
รัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ระบุเรื่องการเพิ่มมูลค่าด้วยเศรษฐกิจ
และเพิม ่ ความหลากหลายของรูปแบบการท่องเทีย ่ ว
สร้างสรรค์ และระบุเรือ ่ งการควบคุมปริมาณนักท่องเทีย ่ วและผลกระทบ สิง่ แวดล้อมในแหล่งท่องเทีย ่ ว นอกจากนัน ้ ยังระบุเรือ ่ งการส่งเสริมกลุม ่
นักท่องเทีย ่ วคุณภาพ กลุม ่ ครอบครัว กลุม ่ ผูส ้ ง ู อายุ กลุม ่ ดูแลสุขภาพ กลุ่มประชุมและแสดงสินค้า พ.ศ. 2551
รัฐบาลนายอภิสท ิ ธิ์ เวชชาชีวะ ระบุเรือ ่ งการจัดตัง ้ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ด้านการท่องเที่ยว
และการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ
ท่องเที่ยวทั้งหมดให้มีความทันสมัย พ.ศ. 2554 28
รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ให้ความสําคัญกับกลุ่มผู้พิการ และผู้สูงวัย
02
จากการวิเคราะห์คาํ แถลงนโยบายรัฐบาลด้านการท่องเทีย ่ ว มีประเด็นทีน ่ า่ สนใจ คือ นโยบายท่องเทีย ่ วของแต่ละรัฐบาล มีลก ั ษณะการมองอนาคตทีน ่ า่ สนใจมาก เช่น พ.ศ. 2519 รัฐบาลเริม ่ เห็นศักยภาพและผลประโยชน์อน ั เกิดจากความร่วมมือในการรวมกลุม ่ ประเทศ พ.ศ. 2535 รัฐบาลพยายามผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางทางการท่องเที่ยวในภูมิภาคนี้ พ.ศ. 2538
ระบุเรื่องความสมดุลระหว่างอุปสงค์กับอุปทานด้านการท่องเที่ยว
พ.ศ. 2546
รัฐบาลผลักดันเมกะโปรเจกต์ที่หนุนเสริมอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยได้ เช่น • โครงการกรุงเทพเมืองแฟชั่น (Bangkok City of Fashion)
ขับเคลื่อน
และเริ่มส่งเสริมอย่างจริงจังให้คนไทยท่องเทีย ่ วภายในประเทศ
• โครงการครัวไทยสู่ครัวโลก (Kitchen of the World) • โครงการศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) • โครงการศูนย์กลางทางการบิน (Aviation Hub)
• โครงการเมืองหลวงทางการท่องเที่ยวแห่งเอเชีย (Tourism Capital of Asia) หากเมกะโปรเจกต์เหล่านั้นสามารถผลักดันให้เป็นรูปธรรมชัดเจน ประเทศไทย จะกลายเป็นจุดหมายปลายทางทางการท่องเที่ยวที่โดดเด่น มีศักยภาพ พ.ศ. 2551 มีการระบุเรื่อง
• การควบคุมปริมาณนักท่องเที่ยว
• การเพิ่มมูลค่าด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์
• การระบุ Segmentation ของกลุ่มนักท่องเที่ยว
• การชี้ให้เห็นถึงความสําคัญและเร่งด่วนของการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยวทั้งหมด
• การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษด้านการท่องเที่ยว
29
TAT The Journey
2.2
ขับเคลือ ่ นโดยคณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย ่ วแห่งชาติ และกลุม ่ จังหวัด
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ (ท.ท.ช.) ด้วยเหตุที่อุตสาหกรรมท่องเที่ยว คือ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับหน่วยงานต่าง ๆ มากมาย ดังนั้น การบูรณาการ การประสานงาน การจัดวางงบประมาณ จึงเป็นเรือ ่ ง สําคัญ รูปแบบการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวของประเทศส่วนใหญ่จะออกแบบในรูป ของการแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทํางาน เป็นต้น
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ เป็นคณะกรรมการระดับนโยบาย
ทีส ่ าํ คัญทีส ่ ด ุ แต่งตัง ้ ในปี พ.ศ. 2551 เป็นคณะกรรมการทีม ่ น ี ายกรัฐมนตรีเป็น ประธาน และมีผู้แทนจากกระทรวงและส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนหน่วยงาน ภาคเอกชน ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ มีหน้าที่จัดทําแผนพัฒนาการท่องเที่ยว A Story Based on True Journey
แห่งชาติ แผนปฏิบต ั ก ิ ารพัฒนาการท่องเทีย ่ ว และกองทุนเพือ ่ ส่งเสริมการท่องเทีย ่ ว
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด เนือ ่ งจากแผนพัฒนาการท่องเทีย ่ วแห่งชาติระบุไว้ใน พ.ร.บ. นโยบายการท่องเทีย ่ ว
แห่งชาติ พ.ศ. 2551 แก้ไขตาม พ.ร.บ. นโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2562 มาตรา 17 เพื่อประโยชน์ในการรักษาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว หรือการบริหาร พั ฒ น า การ ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ แผนพั ฒ นาการท่ อ งเ ที่ ย ว แห่ ง ชาติ
คณะกรรมการอาจกําหนดให้เขตพื้นที่ใดเป็นเขตพัฒนาการท่องเที่ยว จึงได้มีการ กําหนดให้พื้นที่ท่องเที่ยวเป็นลักษณะกลุ่มจังหวัดเพื่อให้เกิดการบูรณาการในการ
วางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยว มีการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยว
กลุ่มจังหวัดและทํางานสอดคล้องกับนโยบาย ท.ท.ช. และคณะกรรมการนโยบาย ท่องเที่ยวจังหวัด
30
ขับเคลือ ่ นโดย ททท.
02
2.3
ททท. ในฐานะกองกําลังผลักดันงานด้านการส่งเสริมการตลาด ททท. เป็นองค์กรทีม ่ ภ ี ารกิจหลักเกีย ่ วกับการส่งเสริมการท่องเทีย ่ วและอุตสาหกรรม ท่ อ งเที่ย วตลอดจนการประกอบอาชี พ ของคนไทยในอุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย ว รวมทั้ ง เผยแพร่ แ ละประชาสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ ชั ก จู ง ให้ เ กิ ด การเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย ว ปัจจุบันมีการจัดแบ่งโครงสร้างองค์กร โดยแบ่งตามภาระงานออกเป็น 8 ด้าน 1. ด้านนโยบายและแผน 2. ด้านสือ ่ สารการตลาด 3. ด้านสินค้าและธุรกิจท่องเทีย ่ ว 4. ด้านตลาดในประเทศ 5. ด้านตลาดเอเชียและแปซิฟก ิ ใต้ 6. ด้านตลาดยุโรป แอฟริกา ตะวันออกกลาง และอเมริกา 7. ด้านดิจท ิ ล ั วิจย ั และพัฒนา
(หมายเหตุ ในปี พ.ศ. 2562 ททท. ปรับปรุงโครงสร้างองค์กร โดยเพิ่มหน่วยงานด้านดิจิทัล วิจัย และพัฒนา โดยเกลี่ยอัตรา กําลังภายในองค์กร)
จากข้อมูลในรายงานประจําปี พ.ศ. 2560 ของ ททท. ในส่วนของอัตรากําลังจําแนก ตามด้าน ระบุวา่ ททท. มีบค ุ ลากรปฏิบต ั ง ิ าน จํานวน 1,017 คน ร้อยละ 31.76 สังกัด หน่วยงานด้านตลาดในประเทศ ร้อยละ 19.47 สังกัดหน่วยงานด้านบริหาร ร้อยละ 11.90 สังกัดหน่วยงานด้านสื่อสารการตลาด ร้อยละ 10.62 สังกัดหน่วยงานด้านนโยบาย และแผน ร้อยละ 9.64 สังกัดหน่วยงานด้านสินค้าและธุรกิจท่องเทีย ่ ว ร้อยละ 7.74 สังกัดหน่วยงานด้านตลาดเอเชียและแปซิฟิกใต้ ร้อยละ 5.51 สังกัดหน่วยงาน ด้านตลาดยุโรป แอฟริกา ตะวันออกกลาง และอเมริกา และร้อยละ 3.63 สังกัด หน่วยงานผู้ว่าการ
ขับเคลื่อน
8. ด้านบริหาร
ตัวอย่างการดําเนินงานของ ททท.
อนุสาร อ.ส.ท. คือนิตยสารทีม ่ รี ป ู แบบเป็น Tourism Magazine รายเดือนฉบับแรกในประเทศไทย เผยแพร่ในปี พ.ศ. 2503 จนถึงปัจจุบน ั เนือ ้ หาในนิตยสารส่วนใหญ่มง ุ่ เน้นเกีย ่ วกับ การประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย รวมถึงที่พัก ร้านอาหาร ร้านค้าของที่ระลึก ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ จุดเด่นของอนุสาร อ.ส.ท. คือ ภาพถ่ายที่สวยงามและข้อมูลที่ครบถ้วนเจาะลึก
(หมายเหตุ ในปี พ.ศ. 2523 หนังสือสารคดีท่องเที่ยวของโลก คือ Lonely Planet เผยแพร่ขอ ้ มูลเกี่ยวกับ แหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย เป็นครั้งแรก)
อนุสาร อ.ส.ท. ในช่วงแรกเน้นการเผยแพร่ความรูแ ้ ละข้อมูลการท่องเทีย ่ ว ราคาถูกกว่า วารสารทัว่ ไป เข้าถึงง่าย โดยเฉพาะนักเรียนและเยาวชน ต่อมาเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ทัง ้ ในลักษณะสือ ่ สิง ่ พิมพ์และสือ ่ ออนไลน์ ผูอ ้ า่ นสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ในทุกช่องทาง นอกจากนี้แล้ว อนุสาร อ.ส.ท. ยังได้จัดกิจกรรมพิเศษเป็นระยะ เช่น การอบรม เกีย ่ วกับถ่ายภาพ การอบรมเกี่ยวกับการเขียนสารคดีท่องเที่ยว เป็นต้น 31
TAT The Journey
ปีท่องเที่ยวไทย (Visit Thailand Year) ททท. ขับเคลื่อนการส่งเสริมการท่องเที่ยวไทยผ่านแคมเปญ “ปีท่องเที่ยวไทย” (Visit Thailand Year) 2 ครั้ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2523 ครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2530
โดยในปี 2530 เป็นการประกาศปีท่องเที่ยวไทยเพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาส เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภู ม ิ พ ล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ถือเป็นการทําการตลาดทีป ่ ระสบความสําเร็จมาก
ครัง้ หนึง่ ของไทย ต่อมาหลายประเทศได้ใช้เป็นกรณีศก ึ ษา และดําเนินการในลักษณะ คล้ายกัน เช่น Visit Laos Year/Visit Myanmar Year
A Story Based on True Journey
Amazing Thailand/Unseen Thailand และ Mascot น้องสุขใจ แคมเปญการตลาด Amazing Thailand เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2541-2542 เพือ ่ ส่งเสริมการท่องเที่ยวตลาดต่างประเทศ
และเพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสเฉลิม
พระชนมพรรษา 6 รอบของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช มหาราช
บรมนาถบพิตร
ในขั้นแรกของการเตรียมการมุ่งหวังให้เป็นเครื่องมือ
ในการส่งเสริมการตลาดดังที่เคยประสบความสําเร็จใน
Visit
Thailand
Year
แต่เมือ ่ เกิดวิกฤตทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 หรือ “วิกฤตต้มยํากุ้ง” ซึ่งกระทบ
หลายประเทศในเอเชีย ดังนัน ้ จึงปรับแผน Amazing Thailand ให้กลายเป็นเครือ ่ งมือ แก้วก ิ ฤตท่องเทีย ่ ว ประเทศไทยจึงเป็นประเทศเดียวในภูมภ ิ าคทีย ่ ง ั คงรักษาจํานวน นักท่องเที่ยวให้คงตัวในปี พ.ศ. 2541 และมีอัตราเพิ่มขึ้นในปีถัดไป
แคมเปญ Amazing Thailand ใช้ต่อเนื่องมาถึงปี พ.ศ. 2547 โดยในปี พ.ศ. 2548 เปลีย ่ นไปใช้แคมเปญ Thailand: Happiness on Earth ในปี พ.ศ. 2549 เปลีย ่ นไปใช้
แคมเปญ Thailand Grand Invitation เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ครองราชย์เป็นปีท่ ี 60 จากนัน ้ ในปี พ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบน ั กลับมาใช้แคมเปญ Amazing Thailand เหมือนเดิม
ปี พ.ศ. 2546 ททท. นําเสนอแคมเปญกระตุน ้ การเดินทางท่องเทีย ่ วในประเทศ คือ
Unseen Thailand รวมทัง้ โครงการอืน ่ ๆ เช่น “เทีย ่ วทัว่ ไทย ไปได้ทก ุ เดือน” ก่อให้เกิด กระแสคนไทยเดินทางท่องเทีย ่ วภายในประเทศเพิม ่ ขึน ้ อย่างมาก
ในปี พ.ศ. 2547 ททท. สร้าง “น้องสุขใจ” ให้เป็นตัวแทนการเดินทางท่องเทีย ่ ว พร้อม ๆ กับการนําเสนอแคมเปญ “เที่ยวที่ไหน ไม่สุขใจเท่าบ้านเรา” “วันเดียวเที่ยวสนุก”
“วันธรรมดาที่ไม่ธรรมดา” และแคมเปญส่งเสริมให้คนไทยเที่ยวภูเก็ตเพื่อแก้วิกฤต สึนามิ “สนุกทัง ้ เกาะ ลดทัง ้ เมือง”
32
02
การฟื้นฟูงานเทศกาล และการสร้างสรรค์กิจกรรมร่วมสมัย การฟื้นฟูงานเทศกาลประเพณีเป็นกิจกรรมการตลาดที่ดําเนินการเพื่อการอนุรักษ์ และดํารงอยูข ่ องเอกลักษณ์ความเป็นไทย ในปัจจุบน ั งานเทศกาลทีไ่ ด้รบ ั ความสนใจ
จากนักท่องเทีย ่ วทัว่ โลก คือ งานเทศกาลสงกรานต์ ปีใหม่ไทย และงานลอยกระทง
ส่วนงานเทศกาลประเพณีอน ่ื ๆ ทีเ่ ผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และได้รบ ั ความสนใจ เช่น งานแห่เทียนพรรษา งานผีตาโขน เทศกาลกินเจ งานตรุษจีน เป็นต้น
สําหรับการสร้างสรรค์กิจกรรมร่วมสมัย เช่น เทศกาลภาพยนตร์ ดนตรี กีฬา ศิลปะ
อาหาร รวมถึงการขึน ้ ปีใหม่แบบสากล หรือกิจกรรม Countdown เริม ่ เกิดขึน ้ ครัง ้ แรก
ในปี พ.ศ. 2542 เพือ ่ ต้อนรับการเข้าสูป ่ ี ค.ศ. 2000 งานเทศกาลดนตรีพท ั ยามิวสิค เฟสติวัล เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติกรุงเทพฯ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีเสมือนจริง เครื่องมือทางการตลาดที่เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เช่น Website หรือ สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เช่น Facebook หรือ Instagram ล้วนเป็นเครื่องมือ
ทางการตลาดทีส ่ ง ่ เสริมการเดินทางท่องเทีย ่ วในรูปแบบใหม่ รวมถึงการสร้างสรรค์
ขับเคลื่อน
เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2546
อุปกรณ์ส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ “ความจริงเสมือน” หรือ Virtual Reality (VR) Augmented Reality (AR)
พ.ศ. 2553-2555 ททท. ขับเคลือ ่ นการท่องเทีย ่ วด้วยนโยบาย Digital Marketing
และ Emotional Marketing ผสานการปรับใช้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์เพือ ่ สร้าง ความยั่งยืนในแง่มูลค่าและคุณค่า แนวปฏิบัติที่ใช้ในช่วงนั้น คือ DISCO:
D = Digital
C = Crisis Management
I = Image Building
S = Sustainable
O = Organisation Development
การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมท่องเที่ยวด้วยเครื่องมือทางการตลาดผ่านเทคโนโลยี
สารสนเทศของ ททท. ดําเนินการอย่างต่อเนือ ่ งและจริงจัง เนือ ่ งจากระบบเศรษฐกิจ ได้เปลี่ยนและปรับตัวอย่างรวดเร็ว ททท. จึงได้ปรับโครงสร้างองค์กรให้ทันสมัย โดยขยายงานด้านดิจท ิ ล ั วิจย ั และพัฒนา อย่างเต็มรูปแบบ
33
TAT The Journey
2.4
ความผิดพลาดและบทเรียนจากการขับเคลือ ่ น
การขับเคลื่อนการท่องเที่ยวในยุคแรก คือปี พ.ศ. 2503 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติ 81,340 คน วัตถุประสงค์ในยุคนั้น คือ ให้หน่วยงานรัฐและ
ธุรกิจรู้จักการท่องเที่ยว กิจกรรมต่าง ๆ จึงเน้นเรื่องการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ผลจากการทํางานทําให้จาํ นวนนักท่องเทีย ่ วเพิม ่ ขึน ้ โดยเฉพาะนักท่องเทีย ่ วต่างชาติ
เพิ่มเป็น 1 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2516 และเพิ่มเป็น 10 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2544 เพิม ่ เป็น 20 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2555 และ 30 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2558
จากการเพิ่มขึ้นของจํานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
A Story Based on True Journey
ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการจัดการพืน ้ ทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วโดยเฉพาะพืน ้ ทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วยอดนิยม
เกิดการกระจุกตัวของนักท่องเทีย ่ ว เกิดปัญหาสิง ่ แวดล้อม ประเด็นที่กล่าวถึงเหล่านี้ ล้วนมีการวางแผนเตรียมรับมือไว้แล้วตามที่ปรากฏในเอกสารต่าง ๆ ทัง ้ แผนพัฒนา
การท่องเที่ยว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล แต่ข้อ ผิ ด พลาดทั้ ง ปวงเกิ ด จากไม่ มี ก ารอุ ด หนุ น งบประมาณการอนุ รั ก ษ์ ฟ้ื น ฟู แ ละ
พัฒนาทางกายภาพของแหล่งท่องเที่ยว ไม่มีการกําหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน ไม่มก ี าร ให้ความสําคัญกับแผนอย่างจริงจัง และไม่สร้างกลไกการบูรณาการประสานงาน ที่มีประสิทธิภาพ
การทํางานของแต่ละหน่วยงานทีม ่ ง ุ่ เน้นเป้าหมายระยะสัน ้ ตามภารกิจ ของหน่วยงาน หรือ Immediate Goal ล้วนก่อให้เกิดปัญหาระยะยาวและผลกระทบในวงกว้าง ดังนั้น ในหลักการจึงควร
ให้ความสําคัญกับการบูรณาการในภาพรวม เพือ ่ เป้าหมายสูงสุด หรือ Ultimate Goal ซึ่งจะสร้างความมั่นใจในการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
34
35
ขับเคลื่อน
02
TAT The Journey
2520 งานมหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ ร่วมกับจังหวัดเชียงใหม่ จัดงานลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ ร่วมกับจังหวัดสุโขทัย
2522 จัดคาราวานสิงคโปร์–พัทยา ร่วมกับยานยนต์สิงคโปร์
2523 ประกาศปีท่องเที่ยวไทย ครั้งที่ 1 (Visit Thailand Year)
A Story Based on True Journey
จัดเทศกาลเที่ยวเมืองไทย และเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย ที่สวนอัมพร
Timeline งานกิจกรรม เทศกาล ประเพณี
2504
2526
งานแสดงช้างสุรินทร์ ร่วมกับการรถไฟ แห่งประเทศไทย
จัดมหกรรมว่าวไทย
2500
Timeline งานการอนุรก ั ษ์ และวิชาการ
2520
2505
2523
เจ้าภาพจัดประชุม สมัชชาสหพันธ์องค์การ ส่งเสริมการท่องเที่ยว (International Union of Official Travel Organisations: IUOTO) ต่อมาองค์กรนี้ คือ องค์การท่องเที่ยวโลก แห่งสหประชาชาติ (UNWTO)
จัดหน่วยเคลื่อนที่เผยแพร่ ความรู้ด้านการท่องเที่ยว และรักษาทรัพยากร
2506 จัดสัมมนาเรื่องการท่องเที่ยว ครั้งแรก “การเดินทางและ การท่องเที่ยว”
36
2510
2527 จัดทําโครงการส่งเสริม มาตรฐานภัตตาคาร ร้านอาหาร สําหรับ นักท่องเที่ยว
2551
กิจกรรม Countdown ครัง ้ แรก
2552
2543
2553
จัดเทศกาลดนตรีพัทยามิวสิค เฟสติวัล จังหวัดชลบุรี
2545
ประกาศปีท่องเที่ยวอีสาน (Visit Isan Year)
2557
จัดทําโครงการ Thailand Grand Sale
2546 2530
โครงการ 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด
จัดเทศกาลภาพยนตร์ นานาชาติกรุงเทพฯ (Bangkok International Film Festival)
2558
ประกาศปีท่องเที่ยวไทย ครั้งที่ 2 (Visit Thailand Year 1987)
2547
โครงการ 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด พลัส
โครงการ “วันธรรมดา ที่ไม่ธรรมดา”
2559
2531
2549
ประกาศปีศิลปหัตถกรรม
งานมหกรรมพืชสวนโลก ที่จังหวัดเชียงใหม่
2540
2560 โครงการ “เขาเล่าว่า...”
The Link นําเสนอจุดแข็ง ท่องเที่ยวชุมชน เชื่อมโยงสู่นานาชาติ
ส่งเสริมท่องเที่ยวเมืองรอง 55 เมือง
2550
2560
2533
2540
2551
2560
จัดทําโครงการอบรมผู้นํา เยาวชนเพื่ออนุรักษ์ พิทักษ์ท่องเที่ยวไทย
ตัง ้ กองอนุรก ั ษ์ พร้อมนําเสนอคําขวัญ “พัฒนาคูอ ่ นุรก ั ษ์ พิทก ั ษ์ทอ ่ งเทีย ่ วไทย”
จัดสัมมนา ผลกระทบโลกร้อน ต่อการท่องเทีย ่ ว
โครงการ A’Maze ส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในกลุ่มครอบครัวรุ่นใหม่
2535 ก่อตัง ้ มูลนิธพ ิ ท ิ ก ั ษ์สง ่ิ แวดล้อม และการท่องเทีย ่ ว ต่อมา ในปี พ.ศ. 2563 เปลีย ่ นชือ ่ เป็น มูลนิธเิ พือ ่ การท่องเทีย ่ ว อย่างยั่งยืน
2537 จัดตั้งคณะกรรมการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism)
2539
2541
ตัง ้ มูลนิธใิ บไม้เขียว ประกาศใช้นโยบายการท่องเทีย ่ ว เชิงนิเวศแห่งชาติ
2542 จัดทําจดหมายข่าวเครือข่าย การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism Newsletter)
2543 ผลักดันโครงการมอบรางวัล อุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วไทย (Thailand Tourism Awards) หรือรางวัลกินรี
นําเสนอแนวคิดและหลักการ เกีย ่ วกับการพัฒนาการท่องเทีย ่ ว รูปแบบ Homestay
2553
ขับเคลื่อน
2530
02
2542
เสนอแนวคิดการประชาสัมพันธ์ “เทีย ่ วหัวใจใหม่ เมืองไทยยัง่ ยืน”
2559
โครงการรณรงค์ปญ ั หาขยะ Trash Hero, Thailand
โครงการ Village to the World ปฏิบต ั ก ิ ารเพิม ่ มูลค่าและยกระดับ การท่องเทีย ่ วชุมชน
โครงการรณรงค์การใช้ทรัพยากร หมุนเวียน Upcycling the Oceans, Thailand
37
2503
2518 จัดทําสารคดีท่องเที่ยวเรื่องแรก Destination Thailand
Timeline การสือ ่ สารและ ประชาสัมพันธ์ 38
จัดทําอนุสาร อ.ส.ท. ฉบับปฐมฤกษ์
2500
2510
2520
02
2550
2540
นําแคมเปญ Amazing Thailand กลับมาใช้ใหม่และนําเสนอ แคมเปญสําหรับตลาดในประเทศ คือ เก็บเมืองไทยให้สวยงาม ประชาสัมพันธ์ Exotic Thailand
2552
2541
นําเสนอแคมเปญ “เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก”
เริ่มใช้แคมเปญ Amazing Thailand 2541-2542
2553
2543
ใช้แคมเปญ Amazing Thailand: Always Amazes You
ใช้แคมเปญ Amazing Thailand 2000: Enchantment for the Next Thousand Years
ใช้แคมเปญ “เที่ยวหัวใจใหม่ เมืองไทยยั่งยืน”
2555
ใช้แคมเปญ Amazing Thailand: Experience Variety
นําเสนอแคมเปญ Miracle Year of Amazing Thailand
สําหรับตลาดในประเทศ ใช้แคมเปญ Unseen Thailand
2556
2547 ใช้แคมเปญ Amazing Thailand: Unseen Treasures
และนําเสนอมาสคอต น้องสุขใจ
2548
2549 เปลีย ่ นแคมเปญจาก Thailand: Happiness on Earth เป็น Thailand Grand Invitation
2540
ใช้แคมเปญ หลงรักประเทศไทย
2557 ใช้แคมเปญ Amazing Thailand: It Begins with the People
2560 นําเสนอแคมเปญ Amazing Thailand: Open to the New Shades
2558
และท่องเที่ยววิถีไทย เก๋ไก๋ สไตล์ลึกซึ้ง
ประกาศปีท่องเที่ยววิถีไทย
เปลี่ยนแคมเปญจาก Amazing Thailand เป็น Thailand: Happiness on Earth
2530
ขับเคลื่อน
2546
2559 2561 เปลีย ่ นโลโก้ Amazing Thailand และนําเสนอสโลแกน ท่องเที่ยววิถีไทย เก๋ไก๋ ไม่เหมือนใคร
2550
Amazing ไทยเท่
2560
39
40
A Story Based on True Journey
03
TAT The Journey
03
เตือนภัยวิกฤต ภาวะวิกฤต หมายความถึง สถานการณ์ทอ ี่ ยูใ่ นขัน ้ เป็นอันตรายร้ายแรง ส่งผลต่อชีวต ิ และทรัพย์สินในวงกว้าง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
ทั่วโลก ปี พ.ศ. 2526 วิกฤตเศรษฐกิจเอเชีย ปี พ.ศ. 2540 วิกฤตสถาบันการเงินใน สหรัฐอเมริกา หรือวิกฤต Lehman Brothers ปี พ.ศ. 2551 และ วิกฤตหนีส ้ าธารณะยุโรป หรือวิกฤตยูโรโซน ประมาณปี พ.ศ. 2552
ขับเคลื่อน
วิกฤตเศรษฐกิจ เช่น วิกฤตราคาน้ํามัน ปี พ.ศ. 2513 และ 2519 วิกฤตเศรษฐกิจตกต่าํ
วิกฤตการเมืองการก่อการร้าย เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย (Gulf War) ปี พ.ศ. 2534 เหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน หรือเหตุการณ์ 9/11 ปี พ.ศ. 2544 เหตุการณ์ วินาศกรรมเกาะบาหลี Bali Bomb ปี พ.ศ. 2545 สําหรับเหตุการณ์ความไม่สงบ ทางการเมืองและการก่อการร้ายในประเทศไทย ซึง ่ มีระดับความรุนแรงไม่มาก แต่สง ่ ผล ต่อภาพลักษณ์ของประเทศ เช่น ปี พ.ศ. 2551 เหตุการณ์ปิดสนามบินนานาชาติ ดอนเมืองและสุวรรณภูม/ ิ ยึดทําเนียบรัฐบาล ปี พ.ศ. 2553 เหตุการณ์ชม ุ นุมทางการเมือง ในกรุงเทพฯ ปี พ.ศ. 2558 เกิดเหตุระเบิดที่ศาลพระพรหมเอราวัณ วิกฤตโรคระบาดและโรคอุบต ั ใิ หม่ เช่น การแพร่ระบาดของโรคซาร์สในเอเชีย (SARS) ปี พ.ศ. 2546
การระบาดของไข้หวัดนก (Bird Flu) ในเอเชีย ปี พ.ศ. 2547
และโรค COVID-19 ในสาธารณรัฐประชาชนจีนและอีกหลายประเทศเป็นบริเวณกว้าง ปี พ.ศ. 2563 วิกฤตพิบัติภัยธรรมชาติ เช่น เหตุการณ์สน ึ ามิทป ่ี ระเทศไทย ปี พ.ศ. 2547 แผ่นดินไหว ที่เฮติ ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้น 41 41
TAT The Journey
3.1
วิกฤตทีส ่ ง ่ ผลต่ออุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วไทย
ตลอด 60 ปีทผ ่ี า่ นมา อุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วไทยเผชิญวิกฤตมาเป็นระยะ ทัง ้ วิกฤตที่ เกิดขึน ้ จากต่างประเทศและวิกฤตทีเ่ กิดขึน ้ ในประเทศ ทัง้ วิกฤตการเมือง การก่อการร้าย
วิกฤตพิบัติภัยธรรมชาติ วิกฤตเศรษฐกิจ และวิกฤตโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ จากการติดตามวิกฤตที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมา
กับผลกระทบทางลบที่ส่งผล
ให้จํานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยลดลง พบว่ามี
A Story Based on True Journey
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติลดลงเพียง 7 ครั้ง ดังรายละเอียด
2526
สถานการณ์เศรษฐกิจ
-1.24%
$
ตกต่าํ ทัว่ โลก (World
Economic Recession)
-1.15%
¥
2548
ประเทศไทย
ประสบภัยพิบัติสึนามิ ปลายปี พ.ศ. 2547
€
-2.98%
2552
-4.00% 2534
เกิดสงครามอ่าวเปอร์เซีย
เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจ ตกต่าํ ทัว่ โลกและเกิด
ความไม่สงบทางการเมือง ภายในประเทศ
-6.54% -6.92%
2519
วิกฤตราคาน้าํ มันโลก
และเหตุการณ์ความไม่สงบ
ทางการเมืองภายในประเทศ
2557
วิกฤตการเมืองภายในประเทศ
-7.36%
2546
เกิดการระบาดของโรค SARS (Severe Acute Respiratory: SARS)
42
03
เมื่อพิจารณาวิกฤตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและส่งผลต่อการลดลงของจํานวนนักท่องเที่ยว มีข้อสังเกต ดังนี้
วิกฤตทีเ่ กิดจากปัจจัยต่างประเทศ ไม่วา่ จะเป็นวิกฤตราคาน้าํ มันโลก เศรษฐกิจตกต่าํ ทัว่ โลก หรือวิกฤตการเมือง การก่อการร้าย หรือวิกฤตโรคระบาดต่าง ๆ ล้วนเป็นเรือ ่ ง
ที่นอกเหนือจากการควบคุมของรัฐบาล ดังนั้น วิธีการรับมือกับวิกฤตลักษณะนี้คือ การส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
วิกฤตร้ายแรงมากในระดับโลกหลายวิกฤตกลับไม่สง่ ผลต่อการลดลงของนักท่องเทีย ่ ว
ประเทศไทย เช่น วิกฤตเศรษฐกิจเอเชีย (Asia Economic Crisis) ในปี พ.ศ. 2540 เหตุการณ์ 9/11 ทีส ่ หรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2544 หรือการระบาดของโรคไข้หวัดนก ในปี พ.ศ. 2547
วิกฤตโรคระบาด โรคอุบต ั ใิ หม่ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 เกิดการแพร่ระบาดของ
ประกาศตัง ้ ชือ ่ อย่างเป็นทางการว่า COVID-19 ซึง่ ย่อมาจาก Coronavirus Disease 2019 และ WHO ย้ําเตือนให้ทั่วโลกพิจารณาหาแนวทางในการป้องกันการแพร่ระบาด
เนื่องจาก COVID-19 กําลังส่งผลกระทบร้ายแรงต่อเศรษฐกิจและสังคม มากกว่า การก่อการร้าย
เตือนภัยวิกฤต
โคโรนาไวรัส สายพันธุใ์ หม่ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)
วิกฤตฝุน ่ PM 2.5 ทีเ่ กิดขึน ้ ในประเทศไทย ทัง้ ทีจ ่ งั หวัดเชียงใหม่และกรุงเทพมหานคร
ในปี พ.ศ. 2562 ส่งผลให้ พืน ้ ที่ 2 แห่งในประเทศไทยคือเชียงใหม่และกรุงเทพมหานคร ติดอันดับเมืองทีม ่ ป ี ญ ั หาฝุน ่ ควันเป็นอันดับหนึง ่ ของโลก
ในช่วงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา ประเทศไทยเกิดปัญหาการเมืองภายใน ประเทศ
ทําให้เกิดการเผชิญหน้าระหว่างคนไทยที่มีความคิดเห็นทางการเมือง
ที่แตกต่างกัน เกิดเหตุการณ์ความรุนแรง ความสูญเสียชีวิต และภาพลักษณ์เรื่อง
ความไม่ปลอดภัยของประเทศ ส่งผลให้ปี พ.ศ. 2552 และปี พ.ศ. 2557 จํานวน นักท่องเทีย ่ วชาวต่างชาติทม ่ี าท่องเทีย ่ วในประเทศจึงลดลง
การรับมือกับปัญหาใน
ลักษณะนี้ คือการฟื้นฟูภาพลักษณ์ของประเทศให้กลับคืนมา
43
TAT The Journey
3.2
การรับมือวิกฤต
พ.ศ. 2550 ททท. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการวางแผนการท่องเที่ยวและ ศูนย์ปฏิบัติการในภาวะวิกฤต (ศวก.) ศูนย์ ฯ นีจ ้ ะทํางานเน้นในประเด็นเรือ ่ งการสือ ่ สารในภาวะวิกฤต โดยร่วมมือกับหน่วยงาน
ทัง ้ ภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย ่ วข้องกับวิกฤตแต่ละประเภททีเ่ กิดขึน ้ ในช่วงนัน ้ ๆ โดยการ
วางแผนดําเนินการจะแบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา คือ ช่วงก่อนเกิดวิกฤต ระหว่างวิกฤต และหลังวิกฤต
การดําเนินการในช่วงหลังวิกฤต นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยลดลง เช่น วิกฤตน้าํ มัน
ขึน ้ ราคา ปี พ.ศ. 2523 ภาวะเศรษฐกิจตกต่าํ ทัว่ โลก ปี พ.ศ. 2526 วิกฤตสงคราม
A Story Based on True Journey
อ่าวเปอร์เซีย ปี พ.ศ. 2534 และพฤษภาทมิฬ ปี พ.ศ. 2535 ททท. จึงใช้แคมเปญ “The World Our Guest” เชิญชวนให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในช่วงที่เกิดปัญหาการเมืองภายในประเทศ เกิดปัญหาเกี่ยวกับภาพลักษณ์ด้าน
ความปลอดภัย ททท. เชิญสือ ่ มวลชนทัว่ โลกมาไทยเพือ ่ ยืนยันว่า ประเทศไทยปลอดภัย
3.3
วิกฤตทีค ่ าดว่าจะต้องเผชิญในอนาคต จากรายงานของ World Economic Forum: WEF ระบุวา่ วิกฤตทีจ ่ ะเกิดขึน ้ ในอนาคต ประกอบด้วย
1. หนีส ้ น ิ ล้นโลก และจะมีอต ั ราสูงมากเป็นประวัตก ิ ารณ์ 2. ปัญหาความผันผวนจากตลาดเกิดใหม่ 3. สงครามการค้าระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกา 4. วิกฤตการเงินของภาคธนาคาร 5. การโจมตีทางไซเบอร์ นอกจาก World Economic Forum แล้วสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ (สศช.)เตือนให้ตง้ั รับสถานการณ์เศรษฐกิจโลกถดถอยส่งสัญญาณขาลงและ ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจยูโรโซน ที่มีปัญหาเกือบทุกประเทศ ทั้งฝรั่งเศส อิตาลี 44
และเยอรมนี วิกฤตที่ สศช. ให้ความสนใจอีกวิกฤตหนึ่ง คือเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา
03
ศ. ดร. สุรชาติ บํารุงสุข คาดการณ์สถานการณ์โลกที่ประเทศไทยต้องเตรียมรับมือ
รวมทัง้ ปัญหาความมัน ่ คงภายในประเทศ ประเด็นทีน ่ า่ สนใจในประเด็นเรือ ่ งวิกฤตโลก คือ ปัญหาความมัน ่ คงทางการเมืองระหว่างประเทศ (International Security) ทีม ่ จ ี น ี เป็นมหาอํานาจใหม่ และสหรัฐอเมริกาคือมหาอํานาจเก่า
ปัญหาความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (Economic Security) เป็นการต่อสู้ที่เรียกว่า
สงครามการค้า คูข ่ นานกับสงครามการเงิน จากสถานการณ์เช่นนี้ จึงมีความเป็นไปได้วา่ เศรษฐกิจโลกอาจอยูใ่ นภาวะถดถอย
ปัญหาความมั่นคงด้านพลังงาน (Energy Security) เป็นความขัดแย้งระหว่าง
สหรัฐอเมริกากับอิหร่าน ที่จะนําไปสู่ปัญหาในช่องแคบฮอร์มุซ (Strait of Hormuz)
ซึ่ ง เป็ น ช่ อ งแคบที่ มี ค วามสํ า คั ญ ทางยุ ท ธศาสตร์ ที่ ตั้ ง อยู่ ร ะหว่ า งอ่ า วโอมาน ทางตะวันออกเฉียงใต้ และอ่าวเปอร์เซีย ทางตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นเส้นทางหลัก ปัญหาความมั่นคงภายใน (Internal Security) โดยเฉพาะปัญหาในพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้
ปัญหาความมั่นคงของเมืองและการก่อการร้ายในเมือง (Urban Terrorism)
การเตรียมเมืองเพื่อรองรับกับความรุนแรง การก่อการร้ายถือว่าเป็นโจทย์ใหม่
เตือนภัยวิกฤต
ของการขนส่งพลังงานของโลก
ที่สาํ คัญมาก
ปัญหาความมั่นคงทางการเมือง (Political Security) ถ้าหากรัฐบาลแก้ปัญหา ความมัน ่ คงทางการเมืองไม่ได้ จะก่อให้เกิดปัญหาเรือ ่ งเสถียรภาพ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ และความมั่นคง ปัญหาความมั่นคงเรื่องน้ํา ครอบคลุมตัง้ แต่ปญ ั หาภัยแล้ง ปัญหาการขาดแคลนน้าํ และความขัดแย้งเรือ ่ งน้าํ
สําหรับประเทศไทยจําเป็นอย่างยิง ่ ทีจ ่ ะต้องมีการบริหาร
จัดการน้าํ ทีด ่ ี เพือ ่ เป็นหลักประกันว่าประเทศจะมีนาํ้ อุปโภคบริโภคและทําการเกษตร
อย่างไรก็ตาม ปัญหาความมั่นคงเรื่องน้ํายังโยงกับแม่น้ําโขงที่ปัจจุบันอยู่ภายใต้ การใช้และควบคุมของจีนในฐานะ “รัฐต้นน้าํ ”
ปัญหาความมั่นคงเรื่องอาหาร (Food Security) หากประเทศไทยประสบปัญหา ภัยแล้ง การทําการเกษตรและการผลิตอาหารก็จะได้รบ ั ผลกระทบไปด้วย
ปัญหาการอพยพของคน (Migration) เป็นปัญหาความมัน ่ คงใหม่ โดยเฉพาะใน ประเด็นเรือ ่ งผูอ ้ พยพทางการเมืองและการอพยพของชาวจีนทีม ่ าอยูเ่ มืองไทยมากขึน ้
ปัญหาความมั่นคงด้านสุขภาพ ประเด็นปัญหาล่าสุด คือฝุ่น PM 2.5 ที่สะท้อนว่า สิง ่ แวดล้อมไทยเผชิญสภาวะทีเ่ ป็นมลพิษเพิม ่ ขึน ้
45
TAT The Journey
3.4
UNWTO ข้อเสนอแนะด้านความเสี่ยงและวิกฤต ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
องค์การท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ (World Tourism Organization: UNWTO) ให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการความเสี่ยงและภาวะวิกฤต กิจกรรมที่ UNWTO
ดําเนินการให้กับสมาชิกจะครอบคลุมเกี่ยวกับการจัดทําเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้อง ในลักษณะคูม ่ อ ื แผนบริหารจัดการ แนวทางการปฏิบต ั ริ วมไปถึงการจัดประชุมสัมมนา
และการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเหล่านี้มีส่วนสนับสนุนให้สมาชิกสามารถ รับมือกับความเสี่ยง วิกฤตเพื่อลดผลกระทบให้น้อยที่สุด
พันธกิจของ UNWTO เกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยงและวิกฤตในอุตสาหกรรม
ท่องเที่ยว คือ การประสานงานกับองค์กรและหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้อง ตัวอย่างหน่วยงาน ที่ UNWTO ประสานงาน เช่น
A Story Based on True Journey
World Health Organization: WHO
46
The International Strategy for Disaster Reduction: ISDR
International Federation of Red Cross and Crescent: IFRC International Civil Aviation Organization: ICAO
The Organization for Security and Cooperation in Europe: OSCE
และ The United Nation Interregional Crime and Justice Research Institute: UNICRI เอกสารวิชาการทีเ่ กีย ่ วข้องกับการบริหารจัดการความเสีย ่ งและภาวะวิกฤตที่ UNWTO จัดทําและเผยแพร่มห ี ลายรายการ เช่น •
Toolbox for Crisis Communications in Tourism:
•
Tourist Safety and Security:
Checklists and Best Practice (2011)
Practical Measures for Destination (1996)
03
เอกสาร Toolbox for Crisis Communications in Tourism: Checklists and Best Practice ของ UNWTO เป็นเอกสารทีก ่ ล่าวถึงขัน ้ ตอนการบริหารจัดการการท่องเทีย ่ ว และการสือ ่ สารในภาวะวิกฤต สรุปสาระสําคัญได้ดง ั นี้
ให้แต่ละประเทศจัดตั้ง National Safety and Security Committee และจัดทํา National Tourism Safety and Security Plan
การกําหนดนโยบายการสือ ่ สารในภาวะวิกฤต และจัดตัง้ Crisis Management Team Crisis Communication Team พร้อมกําหนดโครงสร้างหน้าที่ และกระบวนการทํางาน การจัดตัง ้ หน่วยดูแลผูไ้ ด้รบ ั ผลกระทบและครอบครัว การประเมินผลกระทบทีเ่ กิดขึน ้
โดยการจัดเก็บสถิตก ิ อ ่ น ระหว่าง และหลังเหตุการณ์ พร้อมทัง้ การสํารวจทัศนคติ ของลูกค้าที่มีต่อจุดหมายปลายทางก่อน–ระหว่าง–หลังเหตุวิกฤต
(Press Release) ทั้งช่วงก่อนวิกฤตและหลังวิกฤต รวมทั้งการจัดเตรียมคําแถลง พร้อมโฆษก และเผยแพร่ข้อเท็จจริง (Fact Sheet) ที่เกิดขึ้น
การใช้สอ ่ื ใหม่ (New Media) ทัง ้ Website Internet และสือ ่ สังคมออนไลน์ (Social Media) เช่น Facebook, Twitter, Youtube เป็นต้น
เตือนภัยวิกฤต
กําหนดนโยบายและกระบวนการสําหรับสือ ่ ครอบคลุมเรือ ่ งการจัดทําข่าวประชาสัมพันธ์
Crisis Survey การสํารวจบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะวิกฤต ควรดําเนินการ
ในความถี่ 1 เดือนหลังเกิดเหตุ 3 เดือนหลังเกิดเหตุ 1 ปีหลังเกิดเหตุ การสํารวจ ครอบคลุมกลุม ่ บุคคล •
Visitor Survey (Domestic/International Visitors)
•
Residents Survey
•
Crisis Response Team Survey
47
TAT The Journey
สถิตน ิ ก ั ท่องเทีย ่ วระหว่างประเทศทีเ่ ดินทางเข้าประเทศไทย ที่มา : ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว ททท.
จํานวนนักท่องเที่ยว
A Story Based on True Journey
รายได้จากนักท่องเที่ยว (ล้านบาท)
48
628,671
+33.82
2,175
638,738
+1.60
2,214
+1.79
820,758
+28.50
2,718
+22.76
1,037,737
+26.44
3,457
+27.19
1,107,392
+6.71
3,852
+11.43
1,180,075
+6.56
4,538
+17.81
1,098,442
-6.92
3,990
-12.08
1,220,672
+11.13
4,607
+15.46
1,453,839
+19.10
8,894
+93.05
1,591,455
+9.47
11,232
+26.29
1,858,801
+16.80
17,765
+58.16
2,015,615
+8.44
21,455
+20.77
2,218,429
+10.06
23,879
+11.30
2,191,003
-1.24
25,050
+4.90
2,346,709
+7.11
27,317
+9.05
2,438,270
+3.90
31,768
+16.29
2,818,092
+15.58
37,321
+17.48
3,482,958
+23.59
50,024
+34.04
4,230,737
+21.47
78,859
+57.64
4,809,508
+13.68
96,386
+22.23
5,298,860
+10.17
110,572
+14.72
5,086,899
-4.00
100,004
-9.56
5,136,443
+0.97
123,135
+23.13
5,760,533
+12.15
127,802
+3.79
6,166,496
+7.05
145,211
+13.62
6,951,566
+12.73
190,765
+31.37
7,192,145
+3.46
219,364
+14.99
7,221,345
+0.41
220,754
+0.63
7,764,931
+7.53
242,177
+9.70
8,580,332
+10.50
253,018
+4.48
9,508,623
+10.82
285,272
+12.75
10,061,950
+5.82
299,047
+4.83
10,799,067
+7.33
323,484
+8.17
10,004,453
-7.36
309,269
-4.39
11,650,703
+16.46
384,360
+24.28
11,516,936
-1.15
367,380
-4.42
13,821,802
+20.01
482,319
+31.29
14,464,228
+4.65
547,782
+13.57
14,584,220
+0.83
574,521
+4.88
14,149,841
-2.98
510,225
-11.19
15,936,400
+12.63
592,794
+16.18
19,230,470
+20.67
776,217
+30.94
22,353,903
+16.24
983,928
+26.76
26,546,725
+18.76
1,207,146
+22.69
24,809,683
-6.54
1,172,798
-2.85
29,923,185
+20.61
1,457,150
+24.25
32,529,588
+8.71
1,633,498
+12.10
35,591,978
+9.41%
1,831,105
+12.10
38,178,194
+7.27
1,876,137
+2.46
39,797,406
+4.24
1,933,368.23
+3.05
+22.88
Remarks 1970 1971 1972 1973 1974 1975 1976 1977 1978 1979 1980 1981 1982 1983 1984 1985 1986 1987 1988 1989 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019
> 1 Million Tourists 1st Oil Crisis 1st Decreased
Upgrading TOT. to TAT. 2nd Oil Crisis
> 2 Million Tourists Revenue from Tourism > Other export World Economic Recession, 2nd Decreased
Visit Thailand Year > 3 Million Tourists > 4 Million Tourists > 5 Million Tourists Gulf War Crisis, 3rd Decreased May Incident > 6 Million Tourists > 7 Million Tourists
เตือนภัยวิกฤต
2513 2514 2515 2516 2517 2518 2519 2520 2521 2522 2523 2524 2525 2526 2527 2528 2529 2530 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
Asian Economic Crisis Amazing Thailand 1998-1999 > 8 Million Tourists
40th Anniversary TAT Terrorism in the US on Sep. 11 Bali Bomb on Oct.12 SARS on Mar.-Jul. Bird Flu and Southern Uprising Effects after Tsunami Thailand Coup d’e’tat Political Issue: Bomb Series Political Issue: Airport Closure/Financial Crisis H1N1/European Debt Crisis Thailand’s Political Instability Severe Flooding in Thailand Hat Yai and Yala Bombing Attack Thailand’s Political Instability Thailand Coup d’e’tat Discover Thainess/Ratchaprasong Bombing Zero-Dollar Tour
China Market Recovery, Thai Baht Strength, US-China Trade
49
TAT The Journey
สถิตก ิ ารท่องเทีย ่ วภายในประเทศของนักท่องเทีย ่ วชาวไทย ที่มา : ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว ททท.
จํานวนนักท่องเที่ยว (คน-ครั้ง)
A Story Based on True Journey
รายได้จากนักท่องเที่ยว (ล้านบาท)
39,318,600 39,975,249
+1.67
42,880,641
+7.27
39,400,068
-8.12
35,945,709
-8.77
38,699,243
+7.66
42,646,456
+10.20
52,256,566
+22.53
148,113
52,465,944
+0.40
157,323
+6.22
52,053,251
-0.79
180,388
+14.66
51,684,035
-0.71
187,898
+4.16
53,624,843
+3.76
203,179
+8.13
54,740,239
+2.08
210,516
+3.61
58,620,802
+7.09
223,732
+6.28
61,817,498
+5.45
235,337
+5.19
69,356,898
+12.20
289,987
+23.22
74,795,188
+7.84
317,225
+ 9.39
79,531,222
+6.33
334,717
+5.51
81,490,200
+2.46
365,276
+9.13
83,234,780
+2.14
380,417
+4.15
402,574
101,329,922 109,360,514
+7.93
483,225
+20.03
116,896,062
+6.89
578,001
+19.61
132,215,204
+13.10
660,715
+14.31
134,387,338
+1.64
701,451
+6.17
139,014,895
+3.44
803,073
+14.49
+5.22
882,204
+9.85
158,515,291
+ 7.11
989,613
+11.57
166,942,490
+5.32
1,071,342
+8.26
166,849,017
-0.06
1,083,934
+1.18
146,267,572
50
2532 2533
1989
เที่ยวไทยให้ครบ พบไทยให้ทั่ว ปี 2532-2535
1990
2534
1991
สงครามอ่าวเปอร์เซีย วิกฤตการณ์น้ํามันโลก ภาวะเศรษฐกิจถดถอย รัฐประหารยึดอํานาจรัฐบาล พล. อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ
2535
1992
วิกฤตการเมืองไทย “พฤษภาทมิฬ”
2536 2537 2538 2539 2540
1993 1994
ปีรณรงค์วัฒนธรรมไทย
1995
รณรงค์ “ไทยเที่ยวไทย”
1996 1997
2541
1998
2542
1999
2543 2544 2545
วิกฤตเศรษฐกิจไทย “ต้มยํากุ้ง” “Amazing Thailand ปีท่องเที่ยวไทย” ปี 2541-2542
2000 2001
วินาศกรรม 9/11 ในสหรัฐอเมริกา
2002
“เที่ยวเมืองไทย ไม่ไปไม่ร”ู้ “เที่ยวทั่วไทย ไปได้ทุกเดือน”
2003
วิกฤตโรคซาร์สระบาดในเอเชีย กระตุ้นท่องเที่ยวในประเทศทดแทน
2547
2004
เริ่มต้นปัญหาความไม่สงบ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ วิกฤตภัยธรรมชาติสึนามิพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามัน
2548
2005
2546
Campaign
“มุมมองใหม่ เมืองไทย (Unseen Thailand)” “เที่ยวที่ไหนไม่สุขใจเท่าบ้านเรา”
2549
2006
รัฐประหารยึดอํานาจรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร ระเบิดกรุงเทพฯ ช่วงส่งท้ายปีเก่า
“ปีแห่งการเฉลิมฉลอง ท่องเที่ยวทั่วไทย”
2550
2007
ชุมนุมประท้วงขับไล่รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช การก่อการร้ายระเบิดกลางเมืองหาดใหญ่ จ.สงขลา
“เที่ยวไทยให้สนุก เติมความสุขให้ชีวิต” ปี 2550-2551
2551
2008
กลุ่มพันธมิตรฯ ปิดสนามบินสุวรรณภูมิและดอนเมือง ผลกระทบวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์
2552
2009
การระบาดไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 “เมษาจลาจล” กลุ่ม นปก. นปช. จลาจลในเขตกรุงเทพฯและพัทยา
“เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก” ปี 2552-2553
2553
2010
กลุ่ม นปก. นปช. เผาเซ็นทรัลเวิลด์ (ราชประสงค์) มาตรการลดหย่อนภาษีท่องเที่ยว ปี 2553-2554
“เทีย ่ วหัวใจใหม่ เมืองไทยยัง่ ยืน”
2554
2011
“มหาอุทกภัย” ในพื้นที่ภาคกลางและกรุงเทพฯ
2555
2012 2013
เริ่มต้นการชุมนุมขับไล่รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (ปลายปี 2556)
2557
2014
รัฐประหารยึดอํานาจรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (พ.ค. 2557)
2558
2015
การยกเลิกกฎอัยการศึก (1 เม.ย. 2558) ระเบิดแยกราชประสงค์ (ส.ค. 2558) กระตุ้นท่องเที่ยวเมืองรอง “12 เมืองต้องห้าม...พลาด” ปีแรก
“ปีท่องเที่ยววิถีไทย” ปี 2558-2560
2559
2016
เหตุการณ์ลอบวางระเบิดในพื้นที่ภาคใต้และหัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 สวรรคต (13 ต.ค. 2559) การเพิ่มมาตรการลดหย่อนภาษีท่องเที่ยว (ช่วงสงกรานต์และ ธ.ค. 2559)
“ปีท่องเที่ยววิถีไทย” ปี 2558-2560
2560
2017
มหาอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ (ปลายปี 2559 ถึงปี 2560) ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
“ปีท่องเที่ยววิถีไทย” ปี 2558-2560
2561
2018
กระตุ้นท่องเที่ยว 55 เมืองรองเป็นปีแรก มาตรการลดหย่อนภาษี 55 เมืองรอง ทั้งปี 2561
Amazing ไทยเท่ เริ่มเมษายน 2561
2562
2019
เศรษฐกิจไทยชะลอตัว รัฐออกมาตรการเศรษฐกิจผ่านการท่องเทีย ่ ว “ชิม ช้อป ใช้“
2556
03
Remarks
1988
เตือนภัยวิกฤต
2531
“หลงรักประเทศไทย” ปี 2556-2557
มาตรการลดหย่อนภาษีท่องเที่ยว (กลาง ธ.ค. ปี 2557-2558)
51
52
A Story Based on True Journey
04
TAT The Journey
04
จับจริตความสุข ในปี พ.ศ. 2550 มีหนังสือวิชาการซึ่งเขียนโดย Linda Nazareth ชื่อ The Leisure Economy: How Changing Demographics, Economics and Generational Attitudes will Reshape Our Lives and Our Industries เป็นหนังสือทีว ่ า่ ด้วย กับชีวิต และเกี่ยวข้องกับผู้บริโภค นักลงทุน นักธุรกิจ และกลุ่มบุคคลที่ร่างนโยบาย ลัลลา อีโคโนมี ความสุข ขายได้
จับจริตความสุข
ระบบเศรษฐกิจที่ใส่ใจการพักผ่อนและสร้างประสบการณ์ที่ดี ซึ่งเริ่มเข้ามามีบทบาท
“สิง ่ ทีเ่ ป็นความสุขนัน ้ มันขายได้” คือแนวคิดของลัลลา อีโคโนมี ซึง ่ ศาสตราจารย์พเิ ศษ อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้นําเสนอไว้ โดยระบุว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีจุดแข็ง เรื่องความรักสนุก ชอบการละเล่น น่ารัก มีเสน่ห์ ทําตัวสบาย ใจกว้าง รักการบริการ ดังนั้น ถ้าประเทศไทยสามารถให้บริการความสุข ความงาม ชุบชูจิตวิญญาณให้ดีขึ้น ก็สามารถนําเงินเข้าประเทศได้ การนําเอา Feeling Good มาขาย และมาเปลี่ยนเป็นการบริการจะสร้างให้เกิดมูลค่า มหาศาล และเป็นเศรษฐกิจที่เรียกว่าลัลลา อีโคโนมี ปัจจุบน ั นักท่องเทีย ่ วสามารถออกแบบความสุขผ่านรูปแบบการท่องเทีย ่ วทีห ่ ลากหลาย เป็นไปตาม Lifestyle ของแต่ละบุคคล ความสุขในระบบเศรษฐกิจใหม่ จะเป็นความสุข ทีค ่ รอบคลุมเรือ ่ งการได้มโี อกาสในการเสพงานศิลปะ ทัง ้ ดนตรีและภาพยนตร์ รวมถึง ความสุขที่ได้มีสุขภาพดี
ร่างกายแข็งแรง
จิตใจเบิกบาน
มีความสมดุลใน
การทํางานและการใช้ชีวิต (Work Life Balance)
53 53
TAT The Journey
4.1
ความสุขจากการท่องเทีย ่ วตามรอยภาพยนตร์
ภาพยนตร์ตา ่ งประเทศทีถ ่ า ่ ยทําโดยใช้ Location ในประเทศไทย ความพยายามของประเทศไทยที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้สถานที่ในประเทศไทย สําหรับการถ่ายภาพยนตร์ เป็นภารกิจของ Thailand Film Board สังกัดกรมการท่องเทีย ่ ว การดําเนินงานของ Thailand Film Board เพื่อสนับสนุนให้มีการใช้ประเทศไทย ในการถ่ายทําภาพยนตร์ คือการเผยแพร่ขอ ้ มูลเกีย ่ วกับขัน ้ ตอนการถ่ายทําภาพยนตร์ สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ รวมถึงรายชื่อผู้ประสานงานในท้องถิ่น นอกจากการจัดทํา
เอกสารเผยแพร่แล้ว Thailand Film Board ยังมีการจัดเทศกาลฉายภาพยนตร์ ต่างประเทศที่ถ่ายทําในประเทศไทยมาแล้ว 7 ครั้ง
จากการใช้ Location ในต่างประเทศเพือ ่ ถ่ายทําภาพยนตร์ ทําให้เกิดรูปแบบการท่องเทีย ่ ว A Story Based on True Journey
ทีไ่ ด้รบ ั ความนิยม คือ การท่องเทีย ่ วตามรอยภาพยนตร์ หรือ Movie Tourism สถานที่ ทีใ่ ช้ถา่ ยทําภาพยนตร์ (Location) เริม ่ ได้รบ ั ความสนใจ และเริม ่ มีการเดินทางท่องเทีย ่ ว ตามสถานทีท ่ ใ่ี ช้ถา่ ยทํา
ตัวอย่างรายชือ ่ ภาพยนตร์ตา่ งประเทศทีถ ่ า่ ยทําในประเทศไทย (List of Films Shot
in Thailand) และส่งผลให้เกิดความต้องการเดินทางท่องเทีย ่ วในประเทศไทย สามารถ ลําดับตามช่วงเวลาดังนี้ •
Around the World in 80 Days (1956)
•
James Bond 007: The Man with the Golden Gun (1974)
•
The Killing Fields (1984)
•
Good Morning Vietnam (1987)
•
Air America (1990)
•
James Bond 007: Tomorrow Never Dies (1997)
•
Bangkok Dangerous (1999)
ในช่วงปี พ.ศ.2543 ถึงปีปจ ั จุบน ั มีขอ ้ น่าสังเกตว่าภาพยนตร์ตา่ งประเทศทีใ่ ช้ Location ประเทศไทย นอกจากภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดแล้ว เริ่มเป็นภาพยนตร์จากเอเชีย เช่น ฮ่องกง อินเดีย จีน
ความนิยมท่องเทีย ่ วรูปแบบนี้ เริม ่ เป็นจริงจังมากขึน ้ ในประเทศไทย คือช่วงประมาณ ปี พ.ศ. 2543 คือปีทภ ่ี าพยนตร์เรือ ่ ง The Beach ออกฉาย และสถานทีถ ่ า่ ยทําคือ
อ่าวมาหยา จังหวัดกระบี่ จากสถิตจ ิ าํ นวนนักท่องเทีย ่ วทีเ่ ดินทางท่องเทีย ่ วจังหวัดกระบี่ ซึง ่ ในปีนั้นพบว่ามีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 18.68 เมื่อเปรียบเทียบกับ ปี พ.ศ. 2542
ภาพยนตร์ทส ่ี ร้างปรากฏการณ์มากทีส ่ ด ุ คือ ภาพยนตร์จน ี เรือ ่ ง Lost in Thailand
ออกฉายในปี พ.ศ. 2555 ทําให้มน ี ก ั ท่องเทีย ่ วจีนหลัง ่ ไหลเข้ามาท่องเทีย ่ วทีจ ่ ง ั หวัด เชียงใหม่เป็นจํานวนมาก และต่อมาในปี พ.ศ. 2558 ภาพยนตร์จน ี เรือ ่ ง Detective 54
Chinatown ใช้เยาวราชเป็น Location ทําให้คนจีนเดินทางมาท่องเทีย ่ วเยาวราชมากขึน ้
04
ภาพยนตร์ตา ่ งประเทศทีใ่ ช้สถานทีถ ่ า ่ ยทําในประเทศไทย และก่อให้เกิดกระแสการเดินทางท่องเทีย ่ ว
(2008)
Bangkok Dangerous ฯ ุ เทพ กรง
2547 (2004)
Bridget Jones: The Edge of Reason กร ุ เท ง พฯ
(2008)
The Hangover II
Rambo
ุ เทพฯ กระบี่ กรง
ื ภาคเหนอ
(2000)
The Beach
Detective Chinatown
เชย ี งใหม่
James Bond 007: Tomorow Never Dies
2517
Around the World in 80 Days
James Bond 007: The Man with the Golden Gun
(1974)
กรุงเทพฯ พง ั งา ภเู กต ็
(2015)
เยาวราช ก รง ุ เทพฯ
2536
2521 (1978)
Dear Hunter
ุ ี กรุงเทพฯ กาญจนบร
(2015)
No Escape
ี งใหม่ เชย
(1990)
Heaven & Earth
แม่ฮอ ่ งสอน
2558
2533
(1993)
กรุงเทพฯ
2499
กรง ุ เทพฯ
Lost in Thailand
(2012)
(1997)
กระบี่
(1956)
2558
2540
2543
พง ั งา ภเู ก ็ ต
2555
(2011)
จับจริตความสุข
2551
2554
2551
Air American
แมฮ ่ อ ่ งสอน
2532
2530 (1987)
Good Morning Vietnam
(1989)
Casualties of War
ื นอ ภาคเห ่ งสอน ่ อ แมฮ
า งั ง ฯพ พ ุ เท กรง
55
TAT The Journey
รูปแบบการเดินทางท่องเทีย ่ วตามรอยภาพยนตร์เป็นเทรนด์การเดินทางทีเ่ ริม ่ ได้รบ ั
ความสนใจมากขึ้นทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย ตัวอย่างสถานที่ท่องเที่ยวใน ประเทศไทยที่โด่งดังจากการเป็น Location ในการถ่ายทําภาพยนตร์ คือ เขาตาปู เกาะปันหยี จังหวัดพังงา อ่าวมาหยา จังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2517
ฉายภาพยนตร์ James Bond 007: The Man with the Golden Gun ซึง ่ ภาพยนตร์เรือ ่ งนีใ้ ช้ Location ทีเ่ ขาตาปู จังหวัดพังงา หลังจาก
ภาพยนตร์ฉาย ทําให้เขาตาปูมีชื่อเสียง มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามา เยีย ่ มชมเขาตาปูเป็นจํานวนมาก
A Story Based on True Journey
พ.ศ. 2543
ภาพยนตร์เรือ ่ ง The Beach ใช้ Location ทีอ ่ า่ วมาหยา จังหวัดกระบี่ ภายหลังจากการฉายภาพยนตร์เรื่องนี้ ทําให้นักท่องเที่ยวเดินทาง ไปยังจังหวัดกระบีเ่ พิม ่ มากขึน ้
พ.ศ. 2547 ภาพยนตร์เรือ ่ ง Bridget Jones: The Edge of Reason ใช้ Location ที่ เกาะปันหยี จังหวัดพังงา กรุงเทพฯ และนครปฐม
จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน พ.ศ. 2533
ภาพยนตร์เรื่อง Air America ถ่ายทําในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และ
พ.ศ. 2555
ภาพยนตร์ตลกจีนเรือ ่ ง Lost in Thailand หรือแก๊งม่วนป่วนไทยแลนด์
แม่ฮ่องสอน โดยภาพยนตร์เรื่องนี้มีนักแสดงไทยร่วมแสดงด้วย
ใช้ Location ทีจ ่ ง ั หวัดเชียงใหม่ ผลจากการฉายภาพยนตร์ ทําให้คนจีน เดินทางเข้ามาท่องเทีย ่ วจังหวัดเชียงใหม่เป็นจํานวนมาก
กรุงเทพมหานคร
56
พ.ศ. 2499
ภาพยนตร์เรื่อง Around the World in 80 Days
พ.ศ. 2543
ภาพยนตร์เรื่อง Bangkok Dangerous ออกฉาย และ Remake อีกครัง ้
พ.ศ. 2554
ภาพยนตร์เรื่อง The Hangover ภาค 2
พ.ศ. 2558
ภาพยนตร์จน ี เรือ ่ ง Detective Chinatown ทําให้คนจีนมาท่องเทีย ่ ว
ในปี พ.ศ. 2551
ทีเ่ ยาวราชจํานวนมาก
04
ภาพยนตร์ไทย ละครไทย ถ้าจะวิเคราะห์ภาพยนตร์ไทย ละครไทย ในแง่มม ุ ด้านการกระตุน ้ ให้เกิดการเดินทาง ท่องเทีย ่ ว จําเป็นต้องวิเคราะห์แยกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแรก คนไทยเดินทางท่องเทีย ่ ว ภายในประเทศจากกระแสภาพยนตร์ไทยและละครไทย
ส่วนที่สอง
ชาวต่างชาติ
เดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยจากกระแสภาพยนตร์ไทยและละครไทย
คนไทยเดินทางท่องเทีย ่ วภายในประเทศจากกระแสภาพยนตร์ไทยและละครไทย ตัวอย่างภาพยนตร์ไทยที่สร้างกระแสให้คนไทยเดินทางท่องเที่ยว เช่น ภาพยนตร์
เรือ ่ ง รักจัง (2549) ทําให้คนเดินทางไปท่องเทีย ่ วปายมากขึน ้ ภาพยนตร์เรือ ่ ง 15 ค่าํ
เดือน 11 (2545) กระแสของภาพยนตร์ทาํ ให้คนเดินทางไปท่องเทีย ่ วจังหวัดหนองคาย
มากขึ้น ภาพยนตร์เรื่อง รถไฟฟ้า มาหานะเธอ (2552) เกิดกระแสการเดินทาง นอกจากคนไทยจะท่องเทีย ่ วตามรอยภาพยนตร์ไทยแล้ว ละครไทยยังสร้างปรากฏการณ์
ท่องเที่ยวในกลุ่มคนไทยได้อย่างมากมาย ยกตัวอย่าง เช่น ตามรักคืนใจ (2558) นาคี (2559) บุพเพสันนิวาส (2561) กรงกรรม และกลิ่นกาสะลอง (2562)
ชาวต่ า งชาติ เ ดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วในประเทศไทยจากกระแสภาพยนตร์ ไ ทยและ ละครไทย ช่วงแรกของภาพยนตร์ไทยและละครไทยทีส ่ ง ่ ผลต่อการเดินทางท่องเทีย ่ ว
จับจริตความสุข
ตามรอยรถไฟฟ้า
ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ คือ พ.ศ. 2546 ภาพยนตร์เรื่อง องค์บาก นําแสดง
โดยทัชชกร ยีรัมย์ หรือจา พนม ได้รับความนิยมอย่างสูงในต่างประเทศ ถือว่าเป็น ภาพยนตร์ไทยที่ประชาสัมพันธ์มวยไทยให้โลกได้รู้จักและสร้างกิจกรรมท่องเที่ยว
เฉพาะทาง คือการชมกีฬามวยและการเรียนศิลปะมวยไทย ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยว จากหลายชาติเดินทางด้วยวัตถุประสงค์เกี่ยวกับกีฬามวยไทยมากขึ้น
57
TAT The Journey
4.2
ความสุขจากการท่องเทีย ่ วเชิงอาหาร
การท่องเทีย ่ วทีม ่ วี ต ั ถุประสงค์เพือ ่ การกินอาหาร ดืม ่ ชา กาแฟ มีการบัญญัตศ ิ พ ั ท์ เรียกทีห ่ ลากหลาย เช่น Food Tourism/Culinary Tourism/Gastronomy Tourism
ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวอย่างมาก จากรายงานของ World Food Travel
Association (WFTA) ระบุว่า Food Tourism เริ่มได้รับความสนใจในช่วง ประมาณปี พ.ศ. 2544-2555 เป็นความสนใจในกลุ่มนักท่องเที่ยวเล็ก ๆ ต่อมา
ในปี พ.ศ. 2555-2561 เริม ่ ได้รบ ั ความนิยมจนเป็นการท่องเทีย ่ วกระแสหลักเผยแพร่
ทัง ้ ในสือ ่ สังคมออนไลน์และรายการทางโทรทัศน์ โดย Food Tourism ในบริบทนี้ ครอบคลุมกิจกรรมต่าง ๆ ในมิติที่กว้างขวางมาก ตั้งแต่การสอนปรุงอาหาร
(Cooking Class) อาหารท้องถิ่น (Local Food) อาหารริมทาง (Street Food) ทัวร์ไวน์
และการรับประทานอาหารตามที่เชฟเป็นผู้สร้างสรรค์ หรือ “อาหารตามใจเชฟ” A Story Based on True Journey
(Cheftable) ซึ่งเป็นรูปแบบการกินอาหารที่เกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2530 โดยเจ้าของ ร้าน Charlie Trotter’s ในชิคาโก เป็นผูอ ้ อกแบบเมนูอาหารประมาณ 6-12 คอร์ส
โดยต้องจองล่วงหน้า และราคาสูง ปัจจุบัน Cheftable ได้รับความนิยมจากเหล่า นักกินในวงกว้าง รวมทัง ้ ในประเทศไทยด้วย
ในปี พ.ศ. 2561 ถึงปัจจุบัน พบว่าอาหารคือแรงจูงใจหลักที่ทําให้คนในโลกนี้
เดินทางท่องเที่ยว และใช้จ่ายเงินเพื่ออาหารในจํานวนที่สูง โดย WFTA จําแนก อาหารออกมาเป็น 13 ประเภท คือ Adventure (อาหารเพือ ่ การผจญภัย) Ambiance
(อาหารที่ให้ความสําคัญกับสถานที่) Authentic (ต้องเป็นอาหารของชาตินั้นแท้ ๆ)
Budget (อาหารราคาถูก) Eclectic (อาหารทีม ่ ค ี วามผสมผสาน) Gourmet (อาหารชัน ้ สูง) Innovative (ใช้นวัตกรรมมาทําอาหาร) Localist (เป็นอาหารพื้นเมือง) Novice (อาหารแปลกใหม่) Organic (อาหารอินทรีย)์ Social (ได้สงั สรรค์) Trendy (อาหารเก๋ ๆ) และ Vegetarian (มังสวิรัติ)
สําหรับการท่องเทีย ่ วเชิงอาหารในประเทศไทยเป็นการส่งเสริมอาหารไทยทีเ่ น้นเกีย ่ วกับ
ภูมป ิ ญ ั ญา ความหลากหลาย รสชาติอาหาร และภาพลักษณ์การส่งเสริมอาหารไทย ในช่วงอดีตที่ผ่านมานั้น
วางจุดเน้นในเรื่องอาหารชั้นสูง
ความประณีตและพิถีพิถันในการปรุง
การแกะสลักผักผลไม้
ความสวยงามและคุณค่าเชิงโภชนาการ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ททท. ดําเนินการศึกษาวิจย ั โครงการศึกษาภาพลักษณ์ด้าน
การท่องเทีย ่ วของประเทศไทยในสายตานักท่องเทีย ่ วชาวต่างชาติ ข้อค้นพบทีน ่ า่ สนใจ ในงานวิ จ ั ย ชิ ้ น นี ้ คื อ นั ก ท่ อ งเที ่ ย วต่ า งชาติ ท ี ่ เ ดิ น ทางท่ อ งเที ่ ย วในประเทศไทย
ให้ความนิยมในอาหารริมทาง หรือ Street Food โดยงานวิจย ั ระบุวา่ อาหารริมทาง ให้ความตืน ่ ตาตืน ่ ใจมากกว่าอาหารไทยชาววังและผักผลไม้แกะสลัก
58
04
การส่งต่อความสุขและสุขภาพดี ผ่านอาหารไทย ไปทั่วโลก เอกลักษณ์ของอาหารไทยมีความโดดเด่นและเป็นทีจ ่ ดจํา คืออาหารไทยต้องมีข้าว เป็นหลัก ทั้งข้าวเจ้าและข้าวเหนียว โดยต้องมี “กับข้าว” กินคู่กันเสมอ นอกจาก
ข้าวทีเ่ ป็นเอกลักษณ์แล้ว ยังมีเรือ ่ งรสชาติทห ่ี ลากหลายและค่อนข้างจัด ทัง ้ รสเปรีย ้ ว
เค็ม หวาน เผ็ด ขม ฝาด รวมถึงความพิถีพิถัน ความประณีตในทุกขั้นตอน ตลอดจนสรรพคุณเรือ ่ งสมุนไพร
อาหารไทยได้รบ ั การคัดเลือกและจัดอันดับจากสถาบันและองค์กรต่าง ๆ ของโลกมากมาย เช่น ต้มยํากุ้ง ผัดไทย แกงมัสมั่น หอยทอด และข้าวเหนียวมะม่วง นอกจากนี้แล้ว อาหารไทยในแต่ละภาคยังมีจุดเด่นที่แตกต่างกันเฉพาะพื้นที่ ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพ
ภูมิประเทศ สภาพสังคม วัฒนธรรม และวัตถุดิบในท้องถิ่นนั้น ๆ ซึ่งแตกต่างกัน ตามฤดูกาล
เรือ ่ งร้านอาหารไทยในต่างประเทศแล้ว อีกส่วนหนึง่ ทีเ่ ป็นผลมาจากการให้ความสําคัญ ด้านการวิจัยและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
คือการขยายตัวของการจําหน่ายวัตถุดิบ
ที่เกี่ยวข้องกับการปรุงอาหารไทย เช่น น้ําปลา เครื่องต้มยํา และบรรดาอาหารไทย สําเร็จรูปต่าง ๆ
จับจริตความสุข
อย่างไรก็ตาม ความมีชอ ่ื เสียงของอาหารไทยทีแ ่ พร่หลายไปทัว่ โลก นอกจากประเด็น
59
TAT The Journey
ททท. กับการท่องเที่ยวเชิงอาหาร การส่งเสริมการท่องเทีย ่ วเชิงอาหารของ ททท. นอกจากการประชาสัมพันธ์อาหารไทย
ในสื่อต่าง ๆ แล้ว ยังมีกิจกรรมพิเศษที่ ททท. ดําเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริม
A Story Based on True Journey
การท่องเทีย ่ วเชิงอาหาร เช่น •
การให้ความสําคัญกับอาหารถิน ่ ของภาคต่าง ๆ ทีน ่ บ ั วันจะหายไป
•
การจัดงานเทศกาลอาหารไทย อาหารทะเล อาหารเชิงสุขภาพ ผลไม้ไทย
•
การจับมือกับมิชลินเพื่อยกระดับอาหารไทย โดยเป็นโครงการระยะ 5 ปี
ในจังหวัดต่าง ๆ และเมืองสําคัญทัว่ โลก
(2560-2564) จัดทํามิชลินไกด์ แนะนําร้านอาหารไทยที่ได้มาตรฐานของมิชลิน ผลักดันประเทศไทยให้เป็น Gastronomy Capital of Asia และต้องแข่งขัน
กับประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศที่ได้มิชลินไกด์มากที่สุด ปัจจุบน ั ประเทศไทย
อยูใ่ นอันดับที่ 29 ของโลกที่ได้มิชลินไกด์ ซึง่ จัดเป็นอันดับที่ 6 ของเอเชีย และอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากสิงคโปร์ •
การนําเสนอเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอาหาร ภายใต้โครงการ Eat Local:
Localicious เน้นโปรโมตเส้นทางอาหารถิน ่ เส้นทางเรียนรูว้ ต ั ถุดบ ิ เส้นทางอาหาร ห้ามพลาด และมุง ่ ไปยังพืน ้ ทีเ่ มืองรอง
•
การโปรโมตอาหารฮาลาล เพื่อดึงดูดกลุ่มนักท่องเที่ยวมุสลิมภายใต้โครงการ Muslim Friendly
ข้อสังเกตบางประการ •
การผลักดันในเชิงนโยบายเป็นเรื่องสําคัญ ที่ผ่านมารัฐบาลนําเสนอโครงการ ครัวไทยสู่ครัวโลก (Kitchen of the World) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 แต่เนื่องจาก เกิดปัญหาความต่อเนือ ่ งในการดําเนินงาน และการประสานงานระหว่างหน่วยงาน
ภาครัฐและภาคเอกชน จึงทําให้โครงการครัวไทยสูค ่ รัวโลก หยุดชะงักในบางปี และเนือ ่ งจากไม่มต ี วั ชีว้ ด ั ทีช ่ ด ั เจน จึงยังไม่สามารถระบุได้วา่ โครงการครัวไทย สูค ่ รัวโลกประสบความสําเร็จหรือไม่ •
60
หากประเทศไทยจะใช้อาหารไทยเป็นเครือ ่ งมือในการส่งเสริมรายได้เข้าประเทศ สิ่งที่จําเป็นจะต้องให้ความสําคัญ คือ ระบบการผลิตและคุณภาพของอาหาร
04
ความสุขจากการท่องเทีย ่ วเชิงกีฬา
Sport Tourism หรือการท่องเทีย ่ วเชิงกีฬา คือรูปแบบการท่องเทีย ่ วทีไ่ ด้รบ ั ความนิยม ในระดับโลก สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้อย่างมีนย ั สําคัญ จากการสํารวจของ
บริษท ั Technavio ประเทศแคนาดา พบว่ากลุม ่ นักท่องเทีย ่ วเชิงกีฬามีการใช้จา่ ยสูงกว่า
นักท่องเที่ยวทั่ว ๆ ไปถึง 3-4 เท่า สําหรับประเทศไทย การท่องเที่ยวเชิงกีฬาได้รับ ความสนใจจากนักท่องเทีย ่ วจํานวนมาก เพราะประเทศไทยมีภม ู ป ิ ระเทศทีห ่ ลากหลาย
สามารถจัดกิจกรรมกีฬาได้หลายรูปแบบ อีกทัง้ ยังมีกฬ ี าประจําชาติทไ่ี ด้รบ ั ความนิยม จากทั่วโลก คือ มวยไทย
การท่องเทีย ่ วเชิงกีฬามีวต ั ถุประสงค์เกีย ่ วกับการออกกําลังกาย การส่งเสริมสุขภาพ
เช่น การเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ การเล่นกีฬาเพื่อแข่งขัน การเรียนและการฝึกซ้อม รวมทัง้ ยังมีความหมายครอบคลุมเรือ ่ งการเดินทางเพือ ่ การชมกีฬา เชียร์กฬ ี า หรือ การเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวเชิงกีฬา เช่น พิพิธภัณฑ์กีฬา การท่องเที่ยวเชิงกีฬา
เริ่มได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว เนื่องจากกระแสการให้ความสําคัญเกี่ยวกับ การรักษาสุขภาพ
บุรีรัมย์ เมืองกีฬา ในปี พ.ศ. 2554 สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สร้างสนามไอ-โมบาย สเตเดียม ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นช้างอารีน่า ตั้งอยู่ที่อาํ เภอเมืองฯ จังหวัดบุรีรัมย์ มีความจุ
จับจริตความสุข
4.3
32,600 คน เป็นสนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย
ทีผ ่ า่ นมาตรฐานระดับโลก จากสหพันธ์ฟต ุ บอลระหว่างประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ. 2557
เปิดใช้สนามแข่งรถบุรีรัมย์ อินเตอร์เนชันแนล เซอร์กิต (Buriram International Circuit: BRIC) หรือช้างอินเตอร์เนชันแนล เซอร์กิต สนามแข่งรถระดับมาตรฐาน เอฟไอเอ เกรด 1 (FIA Grade 1) ซึ่งเป็นระดับสนามที ่ อ นุ ญ าตให้ ใช้ จัดการแข่งขัน
รถสูตร 1 หรือฟอร์มูลาวัน นอกจากนั้น ยังได้การรับรองให้เป็นสนามแข่งรถ ระดับมาตรฐาน เอฟไอเอ็ม เกรดเอ (FIM Grade A) ใช้จัดการแข่งขันโมโตจีพี
ปัจจุบน ั เศรษฐกิจของจังหวัดบุรรี ม ั ย์เติบโตด้วยภาคเกษตรและภาคบริการท่องเทีย ่ ว มีนักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยว 1.6 ล้านคน
ในปี พ.ศ. 2560 และประกาศตัว
เป็นเมืองกีฬา คนบุรีรัมย์หันมารักจังหวัดตัวเองมากขึ้น มีธุรกิจบริการขยายตัว เพือ ่ รองรับจํานวนนักท่องเทีย ่ วทีเ่ พิม ่ ขึน ้ และสามารถกระจายความเจริญไปยังจังหวัด ข้างเคียง
61
TAT The Journey
วิ่ง ประเทศไทยมีการจัดวิง ่ และพัฒนากิจกรรมรูปแบบ วิธก ี ารบริหารจัดการกิจกรรมวิง ่ ให้สอดคล้องกับความต้องการของนักวิ่ง รวมถึงการจัดกิจกรรมเสริมอื่น ๆ เช่น
การจัดตลาดนัดสินค้าสุขภาพ จากสถิตใิ นปี พ.ศ. 2561 ของสถาบันวิจย ั ประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่า ประเทศไทยมีการจัดกิจกรรมวิ่งมากกว่า
1,340 สนามต่อปี มีจาํ นวนนักวิง่ มากกว่า 15 ล้านคน และมีแนวโน้มว่าจะเพิม ่ มากขึ้น ในยุค Running Boom รวมถึงจะมีรป ู แบบการแข่งขันทีห ่ ลากหลาย
ปัจจุบันการเข้าร่วมงานวิ่งมาราธอนของโลกที่ยิ่งใหญ่ที่สุด มี 6 สนามที่เป็นรายการ หลักของโลก (World Major Marathon) คือ บอสตัน มาราธอน, ลอนดอน มาราธอน, A Story Based on True Journey
เบอร์ลิน มาราธอน, ชิคาโก มาราธอน, นิวยอร์ก มาราธอน และโตเกียว มาราธอน
62
ในส่วนของประเทศไทย การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) ในฐานะหน่วยงานทีส ่ ง่ เสริม กิจกรรมกีฬาของประเทศ ระบุวา่ จะดําเนินการยกระดับมาตรฐานรายการวิง ่ มาราธอน ของไทยให้เป็นระดับโลก หรือการจัดระบบวิง ่ ให้เป็น “ไทยแลนด์ เมเจอร์ มาราธอน” รายการวิง ่ ทีไ่ ด้รบ ั การคัดเลือกในเบือ ้ งต้น คือ บุรรี ม ั ย์ มาราธอน, บางกอก มิดไนท์ มาราธอน, ภูเก็ต มาราธอน, ขอนแก่น มาราธอน และบางแสน 42
04
มวยไทย สถานการณ์ทอ ่ งเทีย ่ วเชิงกีฬาในส่วนทีเ่ กีย ่ วกับศิลปะการป้องกันตัว ทีเ่ รียกว่ามวยไทย (Thai Boxing) มีการเติบโตและได้รบ ั ความนิยมอย่างต่อเนือ ่ ง ก่อให้เกิดมูลค่าทาง
เศรษฐกิจ กลุม ่ เป้าหมายทีส ่ นใจมวยไทยแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ กลุม ่ นักท่องเทีย ่ ว ทีม ่ ค ี วามประสงค์จะเรียนมวยไทย กลุม ่ นักท่องเทีย ่ วทีม ่ าชมศิลปะการต่อสูม ้ วยไทย และกลุ่มนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาเพื่อซื้ออุปกรณ์เกี่ยวกับมวยไทย
ความนิ ย มของศิ ล ปะมวยไทยก่ อ ให้ เ กิ ด ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ การลงทุ น จั ด ตั้ ง ค่ า ยมวย ซึง ่ ปัจจุบน ั เกิดขึน ้ ในหลายประเทศทัว่ โลก ล่าสุดคือทีจ ่ น ี ฮ่องกง และไต้หวัน นอกจาก
ค่ายมวยแล้ว ในสถานที่ออกกําลังกายหรือฟิตเนสหลายแห่งเริ่มเปิดคอร์สฝึกสอน มวยไทย
ที่เปิดสอนทั้งสิ้น 1,762 ค่าย เป็นค่ายมาตรฐานที่รองรับทัวร์ 443 ค่าย สํ า หรั บ ค่ายมวยไทยในต่างประเทศทัว่ โลก จากการเก็บข้อมูลของสถานเอกอัครราชทูตไทย สถานกงสุลใหญ่ และกระทรวงการต่างประเทศ พบว่ามีคา่ ยมวยไทยจํานวน 3,869 ค่าย
กิจกรรมทีน ่ า่ สนใจเกีย ่ วกับมวยไทยอีกกิจกรรมหนึง ่ คือการจัดการแข่งขันมวยไทย
สูร่ ะดับสากล เพือ ่ ให้ทว่ั โลกยอมรับ เช่น Thai Fight เริม ่ จัดมาตัง ้ แต่ปี พ.ศ. 2553
จับจริตความสุข
จากการสํารวจสถิตข ิ องกระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬาระบุวา่ ในประเทศไทยมีคา่ ยมวย
ถึงปัจจุบน ั ส่วนนักมวยไทยทีไ่ ด้รบ ั ความนิยมในระดับสากล โดยเฉพาะในทวีปยุโรป
และญีป ่ น ุ่ คือ บัวขาว บัญชาเมฆ และคนไทยทีน ่ าํ พามวยไทยสูส ่ ากลอีกคนหนึง ่
คือ ชาตรี ศิษย์ยอดธง ที่ริเริ่มรายการกีฬา ONE Championship ที่มีฐานอยู่ทส ่ี ง ิ คโปร์ เน้นการผสมผสานศิลปะการป้องกันตัวทุกประเภท เช่น คาราเต้ ยูโด กังฟู เทควันโด มวยไทย จัดเป็นลักษณะ Sport Entertainment ถ่ายทอดไปทัว่ โลกกว่า 70 ประเทศ
ททท. กับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ททท. กําหนดกลยุทธ์การส่งเสริมให้ไทยเป็นจุดหมายปลายทางสําหรับกลุม ่ นักท่องเทีย ่ ว
ที่นิยมชมชอบกีฬาโดยส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การสนับสนุน การแข่งขันรถจักรยานยนต์ทางเรียบ MotoGP 2019 ทีจ ่ งั หวัดบุรรี ม ั ย์ การจัดแข่งขัน
กอล์ฟแอลพีจเี อ ทัวร์ หรือการสนับสนุนงานวิง ่ มาราธอน ไตรกีฬา การปัน ่ จักรยาน รวมถึงงานไหว้ครูมวยไทย ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย
63
64
A Story Based on True Journey
05
TAT The Journey
05
ทุก ๆ การนําเสนอข้อเท็จจริง (Facts) มักจะต้องอ้างอิงด้วยตัวเลข (Figures) เสมอ และข้อเท็จจริงในตัวเลขนั้นนํามาซึ่งความย้อนแย้ง เช่น จํานวนนักท่องเที่ยวลดลง เป็นปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไข แต่เมื่อจํานวน นักท่องเที่ยวล้นเกิน ก็เป็นปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไขเช่นกัน ดังนั้น ไม่ว่า จํานวนนักท่องเที่ยวจะมากหรือน้อย มีโอกาสสร้างปัญหาทั้งสิ้น
เป็นทุกข์เรื่องตัวเลข
เป็นทุกข์ เรือ ่ งตัวเลข
ในกรณีเกีย ่ วกับการจัดอันดับความนิยมด้านการบริการและการท่องเทีย ่ ว ก็เช่นกัน ประเทศไทยได้รับการจัดอันดับทั้งในมิติที่ “ยอดเยี่ยม” และ “ยอดแย่” จากข้อเท็จจริงดังกล่าว สะท้อนให้เห็นทั้งจุดแข็งและจุดอ่อน รวมถึงกระบวนการในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวและการกําหนด ทิศทางการท่องเที่ยวของไทยในภาพรวม
65 65
TAT The Journey
5.1
ทุกข์ 1 นักท่องเทีย ่ วลด
ตลอดระยะเวลา 60 ปีที่ประเทศไทยส่งเสริมให้ชาวต่างชาติและคนไทยเดินทาง ท่องเทีย ่ วในประเทศไทย จากจํานวนนักท่องเทีย ่ วต่างชาติ 81,340 คน ในปี พ.ศ. 2503
เพิม ่ ขึน ้ เป็น 39,797,406 คนในปี พ.ศ. 2562 ในส่วนของคนไทยท่องเทีย ่ วภายในประเทศ เพิม ่ ขึน ้ จาก 39,318,600 ล้านคน/ครัง้ ในปี พ.ศ. 2531 เป็น 166,849,017 ล้านคน/ครัง้
ในปี พ.ศ. 2562 จากการเพิ่มขึ้นของจํานวนนักท่องเที่ยวดังกล่าว เป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่ สะท้อนความสําเร็จในการส่งเสริมการท่องเที่ยว
อย่างไรก็ตาม เมือ ่ พิจารณาข้อมูลในอดีตถึงปัจจุบน ั พบว่า
A Story Based on True Journey
นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทยลดลง 7 ครั้ง (พ.ศ. 2519, 2526, 2534, 2546, 2548, 2552 และ 2557) สาเหตุเกิดจากปัจจัยปัญหาด้านเศรษฐกิจ การเมือง และโรคระบาด ซึ่งเป็นปัจจัย
ภายนอกและส่งผลต่อการลดลงของนักท่องเทีย ่ วต่างชาติ เช่น สภาวะเศรษฐกิจตกต่าํ ทั่วโลก น้ํามันขึ้นราคา สงครามอ่าวเปอร์เซีย และการแพร่ระบาดของโรคซาร์ส นอกจากเหตุปจ ั จัยภายนอกประเทศจะส่งผลให้นก ั ท่องเทีย ่ วลดลงแล้ว ปัจจัยภายใน
ประเทศได้สง ่ ผลต่อการลดลงด้วยเช่นกัน เช่น ปัญหาเรือ ่ งพิบต ั ภ ิ ย ั สึนามิ และปัญหา ความไม่สงบทางการเมืองภายในประเทศ
ข้อสังเกตจากการลดลงของจํานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศทั้ง 7 ครั้ง พบว่า
ในการลดลงของจํานวนนักท่องเทีย ่ วมิได้สง่ ผลต่อรายได้ทเ่ี กิดจากการท่องเทีย ่ วทุกครัง้ กล่าวคือ หากพิจารณาข้อมูลเกีย ่ วกับรายได้ทเ่ี กิดจากการท่องเทีย ่ ว พบว่า มีการลดลง ของรายได้เพียง 6 ครั้งเท่านั้น
นักท่องเที่ยวชาวไทยเดินทางท่องเที่ยวในประเทศลดลง 4 ครั้ง (พ.ศ. 2534, 2535, 2540 และ 2541) คนไทยท่องเทีย ่ วภายในประเทศลดลงเนือ ่ งจากสภาวะเศรษฐกิจถดถอย ราคาน้าํ มัน วิกฤตเศรษฐกิจ ต้มยํากุง้ และการเกิดปัญหาการเมืองภายในประเทศ คือ พฤษภาทมิฬ การลดลงของจํานวนนักท่องเที่ยวส่งผลกระทบกับธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับนักท่องเที่ยว
รัฐบาลและหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องจําเป็นจะต้องแก้ไขปัญหาและเยียวยาความเสียหาย ทีเ่ กิดขึน ้ ยกตัวอย่างเช่น การสนับสนุนงบประมาณเพือ ่ ฟืน ้ ฟูและกระตุน ้ การท่องเทีย ่ ว
เป็นต้น ในกรณีที่นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติลดลง การแก้ไขปัญหาที่มักจะใช้กัน ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก คือ การประชาสัมพันธ์ให้คนท่องเที่ยวภายในประเทศ (Domestic Tourism)
นอกจากปัญหาเรื่องจํานวนนักท่องเที่ยวลดลงแล้ว ยังมีปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายเฉลี่ย ต่อคนต่อวัน และวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยว ในแง่การส่งเสริมการท่องเที่ยว หากนักท่องเทีย ่ วใช้จา่ ยสูงและพักนานวัน จะทําให้รายได้จากการท่องเทีย ่ วสูงขึน ้ 66
05
ทุกข์ 2 นักท่องเทีย ่ วล้น
เมือ ่ การท่องเทีย ่ วเป็นส่วนหนึง ่ ของชีวต ิ และกระแสการเดินทางท่องเทีย ่ วเป็นทีน ่ ย ิ ม ทัว่ โลก การเดินทางท่องเทีย ่ วไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ จึงแพร่หลาย ประกอบกับ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาํ ให้การเดินทางท่องเที่ยวง่ายขึ้นและค่าใช้จ่ายถูกลง
เช่น Low Cost Airline, Social Media และการมาถึงยุค Experience Economy และ Lifestyle Patterns
การเกิดขึน ้ ของปรากฏการณ์ทน ่ี ก ั ท่องเทีย ่ วรวมตัวกันอยูใ่ นพืน ้ ทีใ่ ดพืน ้ ทีห ่ นึง ่ ในช่วง
เวลาใดเวลาหนึ่งเป็นจํานวนมาก จนก่อให้เกิดผลต่อพื้นที่และประชาชนท้องถิ่น ทัง ้ ผลกระทบทางสิง ่ แวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม สถานการณ์เช่นนี้ องค์การ
ท่องเทีย ่ วโลกแห่งสหประชาชาติ (UNWTO) เรียกว่า Overtourism โดยให้ความหมาย
ของ Overtourism ว่า “the impact of tourism on a destination, or parts thereof,
that excessively influences perceived quality of life of citizens and/or quality of visitors experiences in a negative way“
ในช่วงปี ค.ศ. 1970 หรือช่วงปี พ.ศ. 2510 จะมีการใช้ขอ ้ ความหลัก ๆ เช่น จํานวน นักท่องเทีย ่ วมาก (Too Many Visitors) การรบกวนและเดือดร้อนรําคาญ ( Too Much Disturbance) ผลกระทบทางกายภาพ (Too Much Physical Impacts) Overtourism
เริม ่ ได้รบ ั การกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในช่วงปี ค.ศ. 2015 หรือปี พ.ศ. 2558 แหล่งท่องเที่ยวหลายแห่งทั่วโลก เช่น Venice, Barcelona, Taj Mahal, Galapagos Island,The Great Wall of China, Cuba, Santorini, Machu Picchu, Antarctica และ
เป็นทุกข์เรื่องตัวเลข
5.2
Mount Everest เกิดปัญหา เกิดการต่อต้านและขับไล่นักท่องเที่ยว
ในกรณีประเทศไทย พื้นที่ท่องเที่ยวที่ได้รับการระบุว่าเกิดปัญหา Overtourism หรือ เกิดปัญหาเกีย ่ วกับขีดความสามารถในการรองรับได้ (Carrying Capacity) ส่วนใหญ่
เป็นแหล่งท่องเทีย ่ วยอดนิยม เช่น วัดพระแก้วและพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร
อ่าวมาหยา เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสุรน ิ ทร์ อุทยานแห่งชาติ หมูเ่ กาะสิมล ิ น ั จังหวัดพังงา
จากรายงาน Thailand–Overtourism Report, January 24, 2018 ระบุว่า เนื่องจาก
ประเทศไทยมีนก ั ท่องเทีย ่ วต่างชาติเดินทางท่องเทีย ่ วเพิม ่ ขึน ้ สูงมาก และอาจจะสูงถึง 60 ล้านคนภายในปี ค.ศ. 2030 โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเน้นกลยุทธ์
ในการเพิม ่ รายได้จากการท่องเทีย ่ ว โดยการเพิม ่ ค่าใช้จา่ ยและวันพักเฉลีย ่ มากกว่า
ให้ความสําคัญกับจํานวนนักท่องเทีย ่ ว อย่างไรก็ตาม ในรายงานนีย ้ ง ั ได้ระบุขอ ้ มูล แวดล้อมหลายประเด็น เช่น การส่งเสริมการท่องเทีย ่ วทําให้จาํ เป็นต้องลงทุนขยาย สนามบินในเมืองหลักทางการท่องเที่ยวโดยการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย
ปัญหาจํานวนนักท่องเทีย ่ วทีเ่ ดินทางมาส่วนหนึง่ เป็นทัวร์ศน ู ย์เหรียญ (Zero-Dollar Tour)
ปัญหานักท่องเทีย ่ วล้นเกินทีเ่ กาะตาชัยก่อให้เกิดปัญหาขยะ รวมถึงผลจากการท่องเทีย ่ ว ตามรอยภาพยนตร์เรื่อง Lost in Thailand
67
TAT The Journey
การแก้ปัญหานักท่องเที่ยวล้นเกินที่ผ่านมา มีความพยายามดําเนินการในหลาย รูปแบบ เช่น •
การปิดแหล่งท่องเทีย ่ ว
เช่น
กรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ปา่
และพันธุพ ์ ช ื
ประกาศปิดการท่องเทีย ่ ว อ่าวมาหยา จังหวัดกระบี่ เนือ ่ งจากสภาพธรรมชาติ เสือ ่ มโทรม ชายหาดทรุดตัว
•
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย ั (สกว.) ศึกษาวิจย ั เกีย ่ วกับขีดความสามารถ ในการรองรับได้ที่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะ สิมิลัน จังหวัดพังงา
A Story Based on True Journey
•
การเสนอรูปแบบการบริหารจัดการนักท่องเทีย ่ วทีว่ ด ั พระแก้ว กรุงเทพมหานคร
โดยเสนอให้ปรับปรุงค่าธรรมเนียม การจัดรอบเข้าเยีย ่ มชม และการเพิม ่ สิง่ อํานวย ความสะดวก
•
การลดการกระจุกตัวของนักท่องเทีย ่ วในพืน ้ ทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วหลัก และช่วงเวลาทีเ่ ป็น วันหยุดยาว โดยเสนอแคมเปญเทีย ่ วเมืองรองและโครงการวันธรรมดาน่าเทีย ่ ว
ข้อสังเกตในทุกข์ที่ 1 คือ การลดลงของจํานวนนักท่องเที่ยว ซึ่งส่วนใหญ่หลาย ๆ ประเทศในโลกมีความวิตกกังวล
ถ้ากลับมาพิจารณาอย่างเป็นระบบ
ทรัพยากรธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรม ดังนั้น จึงควรจะมีการพยากรณ์จาํ นวน
นักท่องเที่ยวที่สมดุลกับพื้นที่ และความพร้อมในการรองรับของโครงสร้างพื้นฐาน และการบริการ หากบริหารจัดการได้จะนําไปสู่การแก้ปัญหาของทุกข์ที่ 2
68
จะพบว่า
เป็นไปไม่ได้ทจ ่ี ะให้นก ั ท่องเทีย ่ วเพิม ่ ขึน ้ ทุกปี ด้วยเหตุผลเกีย ่ วกับข้อจํากัดของด้าน
05
ทุกข์ 3 รายได้เป็นอันดับ 4 แต่ขด ี ความสามารถในการแข่งขันอันดับ 31
องค์การท่องเทีย ่ วโลกแห่งสหประชาชาติ (UNWTO) จัดอันดับประเทศทีม ่ ผ ี ม ู้ าเยือน
สูงสุด และประเทศทีไ่ ด้รายได้จากการท่องเทีย ่ วสูงสุด พบว่า ในปี ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเทีย ่ วสูงเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา
สเปน และฝรัง ่ เศส ตามลําดับ ในส่วนของจํานวนนักท่องเทีย ่ วนัน ้ ประเทศไทยอยูใ่ น อันดับ 9 ต่าํ กว่าฝรั่งเศส สเปน สหรัฐอเมริกา จีน อิตาลี ตุรกี เม็กซิโก และเยอรมนี
นอกจากการจัดอันดับด้านรายได้และจํานวนนักท่องเทีย ่ วของ UNWTO แล้ว ยังให้ มีการวัดดัชนีขด ี ความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเทีย ่ ว (Travel and Tourism
Competitiveness Index: TTCI) จัดทําโดย World Economic Forum จากรายงาน The Travel & Tourism Competitiveness Index Report 2019 ระบุวา่ การวัดดัชนี
ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเทีย ่ ว พิจารณาจากตัวชีว้ ด ั 64 ตัวชีว้ ด ั และดําเนินการวัดทัง ้ สิน ้ 140 ประเทศ ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที่ 31 ต่ํากว่าสิงคโปร์ ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 17 และมาเลเซีย อยู่ในอันดับที่ 29
ตัวชี้วัดที่ประเทศไทยได้คะแนนต่ําและเป็นจุดอ่อน คือ ตัวชี้วัดเรื่องสิ่งแวดล้อม
ความปลอดภัย และความสะอาด ดังนัน ้ หากต้องการจะปิดจุดอ่อนด้านการท่องเทีย ่ ว ของประเทศ ทุกภาคส่วนจึงมุ่งให้ความสําคัญกับการแก้ไขจุดอ่อนซึ่งเป็นอุปสรรค
สําคัญของการท่องเทีย ่ วของประเทศ อย่างไรก็ตาม สิง ่ ทีส ่ าํ คัญเท่า ๆ กับการแก้ไข จุดอ่อน คือ การเสริมจุดแข็ง เช่น ความหลากหลายของทรัพยากรการท่องเที่ยว
เนื่องจากจุดแข็งด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยอาจจะมีประเทศคู่แข่งที่พัฒนา
เป็นทุกข์เรื่องตัวเลข
5.3
ตนเองขึ้นมาจนเทียบเท่า หรือสูงกว่าประเทศไทย
69
TAT The Journey
5.4
ทุกข์ 4 ประเทศไทยติดอันดับโลก
การประมวลข้อมูลข่าวสารทีเ่ ผยแพร่เกีย ่ วกับประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิง ่ ข้อมูล เกีย ่ วกับการจัดอันดับในเรือ ่ งต่าง ๆ ทัง้ ด้านบวกและด้านลบ ข้อมูลเหล่านี้ ล้วนเกีย ่ วข้อง
กับภาพลักษณ์ของประเทศไทยทัง ้ สิน ้ ในส่วนภาพลักษณ์ดา้ นบวกจะเป็นประโยชน์ และส่งเสริมอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ชักชวนให้ผู้คนเดินทางเข้ามาท่องเที่ยว
ในประเทศมากขึน ้ ส่วนข้อมูลเกีย ่ วกับการจัดอันดับประเทศไทยทางด้านลบนัน ้ จําเป็น ต้องแก้ไข ปรับปรุง และให้ความสําคัญ
A Story Based on True Journey
การจัดอันดับที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย (ด้านบวก) •
เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2559 CNN ยกย่องให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองอาหาร
•
ในปี พ.ศ. 2561 CNN จัดอันดับอาหารทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ในโลก 50 อันดับ มัสมัน ่ ได้รบ ั
สตรีตฟู้ดที่ดีที่สุดในโลก
การยกย่องให้เป็นอาหารทีอ ่ ร่อยทีส ่ ด ุ ในโลก ต้มยํากุง้ อยูใ่ นอันดับ 8 และส้มตํา อยูใ่ นอันดับ 46
•
ปี พ.ศ. 2561 ยูโรมอนิเตอร์ อินเตอร์เนชัน ่ แนล บริษท ั วิจย ั ด้านการตลาด
จัดอันดับ 100 เมืองน่าท่องเที่ยวที่สุดในโลก ผลคือ ใน 20 อันดับแรก กรุงเทพมหานคร ติดอันดับ 2 ภูเก็ต ติดอันดับ 11
•
กรุงเทพมหานครติดอันดับเมืองทีม ่ น ี ก ั ท่องเทีย ่ วมาเยือนมากทีส ่ ด ุ ในโลก (2018)
•
US News และนักเดินทางจัดอันดับ World ‘s Best Places to Visit จังหวัดภูเก็ต
•
เมือ ่ วันที่ 17 ตุลาคม 2562 Mastercard
โดยมีนก ั ท่องเทีย ่ วมาเยือน 20 ล้านคน อยูใ่ นอันดับ 8 ของโลก
เผยแพร่ขอ ้ มูลสุดยอดเมืองจุดหมาย
ปลายทาง (Global Destination Cities Index) โดยระบุวา่ กรุงเทพมหานคร ได้รบ ั คัดเลือกให้เป็นเมืองน่าเทีย ่ วมากทีส ่ ด ุ ถึง 4 ปีซอ ้ น
•
70
ประเทศไทยเป็นประเทศทีค ่ นมีความสุขอันดับ 5 ของโลก
05
การจัดอันดับที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย (ด้านลบ) •
สถาบันเศรษฐศาสตร์และสันติภาพ (Institute for Economic and Peace) เปิดเผยการจัดอันดับประเทศทีส ่ งบสุขของโลก (Global Peace Index 2019)
ประเทศไทยอยูอ ่ น ั ดับที่ 116 จากจํานวน 163 ประเทศทัว่ โลก โดยเป็นอันดับ •
ในปี 2018 สื่อ CNN เปิดเผยข้อมูล TOP 10 เมืองที่รถติดมากที่สุดในโลก กรุงเทพมหานครติดอันดับ 3 รองจากลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา และ มอสโก ประเทศรัสเซีย
•
จากผลการวิจย ั ของ Helmholtz Center for Environmental Research ประเทศ
เยอรมนีศึกษาวิจัยเรื่องขยะในท้องทะเล ประเทศไทยติดอันดับ 7 ของโลก
เป็นทุกข์เรื่องตัวเลข
ทีต ่ าํ่ กว่าลาว เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
ที่สร้างขยะมากที่สุด •
ประเทศไทยติดอันดับต้น ๆ ของโลกเรือ ่ งอุบต ั เิ หตุและการเสียชีวต ิ บนท้องถนน
•
เชียงใหม่เป็นเมืองที่มีคุณภาพอากาศอยู่ในระดับส่งผลต่อสุขภาพ มีอากาศ ปนเปือ ้ น หรือฝุน ่ PM 2.5 สูงทีส ่ ด ุ ในโลก ข้อมูลจากเว็บไซต์ Air Visual จัดอันดับ
ค่า World AQI Ranking พบว่า จังหวัดเชียงใหม่มีสภาพอากาศเลวร้ายเป็น อันดับ 1 ของโลก 5 วันติดต่อกัน (ข้อมูลเผยแพร่เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2562)
71
72
A Story Based on True Journey
06
TAT The Journey
06
เมื่อเผชิญหน้ากับวิกฤต
เรามีหน้าที่ต้องฝ่าฟันนําพาอุตสาหกรรม
ท่องเที่ยวเคลื่อนต่อไปให้ได้ ซึ่งบางครั้งอาจจะเลือกใช้กลยุทธ์การหยุด อยู่กับที่ รอดูท่าที เพื่อความปลอดภัย หรือบางครั้งเลือกที่จะถอยหลัง กลับเพือ ่ ทบทวน ปรับทัพ จัดการภายใน เป็นการหยุดเกม เพือ ่ ขอเวลานอก หรือการเลือกที่จะก้าวไปข้างหน้า ยอมรับการเผชิญความเสี่ยง และทุ่ม บรรดาสรรพกําลังทั้งหมดที่มีเพื่อกอบกู้ ฟื้นฟูสถานการณ์
หลังเมฆฝนผ่านพ้นไป
หลังเมฆฝน ผ่านพ้นไป
73 73
TAT The Journey
6.1
การสรุปบทเรียน
บทเรียนที่ได้รับจากการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวตลอดระยะเวลา 60 ปี ที่ผ่านมา ชี้ให้เห็นความจริงที่พอจะสรุปได้ว่า •
การประสานงานและบูรณาการเป็นเรือ ่ งสําคัญ การมองการท่องเทีย ่ วเป็นองค์รวม และมุง่ เน้นไปทีเ่ ป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) คือการพัฒนาทีย ่ ง่ั ยืน เป็นเรือ ่ ง
จําเป็น การท่องเทีย ่ วเป็นเครือ ่ งมือในการนําไปสูก ่ ารกระจายรายได้และลดความ เหลือ ่ มล้าํ ทางสังคม •
ธุรกิจบริการ ธุรกิจท่องเที่ยวแบบดั้งเดิม จําเป็นต้องเปลี่ยนเป็นธุรกิจบริการ
มูลค่าสูง ทีใ่ ห้ความสําคัญกับแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ทีเ่ น้นการออกแบบบริการและออกแบบประสบการณ์ (Service Design Experience
A Story Based on True Journey
Design) การดําเนินธุรกิจในโลกสมัยใหม่ ท่ามกลางความหลากหลายของผูบ ้ ริโภค สิ่งสําคัญคือ การสร้างความแตกต่าง
•
สภาพการแข่งขันด้านการท่องเทีย ่ วรุนแรงขึน ้ ประเทศทีเ่ ป็นคูแ ่ ข่งด้านการท่องเทีย ่ ว
•
จุดอ่อนด้านการท่องเทีย ่ วทีท ่ าํ ให้ขด ี ความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเทีย ่ ว
มีจาํ นวนมากขึน ้ และมีการจัดวางกลยุทธ์การท่องเทีย ่ วทีม ่ ค ี วามน่าสนใจมาก
อยูใ่ นอันดับ 31 คือ ความสะอาด ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม ยังคงเป็นจุดอ่อน ทีพ ่ ยายามแก้ไขปัญหาอยู่
•
ตัวชีว้ ด ั ด้านการพัฒนายังไม่ชด ั เจน การประกาศนโยบาย หรือโครงการใด ๆ ยังไม่สามารถระบุตัวชี้วัดที่ชัดเจนได้ ดังนั้น จึงทําให้เป้าหมายการทํางาน โดดเด่น ไม่โฟกัส และไม่มข ี อบเขตเวลาทีช ่ ด ั เจน
74
การปรับตัว
•
06
6.2
ใช้ Innovation & Digitalization และเน้นความร่วมมือ (Collaboration) ยึดหลัก ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen Centric) เปิดกว้าง เชื่อมโยง (Open and Connect)
สร้างกระบวนการให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐ
ภาคเอกชน
และภาคประชาชน โดยเฉพาะภาคประชาชนทีก ่ ระจายอยูท ่ ว่ ั ประเทศ คือปัจจัยการ อยูร่ อดของการท่องเทีย ่ วไทย ภาคประชาชนสามารถสร้างสรรค์สน ิ ค้าการท่องเทีย ่ ว เชิงประสบการณ์ เชิงวัฒนธรรม ธรรมชาติ เชิงสุขภาพ และอาหาร เป็นต้น นอกจากนัน ้ ยังเป็นการสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กบ ั ชุมชนตามยุทธศาสตร์ ชาติอีกด้วย •
การมองหาโอกาสใหม่ ๆ ทีม ่ าพร้อมกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี หรือมาพร้อม
กับกลุม ่ ลูกค้า เช่น กลุม ่ ผูส ้ ง ู วัย (Active Senior) กลุม ่ ครอบครัวรุน ่ ใหม่ (Millennial
•
6.3
การปรับตัวให้เป็น Smart Nation โดยเท่าทันการเปลีย ่ นแปลง เชือ ่ มโยงสูโ่ ลก
การจัดการตน
•
หลังเมฆฝนผ่านพ้นไป
Family) กลุม ่ Gen Alpha และกลุม ่ Digital Nomad เป็นต้น
ในด้านการท่องเที่ยว ควรจะพิจารณาจุดแข็งและจุดขายให้ชัดเจน สร้าง Tourism Brand Image เพือ ่ คัดกรองกลุม ่ ลูกค้าในอนาคต โดยใช้การท่องเทีย ่ ว
เป็นเครื่องมือในการยกระดับคุณค่าความเป็นมนุษย์ ความอยู่ดีมีสุขบนความ
เท่าเทียมกันของเจ้าของบ้านและผูม ้ าเยือน โดยเน้นการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ท้องถิ่น (Local Economy Development) •
การเชือ ่ มโยงกับเศรษฐกิจภูมภ ิ าคและโลก เชือ ่ มโยงการท่องเทีย ่ วในกลุม ่ CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar, Vietnam: CLMV) และประเทศไทย ให้เป็น
ลักษณะการท่องเทีย ่ วตลาดเดียว (Tourism Single Market) และการท่องเทีย ่ ว ในกลุ่มประเทศอาเซียน
75
76
A Story Based on True Journey
07
TAT The Journey
07
60 ปีกําลังผ่านไป เรากําลังจะแผ้วถางหนทาง สรรค์สร้างสู่ท่องเที่ยว ทศวรรษใหม่ที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ
รับมือกับขอบเขตของ
เทคโนโลยีทเ่ี ปลีย ่ นไป พร้อมเข้าใจคุณค่าและจิตวิญญาณใหม่ วางความ สําเร็จเดิมไว้ให้เหลือเพียงแค่ความภาคภูมิใจ และมันจะไม่ใช่ความสําเร็จ ที่ส ามารถผลิ ต ซ้ํา ในโลกที่มีก ารเปลี่ย นย้ า ยกระบวนทั ศ น์ ใ หม่ ไ ปอย่ า ง
หลังเมฆฝนผ่านไป
อนาคตสดใส รอเราอยู่
สิน ้ เชิง และทีส ่ าํ คัญคือ เราไม่ควรปิดกัน ้ อนาคตไว้กบ ั ความรุง ่ เรืองในอดีต
77 77
TAT The Journey
7.1
การออกแบบอนาคต (Designing Future)
การคาดการณ์อนาคตเป็นเรือ ่ งสําคัญและจําเป็น ดังนัน ้ ในการรับมือกับการท่องเทีย ่ ว ในปีท่ี 61 และปีตอ ่ ๆ ไป จึงเป็นเรือ ่ งทีท ่ า้ ทาย ประเทศไทยต้องเผชิญกับ “สิง ่ ใหม่” มากมาย เช่น ระเบียบโลกใหม่ (New World Order) วัฒนธรรมการดํารงอยูแ ่ บบใหม่
การทํางานแบบใหม่ และการเรียนรูแ ้ บบใหม่ (New Culture of Living, Working and
Learning) รวมทัง ้ การเกิดชุดของระบบคิดใหม่ ๆ (New Mindset) ทักษะใหม่ ๆ (New Skillset) เครือ ่ งมือใหม่ ๆ (New Toolset) และพฤติกรรมใหม่ ๆ (New Behavior Set)
ความก้าวหน้าและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจแบบใหม่
ทีส ่ อดคล้องกับพฤติกรรมของคนรุน ่ ใหม่ เช่น Gig Economy, Sharing Economy, Innovation Economy, Platform Economy, Creative Economy นอกจากนั้น สังคม
A Story Based on True Journey
เศรษฐกิจยังเคลือ ่ นไปจนเกิดปรากฏการณ์ทเ่ี รียกว่าความปกติใหม่ หรือ New Normal
สิ่งเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่า อนาคตเป็นเรื่องของการปรับตัว ปรับรูปแบบองค์กรสร้าง บุคลากรแบบใหม่ที่เป็น Smart Nation ภาพอนาคตที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
คือการเกิดขึ้นของปัญญาประดิษฐ์
(Artificial
Intelligence: AI) ที่กําลังพัฒนาไปถึงจุดที่ฉลาดเหนือมนุษย์ มีการพัฒนาระบบ
สติปัญญา จิตสํานึก และการหยั่งรู้ตนเอง AI มีความฉลาดทางอารมณ์ สามารถ ก้าวข้ามจุดอ่อนของมนุษย์ซง่ึ มีขด ี ความอดทนต่าํ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมไม่ได้มาก เต็มไปด้วยความรู้สึกที่คาดเดายาก AI กําลังเข้ามาทดแทนมนุษย์ และในอนาคต อาจกลายเป็นผู้คุกคามมนุษย์ในที่สุด
นอกจากความก้าวหน้าและพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งของปัญญาประดิษฐ์ดังที่กล่าวมา
การออกแบบอนาคตท่ อ งเที่ ย วไทยยั ง จํ า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งศึ ก ษาบริ บ ทแวดล้ อ ม ในสังคมไทยที่เป็นประเด็นท้าทาย เช่น ความเหลื่อมล้าํ ของคนในสังคม การเข้ามา ของแรงงานข้ า มชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไร้ขีดจํากัด ความจําเป็น
ของการพึง่ พาพลังงานทางเลือก ระบบการศึกษาไทยทีต ่ อ ้ งทบทวน และการคอร์รป ั ชัน ทีห ่ ยัง ่ รากฝังลึกในสังคมไทย
ภารกิจที่จําเป็นสําหรับการออกแบบอนาคตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศ จําเป็นต้องดําเนินการอย่างรัดกุมและวางแผนอย่างมีขน ้ั ตอน กระบวนการทีเ่ กีย ่ วข้อง กับการออกแบบอนาคต ประกอบด้วย
78
07
การติดตาม คาดการณ์แนวโน้มและความผันผวนของโลกและไทย ในทุกมิติ (Future Scanning) โดยต้องครอบคลุมประเด็น Tourism Trends Analysis, Tourism Trends Monitoring, Tourism Projection ปัจจัยแวดล้อมทีต ่ อ ้ งให้ความสําคัญ คือ ปัจจัยทางสังคม (Social)
ปัจจัยทางเทคโนโลยี (Technology) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ (Economic) ปัจจัยทาง สิง ่ แวดล้อม (Environment) และปัจจัยทางการเมือง (Political)
การจัดทําฉากทัศน์อนาคตท่องเทีย ่ วไทย (Tourism Scenario Setting) สร้างฉากทัศน์ทห ่ี ลากหลาย สร้างภาพอนาคตทีเ่ ป็นจริงได้ ซึง ่ อาจไม่จาํ เป็นต้องเป็น
ภาพเดียว ดังนัน ้ ฉากทัศน์จง ึ แตกต่างจากวิสย ั ทัศน์ และเมือ ่ นําเสนอฉากทัศน์แล้ว
การกําหนดกลไกในเชิงองค์กรที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการออกแบบ อนาคตที่ชัดเจน ยกตัวอย่าง เช่น การตัง ้ กระทรวงอนาคตศาสตร์ หรือ Ministry of Futures เป็นต้น กรณีตัวอย่างในต่างประเทศที่มีการจัดตั้งองค์กรที่ให้ความสําคัญกับการออกแบบ
อนาคต เช่น ประเทศสิงคโปร์ จัดตัง้ Center for Strategic Future เกาหลีใต้
อนาคตสดใสรอเราอยู่
จึงออกแบบการทํางานภายใต้ฉากทัศน์นน ้ั ๆ อย่างเหมาะสม
จัดตัง ้ Ministry of Science, ICT and Future Planning
ประเด็นทีเ่ กีย ่ วข้องกับองค์กรทีน ่ า่ สนใจในอนาคต อาจจะครอบคลุมเรือ ่ งองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น เช่น การเปลี่ยนรูปของเทศบาล ภาษีท้องถิ่น และโครงการพัฒนาที่จะ เกิดขึ้นในพื้นที่ตนเอง
79 79
TAT The Journey
7.2
การเข้าใจนักท่องเทีย ่ วอนาคต (Tomorrow Tourist)
สังคมทุกวันนี้ คือสังคมทีผ ่ สมปนเปกันระหว่างคนรุน ่ เก่า คนรุน ่ ใหม่ คนรุน ่ กลางเก่า
กลางใหม่ มีการกําหนดนิยามและการให้คณ ุ ค่าแบบใหม่ เกิดความสุขสมแบบเร่งด่วน (Instant Gratification) เช่น การ “เทีย ่ วก่อน ผ่อนทีหลัง”
ความพยายามทําความเข้าใจนักท่องเที่ยวในอนาคตเป็นเรื่องท้าทาย
เพราะมัน
หมายถึงการเกิดขึ้นและปรับตัวของธุรกิจ การค้า ก้าวข้ามไปถึงกิจการข้ามชาติ ปัจจุบันมีองค์กร หน่วยงานหลายแห่ง นําเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการคาดการณ์และ แนวโน้มของนักท่องเที่ยวในอนาคต ดังตัวอย่างต่อไปนี้
Health is a New Wealth A Story Based on True Journey
กระแสความใส่ใจสุขภาพยังคงได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว ดังนั้น กิจกรรม การท่องเทีย ่ วในกลุม ่ Sport/Spa/Wellness ยังคงได้รบ ั ความสนใจ นอกจากนีแ ้ ล้ว
ยังรวมถึงการให้ความสําคัญกับอาหาร ซึ่งครอบคลุมทั้งเรื่องวัตถุดิบ การปรุง และ สรรพคุณในการเป็นยา (Food as a Medicine)
แนวโน้มเรื่องการรักษาสุขภาพครอบคลุมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เนือ ่ งจาก ในอนาคต คนในสังคมโลกมีความโน้มเอียงที่จะเป็นโรคเครียด ซึมเศร้า และอัตรา การฆ่าตัวตายจะสูงขึน ้
ดังนัน ้
การมองหากิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ ่ ร่างกายและ
ดีต่อจิตใจ จึงเป็นทางออกสําหรับการใช้ชีวิตที่สมดุล (Work Life Balance)
Ethical & Eco Travellers การท่องเทีย ่ วอย่างรับผิดชอบ มีจริยธรรม และให้ความสําคัญกับความยัง ่ ยืนและ สิง่ แวดล้อม คือลักษณะทัว่ ไปของนักท่องเทีย ่ วในอนาคต ดังนัน ้ การดําเนินการใด ๆ
เกี่ยวกับการจัดเตรียมสิ่งอํานวยความสะดวก การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมทางการท่องเทีย ่ ว จึงจําเป็นทีจ ่ ะต้องให้ความสําคัญกับมิตท ิ างจริยธรรมและ สิง่ แวดล้อม รวมถึงความเคารพในวิถช ี วี ต ิ ของประชาชนท้องถิน ่ ทีเ่ ป็นเจ้าของบ้านด้วย
กระแสความสนใจเรือ ่ งนีเ้ ริม ่ แพร่หลายในกลุม ่ นักท่องเทีย ่ ว และส่งผลต่อภาคธุรกิจ บริการทีเ่ กีย ่ วข้อง เช่น ธุรกิจทีพ ่ ก ั ร้านอาหาร ร้านค้าของทีร่ ะลึก และบริษท ั นําเทีย ่ ว
ปัจจุบน ั กิจกรรมท่องเทีย ่ วประเภทการแสดงของสัตว์ ได้รบ ั การประณามและประท้วงใน
วงกว้าง โดยเฉพาะในกรณีประเทศไทยทีใ่ ช้ชา้ งเพือ ่ การจัดแสดงโชว์ให้นก ั ท่องเทีย ่ ว ได้รบ ั การต่อต้านในวงกว้าง
80
In-home Leisure: Going Nowhere at All! ในช่วงปี ค.ศ. 2007 สังคมอเมริกน ั ประสบวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ทําให้คนอเมริกน ั ไม่มเี งิน และไม่สามารถเดินทางท่องเทีย ่ วในระยะไกลได้ ดังนัน ้ จึงเกิดรูปแบบการเทีย ่ ว พักผ่อน ในบ้าน ละแวกบ้าน เช่น การใช้เวลาอ่านหนังสือ ดูหนัง ทําสูตรอาหารใหม่ ๆ การนอนเล่น การนัง ่ นิง ่ ๆ สิง ่ เหล่านีเ้ รียกว่า Staycation
เมือ ่ พิจารณาจากข้อมูลงานวิจย ั ทีศ ่ ก ึ ษาเกีย ่ วกับพฤติกรรมลักษณะนี้ เช่น งานวิจย ั ชือ ่ Doing Nothing and Nothing to Do: The Hidden Value of Empty Time and
Boredom (2013) และบทความเรือ ่ ง The Most Relaxing Vacation You can Take is
Going Nowhere At All งานวิจย ั และบทความวิชาการเหล่านีพ ้ ยายามจะสือ ่ สารเรือ ่ ง ความสุขทีเ่ กิดจากการไม่ทาํ อะไร
และนวัตกรรม จากรายงานของ The Future of Free Time Foundation ระบุว่า
นักท่องเทีย ่ วเบือ ่ หน่ายกับการเสียเวลาของเครือ ่ งบิน ขัน ้ ตอนการขอวีซา่ ความวุน ่ วาย ของการประกันการเดินทาง และจุดท่องเที่ยวเต็มไปด้วยความพลุกพล่าน รวมถึง การเกิดอุบต ั เิ หตุและการลักขโมย
ดังนัน ้ นักท่องเทีย ่ วในอนาคตจะหันมาให้ความสนใจกับการพักผ่อนทีบ ่ า้ น (In-home Leisure) โดยยอมลงทุนกับการซื้ออุปกรณ์ด้านความบันเทิงไว้ที่บ้าน (In-home
อนาคตสดใสรอเราอยู่
ในอนาคตการใช้เวลาว่างของคนเริ่มเปลี่ยนไปตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
Entertainment) ซึง ่ มีความสามารถในการปฏิสม ั พันธ์สง ู มาก สร้างความสนุกตืน ่ เต้น
เสมือนจริง (Virtual Reality) รวมทัง้ การลงทุนปรับปรุงและตกแต่งบ้านให้มบ ี รรยากาศ เหมือนรีสอร์ต สร้างความสุขด้วยการทําเมนูอาหารใหม่ ๆ และการอ่านหนังสือ เป็นต้น เมือ ่ นักท่องเทีย ่ วในอนาคตเริม ่ มีรป ู แบบการใช้เวลาว่างทีห ่ ลากหลายขึน ้
การเดินทาง
ท่องเที่ยวจึงเป็นกิจกรรมการใช้เวลาว่างที่กาํ ลังได้รับความนิยมลดลง มีการแทนที่ ด้วยการพักผ่อนที่บ้านมากขึ้น จึงกลายเป็นเรื่องยากลําบากที่จะให้คนเดินทาง ท่องเทีย ่ วและใช้จ่ายเงินเพื่อการเดินทางเพิ่มขึ้น
81
TAT The Journey
Digital Nomad ในน้า ํ มีปลา ในนามีรา ้ นกาแฟ ผู้เร่ร่อนดิจิทัล หรือ Digital Nomad คือบุคคลที่หาเลี้ยงชีพด้วยธุรกิจออนไลน์
หาเลี้ยงชีพผ่านระบบโทรคมนาคมพร้อมกับการเดินทางท่องเที่ยว ไม่มีที่พักเป็น
หลักแหล่ง เลือกประเทศใดประเทศหนึง่ เป็นแหล่งพํานัก และใช้เป็นฐานในการเดินทาง ท่องเที่ยวในคราวเดียวกัน จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น Nomad List/Indie Hacker
Crunchbase พบว่า จังหวัดเชียงใหม่และกรุงเทพมหานครเป็นสถานทีท ่ ผ ่ี เู้ ร่รอ ่ นดิจท ิ ล ั เลือกเป็นฐานที่พักอาศัย ทํางาน ท่องเทีย ่ ว เหตุผลทีเ่ ลือก คือค่าครองชีพไม่แพงและ คุณภาพชีวิตดี
สิ่งอํานวยความสะดวกที่ต้องการ คือพื้นที่ทํางานร่วมกัน หรือ Co-working Space A Story Based on True Journey
(ปัจจุบน ั ร้านกาแฟถูกใช้ในฐานะทีเ่ ป็นพืน ้ ทีท ่ าํ งานสาธารณะ) และความเร็วของเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ปัจจุบน ั นี้ หลายประเทศเริม ่ ให้ความสําคัญกับกลุม ่ เร่รอ ่ นดิจท ิ ล ั มากขึน ้ ในขณะเดียวกันก็เริม ่ วิเคราะห์เกีย ่ วกับผลกระทบทีจ ่ ะเกิดจากกลุม ่ นีด ้ ว้ ยเช่นกัน
Chindia Factors อยากเก็บเธอไว้ทง ้ั สองคน นักท่องเทีย ่ วในอนาคตทีม ่ แ ี นวโน้มจะทรงอิทธิพลมาก คือ ชาวจีนและอินเดีย เนือ ่ งด้วย
ทั้งสองประเทศนี้มีจํานวนประชากรที่สูงมาก และเริ่มมีกําลังซื้อ เริ่มออกเดินทาง ท่องเที่ยว การศึกษาวิจัยเพื่อเจาะลึกพฤติกรรมนักท่องเที่ยวทั้ง 2 ประเทศนี้จึงเป็น สิ่งจําเป็น ในขณะเดียวกัน การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการ เดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวทั้ง 2 ประเทศนี้ก็สาํ คัญเช่นกัน
82
83
อนาคตสดใสรอเราอยู่
07
TAT The Journey
7.2
อนาคตท่องเทีย ่ วไทย นับแต่นไ้ี ปไม่เหมือนเดิม
60 ปีที่ผ่าน กับงานที่ต้องสานต่อ การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเทีย ่ วไทยตลอด 60 ปีทผ ่ี า่ นมา จากจํานวนนักท่องเทีย ่ ว ต่างชาติ 81,341 คน ในปี พ.ศ. 2503 เพิม ่ เป็น 39 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2562
จากการที่มีหน่วยงานหลักด้านการท่องเที่ยวหน่วยงานเดียว ปัจจุบันเพิ่มอีกหลาย
หน่วยงาน ตั้งแต่หน่วยงานระดับกระทรวงที่คุมในส่วนยุทธศาสตร์และนโยบายคื อ
กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬา หน่วยงานรัฐวิสาหกิจทีด ่ แ ู ลเรือ ่ งการส่งเสริมการตลาด คือการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย หน่วยงานรูปแบบองค์การมหาชนที่ดําเนินการ ในกิจการเฉพาะ 2 หน่วยงาน คือ สํานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ ดําเนินการด้านส่งเสริมอุตสาหกรรม MICE: Meetings, Incentives, Conventions and
A Story Based on True Journey
Exhibitions และองค์การบริหารการพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษเพือ ่ การท่องเทีย ่ วอย่างยัง่ ยืน มีหน้าที่บริหารและพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวในเชิงบูรณาการ
นอกจากนั้นยังมีหน่วยงานระดับกระทรวงต่าง ๆ หน่วยงานภาคเอกชน และสถาบัน การศึกษาทีม ่ ส ี ว่ นสนับสนุนให้การท่องเทีย ่ วไทยเติบโตก้าวหน้า การสานต่องานท่องเทีย ่ ว ในอนาคตจําเป็นต้องให้ความไว้เนื้อเชื่อใจคนรุ่นใหม่
ยกระดับขีดความสามารถ
การเสริมสร้างทักษะ (Skill) และการเพิ่มศักยภาพ (Potential) คนรุ่นใหม่ และ
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ (Networking) ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
การท่องเทีย ่ วไทยในอนาคตคือกิจกรรมทีน ่ าํ มาซึง่ ความสุข (Happiness) ความก้าวหน้า (Progress) และความเจริญรุง ่ เรือง (Prosperity) ของชนในชาติ
ประเด็นเรือ ่ งความเปลีย ่ นแปลงทีต ่ อ ้ งเกิดขึน ้ แน่ ๆ จําเป็นต้องวางแผนเตรียมรับมือ ให้พร้อม เช่น การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (Aging Populations) เอเชียเริ่มมีอํานาจ
ทางเศรษฐกิจ (Shift in Economic Power to Asia) โดยเฉพาะจีนและอินเดีย การเผชิญ กับปัญหาการเปลีย ่ นแปลงทางสภาพอากาศและการจํากัดของทรัพยากร (Climate Change and Resource Constraints) เทคโนโลยีทพ ่ี ฒ ั นาขึน ้ (Technological Change) และปัญหาทางการเมือง (Political Stresses)
84
07
ฝันให้ไกล ไปให้ถึง All I have to Do is “DREAM” จากการกําหนดตําแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ทางการค้า (Trade Strategic Position)
ของรัฐบาล เป็นประเด็นทีน ่ า่ ติดตาม เนือ ่ งจากยุทธศาสตร์ดง ั กล่าวสามารถต่อยอด
สูก ่ ารส่งเสริมการท่องเทีย ่ วได้ หากสามารถผลักดันตําแหน่งยุทธศาสตร์การค้าตามที่ ระบุไว้ได้จริง มีตวั ชีว้ ด ั ชัดเจน ภาคการท่องเทีย ่ วไทยจะเกิดสินค้าใหม่ (New Tourism
Products) และศูนย์กลางทางการท่องเทีย ่ วใหม่ (New Tourist Destinations) ทีม ่ ี ศักยภาพโดดเด่น สามารถดึงดูดกลุม ่ นักท่องเทีย ่ วได้ เมืองท่องเทีย ่ วในประเทศจะมี
Branding ชัดเจน ตัวอย่าง New Tourist Destination ทีเ่ กิดจากการผลักดันยุทธศาสตร์
การค้า เช่น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมทุกภาค ศูนย์กลาง การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ศูนย์กลางข้าวหอมมะลิโลก ศูนย์กลางผลไม้ออร์แกนิก เมืองนวัตกรรมอาหาร เป็นต้น
ในอดีตเราให้ความสําคัญกับคุณภาพมากกว่าปริมาณ แต่ปัจจุบัน โลกกําลังให้ ความสําคัญกับปริมาณ ทีเ่ รียกว่า Big Data หรือชุดข้อมูลขนาดใหญ่และเป็นข้อมูล
ทีม ่ ค ี วามซับซ้อนมาก ทีส ่ าํ คัญคือ ต้องเป็นข้อมูลทีม ่ ป ี ริมาณมากพอ Big Data คือ ข้อมูลลูกค้า หรือผูบ ้ ริโภค ทีส ่ ามารถนํามาวิเคราะห์พฤติกรรมเชิงลึก วิเคราะห์ชอ ่ งทาง
การจัดจําหน่าย การรับสื่อ และการเลือกสินค้าบริการ ในอนาคต ถ้ามีการใช้ ประโยชน์จาก Big Data จะทําให้เกิดการส่งเสริมทําการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ
อนาคตสดใสรอเราอยู่
ปริมาณคือคุณภาพ: Big Data, Big Idea, Big Picture
สิง ่ ทีก ่ าํ ลังจะเกิดขึน ้ ในอนาคตสามารถคาดเดาเบือ ้ งต้นว่าจะมีรป ู แบบต่าง ๆ เช่น Fast Innovation, Global Connectivity, Hyper-Competition, Real Time Transaction
และ Digital Lifestyle การเตรียมรองรับสิง ่ ทีจ ่ ะเกิดขึน ้ เหล่านี้ เป็นความท้าทาย ทีจ ่ ะเกิดขึน ้ อย่างหลีกเลีย ่ งไม่ได้
Tourism Reinventing: Low Growth, High Prosperity การพลิกมุมคิดเกีย ่ วกับการท่องเทีย ่ วเกิดขึน ้ ตลอดเวลา รูปแบบการท่องเทีย ่ วถูกสร้าง สรรค์ขึ้นมาตามความสนใจของนักท่องเที่ยว
การให้ความสําคัญกับการท่องเที่ยว
ปรับเปลีย ่ นไปตามสภาพสังคม สิง่ แวดล้อม และระบบเศรษฐกิจ จากทีม ่ ง่ ุ เน้นเพิม ่ จํานวน นักท่องเทีย ่ วในปริมาณมาก มาสูป ่ ญ ั หาจํานวนนักท่องเทีย ่ วล้นเกิน (Overtourism)
การให้ความสําคัญกับประเด็นเรือ ่ งความยัง ่ ยืนของสิง ่ แวดล้อม การจัดการของเสีย พลังงานทางเลือก การนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาปรับใช้กบ ั ธุรกิจการบริการและ การท่องเทีย ่ ว เริม ่ ได้รบ ั ความสนใจในหลายประเทศ มีการนําเสนอแนวคิด Low Growth,
High Prosperity ซึง ่ มุง ่ เน้นในเรือ ่ ง Personal Happiness, Community Togetherness,
Corporate Success และ Economic Stability, Ecological Sustainability, Good Governance
85
TAT The Journey
สถานการณ์ทอ ่ งเทีย ่ วไทยปี 2562 ตลาดต่างประเทศ ที่มา : ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว ททท.
39.8
1.93 ฿
ล้านคน 4%
ล้านล้าน 3%
A Story Based on True Journey
THE AMERICAS
1.57 ล้านคน (+2.0%)
1.1 แสนล้านบาท (+1.0%)
AFRICA
จํานวนนักท่องเทีย ่ ว รายได้จากนักท่องเทีย ่ ว
1.96 แสนคน (-2.0%)
ปัจจัยบวก ยกเว้น ค่าธรรมเนียม Visa on Arrival
การฟื้นตัวของ ตลาดจีน ในครึ่งปีหลัง
1.4 หมืน ่ ล้านบาท (-3.0%) การเติบโต ในอัตราสูงของ ตลาดอินเดีย
การได้รับ ความนิยมจาก ตลาดระยะใกล้
การเริม ่ เก็บและ ปรับขึน ้ ภาษี VAT หลายประเทศ
การประท้วง ที่ยืดเยื้อใน ฮ่องกง
ปัจจัยลบ เศรษฐกิจ ชะลอตัว ทัว่ โลก
86
ผลกระทบ ของสงคราม การค้า
ความไม่แน่นอน ของ Brexit
ค่่าเงินบาท แข็งค่า
00
6.57 ล้านคน (-0.6%)
4.5 แสนล้านบาท (-2.0%)
7.32 แสนคน (-5.0%)
6.0 หมืน ่ ล้านบาท (-4.0%)
16.73 ล้านคน (+5%)
7.9 แสนล้านบาท (+6%)
EUROPE
NORTHEAST ASIA MIDDLE EAST 10.78 ล้านคน (+5.0%)
ASEAN
3.4 แสนล้านบาท (+4.0%)
SOUTH ASIA
2.35 ล้านคน (+21.0%)
OCEANIA
1.0 แสนล้านบาท (+22.0%)
8.7 แสนคน (-4.0%)
6.4 หมืน ่ ล้านบาท (-6.0%)
87
TAT The Journey
สถานการณ์ทอ ่ งเทีย ่ วไทยปี 2562
ตลาดในประเทศ
ที่มา : ศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว ททท.
ภาคเหนือ
18.49 ล้านคน-ครัง ้ (+1%)
A Story Based on True Journey
1.38 แสนล้านบาท (+1%)
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ
ภาค ตะวันตก กรุงเทพฯ
ภาค ตะวันออก
19.25 ล้านคน-ครัง ้ (+1%) 0.95 แสนล้านบาท (+3%)
ภาคใต 21.47 ล้านคน-ครัง ้ (+1%) 2.02 แสนล้านบาท (+2%) จํานวนนักท่องเทีย ่ ว 88
รายได้จากนักท่องเทีย ่ ว
00
23.62 ล้านคน-ครัง ้ (+2%) 0.43 แสนล้านบาท (+2%)
166.84
ล้านคน-ครัง ้ 0.06%
1.08฿
26.81 ล้านคน-ครัง ้ (+1%) 0.96 แสนล้านบาท (+3%)
ล้านล้าน
40.82 ล้านคน-ครัง ้ (-3%)
ปัจจัยบวก
3.72 แสนล้านบาท (-1%)
มาตรการ ชิม ช้อป ใช้
16.38 ล้านคน-ครัง ้ (+3%) 1.34 แสนล้านบาท (+3%)
1.18%
แคมเปญ 100 เดียว เที่ยวทั่วไทย
วันธรรมดา ราคา Shock โลก
ขยายเส้นทาง เชื่อมโยง ภูมิภาค
ปัจจัยลบ เศรษฐกิจ ชะลอตัว ทัว่ โลก
สงครามการค้า ระหว่าง อเมริกา-จีน
ค่่าเงินบาท แข็งค่า
89
TAT The Journey
นานาทัศนะจากผูบ ้ ริหาร ททท.
หากเปรียบเทียบ ททท. เสมือนคนคนหนึง ่ คนทีผ ่ า่ นร้อน ผ่านหนาว ผ่านเสียงหัวเราะ ร้องไห้ ผ่านความผิดหวัง สมหวัง มาถึง 60 ปี เป็น 60 ปีท่ี ททท. เติบใหญ่ สง่างาม แข็งแกร่ง เป็นแรง เป็นกําลัง ทีส ่ าํ คัญของชาติ
A Story Based on True Journey
แต่เมือ ่ มองย้อนผ่านเวลา เราเห็นความสําเร็จของ ททท. ในการเป็นผูน ้ าํ ด้านการตลาด การท่องเทีย ่ ว แม้เราไม่ได้ละเลยหลงลืมเพือ ่ นร่วมทางในห่วงโซ่อป ุ ทาน แต่เพราะเรามี โจทย์ท้าทายที่ปลายทางรอเราอยู่ เราจึงมุ่งมั่น... เดินหน้า... ฟันฝ่า... เพือ ่ เป้าหมาย แต่กลับกลายเป็นปัญหาของ “ความไม่พร้อม” 60 ปีทผ ่ี า่ นมา เราเรียนรูอ ้ ะไร
60 ปีตอ ่ ไป เราต้องเหลียวหลังเพือ ่ รอ... แล้ว.. ไปต่อ... ด้วยกัน ทัง ้ อุตสาหกรรมฯ ศรีสด ุ า วนภิญโญศักดิ์ รองผูว้ า่ การด้านตลาดยุโรป แอฟริกา ตะวันออกกลาง และอเมริกา
ในอนาคต การท่องเทีย ่ วของไทยจะเติบโตอย่างต่อเนือ ่ งและสมดุลบนความพอเพียง ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่คงความเป็น
เอกลักษณ์ และสิง ่ ทีท ่ ว่ั โลกเกิดการตืน ่ ตัว คือการสร้างจิตสํานึกให้เกิดการท่องเทีย ่ ว อย่างรูค ้ ณ ุ ค่าและการรณรงค์รก ั ษาสิง ่ แวดล้อม
สําหรับหน่วยงาน ททท. จะเป็นหน่วยงานทีส ่ ร้างความยัง่ ยืนให้กบ ั การท่องเทีย ่ วโดยจะ มุง ่ สร้างความเชือ ่ มัน ่ ในคุณค่าของแบรนด์ประเทศไทย ผลักดันและส่งเสริมแนวคิด
“การท่องเทีย ่ วอย่างรับผิดชอบ (Responsible Tourism)” ประชาสัมพันธ์การให้ความสําคัญ
กับสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวในแง่มุมของกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อ สิง ่ แวดล้อมและสังคม
ธเนศวร์ เพชรสุวรรณ รองผูว้ า่ การด้านสือ ่ สารการตลาด
90
00
นานาทัศนะจากผูบ ้ ริหาร ททท.
วิสัยทัศน์ของการท่องเที่ยวไทยในอนาคตอันใกล้ต้องเน้นเรื่องการให้ประสบการณ์
ทีด ่ ก ี บ ั นักท่องเทีย ่ วทุกกลุม ่ ไม่วา่ จะเป็นคนไทยหรือคนต่างชาติ โดยต้องให้ความ สําคัญกับความรูส ้ ก ึ ดี ๆ ความประทับใจของนักท่องเทีย ่ ว ณ ทุกจุดสัมผัส รวมถึง
ความปลอดภัยและสิง ่ อํานวยความสะดวกต่าง ๆ โดยคนไทยทัง ้ มวลเป็นผูม ้ อบให้ การทีอ ่ ต ุ สาหกรรมท่องเทีย ่ วเติบโตมาจนทุกวันนี้ และการทีป ่ ระเทศไทยเป็นจุดหมาย
ปลายทางยอดนิยมทางการท่องเทีย ่ วในอันดับต้น ๆ ของโลกก็มาจากคนไทยเป็นหลัก
นั่นเอง ซึ่งความเป็นมิตรของคนไทยและความสนุกในการเที่ยวเมืองไทยจะเป็นข้อ ได้เปรียบทางการท่องเทีย ่ วในสภาวะทีท ่ ก ุ ประเทศมุง่ ส่งเสริมการท่องเทีย ่ วอย่างเข้มข้น
ฉัททันต์ กุญชร ณ อยุธยา รองผูว้ า่ การด้านตลาดเอเชียและแปซิฟก ิ ใต้
การท่องเที่ยวทําให้เกิดความสุข และช่วยให้มนุษย์ได้รับการพักผ่อนอันเป็นสิทธิขั้น พื้นฐานของมนุษยชาติ ตามมติเอกฉันท์ในการประชุมครั้งที่ 21 พ.ศ. 2510 ของ องค์การสหประชาชาติ อันเป็นปีทอ ่ งเทีย ่ วสากล ดังนัน ้ การท่องเทีย ่ วนอกจากจะเป็น การสร้างความสุขให้นักเดินทางแล้ว ยังเป็นเครื่องมือการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจ ที่สําคัญ ในปัจจุบันหลายประเทศกําหนดทิศทางให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็น องค์ประกอบหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศที่มีความสําคัญ มีการกําหนด กลยุทธ์ในการนํานักท่องเทีย ่ วจากประเทศต่าง ๆ มาท่องเทีย ่ ว และในอนาคต การแข่งขัน แย่งชิงนักท่องเที่ยวจากประเทศต่าง ๆ จะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ไทยเทีย ่ วไทย จึงเป็นแนวทางหนึง ่ ทีจ ่ ะทําให้ชวี ต ิ คนไทยมีความสุข พบความสวยงาม ของแหล่งท่องเที่ยว ได้ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาไทย ได้สัมผัสคุณค่าประสบการณ์ อย่างเป็นรูปธรรม ได้ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรูค ้ ณ ุ ค่า รวมถึงได้รบ ั แรงบันดาลใจใหม่ ๆ จากการเดินทางท่องเทีย ่ ว และทีส ่ าํ คัญไปกว่านัน ้ ไทยเทีย ่ วไทย จะเป็นกลไกหนึง ่ ทีม ่ ค ี วามสําคัญในการขับเคลือ ่ นเศรษฐกิจของชาติให้เติบโตมัน ่ คง ดังนัน ้ การส่งเสริมไทยเทีย ่ วไทย จึงเป็นความภูมใิ จของด้านตลาดในประเทศ ททท. ทีเ่ ป็นผู้ส่งมอบความสุขให้คนไทย ให้เมืองไทย ใคร ๆ ก็เที่ยวได้ ร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศตลอดไป นพดล ภาคพรต รองผูว้ า่ การด้านตลาดในประเทศ
91 91
TAT The Journey
นานาทัศนะจากผูบ ้ ริหาร ททท.
ททท. มุง่ เน้นการเปลีย ่ นผ่านเข้าสูย ่ ค ุ สมัยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดจ ิ ท ิ ล ั โดยใช้
กรอบแนวทางง่ายๆ 4 ประการ คือ ผสมผสาน-บริหาร-บริการ-สานพลัง เพือ ่ สร้าง คุณประโยชน์ตอ ่ อุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วของไทย
“ผสมผสาน” เอกลักษณ์และการบริการด้วยอัธยาศัยไมตรีของไทย เข้าไปในทุก ช่องทางของเทคโนโลยีดจ ิ ท ิ ล ั
“บริหาร” ความพึงพอใจของนักท่องเทีย ่ ว โดยรับฟังความต้องการทีจ ่ ะนําไปสูก ่ าร ออกแบบประสบการณ์ทท ่ี รงคุณค่าและบอกต่อเรือ ่ งราวดี ๆ
“บริการ” ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ตรงตามความต้องการ ให้กับผู้เกี่ยวข้อง ทั้ง A Story Based on True Journey
นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ ชุมชน และเจ้าของสถานที่ท่องเที่ยว
“สานพลัง” ผูม ้ ส ี ว่ นได้สว่ นเสีย โดยสร้างช่องทาง O to O to O เชือ ่ มต่อข้อมูล Offline ไปสู่ Online ไปสูก ่ ารเดินทาง On Ground และหมุนเวียนเชือ ่ มโยงอย่าง เป็นระบบ
ศิรป ิ กรณ์ เชีย ่ วสมุทร รองผูว้ า่ การด้านดิจท ิ ล ั วิจย ั และพัฒนา
60 ปีแห่งการสร้างองค์กรให้เข้มแข็ง 60 ปีแห่งการพัฒนาบุคลากร ททท. การส่งต่อ
ความรู้ จากรุน ่ สูร่ น ุ่ ทําให้การท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) ก้าวสูก ่ ารเป็นองค์กร สมรรถนะสูง เป็นผู้นําในการผนึกพลังทั้งภาครัฐและเอกชน จับมือร่วมกันนําพา ประเทศไทยให้เป็นผูน ้ าํ ด้านการท่องเทีย ่ วโลก
เส้นทางในอนาคตต่อจากนี้ ท่ามกลางความท้าทายและอุปสรรคต่าง ๆ การแข่งขัน ทางการท่องเทีย ่ วทัว่ โลกทีร่ น ุ แรงขึน ้ การเปลีย ่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และ
เทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรือ ่ งท้าทายที่ ททท. จะยังคงพัฒนาตนเองตลอดเวลา
อย่างไม่หยุดยัง ้ รวมทัง ้ ผนึกกําลังเป็นหนึง ่ เดียวกับทุกภาคส่วนเพือ ่ ให้ประเทศไทย ยังคงเป็นแหล่งท่องเทีย ่ วยอดนิยม (Preferred Destination) อย่างยัง ่ ยืนต่อไป
สมฤดี จิตรจง รองผูว้ า่ การด้านบริหาร
92
00
นานาทัศนะจากผูบ ้ ริหาร ททท.
ททท. สามารถนําเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์กับแนวทางการทํางาน
เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมได้สําเร็จ โดยกระบวนการทํางานของโครงการต่าง
ๆ
ที่ประสบความสําเร็จถูกนํามาถอด
เป็ น องค์ ค วามรู้ ใ นรู ป ของโครงการต้ น แบบเพื่ อ เผยแพร่ ต่ อ บุ ค ลากรในองค์ ก ร รวมทัง ้ บุคคลภายนอกอย่างเป็นระบบ โดยหน่วยงานภายนอกทีเ่ กีย ่ วข้องยอมรับใน
กระบวนการทํางานของโครงการต้นแบบ ทั้งนี้ ททท. สามารถยืนยันความเป็น ผูช ้ น ้ี าํ ในอุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ วได้ ผ่านจํานวนโครงการต้นแบบทีม ่ ก ี ารพัฒนา
ต่อยอดตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิง ่ จํานวนของบุคคลหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทีน ่ าํ ต้นแบบของ ททท. ไปสร้างหรือพัฒนาธุรกิจของตน ซึง ่ ท้ายสุด ททท. สามารถ ก้าวไปสูก ่ ารเป็นองค์กรสมรรถนะสูงอย่างเต็มภาคภูมิ และเป็นหนึง่ ในองค์กรทีม ่ รี ะบบ การทํางานภายในเป็นเลิศภายใต้มาตรฐานสากล
ทีส ่ ามารถพัฒนาบุคลากรของรัฐ
ทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ จนติดอันดับองค์กรของรัฐทีป ่ ระชาชนและพันธมิตรยอมรับในความสามารถ รวมทั้งเป็น 1 ใน 10 ขององค์กรในประเทศไทยที่คนอยากทํางานด้วยมากที่สุด
น้าํ ฝน บุณยะวัฒน์ รองผูว้ า่ การด้านนโยบายและแผน
การก้าวย่างสู่การท่องเที่ยวในอนาคต ททท. ยังคงมุ่งมั่น ส่งเสริมให้อุตสาหกรรม
การท่องเที่ยวไทยก้าวสู่ความเป็นเลิศในทุกมิติ ทั้งการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยมของการท่องเทีย ่ วอย่างมีความรับผิดชอบ (Responsible Tourism) ให้แก่ผท ู้ ่ี อยู่ในห่วงโซ่อุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการ ชุมชนท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว และพนักงาน ททท.
เพือ ่ การเติบโตขององค์กรแบบทัว่ ถึงและยัง ่ ยืน (Inclusive Growth) การทํางานจะ
ต้องสอดประสานกับบริบทของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละปี ซึ่งหมายรวมถึง อุตสาหกรรมการท่องเทีย ่ วในยุค Disruptive Technology โดยจะให้ความสําคัญกับ
การทํางานที่มุ่งเน้นการเรียนรู้และประยุกต์ใช้นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิด มิตใิ หม่ของกิจกรรมด้านการท่องเทีย ่ วแบบมีสว่ นร่วมอย่างสมดุล
ฐาปนีย์ เกียรติไพบูลย์ รองผูว้ า่ การด้านสินค้าและธุรกิจท่องเทีย ่ ว
93 93
94
A Story Based on True Journey
TAT The Journey
ท่องเที่ยวไทย นับแต่นี้ไป ไม่เหมือนเดิม
95
TAT The Journey
คําลงท้ายและคําขอบคุณ
หนังสือ 60 ปี ททท. A Story Based on True Journey คือบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการทํางาน ด้านการท่องเที่ยวของไทย รายละเอียดเนื้อหามาจาก 2 ส่วนหลัก คือ การพูดคุย สัมภาษณ์บุคลากรที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวในช่วงเวลาที่ผ่านมา และการสืบค้นข้อมูลจากเอกสาร หลักฐานที่มีอยู่ ข้อมูลที่รวบรวมไว้ พยายามจะตรวจสอบความถูกต้องจากทุกแหล่งที่มี แต่อาจจะตกหล่น ขาดตอน ไม่ครบถ้วน ซึ่งเกิดจากข้อจํากัดหลาย ๆ ประการ บุคคลสําคัญที่มีส่วนผลักดันหนังสือเล่มนี้ นอกเหนือจากคณะที่ปรึกษาและกองบรรณาธิการแล้ว ยังมีคณะบุคคลที่ต้องขอขอบคุณเป็นพิเศษ ที่กรุณาสละเวลาในการให้คาํ ปรึกษา ให้ข้อคิดเห็น ชี้ประเด็นที่น่าสนใจ คณะบุคคลดังกล่าวประกอบด้วย
A Story Based on True Journey
อดีตผู้ว่าการ ททท. นายภราเดช พยัฆวิเชียร และนายสุรพล เศวตเศรนี อดีตรองผู้ว่าการ ททท. นายชัยสงค์ ชูฤทธิ์และนายพงศธร เกษสําลี อดีตผู้อํานวยการฝ่ายบริการการตลาด ททท. นายวิวัฒน์ชัย บุญยภักดิ์
นอกจากคณะบุคคลแล้ว ยังมีเอกสารหลายรายการที่น่าสนใจ และกล่าวอ้างไว้ในหนังสือเล่มนี้ จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องขอบันทึกรายชื่อไว้ในคําขอบคุณ The Leisure Economy: How Changing Demographics , Economics and Generational Attitudes Will Reshape Our Lives and Our Industries เขียนโดย Linda Nazareth Doing Nothing and Nothing to Do: The Hidden Value of Empty Time and Boredom โดย Manfred F.R. Kets de Vries The most relaxing vacation you can take is going nowhere at all โดย Ephrat Livni Toolbox for Crisis Communications in Tourism โดย UNWTO Economic Crisis, International Tourism Decline and It’s Impact on the Poor โดย UNWTO The Global Risks Report โดย World Economic Forum ‘Overtourism’ ? – Understanding and Managing Urban Tourism Growth beyond Perception โดย UNWTO Global Peace Index 2019, Measuring Peace in a Complex World โดย Institute for Economics & Peace
ขอขอบคุณสถานที่ซึ่งเป็นส่วนสําคัญมาก ในการทําให้หนังสือเล่มนี้เป็นรูปเป็นร่างได้ สถานที่เหล่านั้น คือ สํานักหอสมุด ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตท่าพระจันทร์ หอสมุดเมืองแห่งกรุงเทพมหานคร ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ห้องสมุดสุข กาย ใจ ห้องสมุดศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ และห้องสมุด ททท. สํานักงานใหญ่ สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบคุณบุคลากรทุกสาขาอาชีพ ทีม ่ ส ี ว่ นเกีย ่ วข้องกับการทํางานด้านการท่องเทีย ่ วในประเทศไทย หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะมีประโยชน์อยู่บ้าง ไม่มากก็น้อย
กองบรรณาธิการ 96
TAT
ผู้นำภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
The Journey
ตั้งแต่ก่อตั้งองค์กร
ผูอำนวยการ อ.ส.ท.
นายกรัฐมนตรี 1. จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต 2. จอมพล ถนอม กิตติขจร 3. นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 4. ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช 5. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช 6. ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช 7. นายธานินทร กรัยวิเชียร 8. พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันท 9. พลเอก เปรม ติณสูลานนท 10. พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ 11. นายอานันท ปนยารชุน 12. พลเอก สุจินดา คราประยูร 13. นายมีชัย ฤชุพันธุ 14. นายอานันท ปนยารชุน 15. นายชวน หลีกภัย 16. นายบรรหาร ศิลปอาชา 17. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ 18. นายชวน หลีกภัย 19. นายทักษิณ ชินวัตร 20. พลเอก สุรยุทธ จุลานนท 21. นายสมัคร สุนทรเวช 22. นายสมชาย วงศสวัสดิ์ 23. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 24. นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร 25. พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
(9 ก.พ. 2502 ถึง 8 ธ.ค. 2506) (9 ธ.ค. 2506 ถึง 14 ต.ค. 2516) (14 ต.ค. 2516 ถึง 15 ก.พ. 2518) (15 ก.พ. 2518 ถึง 14 มี.ค. 2518) (14 มี.ค. 2518 ถึง 20 เม.ย. 2519) (20 เม.ย. 2519 ถึง 6 ต.ค. 2519) (8 ต.ค. 2519 ถึง 20 ต.ค. 2520) (11 พ.ย. 2520 ถึง 3 มี.ค. 2523) (3 มี.ค. 2523 ถึง 4 ส.ค. 2531) (4 ส.ค. 2531 ถึง 23 ก.พ. 2534) (2 มี.ค. 2534 ถึง 7 เม.ย. 2535) (7 เม.ย. 2535 ถึง 24 พ.ค. 2535) (24 พ.ค. 2535 ถึง 10 มิ.ย. 2535) (10 มิ.ย. 2535 ถึง 23 ก.ย. 2535) (23 ก.ย. 2535 ถึง 13 ก.ค. 2538) (13 ก.ค. 2538 ถึง 25 พ.ย. 2539) (25 พ.ย. 2539 ถึง 9 พ.ย. 2540) (9 พ.ย. 2540 ถึง 9 ก.พ. 2544) (9 ก.พ. 2544 ถึง 19 ก.ย. 2549) (1 ต.ค. 2549 ถึง 29 ม.ค. 2551) (29 ม.ค. 2551 ถึง 9 ก.ย. 2551) (9 ก.ย. 2551 ถึง 2 ธ.ค. 2551) (17 ธ.ค. 2551 ถึง 5 ส.ค. 2554) (5 ส.ค. 2554 ถึง 7 พ.ค. 2557) (24 ส.ค.2557 ถึงปจจุบัน)
1. พลเอก เฉลิมชัย จารุวัสตร 2. พันเอก สมชาย หิรัญกิจ
(2503 ถึง 2519) (2519 ถึง 2522)
ผูวาการ ททท. 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
พันเอก สมชาย หิรัญกิจ นายธรรมนูญ ประจวบเหมาะ นายเสรี วังสไพจิตร นายภราเดช พยัฆวิเชียร นางจุฑามาศ ศิริวรรณ นางพรศิริ มโนหาญ นายสุรพล เศวตเศรนี นายธวัชชัย อรัญญิก นายยุทธศักดิ์ สุภสร
(2522 (2529 (2537 (2542 (2545 (2549 (2553 (2556 (2558
ถึง 2529) ถึง 2537) ถึง 2542) ถึง 2545) ถึง 2549) ถึง 2552) ถึง 2556) ถึง 2558) ถึงปจจุบน ั )
ปลดวางความสำเร็จเดิม เก็บไว้เป็นความภาคภูมิใจ มุ่งมั่นสรรค์สร้างงานใหม่ นำพาท่องเที่ยวไทยสู่ความยั่งยืน
Tourism Authority of Thailand
1600 Phetchaburi Road, Makkasan, Ratchathewi, Bangkok 10400, THAILAND Tel. +66 2250 5500 TAT Contact Center 1672 www.tourismthailand.org
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเทีย ่ วและกีฬา 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
นายสนธยา คุณปลื้ม นายสมศักดิ์ เทพสุทิน นายประชา มาลีนนท รอยโท สุวิทย ยอดมณี นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน นายชุมพล ศิลปอาชา นายสมศักย ภูรีศรีศักดิ์ นางกอบกาญจน วัฒนวรางกูร นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน นายพิพัฒน รัชกิจประการ
(3 ต.ค. 2545 (10 มี.ค. 2547 (2 ส.ค. 2548 (9 ต.ค. 2549 (6 ก.พ. 2551 (20 ธ.ค. 2551 (2 เม.ย. 2556 (30 ส.ค. 2557 (23 พ.ย. 2560 (10 ก.ค. 2562
ถึง 10 มี.ค. 2547) ถึง 2 ส.ค. 2548) ถึง 19 ก.ย. 2549) ถึง 6 ก.พ. 2551) ถึง 2 ธ.ค. 2551) ถึง 21 ม.ค. 2556) ถึง 22 พ.ค. 2557) ถึง 23 พ.ย. 2560) ถึง 8 พ.ค. 2562) ถึงปจจุบัน)
60 ปี ททท. A STORY BASED ON TRUE JOURNEY
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2505 • เจาภาพจัดประชุมสมัชชาสหพันธองคการสงเสริม
การทองเทีย ่ ว (International Union of Official Travel Organisations: IUOTO) ตอมาองคกรนีค ้ อ ื องคการทองเทีย ่ วโลกแหงสหประชาชาติ (UNWTO)
2506 • ททท. จัดสัมมนาเรือ ่ งการทองเทีย ่ วครัง ้ แรก “การเดินทางและการทองเทีย ่ ว”
2520 • แผนพัฒนาทองเทีย ่ วฉบับแรกของไทย ดำเนินการ
โดยบริษท ั ทีป ่ รึกษาจากประเทศเนเธอรแลนด โดยใน แผนฯ ฉบับนีช ้ น ้ ี ำเรือ ่ งการศึกษาศักยภาพและการวาง แผนพัฒนาซึง ่ สำคัญควบคูไปกับการสงเสริมตลาด
• แผนหลักพัฒนาการทองเทีย ่ วพัทยา ดำเนินการโดย JICA
2522 • ททท. เสนอแผนหลักพัฒนาการทองเทีย ่ วจังหวัดภูเก็ต เปนการวางแนวทางการพัฒนาการทองเทีย ่ ว ที่คำนึงถึงเรื่องสิ่งแวดลอม และการ Zoning พื้นที่
2523 • ททท. จัดหนวยเคลือ ่ นทีเ่ ผยแพรความรูดานการทองเทีย ่ ว และการรักษาทรัพยากรทองเทีย ่ ว
2524 • ททท. เสนอแผนพัฒนาการทองเทีย ่ วจังหวัดสงขลาและ เชียงใหม
• ททท. เผยแพร "จุลสารการทองเทีย ่ ว" จุลสารวิชาการทองเทีย ่ วฉบับแรกของไทย
2527 • ททท. จัดทำโครงการสงเสริมมาตรฐานภัตตาคาร รานอาหารสำหรับนักทองเทีย ่ ว
2528 • ททท. เสนอแผนหลักพัฒนาการทองเที่ยวเกาะสมุย
2537 • ททท. จัดตัง้ คณะกรรมการ Ecotourism
2529 • สหประชาชาติเสนอเอกสาร "Our Common Future"
• ททท. ดำเนินการศึกษาเรือ ่ งขีดความสามารถในการรองรับ การพัฒนาการทองเที่ยวเกาะสมุย • ททท. เสนอแผนหลักพัฒนาการทองเที่ยว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
2533 • ททท. จัดทำโครงการอบรมผูนำเยาวชนเพื่ออนุรักษ
2539 • ททท. ผลักดันโครงการมอบรางวัลอุตสาหกรรม
นโยบายการทองเทีย ่ วเพือ ่ รักษาระบบนิเวศ
• ททท. รณรงคและสงเสริมการทองเทีย ่ วโดยใชแนวคิด ดานอนุรก ั ษ โดยมีการเผยแพรสือ ่ โฆษณาตาง ๆ
นเรศวร-หวยขาแขง อุทยานประวัตศ ิ าสตรสุโขทัย และอุทยานประวัตศ ิ าสตรพระนครศรีอยุธยา เปนแหลงมรดกโลก
• ททท. ผลักดันงานดานอนุรก ั ษ เชน - จัดทำการศึกษาขีดความสามารถในการรองรับฯ เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ - เสนอคำขวัญ "พัฒนาคูอนุรก ั ษ พิทก ั ษทองเทีย ่ วไทย"
on Sustainable Development ที่กรุงโจฮันเนสเบิรก สาธารณรัฐแอฟริกาใต เปนการประชุมที่หางจากการ ประชุมครั้งที่ 1 ถึง 10 ป ขอสังเกต คือ เปนการประชุม ที่เนนเรื่องความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ มากกวา ความยั่งยืนทางสิ่งแวดลอม
2540 • ททท. ดำเนินการวิจย ั โครงการศึกษาเพือ ่ กำหนด
2534 • UNESCO ขึน ้ ทะเบียนเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญ
และ ประกาศใช Agenda 21
• ภาคเอกชนรวมตัวกอตั้งสมาคมไทยทองเที่ยว เชิงอนุรักษและผจญภัย
2545 • องคการสหประชาชาติจัดประชุม World Summit
ทองเที่ยวไทย (Thailand Tourism Awards) หรือรางวัลกินรี
พิทักษทองเที่ยวไทย
2535 • การประชุม Earth Summit ณ นครรีโอเดจาเนโร
การพัฒนาการทองเทีย ่ วเชิงเกษตร และนำเสนอแนวคิดเรือ ่ ง Homestay อยางเปนทางการ
• ททท. เสนอนโยบายเฉพาะกิจเรือ ่ งการทองเทีย ่ วเชิงนิเวศ (มีผลระหวางป 2538-2539)
กระตุนใหชาวโลกเปลีย ่ นวิถก ี ารดำเนินชีวต ิ ทีฟ ่ มเฟอย ุ
2531
2543 • ททท. เสนอรายงานการศึกษาแนวทาง
(เปนคณะกรรมการภายใน ททท.)
2546 • สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
• ททท. ตั้งกองอนุรักษ พรอมนำเสนอคำขวัญ “พัฒนาคูอนุรักษ พิทักษทองเที่ยวไทย”
2541
สังคมแหงชาติจัดประชุมเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อรายงานผลการพัฒนาประเทศโดยใชดัชนี ความอยูดีมส ี ข ุ และดัชนีชว้ี ด ั ความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ
• ททท. ประกาศใชนโยบายและจัดตั้งคณะกรรมการ การทองเที่ยวเชิงนิเวศแหงชาติ
• องคการทองเที่ยวโลกจัดประชุมนานาชาติครั้งแรก เรือ ่ ง Climate Change and Tourism 9-11 เม.ย. ที่ประเทศตูนีเซีย
• ททท. กอตัง ้ มูลนิธใิ บไมเขียว (Green Leaf Foundation)
2542 • ททท. เผยแพรจดหมายขาว เครือขายการทองเที่ยว
2548 • องคการทองเที่ยวโลกและองคการชำนาญพิเศษ แหงสหประชาชาติ แถลงการณเรื่อง "เปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ" (Millennium Development Goals: MDGs)
2551
• UNESCO ขึน ้ ทะเบียนพื้นที่กลุมปาดงพญาเย็นเขาใหญ เปนแหลงมรดกโลก
2550 • องคการทองเที่ยวโลกจัดประชุมนานาชาติ ครั้งที่ 2
เรื่อง Climate Change and Tourism ที่เมือง Davos สมาพันธรัฐสวิส โดยยกรางปฏิญญาดาวอส (Davos Declaration)
• ททท. จัดสัมมนา ผลกระทบภาวะโลกรอน ตอการทองเทีย ่ ว ทีจ ่ ง ั หวัดภูเก็ต เชียงใหม และกรุงเทพฯ • ททท. นำเสนอโครงการ "เก็บเมืองไทย ใหสวยงาม" • รัฐบาลตั้งคณะกรรมการการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศแหงชาติและองคการจัดการ กาซเรือนกระจก
• ประเทศไทยเปนเจาภาพจัดการประชุม สมาคมทองเทีย ่ ว ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก PATA CEO ภายใต Theme Confronting Climate Change
2556 • น้ำมันรั่วลงสูทะเล สงผลกระทบตออาวพราว
• รัฐบาลตัง ้ คณะกรรมการนโยบายการทองเทีย ่ วแหงชาติ (ท.ท.ช.) โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน
2559 • รัฐบาลปราบปราม “ทัวรศูนยเหรียญ”
• ททท. เสนอโครงการ 7 Greens
2553 • การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่องประเทศไทย กับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1
• การประชุม Asia-Pacific Climate Change Adaptation Forum 2010
2554 • ททท. ประกาศปณิธานมุงมัน ่ ในการรักษาสิง ่ แวดลอม ดวยสโลแกน "เที่ยวหัวใจใหม เมืองไทยยั่งยืน"
2555 • จังหวัดเชียงใหมนำเสนอโมเดลการบริหารจัดการเมือง
ที่เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ซึ่งอาวพราวไดรับการฟนฟู ภายใน 2 เดือน
2560 • UNWTO ประกาศใหป 2017 เปนปสากลแหง
การทองเทีย ่ วอยางยัง ่ ยืนเพือ ่ การพัฒนาภายใต แนวคิด การทองเทีย ่ วเพือ ่ สันติภาพและการพัฒนา
• โครงการตนแบบทองเทีย ่ วเชิงเกษตร Amazing Green: A'Maze เสริมรายไดใหชาวบานสูความยัง ่ ยืนในอนาคต
หรือทัวรคุณภาพต่ำจากเมืองจีน
• การปรับลดการใชทรัพยากรในภาคบริการทองเทีย ่ ว เชน ลดการใช Boarding Pass ในรูปแบบกระดาษ • ททท. + ปตท.เคมีคล ั + ECOALF เปดตัวโครงการ ลดขยะในทะเล ชือ ่ โครงการรณรงคการใชทรัพยากร หมุนเวียน Upcycling the Oceans, Thailand
• ใชแคมเปญ "ปทองเทีย ่ ววิถไี ทย เกไกอยางยัง ่ ยืน"
2561
• UNESCO ขึน ้ ทะเบียนอุทยานธรณีสตูลเปนอุทยานธรณีโลก (UNESCO Global Geoparks) แหงแรกในไทย • กรมอุทยานฯ ออกประกาศปดอาวมาหยา เพื่อฟนฟูธรรมชาติ
• โครงการรณรงคปญหาขยะ Trash Hero, Thailand
• กลุมธุรกิจทองเทีย ่ วจังหวัดภูเก็ตประกาศเลิกใช ‘พลาสติกแบบใชแลวทิง ้ ’
• โครงการ Village to the World ปฏิบต ั ก ิ ารเพิม ่ มูลคา และยกระดับการทองเทีย ่ วชุมชน
• UNESCO ขึ้นทะเบียนโขนเปนมรดกวัฒนธรรม ที่จับตองไมได
ชือ ่ โมเดลเชียงใหม
2562 • UNESCO ขึ้นทะเบียนการนวดแผนไทยเปนมรดก วัฒนธรรมที่จับตองไมได
2547 • องคการทองเที่ยวโลกเปดตัว
เชิงนิเวศ (Ecotourism Newsletter)
"กองทุนขจัดความยากจนดวยการทองเที่ยวที่ยั่งยืน" (Sustainable Tourism Eliminating Poverty Fund: ST-EP Fund)
• UNESCO ขึน ้ ทะเบียนแหลงโบราณคดีบานเชียง จังหวัดอุดรธานี เปนแหลงมรดกโลก • ททท. กอตัง ้ มูลนิธพ ิ ท ิ ก ั ษสิง ่ แวดลอมและการทองเทีย ่ ว ตอมา ในป พ.ศ. 2563 เปลีย ่ นชือ ่ เปนมูลนิธเิ พือ ่ การทองเทีย ่ วอยางยัง ่ ยืน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2504-2509
2510-2514
2515-2519
2520-2524
2525-2529
2530-2534
2535-2539
2540-2544
2545-2549
2550-2554
2555-2559
2560-2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 2
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 3
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
แนวคิดพัฒนาสาธารณูปโภค การชลประทาน พลังงานไฟฟา และระบบคมนาคม
แนวคิดชวยเหลือชาวนาพัฒนาชนบท
แนวคิดสงเสริมการสงออกปรับปรุง โครงสรางการนำเขา กระจายรายได สูชนบท รักษาระดับราคาสินคาเกษตร
ดานการทองเทีย ่ ว 1. ใหความสำคัญดานการเพิม ่ รายไดใน รูปเงินตราตางประเทศลดการขาดดุล 2. กำหนดแนวทางและมาตรการอยาง ชัดเจนในการสงเสริมการทองเทีย ่ ว 3. กำหนดเปาหมายจำนวนนักทองเทีย ่ ว และรายไดจากการทองเทีย ่ วเพิม ่ ขึน ้
ดานการทองเทีย ่ ว 1. เพิม ่ จำนวนนักทองเทีย ่ วตางชาติมากขึน ้ พักนานขึน ้ ใชจายมากขึ้น 2. ชะลอการเดินทางไปตางประเทศ ของคนไทย 3. เพิ่มนักทองเที่ยว และรายไดเพิ่มขึ้น 4. กำหนดมาตรการบำรุงรักษา แหลงทองเที่ยว 5. สงเสริมการลงทุนภาครัฐและเอกชน 6. สนับสนุนเอกชนลงทุนดานการบริการ ทองเทีย ่ วใหมีตนทุนไมสูงและแขงขันได
ฉบับที่ 1-3 ยังไมมีการนำเสนอเรือ ่ งการพัฒนาและสงเสริมการทองเทีย ่ ว
มุงขยายการผลิตดานอุตสาหกรรมและ การเกษตร เรงบูรณะทรัพยากรธรรมชาติ และระบบคมนาคม
แนวคิดระดมเงินออม อุตสาหกรรมสงออก การคาตางประเทศ พัฒนาชนบท และพืน ้ ทีช ่ ายฝงทะเลตะวันออก
แนวคิดพัฒนาฝมือแรงงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง ่ แวดลอม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระจาย ความเจริญสูภูมภ ิ าค ดานการทองเทีย ่ ว 1. สรางระบบความสัมพันธระหวาง การพัฒนาและการสงเสริม 2. เนนการปรับปรุงคุณภาพสินคา ทางการทองเทีย ่ ว 3. สงเสริมการจัดระเบียบธุรกิจ และการบริการใหมีมาตรฐาน 4. สรางความมัน ่ ใจ/ปลอดภัย 5. สงเสริมความรวมมือกับตางประเทศ ดานการสงเสริมการตลาด 6. สงเสริมไทยเทีย ่ วไทย 7. สงเสริมความเขาใจและภาพลักษณทีด ่ ี 8. สงเสริมการลงทุนใหเกิดมูลคาเพิม ่ และการลงทุนขนาดกลาง/เล็ก
แนวคิดพัฒนาเศรษฐกิจการคา กระจาย รายไดสูชนบท เรงปรับปรุงคุณภาพชีวต ิ สงเสริมรัฐวิสาหกิจและราชการ ดานการทองเทีย ่ ว 1. ใหไทยเปนศูนยกลางการทองเทีย ่ ว ในภูมภ ิ าคอาเซียน • สนับสนุนไทยเปน Gateway สูกลุม ประเทศอินโดจีน/ประเทศเพือ ่ นบาน • สนับสนุนการลงทุนภาคเอกชน 2. อนุรก ั ษและพัฒนาทรัพยากรทองเทีย ่ ว 3. ยกระดับคุณภาพกำลังคน ดานการทองเที่ยว
กำหนดใหคนเปนจุดหมายหลักของ การพัฒนา เนนการวางแผนแบบองครวม บูรณาการระหวางเศรษฐกิจกับสังคม เขาดวยกัน ดานการทองเทีย ่ ว 1. พัฒนาคุณภาพชีวิต 2. ศูนยกลางการทองเที่ยวในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต 3. เพิม ่ จำนวนนักทองเทีย ่ วและรายไดจาก การทองเทีย ่ ว
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ฟนฟูเศรษฐกิจ วางรากฐานการพัฒนา แกปญหา ความยากจน ยกระดับคุณภาพชีวต ิ ดานการทองเทีย ่ ว 1. พัฒนาการทองเทีย ่ วทีย ่ ง ่ั ยืน เพือ ่ เพิม ่ การจางงานและกระจายรายได สูชุมชน • พัฒนาคุณภาพแหลงทองเทีย ่ วให รองรับการขยายตัวของนักทองเทีย ่ ว ชาวไทย/ตางชาติ • สงเสริมบทบาทชุมชน • สงเสริมกลุมพักระยะยาว และกลุมคุณภาพจากตางประเทศ 2. พัฒนาธุรกิจบริการทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ • การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ และกีฬา • สงเสริมธุรกิจภัตตาคาร รานอาหาร • สงเสริมดานการศึกษานานาชาติ • ปรับปรุงคุณภาพบริการและผลิตภัณฑ
• เนนการพัฒนาอยางยัง ่ ยืน ภายใตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพือ ่ สรางศักยภาพคนและพัฒนา แบบองครวม • การบริหารอยางโปรงใสและเปนธรรม • กระจายผลประโยชนและพัฒนา อยางทัว่ ถึงและเทาเทียม • จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง ่ แวดลอมอยางยัง ่ ยืน • สรางสมดุล เสริมขีดความสามารถ ในการแขงขัน
ประเด็นทองเทีย ่ วอยูในยุทธศาสตร การปรับโครงสรางเศรษฐกิจฯ 1. เสริมสรางขีดความสามารถในการ แขงขันของธุรกิจบริการทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ ธุรกิจเชิงสรางสรรค 2. ฟนฟูคณ ุ ภาพแหลงแหลงทองเทีย ่ ว ใหสอดคลองกับความตองการตลาด 3. การบริหารจัดการดานการทองเทีย ่ ว ใหเกิดความสมดุลและยั่งยืน Thailand 4.0 โมเดลการขับเคลื่อน ประเทศสูความมัน ่ คง มัง ่ คัง ่ ยัง ่ ยืน เพื่อเปลี่ยนผานประเทศไทยไปสู “ประเทศในโลกทีห ่ นึง ่ ” ภายในป 2575
เสริมสรางขีดความสามารถการแขงขัน ในเชิงธุรกิจของภาคบริการทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ ทัง ้ ฐานบริการเดิมและฐานบริการใหม พัฒนาอุตสาหกรรมทองเทีย ่ วเชิงบูรณาการ โดยสงเสริมการสรางรายได ปรับปรุงกฎหมายและปรับโครงสราง การบริหารจัดการ
6 ทศวรรษการท่องเที่ยวไทย บนการเปลี่ยนผ่านระบบคิดและเศรษฐกิจโลก
60s 80s 00s 10s 70s 90s ททท. กับการส่งเสริมการตลาด
2503 • กอตัง้ องคการสงเสริมการทองเทีย ่ วแหงประเทศไทย (อ.ส.ท.)
2523 • ประกาศปทองเที่ยวไทย ครั้งที่ 1
2514 • ตั้งสำนักงานหาดใหญ จังหวัดสงขลา
• จัดทำและเผยแพรอนุสาร อ.ส.ท. ฉบับปฐมฤกษ เปนสารคดีทองเที่ยวฉบับแรกของประเทศไทย
"Visit Thailand Year"
• ตั้งสำนักงานโตเกียว ประเทศญี่ปุน
2504 • อบรมมัคคุเทศกรุนแรกรวมกับคณะอักษรศาสตร
2516 • ตั้งสำนักงานกาญจนบุรี
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
2518 • จัดทำภาพยนตรสารคดีทองเที่ยวเรือ ่ งแรก Destination Thailand
2505 • ประเทศไทยเปนเจาภาพจัดประชุมสมัชชาสหพันธ
และการทองเที่ยว (สรท.) ที่บางแสน จังหวัดชลบุรี (ปดสถาบันฯ ป 2546)
2519 • ตัง้ ศูนยชวยเหลือนักทองเทีย ่ ว
องคการสงเสริมการทองเที่ยว (International Union of Official Travel Organisations: IUOTO)
2525 • ตั้ง ททท. สำนักงานกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย
• จัดทำรายการวิทยุชอ ่ื เทีย ่ วเมืองไทย โดยรวมมือกับ สถานีวท ิ ยุแหงประเทศไทย วิทยุทหารเรือ วิทยุ สวพ. วิทยุ 1 ปณ. และวิทยุเอเชียเสรี ออกเผยแพร ทั่วประเทศ
2506 • จัดสัมมนาดานการทองเที่ยวเปนครั้งแรก
เรื่อง "การเดินทางและการทองเที่ยว" ครั้งที่ 1
2507 • จัดคาราวานรถยนตลองใต โดยเดินทางผาน
2527 • ตั้ง ททท. สำนักงานพิษณุโลกและฮองกง
2508 • ตั้งสำนักงานนิวยอรก สหรัฐอเมริกา เปนสำนักงาน
• รวมกับจังหวัดเชียงใหมจัดงานมหกรรม ไมดอกไมประดับครัง ้ แรก
ตางประเทศแหงแรก
2511 • ตั้งสำนักงานเชียงใหม เปนสำนักงานในประเทศ
• จัดงานลอยกระทง เผาเทียน เลนไฟ จังหวัดสุโขทัยเปนครัง ้ แรก
แหงแรก
2512 • ตั้งสำนักงานลอสแองเจลิส สหรัฐอเมริกา
2540 • ใชแคมเปญ Exotic Thailand: Experience the Splendours of a Kingdom
• ตัง ้ ททท. สำนักงานสุราษฎรธานี
2522 • ยกระดับจาก อ.ส.ท. เปนการทองเที่ยว
• จัดประชุมและสงเสริมการขายทองเที่ยวอาเซียน (Asean Tourism Forum: ATF) ครั้งแรก ที่กรุงเทพฯ
และสำนักงานปารีส ประเทศฝรั่งเศส แหงประเทศไทย (ททท.)
• เปดตัวบัตร "Thailand Elite Card"
• ใชแคมเปญตลาดในประเทศ "เที่ยวไทยใหสนุก เติมความสุขใหชีวิต"
วัฒนธรรม Countdown ในประเทศไทย
• เปด ททท. สำนักงานเพิ่มเติม 3 แหง เซี่ยงไฮ คุนหมิง มุมไบ
• แกวิกฤตสึนามิ โดยใชแคมเปญ "สนุกทัง้ เกาะ ลดทัง้ เมือง" และ "วันธรรมดาที่ไมธรรมดา" กระตุนการทองเทีย ่ ว ในประเทศ
และกรุงโรม ประเทศอิตาลี
2530 • ประกาศปทองเที่ยวไทย ครั้งที่ 2 "Visit Thailand Year 1987"
• ขับเคลือ ่ นองคกร ททท. โดยใชแนวปฏิบต ั ิ DISCO: D = Digital/I = Image Building/S = Sustainable/ C = Crisis Management/O = Organisation Development
2556 • ใชแคมเปญโฆษณาการทองเที่ยวในประเทศ
• เปดศูนยปฏิบัติการวางแผนการทองเที่ยวและศูนย ปฏิบัติการในภาวะวิกฤต ททท. ติดตามขอมูลและ ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ เพื่อสื่อสารและ เตรียมความพรอมในการเผชิญวิกฤต
• ตั้ง ททท. สำนักงานอุบลราชธานี
และใหประเทศไทยเปน Quality Leisure Destination
• ใชแคมเปญ "เขาเลาวา" 24 สถานที่ทองเที่ยวใหม พรอมตำนานเรื่องเลาที่ชวนคนหา • ตัง ้ ททท. สำนักงานเกาะสมุย พังงา ลำปาง นครสวรรค และฉะเชิงเทรา ยอดนิยม (Preferred Destination) อยางยั่งยืน
• ตัง้ ททท. สำนักงานโทรอนโต ประเทศแคนาดา • ใชแคมเปญ "เทีย ่ วเมืองไทย = เท" จับกลุมคน Gen Y • ใชแคมเปญ "Open to the New Shades" กรุงเทพฯ (Michelin Guide Bangkok) เลมแรกของ ประเทศไทย และเปนเลมที ่ 30 ของโลก
• ใชแคมเปญ "Amazing ไทยเท" กระตุนทองเที่ยว 55 เมืองรอง • ตัง้ ททท. สำนักงานฟุกโุ อกะ ประเทศญีป ่ น ุ อีกครัง้
หลงรักประเทศไทย
• ตัง้ ททท. สำนักงานนาน ราชบุรี บุรีรัมย สตูล และจันทบุรี
• ใชแคมเปญ "Go Thai. Be Free"
2557 • ใชแคมเปญ "12 เมืองตองหาม...พลาด"
2562 • รัฐบาลใชมาตรการ "ชิม ชอป ใช" กระตุนเศรษฐกิจ
• ใชแคมเปญ Amazing Thailand It Begins with the People
- ใชแคมเปญ "100 เดียว เที่ยวทั่วไทย" และ "วันธรรมดาราคาช็อกโลก"
• ตั้งศูนยวิจัยดานตลาดการทองเที่ยว (TAT Intelligence Center)
• ประกาศใหป 2551-2553 เปนปการทองเทีย ่ วอีสาน Visit Isan Year
• เกิดกระแสที่พักแบบบูติก (First Wave of Boutique Hotel)
• ตั้งศูนยพัฒนาวิชาการดานการตลาด การทองเที่ยว (TAT Academy)
2561 • เปดตัวคูมือแนะนำรานอาหารและที่พักมิชลินไกด
• ภาพยนตรจีนเรื่อง Lost in Thailand สรางปรากฏการณใหคนจีนเที่ยวไทย
• จัด Mega Fam เพื่อฟนฟูภาพลักษณประเทศไทย
• ตั้ง ททท. สำนักงานนิวเดลี ประเทศอินเดีย
2531 • ป 2531-2532 ประกาศเปนปศิลปหัตถกรรมไทย
• ตั้ง ททท. สำนักงานกวางโจว
ไดแก แพร แมฮองสอน นครสวรรค สุโขทัย สุพรรณบุรี เลย ประจวบคีรีขันธ สมุทรสงคราม สุรินทร ตรัง กระบี่ ชุมพร และกรุงเทพฯ
• ตั้ง ททท. สำนักงานกรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก
2560 • การสงเสริมตลาดป 2560 มุงสูการเปนแหลงทองเทีย ่ ว
หรือ Miracle Year of Amazing Thailand (29 มี.ค. 2555)
2551 • เปดสำนักงานในประเทศเพิ่มเติม 13 แหง
• กำเนิด Mascot นองสุขใจ เพือ ่ เปนตัวแทน ของการเดินทางทองเทีย ่ ว โดยใชแคมเปญ เที่ยวที่ไหนไมสุขใจเทาบานเรา และวันเดียวเที่ยวสนุก
2542 • จัดกิจกรรม Countdown ครั้งแรก และเปนจุดเริม ่
2529 • ตั้ง ททท. สำนักงานโอซากา ประเทศญี่ปุน
• ปรับเปลี่ยนแนวคิดใหการทองเที่ยว มีสวนเสริมสรางความสุขใหแกคนไทย
Unseen Thailand
1998 -1999
• รัฐบาลประกาศใหป 2554 - 2555 เปนปมหัศจรรยเมืองไทย Miracle Year
2555 • ประกาศเปดตัวโครงการมหัศจรรยเมืองไทย
• จัดเทศกาลภาพยนตรนานาชาติกรุงเทพฯ Bangkok International Film Festival
2547 • ใชแคมเปญ Amazing Thailand Unseen Treasures /
2541 • ใชแคมเปญ "Amazing Thailand"
• ขับเคลื่อนกลยุทธการตลาด Go Digital โดยผลักดัน เรื่อง Social Media/New Media และ Modern Marketing ควบคูกับการดำเนินงานเรื่อง Going Green
2550 • นำแคมเปญ "Amazing Thailand" กลับมาใชอีกครัง้
• ใชแคมเปญ "เที่ยวทั่วไทย ไปไดทุกเดือน"
• งานฉลอง 700 ป เชียงใหม
นานาชาติ (ไทย)
สำหรับบุคคลภายนอก www.tourismthailand.org/marketingdatabase
• ตัง ้ ททท. สำนักงานโฮจิมน ิ ห มอสโก และดูไบ
• ใชแคมเปญ "Unseen Thailand" กระตุนการเติบโต ของตลาดนักทองเที่ยวชาวไทย
2536 • ตั้ง ททท. สำนักงานนครนายก
2528 • ภาคเอกชนจัดตั้งสมาคมสงเสริมการประชุม
2521 • ตั้งสำนักงานนครราชสีมา
2546 • ใชแคมเปญ Amazing Thailand Experience Variety
• ใชแคมเปญ "ทองเที่ยววิถีไทย เกไกไมเหมือนใคร" และ "12 เมืองตองหาม...พลาด Plus"
2559 • สงเสริมตลาดป 2559 สูความมัน ่ คง มัง ่ คัง ่ ยัง ่ ยืน
2554 • เปดตัวเว็บไซตเผยแพรขอมูลดานการตลาด
• ประเทศไทยจัดงานมหกรรมพืชสวนโลก จังหวัดเชียงใหม กอใหเกิดปรากฏการณเรือ ่ งคนไทย เดินทางขามภูมภ ิ าค
• ตัง ้ ททท. สำนักงานปกกิง ่ ประเทศจีน และสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน
• ตั้ง ททท. สำนักงานตราด ตาก และนราธิวาส
• จัดทำโครงการสงเสริมมาตรฐานภัตตาคาร รานอาหารสำหรับนักทองเที่ยว โดย ททท. มอบเครื่องหมายรับรองคุณภาพ เปนรูปแมคากับสาแหรก
และลอนดอน สหราชอาณาจักร
เฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 ครองราชย 60 ป
• ดำเนินโครงการ Thailand Grand Sale
(ปดสำนักงานป 2559) กรุงเวียงจันทร ประเทศลาว (ปดสำนักงานป 2541) กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต และไทเป
องคการสงเสริมกีฬาแหงประเทศไทย
2549 • Thailand Grand Invitation 2006
• จัดทำโครงการ Be My Guests
2535 • ตัง้ ททท. สำนักงานฟุกุโอกะ ประเทศญี่ปุน
2526 • จัดมหกรรมวาวไทย ครั้งที่ 1 รวมกับ
2520 • ตั้งสำนักงานพัทยา ภูเก็ต สิงคโปร
จังหวัดชุมพร ระนอง พังงา ภูเก็ต ตรัง พัทลุง และสงขลา
2545 • เปดตัวโครงการ Thailand Smiles Plus
• ตัง ้ ททท. สำนักงานพระนครศรีอยุธยา นครพนม อุดรธานี และลพบุรี
• ผลักดันกลยุทธดานตลาดเนนเรื่อง Digital Marketing และ Emotional Marketing ผสานการปรับใชแนวคิด เศรษฐกิจสรางสรรค (Creative Economy) เพื่อสรางความยั่งยืนในเรื่องคุณคาและมูลคา
• เปดตัวเชียงใหมไนทซาฟารี แหลงทองเที่ยว Man-made แหงใหม เนนสรางรายไดจากการ ทองเที่ยวและยกระดับสูสากลและไดมาตรฐาน
• ใชแคมเปญ "เที่ยวเมืองไทย ไมไปไมรู"
• รวมกับประชาคมยุโรปจัดทำแผนพัฒนา การทองเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2524 • เปดสถาบันฝกอบรมวิชาการโรงแรม
• เปดตัวสยามนิรมิตและสยามพารากอน
2544 • ตัง้ Thailand Longstay เพือ ่ สงเสริมตลาดพำนักระยะยาว
2534 • เสนอโครงการ The World Our Guest เพื่อฟนวิกฤต
• จัดงานสัปดาหสะพานขามแมน้ำแคว จังหวัดกาญจนบุรี เปนครั้งแรก
2517 • ตั้งสำนักงานซิดนีย ประเทศออสเตรเลีย
• จัดแสดงงานชางสุรินทรเปนครั้งแรก รวมกับ การรถไฟแหงประเทศไทย
• ตั้ง ททท. สำนักงานเพชรบุรี เชียงราย ระยอง ขอนแกน และนครศรีธรรมราช
(ตลาดตางประเทศ) และ "เทีย ่ วหัวใจใหม เมืองไทยยัง่ ยืน" (ตลาดในประเทศ)
สื่อถึงความสงบสุข ปลอดภัย
• จัดเทศกาลดนตรีพท ั ยามิวสิคเฟสติวล ั ทีพ ่ ท ั ยา จังหวัดชลบุรี
2558 • เปดปทองเที่ยววิถีไทย 2558 ที่สวนลุมพินี
2553 • ใชแคมเปญ "Amazing Thailand: Always Amazes You"
2548 • ใชแคมเปญ "Thailand Happiness on Earth"
Enchantment for the Next Thousand Years
เพื่อการอนุรักษพิทักษทองเที่ยวไทย
• จัดเทศกาลเทีย ่ วเมืองไทย เสริมสราง เอกลักษณไทย ที่สวนอัมพร เปนครั้งแรก
2515 • ตั้งสำนักงานแฟรงกเฟรต ประเทศเยอรมนี
2543 • ใชแคมเปญ "Amazing Thailand 2000"
2533 • จัดโครงการอบรมผูนำเยาวชน
2552 • ใชเคมเปญ "เทีย ่ วไทยครึกครืน ้ เศรษฐกิจไทยคึกคัก"
2532 • ดำเนินการเรื่องรานคาปลอดอากร
• ตั้ง ททท. สำนักงานจาการตาและเฉิงตู
(Duty Free Shop)
3
2
1
4
1960 1961 1962 1963 1964 1965 1966 1967 1968 1969 1970 1971 1972 1973 1974 1975 1976 1977 1978 1979 1980 1981 1982 1983 1984 1985 1986 1987 1988 1989 1990 1991 1992 1993 1994 1995 1996 1997 1998 1999 2503 2504 2505 2506 2507 2508 2509 2510 2511 2512 2513 2514 2515 2516 2517 2518 2519 2520 2521 2522 2523 2524 2525 2526 2527 2528 2529 2530 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542
2503 • จำนวนนักทองเที่ยวตางชาติที่เดินทางทองเที่ยว 2504 • นักทองเที่ยวตางชาติเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 20% 2515 • ดำเนินการดานการสงเสริมการทองเที่ยวระยะเวลาถึง
12 ป (พ.ศ. 2503-2515) จึงมีจำนวนนักทองเที่ยวถึง หลักลานคน
ผลจากการประชาสัมพันธปทองเที่ยวไทย ครั้งที่ 1 "Visit Thailand Year"
สูงขึน ้ 26.44% เมือ ่ เทียบกับป 2515
1
2519 • นักทองเที่ยวตางชาติลดลงครั้งแรก เนื่องจากวิกฤต ราคาน้ำมันโลกและความไมสงบภายในประเทศไทย (-6.92%)
2
2526 • นักทองเที่ยวตางชาติลดลง ครั้งที่ 2 (-1.24%) ผลจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก
2530 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 3 ลาน (+23.59%)
ผลจากการประชาสัมพันธปทองเทีย ่ วไทย ครัง ้ ที่ 2 "Visit Thailand Year 1987"
2531 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 4 ลานคน (+21.47%)
2503 • กอตั้งบริษัท การบินไทย จำกัด โดยทำสัญญารวมทุน ระหวางบริษัท เดินอากาศไทย จำกัด และสายการบิน สแกนดิเนเวียน โดยทำการบินระหวางประเทศ
2506 • ภาคเอกชนรวมตัวกอตั้งสมาคมโรงแรม
เพื่อนักทัศนาจรแหงประเทศไทย ในป 2511 เปลี่ยนเปนสมาคมโรงแรมไทย Thai Hotel Association (THA)
2507 • มติคณะรัฐมนตรีให อ.ส.ท. รับโอนกิจการสถานตากอากาศ 3 แหงจากสำนักงานสลากกินแบงรัฐบาลมาดำเนินการ คือ โรงแรมบางแสน สนามกอลฟบางพระ และโรงแรมเขาใหญ สำหรับโรงแรมเขาใหญ ททท. สงมอบอาคารและสิง่ ปลูกสรางทัง้ หมดคืน กรมปาไม ในป 2535
2514 • ขยายสนามบินเชียงใหมเปนสนามบินนานาชาติ 2516 • 14 ตุลาคม 2516 วันมหาวิปโยค
เหตุการณความไมสงบทางการเมือง
2517 • เกิดวิกฤตน้ำมันโลก ครั้งแรก (1st Oil Crisis) 2518 • ภาคเอกชนรวมตัวกอตั้งสมาคมมัคคุเทศกอาชีพ Professional Tourist Guides Association of Thailand (PGAT)
2519 • เกิดวิกฤตทางการเมืองในไทย 6 ตุลา (Bloody Right Wing Coup: 6 Oct)
2522 • เกิดวิกฤตน้ำมันโลก ครั้งที่ 2 (2 Oil Crisis)
2523 • หนังสือสารคดีทองเทีย ่ ว Lonely Planet ตีพม ิ พเรือ ่ งประเทศไทยเปนครัง ้ แรก
2525 • งานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร 200 ป 2526 • เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทัว่ โลก
ขณะทีเ่ กิดการแขงขันทางการทองเทีย ่ วมากขึน ้
2527 • ททท. รวมทุนกับสหกรณการเกษตรหมูบาน
สันกำแพง ดำเนินการพัฒนาน้ำพุรอนสันกำแพง ใหเปนแหลงทองเที่ยว
2530 • พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระชนมพรรษา 60 พรรษา
2531 • คณะรัฐมนตรีมีคำสั่งให รวมกิจการบินภายใน
ประเทศโดยบริษท ั เดินอากาศไทย จำกัด กับการบิน ระหวางประเทศโดยบริษัทการบินไทย จำกัด
2511 • เปดบริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด • ภาคเอกชนกอตั้งสมาคมไทยธุรกิจทองเที่ยว Association of Thai Travel Agents (ATTA)
3
2543 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 9 ลานคน (+10.82%)
2534 • นักทองเที่ยวตางชาติลดลง ครั้งที่ 3 (-4.00%)
2544 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 10 ลานคน (+5.82%)
ผลจากสงครามอาวเปอรเซีย
2535 • การประกวดนางงามจักรวาลประจำป 1992 จัดขึน ้ ที่ ศูนยการประชุมแหงชาติสริ ก ิ ต ิ เ์ิ ปนครัง ้ แรกของไทย
2537 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 6 ลานคน (+7.05%)
80’s 90’s 00’s 10’s
ตั้ง ททท. สำนักงานในประเทศ ตั้ง ททท. สำนักงานตางประเทศ ตั้ง ททท. สำนักงาน 10 แหง
ค.ศ. 1980-1989 พ.ศ. 2523-2532
นักทองเที่ยวตางชาติหลัก 1 ลานคน
ค.ศ. 1990-1999 พ.ศ. 2533-2542
นักทองเที่ยวตางชาติหลัก 10 ลานคน ภาพยนตรตางประเทศมาถายทำในประเทศไทย
ค.ศ. 2000-2009 พ.ศ. 2543-2552 ค.ศ. 2010-2019 พ.ศ. 2553-2562
2005 2548
5
2007 2550
2008 2551
2009 2552
2548 • นักทองเที่ยวลดลง ครั้งท่ี 5 (-1.15%) ผลจากธรณีพิบัติภัยสึนามิ
2549 • นักทองเทีย ่ วตางชาติ > 13.82 ลานคน (+20.01%)
2546 • นักทองเที่ยวตางชาติลดลง ครั้งที่ 4
2550 • นักทองเทีย ่ วตางชาติ > 14.46 ลานคน (+ 4.65%)
(-7.36% / 10,004,453 คน) ผลกระทบจาก SARS
2547 • นักทองเที่ยวตางชาติ >11 ลานคน (+16.46%)
2006 2549
6
2552 • นักทองเที่ยวตางชาติลดลง ครั้งที่ 6 (-2.98%) ผลจากวิกฤตเศรษฐกิจและปญหาการเมือง ภายในประเทศ
เกิดเหตุวิกฤต 1
นักทองเที่ยวลดลง (ตัวเลขแสดงครั้งที่)
7
2010 2553
2011 2554
2012 2555
2013 2556
2014 2557
2553 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 15.9 ลานคน (+12.63%) 2554 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 19.2 ลานคน (+20.67%) 2555 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 22.3 ลานคน (+16.24%) 2556 • นักทองเที่ยวจากจีน อินเดีย และรัสเซีย มีอัตรา การเพิ่มอยางกาวกระโดด
2015 2558
7
2016 2559
2017 2560
2018 2561
2019 2562
2557 • นักทองเทีย ่ วตางชาติลดลง ครั้งที่ 7 (-6.54%) ผลจากปญหาการเมืองภายในประเทศ
2559 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 32.5 ลานคน (+8.71%) 2560 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 35.5 ลานคน (+9.41%) 2561 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 38 ลานคน (+7.27%) 2562 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 39.8 ลานคน (+4.00%)
2542 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 8 ลานคน (+10.50%)
2533 • ประเทศไทยเปนเจาภาพจัดการประชุมอาหารโลก (World Food Council) ครั้งที่ 16
2534 • เกิดสงครามอาวเปอรเซีย (Gulf War) (2 ส.ค. 2533 ถึง 28 ก.พ. 2534)
• เกิดวิกฤตน้ำมันโลก ครั้งที่ 3 (3rd Oil Crisis)
2535 • เกิดวิกฤตทางการเมืองในประเทศไทย พฤษภาทมิฬ (May Incident)
• บังคับใช พ.ร.บ. ธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก พ.ศ. 2535 • ประเทศไทยเริ่มใชระบบภาษีมูลคาเพิ่ม (VAT)
2537 • รัฐบาลประกาศเปนปรณรงควัฒนธรรมไทย • เปดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 1 ที่จังหวัดหนองคาย
• กองทัพบกตัง ้ สำนักงานการทองเทีย ่ วกองทัพบก โดยเปดเขตทหารเพื่อการทองเที่ยว Army Tourism
ค.ศ. 1970-1979 พ.ศ. 2513-2522
4
2004 2547
2539 • นักทองเทีย ่ วตางชาติ > 7 ลานคน (+3.46%)
“วิกฤตตมยำกุง” สงผลใหคาเงินบาทตกต่ำ
70’s
2003 2546
2533 • นักทองเที่ยวตางชาติ > 5 ลานคน (+10.17%)
2540 • เกิดวิกฤตเศรษฐกิจเอเชีย "Asian Economic Crisis"
ค.ศ. 1960-1969 พ.ศ. 2503-2512
2002 2545
สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว
nd
60’s
2001 2544
การเติบโตเชิงปริมาณ
2524 • นักทองเทีย ่ วตางชาติ > 2 ลานคน (+8.44%)
2516 • นักทองเทีย ่ วตางชาติ > 1 ลานคน อัตราการเติบโต
ในประเทศไทย 81,340 คน
2000 2543
6
5
2542 • พระราชพิธม ี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ • เปดภูเก็ตแฟนตาซี • เปดใชบริการรถไฟฟา BTS • ภาคเอกชนกอตั้งสมาคมรถเชาไทย
2543 • ภาพยนตร The Beach ใช Location เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ ถายทำ ทำใหเกิดกระแสการทองเทีย ่ วตามรอยภาพยนตร
• กรมสงเสริมการเกษตรตัง ้ หนวยงานยอย มีหนาทีพ ่ ฒ ั นา และสงเสริมการทองเทีย ่ ว
2544 • วินาศกรรม 11 กันยายน • ภาคเอกชนรวมตัวกอตัง ้ สภาอุตสาหกรรมทองเทีย ่ ว แหงประเทศไทย
2545 • Bali Bomb เกิดวินาศกรรมที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย • นโยบายเศรษฐกิจแบบประชานิยม โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค โครงการเอื้ออาทร โครงการธนาคารประชาชน โครงการกองทุนหมูบานเริ่มตน โครงการ OTOP หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ
2546 • การระบาดของโรคซารสในเอเชีย (SARS Outbreak) • ดำเนินโครงการเมกะโปรเจกต Bangkok City of Fashion Kitchen of the World Medical Hub Aviation Hub Detroit of Asia Tourism Capital of Asia • ชวงเริ่มตนของการเติบโตสายการบินตนทุนต่ำ (Low Cost Airlines)
2547 • เกิดการระบาดของโรคไขหวัดนก (Bird Flu) ในเอเชียและทัว่ โลก • เกิดเหตุการณความไมสงบในภาคใต ปลนปน กรือเซะ และตากใบ • เกิดธรณีพิบัติภัยสึนามิ แหลงทองเที่ยวชายฝงอันดามัน ของไทยถูกทำลาย นักทองเที่ยวเสียชีวิตจำนวนมาก
2548 • เปดทาอากาศยานสุวรรณภูมิ
(The Largest Single Terminal in the World)
2549 • พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ป
• เกิดความเคลื่อนไหวทางการเมืองโดยมีการชุมนุม ประทวงการบริหารงานของรัฐบาล นายทักษิณ ชินวัตร
• เกิดรัฐประหารในไทย 19 ก.ย. 2549
• เปดสะพานไทย-ลาว แหงที่ 2 มุกดาหาร-สะหวันนะเขต • เปดใชสนามบินดอนเมืองควบคูกับสนามบิน สุวรรณภูมิ (Twin Airports) • เหตุระเบิด 9 จุดสำคัญ เชน ปายรถเมล ปอมตำรวจ หางสรรพสินคา ในวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ทีก ่ รุงเทพฯ
2550 • ททท. เปดศูนยปฏิบต ั ก ิ ารวางแผนการทองเทีย ่ ว และศูนยปฏิบต ั ก ิ ารในภาวะวิกฤต
• เกิดอุบต ั เิ หตุเรือโดยสารลมทีอ ่ าวมาหยา จังหวัดกระบี่ • ททท. จัดสัมมนา การสือ ่ สารดานการทองเทีย ่ วใน ภาวะวิกฤตและทิศทางทองเทีย ่ วไทยบนฐานแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง รวมกับสภานิตบ ิ ญ ั ญัตแ ิ หงชาติ • เกิดภาวะน้ำมันขึน ้ ราคาและคาเงินบาทแข็ง
2551 • เกิดวิกฤตสถาบันการเงินในอเมริกา Lehman Brothers/ AIG Merrill Lynch ซึง ่ สงผลกระทบถึงภาคบริการ และการทองเที่ยวโลก ที่ขยายตัวไปในพื้นที่ สหราชอาณาจักรและกลุมประเทศยุโรปอีกดวย
• เกิดปญหาการเมืองภายในประเทศ คือการ เคลือ ่ นไหวของประชาชนทีไ่ มเห็นดวยกับการบริหาร ประเทศของรัฐบาล เหตุการณสงผลตอบรรยากาศ การทองเที่ยวในภาพรวม เชน การปดสนามบิน ภาคใต สุวรรณภูมิ ดอนเมือง การบุกยึด ทำเนียบรัฐบาล การขูนัดหยุดงาน และขูเรือ ่ ง การตัดน้ำ ตัดไฟ • เกิดปญหาน้ำทวมในจังหวัดตาง ๆ สงผลกระทบ ตอการเดินทางทองเที่ยวและแหลงทองเที่ยว
2552 • เกิดวิกฤตการณ Dubai World • เกิดวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป กลุมประเทศปญหา คือ กรีซ โปรตุเกส ไอรแลนด (ชวงเริ่มตน)
2553 • เกิดแผนดินไหวที่สาธารณรัฐเฮติ • เกิดปญหาการเมืองในประเทศ กรณีกลุมเสือ ้ แดง ชุมนุมที่ราชดำเนิน-ราชประสงค เผา CentralWorld
2554 • วิกฤตเศรษฐกิจยุโรป ระบบการเงินหนีส ้ น ิ สงผล
ตอตลาดการเงินทัว่ โลก เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ย่ำแยตอเนื่อง
• ราคาน้ำมันสูงทำลายสถิติ • ประเทศไทยเกิดอุทกภัยครั้งใหญ ครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของประเทศ
2555 • 14 ก.พ. เกิดเหตุระเบิดทีซ ่ อยสุขม ุ วิท 71
จากการวางแผนกอการรายกลางเมือง และปลาย มี.ค. เกิดระเบิดที่โรงแรมลีการเดน หาดใหญ จังหวัดสงขลา สันนิษฐานวาเปนคารบอมบ
• พลเอก บุญเลิศ แกวประสิทธิ์ ประธานองคการพิทักษสยาม (อพส.) ประกาศยุทธศาสตรแชแข็งประเทศไทย
2556 • คณะกรรมการประชาชนเพื่อเปลี่ยนแปลง
ประเทศไทย ใหเปนประชาธิปไตยที่สมบูรณ อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข (กปปส.) จัดกิจกรรมทางการเมือง Shutdown Bangkok เพื่อเรียกรองใหรัฐบาลลาออก และดำเนินการ ปฏิรูปประเทศไทย
2557 • พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ทำรัฐประหาร
และบริหารประเทศภายใตคณะรักษาความสงบ แหงชาติ (คสช.)
• สายการบินมาเลเซียแอรไลน เที่ยวบิน MH370 หายลึกลับ (มี.ค.) และเที่ยวบิน MH17 ถูกยิงตกที่ยูเครน
2558 • ICAO ปกธงแดง ไทยไมผานมาตรฐาน ความปลอดภัยการบิน
• โรค MERS ระบาด • เกิดเหตุระเบิดทีศ ่ าลพระพรหมเอราวัณ วันที่ 17 ส.ค.
2559 • องคการอนามัยโลกประกาศใหไวรัสซิกา (Zika Virus) เปนภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุขระหวางประเทศ
• การลงประชามติออกจาก EU ของประชาชน ในสหราชอาณาจักร • สำนักพระราชวังออกประกาศ ในหลวง ร.9 เสด็จสวรรคต สิรพ ิ ระชนมพรรษาปที่ 89 ครองราชสมบัตไิ ด 70 ป • นายโดนัลด ทรัมป จากพรรครีพบ ั ลิกน ั ไดรับชัยชนะใน การเลือกตัง ้ ประธานาธิบดีคนที่ 45 ของสหรัฐอเมริกา ดวยนโยบาย America Centric Platform
2560 • นวัตกรรมสมัยใหมในรูปแบบหุนยนตเสมือนคน ถูกนำมาใชในการใหบริการมากขึ้น
• รถไฟขนสงสินคาขบวนแรกจากจีน-ลอนดอน โครงการยุทธศาสตรเสนทางสายไหมศตวรรษที่ 21 ถือเปนเสนทางรถไฟทีย ่ าวทีส ่ ด ุ เปนอันดับ 2 ของโลก โดยเริ่มตนเดินทางจากจีน คาซัคสถาน รัสเซีย เบลารุส โปแลนด เยอรมนี เบลเยียม ฝรั่งเศส และสิ้นสุดที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร • ICAO ปลด "ธงแดง" ประเทศไทย
2561 • เรือฟนิกซลมที่จังหวัดภูเก็ต นักทองเที่ยวจีน เสียชีวิต 47 ราย
• ปฏิบัติการคนหาและกูภัย 13 ชีวิตติดถ้ำหลวง • ปรากฏการณ บุพเพสันนิวาส คนไทยเทีย ่ วตามรอยละคร
2562 • เกิดเหตุการณชุมนุมประทวงในฮองกง เรื่องกฎหมายสงตัวผูรายขามแดน
• สงครามการคา จีน VS สหรัฐอเมริกา
Tourism Authority of Thailand
1600 Phetchaburi Road, Makkasan, Ratchathewi, Bangkok 10400, THAILAND Tel. +66 2250 5500 TAT Contact Center 1672 www.tourismthailand.org