RSU ART AND DESIGN QA-SAR 2010

Page 1

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ประจําปการศึกษา 2552

( 1 มิถุนายน 2552 - 31 พฤษภาคม 2553 )

คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


บทสรุปสําหรับผูบริหาร ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ มีผลการประเมินตนเองตามองคประกอบคุณภาพการศึกษา ทั้ง 9 องคประกอบ 77 ตัวบงชี้ ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.57 ซึ่งอยูในเกณฑดีมาก ในปการศึกษา 2552 ที่ผานมาคณะศิลปะและการออกแบบ ไดดําเนินการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญ เพื่อเปนการสรางเสริมประสบการณจริงใหแกนักศึกษา โดยมีการทําความเขาใจในเนื้อหาที่เรียนและเรียนรู ดวยตนเองผานการเรียนรูในรายวิชาที่มีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ทัศนศึกษาเรียนรูนอกหองเรียน การฝกงาน วิชาชีพ และโครงการสหกิจศึกษา จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เชน สัมมนาเชิงปฏิบัติการ (workshop) กับนักออกแบบที่ มีชื่อเสียงและวิทยากรผูเชี่ยวชาญในวิชาชีพ นอกจากนี้ยังมีโครงการความรวมมือกับหนวยงานภายนอกเพื่อพัฒนา ดานการศึกษา เชน บริษัท CEREBRUM DESIGN (2550) บริษัท MZD ศุนยสงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ เปนตน ดานการปรับปรุงหลักสูตร ไดเริ่มดําเนินการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่ปรับปรุง ใหม ครบทั้ง 6 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ สาขาวิชาศิลปภาพถาย สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป สาขาวิชาออกแบบภายใน สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต และสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ระดับบัณฑิตศึกษาที่มีการปรับปรุง ใหม 1 สาขาวิชา คือ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ดานความรว มมื อกั บตา งประเทศ และการพั ฒนาหลัก สูต รทวิภาษาและหลัก สูต รนานาชาติ คณะฯ ได ดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการดานวิเทศสัมพันธขึ้นเฉพาะกิจ มีการประชุมหารือความรวมมือดานวิชาการกับ สถาบันการศึกษาตางประเทศหลายแหง อาทิ ประเทศญี่ปุน ประเทศอิตาลี เปนตน นอกจากนี้มีการจัดกิจกรรมการ แลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางสถาบัน ทัศนศึกษาและอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ณ ตางประเทศ จัดนิทรรศการ แสดงผลงานการออกแบบระหวางมหาวิทยาลัยรังสิตกับสถาบันการศึกษาตางประเทศ ไดแก สถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundation และมหาวิทยาลัย Tama Art University ประเทศญี่ปุน คณะฯ สนับสนุนใหอาจารยไดมี โอกาสเดินทางดูงานในตางประเทศ และสงเสริมใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรมประกวดงานออกแบบอยางตอเนื่อง ทําให นักศึกษาปจจุบันและศิษยเกามีผลงานสรางสรรคที่ไดรับรางวัลเปนที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ คารอยละบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป และคารอยละบัณฑิตที่ ทํางานตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษามีจํานวนลดลง สาเหตุเนื่องมาจากผลกระทบของสภาพเศรษฐกิจของประเทศที่ ตกต่ํา สงผลกระทบทําใหอัตราการจางงานและเงินเดือนที่บัณฑิตไดรับลดลง ด า นการพั ฒ นาบุ ค ลากร มี อ าจารย ป ระจํ า ที่ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น ให ศึ ก ษาต อ เพิ่ ม ในระดั บ ปริ ญ ญาโท ภายในประเทศ 2 คน ปริญญาโทตางประเทศ 1 คน และปริญญาเอกภายในประเทศ 2 คน เปนจํานวนรวมทั้งสิ้น 5 คน และมีบุคลากรสายสนับสนุนที่ไดรับการสนับสนุนใหศึกษาตอเพิ่มในระดับปริญญาโทภายในประเทศ จํานวน 4 คน นอกจากนี้ยังมีนโยบายสงเสริมบุคลากรใหมีโอกาสเขารับการฝกอบรมดานวิชาการ วิชาชีพ และงานวิจัยอยางตอเนื่อง และทั่วถึงทุกคน ดานการวิจัย คณะฯ ไดรับเงินสนับสนุนงานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น มีจํานวนผลงานวิจัย และงานสรางสรรคเพิ่มขึ้น และมีการนําเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการเพิ่มขึ้น ผลงานของนักศึกษาระดับปริญญา โทไดรับการตีพิมพเผยแพรบทความวิทยานิพนธกอนจบการศึกษาทุกคน แตจํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน

1


สรางสรรคจากภายนอกมหาวิทยาลัยลดลง ในปการศึกษา 2552 ทางคณะฯ ไดมีนโยบายสงเสริมและผลักดันให คณาจารยทํางานวิจัยในลักษณะทีมวิจัยเพิ่มมากขึ้น ทําใหมีจํานวนอาจารยประจําที่ไดรับทุนเพิ่มขึ้น ดานการบริการวิชาการแกสังคม ไดดําเนินการใหบริการแกสังคมและชุมชนอยางตอเนื่องและครอบคลุมทุก สาขาวิชา โดยการเขารวมเปนกรรมการวิชาการ กรรมวิชาชีพ วิทยากร และอาจารยพิเศษ และยังมีกิจกรรมบริการทาง วิชาการในรูปแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่อาจารยและนักศึกษามีสวนรวมกันในการดําเนินกิจกรรม สรางจิตสํานึกใน การตอบแทนสิ่งที่ดีใหกับสังคมและชุมชน นอกจากนี้ยังมีการใหบริการวิชาการโดยการเปนวิทยากรพิเศษอบรมการ ออกแบบแฟชั่ น และงานประดิ ษ ฐ ใ ห กั บ สถาบั น การศึ ก ษาในต า งประเทศอี ก ด ว ย คื อ มหาวิ ท ยาลั ย Yarmouk University ประเทศจอรแดน โดยความรวมมือกับสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงอัมมาน ประเทศจอรแดน สวนดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ทางคณะฯ ยังคงสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมทั้งในระดับคณะระดับ มหาวิทยาลัย และภายนอกมหาวิทยาลัย สอดแทรกความรูเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม การอนุรักษสิ่งแวดลอม การ ออกแบบและการพัฒนาอยางยั่งยืน ใหกับนักศึกษาเกือบทุกรายวิชา เนื่องจากเปนธรรมชาติของวิชาทางดานศิลปะ และการออกแบบ จึงทําใหการดําเนินกิจกรรมเปนไปอยางตอเนื่องและมีประสิทธิผลอยางมาก จากการวิเคราะหผลการดําเนินงานพบวา คณะฯ ยังมีสวนที่ตองเรงรัดปรับปรุง เชน การเพิ่มอัตราอาจารย ประจํา การสงเสริมการขอตําแหนงทางวิชาการและการศึกษาตอระดับปริญญาเอก การทําวิจัยและการเผยแพร ผลงานวิจัย การพัฒนาระบบบริหารจัดการ การจัดการความรู การบริหารความเสี่ยง การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ฯลฯ ทั้งนี้คณะฯ ไดรวบรวมขอควรปรับปรุงตาง ๆ ดังกลาวบรรจุในแผนพัฒนาของคณะฯ และจะดําเนินการผลักดันให เกิดประสิทธิภาพใหดียิ่งขึ้นในปตอไป

(นายอํานวยวุฒิ สาระศาลิน) คณบดีคณะศิลปะและการออกแบบ 7 กรกฎาคม 2553

2


สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร สวนที่ 1 ประวัติความเปนมา และสถานภาพปจจุบัน 1.1 ประวัตคิ วามเปนมา และสถานภาพปจจุบัน 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค และแผนงาน 1.3 โครงสรางการบริหารงาน 1.4 เอกลักษณ 1.5 โครงสรางหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน 1.6 อาคารสถานที่ ปจจัยเกื้อหนุน และสภาพแวดลอม 1.7 จํานวนบุคลากร 1.8 จํานวนนักศึกษา 1.9 จํานวนงบประมาณ สวนที่ 2 การดําเนินงานและการประเมินตัวบงชีค้ ุณภาพการศึกษาภายใน สวนที่ 3 ผลการประเมินการดําเนินงานตามองคประกอบคุณภาพการศึกษา สวนที่ 4 สรุปผลการดําเนินงาน และขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 4.1 สรุปผลการดําเนินงานตามองคประกอบคุณภาพการศึกษา 4.2 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ภาคผนวก ภาคผนวก ก ผลการประเมินตามมาตรฐานคุณภาพ สมศ. ภาคผนวก ข ผลการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ สกอ. ภาคผนวก ค ขอมูลพื้นฐานของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน (Common Data Set)

3

หนา 4 5 11 16 21 21 24 24 33 34 35 225 227 228


สวนที่ 1 ประวัติความเปนมา และสถานภาพปจจุบัน

4


สวนที่ 1 ประวัติความเปนมา และสถานภาพปจจุบัน 1. ประวัติความเปนมาและสถานภาพปจจุบัน ชื่อ ที่ตั้ง

คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อาคารคุณหญิงพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต . 52/347 เมืองเอก ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จ.ปทุมธานี 12000

ประวัติความเปนมา คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต กอตั้งขึ้นโดยดําริของอธิการบดีผูกอตั้งมหาวิทยาลัย รังสิต (ดร.อาทิตย อุไรรัตน) เมื่อป พ.ศ.2530 โดยมีปณิธานแนวแนที่จะผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่ตรงตอความ ตองการในการพัฒนาประเทศและมีจุดมุงหมายที่จะผลิตบัณฑิตที่เปนผูที่ไดรับการหลอหลอมใหมีความพรอมทั้ง ในดานคุณภาพ คุณวุฒิ คุณธรรม และมั่นใจที่จะสรางความเจริญกาวหนาใหแกบานเมืองและตนเอง ในขณะที่ ประเทศกําลังเรงรัดพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม มหาวิทยาลัยรังสิตจึงเปนมหาวิทยาลัยเอกชนแหงแรกของ ประเทศไทย ที่เปดทําการสอนศิลปะและการออกแบบ เพื่อใหบรรลุเปาหมายในมาตรฐานการศึกษาและความ เปนเลิศทางวิชาการ ปจจุบันคณะศิลปะและการออกแบบ ดําเนินการเปดการเรียนการสอนมาแลว เปนเวลา 22 ป การพัฒนาหลักสูตรการศึกษา ปการศึกษา 2530 คณะศิลปะและการออกแบบเปดทําการสอนหลายสาขาวิชาทั้งในดานศิลปะและการ ออกแบบ ซึ่งมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศโดยเปดสอนหลักสูตรศิลปบัณฑิต 2 ภาควิชา ประกอบดวย 8 สาขาวิชา คือ 1. ภาควิชาประยุกตศิลป ประกอบดวย 4 สาขาวิชา  สาขาวิชาออกแบบภายใน  สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป  สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ  สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา 2. ภาควิชาวิจิตรศิลป ประกอบดวย 4 สาขาวิชา  สาขาวิชาจิตรกรรม  สาขาวิชาประติมากรรม  สาขาวิชาศิลปภาพพิมพ  สาขาวิชาศิลปะภาพถาย

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 5 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


ในชวงระยะเวลา 10 ปแรก คณะศิลปะและการออกแบบเนนการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหนักศึกษา ไดรับความรู ตลอดจนทักษะอยางเต็มที่ เพื่อที่จะนําไปประกอบอาชีพ และเปนที่ยอมรับของสังคมภายนอก ซึ่ง บัณฑิตของคณะศิลปะและการออกแบบหลายรุนที่ผานมา ไดสรางชื่อเสียงใหแกมหาวิทยาลัยและประเทศชาติ ดัง ปรากฏในผลงานชนะเลิศการประกวดการออกแบบในสาขาวิชาตางๆ ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ บอยครั้ง นอกจากนั้น บัณฑิตของคณะศิลปะและการออกแบบที่ไดออกไปประกอบวิชาชีพกําลังกาวไปสูการเปน ผูนําในวงการวิชาการในสถาบันการศึกษาตางๆ และในวงการวิชาชีพทั้งในและตางประเทศ ปการศึกษา 2539 คณะศิลปะและการออกแบบเริ่มดําเนินการพัฒนาบุคลากรและปรับปรุงการจัด การศึกษา ตลอดจนวัตถุประสงคและแนวทางการจัดการ เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและ ความตองการของสังคมในปจจุบัน โดยคณะฯ ไดเริ่มทําแผนพัฒนาในปการศึกษา 2540-2544 และไดดําเนินการ บรรลุตามจุดประสงคอยางตอเนื่อง ทางดานหลักสูตรการเรียนการสอนของคณะศิลปะและการออกแบบ ไดมีการ พัฒนาปรับปรุงอยางสม่ําเสมอโดยตอเนื่อง เพื่อใหทันสมัยและทันตอการที่จะรวมแกในสภาวะปญหาอันวิกฤติ ตางๆ ของโลกและของประเทศชาติ หลักสูตรในระดับปริญญาตรีที่ไดเปดสอนในระยะเริ่มแรก คือ หลักสูตร สาขาวิชาศิลปภาพถาย หลักสูตรสาขาวิชาออกแบบภายใน หลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป และหลักสูตร สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เปดทางเลือกใหแกนักศึกษาที่มีความถนัดเฉพาะทางตางกัน ปการศึกษา 2541 เริ่มดําเนินการเปดหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ปการศึกษา 2542 เริ่มดําเนินการเปดหลักสูตรสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต ปการศึกษา 2544 เริ่มดําเนินการเปดหลักสูตรสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน การเปดหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ หลักสูตรสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต และ หลักสูตรสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ทั้ง 3 หลักสูตร เปนเปดสอนแหงแรกในประเทศไทย หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ มีความโดดเดนมุงเนนการสรางนักออกแบบที่เปนนักคิด นักวิจัย เพื่อที่จะสามารถปฏิรูป การออกแบบของประเทศไทยใหมีความทัด เทียมนานาประเทศ สวนหลักสูตรสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารตและ สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน เปนหลักสูตรที่ตอบสนองความตองการของตลาดออกแบบในอนาคต และยังเปนหลักสูตรที่ มีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติ นอกจากนี้ ค ณะศิ ล ปะและการออกแบบยั ง ได พั ฒ นาบุ ค ลากรอย า งต อ เนื่ อ ง ทั้ ง ในด า นคุ ณ วุ ฒิ โดย สนับสนุนการศึกษาตอและทางดานตําแหนงทางวิชาการ โดยผลักดันใหอาจารยขอตําแหนงทางวิชาการ อีกทั้งทาง คณะฯ ไดเพิ่มศักยภาพของอุปกรณ เครื่องมือที่ใชในการเรียนการสอน เชน หองปฏิบัติคอมพิวเตอร หองปฏิบัติงาน ทางดานแฟชั่นดีไซน และอุปกรณที่ใชในการสื่อการสอนใหทันสมัยและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนจัดใหมี หองนิทรรศการ เพื่อแสดงผลงานศิลปะ ปการศึกษา 2549 คณะศิลปะและการออกแบบ ไดมีการปรับปรุงหลักสูตร 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชา คอมพิวเตอรอารต และสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน เพื่อแกปญหาขอบกพรองและสรางหลักสูตรใหมีความโดดเดนชัดเจน และสงเสริมใหบัณฑิตมีความพรอมในการออกไปประกอบวิชาชีพ ทั้งในดานการเปนนักออกแบบ และความเปน ผูประกอบการเอง นอกจากนั้นคณะไดดําเนินการเริ่มรางหลักสูตรใหม คือ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอรอารต ปการศึกษา 2550 เปดดําเนินการหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต ทําการการเปดสอนเปนแหงแรกในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความเชี่ยวชาญใน รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 6 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


ศาสตรการสรางคอมพิวเตอรแอนิเมชั่น ควบคูไปกับการผลิต การถายทํา ตลอดจนความรูดานธุรกิจแอนิเมชั่น เพื่อ ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในศาสตรและมีความเปนผูนําในธุรกิจแอนิเมชั่น ป ก ารศึ ก ษา 2551 คณะศิ ล ปะและการออกแบบ ได มี ก ารปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รศิ ล ปบั ณ ฑิ ต จํ า นวน 4 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ สาขาวิชาศิลปภาพถาย สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป และสาขาวิชา ออกแบบภายใน เพื่อแกปญหาขอบกพรองและสรางหลักสูตรใหมีความชัดเจน สอดคลองกับความตองการของ สั ง คมและประเทศชาติ และสร า งบั ณ ฑิ ต ที่ มี ค วามพร อ มในการประกอบวิ ช าชี พ เป น นั ก ออกแบบและเป น ผูประกอบการเอง นอกจากนี้ยังมีการปรับปรุงหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ เพื่อมุงสรางบัณฑิตที่มี กระบวนการคิดและการจัดการวางแผนการออกแบบที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตที่แปรเปลี่ยนตามยุคสมัย เขาใจถึง ศาสตรในเชิงสังคมและวัฒนธรรม และสามารถแสดงออกไดถึงอัตลักษณในกระแสวัฒนธรรมที่แปรเปลี่ยน ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ ไดดําเนินจัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปบัณฑิต (ปรับปรุงใหม) 6 สาขาวิชา หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิตสาขาวิชาการออกแบบ (ปรับปรุงใหม) และหลักสูตรศิลป มหาบัณฑิตสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต ตอมาปลายปการศึกษา 2552 มหาวิทยาลัยรังสิตมีนโยบายจัดตั้งคณะดิจิทัลอารต โดยแยกสาขาวิชา คอมพิวเตอรอารต ออกมาจากคณะศิลปะและการออกแบบใหอยูภายใตคณะดิจิทัลอารต โดยมีวัตถุประสงคหลัก คือ มุงเนนการสรางแอนิเมชั่นที่เปนทั้ง 2D และ 3D ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความตองการทรัพยากรบุคคลดาน อุตสาหกรรมภาพยนตรและแอนิเมชั่นที่ไดรับความนิยมไปทั่วโลก คณะดิจิทัลอารตจะเปดดําเนินการอยางเปน ทางการในปการศึกษา 2553 การพัฒนาระบบสหกิจศึกษา ในสวนของนโยบายในการพัฒนาการเรียนการสอน คณะศิลปะและการออกแบบเล็งเห็นความสําคัญ ของการปฏิรูปการเรียนการสอนไปสูการทํางานผสมผสานประสบการณจริงในระบบสหกิจศึกษา จึงมีนโยบายให นักศึกษาทุกคน มีโอกาสผานการทํางานประสบการณจริงในระหวางศึกษาเลาเรียน นอกเหนือจากการฝกงานใน ภาคฤดูรอนแลว ยังมีโครงการสหกิจศึกษาที่เปดโอกาสใหนักศึกษาเขารวมโครงการ โดยไปปฏิบัติงาน ณ สถาน ประกอบการในฐานะพนักงานชั่วคราวเปนเวลา 1 ภาคการศึกษา (4 เดือน) กอนที่จะสําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ ไดสงนักศึกษาเขารวมโครงการสหกิจศึกษากับสถาน ประกอบการภายนอกเปนรุนที่ 2 มีจํานวนนักศึกษาที่เขารวมโครงการทั้งสิ้น 33 คน เปนนักศึกษาจากสาขาวิชา ศิลปภาพถาย 29 คน สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน 2 คน และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม 2 คน ปการศึกษา 2551 คณะศิลปะและการออกแบบ ไดสงนักศึกษาเขารวมโครงการสหกิจศึกษากับสถาน ประกอบการภายนอกเปนรุนที่ 3 มีจํานวนนักศึกษาที่เขารวมโครงการทั้งสิ้น 46 คน เปนนักศึกษาจากสาขาวิชา ศิลปภาพถาย 22 คน สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน 24 คน ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ ไดสงนักศึกษาเขารวมโครงการสหกิจศึกษากับสถาน ประกอบการภายนอกเปนรุนที่ 4 มีจํานวนนักศึกษาที่เขารวมโครงการทั้งสิ้น 13 คน เปนนักศึกษาจากสาขาวิชา ศิลปภาพถาย 2 คน สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน 6 คน และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ 5 คน รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 7 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


การรวมมือดานวิชาการกับสถาบันการศึกษาในตางประเทศ ชวงป พ.ศ.2540-2544 เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและภาษา คณะ ศิลปะและการออกแบบไดทําหลักสูตร Twining Program โดยรวมกับ มหาวิทยาลัย The University of the West of England (Bristol) ประเทศอังกฤษ ในหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป และสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต เพื่อเปดทางเลือกใหนักศึกษามีโอกาสเทียบโอนไปศึกษาตางประเทศเปนเวลา 1 ป โดยไมสูญเสียหนวยกิต ทั้งนี้ นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน จะไดรับประกาศนียบัตรจากมหาวิทยาลัยที่รวมสัญญา แตหลักสูตรดังกลาวยังไมมีระดับ ความสําเร็จ เนื่องจากคาใชจายสูง ป ก ารศึ ก ษา 2547 คณะศิ ล ปะและการออกแบบได ดํ า เนิ น การทํ า ความร ว มมื อ ทางวิ ช าการกั บ มหาวิทยาลัย Soongsil ประเทศเกาหลี โดยการลงนามระหวางอธิการบดี เพื่อเปดโอกาสใหสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาร ตและสาขาวิ ชาออกแบบนิ เทศศิล ป ได หาแนวทางในการพั ฒ นาการเรีย นการสอนรว มกับ มหาวิ ทยาลั ย Soongsil ตอไป นอกจากนี้ยังไดดําเนินการทําความรวมมือทางวิชาการกับ KAIST ประเทศเกาหลี ซึ่งมีความโดด เดนดานการออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม โดยมีการแลกเปลี่ยนการบรรยายทางวิชาการ และการดูงานระหวาง 2 สถาบัน ปการศึกษา 2548 ทางฝายวิชาการไดรวมมือกับศูนยพัฒนาผลิตภัณฑ กรมสงเสริมการสงออก และ ประเทศตางๆ ในแถบเอเชียภูมิภาคในโครงการสัมมนาวิชาการ Asia Design Network Conference 2005 ซึ่งจัด โดย Japan Design Foundation ณ นครโอซากา ประเทศญี่ปุน โดยมีคณบดีและรองคณบดีฝายวิชาการ เขารวม สัมมนาและเปนผูแทนของประเทศไทยในการบรรยายทางวิชาการหัวขอ “Thai Identity” ปการศึกษา 2549 ไดทําความรวมมือในโครงการเดียวกัน ซึ่งไดมีการจัดสัมมนาทางวิชาการ Asia Design Network Conference 2006 ณ ประเทศสิงคโปร จัดโดย Singapore Design Council ในครั้งนี้รองคณบดี ฝายวิชาการและผูแทนอาจารย 1 ทาน ไดรวมนําเสนอผลงานทางวิชาการของนักศึกษาในโครงการ “Design and Disaster” รวมกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในแถบเอเชียภูมิภาค เชน Tokyo University, Kwanjoa University และ Temasech University เปนตน ทั้งนี้ในลําดับตอไป จะมีการนําผลงานของนักศึกษาไปจัดนิทรรศการและตีพิมพใน ตางประเทศอีกดวย ปการศึกษา 2550 หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ไดมีการประสานความรวมมือใน การจัดทําโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา จากมหาวิทยาลัย SEIBI ประเทศญี่ปุน นอกจากนี้ยังมีความรวมมือกับ Singapore Design Council ,uสงผลงานนักศึกษาสาขาวิชาออกแบบภายใน สาขาวิชานิเทศศิลป และสาขาวิชา แฟชั่นดีไซน เขารวมนําเสนอในโครงการ “Design and Disaster” ปการศึกษา 2551 สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ไดมีการประสานความรวมมือทางดานวิชาการและงานวิจัย ดานสิ่งทอและแฟชั่นกับสถาบันการศึกษาตางประเทศ ไดแก สถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundation ประเทศญี่ปุน , สถาบัน Bath School of Art and Design, Bath Spa University ประเทศอังกฤษ, มหาวิทยาลัย Mikkeli University of Applied Sciences ประเทศฟนแลนด และตัวแทนสถาบันการศึกษาแฟชั่นของประเทศ ฝรั่งเศส คณะศิลปะและการออกแบบไดลงนาม MOU รวมกับมหาวิทยาลัย Kookmin University ประเทศเกาหลี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความรวมมือทางวิชาการ ไดแก กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาและอาจารย การใช ทรัพยากรทางการศึกษา การประชุมวิชาการ และกิจกรรมที่เกี่ยวของกับงานวิจัยรวมกัน นอกจากนี้คณะฯ ยังมีการ รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 8 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


ประสานความรวมมือทางดานวิชาการและงานวิจัยกับสถาบันการศึกษาตางประเทศอีกหลายแหง อาทิ สถาบัน Domus Academy ประเทศอิตาลี ปการศึกษา 2552 หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ รวมทํางานวิจัยและเปนวิทยากร ใหกับ Tama Art University ประเทศญี่ปุน และไดจัดนิทรรศการผลงานโปสเตอร Humor: Takashi Akiyama in Bangkok พรอมการบรรยายและสัมมนาปฏิบัติการกับนักออกแบบจากประเทศญี่ปุน 2 ทาน คือ Pro.Takashi Akiyama จาก Tama Art University และ Prof.Kazuhiro Abe จาก Seibi Gakuen โดยไดรับทุนสนับสนุนจาก Japan Foundation Bangkok นอกจากนี้ ยัง มี ก ารให บริ ก ารวิ ช าการโดยการเป น วิท ยากรพิ เ ศษอบรมการออกแบบแฟชั่ น และงาน ประดิษฐใหกับสถาบันการศึกษาในตางประเทศอีกดวย คือ มหาวิทยาลัย Yarmouk University ประเทศจอรแดน โดยความรวมมือกับสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงอัมมาน ประเทศจอรแดน การแลกเปลี่ยนนักศึกษากับสถาบันในตางประเทศ ปการศึกษา 2548 มหาวิทยาลัยรังสิตไดลงนาม MOU รวมกับมหาวิทยาลัย FACH Hochschule Aachen ประเทศเยอรมนี โดยไดสงนักศึกษาแลกเปลี่ยนจํานวน 1 คน เพื่อศึกษาในหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ณ มหาวิทยาลัยรังสิต ปการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัยรังสิตไดลงนาม MOU รวมกับมหาวิทยาลัย Mikkeli Polytechnic ประเทศฟนแลนด โดยไดมีโครงการในการสงนักศึกษาแลกเปลี่ยนจํานวน 1 คน เพื่อศึกษาในหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ทั้งนี้ในลําดับตอไป ทางคณะฯ มีโครงการที่จะสงนักศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและ วัฒนธรรมกับมหาวิทยาลัยดังกลาว ปก ารศึก ษา 2550 มี การรับ นัก ศึก ษาแลกเปลี่ ยนระดับ ปริญ ญาตรี จํา นวน 1 คน คือ Miss Satu Holopaien จากมหาวิทยาลัย Mikkeli University of Applied Sciences ประเทศฟนแลนด เขาเรียนในสาขาวิชา แฟชั่นดีไซน มหาวิทยาลัยรังสิต ภาคเรียนที่ 2 และ 3 ปการศึกษา 2550 ปการศึกษา 2551 สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ไดนํานักศึกษาชั้นปที่ 2 จํานวน 19 คน เดินทางไปเขากิจกรรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการ Fashion Design Workshop ณ สถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundation ประเทศญี่ปุน และมีการรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนระดับปริญญาตรี จํานวน 3 คน จากมหาวิทยาลัย Mikkeli University of Applied Sciences ประเทศฟนแลนด เขารวมกิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Fashion Design Workshop รวมกับนักศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ณ มหาวิทยาลัยรังสิต จํานวน 6 คน ภาคเรียนที่ 3 ปการศึกษา 2551 สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ มีการรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนระดับปริญญาตรี จํานวน 2 คน คือ Mr. Maurice Thome และ Mr. Marius Temming จากมหาวิทยาลัย University of Applied Sciences in Aachen ประเทศเยอรมัน เขาเรียนในสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยรังสิต ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ไดจัดกิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ รวมกับวิทยากร จากประเทศญี่ปุน คือ Prof.Kazuhiro Abe จากมหาวิทยาลัย Seibi Gakuen University และ Mr.Masao kurozumi นักออกแบบจากบริษัท Cactus Design Inc. โดยมีนักศึกษาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบ จํานวน 28 คน เขารวมโครงการ ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 9 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


ปการศึกษา 2552 สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน มีการจัดกิจกรรมนิทรรศการแลกเปลี่ยนการแสดงผลงาน นัก ศึ ก ษาด า นแฟชั่ น ดี ไซน ร ว มกั น ระหว า งมหาวิ ท ยาลั ย รั งสิ ต กั บ สถานบั น Bunka Gakuen Educational Foundation ประเทศญี่ปุน โดยนําผลงานของนักศึกษาแฟชั่นดีไซนของมหาวิทยาลัยรังสิต ไปจัดแสดงที่ Bunka Gakuen Fashion Resource Center ประเทศญี่ปุน และนําผลงานของนักศึกษาแฟชั่นดีไซน สถานบัน Bunka Gakuen Educational Foundation มาจัดแสดงที่หอศิลป อาคารคุณหญิงพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต และวางแผน ที่จะแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางทั้งสองสถาบันในอนาคต นอกจากนี้ทางสาขาวิชาแฟชั่นดีไซนยังมีการดําเนินการติดตอกับทางมหาวิทยาลัย Mikkeli University of Applied Sciences ประเทศฟนแลนดอยางตอเนื่อง เพื่อแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางสถาบัน โดยมีกําหนดรับ นักศึกษาของประเทศฟนแลนดเขารวมเปนนักศึกษาแลกเปลี่ยนในปการศึกษา 2553 จํานวน 1คน การเปดดําเนินการสอน ปการศึกษา 2552 เปดดําเนินการสอน รวมทั้งสิ้น 8 หลักสูตร ประกอบดวยหลักสูตรระดับปริญญาตรี 6 หลักสูตร และระดับปริญญาโท 2 หลักสูตร ดังนี้ ระดับปริญญาตรี เปดสอนจํานวน 6 หลักสูตร 1. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปภาพถาย 2. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน 3. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป 4. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม 5. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต 6. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ระดับปริญญาโท เปดสอนจํานวน 2 หลักสูตร 1. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ 2. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต จํานวนบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ มีผูสําเร็จการศึกษาแลวจํานวน 19 รุน รวมทั้งหมด 3,845 คน จํานวนบุคลากร ป ก ารศึ ก ษา 2552 บุ ค ลากรของคณะศิ ล ปะและการออกแบบประกอบด ว ย คณาจารย 72 คน (ประกอบดวย คณบดี 1 คน รองคณบดี 3 คน ผูชวยคณบดี 1 คน หัวหนาหมวด/สาขาวิชา/หลักสูตร 8 คน อาจารย ประจํา 59 คน) และเจาหนาที่ 16 คน รวมบุคลากรทั้งสิ้นจํานวน 88 คน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 10 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


วุฒิการศึกษาของบุคลากร ปการศึกษา 2552 วุฒิการศึกษาของบุคลากรสายอาจารย จํานวนทั้งสิ้น 72 คน ประกอบดวย อาจารยที่ มีวุฒิปริญญาเอก 2 คน วุฒิปริญญาโท (คุณวุฒิสูงสุดสายศิลปะและการออกแบบ เทียบเทาปริญญาเอก) 21 คน วุฒิปริญญาโท 26 คน และวุฒิปริญญาตรีจํานวน 23คน จํานวนอาจารยที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ ปการศึกษา 2552 บุคลากรสายอาจารย จํานวนทั้งสิ้น 72 คน มีผูที่ดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารย 7 คน และ ตําแหนงรองศาสตราจารย 2 คน รวมจํานวนอาจารยที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการทั้งสิ้น 9 คน อาคารเรียนและสถานที่ อาคารเรียนและสถานที่ในการเรียนการสอนของคณะศิลปะและการออกแบบ อยูในอาคารคุณหญิง พัฒนา (อาคาร 8) และอาคารวิษณุรัตน (อาคาร 5) 2. ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงคและแผนงาน ปรัชญา คณะศิลปะและการออกแบบ ศิลปะและการออกแบบ คื อ ศาสตร ซึ่ง เกิ ดจากการบูร ณาการอยางละเอี ยดออ นระหว างศิล ปะและ เทคโนโลยี อัน เปน ผลมาจากกระบวนการพัฒ นาทางดา นความคิด สรา งสรรคข องมนุษ ยชาติ เพื ่อ สรา ง สภาพแวดลอมอันเปนสิ่งจําเปนในการดํารงชีวิต อีกทั้งเปนสิ่งเดียวที่สามารถบงบอกถึงวัฒนธรรมและความ เปน อยูข องแตล ะเชื ้อ ชาติแ ตล ะยุค สมัย โดยมีป ณิธ านมุ ง มั่น ที่จ ะสง เสริม ใหเ ยาวชนของชาติ มีค วามคิด สรางสรรคสว นบุคคลควบคู ไปกับความเปนผูมีจ ริยธรรมอันดี งาม เพื่อนํา ความรู ความสามารถมาปฏิ รูปการ ออกแบบโดยตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ทางด า นสิ่ ง แวดล อ มของโลกและธํ า รงรั ก ษาไว ซึ่ ง เอกลั ก ษณ ท าง ศิลปวัฒนธรรมอันจะเปนประโยชนตอสังคมและประเทศชาติตอไป ปณิธาน เนนความเปนเลิศทางดานวิชาการและการเรียนการสอนดานการออกแบบทัดเทียมมหาวิทยาลัยชัน้ นําใน ตางประเทศ พันธกิจหลัก คณะศิลปะและการออกแบบ เนนความเปนเลิศทางการเรียนการสอนดานการออกแบบ เพื่อผลิตบัณฑิต ที่สอดคลองกับความตองการของประเทศ ใหมีความรูทางวิชาการและวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความ เชี่ยวชาญเปนพิเศษในดานเทคโนโลยี การจัดการ การสื่อสาร ความเปนผูนํา ความเปนผูประกอบการ มีจิตสํานึก ดานสิ่งแวดลอม ตระหนักในการสืบสานและบูรณาการภูมิปญญาไทยสูสากล เนนการวิจัยทางดานงานออกแบบเพื่อสรางองคความรูเพื่อหาแนวทางการแกปญหา สนองตอบความ ตองการของประเทศ และชี้แนะทางเลือกใหแกชุมชนและสังคม รวมทั้งการบริการวิชาการที่บูรณาการการเรียน รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 11 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


การสอน และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่มุงเนนการสรางความตระหนักรับรูในความแตกตางหลากหลายทาง วัฒนธรรม และสรางคุณคาความเขาใจตอวัฒนธรรมในฐานะที่เปนรากฐานของชีวิตและชุมชน นโยบายและแผนงาน เพื่อใหภารกิจทั้ง 4 ดานของคณะศิลปะและการออกแบบ คือ ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการ วิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม บรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศน และพันธกิจดังกลาว คณะศิลปะและการ ออกแบบจึงไดกําหนดนโยบายและแผนงานในการพัฒนาคณะในระยะ 5 ป เพื่อใชเปนแนวทางดําเนินงานโดย มุงเนนใหเกิดความสอดคลองกับปรัชญา ปณิธาน ของคณะศิลปะและการออกแบบ และวิสัยทัศน/พันธกิจของ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยมีการกําหนดเปนแผนกลยุทธคณะศิลปะและการออกแบบ พ.ศ. 2550-2554 ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบไดดําเนินงานตามแผนพัฒนา ในสวนตางๆ และไดมีการ พัฒนาควบคูกันไปทุกดานตามที่ไดวางแผนพัฒนาไว ทั้งนี้เพื่อใหวัตถุประสงคหลักของแผนงานพัฒนาคณะศิลปะ และการออกแบบบรรลุเปาหมาย คณะฯ จึงวางแผนพัฒนาในดานตาง ๆ ที่สําคัญ คือ 1. Inno–Vision & Outstanding - กลยุทธดานหลักสูตร  หลักสูตรตองมีความโดดเดนชัดเจนตรงกับความตองการของตลาดและทันสมัย - กลยุทธดานการเรียนการสอน  เนนการบูรณาการขามศาสตรและประสานกับประสบการณจริง  เนนการเรียนการสอนผสมผสานภาษาอังกฤษ - กลยุทธดานแหลงการเรียนรู  มี ร ะบบฐานข อ มู ล และสื บ ค น ข อ มู ล ทางด า นวิ ช าการ กิ จ กรรม ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สงเสริมและสนับสนุนการสรางเครือขายสารนิเทศของนักศึกษา - กลยุทธดานสงเสริมการประกวดการออกแบบ  สนับสนุนและสงเสริมการประกวดแบบทั้งในและตางประเทศ 2. Valuable Human & Professional - กลยุทธการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต  เนนการพัฒนาศักยภาพสวนบุคคล มีคุณธรรมและจริยธรรม คิดเปน ทําเปน ทํางาน เปนทีม สูความเปนมืออาชีพระดับสากล - กลยุทธดานกิจการนักศึกษา  พัฒนานักศึกษาสูความเปนผูนํา สรางความสัมพันธระหวางรุนพี่รุนนองและระบบ เชื่อมโยงกับศิษยเกาใหแข็งแกรง - กลยุทธดานระบบอาจารยที่ปรึกษา  พัฒนาระบบอาจารยที่ปรึกษาใหมีประสิทธิภาพ รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 12 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


3. Management Strengthening - กลยุทธดานบริหารและการจัดการ  เนนการมีสวนรวมและทัศนคติที่ดีในการบริหารจัดการ  พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีประสิทธิภาพ  พัฒนาบุคลากรใหมีประสิทธิภาพ  สรางจิตสํานึกและทัศนคติที่ดีตอองคกร  สรางจิตสํานึกที่ดีในการใหบริการและประหยัดทรัพยากร  พัฒนาดานสถานที่ อุปกรณที่ทันสมัยและทัดเทียมมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนํา รวมถึง มีพื้นที่จัดแสดง ขายสินคา และ Design Center อันเปนของคณะ - กลยุทธดานการพัฒนาบุคลากร  สงบุคลากรเพื่อฝกงานในสถานประกอบการภายในประเทศและตางประเทศ  สงบุคลากรเพื่ออบรมสัมมนาภายในประเทศและตางประเทศ  ทําการแลกเปลี่ยนบุคลากรกับตางสถาบันทั้งภายในประเทศและตางประเทศ  พัฒนาบุคลากรทางดานคุณวุฒิและตําแหนงวิชาการ - กลยุทธดานการตลาด  ประชาสัมพันธแนะนําคณะสูโรงเรียนระดับมัธยมทั่วประเทศ  มีการแนะแนวการศึกษาและจัด Road show โรงเรียนกลุมเปาหมายในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล  พัฒนา Website ของคณะใหมีความทันสมัย  สรางเครือขายดานการประชาสัมพันธในสื่อตางๆ เชน ทีวี แม็กกาซีนทางดานการ ออกแบบ ฯ 4. Learning Organization - กลยุทธดานการทําวิจัย  สรางองคความรู นวัตกรรมใหม ตระหนักถึงสิ่งแวดลอม และสืบสานศิลปวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาสูเชิงพาณิชยและสังคม - กลยุทธดานการบริการวิชาการ  บูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอน พัฒนาองคความรูจากการบริการ วิชาการไปสูงานวิจัย บริการเสริมความรูเฉพาะทางแกสังคมและผูดอยโอกาส - กลยุทธดานศิลปวัฒนธรรม  บูรณาการศิลปวัฒนธรรมในชั้นเรียนสูชุมชนและสังคม 5. Viable - กลยุทธดานการเงินและงบประมาณ  มีการจัดสรรงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โปรงใส สามารถตรวจสอบได และมีการบริการวิชาการหรือกิจกรรมเพื่อหารายไดเขาสูคณะ รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 13 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


6. e–University - กลยุทธดานเทคโนโลยี  พัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรูพื้นฐานดาน ICT และระบบสารสนเทศเพื่อนําไปสูความ เปน e-University 7. Internationalization - กลยุทธดาน Internationalization  เตรียมความพรอมดานภาษาอังกฤษใหแกบุคลากรทุกระดับเพื่อนําไปสูการเรียนการสอนโดยใช ภาษาอังกฤษและจัดทําสื่อสารสนเทศสองภาษา (Bi-lingual) ในทุกรายวิชา อีกทั้งมีการทํา ความรวมมือดานวิชาการทุกสาขาวิชากับมหาวิทยาลัยในตางประเทศ ความโดดเดนและความเปนเอกลักษณของคณะและสาขาวิชา หลักสูตรของคณะศิลปะและการออกแบบ ทุกหลักสูตรมีปรัชญาและจุดมุงหมายเดียวกัน ตามปณิธาน ของคณะศิลปะและการออกแบบ และมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศซึ่งตางมีแนวทางที่โดดเดนและความ เปนเอกลักษณสาขาวิชาเฉพาะหลักสูตร ดังนี้ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ  เปนหลักสูตร “สาขาวิชาการออกแบบ” แหงเดียวในประเทศไทยที่เอื้อตอนักศึกษาหลากหลายสาขาวิชา สามารถเขามาศึกษาไดตามศักยภาพ  เป น หลั ก สู ต รที่ มุ ง เน น การสร า งรากฐานแห ง ภู มิ ป ญ ญาในการออกแบบ โดยความเข า ใจรากเหง า วัฒนธรรมของตนเองอยางแทจริงเพื่อจะสามารถแกปญหาในการออกแบบอยางเหมาะสม  เปนหลักสูตรที่มุงเนนการสรางนักออกแบบใหมีความรูความสามารถในการศึกษา คนควา วิเคราะห วิจัย เพื่อบุกเบิกในการสรางองคความรูใหมในวงวิชาการทางดานออกแบบ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต  เปนหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต ที่เปดการเรียนการสอนแหงแรกในประเทศ ไทย  เป น หลั ก สู ต รที่ เ น น การเรี ย นการสอนแบบประสบการณ จ ริ ง โดยความร ว มมื อ กั บ บริ ษั ท และองค ก ร ภายนอก  เปนหลักสูตรที่เนนฝกทักษะและการเรียนรูที่จําเปนสําหรับการสรางงานคอมพิวเตอรอารตขั้นสูง และ พัฒนากระบวนความคิด การวิเคราะห และสังเคราะห เพื่อสามารถนํ าไปสรางสรรคงานในวิ ชาชี พ คอมพิวเตอรอารตขั้นสูงอยางระบบ  เสริมความรูเกี่ยวกับกระบวนการจัดการและการบริหารธุรกิจคอมพิวเตอรอารต ตลอดจนการเปดโลก ทัศนและวิธีคิดใหมๆ ในการสรางสรรคผลงาน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 14 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปภาพถาย  เปนหลักสูตรสหวิทยาการและเปดโอกาสใหนักศึกษาเลือกเรียนตามศักยภาพสวนบุคคล  มีความพรอมทางดานบุคลากรและเครื่องมือที่ทันสมัยกวาสถาบันการศึกษาอื่นๆ ที่สอนทางการถายภาพ  เป น สาขาวิ ชาแรกแห ง เดีย วในประเทศไทยที่ เ ป ดสอนวิ ชาเอกทางดา น Fine Art Photography และ Digital Image Photography  กระบวนการจัดการเรียนการสอน ประสานความรวมมือกับองคกรภายนอก เพื่อรองรับการฝกงานและ โครงการสหกิจศึกษา หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน  เปนหลักสูตรที่เพิ่มทางเลือกดาน Interior Design Management  มีแนวทางการเรียนการสอนโดดเดนทางดานการเปดกวางทางดานความคิดสรางสรรคสวนบุคคล  เป น หลั กสู ต รที่ มุ งเน น การปลู ก จิ ต สํา นึ ก ทางด า นการประหยัด ทรั พ ยากรธรรมชาติ พลั ง งาน และการ อนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น และการพัฒนา  มีความพรอมทางดานบุคลากรที่มีประสบการณและความรูความเชี่ยวชาญ  เปนหลักสูตรที่เนนกระบวนการเรียนการสอนผสมผสานประสบการณจริง  บัณฑิตที่จบออกไปเปนที่ยอมรับของบริษัท องคกร รัฐบาล และในวงการศึกษา

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป 

 

หลักสูตรเปนสหวิทยาการเอื้อใหนักศึกษามีศักยภาพทางดาน Graphic Design, Advertising Design และ Multimedia เปนพื้นฐาน เปดทางเลือกตามความสนใจเฉพาะทางในการพัฒนาตนเองของนักศึกษา หลักสูตรเนนกระบวนการเรียนการสอนผสมผสานประสบการณจริง ความสามารถของบัณฑิตเปนที่ยอมรับของบริษัท องคกร และสถาบันการศึกษา

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม  หลักสูตรมุงเนนการพัฒนาศักยภาพและความคิดสรางสรรคสวนบุคคล  ผลงานนักศึกษาและบัณฑิตเปนที่ยอมรับ  สรางความรวมมือกับองคกรทั้งภายในมหาวิทยาลัยและสมาคมวิชาชีพ  สรางความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรมทองถิ่น เพื่อใหนักศึกษาผลิตผลงานจริง หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต  เปนหลักสูตรที่เปดการเรียนการสอนเปนแหงแรกในประเทศไทย และผลงานของนักศึกษาและบัณฑิต ประสบความสําเร็จเปนที่ยอมรับในวงการภาพยนตรแอนิเมชั่น  เป น หลั ก สู ต รที่ เ น น การเรี ย นการสอนแบบประสบการณ จ ริ ง โดยความร ว มมื อ กั บ บริ ษั ท และองค ก ร ภายนอก รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 15 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


 

เปนหลักสูตรที่มีความพรอมทางดานบุคลากร และอุปกรณการเรียนการสอน เปนหลักสูตรที่มุงเนนการพัฒนาความคิดสรางสรรคสวนบุคคลและความสามารถในการทํางานเปนทีม

หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน  เปนหลักสูตรที่เปดการเรียนการสอนเปนแหงแรกในประเทศไทย และผลงานของนักศึกษาและบัณฑิต ประสบความสําเร็จ เปนที่ยอมรับในวงการแฟชั่น เนนการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ที่มีความ พรอม และเชี่ยวชาญทั้งภาค ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ  เปนหลักสูตรที่เนนการผลิตแฟชั่นดีไซเนอร ที่มีความรูความสามารถในการเปนนักออกแบบที่มีความคิด สรางสรรคสวนบุคคลควบคูไปกับความรูเกี่ยวกับธุรกิจแฟชั่น

3. โครงสรางการบริหารงาน คณะศิล ปะและการออกแบบไดแ บง หนว ยงานออกเปน หลัก สูต รศิล ปมหาบัณ ฑิต สาขาวิช าการ ออกแบบ และสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต สว นระดับ ปริญ ญาตรี ประกอบดว ยหนว ยงาน หมวดวิช าพื้น ฐาน คณะฯ สาขาวิชาศิลปภาพถาย สาขาวิชาออกแบบภายใน สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป สาขาวิชาออกแบบ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน และสํานักงานเลขานุการคณะฯ โดยมี ผูบริหารในระดับตางๆ ดังนี้ คือ คณบดี รองคณบดีฝายบริหาร รองคณบดีฝายวิชาการ รองคณบดีฝายกิจการ นักศึกษา ผูชวยคณบดี หัวหนาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ รักษาการหัวหนาหลักสูตรศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต หัวหนาหมวดวิชาพื้นฐาน หัวหนาสาขาวิชาออกแบบภายใน หัวหนา สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หัวหนาสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป หัวหนาสาขาวิชาศิลปภาพถาย หัวหนาสาขาคอมพิวเตอรอารต หัวหนาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน และเลขานุการคณะศิลปะและการออกแบบ รายชื่อผูบริหารและคณะกรรมการประจําคณะศิลปะและการออกแบบ ปการศึกษา 2552 อาจารยอํานวยวุฒิ อาจารยวชิ ัย รศ.พิศประไพ

สาระศาลิน เล็กอุทัย สาระศาลิน

อาจารยสุธีร ผศ.ธรรมศักดิ์ ผศ.ดร.ชัยยศ

ธนรัช เอื้อรักสกุล อิษฏวรพันธุ

อาจารยพจมาน ผศ.สุรพงษ

ธารเจษฏา เอี่ยมพิชัยฤทธิ์

คณบดี รองคณบดีฝายบริหาร รองคณบดีฝายวิชาการและรักษาการ หัวหนาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา ผูชวยคณบดี หัวหนาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ หัวหนาหมวดวิชาพื้นฐาน หัวหนาสาขาวิชาศิลปภาพถาย

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 16 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


อาจารยถวัลย อาจารยสุเทพ ผศ.วัชรินทร อาจารยนัฐวุฒิ อาจารยบุญญาณิศา อ.ณัฐพัชร ผศ.กิติสาร อาจารยสุริยา นางชฎารัตน

วงษสวรรค โลหะจรูญ จรุงจิตสุนทร สีมันตร อ.ตันติพิบูลย หลวงพล วาณิชยานนท ศรีสุภาพ บุญถนอม

หัวหนาสาขาวิชาออกแบบภายใน หัวหนาสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป หัวหนาสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ หัวหนาสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต หัวหนาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน หัวหนาหองปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร ตัวแทนคณาจารย ตัวแทนคณาจารย เลขานุการคณะ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 17 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


คณบดี คณะกรรมการประจําคณะศิลปะและการออกแบบ

รองคณบดีฝายบริหาร - คณะกรรมการฝายบริหาร และการสรรหาบุคลากร - คณะกรรมการหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร - คณะกรรมการประชาสัมพันธ - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

หัวหนาหลักสูตร ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอรอารต

หัวหนาหลักสูตร ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบ

รองคณบดีฝายวิชาการ - คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและการเรียน การสอน - คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร - คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา - คณะกรรมการตารางสอน - คณะกรรมการบริการวิชาการ - คณะกรรมการเทียบโอน - คณะกรรมการโครงการพัฒนาสหกิจศึกษา - คณะกรรมฝายวิเทศสัมพันธ - คณะกรรมการสงเสริมดานการการวิจัย

หัวหนา หมวดวิชา พื้นฐานคณะฯ

หัวหนาสาขาวิชา ศิลปภาพถาย

หัวหนาสาขาวิชา ออกแบบภายใน

รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา

ผูชวยคณบดี

- คณะกรรมการฝายกิจการนักศึกษา - คณะกรรมการฝายวางแผน พัฒนา และวินัย - คณะกรรมการฝายดูแล และประสานงานกิจกรรมนักศึกษา - คณะกรรมการฝายอาจารยที่ปรึกษา - คณะกรรมการฝายทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและกีฬา

- ดูแลงานดานกิจการพิเศษ และงานแนะแนว Website คณะ

หัวหนาสาขาวิชา ออกแบบ นิเทศศิลป

แผนภูมิที่ 1 โครงสรางการบริหารคณะศิลปะและการออกแบบ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลั18ยรังสิต

หัวหนาสาขาวิชา ออกแบบผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม

หัวหนาสาขาวิชา คอมพิวเตอรอารต

หัวหนาสาขาวิชา แฟชั่นดีไซน


คณะกรรมการของคณะศิลปะและการออกแบบ ปการศึกษา 2552 การบริหารงานของคณะศิลปะและการออกแบบ มีคณะกรรมการ ประกอบดวย 1. คณะกรรมการประจําคณะศิลปะและการออกแบบ 2. คณะกรรมการฝายบริหาร 2.1 คณะกรรมการฝายบริหาร และการสรรหาบุคลากร 2.2 คณะกรรมการหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 2.3 คณะกรรมการประชาสัมพันธ 2.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 3. คณะกรรมการฝายวิชาการ 3.1 คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน 3.2 คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร 3.3 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 3.4 คณะกรรมการตารางสอน 3.5 คณะกรรมการบริการวิชาการ 3.6 คณะกรรมการเทียบรายวิชาและโอนหนวยกิต 3.7 คณะกรรมการพัฒนาโครงการสหกิจศึกษา 3.8 คณะกรรมฝายวิเทศสัมพันธ 3.9 คณะกรรมการสงเสริมดานการการวิจัย 4. คณะกรรมการฝายกิจการนักศึกษา 4.1 คณะกรรมการฝายกิจการนักศึกษา 4.2 คณะกรรมการที่ปรึกษาวางแผนและพัฒนาและวินัย 4.3 คณะกรรมการฝายดูแลและประสานงานฝายกิจกรรมนักศึกษา 4.4 คณะกรรมการฝายอาจารยที่ปรึกษา 4.5 คณะกรรมการฝายทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและกีฬา คณะกรรมการตาง ๆ ดังกลาวขางตน ดําเนินตามภาระหนาที่ดังนี้ 1. คณะกรรมการประจําคณะศิลปะและการออกแบบ ทําหนาที่รวมกันบริหาร กําหนดนโยบายและ ตัดสินใจในการบริหารทุกดานรวมกัน ทั้งในดานการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การบริหารงานกิจการ นักศึกษา การบริการวิชาการ การวิจัย และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 2. คณะกรรมการฝายบริหาร ทําหนาที่เกี่ยวกับงานบริหาร การจัดการ การสรรหาบุคลากรใหมและการ ประชาสัมพันธในองคกร รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 19 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


2.1 คณะกรรมการบริหารและการสรรหาบุคลากร ทําหนาที่รวมกับคณบดีดูแลเรื่องงบประมาณ ของคณะ อาจารยพิเศษ วิทยากรพิเศษ ตลอดจนการสรรหาคัดเลือกบุคลากรใหม 2.2 คณะกรรมการหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ทําหนาที่วางนโยบายและระเบียบการใช หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ตลอดจนการประสานงานกับหนวยงาตางๆ ที่ขอใชหอง 2.3 คณะกรรมการประชาสัมพันธ ทําหนาที่ประชาสัมพันธคณะศิลปะและการออกแบบ และ ประสานงานรวมกับทางฝายประชาสัมพันธของมหาวิทยาลัย 2.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ทําหนาที่การวิเคราะหปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสราง ความเสียหายหรือความลมเหลวในการบริหารงาน จัดทําแผนบริหารความเสี่ยง และสรุปผลการดําเนินงานตาม แผนบริหารความเสี่ยง 3. คณะกรรมการฝายวิชาการ ทําหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานทางดานการพัฒนาวิชาการตางๆ ของ คณะ ใหดําเนินการใหลุลวงไปดวยดี โดยทําหนาที่เปนคณะกรรมการชุดตางๆ ดังนี้ 3.1 คณะกรรมการพั ฒ นาหลั ก สู ต รและการเรี ย นการสอน ทํ า หน า ที่ ร ว มกั น หาแนวทาง พัฒนาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพสูงสุด 3.2 คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ทําหนาที่ในการประเมินและพิจารณาในการปรับปรุง หลักสูตรใหเปนไปตามนโยบายของคณะ มหาวิทยาลัย และมีความทันสมัย สอดคลองกับความตองการและ สภาวะความเปลี่ยนแปลงภายนอก 3.3 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ทําหนาที่ในการดําเนินการตรวจสอบรายงานการ ตรวจสอบตนเอง (SSR) ของแตละสาขาวิชา และรวมกันประเมินคุณภาพ จุดแข็ง จุดออน เพื่อพัฒนาปรับปรุงคณะ เสนอตอคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน และคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก 3.4 คณะกรรมการตารางสอน ทําหนาที่ประสานงานดานการจัดตารางสอนของคณะ กับฝาย ทะเบียน 3.5 คณะกรรมการบริการวิชาการ ทําหนาที่รับงานออกแบบใหกับหนวยงานตางๆ ทั้งในและ นอกมหาวิทยาลัย โดยเชื่อมโยงกับศูนยบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยรังสิต 3.6 คณะกรรมการเทียบโอน ทําหนาที่ดูแลนักศึกษาเกี่ยวกั บการเทียบโอนทั้งภายใน และ ภายนอกสถาบัน 3.7 คณะกรรมการโครงการพัฒนาสหกิจศึกษา ทําหนาที่เปนตัวแทนคณะฯ เขารวมโครงการ สหกิจศึกษา และการจัดแผนการศึกษาของสาขาวิชาฯ เพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษาเขารวมโครงการ ตลอดจนเปนที่ ปรึกษาใหกับนักศึกษาที่เขารวมโครงการสหกิจศึกษา 3.8 คณะกรรมฝายวิเทศสัมพันธ ทําหนาที่สงเสริมความสัมพันธดานวิชาการในระดับนานาชาติ โดยการประสานงานกับสํานักงานวิเทศสัมพันธมหาวิทยาลัยรังสิต ในการดําเนินงานบริการวิชาการตาง ๆ ให เชื่อมโยงกับทุกหนวยงานของคณะฯ 3.9 คณะกรรมการสงเสริมดานการการวิจัย ทําหนาที่วางแผนพัฒนา สงเสริมการวิจัย ติดตาม และรวบรวมผลงานวิจัยและงานสรางสรรคอยางมีระบบ รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 20 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


4. คณะกรรมการฝายกิจการนักศึกษา ทําหนาที่วางแผนงานในการควบคุมดูแลการดําเนินงาน ทางดาน กิจการนักศึกษาของนักศึกษา ประสานงานกับหนวยงานอื่น ในการสงเสริมพัฒนาการของนักศึกษาใน กิจกรรมตางๆ 4.1 คณะกรรมการที่ปรึกษา วางแผน พัฒนาและวินัย ทําหนาที่วางแนวทางในเรื่องกฎ ระเบียบ วินัยการแตงกายของนักศึกษาใหเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4.2 คณะกรรมการฝายดูแล และประสานงานกิจกรรมนักศึกษา ทําหนาที่ดูแลและบริหารระบบ การทํางานกิจกรรมตางๆ ของคณะและประสานงานกับมหาวิทยาลัย 4.3 คณะกรรมการฝายอาจารยที่ปรึกษา ทําหนาที่ใหคําปรึกษาและการวางแผนการเรียนใหกับ นักศึกษาในแตละภาคการศึกษา 4.4 คณะกรรมการฝายทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและกีฬา ทําหนาที่ประสานงานและสงเสริม การจัดกิจกรรมตางๆ ของคณะ 4. เอกลักษณ คณะศิลปะและการออกแบบ ใชสีเขียวเวอรริเดียน (Veridian) เปนสีประจําคณะศิลปะและการออกแบบ 5. โครงสรางหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน ระดับปริญญาตรี เปดสอนจํานวน 6 หลักสูตร 1. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปภาพถาย 2. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน 3. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป 4. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม 5. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต 6. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ระดับปริญญาโท เปดสอนจํานวน 2 หลักสูตร 1. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ 2. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต วัตถุประสงคของหลักสูตร หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ : มีวัตถุประสงค 1. เพื่อสรางนักออกแบบที่มีฐานความรูความเขาใจมนุษยและสังคมทั้งในแงของกระบวนทรรศนและในแง ของการแสดงออก 2. เพื่อสรางนักออกแบบที่มีความสามารถในการวิเคราะหปรากฏการณทางวัฒนธรรม แลวรวบยอดเปน แนวคิดในการออกแบบเพื่อตอบสนองได 3. เพื่อสรางนักออกแบบที่มีความคิดสรางสรรคที่สามารถปรับตัวไดอยูตลอดเวลา และมีกระบวนความคิดที่ เปนระบบ รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 21 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


4. เพื่อสรางนักออกแบบที่สามารถสื่อสารความคิดออกมาไดชัดเจน สามารถผลักดันงานใหสําเร็จลุลวงและ เปนไปไดจริง 5. เพื่อสรางฐานความรูในระดับงานวิจัยผานกระบวนการเรียนการสอนซึ่งเปนรากฐานสําคัญของวิชาชีพนัก ออกแบบ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต : มีวัตถุประสงค 1. เนนการพัฒนากระบวนความคิด การวิเคราะห และสังเคราะห เพื่อสามารถนําไปสรางสรรคงานใน วิชาชีพคอมพิวเตอรอารตขั้นสูงอยางระบบ 2. เนนการฝกทักษะและการเรียนรูที่จําเปนสําหรับการสรางงานคอมพิวเตอรอารตขั้นสูง 3. เสริมความรูเกี่ยวกับกระบวนการจัดการและการบริหารธุรกิจคอมพิวเตอรอารต ตลอดจนการเปดโลก ทัศนและวิธีคิดใหมๆ ในการสรางสรรคผลงาน หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปภาพถาย : มีวัตถุประสงค 1. เพื่อสรางผลงานภาพถายไดทั้งในลักษณะของภาพถายศิลปะ(Fine Arts Photography) ภาพถายเพื่อ งานธุรกิจ (Commercial Photography) ตลอดจนมีความรูความสามารถในการควบคุมหองปฏิบัติการ ทางการถายภาพ และมีความรูความสามารถในการผลิตงานภาพถายดวยเครื่องมืออุปกรณในระบบ ดิจิตอล (Digital Photography) 2. เพื่อนักศึกษาจะไดศึกษาเรียนรูและฝกปฏิบัติการใชเครื่องมืออุปกรณตลอดจนเทคนิคและ เทคโนโลยี ตางๆ ตั้งแตระดับพื้นฐานจนถึงระดับสูง 3. เพื่ อ เป น การเสริ ม สร า งทั ก ษะพั ฒ นาความคิ ด สร า งสรรค ตลอดจนรู จั ก การนํ า ไปประยุ ก ต ใ ช อ ย า ง เหมาะสม 4. เพื่อใหสามารถสรางสรรคงานศิลปะที่มีคุณคา และมีความพรอมในการประกอบอาชีพตอไปในอนาคต หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน : มีวัตถุประสงค 1. โครงสร า งหลัก สู ตรและกระบวนการเรี ย นรู ส ง เสริม และสนั บสนุ นการพั ฒนาการทางดา นความคิ ด สรางสรรคสวนบุคคลของนักศึกษา 2. นักศึกษาจะตองไดรับการปลูกฝงและพัฒนาคุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ ความรับผิดชอบ ความ เปนที่ไววางใจได ความมีประสิทธิภาพในการประกอบวิชาชีพ รวมทั้งพัฒนาทัศนคติและบุคลิกภาพ 3. นัก ศึก ษาจะตอ งได รั บการปู พื้น ฐานทางความรูศิ ลปะและหลั ก การออกแบบพื้ น ฐานทางทฤษฏีก าร ออกแบบ พื้นฐานความรูทางประวัติศาสตร ความเขาใจเกี่ยวกับจิตวิทยาและพฤติกรรมของมนุษย และ ความเขาใจในศาสตรอื่นๆที่เกี่ยวของ เพื่อที่จะสามารถบูรณาการความรูอยางไดสัดสวนสมดุล รวมทั้ง ไดรับการปลูกฝงใหตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษสิ่งแวดลอมและการสืบสานศิลปวัฒนธรรม ซึ่งจะสอดแทรกในรายวิชาตางๆ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 22 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


4. นักศึกษาจะตองเรียนรูและเขาใจหลักและกระบวนการออกแบบ ความรูทางทฤษฏีเกี่ยวกับการออกแบบ ภายใน ทักษะในการออกแบบ และสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติวิชาชีพไดจริง รวมทั้งไดรับการ สงเสริมใหมีประสบการณทํางานจริงในระหวางศึกษา 5. นักศึกษาจะตองไดรับการฝกทักษะในการสื่อสารและสามารถนําเสนอผลงานไดอยางมีประสิทธิผล 6. นักศึกษาจะตองมีความสามารถในการออกแบบ อยูบนพื้นฐานของความเขาใจงานระบบในอาคารและมี ความสามารถในการเลือกใชวัสดุและผลิตภัณฑที่เหมาะสมกับงานออกแบบภายในแตละประเภท 7. นักศึกษาจะตองมีความรู ความเขาใจทางดานกฎหมาย กฎระเบียบและรหัสตางๆ ตลอดจนมาตรฐาน เกี่ยวกับการปองกันสุขภาพ ความปลอดภัยของผูใชอาคารและการคํานึงถึงสังคมทุกระดับชั้น 8. นักศึกษาจะตองมีพื้นฐานความรูในการนําธุรกิจควบคูไปกับการฝกปฏิบัติวิชาชีพจากประสบการณจริง และการทํางานเปนทีม หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป : มีวัตถุประสงค 1. เพื่อสรางบัณฑิตในสาขาออกแบบนิเทศศิลปใหเปนนักคิดและนักออกแบบที่มีความเปนผูนํา โดยสามารถ บริหารจัดการโครงการออกแบบ และสามารถทํางานเปนทีมไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อสรางนักออกแบบที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบตอวิชาชีพและสังคม ตลอดจนตระหนักถึง ภาระหนาที่ในการสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและการมีจิตสํานึกที่ดีในการรวมอนุรักษสิ่งแวดลอม 3. เพื่อนําองคความรูที่เรียนมาผลิตผลงานการออกแบบสื่อสารในดานการออกแบบกราฟก การออกแบบสื่อ โฆษณา และการออกแบบมั ล ติ มี เ ดี ย โดยการใช ภ าพวาด ภาพถ า ย สั ญ ลั ก ษณ การใช ตั ว อั ก ษร ภาพยนตร ภาพเคลื่อนไหว และการใชโสตทัศนูปกรณที่ทันสมัยในการนําเสนอผลงาน ตลอดจนหลักและ กระบวนการคิดในการสื่อสารเนื้อหาเพื่อใหผูอื่นไดเขาใจควบคูไปกับหลักและแนวทางในการดําเนินธุรกิจ และประกอบอาชีพตอไป หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ : มีวัตถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมใหนักศึกษามีการพัฒนาทางความคิดสรางสรรคสวนบุคคล สามารถออกแบบผลิตภัณฑตาม ศักยภาพ และความสนใจ 2. เพื่อสงเสริมใหนักศึกษาเปนนักออกแบบผลิตภัณฑที่มีความสามารถในการคนควา วิเคราะห สังเคราะหที่ เปนระบบ ควบคูไปกับความรูทางดานธุรกิจออกแบบ 3. เพื่อสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพออกแบบผลิตภัณฑ หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต : มีวัตถุประสงค 1. เพื่อมุงเนนใหนักศึก ษามีโอกาสในการใชความรูพื้นฐานทางดานศิลปะและนํามาพัฒนา สรางสรรค โดยใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือในการนําเสนอผลงาน 2. เพื่อมุงเนนใหนักศึกษาไดเรียนรูทักษะที่จําเปนสําหรับงานคอมพิวเตอรอารต เพื่อนําไปประยุกตใชใน วิชาชีพตอไป รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 23 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


3. เพื่อใหนักศึกษาไดพัฒนาความคิดสรางสรรคสวนบุคคลและสามารถทํางานเปนทีมได 4. เพือ่ นําความรูจากการศึกษานี้ เปนฐานในการสรางสรรค และนําเสนอผลงานในวงการวิชาชีพตอไปอยาง ประสบผลสําเร็จ หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน : มีวัตถุประสงค 1. เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ที่มีความรอบรูและลึกซึ้งในศาสตรของแฟชั่นดีไซน และนําไปสู ความมั่นใจในการคิดสรางสรรคดวยตนเอง ทั้งนี้จะตองมีแนวทางการปฏิบัติของนักวิจัยคนควา ทดลอง ซึ่งสามารถพัฒนาไปสูความเปนเลิศ ในการสรา งนวัต กรรมของผลงานการออกแบบ ประกอบกับ มี ความเชี่ยวชาญและรวดเร็วตรงกับความตองการของธุรกิจแฟชั่น 2. เพื่อผลิต ดีไซนเ นอร ที่ มีความพรอม (Mature) จะเปน ผูนําในธุ รกิจแฟชั่น และสามารถสร างสรรค ทางเลือกใหมในดานเสื้อผาเครื่องแตงกายใหกับสังคม อีกทั้งยังเปนการสงเสริมธุรกิจแฟชั่นใหกับประเทศ อีกดวย 6. อาคารสถานที่ ปจจัยเกื้อหนุน และสภาพแวดลอม อาคารสถานที่ ใ นการเรี ย นการสอนของคณะศิ ล ปะและการออกแบบ อยูใ นอาคารคุณ หญิ งพั ฒ นา (อาคาร 8) และอาคารวิษณุรัตน (อาคาร 5) คณะศิลปะและการออกแบบ อาคาร 8 มีหองเรียน หองปฏิบัติการ และบรรยากาศที่เอื้อตอการศึกษา มี การแบงพื้นที่ใชสอยภายในอาคารโดยไดจัดแบงเปนสวน ทั้งนี้ ทุกสาขาวิชาใชหองเรียนแบบบรรยายรวมกับ มหาวิทยาลัย และมีหองปฏิบัติการของสาขาวิชาตาง ๆ เชน ศิลปภาพถาย ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ แฟชั่นดีไซน รวมทั้งหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ชั้น 2 ของหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ชั้น 3 ซึ่งใชรวมกันทุกสาขาวิชา นอกจากนั้น คณะศิลปะและการออกแบบมีหอง แสดงผลงานนิทรรศการ หอศิลปรังสิต เพื่อเผยแพรผลงานศิลปะและงานออกแบบของอาจารย – นักศึกษาทั้งคณะ โดยใชรวมกับคณะสถาปตยกรรมศาสตร 7. จํานวนบุคลากร คณะศิลปะและการออกแบบมีคณาจารยประจํา อาจารยพิเศษ และวิทยากรพิเศษเปนผูทรงคุณ วุฒิ และมีประสบการณตรงตามสาขาวิชา บุคลากรทุก ทา นผา นการคัด เลือ กโดยคณะกรรมการซึ่ง ประกอบดวย คณบดี รองคณบดีฝายบริหาร รองคณบดีฝายวิชาการ และหัวหนาสาขาวิชา เพื่อพิจารณาคุณวุฒิ พิจารณาผล การศึกษา พิจารณาผลงาน ประสบการณการทํางาน และเสนอตอคณะกรรมการประจําคณะฯ เมื่อลงมติเห็นชอบ แลว จึงเสนอมหาวิทยาลัยเพื่อขอบรรจุตอไป คณาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาทุกทานจะอยูในการกํากับดูแลของหัวหนาสาขาวิชาและคณะฯ โดยมี สัดสวนของอาจารยและนักศึกษาที่เหมาะสมภายใตการควบคุมมาตรฐานของคณะกรรมการกํากับมาตรฐาน วิชาการ ทั้งนี้ไดกําหนดภาระงานอาจารยตามนโยบายของมหาวิทยาลัย คือ การสอน การวิจัย การบริการทาง วิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งภาระหนาที่อื่นๆ ที่คณะและมหาวิทยาลัยมอบหมาย รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 24 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


อาจารยคณะศิลปะและการออกแบบ ในปการศึกษา 2552 จํานวนทั้งหมด 72 คน วุฒิการศึกษา ปริญญาเอก 2 คน ลําดับ ชื่อ-สกุล 1. ผศ.ดร.ชัยยศ อิษฏวรพันธุ

หนวยงาน หลักสูตรศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชา การออกแบบ

2. ดร.วราวรรณ สุวรรณผาติ

ศิลปภาพถาย

วุฒิการศึกษา ศ.บ.(ประยุกตศลิ ปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร Master of Engineering (History of Architecture) Waseda University, Tokyo, Japan Doctor of Architecture Wasseda University, Tokyo, Japan กศ.บ. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Ed.D. (Administrative and Policy Studies) University of Pittsburgh, U.S.A.

วุฒิการศึกษา ปริญญาโท (คุณวุฒิสูงสุดสายศิลปะและการออกแบบเทียบเทาปริญญาเอก) 21 คน ลําดับ ชื่อ-สกุล 1. อาจารยอํานวยวุฒิ สาระศาลิน

หนวยงาน คณบดี

2. รศ.พิศประไพ สาระศาลิน

รองคณบดี ฝายวิชาการ

3. อาจารยสุธีร ธนรัช

รองคณบดี ฝายกิจการ นักศึกษา

4. อาจารยชัยพร พานิชรุทติวงศ

หลักสูตรศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอร อารต

วุฒิการศึกษา ศ.บ. (มัณฑนศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร M.F.A. (Design) University of Kansas, U.S.A ศ.บ. (มัณฑนศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร M.F.A. (Interior Design) University of Kansas, U.S.A ศ.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร M.F.A. (Computer Arts) Savannah College of Art and Design ศ.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร M.F.A. (Visual Animation Design) University of Oregon, U.S.A.

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 25 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


5. อาจารยเดวิด เชเฟอร

6. อาจารยสุเทพ โลหะจรูญ

7. อาจารยนัฐวุฒิ สีมันตร

8. อาจารยดนยา เชี่ยววัฒกี

9. อาจารยนิพล สมานมิตร

10. อาจารยไพลิน โภคทวี

11. อาจารยอรพรรณ สาระศาลิน เชเฟอร 12. อาจารยชุติมา พรรคอนันต

13. อาจารยชนกมณฐ รักษาเกียรติ

14. อาจารยชินภัศร กันตะบุตร

หลักสูตรศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบ หัวหนา สาขาวิชา ออกแบบ นิเทศศิลป หัวหนา สาขาวิชา คอมพิวเตอร อารต หมวดวิชา พื้นฐาน

B.Arch The University of Arizona M.FA. Cranbrook Academy of Art

ศ.บ.(ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิลปมหาบัณฑิต ออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศบ. (ออกแบบนิเทศศิลป) สถาบันราชภัฏสวนดุสิต M.F.A. (Computer Art) Savannah College of Art and Design, U.S.A. ศ.บ. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.ม. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร หมวดวิชา ศ.บ. (ประติมากรรม) พื้นฐาน มหาวิทยาลัยศิลปากร ศป.ม. (การออกแบบ) มหาวิทยาลัยรังสิต ออกแบบภายใน สถ.บ. (สถาปตยกรรมศาสตร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย M.F.A. (Interior Design) Savannah College of Art and Design, U.S.A. ออกแบบภายใน B.Arch The University of Arizona M.F.A. (Ceramics) Cranbrook Academy of Art ออกแบบ ศ.บ. (มัณฑนศิลป) นิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร M.F.A. (Graphic Design) George Washington University, U.S.A. ออกแบบ ศป.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) นิเทศศิลป มหาวิทยาลัยรังสิต M.F.A. (Computer Graphics Design) Rochester Institute of Technology, Rochester,NY, USA ออกแบบ ศ.ศ.บ.(ศิลปกรรม) นิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร M.F.A.(Computer Graphic) Pratt Institute, U.S.A.

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 26 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


15. อาจารยบํารุง อิศรกุล

ออกแบบ นิเทศศิลป

16. อาจารยวัชรี ศรีวิชัย

ออกแบบ ผลิตภัณฑ

17. อาจารยกิตติวัฒน โลหะการ

ออกแบบ ผลิตภัณฑ

18. อาจารยพนัส โภคทวี

คอมพิวเตอร อารต

19. อาจารยสุทัศน ปาละมะ

คอมพิวเตอร อารต

20. ผศ.ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล

คอมพิวเตอร อารต

21. อาจารยบุญญานิศา อ.ตันติพิบูลย

หัวหนา สาขาวิชาแฟชั่น ดีไซน

ศ.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.ม.(สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร วท.บ. (เทคโนโลยีเซรามิกส) สถาบันราชภัฎพระนคร ศ.ม.(สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศป.ม. (การออกแบบ) มหาวิทยาลัยรังสิต สถ.บ.(สถาปตยกรรมศาสตร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย M.F.A. (Computer Arts) Savannah College of Art and Design ศป.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยรังสิต ศิลปมหาบัณฑิต ออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ศป.บ. (ทัศนศิลป) มหาวิทยาลัยรังสิต ศป.ม. (คอมพิวเตอรอารต) มหาวิทยาลัยรังสิต สถ.บ. (สถาปตยกรรมศาสตร) มหาวิทยาลัยรังสิต ศป.ม. (แฟชั่นและสิ่งทอ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Certificate de L’institut Paris –Modeliste (France) 2004 สาขา Stylisme & Modelisme และสาขา Stylisme & Modelisme 2005 Make-up สถาบันแตงหนา M.T.I. Make-up Professional จาก M.A.C

วุฒิการศึกษา ปริญญาโท 26 คน ลําดับ 1.

ชื่อ-สกุล รศ.พรรณเพ็ญ ฉายปรีชา

หนวยงาน หลักสูตรศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชา คอมพิวเตอรอารต

วุฒิการศึกษา ศ.บ.(ออกแบบตกแตงภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร M.S. (Graphic Arts) Texas A&I University, U.S.A.

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 27 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


2.

อาจารยบรรณนาท ไชยพาน

3.

อาจารยโลจนา มะโนทัย

4.

อาจารยวสันต ยอดอิ่ม

5.

อาจารยเกียรติศักดิ์ วันจรารัตน

6.

อาจารยสุขเกษม อุยโต

7.

อาจารยสุชีพ กรรณสูต

8.

อาจารยถวัลย วงษสวรรค

9.

อาจารยวิรุจน ไทยแชม

10.

อาจารยสราวุธ ศรีทอง

หลักสูตรศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบ หมวดวิชาพื้นฐาน

ศ.บ. (มัณฑนศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร Master Industrial Design Domus Academy, Milan, Italy ศ.บ. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร คม. (ศิลปศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หมวดวิชาพื้นฐาน ศ.บ. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศษ.บ.(การศึกษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศศ.ม.(ประวัติศาสตรสถาปตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิลปภาพถาย D.E.U.G. (Arts-Letters) U. Paris VIII., France Licence (Arts-plastiques) U. Paris VIII., France Maitrise (Arts-plastiques) เกียรตินิยมดีเยี่ยม U. Paris VII., France Cert. (Lab-photo), I.U.T. France น.บ. (นิติศาสตร) ศิลปภาพถาย มหาวิทยาลัยรามคําแหง กศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศป.บ.(ออกแบบนิเทศศิลป) ศิลปภาพถาย มหาวิทยาลัยรังสิต ศศ.ม.(เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หัวหนาสาขาวิชา สถ.บ. (สถาปตยกรรมศาสตร) ออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต สถ.ม.(ออกแบบผังเมือง) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ออกแบบภายใน ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต M.A. (Interior Design) Central Saint Martins College of Art & Design. London,UK. ออกแบบภายใน ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต M.A. (3D in Design), The Design Academy Eindhoven, University in the Netherlands

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 28 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


11.

อาจารยณรงคชัย อมะรักษ

ออกแบบภายใน

12.

อาจารยณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน

ออกแบบภายใน

13.

อาจารยอริยธัช ฉัตรบูรณยนต

ออกแบบภายใน

14.

อาจารยสรัลภาษณ พัชรมนัสพร

ออกแบบ นิเทศศิลป

15.

อาจารยเพิ่มศักดิ์ สุวรรณทัต

ออกแบบ นิเทศศิลป

16.

อาจารยสิรดา ศรีแกว

ออกแบบ นิเทศศิลป

17.

อาจารยดนุ ภูมาลี

ออกแบบนิเทศ ศิลป

18.

อาจารยศิริเพ็ญ ธนานันทกิจ

ออกแบบ ผลิตภัณฑ

19.

อาจารยพัชรี รัตนพันธุ

ออกแบบ ผลิตภัณฑ

ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต Master in Design Domus Academy ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต Master in Design Domus Academy, Milan, Italy ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต MA (Exhibition Design) Fashion Institute of Technology, New York, USA. ศ.บ.(ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.ม.(โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศป.บ. (เลขนศิลป) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย M.A.(Graphic Design) Savannah College of Art and Design, GA. U.S.A ศป.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยรังสิต Postgraduate Certificate in Multimedia Design Swinburne University of Technology Melbourne Australia ศอ.บ. (เทคโนโลยีการสื่อสารทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีศอ.ม (ออกแบบ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ศ.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร ค.ม.(ศิลปศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศ.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ) มหาวิทยาลัยศิลปากร ค.ม. (บริหารการศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 29 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


20.

อาจารยสุภาวดี จุยศุขะ

ออกแบบ ผลิตภัณฑ

21.

ผศ.ปกรณ พรหมวิทักษ

คอมพิวเตอร อารต

22.

อาจารยณัฐพัชร หลวงพล

คอมพิวเตอร อารต

23.

อาจารยภัทร นิมมล

คอมพิวเตอร อารต

24.

อาจารยสุปรียา สุธรรมธารีกลุ

แฟชั่นดีไซน

25.

อาจารยลลิตา คงสําราญ

แฟชั่นดีไซน

26.

อาจารยกําจร แซเจียง

แฟชั่นดีไซน

ศป.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ) มหาวิทยาลัยรังสิต Postgraduate Diploma in Design University of Northumbria at Newcastle, U.K. M.A. (Fashion and Jewellery Design) เกียรตินิยมอันดับ 1 University of Northumbria at Newcastle, U.K. ศ.บ. (มัณฑนศิลป) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยศิลปากร นศ.ม.(นิเทศศาสตรธุรกิจ) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย M.A. (Film and Video) The Savannah College of Art and Design,USA. วท.บ. (กายภาพบําบัด) มหาวิทยาลัยขอนแกน วท.ม. (วิทยาการคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยรังสิต ศป.บ. (คอมพิวเตอรอารต) มหาวิทยาลัยรังสิต Multimedia Design Swinbume University of Technology ค.บ. (ศิลปศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย M.A. (Educational Phychology) Keio University, Japan M.A.(Fashion Design) London College of Fashion, The London Institute. UK. ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต M.A. (Fiber Art) Savannah College of Art and Design วท.บ. (คหกรรมศาสตร) สาขาวิชาศิลปสัมพันธ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คศ.ม. สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องแตงกาย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร Cert.de Stylisme Modelisme Alliance Francaise de Bangkok

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 30 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี 23 คน ลําดับ 1.

ชื่อ-สกุล อาจารยวิชัย เล็กอุทัย

2.

อาจารยพจมาน ธารณเจษฎา

3.

อาจารยอนุพงศ สุทธะลักษณ

4.

อาจารยสุริยา ศรีสุภาพ

5.

อาจารยอัจฉรา นาคลดา

6.

อาจารยเอกชัย สมบูรณ

7.

ผศ.สุรพงษ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์

8.

อาจารยอนันตกิตติ์ จันทรไกร

หนวยงาน รองคณบดี ฝายบริหาร หัวหนาหมวด วิชาพื้นฐาน หมวดวิชา พื้นฐาน หมวดวิชา พื้นฐาน หมวดวิชา พื้นฐาน หมวดวิชา พื้นฐาน หัวหนา สาขาวิชาศิลป ภาพถาย ศิลปภาพถาย

9.

อาจารยพิพัฒน ลิ้มประไพพงษ

ศิลปภาพถาย

10.

อาจารยพิสิษฐ โพธิ์แกว

ศิลปภาพถาย

11.

อาจารยคงรัฐ สุนทรโรจนพัฒนา

12.

อาจารยวิชัย เมฆเกิดชู

13.

ผศ.วัชรินทร จรุงจิตสุนทร

14.

ผศ.กิติสาร วาณิชยานนท

15.

อาจารยวรวรรณ โอริส

16.

อาจารยชูชัย อัศวอารีกุล

ออกแบบ ภายใน ออกแบบนิเทศ ศิลป หัวหนา สาขาวิชา ออกแบบ ผลิตภัณฑ ออกแบบ ผลิตภัณฑ ออกแบบ ผลิตภัณฑ คอมพิวเตอร อารต

วุฒิการศึกษา ศ.บ. (มัณฑนศิลป) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ.(ภาพพิมพ) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ. (ภาพพิมพ) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ. (ภาพพิมพ) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ. (ประยุกตศลิ ป) มหาวิทยาลัยศิลปากร กศ.บ. (ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน นศ.บ.(การโฆษณา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ค.บ. (เทคโนโลยีและนวัตกรรม) สถาบันราชภัฏพระนคร ศป.บ.(ศิลปภาพถาย) มหาวิทยาลัยรังสิต ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สถาบันราชภัฏจันทรเกษม ศ.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ. (ภาพพิมพ) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ.(ออกแบบผลิตภัณฑ) มหาวิทยาลัยศิลปากร

สถ.บ. (ศิลปอุตสาหกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ค.บ.(อุตสาหกรรมศึกษา) สถาบันราชภัฎพระนคร ศ.บ. (ประยุกตศลิ ป) มหาวิทยาลัยศิลปากร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 31 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


17.

อาจารยสิทธิพร ชาวเรือ

คอมพิวเตอร อารต

18.

อาจารยสาธิต เชียงทอง * (*ลาศึกษาตอเต็มเวลา)

คอมพิวเตอร อารต

19.

อาจารยหทัยชนก เชียงทอง

คอมพิวเตอร อารต

20.

อาจารยอนัญญลัลน วัฒนะนุพงษ

แฟชั่นดีไซน

21.

อาจารยศิรวีร ศุกรวรรณ

แฟชั่นดีไซน

22.

อาจารยเสกสฤษฎ ธนประสิทธิกลู

แฟชั่นดีไซน

23.

อาจารยลัดดาวัลย สารพัฒน

แฟชั่นดีไซน

ศป.บ. (คอมพิวเตอรอารต) มหาวิทยาลัยรังสิต Royal Melbourne Institute of Technology Advanced Diploma of Arts (Electronics Design & Interactive Media) ศป.บ. (จิตรกรรมและภาพพิมพ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม Certificate of Animation and Digital Effects Sillicon Graphic Institution, Canada ศป.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยรังสิต Cert.llll in Information Technology ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต Certificate of Handcraft Tailoring, London College of Fashion, The London Institute ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต Certificate (mention bien) (Stylisme-Modelisme) Linstitut Paris-Modeliste, Paris France Diplome homoloque niveau 3 (Stylisme-Modelisme) LISAA (L’instutut superieure artappliqu) Paris France ร.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย B.A. (Fashion Design) Hogeschool voor de Kunsten Arnhem คศ.บ. (ผาและเครื่องแตงกาย) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 32 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


บุคลากรสายสนับสนุน ในปการศึกษา 2552 จํานวนทั้งหมด 16 คน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.

นางชฎารัตน บุญถนอม นางสาวทัศนีย บูรณจารุพันธ นางนุชรัช พระมุนี นายลอย บุญจันทร นางสาวจุฑาทิพย กาญจนไตรภพ นางสาวอุรพี หาญเพชรไทย นางสาวอุษามณี สันติเวศม นางวรนุช เจริญชัยพรสิน นางชุติมา อาจไชยชาญ นายแดง มั่นเหมาะ นายสุนทร สกุลดี นายวิชุพันธ จริงจิตร นายไพฑูรย เข็มกลัด นายสมชาย มวงกลาง นายวิชาญ คงศิริ นายฉลอ เสียสูงเนิน

เลขานุการคณะศิลปกรรม เจาหนาที่สํานักงานเลขานุการ เจาหนาที่สํานักงานเลขานุการ เจาหนาที่สํานักงานเลขานุการ เจาหนาที่สํานักงานเลขานุการ เจาหนาที่สํานักงานเลขานุการ เจาหนาที่สํานักงานเลขานุการ เจาหนาที่สํานักงานเลขานุการ เจาหนาที่หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต เจาหนาที่หมวดพื้นฐานคณะฯ เจาหนาที่หอง Lab คอมพิวเตอร เจาหนาที่หอง Lab คอมพิวเตอร เจาหนาที่ออกแบบผลิตภัณฑฯ เจาหนาที่ออกแบบผลิตภัณฑฯ เจาหนาที่ออกแบบผลิตภัณฑฯ เจาหนาที่ประจําหอศิลปรังสิต

รายชื่อผูที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ ในปการศึกษา 2552 จํานวนทั้งหมด 8 คน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รศ.พิศประไพ สาระศาลิน รศ.พรรณเพ็ญ ฉายปรีชา ผศ.ดร.ชัยยศ อิษฏวรพันธุ ผศ.ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล ผศ.ปกรณ พรหมวิทักษ ผศ.สุรพงษ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ ผศ.กิติสาร วาณิชยานนท ผศ.วัชรินทร จรุงจิตสุนทร

รองศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย

8.จํานวนนักศึกษา ในปการศึกษา 2552 จํานวนนักศึกษาของคณะศิลปะและการออกแบบ มีรายละเอียด ดังนี้ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 (รหัส 52) ชั้นปที่ 2 (รหัส 51) ชั้นปท่ี 3 (รหัส 50) ชั้นปที่ 4 (รหัส 49) ตกคาง (รหัส 46-47) รวม

639 คน 512 คน 380 คน 368 คน 95 คน 1,994 คน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 33 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการออกแบบ รหัส 47-52 สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต รหัส 50-52

40 59 99 2,093

รวม รวมทั้งสิ้น

คน คน คน คน

9. จํานวนงบประมาณ ในปการศึกษา 2552 งบประมาณของคณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต มีดังนี้ คือ รายรับ รายจาย หมวดเงินเดือน หมวดคาตอบแทน หมวดคาใชสอย หมวดคาวัสดุ ครุภัณฑ โครงการ รวมรายจาย สรุป รายรับสูงกวารายจาย คิดเปนรอยละของรายรับ

ป 2549 118,721,700.00

ป 2550 138,446,292.00

ป 2551 137,298,350.00

ป 2552 153,945,400.00

25,394,785.00 6,983,335.00 1,206,286.00 748,648.00 6,619,700.00 64,787,539.00 53,934,161.00 45.42

27,728,666.00 6,214,275.00 2,481,941.00 493,782.00 3,860,875.00 40,789,548.00 97,656,744.00 70.53

29,135,110.00 7,582,900.00 1,208,500.00 747,856.00 4,581,000.00 43,255,366.00 94,042,984.00 68.50

31,201,062.00 10,048,145.56 1,760,038.00 595,750.00 8,475,600 52,080,595.56 101,864,804.44 66.17

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 34 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


สวนที่ 2 การดําเนินการและการประเมินตัวบงชี้คุณภาพการศึกษาภายใน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 35 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ มรส.1.1

มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและการกําหนดตัวบงชี้ (สกอ.1.1)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน 2.มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและแผนปฏิบัติการประจําปใหสอดคลองกันและกันและสอดคลองกับภารกิจหลักของสถาบัน ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของ ชาติ 3.มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของแตละตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน 4.มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ 5.มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ อยางนอย ปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารและสภาสถาบัน 6.มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตร และแผนพัฒนา 7.มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและแผนการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 7 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

7

7

7

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอ มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.1.1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน 1.มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนการสอน คณะศิลปะและการ ออกแบบ ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมดานการวิจัยประจําคณะ เพื่อ เปนการสงเสริมใหคณะมีการวางแผนพัฒนา สงเสริมการวิจัย ติดตามและ รวบรวมผลงานวิจัยของอาจารยอยางมีระบบ

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ1.1.1.001 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมกรรมประจําคณะศิลปะและการ ออกแบบ 2.ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ ของคณะสิลปะและการออกแบบ 3.เอกสารแสดงรายงานแสดงการ ทบทวน ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ ของคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 36 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ มรส.1.1

มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและการกําหนดตัวบงชี้ (สกอ.1.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและแผนปฏิบัติการประจําป ใหสอดคลองกันและกันและสอดคลองกับภารกิจหลักของสถาบัน ยุทธศาสตร และแผนพัฒนาของ ชาติ คณะฯ มีการทบทวนแผนยุทธศาสตรคณะฯ ในประเด็นหลัก คือ วิสัยทัศน ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธ วามีความเหมาะสมกับ สภาพการณปจจุบัน รวมถึงความสอดคลองเชื่อมโยง แบบไลระดับเปนชั้นๆ และ ความชัดเจนในแตละประเด็นหลัก และมีการทบทวนนําไปสูการกําหนด แผนปฏิบัติการของคณะฯ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2551

ศก.อ1.1.1.002 1.แผนกลยุทธของคณศิลปะและการออกแบบ 2.แผนกลยุทธการพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2550- 2554 (ฉบับปรับปรุง) (มรส.สวผ.005) 3.เอกสารแสดงการรายงานการวิเคราะหความสอดคลองของปรัชญา ปณิธาน และกลยุทธ กับภารกิจหลักของสถาบัน หลักการอุดมศึกษา มาตรฐานการ อุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพ (ถามี) มาตรฐานการศึกษาของชาติ ยุทธศาสตร ดานตางๆ ของชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ

3.มีการกําหนดตัวบงชี้ของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของแตละตัว บงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงาน คณะฯ มีการกําหนดตัวบงชี้การดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของ แตละตัวบงชี้ เพื่อวัดผลความสําเร็จของการดําเนินงานตามคํารับรองการ ปฏิบัติงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552

ศก.อ1.1.1.003 1.ตัวบงชี้ของการดําเนินงานปการศึกษา 2552 และเปาหมายของ แผนแตละตัวบงชี้

4.มีการดําเนินการตามแผนครบทุกภารกิจ คณะมีการดําเนินการตามแผน 4 ภารกิจ คือ การเรียนการสอน วิจยั บริการทางวิชาการ และการบริหารจัดการ

ศก.อ1.1.1.004 1.แผนปฏิบัติงานของคณะ (Action Plan) 2.สรุปรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิงานของคณะ

5.มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ อยางนอย ศก.อ1.1.1.005 1.การดําเนินงานตามแผนปฏิบตั ิงานของคณะ ปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารและสภาสถาบัน 2.รายงานการประชุมกรรมการประจําคณะ มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ โดยคณะกรรมการบริหารของคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 37 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ มรส.1.1

มีการกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงานและการกําหนดตัวบงชี้ (สกอ.1.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 6.มีการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตร และแผนพัฒนา วิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธ แผนการดําเนินงาน เปาประสงค เปาหมายกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ ตลอดจน สภาพการณปจจุบันและแนวโนมในอนาคตอยางสม่ําเสมอ

ศก.อ1.1.1.006 1.รายงานการวิเคราะหการสอดคลองกับปรัชญา ปณิธาน พันธ กิจ คณะศิลปะและการออกแบบ 2.แผนกลยุทธการพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2550- 2554 (ฉบับปรับปรุง) (มรส.สวผ.005) 3.แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2545- 2549 (มรส.สปค.007)

7.มีการนําผลการประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงกลยุทธและแผนการ ศก.อ1.1.1.007 1.สรุปรายงานการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ของคณะ ดําเนินงานอยางตอเนื่อง 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการของคณะ ที่แสดงใหเห็นวามีการนําผลการ คณะนําผลการวิเคราะหและขอมูลสําหรับผูบ ริหาร ประกอบดวย ขอมูล ประเมินและผลการวิเคราะหมาปรับปรุงดําเนินงานอยางตอเนื่อง เชิงปริมาณ ขอมูลเชิงวิเคราะห และขอมูลเชิงประเมิน เพื่อใชในการทบทวนแผน ยุทธศาสตรของคณะ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.1.1 1.ชื่อ นางชฎารัตน 2.ชื่อ

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 38 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ มรส.1.2

รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนด (สกอ.1.2) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

1.จํานวนตัวบงชี้แผนปฏิบัติงานทั้งหมด (1)

รอยละ 80

2.จํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานทีบ่ รรลุ เปาหมาย (2) 3.รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการ ปฏิบัติงานที่กาํ หนด 3= [(2)/(1)] *100

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

13

13

13

13

13

13

100.00

100.00

100.00

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

บรรลุ บรรลุ บรรลุ เปาหมายรอย เปาหมายรอย เปาหมายรอย ละ 60-74 ได ละ 75-89 ได ละ 90-100 ได 2 คะแนน 3 คะแนน 1 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.1.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

มีการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ โดย คณะกรรมการบริหารของคณะ

2.ชื่อ

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.1.2 1.ชื่อ นางชฎารัตน

คะแนนรวม

ศก.อ1.1.2.001 สรุปผลการดําเนินงานบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการ ปฏิบัติงานป 2552 (อางอิง ศก.อ1.1.1.004)

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 39 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ มรส.1.3

มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ (สมศ.5.3)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีคณะกรรมการ/คณะทํางานกําหนดแผนกลยุทธของสถาบัน/คณะ/วิทยาลัย 2.มีแผนกลยุทธของสถาบัน/คณะ/วิทยาลัย 3.มีคณะกรรมการวิเคราะหความสอดคลองของแผนกลยุทธกบั ยุทธศาสตรชาติ 4.แผนกลยุทธมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ นอยกวารอยละ 80 ของแผน 5.แผนกลยุทธมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ตั้งแตรอยละ 80 ของแผนขึ้นไป

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

ไดระดับคุณภาพ 1-2 ระดับ ไดระดับคุณภาพ 3 ระดับ ได ไดมากกวาหรือเทากับระดับ คุณภาพ 4 ระดับ ได 3 ได 1 คะแนน 2 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.1.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีคณะกรรมการ/คณะทํางานกําหนดแผนกลยุทธของสถาบัน/คณะ/วิทยาลัย คณะมีคณะกรรมการกําหนดแผนกลยุทธของคณะและคณะกรรมการ ประจคณะ เพื่อกําหนดแผนพัฒนาใหเปนไปตามนโยบายสอดคลองกับ มหาวิทยาลัย

ศก.อ1.1.3.001 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประจําคณะศิลปะและการออกแบบ 2.เอกสารแสดงการรายงานการประชุมการจัดทําแผนกลยุทธของคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 40 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ มรส.1.3

มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ (สมศ.5.3) การดําเนินการ

2.มีแผนกลยุทธของสถาบัน/คณะ/วิทยาลัย ในป 2552 คณะไดจัดทําแผนกลยุทธคณะและแผนปฏิบัติการคณะ

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ1.1.3.002 แผนกลยุทธของคณะ (อางอิง ศก.อ1.1.1.002)

3.มีคณะกรรมการวิเคราะหความสอดคลองของแผนกลยุทธกบั ยุทธศาสตรชาติ ศก.อ1.1.3.003 แผนพัฒนาของแตละหนวยงานป 2552 คณะมีคณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาและวางแผน เพื่อพิจารณาความ เหมาะสมโครงการตางๆใหสอดคลองตามแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัย

4.แผนกลยุทธมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ นอยกวารอยละ 80 ของ แผน คณะไดจัดทําแผนกลยุทธทสี่ อดคลองกับยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย

ศก.อ1.1.3.004 1.ตารางผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธของ คณะ กับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ 2. แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2550- 2554 (มรส.สปค.007) (อางอิง ศก.อ 1.1.1.002) 3.แผนปฏิบัติการของคณะ (อางอิง ศก.อ1.1.1.004) 4.รายงานการประชุมวิเคราะหความสอดคลองของแผนของคณะกรรมการ วิเคราะหความสอดคลองของแผนกลยุทธกับยุทธศาสตรชาติของคณะ

5.แผนกลยุทธมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ตั้งแตรอยละ 80 ของแผน ขึ้นไป -

ศก.อ1.1.3.005 ตารางผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางกลยุทธของคณะ/ วิทยาลัย/สถาบัน กับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของชาติ (อางอิง ศก.อ 1.1.1.004)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 41 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 1

ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

ตัวบงชี้ มรส.1.3

มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ (สมศ.5.3) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.1.3 1.ชื่อ นางชฎารัตน 2.ชื่อ

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 42 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.1

มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (ระดับ) (สกอ.2.1)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตร 2.มีการกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิตบัณฑิต 3.มีการเตรียมความพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรทุกเรื่อง 4.มีระบบและกลไกการพัฒนาและประกันคุณภาพหลักสูตรครบทุกประเด็นตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร 5.มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําปการศึกษา เชน รอยละของหลักสูตรที่ ไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน 6.มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําปการศึกษาไปปรับปรุงระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร 7.หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโท เฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอก) ที่เปดสอนมีจํานวนมากกวารอยละ 50 ของจํานวน หลักสูตรทั้งหมด

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 7 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

7

7

7

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอ มีการดําเนินการ 5 ขอแรกได มีการดําเนินการครบ 6 ขอ แรกได 1 คะแนน 2 คะแนน แรกได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีระบบและกลไกการเปดและปดหลักสูตร คณะฯมีระบบและกลไกการเปด-ปดหลักสูตร โดยยึดถือประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ.2548

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.1.001 1.ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ปริญญาตรี พ.ศ. 2548 2.การสํารวจความพึงพอใจผูใชบัณฑิต รุนที่ 19

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 43 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.1

มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (ระดับ) (สกอ.2.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีการกําหนดเปาหมายการผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิตบัณฑิต คณะฯมีการกําหนดเปาหมายผลิตบัณฑิตทุกหลักสูตรในแผนการผลิต บัณฑิต ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวในแตละหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมี ความรู ควาสามารถในกระบวนการวิชาชีพ ควบคูไปกับคุณธรรม จริยธรรม

ศก.อ2.2.1.002 1. หลักสูตรศิลปบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2551 2. ปรัชญาคณะศิลปะและการออกแบบ และแผนการสอน โครงการพิธีไหวครู และครอบครูชาง โครงการทําบุญคณะฯ 3. แผนปฏิบัติการประจําป 2552 4.แผนการสอน

3.มีการเตรียมความพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมใหเปนไปตามเกณฑ มาตรฐานหลักสูตรทุกเรื่อง คณะฯมีการเตรียมพรอมกอนการเปดหลักสูตรใหมใหเปนไปตามเกณฑ มาตรฐาน ไดแก การประเมินโครงการลงทุนการเปดหลักสูตร การแตงตั้ง ผูทรงคุณวุฒิทางดานวิชาชีพ เพื่อพิจารณาการเปดหลักสูตรใหมีประสิทธิการตอ ผูเรียนและเกิดการพัฒนาสังคมตอไป

ศก.อ2.2.1.003 1. มาตรฐานการอุดมศึกษา และเกณฑมาตรฐานที่เกี่ยวของ สํานักมาตรฐานและประเมินผล อุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สิงหาคม 2549 2.การอบรมของคณาอาจารย และการเตรียมความพรอมดานสารสนเทศในการลง โปรแกรมคอมพิวเตอรในหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

4.มีระบบและกลไกการพัฒนาและประกันคุณภาพหลักสูตรครบทุกประเด็นตาม เกณฑมาตรฐานหลักสูตร คณะฯ มีการจัดทํารานยงานการประชุมกรรมการมาตรฐานวิชาการ สํารวจขอมูลบัณฑิต จัดทําโครงการระบบอาจารยที่ปรึกษาและมีการวิเคราะห ผลิตบัณฑิต

ศก.อ2.2.1.004 1. รายงานการประชุมกรรมการมาตรฐานวิชาการ ของแตละ สาขา 2. การประเมินผลอัตราการไดงานของบัณฑิต รอยละของบัณฑิตที่ทํางานตรง สาขา ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 3. คณะทํางานโครงการพัฒนาระบบอาจารยที่ปรึกษา และจิตวิทยา และโครงการติวศิลปเพื่อนอง 4.จํานวนนักศึกษาในสาขาที่จะรับเขาศึกษา และคาดวาจะสําเร็จการศึกษาในแต ละปการศึกษา สรุปยอดคงเหลือของนักศึกษาป 1 สรุปผลคะแนนเฉลี่ยคา GPA ของนักศึกษาปที่ 1 แผนยุทธศาตรท1ี่

5.มีการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําปการศึกษา เชน รอยละ ของหลักสูตรที่ ไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน คณะฯมีการแตงตั้งกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการของแตละ สาขาวิชาฯ และจัดทําเกณฑการรับนักศึกษาใหม และจัดตั้งคณะกรรมการ พัฒนาหลักสูตร และมีการประชุมเตรียมความพรอมกอนเปดภาคการศึกษา

ศก.อ2.2.1.005 1. รายงานการประชุมคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ 2. เกณฑการรับนักศึกษาใหมของคณะฯ และสาขาวิชาฯตางๆ รายงานการ ประชุมของคณะฯ ในการเตรียมความพรอมกอนการเปดภาคเรียนดานตางๆ รายงานการประชุมของสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑในเกณฑการรับนักศึกษาใหม และเตรียมความพรอมกอนการเปดภาคเรียน 3. เอกสารแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ดานมาตรฐานวิชาการ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 44 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.1

มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (ระดับ) (สกอ.2.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 6.มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการหลักสูตรประจําปการศึกษาไป ปรับปรุงระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ทุกหลักสูตรไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐาน และมีการประกัน คุณภาพหลักสูตร โดยคณะฯมีการแตงตั้งคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ ของแตละสาขาวิชา เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาการเรียนการทุก หลักสูตรไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐาน และมีการประกันคุณภาพหลักสูตร โดยคณะฯมีการแตงตั้งคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการของแตละ สาขาวิชา เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาการเรียนการสอนของแตละ หลักสูตร

ศก.อ2.2.1.006 1. เอกสารแสดงการประกันคุณภาพหลักสูตร 1.1 - หลักสูตรศิลปบัณฑิตฉบับปรับปรุง พ.ศ.2551 - คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร - คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการคณะฯ - คําสั่งคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ - รายงานการประชุมคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ - การจัดสรรงบประมาณการจัดซื้อหนังสือในแตละสาขาวิชาฯ 1.2 -สรุปจํานวนคอมพิวเตอรในหองปฏิบัติการ - การปรับปรุงหองเรียน และหองปฏิบตั ิการภาพถาย - การปรับปรุงหองพักอาจารย - จํานวนและชนิดอุปกรณการศึกษา 1.3 -คูมือนักศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ - แฟมอาจารยที่ปรึกษา (อางอิงเอกสาร ศก.อ2.2.2.002) - โครงการปฐมนิเทศ - โครงการปจฉิมนิเทศ 1.4 -ขอมูลผลการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 2. -เอกสารการจัดดําเนินการสรางเว็บไซด - แจงสรุปการอัพเดทขอมูลเว็บไซดคณะฯ

7.หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโท เฉพาะแผน (ก) และ ปริญญาเอก) ที่เปดสอนมีจํานวนมากกวารอยละ 50 ของจํานวนหลักสูตร ทั้งหมด คณะฯไดเปดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชากการออกแบบ และสาขาวิชาคอมพิวเตอร อารต โดยกําหนดใหบัณฑิตที่จะสําเร็จการศึกษาทั้งหมดตองทําวิทยานิพนธ แผน ก จึงมีจํานวนหลัก สูตรนที่เนนการวิจัยเปน 100 เปอรเซ็นต

ศก.อ2.2.1.007 รายชื่อวิทยานิพนธของนักศึกษาที่สําเร็จการศึกษษป 2552

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.1 1.ชื่อ อ.ชินภัศร 2.ชื่อ

สกุล กันตะบุตร

โทร 3392

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 45 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.2

มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (ขอ) (สกอ.2.2) (สมศ.6.6)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอนถึงวัตถุประสงคและเปาหมายของการจัดการศึกษาตามหลักสูตร 2.มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 3.มีการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนและหลากหลาย ที่จะสนองตอบตอความตองการของผูเรียน 4.มีการใชสื่อและเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการสอนเพื่อสงเสริมการเรียนรู 5.มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียน 6.มีการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนในเรื่องคุณภาพการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู 7.มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนและพัฒนาผูเรียนอยางตอเนื่อง

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 7 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

7

7

7

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอ มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีกลไกการใหความรูความเขาใจกับอาจารยผูสอนถึงวัตถุประสงคและ เปาหมายของการจัดการศึกษาตามหลักสูตร คณะฯมีการชี้แจงใหอาจารยผสู อนทราบถึงวัตถุประสงคของแตละ รายวิชาโดยแนบเอกสารแผนการสอน และคณะฯมีการจัดประชุมเตรียมความ พรอมกอนการเปดภาคการศึกษา

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.2.001 1. รายงานการประชุมการเตรียมความพรอมกอนเปดภาค การศึกษา 2. แผนการสอน และเอกสารทัศนศึกษานอกสถานที่

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 46 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.2

มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (ขอ) (สกอ.2.2) (สมศ.6.6) การดําเนินการ

2.มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ คณะไดมีการจัดทําแฟม อาจารยที่ปรึกษา เพื่อใหอาจารยสามารถ ทราบขอมูลของนักศึกษา และวิเคราะหศักยภาพของนักศึกษาไดเปนรายบุคคล คณะไดมีวิชาสัมมนาทุกหลักสูตรเพื่อจัดใหทีการอภิปรายกลุมยอย และมีการ จัดการเรียนการสอนในวิชา ART 360 วิธีวิจัยทางงานศิลปะและการออกแบบ ซึ่งเปนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเ รียนศึกษาใหเขาใจกระบวนการออกแบบ และทําการคนควาดวยตนเอง เพื่อนําเสนอสิ่งที่ผูเรียนสนใจในศิลปนิพนธตอไป และมีการนํานักศึกษาทัศนศึกษานอกสถานที่ทั้งในและตางประเทศ

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.2.002 1.แฟมอาจารยที่ปรึกษา 2.แผนการสอนวิชาสัมมนา 3.แผนการสอนวิชาวิจัย 4.การนํานักศึกษาไปเยี่ยมชมสถานที่ - สถานบันออกแบบแฟชั่น ประเทศญี่ปุน - การนํานักศึกษาทัศนศึกษา จ.อุดรธานี และจ.หนองคาย - ไปเยี่ยมชมนิทรรศการนอกสถานที่ ณ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ TCDC

3.มีการจัดการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุนและหลากหลาย ที่จะสนองตอบตอ ศก.อ2.2.2.003 1.โครงการทัศนศึกษานอกสถานที่ 2.ตัวอยางแผนการสอน ความตองการของผูเรียน คณะศิลปะและการออกแบบมีการจัดการเรียนการสอนที่มีความ 3.ตัวอยางหลักสูตรที่มีวิชาเอกเลือกและวิชาเลือกเสรี ยืดหยุนและความหลากหลาย เพื่อสนองตอบตอความตองการของผูเรียน โดยมี การจัดการเรียนการสอนภายในและนอกสถานที่ เพื่อใหนักศึกษาไดรับ ประสบการณจริงจากผูประกอบการและสถานที่จริง คณะศิลปะและการ ออกแบบทุกหลักสูตร จัดใหมีวิชาเอกเลือกและวิชาเลือกเสรี เพื่อเปนการยืดหยุน และหลากหลายที่ตอบสนองความตองการของผูเรียน

4.มีการใชสื่อและเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการสอนเพื่อสงเสริมการเรียนรู คณะศิลปะและการออกแบบ ไดมีการทําวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการ สอน ในรายวิชา ART 102 และทุกสาขาวิชาโดยสวนใหญใชสื่อและเทคโนโลยี ในการสอน เพื่อสงเสริมการเรียนรู

ศก.อ2.2.2.004 1.เอกสารแสดงการทําวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใน รายวิชา ART 102 และแผนการสอน ART 102 2.คณะทํางานฝายพัฒนาระบบ E-learning คณะศิลปะและการออกแบบ รายงานการประชุมคณะกรรมการหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 3. สรุปการดําเนินงานการจัดทําสื่อ E- learning 4. แผนการสอนที่ใชคอมพิวเตอรในการเรียนการสอน

5.มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดให ผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียน คณะฯมีการประเมินผลการเรียนการสอนโดยอิงพัฒนาการของผูเรียน เชนในวิชาศิลปนิพนธ นักศึกษาจะตองจัดแสดงผลงานนิทรรศการตอ สาธารณชน เพื่อเปนการการประเมินผลการพัฒนาของโครงการออกแบบ

ศก.อ2.2.2.005 แผนการสอนวิชาศิลปนิพนธ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 47 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.2

มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (ขอ) (สกอ.2.2) (สมศ.6.6) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 6.มีการประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียนในเรื่องคุณภาพการสอนและสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู การประเมินการการสอนโดยนักศึกษา

ศก.อ2.2.2.006 สรุปการประเมินการสอนโดยนักศึกษา

7.มีระบบการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนและพัฒนาผูเรียนอยางตอเนื่อง อาจารยผูสอนไดนําผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษามาปรับปรุง แผนการสอนในแตละภาคเรียนใหทันสมัยกับปจจุบัน

ศก.อ2.2.2.007 1.สรุปการประเมินการสอนโดยนักศึกษา 2.แผนการสอน

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.2 1.ชื่อ อ.ชินภัศร 2.ชื่อ

สกุล กันตะบุตร

โทร 3392

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 48 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.3

มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ซึ่งบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม (ระดับ) (สกอ.2.3)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการเชิญผูทรงคุณวุฒิ ผูรูในชุมชนมาชวยในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 2.มีการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความรูและทักษะที่นําไปใชในการปฏิบตั ิไดจริง โดยมีผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมารวมดําเนินการ 3.มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนดและไมกําหนดในหลักสูตรโดยความรวมมือกับองคการหรือหนวยงานภายนอก 4.มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไดรับการสนับสนุนจากชุมชนภายนอกสถาบัน 5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล องคการ และชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอ มีการดําเนินการ 4 ขอแรกได มีการดําเนินการครบทุกขอ แรกได 1 คะแนน 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีการเชิญผูทรงคุณวุฒิ ผูรูในชุมชนมาชวยในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ศก.อ2.2.3 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานการศึกษา คณะศิลปะและการออกแบบไดปรับปรุงหลักสูตรใหเปนไปตามเกณฑ 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการและปรับปรุงหลักสูตร มาตรฐานของคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยการเชิญผูทรงคุณวุฒิจาก ภายนอกมาเปนคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานการศึกษา พิจารณาเนื้อหารายวิชาใหทันสมัยและสอดคลองกับวิชาชีพในปจจุบันและ แนวโนมในอนาคต

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 49 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.3

มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ซึ่งบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม (ระดับ) (สกอ.2.3) การดําเนินการ

2.มีการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมใหผูเรียนมีความรูและทักษะที่นาํ ไปใชใน การปฏิบัติไดจริง โดยมีผูทรงคุณวุฒิ หรือผูรูในชุมชนมารวมดําเนินการ คณะศิลปะและการออกแบบไดสงเสริมใหนักศึกษามีความรูและทักษะ จากประสบการณทํางานจริง โดยใหนกั ศึกษาเขารับการฝกงานในองคกร และ ชุมชนภายนอก

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.3.002 1.เอกสารแสดงรายชือ่ นักศึกษาและบริษัทฝกงาน 2.แผนการสอนวิชาการฝกงานวิชาชีพ 3.เอกสารการเชิญอาจารยพิเศษและวิทยากรพิเศษ

3.มีการจัดโครงการ กิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กําหนดและไมกําหนดใน ศก.อ2.2.3.003 สรุปโครงการสหกิจศึกษา ป 2549-2552 หลักสูตรโดยความรวมมือกับองคการหรือหนวยงานภายนอก คณะศิลปะและการออกแบบ กําหนดแผนการศึกษาโดยใหมีโครงการ สหกิจศึกษา โดยมุงเนนในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเอื้อตอการ ประกอบวิชาชีพ ซึ่งเปนที่ตองการของตลาดแรงงาน และเพื่อตอบสนองนโยบาย ของมหาวิทยาลัย ในการนําแนว ทางการศึกษาแบบสหกิจศึกษามาใช เพื่อเปน ทางเลือกหนึ่งสําหรับนักศึกษาทีต่ องการศึกษาความรูจาก ประสบการณในการ ทํางานจริง ทั้งนี้สถานประกอบการจะเปนผูประเมินนักศึกษารวมกับหลักสูตร

4.มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไดรับการ สนับสนุนจากชุมชนภายนอกสถาบัน คณะศิลปะและการออกแบบ กําหนดใหนักศึกษาทุกสาขาวิชา ตอง ลงทะเบียนเรียนวิชาฝกงานวิชาชีพ โดยนักศึกษาชั้นปที่ 3 จะเขารับการฝกงาน ตามสถานประกอบการที่ตรงกับสาขาวิชานั้น เพื่อใหเรียนรูจากประสบการณ ทํางานจริง การปรับตัวเขาสังคม การทํางานเปนทีม ความรับผิดชอบ ทั้งนี้ทาง คณะฯ ไดมีการติดตามประเมินผลจากรายงานการฝกงานของสถาน ประกอบการ และใหสถานประกอบการไดมีสวนประเมินผลการปฏิบัติงานของ นักศึกษาดวย

ศก.อ2.2.3.004 1.รายงานการฝกงานจากสถานประกอบการและใบประเมินผล การฝกงาน

5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการมีสวนรวมของบุคคล องคการ และ ศก.อ2.2.3.005 1.รายงานการประชุมคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการของ ชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน สาขาวิชาฯ คณะฯไดนําขอเสนอแนะของกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการจาก 2.รายงานการฝกงานจากสถานประกอบการ และใบประเมินผลการฝกงาน รายงานการประชุมไปพัฒนาการเรียนการสอนทุกหลักสูตร คณะไดนาํ ผลกร ประเมินจากการฝกงานวิชาชีพไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 50 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.3

มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ซึ่งบุคคล องคกร และชุมชนภายนอกมีสวนรวม (ระดับ) (สกอ.2.3) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.3 1.ชื่อ อ.ชินภัศร 2.ชื่อ

สกุล กันตะบุตร

โทร 3392

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 51 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.4

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา (สกอ.2.4) (สมศ.6.2) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

8

66

66

89

2.จํานวนอาจารยที่ลาศึกษาตอ (2)

1

3

1

3.จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมนับรวมอาจารยที่ลา ศึกษาตอ) (3)

65

63

88

996.83

923.61

15.82

10.50

ขอมูล

1.จํานวนอาจารยทั้งหมด (1)

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

4.จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาทีป่ รับคาเปน ปริญญาตรีแลว (4) 5.จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวน อาจารยประจํา (5) = (4) / (3)

13.71

เกณฑการประเมิน 1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

< 7.20หรือ> >= 7.20 และ >= 7.52 และ 8.80 ของ <= 7.51 <= 8.48 ของ เกณฑ หรือ>= 8.49 เกณฑ มาตรฐานได 1 และ <= 8.80 มาตรฐานได 3 คะแนน ของเกณฑ คะแนน มาตรฐานได 2 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.4 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

0

คะแนนอิงเปาหมาย

0

คะแนนรวม

1

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ มีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา 859.03 ตอจํานวนอาจารยประจําที่ปฏิบัติงานจริง 71 คน มีอาจารย พิเศษจากภายนอกที่มาสอนทั้ง 2 ภาคการศึกษา จํานวน 17 คน รวมเปน 89 คน และมีลาศึกษาตอ 1 คน รวม 88 คน คิดเปนอัตราสวน 9.76 ตออาจารยประจํา หนึ่งคน ซึ่งมีผลการดําเนินงานทีส่ ูงกวาปที่ผา นมา

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.4 1.จํานวนและรายชื่ออาจารยประจํา 2. อาจารยพิเศษคณะศิลปะและการออกแบบ 3.จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา 4.จํานวนรายวิชาและจํานวนหนวยกิตของวิชาที่สถาบันเปดสอน และจํานวน นักศึกษาทีล่ งทะเบียนในแตละรายวิชาตามระดับปริญญาตรีและปริญญาโท

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 52 มหาวิทยาลัยรังสิต

1


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.4

จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา (สกอ.2.4) (สมศ.6.2)

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ 2.ชื่อ

ตัวบงชี้ มรส.2.4 สกุล

โทร

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 53 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.5

สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเทาตออาจารยประจํา (สกอ.2.5) (สมศ.6.3) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

24

24

23

2.จํานวนอาจารยวุฒิปริญญาโท (2)

22

22

26

3.จํานวนอาจารยวุฒิปริญญาเอก (3)

19

20

23

4.รวมจํานวนอาจารยประจํา (ป.ตรี + ป.โท+ ป.เอก) (4) =(1)+(2)+(3)

65

66

72

วุฒิปริญญา เอกอยูระหวาง รอยละ 1-19 หรือวุฒิ ปริญญาเอก อยูระหวาง รอยละ 20-29 แตวุฒิ ปริญญาตรี มากกวารอย ละ 5

5.รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ตอ อาจารยประจํา (5)=[(1) /(4)]*100

36.92

36.36

31.94

6.รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาโท ตอ อาจารยประจํา (6)=[(2) /(4)]*100

33.84

33.33

36.11

7.รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอก ตอ อาจารยประจํา (7)= [(3) /(4)]*100

29.23

30.3

31.94

1.จํานวนอาจารยวุฒิปริญญาตรี (1)

รอยละ 30:35:35

2 คะแนน

3 คะแนน

1.วุฒิปริญญา 1.วุฒิปริญญา เอกอยูระหวาง เอกมากกวา รอยละ 20-29 รอยละ 30 และ 2.วุฒิ และ 2.วุฒิ ปริญญาตรี ปริญญาตรี เทากับหรือ เทากับหรือ นอยกวารอย นอยกวารอย ละ 5 หรือ 1. ละ 5 วุฒิปริญญา เอกมากกวา หรือเทากับ รอยละ 30 และ 2.วุฒิ ปริญญาตรี มากกวารอย ละ 5

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.5 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

3

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 54 มหาวิทยาลัยรังสิต

3


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.5

สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเทาตออาจารยประจํา (สกอ.2.5) (สมศ.6.3) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนอาจารยปริญญาตรี 23 ศก.อ2.2.5.001 จํานวนอาจารยประจําคณะศิลปะและการออกแบบ ประจําป คนจํานวนอาจารยปริญญาโทจํานวน 26 คน และจํานวนอาจารยปริญญาเอก 2552 แบงแยกตามวุฒิการศึกษา และเทียบเทา จํานวน 23

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.5 1.ชื่อ อ.ชินภัศร 2.ชื่อ

สกุล กันตะบุตร

โทร 3392

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 55 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.6

สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย (สกอ.2.6) (สมศ.6.4)

ขอมูล

เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

58

57

64

2.จํานวนอาจารยที่ดาํ รงตําแหนงผูชว ยศาสตราจารย (2)

7

7

6

3.จํานวนอาจารยที่ดาํ รงตําแหนงรองศาสตราจารย (3)

1

2

2

4.จํานวนอาจารยที่ดาํ รงตําแหนงศาสตราจารย (4)

0

0

0

5.รวม (ผศ. + รศ.+ ศ.) (6)=(1)+(2)+(3)+(4)

8.00

9.00

8.00

8

66

72

7.รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ (ผศ.+รศ.+ศ.)ตอจํานวนอาจารยประจํา (7) =[(5) /(6)]*100

12.30

13.64

11.11

8.รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงระดับ รองศาสตราจารยขึ้นไป (รศ.+ศ.) ตอจํานวนอาจารย ประจํา (8)=[[(3)+(4)] /(6)]]*100

1.53

3.03

2.78

1.ผูดํารง ตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันอยู ระหวางรอย ละ 40-59 และ 2.ผูดํารง ตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไป เทากับหรือ มากกวารอย ละ 10 หรือ 1. ผูดํารง ตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกัน มากกวาหรือ เทากับรอยละ 60 และ 2.ผู ดํารงตําแหนง ระดับ รศ. ขึ้น ไปนอยกวา รอยละ 10 ได 2 คะแนน

1.ผูดํารง ตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกัน มากกวาหรือ เทากับรอยละ 60 และ 2.ผู ดํารงตําแหนง ระดับ รศ. ขึ้น ไปเทากับหรือ มากกวารอย ละ 10 ได 3 คะแนน

6.จํานวนอาจารยประจํา (6)=(1)+(2)+(3)+(4)

ผูดํารง ตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันอยู ระหวางรอย ละ 1-39 หรือ ผูดํารง ตําแหนงระดับ ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันอยู ระหวางรอย ละ 40-59 แต ผูดํารง ตําแหนงระดับ รศ. ขึ้นไปนอย กวารอยละ 10 ได 1 คะแนน

1.จํานวนอาจารยที่ดาํ รงตําแหนงอาจารย (1)

รอยละ 10:2.5

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 56 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.6

สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย (สกอ.2.6) (สมศ.6.4)

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.6 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

2

คะแนนรวม

2

หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนอาจารยประจําทั้งหมด ศก.อ2.2.6.001 1.รายนามอาจารยคณะศิลปะและการออกแบบ 72 คน แบงเปนอาจารยที่ดํารงตําแหนงผูชวยศาสตราจารยจํานวน 6 คน และ 2.รายนามอาจารยคณะศิลปะและการออกแบบที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการ 3.แผนการสงเสริมการขอตําแหนงทางวิชาการของอาจารยประจําคณะฯ อาจารยที่ดํารงตําแหนงรองศาสตราจารย จํานวน 2 คน รวมอาจารยที่ดํารง ตําแหนงทางวิชาการทั้งสิ้น จํานวน 8 คน

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.6 1.ชื่อ อ.ชินภัศร 2.ชื่อ

สกุล กันตะบุตร

โทร 3392

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 57 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.7

มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย (สกอ.2.7) (สมศ.6.5)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ คณาจารยไวเปนลายลักษณอักษร 2.มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัติตามจรรยาบรรณ 3.มีการกํากับดูแลการปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณ 4.มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณ 5.มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิดจรรยาบรรณ

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอแรกได มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกได 3 คะแนน แรกได 1 คะแนน 2 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.7 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.สถาบันมีการกําหนดจรรยาบรรณวิชาชีพ คณาจารยไวเปนลายลักษณอักษร สถาบันมีการกําหนดจรรยา บรรณวิชาชีพ คณาจารยไวเปนลายลักษณอักษร

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.7.001 1.มีเอกสารแสดงประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง จรรยาบรรณ คณาจารย มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2549 (มรส.สบค.002

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 58 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.7

มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย (สกอ.2.7) (สมศ.6.5) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณ มีกระบวนการสงเสริมใหผูเกี่ยวของไดปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพ

ศก.อ2.2.7.002 1.มีคูมือการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพฯ และประกาศ คําสั่ง หรือเอกสารอื่นที่ยืนยันการประกาศใชจรรยาบรรณวิชาชีพฯ ที่ไดรับความเห็นชอบ อยางเปนทางการ และหลักฐานที่แสดงวาสามารถทําใหคณาจารยและผูเกี่ยวของ ในคณะวิชาไดรับทราบและสามารถนําไปปฏิบตั ิ 2.มีเอกสารแสดงการเผยแพรจรรยาบรรณวิชาชีพ 3.มีเอกสารแสดงแผนงานสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของ คณาจารยและหลักฐานการดําเนินงานตามแผนตลอดจนการประเมินและปรับปรุง

3.มีการกํากับดูแลการปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณ มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ

ศก.อ2.2.7.003 1.มีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการจรรยาบรรณวิชาชีพ กรณีทไี่ มมี คณะกรรมการเฉพาะ ใหใช คณะกรรมการประจําคณะแทน 2.มีเอกสารแสดงคูมือวิชาชีพของอาจารย 3.มีเอกสารแสดงระบบการกํากับ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ วิชาชีพคณาจารย 4.มีเอกสารแสดงการสรุปประเมินผลปฏิบัติงานในรอบปทคี่ รอบคลุมประเด็นเรื่อง จรรยาบรรณวิชาชีพ

4.มีระบบในการดําเนินการกับผูที่ไมปฏิบัติตามจรรยาบรรณ มีระบบในการดําเนินการกับ ผูที่ไมปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพ

ศก.อ2.2.7.004 1.มีเอกสารแสดงมาตรการการลงโทษ ผูไมปฏิบัติตามมาตรฐานจรรยาบรรณวิชาชีพ

5.มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิด จรรยาบรรณ มีการดําเนินการวางแผน ปองกัน หรือหาแนวทางแกไขการกระทําผิด จรรยาบรรณวิชาชีพ

ศก.อ2.2.7.005 1.มีเอกสารแสดงผลการประเมินการปฏิบัติ ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ประจําป 2. มีเอกสารแสดงการจัดประชุมหรือกิจกรรม อื่นๆ ที่แสดงใหเห็นวาคณะวิชาไดนําสรุปผลการดําเนินงานมาทบทวนจรรยาบรรณ ใหมีความเหมาะสม และทันสมัยยิ่งขึ้น

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 59 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.7

มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย (สกอ.2.7) (สมศ.6.5) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.7 1.ชื่อ อ.ชินภัศร 2.ชื่อ

สกุล กันตะบุตร

โทร 3392

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 60 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.8

มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (สกอ.2.8)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนการสอน 2.มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหม ๆ ในดานการเรียนการสอน 3.มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา 4.มีผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนและเผยแพร ผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการ ศึกษาอยาง สม่ําเสมอ 5.มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและ ภายนอกสถาบัน

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3-4 ขอได 2 มีการดําเนินการครบทุกขอ คะแนน ได 3 คะแนน ได 1 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.8 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ วิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนการสอน มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนการสอน

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.8.001 1.มีเอกสารแสดงแผนกลยุทธดานการวิจัยของคณะ/วิทยาลัย สถาบัน ที่แสดงถึงการกําหนดแนวทางการพัฒนาอาจารยดานความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 61 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.8

มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (สกอ.2.8) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุน ใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหม ๆ ในดานการเรียนการสอน มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุนใหอาจารยคิดคนพัฒนานวัตกรรม ใหม ๆ ในดานการเรียนการสอน

ศก.อ2.2.8.002 1.มีเอกสารแสดงแผนงานสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัย และคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหมๆ ในดานการเรียนการสอน 2.มีเอกสารแสดงตัวอยางงานวิจัย และนวัตกรรมการเรียนการสอน 3.มีเอกสารแสดงรายงานการประชุมของคณะฯ ที่แสดงความยินดีเมื่ออาจารยมี ผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนที่โดดเดน

3.มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและนวัตกรรมทาง การศึกษา มีแหลงทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ นวัตกรรมทางการศึกษา

ศก.อ2.2.8.003 คูมือการขอรับสมัครทุนวิจัยมหาวิทยาลัยรังสิต

4.มีผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนและเผยแพร ผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการ ศึกษาอยางสม่ําเสมอ มีผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนและ เผยแพรผลงานวิจัยดานการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษาอยาง สม่ําเสมอ

ศก.อ2.2.8.004 1.เอกสารแสดงรายงานการวิจัยการเรียนการสอน 2.เอกสารแสดงการเผยแพรผลงานวิจยั ของอาจารยที่เกี่ยวกับนวัตกรรมการเรียน การสอน

5.มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและ ภายนอกสถาบัน มีการสรางเครือขายวิจัยดานนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและ ภายนอกสถาบัน

ศก.อ2.2.8.005 1.เอกสารแสดงการสรางเครือขายวิจัย และพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนภายในและภายนอกคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน 2.มีเอกสารแสดงบันทึกความรวมมือทางวิชาการกับองคกรภายนอก (MOU)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 62 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.8

มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (สกอ.2.8) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.8 1.ชื่อ อ.สุริยา 2.ชื่อ

สกุล ศรีสุภาพ

โทร 3400

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 63 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.9

รอยละบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป (สกอ.2.9) (สมศ.1.1) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

279

337

339

2.บัณฑิตที่ตอบแบบสอบถาม (2)

164

211

248

3.บัณฑิตที่ไดงานทํา (3)

67

112

112

4.บัณฑิตที่ประกอบอาชีพอิสระ(4)

57

0

15

5.บัณฑิตที่ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา (5)

29

13

20

6.บัณฑิตที่ไมมีงานทํา (6)

11

86

101

7.(7) = (2)-(5)

135.00

198.00

228.00

8.บัณฑิตที่มีงานทํา และอาชีพอิสระ (8)=(3)+(4)

124.00

112.00

127.00

9.รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา และประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป (9)=[(8) /(7)]*100

91.85

56.57

55.70

1.บัณฑิตที่สาํ เร็จการศึกษาทั้งหมด(1)

รอยละ 1

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 1-59 รอยละ 60-79 มากกวาหรือ ได 1 คะแนน ได 2 คะแนน เทากับรอยละ 80 ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.9 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

2

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 64 มหาวิทยาลัยรังสิต

2


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.9

รอยละบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป (สกอ.2.9) (สมศ.1.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 เนื่องจากในปจจุบัน การดําเนินธุรกิจเปนลักษณะ โลกาภิวัฒน มีผลกระทบไปทั่วโลก โดยเฉพาะสภาวะเศรษฐกิจโลก ที่มีผลตอ ระบบเศรษฐกิจในประเทศทําใหมีการจางงานนอยลง

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.9 1.ชื่อ อ.สุริยา 2.ชื่อ

ศก.อ2.2.9.001 1.เอกสารแสดงจํานวนบัณฑิตทั้งหมด 2.ขอมูลมาตรฐานที่ 1 ตัวบงชี้ 1.1 ของสํานักงานวางแผนพัฒนาคุณภาพ

สกุล ศรีสุภาพ

โทร 3400

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 65 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.10

รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ (สกอ.2.10) (สมศ.1.3) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

164

93

105

2.จํานวนบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนต่ํากวา เกณฑ ก.พ. (2)

0

0

2

3.จํานวนบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเทากับ เกณฑ ก.พ.(3)

0

90

103

4.จํานวนบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนสูงกวา เกณฑ ก.พ. (4)

164

0

0

100.00

96.77

98.10

1.จํานวนบัณฑิตที่ไดงานทํา (ตอบแบบสอบถาม) (1) รอยละ 3

5.รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับ เงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ และสูงกวาเกณฑ ตอจํานวนบัณฑิตที่ไดงานทํา (5)=[((3)+(4)) /(1)]*100

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 1-74 รอยละ 75-99 รอยละ 100 ไดรับเงินเดือน ไดรับเงินเดือน ไดรับเงินเดือน เทากับหรือสูง เทากับหรือสูง เทากับหรือสูง กวาเกณฑ กวาเกณฑ กวาเกณฑ ก.พ. ได 1 ก.พ. ได 2 ก.พ. ได 3 คะแนน คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.10 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

3

คะแนนรวม

3

หมายเลขและเอกสารอางอิง

ในปการศึกษา 2552 จากที่สํานักงานวางแผนพัฒนาคุณภาพไดสาํ รวจบัณฑิตที่ ศก.อ2.2.10.001 1.ขอมูลมาตรฐานที่ 1 ตัวบงชี้ 1.2 ของสํานักงานวางแผนพัฒนา จบการศึกษาจากคณะศิลปะและการออกแบบ และมีงานทํา ปรากฏวาบัณฑิต คุณภาพ ทุกคนที่มีตําแหนงงานไดรบั เงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑที่กําหนดคิดเปน 2.ขอมูลมาตรฐานที่ 1 ตัวบงชี้ 1.3 ของสํานักงานวางแผนพัฒนาคุณภาพ รอยละ 98.10

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 66 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.10

รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ (สกอ.2.10) (สมศ.1.3)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.10 1.ชื่อ อ.สุริยา 2.ชื่อ

สกุล ศรีสุภาพ

โทร 3400

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 67 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.11

ระดับความพึงพอใจของนายจางผูประกอบการและผูใชบัณฑิต (สกอ.2.11) (สมศ.1.4) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

3

3.64

3.87

3.63

2.ดานความสามารถในการทํางานเปนทีม

3.57

3.95

3.6

3.ดานความเปนผูนาํ

3.71

4.01

3.56

4.ดานความรูความสามารถในการจัดการ

3.15

3.7

3.16

5.ดานความสามารถในการสื่อสาร

3.37

3.81

3.58

6.ดานทักษะภาษาตางประเทศและดานคอมพิวเตอร

3.19

3.63

3.36

7.ดานบุคลิกภาพ

3.61

4.14

3.65

8.ดานคุณธรรม/จริยธรรม

3.66

4.2

3.72

9.รวมเฉลี่ย

4.49

3.91

3.53

ขอมูล

1.ดานความรูความสามารถทางวิชาการ

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน 1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

ระดับความพึง ระดับความพึง ระดับความพึง พอใจมี พอใจมี พอใจมีคะแนน คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย เฉลี่ยมากกวา อยูระหวาง 1- อยูร ะหวาง หรือเทากับ 2.49 ได 1 2.50-3.49 ได 3.50 ได 3 คะแนน 2 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.11 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 68 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.11

ระดับความพึงพอใจของนายจางผูประกอบการและผูใชบัณฑิต (สกอ.2.11) (สมศ.1.4) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ในปการศึกษา 2552 สํานักงานวางแผนพัฒนาคุณภาพไดทําการเก็บขอมูลโดย ศก.อ2.2.11.001 ขอมูลมาตรฐานที่ 1 ตัวบงชี้ 1.4 ของสํานักงานวางแผนพัฒนา สอบถามความพึงพอใจของผูประกอบการและผูที่ใชบัณฑิตจากคณะศิลปะและ คุณภาพ การออกแบบ พบวาผุประกอบการและผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจโดยเฉลี่ยที่ ระดับ 3.53

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.11 1.ชื่อ อ.สุริยา 2.ชื่อ

สกุล ศรีสุภาพ

โทร 3400

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 69 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.12

รอยละของนักศึกษาและศิษยเกาที่สาํ เร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผา นมา ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองดานวิชาการ วิชาชีพ (สกอ.2.12) (สมศ.1.5) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

2938

3053

3692

2.จํานวนนักศึกษาปจจุบันและจํานวนบัณฑิตที่ สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ไดรับรางวัลทุกประเภท (2)

39

129

201

3.รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จ การศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาที่ไดรบั การประกาศ เกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และ ดานสิ่งแวดลอมใน ระดับชาติหรือนานาชาติ 3 =[(2) /(1)]*100

1.33

4.23

5.44

1.จํานวนนักศึกษาปจจุบันรวมกับจํานวนบัณฑิต ทั้งหมดในรอบ 5 ปที่ผานมา (1)

รอยละ 0.5

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 0.003- รอยละ 0.016- มากกวาหรือ 0.015 ได 1 0.029 ได 2 เทากับรอยละ 0.030 ได 3 คะแนน คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.12 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีนักศึกษาที่ไดรับการ ประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ รวมกับในรอบ 3 ปที่ผานมา จํานวนรวมทั้งสิ้น 199 รางวัล

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.12 นักศึกษาและศิษยเกาทีส่ ําเร็จการศึกษา ที่ไดรับการประกาศเกียรติ คุณยกยองดานวิชาการ วิชาชีพ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 70 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.12

รอยละของนักศึกษาและศิษยเกาที่สาํ เร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผา นมา ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองดานวิชาการ วิชาชีพ (สกอ.2.12) (สมศ.1.5)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.12 1.ชื่อ อ.สุริยา 2.ชื่อ

สกุล ศรีสุภาพ

โทร 3400

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 71 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.13

รอยละของหลักสูตรที่มีความเปนสหวิทยาการ และหรือองครวมตอหลักสูตร (มรส.) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

8

8

8

2.จํานวนหลักสูตรสหวิทยาการ (2)

8

8

8

3.จํานวนหลักสูตรองครวม (3)

0

0

0

4.หลักสูตรสหวิทยาการและหลักสูตรองครวม (4)=(2)+(3)

8

8

8

100

100.00

100.00

1.จํานวนหลักสูตรที่เปดสอนทั้งหมด (1)

5.รอยละของหลักสูตรสหวิทยาการ และหลักสูตร องครวมตอหลักสูตรทั้งหมด (5)=[(4)/(1)]*100

รอยละ 100

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 1-9 ได รอยละ 10-15 มากกวารอย 1 คะแนน ได 2 คะแนน ละ 15 ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.13 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

ในปการศึกษา 2552 คณะฯ ไดเปดการเรียนการสอนทั้งสิ้น 8 หลักสูตร แบงเปน ศก.อ2.2.13.001 จํานวนหลักสูตรที่มคี วามเปนสหวิทยาการ ระดับปริญญาตรี 6 หลักสูตรและระดับปริญญาโท 2 หลักสูตร ทุกหลักสูตรมี ความเปนสหวิทยาการ โดยการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาตางๆ ทั้งหมวด ศึกษาทั่วไป และหมวดวิชาชีพครอบคลุมความรูดานศิลปะ วัฒนธรรม เทคโนโลยี ธุรกิจ รูปแบบการเรียนทั้งทฤษฎีและปฏิบตั ิ เนนการฝกทักษะ การ คนควา วิจัย และการพัฒนาผลงานดวยตนเอง โดยมีที่ปรึกษาเปนอาจารยและ ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพนั้นๆ คิดเปน 100 เปอรเซ็นตของหลักสูตรสห วิทยาการตอหลักสูตรทั้งหมด

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 72 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.13

รอยละของหลักสูตรที่มีความเปนสหวิทยาการ และหรือองครวมตอหลักสูตร (มรส.)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.13 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 73 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.14

รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด (สมศ.6.1) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

1.จํานวนหลักสูตรที่เปดสอนทั้งหมด (1)

รอยละ 100

2.จํานวนหลักสูตรที่เปดสอนไดมาตรฐาน (2)

3.รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตร ทั้งหมด (3)= [(2) /(1)]*100

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

8

8

8

8

8

8

100

100.00

100.00

จํานวน หลักสูตรที่ได มาตรฐาน รอย ละ 1-79 ของ จํานวน หลักสูตร ทั้งหมด ได 1 คะแนน

จํานวน หลักสูตรที่ได มาตรฐาน รอย ละ 80-89 ของ จํานวน หลักสูตร ทั้งหมด ได 2 คะแนน

จํานวน หลักสูตรที่ได มาตรฐาน รอย ละ 100 ของ จํานวน หลักสูตร ทั้งหมด ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.14 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

ในปการศึกษา 2552คณะฯ มีหลักสูตรที่เปดการเรียนการสอนทั้งสิ้น 8 หลักสูตร ศก.อ2.2.14.001 แบงเปนระดับปริญญาตรี 6 หลักสูตรและระดับปริญญาโท 2 หลักสูตร โดยไดรับ การรับรองมาตรฐานการเปดหลักสูตรจากสํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาทั้งหมด

2.ชื่อ

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.14 1.ชื่อ อ.กําจร

คะแนนรวม

คูมือการศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา

สกุล แซเจียง

โทร 3400

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 74 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.15

มีการทําความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือ สภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาการ หรือมหาวิทยาลัยทั้งใน ประเทศและตางประเทศ (มรส.)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีการจัดทําแผนงานความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือสภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในและตางประเทศ 2.มีคณะทํางานหรือดําเนินงานความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือสภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในและ ตางประเทศ 3.มีการทําสัญญาความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือสภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในและตางประเทศมากกวา หรือเทากับรอยละ 20 ของหลักสูตรที่เปดสอนในปการศึกษา 2550 4.มีการดําเนินการปฏิบัติงานตามแผนงาน และสัญญาที่กําหนด 5.มีการประเมินและนําผลไปปรับปรุงการทําสัญญาความรวมมือ(MOU) กับสถานประกอบการ หรือสภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัย ทั้งในและตางประ เทศ

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 3 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

มีการดําเนินการ 1-2 ขอ ได 1 มีการดําเนินการ 3 ขอ ได 2 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.15 ผลการประเมินตนเอง

3 คะแนน มีการดําเนินการ 4-5 ขอ ได 3 คะแนน

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีการจัดทําแผนงานความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือสภา วิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในและตางประเทศ มีการจัดทําแผนงานรวมมือ (MOU)กับสถานประกอบการ หรือสภา วิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและตางประเทศ

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.15.001 แผนยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต แผนปฏิบตั ิการ ประจําป 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 75 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.15

มีการทําความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือ สภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาการ หรือมหาวิทยาลัยทั้งใน ประเทศและตางประเทศ (มรส.) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีคณะทํางานหรือดําเนินงานความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือ ศก.อ2.2.15.002 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดานวิเทศสัมพันธ สภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในและตางประเทศ มีคณะทํางานหรือดําเนินงานความรวมมือ (MOU)กับสถาน ประกอบการ หรือสภาวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและตางประเทศ

3.มีการทําสัญญาความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือสภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในและตางประเทศมากกวาหรือเทากับ รอยละ 20 ของหลักสูตรที่เปดสอนในปการศึกษา 2550 มีการทําสัญญาความรวมมือ(MOU)กับสถานประกอบการ หรือสภา วิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและตางประเทศ มากกวาหรือเทากับ รอยละ 20 ของหลักสูตรที่เปดสอนในปการศึกษา 2550

ศก.อ2.2.15.003 การทําแผนงานรวมมือกับ Kookmin University บันทึก ขอความขออนุมัติคาใชจายในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ บันทึกขอความตอบรับ นักศึกษาแลกเปลี่ยนจาก Mikkeli University of Applied Sciences ประเทศ ฟนแลนด จดหมายขอความรวมมือกับ MZD บันทึกขอความขออนุมัติดําเนิน โครงการเจรจาความรวมมือดานการศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซนระหวาง มหาวิทยาลัยรังสิตกับสถาบัน Bunka Gakuen Educaiton Foundation ประเทศ ญี่ปุน

4.มีการดําเนินการปฏิบัติงานตามแผนงาน และสัญญาที่กําหนด มีการดําเนินการปฏิบตั ิงานตามแผนงาน และสัญญาที่กําหนด

ศก.อ2.2.15.004 บันทึกขอความสรุปโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการดานการ ออกแบบ บันทึกขอความสรุปผลโครงการเจรจาความรวมมือดานการศึกษา สาขาวิชาแฟชั่นดีไซนระหวางมหาวิทยาลัยรังสิตกับสถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundation Japan นิทรรศการแสดงผลงานนักศึกษาระหวาง มหาวิทยาลัยรังสิตและสถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundation Japan

5.มีการประเมินและนําผลไปปรับปรุงการทําสัญญาความรวมมือ(MOU) กับ ศก.อ2.2.15.005 รายงานประเมินผล สถานประกอบการ หรือสภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทัง้ ใน และตางประ เทศ มีการประเมินและนําผลไปปรับปรุงการทําสัญญาความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการหรือสภาวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและ ตางประเทศ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 76 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.15

มีการทําความรวมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หรือ สภาวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาชีพ หรือสมาคมวิชาการ หรือมหาวิทยาลัยทั้งใน ประเทศและตางประเทศ (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.15 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 77 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.16

มีการพัฒนาหลักสูตรทวิภาษา และ/หรือหลักสูตรนานาชาติ (มรส.)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีแผนพัฒนาหลักสูตรใหมีความเปนหลักสูตรทวิภาษา และ/หรือหลักสูตรนานาชาติมากขึ้น 2.มีคณะทํางานหรือดําเนินการปรับปรุงพัฒนาจัดทําหลักสูตรทวิภาษา และ/หรือหลักสูตรนานาชาติ 3.มีหลักสูตรที่มีความเปนทวิภาษา และ/หรือหลักสูตรนานาชาติที่เพิ่มขึ้น 4.มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการไปปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรตอไป

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 2 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550

2551

2552

3

4

4

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการ 1-2 ระดับ ได 1 คะแนน

มีการดําเนินการ 3 ระดับ ได 2 คะแนน

มีการดําเนินการครบทุก ระดับ ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.16 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีแผนพัฒนาหลักสูตรใหมีความเปนหลักสูตรทวิภาษา และ/หรือหลักสูตร นานาชาติมากขึน้ มีแผนพัฒานาหลักสูตรใหมีความเปนหลักสูตรทวิภาษา และ/หรือ หลักสูตรนานาชาติมากขึ้น

ศก.อ2.2.16.001 แผนยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต แผนปฏิบตั ิการ ประจําป 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ

2.มีคณะทํางานหรือดําเนินการปรับปรุงพัฒนาจัดทําหลักสูตรทวิภาษา และ/ หรือหลักสูตรนานาชาติ มีคณะทํางานหรือดําเนินการปรับปรุงพัฒนาจัดทําหลักสูตรทวิภาษา และ/หรือหลักสูตรนานาชาติ

ศก.อ2.2.16.002 คําสั่งแตงตั้งผูประสานงานดานวิเทศสัมพันธ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 78 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.16

มีการพัฒนาหลักสูตรทวิภาษา และ/หรือหลักสูตรนานาชาติ (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 3.มีหลักสูตรที่มีความเปนทวิภาษา และ/หรือหลักสูตรนานาชาติที่เพิ่มขึ้น มีหลักสูตรที่มีความเปนทวิภาษา และ/หรือหลักสูตรนานาชาติที่เพิ่มขึ้น

ศก.อ2.2.16.003 แผนการสอนรายวิชาที่เนนภาษาตางประเทศ

4.มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการไปปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตร ศก.อ2.2.16.004 รายงานประเมินผลคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ตอไป มีการนําเสนอการวิเคราะหขอมูลการดําเนินการไปปรับปรุง และพัฒนา หลักสูตรตอไป

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.16 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 79 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.17

มีโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารย และบุคลากรกับสถาบันพันธมิตรทัง้ ในประเทศและตางประเทศ (มรส.)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีนโยบาย/แผนงานในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารย และบุคลากรกับสถาบันพันธมิตรทั้งในประเทศและตางประเทศ 2.มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารยและบุคลากรกับสถาบันพันธมิตร 3.มีโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารย และบุคลากรกับสถาบันพันธมิตรเพิ่มขึ้น 1 โครงการ 4.มีการติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานที่กําหนด 5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาแผนงานตอไป

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 3 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

4

5

5

2 คะแนน

มีการดําเนินการ 1-2 ขอ ได 1 มีการดําเนินการ 3 ขอ ได 2 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.17 ผลการประเมินตนเอง

3 คะแนน มีการดําเนินการ 4-5 ขอ ได 3 คะแนน

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีนโยบาย/แผนงานในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารย และบุคลากรกับ สถาบันพันธมิตรทั้งในประเทศและตางประเทศ มีนโยบาย/แผนงานในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารย และบุคลากร กับสถาบันพันธมิตรทั้งในประเทศและตางประเทศ

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.17.001 แผนยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต แผนปฏิบตั ิการ ประจําป 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 80 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.17

มีโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารย และบุคลากรกับสถาบันพันธมิตรทัง้ ในประเทศและตางประเทศ (มรส.) การดําเนินการ

2.มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/ อาจารยและบุคลากรกับสถาบันพันธมิตร มีระบบและกลไกในการสนับสนุนความรวมมือในการแลกเปลี่ยน นักศึกษา/อาจารยและบุคลากรกับสถาบันพันธมิตร

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.17.002 การทําแผนงานรวมมือกับ Kookmin University บันทึก ขอความขออนุมัติคาใชจายในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ บันทึกขอความตอบรับ นักศึกษาแลกเปลี่ยนจาก Mikkeli University of Applied Sciences ประเทศ ฟนแลนด จดหมายขอความรวมมือกับ MZD บันทึกขอความขออนุมัติดําเนิน โครงการเจรจาความรวมมือดานการศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซนระหวาง มหาวิทยาลัยรังสิตกับสถาบัน Bunka Gakuen Educaiton Foundation ประเทศ ญี่ปุน

3.มีโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารย และบุคลากรกับสถาบันพันธมิตร ศก.อ2.2.17.003 โครงการความรวมมือกับสถาบันในประเทศจอรแดน เพิ่มขึ้น 1 โครงการ มีโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารยและบุคลากรกับสถาบันเพิ่มขึ้น 1 โครงการ

4.มีการติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานที่กําหนด มีการติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานที่กําหนด

ศก.อ2.2.17.004 บันทึกขอความประเมินผลโครงการ

5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาแผนงานตอไป มีการนําเสนอผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาแผนงานตอไป

ศก.อ2.2.17.005 บันทึกขอความสรุปผลการดําเนินกิจกรรม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 81 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.17

มีโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา/อาจารย และบุคลากรกับสถาบันพันธมิตรทัง้ ในประเทศและตางประเทศ (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.17 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 82 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.18

ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู (สมศ.6.7) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

3.5

0

4.4

4.43

2.การปฏิบตั ิการ

0

4.4

4.43

3.สิ่งสนับสนุนการเรียนรู

0

4.4

4.43

4.37

4.40

4.43

นักศึกษามี ความพึงพอใจ ตอคุณภาพ การสอนของ อาจารย และ สิ่งสนับสนุน การเรียนรู โดย เฉลี่ยอยูใน ระดับ 1.002.49 ได 1 คะแนน

นักศึกษามี ความพึงพอใจ ตอคุณภาพ การสอนของ อาจารย และ สิ่งสนับสนุน การเรียนรู โดย เฉลี่ยอยูใน ระดับ 2.503.49 ได 2 คะแนน

นักศึกษามี ความพึงพอใจ ตอคุณภาพ การสอนของ อาจารย และ สิ่งสนับสนุน การเรียนรู โดย เฉลี่ยอยูใน ระดับ มากกวา หรือเทากับ 3.50 ได 3 คะแนน

ขอมูล

1.การสอนบรรยาย

4.เฉลี่ยรวม

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.18 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 คณะฯ มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาตอ คุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู ในรายวิชาที่เปดสอน ในปการศึกษานี้ มีคาคะแนนความพึงพอใจเทากับ 4.43 จากคะแนนเต็ม 5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.18.001 ผลการประเมินระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอ คุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 83 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.18

ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู (สมศ.6.7)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.18 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 84 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.19

รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําตรงสาขาทีส่ ําเร็จการศึกษา (สมศ.1.2) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

124

112

113

2.จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําตรง สาขา (2)

124

89

89

3.รอยละของจํานวนบัณฑิตที่ทาํ งานตรงสาขาตอ จํานวนบัณฑิตที่ไดงานทํา (3) =[(2) /(1)]*100

100

79.46

78.76

บัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ ไดงานทําตรง สาขาที่สําเร็จ การศึกษา รอยละ 1-59 ของผูสําเร็จ การศึกษา ได 1 คะแนน

บัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ ไดงานทําตรง สาขาที่สําเร็จ การศึกษา มากกวาหรือ เทากับรอยละ 60 แตนอย กวารอยละ 80 ของผูสําเร็จ การศึกษา ได 2 คะแนน

บัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ ไดงานทําตรง สาขาที่สําเร็จ การศึกษา รอย ละ 80 ของ ผูสําเร็จ การศึกษา ได 3 คะแนน

1.จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา (ตอบ แบบสอบถาม) (1)

รอยละ 80

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.19 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

0

คะแนนอิงเปาหมาย

0

คะแนนรวม

2

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนบัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ไดงาน จํานวน 113 คน จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงาน ทําตรงสาขา จํานวน 89 คน ดังนั้นรอยละของจํานวนบัณฑิตทีท่ ํางานตรงสาขา ตอจํานวนบัณฑิตที่ไดงานทําเทากับ 78.76

คะแนนรวม

2

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ2.2.19.001 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําตรงสาขาทีส่ ําเร็จ การศึกษา

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 85 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.19

รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําตรงสาขาทีส่ ําเร็จการศึกษา (สมศ.1.2)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.19 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 86 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.20

รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับการสนับสนุนใหศึกษาเพิ่มในระดับปริญญาโท/สูงกวาระดับปริญญาโท/เอก และหลังปริญญาเอก (มรส.) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

1.จํานวนอาจารยประจําที่ไดรับการสนับสนุนให ศึกษาเพิ่มในระดับปริญญาโท (1)

รอยละ 4

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550

2551

2552

4

5

3

2

2

0

0

0

0

2.สูงกวาปริญญาโท (2)

3.ในระดับปริญญาเอก (3)

เกณฑการประเมิน

1

4.หลังปริญญาเอก (4)

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 1-4 ได รอยละ 5-9 ได มากกวารอย ละ 9 ได 3 1 คะแนน 2 คะแนน คะแนน

5.รวม (1)+(2)+(3)+(4)

5

7

5

6.อาจารยประจําทั้งหมด

66

66

72

7.รอยละของอาจารยที่ไดรับการสนับสนุนใหศึกษา เพิ่มฯ [(5)/(6)]*100

7.58

10.61

6.94

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.20 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

3

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 87 มหาวิทยาลัยรังสิต

3


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.20

รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับการสนับสนุนใหศึกษาเพิ่มในระดับปริญญาโท/สูงกวาระดับปริญญาโท/เอก และหลังปริญญาเอก (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนอาจารยที่ไดรับการ ศก.อ.2.2.20.001 บันทึกขอความแจงผลการอนุมติการใหทุนสนับสนุนการศึกษา สนับสนุนใหศึกษาเพิ่มเติมในระดับปริญญาโท จํานวน 3 คน ระดับปริญญาเอก แกอาจารยประจํา 2 คน จากจํานวนอาจารยประจําทั้งหมด 72 คน คิดเปนรอยละ 6.94

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.20 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 88 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.21

รอยละของบุคลากรสายสนับสนุนไดรบั การศึกษาเพิ่มเติมในระดับปริญญาตรี/สูงกวาปริญญาตรี/โท/เอก และหลังปริญญาเอก (มรส.) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2551

2552

0

0

0

0

3

4

4.ในระดับปริญญาเอก

0

0

5.หลังปริญญาเอก

0

0

1.จํานวนบุคลากรที่ไดรับการสนับสนุนใหศึกษา เพิ่มเติมในระดับปริญญาตรี

2550

เกณฑการประเมิน

รอยละ 5

2.สูงกวาปริญญาตรี

3.ในระดับปริญญาโท

2

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 1-4 ได รอยละ 5-9 ได มากกวารอย ละ 9 ได 3 1 คะแนน 2 คะแนน คะแนน

6.รวม (1) +(2)+(3)+(4)+(5)

2

3

4

7.จํานวนบุคลากรทั้งหมด

15

16

16

13.33

18.75

25.00

8.รอยละของบุคลากรสายสนับสนุนไดรับการศึกษา เพิ่มเติมฯ (6)/(7)*100

1 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.21 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 89 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.21

รอยละของบุคลากรสายสนับสนุนไดรบั การศึกษาเพิ่มเติมในระดับปริญญาตรี/สูงกวาปริญญาตรี/โท/เอก และหลังปริญญาเอก (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนบุคลากรสาย สนับสนุนที่ไดรับการสนับสนุนใหศึกษาเพิ่มเติมในระดับปริญญาโท จํานวน 4 คน จากจํานวนบุคลากรทั้ง 16 คน คิดเปนรอยละ 25

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.21 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

ศก.อ.2.2.21.001 บันทึกขอความแจงผลการอนุมติการใหทุนสนับสนุนการศึกษา แกบุคลากร

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 90 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.22

จํานวนนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ หรืองานสรางสรรคของนักศึกษา (ชิ้นงาน) (มรส.) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550

30

1.จํานวนนวัตกรรม

2.จํานวนสิ่งประดิษฐ

เกณฑการประเมิน

2551

2552

0

0

0

0

1 คะแนน

2 คะแนน

1-14 ชิ้นงาน 15-19 ชิ้นงาน ได 1 คะแนน ได 2 คะแนน

3.จํานวนงานสรางสรรค

337

376

343

4.รวม

337

376.00

343.00

3 คะแนน มากกวา 19 ชิ้น ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.22 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนงานสรางสรรคของ ศก.อ2.2.22.001 นักศึกษาทั้งสิน้ 343 ชิ้นงาน จากโครงการศิลปนิพนธของนักศึกษาปริญญาตรี 6 โครงการศิลปนิพนธของนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชา และปริญญาโท 2 สาขาวิชา สาขาวิชาศิลปภาพถาย สาขาวิชาออกแบบภายใน สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน โครงการศิลปนิพนธของนักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการออกแบบ สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 91 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.22

จํานวนนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ หรืองานสรางสรรคของนักศึกษา (ชิ้นงาน) (มรส.)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.22 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 92 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.23

จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกที่ไดรับรางวัลระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา (ชิ้นงาน) (สมศ.1.6) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

3

6

7.00

7.00

2.ในระดับชาติ (2)

6

7

7

3.ในระดับนานาชาติ (3)

0

0

0

วิทยานิพนธ และงาน วิชาการของ นักศึกษาที่ ไดรับรางวัลใน ระดับชาติหรือ ระดับ นานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา จํานวน 1 ชิ้นงาน ได 1 คะแนน

วิทยานิพนธ และงาน วิชาการของ นักศึกษาที่ ไดรับรางวัลใน ระดับชาติหรือ ระดับ นานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา จํานวน 2 ชิ้นงาน ได 2 คะแนน

วิทยานิพนธ และงาน วิชาการของ นักศึกษาที่ ไดรับรางวัลใน ระดับชาติหรือ ระดับ นานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา มากกวาหรือ เทากับจํานวน 3 ชิ้นงาน ได 3 คะแนน

ขอมูล

1.จํานวนวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษา ที่ไดรับรางวัลภายในรอบ 3 ปที่ผานมา (ชิ้นงาน) (1) =(2)+(3)

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.23 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนวิทยานิพนธและงาน ศก.อ2.2.23.001 บันทึกขอความเสนอรายชื่อนักศึกษารับรางวัลสิ่งประดิษฐดีเดน และยอดเยี่ยมระดับปริญญาตรี DEGREE SHOWS 09 วิชาการของนักศึกษาที่ไดรับรางวัลภายในรอบ 3 ปที่ผา นมา 7 ชิ้นงาน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 93 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.23

จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกที่ไดรับรางวัลระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ภายในรอบ 3 ปที่ผานมา (ชิ้นงาน) (สมศ.1.6)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.2.23 1.ชื่อ อ.กําจร 2.ชื่อ

สกุล แซเจียง

โทร 3402

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 94 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 2

การเรียนการสอน

ตัวบงชี้ มรส.2.24

สัดสวนของเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาระดับปริญญาตรี (มรส.) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

1.16

891.54

931.16

975.27

2.จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร

201

180

180

3.สัดสวนจํานวนนักศึกษาตอจํานวนเครื่อง คอมพิวเตอรทั้งหมด (3) = (1) /(2)

4.43

5.17

5.42

ขอมูล

1.จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีเต็มเวลา เทียบเทา

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน 1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

มากกวา 1:19 1:16 –1:19 ได นอยกวา 1:16 ได 1 คะแนน 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.2.24 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

สัดสวนของเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา

2.ชื่อ

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ

คะแนนรวม

ศก.อ2.2.24.001 บันทึกขอความสรุปยอดรวมจํานวนคอมพิวเตอรสําหรับนักศึกษา ภายในหองปฏิบัติการ

ตัวบงชี้ มรส.2.24 สกุล

โทร

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 95 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.1

มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา (ระดับ) (สกอ.3.1)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1 2.มีการจัดบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา 3.มีการจัดบริการดานกายภาพที่สง เสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา 4.มีการจัดบริการใหคาํ ปรึกษาแกนกั ศึกษา 5.มีบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา 6.มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา 7.มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการทั้ง 5 เรื่องขางตนเปนประจําทุกป 8.นําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาพัฒนาการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 7 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

7

8

8

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 7 ขอ มีการดําเนินการ 7 ขอแรก ได มีการดําเนินการครบทุกขอ 2 คะแนน ได 3 คะแนน แรก ได 1 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.3.1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

การดําเนินการ 1.มีการสํารวจความตองการจําเปนของนักศึกษาปที่ 1 ไดมีการดําเนินการสํารวจความตองการของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ตั้งแต ชวงปฐมนิเทศนักศึกษาจนถึงโครงการปจฉิมนิเทศ

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ3.3.1.001 ศก.อ3.3.1.002 ศก.อ3.3.1.003 ศก.อ3.3.1.004

โครงการติวศิลปเพื่อนอง โครงการปฐมนิเทศ โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา โครงการกิจกรรมประชุมเชียรและรับนองใหม

ศก.อ3.3.1.005 โครงการปจฉิมนิเทศ ศก.อ3.3.1.006 Open House

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 96 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.1

มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา (ระดับ) (สกอ.3.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีการจัดบริการดานสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการพัฒนาการเรียนรูของ นักศึกษา โครงการสนับสนุนใหนักศึกษาทํางานระหวางเรียนและโครงการ สนับสนุนคาครองชีพ

ศก.อ3.3.1.007 โครงการจัดทําคูมือนักศึกษา

3.มีการจัดบริการดานกายภาพที่สงเสริมคุณภาพชีวิตของนักศึกษา โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

ศก.อ3.3.1.008 นักศึกษาทํางานระหวางเรียน ศก.อ3.3.1.009 โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะคุณภาพ นักศึกษา ศก.อ3.3.1.010 โครงการพัฒนาฉลาดทางอารมณทักษะชีวิต

4.มีการจัดบริการใหคาํ ปรึกษาแกนักศึกษา โครงการพัฒนาอาจารยระบบที่ปรึกษาและจิตวิทยา

ศก.อ3.3.1.010 โครงการพัฒนาอาจารยระบบที่ปรึกษาและจิตวิทยา ศก.อ3.3.1.011 โครงการจัดทําคูมือนักศึกษา ศก.อ3.3.1.012 แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนและวินัยนักศึกษา

5.มีบริการขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนตอนักศึกษาและศิษยเกา โครงการเครือขายศิษยเกาสัมพันธ

ศก.อ3.3.1.013 เชิญประชุมศิษยเกา ศก.อ3.3.1.014 โครงการเครือขายศิษยเกาสัมพันธ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 97 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.1

มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา (ระดับ) (สกอ.3.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

6.มีการจัดโครงการเพื่อพัฒนาประสบการณทางวิชาชีพแกนักศึกษาและศิษยเกา ศก.อ3.3.1.015 โครงการประกวดภาพถายอนุรักษธรรมชาติ ศก.อ3.3.1.016 โครงการจัดนิทรรศการภาพถาย "เที่ยวไทยไปกับ Week end เปนโครงการที่ประกอบการเรียนการสอน Guide 2010" ศก.อ3.3.1.017 โครงการอบรมมารยาทพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อการเขางานสังคม ศก.อ3.3.1.018 โครงการทัศนศึกษาเยี่ยมชมสถาบันบุนกะ ศก.อ3.3.1.019 โครงการเยี่ยมชมสตูดิโอ ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหง กรุงเทพมหานคร

7.มีการประเมินคุณภาพของการใหบริการทั้ง 5 เรื่องขางตนเปนประจําทุกป มีการประเมินผลประจําป

ศก.อ3.3.1.001 ศก.อ3.3.1.002 ศก.อ3.3.1.003 ศก.อ3.3.1.004

โครงการติวศิลปเพื่อนอง โครงการปฐมนิเทศ โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา โครงการกิจกรรมประชุมเชียรและรับนองใหม

ศก.อ3.3.1.005 โครงการปจฉิมนิเทศ ศก.อ3.3.1.006 Open House

8.นําผลการประเมินคุณภาพของการใหบริการมาพัฒนาการจัดบริการแก นักศึกษาและศิษยเกา มีการนําผลประเมินคุณภาพประจําป มาพัฒนาการจัดบริการแก นักศึกษาและศิษยเกา

ศก.อ3.3.1.001 ศก.อ3.3.1.002 ศก.อ3.3.1.003 ศก.อ3.3.1.004

โครงการติวศิลปเพื่อนอง โครงการปฐมนิเทศ โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา โครงการกิจกรรมประชุมเชียรและรับนองใหม

ศก.อ3.3.1.005 โครงการปจฉิมนิเทศ ศก.อ3.3.1.006 Open House

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.3.1 1.ชื่อ อ.กิตติวัฒน 2.ชื่อ อ.เกียรติศักดิ์

สกุล โลหะการ

โทร 3382

สกุล วันจรารัตน

โทร 1581

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 98 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.2

มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค (ระดับ) (สกอ.3.2)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับวิสัยทัศนของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา 2.มีการสงเสริมใหสถาบันและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษาใหครบทุกประเภท โดยอยางนอยตองดําเนินการใน 5 ประเภท ดังนี้ -กิจกรรม วิชาการ -กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ -กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม -กิจกรรมนันทนาการ -กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม 3.มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม ทั้งที่จัดโดยสถาบันและองคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา 4.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยางตอเนื่อง

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 4 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

4

4

4

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอแรก ได มีการดําเนินการครบทุกขอ แรก ได 1 คะแนน 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.3.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ 1.มีการจัดทําแนวทางสงเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับวิสัยทัศนของ สถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม, โครงการปจฉิมนิเทศ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ3.3.2.001 โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม ศก.อ3.3.2.002 โครงการปจฉิมนิเทศของมหาวิทยาลัย

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 99 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.2

มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค (ระดับ) (สกอ.3.2) การดําเนินการ

2.มีการสงเสริมใหสถาบันและองคการนักศึกษาจัดกิจกรรมนักศึกษาใหครบทุก ประเภท โดยอยางนอยตองดําเนินการใน 5 ประเภท ดังนี้ -กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ -กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษา สิ่งแวดลอม -กิจกรรมนันทนาการ -กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม โครงการประกอบการเรียนการสอน

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ3.3.2.003 กิจกรรมวิชาการ โครงการ Open House ศก.อ3.3.2.004 โครงการประกวดวาดภาพ ศก.อ3.3.2.005 โครงงาน Ric & Faculty of Art and Design Fashion Show ศก.อ3.3.2.006 โครงการประกวดผลงานศิลปะ "Thai Creativity" ศก.อ3.3.2.007 นิทรรศการ "Line form & Color 17" ศก.อ3.3.2.008 โครงการจัดแสดงนิทรรศการภาพถาย ศก.อ3.3.2.009 โครงการแสดงผลงานนักศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน "Biff & Bil 2009" ศก.อ3.3.2.010 โครงการแสดงผลงานนักศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน FAD ครั้งที่ 7 ศก.อ3.3.2.011 โครงการทัศนศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน ณ จังหวัดอุดรธานี ศก.อ3.3.2.012 ตัดสินการประกวดผาไหมตรานกยูงพระราชทาน ศก.อ3.3.2.013 นักศึกษาเขารวมประกวด "T-Shirt Trendy Hobby Crafs Contest" ศก.อ3.3.2.014 โครงการเสนอชื่อนักศึกษาเพื่อเขารับการคัดเลือกรางวัล พระราชทานระดับอุดมศึกษา ศก.อ3.3.2.015 โครงการนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษาสาขาวิชาการ ออกแบบนิเทศศิลป C-Work ศก.อ3.3.2.016 โครงการนิทรรศ Digital Visaul ศก.อ3.3.2.017 โครงการจัดประกวดภาพถายของสมาชิกและนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต ศก.อ3.3.2.018 กิจกรรมกีฬาและสงเสริมสุขภาพ โครงการประชุมปฏิบัติการพิษภัยบุหรี่ ศก.อ3.3.2019 โครงการรักษวินัยไรควันบุหรี่ ศก.อ3.3.2.020 กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอมโครงการติวศิลป เพื่อนอง ศก.อ3.3.2.021 โครงการสุขภาพชุมชน ศก.อ3.3.2.0022 กิจกรรมนันทนาการ โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา ศก.อ3.3.2.023 โครงการกิจกรรมประชุมเชียร และรับนองใหม ศก.อ3.3.2.024 แตงตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาและคณะกรรมการเตรียมงานการ แสดงละคร "The Lion King" ศก.อ3.3.2.025 งานแสดงแฟชั่น ภาควิชาสื่อสารธุรกิจวิทยาลัยนานาชาติ ศก.อ3.3.2.026 กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม พิธีไหวครู และครอบครูชาง

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 100 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.2

มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค (ระดับ) (สกอ.3.2) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ประจําปการศึกษา 2552 ศก.อ3.3.2.027 การจัดงานทําบุญคณะศิลปะและการออกแบบ ศก.อ3.3.2.028 แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการและประธานอนุกรรมการ ดําเนินงานถวายพระพรฯ ศก.อ3.3.2.029 โครงการถายภาพสถาปตยกรรม สถานที่ ณ ตลาดบานใหม และตลาดคลองสวน จังหวัดฉะเชิงเทรา ศก.อ3.3.2.030 โครงการนํานักศึกษาฝกปฏิบัติงานนอกสถานที่ (ภาพถายสาร คดี) ณ ชุมชนเกาะเกร็ด ศก.อ3.3.2.0031 โครงการภาพถายอนุรักษศิลปวัฒนธรรม ศก.อ3.3.2.032 โครงการถายภาพนอกสถานที่ "เมืองโบราณ จังหวัด สมุทรปราการ" ศก.อ3.3.2.033 กิจกรรม Roadshow ประกวดสื่อแอนิเมชั่น Degicon6 ศก.อ3.3.2.034 โครงการประกวดภาพจิตรกรรมอิเล็กทรอนิกส Digital painting ศก.อ3.3.2.035 โครงการประกวดคัดเลือกผลงานภาพประกอบหัวขอ "Inspiring Eastern Dragon Illustraion 2009

3.มีกระบวนการติดตามและประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม ทั้งที่จัดโดย สถาบันและองคการนักศึกษาทุกสิ้นปการศึกษา มีการติดตามผลและประเมินโครงการ

ศก.อ3.3.1.001 ศก.อ3.3.1.002 ศก.อ3.3.1.003 ศก.อ3.3.1.004

โครงการติวศิลปเพื่อนอง โครงการปฐมนิเทศ โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา โครงการกิจกรรมประชุมเชียรและรับนองใหม

ศก.อ3.3.1.005 โครงการปจฉิมนิเทศ ศก.อ3.3.1.006 Open House

4.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาอยาง ตอเนื่อง มีการสรุปผลและนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดกิจกรรม เพื่อ พัฒนานักศึกษาในครั้งตอไปหรือใหคณะทํางานชุดตอไป

ศก.อ3.3.1.001 ศก.อ3.3.1.002 ศก.อ3.3.1.003 ศก.อ3.3.1.004

โครงการติวศิลปเพื่อนอง โครงการปฐมนิเทศ โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา โครงการกิจกรรมประชุมเชียรและรับนองใหม

ศก.อ3.3.1.005 โครงการปจฉิมนิเทศ ศก.อ3.3.1.006 Open House

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.3.2 1.ชื่อ อ.กิตติวัฒน สกุล โลหะการ รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 101 มหาวิทยาลัยรังสิต 2.ชื่อ อ.เกียรติศักดิ์ สกุล วันจรารัตน

โทร 3382 โทร 1581


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.3

รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษา ตอจํานวนนักศึกษา (สมศ.6.8) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1853

1866

1899

2.จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีทงั้ หมด (2)

1853

1866

1899

3.รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการ พัฒนานักศึกษาตอจํานวนนักศึกษาทัง้ หมด (3)=((1)/(2))*100

100

100.00

100.00

จํานวน นักศึกษาที่เขา รวมกิจกรรม/ โครงการ พัฒนา รอยละ 1-39 ของ จํานวน นักศึกษา ทั้งหมด ได 1 คะแนน

จํานวน นักศึกษาที่เขา รวมกิจกรรม/ โครงการ พัฒนา รอยละ 40-59 ของ จํานวน นักศึกษา ทั้งหมด ได 2 คะแนน

จํานวน นักศึกษาที่เขา รวมกิจกรรม/ โครงการ พัฒนา มากกวาหรือ เทากับรอยละ 60 ของจํานวน นักศึกษา ทั้งหมด ได 3 คะแนน

1.จํานวนนักศึกษาปริญญาตรีที่เขารวมกิจกรรม (1)

รอยละ 100

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.3.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม โครงการปจฉิมนิเทศนักศึกษา โครงการกิจกรรมประชุมเชียร และรับนองใหม

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ3.3.1.002 โครงการปฐมนิเทศ ศก.อ3.3.1.003 โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา ศก.อ3.3.1.004 โครงการกิจกรรมประชุมเชียรและรับนองใหม ศก.อ3.3.1.005 โครงการปจฉิมนิเทศ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 102 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.3

รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษา ตอจํานวนนักศึกษา (สมศ.6.8)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.3.3 1.ชื่อ อ.กิตติวัฒน 2.ชื่อ อ.เกียรติศักดิ์

สกุล โลหะการ

โทร 3382

สกุล วันจรารัตต

โทร 1581

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 103 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.4

จํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในดานหารจัดการ ภาวะผูนํา การติดตอสื่อสาร การปรับตัว (มรส.) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

20

6

19

17

2.จํานวนกิจกรรมที่จัดขึ้นตามรายวิชาที่มีการพัฒนา ทักษะนักศึกษาฯ (2)

14

13

15

3.รวม =(1)+(2)

20

32.00

32.00

ขอมูล

1.จํานวนกิจกรรม/ โครงการที่มีการพัฒนาทักษะ นักศึกษาในดานการจัดการ ภาวะผูนํา การติดตอ

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน 1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1 – 14 15 – 19 มากกวา 19 กิจกรรม/ กิจกรรม/ กิจกรรม/ โครงการ ได 1 โครงการ ได 2 โครงการ ได 3 คะแนน คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.3.4 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

ศก.อ3.3.4.001 สรุปกิจกรรม ที่นับตามกิจกรรม/โครงการ และ นับตามรายวิชา จํานวนกิจกรรม / โครงการนับตามกิจกรรม / โครงการ ตางๆ มีโครงการประจําปที่นักศึกษาจะตองเขารวมโครงการเชน ปจฉิมนิเทศคณะฯ, โครงการแสดงผลงานสาขาตาง ๆ เปนประจําทุกป C-WORK, DUCT FUN, บําเพ็ญประโยชน เชน โครงการติวศิลปเพื่อนอง, สุขภาพชุมชน, โครงการพัฒนา ศักยภาพผูนํานักศึกษา, โครงการงานพิธีไหวครู และครอบครูชาง, โครงการของ ชมรมถายภาพ กิจกรรม / โครงการ นับตามรายวิชาตาง ๆ การเรียนการสอนจะเนนใหนักศึกษามีการจัดการแสดงภาวะผูนําการ ติดตอสื่อสาร โดยใหนักศึกษาจัดนิทรรศการหลายวิชารวมกัน เชน LINE FORM & COLOR, THAI CREATIVITY หรือบางวิชาใหนักศึกษาฝกงานนอกสถานที่ เชน โครงการถายภาพนอกสถานที่ การทัศนศึกษานอกสถานที่

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 104 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 3

กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

ตัวบงชี้ มรส.3.4

จํานวนกิจกรรมหรือโครงการที่มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในดานหารจัดการ ภาวะผูนํา การติดตอสื่อสาร การปรับตัว (มรส.)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.3.4 1.ชื่อ อ.กิตติวัฒน 2.ชื่อ อ.เกียรติศักดิ์

สกุล โลหะการ

โทร 3382

สกุล วันจรารัตต

โทร 1581

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 105 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.1

มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค (ขอ) (สกอ.4.1)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีการจัดทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนของสถาบันและสอดคลองกับ 2.มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรคทใี่ ชประโยชนไดจริง 3.มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค 4.มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย 5.มีระบบสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรคดีเดน 6.มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกรภายนอกทั้งภาครัฐเอกชนและภาคอุตสาหกรรม

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 6 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

6

6

6

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3-4 ขอได 2 มีการดําเนินการอยางนอย 5 คะแนน ขอได 3 คะแนน ได 1 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีการจัดทําระบบบริหารงานวิจัยและงานสรางสรรค เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ตามแผนของสถาบันและสอดคลองกับ คณะศิลปะและการออกแบบมีนโยบายสงเสริมใหอาจารยทํางานวิจยั และงานสรางสรรค โดยการกําหนดไวในแผนยุทธศาสตรของคณะ อีกทั้งการ ประชาสัมพันธแหลงทุนสนับสนุนทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อ ผลักดันใหอาจารยสนใจการทําวิจัยและงานสรางสรรคมากขึน้

ศก.อ4.4.1.001 1.แผนปฏิบัติงานประจําป2.ประกาศการรับสมัครทุน3.คําสั่ง แตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมงานวิจัยคณะ4.รายงาการประชุม5.แผนพัฒนา อาจารยดานการเขาสูตําแหนงทางวิชาการ6.รายงานความคืบหนาเพื่อขอตําแหนง ทางวิชาการ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 106 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.1

มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค (ขอ) (สกอ.4.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีการจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการบริหารงานวิจัย ศก.อ4.4.1.002 1.เวปไซตคณะ2.บันทึกขอความรวมมือสงขอมูลเพื่ออัพเดท และงานสรางสรรคที่ใชประโยชนไดจริง ลงเว็ปไซตคณะ คณะไดการเก็บรวบรวมผลงานวิจัยและประสานงานรวมกับสถาบันวิจัย ในการใหขอมูล เพื่อจัดฐานขอมูลเกี่ยวกับงานวิจัยเพื่อใหอาจารยของคณะได เขาศึกษาคนควาไดสะดวก โดยการจัดทําเปนฐานขอมูลผานเว็บไซตของ สถาบันวิจัยและหองสมุดของมหาวิทยาลัย รวมทั้งเว็บไซตของคณะดวย

3.มีการจัดสรรทรัพยากรการเงิน ทรัพยากรบุคคล แหลงคนควาตาง ๆ เพื่อ ศก.อ4.4.1.003 อาอิง ศก.อ.4.4.1.001 ขอ2 บันทึกการขอรับทุนสนับสนุนการ สนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรค วิจัยมหาวิทยาลัยรังสิต คณะมีการประสานงานกับสถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยรังสิต ศูนย สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน สถาบันวิจัยแหงชาติ รวมทั้งสถาบันอืน่ ๆ ที่ใหการสนับสนุนทุนวิจัยและงานสรางสรรคตางๆ โดยการประชาสัมพันธให อาจารยของคณะไดทราบ เพื่อสรางแรงจูงใจในการทําวิจัยและพัฒนาสื่อการ สอนใหเกิดประโยชนตอนักศึกษา ซึ่งยังเปนการสรางชื่อเสียงใหกับคณะศิลปะ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิตอีกทางหนึ่งดวย

4.มีระบบและกลไกพัฒนาทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย คณะไดมีนโยบายสนับสนุนใหอาจารยทุกทานเขารวมประชุมวิชาการ การสัมมนาเชิงวิชาการ ทั้งที่คณะไดดาํ เนินการจัดขึ้นเองและจากหนวยงาน ภายนอก ซึ่งจะเปนการสรางแนวทางและความเขาใจในการทําวิจัย ใหกับ อาจารยไดพัฒนางานวิจัยของตนเองอยูเสมอ รวมถึงการกําหนดใหอยูใน หลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะดวย

ศก.อ4.4.1.004 1.บันทึกขอเขารวมการอบรม 2.เอกสารการสัมนาวิชาการ" กระบวนการการทําวิจัยสายศิลปะและการออกแบบ"

5.มีระบบสรางขวัญและกําลังใจและยกยองนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและงาน สรางสรรคดีเดน คณะรวมกับสถาบันวิจัยทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยใน การยกยองอาจารยที่มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรคดีเดน เพื่อเปนการสราง ขวัญและกําลังใจ โดยมีหลักเกณฑการประเมินผลงานวิจัยและงานสรางสรรค ดีเดนใหกับคณะกรรมการประจําคณะฯ ไดพิจารณาคัดเลือกอยางเปนระบบ

ศก.อ4.4.1.005 เกณฑการประเมินผลงานดานวิจัย อางอิง ศก.อ.4.4.1.002 เวปไซตคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 107 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.1

มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค (ขอ) (สกอ.4.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 6.มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกรภายนอกทั้ง ภาครัฐเอกชนและภาคอุตสาหกรรม คณะมีการพิจารณาความรวมมือระหวางนักวิจัยจากภายนอกไมวาจะ เปนภาครัฐ เอกชนและอุตสาหกรรม โดยการประชุมหารือกับตัวแทนที่คณะได ตั้งขึ้นและนําเขาทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจําคณะ เพื่อพิจารณาในการสราง ความรวมมือตอไป ทั้งนี้คณะจะคํานึงถึงประโยชนที่จะไดรับในดานนักศึกษา คณะและมหาวิทยาลัยดวย

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.1 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

ศก.อ4.4.1.006 1.บันทึกการแตงตั้งคณะทํางานโครงการความรวมมือกับสถาน ประกอบการ 2.ความรวมมือกับองคกรภายนอก

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 108 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.2

มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค (ขอ) (สกอ.4.2)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทั้งในวงการวิชาการและการนําไปใชประโยชน 2.มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรคที่เชื่อถือไดและรวดเร็วทันตอการใชประโยชน 3.มีการสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคไปยังผูเกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกสถาบัน 4.มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคการภายนอกสถาบันเพื่อการนําผลงานไปใชประโยชน 5.มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบตั รการซื้อขายทรัพยสินทางปญญา ตลอดจนการคุมครองสิทธิของงานวิจัย หรือสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหแกนักวิจัย เจาของผลงาน

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

4

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอได 2 มีการดําเนินการอยางนอย 4 ได 1 คะแนน คะแนน ขอได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคทั้งใน ศก.อ4.4.2.001 ใบขออนุมัติจัดทําวารสารวิชาการคณะ วงการวิชาการและการนําไปใชประโยชน อางอิง ศก.อ4.4.1.001 บันทึกขอความสงบทความวิชาการเพือตีพิมพใน คณะมีนโยบายใหการสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัยและงาน วารสารวิชาการคณะ สรางสรรคของอาจารยโดยการตั้งงบประมาณในการจัดทําวารสารของคณะ การ เขารวมประชุมวิชาการและการนําเสนอผลงานวิชาการ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 109 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.2

มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค (ขอ) (สกอ.4.2) การดําเนินการ

2.มีระบบรวบรวม คัดสรร วิเคราะหและสังเคราะหความรูจากงานวิจัยและงาน สรางสรรคที่เชื่อถือไดและรวดเร็วทันตอการใชประโยชน คณะมีนโยบายสนับสนุนใหมีการรวบรวมและเผยแพรงานวิจัย โดยมี การเขารวมประชุมและนําเสนอผลงานในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยังมีการนําเสนอผลงานวิชาการกับองคกรภายนอก เปนตน

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ4.4.2.002 1.Proceedings of RSU Research Conference 2010 2.บทความเชิงวิชาการศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 3.หนังสือ Dragon Art

3.มีการสรางเครือขายเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคไปยังผูเกี่ยวของทั้ง ศก.อ4.4.2.003 อางอิง ศก.อ4.4.1.002 ขอ1เวปไซตคณะ ภายในและภายนอกสถาบัน อางอิง ศก.อ4.4.1.006 คณะมีการสรางเครือขายการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคของ อางอิง ศก.อ4.4.2.002 อาจารย โดยการรวมมือกับสถาบันวิจัย สํานักงานวางแผนพัฒนา ศูนย สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน สํานักงานมาตรฐานวิชาการ ในการ นําเสนอผลงานเขารวมกับการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้คณะ ไดมีการสรางความรวมมือกับมหาวิทยาลัยอื่นและหนวยงานภาครัฐในการ เผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคของอาจารยอีกดวย ไดแก มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร เปนตน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 110 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.2

มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค (ขอ) (สกอ.4.2) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

4.มีระบบและกลไกการสนับสนุนความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคการ ภายนอกสถาบันเพื่อการนําผลงานไปใชประโยชน คณะรวมกับองคการภายนอกสถาบันเชน ออกแบบภาพประกอบสมุด บันทึกกําลังใจในพระดําริพระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา ประจําป 2553 สถาบันคีนนั ทแหงเอเชีย ในการสนับสนุนใหเกิดการวิจัยผลงานที่สามารถ ใชประโยชนได เชน การตนแบบในการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน เพื่อใหเกิดการ พัฒนาอาชีพและสินคาใหมๆ การออกแบบภาพประกอบหนังสือนิทานกุดจี่ อยาก มีเพื่อน สําหรับเด็กปฐมวัย อายุ 3-6 ป การออกแบบศูนยฟอกไตเปนตน

ศก.อ4.4.2.004 1.สมุดบันทึกกําลังใจในพระดําริพระเจาหลานเธอ พระองคเจา พัชรกิติยาภา ประจําป 2553 2. โครงการความรวมมือการฝกปฏิบัตกิ ารพัฒนาผลิตภัณฑกระจูดรวมกับ สถาบันคีนันแหงเอเซีย 3.โครงการออกแบบภาพประกอบหนังสือนิทานกุดจี่อยากมีเพื่อนสําหรับเดกปฐม วัย อายุ 3-6 ป 4. การออกแบบศูนยฟอกไตศูนยฟอกไต เอเอ็มดี ไดอานาซีสสรีสอรท จ.ปทุมธานี 5. การออกแบบโรงแรมรัศมีพลาซาสาธารณรัฐประชาชนลาว 6.งานออกแบบ BEE BEE FITNESS & SERVICE APATMENT นครเวียงจันทร 7.งานออกแบบ ADRIN PUB &RESTAURANTสาธารณรัฐประชาชนลาว 8. งานออกแบบ SABAYDEE CENTER(PUB & RESTAURANT)สาธารณรัฐ ประชาชนลาว 9.งานออกแบบ BREAD FACTORYสาธารณรัฐประชาชนลาว 10. การทําภาพยนตรโฆษณา “ บุญเปงและรีสอรท”สํานักงานกปร. 11.งานออกแบบรายการ "ยกสยาม"บริษัทเวอรพอยท 12.ออกแบบอาคารเกาอาคารกรมสรรพากร 13.งานออกแบบ "trayble" กระทรวงอุตสาหกรรม 14. งานสิ่งประดิษฐ การทํางานสรางสรรคในหัวขอ "กินรีเลนน้ํา" 15. งานสิ่งประดิษฐ การทํางานสรางสรรคในหัวขอ "Sexualism" 16.งานสิ่งประดิษฐสรางสรรคประติมากรรม รูปเหมือนคนจริงหัวขอ " พอของพอ" และ "แมของพอ" 17.งานสิ่งประดิษฐ "ลมตะวันออก" 18. งานสิ่งประดิษฐ เครื่องเคลือบดินเผา "เบิ่งอีสานผานฮีต" 19. งานสิ่งประดิษฐ "หลายชอง" 20.งานจิตรกรรม"สีสันความประทับใจในทิวทัศน" 21.ออกแบบตราสัญลักษณชาเชียงราย สํานักงานอุตสาหกรรมเชียงราย 22.ออกแบบตราสัญลักษณ DO-ME-RADIO 23. ออกแบบตราสัญลักษณ EASY PASS บริษัททางดวนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 24. ออกแบบตราสัญลักษณ อุทยานเขียวน้ําใสทรายขาว กรมอุทยายสัตวปา และ พันธุพืช 25.ออกแบบตราสัญลักษณกองทุนพัฒนาสหกรณ โดยกรมสงเสริมสหกรณ 26. ออกแบบตราสัญลักษณ Greater Mekong Sub-Region Journal of Science

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 111 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.2

มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค (ขอ) (สกอ.4.2) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 27. ออกแบบตราสัญลักษณ 36 ป กรมวชิการการเกษตร 28. ออกแบบตราสัญลักษณ วิทยาลัยนาโนเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 29.ออกแบบตราสัญลักษณ โครงการแรงงานปลอดภัยสุขภาพดี กรมแรงงาน 30.ออกแบบตราสัญลักษณบัตร EASY PASS บริษัทขนสงจํากัด 31. ออกแบบตราสัญลักษณ ศูนยธุรกิจไทย-จีน ประจํานครหนานหนิง 32. ออกแบบตราสัญลักษณ DOA COFFEE กรมวิชาการเกษตร 33. ออกแบบตราสัญลักษณศูนยบริรกั ษ รพ.ศิริราช 34.ออกแบบตราสัญลักษณกีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน 35.ออกแบบตราสัญลักษณโครงการอุตสาหกรรมเพื่อสรางงานอยางยั่งยืน ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต โดย ศอบต. 36.ออกแบบตราสัญลักษณ โครงการสุโขทัย เมืองประวัติศาสตรปลอดบุหรี่ 37. ออกแบบตราสัญลักษณ ปอดสะอาดปราศจากโรค โดยสมาคมปองงกันวัณ โรค 38.ออกแบบโล เพื่อเชิดชูพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ในงานการประชุม โภชนาการโลก 39.ออกแบบตราสัญลักษณ โครงการ Carbon Footprint 40.ออกแบบตราสัญลักษณ ม.อ.วิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

5.มีกลไกสนับสนุนการจดสิทธิบตั รการซื้อขายทรัพยสินทางปญญา ตลอดจน ศก.อ4.4.2.005 1.รางระเบียบมหาวิทยาลัยรังสิตวาดวยการจัดการทรัพยสินทาง ปญญา 2.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยรังสิต การคุมครองสิทธิของงานวิจัย หรือสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหแกนักวิจัย เจาของผลงาน 3.เอกสารการจดสิทธิบัตร คณะใหการสนับสนุนการจดสิทธิบัตรเพื่อใหเกิดความเปนธรรมแก เจาของผลงาน โดยตองมีการขออนุญาตเปนลายลักษณอักษรในการที่จะนําไป เผยแพรหรือประโยชนอื่นใดใหกับเจาของ ซึ่งเปนสิทธิ์ที่เจาของจะอนุญาตหรือไม เทานั้น

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.2 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 112 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.3

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา (สกอ.4.3) (สมศ.2.2) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1000

65

63

71

2.เงินสนับสนุนงานวิจัยของสถาบัน (2)

125550

4000

243900

3.เงินสนับสนุนงานสรางสรรคของสถาบัน (3)

307000

30000

451000

0

0

0

จํานวนเงิน สนับสนุน งานวิจัยและ งานสรางสรรค ของสถาบัน 19,999 บาท ของจํานวน อาจารย ประจํา และ นักวิจัยได 1 คะแนน

จํานวนเงิน สนับสนุน งานวิจัยและ งานสรางสรรค ของสถาบัน 10,00014,999 บาท ของจํานวน อาจารย ประจํา และ นักวิจัยได 2 คะแนน

5.รวม (5) = (2)+(3)+(4)

432550

34000

694900

จํานวนเงิน สนับสนุน งานวิจัยและ งานสรางสรรค ของสถาบัน มากกวาหรือ เทา 15,000 บาท ของ จํานวน อาจารย ประจํา และ นักวิจัยได 3 คะแนน

6.เงินสนับสนุนงานวิจัย งานสรางสรรค และ นวัตกรรมตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย

6654.61

3020

9,787.32

ขอมูล

1.จํานวนอาจารยและนักวิจัย(ไมนับรวมผูที่ลาศึกษา ตอ) (1)

4.เงินสนับสนุนนวัตกรรมของสถาบัน (4)

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

2

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 113 มหาวิทยาลัยรังสิต

2


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.3

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา (สกอ.4.3) (สมศ.2.2) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ปการศึกษา 2552 คณะะศิลปะและการออกแบบไดรับเงินสนับสนุนจากภายใน สถาบันเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 694,900บาท คิดเปนเงินสนับสนุนตจํานวน อาจารยประจํา เปนจํานวนเงิน9787.32 บาท /คน

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.3 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

ศก.อ4.4.3.001 1.ใบรายชื่อจํานวนอาจารย 2.ใบขออนุมัติงบประมาณโครงการชางการตูน 2 มิติ 3.ใบขออนุมัติงบประมาณโครงการวิจยั การสรางเอกลักษณไทยในสถาน ประกอบการสปาเพื่อสุขภาพ 4. การออกแบบตราโลโกของศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยรังสิต 5. การออกแบบปกหนังสือ "Processding of RSU Research Conference 2009" 6. โครงการออกแบบตกแตงภายในอาคารนิเทศศาสตร 7.การสรางงานศิลปะรวมสมัยโดยอาศัยเทคนิคคอมพิวเตอร ชวยในการนําเสนอ Computer For Contemporary Art 8. วิจัย "น้ําเคลือบเครื่องเคลือบดินเผาที่มีสวนผสมขี้เถา เปลือกทุเรียนที่มีผลตอผลิตภัณฑเครื่องเคลือบดินเผา ประเภทเนื้อดินสโตนแวรในชวงอุณหภูมิ 1200-1230 องศาเซลเซียส" 9.ทุนวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสื่อe-Leaning วิชาART102

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 114 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.4

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา (สกอ.4.3) (สมศ.2.3) ขอมูล

1.จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย(ไมนับรวมผูที่ ลาศึกษาตอ) (1) 2.เงินสนับสนุนงานวิจัยจากภายนอกสถาบัน (2)

3.เงินสนับสนุนงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบัน (3) 4.เงินสนับสนุนนวัตกรรมจากภายนอกสถาบัน (4)

5.รวม (5)= (2)+(3)+(4)

เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

30000

65

63

71

392039.27

186250

0

จํานวนเงิน สนับสนุน งานวิจัยและ งานสรางสรรค ภายนอก สถาบัน 16,999 บาท ของจํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัยได 1 คะแนน

จํานวนเงิน สนับสนุน งานวิจัยและ งานสรางสรรค ภายนอก สถาบัน 7,000-9,999 บาท ของ จํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัยได 2 คะแนน

จํานวนเงิน สนับสนุน งานวิจัยและ งานสรางสรรค ภายนอก สถาบัน มากกวาหรือ เทากับ 10,000 บาท ของจํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัยได 3 คะแนน

27956345.25 27656345.25

0

45939.07

5034200

0

28142595.25 27842595.25

6.เงินสนับสนุนงานวิจัย งานสรางสรรค และ นวัตกรรมตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย

เกณฑการประเมิน

446707.86

0

5034200

70,904.23

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.4 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 115 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.4

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา (สกอ.4.3) (สมศ.2.3) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบไดรับเงินสนับสนุนจากภายนอก ศก.อ4.4.4.001 โครงการออกแบบบานพักรวมสมัยสไตลฝรั่งเศส อางอิง ศก.อ4.4.2.004 ... สถาบัน เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 5,034,200 บาท คิดเปนเงินสนับสนุนตอจํานวน อาจารย 70,904.23 บาท/คน

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.4 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 116 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.5

รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแผ ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา หรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้ง ในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอ จํานวนอาจารยประจํา (สกอ.4.4) (สมศ.2.1) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

65

63

71

รอยละ 119.99 ได 1 คะแนน

รอยละ 2029.99 ได 2 คะแนน

2.งานวิจัยและงานสรางสรรคและนวัตกรรมที่ตีพิมพ เผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสนิ ทางปญญา หรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนในระดับชาติ และนานาชาติ (2) =(3)+(4)

30

18

36

มากกวาหรือ เทากับรอยละ 30 ได 3 คะแนน

3.ในระดับชาติ (3)

22

16

30

4.ในระดับนานาชาติ (4)

8

2

6

46.15

28.57

50.70

1.จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย (ไมนับรวมผูที่ ลาศึกษาตอ) (1)

5.รอยละของงานวิจัย และงานสรางสรรคฯ ตอ จํานวนอาจารยประจํา (5) =[(2)/(1)]*100

รอยละ 30

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.5 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 117 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.5

รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแผ ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา หรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้ง ในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอ จํานวนอาจารยประจํา (สกอ.4.4) (สมศ.2.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีงานวิจัยและงานสรางสรรค ศก.อ4.4.4.001 โครงการอกแบบบานพักรวมสมัยสไตลฝรั่งเศส หรือนําไปใชประโยชนระดับชาติ 30 ผลงาน ระดับนานาชาติ 6 ผลงาน คิดเปน อางอิง ศก.อ4.4.2.002 ... อางอิงศก.อ4.4.2.004 ... งานวิจัยและงานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจํารอยละ 50.7 อางอิง ศก.อ4.4.3.001 ...

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.5 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 118 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.6

รอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย (สมศ.2.4) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4

4

28

2.จํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัย(ไมนับรวม อาจารยประจํา และนักวิจัยที่ลาศึกษาตอ) (2)

65

63

71

3.รอยละของอาจารยประจํา และนักวิจัยที่ไดรับทุน วิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง

6.15

6.35

39.44

อาจารย ประจําไดรับ ทุนวิจัย และ งานสรางสรรค ภายในสถาบัน รอยละ 1-24 ของจํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัย ได 1 คะแนน

อาจารย ประจําไดรับ ทุนวิจัย และ งานสรางสรรค ภายในสถาบัน รอยละ 25-39 ของจํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัย ได 2 คะแนน

อาจารย ประจําไดรับ ทุนวิจัย และ งานสรางสรรค ภายในสถาบัน มากกวาหรือ เทากับ รอยละ 40 ของจํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัย ได 3 คะแนน

1.จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย ที่ไดรับทุนวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบัน (1)

รอยละ 5

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.6 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

4

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีอาจารยที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบัน จํานวน 28 ทาน คิดเปนรอยละ 34.43 ของอาจารยประจํา และนักวิจัยที่ไดรบั ทุนวิจัย หรืองานสรางสรรคจากภายใน สถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ4.4.6.001 อางอิง ศก.อ4.4.3.001

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 119 มหาวิทยาลัยรังสิต

4


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.6

รอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย (สมศ.2.4)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.6 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 120 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.7

รอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค หรือนวัตกรรมจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจําและ นักวิจัย (สมศ.2.5) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

16

13

21

2.จํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัย(ไมนับรวม อาจารยประจํา และนักวิจัยที่ลาศึกษาตอ) (2)

65

63

71

3.รอยละของอาจารยประจําและนักวิจยั ที่ไดรับทุน ทําวิจัยหรืองานสรางสรรค หรือนวัตกรรมจาก ภายนอก ตอจํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัยที่ ปฏิบัติงานจริง

24.61

20.63

29.58

อาจารย ประจําไดรับ ทุนวิจัย และ งานสรางสรรค ภายนอก สถาบัน รอย ละ 1-14 ของ จํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัย ได 1 คะแนน

อาจารย ประจําไดรับ ทุนวิจัย และ งานสรางสรรค ภายนอก สถาบัน รอย ละ 15-19 ของ จํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัย ได 2 คะแนน

อาจารย ประจําไดรับ ทุนวิจัย และ งานสรางสรรค ภายนอก สถาบัน มากกวาหรือ เทากับ รอยละ 20 ของจํานวน อาจารย ประจําและ นักวิจัย ได 3 คะแนน

1.จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยทีไ่ ดรับทุนทํา วิจัยหรืองานสรางสรรค หรือนวัตกรรมจากภายนอก (1)

รอยละ 20

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.7 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีอาจารยประจําและนักวิจัย ศก.อ4.4.7.001 อางอิง ศก.อ4.4.2.004 ที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค หรือนวัตกรรมจากภายนอกสถาบัน จํานวน อางอิง ศก.อ4.4.3.001 ... 21 ทาน คิดเปนรอยละ 29.58 ของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัย หรืองานสรางสรรค หรือนวัตกรรมจากภายนอก ตอจํานวนอาจารยประจํา และ นักวิจัยที่ปฏิบัติงานจริง

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 121 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.7

รอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรค หรือนวัตกรรมจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจําและ นักวิจัย (สมศ.2.5)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.7 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 122 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.8

จํานวนโครงการวิจัย งานสรางสรรค และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (มรส.) ขอมูล

1.จํานวนโครงการวิจัย (1)

2.จํานวนงานสรางสรรค (2)

เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550

2551

2552

9

3

5

1

8

13

8

0

0

18.00

9.00

3.จํานวนนวัตกรรม (3)

11

4.รวม (1)+(2)+(3)

เกณฑการประเมิน 1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1–5 6–9 มากกวา 10 โครงการ/ป ได โครงการ/ป ได โครงการ/ป ได 3 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.8 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

3

คะแนนรวม

3

หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

อางอิง ศก.อ4.4.8.001 ... ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบไดสนับสนุนใหทํา โครงการวิจัย งานสรางสรรค และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน จํานวน ทั้งสิ้น 9 โครงการ แบงเปนโครงการวิจยั จํานวน 1 โครงการ และงานสรางสรรค จํานวน 8 โครงการ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.8 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย

สกุล สารพัฒน

2.ชื่อ สกุล รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 123 มหาวิทยาลัยรังสิต

โทร 3401 โทร


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.9

รอยละของจํานวนผลงานวิจัยของอาจารย และนักศึกษาปริญญาตรี/โท/เอก ที่นําเสนอในงานประชุมวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ (มรส.) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2551

2552

63

71

2.ผลงานวิจัยในระดับชาติ (3)

13

27

3.ผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ (4)

1

0

4.รวม(2) = (3)+(4)

14

27

22.22

38.03

1.จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย (ไมนับรวมที่ลา ศึกษาตอ)

2550

เกณฑการประเมิน

รอยละ 3

5.รอยละ = (2)/(1)*100

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 1-2 ได รอยละ 3-4 ได มากกวารอย ละ 4 ได 3 1 คะแนน 2 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.9 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

ศก.อ4.4.9.001 หนังสือการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ประจําป ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบจํานวนผลงานวิจัยของ อาจารย และปริญญาโท ที่นําเสนอในงานประชุมวิชาการในประเทศ จํานวน 27 การศึกษา2552 ผลงาน คิดเปนรอยละ 38.03 ของจํานวนผลงานวิจัยของอาจารย และนักศึกษา อางอิง ศก.อ4.4.2.002ขอ1 หนา 266-272 หนา 273-279 ปริญญาโท ที่นําเสนอในงานประชุมวิชาการในประเทศ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 124 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.9

รอยละของจํานวนผลงานวิจัยของอาจารย และนักศึกษาปริญญาตรี/โท/เอก ที่นําเสนอในงานประชุมวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ (มรส.)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.9 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 125 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.10

รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด (สมศ.1.7) (ถามี) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

12

13

25

2.จํานวนบทความจากวิทยานิพนธที่ตพี ิมพเผยแพร

12

13

25

3..รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโท ที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโท ทั้งหมด

100

100.00

100.00

บทความจาก วิทยานิพนธ ปริญญาโทที่ ตีพิมพเผยแพร รอยละ 1-19 ของจํานวน วิทยานิพนธ ปริญญาโท ทั้งหมด ได 1 คะแนน

บทความจาก วิทยานิพนธ ปริญญาโทที่ ตีพิมพเผยแพร รอยละ 20-29 ของจํานวน วิทยานิพนธ ปริญญาโท ทั้งหมด ได 2 คะแนน

บทความจาก วิทยานิพนธ ปริญญาโทที่ ตีพิมพเผยแพร มากกวาหรือ เทากับ รอยละ 30 ของจํานวน วิทยานิพนธ ปริญญาโท ทั้งหมด ได 3 คะแนน

1.จํานวนวิทยานิพนธปริญญาโท

รอยละ 30

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.10 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ มีบทความจากวิทยานิพนธ ปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด จํานวน 25บทความ คิดเปน 100 เปอรเซ็นตของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง อางอิง ศก.อ4.4.10.001 ...

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 126 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.10

รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด (สมศ.1.7) (ถามี)

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ 2.ชื่อ

ตัวบงชี้ มรส.4.10

สกุล

โทร

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 127 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.11

รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด (สมศ.1.8) (ถามี) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

1.จํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอก

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550

เกณฑการประเมิน

2551

2552

รอยละ

2.จํานวนบทความจากวิทยานิพนธที่ตพี ิมพเผยแพร

3.รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอก ที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอก ทั้งหมด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

บทความจาก วิทยานิพนธ ปริญญาเอกที่ ตีพิมพเผยแพร รอยละ 1-39 ของจํานวน วิทยานิพนธ ปริญญาเอก ทั้งหมด ได 1 คะแนน

บทความจาก วิทยานิพนธ ปริญญาเอกที่ ตีพิมพเผยแพร รอยละ 40-59 ของจํานวน วิทยานิพนธ ปริญญาเอก ทั้งหมด ได 2 คะแนน

บทความจาก วิทยานิพนธ ปริญญาเอกที่ ตีพิมพเผยแพร มากกวาหรือ เทากับ รอยละ 60 ของจํานวน วิทยานิพนธ ปริญญาเอก ทั้งหมด ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.11 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

คะแนนอิงเกณฑ

คะแนนอิงพัฒนาการ

คะแนนอิงพัฒนาการ

คะแนนอิงเปาหมาย

คะแนนอิงเปาหมาย คะแนนรวม การดําเนินการ

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 128 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.11

รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด (สมศ.1.8) (ถามี)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.11 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 129 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.12

ปจจัยสนับสนุนที่เอื้ออํานวยตอการวิจัย และนักวิจัย อาทิ หนวยใหการสนับสนุนนักวิจัย/ระบบพี่เลี้ยง/มาตรการจูงใจใหบุคลากรทํางานวิจัย/ การฝกอบรมทักษะการวิจัย (มรส.)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีคณะกรรมการ/หนวยงานรับผิดชอบในการใหคําปรึกษา สงเสริมและ/หรือพิจารณาใหทุนการวิจัย 2.มีระเบียบการพิจารณาการสนับสนุนการทําวิจัย และการสรางแรงจูงใจใหอาจารยและบุคลากรทําการวิจัยมากขึ้น 3.มีแหลงทุนการทําวิจัยและจํานวนเงินในการสนับสนุนการทําวิจัย 4.มีโครงการฝกอบรมทักษะการทําวิจัยใหกับนักวิจัยรุนใหมและเพิ่มพูนประสบการณในการพัฒนาองคความรูใหกับนักวิจัยที่มีประสบการณอยาง ตอเนื่อง 5.มีระบบฐานขอมูลและเครือขายขอมูลสารสนเทศเพื่อการวิจัย 6.มีระบบนักวิจัยพี่เลี้ยง และนักวิจยั ที่ปรึกษา

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

6

6

6

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการ 1-2 ขอได 1 มีการดําเนินการ 3-4 ขอได 2 มีการดําเนินการ 5-6 ขอได 3 คะแนน คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.4.12 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีคณะกรรมการ/หนวยงานรับผิดชอบในการใหคาํ ปรึกษา สงเสริมและ/หรือ ศก.อ4.4.12.001 อางอิง ศก.อ4.4.1.001 ขอ3 พิจารณาใหทุนการวิจัย อางอิง ศก.อ4.4.1.004 คณะศิลปะและการออกแบบมีการประสานความรวมมือกับสถาบันวิจัย สํานักงานวางแผนพัฒนาคุณภาพ และคณะกรรมการวิจัยมหาวิทยาลัยรังสิต ใน การจัดโครงการฝกอบรมและการใหขอมูลการทําวิจัย เพื่อสงเสริมใหเกิดการทํา วิจัยอยางตอเนื่อง

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 130 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.12

ปจจัยสนับสนุนที่เอื้ออํานวยตอการวิจัย และนักวิจัย อาทิ หนวยใหการสนับสนุนนักวิจัย/ระบบพี่เลี้ยง/มาตรการจูงใจใหบุคลากรทํางานวิจัย/ การฝกอบรมทักษะการวิจัย (มรส.) การดําเนินการ

2.มีระเบียบการพิจารณาการสนับสนุนการทําวิจัย และการสรางแรงจูงใจให อาจารยและบุคลากรทําการวิจัยมากขึน้ คณะสรางแรงจูงใจใหอาจารยและบุคลากรในการทําวิจัย ดวยการระบุ ในเกณฑการประเมินผลงานของบุคลากร เพื่อใหเกิดขวัญและกําลังใจแก อาจารยและบุคลากรที่ทาํ งานวิจัย อีกทั้งเปนการสนับสนุนใหมีงานวิจัยอยาง ตอเนื่อง

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ4.4.12.002 อางอิง ศก.อ4.4.1.005

3.มีแหลงทุนการทําวิจัยและจํานวนเงินในการสนับสนุนการทําวิจัย ศก.อ4.4.12.003 อางอิง ศก.อ4.4.1.001 ขอ2 ประกาศรับสมัครทุน คณะมีการประชาสัมพันธแหลงเงินทุนใหกับอาจารยและบุคลากรที่ สนใจทําวิจัย ทั้งจากภายในมหาวิทยาลัย ไดแก สถาบันวิจัย ศูนยสนับสนุนการ เรียนการสอน สํานักงานวางแผนพัฒนาคุณภาพ และจากภายนอก ไดแก สถาบันวิจัยแหงชาติ มหาวิทยาลัยขอนแกน สํานักงานวิจัยแหงชาติเปนตน

4.มีโครงการฝกอบรมทักษะการทําวิจยั ใหกับนักวิจัยรุนใหมและเพิ่มพูน ประสบการณในการพัฒนาองคความรูใ หกับนักวิจัยที่มีประสบการณอยาง ตอเนื่อง คณะไดมีการจัดโครงการฝกอบรมทักษะการทําวิจัยใหกับอาจารยรนุ ใหม และยังสนับสนุนใหอาจารยที่ยังไมเคยทําวิจัยไดไปเขาอบรมการทําวิจัย เชน การเขารวมการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย การจัดสัมนาวิชาการ กระบวนการวิจัยสายศิลปะและการออกแบบ เปนตน

ศก.อ4.4.12.004 อางอิง ศก.อ4.4.1.004

5.มีระบบฐานขอมูลและเครือขายขอมูลสารสนเทศเพื่อการวิจัย มหาวิทยาลัยมีการจัดฐานขอมูลเพื่อเก็บผลงานวิจัยและสะดวกในการ คนควาขอมูล ซึ่งคณะศิลปะและการออกแบบไดมีการประชาสัมพันธใหกับ อาจารยทุกทานทราบ รวมถึงการสรางเว็บไซตเพื่อจัดเก็บขอมูลผลงานวิจัยและ งานสรางสรรคของอาจารยและนักศึกษาของคณะดวย

ศก.อ4.4.12.005 อางอิง ศก.อ4.4.1.002

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 131 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 4

การวิจัย

ตัวบงชี้ มรส.4.12

ปจจัยสนับสนุนที่เอื้ออํานวยตอการวิจัย และนักวิจัย อาทิ หนวยใหการสนับสนุนนักวิจัย/ระบบพี่เลี้ยง/มาตรการจูงใจใหบุคลากรทํางานวิจัย/ การฝกอบรมทักษะการวิจัย (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

6.มีระบบนักวิจัยพี่เลี้ยง และนักวิจัยที่ปรึกษา ศก.อ4.4.12.006 1.เอกสารการเขารวมโครงการสัมนาและสรางเครือขายนักวิจัยพี่ คณะไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมดานการวิจัยของคณะขึน้ เพื่อ เลี้ยง อางอิงศก.อ4.4.1.001 ขอ3 คําสัง่ แตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมกรรมการวิจัย ทําหนาที่เปนพี่เลี้ยงและใหคําปรึกษาแกอาจารยที่เปนนักวิจัยรุนใหม รวมถึงการ คณะ สรางสรรคผลงานวิจัยใหเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.4.12 1.ชื่อ อ.ลัดดาวัลย 2.ชื่อ

สกุล สารพัฒน

โทร 3401

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 132 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.1

มีระบบและกลไกในการบริหารทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน (ระดับ) (สกอ.5.1)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการ แกสังคม 2.มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการวิชาการแกสังคมตามแผนที่กําหนด 3.มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการแกสังคม 4.มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด 5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคม 6.มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการแกสังคมเขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 7.มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุงความเชื่อมโยง และ บูรณาการระหวางการบริการวิชาการแกสังคมกับภารกิจอืน่ ๆ ของสถาบัน

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

6

6

7

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 5 แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ขอแรกได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.5.1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการวิชาการ แกสังคม มีการจัดทํานโยบาย แผนกลยุทธ และแผนดําเนินงานของการบริการ วิชาการแกสังคม คณะมีนโยบาย แผนกลยุทธและแผนการดําเนินงานของการ บริการวิชาการสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร การพัฒนาของมหาวิทยาลัย และ แผนปฏิบัติงานประจําป

ศก.อ1.1.1.002 แผนกลยุทธการพัฒนมหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ. 2550-2554 (ฉบับ ปรับปรุง) (มรส.สวผ.005) แผนกลยุทธของคณะศิลปะและการออกแบบ ศก.อ1.1.1.004 แผนปฏิบตั ิการของคณะศิลปะและการออกแบบ (Acton plan) ศก.อ5.5.1.001 ระเบียบมหาวิทยาลัยรังสิตวาดวยการใหบริการทางวิชาการ พ.ศ. 2549

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 133 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.1

มีระบบและกลไกในการบริหารทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน (ระดับ) (สกอ.5.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการวิชาการแก สังคมตามแผนที่กาํ หนด มีคณะกรรมการ คณะทํางานหรือหนวยงานดําเนินการใหบริการทาง วิชาการแกสังคมตามแผนที่กาํ หนด

ศก.อ5.5.1.002 คําสั่งคณะศิลปะและการออกแบบ แตงตั้งคณะกรรมการบริการ วิชาการ ศก.อ5.5.1.003 ประกาศมหาวิทยาลัย การจัดตั้งและดําเนินการหนวยธุรกิจ ใหบริการวิชาการ

3.มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการวิชาการแกสังคม มีการกําหนดหลักเกณฑและหรือระเบียบในการใหบริการทางวิชาการ แกสังคม

ศก.อ5.5.1.004 ประกาศมหาวิทยาลัยรังสิต การกําหนดและการจัดสรรคาบริการ วิชาการผานศูนยบริการทางวิชาการ

4.มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กําหนด มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กาํ หนด

ศก.อ1.1.1.004 แผนปฏิบตั ิการของคณะศิลปะและการออกแบบ (Acton plan)

5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการวิชาการแกสังคม ศก.อ5.5.4.001 สรุปกิจกรรมที่มีการประเมินระดับความพึงพอใจในการบริการ มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการทางวิชาการแกสังคม เปน และกิจกรรมที่สรุปรายงานการดําเนินการ การนําผลจากการประเมินผุรบั บริการ สรุป เพื่อใชเปนขอมูลในการดําเนินการ ครั้งตอไป

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 134 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.1

มีระบบและกลไกในการบริหารทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน (ระดับ) (สกอ.5.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 6.มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการแกสังคม เขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีการจัดทําแผนการเชื่อมโยงและบูรณาการการบริการทางวิชาการแก สังคมเขากับการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ศก.อ5.5.5.001 สรุปกิจกรรมที่มีการนําความรูจากการบริการวิชาการมาใชในการ พัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย

7.มีการประเมินสัมฤทธิผลและนําผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุงความ เชื่อมโยง และ บูรณาการระหวางการบริการวิชาการแกสังคมกับภารกิจอื่น ๆ ของสถาบัน การเชื่อมโยงและบูรณาการระหวางการบริการทางวิชาการแกสังคมกับ ภารกิจอื่นๆของสถาบันดานอาคารสถานที่ เกี่ยวกับ Signage , ตราสัญลักษณ มหาวิทยาลัย กิจกรรมตัดสินการประกวดเชิงออกแบบตาง ๆ

ศก.อ5.5.1.005 รายละเอียดกิจกรรมการบริการวิชาการ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.5.1 1.ชื่อ นางชุติมา 2.ชื่อ

สกุล อาจไชยชาญ

โทร 3376

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 135 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.2

รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปน กรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา (สกอ.5.2) (สมศ.3.2) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

65

66

72

2.จํานวนอาจารยที่เปนกรรมการวิทยานิพนธ ภายนอกสถาบัน

38

48

65

3.ในระดับชาติ (3)

34

45

57

4.ในระดับนานาชาติ (4)

4

3

8

58.46

72.73

90.28

1.จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด (1)

5.จํานวนอาจารยที่เปนกรรมการวิทยานิพนธ ภายนอกสถาบัน

รอยละ 25

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

อยูระหวาง รอยละ 15-24 มากกวาหรือ รอยละ 1-14 ได 2 คะแนน เทากับรอยละ 25 ได 3 ได 1 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.5.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีอาจารยรม 72 คน ใน 6 สาขาวิชา มีสวนรวมในการบริการวิชาการ จํานน 65 คน คิดเปนรอยละ 90.27 ของจํานวนอาจารยประจํา

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ5.5.2.001 สรุปกิจกรรมอาจารยที่มี่สวนรรวมในการบริการทางวิชาการ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 136 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.2

รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปน กรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา (สกอ.5.2) (สมศ.3.2)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.5.2 1.ชื่อ นางชุติมา 2.ชื่อ

สกุล อาจไชยชาญ

โทร 3376

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 137 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.3

รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนอง ความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา (สกอ.5.3) (สมศ.3.1) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

65

63

71

2.จํานวนกิจกรรม/โครงการบริการแก

85

100

130

3.ในระดับชาติ (3)

82

96

124

4.ในระดับนานาชาติ (4)

3

4

6

130.76

158.73

183.10

1.จํานวนอาจารยประจํา(ไมนับรวมอาจารยประจําที่ ลา

5.รอยละของกิจกรรมของอาจารยประจําโครงการฯ ตอจํานวนอาจารยประจํา (5)=((2)/(1))*100

รอยละ 30

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

อยูระหวาง รอยละ 20-29 มากกวาหรือ รอยละ 1-19 ได 2 คะแนน เทากับรอยละ 30 ได 3 ได 1 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.5.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ ปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีกิจกรรมโครงการบริการ วิชาการ 130 กิจกรรม มีอาจารยประจําจํานวน 72 คน ลาตอ 1 คน รอยละ ของกิจกรรมตอจํานวนอาจารยประจํา = 183.09 (130/71*100)

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ5.5.3.001 สรุปกิจกรรมป 2552 ตอจํานวนอาจารยประจํา

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 138 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.3

รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนอง ความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจํา (สกอ.5.3) (สมศ.3.1)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.5.3 1.ชื่อ นางชุติมา 2.ชื่อ

สกุล อาจไชยชาญ

โทร 3376

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 139 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.4

รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ (สกอ.5.4) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2551

2552

281

516

2.จํานวนผูท ี่ไดรับความพึงพอใจดานกระบวนการ ขั้นตอนการใหบริการ (2)

281

516

3.ดานเจาหนาที่ใหบริการ (3)

280

480

4.ดานสิ่งอํานวยความสะดวก (4)

280

481

5.ดานคุณภาพการใหบริการ (5)

281

514

6.ดานบทบาทการเปนผูเตือนสติสังคม (6)

22

492

7.ดานการชี้นําสังคม (7)

157

492

8.ดานการตอบสนองตอความตองการ

281

492

9.จํานวนผูท ี่ไดรับความพึงพอใจเฉลี่ย (9)=[(2)+(3)+(4)+(5)+(6)+(7)+(8)]/7

226

495.28571428

80.43

95.99

1.จํานวนผูต อบแบบสํารวจทั้งหมด (1)

10.รอยละของผูที่มีความพึงพอใจการใหบริการตอ จํานวนผูตอบแบบสํารวจทั้งหมด (10)=[(9)/(1)]*100

2550

เกณฑการประเมิน

รอยละ 80

91.9

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 65-74 รอยละ 75-84 มากกวาหรือ ได 1 คะแนน ได 2 คะแนน เทากับรอยละ 85 ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.5.4 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

รายงานการประกั ณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ ทยาลัยรังสิต 140 คะแนนอิงเปนาคุหมาย 1 คะแนนอิมหาวิ งเปาหมาย คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

1 5


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.4

รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ (สกอ.5.4) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริการทางวิชาการแกสังคม เปนการนํา ศก.อ5.5.4.001 สรุปกิจกรรมที่มีการประเมินระดับความพึงพอใจในการบริการ และ ผลจากการประเมินผุรับบริการ สรุป เพื่อใชเปนขอมูลในการดําเนินการครั้งตอไป กิจกรรมที่สรุปรายงานการดําเนินการ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.5.4 1.ชื่อ นางชุติมา 2.ชื่อ

สกุล อาจไชยชาญ

โทร 3376

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 141 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.5

มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการและวิชาชีพ มาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย (ระดับ) (สมศ.3.3)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีแผนในการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการเรียนการสอนและการวิจัย 2.มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ และวิชาชีพมาใชในการเรียนการสอนอยางนอย 1โครงการ 3.มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ และวิชาชีพมาใชในการวิจัยอยางนอย 1 โครงการ 4.มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ และวิชาชีพมาใชในการเรียนการสอนและการวิจัยอยางนอย 1 โครงการ 5.มีการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนหรือการวิจัยกับการบริการวิชาการ/วิชาชีพอยางนอย 1 โครงการ

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

4

5

2 คะแนน

มีแผนในการนําความรูและ มีขอ (1) + มีการนําความรู ประสบการณจากการบริการ และประสบการณจากการ วิชาการและวิชาชีพมาใชใน บริการวิชาการ และวิชาชีพ การเรียนการสอนและการ มาใชในการเรียนการสอน อยางนอย 1 โครงการ ได 2 วิจัย ได 1 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.5.5 ผลการประเมินตนเอง

3 คะแนน มีขอ (2) + มีระดับคุณภาพ มากกวาหรือเทากับ 3 ได 3 คะแนน

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีแผนในการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมา ใชในการเรียนการสอนและการวิจัย คณะฯ มีการกําหนดตัวบงชี้การดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของ แตละตัวบงชี้ เพื่อวัดผลความสําเร็จของการดําเนินงานตามคํารับรองการ ปฏิบัติงาน ประจําปงบประมาณ คณะมีการดําเนินการตามแผน 4 ภารกิจ คือ การเรียนการสอน วิจัย บริการทางวิชาการ และการบริหารจัดการ

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ1.1.1.003 ตัวบงชี้ของการดําเนินงานปการศึกษา 2552 และเปาหมายของ แผนแตละตัวบงชี้ ศก.อ1.1.1.004 แผนปฏิบัติงานของคณะ (Action Plan) ศก.อ5.5.5.001 สรุปกิจกรรมที่นําความรูและประสบการณจากการบริการ วิชาการ มาใชในการเรียนการสอนและการวิจัย

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 142 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.5

มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการและวิชาชีพ มาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย (ระดับ) (สมศ.3.3) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ และวิชาชีพมาใชใน ศก.อ5.5.5.001 สรุปกิจกรรมที่นําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ มาใชในการเรียนการสอนและการวิจัย การเรียนการสอนอยางนอย 1โครงการ มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมา ใชในการเรียนการสอน

3.มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ และวิชาชีพมาใชใน ศก.อ5.5.5.001 สรุปกิจกรรมที่นําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ การวิจัยอยางนอย 1 โครงการ มาใชในการเรียนการสอนและการวิจัย มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมา ใชในการวิจัย

4.มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ และวิชาชีพมาใชใน การเรียนการสอนและการวิจัยอยางนอย 1 โครงการ มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพ มาใชในการเรียนการสอนและการวิจัย

ศก.อ5.5.5.001 สรุปกิจกรรมที่นําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ มาใชในการเรียนการสอนและการวิจัย

5.มีการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนหรือการวิจัยกับการบริการวิชาการ/ วิชาชีพอยางนอย 1 โครงการ มีการบูรณาการจัดการการเรียนการสอนหรือการวิจัยกับการบริการ วิชาการ / วิชาชีพอยางนอย 1 โครงการ

ศก.อ5.5.5.001 สรุปกิจกรรมที่นําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการ มาใชในการเรียนการสอนและการวิจัย

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 143 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.5

มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการและวิชาชีพ มาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย (ระดับ) (สมศ.3.3) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.5.5 1.ชื่อ นางชุติมา 2.ชื่อ

สกุล อาจไชยชาญ

โทร 3376

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 144 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.6

คาใชจายและมูลคาของสถาบัน ในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมตอจํานวนอาจารยประจํา (ระดับ) (สมศ.3.4) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

7500

65

63

71

2.คาใชจาย และมูลคาของสถาบันในการบริการ วิชาการและวิชาชีพ (2)

2144200

2784645

3263659

3.คาใชจาย และมูลคาของสถาบันในการบริการ วิชาการและวิชาชีพตอจํานวนอาจารยประจําที่ ปฏิบัติงานจริง(3)=(2) /(1)

32987.69

44,200.71

45,967.03

จํานวน คาใชจาย และ มูลคาของ สถาบันในการ บริการวิชาการ และวิชาชีพ เพื่อสังคม 14,499 บาท ของจํานวน อาจารย ประจํา ได 1 คะแนน

จํานวน คาใชจาย และ มูลคาของ สถาบันในการ บริการวิชาการ และวิชาชีพ เพื่อสังคม 5,000-7,499 บาท ของ จํานวน อาจารย ประจํา ได 2 คะแนน

จํานวน คาใชจาย และ มูลคาของ สถาบันในการ บริการวิชาการ และวิชาชีพ เพื่อสังคม มากกวาหรือ เทากับ 7,500 บาท ของ จํานวน อาจารย ประจํา ได 3 คะแนน

ขอมูล

1.จํานวนอาจารยประจําทีป่ ฏิบัติงานจริง(ไมนับรวม อาจารยที่ลาศึกษาตอ)(1)

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.5.6 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 มีคณาจารยที่ไมไดลาศึกษาตอ 71 คน ไดรวมบริการ วิชาการ 130 กิจกรรม รวมเปนมูลคา 3,263,659 บาท คิดเปนมูลคาเฉลี่ย 45,967.03/อาจารย 1 คน

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ5.5.6.001 สรุปคาใชจายและมูลคาในการบริการวิชาการของคณะศิลปะและ การออกแบบ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 145 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.6

คาใชจายและมูลคาของสถาบัน ในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมตอจํานวนอาจารยประจํา (ระดับ) (สมศ.3.4)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.5.6 1.ชื่อ นางชุติมา 2.ชื่อ

สกุล อาจไชยชาญ

โทร 3376

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 146 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 5

การบริการวิชาการแกสังคม

ตัวบงชี้ มรส.5.7

จํานวนโครงการ/กิจกรรมที่ใหบริการวิชาการแกสถานประกอบการ/หนวยงานภายนอก และชุมชน โดยใหนักศึกษามีสวนรวมในการใหบริการ วิชาการแกสังคม (มรส.) ขอมูล

1.จํานวนโครงการ/กิจกรรมที่ใหบริการวิชาการแก สถานประกอบการ/หนวยงานภายนอก และชุมชน โดยใหนักศึกษามีสวนรวมในการใหบริการวิชาการ แกสังคม

เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550

2551

2552

9

13

14

23

เกณฑการประเมิน 1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1–4 5–9 มากกวา 9 โครงการ/ป ได โครงการ/ป ได โครงการ/ป ได 3 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.5.7 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

5

คะแนนรวม

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ กิจกรรมที่ใหบริการวิชาการแกสถานประกอบการ/หนวยงานภายนอก และ ชุมชน โดยใหนักศึกษามีสวนรวม จํานวน 23 กิจกรรม

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.5.7 1.ชื่อ นางชุติมา 2.ชื่อ

5

ศก.อ5.5.7.001 สรุปกิจกรรมที่ใหบริการวิชาการแกสถานประกอบการ/หนวยงาน ภายนอก และชุมชน โดยใหนักศึกษามีสวนรวม

สกุล อาจไชยชาญ

โทร 3376

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 147 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.1

มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (ระดับ) (สกอ.6.1)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการกําหนดนโยบายที่ชดั เจนปฏิบัติได และมีแผนงานรองรับ 2.การกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับแผนงาน และมีการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง 3.มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจดานอื่น ๆ 4.มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและ นานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรม การสรางบรรยากาศ ศิลปะและวัฒนธรรม การจัดกิจกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการ การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนอยางพอเพียงและตอเนื่อง 5.มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม โดยผูเชี่ยวชาญ และมีผลงานเปนที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ 6.มีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและนานาชาติ อาทิ มีสถานที่หรือเวทีแสดงผลงาน จัดทําวารสารศิลปวัฒนธรรมในระดับ ตาง ๆ มีความรวมมือใน การใหการบริการวิชาการดานศิลปวัฒนธรรมกับสังคมในระดับตาง ๆ

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

6

6

6

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอแรกได มีการดําเนินการอยางนอย 4 แรกได 1 คะแนน 2 คะแนน ขอแรกได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.6.1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจนปฏิบตั ิได และมีแผนงานรองรับ ศก.อ6.6.2.001 1.โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา คณะศิลปะและการออกแบบ มีการดําเนินงานตามแผนพัฒนาดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมตาม ศก.อ6.6.2.008 2.โครงการปจฉิมนิเทศ แผนกลยุทธคณะศิลปะและการออกแบบ ป 2550- 2554 ( อ.103 ) ที่มุงเนน ศก.อ6.6.2.009 3.โครงการพิธีไหวครู และครอบครูชาง ประจําปการศึกษา 2552 การสรางความตระหนักรับรูในความแตกตางหลากหลายทางวัฒนธรรม และ สรางคุณคาความเขาใจตอวัฒนธรรมในฐานะที่เปนรากฐานของชีวิตและชุมชน มีการแตงตั้งอาจารยเปนคณะกรรมการประจําโครงการและดําเนินการประจําทุก ป

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 148 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.1

มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (ระดับ) (สกอ.6.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 2.การกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับแผนงาน และมี การดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการตาง ๆ ใหสอดคลองกับรายวิชาตาง ๆ มาอยางตอเนื่องประจําทุกป

ศก.อ6.6.2.009 ศก.อ6.6.2.001 ศก.อ6.6.4.001 ศก.อ6.6.4.003 ศก.อ6.6.2.013 ศก.อ6.6.6.002 ศก.อ6.6.5.002

1.พิธีไหวครูครอบครูชาง (2.9) 2.พิธีปฐมนิเทศนักศึกษาใหม( 2.1) 3.การติวศิลปเพื่อนอง( 4.1) 4. การรับนอง( 4.3) 5.โครงการพี่สอนนอง (โครงการยุวศิลปนภาพถาย) (2.13) 6. งาน “Line Form & Color” ครั้งที่17 (6.2 ) 7.นิทรรศการ Thai Conceptual Art (5.2 )

3.มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจดานอื่น ๆ มีการนําโครงการและกิจกรรมเขารวมบูรณาการกับรายวิชาตาง ๆ และ รับใชสังคมในดานตางๆ

ศก.อ6.6.5.018 1.สอดแทรกในรายวิชาศิลปะไทยเพื่อการออกแบบงาน คอมพิวเตอรอารต (5.18) ศก.อ6.6.5.009 2.รายวิชาคอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป( 5.9) ศก.อ6.6.5.036 3.ระเบียบวิธีวิจัยทางศิลปะและการออกแบบ( 5.36 ) ศก.อ6.6.1.012 4.โครงการพัฒนาผลิตภัณฑกระจูดรวมกับสถาบันคีนัน แหง เอเชีย (1.12 ) ศก.อ6.6.6.019 5.เขารวมโครงการวิจัยการเพิ่มมูลคาการบริการในธุรกิจทองเที่ยว ที่เกี่ยวกับสปา (6.19)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 149 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.1

มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (ระดับ) (สกอ.6.1) การดําเนินการ

4.มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและ นานาชาติ อาทิ การจัดทําฐานขอมูลดานศิลปวัฒนธรรม การสรางบรรยากาศ ศิลปะและวัฒนธรรม การจัดกิจกรรม ประชุม เสวนาทางวิชาการ การจัดสรร งบประมาณสนับสนุนอยางพอเพียงและตอเนื่อง สงเสริมใหบุคลากร เขารวมจัดงาน เปนวิทยากรและเปนกรรมการ ตัดสิน มีการจัดงานสัมมนาและเขารวมสัมมนา และสงเสริมใหมีการศึกษาดู งานและจัดโครงการรวมทั้งในประเทศและตางประเทศ

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ6.6.6.013 1.โครงการผลิตเว็บไซด 5 สาขาวิชา และ 2 หลักสูตร ปริญญาโท ( 6.13) ศก.อ6.6.4.009 2.รับเชิญเปนวิทยากร อบรมและ รวมเปนคณะกรรมการ ตัดสินการประกวดผลิตภัณฑรีไซเคิล วันที่ 20 มี.ค 2552 และ 18 ส.ค 2552 จัดโดยสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพฯ ศก.อ6.6.4.025 3.รับเชิญเปนกรรมการตัดสินการแขงขันฝมือคนพิการแหงชาติ ครั้งที่ 4 ศก.อ6.6.5.012 4.รวมเปนคณะกรรมการตัดสินการประกวดผาไหมตรานกยูง พระราชทาน สิ่งประดิษฐจากรังไหม ผลิตภัณฑจากผาไหม และการออกแบชุดผา ไหม ระดับประเทศ ป 2552 จัดโดย สถาบันหมอนไหมแหงชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบรมราชินีนาถ (สมมช) ศก.อ6.6.5.022 5.เขารวมเปนกรรมการตัดสินการประกวดตราสัญลักษณ สภา คณบดีทางศิลปะแหงประเทศไทย ศก.อ6.6.6.036 6.รวมเปนกรรมการตัดสินการประกวดออกแบบเครื่องประดับ D'mond Young Designer Award (DYD a6) ศก.อ6.6.6.125 7.รับเชิญเขารวมเปนคณะกรรมการสรรหาและตัดสินรางวัล ศิลปนรวมสมัย ดีเดนรางวัล "ศิลปาธร" ประจําป 2553 ศก.อ6.6.6.022 8.จัดสัมมนาบุคลากร ประจําป 2552 หัวขอ " การเรียนการสอน แบบเชิงบูรณาการ" ( 6.22 ) ศก.อ6.6.6.152 9. โครงการเสวนาหัวขอเรื่อง "กลับมาเลาสูกันฟง" (วิธีคิดวันนี้ และวันหนา สรางสรรคผลิตสื่อโฆษณาในยุคDigital ทามกลางวิกฤษเศรษฐกิจ ฯลฯ(6.152) ศก.อ6.6.6.023 10.การนําผลงานวิจัย ของ รศ พิศประไพ ศาระสาริน เขารวมนําเสนอผลงาน วิชาการ ในการเสวนาทางวิชาการ ณ ประเทศเยอรมัน(6.23) ศก.อ6.6.6.013 11. โครงการเยี่ยมชม และแสดงนิทรรศการรวมกัน ณ สถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundation ณ ประเทศญี่ปุน (6.13) ศก.อ6.6.6.016 12. โครงการ เขารวมสัมมนาและชมนิทรรศการ KLDesign Week 2009 ณ กรุง กัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย (6.16)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 150 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.1

มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (ระดับ) (สกอ.6.1) การดําเนินการ

5.มีการกําหนดหรือสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม โดยผูเชี่ยวชาญ และมี ผลงานเปนที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติ มีการสงเสริมใหอาจารยและนักศึกษาสงงานประกวดระดับชาติและ นานาชาติ

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ6.6.6.054 1.ผลงานออกแบบภาพดิจิตอลเพนทติ้ง ของ ผศ ธรรมศักดิ์ไดรับ รางวัลในระดับนานาชาติ ของเว็บไซด The Design Inspiration(US) ในหัวขอ Inspiring Eastern Dragon Illustrstion 2009 (6.54) ศก.อ6.6.6.065 2. ผลงานออกแบบ ของ อ.สุภาวดี จุยศุขะไดรับการคัดเลือก ในฐานะนักออกแบบ เขารวมโครงการMatrix Model ของบริษัท MZD Co;Ltd จากอิตาลี และผลงาน การออกแบบกระเปาสตรี " SAI-SAI" ไดรับการตีพิมพในหนังสือMatrix Model Trend Book 2010 (6.65 ) ศก.อ6.6.5.019 3. ผลงานการออกแบบตราสัญญลักษณของ อ.บํารุง อิศรกุล ไดรับรางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศในการประกวดการออกแบบตราสัญลักษณ ระดับประเทศ (5.19) ศก.อ6.6.5.024 ผลงานการออกแบบตราสัญญลักษณของ อ.บํารุง อิศรกุล (5.24) ศก.อ6.6.5.027 ผลงานการออกแบบตราสัญญลักษณของ อ.บํารุง อิศรกุล (5.27) ศก.อ6.6.5.029 ผลงานการออกแบบตราสัญญลักษณของ อ.บํารุง อิศรกุล (5.29) ศก.อ6.6.5.030 ผลงานการออกแบบตราสัญญลักษณของ อ.บํารุง อิศรกุล (5.3O) ศก.อ6.6.6.091 4.งานของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอรอารตไดรับรางวัลชนะเลิศจากงานประกวด 3D Animation จากบริษัทยาง Bridgestone(_6.91) ศก.อ6.6.6.066 5.นักศึกษาคอมพิวเตอรอารต นาย ชย อรรถวิจิตรจรรยารักษ ไดรับรางวัลที่ 2 ใน งานประกวดผลงาน Digital Painting ระดับนานาชาติ ในหัวขอ Anime Girl 2009 ( 6.66) ศก.อ6.6.6.069 6. ทีมนักศึกษา2ทีมของ สาขาแฟชั่นดีไซน ไดรับรางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 และ อันดับ2 ในการประกวดงาน "T-shirt Trendy Hobby Crafts Contest 2009 " ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา 31 พ.ค 2552 จัดโดย บริษัท บิ๊กทรี ออร กาไนซเซอร จํากัด ( 6.69) ศก.อ6.6.6.135 7. นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอรอารตไดรับรางวัลชนะเลิศจากงานประกวด ผลงาน ศิลปนิพนธยอดเยี่ยม ภาพยนตรแอนิเมชั่นประเภทนักศึกษา ในงาน Bangkok Computer Graphic 2009 วัน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 151 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.1

มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (ระดับ) (สกอ.6.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง ที่ 1-3 พ.ค 2552 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร( 6.135) ศก.อ6.6.6.158 8. นายภัทรนันท ภูระยา นักศึกษาสาขาแฟชั่นดีไซนไดรับรางวัลชนะเลิศระดับ นานาชาคิ หัวขอ "Chic and Glamour " จากการประกวดงาน The 3rd International Fashion Designers Contest ณ สถาบัน Bunka Gakuen กรุงโตเกียว ญี่ปุน( 6.158) ศก.อ6.6.6.023 9. การนําผลงานวิจัยของผศ. พิศประไพ ศาระสารินเขารวมนําเสนอผลงาน วิชาการ ณ ประเทศเยอรมัน(6.023)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 152 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.1

มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (ระดับ) (สกอ.6.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

6.มีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและนานาชาติ อาทิ มีสถานที่หรือเวทีแสดงผลงาน จัดทําวารสารศิลปวัฒนธรรมในระดับตาง ๆ มี ความรวมมือใน การใหการบริการวิชาการดานศิลปวัฒนธรรมกับสังคมในระดับ ตาง ๆ มีหอศิลปและเว็บไซด และจัดทําวารสารวิชาการประจําปเพื่อเผยแพร ขอมูลแกสังคม มีการบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและนานาชาติ

ศก.อ6.6.6.097 1.โครงการหอศิลป(6.97) ศก.อ6.6.6.163 2.โครงการจัดทําวารสารวิชาการประจําป(6.163 ) ศก.ศก.อ6.6.6.089 3.โครงการจัดทําเว็บไซดคณะ ศก.อ6.6.1.014 4.โครงการพัฒนาขีดความสามารถกลุม ผูผลิตชุมชนและผลิตภัณฑ _OTOP โดย เครือขายKBO จังหวัดนนทบุร(ี 1.14 ) ศก.อ6.6.5.012 5. ไดรับเชิญเปนกรรมการตัดสินการประกวดในงานระดับชาติ เชน รวมเปน คณะกรรมการตัดสินการประกวดผาไหมตรานกยูงพระราชทาน สิ่งประดิษฐจากรัง ไหม ผลิตภัณฑจากผาไหม และการออกแบชุดผาไหม ระดับประเทศ ป 2552 จัดโดย สถาบันหมอนไหมแหงชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบรมราชินนี าถ (สมมช) (5.12) ศก.อ6.6.4.009 6.รับเชิญเปนวิทยากร อบรมและ รวมเปนคณะกรรมการตัดสินการประกวด ผลิตภัณฑรีไซเคิล จัดโดยสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพฯ(4.9) ศก.อ6.6.4.025 7.รับเชิญเปนกรรมการตัดสินการแขงขันฝมือคนพิการแหงชาติ ครั้งที่ 4(4.25) ศก.อ6.6.5.022 8. เขารวมเปนกรรมการตัดสินการประกวดตราสัญลักษณ สภาคณบดีทางศิลปะ แหงประเทศไทย (5.22) ศก.อ6.6.5.036 9. รวมเปนกรรมการตัดสินการประกวดออกแบบเครื่องประดับ D'mond Young Designer Award (DYD a6) (5.36) ศก.อ6.6.6.125 10. รับเชิญเขารวมเปนคณะกรรมการสรรหาและตัดสินรางวัลศิลปนรวมสมัย ดีเดนรางวัล "ศิลปาธร" ประจําป2553(6.125) 11. นายภัทรนันท ภูระยา นักศึกษาสาขาแฟชั่นดีไซนไดรบั รางวัลชนะเลิศระดับ นานาชาคิ หัวขอ "Chic and Glamour " จากการประกวดงาน The 3rd International Fashion Designers Contest ณ สถาบัน Bunka Gakuen กรุงโตเกียว ญี่ปุน 19/11/2552 ศก.อ6.6.6.158

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 153 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.1

มีระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (ระดับ) (สกอ.6.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.6.1 1.ชื่อ อ.ชูชัย 2.ชื่อ

สกุล อัศวอารีกุล

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 154 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.2

รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนรรมตอจํานวนนักศึกษา (สมศ.4.1) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

179

292

327

2.จํานวนนักศึกษาปริญญาตรีเต็มเวลาเทียบเทา (2)

891.58

931.16

859

3.รอยละของโครงการ/กิจกรรม ฯ ตอจํานวน นักศึกษาปริญญาตรีเต็มเวลาเทียบเทา (3)=[(1) /(2)]*100

20.07

31.25

38.07

จํานวน โครงการ/ กิจกรรมใน การอนุรักษ พัฒนาและ สรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะ และ วัฒนธรรม รอยละ 1-14 ของจํานวน นักศึกษา ได 1 คะแนน

จํานวน โครงการ/ กิจกรรมใน การอนุรักษ พัฒนาและ สรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะ และ วัฒนธรรม รอยละ 15-19 ของจํานวน นักศึกษา ได 2 คะแนน

จํานวน โครงการ/ กิจกรรมในการ อนุรักษ พัฒนาและ สรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะ และ วัฒนธรรม มากกวาหรือ เทากับรอยละ 20 ของจํานวน นักศึกษา ได 3 คะแนน

1.จํานวนโครงการ/ กิจกรรมในการอนุรักษฯ (1)

รอยละ 3

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.6.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 155 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.2

รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนรรมตอจํานวนนักศึกษา (สมศ.4.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

ดวยคณะศิลปและการออกแบบ ไดเล็งเห็นความสําคัญในคุณคาและเอกลักษณ ศก.อ6.6.6.001- ศก.อ6.6.6.166 องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ของงานศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อเปนการพัฒนางานดานศิลปวัฒนธรรม ทางคณะจึงมีนโยบายสําคัญที่จะสงเสริมกิจกรรมทางดานนี้ โดยมุงเนนการรวม สนับสนุนและใหความรวมมือกับหนวยงานอื่นทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย 1.นโยบายของคณะศิลปกรรมในการสนับสนุนงานศิลปวัฒนธรรม มีการดําเนินงานตามแผนพัฒนาดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมตามแผนกล ยุทธคณะศิลปะและการออกแบบ ป 2550- 2554 ( อ.103 ) ที่มุงเนนการสราง ความตระหนักรับรูในความแตกตางหลากหลายทางวัฒนธรรม และสรางคุณคา ความเขาใจตอวัฒนธรรมในฐานะที่เปนรากฐานของชีวิตและชุมชน และทาง คณะไดใหการสนับสนุนและดําเนินงานตามแผนงานทีส่ อดคลองกับทาง มหาวิทยาลัยอยางเต็มที่ สําหรับในสวนของนักศึกษามีการเขารวมกับกิจกรรม ในหนวยงานตางๆ เชน กิจกรรมของมหาวิทยาลัย ศูนยสงเสริมศิลปวัฒนธรรม และสโมสรนักศึกษา และสงเสริมใหสงผลงานเขารวมประกวดทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ สําหรับอาจารยไดมีสว นในการประสานความรวมมือกับกิจกรรม กับทุกหนวยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน 2. มีการกําหนดกิจกรรมหรือโครงการที่เปนประโยชนสอดคลองกับ แผนงาน และมีการดําเนินกิจกรรมอยางตอเนื่อง ประจําป อาทิ เชน พิธีไหวครู ครอบครูชาง สําหรับนักศึกษาชั้นปที่ 1 คณะศิลปกรรม(2.9) , พิธีปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม( 2.1) , การติวศิลปเพื่อนอง( 4.1) การรับนอง( 4.3) ,โครงการพี่ สอนนอง (โครงการยุวศิลปนภาพถาย) (2.13) . นิทรรศการและการประกวด ตางๆอาทิ เชน นิทรรศการแสดงผลงานนักศึกษาชั้นปที่ 1 งาน “Line Form & Color” ครั้งที่17 (6.2 )นิทรรศการ Thai Conceptual Art (5.2 ) ซึ่งในโครงการ มีการดําเนินการแสดงผลงาน , การจัดประกวดวาดเสนและออกแบบ ในหัวขอที่ เกี่ยวกับสังคม ตลอดจนการใหความรูข ั้นพื้นฐานแกนักศึกษา ซึ่งโครงการสวน ใหญจะเปนโครงการที่จัดตอเนื่องทุกป และการจัดกิจกรรมที่มุงทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมไมเพียงสําหรับนักศึกษาเทานั้น คณะศิลปกรรมไดจัดโครงการที่ มุงทํานุบํารุงและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมสูชุมชนดวย เชน โครงการสุขภาพชุมชน (4.7) เปนตน 3. มีการบูรณาการงานดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับภารกิจดานอื่นๆ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 156 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.2

รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนรรมตอจํานวนนักศึกษา (สมศ.4.1)

เนื่องจากเปนคณะที่มีธรรมชาติการเรียนการสอนที่สัมพันธหรือสอดคลอง และ เอื้ออํานวยใหดําเนินการบูรณาการศิลปวัฒนธรรมเขาไปในรายวิชาที่สอนไดเปน อยางดี ดังนั้นแผนงานดานการทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรมของ ทางคณะฯจึงได กําหนดใหสอดแทรกบูรณาการเรื่องเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมเขาไปในบทเรียน ของรายวิชาตางๆของแตละสาขา เชน รายวิชา ศิลปะไทยเพื่อการออกแบบงาน คอมพิวเตอรอารต (5.18) คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป( 5.9) , ระเบียบวิธีวิจัยทางศิลปะและการออกแบบ( 5.36 ) เปนตน สนับสนุนให คณาจารยทําโครงการวิจัยหรือโครงงานที่สงเสริมดานศิลปวัฒนธรรม เชน โครงการพัฒนาผลิตภัณฑกระจูดรวมกับสถาบันคีนัน แหงเอเชีย ( 1.12 )เขารวม โครงการวิจัยการเพิ่มมูลคาการบริการในธุรกิจทองเที่ยวที่เกี่ยวกับสปา (6.19), เปนตน ซึ่งโครงการเหลานี้เปนการนําพื้นฐานทางวัฒนธรรมไทยมาทําการ ประยุกตใหเขากับศิลปวัฒนธรรมสมัยใหมไดอยางกลมกลืน 4.มีการสงเสริมการดําเนินงานดานศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและ นานาชาติ เชน โตรงการจัดทําฐานขอมูลผลงานที่ชนะการประกวด โตรงการจัดทําฐานขอมูล ภาพถายศิลปะนิพนธ ของ สาขาศิลปะภาพถาย , โครงการผลิตเว็บไซด 5 สาขาวิชา และ 2 หลักสูตร ปริญญาโท( 6.13) เพื่อเผยแพรขอมูลในระดับ สากล มีสวนรวมในการจัดงานระดับชาติ เชน การเขารวมเปนวิทยากร และ เปน กรรมการตัดสินผลงานประกวดหลายโครงการในระดับประเทศ ( ดูขอ 6) เปนตน มีการจัดการประชุมเสวนาทางวิชาการ เชน การจัดสัมมนาบุคลากร ประจําป 2552 หัวขอ " การเรียนการสอนแบบเชิงบูรณาการ" ( 6.22 ) , โครงการเสวนา หัวขอเรื่อง "กลับมาเลาสูกันฟง" (วิธีคดิ วันนี้ และวันหนา สรางสรรคผลิตสื่อ โฆษณาในยุคDigital ทามกลางวิกฤษเศรษฐกิจ ฯลฯ(6.152) ,การนําผลงานวิจัย ของ รศ พิศประไพ ศาระสาริน เขารวมนําเสนอผลงานวิชาการ ในการเสวนาทาง วิชาการ ณ ประเทศเยอรมัน(6.23) ฯลฯ ในระดับนานาชาติ สนับสนุน โครงการใหคณาจารยและนักศึกษาไดทัศนศึกษา ตางประเทศ รวมทั้งจัดสงผลงานนักศึกษาไปจัดแสดงนิทรรศการและประกวด ผลงาน เชน โครงการเยี่ยมชม และแสดงนิทรรศการรวมกัน ณ สถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundation ณ ประเทศญี่ปุน (6.13) , โครงการ เขา รวมสัมมนาและชมนิทรรศการ KLDesign Week 2009 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย (6.16) ฯลฯ โดยทางคณะไดจัดสรรงบประมาณสนับสนุนอยางพอเพียงและตอ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 157 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.2

รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนรรมตอจํานวนนักศึกษา (สมศ.4.1)

เนื่อง ทุกป 5. มีการกําหนดและสรางมาตรฐานดานศิลปวัฒนธรรม เชน ผลงานออกแบบภาพดิจิตอลเพนทติ้ง ของ ผศ ธรรมศักดิ์ไดรับรางวัลในระดับ นานาชาติ ของเว็บไซด The Design Inspiration(US) ในหัวขอ Inspiring Eastern Dragon Illustrstion 2009 (6.54) , ผลงานออกแบบ ของ อ.สุภาวดี จุยศุขะไดรับการคัดเลือก ในฐานะนักออกแบบเขารวมโครงการMatrix Model ของบริษัท MZD Co;Ltd จากอิตาลี และผลงานการออกแบบกระเปาสตรี " SAISAI" ไดรับการตีพิมพในหนังสือMatrix Model Trend Book 2010 (6.65 ) , ผลงานการออกแบบตราสัญญลักษณของ อ.บํารุง อิศรกุล ไดรับรางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศในการประกวดการออกแบบตราสัญลักษณ ระดับประเทศเปน จํานวนมาก (5.19 ,5.24 ,5.27 ,5.28 ,5.29 , 5.3O) ในสวนของ ผลงานนักศึกษานั้น ไดมีการชนะรางวัลระดับชาติหลายรางวัล เชน งานของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอรอารตไดรับรางวัลชนะเลิศจากงานประกวด 3D Animation จากบริษัทยาง Bridgestone(_6.91), นักศึกษาคอมพิวเตอร อารต นาย ชย อรรถวิจิตรจรรยารักษ ไดรับรางวัลที่ 2 ในงานประกวดผลงาน Digital Painting ระดับนานาชาติ ในหัวขอ Anime Girl 2009 ( 6.66) , ทีม นักศึกษา2ทีมของ สาขาแฟชั่นดีไซน ไดรับรางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 และ อันดับ2 ในการประกวดงาน "T-shirt Trendy Hobby Crafts Contest 2009 " ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา 31 พ.ค 2552 จัดโดย บริษัท บิ๊กทรี ออร กาไนซเซอร จํากัด ( 6.69), นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอรอารตไดรับรางวัล ชนะเลิศจากงานประกวด ผลงานศิลปนิพนธยอดเยี่ยม ภาพยนตรแอนิเมชั่น ประเภทนักศึกษา ในงาน Bangkok Computer Graphic 2009 วันที่ 1-3 พ.ค 2552 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร( 6.135), นายภัทรนันท ภูระยา นักศึกษาสาขาแฟชั่นดีไซนไดรับรางวัลชนะเลิศระดับนานาชาคิ หัวขอ "Chic and Glamour " จากการประกวดงาน The 3rd International Fashion Designers Contest ณ สถาบัน Bunka Gakuen กรุงโตเกียว ญี่ปุน( 6.158)ฯลฯ แสดงใหเห็นถึงการยอมรับมาตรฐานการออกแบบของนักศึกษาในระดับสูง 6. มีการเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและนานาชาติ โดยจัดให มีหอศิลปไวแสดงงานศิลปะของคณะทั้งผลงานของอาจารย , นักศึกษาและศิลปนนักออกแบบ ทั่วไป เพื่อ แสดงผลงานหมุนเวียน ตลอดทัง้ ป (6.97 )และมีการจัดทําวารสารวิชาการประจําป(6.163 ) เพื่อเผยแพรบทความ ทางวิชาการแกสังคม ปละเลมและมี

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 158 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.2

รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนรรมตอจํานวนนักศึกษา (สมศ.4.1)

โครงการจะขยายเปนปละสองเลมในปการศึกษา 2553 มีการบริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติ เชน รวมเปนกรรมการและ วิทยากร ในโครงการพัฒนาขีดความสามารถกลุมผูผลิตชุมชนและผลิตภัณฑ _OTOP โดยเครือขายKBO จังหวัดนนทบุรี(1.14 )และ การเขารวมเปน กรรมการจัดงาน และตัดสินงานในระดับชาติหลายงาน เชน ไดรับเชิญเปน กรรมการตัดสินการประกวดในงานระดับชาติ เชน รวมเปนคณะกรรมการตัดสิน การประกวดผาไหมตรานกยูงพระราชทาน สิ่งประดิษฐจากรังไหม ผลิตภัณฑ จากผาไหม และการออกแบชุดผาไหม ระดับประเทศ ป 2552 จัดโดย สถาบัน หมอนไหมแหงชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบรมราชินีนาถ (สมมช) (5.12),รับเชิญ เปนวิทยากร อบรมและ รวมเปนคณะกรรมการตัดสินการประกวดผลิตภัณฑรี ไซเคิล วันที่ 20 มี.ค 2552 และ 18 ส.ค 2552 จัดโดยสํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพฯ(4.9), รับเชิญเปนกรรมการตัดสินการแขงขันฝมือคนพิการแหงชาติ ครั้งที่ 4(4.25), เขารวมเปนกรรมการตัดสินการประกวดตราสัญลักษณ สภาคณบดีทางศิลปะแหงประเทศไทย (5.22), รวมเปนกรรมการตัดสินการ ประกวดออกแบบเครื่องประดับ D'mond Young Designer Award (DYD a6) (5.36), รับเชิญเขารวมเปนคณะกรรมการสรรหาและตัดสินรางวัลศิลปนรวม สมัย ดีเดนรางวัล "ศิลปาธร" ประจําป2553(6.125) ฯลฯ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.6.2 1.ชื่อ อ.ชูชัย 2.ชื่อ

สกุล อัศวอารีกุล

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 159 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.3

รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษพัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ (สมศ.4.2) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

1.คาใชจาย และมูลคาที่ใชในการอนุรกั ษ พัฒนา และสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรม (1)

2.งบดําเนินการ (2)

รอยละ 1

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550 2,246,229

40,789,548

3.รอยละของคาใชจาย และมูลคาฯตองบดําเนินการ (3)=[(1) /(2)]*100

5.51

เกณฑการประเมิน

2551

2552

1 คะแนน

จํานวน คาใชจาย และ มูลคาที่ใชใน การอนุรักษ 44827314.66 48840333.22 พัฒนาและ สรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะ และ 6.91 8.12 วัฒนธรรม 0.01-0.49% ของ งบดําเนินการ ได 1 คะแนน 3099042

3966920

2 คะแนน

3 คะแนน

จํานวน คาใชจาย และ มูลคาที่ใชใน การอนุรักษ พัฒนาและ สรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะ และ วัฒนธรรม 0.50-0.99% ของ งบดําเนินการ ได 2 คะแนน

จํานวน คาใชจาย และ มูลคาที่ใชใน การอนุรักษ พัฒนาและ สรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะ และ วัฒนธรรม มากกวาหรือ เทากับ 1.00% ของ งบดําเนินการ ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.6.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

ศก.อ6.6.3.001 สรุปจํานวนรอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบมีคาใชจายและมูลคาที่ใชใน พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ การอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศลิ ปะและวัฒนธรรมตอ งบดําเนินการ จํานวน3966920.00บาท มีงบดําเนินการจํานวน 48840333.22 บาท คิดเปนรอยละ8.12 ของคาใชจายและมูลคาของงบดําเนินการ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 160 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 6

การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ตัวบงชี้ มรส.6.3

รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษพัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ (สมศ.4.2)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.6.3 1.ชื่อ อ.ชูชัย 2.ชื่อ

สกุล อัศวอารีกุล

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 161 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.1

สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถ ผลักดันสถาบันใหแขงขันได ในระดับสากล (สกอ.7.1) (สมศ.5.1)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.สภาสภาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและนโยบาย ของสถาบัน 2.สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบันมากกวา ปละ 2 ครั้ง 3.มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอยางต่ํารอยละ 80 ของแผน ในการประชุมแตละครั้งมีกรรมการเขารวมโดยเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 80 โดยมีการ สงเอกสารใหกรรมการสภา สถาบันอยางนอย 7 วันกอนการประชุม 4.สภาสถาบันจัดใหมีการประเมินผลงานของอธิการบดีหรือผูบ ริหารสูงสุดตามหลักเกณฑที่ตกลงกันไวลวงหนา 5.สภาสถาบันมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลและสงเสริมการบริหารงาน โดยใชหลักธรรมาภิบาลทั่วทัง้ องคกร

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอ มีการดําเนินการ 4 ขอได 2 ได 1 คะแนน คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.1 ผลการประเมินตนเอง

3 คะแนน มีการดําเนินการครบทุกขอ ได 3 คะแนน

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.สภาสภาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดทิศทาง ยุทธศาสตรและนโยบาย ของสถาบัน คณะศิลปะและการออกแบบไดจัดใหมีการประชุมและเปดโอกาสให คณะกรรมการประจําคณะ ไดมีบทบาทในการกําหนดนโยบายและแผนปฏิบตั ิ การ ใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ7.7.1.001 1.มีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประจําของคณะฯ 2.กําหนดภาระหนาที่ของคณะกรรมการชุดตางๆ 3.แผนกลยุทธ และแผนปฏิบตั ิงานของคณะฯ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 162 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.1

สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถ ผลักดันสถาบันใหแขงขันได ในระดับสากล (สกอ.7.1) (สมศ.5.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.สภาสถาบันมีการติดตามผลการดําเนินงานตามภารกิจหลักของสถาบัน มากกวา ปละ 2 ครั้ง คณะศิลปะและการออกแบบไดกําหนดใหมีการติดตามผลการ ดําเนินงานที่สาํ คัญตามแผนปฏิบัติการ โดยโครงการตางๆ ไดมีการประเมินผล การดําเนินงานและสรุปผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการใหแกคณะกรรมการรับทราบ

ศก.อ7.7.1.002 1.จดหมายเชิญประชุมคณะกรรมการประจําคณะฯ 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะฯ

3.มีการประชุมกรรมการสภาสถาบันอยางต่ํารอยละ 80 ของแผน ในการประชุม แตละครั้งมีกรรมการเขารวมโดยเฉลี่ยไมนอยกวารอยละ 80 โดยมีการสง เอกสารใหกรรมการสภา สถาบันอยางนอย 7 วันกอนการประชุม ปการศึกษา 2551 คณะสามารถจัดประชุมไดตามแผนและมีกรรมการ เขารวมประชุมทุกครั้งเกินกวารอยละ 80 โดยเลขานุการคณะกรรมการมีการ จัดสงจดหมายเชิญประชุม รายงานการประชุมและเอกสารประกอบการประชุม ใหคณะกรรมการทุกทานอยางนอย 7 วันกอนการประชุมทุกครั้ง

ศก.อ7.7.1.003 1.จดหมายเชิญประชุมคณะกรรมการประจําคณะฯ 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะฯ (อางอิง ศก.อ7.7.1.002) 3.กําหนดการประชุมคณะกรรมการประจําคณะฯ

4.สภาสถาบันจัดใหมีการประเมินผลงานของอธิการบดีหรือผูบริหารสูงสุดตาม หลักเกณฑที่ตกลงกันไวลวงหนา คณะไดมีการดําเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกป โดยมีเกณฑการพิจารณาอยางชัดเจน

ศก.อ7.7.1.004 1.แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรประจําคณะฯ 2.สรุปผลการประเมินการปฏิบตั ิงานของบุคลากรคณะฯ

5.สภาสถาบันมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาลและสงเสริมการ บริหารงาน โดยใชหลักธรรมาภิบาลทัว่ ทั้งองคกร คณะมีการดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาธิบาลและสงเสริมการ บริหารงานโดยใหบคุ ลากรมีสว นรวมในการบริหารงาน โดยการกําหนด หลักเกณฑตางๆ ไวในการประเมินบุคลากร ธรรมาภิบาลทั่วทั้งองคกร

ศก.อ7.7.1.005 หลักเกณฑการประเมินบุคลากรและเกณฑการใหคะแนนพิเศษ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 163 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.1

สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถ ผลักดันสถาบันใหแขงขันได ในระดับสากล (สกอ.7.1) (สมศ.5.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.1

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 164 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.2

ภาวะผูนาํ ของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน (ขอ) (สกอ.7.2)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีกระบวนการสรรหาผูบริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได 2.ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพภาวะผูนําที่มีอยู โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมีสวนไดสวนเสีย 3.มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารที่ชดั เจน และเปนที่ยอมรับในสถาบัน 4.มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผลการ ประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวน

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 4 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

4

4

4

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอแรกได มีการดําเนินการครบทุกขอ ได 3 คะแนน แรกได 1 คะแนน 2 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

ศก.อ7.7.2.001 1.มีเอกสารแสดงแนวทางการสรรหาคณบดี หัวหนาสาขาวิชาของ 1.มีกระบวนการสรรหาผูบ ริหารที่เปนระบบ โปรงใส ตรวจสอบได คณะมีกระบวนการสรรหาผูบ ริหารอยางเปนระบบโดยปฏิบัติตาม คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน 2.มีคําสั่งแตงตั้งคณบดี ผูบริหาร และหัวหนาสาขาวิชา นโยบายการสรรหาผูบริหารของมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อใหเกิดความโปรงใสและ ของคณะฯ เปนที่ยอมรับของบุคลากรของคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 165 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.2

ภาวะผูนาํ ของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน (ขอ) (สกอ.7.2) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.ผูบริหารดําเนินการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลและใชศักยภาพภาวะผูนาํ ที่มี อยู โดยคํานึงถึงประโยชนของสถาบันและผูมสี วนไดสวนเสีย ผูบริหารของคณะไดดําเนินการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล โดยใช หลักการเปนผูนําที่คาํ นึงถึงประโยชนของมหาวิทยาลัย ซึ่งถือหลักการปฏิบัตใิ น การดําเนินงานทุกขั้นตอนอยางเปนระบบ จากระเบียบและหลักเกณฑของ มหาวิทยาลัย

ศก.อ7.7.2.002 1.มีเอกสารแสดงรายงานการสํารวจความคิดเห็นของบุคลากร ของคณะฯ 2.แบบประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา 3.เอกสารแสดงการสรุปรายงานขอเสนอแนะจากรายงานการประชุมคณะกรรมการ ประจําคณะฯ 4.รายงานการประชุมของสาขาวิชาฯ

3.มีกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผูบริหารที่ชัดเจน และเปนที่ยอมรับในสถาบัน คณะกําหนดหลักเกณฑการประเมินบุคลากรและเกณฑการใหคะแนน พิเศษอยางชัดเจน เพื่อใหกระบวนการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงาน เปนที่ยอมรับและเกิดความยุติธรรมแกบุคลากรทุกคน

ศก.อ7.7.2.003 1.คูมือการปฏิบัติงานของอาจารยและเจาหนาทีข่ องมหาวิทยาลัย รังสิต 2.เอกสารแสดงรายงานผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรที่มีตอการ ทํางาน

4.มีการจัดทําแผนและกลไกการพัฒนาศักยภาพของผูบริหารตามผลการ ประเมิน และดําเนินการตามแผนอยางครบถวน คณะมีการจัดทําแผนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร เพื่อให สอดคลองกับหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบตั ิงานและสอดคลองกับแผน ยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาบุคลากร

ศก.อ7.7.2.004 1.แผนพัฒนาบุคลากรของคณะฯ 2.แบบรายงานอัตรากําลังและแผนพัฒนาอาจารย 3.เอกสารแสดงผลการประเมินมาวิเคราะหเพื่อจัดทําแผนปรับปรุงและพัฒนา ศักยภาพการทํางานของคณะฯ

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.2

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 166 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.3

มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูโดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก (ระดับ) (สกอ.7.3) (สมศ.5.2)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรู และประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคม 2.มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมายไมนอยกวา รอยละ 50 3.มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมาย รอยละ 100 4.มีการติดตามประเมินผลความ สําเร็จของการจัดการความรู 5.มีการนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการจัดการความรูให เปนสวนหนึ่งของกระบวนงานปกติและปรับปรุงแผนการจัดการความรู

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอแรกได มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกได 3 คะแนน 2 คะแนน แรกได 1 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีการทบทวนและจัดทําแผนการจัดการความรู เพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรู และประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาคม คณะกรรมการประจําคณะฯ ไดมีการทําแผนการจัดการความรูใหแก บุคลากรของคณะ โดยมีการประเมินโครงการและสรุปผลการดําเนินโครงการ ตางๆ ที่ไดจัดทําขึ้นใหกับคณะกรรมการทราบ

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ7.7.3.001 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประจําคณะฯ 2.รายงานการประชุมฯ เรื่องการทบทวนแผนการจัดการความรู 3.การจัดการความรู ของสาขาวิชาศิลปภาพถายที่ลงในเว็บไซต

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 167 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.3

มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูโดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก (ระดับ) (สกอ.7.3) (สมศ.5.2) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมาย ไมนอยกวา รอยละ 50 มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมายไมนอยกวารอยละ 50

ศก.อ7.7.3.002 1.รายงานผลการดําเนินงานโครงการทัศนศึกษาแวะชมสถาบันบุ นกะของประเทศญี่ปุน 2.เอกสารแสดงการประชาสัมพันธในการจัดกิจกรรม 3.(อางอิงที่ ศก.อ1.1.1.005)

3.มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตามเปาหมาย รอยละ 100 มีการดําเนินการตามแผนจัดการความรูและประสบความสําเร็จตาม เปาหมาย รอยละ 100

ศก.อ7.7.3.003 1.เอกสารแสดงรายงานการประชุมของคณะกรรมการคณะเรื่อง การติดตามประเมินผลความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนการจัดการความรู 2.มีเอกสารแสดงการสรุปผลการติดตามความสําเร็จ แผนการจัดการความรูของ คณะฯ 3.ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรในคณะฯ

4.มีการติดตามประเมินผลความ สําเร็จของการจัดการความรู คณะไดมีการเผยแพรการจัดการองคความรูในสาขาวิชาตางๆ ไปยัง บุคลากรภายนอกและนักศึกษา ไดมีการเสนอแนะเพื่อเปนขอแนะแนวหรือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชนการติดตามการประเมินผลอีกชองทางหนึ่ง

ศก.อ7.7.3.004 การแสดงความคิดเห็นจากบุคลากรภายนอกในการแลกเปลี่ยน ความรู

5.มีการนําผลการประเมินไปปรับใชในการพัฒนากระบวนการจัดการความรูให เปนสวนหนึ่งของกระบวนงานปกติและปรับปรุงแผนการจัดการความรู ตามที่ไดมีการพัฒนาความรูสชู ุมชนในการใหบริการวิชาการอยาง สม่ําเสมอเปนการสรางรูปแบบผลิตภัณฑใหมๆ ใหเกิดขึ้นและพัฒนาสูระดับ สากล

ศก.อ7.7.3.005 ไดพัฒนาผลิตภัณฑกระจูด

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 168 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.3

มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรูโดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก (ระดับ) (สกอ.7.3) (สมศ.5.2) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.3

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 169 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.4

มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ (ระดับ) (สกอ.7.4)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ 2.มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน เชน การสรรหา การจัดวางคนลงตําแหนง การกําหนด เสนทางเดินของตําแหนง การ สนับสนุนเขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสรางขวัญ กําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ 3.มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข 4.มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน 5.มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ 6.มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูง และมีแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้น

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

6

6

6

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 5 แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ขอแรกได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.4 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 170 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.4

มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ (ระดับ) (สกอ.7.4) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการวิเคราะห ศก.อ7.7.4.001 1.โครงสรางการบริหารคณะฯ ขอมูลเชิงประจักษ 2.คําสั้งแตงตั้งคณะกรรมการคัดเลือกบุคลากรใหมของคณะฯ 1.มีการจัดทําแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม ภายใตการ วิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ 2.มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริม สมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน เชน การสรรหา การจัดวางคนลงตําแหนง การ กําหนดเสนทางเดินของตําแหนง การ สนับสนุนเขารวมประชุม ฝกอบรมและ หรือเสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน มาตรการสรางขวัญ กําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคณ ุ ภาพ 3.มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศทีด่ ีให บุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข 4.มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบ ความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน 5.มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ 6.มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูง และมี แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้น

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 171 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.4

มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ (ระดับ) (สกอ.7.4) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะใน การปฏิบัติงาน เชน การสรรหา การจัดวางคนลงตําแหนง การกําหนดเสนทาง เดินของตําแหนง การ สนับสนุนเขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือเสนอผลงาน ทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน มาตรการสรางขวัญกําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริม สมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน เชน การสรรหา การจัดวางคนลงตําแหนง การ กําหนดเสนทางเดินของตําแหนง การสนับสนุนเขารวมประชุม ฝกอบรมและหรือ เสนอผลงานทางวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน มาตรการสรางขวัญ กําลังใจ มาตรการลงโทษ รวมทั้งการพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคณ ุ ภาพ คณะมีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริม สมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน การสรรหาบุคลากรใหมใหเหมาะกับสาขาวิชาที่ เกี่ยวของ สวนการประเมินผลการปฏิบัติงานคณะฯไดจัดทําเกณฑเพื่อให เหมาะสมกับบุคลากรมากที่สดุ

ศก.อ7.7.4.002 1.คณะกรรมการสรรหาคัดเลือกบุคลากร 2.มีคูมือภาระหนาที่รัรบผิดชอบของเจาหนาที่ 3.เอกสารการรวมประชุมสัมมนาอบรม 4.เลมรายงานการประเมินบุคลากรของคณะ 3.มีเอกสารแสดงการรายงานการประเมินผลปฏิบตั ิงานของบุคลากร การเขารวม ประชุม ฝกอบรม หรือเสนอผลงานทางวิชาการ 4.มีเอกสารแสดงการรายงานผลการพิจารณาความดีความชอบของบุคลากร ประจําคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน

3.มีระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี และสรางบรรยากาศที่ดีให บุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอยูอยางมีความสุข คณะมีการปรับปรุงหองประชุมและหองรับรอง รวมทั้งสภาพแวดลอมใน สํานักงานใหมีบรรยากาศในการทํางานที่เหมาะสม ไดแก แสงสวาง อุปกรณ คอมพิวเตอรที่ทันสมัย เปนตน ในสวนระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี ใหกับบุคลากร คณะใหความรวมมือกับมหาวิทยาลัยในการตรวจสุขภาพ บุคลากรเปนประจําทุกป

ศก.อ7.7.4.003 1.ระเบียบสวัสดิการของบุคลากรมหาวิทยาลัยรังสิต 2.เอกสารของฝายบุคคลแจงเรื่องสวัสดิการ 3.แบบฟอรมในการขอเบิกเงินที่เกี่ยวกับสวัสดิการของบุคลากร 3.มีเอกสารแสดงถึงสถิตทิ ี่เกี่ยวกับการไดรับสวัสดิการและสิทธิประโยชนตา งๆ ของ บุคลากรภายในคณะ

4.มีระบบสงเสริมสนับสนุนบุคลากรทีม่ ีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบ ความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน คณะยินดีใหบุคลากรไดพัฒนาตนเองตามสายอาชีพและสายงานที่ เกี่ยวของ เพื่อคณะจะไดมีบุคลากรที่มคี ุณภาพและสรางชื่อเสียงใหกับ มหาวิทยาลัย

ศก.อ7.7.4.004 1.แผนงบประมาณสนับสนุนและสงเสริมบุคลากรทําผลงาน วิชาการ 2.มีเอกสารแสดงรายงานการกาวสูต ําแหนงที่สูงขึ้นและการลาศึกษาตอของ บุคลากร 3.อาจารยไดรับรางวัลระดับชาติและระดับนานาชาติ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 172 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.4

มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไว ใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ (ระดับ) (สกอ.7.4) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 5.มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับอยางเปนระบบ เพื่อใหการดําเนินงานของคณะเปนไปดวยประสิทธิภาพ สํานักงาน เลขานุการคณะ จึงมีการประเมินความพึงพอใจการใหบริการของเจาหนาที่ทุก คน เพื่อใหเกิดการปรับปรุงและพัฒนาตนเองของเจาหนาที่และทราบปญหา ตางๆ ที่เกิดขึ้น นอกจากการใหบริการอีกดวย

ศก.อ7.7.4.005 1.สรุปรายงานผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ประเมินเจาหนาที่ 2.ประเมินความพึงพอใจ/ของผูรับบริการตอสํานักงานเลขานุการคณะฯ

6.มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูง และมีแนวทาง ศก.อ7.7.4.006 รายงานการนําผลการประเมินไปพัฒนาและปรับปรุงงาน ในการปรับปรุงพัฒนาเพื่อใหดีขึ้น จากการประเมินความพึงพอใจการใหบริการของเจาหนาที่ โดยอาจารย และหัวหนาสาขาวิชาเปนผูประเมินนั้น ผลการประเมินดังกลาวจะถูกนํามา ประเมินผลการปฏิบัติงานในแตละปดว ย

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.4

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 173 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.5

ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย (ระดับ) (สกอ.7.5) (สมศ.5.5)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 2.มีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 3.มีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล 4.มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล และประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล 5.มีการนําผลการประเมินในขอ 3 และ4 มาปรับปรุงระบบฐานขอมูล 6.มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของสถาบันผานระบบเครือขายกับสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามรูปแบบมาตรฐานที่กาํ หนด

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 3 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

3

3

3

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 2 ขอ มีการดําเนินการ 2 ขอแรกได มีการดําเนินการอยางนอย 3 แรกได 1 คะแนน 2 คะแนน ขอแรกได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.5 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีนโยบายในการจัดทําระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ คณะไดมีการนําฐานขอมูล Data Warehouse ของมหาวิทยาลัย ไดแก ขอมูลนักศึกษา บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ รวมทั้งเว็บไซนของคณะ มาเปนฐานการตัดสินใจในการจัดทําแผนการดําเนินงาน เชนเดียวกัน

ศก.อ7.7.5.001 1.ฐานขอมูล Data Warehouse ของมหาวิทยาลัยรังสิต 2.Website ของคณะศิลปะและการออกแบบ 2.มีเอกสารแสดงรายงานการประชุมคณะกรรมการฯ เรื่องนโยบายการจัดทําระบบ ฐานขอมูล เพื่อการตัดสินใจ 3.มีเอกสารแสดงนโยบายและแผนการ จัดทําระบบฐานขอมูลของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 174 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.5

ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย (ระดับ) (สกอ.7.5) (สมศ.5.5) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ ศก.อ7.7.5.002 ฐานขอมูล Data Warehouse ของมหาวิทยาลัยรังสิต คณะไดนําฐานขอมูลของหนวยงานตางๆ ไดแก สํานักงานงบประมาณ สํานักงานทะเบียน สํานักงานอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม สํานักงาน ประชาสัมพันธ สํานักงานมาตรฐานวิชาการ เปนตน เพื่อนํามาเปนขอมูลในการ ตัดสินใจวางแผนปฏิบตั ิการของคณะในแตละป

3.มีการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล ศก.อ7.7.5.003 ประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล ใช จากการใชระบบฐานขอมูลจากหนวยงานตางๆ ของมหาวิทยาลัย มี Login และ Password ของแตละบุคคลในการเขาใชฐานขอมูล Data Warehouse ประสิทธิภาพและความปลอดภัย ดวยการใช Login และ Password ของตนเอง

4.มีการประเมินประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของระบบฐานขอมูล และ ประเมินความพึงพอใจของผูใชฐานขอมูล

5.มีการนําผลการประเมินในขอ 3 และ4 มาปรับปรุงระบบฐานขอมูล

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 175 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.5

ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย (ระดับ) (สกอ.7.5) (สมศ.5.5) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 6.มีการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลของสถาบันผานระบบเครือขายกับสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาตามรูปแบบมาตรฐานที่กําหนด

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.5

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 176 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.6

ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา (ระดับ) (สกอ.7.6)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.การเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทางตาง ๆ อาทิ เอกสารสิ่งพิมพ เว็บไซด นิทรรศการ 2.มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3 ชองทาง 3.มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่ รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม 4.มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ และมีการดําเนิน กิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุม รวมกันอยางนอยปละ 2 ครั้ง 5.มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

4

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.6 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.การเปดเผยขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางโปรงใส ผานชองทางตาง ๆ อาทิ เอกสารสิ่งพิมพ เว็บไซด นิทรรศการ คณะมีการจัดทําเว็บไซตของคณะเองเพื่อเผยแพรขอมูลขาวสารดาน วิชาการ ดานกิจกรรมของนักศึกษา เพื่อใหหนวยงานภายนอกและภายใน รับทราบ

ศก.อ7.7.6.001 1.มีคําสั่งแตงตั้งผูดแู ลและรับผิดชอบจัดระบบฐานขอมูล 2.แผนพับ Websit ประชาสัมพันธหลักสูตรของคณะฯ 2.มีเอกสารแสดงรายงานการประชุมคณะกรรมการฯ เรื่องนโยบายการจัดทําระบบ 1. มีเอกสารแสดงเว็บไซตของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน 2. มีเอกสารแสดงแผนพับ จดหมายขาวประชาสัมพันธหลักสูตร หรือเอกสารที่ เกี่ยวของกับคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 177 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.6

ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา (ระดับ) (สกอ.7.6) การดําเนินการ

2.มีระบบการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่ รับรูกันโดยทั่วอยางนอย 3 ชองทาง มีระบบการรับฟงความคิดเห็น ของประชาชนผานชองทางที่เปดเผยและเปนที่รับรูกันโดยทัว่ อยางนอย 3 ชองทาง

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ7.7.6.002 1.มีเอกสารแสดงการการรับฟงความคิดเห็นของทางเว็ปไซต การ ประชุม การสัมมนา 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ ของประชาชนเปนลายลักษณอักษร

3.มีการนําความคิดเห็นของประชาชนไปประกอบการบริหารงาน โดยมีเจาหนาที่ ศก.อ7.7.6.003 มีคําสั่งแตงตั้งกําหนดภาระหนาที่การบริหารงานประจําสาขาวิชา รับผิดชอบและมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม ทุกหนวยงานไดดําเนินการเสนอรายชื่ออาจารย เพื่อแตงตั้งภาระหนาที่ ดานการบริหารงานในหนวยงาน เพื่อใหดําเนินไปดวยความเรียบรอยและมี ประสิทธิภาพ

4.มีที่ปรึกษาที่มาจากภาคประชาชน ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ และมี การดําเนิน กิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่องและชัดเจน เชน จัดประชุมรวมกัน อยางนอยปละ 2 ครั้ง คณะไดเรียนเชิญผูทรงคุณวุฒิจากสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวของกับหลักสูตร ตางๆ ของคณะ เพื่อพิจารณาการจัดการเรียนการสอนและตรวจผลงาน นักศึกษา รวมทั้งพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับแนวโนมใน อนาคตตอไป โดยจัดประชุมเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาในแตละภาค อยางนอยป ละ 2 ครั้ง ปละ 2 ครั้ง

ศก.อ7.7.6.004 1. คณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการภาค 1 และ ภาค 2 2.รายงานการประชุม 3.หนังสือเชิญประชุม 4.รายละเอียดของโครงการที่ดําเนินการรวมกับหนวยงานภายนอก 4. มีเอกสารแสดงรายชื่อ และรายละเอียดของโครงการที่ดําเนินการรวมกันกับ ภาคประชาชน

5.มีกระบวนการหรือกลไกการติดตามตรวจสอบโดยภาคประชาชน เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนการสอนในแตละภาคเรียน หมวดวิชาพื้นฐาน และทุกสาขาวิชา จะมีการจัดประชุมคณะกรรมการกํากับมาตรฐาน เพื่อใหเกิด การตรวจสอบโดยภาคประชาชนและเปนไปตามมาตรฐานของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา

ศก.อ7.7.6.005 1.อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการจากสกอ. 2.เอกสารแสดงรายงานผลกาติดตามตรวจสอบโครงการแบบมีสวนรวมโดยภาค ประชาชน รายงานการประชุมคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ 3.ระเบียบวาระการประชุมรายวิชาที่เขาตรวจ 3. มีเอกสารแสดงรายงานผลการติดตามตรวจสอบโครงการแบบมีสวนรวมโดย ภาคประชาชน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 178 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.6

ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา (ระดับ) (สกอ.7.6) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.6

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 179 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.7

รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ (สกอ.7.7) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

65

66

72

2.จํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัยทีไ่ ดรับรางวัล ผลงานวิชาการ /วิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ (2)=(3)+(4)

14

20

30

3.ในระดับชาติ (3)

11

20

28

4.ในระดับนานาชาติ (4)

3

0

2

21.53

30.30

41.67

1.จํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัยทัง้ หมด (1)

5.รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงาน ทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติ หรือนานาชาติ ตอจํานวนอาจารยและนักวิจัยทั้งหมด (5)= [(2)/(1)]*100

รอยละ 5

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

รอยละ 0.1- รอยละ 1-1.99 มากกวาหรือ 0.99 ได 1 ได 2 คะแนน เทากับรอยละ คะแนน 2 ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.7 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ คณะฯมีการประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษาของทุกภาคการศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพและนําเสนอมหาวิทยาลัยเพื่อ เปนอาจารยสอนดีเดน และมีอาจารยไดเผยแพรผลงานวิชาการในตางประเทศ

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ7.7.7.001 อาจารยที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพระดับชาติ และระดับนานาชาติ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 180 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.7

รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ (สกอ.7.7)

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ 2.ชื่อ

ตัวบงชี้ มรส.7.7 สกุล

โทร

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 181 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.8

มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในการบวนการบริหารการศึกษา (ระดับ) (สกอ.7.8)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนทุกหนวยงานในสังกัดรวมเปนคณะ กรรมการหรือ คณะทํางาน โดยผูบริหาร ระดับสูงตองมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายหรือแนวทางในการบริหารความเสีย่ ง 2.มีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรือความลมเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายในการบริหารงาน และ จัดลําดับความสําคัญของปจจัยเสี่ยง 3.มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกลาวตองกําหนดมาตรการหรือ แผนปฏิบตั ิการในการสรางความรู ความเขาใจใหกับบุคลากรทุกระดับ ในดานการบริหารความเสี่ยง และการดําเนินการแกไข ลด หรือปองกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม 4.มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง 5.มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจน มีการกําหนดแนวทางและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงโดย ไดรับความเห็นชอบจากผูบ ริหารสูงสุดของสถาบัน

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3-4 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.8 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 182 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.8

มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในการบวนการบริหารการศึกษา (ระดับ) (สกอ.7.8) การดําเนินการ

1.มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหาร ระดับสูงและตัวแทนทุกหนวยงานในสังกัดรวมเปนคณะ กรรมการหรือ คณะทํางาน โดยผูบริหาร ระดับสูงตองมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบาย หรือแนวทางในการบริหารความเสี่ยง มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมี ผูบริหารระดับสูงและตัวแทนทุกหนวยงานในสังกัดรวมเปนคณะ กรรมการหรือ คณะทํางาน โดยผูบริหารระดับสูงตองมีบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบาย หรือแนวทางในการบริหารความเสี่ยง คณะไดมีการประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษาทุกภาค การศึกษาเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ และนําเสนอ ใหกับมหาวิทยาลัยเพื่อสรางขวัญและกําลังใจแกบคุ ลากรดวย

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ7.7.8.001 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะฯ 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการฯ เรื่อง การแสดงการรวมพิจารณา ให ขอเสนอแนะ และรับรองการกําหนดนโยบายแนวทางในการบริหารความเสี่ยง

2.มีการวิเคราะหและระบุปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรือ ศก.อ7.7.8.002 1.บริหารความเสี่ยงการวิเคราะหรับสมัครนักศึกษาใหมของ ความลมเหลวหรือลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายในการบริหารงาน และจัดลําดับ คณะฯ ความสําคัญของปจจัยเสี่ยง มีการวิเคราะหและระบุปจจัย ตอจํานวนนักศึกษาที่รับสมัครใหมเพื่อลดปญญาในการทีน่ ักศึกษานอยลง

3.มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกลาวตองกําหนดมาตรการหรือ ศก.อ7.7.8.003 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร แผนปฏิบัติการในการสรางความรู ความเขาใจใหกับบุคลากรทุกระดับในดาน 2.รายงานการประชุม การบริหารความเสี่ยง และการดําเนินการแกไข ลด หรือปองกันความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนดังกลาวตองกําหนด มาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการสรางความรู ความเขาใจใหกบั บุคลากรทุก ระดับในดานการบริหารความเสี่ยงและการดําเนินการแกไข ลด หรือปองกัน ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม คณะกรรมการฯ มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงและการกําหนดเกณฑในการ จัดตั้งโครงการตางๆ เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันของบุคลากรทุกหนวยงาน ไม วาจะเปนการลดหรือปองกันความเสี่ยงอยางเปนรูปธรรม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 183 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.8

มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในการบวนการบริหารการศึกษา (ระดับ) (สกอ.7.8) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

4.มีการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ศก.อ7.7.8.004 1.โครงการจัดซื้อคอมพิวเตอร จํานวน 32 เครื่อง คณะกรรมการมีการประเมินความเสี่ยงตามแผนบริหารความเสี่ยง โดย 2.แผนปฏิบัติการของคณะฯ การนําโครงการตางๆ ที่จะดําเนินการมาทําวิเคราะหความเสี่ยง เพื่อใหเกิดความ เหมาะสมในการดําเนินการ

5.มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจน มีการ ศก.อ7.7.8.005 1.รายงานความกาวหนาของโครงการ ป 2552 กําหนดแนวทางและขอเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงโดยไดรับ ความเห็นชอบจากผูบริหารสูงสุดของสถาบัน มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง และ กําหนด แนวทางขอเสนอแนะในการปรับปรุงโครงการตางๆไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการประจําคณะฯ

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.8

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 184 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.9

ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล (ระดับ) (สกอ.7.9)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในสถาบัน 2.มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน 3.มีการกําหนดตัวชีว้ ัดและเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของสถาบัน 4.มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะหรือเทียบเทา โดยกําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับหนวยงาน ใหเชื่อมโยงกับเปาประสงค และประเด็นยุทธศาสตรของสถาบัน 5.มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของสถาบันอุดมศึกษาในระดับคณะหรือเทียบเทา 6.มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายตามคํารับรองของผูบริหารระดับตาง ๆ 7.มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายตามคํารับรอง 8.มีการนําผลการประเมินผลการดําเนินงานของผูบริหาร ไปเชื่อมโยงกับระบบการสรางแรงจูงใจ

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 7 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

7

8

8

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอ มีการดําเนินการ 5-7 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.9 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในสถาบัน มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการในการประเมินผลภายในคณะฯ เพื่อใหสอดคลองแผนกลยุทธิ์ของคณะฯและแผนปฏิบัติการของคณะ (Action Plan)

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ7.7.9.001 1.แผนปฏิบัติการของคณะฯ (Action Plan) (อางอิง ศก.อ 1.1.1.004)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 185 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.9

ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล (ระดับ) (สกอ.7.9) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน มีแผนงานการประเมินผลภายในสถาบัน คณะไดกําหนดแผนงานการประเมินผลของคณะ เพื่อเปนแนวทางในการ พัฒนาการดําเนินงานตามแผนกลยุทธของคณะและสอดคลองกับแผนกลยุทธ ของมหาวิทยาลัย

ศก.อ7.7.9.002 1.แผนกลยุทธของคณะประจําป 2552 2.รายงานความกาวหนาโครงการ ประจําป 2552 (อางอิง ศก.อ1.1.1.005)

3.มีการกําหนดตัวชี้วัดและเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของสถาบัน มีการกําหนดตัวบงชี้ และเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของ สถาบัน คณะไดดําเนินการกําหนดตัวชี้วัดและเปาหมายตามพันธกิจและยุทธศาสตรของ มหาวิทยาลัย เพื่อใหเกิดการพัฒนาไปในแนวทางเดียวกัน

ศก.อ7.7.9.003 1.แผนกลยุทธมหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2550 – 2554 (ฉบับแปล กลยุทธสูการปฏิบัต)ิ (มรส.สวผ.006) (อางอิง ศก.อ1.1.1.002) 2.มีเอกสารแสดงแผนกลปฏิบัติการของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน ประจําปการศึกษา ปจจุบัน(อางอิง ศก.อ1.1.1.004)

4.มีการจัดทํา Strategy Map ของหนวยงานในระดับคณะหรือเทียบเทา โดย กําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับหนวยงานให เชื่อมโยงกับเปาประสงค และประเด็นยุทธศาสตรของสถาบัน มีการจัดทําแผนที่ยุทธศาสตร Strategy Map ของหนวยงานในระดับ คณะหรือเทียบเทา โดยกําหนดเปาประสงคของแตละประเด็นยุทธศาสตรที่ เกี่ยวของกับหนวยงานใหเชื่อมโยงกับเปาประสงคและประเด็นยุทธศาสตรของ สถาบัน คณะไดกําหนดแผนปฏิบตั ิการประจําป โดยเชื่อมโยงกับเปาหมายและ วัตถุประสงคยทุ ธศาสตรของมหาวิทยาลัย เพื่อใหการดําเนินงานตามแผนกล ยุทธของคณะเปนไปทิศทางเดียวกัน

ศก.อ7.7.9.004 แผนปฏิบตั ิการของคณะฯ (Action Plan) (อางอิง ศก.อ 1.1.1.004)

5.มีการยืนยันวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรของสถาบันอุดมศึกษาในระดับ คณะหรือเทียบเทา คณะฯไดมอบหมายใหทุกหนวยงานจัดทําแผนเพื่อใหสอดคลองกับ วิสัยทัศน และประเด็นยุทธศาสตรของสกอ.

ศก.อ7.7.9.005 1.มีเอกสารแสดงการกําหนดผูรบั ผิดชอบในแผนปฏิบตั ิการของ คณะฯ (อางอิง ศก.อ1.1.1.004)

3.มีเอกสารแสดงการกําหนดตัวบงชี้ และเปาหมาย ตามแผนปฏิบัติงานของคณะ/ วิทยาลัย/สถาบัน ปการศึกษาปจจุบัน (อางอิง ศก.อ1.1.1.003)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 186 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.9

ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล (ระดับ) (สกอ.7.9) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

6.มีระบบในการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายตามคํา ศก.อ7.7.9.006 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะฯ รับรองของผูบริหารระดับตาง ๆ มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายของคณะ โดย ผานการเห็นชอบของคณะกรรมการประจําคณะ

7.มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายตามคํารับรอง มีการนําผลการดําเนินงานมาพิจารณาใหเปนไปตามตัวชี้วัดและ เปาหมาย โดยคณะกรรมการประจําคณะ เพื่อตรวจสอบผลการดําเนินการให เกิดการพัฒนาและปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

ศก.อ7.7.9.007 มีเอกสารแสดงผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้และเปาหมาย (อางอิง ศก.อ1.1.1.005)

8.มีการนําผลการประเมินผลการดําเนินงานของผูบริหาร ไปเชื่อมโยงกับระบบ การสรางแรงจูงใจ คณะกรรมการประจําคณะฯ ไดกําหนดหลักเกณฑการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน โดยการนําผลงานวิชาการเขามาพิจารณา เพื่อเปนการสรางขวัญ และกําลังใจ รวมทั้งเปนสิ่งจูงใจใหเกิดการผลิตผลงานทางวิชาการเพิ่มขึ้น

ศก.อ7.7.9.008 ระบบสรางขวัญและกําลังใจใหกับบุคลากรที่มผี ลงานทางวิชาการ

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.9

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 187 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.10

รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมการประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ (สมศ.5.9) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

65

63

71

55.00

61.00

56.00

3.ในประเทศ (3)

47

59

50

4.ในตางประเทศ (4)

8

2

6

10.00

2.00

15.00

จํานวน อาจารย ประจําที่เขา รวมประชุม วิชาการและ/ หรือนําเสนอ ผลงานทาง วิชาการทั้งใน ประเทศและ ตางประเทศ รอยละ 1-34 ของจํานวน อาจารย ประจําทั้งหมด ได 1 คะแนน

จํานวน อาจารย ประจําที่เขา รวมประชุม วิชาการและ/ หรือนําเสนอ ผลงานทาง วิชาการทั้งใน ประเทศและ ตางประเทศ รอยละ 35-49 ของจํานวน อาจารย ประจําทั้งหมด ได 2 คะแนน

6.ในประเทศ (6)

3

0

10

จํานวน อาจารย ประจําที่เขา รวมประชุม วิชาการและ/ หรือนําเสนอ ผลงานทาง วิชาการทั้งใน ประเทศและ ตางประเทศ มากกวาหรือ เทากับ รอยละ 50 ของจํานวน อาจารย ประจําทั้งหมด ได 3 คะแนน

7.ในตางประเทศ (7)

7

2

5

100

100.00

100.00

1.จํานวนอาจารยประจําทีป่ ฏิบัติงานจริง(ไมนับรวม อาจารยที่ลาศึกษาตอ) (1) 2.จํานวนอาจารยที่เขารวมประชุมวิชาการทั้งใน ประเทศและตางประเทศ (2) = (3)+(4)

5.จํานวนอาจารยที่นําเสนอผลงานวิชาการทั้งใน ประเทศและตางประเทศ (5) = (6)+(7)

8.รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ และ/หรือนําเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศ และ ตางประเทศตอจํานวนอาจารยประจําที่ปฏิบัติงาน จริง (8) = [((2)+(5))/(1)]*100

รอยละ 50

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.10 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม 5 คะแนนรวม รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 188 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.10

รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมการประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ (สมศ.5.9) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ คณะสสนับสนุนใหคณาจารยทุกทานเขารวมประชุมหรือสัมมนาเพื่อเพิ่มพูน ความรูและพัฒนาตนเองเสมอ และแลกเปลี่ยนความรูรวมกันโดยมีการนําเสนอ ผลงานวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.10

2.ชื่อ นางชฎารัตน

ศก.อ7.7.10.001 1.รายชื่ออาจารยประจําคณะฯ ประจําป 2552 2.อาจารยประจําที่เขารวมประชุม หรือนําเสนอผลงานทางวิชาการ ในประเทศ 3.อาจารยประจําที่เขารวมประชุม หรือนําเสนอผลงานทางวิชาการ ในตางประเทศ

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 189 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.11

งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศตอจํานวนอาจารยประจํา (บาทตอคน) (สมศ.5.10) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1,000

65

66

72

2.งบประมาณสําหรับพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศ และตางประเทศ (2)= (3)+(4)

898,500

1858030

219547

3.ในประเทศ (3)

794,100

346950

107547

4.ในตางประเทศ (4)

101,400

1511080

112000

งบประมาณ สําหรับการ พัฒนา คณาจารยทั้ง ในประเทศ และ ตางประเทศ 1-6,499 บาท ตอคน ได 1 คะแนน

งบประมาณ สําหรับการ พัฒนา คณาจารยทั้ง ในประเทศ และ ตางประเทศ 6,500-9,999 บาทตอคน ได 2 คะแนน

งบประมาณ สําหรับการ พัฒนา คณาจารยทั้ง ในประเทศ และ ตางประเทศ มากกวาหรือ เทากับ 10,000 บาท ตอคน ได 3 คะแนน

5.งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งใน ประเทศและตางประเทศตออาจารยประจําทั้งหมด (5) = (2) /(1)

13,613.63

28,151.97

3,049.26

ขอมูล

1.จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด (1)

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.11 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ คณะฯไดสนับสนุนใหคณาจารยเขารวมประชุมวิชาการและเขารวมประชุม วิชาการทั้งในและตางประเทศ

2

คะแนนรวม

2

หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ7.7.11.001 1.รายชื่ออาจารยประจําคณะฯ ประจําป 2552 2.มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณการพัฒนาคณาจารย ในประเทศ 3.มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณการพัฒนาคณาจารย ในตางประเทศ 4.เอกสารแสดงรายละเอียดการฝกอบรมตางๆ ของอาจารยประจําในคณะฯ (อางอิง ศก.อ7.7.10.001)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 190 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.11

งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศตอจํานวนอาจารยประจํา (บาทตอคน) (สมศ.5.10)

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.11

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 191 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.12

รอยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรู ทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ (สมศ.5.11) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

15

16

16

2.จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการ พัฒนาความรู และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศ และตางประเทศ(2) = (3)+(4)

15

16

16

3.ในประเทศ (3)

15

15

16

4.ในตางประเทศ (4)

0

1

0

100

100.00

100.00

บุคลากร ประจําสาย สนับสนุนที่ ไดรับการ พัฒนาความรู และทักษะใน วิชาชีพ ทั้งใน ประเทศและ ตางประเทศ รอยละ 1-44 ของจํานวน บุคลากร ทั้งหมด ได 1 คะแนน

บุคลากร ประจําสาย สนับสนุนที่ ไดรับการ พัฒนาความรู และทักษะใน วิชาชีพ ทั้งใน ประเทศและ ตางประเทศ รอยละ 45-69 ของจํานวน บุคลากร ทั้งหมด ได 2 คะแนน

บุคลากร ประจําสาย สนับสนุนที่ ไดรับการ พัฒนาความรู และทักษะใน วิชาชีพ ทั้งใน ประเทศและ ตางประเทศ มากกวาหรือ เทากับ รอยละ 70 ของจํานวน บุคลากร ทั้งหมด ได 3 คะแนน

1.จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนทั้งหมด (1)

5.รอยละของบุคลากรประจําสายสนับสนุนฯตอ จํานวนบุคลากรทั้งหมด (5)=[(2)/(1)]*100

รอยละ 70

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.7.12 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 192 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 7

การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ มรส.7.12

รอยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรู ทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ (สมศ.5.11) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

คณะฯเห็นความสําคัญของสายสนับสนุนจึงสงเสริมใหเจาหนาทีไดเขาศึกษาตอ ศก.อ7.7.12.001 1.บุคลากรสายสนับสนุน ระดับปริญญาโท และเขาฝกอบรมสัมมนาตางๆ ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพของการ 2.มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ในประเทศ 3.เอกสารแสดงรายละเอียดการฝกอบรมตางๆ ของบุคลากรสายสนับสนุน ทํางานมากขึ้น

ชื่อผูประสานงาน 1.ชื่อ อ.วิชัย

ตัวบงชี้ มรส.7.12

2.ชื่อ นางชฎารัตน

สกุล เล็กอุทัย

โทร 3441

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 193 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.1

มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ (ระดับ) (สกอ.8.1)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของสถาบันใหเปนไปตามเปาหมาย 2.มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดสรร และการวางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพโปรงใส ตรวจสอบได 3.มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใชในการตัดสินใจและวิเคราะหสถานะทางการเงิน 4.มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2 ครั้ง 5.มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคา ใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงขององคการอยางตอเนื่อง 6.มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาที่ตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด 7.ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 7 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

7

7

7

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 5 ขอ มีการดําเนินการ 5-6 ขอแรก มีการดําเนินการครบทุกขอ แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.8.1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีแผนกลยุทธทางการเงินที่สอดคลองกับยุทธศาสตรของสถาบันใหเปนไปตาม ศก.อ8.8.1.001 1. แผนปฏิบัติการ Action Plan ประจําป 2552 เปาหมาย 2. แบบฟอรมการประมาณการนักศึกษา รายวิชาที่เปดสอน คาสอน และ FTES คณะกรรมการประจําคณะจะเปนผูพิจารณางบประมาณของคณะ เพื่อใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของคณะ โดยการจัดทําเปนแผนปฏิบตั กิ าร ประจําป 2552 และใชเอกสารการประมาณการนักศึกษารายวิชาที่เปดสอน คา สอน และคา FTES เพื่อชวยในการสรางแผนกลยุทธทางการเงิน รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 194 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.1

มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ (ระดับ) (สกอ.8.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน แผนการจัดสรร และการวาง ศก.อ8.8.1.002 1. / 3. /4. คูมือการจัดทํางบประมาณประจําปการศึกษา 2552 แผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพโปรงใส ตรวจสอบได 2. เอกสารเสนองบประมาณของแตละสาขา คณะรับทราบระเบียบทางการเงิน ขั้นตอนการเบิกจายของมหาวิทยาลัย 5. ยอดรายจายประจําปงบประมาณ 2552 และมีการวางแผนการใชเงิน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถตรวจสอบ ได โดยบุคลากรของคณะทุกคนไดมีสว นรวมในการนําเสนอและรับผิดชอบ โครงการตางๆ ทั้งนี้คณะกรรมการประจําคณะจะเปนผูพิจารณาอนุมัติเบื้องตน กอน การนําเสนอตอคณะกรรมการพิจารณางบประมาณของมหาวิทยาลัยตอไป

3.มีการจัดทําระบบฐานขอมูลทางการเงินที่ผูบริหารสามารถนําไปใชในการ ตัดสินใจและวิเคราะหสถานะทางการเงิน คณะไดมีการจัดทํางบประมาณรวมกับสํานักงานงบประมาณของ มหาวิทยาลัยเพื่อจัดทําฐานขอมูลการจัดตั้งงบประมาณ รายรับ คาใชจายและ โครงการตางๆ และผูบริหาร หัวหนาแตละสาขาวิชารับทราบการกรอกและ ตรวจสอบขอมูลผานระบบ Intranet ของมหาวิทยาลัย

ศก.อ8.8.1.003 1. บันทึกขอความแจงการกรอกงบประมาณและจัดทําแผนปฏิบัติ การ ประจําปการศึกษา 2552 2. ยอดรายจายประจําปงบประมาณ 2552 (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.002 ขอ 5) 3. สรุปงบประมาณการใชจายคณะศิลปะและการออกแบบ เรียนคณบดี ผานรอง คณบดีฝายบริหาร และบันทึกขอความเรื่องการจัดสรรงบประมาณของ มหาวิทยาลัยรังสิตใหกับคณะ

4.มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ อยางนอยปละ 2 ครั้ง คณะมีการจัดรายงานทางการเงินอยางเปนระบบตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย เพื่อนําเสนอทางมหาวิทยาลัยทุกเดือน

ศก.อ8.8.1004 1. สรุปงบประมาณภาคการศึกษาที่ 1/2552 ภาคการศึกษาที่ 2/2552 และภาคการศึกษาที่ 3/2552 2. ยอดรายจายประจําปงบประมาณ 2552 (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.002 ขอ 5)

5.มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคา ใชจาย และวิเคราะหสถานะ ศก.อ8.8.1.005 1. สรุปการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 ทางการเงินและความมั่นคงขององคการอยางตอเนื่อง 2. รายละเอียดเปรียบเทียบงบโครงการ คณะมีการจัดทํารายงานทางการเงิน การเปรียบเทียบงบโครงการ และ มีสรุปการจัดสรรงบประมาณแจงแกคณะกรรมการคณะและผูบริหารในแตละ สาขา ทําใหคณะสามารถนําขอมูลการเงินไปวิเคราะหสถานะทางการเงิน และ ความมั่นคงของคณะได และเปนขอมูลในการตัดสินใจในการใชจายเงินอยางมี ประสิทธิภาพ รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 195 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.1

มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ (ระดับ) (สกอ.8.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

6.มีหนวยงานตรวจสอบภายในและภายนอก ทําหนาทีต่ รวจ ติดตามการใชเงิน ศก.อ8.8.1.006 1. เอกสารการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ และ สรุปการ ใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑที่สถาบันกําหนด จัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.005 ขอ คณะมีการตรวจสอบการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑของ 1) มหาวิทยาลัยอยางเครงครัด โดยการตรวจสอบของรองคณบดีฝายบริหาร และ คณะกรรมการประจําคณะ เพื่อใหเกิดความโปรงใส และมีประสิทธิภาพตอการ ดําเนินงานของคณะ

7.ผูบริหารระดับสูงมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนํา ขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ คณะจัดทําเอกสารสรุปงบประมาณการใชจาย เสนอคณบดีและ กรรมการคณะ เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนและการตัดสินใจในการใชจายดาน การเงินตอไป

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.8.1 1.ชื่อ อ.ไพลิน 2.ชื่อ

ศก.อ8.8.1.007 1. เอกสารการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ เรื่องพิจารณา จัดสรรงบประมาณ ประจําปการศึกษา2552 และ สรุปงบประมาณการใชจา ยคณะ ศิลปะและการออกแบบ เรียนคณบดี ผานรองคณบดีฝายบริหาร และบันทึก ขอความเรื่องการจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัยรังสิตใหกบั คณะ (อางอิง เอกสาร ศก.อ8.8.1.003 ขอ 3)

สกุล โภคทวี

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 196 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.2

มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน (ระดับ) (สกอ.8.2) (สมศ.5.4)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของสถาบัน 2.มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของสถาบัน 3.มีแผนการใชทรัพยากรรวมกับหนวยงานอื่นในสถาบัน 4.มีแผนการใชทรัพยากรรวมกับหนวยงานอื่นนอกสถาบัน 5.มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกับหนวยอืน่

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

4

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอแรกได มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกได 3 คะแนน แรกได 1 คะแนน 2 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.8.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีคณะกรรมการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของสถาบัน คณะไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อพัฒนาทรัพยากรของคณะขึ้น เชนคณะกรรมการคณะ คณะกรรการหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร คณะกรรมการปรับปรุงอาคารสถานที่ เพื่อดําเนินการจัดสรรการใชทรัพยากร ของคณะใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งตอนักศึกษา และบุคลากร รวมถึงหนวยงาน อื่นๆ ของมหาวิทยาลัย

ศก.อ8.8.2.001 1. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการคณะ คําสั่งแตงตั้งกรรมการ หองปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร และคําสั่งแตงตั้งกรรมการปรับปรุงอาคารสถานที่ และ เอกสารการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ เรื่องพิจารณาจัดสรร งบประมาณ ประจําปการศึกษา2552 (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.007 ขอ 1) 2. รายงานการประชุมคณะกรรมการคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 197 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.2

มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน (ระดับ) (สกอ.8.2) (สมศ.5.4) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีผลการวิเคราะหความตองการในการใชทรัพยากรของสถาบัน คณะกรรมการหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร มีการวิเคราะหความตองการ ใชคอมพิวเตอรของนักศึกษาจากจํานวนนักศึกษาในแตละชั้นปทุกสาขาวิชาที่ จําเปนตองใชคอมพิวเตอรประกอบการเรียนในแตละวิชา โดยการจัดซื้อ การ ปรับปรุงอุปกรณและโปรแกรมตางๆ รวมทั้งการปรับปรุงหองปฏิบัติการให เพียงพอตอการใชงาน นอกจากนี้คณะยังอนุญาตใหหนวยงานอื่นๆ เขามาใช หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรรวมกันอีกดวย นอกจากนี้ทางดานทรัพยากร บุคลากร คณะยังไดวิเคราะหการใชทรัพยากรอาจารยพิเศษ เพื่อทราบจํานวน อาจารยพิเศษ และงบประมาณในการดําเนินการอีกดวย

ศก.อ8.8.2.002 1. แบบฟอรม งปก. 08 และแผนการสอนอาจารยพิเศษ และ คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการคณะ คําสั่งแตงตั้งกรรมการหองปฏิบัติการทาง คอมพิวเตอร และคําสั่งแตงตั้งกรรมการปรับปรุงอาคารสถานที่ (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.2.001 ขอ 1) 2. เอกสารเสนองบประมาณของแตละสาขา (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.002 ขอ 2) และสรุปการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 (อางอิงเอกสาร ศก.อ 8.8.1.005 ขอ 1)

3.มีแผนการใชทรัพยากรรวมกับหนวยงานอื่นในสถาบัน คณะมีการใหความรวมมือกับหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยและคณะ ในการขอใชหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร การใชหอศิลป รวมทั้งบุคลากร และ เจาหนาที่ เชนการอบรม การชวยงานในมหาวิทยาลัย โดยอาจารยจากคณะ ศิลปะและการออกแบบ

ศก.อ8.8.2.003 1.ตารางการใชหอศิลป และภาพถายการจัดงาน 2.บันทึกขอความ การอบรม การชวยงานภายในมหาวิทยาลัยรังสิต โดยอาจารย ของคณะศิลปะและการออกแบบ

4.มีแผนการใชทรัพยากรรวมกับหนวยงานอื่นนอกสถาบัน คณะมีการใหความรวมมือกับหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัยในการสง นักศึกษาดูงาน ฝกงาน รวมทั้งเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร เชนการสง อาจารยและเจาหนาทีศ่ ึกษาดูงาน

ศก.อ8.8.2.004 1. เอกสารแสดงหนังสือขออนุญาตสงนักศึกษาฝกงานและ หลักฐานการเขาฝกงาน 2. โครงการพัฒนาสักยภาพบุคลากรและนักศึกษา (เจรจาความรวมมือและดูงาน ประเทศญี่ปุน ครั้งที่2) 3. คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการคณะ คําสั่งแตงตั้งกรรมการหองปฏิบัติการทาง คอมพิวเตอร และคําสั่งแตงตั้งกรรมการปรับปรุงอาคารสถานที่ (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.2.001 ขอ 1)

5.มีผลการประหยัดงบประมาณที่เกิดจากการใชทรัพยากรรวมกับหนวยอื่น จากที่คณะใหหนวยงานอื่นเขามาใชหอศิลปและหองปฏิบตั ิการ คอมพิวเตอรรวมกันนั้น เปนการประหยัดงบประมาณในการจัดหาสถานที่ แสดงผลงานและการเรียนการสอน รวมทั้งการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอรและการ สรางหองปฏิบัติการเพิ่ม ทําใหการใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดมูลคาสูงสุด

ศก.อ8.8.2.005 1. เอกสารสรุปคาใชจายโครงการแสดงเงินคงเหลือจากการใช สถานที่ แสดงงานภายใน (หอศิลป) 2. ตารางการใชหอศิลป และภาพถายการจัดงาน (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.2.003 ขอ 1)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 198 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.2

มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน (ระดับ) (สกอ.8.2) (สมศ.5.4) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.8.2 1.ชื่อ อ.ไพลิน 2.ชื่อ

สกุล โภคทวี

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 199 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.3

สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษา (บาทตอคน) (สมศ.5.6) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

10000

0

996.83

2.สินทรัพยถาวร (2)

0

99683000

3.สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา (3)= (2) /(1)

0

100,000.00

ขอมูล

1.จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (1)

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน 2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

จํานวน จํานวน จํานวน สินทรัพยถาวร สินทรัพยถาวร สินทรัพยถาวร 1-64,999 65,000มากกวาหรือ เทากับ 97591387.33 บาทตอคน ได 99,999 บาท ตอคน ได 2 100,000 บาท 1 คะแนน ตอคน ได 3 คะแนน คะแนน 100,066.02 975.27

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.8.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา เทากับ 975.27 คน มีมูลคาสินทรัพยถาวร จํานวน 97591387.33 บาท ดังนั้นมูลคาสินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา จึงเทากับ 100065.61 บาทตอคน

2.ชื่อ

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.8.3 1.ชื่อ อ.ไพลิน

คะแนนรวม

ศก.อ8.8.3.001 1. รายงานสินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาป การศึกษา 2552 (ขอมูลสวนกลาง โดยสํานักงานบัญชี) 2. แบบฟอรมการประมาณการนักศึกษา รายวิชาที่เปดสอน คาสอน และ FTES (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.001 ขอ 2)

สกุล โภคทวี

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 200 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.4

คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษา (รอยละของเกณฑปกติ) (สมศ.5.7) ขอมูล

1.จํานวนนักศึกษาปริญญาตรีเต็มเวลาเทียบเทา (1)

เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550

100000

0

2.คาใชจายทั้งหมด (2)

0

3.คาใชจายตอจํานวนนักศึกษาปริญญาตรีเต็มเวลา เทียบเทา (3)= (2) /(1)

0

เกณฑการประเมิน

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

>=10% หรือ 5-9.99% หรือ 0.01-4.99% <=-10% ของ -5-(-9.99)% หรือ -0.01-(เกณฑ ได 1 ของเกณฑได 4.99)% ของ 2 คะแนน เกณฑได 3 67404545.51 129412639.19 คะแนน คะแนน 996.83

975.27

67,618.90

132,694.17

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.8.4 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงเกณฑ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

2

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา เทากับ 975.27 คน มีคาใชจายทั้งหมด จํานวน 129412639.19 บาท ดังนั้นคาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา จึงเทากับ 132694.16 บาทตอคน

2.ชื่อ

2

หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.8.4 1.ชื่อ อ.ไพลิน

คะแนนรวม

ศก.อ8.8.4.001 1.สรุปการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.005 ขอ 1) 2. แบบฟอรมการประมาณการนักศึกษา รายวิชาที่เปดสอน คาสอน และ FTES (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.001 ขอ 2) 3. รายงานคาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาปการศึกษา 2552 (ขอมูลสวนกลาง โดยสํานักงานบัญชี)

สกุล โภคทวี

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 201 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.5

รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ (สมศ.5.8) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

รอยละ 6

1.เงินเหลือจายสุทธิ (1)

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา 2550 0

2.งบดําเนินการ (2)

0

3.รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ(3)= [(1) /(2)]*100

0

เกณฑการประเมิน

2551

2552

1 คะแนน

2 คะแนน

เงินเหลือจาย เงินเหลือจาย สุทธิรอยละ 1- สุทธิรอยละ 4.99 ของ 5.00-9.99 67404545.51 52080595.59 งบดําเนินการ หรือ มากกวา ได 1 คะแนน รอยละ 15 ของ งบดําเนินการ 34.62 6.22 ได 2 คะแนน 23338463.5

3240262.35

3 คะแนน เงินเหลือจาย สุทธิรอยละ 10.00-15.00 ของ งบดําเนินการ ได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.8.5 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงเกณฑ

2

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงพัฒนาการ

0

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

3

คะแนนรวม

3

หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีการกําหนดงบดําเนินการไว ศก.อ8.8.5.001 1.สรุปการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 ที่ 52080595.59 เปนการคาดการณจากผลการดําเนินงานในปการศึกษา 2551 (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.005 ขอ 1) ซึ่งในปนี้ คณะไดมีการทําความรวมมือกับสถาบันตางประเทศ อาทิเชน สถาบัน 2.สรุปจํานวนรอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ บุงกะ จากประเทศญี่ปุน เปนตน นอกจากนี้คณะมีนักศึกษาทําศิลปนิพนธ เพิ่มขึ้นทําใหการจายคาตอบแทนเกินจากงบประมาณที่กําหนดไว ทั้งสิ้น 3240262.35 บาท คิดเปนรอยละ 6.22 ของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.8.5 1.ชื่อ อ.ไพลิน

สกุล โภคทวี

รายงานการประกั 2.ชื่อ นคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550สกุคณะศิ ล ลปะและการออกแบบ 202 มหาวิทยาลัยรังสิต

โทร 3389 โทร


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.6

คาใชจายทั้งหมดที่ใชระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา(บาทตอคน) (สมศ.6.9) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

2550

2551

10000

0

996.83

2.คาใชจายหองสมุด (2)

0

1812392.42

3.คาใชจายคอมพิวเตอร (3)

0

4309013.59

4.คาใชจายศูนยสารสนเทศ (4)

0

306847.57

5.รวม (5)= (2)+(3)+(4)

0

6428253.58 11255460.35

6.คาใชจายหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนย สารสนเทศตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (6)= (5)/(1)

0

ขอมูล

1.จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (1)

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

6,448.70

เกณฑการประเมิน 2552

1 คะแนน

คาใชจาย ทั้งหมดที่ใชใน ระบบ หองสมุด 1304427.72 คอมพิวเตอร และศูนย 6993221.21 สารสนเทศ 13,999 บาทตอ คน ได 1 คะแนน 2957811.42 975.27

2 คะแนน

3 คะแนน

คาใชจาย ทั้งหมดที่ใชใน ระบบ หองสมุด คอมพิวเตอร และศูนย สารสนเทศ 4,000-5,999 บาทตอคน ได 2 คะแนน

คาใชจาย ทั้งหมดที่ใชใน ระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนย สารสนเทศ มากกวาหรือ เทากับ 6,000 บาทตอคน ได 3 คะแนน

11,540.87

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.8.6 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 203 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.6

คาใชจายทั้งหมดที่ใชระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศตอนักศึกษา(บาทตอคน) (สมศ.6.9) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา เทียบเทา เทากับ 975.27 คนมีคาใชจายหองสมุด จํานวน1304427.72บาท คอมพิวเตอรจํานวน6993221.21บาทและศูนยสารสนเทศจํานวน2957811.42 บาท ดังนั้นคาใชจายหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนยสารสนเทศตอจํานวน นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา คือ 11540.86 บาทตอคน

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.8.6 1.ชื่อ อ.ไพลิน 2.ชื่อ

ศก.อ8.8.6.001 1. แบบฟอรมการประมาณการนักศึกษา รายวิชาที่เปดสอน คา สอน และ FTES (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.001 ขอ 2) 2.สรุปจํานวนคาใชจายทั้งหมดที่ใชระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศ ตอจํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา

สกุล โภคทวี

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 204 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.7

รอยละของงบประมาณประจําปในการสนับสนุนการพัฒนาอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน (มรส.) เปาหมาย ตามแผน ป 2552

ขอมูล

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

เกณฑการประเมิน

2550

2551

2552

1,112,909

842199.75

842199.75

2.ใชในการพัฒนาคณาจารย (2)

868,928

707248.55

707248.55

3.ใชในการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน (3)

243,981

134951.2

134951.2

4.งบดําเนินการประจําป (4)

1,143,500

1.งบประมาณในการพัฒนาบุคลากรประจําปในการ พัฒนาอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน (1)= (2)+(3)

5.รอยละของงบประมาณประจําปในการสนับสนุน การพัฒนาอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุนตอ งบดําเนินการประจําป (5) = [(1)/(4)]*100

รอยละ 1

97.32

1 คะแนน

2 คะแนน

รอยละ 0.10- รอยละ 0.500.49 ได 1 0.99 ได 2 คะแนน คะแนน

3 คะแนน ไมนอยกวา รอยละ 1.00 ได 3 คะแนน

44827314.66 44827314.66

1.88

1.88

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.8.7 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม

5

หมายเลขและเอกสารอางอิง

ในปการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบมีงบประมาณประจําปในการ ศก.อ8.8.7.001 1. สรุปจํานวนรอยละของงบประมาณประจําปในการสนับสนุนการ สนับสนุนการพัฒนาอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน ทั้งสิ้นจํานวน *** บาท พัฒนาอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน แบงเปนพัฒนาอาจารยจํานวน *** บาทและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน จํานวน *** บาท

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 205 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.7

รอยละของงบประมาณประจําปในการสนับสนุนการพัฒนาอาจารยและบุคลากรสายสนับสนุน (มรส.)

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.8.7 1.ชื่อ อ.ไพลิน 2.ชื่อ

สกุล โภคทวี

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 206 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.8

มีการวิเคราะหตนทุน และคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต/คาเสื่อมราคาตอคาFTES รอยละของเงินเดือนบุคลากรตองบดําเนินการ/ คาใชจายทั้งหมดของมหาวิทยาลัย (มรส.)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีหนวยงานหรือผูรับผิดชอบจัดการและดําเนินการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับ ตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่จําเปนตอการบริหารงาน 2.มีระบบสารสนเทศทางการบัญชี ที่สามารถใหขอมูลที่จําเปนตอการวิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่ตองการไดอยางถูกตอง เชื่อถือได และทันเวลา 3.มีการวิเคราะหตนทุนและคาใชจา ยรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่ตองการ 4.มีการจัดทํารายงานผลการวิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ตาม ระยะเวลาที่กําหนดอยางสม่ําเสมอ 5.ผูบริหารใชรายงานผลการวิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ในการ วางแผนและตัดสินใจ

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

มีการดําเนินการ 1-2 ระดับได มีการดําเนินการ 3-4 ระดับได 1 คะแนน 2 คะแนน

3 คะแนน มีการดําเนินการครบทุก ระดับได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.8.8 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 207 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.8

มีการวิเคราะหตนทุน และคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต/คาเสื่อมราคาตอคาFTES รอยละของเงินเดือนบุคลากรตองบดําเนินการ/ คาใชจายทั้งหมดของมหาวิทยาลัย (มรส.) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีหนวยงานหรือผูรับผิดชอบจัดการและดําเนินการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับ ตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และ อัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่จําเปนตอการบริหารงาน 1.มีหนวยงานหรือผูรับผิดชอบจัดการและดําเนินการวิเคราะหขอมูล เกี่ยวกับ ตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่จําเปนตอการบริหารงาน คณะศิลปะและการออกแบบมอบหมายใหคณะกรรมการประจําคณะเปน ผูพิจารณาวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับตนทุนและคาใชจายตอหัวในการผลิตบัณฑิต โดยสํานักงานงบประมาณ สํานักงานบัญชีและพัสดุ จะเปนผูส งขอมูลเกี่ยวของ กับคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่จําเปนตอการบริหารงานใหกบั คณะ เพื่อวางแผนในการดําเนินงานในแตละปการศึกษาตอไป

ศก.อ8.8.8.001 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการคณะ (อางอิงเอกสาร ศก.อ 8.8.2.001) 2. แบบฟอรมการประมาณการนักศึกษา รายวิชาที่เปดสอน คาสอน และ FTES (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.001 ขอ 2)

2.มีระบบสารสนเทศทางการบัญชี ที่สามารถใหขอมูลที่จําเปนตอการวิเคราะห ตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และ อัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่ตองการไดอยางถูกตอง เชื่อถือได และทันเวลา 2.มีระบบสารสนเทศทางการบัญชี ที่สามารถใหขอมูลที่จําเปนตอการ วิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่ตองการไดอยางถูกตอง เชื่อถือได และ ทันเวลา คณะมีประสานงานขอมูลตางเกี่ยวกับตนทุนและคาใชจายในการผลิต บัณฑิตกับสํานักงานงบประมาณ สํานักงานบัญชีและพัสดุ เพื่อใหไดขอมูลที่ ถูกตองเชื่อถือไดและทันตอการใชงาน

ศก.อ8.8.8.002 1.สรุปการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 (อางอิงเอกสาร ศก.อ 8.8.1.005 ขอ 1) 2. แบบฟอรมการประมาณการนักศึกษา รายวิชาที่เปดสอน คาสอน และ FTES (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.001 ขอ 2) 3.สถิติจํานวนนักศึกษาปการศึกษา 2551 (ขอมูลจาก Intranet)

3.มีการวิเคราะหตน ทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอ ศก.อ8.8.8.003 1.สรุปการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 คา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่ตองการ (อางอิงเอกสาร ศก.อ 8.8.1.005 ขอ 1) 3.มีการวิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต คาเสื่อม ราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ที่ตองการ คณะมีการนําขอมูลทางบัญชีที่ผานระบบ Intranet และขอมูล FTES มา วิเคราะหตนทุนและคาใชจายตอหัวในการผลิตบัณฑิต รวมทั้งมีการประชุม รวมกับสํานักงานงบประมาณ เพื่อพิจารณางบประมาณตามกรณีที่จําเปน

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 208 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 8

การเงินและงบประมาณ

ตัวบงชี้ มรส.8.8

มีการวิเคราะหตนทุน และคาใชจายรายหัวในการผลิตบัณฑิต/คาเสื่อมราคาตอคาFTES รอยละของเงินเดือนบุคลากรตองบดําเนินการ/ คาใชจายทั้งหมดของมหาวิทยาลัย (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ

4.มีการจัดทํารายงานผลการวิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิต ศก.อ8.8.8.004 1. เอกสารเชิญประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณางบประมาณ บัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ตาม 2. สรุปการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 ระยะเวลาที่กําหนดอยางสม่ําเสมอ (อางอิงเอกสาร ศก.อ8.8.1.005 ขอ 1) 4.มีการจัดทํารายงานผลการวิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการ ผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ตาม ระยะเวลาที่กําหนดอยางสม่ําเสมอ มีการรายงานผลการวิเคราะหใหมหาวิทยาลัยพิจารณางบประมาณอยาง สม่ําเสมอ 5.ผูบริหารใชรายงานผลการวิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการผลิต ศก.อ8.8.8.005 1./2. สรุปการจัดสรรงบประมาณประจําปการศึกษา 2552 บัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ในการ (อางอิงเอกสาร ศก.อ 8.8.1.005 ขอ 1) วางแผนและตัดสินใจ 5.ผูบริหารใชรายงานผลการวิเคราะหตนทุนและคาใชจายรายหัวในการ ผลิตบัณฑิต คาเสื่อมราคาตอคา FTES และอัตราสวนทางการเงินอื่นๆ ในการ วางแผนและตัดสินใจ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงเรื่องงบประมาณที่เกี่ยวของกับ FTES ผูบริหาร จะใชรายงานผลการวิเคราะหเพื่อวางแผนและตัดสินใจ เพราะมีผลตอการวาง แผนการจัดกลุมเรียนและอัตราการจางอาจารยพิเศษและวิทยากรพิเศษ

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.8.8 1.ชื่อ อ.ไพลิน 2.ชื่อ

สกุล โภคทวี

โทร 3389

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 209 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.1

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา (ระดับ) (สกอ9.1) (สมศ.7.1)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมกับระดับการพัฒนาของสถาบัน 2.มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพจากคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน ภายใตการมีสวน รวมจากภาคีทั้งภายใน และภายนอกสถาบัน 3.มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้ และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการ ประเมินคุณภาพภายนอก 4.มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุมคุณภาพการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา (อยางนอย 3 ปนับรวมปที่มีการติดตาม) 5.มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน 6.มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาและใชรวมกันทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะ และสถาบัน 7.มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวางหนวยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 7 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

7

7

7

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอ มีการดําเนินการ 4 ขอแรกได มีการดําเนินการอยางนอย 5 2 คะแนน ขอแรกได 3 คะแนน แรกได 1 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.9.1 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมกับระดับ การพัฒนาของสถาบัน คณะมีระบบในการวางแผนคุณประกันคุณภาพทางการศึกษา โดยทุก ภาคการศึกษาจะมีคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิ จาภายนอก ทั้งจาก สกอ. และภาคเอกชน เพื่อมาตรวจผลงานและมาตรฐาน การศึกษาของหมวดวิชาพื้นฐาน และสาขาวิชา

ศก.อ9.9.1.001 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการฯ 3.คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําป 2552 4.เอกสารแสดงนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ 5.ปฏิทินการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ 6.เอกสารแสดงรายงานสรุปผลการปรับปรุงตาขอเสนอแนะของคณะกรรมการ ประเมินคุณภาพ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 210 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.1

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา (ระดับ) (สกอ9.1) (สมศ.7.1) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพจาก คณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของสถาบัน ภายใตการมีสวน รวมจากภาคีทั้งภายใน และภายนอกสถาบัน คณะกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพจาก คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะ และคณะทํางานประกัน คุณภาพเพื่อทําหนาที่รวบรวมขอมูลของคณะจัดทําเลมรายงานเปนผูจัดทํา รวบรวมเอกสารและมหาวิทยาลัย

ศก.อ9.9.1.002 1.คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําป 2552 2.(ตัวอยาง) การประกันคุณภาพการศึกษาภายในของคณะ ประจําปการศึกษา 2552 3.รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ เรื่อง การใหความสําคัญ กับการประกันคุณภาพการศึกษา 4.รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของคณะ ประจําปการศึกษา 2551

3.มีการกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้ และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐาน การอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการประเมิน คุณภาพภายนอก คณะกําหนดมาตรฐานตัวบงชี้ และเกณฑคุณภาพที่สอดคลองกับ มาตรฐานการอุดมศึกษา และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และสอดคลองกับการ ประเมินคุณภาพภายนอก

ศก.อ9.9.1.003 1.คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําป 2552( อางอิง ศก.อ9.9.1.001) 2.รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของคณะ ประจําปการศึกษา 2552 3.การกําหนดตัวบงชี้กลางของ มรส.

4.มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา (อยาง นอย 3 ปนับรวมปที่มีการติดตาม) คณะไดดําเนินงานดานการประกันคุณภาพที่ครบถวน ทั้งการควบคุม คุณภาพการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเนื่องเปนประจํา ทุกป

ศก.อ9.9.1.004 รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ของทางคณะศิลปะและการออกแบบ ประจําป 2550 2551 และ2552

5.มีการนําผลการประกันคุณภาพมาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2552 คณะไดมีการผลักดันสงเสริม ใหอาจารย เสนอขอตําแหนงทาวิชาการมากขึ้น

ศก.อ9.9.1.005 1.รายงานการนําผลขอเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายในไปปรับปรุงการดําเนนิการของคณะ 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 211 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.1

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา (ระดับ) (สกอ9.1) (สมศ.7.1) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 6.มีระบบฐานขอมูลและสารสนเทศที่สนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา และใชรวมกันทั้งระดับบุคคล ภาควิชา คณะ และสถาบัน คณะไดจัดทํา website ของคณะ เพื่อเผยแพรขอมูล ขาวสาร ผลงาน นักศึกษา ผลงานคณาจารย ตลอดจนรางวัลจากการประกวดตางๆ

ศก.อ9.9.1.006 ระบบฐานขอมูล Website ของคณะ

7.มีระบบสงเสริมการสรางเครือขายดานการประกันคุณภาพการศึกษาระหวาง หนวยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน คณะไดมีการเชิญผูทรงคุณวุฒิจากภายนอกรวมเปนกรรมการกํากับ มาตรฐานวิชาการของแตละสาขาวิชา เพื่อใหการผลิตนักศึกษาที่จะออกไปมี คุณภาพเปนที่ยอมรับในวงการวิชาชีพ

ศก.อ9.9.1.007 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ 2.รายงานการประชุมคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการทุกสาขา ภาค 1 ภาค 2 /2552

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.9.1 1.ชื่อ นางชฎารัตน 2.ชื่อ

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 212 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.2

มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา (ระดับ) (สกอ.9.2)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีระบบการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา 2.มีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชกับกิจกรรมนักศึกษา 3.มีกลไกใหนักศึกษามีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย 4.นักศึกษามีการใชกระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของกิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา 5.นักศึกษาสรางเครือขายการพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหวางสถาบัน 6.มีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมที่นักศึกษาดําเนินการ และในสวนที่นักศึกษามีสวนรวมกับการประกันคุณภาพของสถาบัน 7.มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการใหความรูและกลไกการดําเนินงานประกันคุณภาพที่เกี่ยวของกับนักศึกษาอยางตอเนื่อง

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 6 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

6

7

7

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 4 ขอ มีการดําเนินการ 4-5 ขอแรก มีการดําเนินการอยางนอย 6 แรกได 1 คะแนน ได 2 คะแนน ขอแรกได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.9.2 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีระบบการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา คณะไดดําเนินเผยแพรความรูเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาให นักศึกษาและบุคลากรทุกคนรับทราบ โดยการประชาสัมพันธทางแผนพับ และ website ของคณะ

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ9.9.2.001 1.คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการการฝายกิจกรรมนักศึกษา 2.เอกสารประชาสัมพันธแผนพับ และWebsite ของคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 213 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.2

มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา (ระดับ) (สกอ.9.2) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใชกบั กิจกรรม ศก.อ9.9.2.002 1.นิทรรศการ Ductfun 2009 นักศึกษา 2.โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา คณะศิลปะและการออกแบบ ประจําป คณะมีระบบสงเสริมใหนักศึกษานําความรูดานการประกันคุณภาพไปใช 2552 กับกิจกรรมนักศึกษา ไมวาจะเปนกิจกรรมวิชาการ หรือกิจกรรมสันทนาการ โครงการตางๆ หากมีการดําเนินการจะตองมีการประเมินติดตามผลเพื่อพัฒนา ในปตอไป

3.มีกลไกใหนักศึกษามีสวนรวมในการประกันคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัย คณะสนับสนุนใหนักศึกษามีสว นรวมในการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัย โดยเขาไปมีสว นรวมเปนคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา หรือ ชมรมตางๆที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น ศึกษาตอ Smart team

ศก.อ9.9.2.003 1.สรุปการประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา 2.แบบสอบถามรายงานความพึงพอใจดานการใหบริการของสํานักงานเลขานุการ คณะ

4.นักศึกษามีการใชกระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของกิจกรรมหรือ ศก.อ9.9.2.004 1.โครงการติวศิลปเพือ่ นอง 2.การประเมินการจัดกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา โครงการนักศึกษา นักศึกษามีการใชกระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของ 3.แผนปฏิบัติการของคณะ (Action Plan) กิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา

5.นักศึกษาสรางเครือขายการพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหวางสถาบัน ศก.อ9.9.2.005 นักศึกษาไดรับรางวัลในระดับมหาวิทยาลัย ระดับชาติ นักศึกษาสรางเครือขายการพัฒนาคุณภาพภายในคณะ และนอก สถาบัน โดยlสรางคุณภาพเรื่องการเรียนที่ไดรับรางวัลจากการสงผลงาน ประกวด ทั้งในระดับมหาวิทยาลัย ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 214 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.2

มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา (ระดับ) (สกอ.9.2) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ 6.มีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมที่นักศึกษา ดําเนินการ และในสวนที่นักศึกษามีสวนรวมกับการประกันคุณภาพของสถาบัน คณะมีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมที่ นักศึกษาดําเนินการ และในสวนที่นักศึกษามีสวนรวมกับการประกันคุณภาพ ของคณะ

ศก.อ9.9.2.006 1.นิทรรศการ Ductfun 2009 2.โครงการพัฒนาศักยภาพผูนํานักศึกษา คณะศิลปะและการออกแบบ 2552 3.โครงการรณรงคตอตานยาเสพติดของคณะ

7.มีการนําผลการประเมินไปพัฒนากระบวนการใหความรูและกลไกการ ศก.อ9.9.2.007 เปรียบเทียบผลการประเมินกิจกรรมของนักศึกษาป 2551 และป 2552 ดําเนินงานประกันคุณภาพที่เกี่ยวของกับนักศึกษาอยางตอเนื่อง คณะมีการนําผลการประเมิน ไปพัฒนากระบวนการใหความรูและกลไก การดําเนินงานประกันคุณภาพที่เกี่ยวของกับนักศึกษา เพื่อไปปรับปรุงในครัง้ ตอไป

ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.9.2 1.ชื่อ นางชฎารัตน 2.ชื่อ

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 215 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.3

ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับ) (สกอ.9.3) (สมศ.7.2)

เกณฑมาตรฐาน ระดับ 1.มีการดําเนินการตามระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในระดับกลุมสาขาวิชาอยางตอเนื่อง 2.มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองตามพันธกิจของกลุมสาขาวิชา 3.มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายในตอคณะกรรมการบริหารคณะวิชาและหนวยงานที่เกี่ยวของ 4.มีการนําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของหนวยงานอยางตอเนื่อง 5.มีนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพที่สาขาวิชาพัฒนาขึ้น หรือการปฏิบตั ิที่เปนเลิศ (Best Practice) หรือการเปนแหลงอางอิงของกลุมสาขาวิชาอื่นๆ

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ระดับ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

4

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการไมครบ 3 ขอ มีการดําเนินการ 3 ขอแรกได มีการดําเนินการอยางนอย 4 ขอแรกได 3 คะแนน 2 คะแนน แรกได 1 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.9.3 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม การดําเนินการ

5

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง

1.มีการดําเนินการตามระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในระดับกลุม ศก.อ9.9.3.001 อางอิงเอกสารที่ ศก.อ9.9.1.001 และ ศก.อ9.9.1.002 สาขาวิชาอยางตอเนื่อง คณะฯ มีการดําเนินการประกันคุณภาพภายในคณะฯ โดยมีการแตงตั้ง คณะกรรมการการประกันคุณภาพ และจัดทําเปนประจําทุกปโดยมีการพัฒนา และปรับปรุงใหมีการพัฒนาดานการดําเนินงาน มีการประชุมคณะกรรมการ ประกันคุณภาพ เพื่อใหไดแนวทาง และขอมูลใหตรงตามมาตรฐานที่ มหาวิทยาลัยกําหนด

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 216 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.3

ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับ) (สกอ.9.3) (สมศ.7.2) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคลองตามพันธกิจของกลุม ศก.อ9.9.3.002 1.รายงานการประชุมคระทํางานประกันคุณภาพการศึกษา คณะ สาขาวิชา ศิลปะและการออกแบบ มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายใน โดยสอดคลองตามพันธกิจ 2.รายงานการประชุมหมวดและสาขาวิชา ของกลุมสาขาวิชา โดยมีหลักฐานการดําเนินงาน คือ มีการจัดประชุมเพื่อ พัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาตามตัวบงชี้ของ สกอ. และมรส.

3.มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายในตอคณะกรรมการบริหารคณะวิชา ศก.อ9.9.3.003 รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของคณะ และหนวยงานที่เกี่ยวของ ประจําปการศึกษา 2552ที่นําเสนอตอสารธารณะ ผาน web site ของคณะ มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายในตอหนวยงานที่เกี่ยวของ และสาธารณชน และมีการรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ในที่ ประชุมคณะกรรมการประจําคณะฯ โดยมีหลักฐานการดําเนินงาน คือ SAR ป การศึกษา 2551

4.มีการนําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของหนวยงาน อยางตอเนื่อง มีการนําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุงการดําเนินงานของ หนวยงานอยางตอเนื่อง โดยคณะฯจะนําขอสังเกต และขอเสนอแนะของ คณะกรรมการเสนอตอที่ประชุมพรอมกับการทําหนังสือขอความคิดเห็น และ ขอเสนอแนะจากคณาจารย เพื่อทบทวนและปรับปรุงระบบงานประกันคุณภาพ ของคณะในสวนที่เปนจุดออน

ศก.อ9.9.3.004 1.รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําคณะ 2.การติดตามแผนพัฒนาอาจารยเสนอขอตําแหนงทางวิชาการ

5.มีนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพที่สาขาวิชาพัฒนาขึ้น หรือการปฏิบัติที่ เปนเลิศ (Best Practice) หรือการเปนแหลงอางอิงของกลุมสาขาวิชาอื่นๆ สาขาวิชาศิลปภาพถายไดเริ่มนําสิ่งที่ไดอบรม สัมมนา นํามาถายทอด เผยแพร เขาสูระบบการจัดการเรียนรู (KM) เพื่อใหอาจารยภายในคณะมรส. และภายนอกมรส.ไดทราบ

ศก.อ9.9.3.005 การจัดการเรียนรูของสาขาวิชาศิลปภาพถาย (KM) ลงใน Website ของคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 217 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.3

ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับ) (สกอ.9.3) (สมศ.7.2) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.9.3 1.ชื่อ นางชฎารัตน 2.ชื่อ

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 218 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.4

คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/หนวยงานมีการพัฒนาตัวบงชี้ตามแผนยุทธศาสตรตามพันธกิจ และภาระงาน (มรส.)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีแผนงานการพัฒนาตัวบงชี้ตามยุทธศาสตร พันธกิจ และภาระงาน 2.มีผูรับผิดชอบในการทํางาน หรือดําเนินงานการพัฒนาตัวบงชี้ตามยุทธศาสตร พันธกิจ และภาระงาน 3.มีการกําหนดตัวบงชี้ตามพันธกิจของคณะ/วิทยาลัย/สถาบันนอกเหนือจากตัวบงชี้ของ สกอ.และสมศ. 4.มีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงานที่กาํ หนด 5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาตัวบงชี้ตามยุทธศาสตร พันธกิจ และภาระงานตอไป

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการ 1-2 ขอได 1 มีการดําเนินการ 3 ขอได 2 มีการดําเนินการอยางนอย 4 คะแนน คะแนน ขอได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.9.4 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีแผนงานการพัฒนาตัวบงชี้ตามยุทธศาสตร พันธกิจ และภาระงาน คณะไดจัดทําแผน ป 2552 เปนแผนงานพัฒนาบงชี้ตามยุทธศาสตร พันธกิจ และภาระงานของคณะ เพื่อใหสอดคลองกับมหาวิทยาลัย

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ9.9.4.001 1.แผนกลยุทธและแผนปฏิบตั ิการของคณะ 2.แผนงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 219 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.4

คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/หนวยงานมีการพัฒนาตัวบงชี้ตามแผนยุทธศาสตรตามพันธกิจ และภาระงาน (มรส.) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีผูรับผิดชอบในการทํางาน หรือดําเนินงานการพัฒนาตัวบงชี้ตามยุทธศาสตร ศก.อ9.9.4.002 1.คําสั่งแตงตั้งคณะทํางานประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ พันธกิจ และภาระงาน ใหใชคณะกรรมการประจําคณะแทน คณะไดแตงตั้งคณะทํางานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อ 2.รายงานการปรชุมคณะทํางานประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ รับผิดชอบในการทํางานดานประกันคุณภาพของคณะ

3.มีการกําหนดตัวบงชี้ตามพันธกิจของคณะ/วิทยาลัย/สถาบันนอกเหนือจากตัว บงชี้ของ สกอ.และสมศ. คณะไดกําหนดตัวบงชี้ตามพันธกิจของคณะและมหาวิทยาลัย

ศก.อ9.9.4.003 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในประจําป 2552

4.มีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงานที่กําหนด คณะมีการประเมินผลรายงานความกาวหนาของแผนปฏิบัติการ ประจําป 2552

ศก.อ9.9.4.004 รายงานความกาวหนาของแผนปฏิบัติการ ประจําป 2552

5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาตัวบงชี้ตามยุทธศาสตร พันธกิจ และภาระงานตอไป คณะมีการนําผลการประเมินของโครงการตางๆ ที่ไดดําเนินการไป ปรับปรุงและพัฒนาในปตอไป

ศก.อ9.9.4.005 อางอิง ศก.อ9.9.3.004

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 220 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.4

คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/หนวยงานมีการพัฒนาตัวบงชี้ตามแผนยุทธศาสตรตามพันธกิจ และภาระงาน (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.9.4 1.ชื่อ นางชฎารัตน 2.ชื่อ

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 221 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.5

มีการพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจตามหลักการและความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาสามารถปฏิบัติงานไดอยาง สอดคลองกับแผนและเปาหมายของหนวยงาน (มรส.)

เกณฑมาตรฐาน ขอ 1.มีแผนการพัฒนาคณาจารย บุคลากรและนักศึกษาใหมีความรูความเขาใจตามหลักการ และความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา 2.มีผูรับผิดชอบในการทํางาน หรือมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการพัฒนาคณาจารย บุคลากรและนักศึกษาใหมีความรูความเขาใจตามหลักการ และ ความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา 3.มีการจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาคณาจารย บุคลากรและนักศึกษาใหมีความรูความเขาใจตามหลักการ และความสําคัญของการประกัน คุณภาพการศึกษา 4.มีการติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานที่กําหนด 5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาตามแผนงานตอไป

ผลการดําเนินงาน เปาหมาย ตามแผน ป 2552 5 ขอ

เกณฑการประเมิน

ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

1 คะแนน

2550

2551

2552

5

5

5

2 คะแนน

3 คะแนน

มีการดําเนินการ 1-2 ขอได 1 มีการดําเนินการ 3 ขอได 2 มีการดําเนินการอยางนอย 4 คะแนน คะแนน ขอได 3 คะแนน

ผลคะแนนตามตัวบงชี้ มรส.9.5 ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงเกณฑ

3

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงพัฒนาการ

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนอิงเปาหมาย

1

คะแนนรวม

5

การดําเนินการ 1.มีแผนการพัฒนาคณาจารย บุคลากรและนักศึกษาใหมีความรูความเขาใจ ตามหลักการ และความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา คณะมีแผนพัฒนาคณาจารย บุคลากรและนักศึกษาใหมีความรูความ เขาใจตามหลักการ และความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา

คะแนนรวม หมายเลขและเอกสารอางอิง ศก.อ9.9.5.001 แผนพัฒนาคณะศิลปะและการออกแบบ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 222 มหาวิทยาลัยรังสิต

5


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.5

มีการพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจตามหลักการและความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาสามารถปฏิบัติงานไดอยาง สอดคลองกับแผนและเปาหมายของหนวยงาน (มรส.) การดําเนินการ

หมายเลขและเอกสารอางอิง

2.มีผูรับผิดชอบในการทํางาน หรือมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการพัฒนา คณาจารย บุคลากรและนักศึกษาใหมคี วามรูความเขาใจตามหลักการ และ ความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา คณะไดมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการพัฒนาคณาจารย เชน การ กาวสูตาํ แหนงทางวิชาการ รองคณบดีฝายวิชาการรับผิดชอบ ดานการอบรม สัมมนา รองคณบดีฝายบริหารเปนผูรบั ผิดชอบ สวนกิจกรรม นักศึกษา รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา เปนผูรับผิดชอบ

ศก.อ9.9.5.002 คําสั่งแตงตั้งที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคณาจารย บุคลากร และ นักศึกษา

3.มีการจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาคณาจารย บุคลากรและนักศึกษาใหมี ความรูความเขาใจตามหลักการ และความสําคัญของการประกันคุณภาพ การศึกษา คณะมีการจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาคณาจารย บุคลากรและ นักศึกษาใหมีความรูความเขาใจตามหลักการ และความสําคัญของการประกัน คุณภาพการศึกษา

ศก.อ9.9.5.003 โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคณาจารย บุคลากร และนักศึกษา

4.มีการติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานที่กําหนด มีการติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานที่กําหนด

ศก.อ9.9.5.004 1.เอกสารแสดงแผนพัฒนานักศึกษาของคณะ 2.สรุปการประเมินผลกิจการนักศึกษา

5.มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาตามแผนงานตอไป มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาตามแผนงานตอไป

ศก.อ9.9.5.005 มีเอกสารแสดงเปรียบเทียบผลการประเมินกิจกรรมของนักศึกษา ของปที่ผานมากับปจจุบัน แลวนํามาปรับปรุงพัฒนาตามแผนงานใหดีขึ้นในป ตอไป

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 223 มหาวิทยาลัยรังสิต


องคประกอบที่ 9

ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

ตัวบงชี้ มรส.9.5

มีการพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจตามหลักการและความสําคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาสามารถปฏิบัติงานไดอยาง สอดคลองกับแผนและเปาหมายของหนวยงาน (มรส.) หมายเลขและเอกสารอางอิง

การดําเนินการ ชื่อผูประสานงาน ตัวบงชี้ มรส.9.5 1.ชื่อ นางชฎารัตน 2.ชื่อ

สกุล บุญถนอม

โทร 3436

สกุล

โทร

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 224 มหาวิทยาลัยรังสิต


สวนที่ 3 ผลการประเมินการดําเนินงานตามองคประกอบการศึกษา

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 225 มหาวิทยาลัยรังสิต


สรุปคะแนนผลการประเมินการดําเนินงานตามองคประกอบคุณภาพการศึกษา ผลการประเมินตนเอง องคประกอบคุณภาพ

ผลการประเมินของ คณะกรรมการ

ตัวบงชี้

ผลการ ประเมิน

ความ หมาย

ตัวบงชี้

ผลการ ประเมิน

ความ หมาย

องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ

3

5.00

ดีมาก

3

5.00

ดีมาก

องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน

24

4.21

ดี

24

4.21

ดี

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

4

5.00

ดีมาก

4

5.00

ดีมาก

องคประกอบที่ 4 การวิจัย

11

4.45

ดี

11

4.45

ดี

องคประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแกสังคม

7

5.00

ดีมาก

7

5.00

ดีมาก

องคประกอบที่ 6 การทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรม

3

5.00

ดีมาก

3

5.00

ดีมาก

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

12

4.75

ดีมาก

12

4.75

ดีมาก

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

8

4.38

ดี

8

4.38

ดี

องคประกอบที่ 9 ระบบ และกลไกการประกันคุณภาพ

5

5.00

ดีมาก

5

5.00

ดีมาก

รวมองคประกอบที่ 1-9

77

77

คะแนนรวมองคประกอบที่ 1-9

352.00

คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ 1-9

4.57

352.00 ดีมาก

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 226 มหาวิทยาลัยรังสิต

4.57

ดีมาก


สวนที่ 4 สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 227 มหาวิทยาลัยรังสิต


สวนที่ 4 สรุปผลการดําเนินงานและขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 4.1 สรุปผลการดําเนินงานตามองคประกอบคุณภาพการศึกษา องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินงาน จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดีมาก คณะฯ มีการกําหนดปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ และสามารถ ดําเนินงานไดตามแผนการปฏิบัติงานเปนสวนใหญ ขอสังเกต คณะฯ มีการประชุม การติดตามผล และรายงานตอคณะกรรมการบริหารคณะและมหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง มี การวิ เ คราะห แ ละปรั บ ปรุ ง กลยุ ท ธ ใ ห ทั น สมั ย สอดคล อ งกั บ สถานการณ ใ นป จ จุ บั น และแนวโน ม อนาคต และ มี คณะกรรมการฝายตาง ๆ เปนผูรับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมายชัดเจน องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดี คณะฯ มีกระบวนการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยเฉพาะการเรียนการสอนจากการปฏิบัติงานและ ประสบการณจริง สอนโดยคณาจารยและผูเชี่ยวชาญดานวิชาชีพ มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรและโครงการพัฒนาการเรียน การสอนเพื่อเพิ่มพูนความรูและประสบการณของนักศึกษาอยางตอเนื่อง หลักสูตรของคณะฯ มีมาตรฐานเปนที่ยอมรับและเปนสหวิทยาการทุกหลักสูตร มีการปรับปรุงหลักสูตรอยาง ตอเนื่อง เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของสังคมในปจจุบัน คณะฯ สงเสริมใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรมประกวดงาน ออกแบบ ทําใหนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกามีผลงานสรางสรรคที่ไดรับรางวัลเปนที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและ นานาชาติ คณะมีนโยบายในการพัฒนาหลักสูตรทวิภาษาและหลักสูตรนานาชาติอยางชัดเจน มีการแตงตั้งคณะกรรมการ ดานวิเทศสัมพันธเฉพาะกิจ เพื่อดําเนินงานดานการแลกเปลี่ยนนักศึกษา การดูงานตางประเทศ มีจัดการประชุมหารือ ความรวมมือดานวิชาการกับสถาบันการศึกษาตางประเทศ ขอสังเกต สัด ส วนของจํ า นวนนัก ศึ ก ษาเต็ม เวลาเทีย บเทา ต อจํ า นวนอาจารยป ระจํ า ยัง ไมเ ป น ไปตามเกณฑ ซึ่ง ในป การศึกษา 2552 ทางคณะฯ ไดจางอาจารยพิเศษ วิทยากรพิเศษ ผูเชี่ยวชาญในดานวิชาชีพ เขามาสอนในหลักสูตร เพื่อ เพิ่มสัดสวนจํานวนอาจารยตอนักศึกษา สัดสวนของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย ยัง ไมเปนไปตามเกณฑ ซึ่งในปการศึกษา 2552 ทางคณะฯ ไดสนับสนุนและผลักดันคณาจารยใหขอตําแหนงทางวิชาการ มี การจัดฝกอบรมและมีระบบพี่เลี้ยง คาดวาจะมีสัดสวนเพิ่มขึ้นในปตอไป รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 228 มหาวิทยาลัยรังสิต


คารอยละบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป และคารอยละบัณฑิตที่ ทํางานตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษามีจํานวนลดลง สาเหตุเนื่องมาจากผลกระทบของสภาพเศรษฐกิจของประเทศที่ตกต่ํา สงผลกระทบทําใหอัตราการจางงานและเงินเดือนที่บัณฑิตไดรับลดลง องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดีมาก คณะฯ มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาครบถวนและหลากหลาย สอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึง ประสงค มีการสงเสริมใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรมทั้งในระดับคณะ มหาวิทยาลัย และภายนอกมหาวิทยาลัย ขอสังเกต กิจรรมการพัฒนานักศึกษามีการดําเนินงานตามแผนดําเนินการ มีการประเมินและปรับปรุงโครงการอยาง ตอเนื่อง การดําเนินงานกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาไดรับความรวมมือที่ดีจากทุกฝายทั้งฝายนักศึกษาและฝายกิจการ นักศึกษา มีการดําเนินงานกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาโดยรวมมือกับหนวยงานภายนอกเพิ่มขึ้นในรูปแบบบริการวิชาการ แกสังคมแบบมีสวนรวม เชน รวมกิจกรรมประกวด จัดนิทรรศการ ออกรานจําหนายสินคา และบําเพ็ญประโยชน เปนตน องคประกอบที่ 4 การวิจัย จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดี คณะฯ ไดรับเงินสนับสนุนงานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น มีจํานวนผลงานวิจัยและงานสรางสรรค เพิ่มขึ้น และมีการนําเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการเพิ่มขึ้น ผลงานของนักศึกษาระดับปริญญาโทไดรับการตีพิมพ เผยแพรบทความวิทยานิพนธกอนจบการศึกษาทุกคน ขอสังเกต จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในมหาวิทยาลัยมีเพิ่มขึ้น แตจํานวนเงินสนับสนุน งานวิจัยและงานสรางสรรคภายนอกมหาวิทยาลัยลดลง ในปการศึกษา 2552 ทางคณะฯ ไดมีนโยบายสงเสริมและผลักดัน ใหคณาจารยทํางานวิจัยในลักษณะทีมวิจัยเพิ่มมากขึ้น ทําใหมีจํานวนอาจารยประจําที่ไดรับทุนเพิ่มขึ้น องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดีมาก คณะฯ มีการบริการวิชาการใหแกหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนอยางตอเนื่องและครอบคลุมทุก สาขาวิชา ขอสังเกต คณาจารยของคณะฯ มีประสบการณและความเชี่ยวชาญดานวิชาชีพ เปนที่ยอมรับของวงการศิลปะและการ ออกแบบ จึงไดรับเชิญใหเปนกรรมการวิชาการ กรรมวิชาชีพ และวิทยากรพิเศษ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550229 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


การจัดกิจกรรมบริการทางวิชาการแกสังคมทั้งภายในและภายนอกอยูในรูปแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตรทีอ่ าจารย และนักศึกษามีสวนรวมกันในการดําเนินกิจกรรม สรางจิตสํานึกในการตอบแทนสิ่งที่ดีใหกับสังคมและชุมชน นอกจากนี้ยัง มีการใหบริการวิชาการโดยการเปนวิทยากรพิเศษอบรมการออกแบบแฟชั่นและงานประดิษฐใหกับสถาบันการศึกษาใน ตางประเทศอีกดวย คือ มหาวิทยาลัย Yarmouk University ประเทศจอรแดน โดยความรวมมือกับสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงอัมมาน ประเทศจอรแดน องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดีมาก คณะฯ มี ก ารเรี ย นการสอนที่ ส อดคล อ งกั บ และเอื้ อ อํ า นวยให มี ก ารสอดแทรกสาระความรู เ กี่ ย วกั บ กั บ ศิลปวัฒนธรรมใหกับนักศึกษาเกือบทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมดานการสงเสริมงานศิลปวัฒนธรรมเปนจํานวน มากและอยางตอเนื่องตลอดทั้งป ขอสังเกต เนื่องจากเปนธรรมชาติของวิชาทางดานศิลปะและการออกแบบ ที่สอดคลองกับการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประกอบการการปลูกฝงคุณคาของศิลปวัฒนธรรมใหกับนักศึกษาเปนเวลานาน จึงทําใหการสอดแทรกความรูและการจัด กิจกรรมเปนไปอยางตอเนื่องและมีประสิทธิผล องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดีมาก คณะฯ มีการบริหารจัดการตามนโยบายของมหาวิทยาลัย มีการจัดระบบฐานขอมูล มีการตรวจสอบการทํางาน และการบริหารความเสี่ยงในการบริหารการศึกษา ใหการสนับสนุนคณาจารยในการพัฒนาตนเอง สงเสริมใหเขารวมอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และเขารวมประชุมวิชาการทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ สวนบุคลากรสายสนับสนุนก็ไดรับการ สงเสริมการพัฒนาศักยภาพเชนเดียวกัน เชน การฝกอบรม สัมมนา และศึกษาตอระดับปริญญาโท ขอสังเกต คณะฯ มีโครงสรางการบริหารงานที่ชัดเจน มีการแตงตั้งคณะกรรมการฝายตาง ๆ เพื่อรับผิดชอบงานดานตาง ๆ มีการสงเสริมและพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่องและทั่วถึง องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดี คณะฯ มี ร ะบบกลไกในการจั ด สรร วิ เ คราะห ค า ใช จ า ย และมี ก ารตรวจสอบการเงิ น และงบประมาณที่ มี ประสิทธิภาพ มีการใชทรัพยากรรวมกันทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550230 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


ขอสังเกต คณะฯ มีขั้นตอนในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ การตรวจสอบการเงิน และการติดตามผลการใชงบประมาณ ที่ชัดเจนและตอเนื่อง องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ จุดเดน ปการศึกษา 2552 มีผลการดําเนินงานอยูในเกณฑดีมาก คณะฯ มีกระบวนการในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ มีการประเมินผลและการปรับปรุงการดําเนินงานทุก โครงการทั้งดานวิชาการ ดานบริการวิชาการ ดานวิจัย และดานศิลปวัฒนธรรม ขอสังเกต คณะฯ มีนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ มีหมุนเวียนคณาจารยเปนคณะกรรมการประกัน คุณภาพ เพื่อใหเกิดความรูและเขาใจในกลไกการประกันคุณภาพ ตลอดจนใหนักศึกษามีสวนรวมในการประกันคุณภาพ มี การนําผลการประเมินจากปการศึกษาที่ผานมามาปรับปรุงแผนการดําเนินงาน มีการติดตามงานและสงบุคลากรเขารวม ฝกอบรมงานประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง 4.2. ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550231 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


ภาคผนวก

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550232 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต


ภาคผนวก ก ผลการประเมินตามมาตรฐานคุณภาพ สมศ.

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 233 มหาวิทยาลัยรังสิต


คณะศิลปะและการออกแบบ แบบรายงานผลการประเมิน ผลการประเมินตามมาตรฐานคุณภาพ สมศ. แบบถวงน้ําหนักเปนรายมาตรฐานและตัวบงชี้ มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานและตัวบงชี้

อิง อิง บรรลุ มาตรฐาน พัฒนาการ เปาหมาย

คะแนน รวม

น้ําหนัก

คะแนน คาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก ถวง

มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต

50.00

75.06

ตัวบงชี้รวม 1.1 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและการ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป(มรส.2.9)

4.17

1

0

0

1

25.00 4.17

1.2 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําตรงสาขาที่ สําเร็จการศึกษา(มรส.2.19)

2

0

0

2

4.17

8.34

1.3 รอยละของบัณฑิตที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ (ขั้นต่ําของ กพ.=7,630 บาท)(มรส.2.10)

2

0

0

2

4.17

8.34

1.4 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใ ช บัณฑิต(มรส.2.11)

3

1

1

5

4.17

20.85

1.5 จํานวนนักศึกษาหรือศิษยเกา ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณ ยกยอง ในดานวิชาการวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรมหรือรางวัลทาง วิชาการหรือดานอื่นที่เกี่ยวของกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ และระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปทผี่ านมา(มรส.2.12)

2

0

1

3

4.17

12.51

1.6 จํานวนวิทยานิพนธและงานวิชาการของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกที่ไดรับรางวัลระดับชาติ หรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปทผี่ านมา(มรส.2.23)

3

1

1

5

4.17

20.85

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 234 มหาวิทยาลัยรังสิต

4.00


มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานและตัวบงชี้ มาตรฐานที่ 1 ดานคุณภาพบัณฑิต ตัวบงชี้เฉพาะ 1.7 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด(มรส.4.10) 1.8 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพ เผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด(มรส.4.11)

อิง อิง บรรลุ มาตรฐาน พัฒนาการ เปาหมาย

คะแนน รวม

น้ําหนัก

3

1

1

5

50.00 25.00 25.00

N/A

N/A

N/A

N/A

N/A

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 235 มหาวิทยาลัยรังสิต

คะแนน คาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก ถวง

125.00

N/A


มาตรฐานที่ 2 ดานการวิจัยและงานสรางสรรค มาตรฐานและตัวบงชี้

อิง อิง บรรลุ มาตรฐาน พัฒนาการ เปาหมาย

คะแนน รวม

มาตรฐานที่ 2 ดานการวิจัยและงานสรางสรรค

น้ําหนัก

คะแนน คาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก ถวง

20.00

84.00

2.1 รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพ เผยแพร และ/หรือ นําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย(มรส.4.5)

3

1

1

5

4.00

20.00

2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคของสถาบันตอ จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย(มรส.4.3)

1

0

1

2

4.00

8.00

2.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายนอก สถาบันตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย(มรส.4.4)

3

1

1

5

4.00

20.00

2.4 รอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรือ งานสรางสรรคจากภายในสถาบันตอจํานวนอาจารยประจําและ นักวิจัย(มรส.4.6)

2

1

1

4

4.00

16.00

2.5 รอยละของอาจารยประจําและนักวิจัยที่ไดรับทุนทําวิจัยหรือ งานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา และนักวิจัย(มรส.4.7)

3

1

1

5

4.00

20.00

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 236 มหาวิทยาลัยรังสิต

4.20


มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ มาตรฐานและตัวบงชี้

อิง อิง บรรลุ มาตรฐาน พัฒนาการ เปาหมาย

คะแนน รวม

มาตรฐานที่ 3 ดานการบริการวิชาการ

น้ําหนัก

คะแนน คาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก ถวง

20.00

100.00

3.1 รอยละของกิจกรรม/โครงการการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ ตอบสนองความตองการและพัฒนา/และเสริมสรางความเขมแข็ง ของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตอจํานวนอาจารย ประจํา(มรส.5.3)

3

1

1

5

5.00

25.00

3.2 รอยละของอาจารยที่เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธ ภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพใน ระดับชาติหรือนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา(มรส.5.2)

3

1

1

5

5.00

25.00

3.3 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการและวิชาชีพ มาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย(มรส.5.5)

3

1

1

5

5.00

25.00

3.4 คาใชจายและมูลคาของสถาบัน ในการบริการวิชาการและ วิชาชีพเพื่อสังคมตอจํานวนอาจารยประจํา(มรส.5.6)

3

1

1

5

5.00

25.00

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 237 มหาวิทยาลัยรังสิต

5.00


มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒธรรม มาตรฐานและตัวบงชี้

อิง อิง บรรลุ มาตรฐาน พัฒนาการ เปาหมาย

คะแนน รวม

มาตรฐานที่ 4 ดานการทํานุบาํ รุงศิลปะและวัฒธรรม

น้ําหนัก

คะแนน คาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก ถวง

10.00

50.00

4.1 รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และสรางเสริม เอกลักษณ ศิลปะและวัฒนรรมตอจํานวนนักศึกษา(มรส.6.2)

3

1

1

5

5.00

25.00

4.2 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษพัฒนาและ สรางเสริมเอกลักษณศลิ ปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ (มรส.6.3)

3

1

1

5

5.00

25.00

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 238 มหาวิทยาลัยรังสิต

5.00


มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร มาตรฐานและตัวบงชี้

อิง อิง บรรลุ มาตรฐาน พัฒนาการ เปาหมาย

คะแนน รวม

มาตรฐานที่ 5 ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร

น้ําหนัก

คะแนน คาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก ถวง

20.00

85.54

5.1 สภาสถาบัน/กรรมการประจําคณะและผูบ ริหารมีวิสัยทัศนที่ ขับเคลื่อนพันธกิจ และสามารถสะทอนถึงนโยบาย วัตถุประสงค และนําไปสูเปาหมายของการบริหารจัดการที่ดี มีการบริหารแบบ มีสวนรวม เนนการกระจายอํานาจ โปรงใสและตรวจสอบได รวมทั้งมีความสามารถในการผลักดันสถาบันใหสามารถแขงขัน ไดในระดับสากล(มรส.7.1)

3

1

1

5

1.82

9.10

5.2 มีการพัฒนาสถาบันสูองคกรการเรียนรู โดยอาศัยผลการ ประเมินจากภายในและภายนอก(มรส.7.3)

3

1

1

5

1.82

9.10

5.3 มีการกําหนดแผนกลยุทธที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ (มรส.1.3)

3

1

1

5

1.82

9.10

5.4 การใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน (มรส.8.2)

3

1

1

5

1.82

9.10

5.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหารการเรียนการ สอนและการวิจัย(มรส.7.5)

3

1

1

5

1.82

9.10

5.6 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษา(มรส.8.3)

3

1

1

5

1.82

9.10

5.7 คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษา(มรส.8.4)

1

0

1

2

1.82

3.64

5.8 รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตองบดําเนินการ(มรส.8.5)

2

0

1

3

1.82

5.46

5.9 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมการประชุมวิชาการ หรือ นําเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ (มรส.7.10)

3

1

1

5

1.82

9.10

5.10 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและ ตางประเทศตอจํานวนอาจารยประจํา(บาทตอคน)(มรส.7.11)

1

0

1

2

1.82

3.64

5.11 รอยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรู ทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ(มรส.7.12)

3

1

1

5

1.82

9.10

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 239 มหาวิทยาลัยรังสิต

4.28


มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน มาตรฐานและตัวบงชี้

อิง อิง บรรลุ มาตรฐาน พัฒนาการ เปาหมาย

คะแนน รวม

มาตรฐานที่ 6 ดานหลักสูตรและการเรียนการสอน

น้ําหนัก

คะแนน คาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก ถวง

20.00

86.58

6.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด (มรส.2.14)

3

1

1

5

2.22

11.10

6.2 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจํา (มรส.2.4)

1

0

1

2

2.22

4.44

6.3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา ตอจํานวนอาจารยประจํา(มรส.2.5)

3

1

1

5

2.22

11.10

6.4 รอยละของอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงวิชาการ(มรส.2.6)

1

0

1

2

2.22

4.44

6.5 การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย(Professional Ethics)(มรส.2.7)

3

1

1

5

2.22

11.10

6.6 กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญโดยเฉพาะการ เรียนรูจากการปฏิบัติและประสบการณจริง(มรส.2.2)

3

1

1

5

2.22

11.10

6.7 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของ อาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู( มรส.2.18)

3

1

1

5

2.22

11.10

6.8 รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนา นักศึกษา ตอจํานวนนักศึกษา(มรส.3.3)

3

1

1

5

2.22

11.10

6.9 คาใชจายทั้งหมดที่ใชระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนย สารสนเทศตอนักศึกษา(บาทตอคน)(มรส.8.6)

3

1

1

5

2.22

11.10

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 240 มหาวิทยาลัยรังสิต

4.33


มาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคุณภาพ มาตรฐานและตัวบงชี้

อิง อิง บรรลุ มาตรฐาน พัฒนาการ เปาหมาย

คะแนน รวม

น้ําหนัก

มาตรฐานที่ 7 ดานระบบการประกันคุณภาพ

คะแนน คาเฉลี่ยแบบ ถวงน้ําหนัก ถวง

20.00

100.00

7.1 มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่กอใหเกิด การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง(มรส.9.1)

3

1

1

5

10.00

50.00

7.2 ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน(มรส.9.3)

3

1

1

5

10.00

50.00

5.00

สรุปผลการประเมินคาเฉลี่ยแบบถวงน้าํ หนักของ 4 มาตรฐานแรก และ 7 มาตรฐานของ สมศ. ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

น้ําหนัก

ผลการ ประเมิน

น้ําหนัก

ผลการ ประเมิน

ความหมาย

ความหมาย

1. มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต

50.00

4.00

ดี

50.00

4.00

ดี

2. มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค

20.00

4.20

ดี

20.00

4.20

ดี

3. มาตรฐานดานการบริการวิชาการ

20.00

5.00

ดีมาก

20.00

5.00

ดีมาก

4. มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

10.00

5.00

ดีมาก

10.00

5.00

ดีมาก

100.00

4.34

ดี

100.00

4.34

ดี

5. มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร

20.00

4.28

ดี

20.00

4.27

ดี

6. มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน

20.00

4.33

ดี

20.00

4.33

ดี

7. มาตรฐานดานการประกันคุณภาพ

20.00

5.00

ดีมาก

20.00

5.00

ดีมาก

160.00

4.41

ดี

160.00

4.41

ดี

มาตรฐานและตัวบงชี้

เฉลี่ยมาตรฐานที่ 1 - 4

เฉลี่ยมาตรฐานที่ 1 - 7

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 241 มหาวิทยาลัยรังสิต


ภาคผนวก ข ผลการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ สกอ.

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 242 มหาวิทยาลัยรังสิต


สรุปผลการประเมิน ตารางสรุปการประเมินตามองคประกอบตามตัวบงชี้ของ สกอ.(ตารางที่ ส.1) องคประกอบคุณภาพ

ผลการ ดําเนินงาน

เปาหมายตามแผน

คะแนนประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

ระดับ 7.00 รอยละ 100.00

ระดับ 7.00 รอยละ 80.00

3.00 3.00

องคประกอบที่ 1 ตัวบงชี้ที่ 1.1 ตัวบงชี้ที่ 1.2

3.00

เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 1 องคประกอบที่ 2 ตัวบงชี้ที่ 2.1 ตัวบงชี้ที่ 2.2 ตัวบงชี้ที่ 2.3 ตัวบงชี้ที่ 2.4 ตัวบงชี้ที่ 2.5 ตัวบงชี้ที่ 2.6 ตัวบงชี้ที่ 2.7 ตัวบงชี้ที่ 2.8 ตัวบงชี้ที่ 2.9 ตัวบงชี้ที่ 2.10 ตัวบงชี้ที่ 2.11 ตัวบงชี้ที่ 2.12

ระดับ 7.00 ระดับ 7.00 7.00 ขอ 7.00 ขอ ระดับ 5.00 ระดับ 5.00 รอยละ 10.50 รอยละ 8.00 รอยละ 31.94:36.11:31.94 รอยละ 30.00:35.00:35.00 รอยละ 11.11:2.78 รอยละ 10.00:2.50 ระดับ 5.00 ระดับ 5.00 5.00 ขอ 5.00 ขอ รอยละ 55.70 รอยละ 1.00 รอยละ 98.10 รอยละ 3.00 3.53 คะแนน 3.00 คะแนน รอยละ 5.44 รอยละ 0.50

3.00 3.00 3.00 1.00 2.00 1.00 3.00 3.00 1.00 2.00 3.00 3.00 2.33

เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 2 องคประกอบที่ 3 ตัวบงชี้ที่ 3.1 ตัวบงชี้ที่ 3.2

ระดับ 8.00 ระดับ 4.00

ระดับ 7.00 ระดับ 4.00

เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 3

3.00 3.00 3.00

องคประกอบที่ 4 ตัวบงชี้ที่ 4.1 ตัวบงชี้ที่ 4.2 ตัวบงชี้ที่ 4.3 ตัวบงชี้ที่ 4.4

6.00 ขอ 5.00 ขอ 80576.04 บาท รอยละ 50.70

6.00 ขอ 5.00 ขอ 1000.00 บาท รอยละ 30.00

3.00 3.00 3.00 3.00 3.00

เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 4 องคประกอบที่ 5 ตัวบงชี้ที่ 5.1 ตัวบงชี้ที่ 5.2 ตัวบงชี้ที่ 5.3 ตัวบงชี้ที่ 5.4

ระดับ 7.00 รอยละ 90.28 รอยละ 183.10 รอยละ 95.99

เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 5 รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 243 มหาวิทยาลัยรังสิต

ระดับ 5.00 รอยละ 25.00 รอยละ 30.00 รอยละ 80.00

3.00 3.00 3.00 3.00 3.00


องคประกอบคุณภาพ

ผลการ ดําเนินงาน

เปาหมายตามแผน

คะแนนประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

ระดับ 6.00

ระดับ 5.00

3.00

องคประกอบที่ 6 ตัวบงชี้ที่ 6.1 เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 6

3.00

องคประกอบที่ 7 ตัวบงชี้ที่ 7.1 ตัวบงชี้ที่ 7.2 ตัวบงชี้ที่ 7.3 ตัวบงชี้ที่ 7.4 ตัวบงชี้ที่ 7.5 ตัวบงชี้ที่ 7.6 ตัวบงชี้ที่ 7.7 ตัวบงชี้ที่ 7.8 ตัวบงชี้ที่ 7.9

5.00 ขอ ระดับ 4.00 ระดับ 5.00 ระดับ 6.00 ระดับ 3.00 ระดับ 5.00 รอยละ 41.67 ระดับ 5.00 ระดับ 8.00

5.00 ขอ ระดับ 4.00 ระดับ 5.00 ระดับ 5.00 ระดับ 3.00 ระดับ 5.00 รอยละ 5.00 ระดับ 5.00 ระดับ 7.00

เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 7

3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00

องคประกอบที่ 8 ตัวบงชี้ที่ 8.1 ตัวบงชี้ที่ 8.2

ระดับ 7.00 ระดับ 5.00

ระดับ 7.00 ระดับ 5.00

เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 8

3.00 3.00 3.00

องคประกอบที่ 9 ตัวบงชี้ที่ 9.1 ตัวบงชี้ที่ 9.2 ตัวบงชี้ที่ 9.3

ระดับ 7.00 ระดับ 7.00 ระดับ 5.00

ระดับ 7.00 ระดับ 6.00 ระดับ 5.00

3.00 3.00 3.00

เฉลี่ยคะแนน องคประกอบที่ 9

3.00

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงชี้ของทุกองคประกอบ

2.79

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 244 มหาวิทยาลัยรังสิต


สรุปผลการประเมิน ตารางสรุปการประเมินตามองคประกอบตามตัวบงชี้ของ สกอ.(ตารางที่ ส.2) มาตรฐาน การอุดมศึกษา มาตรฐานที่ 1 ตัวบงชี้ที่ 2.9 ตัวบงชี้ที่ 2.10 ตัวบงชี้ที่ 2.11 ตัวบงชี้ที่ 2.12

ผลการ ดําเนินงาน รอยละ 55.70 รอยละ 98.10 3.53 คะแนน รอยละ 5.44

เปาหมาย ตามแผน

คะแนนประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

รอยละ 1.00 รอยละ 3.00 3.00 คะแนน รอยละ 0.50

1.00 2.00 3.00 3.00 2.25

เฉลี่ยคะแนน มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานที่ 2 ก ตัวบงชี้ที่ 1.1 ตัวบงชี้ที่ 1.2 ตัวบงชี้ที่ 2.7 ตัวบงชี้ที่ 7.1 ตัวบงชี้ที่ 7.2 ตัวบงชี้ที่ 7.4 ตัวบงชี้ที่ 7.5 ตัวบงชี้ที่ 7.6 ตัวบงชี้ที่ 7.7 ตัวบงชี้ที่ 7.8 ตัวบงชี้ที่ 7.9 ตัวบงชี้ที่ 8.1 ตัวบงชี้ที่ 8.2 ตัวบงชี้ที่ 9.1 ตัวบงชี้ที่ 9.2 ตัวบงชี้ที่ 9.3

ระดับ 7.00 รอยละ 100.00 ระดับ 5.00 5.00 ขอ ระดับ 4.00 ระดับ 6.00 ระดับ 3.00 ระดับ 5.00 รอยละ 41.67 ระดับ 5.00 ระดับ 8.00 ระดับ 7.00 ระดับ 5.00 ระดับ 7.00 ระดับ 7.00 ระดับ 5.00

เฉลี่ยคะแนน มาตรฐานที่ 2 ก

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 245 มหาวิทยาลัยรังสิต

ระดับ 7.00 รอยละ 80.00 ระดับ 5.00 5.00 ขอ ระดับ 4.00 ระดับ 5.00 ระดับ 3.00 ระดับ 5.00 รอยละ 5.00 ระดับ 5.00 ระดับ 7.00 ระดับ 7.00 ระดับ 5.00 ระดับ 7.00 ระดับ 6.00 ระดับ 5.00

3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00


มาตรฐาน การอุดมศึกษา มาตรฐานที่ 2 ข ตัวบงชี้ที่ 2.1 ตัวบงชี้ที่ 2.2 ตัวบงชี้ที่ 2.3 ตัวบงชี้ที่ 2.4 ตัวบงชี้ที่ 2.5 ตัวบงชี้ที่ 2.6 ตัวบงชี้ที่ 2.8 ตัวบงชี้ที่ 3.1 ตัวบงชี้ที่ 3.2 ตัวบงชี้ที่ 4.1 ตัวบงชี้ที่ 4.3 ตัวบงชี้ที่ 4.4 ตัวบงชี้ที่ 5.1 ตัวบงชี้ที่ 5.2 ตัวบงชี้ที่ 5.3 ตัวบงชี้ที่ 5.4 ตัวบงชี้ที่ 6.1

ผลการ ดําเนินงาน

เปาหมาย ตามแผน

คะแนนประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

ระดับ 7.00 7.00 ขอ ระดับ 5.00 รอยละ 10.50 รอยละ 31.94:36.11:31.94 รอยละ 11.11:2.78 5.00 ขอ ระดับ 8.00 ระดับ 4.00 6.00 ขอ 80576.04 บาท รอยละ 50.70

ระดับ 7.00 7.00 ขอ ระดับ 5.00 รอยละ 8.00 รอยละ 30.00:35.00:35.00 รอยละ 10.00:2.50 5.00 ขอ ระดับ 7.00 ระดับ 4.00 6.00 ขอ 1000.00 บาท รอยละ 30.00

3.00 3.00 3.00 1.00 2.00 1.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00

ระดับ 7.00 รอยละ 90.28 รอยละ 183.10 รอยละ 95.99 ระดับ 6.00

ระดับ 5.00 รอยละ 25.00 รอยละ 30.00 รอยละ 80.00 ระดับ 5.00

3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 2.71

เฉลี่ยคะแนน มาตรฐานที่ 2 ข มาตรฐานที่ 3 ตัวบงชี้ที่ 4.2 ตัวบงชี้ที่ 7.3

5.00 ขอ ระดับ 5.00

5.00 ขอ ระดับ 5.00

3.00 3.00

เฉลี่ยคะแนน มาตรฐานที่ 3

3.00

เฉลี่ยคะแนนรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมาตรฐาน

2.79

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 246 มหาวิทยาลัยรังสิต


ผลการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ สกอ. ตารางสรุปการประเมินตามมุมมองดานการบริหารจัดการ เฉพาะตัวบงชี้ของ สกอ.(ตารางที่ ส.3) มุมมอง ดานการบริหารจัดการ

ผลการ ดําเนินงาน

เปาหมาย ตามแผน

คะแนนประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

1. ดานนักศึกษาและผูมีสว นไดสวนเสีย ตัวบงชี้ที่ 2.2

7.00 ขอ

7.00 ขอ

3.00

ตัวบงชี้ที่ 2.3

ระดับ 5.00

ระดับ 5.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 2.4

รอยละ 10.50

รอยละ 8.00

1.00

ตัวบงชี้ที่ 2.9

รอยละ 55.70

รอยละ 1.00

1.00

ตัวบงชี้ที่ 2.10

รอยละ 98.10

รอยละ 3.00

2.00

ตัวบงชี้ที่ 2.11

3.53 คะแนน

3.00 คะแนน

3.00

ตัวบงชี้ที่ 2.12

รอยละ 5.44

รอยละ 0.50

3.00

ตัวบงชี้ที่ 3.1

ระดับ 8.00

ระดับ 7.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 3.2

ระดับ 4.00

ระดับ 4.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 5.1

ระดับ 7.00

ระดับ 5.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 5.2

รอยละ 90.28

รอยละ 25.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 5.3

รอยละ 183.10

รอยละ 30.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 5.4

รอยละ 95.99

รอยละ 80.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.6

ระดับ 5.00

ระดับ 5.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 9.2

ระดับ 7.00

ระดับ 6.00

3.00 2.67

เฉลี่ยคะแนน ดานนักศึกษาและผูมีสว นไดสวนเสีย 2. ดานกระบวนการภายใน ตัวบงชี้ที่ 1.1

ระดับ 7.00

ระดับ 7.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 1.2

รอยละ 100.00

รอยละ 80.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 2.1

ระดับ 7.00

ระดับ 7.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 6.1

ระดับ 6.00

ระดับ 5.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.1

5.00 ขอ

5.00 ขอ

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.2

ระดับ 4.00

ระดับ 4.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.8

ระดับ 5.00

ระดับ 5.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.9

ระดับ 8.00

ระดับ 7.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 9.1

ระดับ 7.00

ระดับ 7.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 9.3

ระดับ 5.00

ระดับ 5.00

3.00 3.00

เฉลี่ยคะแนน ดานกระบวนการภายใน 3. ดานการเงิน ตัวบงชี้ที่ 4.3

80576.04 บาท

1000.00 บาท

3.00

ตัวบงชี้ที่ 8.1

ระดับ 7.00

ระดับ 7.00

3.00

ระดับ 5.00

3.00

ชี้ที่ 8.2 กษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ รายงานการประกัตันวคุบณงภาพการศึ มหาวิทยาลัยรังสิต 247ระดับ 5.00 เฉลี่ยคะแนน ดานการเงิน

3.00


มุมมอง ดานการบริหารจัดการ

ผลการ ดําเนินงาน

เปาหมาย ตามแผน

คะแนนประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.)

4. ดานบุคลากรการเรียนรู และนวัตกรรม ตัวบงชี้ที่ 2.5

รอยละ 31.94:36.11:31.94

รอยละ 30.00:35.00:35.00

2.00

ตัวบงชี้ที่ 2.6

รอยละ 11.11:2.78

รอยละ 10.00:2.50

1.00

ตัวบงชี้ที่ 2.7

ระดับ 5.00

ระดับ 5.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 2.8

5.00 ขอ

5.00 ขอ

3.00

ตัวบงชี้ที่ 4.1

6.00 ขอ

6.00 ขอ

3.00

ตัวบงชี้ที่ 4.2

5.00 ขอ

5.00 ขอ

3.00

ตัวบงชี้ที่ 4.4

รอยละ 50.70

รอยละ 30.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.3

ระดับ 5.00

ระดับ 5.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.4

ระดับ 6.00

ระดับ 5.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.5

ระดับ 3.00

ระดับ 3.00

3.00

ตัวบงชี้ที่ 7.7

รอยละ 41.67

รอยละ 5.00

3.00

เฉลี่ยคะแนน ดานบุคลากรการเรียนรู และนวัตกรรม เฉลี่ยคะแนนรวมตามมุมมองดานการบริหารจัดการ

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 248 มหาวิทยาลัยรังสิต

2.73 2.79


แบบรายงานผลการประเมิน ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินรายตัวบงชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การประเมินผลการดําเนินงานของคณะผูประเมิน

ผลการดําเนินงาน ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย

ตัวตั้ง ตัวหาร

ตัวบงชี้ที่ 1.1

7 ระดับ

ตัวบงชี้ที่ 1.2

รอยละ 80.00

ตัวบงชี้ที่ 2.1

ผลลัพธ ( % หรือ สัดสวน)

บรรลุเปาหมาย [ / = บรรลุ

คะแนน การประเมิน x = ไมบรรลุ ] (เกณฑ สกอ.)

7 ระดับ

/

3

รอยละ 100.00

/

3

7 ระดับ

7 ระดับ

/

ตัวบงชี้ที่ 2.2

7 ขอ

7 ขอ

ตัวบงชี้ที่ 2.3

5 ระดับ

ตัวบงชี้ที่ 2.4

8

ตัวบงชี้ที่ 2.5

ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ ( % หรือ สัดสวน)

บรรลุเปาหมาย [ / = บรรลุ

คะแนน การประเมิน x = ไมบรรลุ ] (เกณฑ สกอ.)

7 ระดับ

/

3

รอยละ 100.00

/

3

3

7 ระดับ

/

3

/

3

7 ขอ

/

3

5 ระดับ

/

3

5 ระดับ

/

3

10.50

/

1

10.50

/

1

รอยละ

รอยละ 31.94:36.11:31.94

x

2

รอยละ 31.94:36.11:31.94

x

2

ตัวบงชี้ที่ 2.6

รอยละ 10.00:2.50

รอยละ 11.11:2.78

/

1

รอยละ 11.11:2.78

/

1

ตัวบงชี้ที่ 2.7

5 ระดับ

5 ระดับ

/

3

5 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 2.8

5 ขอ

5 ขอ

/

3

5 ขอ

/

3

รอยละ 55.70

/

1

รอยละ 98.10

/

2

3.53

/

3

13.00 13.00

923.61 88.00

127.00 รอยละ 55.70 / 248.00 103.00 ตัวบงชี้ที่ 2.10 รอยละ 3.00 รอยละ 98.10 / 105.00 28.26 ตัวบงชี้ที่ 2.11 3 3.53 / รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 8.00 ตัวบงชี้ที่ 2.9

รอยละ 1.00

1 2 3 249

13.00 13.00

923.61 88.00

127.00 248.00 103.00 105.00 28.26 8.00

หมายเหตุ ( เชน เหตุผลของการประเมิน ที่ตางจากที่ระบุใน SAR)


แบบรายงานผลการประเมิน ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินรายตัวบงชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การประเมินผลการดําเนินงานของคณะผูประเมิน

ผลการดําเนินงาน ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย

ตัวตั้ง ตัวหาร

ตัวบงชี้ที่ 2.12

รอยละ 0.50

ตัวบงชี้ที่ 3.1

201.00 3692.00

ผลลัพธ ( % หรือ สัดสวน)

บรรลุเปาหมาย [ / = บรรลุ

คะแนน การประเมิน x = ไมบรรลุ ] (เกณฑ สกอ.)

รอยละ 5.44

/

3

7 ระดับ

8 ระดับ

/

ตัวบงชี้ที่ 3.2

4 ระดับ

4 ระดับ

ตัวบงชี้ที่ 4.1

6 ขอ

ตัวบงชี้ที่ 4.2

5 ขอ

ตัวบงชี้ที่ 4.3

รอยละ 1000.00

ตัวบงชี้ที่ 4.4

รอยละ 30.00

ตัวบงชี้ที่ 5.1

5 ระดับ

ตัวบงชี้ที่ 5.2

รอยละ 25.00

ตัวบงชี้ที่ 5.3

รอยละ 30.00

ตัวบงชี้ที่ 5.4

รอยละ 80.00

5720899.00 71.00 36.00 71.00 65.00 72.00 130.00 71.00 495.29 516.00

ตัวตั้ง ตัวหาร

201.00 3692.00

ผลลัพธ ( % หรือ สัดสวน)

บรรลุเปาหมาย [ / = บรรลุ

คะแนน การประเมิน x = ไมบรรลุ ] (เกณฑ สกอ.)

รอยละ 5.44

/

3

3

8 ระดับ

/

3

/

3

4 ระดับ

/

3

6 ขอ

/

3

6 ขอ

/

3

5 ขอ

/

3

5 ขอ

/

3

80576.04 รอยละ

/

3

80576.04 รอยละ

/

3

รอยละ 50.70

/

3

รอยละ 50.70

/

3

7 ระดับ

/

3

7 ระดับ

/

3

รอยละ 90.28

/

3

รอยละ 90.28

/

3

รอยละ 183.10

/

3

รอยละ 183.10

/

3

รอยละ 95.99

/

3

รอยละ 95.99

/

3

6 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 6.1 5 ระดับ 6 ระดับ / รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

3 250

5720899.00 71.00 36.00 71.00 65.00 72.00 130.00 71.00 495.29 516.00

หมายเหตุ ( เชน เหตุผลของการประเมิน ที่ตางจากที่ระบุใน SAR)


แบบรายงานผลการประเมิน ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินรายตัวบงชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การประเมินผลการดําเนินงานของคณะผูประเมิน

ผลการดําเนินงาน ตัวบงชี้คุณภาพ

เปาหมาย

ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ ( % หรือ สัดสวน)

บรรลุเปาหมาย [ / = บรรลุ

คะแนน การประเมิน x = ไมบรรลุ ] (เกณฑ สกอ.)

ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลลัพธ ( % หรือ สัดสวน)

บรรลุเปาหมาย [ / = บรรลุ

คะแนน การประเมิน x = ไมบรรลุ ] (เกณฑ สกอ.)

ตัวบงชี้ที่ 7.1

5 ขอ

5 ขอ

/

3

5 ขอ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 7.2

4 ระดับ

4 ระดับ

/

3

4 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 7.3

5 ระดับ

5 ระดับ

/

3

5 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 7.4

5 ระดับ

6 ระดับ

/

3

6 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 7.5

3 ระดับ

3 ระดับ

/

3

3 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 7.6

5 ระดับ

5 ระดับ

/

3

5 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 7.7

รอยละ 5.00

รอยละ 41.67

/

3

รอยละ 41.67

/

3

ตัวบงชี้ที่ 7.8

5 ระดับ

5 ระดับ

/

3

5 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 7.9

7 ระดับ

8 ระดับ

/

3

8 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 8.1

7 ระดับ

7 ระดับ

/

3

7 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 8.2

5 ระดับ

5 ระดับ

/

3

5 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 9.1

7 ระดับ

7 ระดับ

/

3

7 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 9.2

6 ระดับ

7 ระดับ

/

3

7 ระดับ

/

3

ตัวบงชี้ที่ 9.3

5 ระดับ

5 ระดับ

/

3

5 ระดับ

/

3

30.00 72.00

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

251

30.00 72.00

หมายเหตุ ( เชน เหตุผลของการประเมิน ที่ตางจากที่ระบุใน SAR)


แบบรายงานผลการประเมิน ตารางที่ ป.2 ผลการประเมินตามองคประกอบคุณภาพ องคประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

I

P

O

รวม

องคประกอบที่ 1

(-)0.00

( 1)3.00

( 1)3.00

( 2)3.00

องคประกอบที่ 2

( 3)1.33

( 5)3.00

( 4)2.25

องคประกอบที่ 3

(-)0.00

( 2)3.00

องคประกอบที่ 4

( 1)3.00

องคประกอบที่ 5

ผลการประเมิน การดําเนินงาน ( ระดับคุณภาพ )

การประเมินผลการดําเนินงาน ของคณะผูประเมิน

ผลการประเมิน การดําเนินงาน ( ระดับคุณภาพ )

I

P

O

รวม

ดีมาก

(-)0.00

( 1)3.00

( 1)3.00

( 2)3.00

ดีมาก

(12)2.33

ดี

( 3)1.33

( 5)3.00

( 4)2.25

(12)2.33

ดี

(-)0.00

( 2)3.00

ดีมาก

(-)0.00

( 2)3.00

(-)0.00

( 2)3.00

ดีมาก

( 2)3.00

( 1)3.00

( 4)3.00

ดีมาก

( 1)3.00

( 2)3.00

( 1)3.00

( 4)3.00

ดีมาก

( 1)3.00

( 1)3.00

( 2)3.00

( 4)3.00

ดีมาก

( 1)3.00

( 1)3.00

( 2)3.00

( 4)3.00

ดีมาก

องคประกอบที่ 6

(-)0.00

( 1)3.00

(-)0.00

( 1)3.00

ดีมาก

(-)0.00

( 1)3.00

(-)0.00

( 1)3.00

ดีมาก

องคประกอบที่ 7

( 1)3.00

( 5)3.00

( 3)3.00

( 9)3.00

ดีมาก

( 1)3.00

( 5)3.00

( 3)3.00

( 9)3.00

ดีมาก

องคประกอบที่ 8

(-)0.00

( 2)3.00

(-)0.00

( 2)3.00

ดีมาก

(-)0.00

( 2)3.00

(-)0.00

( 2)3.00

ดีมาก

องคประกอบที่ 9

(-)0.00

( 2)3.00

( 1)3.00

( 3)3.00

ดีมาก

(-)0.00

( 2)3.00

( 1)3.00

( 3)3.00

ดีมาก

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุก องคประกอบ

( 6)2.17

(21)3.00

(12)2.75

(39)2.79

ดีมาก

( 6)2.17

(21)3.00

(12)2.75

(39)2.79

ดีมาก

ดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ผลการประเมิน ( ระดับคุณภาพ )

ชวงคะแนนระดับคุณภาพการดําเนินงานของสถาบัน <= 1.5 การดําเนินการของสถาบันยังไมไดคุณภาพ 1.51 - 2.00 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ พอใช รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 2.01 - 2.50 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ ดี 2.51 - 3.00 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ ดีมาก

หมายเหตุ

หมายเหตุ คะแนนการประเมินเฉลี่ยในชวง IPO และชองรวมเปนคะแนนเฉลี่ยของจํานวนตัวบงชี้ ในแตละชอง เชน องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน ในชอง I มีตัวบงชี้ 3 ตัว คะแนนในชอง I เปน คะแนนเฉลี่ยของ 3 ตัวบงชี้ ในชอง P มีตัวบงชี้ 5 ตัว คะแนนในชอง P เปนคะแนนเฉลี่ยของ 5 ตัวบงชี้ 252 ในชอง O มีตัวบงชี้ 4 ตัว คะแนนในชอง O เปนคะแนนเฉลี่ยของ 4 ตัวบงชี้ ดังนั้นคะแนนเฉลี่ยในชองรวมจะเปนคะแนนของตัวบงชี้ 3+5+4 = 12 ตัวหารดวย 12


แบบรายงานผลการประเมิน ตารางที่ ป.3 ผลการประเมินตามมาตรฐานอุดมศึกษา มาตรฐาน

ผลการประเมิน การดําเนินงาน ( ระดับคุณภาพ )

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

I

P

O

รวม

(-)0.00

(-)0.00

( 4)2.25

( 4)2.25

( 1)3.00 ( 5)2.00

(10)3.00 ( 9)3.00

( 5)3.00 ( 3)3.00

มาตรฐานที่ 3

(-)0.00

( 2)3.00

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุก องคประกอบ

( 6)2.17 ดี

มาตรฐานที่ 1

ผลการประเมิน การดําเนินงาน ( ระดับคุณภาพ )

การประเมินผลการดําเนินงาน ของคณะผูประเมิน

I

P

O

รวม

ดี

(-)0.00

(-)0.00

( 4)2.25

( 4)2.25

ดี

(16)3.00 (17)2.71

ดีมาก

(10)3.00 ( 9)3.00

( 5)3.00 ( 3)3.00

(16)3.00 (17)2.71

ดีมาก

ดีมาก

( 1)3.00 ( 5)2.00

(-)0.00

( 2)3.00

ดีมาก

(-)0.00

( 2)3.00

(-)0.00

( 2)3.00

ดีมาก

(21)3.00

(12)2.75

(39)2.79

ดีมาก

( 6)2.17

(21)3.00

(12)2.75

(39)2.79

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 2 ก มาตรฐานที่ 2 ข

ผลการประเมิน ( ระดับคุณภาพ )

ชวงคะแนนระดับคุณภาพการดําเนินงานของสถาบัน <= 1.5 การดําเนินการของสถาบันยังไมไดคุณภาพ 1.51 - 2.00 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ พอใช 2.01 - 2.50 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ ดี 2.51 - 3.00 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ ดีมาก

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

ดีมาก

หมายเหตุ คะแนนการประเมินเฉลี่ยในชวง IPO และชองรวมเปนคะแนนเฉลี่ยของจํานวนตัวบงชี้ ในแตละชอง เชน มาตรฐานที่ 2 ข มาตรฐานดานพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษา ในชอง I มีตัวบงชี้ 5 ตัวคะแนนในชอง I เปนคะแนนเฉลี่ยของ 5 ตัวบงชี้ ในชอง P มีตัวบงชี้ 9 ตัว คะแนนในชอง P เปนคะแนนเฉลี่ยของ 9 ตัวบงชี้ ในชอง O มีตัวบงชี้ 3 ตัว คะแนนในชอง O เปนคะแนนเฉลี่ยของ 3 ตัวบงชี้ ดังนั้นคะแนนเฉลี่ยในชองรวมจะเปนคะแนนของตัวบงชี้ 5+9+3 = 17 ตัวหารดวย 17

253

หมายเหตุ


แบบรายงานผลการประเมิน ตารางที่ ป.4 ผลการประเมินตามมุมมองดานการบริหารจัดการ มุมมอง ดานการบริหารจัดการ

ผลการประเมิน การดําเนินงาน ( ระดับคุณภาพ )

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

I

P

O

รวม

( 2)2.00

( 6)3.00

( 7)2.57

(15)2.67

2. ดานกระบวนการภายใน

(-)0.00

( 7)3.00

( 3)3.00

3. ดานการเงิน

( 1)3.00

( 2)3.00

4. ดานบุคลากรการเรียนรูและ

( 3)2.00

1. ดานนักศึกษาและผูมีสว นไดสวน

ผลการประเมิน การดําเนินงาน ( ระดับคุณภาพ )

การประเมินผลการดําเนินงาน ของคณะผูประเมิน

I

P

O

รวม

ดีมาก

( 2)2.00

( 6)3.00

( 7)2.57

(15)2.67

ดีมาก

(10)3.00

ดีมาก

(-)0.00

( 7)3.00

( 3)3.00

(10)3.00

ดีมาก

(-)0.00

( 3)3.00

ดีมาก

( 1)3.00

( 2)3.00

(-)0.00

( 3)3.00

ดีมาก

( 6)3.00

( 2)3.00

(11)2.73

ดีมาก

( 3)2.00

( 6)3.00

( 2)3.00

(11)2.73

ดีมาก

( 6)2.17

(21)3.00

(12)2.75

(39)2.79

ดีมาก

( 6)2.17

(21)3.00

(12)2.75

(39)2.79

ดีมาก

ดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดี

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

เสีย

นวัตกรรม เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุก องคประกอบ ผลการประเมิน ( ระดับคุณภาพ )

ชวงคะแนนระดับคุณภาพการดําเนินงานของสถาบัน <= 1.5 การดําเนินการของสถาบันยังไมไดคุณภาพ 1.51 - 2.00 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ พอใช 2.01 - 2.50 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ ดี 2.51 - 3.00 การดําเนินการของสถาบันไดคุณภาพในระดับ ดีมาก

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

หมายเหตุ คะแนนการประเมินเฉลี่ยในชวง IPO และชองรวมเปนคะแนนเฉลี่ยของจํานวนตัวบงชี้ ในแตละชอง เชน 1. ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดสวนเสีย ในชอง I มีตัวบงชี้ 2 ตัว คะแนนในชอง I เปนคะแนนเฉลี่ยของ 2 ตัวบงชี้ ในชอง P มีตัวบงชี้ 6 ตัว คะแนน ในชอง P เปนคะแนนเฉลี่ยของ 6 ตัวบงชี้ ในชอง O มีตัวบงชี้ 7 ตัว คะแนนในชอง O เปนคะแนนเฉลี่ยของ 7 ตัวบงชี้ ดังนั้นคะแนนเฉลี่ยในชองรวมจะเปนคะแนนของตัวบงชี้ 2+6+7 = 15 ตัวหารดวย 15

254

หมายเหตุ


ภาคผนวก ค ขอมูลพื้นฐานของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน (Common Data Set)

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 255 มหาวิทยาลัยรังสิต


ขอมูลพื้นฐานของคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน (Common Data Set) รายการ องคประกอบที่ 1

จํานวน/ระดับ/รอยละ

(ในรอบปงบประมาณ)

- จํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณ

13

- จํานวนตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติงานประจําปที่บรรลุเปาหมาย

13

องคประกอบที่ 2 - จํานวนหลักสูตรที่เปดสอนทั้งหมด (รวมทั้งหมด) • ระดับปริญญาตรี

6

• ระดับปริญญาโท

2

• ระดับปริญญาเอก

0

- จํานวนหลักสูตรที่มีจํานวนและคุณวุฒิอาจารยเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 และ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวของ (รวมทั้งหมด) • ระดับปริญญาตรี

6

• ระดับปริญญาโท

2

• ระดับปริญญาเอก

0

- จํานวนหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่อาจารยมีภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และการคนควาอิสระ เปนไปตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตร (รวมทั้งหมด) • ระดับปริญญาโท

2

• ระดับปริญญาเอก

0

- จํานวนหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่นักศึกษาปฏิบัติตามเกณฑสําเร็จ การศึกษาครบถวนตามที่ระบุในเกณฑมาตรฐานหลักสูตร (รวมทั้งหมด) • ระดับปริญญาโท

2

• ระดับปริญญาเอก

0

- รอยละบัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําตรงสาขาทีส่ ําเร็จการศึกษา

0.00

ผลการประเมินความพึงพอใจของ ผูเรียนในเรื่องคุณภาพการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู (เทียบจากคา 5 ระดับ) เฉลี่ยทุก หลักสูตร (รวมทั้งหมด) • ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ)

6.00

• ระดับปริญญาตรี (ภาคพิเศษ)

0.00

• ระดับปริญญาโท (ภาคปกติ)

2.00

• ระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ)

0.00

• ระดับปริญญาเอก (ภาคปกติ)

0.00

• ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ) รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 256 มหาวิทยาลัยรังสิต

0.00


รายการ

จํานวน/ระดับ/รอยละ

- จํานวนหลักสูตรที่จัดทําขึ้นใหมหรือทีป่ รับปรุง และยังไมมีการปรับปรุง ซึ่งมีโครงการ หรือกิจกรรมที่มีบุคคล ชุมชน องคกร ภายนอกมีสวนรวม (รวมทั้งหมด) • ระดับปริญญาตรี

6

• ระดับปริญญาโท

2

• ระดับปริญญาเอก

0

- จํานวนนักศึกษาปจจุบันทั้งหมดทุกระดับการศึกษา(รวมทั้งหมด) • ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ)

1,899

• ระดับปริญญาตรี (ภาคพิเศษ)

0

• ระดับปริญญาโท (ภาคปกติ)

83

• ระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ)

0

• ระดับปริญญาเอก (ภาคปกติ)

0

• ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ)

0

- จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) รวมทุกหลักสูตร (รวมทั้งหมด) • ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ)

859.03

• ระดับปริญญาตรี (ภาคพิเศษ)

0.00

• ระดับปริญญาโท (ภาคปกติ)

64.58

• ระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ)

0.00

• ระดับปริญญาเอก (ภาคปกติ)

0.00

• ระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ)

0.00

- จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (FTES) ทั้งหมด เมื่อปรับคามาเปนปริญญาตรี (รวมทั้งหมด) • จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (ภาคปกติ)

975.27

• จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทา (ภาคพิเศษ)

0.00

- จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

72

- จํานวนอาจารยประจําทีล่ าศึกษาตอ

1

- จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเทา

22

- จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทา

22

- จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา

28

- จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่ไมมีตําแหนงวิชาการ

63

- จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่มีตําแหนงผูชวยศาสตราจารย

7

- จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย

2

- จํานวนอาจารยประจําทั้งหมดที่มีตําแหนงศาสตราจารย

0

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 257 มหาวิทยาลัยรังสิต


รายการ

จํานวน/ระดับ/รอยละ

- จํานวนอาจารยประจําระดับบัณฑิตศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถวนที่จะเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ (เฉพาะทีป่ ฏิบัติงาน จริง)

4

- จํานวนอาจารยประจําระดับบัณฑิตศึกษาที่ทาํ หนาที่เปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธ

3

- จํานวนผลงานวิจัย และหรือนวัตกรรมการเรียนการสอนของคณาจารย

0

- จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด

339

- จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมดที่ตอบแบบสํารวจ เรื่องการมีงานทํา (ใหวงเล็บจํานวนบัณฑิตปริญญาตรีทงั้ หมด)

248

- จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไมมีงานทําประจํากอนเขาศึกษา

101

- จํานวนบัณฑิตปริญญาตรีทศี่ ึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา

20

- จํานวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ไมมีงานทําประจํากอนเขาศึกษา และไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระหลังสําเร็จการศึกษา

125

- จํานวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ไมมีงานทําประจํากอนเขาศึกษา และไดรบั เงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑหลังสําเร็จ การศึกษา

204

- จํานวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ไมมีงานทําประจํากอนเขาศึกษาและไดรบั เงินเดือนเริ่มตนสูงกวาเกณฑหลังสําเร็จการศึกษา

101

- จํานวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ไมมีงานทําประจํากอนเขาศึกษาและไดรบั เงินเดือนเริ่มตนต่ํากวาเกณฑหลังสําเร็จการศึกษา

103

- ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการและผูใชบัณฑิตเฉลี่ยรวมทุกระดับการศึกษา (เทียบจากคา 5 ระดับ กรณี สถาบันอุดมศึกษาของรัฐใชผลสํารวจของ ก.พ.ร.)

3.63

- จํานวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผา นมาทั้งหมดทุกระดับการศึกษาไดรบั รางวัลประกาศ เกียรติคุณยกยองในระดับชาติหรือนานาชาติ (รวมทั้งหมด) • ดานวิทยานิพนธ บัณฑิตศึกษา

7

• ดานวิชาการ วิชาชีพ

67

• ดานคุณธรรม จริยธรรม

0

• ดานกีฬา สุขภาพ

0

• ดานศิลปะและ วัฒนธรรม

0

• ดานสิ่งแวดลอม

0

- จํานวนนักศึกษาบัณฑิตปจจุบัน และศิษยเการะดับบัณฑิตศึกษาทีส่ ําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผา นมาทั้งหมดที่ไดรับ รางวัลประกาศเกียรติคุณยกยองระดับชาติหรือนานาชาติจากผลงานวิจัย และหรือวิทยา

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 258 มหาวิทยาลัยรังสิต

0


รายการ

จํานวน/ระดับ/รอยละ

- จํานวนวิทยานิพนธ และงานวิชาการของนักศึกษาที่ไดรบั รางวัลในระดับชาติหรือนานาชาติภายในรอบ 3 ปที่ผานมา (รวม ทั้งหมด) • จํานวนวิทยานิพนธทั้งหมด

0

• วิทยานิพนธระดับปริญญาโท

0

• วิทยานิพนธระดับปริญญาเอก

0

- จํานวนบทความจากวิทยานิพนธทตี่ พี ิมพเผยแพร (รวมทั้งหมด) • บทความจากวิทยานิพนธระดับปริญญาโท

0

• บทความจากวิทยานิพนธระดับปริญญาเอก

0

- จํานวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาทั้งหมดทุกระดับการศึกษาที่ไดรับประกาศเกียรติคุณยกยองระดับชาติ หรือนานาชาติ (รวมทั้งหมด) • ดานวิชาการ วิชาชีพ

0

• ดานคุณธรรม จริยธรรม

0

• ดานกีฬา สุขภาพ

0

• ดานศิลปะและ วัฒนธรรม

0

• ดานสิ่งแวดลอม

0

- จํานวนรางวัลประกาศเกียรติคุณยกยองที่นักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาทั้งหมดทุกระดับการศึกษาที่ไดรบั ในระดับชาติหรือ นานาชาติ (รวมทั้งหมด) • ดานวิทยานิพนธ บัณฑิตศึกษา

0

• ดานวิชาการ วิชาชีพ

0

• ดานคุณธรรม จริยธรรม

0

• ดานกีฬา สุขภาพ

0

• ดานศิลปะและ วัฒนธรรม

0

• ดานสิ่งแวดลอม

0

องคประกอบที่ 3 - ผลการประเมินคุณภาพการใหบริการ และคุณภาพชีวติ ของนักศึกษา (เทียบจาก คา 5 ระดับ)

0.00

- จํานวนโครงการ กิจกรรมนักศึกษาแยก ตามประเภทกิจกรรม (รวมทั้งหมด) • จํานวนกิจกรรมวิชาการ

0

• จํานวนนักศึกษาที่เขารวมทุกกิจกรรม

0

• จํานวนกิจกรรมกีฬาและการสงเสริม สุขภาพ

0

• จํานวนนักศึกษาที่เขารวมทุกกิจกรรม

0

• จํานวนกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน และรักษาสิ่งแวดลอม

0

• จํานวนนักศึกษาที่เขารวมทุกกิจกรรม

0

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 259 มหาวิทยาลัยรังสิต


รายการ

จํานวน/ระดับ/รอยละ

• จํานวนกิจกรรมนันทนาการ

0

• จํานวนนักศึกษาที่เขารวมทุกกิจกรรม

0

• จํานวนกิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม

0

• จํานวนนักศึกษาที่เขารวมทุกกิจกรรม

0

องคประกอบที่ 4 - จํานวนเงินสนับสนุน การวิจัยและงานสรางสรรค (ใชรอบปงบประมาณ) (รวมทั้งหมด) • จํานวนเงินสนับสนุนจากภายนอกสถาบัน

3,139,100.00

• จํานวนเงินสนับสนุนจากภายในสถาบัน

1,880,699.00

- จํานวนอาจารยประจําที่ไดรบั ทุนวิจัย (ใชรอบปงบประมาณ) (รวมทั้งหมด) • จํานวนที่ไดรับทุนจากภายนอกสถาบัน

7

• จํานวนที่ไดรับทุนจากภายในสถาบัน

26

- จํานวนการเผยแพรผลงานวิจัยและงาน สรางสรรค (รวมทั้งหมด) • จํานวนผลงานที่ตีพิมพเผยแพรระดับชาติ

66

• จํานวนผลงานที่ตีพิมพเผยแพรระดับนานาชาติ

0

• จํานวนผลงานที่จดสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร

0

• จํานวนผลงานที่นําไปใชประโยชน ระดับชาติหรือนานาชาติ

66

- จํานวนบทความวิจัย ที่ไดรับอางอิงใน refereed journal หรือ ในฐานขอมูล

0

- จํานวนบุคลากรสายสนับสนุนที่เปนนักวิจัย

0

- จํานวนนักวิจัยที่ลาศึกษาตอ

0

องคประกอบที่ 5 - จํานวนอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการบริการวิชาการ

65

- จํานวนกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการ

130

- จํานวนแหลงใหบริการวิชาการและวิชาชีพระดับชาติหรือนานาชาติ

92

- รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ (จากผลสํารวจของก.พ.ร. กรณีสถาบันอุดมศึกษาของ รัฐ)

95.98

องคประกอบที่ 6 - จํานวนโครงการ/กิจกรรมอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรม - จํานวนผลงาน หรือชิ้นงานการพัฒนาองคความรูและสรางมาตรฐาน ศิลปวัฒนธรรม

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 260 มหาวิทยาลัยรังสิต

327 0


รายการ

จํานวน/ระดับ/รอยละ

องคประกอบที่ 7 - จํานวนบุคลากรสายสนับสนุนทั้งหมด

16

จํานวนอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานวิชาการ (รวมทั้งหมด) • ในประเทศ

46

• ตางประเทศ

10

- จํานวนบุคลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรูและทักษะวิชาชีพ (รวมทั้งหมด) • ในประเทศ

18

• ตางประเทศ

0

- จํานวนอาจารยประจํา (รวมนักวิจัย) ที่ไดรับรางวัลผลงานวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือ นานาชาติ (รวมทั้งหมด) • ดานการวิจัย

0

• ดานศิลปวัฒนธรรม

20

• ดานอื่นๆ

0

องคประกอบที่ 8

(ใชรอบ ปงบประมาณ)

- รายรับทั้งหมดของสถาบัน

0.00

- รายรับจากการบริการวิชาการและวิชาชีพ

0.00

- คาใชจายทั้งหมดของสถาบันโดยไมรวม ครุภัณฑ อาคาร สถานที่และที่ดิน

48,840,333.22

- คาใชจายดาน ครุภัณฑ อาคาร สถานที่ และที่ดิน

79,769,001.42

- คาใชจายและมูลคาในการบริการวิชาการ และวิชาชีพ

3,263,659.00

- คาใชจายและมูลคาในการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม

3,966,920.00

- คาใชจายเพื่อพัฒนาอาจารย

3,982,095.00

- คาใชจายที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอร และศูนย สารสนเทศ

11,255,460.35

- เงินเหลือจายสุทธิ

3,240,262.35

- สินทรัพยถาวร

97,591,387.33

องคประกอบที่ 9 - ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามเกณฑ 5 ระดับของ สกอ.

รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ 261 มหาวิทยาลัยรังสิต

5.00


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.