หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ 2558

Page 1








































ป พ.ศ.๒๕๕๗ ถือเปนปแหงการเตรียมความพรอมของกองทัพในการกาวไปสูป ระชาคมอาเซียน โดยในป พ.ศ.๒๕๕๘ จะเปนปที่ ๑๐ ประเทศ ซึ่งประกอบดวย ไทย พมา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส กัมพูชา และ บรูไน แหงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จะเขารวมกันเปนหนึ่งประชาคมอาเซียน เปนภูมิภาคที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วที่สุดในโลก การเขาเปนประชาคมอาเซียนจะเปนการผนึกความพยายามและความมุงมั่นที่จะธํารงเสถียรภาพทั้ง ทางดานการเมือง ความมั่นคง เสริมสรางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต สงเสริมความรวมมือระหวางประเทศ โดย ในดานของความมั่นคง กระทรวงกลาโหมมีบทบาทในเสาหลักดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community หรือ APSC) ในดานการเสริมสรางความรวมมือ ดานความมั่นคง กับประเทศเพื่อนบานและมิตรประเทศ โดยในการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน หรือ ASEAN Defence Ministers’ Meeting (ADMM) ซึ่งในการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ADMM ครั้งที่ ๓ ในป พ.ศ.๒๕๕๒ ซึง่ ในครัง้ นัน้ มีประเทศไทยเปนเจาภาพจัดการประชุม ถูกใชเปนเวทีนาํ เสนอเอกสารแนวความคิดในกรอบความรวมมือ ดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศของกลุมอาเซียน หรือ ASEAN Defence Industry Collaboration (ADIC) เปนครั้งแรก เนื่องจากประเทศสมาชิกสวนใหญมีนโยบายและการดําเนินงานดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศ ดวยวัตถุประสงคที่คลายคลึงกันคือการพึ่งพาตนเองเพื่อลดการนําเขา แตจะมีความแตกตางกันในเชิงคุณภาพ ดานขีดความสามารถและระดับในการพึ่งพาตนเอง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ความเจริญกาวหนา ประสิทธิภาพการผลิต





น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต sansiri_2@yahoo.com ถาผูอ า นยังจําไดถงึ ชวงเวลาแหงความนิยมในการใชสมารทโฟน ทีเ่ กิดขึน้ มาตัง้ แตป ค.ศ. 2007 จวบจน มาถึงปจจุบัน ค.ศ.2015 นับแลวก็ลวงเลยมาเปนปที่ ๘ ซึ่งในเวลาที่ผานมานั้น ผูอานคงไดเห็นถึงสิ่งตาง ๆ ที่ทําให สมารทโฟนสามารถครองความนิยมในการใช เริ่มมาจากการแขงขันในดานฮารดแวรของตัวเครื่องสมารทโฟน เมื่อจบลงฮารดแวรของตัวเครื่องสมารทโฟนไดกลายเปนสิ่งที่มีคุณลักษณะของเครื่องที่สูงไมแพคอมพิวเตอร จากนั้นตามมาดวยกระแสใหมที่ถูกจุดขึ้นมาคือ การหันมามองดานซอฟตแวรของสมารทโฟน โดยแตละคาย ของผูผลิตไดนําเสนอดานซอฟตแวรมาเปนจุดขายใหม เพื่อทําใหสมารทโฟนไดรับความนิยมในการใชอยางตอเนื่อง ระยะแรกเราอาจเห็นซอฟตแวรจํานวนมากบนสมารทโฟน แตในความเปนจริงนั้นใชงานไดนอย จนในที่สุดผูผลิต ก็ไดเรียนรูจ ากผูใ ชวา ซอฟตแวรจาํ นวนมากกอใหเกิดความรําคาญอยางคาดไมถงึ ในปจจุบนั จะเห็นวาสมารทโฟน มาพรอมกับซอฟตแวรทนี่ อ ยลง และสามารถใชงานไดจริงในชีวติ เหนือสิง่ อืน่ ใดสมารทโฟนนัน้ กําลังทีจ่ ะเขาใกล จุดอิ่มตัวเขาไปทุกขณะ แลวอะไรละ คือสิ่งที่จะเปนตัวชวยใหกับผูผลิตสมารทโฟน เมื่อมองไปรอบดาน สิ่ง ๆ นั้น กลายเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสประเภทสวมใส หรือที่เรารูจักกันในนาม Wearable Devices ที่เริ่มมาจาก ผลิตภัณฑนาิกาอัจฉริยะหรือ Smartwatch ทีส่ ามารถเชือ่ มตอกับเครือ่ งสมารทโฟนได ติดตามมาดวยอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสประเภทสวมใสแบบอื่น ๆ ไมวาจะเปนสายรัดขอมือ (Wristband) เพื่อใชเก็บขอมูลดานการ ออกกําลังกาย, ดานสุขภาพ และดานการนอน ถึงแมวา Wearable Devices นั้นจะสรางความสะดวกสบาย ใหกับผูใชที่รักสุขภาพ แตในความเปนจริงแลวสิ่งเหลานี้หลายคนยังคิดวาอาจยังไมจําเปนและเปนเรื่อง ที่ไกลตัว อาทิ การวิ่งในบางครั้งผูออกกําลังกาย ก็ไมไดตองการอยากรูวาตัวเองวิ่งไปแลวกี่กิโลเมตร เพียงแค ตั้งใจจะวิ่งรอบสนามใหครบ ๑๐ รอบ และอยางที่เราทราบกัน การเกิดขึ้นของเทคโนโลยีจะทําใหเราใชชีวิตได งายขึน้ แตในสวนของ Wearable Devices บางคนคิดวายังกาวไปไมถงึ จุดนัน้ ถึงแมวา ทุกภาคสวนมีความพรอม ทั้งเทคโนโลยี กระแสของโลก และตัวของผูใชที่พรอมจะรับกระแส Wearable Devices โดยบทความในฉบับ มีมุมมองและรายละเอียดที่นาสนใจดังนี้











ภาพการเจาะสํารวจหาคุณสมบัติวัสดุชั้นฐาน เพื่อนํามาประกอบการคํานวณหาคา PCN ที่ กองบิน 5 เมื่อป พ.ศ.2557 ตัวอยางการประกาศคาความแข็งแรงของผิวพื้น จราจร เชน 80/R/D/W/T ซึ่งแตละคามีความหมายดังนี้   ตัวเลข 80 คือ ตัวเลขทีม่ คี วามสัมพันธกบั ความ สามารถในการรับน้าํ หนักเครือ่ งบินโดยเทียบคาเสมือนเปน ฐานลอเดี่ยว (Single wheel) ซึ่งคาที่รายงานจะเปนคาที่ ออนที่สุดหรือบริเวณที่มีความสําคัญบนเสนทางที่ทดสอบ เชน Touchdown zone เปนตน คานี้เปนตัวเลขที่มีไว สําหรับเปรียบเทียบกับคา ACN ของเครือ่ งบินเพือ่ พิจารณา วาเครื่องบินแบบใดที่สามารถลงใชสนามบินได  ตัวอักษร R คือ อักษรที่บอกชนิดของผิว พื้นจราจร (Pavement type) ซึ่งมีได 2 แบบคือ R (Rigid) หมายถึง พื้นคอนกรีต และ F (Flexible) หมายถึง พืน้ แอสฟลทตกิ คอนกรีต หรือ โพลิเมอรโมดิฟายดแอสฟลท คอนกรีต





จิ้น

- มาจากคําวา imagination จินตนาการ คูจิ้นคือคน ๒ คน ที่สนิทกันมากจนคนรอบขาง รูสึกเหมือนเขาจะรักกัน จิงดิ - จริงสิ ถาเติมเครื่องหมายคําถาม คือ จริงไหม ชิลส ๆ - chill out สบาย ๆ ทําใหผอนคลาย อาจใชคําวา ชิว ๆ ก็ได เรื่องชิว ๆ คือ เรื่องหมู ๆ เรื่องขี้ปะติ๋ว ชิมิ - ใชไหม จริงไหม ชะโงกทัวร - การไดทองเที่ยวไปในที่ตาง ๆ แคยืนมองเห็น ไมไดไปชมอยางแทจริง เซอร - พวกติดดิน ตามสบาย ดรามา - จริงจังมากเกินไปจนเกิดความขัดแยงกับผูอยูในเหตุการณ เปนการเรียกรองความสนใจ เด็กแนว - คนชอบทําตามกระแส เทรนดี้ - ทันกระแส นอย - วิตกกังวลใจ เนิบ - สบาย ๆ โนเวยสเตชัน - ไม นักปนน้ํา - โกหกไปเรื่อย ๆ เนิรด - สติปญญาเกินมาตรฐาน - หนาตาไมดี ชอบวาไมอยูนิ่ง ชอบสอด ปลวก ปาดหนาเคก - ดูถูกเหยียดหยาม ฟน ฟน - ฟนเนเร (finere) ฟนแลนด หมายถึง สุดยอดในที่สุด ฟรุงฟริ้ง - อาการหรืออารมณความรูส กึ ในรูปแบบการเปลงประกาย ระยิบระยับวับวาวอลังการ (twinkle) มโน - มโนภาพ คิดไปเอง เชน มโนวาคูจิ้นเขารักกัน เมาทมอย - นินทาหรือกลาวหาผูอื่น มีหัวไวคั่นหู - คําประชดประชันที่ถูกมองวาโง มุงมิ้ง - นารัก ใสใส สวดยอด สุดยอด - ดีที่สุด เฮือก - เสียงถอนใจ แสดงอาการเหนื่อยหนาย รําคาญ นอกจากนั้น ยังมีรูปคําที่เพี้ยนไปดานการเขียน เชน อุตะ (อุยตาย) มาแวว (มาแลว) เดวเหอะ (เดี๋ยวเถอะ) ปะ (เปลา) อะเครครัช (โอเคครับ) อั๊ยยะ (เสียงอุทานเหมือนอาย) อัลไล (อะไร) ฟวว (เฟยว) บางทีมีการเติมอักษร ตัวทาย ทําใหออกเสียงยาวไปอีก คําตาง ๆ เหลานี้ ผูใชภาษาอาจใชไดแตตองใชตามกาลเทศะ ถือเปน “คําฮิต” ชวงสมัยหนึ่ง แตพึงจําไววา ตองไมใชในเรื่องทางการหรือในภาษาเขียน ถาจะใชเพื่อความสนุกก็พอจะใชได ผูเขียนยังชอบใจโคลง ซึ่งไมทราบวา ใครเขียน ที่วา “นี่เตงมัยนอรอก จุงเบยย (เติม ย เขาไปอีก) แตกอนดูเชยเชย ดั่งปา เดวนี้แจมกวาเคย เปะอะ! บองตง งามถูกใจจริงนา กดไลครัวรัว ตัวเทอวมีคูแลว หรือไร รีบบอกมาไวไว นะฮาฟว คีสเถิงอยากเจอใจ จะขาด ฝุดฝุด นี่แมมศัพทอัลไลคาฟ เลนงี้กูมึน” ภาษาจะเปลี่ยนไปอยางไรก็พอเขาใจไดนะ 


























มุมสุขภาพ

นายหวงใย

ในอดีตโรคทางสายตาโดยสวนใหญมักจะเกิดกับผูที่มีอายุ ๕๐ ปขึ้นไป ทําใหคนในวัยหนุมสาวมองเปน เรือ่ งไกลตัว แตปจจุบันจากการสํารวจและศึกษาสถิติการเปนโรคทางสายตาในประเทศไทยพบวาอัตราการเกิด โรคทางสายตาเพิ่มสูงขึ้นทุกป จากผลการสํารวจสุขภาพสายตาคนไทย ป ๒๕๔๙ ระบุวา มีคนไทยไมนอยกวา ๑๕ ลานคน มีสายตา ผิดปกติ คาดวาจะมีคนไทยตาบอด ๓๖๙,๐๑๓ คน สายตาเลือนราง ๙๘๗,๙๙๓ คน และคาดวาจะมีแนวโนม สูงขึ้นเรื่อย ๆ ทุกป เพราะไลฟสไตลที่เปลี่ยนไปของคนยุคใหมที่มีการใชสายตาทํางานมากขึ้น สงผลทําให “อายุตา” สูงมากกวาอายุของตัวเรา โดยปจจุบนั พบวาเกือบ ๕๐% ของคนไทยทัง้ ประเทศ ตองใชคอมพิวเตอรเปนประจําทุกวัน ในการเรียน หรือการทํางาน โดยใชเวลาสวนใหญกับการหาขอมูลทางอินเทอรเน็ต หรือเช็กเมลอยูหนาจอคอมพิวเตอร นอกจากการเรียนและการทํางานแลว ไลฟสไตลของกลุมวัยรุนและวัยทํางานในปจจุบันที่อยูในยุค Look At “ME Generation” หรือ Gen Me ยุคที่คนสวนใหญใหความสําคัญกับเทคโนโลยีมากกวามนุษย ดวยกันเอง ทําใหเกิดปรากฏการณ “สังคมกมหนา” ทีผ่ ูคนรอบตัวตางจดจองอยูก บั “หนาจอ” ของตัวเอง หรือ เรียกไดวา “ชีวิตติดจอ” โดยไมสนใจคนรอบขาง ทําใหเราใชสายตาเพิ่มขึ้นโดยไมรูตัว



















Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.