พระราโชวาท “...ในการดำ�เนินชีวิตและปฏิบัติกิจการงานนั้น บุคคลจะต้องรู้จักประสานสัมพันธ์ กับผูอ้ นื่ เพือ่ ให้สามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างสงบสุข และร่วมมือกันทำ�งานให้ส�ำ เร็จลุลว่ ง หลักสำ�คัญ ในการประสานสัมพันธ์ก็คือ จะต้องมีความเมตตาปรารถนาดีต่อกันเป็นเบื้องต้น เมื่อแต่ละคน มีความเมตตา หวังดีตอ่ กันแล้ว ไม่วา่ จะคิด จะพูด จะทำ�สิง่ ใด ก็เป็นไปเพือ่ ประโยชน์เกือ้ กูลกัน ทุกคนจึงสามารถร่วมมือร่วมใจกันสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่ตนแก่สว่ นรวมได้เต็มที่ สังคมก็จะ มีแต่ความรักและไมตรีจติ มิตรภาพ ทัง้ ชาติบา้ นเมืองก็จะเจริญมัน่ คงยิง่ ขึน้ ไป ไม่มวี นั ถดถอย...”
พระราโชวาท ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำ�เร็จการศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๙
เจ้าฟ้า นักการศึกษา
สายรุ้ง
วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๘ เป็นอภิลักขิตสมัยคล้ายวันพระราชสมภพ ครบ ๖๐ พรรษาของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรนิ ธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ขัตติยนารีศรีสยาม ผู้ซ่ึงปวงชนชาวไทยทั่วทั้งแผ่นดิน ล้วนสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ได้ทรงพระวิริยอุตสาหะ อุทิศกำ�ลัง พระวรกาย กำ�ลังพระปัญญา และกำ�ลังพระราชทรัพย์ ประกอบพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่นานัปการเพื่อบำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุขของอาณาประชาราษฎร์ตลอดมานับแต่ทรงพระเยาว์ตราบจนปัจจุบัน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นพระราชธิดาพระองค์ทสี่ องในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระนามเดิมว่า สมเด็จ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธร เทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลยโสภาคย์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ ๒ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๘ ณ พระที่นั่งอัมพรสถานพระราชวังดุสิต โดย ศ.น.พ.ม.ล.เกษตร สนิทวงศ์ เป็นผู้ถวายการประสูติ และมีพระนามที่ บรรดาข้าราชบริพารเรียกกันทั่วไปว่า “ทูลกระหม่อมน้อย” ทรงได้รับพระบรมราชโองการสถาปนาพระอิสริยศักดิ์ และเฉลิมพระนามาภิไธย ตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ขัตติยนารีศรีสยาม” เมือ่ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๐ นับเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าหญิง พระองค์แรกที่ทรงดำ�รงฐานันดรศักดิ์ “สยามบรมราชกุมารี” แห่งพระบรม ราชจักรีวงศ์ ทรงได้รบั การศึกษาระดับอนุบาล – ระดับมัธยมศึกษา (๒๕๐๑ – ๒๕๑๕) จากโรงเรียนจิตรลดา ระดับอุดมศึกษา ปริญญาตรี ทรงได้รับปริญญา อักษรศาสตรบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับ ๑ มีคะแนน สูงสุด สาขาวิชาประวัติศาสตร์ทุกชั้นปี และทรงได้รับเหรียญทอง จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ระดับปริญญาโท ทรงได้รับปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาตะวันออกจาก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร (พ.ศ.๒๕๒๑) และปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลี สันสกฤต จากบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ.๒๕๒๔) ระดับปริญญาเอก ทรงได้รับปริญญาการศึกษา ดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์ จากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (พ.ศ.๒๕๒๙) นอกจากนั้น ยังทรงใฝ่พระทัยและทรงวิริยอุตสาหะศึกษาหาความรู้ และเข้ารับการอบรมทางวิชาการ เพิ่มเติมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศตลอดมา เช่น พ.ศ.๒๕๒๒ ทรงศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติมจากสถาบันคอมพิวเตอร์ และทรงรับการอบรมวิชาสำ�รวจ และแผนที่ ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๒๗ ทรงศึกษาอบรมด้านภาพถ่ายจากดาวเทียมในภาคพื้นเอเชียจาก International Institute for Aerospace Survey and Earth Sciences ณ เมือง Enschede ประเทศเนเธอร์แลนด์ พ.ศ.๒๕๓๕ ทรงศึกษาดูงานด้านโภชนาการ ที่สหรัฐอเมริกาและเนปาล พ.ศ.๒๕๓๕ – ๒๕๔๔ ทรงเข้ารับการอบรมระยะสั้น ที่สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลศาลายา รวม ๑๐ ครั้ง พ.ศ.๒๕๔๔ ทรงศึกษาอบรมภาษาจีน ณ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ.๒๕๔๕ ภาษาเยอรมัน ณ สาธารณรัฐเยอรมัน เมื่อพระองค์ทรงสำ�เร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาแล้ว (พ.ศ.๒๕๒๓) ทรงเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ กองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ ส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ตามคำ�กราบบังคมทูลเชิญ ของ พลตรี ยุทธศักดิ์ คล่องตรวจโรค ผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ในขณะนั้น ทรงสอนวิชา ประวัติศาสตร์ไทยและสังคมวิทยา จนถึงปัจจุบัน และทรงได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น ศาสตราจารย์ ส่วนการศึกษา ประจำ�โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (พ.ศ.๒๕๒๙) พระองค์จึงทรงเป็น “ทูลกระหม่อม อาจารย์” สำ�หรับนักเรียนนายร้อยตัง้ แต่นนั้ ต่อมามีการตัง้ กองวิชาประวัตศิ าสตร์ (พ.ศ.๒๕๓๐) ทรงดำ�รงตำ�แหน่ง หัวหน้ากองพระยศ พันเอก ต่อมาได้มีการขยายตำ�แหน่งเป็นผู้อำ�นวยการกองวิชาประวัติศาสตร์ (พ.ศ.๒๕๓๒) และเป็นศาสตราจารย์ อัตราจอมพล (พ.ศ.๒๕๔๓) นอกจากนีย้ งั ได้ทรงรับเชิญเป็นอาจารย์พเิ ศษบรรยายวิชาการ ในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๙
มหาวิทยาลัยศิลปากร ทีม่ หาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พระองค์ได้รบั การโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ ให้เป็นศาสตราจารย์ พิเศษ สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสนพระราชหฤทัยในการศึกษาของชาติ เป็นอย่างยิ่ง ทรงบำ�เพ็ญพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาอย่างหลากหลายทุกระดับ ทั้งการศึกษาของเด็ก ก่อนวัยเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ตลอดจนการศึกษาพิเศษสำ�หรับคนพิการ การศึกษา นอกโรงเรียน เป็นที่ทราบทั่วกันว่า พระองค์มีพระราชปณิธานที่จะช่วยให้พสกนิกรไทยได้รับการศึกษา เพื่อ เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลทีม่ คี ณ ุ ภาพ เป็นพลังสำ�คัญในการสร้างสรรค์และพัฒนาประเทศ ดังได้พระราชทาน พระราชปรารภว่า “...การพัฒนาคนให้เป็นกำ�ลังของชาติทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เป็นเรือ่ งควรทำ� วิธกี าร
ที่ดีที่สุดก็คือ การให้การศึกษา...”
ในด้านการศึกษาของเด็กก่อนวัยเรียน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดำ�ริ ว่า เด็กก่อนวัยเรียนเป็นพื้นฐานสำ�คัญของประเทศ สมควรได้รับการพัฒนาให้เจริญเติบโตอย่างถูกต้องตาม หลักวิชาการศึกษา จึงทรงสนพระราชหฤทัยในการส่งเสริมการศึกษาระดับอนุบาล ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง ศูนย์พัฒนาเด็ก ขึ้นเป็นจำ�นวนมากทั่วประเทศ เช่น ศูนย์เด็กปฐมวัย จัดตัง้ ขึน้ ในโรงเรียนพระตำ�หนักสวน กุหลาบ เป็นสถานเลี้ยงดูอบรมเด็กเล็ก อายุ ๓ – ๔ ปี บุตร หลานข้าราชบริพารและข้าราชการของหน่วยงานในพระบรม มหาราชวัง เปิดดำ�เนินการ เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๕ ศูนย์ทดลองเด็กหูหนวกปฐมวัย เพือ่ เตรียมเด็กพิการ ทางการได้ยนิ หรือหูหนวก อายุ ๓ – ๖ ปี ให้พร้อมก่อนเข้าเรียน ชัน้ ประถมศึกษาในโรงเรียนสำ�หรับเด็กพิการทางการได้ยนิ เช่น โรงเรียนโสตศึกษา โรงเรียนเศรษฐเสถียร
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีพระราชดำ�ริให้จัดตั้งขึ้นเป็นจำ�นวนมาก ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ทั่วประเทศ เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาคำ� จว.สกลนคร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามพระราชดำ�ริในภูมิภาคต่าง ๆ เช่น จว.นราธิวาส จำ�นวน ๑๕ ศูนย์ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโครงการเทพอำ�นวย ในเขตชุมชนแออัดของกรุงเทพฯ จำ�นวน ๑๒ ศูนย์ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กโครงการเทพอำ�นวยประยุกต์ ในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของกองกำ�ลังบูรพา จำ�นวน ๕๙ ศูนย์ และอีกหลาย ๆ ที่อีกจำ�นวนมาก ด้านการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ทรงพระกรุณาพระราชทานพระราชดำ�ริให้โรงเรียน ต่าง ๆ โดยเฉพาะในชนบทถิ่นทุรกันดาร ที่มีปัญหาความยากจน ขาดแคลน ขาดสิ่งแวดล้อมที่ดี ได้รับการพัฒนา อย่างเหมาะสม เช่น ทรงก่อตั้ง โครงการฝึกอาชีพ เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ในการประกอบอาชีพเลี้ยงตน หากไม่มีโอกาสศึกษาต่อก็สามารถหารายได้เลี้ยงตนและครอบครัวได้ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน กาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) รับ ผูย้ ากไร้ดอ้ ยโอกาส รวมทัง้ นักเรียนเก่า ของโรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดน เข้าฝึกอบรมอาชีพ ผลิตงานช่างศิลปะ ไทยโบราณ ช่างสิบหมู่ เมื่อเรียนจบ สามารถผลิตชิ้นงานออกจำ�หน่ายได้
พระมหากรุณาธิคุณในด้านการศึกษาระดับมัธยม ยังครอบคลุมถึงการพระราชทานทุนการศึกษาแก่ นักเรียนของโรงเรียนในพระราชานุเคราะห์ ให้ได้เรียนต่อในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ หรือโรงเรียนมัธยมศึกษา ของกรมสามัญศึกษา ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๑ – ๒๕๓๔ มีนักเรียนได้รับทุน ๕๗๓ คน ใน ๓๓ โรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๖ มีนักเรียนทุนพระราชานุเคราะห์ ๔๕๖ คน ใน ๓๔ โรงเรียน นอกจากนั้นได้พระราชทานอุปกรณ์ การเรียนการสอน พระราชทานพระราชดำ�ริในการจัดกิจกรรม และการดำ�เนินการของโรงเรียน ๑๓ โรงเรียน พระราชทานรถจักรยานแก่นักเรียนที่บ้านอยู่ไกล และพระราชทานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาและดำ�เนินงาน เป็นศูนย์คอมพิวเตอร์ตามพระราชดำ�ริ ด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัย มหิดล เพื่อเป็นสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาสำ�หรับส่งเสริมสมรรถภาพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ ตลอดจนสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ นอกจากนี้ยังพระราชทานพระราชูปถัมภ์เพื่อการศึกษาและวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษาทุกระดับ ทรงอุปถัมภ์ และทรงบริหารมูลนิธิต่าง ๆ ที่มีวัตถุประสงค์ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาของเยาวชนของชาติ
เนื่องในมงคลสมัย พระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ใน ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ขออำ�นาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสรรพสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ อภิบาลประทานชัยมงคล ให้ทรงพระเจริญยิง่ ยืนนาน ทรงพระเกษมสำ�ราญ มีพระราชประสงค์ จำ�นงใดขอจงสัมฤทธิด์ งั พระราชหฤทัยปรารถนา พระเกียรติคณุ เจิดจ้าขจรขจายทุกทิศานุทศิ สถิตเป็นพระมิง่ ขวัญ ร่มเกล้าพสกนิกรไทยตราบจิรัฐิติกาล เทอญ
ขอขอบคุณ สำ�นักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คุณหญิง กุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ และนิตยสารสกุลไทย
วันกองทัพอากาศ ๙ เมษายน ๒๕๕๘
เก้าเมษายนมงคลพิลาส วันกองทัพอากาศสวัสดิ์ดล ได้ก่อตั้งมั่นคงดำ�รงสวัสดิ ์ ภารกิจปกป้องท้องนภา สง่างามตามบทบาทชาติทหาร ทั่วฐานทัพฐานบินทั่วถิ่นไทย ทั้งงานหลักงานรองผู้ครองฟ้า ต่างร่วมมือร่วมใจสดใสตาม ทหารอากาศชาติไทยในวันนี้ ยังดำ�รงคงคุณบุญละออ เมื่อถึงวันทัพอากาศพิลาสจิต ทัพอากาศมั่นคงดำ�รงจินต์ ระลึกคุณชาติไทยวิไลผล จอมกษัตริย์ฉัตรทองมวลผองไทย ระลึกคุณบุพการีมิมีหมอง พระบิดาทัพอากาศพิลาสงาม ขอคุณพระรัตนตรัยคุณไพศาล ปวงเทพไท้เทวาทั่วธาตรี ไปทั่วทั้งครอบครัวไม่มัวหมอง ให้ปลอดทุกข์ปลอดโศกปลอดโรคภัย
จ้าวเวหาสนภาเวหาหน พรมงคลทั่วทิศประสิทธา พรไตรรัตน์ประสิทธิ์ทั่วทิศา สมคุณค่าทัพอากาศของชาติไทย สุดชื่นบานครองฟ้ามาแต่ไหน สุดสดใสด้วยระเบียบที่เฉียบงาม ด้วยเจตนาดำ�รงพงษ์สยาม วิสัยทัศน์ที่งดงามของ ผบ. เกียรติศักดิ์ศรีขจรไกลหลาย พ.ศ. สมควรต่อทัพอากาศราษฎร์นรินทร์ ทุกชีวิตมั่นใจในศาสตร์ศิลป์ คุ้มแผ่นดินแผ่นฟ้านภาไทย คุณศาสน์ล้นอมฤตประสิทธิ์ใส คุณวินัยแบบบทหมดจดงาม พระภูมิป้องภัยพาลกาลทั้งสาม ให้ครบตามแบบบทปรากฏมี อภิบาลชาว ทอ.ก่อราศี สมศักดิ์ศรีคุ้มครองป้องกันภัย ได้ครอบครองแต่สุขทุกสมัย ประสงค์ใดสมประสงค์จำ�นงเทอญ ด้วยเทิดมั่นกตัญญู คณะผู้จัดทำ�หนังสือข่าวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษ์พันธ์ ประพันธ์)
ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำ�หนังสือข่าวทหารอากาศ เจ้าของ
กองทัพอากาศ
ที่ปรึกษา
พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง
พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
พล.อ.ต.ฉัตรชัย บุญญานุรักษ์ พล.อ.ต.ณัฐพงษ์ วิริยะคุปต์ น.อ.ไววิทย์ เสือดี น.อ.ศุภโชติ ชัยวงษ์ น.อ.กานต์ชนก หันหาบุญ น.อ.วันชัย บุญภักดี
พล.อ.ต.ธนบดี อุตะมะ พล.อ.ต.คุณทร มณีเขียว น.อ.ขวัญกล้า นกเอี้ยงทอง น.อ.วันชัย พึ่งเจียม น.อ.หญิง สุคนธ์ทิพย์ วัฒนามระ น.อ.นพนันทพงศ์ พิชิตชโลธร
ผู้อำ�นวยการ
พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ
รองผู้อำ�นวยการ
พล.อ.ต.กัลชาญ หอมไกรลาศ เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.เดชอุดม คงศรี รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผู้จัดการ น.อ.สหัสชัย มาระเนตร ผู้ช่วยผู้จัดการ น.อ.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ� กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี ประจำ�กองบรรณาธิการ น.อ.หญิง วรรณิภา ยี่ประชา น.อ.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ท.หญิง อนงค์นาถ บุญจฑิตย์ น.ท.สินธพ ประดับญาติ น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์ กองจัดการ น.อ.วิทยา บุญล้อม น.ต.เกียรติชัย โพธิ์ทองนาค ร.อ.หญิง สุมาลี สายะนันท์ ร.อ.สุวัฒน์ ประชากูล ร.ต.ประจวบ วีระชนม์ นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์ นาง อมรา หัตถมาศ
หนังสือข่าวทหารอากาศ ความเป็นมา
หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของกองทัพ อากาศ เริ่มดำ�เนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรมข่าวทหารอากาศ มีนาวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็นบรรณาธิการคนแรก ดำ�เนินการ โดยทุนของข้าราชการทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการ มาอยู่ในความอำ�นวยการของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตามคำ�สั่ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ได้เข้าอยู่ในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กำ�กับดูแลโดยคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์กองทัพ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค.๕๒ กำ�หนดให้ใช้ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพ อากาศ ว่าด้วยการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพ์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒
ภารกิจ
ดำ�เนินกิจการหนังสือข่าวทหารอากาศ ให้เป็นไปตามนโยบายของ คณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพ์กองทัพอากาศ มีผอู้ �ำ นวยการ หนังสือข่าวทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในกิจการทั่วๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม อันจะ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ๓. เพื่อเผยแพร่กิจการกองทัพอากาศ
การดำ�เนินงาน
๑. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น ที่เป็น ประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรื่องที่นำ�ลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ - ต้องไม่ขัดต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ - ต้องไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ ส่วนรวม - ต้องได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการ พิจารณาเรื่องของสำ�นักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ
กำ�หนดการเผยแพร่
นิตยสารรายเดือน
สำ�นักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ ห้อง ๑๐๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑
พิมพ์ที่ บริษัท ปรีชาธร อินเตอร์พริ้น จำ�กัด ๔/๕ ซอย รามอินทรา ๔๒ แยก ๘ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐ โทร. ๐๒-๙๓๐-๗๐๕๓-๔ แฟกซ์ ๐๒-๙๓๐๗๐๕๐ ค่าสมาชิกภายนอกปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สั่งจ่าย ปณ.คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผู้เขียนในหนังสือฉบับนี้ ไม่มีส่วนผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด
ออกแบบปก : น.ท.สินธพ ประดับญาติ/พ.อ.อ.อุดมศักดิ์ รุ่งแสง
http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com
ปีที่ ๗๕ ฉบับที่ ๔ เดือน เมษายน ๒๕๕๘
สารบัญ ๒๐
๑๖ ๑๗ ๒๐ ๒๖ ๓๑ ๓๔ ๓๗ ๔๐ ๔๔ ๔๗ ๔๙ ๕๕
บทบรรณาธิการ ภาพเก่าเล่าเรื่อง ...ฒ.ผู้เฒ่า ประโยชน์สุขของแผ่นดิน : ฐานปฏิบัติการทรงงาน ...ตามรอย ๙ เมษายน ๒๕๕๘ วันกองทัพอากาศ “วิวัฒนาการเครื่องบินโจมตีของ ทอ.” ...ท้าวทองไหล บทบาทบางประการของ พลโท หลวงกาจสงคราม กับกองทัพอากาศ ...พล.อ.ท.ศรีศักดิ์ สุจริตธรรม การเตรียมความพร้อมกำ�ลังพลเพื่อรองรับ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ...กพ.ทอ. ก้าวใหม่ของการส่งกำ�ลังบำ�รุงของกองทัพอากาศ กับแนวคิด LCC ...กบ.ทอ. บทบาทด้านการรักษาความปลอดภัย ของกองทัพอากาศในสถานการณ์ปัจจุบัน ...น.อ.ประจง ศรีสุข ความมั่นคงทางพลังงาน ...Pharaoh การพัฒนาศักยภาพด้านการแพทย์ทหารอากาศ ให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับประเทศและภูมิภาค อาเซียน ...พล.อ.ท.สุรศักดิ์ โปร่งจันทึก จก.พอ. ภาษาไทยด้วยใจรัก : ศัพท์สันสกฤตในภาษาไทย ...นวีร์ การพัฒนากองทัพอากาศมุ่งสู่วิสัยทัศน์ “กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค” ...พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง ผบ.ทอ. โครงการชุมชนสัมพันธ์ ...กร.ทอ.
๔๙
๕๘ มุมมองนภานุภาพในมิติ ๒๐๑๕ ...ร.อ.จักรพันธ์ เครือวรรณ ๖๓ ปริศนาอักษรไขว้ ...มีน ๖๕ ครูภาษาพาที : โครงการจัดทำ�ค่ายฝึกอบรม ภาษาอังกฤษ แบบบูรณาการ (English Camp) และ วอล์คแรลลี่ (Walk Rally) ...ศภษ.ยศ.ทอ. ๖๙ เวลาการ์ตูน ...มิสกรีน ๗๑ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของ ทอ. สำ�หรับสงครามยุคใหม่ ...ทสส.ทอ. ๗๕ สดุดีวีรชน จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร ...พล.อ.ท.ปรีชา ประดับมุข ๗๗ ยุทธศึกษากับการพัฒนากองทัพอากาศ ...น.อ.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย์ ๘๒ สวัสดิการก้าวไกลสู่มิติใหม่ที่ยั่งยืน ...สก.ทอ. ๘๖ ภูมิทัศน์อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของ อาเซียน ...สทป. ๙๒ งูในรังพญาอินทรีย์ ...น.อ.วัชระ สกุลรัตน์ ๙๗ เฉลยปริศนาอักษรไขว้ (มีรางวัล) ฉบับเดือน ก.พ.๕๘ ...มีน ๙๘ รอบรู้...อาเซียน : เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ประชาคมอาเซียน ...@Zilch ๙๙ นานา..น่ารู้ : ฟักทอง ผักเป็นยามากคุณค่าวิตามิน ...บางแค ๑๐๐ มุมสุขภาพ : ระวัง ! การใช้ยาในผู้สูงอายุ ...นายห่วงใย ๑๐๒ ขอบฟ้าคุณธรรม ...1261 ๑๐๕ ในรั้วสีเทา
บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ สมาชิกหนังสือข่าวทหารอากาศทุกท่าน วันที่ ๒ เมษายน เป็นอภิลักขิตสมัยคล้ายวันพระราชสมภพครบ ๖๐ พรรษา ของสมเด็จพระเทพรัตนราขสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ขัตติยนารีศรีสยาม มีพระนามที่บรรดา ข้าราชบริพารเรียกกันทั่วไปว่า “ทูลกระหม่อมน้อย” นับเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าหญิงพระองค์แรกที่ทรงดำ�รงฐานันดรศักดิ์ “สยามบรมราชกุมารี” แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงบำ�เพ็ญพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาอย่างหลากหลาย ทุกระดับ ทรงเป็นพลังสำ�คัญในการสร้างสรรค์ และพัฒนาประเทศ ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์และทรงบริหารมูลนิธิต่าง ๆ ที่มีวัตถุประสงค์ส่งเสริมด้านการศึกษาแก่เยาวชนของชาติ เนื่องในมงคลสมัยขออำ�นาจคุณพระศรีรัตนตรัยและ สรรพสิ่งศักดิ์สิทธิ์อภิบาลประทานชัยมงคลให้ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ทรงพระเกษมสำ�ราญสถิตเป็นพระมิ่งขวัญ ร่มเกล้าพสกนิกร ตราบจิรัฐิติกาลเทอญ หนังสือข่าวทหารอากาศฉบับเดือน เมษายน ๒๕๕๘ นี้ เป็นฉบับพิเศษเนื่องในวันกองทัพอากาศ ๙ เมษายน ซึ่งประวัติโดยสังเขป ๒๗ มีนาคม ๒๔๕๗ ยกฐานะจาก “แผนกการบิน” เป็น “กองการบินทหารบก” ๒๙ มีนาคม ๒๔๖๑ ยกฐานะเป็น “กรมอากาศยานทหารบก” ๑ ธันวาคม ๒๔๖๔ เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมอากาศยาน” ๑๒ เมษายน ๒๔๗๘ ยกฐานะป็น “กรมทหารอากาศ” และ ๙ เมษายน ๒๔๘๐ ยกฐานะ กรมทหารอากาศ เป็น “กองทัพอากาศ” มี นาวาอากาศเอก พระเวชยันต์รงั สฤษฏ์ เป็นผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศคนแรก กองทัพอากาศ จึงกำ�หนดให้วนั ที่ ๙ เมษายน ของทุกปี เป็น “วันกองทัพอากาศ" คณะผู้จัดทำ�หนังสือข่าวทหารอากาศ มีความมุ่งมั่นที่จะนำ�เสนอผลงานการพัฒนา กองทัพอากาศมุ่งสู่วิสัยทัศน์ “กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค One of the Best Air Forces in ASEAN” ซึ่งเป็น บทความอันทรงคุณค่าที่ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ได้กรุณาเรียบเรียงให้สมาชิกและชาวกองทัพอากาศได้รับทราบ วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ การพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพอากาศ ปี ๒๕๕๑ – ๒๕๖๒ และในปี ๒๕๕๘ นี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านของการพัฒนาระยะที่ ๒ ไปสู่ระยะที่ ๓ ที่มุ่งเน้นให้กำ�ลังทางอากาศมีขีดความสามารถในการปฏิบัติการ ที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operation : NCO) เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน สำ�หรับบทความนี้ยังมี สาระสำ�คัญอีกมากมาย รวมทั้งอากาศยานที่จัดหาเข้าประจำ�การใหม่และที่ได้รับการปรับปรุงขีดความสามารถสูงขึ้น ทันสมัยขึน้ ซึง่ จะนำ�ไปเชือ่ มโยงกับบทความเด่น ๆ ในเล่มอีก เช่น “บทบาทด้านการรักษาความปลอดภัยของกองทัพอากาศ ในสถานการณ์ปัจจุบัน” ปกฉบับนี้จะเป็นภาพโดยรวมเกี่ยวกับกองทัพอากาศที่ดำ�เนินงานตามวิสัยทัศน์ ซึ่งสมาชิกทุกท่านจะติดตามได้ ภายในฉบับ อีกทั้งมีบทความที่น่าสนใจ รวมทั้งคอลัมภ์ประจำ�เชิญพลิกอ่านได้ตามอัธยาศัย... บรรณาธิการ
ภาพเก่าเล่าเรื่อง ฒ.ผู้เฒ่า
ขณะที่เป็นกรมทหารอากาศ - กองทัพอากาศ ระหว่างปี ๒๔๗๘ - ๒๔๘๐ ได้สร้างและซื้อเครื่องบิน มีกำ�หนดดังนี้ - ปี ๒๔๗๘ สร้างเครื่องบินฝึก เครื่องบินขับไล่ เครื่องบินตรวจการณ์ รวม ๕๓ เครื่อง และซื้อเครื่องบิน ทิิ้งระเบิด ๑๒ เครื่อง - ปี ๒๔๗๙ สร้างเครื่องบินฝึก เครื่องบินขับไล่ เครื่องบินตรวจการณ์ รวม ๕๘ เครื่อง - ปี ๒๔๘๐ สร้างเครื่องบินขับไล่ เครื่องบินตรวจการณ์ เครื่องบินโจมตี รวม ๗๒ เครื่อง และซื้อเครื่องบิน ทิ้งระเบิด ๑๒ เครื่อง เมื่อรวมกับของเดิมที่มีอยู่เดิม ๗๘ เครื่อง จะทำ�ให้มีเครื่องบินแบบต่าง ๆ รวมทั้งสิ้น ประมาณ ๓๐๐ เครื่อง
ร.อ.หลวงเจริญจรัมพร ผู้บังคับกองบินน้อยที่ ๑ กับนักบิน และข้าราชการกองบินน้อยที่ ๑ ขณะนั้น อยู่ทางฝั่งตะวันตกของสนามบินดอนเมือง ที่มา : หนังสือ ๗๒ ปี กองทัพอากาศ
ประโยชน์สุขของแผ่นดิน
ฐานปฏิบัติการทรงงาน
ตามรอย
“...ที่ของข้าพเจ้าในโลกนี้ คือการที่ได้อยู่ ท่ามกลางประชาชนของข้าพเจ้า นั่นคือ คนไทยทั้งปวง...” พระราชหัตถเลขาของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระตำ�หนักทักษิณราชนิเวศน์ ...ที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในยามเสด็จฯ แปรพระราชฐานมายังภาคใต้ เพื่อใช้เวลาในการเยี่ยมเยียนประชาชนของพระองค์อย่างเต็มที่...จากนั้นมา ประชาชนในภาคใต้ก็ได้รับเสด็จฯ ในหลวงของพวกเขาทุก ๆ ปี...พระตำ�หนักทักษิณราชนิเวศน์ ตั้งอยู่ข้าง ริมอ่าวมะนาว บริเวณเขาตันหยง ซึ่งอยู่ท่ามกลางสถานการณ์ความไม่สงบจากการแบ่งแยกดินแดนมานาน หลายร้อยปี
วัดชลธาราสิงเห
วัดชลธาราสิงเห วัดไทยแห่งนี้เป็นหลักฐาน สำ�คัญที่ใช้อ้างอิงว่า พื้นที่ติดแนวชายแดนนั้นเป็น ของไทย ทำ�ให้ไม่ตอ้ งสูญเสียดินแดนเหล่านีเ้ พิม่ ให้กบั อังกฤษอีกในสมัยรัชกาลที่ ๕ หากวัดชลธาราสิงเหหรือ วัดพิทกั ษ์แผ่นดินไทยนีเ้ ป็นสัญลักษณ์ของความมัน่ คง ทางชายแดนพระตำ�หนักทักษิณราชนิเวศน์ ก็คอื ตัวแทน ของความมัน่ คงทางจิตใจของพีน่ อ้ ง ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ถึงจะอยู่ไกลแค่ไหน แต่ในหลวงพระองค์นี้ ก็ไม่มีวันทอดทิ้งประชาชน
ภายในพระตำ�หนักทักษิณราชนิเวศน์
อาคารที่ประทับของแต่ละพระองค์
ในพระตำ�หนักฯ ที่นี่แบ่งหน้าที่กันออกเป็น ศาลาสำ�หรับทรงงาน ๖ หมวดงาน ตั้งแต่หมวดธุรการ หมวดพัสดุ หมวดชาวที่ หมวดสวนและสุขา หมวดยานพาหนะ และ รปภ. ตลอดจน หมวดช่างและโยธา ทั้งหมดนี้ก็เพื่อเตรียมรับเสด็จฯ และคอยดูแลให้สถานที่แห่งนี้ เป็นฐานปฏิบัติการที่ เข้มแข็ง และเป็นทีพ่ งึ่ ของประชาชนได้เสมอ พืน้ ทีบ่ ริเวณ พระตำ�หนักฯ ส่วนมากเป็น ไม้ประจำ�ถิน่ เช่น หมากแดง ปาล์มบังสูรย์ รักนา ส่วนสวนสวย ๆ นั้นแฝงจุดหมายที่แท้จริงในการอนุรักษ์ รวมถึงขยายพันธุ์พืชและสัตว์ท้องถิ่น ไว้ด้วย และนี่ก็คือ คลังพระราชทาน เป็นศูนย์กลางส่งต่อความช่วยเหลือไปยังประชาชนที่เดือดร้อนได้ตลอดปี และได้มีการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเล ชาวบ้านก็สามารถ ทำ�ประมงได้ บางครอบครัวก็สามารถ เก็บเกี่ยวพืชผลจากผืนดินของพวกเขาเองได้ และบางคนก็ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์ศิลปาชีพ ที่สร้างทั้งอาชีพ และชีวิตใหม่ให้กับผู้คน ผลิตภัณฑ์จากต้นกระจูด
ศูนย์ศิลปาชีพ นอกจากศาสนาและอาชีพแล้ว การศึกษาก็จดุ แสงสว่างให้กบั ทีน่ เี่ ช่นกัน เด็ก ๆ จากศูนย์เด็กเล็กแห่งนี้ ได้รบั การดูแลจนเติบโตไปเป็นกำ�ลังสำ�คัญของหมูบ่ า้ นแล้วหลายรุน่ ไม่ตา่ งกับโรงเรียนบ้านเขาตันหยงมิตรภาพ ที่ ๑๕๓ ที่กำ�ลังทำ�หน้าที่สร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับเด็ก ๆ ด้อยโอกาสทางการศึกษา โอกาสที่เข้าถึง ประชาชนของพระองค์ทุกคน
ในหลวงเสด็จภาคใต้ นับตั้งแต่ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเยี่ยมราษฎรภาคใต้ครั้งแรกในปี ๒๕๐๒ พระองค์ท่าน ก็ทรงศึกษาจนเข้าใจว่า ปัญหาใหญ่ของที่นี่ คือ เรื่องดินกับน้ำ� และเป็นที่มาของโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริหลากหลาย ที่เกิดขึ้นและขยายวงกว้างไปทั่วภูมิภาค ไม่ไกลจากพระตำ�หนักฯ พระองค์ทรงมี พระราชดำ�ริให้สร้าง “อ่างเก็บน้ำ�ใกล้บ้าน” เพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคต และเพียง ๑ ปี หลังจากนั้น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริก็เกิดขึ้น และกลายมาเป็นตัวอย่างหนึ่งที่สะท้อน ให้เห็นถึงความพยายามในการแก้ปญ ั หา ด้วยความเข้าใจในสภาพพืน้ ทีอ่ ย่างแท้จริงโครงการในจังหวัดนราธิวาส เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกว่า ๗๐๐ โครงการทัว่ พืน้ ทีภ่ าคใต้ ซึง่ ล้วนแล้วแต่เน้นให้ชาวบ้านมีอาชีพทำ�กินพอเพียง โดยสามารถพึ่งพาทรัพยากรดินและน้ำ�ได้อย่างยั่งยืน พระตำ�หนักทักษิณราชนิเวศน์ได้พันผูกพสกนิกรกับพระราชาของพวกเขาไว้อย่างหนาแน่นเช่นเดียวกับ พระตำ�หนักฯ อีก ๓ แห่ง วังไกลวังวล ได้นำ�ทางพระองค์สู่ความทุกข์ยากของราษฎร ในภาคตะวันตก ซึ่ง ในเวลาต่อมาก็ได้พระราชทานเส้นทางคมนาคมที่นำ�พวกเขาสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บนดอยสูงของภาคเหนือ พระตำ�หนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ ศูนย์รวมจิตใจระหว่างคนพื้นราบกับคนบนที่สูง ค่อย ๆ ทำ�ให้ชาวเขาเปิดหัวใจ ยอมรับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนกว่า และพระตำ�หนักภูพานราชนิเวศน์ ก็คือฐานที่มั่นของการต่อสู้กับ ความยากจนในถิ่นที่ราบสูงด้วยวิถีทำ�กินใหม่ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ นี่คือระยะเวลาตลอด ๘ เดือนในทุก ๆ ปี ที่พระองค์เสด็จฯ ไปยังพระตำ�หนักฯ ทั่วประเทศ ไปเป็นพ่อหลวง... เป็นในหลวง... ... ถึงตอนนี้ ทำ�ให้เข้าใจได้ว่า พระราชวังของกษัตริย์ที่แท้ ก็คืออยู่กลางใจประชาชนนั่นเอง
ชาวบ้านทำ�การเกษตรหลากหลาย
นับตั้งแต ๙ เมษายน ๒๔๘๐ ซึ่งกำเนิดเปน “วันกองทัพอากาศ” ในปนี้ ที่แมวาเมื่อ ๑๐ ปที่แลวเราจะจัดงานและ กำหนดใหเปนปที่ ๙๐ ของกองทัพอากาศ แตปนี้เราไมกำหนดใหเปนปที่ ๑๐๐ หรือ ๑ ศตวรรษของกองทัพอากาศไทยก็ตาม แตเปนที่ประจักษไปทั่วทุกสารทิศอยูแลววา “กองทัพอากาศไทย” มีความเกาแกและมีประวัติศาสตรอันยิ่งใหญกองทัพอากาศ หนึ่งในภูมิภาคเอเชีย เมื่อปที่แลว ผูเขียนไดเรียบเรียงเรื่องราวของ “วิวัฒนาการเครื่องบินขับไลของ ทอ.” ถาทานใดหลุดยังไมไดอาน อาจจะ ตองเขาไปอานใน E-books ของ “ขาวทหารอากาศ” เลมเกายอนหลังที่ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th ครับ เรื่องราวในป ๒๕๕๘ นี้ผมขออนุญาตนำเสนอเรื่องราวของเครื่องบินโจมตีของกองทัพอากาศ เพื่อใหทุกทานไดทราบวา มีเครื่องบินอะไรบาง ประวัติความเปนมาแบบยอๆ มีอะไรบาง ไปรูจักเรื่องราวตางๆ ของ “วันกองทัพอากาศ” ประจำป ๒๕๕๘ ในเรื่องของ “วิวัฒนาการเครื่องบินโจมตีของ ทอ.”
เครื่องบินโจมตีแบบที่ ๑
VOUGHT CORSAIR V-93
เครื่องบินที่ไดชื่อวาเปนเครื่องบินโจมตีแบบแรกของ กองทัพอากาศมีชื่อวา VOUGHT CORSAIR V-93 สรางโดยบริษัทชานวอรจ ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนเครื่องบินโจมตีและลาดตระเวนปกสองชั้น สองที่นั่ง ที่นั่งหลังทำหนาที่พลปนหลังในรุนโจมตี และทำหนาที่ถายภาพทางอากาศในรุนลาดตระเวน สรางออกมาหลายรุน บรรจุประจำการอยูใน กองทัพอากาศตางๆ ทั่วโลก ในรุนของไทยเรานั้น เปนรุน วี - ๙๓ เอส (V-93 S, S=SIAM) มีชื่อเรียก จริงๆ ตามมาตรฐานสหรัฐฯ วา “O3U-3” ที่สราง เพื่อกองทัพอากาศไทยโดยเฉพาะ ๑๒ เครื่อง เมื่อ ป ๒๔๗๗ นอกจากนี้ยังมีการจัดสรางเองภายในประเทศอีก ๖๐ เครื่อง โดยมียอดการสรางเขาประจำการในฐานขอมูลของบริษัทวารุนนี้มีทั้งสิ้น ๗๒ เครื่อง เครื่องบินแบบนี้เปนเครื่องบินอีกแบบ
ที่มีบทบาททางการรบอีกแบบหนึ่งในระหวางกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส กำหนดชื่อในขณะนั้นวา “เครื่องบินแบบ ๒๓” (พ.ศ.๒๔๘๒ ชวงกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส และสงครามมหาเอเชียบูรพา มีการกำหนดเรียกชื่อเครื่องบินแบบตางๆ ของกองทัพอากาศเปนรหัสตัวเลขสองหลักเพื่อพลาง สำหรับเครื่องบินโจมตี กำหนดเลขนำหนาคือ เลข ๒) ในระหวาง สงครามกรณีพิพาทไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศสระหวางป พ.ศ.๒๔๘๓ - ๒๔๘๔ เครื่องบินแบบคอรแซรไดแสดงความสามารถ ในการปกปองเอกราชของชาติไทยไวไดหลายตอหลายครั้งไดรับการติดตั้งปนกลอากาศหนาแบบ วิคเกอร ขนาด ๘ มม. แบบ วี ๔ กระบอกที่ปกบนและปกลาง ปนกลอากาศหลังแบบ วิคเกอร ขนาด ๘ มม. แบบ อี ๒ กระบอกคู สำหรับ พลปนหลัง และสามารถบรรทุกลูกระเบิดขนาด ๕๐ กก. ได ๔ ลูกที่ใตปก ในประเทศไทย คอรแซรถูกสรางมาอยางนอย ๓ รุน คือ รุนโจมตี รุนลาดตระเวน และเครื่องบินฝก โดยแตกตางกัน ที่เครื่องยนต จึงเรียกวารุนหัวโอง รุนหัวถาด และรุนหัวยาว ในชวงสงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศสนั้น คอรแซรใชสีบรอนซเงิน ในชวงตนสงครามมหาเอเชียบูรพาใชสี พรางเขียว แตชวงที่มีการบุกเขายึดครองดินแดนในเขตสหรัฐไทยเดิมถึงเมืองเชียงตุง มีการใชสีพรางเขียวแตใช “ธงแดงชางเผือก” เปนสัญลักษณของไทยแทนธงชาติวงกลมที่คลายของ ทอ.อังกฤษ เพื่อปองกันการสับสนของฝายเดียวกัน บรรจุประจำการใน ทอ. ป พ.ศ.๒๔๗๗ - ๒๔๙๐ กำหนดชื่อในปจจุบันวา “บ.จ.๑” ปจจุบันมีตั้งแสดงอยูที่ พิพิธภัณฑของ กองทัพอากาศและการบินแหงชาติ เหลือเพียง “เครื่องเดียวในโลก”
เครื่องบินโจมตีแบบที่ ๒
มีชื่อวา “Mitsubishi Ki - 30 Ann” แรกนั้นกำหนดชื่อเปน “เครื่องบินแบบที่ ๒๖” ในชวงตนสงครามโลกครั้งที่ ๒ นั้น ยังอยูในชวงของกรณี พิพาทอินโดจีนฝรั่งเศสอันเนื่อง มาจากการลาอาณานิคมของฝรั่ง Mitsubishi Ki-30 ดวยเหตุการณนี้เองที่สหรัฐฯ ระงับการสงมอบเครื่องบินขับไล เครื่องบินโจมตี และอุปกรณสงครามตางๆ ใหกับไทย ดังนั้นกองทัพไทยจึงตองหันไปจัดซื้ออาวุธตางๆ จากประเทศในเอเชีย ดวยกัน เครื่องบินโจมตีแบบสามที่นั่ง (นักบิน - พลทิ้งระเบิด/วิทยุ - พลปนหลัง) กิ - ๓๐ นาโกยา เปนเครื่องบินอีกแบบที่ กองทัพอากาศจัดซื้อจากญี่ปุน กองทัพอากาศจัดซื้อ Ki-30 จำนวน ๒๔ เครื่อง ซึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะของไทยวา นาโกยา เนื่องจากเครื่องบินรุนนี้ของไทยผลิตโดยโรงงานของมิตซูบิชิ ที่เมืองนาโกยา ไดรับการติดตั้งปนกลอากาศหนาขนาด ๗.๗ มม. ๑ กระบอก ชนิดยิงลอดใบพัด ปนกลอากาศหลัง ขนาด ๗.๗ มม. ๑ กระบอก บรรทุกลูกระเบิดขนาดตางๆ น้ำหนักรวม ๖๖๐ ปอนด กำหนดเปนเครื่องบินโจมตี บรรจุประจำการในฝูงบิน “พิบูลสงคราม ๑” และ “พิบูลสงคราม ๒” มีผลงาน ที่สรางชื่อเสียงคือการรบทางอากาศในการโจมตี นครวัด และพระตะบอง ในชวงกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส ระหวางไทย กับฝรั่งเศส เครื่องบินสวนใหญเสียหายในระหวางสงคราม เนื่องจากถูกยิงตกในระหวางการรบ และถูกทำลายบนพื้นดิน ขณะถูกโจมตีทางอากาศจากฝายสัมพันธมิตร ภายหลังสงคราม พ.ศ.๒๔๘๙ กองบินนอยที่ ๑ ปฏิบัติการดวยเครื่องบิน ดำทิ้งระเบิด แบบ Ki-30 นาโกยา ในฝูงบิน ๑ และ ฝูงบิน ๒ จำนวนหนึ่ง โดยที่ฝูงบิน ๓ ประจำการดวยเครื่องบินขับไล แบบ Ki-27, Ki-43
ครั้นในป พ.ศ.๒๔๙๑ กองบินนอยที่ ๑ เปนสวนราชการขึ้นตรงตอ กองบินภาคที่ ๑ กองบินรบ กองทัพอากาศมี น.ท.เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร เปน ผบ.บน.๑ ไดสงนาโกยา จำนวน ๓ เครื่อง จากฝูง ๑ ไปประจำ สนามบินสงขลาเพื่อรวมกับเจาพนักงานทองถิ่นปราบปรามโจรจีนคอมมิวนิสต โดยหมุนเวียนเจาหนาที่ตางๆ ของฝูง ๑ ไปปฏิบัติงาน ตอมาเครื่องบินที่เหลือไดปลดประจำการเนื่องจากการขาดแคลนอะไหล และบางสวนถูกทุบทิ้ง หรือขาย เปนเศษเหล็ก ปจจุบันไมมีเครื่องบินโจมตีแบบที่ ๒ เหลือในประเทศไทย และไมมีความชัดเจนวาปจจุบันในโลก ยังเหลือเครื่องบินแบบนี้ของจริงอยูหรือไม Firefly
เครื่องบินโจมตีแบบที่ ๓ (Firefly)
เครื่องบินแบบ Firefly สรางโดย บริษัท แฟรี เอวิเอชั่น ประเทศอังกฤษ เปน เครื่องบินโจมตีปกชั้นเดียว สองที่นั่ง เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๔ มีการยุบกิจการ “กองบินทหารเรือ” เนื่องจากเหตุการณ “กบฏแมนฮัตตัน” โดยโอนกิจการทั้งหมดใหกองทัพอากาศ ดูแล ขณะนั้น กองทัพเรือ มีนักบินทั้งสิ้น ๓๐ คน มี นาวาเอก เสนาะ รักธรรม เปนผูบังคับการกองบินทหารเรือ โดยมี
เครื่องบินแบบตางๆ รวม ๗๔ เครื่อง ในจำนวนนี้ มีเครื่องบินโจมตีแบบ Firefly FR.1 จำนวน ๑๐ เครื่อง ติดตั้งปนกลอากาศหนาแบบฮิสปาโน ขนาด ๒๐ มม. ๔ กระบอก สามารถบรรทุกลูกระเบิด ขนาด ๑๐๐ ปอนด ที่ใตปกขางละ ๒ ลูก หรือลูกระเบิด ขนาด ๒๕๐ ปอนดที่ใตปกขางละ ๒ ลูก และเครื่องบินโจมตีฝกแบบ Firefly T.2 จำนวน ๒ เครื่อง เครื่องบินเหลานี้ไดรับการบรรจุประจำการใน ฝูงบิน ๔๓ กองบินนอยที่ ๔ ทดแทนเครื่องบินขับไลแบบสปทไฟรท ที่ไดรับความเสียหายจาก เหตุการณแมนฮัตตันแมวาทางปฏิบัติจริงเครื่องบินเหลานี้เปนเครื่องบินเหลือใช สงครามโลกครั้งที่ ๒ ที่กองทัพเรือซื้อมาจาก กองทัพเรืออังกฤษ แตก็สามารถใชงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ Firefly ถูกสงไปปฏิบัติราชการ ณ สนามบิินชายแดน ที่ฐานบินอุดรธานี ภายหลังเครื่องบินสวนใหญถูกสงไปปฏิบัติราชการในการ ปราบปรามโจรจีนคอมมิวนิสตในเขตงานภาคใตตอนลาง ที่สนามบินสงขลา และปลดประจำการในป พ.ศ.๒๔๙๘ ปจจุบันประเทศไทยเหลือ Firefly เพียงเครื่องเดียว ตั้งแสดงอยูที่พิพิธภัณฑกองทัพอากาศและการบินแหงชาติ
ข่าวทหารอากาศ ๒๒
เมษายน ๒๕๕๘
เครอืงบนิโจมตแีบบที ๕ (OV-10C)
OV-10C
เครอืงบนิแบบ OV-10C สรางโดย บรษิทั รอ็คเวล อนิเตอรเนชนัแนล (ชอืเดมิ นอรทอเมรกินั) ประเทศสหรฐั อเมรกิา ในป พ.ศ.๒๕๑๔ บรษิทัไดทำการจดัสงเครอืงบนิโจมตแีบบ OV-10C จำนวน ๑๖ เครอืง มากบัเรอืบรรทกุสนิคา และทำการขนขนึฝงททีาเรอืในฐานทพัเรอืคมัรนัเบยของสหรฐัอเมรกิา ในเวยีดนามใต เพอืทำการประกอบและทดสอบ การบนิในเวยีดนามกอนทจีะสงมอบให กองทพัอากาศไทย โดยกองทพัอากาศไทยจดัสงครกูารบนิทงั ๖ ทาน เดนิทาง ไปเวยีดนามเพอืรวมทำการบนิกบันกับนิอเมรกินัและนำเครอืงบนิทงั ๑๖ เครอืงกลบัมาลงทฐีานทพัอากาศดอนเมอืง โดยกลบัมาบรรจปุระจำการในฝงูบนิทตีงัขนึใหมโดยเฉพาะในวนัเดยีวกนันี คอื ฝงูบนิขบัไล - โจมตี ที ๒๑ กองบนิ ๒ โคกกระเทยีมจากนนัไดปฏบิตัหินาทใีนการปราบปรามผกูอการรายคอมมวินสิต ณ ฝงูบนิผสม ที ๒๒๑ ฐานบนิเชยีงใหม เพอืสนบัสนนุการรบทางภาคเหนอืตงัแตป พ.ศ.๒๕๑๕ โดยเฉพาะทจีงัหวดั นาน, พะเยา, เชยีงราย, พษิณโุลก และเพชรบรูณ นอกจากนเีครอืงบนิ OV - 10C ยงัขามเขตไปสนบัสนนุการรบทางภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอืแถวจงัหวดั เลย อดุรธานี และสกลนคร อกีดวย ในป พ.ศ.๒๕๑๕ ภายหลงัจากการรบัมอบเครอืงบนิโจมตแีบบ OV - 10C รนุแรก ๑๖ เครอืงแลว จากภยัคกุคามของคอมมวินสิตทำใหกองทพัอากาศตองทำการจดัซอืเครอืงบนิโจมตแีบบนเีพมิเตมิอกี ๑๖ เครอืง เครอืงบนิในชดุที ๒ ประจำการอยทูี ฝงูบนิ ๕๓ กองบนิ ๕ ประจวบครีขีนัธ จากนนัไดยายไปปฏบิตัริาชการ ทฝีงูบนิ ๗๑๑ กองบนิ ๗๑ ทตีงัขนึมาใหมทจีงัหวดัสรุาษฎรธานี เมอื ป พ.ศ.๒๕๒๕ เครอืงบนิ OV - 10C ไดรบัการตดิตงั ปนกลอากาศแบบ M-60E ขางละสองกระบอกทคีลบี (สปอนสนั) ขางลำตวัทงัสองขางตดิตงัระเบดิขนาดตางๆ และจรวด ๒.๗๕ นวิ ทใีตลำตวั และใตปก นำหนกัรวม ๓,๖๐๐ ปอนด สามารถตดิจรวดนำวถิอีากาศสอูากาศ AIM-9 ทใีตปก ทงัสองดาน เมอืตดิอปุกรณ LAW-7 ๓๐ ปของการรบัใชชาตขิองเครอืงบนิโจมตแีบบ OV-10C เขาเปนเหมอืนผเูบกิทางนำมาซงึชยัชนะหลายสมรภมูิ แมจะมกีารกลาวมากมายวาปจจบุนัไมมผีกูอการรายคอมมวินสิตในประเทศไทยแลวนบัสบิป ปจจบุนัยงัมเีครอืงบนิ OV-10C ตงัแสดงอยตูามทตีางๆ ในประเทศไทย รวมถงึ ณ พพิธิภณ ั ฑกองทพัอากาศและการบนิแหงชาติ
เครื่องบินโจมตีแบบที่ ๖ (A-37B)
A-37B
A-3 7
B
เครื่องบินแบบ A-37B ฉายา Dragonfly สรางโดย บริษัทเชสสนา ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนเครื่องบินไอพน โจมตีขนาดเบา สองที่นั่งเคียงกัน ติดตั้งปนใหญมินิกัน ขนาด ๗.๖๒ มม. ๖ ลำกลอง ๑ กระบอก มีตำบลติดอาวุธระเบิด และจรวดใตปก ๘ ตำบล น้ำหนักรวม ๒,๕๗๖ กก. A-37B พัฒนามาจากเครื่องบินฝกแบบ T-37 ใชงานอยางแพรหลาย ในระหวางสงครามเวียดนาม โดยมีประจำการทั้งใน ทอ.สหรัฐฯ และ ทอ.เวียดนาม กองทัพอากาศไทย ไดรับความ ชวยเหลือทางทหารจากสหรัฐฯ ในป พ.ศ.๒๕๑๗ จำนวนหนึ่ง โดยกำหนดชื่อแบบ ทอ.วา “บ.จ.๖” บรรจุประจำการ ครั้งแรกในฝูงบินขับไลยุทธวิธีที่ ๔๓ กองบิน ๔ ตาคลี ภายหลังเปลี่ยนชื่อเปนฝูงบินขับไลที่ ๔๐๓ ตอมาในป พ.ศ.๒๕๒๔ กองทัพอากาศยาย A-37B ทั้งหมดไป บรรจุประจำการที่ ฝูงบินขับไลยุทธวิธีที่ ๒๑๑ กองบิน ๒๑ เปนเครื่องบินที่มีบทบาทมากเครื่องหนึ่งของ กองทัพอากาศไทย ในการปรามปรามผูกอการรายคอมมิวนิสตทางภาคเหนือและ ภาคอิสานของไทย และโจรจีนคอมมิวนิสตทางภาคใต นอกจากนี้ยังใชสนับสนุนกำลังภาคพื้นดิน ในการตอตานกำลัง A-37B ขาศึกภายนอกประเทศที่รุกรานตามแนวชายแดนดานตะวันออก ของไทย กองทัพอากาศจำเปนตองปลดประจำการ A-37B ทั้งหมดลง เพราะหมดอายุการใชงาน ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๓๗ เปนตนมา ปจจุบันมี A-37B อยางนอย ๕ เครื่อง ที่ตั้งแสดงหรืออนุรักษไวในประเทศไทย นอกจาก A-37B แลว กองทัพอากาศไทย ยังมีเครื่องบินโจมตีไอพนคุมกันแบบ OA-37B ที่จัดซื้อมาในป ๒๕๒๙ อีก ๒ เครื่อง โดยเครื่องบิน แบบนี้ตางจาก A-37B ทั่วไป ที่มีทอเติมน้ำมันกลางอากาศที่สวนหัว โดยบรรจุประจำการที่ ฝูงบิน ๒๑๑ ภารกิจหนึ่งที่ A-37B ไดรับมอบหมายนอกเหนือจากการเปนเครื่องบินโจมตีคือ เครื่องบินปฏิบัติการฝนหลวง
เครื่องบินโจมตีแบบที่ ๗ (ALPHA JET)
ALPHA JET
ALPHA JET
เครื่องบินแบบ ALPHA JET ออกแบบและผลิตโดยโครงการรวมมือ ระหวางบริษัท ดัทโซเบรเกต ประเทศฝรั่งเศส และบริษัทดอรเนีย ประเทศเยอรมัน ในชวงป ๒๕๔๒ ที่ใหเหลาทัพดำเนินการปรับปรุง โครงสรางเพื่อรองรับกับสภาวะเศรษฐกิจที่ชลอตัวของประเทศไทย ทั้งในปจจุบัน และอาจจะถึงอนาคต โดยใหเหลาทัพสามารถที่จะดำรง ภารกิจในการรักษาอธิปไตยของประเทศเปนหลักไดนั้น กองทัพอากาศจึงจัดซื้อเครื่องบินโจมตี ALPHA JET ซึ่งปลดประจำการ แลวจากกองทัพอากาศเยอรมัน จำนวน ๒๕ เครื่อง (ประจำการ ๒๐ เครื่อง สำรอง ๕ เครื่อง) เครื่องบินเหลานี้มีอายุการใชงาน ไดถึง ๑๐,๐๐๐ ชั่วโมงบิน โดยไดใชงานไปแลวเพียง ๒,๐๐๐ ชั่วโมงบิน คงเหลือชั่วโมงบินอีกประมาณ ๘,๐๐๐ ชั่วโมงบิน จะสามารถบินไดอีกไมนอยกวา ๒๐ ป นับตั้งแตกองทัพอากาศไทยไดจัดหาเครื่องบินโจมตี ALPHA JET ไดรับการดัดแปลงเรื่องระบบปองกันตนเอง เมื่อกรมสรรพาวุธทหารอากาศ รวมมือกับ กองบิน ๒๓ ผูใชงานหลัก ALPHA JET พัฒนาระบบปองกันตนเอง โดยการ ติดตั้งระบบชารฟ และแฟร ไวที่สวนทายเพื่อปองกันการถูกโจมตีจากระบบอาวุธจรวดนำวิถีตอสูอากาศยานทั้งระบบ ควบคุมดวยความรอนและเรดาร ติดตั้งระบบอาวุธใหสามารถติดตั้งและใชจรวดนำวิถีอากาศสูอากาศแบบ AIM-9 ที่ใตปกไดขางละหนึ่งนัด นอกจากระบบอาวุธแลว ยังมีการดำเนินการพัฒนาติดกระเปาะและกระสุนซิลเวอรไอโอไดน เพื่อปฏิบัติภารกิจฝนหลวงไดอีกดวย
๒๖ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
บทบาทบางประการ ของ พลโท หลวงกาจสงคราม กับกองทัพอากาศ พล.อ.ท.ศรีศักดิ์ สุจริตธรรม
ใน ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ได้มี บุคคลกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า “คณะราษฎร์” นำ�โดย นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) ได้ท�ำ การเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข แต่อยู่ใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ ได้เกิดขบถ (ชื่อเรียกในขณะนั้น) บวรเดช นำ�โดย พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช กฤดากร อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม และ นายพันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) รวบรวมกำ�ลังทหารหัวเมือง ทัง้ ทางภาคเหนือและภาคอีสาน นำ�ทหารเข้ามายึดกรมอากาศยานดอนเมือง ซึง่ ในตอนนั้นมี นายพลโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป) เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด เพื่อกดดันให้ฝ่าย คณะราษฎร์ให้สละอำ�นาจตำ�แหน่ง และคืนพระราชอำ�นาจ และราชบัลลังก์ให้กับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว แต่รัฐบาลของคณะราษฎร์ไม่ยอมทำ�ตาม และเตรียมการต้านทานตอบโต้อย่างเข้มแข็งโดยแต่งตั้งให้ นายพันโท หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นหัวหน้ากองกำ�ลังปราบกบฏในกองกำ�ลังนี้ มี นายพันโท หลวงกาจสงคราม (คำ�ตัน เก่งระดมยิง) ร่วมในการปราบปรามกบฏในครั้งนั้นด้วย ได้เกิดการสู้รบกันอย่างหนัก ในบริเวณทุ่งหลักสี่ – บางเขน – วัดเทวสุนทร ฝ่ายกบฏได้ปล่อยหัวรถจักร (ไม่มีคนขับยุทธวิธีการปล่อยหัวรถจักรนี้ ต่อมา ได้ชื่อว่า การปล่อยตอร์ปิโดบก) จากสถานีรถไฟดอนเมืองให้วิ่งไปตามรางเข้าชนขบวนรถไฟที่แล่นขึ้นมาจาก สถานีบางซื่อ ซึ่งนำ�กำ�ลังขบวนปราบกบฏโดย นายพันโท หลวงกาจสงคราม รถไฟชนกันอย่างแรงจนตกจาก รางทั้งสองขบวน ทำ�ให้ นายพันโท หลวงกาจสงคราม ผู้นำ�ขบวนกำ�ลังปราบกบฏ ได้รับบาดเจ็บสาหัสถึงหูขาด ไปข้างหนึ่ง ต่อมาฝ่ายกบฏได้ถอนตัวออกจากดอนเมืองไปตั้งรับอยู่ที่ตำ�บลปากช่อง ดงพญาไฟ (เย็น) จังหวัด
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๒๗
นครราชสีมา ได้เกิดการรบใหญ่ขึ้นที่นี่ ฝ่ายกบฏได้ปะทะกับกำ�ลังหมวดทหารราบ ภายใต้บังคับบัญชาของ นักเรียนทำ�การนายร้อย ตุ๊ (ประภาส จารุเสถียร ต่อมาได้เป็นจอมพล และผู้บัญชาการทหารบก) จนเป็นเหตุ ให้นายพันเอก พระยาศรีสิทธิ์สงคราม รองหัวหน้าฝ่ายกบฏ (นายทหารผู้นี้จบวิชาทหารจากประเทศเยอรมัน รุ่นเดียวกับ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา และ พ.อ.พระยาทรงสุรเดช ทั้งยังเป็นพ่อตาของ นายพันโท พะโยม จุลานนท์ บิดาแท้ ๆ ของ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท์ อดีตผู้บัญชาการทหารบก และ องคมนตรี และ อดีต นายกรัฐมนตรี) จนเสียชีวิตในที่รบ ทำ�ให้ฝ่ายกบฏเสียกำ�ลังใจ ต้องถอนตัวถอยร่นไปยังจังหวัดนครราชสีมา และยอมแพ้ไปในที่สุด พลเอก พระองค์เจ้าบวรเดชกฤดากร ได้เสด็จหนีจากจังหวัดนครราชสีมาพร้อมด้วย นายทหารคนสนิท นายร้อยเอก หลวงโหมชิงชัย โดยพาหนะเครื่องบินขับโดย นายพันตรี หลวงเวหาเหิรเห็จ เสด็จไปลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ที่เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม ของอินโดจีนฝรั่งเศส เมื่อเสร็จจากการปราบกบฏแล้ว กรมอากาศยานซึ่งถูกยึดโดยฝ่ายกบฏ ซึ่งถึงแม้ว่าจะเข้าร่วมกับฝ่ายกบฏ โดยถูกบังคับแบบไม่เต็มใจก็ตาม แต่ก็มีมลทินถูกมองว่าไม่เป็นที่ไว้วางใจ จึงเกิดมีการล้างบางกรมอากาศยานขึ้น ขนานใหญ่ ฝ่ายรัฐบาลจึงได้ส่ง พ.ท.หลวงกาจสงคราม นายทหารผู้กล้าหาญ ยอมเสี่ยงชีวิตเข้าร่วมการปราบกบฏ จนได้รบั บาดเจ็บสาหัส เข้าคุมกรมอากาศยานในตำ�แหน่งเสนาธิการกรม เพราะในอดีตเคยเป็นนายทหารเสนาธิการ มาก่อน (สำ�เร็จจากโรงเรียนเสนาธิการทหารบก) พร้อมด้วย นายร้อยเอก ขุนรณนภากาศ (ฟื้น ฤทธาคนี ต่อมา คือ จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ ที่ได้รับพระราชทานยศ จอมพลอากาศ เพียงผู้เดียวในขณะที่ยังประจำ�การอยู่) ผู้มีบทบาทสำ�คัญในการปราบกบฏครั้งนี้ด้วยเช่นกัน มาเป็นผู้ช่วยทั้งนี้ เพื่อรับผิดชอบ แก้ไข ปรับปรุงกรมอากาศยานให้เป็นกำ�ลังหลักต่อไปในอนาคต เมื่อมาอยู่กรมอากาศยาน พ.ท.หลวงกาจสงคราม ได้มุ่งมานะเร่งพัฒนาแก้ไขปรับปรุง และได้ประกอบ ภารกิจอันเป็นประโยชน์ให้กับกรมอากาศยานและกองทัพอากาศต่อมามากมายหลายประการ คือ ๑. เตรียมการยกฐานะกรมอากาศยานขึน้ เป็นหน่วยอิสระไม่ขนึ้ กับกองทัพบกอีกต่อไปเป็นกองทัพอากาศ อีกเหล่าทัพหนึ่ง เช่นเดียวกับกองทัพบกและกองทัพเรือ โดยได้เดินทางไปศึกษาและดูงานที่ประเทศอังกฤษ เมื่อกลับมาแล้วได้นำ�การจัดระบบกองทัพเครื่องแต่งกาย (เครื่องแบบ) และการเรียกชื่อชั้นยศของนายทหาร ชั้นสัญญาบัตรและชั้นประทวน เลียนแบบกองทัพอากาศอังกฤษ (Royal Air Force) มาจนทุกวันนี้ ๒. พ.ท.หลวงกาจสงคราม เป็นผู้มีส่วนเป็นอย่างมากในการยกฐานะกรมอากาศยานขึ้นเป็นกองทัพอากาศ โดยสมบูรณ์ เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๐ ในขณะที่ผู้เขียนยังเป็นนักเรียนนายร้อยปีสุดท้าย ก่อนเข้าสมัครเป็นศิษย์การบิน ของกองทัพอากาศยังได้ทนั เห็น เรืออากาศเอก เฉลิม (ฮวดหาญ) พีรบูล (ได้เป็นนาวาอากาศโท) แต่งเครือ่ งแบบ สีเทา ยศเรืออากาศเอก มาเป็นครูสอนวิชาทหารอากาศ ในโรงเรียนนายร้อยทหารบกในครัง้ นัน้ ช่างเป็นเครือ่ งแบบ ที่สง่างามเสียนี่กระไร ๓. ได้ปรับปรุงแก้ไขการฝึกศิษย์การบินซึง่ แต่เดิมมาใช้นายทหารชั้นประทวนเป็นครูผู้ฝกึ บิน ศิษย์การบิน ทั้งที่เป็นนายทหารชั้นสัญญาบัตรและนายทหารชั้นประทวน รวมถึงพลทหารซึ่งเป็นการผิดหลักการปกครอง บังคับบัญชา มาเป็นใช้ครูการบินนายทหารชั้นสัญญาบัตร ฝึกศิษย์การบินที่เป็นนายทหารชั้นสัญญาบัตรด้วยกัน
๒๘ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
และใช้ครูการบินที่เป็นนายทหารชั้นประทวนด้วยกัน ปัจจุบันได้ยกเลิกนักบินชั้นประทวนไปแล้ว มีแต่นักบิน นายทหารชั้นสัญญาบัตรเท่านั้น ๔. ปรับปรุงสุขภาพกำ�ลังพล ทั้งนักบินและเหล่าอื่น ๆ ให้มีการออกกำ�ลังกาย เล่นกีฬาอย่างสม่ำ�เสมอ โดยตัวท่านเองทำ�ตัวเป็นตัวอย่าง นำ�นายทหารออกวิง่ ออกกำ�ลังกายทุกเช้า เป็นระยะทางวันละ ๘ กม. บำ�รุงร่างกาย ด้วยการรับประทานไข่ไก่สดวันละ ๑๐ ฟอง ร่างกายแข็งแรง และยังได้สมัครเข้ารับการฝึกบินด้วยตนเอง จนสำ�เร็จ ได้เป็นนักบินประจำ�การ เมื่อมีอายุได้ ๔๐ ปีเศษมาแล้ว ใช่แต่เท่านั้นท่านยังมีจิตใจที่เข้มแข็งไม่ย่อท้อหวาดหวั่น มีเรื่องเล่าว่า ครั้งหนึ่งท่านเคยทดสอบความเข้มแข็งอดทนโดยขึ้นบินกับเครื่องบินขับไล่แบบ Hawk III พับฐาน ในระยะสูง ๑๐.๐๐ เมตร โดยถอดเสื้อเป็นเวลาถึง ๖๐ นาที ซึ่งเป็นสถิติที่ไม่มีใครที่ไหนทำ�กัน ๕. ปรับปรุงระเบียบวินัยกับนายทหารทุกชั้นยศ ผู้ใดทำ�ผิดมีการลงโทษตามความผิดนั้น ๆ โดยไม่เห็น แก่หน้าใครทั้งสิ้น แม้แต่นายทหารชั้นนายพัน มีบรรดาศักดิ์ถึงคุณหลวง รุ่นโรงเรียนนายร้อยทหารบก รุ่นเดียว กับ พลตรี หลวงพิบูลสงคราม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ก็ไม่เว้นทำ�ผิดวินัยเพียงเล็กน้อย คือส่งเสียงดัง ในที่ประชุม ถูกลงโทษโดยให้ยืนร้องเพลง “ทหารเหิร” ๓ จบ ต่อหน้าแถวนายทหารอีกด้วย ๖. ทางด้านวิชาการ พ.ท.หลวงกาจสงคราม เสนาธิการทหารอากาศ ในฐานะประธานกรรมการสอบ โรงเรียนนายทหารเพิ่มวิชา (คือ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศปัจจุบัน) นักเรียนนายทหารที่เข้าศึกษา ในโรงเรียนนี้คัดเลือกจากนายทหารนักบินชั้นผู้บังคับฝูง ยศเรืออากาศเอก จำ�นวนประมาณ ๑๐ นาย เวลาศึกษา ๑ ปี เพื่อคัดเลือกเอาผู้ที่มีคะแนนสอบสูงสุดเป็นที่ ๑ - ๒ ไปศึกษาและดูงานในต่างประเทศ (อิตาลี หรือ เยอรมัน) เป็นผู้ออกข้อสอบวิชายุทธวิธีการรบทางอากาศ ซึ่งถือว่าเป็นวิชาสำ�คัญและมีคะแนนสูงสุด ในบรรดานายทหาร นักเรียนที่เป็นตัวเก็งเรียนดี มีอยู่ ๒ ท่าน คือ ๑. ร.อ.ม.ล.ประวาศ ชุมสาย ๒. ร.อ.จำ�รัส วีณะคุปต์ ปัญหาที่ออก สมมุติให้ข้าศึกเข้าโจมตีประเทศไทยทางเรือ กองทัพอากาศไทยได้ส่งเครื่องบินขับไล่ความเร็วสูงแบบ Hawk III จำ�นวน ๙ เครื่อง ติดลูกระเบิดขนาด ๕๐ กก. ที่ใต้ปีกทั้งสองข้าง ๆ ละ ๑ ลูก เพื่อไปโจมตีทิ้งระเบิดเรือรบ ฝ่ายข้าศึกที่บริเวณปากอ่าวไทย ฝ่ายข้าศึกได้ส่งเครื่องบินขับไล่ความเร็วสูงพอ ๆ กัน ขึ้นสกัดกั้นเครื่องบิน ของไทย จึงเกิดการรบกันทางอากาศของเครื่องบินขับไล่ของทั้งสองฝ่ายที่มีจำ�นวนไล่เลี่ยกัน ปัญหามีอยู่ว่า เครื่องบินไทยจะปฏิบัติอย่างไรจึงจะเอาชนะเหนือฝ่ายข้าศึกได้ โดยจะเข้ารบกับเครื่องบินขับไล่ข้าศึกด้วยการ ปลดลูกระเบิดทิ้งก่อน เพื่อลดน้ำ�หนักถ่วงแล้วจึงจะเข้าสู้กับเครื่องบินข้าศึก หรือจะเข้าสู้กับเครื่องบินข้าศึก ทั้ง ๆ ที่มีลูกระเบิดติดอยู่ใต้ปีกข้างละ ๑ ลูก หนักลูกละถึง ๕๐ กก. จนกว่าจะได้ชัยชนะข้าศึกให้ได้เสียก่อน แล้วจึงจะนำ�เครื่องบินไปทิ้งระเบิดเรือข้าศึกทีหลังตามคำ�สั่งต่อไป ปัญหานี้นักเรียนนายทหารเกือบหมดทั้งชั้น ตัดสินใจปลดลูกระเบิดทิ้งก่อน แล้วเข้าโจมตีเครื่องบินขับไล่ข้าศึก เว้นแต่นายทหารนักเรียนซึ่งผลการเรียน อยู่ในระดับคะแนนท้าย ๆ ได้แก่ ๑. ร.อ.น้อย ศุกรจันทร ๒. ร.อ.ชนะ สุวรรณเกสร ตัดสินใจไม่ปลดลูกระเบิดทิ้ง เข้ารบกับเครื่องบินขับไล่ข้าศึกทันที จนได้ชัยชนะแล้วจึงจะนำ�ลูกระเบิดไปทิ้งที่เรือรบข้าศึกตามคำ�สั่งผู้บังคับบัญชา ต่อไป ซึ่งคำ�ตอบครั้งนี้ตรงกับโผ (ชง) คำ�ตอบของประธานกรรมการสอบครั้งนี้พอดี ซึ่งก็คือ พ.ท.หลวงกาจสงคราม เสนาธิการทหารอากาศ ทำ�ให้ได้คะแนนวิชานี้สูงที่สุด ซึ่งเป็นการพลิกล็อก และได้รับคัดเลือกไปศึกษาดูงานที่
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๒๙
ประเทศอิตาลีเป็นรางวัล ทำ�ให้เกิดปัญหาตามมาคือปัญหานี้ต่อมาได้รับขนานนามว่า “ปัญหาลิงอุ้มแตง” ได้ รับการกล่าวขาน และเล่าสู่กันฟังในหมู่นักบินประจำ�หมวดบินจนถึงผู้บังคับกองบินว่า เป็นไปไม่ได้ที่เครื่องบิน ขับไล่ความเร็วสูงของอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งต้องอุ้มน้ำ�หนักลูกระเบิดขนาด ๕๐ กก. ที่ใต้ปีกทั้งสองข้างจะเอาชนะเครื่องบิน ขับไล่ความเร็วสูงพอ ๆ กันของข้าศึกทีม่ นี �้ำ หนักเบา เคลือ่ นทีไ่ ด้คล่องแคล่วกว่าปัญหานีเ้ ล่าขานกันมาจนกระทัง่ ถึงสมัยที่ผู้เขียนดำ�รงตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการกองวิชาการ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศและจนถึงปัจจุบัน เป็นอันว่า ทางด้านวิชาการ พ.ท.หลวงกาจสงคราม ไม่ได้รบั การยอมรับจากนายทหารส่วนใหญ่ในกองทัพอากาศ ขณะนั้นมากมายนัก ๗. ได้มีการกำ�ชับฝีมือบินของนักบินทุกนายให้ระมัดระวังเป็นอย่างมากในการรักษาวินัยการบินในการบิน กับเครื่องบินความเร็วสูงที่ทางการเพิ่งสั่งซื้อเข้ามาเพื่อเพิ่มสมรรถนะของกองทัพอากาศไทยยิ่งต้องพิถีพิถัน ใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษให้รักษาเครื่องบินไว้ยิ่งกว่าชีวิต นอกจากสัง่ การในทีป่ ระชุมแล้วยังมีค�ำ สัง่ บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรรองรับอีกด้วย คำ�สัง่ นีม้ ผี ลบังคับ ไม่เว้นแม้แต่ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงทุกชั้น จุดมุ่งหมายก็คือเพื่อประหยัด และถนอมทรัพย์สินของชาติ ซึ่งตรงกันข้าม กับความมุ่งหมายของอารยประเทศที่เจริญแล้วที่ตีค่าชีวิตของนักบินเหนือกว่าราคาเครื่องบิน ด้วยสัจจวาจา และด้วยคำ�สั่งอันเคร่งครัดซึ่งท่านเป็นคนออกคำ�สั่งเอง ฉบับนี้ได้ย้อนกลับมาสนองการกระทำ�ของท่านเอง เมื่อ ครั้งสุดท้ายที่ พ.ท.หลวงกาจสงคราม ได้ทำ�การขึ้นบินกับเครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดกลางแบบ Martin Bomber ซึ่งเพิ่งสั่งซื้อเข้ามาได้เพียงปีเศษด้วยราคาที่แสนแพงในเวลานั้นด้วยตัวท่านเป็นนักบินเอง ขณะทำ�การบินลง เครื่องวิ่งไปตามทางวิ่งไม่หยุด วิ่งแล่นเลยรันเวย์ออกไปตกคูนำ้�ด้านทิศเหนือสนามบินดอนเมือง เครื่องบินหัก เสียหายยับเยิน เคราะห์ดีที่นักบินไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต เพียงได้รับบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย จากอุบัติเหตุทางเครื่องบิน ครั้งนี้ทำ�ให้ พ.ท.หลวงกาจสงคราม เสนาธิการทหารอากาศ ต้องตัดสินใจลาออกจากกองทัพอากาศเพื่อรักษา วาจาสัตย์ที่เคยออกคำ�สั่งไว้ ไปเป็นอธิบดีกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง ตามสัจจวาจาของลูกผู้ชายชาติทหาร ที่มีชื่อว่า พ.ท.หลวงกาจสงคราม ตั้งแต่บัดนั้น เมื่อไปอยู่กรมศุลกากร พ.ท.หลวงกาจสงคราม ได้นำ�นายทหารคนสนิท เมื่ออยู่กองทัพอากาศ คือ เรืออากาศโท รำ�จวน นภีตะฎัต ไปเป็นหัวหน้ากองในกรมศุลกากรอีกด้วย และยังได้เปลี่ยนเครื่องแบบ ข้าราชการในกรมศุลกากรจนเกือบเหมือนเครื่องแบบทหารอากาศ ซึ่งท่านเคยออกแบบยังไม่ทันจะได้แต่ง เลยด้วยซ้ำ� และใช้มาจนทุกวันนี้ แสดงให้เห็นว่าท่านยังรักและอาลัยทหารอากาศอยู่ ถึงแม้ว่าจะจากไปอยู่ หน่วยราชการใหม่แล้วก็ตาม นอกจากนั้นยังทำ�ความเจริญให้กับกรมศุลกากรอีกเป็นอเนกประการ พลโท หลวงกาจสงคราม ได้ประกอบคุณงามความดีให้กับประเทศชาติอีกมากมายทั้งในหน้าที่ราชการ และทางการเมือง จนได้รับพระราชทานยศสูงขึ้นไปเป็นลำ�ดับจนถึง พลโท เคยร่วมก่อการรัฐประหารกับ จอมพล ผิน ชุณหะวัณ บิดาของอดีตนายกรัฐมนตรี พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เคยเล่นการเมือง โดยได้เขียน ร่างรัฐธรรมนูญ แล้วซุกไว้ใต้ตุ่มแดงภายในบ้านพักอันเป็นที่มาของคำ�เล่าขานถึงรัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม เคยเป็น รัฐมนตรีมาหลายสมัย ทางด้านครอบครัว ได้สมรสกับ คุณหญิง ฟองสมุทร เก่งระดมยิง มีบุตรธิดารวมด้วย
๓๐ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
กันหลายคน บุตรตรีคนหัวปี คือ นางสาว รำ�จวน เก่งระดมยิง ซึ่งเป็นนักเรียนสตรีไทยคนแรกที่สอบคัดเลือก ชิงทุน กพ. ของรัฐบาลไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ ต่อมาได้แต่งงานกับ คุณหลวง จำ�นงฯ สุภาพบุรุษนักการ ทูตไทย ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และต่อมาก็ได้เลื่อนฐานะเป็นเอกอัครทูต และครั้งหลังสุดได้ดำ�รง ตำ�แหน่ง กรมวังผูใ้ หญ่ฝา่ ยต่างประเทศสำ�นักพระราชวัง รับใช้เบือ้ งพระยุคลบาท สำ�หรับคุณรำ�จวนฯ ได้เรียนจบ กลับมารับราชการในตำ�แหน่งสำ�คัญ ๆ ในกระทรวงศึกษาธิการ จนได้รบั ความก้าวหน้าขึน้ ไปตามลำ�ดับ สุดท้าย ได้รับพระราชทานตราตติยะจุลจอมเกล้า ใช้คำ�นำ�หน้านามเป็นคุณหญิงโดยสมบูรณ์ ธิดาคนต่อมาของ คุณหลวงกาจสงคราม ก็ได้สมรสเป็นชายาของ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า จักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธ์ บุตรชาย คนต่อมา ซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั กันดีในสังคมไทยคือ พันเอก การุณ เก่งระดมยิง อดีตเสรีไทย เคยเป็นผูอ้ �ำ นวยการสถานี โทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง ๕ มาแล้ว ธิดาคนสุดท้ายคือ นางสาว อัศนี เก่งระดมยิง ได้แต่งงานกับ ร้อยเอก เจ้าวรเดช ณ เชียงตุง (ได้รับการเลื่อนยศต่อมาเป็นนายพันเอก) ราชบุตรของ เจ้าฟ้า พรหมลือ อดีตเจ้าฟ้าเชียงตุง กับ แม่เจ้า ทิพวรรณ (ณ ลำ�ปาง) ณ เชียงตุง ณ คุ้มเจ้าฟ้า กลางเวียง เมืองเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๔ โดยมี ฯพณฯ จอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิง ละเอียด พิบูลสงคราม เป็นเจ้าภาพ
เครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดกลางแบบ Martin Bomber
Hawk III
(ฉบับหน้าจะเล่าถึงเมื่อไปรับศพนักบินบนยอดเขากระช่อง จังหวัดตรัง ตอนปลายสงครามมหาเอเชียบูรพา)
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๓๑
การเตรียมความพร้อมกำ�ลังพล เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กพ.ทอ. การประชุมสุดยอดผู้นำ�อาเซียนครั้งที่ ๑๔ ปี ๒๕๕๒ ที่ประเทศไทย ได้มีการรับรองปฏิญญาชะอำ� หัวหิน ว่าด้วยแผนงานสำ�หรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community ; AC) ประกอบด้วย ๓ เสาหลัก อันได้แก่ ประชาคมการเมืองความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Political - Security Community ; APSC) ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community ; AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community ; ASCC) เพื่อดำ�เนินการให้บรรลุเป้าหมายของการจัดตั้งประชาคม อาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ นับเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นรูปธรรมที่นำ�ไปสู่การสร้างประชาคมอาเซียนและส่งผลให้ สมาชิกประชาคมอาเซียนทั้ง ๑๐ ประเทศเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ดังกล่าว โดยประเทศไทยได้ จัดทำ�แผนปฏิบัติการ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘) เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ และถือเป็นนโยบายระดับประเทศทีท่ กุ หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนต่างให้ความสำ�คัญ เช่นเดียวกับกองทัพอากาศ ที่ได้เตรียมความพร้อมกำ�ลังพลเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมาตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ ด้วยเป้าหมายการมี กำ�ลังพลคุณภาพชัน้ นำ�ทีเ่ ป็นคนดีและคนเก่งพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนอย่างรูเ้ ท่าทันสถานการณ์และสามารถ เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสมภายในปี ๒๕๕๘ ควบคู่กับการขับเคลื่อนกองทัพให้บรรลุตาม วิสัยทัศน์ “การเป็นกองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค (One of the Best Air Forces in ASEAN)” ภายใน ปี ๒๕๖๒ ด้วยคาดหวังว่าในอนาคตศักยภาพการปฏิบัติหน้าที่ของกำ�ลังพลกองทัพอากาศจะเทียบเท่ากับกำ�ลัง พลกองทัพอากาศของประเทศชั้นนำ�อื่น ๆ ของภูมิภาคอาเซียนได้อย่างมั่นใจ ภายใต้แนวคิดการสร้างพลังร่วม กำ�ลังพลกองทัพอากาศเข้มแข็งทีม่ ศี กั ยภาพในการปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ ๒ “เสริมสร้างสมรรถนะและความพร้อมในการป้องกันประเทศ” และนโยบาย ด้านกำ�ลังพลของกองทัพอากาศที่ได้เตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยเริ่มจากการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ก�ำ ลังพลทุกระดับมาอย่างต่อเนือ่ งในหลายรูปแบบ แต่ทสี่ �ำ คัญมีการดำ�เนินการใน ๓ ประการ ดังนี้ ประการแรก การสร้างพลังร่วมของกำ�ลังพลด้วยค่านิยมหลักกองทัพอากาศ เพื่อใช้ค่านิยมเป็น แนวทางให้กำ�ลังพลยึดถือปฏิบัติร่วมกันตราบจนสิ้นวาระของการรับราชการ อันเป็นเอกลักษณ์ของทหารอากาศไทย เพื่อเป็นการสร้างจิตสำ�นึกความเป็นทหารอากาศ (Air-Minded) ที่ได้ประกาศใช้เมื่อ ๘ ส.ค.๕๔ โดยดำ�เนินการ อย่างเป็นระบบใช้เวลากว่า ๑ ปี จากการประชุมผู้บริหารในหลายระดับและการเปิดรับการแสดงความคิดเห็น ผ่านทางเว็บไซต์ จนกำ�หนดเป็นค่านิยมหลักกองทัพอากาศ ๓ ประการ ใช้คำ�ย่อว่า “AIR” ประกอบด้วย A ; Airmanship (ความเป็นทหารอากาศ) ที่มีระเบียบวินัย มีทักษะและความเชี่ยวชาญในงานอย่าง มืออาชีพ I ; Integrity and Allegiance (ความซื่อสัตย์และความจงรักภักดี) ที่ยึดมั่นในระบบเกียรติศักดิ์
๓๒ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
มีความจงรักภักดีต่อสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีคุณธรรมจริยธรรมและดำ�รงไว้ซึ่งความยุติธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ R ; Responsibility (ความรับผิดชอบ) ที่มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง องค์การ สังคม และประเทศชาติ ซึ่งได้เผยแพร่สื่อสารให้กำ�ลังพลรับทราบทั่วกันทั้งกำ�ลังพลในกองทัพอากาศและ กำ�ลังพลบรรจุใหม่ โดยกำ�ลังพลทุกหน่วยต้องยึดถือปฏิบตั ติ ามค่านิยมหลัก อันจะทำ�ให้ก�ำ ลังพลกองทัพอากาศมี พลังร่วมเป็นหนึง่ เดียวด้วยความรักองค์การและพร้อมปฏิบตั ภิ ารกิจในการป้องกันประเทศและขับเคลือ่ นกองทัพ อากาศให้บรรลุเป้าหมายด้วยความเสียสละทุ่มเทอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถเพื่อความเข้มแข็งของกองทัพ อากาศอย่างยั่งยืน ซึ่งจะกลายเป็นวัฒนธรรมองค์การกองทัพอากาศได้ในที่สุด ประการที่สอง การเสริมสร้างศักยภาพกำ�ลังพลตามสมรรถนะกำ�ลังพลกองทัพอากาศ เพื่อใช้ สมรรถนะเป็นแนวทางในการพัฒนากำ�ลังพลอันนำ�ไปสู่การบริหารกำ�ลังพลอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลโดยสมรรถนะ หมายถึง ความรู้ ทักษะความสามารถ คุณลักษณะที่จำ�เป็นในการปฏิบัติงานและ สร้างผลงานที่โดดเด่นหรือสูงกว่าผู้อื่น ที่ได้ประกาศใช้เมื่อ ๗ ธ.ค.๕๕ ซึ่งมีการดำ�เนินการอย่างเป็นระบบใช้เวลา กว่า ๑ ปี ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) นักวิชาการภายนอก การประชุมสัมมนาหัวหน้าหน่วย ขึ้นตรงกองทัพอากาศ การเปิดแสดงความคิดเห็นผ่านระบบเว็บไซต์ และการประชุมผู้บริหารระดับสูงเพื่อหา บทสรุป จนกำ�หนดสมรรถนะกำ�ลังพล ๔ ประเภท ได้แก่ ๑) สมรรถนะหลัก (Core Competency) เป็น สมรรถนะพืน้ ฐานของกำ�ลังพลทุกคนทีต่ อ้ งประพฤติปฏิบตั ไิ ด้ ใช้ค�ำ ย่อว่า “RTAF” ประกอบด้วย R ; Readiness for Missions (พร้อมปฏิบัติภารกิจ) เตรียมสภาพร่างกายให้พร้อมและตระหนักรู้หน้าที่ ศึกษาเรียนรู้งาน พร้อมพัฒนาตนเองให้ทันเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่เพื่อปรับตัวตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม T ; Teamwork and Unity (ทำ�งานเป็นหนึ่งเดียว) ทำ�งานเป็นทีมอย่างมีเป้าหมายโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วย ในการปฏิบัติงาน A ; Achievement of Goals (มุ่งผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย) รับผิดชอบงานจนเกิดผลสัมฤทธิ์ ตามเป้าหมาย F ; Forward Innovation (สร้างความท้าทายด้วยนวัตกรรม) คิดสร้างสรรค์พัฒนางานจนเกิด ผลงานที่เป็นนวัตกรรม ซึ่งเป็นจุดเด่นของสมรรถนะกำ�ลังพลด้วยมุ่งหวังให้กำ�ลังพลคิดสร้างสรรค์พัฒนางาน ของตนเอง ๒) สมรรถนะด้านการบริหารจัดการ (Managerial Competency) เป็นสมรรถนะที่กำ�ลังพล ต้องประพฤติปฏิบัติได้โดยแตกต่างกันในแต่ละชั้นยศ ซึ่งมี ๑๔ ประการ ประกอบด้วย Visioning (มีวิสัยทัศน์) Decision Making & Problem Solving (ตัดสินใจและแก้ไขปัญหา) Negotiation Skill (ทักษะการเจรจาต่อรอง) Strategic Managerial Skill (ทักษะการบริหารเชิงยุทธศาสตร์) Strategic Planning (วางแผนเชิงยุทธศาสตร์) Analytical & Follow-up Skill (ทักษะการวิเคราะห์และติดตามงาน) Communication Skill (ทักษะการติดต่อ สื่อสาร) Coaching (กำ�กับดูแล) Expert in Operational Skill (มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน) Accuracy & Attention to Details (มีความถูกต้องและความละเอียดรอบคอบ) Cooperational Skill (มีส่วนร่วมในการ ทำ�งานร่วมกับผู้อื่น) Operational Skill (ทักษะในการปฏิบัติงาน) Language Skill (ทักษะการใช้ภาษา) และ Leadership (ภาวะผู้นำ�) ซึ่งแต่ละชั้นยศจะมีสมรรถนะนี้คนละ ๖ - ๗ ประการเท่านั้น โดยกองทัพอากาศได้ พัฒนาโปรแกรมประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามสมรรถนะแบบออนไลน์ เพือ่ ทดแทนการใช้กระดาษและเสริมสร้าง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเครือข่าย ซึ่งได้ทดลองใช้ในหน่วยนำ�ร่องและจะขยายการทดลองใช้ให้ครอบคลุม ทุกหน่วยงานภายในปี ๕๘ นี้ ๓) สมรรถนะหน้าที่ (Functional Competency) เป็นสมรรถนะกำ�ลังพล สายวิทยาการที่จำ�เป็นต้องประพฤติปฏิบัติได้ ซึ่งกำ�ลังดำ�เนินการให้ครบทุกสายวิทยาการภายในปี ๕๘ ควบคู่ กับการวางแผนพัฒนาหลักสูตรการศึกษาตามสมรรถนะเพือ่ การพัฒนากำ�ลังพลอย่างเหมาะสม อีกทัง้ การพัฒนา
ภาษาอังกฤษกำ�ลังพลในทุกหน่วยงานอย่างเป็นรูปธรรมตามแผนพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ของกำ�ลังพลกองทัพอากาศระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสารและ เรียนรู้ให้เท่าทันวิทยาการสมัยใหม่ โดย ๓ สมรรถนะนี้ เป็นสมรรถนะกำ�ลังพลคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน หรือ SMART People และ ๔) สมรรถนะการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (Strategic Driven Competency) เป็นสมรรถนะคนเก่งทีท่ �ำ งานเชิงรุก สามารถเป็นผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงและปรับตัวกับทุกสถานการณ์ได้อย่าง เหมาะสม ซึ่งจะนำ�พากำ�ลังพล SMART People ไปสู่กำ�ลังพลชั้นนำ� World Class People โดยอาศัยแนวคิด กำ�ลังพลผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง (High Performance and Potential Personnel ; HiPPP) ซึ่งประยุกต์มาจาก แนวคิดของ ก.พ.ร. เพื่อให้กำ�ลังพลกองทัพอากาศเป็นกำ�ลังพลที่พร้อมสู่ประชาคมอาเซียนได้อย่างมั่นใจและ เป็นกำ�ลังหลักสำ�คัญในการขับเคลื่อนกองทัพอากาศให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ได้ ประการสุดท้าย การใช้เครือ่ งมือช่วยในการปฏิบตั งิ านอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ใช้เครือ่ งมือเหล่านี้ เป็นสือ่ นำ�ไปสูก่ ารเรียนรูแ้ ละประยุกต์ใช้ในการทำ�งานให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ภายใต้แนวคิดการยกระดับคุณภาพ กระบวนการทำ�งานตามมาตรฐานสากล โดยอาศัยมาตรฐานงาน (Work Standard) ที่ทุกสายวิทยาการและ ทุกหน่วยงานได้ปรับปรุงพัฒนาและจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานของสายอาชีพ จึงต้องมีการนำ�ไปใช้ในการปฏิบัติงาน อย่างจริงจังและติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐานอย่างสม่ำ�เสมอเพื่อความเป็นมืออาชีพ และการ เสริมสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization ; LO) ด้วยการใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ (Knowledge Management ; KM) ผ่านกิจกรรมพัฒนาคุณภาพในทุกหน่วยงานและการจัดเก็บองค์ความรู้ อย่างเป็นระบบด้วยแผนที่ความรู้ (Knowledge Map) โดยใช้โปรแกรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้การเข้าถึง ความรู้สะดวกรวดเร็วพร้อมที่จะนำ�องค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพร่วมกับการส่งเสริม บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันจากต้นแบบปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ร่วมกับการเสริมสร้าง วัฒนธรรมการไม่ตำ�หนิที่เรียกว่า No Blame Culture เพื่อให้กำ�ลังพลกล้าคิดกล้าทำ�พร้อมเรียนรู้ข้อผิดพลาด และสามารถนำ�ไปปรับปรุงพัฒนาการทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ การสร้างเครือข่ายเข้มแข็งจากภายนอก กองทัพอากาศเพื่อเป็นพันธมิตรในการก้าวสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ได้อย่างยั่งยืน โดยขยายการเกิดชุมชน นักปฏิบตั ิ (Community of Practice ; CoP) ให้ครอบคลุมสหสาขาวิชาชีพทัง้ ในระดับหน่วยงาน ระดับกองทัพ และระดับประเทศ บทสรุป การเตรียมความพร้อมกำ�ลังพลกองทัพอากาศเพือ่ เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ มีการเตรียมการและดำ�เนินการมาอย่างต่อเนือ่ งนับแต่ปี ๒๕๕๔ ด้วยการสร้างความรู้ความเข้าใจให้ก�ำ ลังพล ทุกระดับ ร่วมกับการกำ�หนดค่านิยมหลัก การกำ�หนดสมรรถนะกำ�ลังพล และการใช้เครือ่ งช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน ซึ่งได้แก่ การใช้มาตรฐานงานและการจัดการความรู้เป็นตัวขับเคลื่อนสำ�คัญ รวมถึงการส่งเสริม การพัฒนากำ�ลังพลและพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพือ่ เสริมสร้างความเป็นทหารอากาศอาชีพให้มศี กั ยภาพ พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์และปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงได้ อย่างเหมาะสม รวมถึงการส่งเสริมการเกิดนวัตกรรมในการทำ�งานให้ทั่วทั้งกองทัพอากาศในอนาคต ซึ่งจะเป็น แรงผลักดันสำ�คัญที่ทำ�ให้กองทัพอากาศก้าวล้ำ�หน้าได้อย่างไม่หยุดยั้ง ภายใต้ยุทธศาสตร์และวัฒนธรรม ของกองทัพอากาศที่มีความเข้มแข็งเพื่อให้กองทัพอากาศมีกำ�ลังพลที่มีความพร้อมในการป้องกันประเทศและ การมีพันธมิตรร่วมเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงให้กับประเทศชาติและประชาชน รวมทั้งพร้อมก้าวสู่กำ�ลังพล ชั้นนำ�เพื่อขับเคลื่อนกองทัพอากาศให้บรรลุตามวิสัยทัศน์การเป็นกองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค (One of the Best Air Forces in ASEAN) และสร้างความมั่นใจในการเป็นกำ�ลังพลคุณภาพระดับชั้นนำ�เทียบได้กับกำ�ลังพล คุณภาพของกองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาคอื่น ๆ เช่น กองทัพอากาศสิงคโปร์ในอนาคตได้อย่างมั่นใจ
๓๔ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ก้าวใหม่ของการส่งกำ�ลังบำ�รุง ของกองทัพอากาศ กับแนวคิด LCC กบ.ทอ.
L Life-Cycle Cost
C
C
นับตั้งแต่ที่กองทัพอากาศได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านส่งกำ�ลังบำ�รุง (จากหลาย ๆ ด้าน) ภายใต้ โครงการจัดซื้อเครื่องบินกริพเพน คำ�ว่า LCC ก็เริ่มมีการเอ่ยถึงในที่ประชุมหรือวงสัมมนาของกองทัพอากาศ หลาย ๆ โอกาส โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อนโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ นโยบายเฉพาะ ด้านส่งกำ�ลังบำ�รุงข้อ ๔.๒ ความโดยย่อว่า การจัดซื้อจัดจ้างของกองทัพอากาศต่อไปนี้ให้นำ�หลักการ LCC มาประกอบการพิจารณาในการจัดซื้อจัดจ้างด้วย ก็ยิ่งทำ�ให้เกิดคำ�ถาม โดยเฉพาะผู้เกี่ยวข้องที่จะนำ�นโยบาย ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ว่า LCC คืออะไรกันแน่ จึงนับเป็นโอกาสอันดีที่กรมส่งกำ�ลังบำ�รุงทหารอากาศ ในฐานะผู้ริเริ่มนำ�แนวคิด LCC มาเผยแพร่ในกองทัพอากาศอย่างเป็นรูปธรรม จะได้อธิบายความหมาย แนวคิด หลักการคำ�นวณ และการนำ�ไปใช้ให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้สนใจทั่วไปได้ทราบเป็นเบื้องต้น LCC คืออะไร LCC มาจากคำ�เต็มภาษาอังกฤษว่า “Life-Cycle Cost” ซึ่งในที่นี้จะเรียกว่า “ค่าใช้จ่ายตลอดอายุ การใช้งาน” หมายถึง “ผลรวมค่าใช้จา่ ยประมาณการทัง้ หมดทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการมีระบบ ๆ หนึง่ ไว้ใช้งาน โดยทัว่ ไป จะครอบคลุมค่าใช้จา่ ยซึง่ แบ่งกลุม่ ตามระยะเวลาการใช้งานของระบบ ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยในการแผนแบบและพัฒนา (Design and Development Cost) ค่าใช้จ่ายในการผลิตและก่อสร้าง (Production and Construction Cost) ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการและบำ�รุงรักษา (Operation and Maintenance Cost) และค่าใช้จ่าย ในการปลดประจำ�การและจำ�หน่าย (System Retirement and Phaseout Cost)” ทั้งนี้ การให้ความหมายและการจำ�แนกกลุ่มค่าใช้จ่ายของ LCC ในเอกสารทางวิชาการแต่ละสำ�นัก อาจมี ความแตกต่างกันบ้างขึ้นอยู่กับประเภทของระบบที่กล่าวถึงและวัตถุประสงค์ในการนำ� LCC ไปใช้ประโยชน์ แต่ทั้งนี้ก็ล้วนมีวัตถุประสงค์ประการหนึ่งที่เหมือนกันก็คือ การพยายามอธิบายและแจกแจงรายละเอียดของ ค่าใช้จ่ายให้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานของระบบนั่นเอง
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๓๕
นอกจากนี้ ยังอาจพบโดยทั่วไปว่ามีเอกสารภาษาอังกฤษที่เขียนในลักษณะใช้คำ�ใกล้เคียงกับคำ�ว่า Life-Cycle Cost (LCC) เช่น Life-Cycle Costing, Life-Cycle Management, Life-Cycle Cost Management และหากได้ทำ�การศึกษารายละเอียดในเอกสารเหล่านั้น ก็จะเห็นว่ามีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ LCC ไม่ลักษณะใด ก็ลกั ษณะหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการอธิบายความหมาย วิธีการคำ�นวณ กระบวนการวิเคราะห์ การนำ�ไปใช้ประโยชน์ ในการบริหารจัดการ ซึ่งล้วนแล้วแต่สัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานหรือ LCC ทั้งสิ้น แนวคิดเกี่ยวกับ LCC ในอดีตกองทัพที่ใช้เทคโนโลยีด้านการทหารชั้นนำ�หลายประเทศทั่วโลก เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ สวีเดน ต่างมีประสบการณ์ในเรือ่ งของการจัดหายุทโธปกรณ์ ทีใ่ ห้น�้ำ หนักความสำ�คัญในเรือ่ งค่าใช้จา่ ยในการจัดหา (Acquisition Cost) มากกว่าค่าใช้จ่ายส่วนอื่น ๆ ที่เหลือแทบทั้งสิ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการ และสนับสนุน (Operation and Support Costs) ทำ�ให้ประสบปัญหาหลังจากนำ�ยุทโธปกรณ์เหล่านั้น เข้าบรรจุประจำ�การ กล่าวคือถึงแม้ยุทโธปกรณ์ดังกล่าวได้รับการแผนแบบและผลิตให้มีขีดความสามารถ ตรงตามความต้องการด้านยุทธการ เช่น เป็นอากาศยานที่มีพิสัยบินไกล บรรทุกน้ำ�หนักได้มาก แต่หลังจาก นำ�มาใช้งาน ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการและสนับสนุนจำ�นวนมหาศาล เนื่องจากตอนกำ�หนด ความต้องการในการแผนแบบและผลิต ไม่ได้ให้ความสำ�คัญในเรื่องเหล่านี้เท่าที่ควร เช่น ความสิ้นเปลือง เชื้อเพลิง ความยากง่ายในการซ่อมบำ�รุง ซึ่งทำ�ให้เกิดความไม่คุ้มค่าเมื่อใช้งานในระยะยาว
ที่มา : www.zenit.com
๓๖ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
เพือ่ แก้ปญ ั หาดังกล่าว ในปัจจุบนั ประเทศเหล่านีไ้ ด้หนั มาใช้แนวคิดในการจัดหายุทโธปกรณ์แบบพิจารณา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องให้ครอบคลุม รอบด้าน ตั้งแต่เริ่มต้นกำ�หนดแนวคิดในการจัดหาจนกระทั่งปลดประจำ�การ หรือแบบ บูรณาการ และให้ความสำ�คัญในการสร้างความสมดุลระหว่างสมรรถนะด้านเทคนิค (Technical Performance) เช่น พิสยั บิน ความสามารถในการบรรทุก กับสมรรถนะด้านความพร้อมปฏิบตั กิ าร (Availability Performance) ซึง่ เกีย่ วข้องกับปัจจัยทีเ่ อือ้ อำ�นวยให้ยทุ โธปกรณ์นนั้ มีความพร้อมปฏิบตั กิ ารในเวลาทีต่ อ้ งการ อันเป็นผลมาจาก ยุทโธปกรณ์มีอัตราการชำ�รุดต่ำ� (หรือ Reliability สูง) เมื่อชำ�รุดสามารถซ่อมกลับมาใช้งานได้ในเวลาอันรวดเร็ว และประหยัด (Maintainability) มีพัสดุอะไหล่ เครื่องมือ และเจ้าหน้าที่ช่างเพียงพอที่จะดำ�เนินการได้ทันตาม กำ�หนดเวลา (Supportability) ทั้งนี้ตัวชี้วัด (Measure) ความคุ้มค่า (Cost-Effective) ในการจัดหายุทโธปกรณ์แบบบูรณาการ เชิงปริมาณที่เข้าใจง่าย มีความชัดเจน ก็คือ ค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งาน (LCC) เปรียบเทียบกับระดับ ความพร้อมปฏิบัติการ (Availability) ของระบบหรือยุทโธปกรณ์นั่นเอง สรุปแนวคิดการนำ� LCC มาใช้ประโยชน์ ก็คือ การนำ�ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นตลอดอายุการใช้งาน ของระบบ หรือของยุทโธปกรณ์มาเปิดเผย และใช้ประกอบการพิจารณาเพื่อตัดสินตกลงใจในการจัดหา ตั้งแต่ ระยะเริม่ ต้นของโครงการ ซึง่ เปรียบเสมือนการมองให้เห็นภูเขาน้ำ�แข็ง (Iceberg) ทัง้ ลูก ทัง้ ส่วนทีโ่ ผล่พน้ น้ำ�และ ส่วนที่อยู่ใต้น้ำ�ก่อนการตัดสินใจนำ�เรือเข้าไปเทียบ
ค่าใช้จ่ายที่มักจะถูกละเลยเหมือนส่วนของภูเขาน้ำ�แข็งที่จมอยู่ใต้น้ำ� (ฉบับหน้าจะกล่าวถึงหลักการคำ�นวณ LCC)
“กองทัพอากาศจะก้าวไกล มาตรการรักษาความปลอดภัยต้องร่วมใจป้องกัน” เป็นวลีถ้อยคำ�ที่สื่อ ให้เห็นว่า การทีก่ องทัพอากาศจะมีการพัฒนาก้าวหน้ายิง่ ขึน้ ในทุก ๆ ด้านนัน้ จะต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกัน ของหน่วยขึน้ ตรงของกองทัพอากาศและบุคลากรของกองทัพอากาศ ตลอดจนผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับภารกิจหรือ กิจกรรมต่าง ๆ ของกองทัพอากาศ ซึ่งจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และจิตสำ�นึกที่ดีในการรักษาความปลอดภัย ของกองทัพอากาศในภาพรวมควบคู่ไปด้วย เนือ่ งจากสภาวะแวดล้อมในโลกปัจจุบนั ได้เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีความก้าวหน้าทางด้านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและมีการติดต่อสือ่ สารทีไ่ ร้ขดี จำ�กัด สิง่ เหล่านีไ้ ด้กลายเป็นเครือ่ งมือทีน่ �ำ ไปสูก่ ารปรับเปลีย่ น พฤติกรรมของมนุษย์ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ มนุษย์มีโอกาสและความรู้สึกกล้าที่จะแสดงออกทางความคิด แบ่งปันความสุขหรือความทุกข์ตามสถานการณ์ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ (Social Media Network) ในรูปแบบของข้อมูลภาพ เสียงและข้อความที่มีความเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์ (Real times) ซึ่งจะเห็นว่า การสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์นี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำ�วันไปอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ อีกทั้ง ยังมีปริมาณการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นทุกขณะจนกลายเป็นเครื่องมือที่สนองตอบความต้องการในการให้ความ สะดวกในการใช้ชีวิตของมนุษย์ และทำ�ให้เกิดความเคยชินกับความสะดวกสบายเหล่านั้น กระทั่งอาจนำ�ไปสู่ การขาดความใส่ใจในเรือ่ งสิทธิสว่ นบุคคลของผูอ้ นื่ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับทีม่ มี าแต่เดิม และก่อให้เกิดการละเมิด มาตรการรักษาความปลอดภัยในที่สุด
๓๘ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
กองทัพอากาศจึงมีความจำ�เป็นต้องพิจารณาใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการรังสรรค์ พัฒนาทั้งบุคลากร และเครื่องมือ/อุปกรณ์ต่าง ๆ ของกองทัพอากาศให้สอดคล้องกับสถานการณ์โลกปัจจุบันอย่างต่อเนื่องและ ที่สำ�คัญยิ่งคือ ผู้นำ�หรือผู้บังคับบัญชาที่มีความตระหนักและเข้าใจบทบาทของการรักษาความปลอดภัย ของกองทัพอากาศภายใต้สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในสถานการณ์โลกปัจจุบัน ซึ่งจะต้องมีการควบคุม กำ�กับดูแล เฝ้าติดตามตรวจสอบ พิสูจน์ทราบ และหาวิธีการป้องกัน แก้ไข หรือลงโทษหากมีการละเมิด การรักษาความปลอดภัยอย่างใกล้ชิด สนองตอบกับภารกิจ บทบาทหน้าที่ของกองทัพอากาศตามที่ได้กำ�หนด ไว้ในรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา เพื่อพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และการพัฒนาประเทศ
วิสัยทัศน์ของกองทัพอากาศ ในห้วง พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๖๒ กำ�หนดให้เป็น “กองทัพอากาศชั้น นำ�ในภูมิภาค (One of The Best Air Forces in ASEAN)” ปัจจุบันอยู่ในเป้าหมายระยะที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๕๕ ๒๕๕๘) ที่มุ่งเน้นการปฏิบัติที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลางและมีระบบฐานข้อมูลที่สำ�คัญเชื่อมโยงกันเป็นระบบ (Network Centric Operation: NCO) อย่างไรก็ดี การเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนของสมาชิกอาเซียนทัง้ ๑๐ ประเทศ ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ นับเป็นความท้าทายต่อการปฏิบตั งิ านด้านการรักษาความปลอดภัยของกองทัพอากาศเป็นอย่างมาก เช่นเดียวกัน เพราะต้องใช้บคุ ลากรทีม่ ที กั ษะความรูค้ วามสามารถทัง้ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและด้านการรักษา ความปลอดภัย รวมทั้งความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสารเพื่อปฏิบัติงานและประสานงาน กับกองทัพอากาศของมิตรประเทศเพือ่ ส่งเสริมความสัมพันธ์ทดี่ กี บั กองทัพอากาศมิตรประเทศในอาเซียนในภาพรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจการที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยของกองทัพอากาศ
ในปัจจุบันบทบาทหน้าที่สำ�คัญของกองทัพอากาศในการรักษาความปลอดภัยซึ่งเกี่ยวข้องกับ ต่างประเทศ ได้แก่ การถวายความปลอดภัยพระราชอาคันตุกะขององค์พระประมุขของประเทศไทย และ การรักษาความปลอดภัยแขกรับเชิญของรัฐบาลในระดับต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งต้องใช้พื้นที่หรือบุคลากรของ กองทัพอากาศในการต้อนรับหรือปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำ�คัญของกองทัพอากาศ ได้แก่ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน, สำ�นักผู้บังคับทหารอากาศดอนเมือง, กรมสรรพาวุธทหารอากาศ และกรมข่าวทหารอากาศ นอกจากนี้ยังมี หน่วยขึน้ ตรงของกองทัพอากาศทีใ่ ห้การสนับสนุนการปฏิบตั งิ านด้านการรักษาความปลอดภัยตามแผนการรักษา ความปลอดภัยบุคคลสำ�คัญของกองทัพอากาศ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการรักษาความปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยสูงสุด เป็นที่ยอมรับโดยถ้วนหน้าและมีความเป็นมาตรฐานสากลอีกส่วนหนึ่งด้วย กองทัพอากาศมุ่งพัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการรักษาความปลอดภัย บุคคลสำ�คัญของกองทัพอากาศอย่างต่อเนื่อง โดยหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการรักษาความปลอดภัย โดยตรง และหน่วยงานสนับสนุนต่าง ๆ จะมีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ด้านการรักษาความปลอดภัยให้มีทักษะ ความรู้และประสบการณ์ในบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยเจ้าหน้าที่ทุกคนต้องผ่านการอบรม หลักสูตรด้านการรักษาความปลอดภัยและการอารักขาบุคคลสำ�คัญตามทีก่ รมข่าวทหารอากาศในฐานะหัวหน้า สายวิทยาการพิจารณากำ�หนด ทำ�ให้มีขีดความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการรักษาความปลอดภัยร่วมกับ หน่วยงานต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทั่วไปลักษณะการปฏิบัติงานจะเป็นแบบรวมการ ซึ่งส่วนที่ รับผิดชอบจะต้องมีการเตรียมการปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนที่กำ�หนด มีการประชุมร่วมกันเพื่อรับทราบภารกิจ และการจัดกำ�ลังพล มีการจัดตั้งกองอำ�นวยการรักษาความปลอดภัยในวันที่ปฏิบัติงานก่อนเวลาที่กำ�หนด โดย หน่วยที่รับผิดชอบโดยตรงได้แก่ ชุด K-9 ของหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน, ชุด EOD ของกรมสรรพาวุธ ทหารอากาศ และ ชุดปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยของกรมข่าวทหารอากาศ จะต้องดำ�เนินการตรวจพื้นที่ การรักษาความปลอดภัยร่วมกัน ก่อนจะส่งมอบพืน้ ทีท่ ผี่ า่ นการตรวจสอบด้วยเครือ่ งมือและอุปกรณ์ทางเทคนิค ให้กับเจ้าหน้าที่อากาศโยธินหรือเจ้าหน้าที่สารวัตรทหารควบคุมดูแลต่อไป สำ�หรับหน่วยสนับสนุนอื่น ๆ ตาม แผนการรักษาความปลอดภัย อาทิ กรมแพทย์ทหารอากาศ, กรมช่างโยธาทหารอากาศ, กรมสือ่ สารอิเล็กทรอนิกส์ ทหารอากาศ และกรมขนส่งทหารอากาศ เป็นต้นนั้น จะเป็นหน่วยที่สนับสนุนการปฏิบัติในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ เพื่อให้มาตรการการรักษาความปลอดภัยที่กำ�หนดมีความสมบูรณ์มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยสูงสุด (อ่านต่อฉบับหน้า)
Pharaoh เกือบ ๒ ปี ที่ไฟฟ้าดับใน ๑๔ จังหวัดภาคใต้เป็นเวลามากกว่า ๒ ชั่วโมง เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๖ จนเกิดความโกลาหลเป็นวงกว้าง เป็นเหตุที่สุดวิสัยและไม่มีผู้ใดเตรียมพร้อมรับมือ ทำ�ให้ส่งผลกระทบ ต่อวิถีชีวิตและภาคการท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก เหตุการณ์นี้เกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางพลังงานหรือเป็นเพียง ความบกพร่อง/การขัดข้องของวัสดุอุปกรณ์เท่านั้น ปัจจุบันโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่มีอยู่ในภาคใต้มี ๓ แห่ง ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าขนอม โรงไฟฟ้าจะนะ โรงไฟฟ้าเขื่อนรัชประภา มีกำ�ลังการผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ไฟในภาคใต้ ซึ่งเหตุไฟดับครั้งนั้นจะเป็น ที่ความบกพร่องของสายส่งหลักที่ส่งไฟฟ้าจากภาคกลางไปยังภาคใต้ก็ตาม และแม้ว่าจะไม่เกี่ยวข้องกับกำ�ลัง การผลิตของโรงไฟฟ้าที่มีอยู่ในภาคใต้ แต่ในคราวนั้นถือเป็นไฟฟ้าดับครั้งใหญ่ที่สุดของประเทศไทย กอปรกับ ขณะนี้ต้องยอมรับกันว่า ประเทศกำ�ลังเข้าใกล้วิกฤติด้านพลังงานมากขึ้นทุกที อันเป็นผลมาจากการพึ่งการใช้ ก๊าซธรรมชาติผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนที่สูงถึงร้อยละ ๗๐ เมื่อเกิดปัญหาแหล่งก๊าซหยุดซ่อมบำ�รุงประจำ�หรืออาจ เกิดเหตุขัดข้องไม่สามารถส่งก๊าซป้อนโรงไฟฟ้าได้ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งก๊าซจากเมียนมาหรือจากอ่าวไทยได้ก็ตาม ผลทีเ่ กิดตามมาต้องวิง่ หาน้�ำ มันดีเซลและน้�ำ มันเตามาใช้ในการผลิตไฟฟ้าแทน นัน่ หมายความว่า ต้นทุนการผลิต ไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้น สะท้อนเป็นต้นทุนค่าไฟฟ้ากลับมาให้ประชาชนแบกรับภาระกันทั่วหน้า หากมามองนโยบายพลังงานประเทศเพื่อนบ้านทางด้านใต้ของเรา คือ มาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศ ที่มีราคาพลังงาน โดยเฉพาะน้ำ�มันถูกกว่าประเทศไทยมาก มาเลเซียเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกทั้งน้ำ�มัน
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๔๑
และก๊าซธรรมชาติ มีรายได้จากการส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมมากมาย รัฐบาลมาเลเซียสามารถใช้เงิน งบประมาณแผ่นดินในการอุดหนุนราคาน้ำ�มันในประเทศให้ถูกกว่าราคาในตลาดโลก โดยใช้เงินปีละประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ล้านบาท นอกจากนโยบายเรื่องราคาน้ำ�มันถูกแล้ว มาเลเซียยังมีนโยบายทางด้านพลังงานอื่น ๆ เช่น การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติด้านพลังงานของประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด หรือการเลือกใช้ ทรัพยากรที่เหมาะสมมาเป็นแหล่งเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ทั้งนี้ มาเลเซียมีปริมาณน้ำ�มันดิบสำ�รองที่พิสูจน์ แล้ว (Proven Reserve) ซึ่งมากที่สุดในอาเซียน มีปริมาณก๊าซธรรมชาติสำ�รองสูงเป็นอันดับ ๒ ในอาเซียน ในด้านการส่งออกพลังงาน มาเลเซียติดอันดับ ๑๐ ของประเทศที่ส่งออกก๊าซมากที่สุด ในปี ๒๕๕๔ มาเลเซีย ผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก สัดส่วนร้อยละ ๕๒.๑๖ ถ่านหินร้อยละ ๓๙.๕๑ พลังน้ำ�ร้อยละ ๕.๑๑ น้ำ�มันร้อยละ ๒.๐๓ ชีวมวลร้อยละ ๑.๐๑ และพลังงานอื่น ๆ ร้อยละ ๐.๒๐ และในปีเดียวกันมาเลเซีย นำ�เข้าถ่านหินสูงเป็นอันดับ ๑๐ ของโลก ก๊าซธรรมชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติ ด้านปิโตรเลียมที่ทรงคุณค่ายิ่ง ของมาเลเซีย โดยสามารถเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจได้หลายสิบเท่า เช่น แยกเอาก๊าซที่สามารถป้อนเป็นวัตถุดิบให้ โรงงานปิโตรเคมี และนำ�ไปอัดภายใต้ความดันสูงให้กลายเป็นก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquid Natural Gas: LNG) ส่งออกไปขายต่างประเทศ ผลจากการดำ�เนินนโยบายพลังงาน ทำ�ให้มาเลเซียได้ประโยชน์ดังนี้ ๑. มีรายได้จาก การขายก๊าซธรรมชาติในราคาทีส่ งู ขึน้ ๒. นำ�รายได้บางส่วนมานำ�เข้าถ่านหินทีม่ รี าคาถูกกว่ามาผลิตไฟฟ้า ทำ�ให้ ต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าของมาเลเซียถูกลง และ ๓. สร้างความมั่นคงให้กับระบบเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ มาเลเซีย การบริหารจัดการทรัพยากรพลังงาน ระบบ การจัดการผลประโยชน์จากทรัพยากรปิโตรเลียม ของไทยและมาเลเซียมีความแตกต่างกัน มาเลเซีย เคยใช้ระบบเดียวกับทีไ่ ทยใช้อยูใ่ นขณะนี้ คือ ระบบ สัมปทาน (Concession) แต่มาเลเซียได้ยกเลิกไป ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ แล้วหันมาใช้ระบบใหม่ที่เรียกว่า การแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing Contract: PSC) ในอดีตการนำ�ปิโตรเลียมมาใช้ มีน้อยมากโดยบริษัทต่างชาติ (เชลล์และเอสโซ่) จุดพลิกผันที่สำ�คัญมาจากวิกฤตราคาน้ำ�มันในตลาดโลกเมื่อปี ๒๕๑๖ นำ�ไปสู่ “การคิดใหม่” ที่จะควบคุมและ ความเป็นเจ้าของทรัพยากรน้ำ�มันในประเทศ โดยกลางปี ๒๕๑๗ มาเลเซียได้ออกกฎหมายที่เรียกว่า กฎหมาย ว่าด้วยการพัฒนาปิโตรเลียม (Petroleum Development Act: PDA 1974) สาระสำ�คัญ คือ การมอบสิทธิพเิ ศษ ให้บริษัทปิโตรนาส (Petronas) เป็นผู้ดูแลควบคุมจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมทั้งหมดของประเทศ มาเลเซียต้องพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นหลักในการผลิตไฟฟ้า โดยใช้ก๊าซธรรมชาติร้อยละ ๖๔ ส่วนที่เหลือ คือ ถ่านหิน โรงไฟฟ้าถ่านหินแมนจุง (Manjung) ในรัฐเปรัค เป็นโรงไฟฟ้าถ่านหินที่ดีที่สุดของ
๔๒ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันมีทั้งหมด ๓ โรง และกำ�ลังสร้างโรงไฟฟ้าแห่งที่ ๔ และ ๕ ที่มีเทคโนโลยีขั้นสูงกว่า ๓ โรงแรก ที่เรียกว่า Ultra-Supercritical เหมือนกับที่ใน Xinhai ทำ�ให้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าโดยรวมจาก ทั้ง ๕ โรงค่อนข้างสูง ปัจจุบันโรงไฟฟ้าแมนจุงสามารถผลิตกระแสไฟได้ร้อยละ ๓๐ ของความต้องการใช้ไฟ ทั้งประเทศ เชื้อเพลิงหลักที่ใช้ผลิตไฟฟ้ามาจากถ่านหินบิทูมินัสและซับบิทูมินัส โดยนำ�เข้าถ่านหินจากรัฐกาลิมันตัน ประเทศอินโดนีเซีย รวมถึงออสเตรเลียและจากแอฟริกาใต้ ทั้งนี้ มาเลเซียได้รับการยอมรับว่ามีการจัดการทางด้าน พลังงานไฟฟ้าก้าวหน้าทีส่ ดุ ประเทศหนึง่ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึง่ แนวโน้มต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของมาเลเซีย มีราคาถูกลง ซึ่งถือเป็นหนึ่งในหลักเกณฑ์สำ�คัญของการสร้างความมั่นคงทางพลังงาน หากกล่าวถึงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) กับความมั่นคง ทางพลังงานนั้น เป้าหมายหลักที่สำ�คัญของ AEC คือ การเป็นตลาดและเป็นฐานการผลิตร่วมกัน ซึ่งปัจจัยหลัก ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของภูมภิ าค คือ ความร่วมมือด้านพลังงาน ประเทศสมาชิกทางตอนเหนือของอาเซียน อาทิ เมียนมา สปป.ลาว และเวียดนามตอนเหนือมีแหล่งน้ำ�มาก จึงมีศักยภาพในการนำ�น้ำ�มาผลิตไฟฟ้า ส่วนทางตอนกลางและตอนใต้ของอาเซียนมีแหล่งก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย กัมพูชา มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย และมีแหล่งถ่านหินในไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ทั้งนี้ ประเทศต่าง ๆ ในอาเซียนได้มีการทำ�โครงการเชื่อมโยง โครงข่ายระบบสายส่งไฟฟ้าอาเซียน เช่น ประเทศไทยมีการเชื่อมโยงด้านไฟฟ้ากับลาว มาเลเซีย กัมพูชา การมี ความเชือ่ มโยงด้านไฟฟ้ากับประเทศเพือ่ นบ้านได้ชว่ ยลดปัญหาไฟดับเป็นวงกว้าง ทำ�ให้เกิดความมัน่ คงแก่ประเทศ ด้านพลังงานไฟฟ้าที่จะนำ�มาใช้มากขึ้น โดยมีแผนการเชื่อมโยงพลังงานทั้งหมดถึง ๑๖ โครงการ ไทยและมาเลเซีย ได้อ้างสิทธิครอบครองพื้นที่ไหล่ทวีป ในอ่าวไทยซึ่งครอบคลุมพื้นที่ประมาณ ๗,๒๕๐ ตารางกิโลเมตร โดยจุดศูนย์กลางอยูห่ า่ งจากจังหวัดปัตตานี ๑๘๐ กิโลเมตร และห่างจากเมืองโกตาบารู รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ๑๕๐ กิโลเมตร รัฐบาลไทยและรัฐบาลมาเลเซียได้ลงนามบันทึกความเข้าใจในการ จัดตัง้ เป็นพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาร่วมในนาม “พืน้ ทีพ่ ฒ ั นาร่วมไทย-มาเลเซีย” (Malaysia-Thailand Joint Development Area: JDA) และรัฐบาลทั้งสองประเทศบรรลุข้อตกลงในการร่วมก่อตั้งองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย (Malaysia – Thailand Joint Authority: MTJA) ขึน้ เพือ่ ปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทนรัฐบาลในการดูแล สำ�รวจ และแสวงหาผลประโยชน์ จากทรัพยากรปิโตรเลียมในพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาร่วม บนพืน้ ฐานของการแบ่งปันผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกัน การปิโตรเลียม แห่งประเทศไทยหรือปัจจุบันคือ บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทน้ำ�มันแห่งชาติมาเลเซีย (ปิโตรนาส) ได้ร่วมลงนามใน Head of Agreement: HOA ในการซื้อขายก๊าซธรรมชาติฝ่ายละร้อยละ ๕๐ โดยร่วมกัน จัดตั้ง บริษัท ทรานส์ ไทย - มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำ�กัด และบริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศมาเลเซีย) จำ�กัด หรือ ทีทีเอ็ม เพื่อบริหารจัดการและดำ�เนินงาน เพื่อเพิ่มความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ โดยก๊าซธรรมชาติ ทีผ่ ลิตได้น�ำ มาใช้เป็นพลังงานทัง้ ในไทยและมาเลเซีย โดยส่วนหนึง่ ถูกส่งตามท่อส่งมาทีอ่ �ำ เภอจะนะ จังหวัดสงขลา ทำ�ให้เกิดโรงแยกก๊าซและโรงไฟฟ้าจะนะ เท่ากับเป็นการสร้างงานให้ชาวจังหวัดสงขลาและพื้นที่ใกล้เคียง โครงการจัดทำ�แผนแม่บทด้านพลังงานของประเทศ ๒๐ ปี ในหัวข้อ “ผลกระทบจากปัจจัยเสี่ยง และ ภาพอนาคตพลังงานไทยในอีก ๒๐ ปีข้างหน้า” ของกระทรวงพลังงาน ที่ได้มีการสัมมนามาตั้งแต่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๖ Ultra-Supercritical Power Plants ใน Xinhai
โรงไฟฟ้าถ่านหินแมนจุง (Manjung) ในรัฐเปรัค
สรุปไว้วา่ ๑) การใช้พลังงานเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ประสิทธิภาพการใช้พลังงานยังไม่ดนี กั เมือ่ เทียบกับกลุม่ ประเทศ ทีพ่ ฒ ั นาแล้วและประเทศในอาเซียน การมีแหล่งพลังงานทีไ่ ม่มากนักทำ�ให้ตอ้ งพึง่ พาการนำ�เข้าพลังงานโดยรวม ประมาณร้อยละ ๕๑ กิจกรรมในภาคคมนาคมขนส่งพึง่ พาน้�ำ มันสำ�เร็จรูปเป็นหลัก ในขณะทีภ่ าคการผลิตไฟฟ้า พึ่งพาก๊าซธรรมชาติกว่าร้อยละ ๗๐ ๒) ประเทศไทยมีศักยภาพในการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับสูง แม้ว่า จะมีมุมมองเชิงบวกในการบรรลุเป้าหมายด้านประสิทธิภาพและพลังงานทดแทน รวมถึงการเปลี่ยนแปลง เชิงโครงสร้างใน Healthy Scenario ก็ยังทำ�ให้ปริมาณความต้องการพลังงาน การนำ�เข้าพลังงาน และการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยังคงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน และ ๓) ปัญหาในการขับเคลื่อนนโยบาย รวมถึง สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ไม่เอื้อต่อการพัฒนาประสิทธิภาพและพลังงานทดแทน ส่งผลให้เกิดอัตราเร่งของการใช้ ทรัพยากรพลังงาน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและก่อให้เกิดความเสีย่ งต่อการพึง่ พาการนำ�เข้าพลังงานมากยิง่ ขึน้ ในระยะยาว บทสรุป จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทำ�ให้มีความต้องการใช้ไฟฟ้ามากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะในภาคใต้ของ ประเทศไทยนัน้ ปัจจุบนั ผลิตไฟฟ้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ ทำ�ให้ตอ้ งส่งไฟฟ้าจากแหล่งผลิตภาคกลาง และ บางส่วนยังต้องซื้อจากประเทศมาเลเซียอีกด้วย กระทรวงพลังงานจึงต้องมีการปรับปรุงแผนพัฒนากำ�ลัง ผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (Power Development Plan: PDP 2010) หรือแผนพัฒนากำ�ลังการผลิตไฟฟ้า ของประเทศไทย เป็นแผนทีร่ องรับนโยบายเสริมสร้างความมัน่ คงทางด้านพลังงานไฟฟ้า เพือ่ เป็นแผนจัดหาไฟฟ้า ในระยะยาวให้เพียงพอต่อการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งกำ�หนดให้ภายในปี ๒๕๗๓ ประเทศไทยได้มีการจัดหาไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ตามแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียน และรับซื้อไฟฟ้า จากต่างประเทศ เพื่อลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ โดยซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งนี้ ไทยมีแผนการรับซื้อ ไฟฟ้ากับประเทศเพือ่ นบ้าน ๕ ประเทศ ได้แก่ สปป.ลาว เมียนมา สาธารณรัฐประชาชนจีน กัมพูชาและมาเลเซีย ประเทศไทยจำ�เป็นต้องเพิ่มทางเลือกการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้ามากขึ้นกว่าปัจจุบันที่ใช้ก๊าซธรรมชาติถึง ร้อยละ ๗๐ ซึ่งเป็นสาเหตุของความไม่มั่นคงด้านพลังงาน ดังนั้น ควรพัฒนาพลังงานให้ประเทศไทยสามารถ พึ่งตนเองได้มากขึ้น โดยจัดหาพลังงานให้เพียงพอ มีเสถียรภาพ ด้วยการเร่งสำ�รวจและพัฒนาแหล่งพลังงาน ประเภทต่าง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ และเร่งให้มกี ารเจรจากับประเทศเพือ่ นบ้านในระดับรัฐบาลเพือ่ ร่วมพัฒนาแหล่งพลังงาน วางแผนพัฒนาไฟฟ้าให้มีการกระจายชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช้ เพื่อลดความเสี่ยงด้าน การจัดหา ความผันผวนทางด้านราคาและลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่มี ศักยภาพ โดยเฉพาะโครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก รวมทัง้ ศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนาพลังงานทางเลือกอืน่ ๆ มาใช้ประโยชน์ ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงาน ทั้งในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรม บริการและขนส่ง โดยรณรงค์ให้เกิดวินัยและสร้างจิตสำ�นึกของคนในชาติในการประหยัดพลังงานและสนับสนุนการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ อ้างอิง : - http://www.wpc.mod.go.th/AEC - http://www.dailynews.co.th
“การพัฒนาศักยภาพ ด้านการแพทย์ทหารอากาศ ให้เป็นที่ประจักษ์ ในระดับประเทศและภูมิภาคอาเซียน”
พล.อ.ท.สุรศักดิ์ โปร่งจันทึก จก.พอ. กรมแพทย์ทหารอากาศ เป็นหน่วยขึน้ ตรงกองทัพอากาศ มีแผนการเปลีย่ นผ่านสูป่ ระชาคมอาเซียน จากการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ซึ่งนับว่าเป็นโอกาสอันดีที่ กรมแพทย์ทหารอากาศ จะใช้ศักยภาพและขีดความสามารถของกรมแพทย์ทหารอากาศในการเป็นกลไก การดำ�เนินงานสนับสนุนกองทัพอากาศให้เป็นกองทัพชั้นนำ�ในภูมิภาค พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมกับ การเผชิญเหตุการณ์ภัยพิบัติที่เป็นวิกฤติของชาติและสถานการณ์ปัญหาสาธารณสุขของประเทศต่อไป ภารกิจ กรมแพทย์ทหารอากาศมีหน้าที่วางแผนการปฏิบัติ อำ�นวยการ ประสานงาน ติดตาม กำ�กับ การวิจัยพัฒนาและดำ�เนินการเกี่ยวกับการแพทย์ทหาร การแพทย์ทั่วไป เวชศาสตร์ป้องกัน การปฏิบัติการ ป้องกันสงครามนิวเคลียร์ ชีวะ เคมี การผลิตบุคลากรด้านการแพทย์และการพัสดุด้านการแพทย์กับมีหน้าที่จัดการ ความรู้ ควบคุม ประเมินผลและตรวจตรากิจการในสายวิทยาการด้านการแพทย์ มีเจ้ากรมแพทย์ทหารอากาศ เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ วิสัยทัศน์ องค์กรแพทย์ทหารชั้นนำ�ที่มีคุณภาพระดับประเทศ (สนับสนุนกองทัพอากาศให้เป็น กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค)
สถานการณ์ปัจจุบัน :
สถานการณ์ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๗ - ๒๕๕๓ อายุคาดเฉลี่ยของประชากรไทย เมือ่ แรกเกิดเพิม่ ขึน้ จาก ๖๐ ปี เป็น ๗๕ ปี ประกอบกับอัตราการตายของทารกลดลง ทำ�ให้สดั ส่วนของประชากร
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๔๕
ผู้สูงอายุมีมากขึ้น นอกจากนี้โรคที่เป็นสาเหตุการตายและมีแนวโน้มสูงขึ้น ได้แก่ กลุ่มโรคไม่ติดต่อ อุบัติเหตุ รวมทัง้ โรคเอดส์ทเี่ ป็นปัญหาสำ�คัญของประเทศ ส่วนโรคติดต่อทีเ่ ป็นปัญหาสำ�คัญปัจจุบนั มีแนวโน้มลดลง ยกเว้น โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ เช่น วัณโรค ซึง่ มีความสัมพันธ์กบั โรคเอดส์ และประชากรยิง่ มีอายุมากขึน้ มีแนวโน้มทีจ่ ะเป็น โรคไม่ติดต่อมากขึ้น โรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำ�คัญ ได้แก่ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง โรคถุงลมโป่งพอง โรคไต นอกจากนี้ยังมีปัญหาสุขภาพจิต และปัญหาสุขภาพของ ผู้สูงอายุ การเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ เช่น ไข้หวัดนก อีโบล่า ที่เกิดขึ้น เพื่อเตรียมการป้องกันรักษาเป็นสิ่งจำ�เป็น ซึ่งโรคต่าง ๆ เหล่านี้มีผลต่อความมั่นคงของประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม หากเกิดขึ้นกับบุคลากร กองทัพอากาศจะส่งผลถึงสมรรถนะและความพร้อมในการป้องกันประเทศ จึงต้องมีการให้บริการด้านสุขภาพ ที่ครบวงจรสำ�หรับบุคลากร ทอ. ได้แก่ การส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสุขภาพ กรมแพทย์ทหารอากาศมีหน้าทีห่ ลักในการส่งกำ�ลังบำ�รุงสายแพทย์ การพัฒนาขีดสมรรถนะด้านสุขภาพ ของกำ�ลังพลและการปฏิบัติการกิจการพลเรือนด้านการแพทย์เพื่อสนับสนุนให้ ทอ.บรรลุวิสัยทัศน์ที่จะเป็น กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค จากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การปรับวิสัยทัศน์และร่างแผนปฏิบัติราชการ พอ. มุ่งสู่ ASEAN ปี ๒๕๕๙ ได้กำ�หนดให้ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.ซึ่งเป็น รพ.ระดับตติยภูมิ (Tertiary care hospital) พัฒนาเป็นศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านการแพทย์ (Excellent centers) ด้านอุบัติเหตุ ด้านโรคหัวใจ ด้านมะเร็ง และด้านโรคไต ส่วน รพ.จันทรุเบกษา พอ.ให้พัฒนาเป็น รพ.ระดับทุติยภูมิขั้นสูง (Secondary care hospital) และ รพ.กองบิน พัฒนาเป็น รพ.ระดับทุติยภูมิขั้นต้น เน้นการส่งเสริมสุขภาพ รักษาพยาบาล และการส่งต่อ สำ�หรับกองเวชศาสตร์ป้องกัน พอ.กำ�หนดให้เป็นหน่วยงานที่ให้การส่งเสริมสุขภาพและควบคุม ป้องกันโรคสำ�หรับข้าราชการ ทอ. ขณะนี้มีการจัดตั้งโรงพยาบาลทหารอากาศเฉลิมพระเกียรติ (สีกัน) เพื่อให้ บริการเวชศาสตร์ฟื้นฟูอย่างครบวงจรและให้การดูแลโรคเรื้อรัง โรคผู้สูงอายุและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ นอกจากนี้ ยังรับนโยบาย ผบ.ทอ.ให้พัฒนา รพ.กองบิน ๑, ๔, ๕, ๗ และ รพ.รร.นายเรืออากาศ (มวกเหล็ก) เพื่อให้เป็น รพ.ระดับทุติยภูมิขั้นกลาง รวมถึงรองรับการปฏิบัติการ CSR. ในพื้นที่ใกล้เคียง เดือน ต.ค.๕๗ ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างการจัดและอัตรากำ�ลังพลของ พอ.โดยมีหน่วยงานใหม่ คือ ศูนย์ปฏิบัติการแพทย์ทหารอากาศ กรมแพทย์ทหารอากาศ (ศปพ.พอ.) ซึ่งมีภารกิจในด้านการแพทย์ ยุทธการ และการสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัย โดยมีภารกิจหลักในการสนับสนุนภารกิจ รร.ทหารของ ทอ. (Medical Service) การจัดเตรียมชุดเผชิญเหตุตามแผนยุทธการต่าง ๆ (First Responder) การเข้าร่วมการ ฝึกด้านยุทธการและการบรรเทาสาธารณภัย (Expertise and Special Support Units) ซึ่งรวมถึงปฏิบัติการ ด้านนิวเคลียร์ ชีวะ เคมี ด้วย เนือ่ งจาก ศปพ.พอ.เป็นหน่วยงานใหม่จงึ เป็นความท้าทายในด้านการบริหารจัดการ กำ�ลังพลกรมแพทย์ทหารอากาศในภาพรวมที่จะตอบสนองต่อภารกิจทุกด้านอย่างสมดุล ด้านการพัฒนาขีดสมรรถนะด้านสุขภาพของกำ�ลังพล ดำ�เนินการผ่านการดูแลสุขภาพซึ่งมีตั้งแต่ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และการฟืน้ ฟูสภาพ โดยทีก่ ารรักษาและฟืน้ ฟูสภาพจะเป็นส่วน ทีใ่ ช้ทรัพยากรมากทีส่ ดุ จึงมีความจำ�เป็นต้องพัฒนาให้ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล อีกทัง้ ยังต้องมีมาตรฐาน
๔๖ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ในระดับประเทศด้วย พอ.จึงได้สนับสนุนให้สถานพยาบาลในสังกัด ทอ.มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามทิศทาง ของมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ (Hospital Accreditation, HA) สนับสนุนให้พัฒนา กวป.พอ. เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (Health Promoting Hospital, HPH) สามารถให้บริการแก่บุคลากร ทอ.และ ประชาชนทั่วไปได้อย่างมีคุณภาพ ทำ�ให้สถานพยาบาลมีระบบบริหารจัดการความเสี่ยงในส่วนของโรงพยาบาล และระบบการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน ปี พ.ศ.๒๕๕๗ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.ได้ผ่านการรับรองกระบวนการ คุณภาพสถานพยาบาล ขัน้ ก้าวหน้า (Advanced HA) รพ.จันทรุเบกษา พอ.ได้รบั การรับรองกระบวนการคุณภาพ สถานพยาบาล (HA) และ รพ.กองบินทุกแห่งได้รับการประเมินระดับขั้นการพัฒนาคุณภาพบันไดขั้นที่ ๑ - ๒ การพัฒนาสถานพยาบาล ทอ.ให้มีกระบวนการที่มีมาตรฐานมีความจำ�เป็นอย่างยิ่ง เพื่อลดการฟ้องร้อง กองทัพอากาศเมื่อผลการรักษาเกิดเหตุไม่พึงประสงค์ขึ้น หน้าที่ พอ. ด้านการปฏิบตั กิ ารกิจการพลเรือนด้านการแพทย์นนั้ ดำ�เนินการโดยสถานพยาบาลในสังกัด ทอ. โดยให้การรักษาพยาบาลครอบครัวข้าราชการและประชาชนทัว่ ไป นอกจากนีย้ งั มีภารกิจสนับสนุนการแพทย์ ยุทธการและการสนับสนุนการบรรเทาสาธารณภัยที่ ศปพ.พอ.รับผิดชอบ การให้การรักษาพยาบาลครอบครัว ข้าราชการเป็นการส่งเสริมด้านสวัสดิการและสร้างขวัญและกำ�ลังใจให้กำ�ลังพลที่ปฏิบัติงานอย่างหนึ่ง สำ�หรับ การให้บริการแก่ประชาชนทั่วไปเป็นการสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของรัฐบาล โดยสร้างขวัญและความแข็งแกร่งด้านสังคมจิตวิทยาให้กับประชาชน โดยผ่านระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า การให้บริการทางการแพทย์อย่างมีมาตรฐานจะต้องมีจำ�นวนและขีดความสามารถของบุคลากร ทางการแพทย์สาขาต่าง ๆ ตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด ในสถานการณ์ปจั จุบนั สัดส่วนของประชากรผูส้ งู อายุมจี �ำ นวน มากขึ้นและมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคไม่ติดต่อมากขึ้น นอกจากนี้ โรคที่เกิดจากอุบัติเหตุรวมทั้งโรคติดต่อที่กลับมา อุบัติใหม่ เช่น วัณโรคซึ่งมีความสัมพันธ์กับโรคเอดส์ที่เป็นปัญหาสำ�คัญของประเทศ มีแนวโน้มสูงขึ้น การบริหารจัดการของ พอ.ได้มีการนำ�การบริหารเชิงกลยุทธ์มาใช้นานกว่า ๑๐ ปีและได้มีการจัดทำ� แผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ ทอ.แผนแม่บทด้านต่าง ๆ ของ ทอ.และนโยบาย ผบ.ทอ. มาโดยตลอด โดยผู้บริหารระดับสูงและระดับกลางมีส่วนร่วมในการจัดทำ�ทุกครั้งและมีการติดตามตัวชี้วัด อย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาระบบสารสนเทศทางการแพทย์ของสถานพยาบาล ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร พอ. เพื่อนำ�ไปสู่ระบบเครือข่ายข้อมูลทางการแพทย์ (Network centric medical data) ประเด็นกลยุทธ์ พอ. พอ.มีประเด็นกลยุทธ์เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ทอ.ปี ๕๑-๖๒ (ฉบับปรับปรุงใหม่ปี ๕๗) ดังนี้ ๑. ST1 การพัฒนาขีดความสามารถการส่งกำ�ลังบำ�รุงสายแพทย์ ๒. ST2 การพัฒนาขีดสมรรถนะด้านสุขภาพกำ�ลังพล ๓. ST3 การปฏิบัติการกิจการพลเรือนด้านการแพทย์ ๔. ST4 การผลิตบุคลากรทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ หมายเหตุ : ST4 เป็นภารกิจหลักของ พอ. ซึ่งสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ ของ ทอ. เรื่อง สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศของรัฐบาล
(อ่านต่อฉบับหน้า)
ข่าวทหารอากาศ ๔๗
เมษายน ๒๕๕๘
ภาษาไทยด้วยใจรัก
ศัพท์สันสกฤตในภาษาไทย
นวีร์
เคยมีผู้ถามว่า ดาราวดี แปลว่าอะไร ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายไว้ ความว่า คำ�ว่า วดี เป็นคำ�ที่เติมคำ�อื่นที่เป็นคำ�นาม หมายความว่า มี เป็นเพศหญิงตามหลักไวยากรณ์สันสกฤต ดาราวดี จึงแปลว่า มีดาว การสร้างศัพท์โดยการประกอบหน้าหรือหลังคำ�ให้มคี วามหมายใหม่ในลักษณะต่างไปหรือเพิม่ จากเดิม เช่นนี้ เป็นลักษณะหนึ่งของภาษาบาลีสันสกฤต ภาษาไทยรับรูปศัพท์มาจากภาษาบาลีสันสกฤต จึงมีการสร้าง ศัพท์หรือมีการประกอบรูปศัพท์ในลักษณะนี้หลายคำ� เรื่องนี้จะขอกล่าวถึงการสร้างศัพท์เฉพาะคำ�ที่มาจาก ภาษาสันสกฤต ซึ่งเข้ามาในภาษาไทยทางวรรณกรรม และบ่งเฉพาะศัพท์ที่จะมีความหมายว่า มี ถ้าเข้าใจแล้ว ก็จะทำ�ให้เข้าใจศัพท์และการสร้างศัพท์ภาษาบาลีซึ่งเป็นภาษาที่เข้ามาทางพุทธศาสนาได้ไม่ยาก วิธีการแรกที่จะกล่าวถึงคือ การประกอบหน้าศัพท์ด้วย ส ซึ่งเป็น ส ที่มีเสียงสระอะกำ�กับ เขียนด้วย อักษรโรมันเป็น sa ใช้ประกอบหน้าคำ�นามให้มีความหมายว่า สิ่งหรือผู้ที่มี... เช่น คำ�ว่า กรรม (object) เมื่อ เติม ส เป็น สกรรม หมายถึง สิ่งที่มีกรรม คำ�ว่า สกรรมกริยา จึงหมายถึง กริยาที่ต้องมีกรรมมารับ ตรงข้ามกับ อกรรมกริยา คือกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ คำ�ว่า สาร (กำ�ลัง ความแข็งแกร่ง) เติม ส เป็น สสาร หมายถึง สิ่งที่มีกำ�ลัง มีความแข็งแกร่ง ในภาษาไทยใช้เป็นศัพท์วิทยาศาสตร์ หมายถึงสิ่งที่มีมวลสาร ต้องการที่อยู่และ สัมผัสได้ เช่น ทองคำ� น้ำ� เกลือ อากาศ คำ�ว่า อาทร (ความเอื้อเฟื้อ ความเอาใจใส่ ความห่วงใย) เมื่อเติม ส เข้าข้างหน้า เสียงสระอะสนธิกับสระอาด้วย จึงกลายเป็น สาทร แปลว่า ที่มีความเอื้อเฟื้อ เอาใจใส่ ห่วงใย ส่วนคำ�ว่า อุทร (ท้อง) เมื่อเติม ส เข้าข้างหน้า เสียงสระอะสนธิกับสระอุ เป็นสระโอ จึงกลายเป็น โสทร แปลว่า ที่มีท้องเดียวกัน วิธีการที่ ๒ การประกอบท้ายศัพท์ด้วย คำ�ว่า อิน เช่นคำ�ว่า กร (อ่านว่า กะ-ระ แปลว่า มือ) + อิน เป็น กริน แปลว่าผู้มีมือ หมายถึงช้าง คำ�ว่า ปราณ (ลมหายใจ) เมื่อเติม อิน เป็น ปราณิน แปลว่า ผู้มีลมหายใจ หมายถึง คนและสัตว์ ในภาษาไทยจะใช้เป็นชื่อเรียกว่า ปราณี (แต่ถ้า ปรานี ซึ่ง น สะกด แปลว่า เอ็นดู ด้วยความสงสาร) คำ�ว่า ศศ (กระต่าย) + อิน เป็น ศศิน แปลว่า ผู้ทรงไว้ซึ่งกระต่าย หมายถึงดวงจันทร์ (เพราะ มองเห็นเป็นรูปกระต่ายอยู่ในดวงจันทร์) คำ�ว่า ศิขร (ยอด) + อิน เป็น ศิขริน แปลว่า ผู้มียอด หมายถึงภูเขา คำ�ว่า ศิลป (การแสดงออกอย่างงดงาม) + อิน เป็น ศิลปิน แปลว่า ผู้มีศิลปะ คำ�ว่า โศภ (ความงาม) + อิน เป็น โศภิน แปลว่า ผู้มีความงาม ชาล (ตาข่าย) + อิน เป็น ชาลิก แปลว่า ผู้มีตาข่าย ไทยใช้ว่าชาลี เช่น พระกุมารชาลี
๔๘ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ในเวสสันดรชาดก เมื่อประสูติออกมามีผู้นำ�ตาข่ายทองมารองรับ คำ�ว่า มนตร (ความคิดหรือคำ�ปรึกษา) + อิน เป็น มนตริน แปลว่า ผู้มีความคิด ผู้มีคำ�ปรึกษาใช้เรียกที่ปรึกษาของพระเจ้าแผ่นดิน ไทยใช้ว่า มนตรี เช่นคำ�ว่า องคมนตรี รัฐมนตรี วิธีการที่ ๓ การประกอบท้ายศัพท์ด้วยคำ�ว่า วต (วัต) หรือ มต (มัต) ซึ่งแปลว่า ผู้มี... เช่น ศีลวัต (ผู้มีศีล) ภควัต (ผู้มีความเจริญ) ใช้หมายถึงพระพุทธเจ้าหรือผู้เป็นเจ้า ในภาษาไทยมีศัพท์บัญญัติว่า พลวัต (DYNAMIC) หมายความว่า ที่เกี่ยวข้องกับแรง มีแรง อีกคำ�หนึ่ง คือ วิษวัต (EQUINOX) หมายถึง จุดที่เมื่อดวงอาทิตย์โคจรไปถึง ทั่วโลกจะมีเวลากลางวันเท่ากับกลางคืน ถือ เป็นจุดราตรีเสมอภาค มาจาก วิษุ ซึ่งแปลว่า กึ่งกลาง + วัต ซึ่งแปลว่า มี รวมความคือ จุดที่มีสองด้านเท่ากัน อนึ่ง คำ�ว่า วัต นี้ เป็นคนละคำ�กับ วัต ที่มีความหมายว่า เหมือน หรือคล้าย ดังในศัพท์ มชุวัต (เหมือน น้ำ�ผึ้ง) และอาจารยวัต (เหมือนอาจารย์) หากผู้ใช้ศัพท์ต้องการจะใช้ วัต ในความหมายว่า มี ศัพท์ทั้ง ๒ ศัพท์นี้ อาจแปลว่า มีน้ำ�ผึ้ง หรือมีอาจารย์ ก็ได้ และคำ�ว่า วัต นี้ เมื่อบ่งให้เป็นเพศหญิง คำ�จากภาษาบาลีสันสกฤตก็จะ ใช้คำ�ว่า วดี ในภาษาไทย เช่น ลีลาวดี (ผู้มีลีลา) ภัทราวดี (ผู้มีความงาม) เรวดี (ผู้มีความมั่งคั่ง:ใช้เป็นชื่อดาวฤกษ์ ดวงหนึ่ง) อิราวดี (ผู้มีความสบาย:ใช้เป็นชื่อแม่น้ำ�) ทวาราวดี (ซึ่งมีประตู:เมืองที่มีประตู เป็นชื่อเมืองของ พระกฤษณะในมหากาพย์ เรื่องมหาภารตะ) และคำ�ว่า ดาราวดี ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น วิธีการที่ ๔ เป็นการประกอบท้ายศัพท์ด้วยคำ�ว่า ธร ซึ่งแปลว่าทรงไว้ หรือผู้ทรงไว้ เมื่อนำ�มาประกอบ คำ�อื่น จะมีความหมายว่า มี เช่น วิทยาธร (ผู้ทรงไว้ซึ่งความรู้ หมายถึงเทพบุตรพวกหนึ่งซึ่งมีวิชากายสิทธิ์และ มีหน้าที่เล่นดนตรีในสวรรค์) ศศธร (ผู้มีกระต่าย หมายถึงดวงจันทร์) ศศิธร (ผู้มีดวงจันทร์ หมายถึงพระศิวะ ผูท้ ดั จันทร์เป็นปิน่ มีเรือ่ งเล่าว่า พระจันทร์ท�ำ ผิดเพราะไปเป็นชูก้ บั นางดารา ภรรยาของพระพฤหัสบดี พระพรหม จึงลงโทษห้ามพระจันทร์เข้าเทวสภา พระศิวะสงสารจึงนำ�พระจันทร์มาเสียบเป็นปิ่นปักเกศา เมื่อพระศิวะ เข้าเทวสภา พระจันทร์จึงได้เข้าเทวสภาด้วย) แต่ในภาษาไทย ศศิธร หมายถึงดวงจันทร์เช่นเดียวกับ ศศธร อนึ่ง การประกอบท้ายศัพท์ซึ่งเป็นการสมาสคำ�เช่นนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำ�ด้วย เช่น ปยส (ปยัส) ซึ่งแปลว่า น้ำ� หรือ น้ำ�นม เมื่อประกอบหรือสมาสกับ ธร จะกลายเป็น ปโยธร แปลว่า สิ่งซึ่งมีน้ำ�หรือทรงไว้ ซึ่งน้ำ� หมายถึง เมฆ และยังแปลว่า สิ่งซึ่งมีน้ำ�นม คือเต้านม นั่นเอง ศัพท์จากภาษาสันสกฤตเข้ามาในภาษาไทยมากมาย ทำ�ให้เรามีคำ�ใช้เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะศัพท์บัญญัติ ความเข้าใจวิธีการสร้างศัพท์พอสังเขปน่าจะช่วยให้ผู้ใช้ศัพท์เข้าใจที่มาและความหมายของศัพท์นั้นได้บ้าง และ เข้าใจได้อย่างสนุกสนานด้วย
การพัฒนากองทัพอากาศมุ่งสู่วิสัยทัศน์ “กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค” พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง ผบ.ทอ. กำ�ลังทางอากาศเป็นกำ�ลังรบเชิงคุณภาพ ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการปฏิบัติภารกิจ จำ�เป็นต้องได้รับ การพัฒนาให้ทันสมัยและเท่าทันเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง จึงนำ�ไปสู่การกำ�หนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ การพัฒนาขีดความสามารถกองทัพอากาศ ๒๕๕๑ – ๒๕๖๒ มุ่งสู่การเป็น “กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค One of the Best Air Forces in ASEAN” โดยมุ่งพัฒนาขีดความสามารถใน ๖ องค์ประกอบหลัก ประกอบด้วย ระบบบัญชาการและควบคุม (Command and Control) ระบบตรวจจับ (Sensor) หน่วยปฏิบัติหรือผู้ปฏิบัติ (Shooter) ระบบเครือข่าย (Network) ระบบสนับสนุนและบริการ (Support and Service) และ ทรัพยากร บุคคลและองค์การ (Human and Organization) โดยพิจารณาจัดลำ�ดับความสำ�คัญและความเร่งด่วน
ในการดำ�เนินการ เพื่อให้สามารถพัฒนาขีดความสามารถได้ในทั้ง ๖ องค์ประกอบอย่างสมดุล ภายใต้งบประมาณที่ได้รับจัดสรรอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
ในปี ๒๕๕๘ เป็นช่วงเปลีย่ นผ่านของการพัฒนาระยะที่ ๒ “กองทัพอากาศทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง” สู่ระยะที่ ๓ “กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค” มุ่งเน้นให้กำ�ลังทางอากาศมีขีดความสามารถในการปฏิบัติการ ที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations : NCO) โดยสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงหน่วยงาน ในระบบการใช้กำ�ลังทางอากาศเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร นำ�ไปสู่ความได้เปรียบ ทางข้อมูลข่าวสาร(Information Superiority) หน่วยงานในระบบการใช้กำ�ลังทางอากาศมีภาพสถานการณ์ การรบเดียวกัน (Common Picture) เกิดความตระหนักรู้ในสถานการณ์การรบร่วมกัน (Shared Situation Awareness) อันจะก่อให้เกิดความร่วมมือ (Collaboration) และการประสานสอดคล้องในการปฏิบัติ
๕๐ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
(Self Synchronization) ของทุกภาคส่วนนอกจากนี้ การตระหนักรู้ในสถานการณ์การรบ ยังก่อให้เกิดความ ได้เปรียบในการตัดสินตกลงใจ (Decision Superiority) ส่งผลให้การใช้ก�ำ ลังทางอากาศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางแผน สั่งการ และควบคุมการใช้กำ�ลังทางอากาศได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และทันต่อสถานการณ์ ซึ่งจะนำ�ไปสู่ความสำ�เร็จในการปฏิบัติภารกิจในท้ายที่สุด
ในอนาคตอันใกล้ กองทัพอากาศจะก้าวเข้าสูก่ ารปฏิบตั กิ ารทางอากาศยุคใหม่อย่างเต็มรูปแบบ การนำ� เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความทันสมัยมาใช้งานทั้งในการปฏิบัติการทางอากาศและการบริหาร จัดการ จะส่งผลให้การดำ�เนินการในทุกภาคส่วนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ อากาศยานทีจ่ ดั หาเข้าประจำ�การใหม่และทีไ่ ด้รบั การปรับปรุงขีดความสามารถ เช่น Gripen 39 C/D, F-16 MLU และ F-5 Upgrade สามารถปฏิบัติการทางอากาศตามแนวทาง NCO ในลักษณะเดียวกับเครื่องบินขับไล่สมรรถนะสูง
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๕๑
ในยุค ๔.๕ ติดตั้งระบบ TDL และ Avionics ที่มีความทันสมัย บังคับควบคุมการบินและการปฏิบัติการผ่าน Smart Digital Cockpit ติดตั้งระบบเรดาร์สมรรถนะสูง สามารถใช้อาวุธที่มีความแม่นยำ�สูงและระยะยิงไกล รวมทั้งมีระบบป้องกันตนเองที่มีประสิทธิภาพอันจะส่งผลให้ก�ำ ลังรบหลักมีขีดความสามารถการปฏิบัติการ ทางอากาศที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ (Effect-Based Operation : EBO) ซึ่งเป็นการใช้กำ�ลังทางอากาศที่มีอยู่จำ�กัดได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ตามที่ต้องการ ซึ่งถือเป็นปัจจัยทวีกำ�ลัง (Force Multiplier) ที่สำ�คัญยิ่ง
ตลอดจนกองทัพอากาศดำ�เนินโครงการจัดหาเฮลิคอปเตอร์ EC-275 เพื่อปฏิบัติภารกิจค้นหาและ ช่วยชีวิตในพื้นที่การรบ (Combat Search and Rescue : CSAR) ทดแทนเฮลิคอปเตอร์ UH-1H ที่มีขีดความ สามารถจำ�กัดและมีอายุการใช้งานมานานกว่า ๓๐ ปี ทั้งยังสามารถใช้ในภารกิจการค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบ ภัย และการบรรเทาสาธารณภัยระดับภูมิภาคในการเตรียมความพร้อมสำ�หรับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมทั้งดำ�เนินโครงการจัดหาเครื่องบินฝึกนักบินขับไล่ขั้นต้น (Lead-In Fighter Trainer : LIFT) เพื่อทดแทน เครื่องบิน L-39 ZA/ART โดยให้ความสำ�คัญกับขีดสมรรถนะ เทคโนโลยี ระบบการฝึกอบรมแบบบูรณาการ (Integrated Training System : ITS) รวมทั้งความคุ้มค่าในการใช้งาน โดยพิจารณาจากค่าใช้จ่ายตลอด อายุการใช้งาน (Life CycleCost : LCC) เพื่อให้เครื่องบินฝึกนักบินขับไล่ขั้นต้นที่จะจัดหาสามารถตอบสนอง
๕๒ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ความต้องการทางยุทธการ ในการเตรียมนักบินขับไล่ให้มีความพร้อมสำ�หรับการปฏิบัติภารกิจกับเครื่องบินขับไล่ สมรรถนะสูงของกองทัพอากาศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด ในการปฏิบัติการทางอากาศในอนาคต การมีเครื่องบินขับไล่สมรรถนะสูงแต่เพียงอย่างเดียวไม่ใช่ สิ่งยืนยันถึงความสำ�คัญในการปฏิบัติภารกิจ กองทัพอากาศต้องมีระบบตรวจจับที่มีความทันสมัย และมีระบบ บัญชาการและควบคุมที่สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อสร้างความได้เปรียบ ทางข้อมูลข่าวสาร (Information Superiority) อันจะนำ�ไปสู่ความได้เปรียบในการตัดสินตกลงใจ (Decision Superiority) กองทัพอากาศจึงดำ�เนินการเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และ การลาดตระเวน (Intelligence, Surveillance & Reconnaissance : ISR) เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาและหน่วยปฏิบัติ ในทุกระดับสามารถรับรู้เหตุการณ์ วิเคราะห์ ตัดสินตกลงใจ สั่งการ ควบคุม ประสานงาน และกำ�กับดูแล การปฏิบตั ขิ องหน่วย ให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และทันต่อสถานการณ์ ผ่านการพัฒนาระบบป้องกัน ทางอากาศ การพัฒนาขีดความสามารถการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Warfare : EW) การจัดหาอากาศยานไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle : UAV) ทัง้ ในระดับ Tactical และ MALE (Medium Altitude Long Endurance) และการพัฒนาขีดความสามารถการลาดตระเวนถ่ายภาพทางอากาศ รวมทั้งได้ ดำ�เนินการพัฒนาระบบบัญชาการและควบคุม (Command and Control) และระบบเครือข่าย (Network) ทั้งแบบสายและไร้สายโดยเฉพาะระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี ให้มีความทันสมัย รองรับความต้องการ ทางยุทธการ แข็งแรง ทนทาน สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องในทุกสถานการณ์ (Robustness) ตลอดจน จะดำ�เนินการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการกองบิน (Wing War Room) ให้สามารถบัญชาการและควบคุมการป้องกัน ฐานบินทัง้ ทางภาคพืน้ และทางอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพผ่านระบบเครือข่ายไร้สายทีใ่ ช้เทคโนโลยี LTE (Long Term Evolution) ซึ่งมีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลเร็วกว่าระบบ 3G ถึง 500 เท่า นอกจากการพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติการทางอากาศ กองทัพอากาศให้ความสำ�คัญกับ การสนับสนุนการปฏิบัติการร่วมของกองทัพไทยตามแนวทางNCO หรือ Network Centric Armed Forces โดยได้ดำ�เนินการเชื่อมต่อระบบบัญชาการและควบคุมทางอากาศ (Air Command and Control System : ACCS) กับระบบ C4I กองบัญชาการกองทัพไทย ในการกระจายภาพสถานการณ์ทางอากาศให้กบั ศูนย์บญ ั ชาการ ทางทหาร ศูนย์ปฏิบัติการและหน่วยต่อสู้อากาศยานของเหล่าทัพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการป้องกันภัย ทางอากาศของประเทศในภาพรวม ตลอดจนพัฒนาแนวทางการปฏิบัติการร่วมโดยใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง ระหว่างกองทัพอากาศและกองทัพเรือ ผ่านระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี Link-T ที่ได้รับการพัฒนาต่อยอด ให้มีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นจากระบบเดิมที่ได้รับจากโครงการจัดซือ้ เครื่องบิน Gripen 39 C/D เพื่อให้เหล่าทัพ ทั้งสองสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรร่วมกันในการปฏิบัติภารกิจการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ในการพัฒนาขีดความสามารถกำ�ลังทางอากาศตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น กองทัพอากาศตระหนักถึง ความสำ�คัญของการพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการขับเคลื่อน
กองทัพอากาศตามวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ที่กำ�หนดไว้ควบคู่ไปพร้อมกัน ทั้งนี้ในปี ๒๕๕๘ กองทัพอากาศ มุง่ เน้นในการพัฒนาบุคลากรทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ให้มขี ดี ความสามารถในการปฏิบตั งิ านในสาขางาน ของตนเอง ก้าวทันเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่สามารถปฏิบัติงานกับอาวุธยุทโธปกรณ์และระบบต่าง ๆ ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการความรู้ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ในการพัฒนาบุคลากรพร้อมทัง้ เสริมสร้างอุดมการณ์ และจิตสำ�นึกในการเป็นทหารอากาศทีด่ ี มีความรักสามัคคี และมีจิตสาธารณะที่จะช่วยเหลือหน่วยงาน สังคม ประเทศชาติและประชาชน อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ ด้วยเทคโนโลยีก�ำ ลังทางอากาศทีม่ กี ารพัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนือ่ ง นำ�ไปสูค่ วามจำ�เป็นในการพัฒนา ทักษะและขีดความสามารถของบุคลากรทีแ่ ตกต่างจากเดิมรูปแบบการฝึกศึกษาอบรมต้องได้รบั การปรับปรุงและ พัฒนาเพือ่ สร้างนายทหารอากาศทีม่ สี มรรถนะและขีดความสามารถเหมาะสมกับสถานการณ์ปจั จุบนั ในลักษณะ Multi-Skilled Air Force Personnelอาทินักบินต้องได้รับการฝึกอบรมให้เป็นผู้บริหารจัดการระบบ (System Manager) สามารถตัดสินตกลงใจในระดับยุทธวิธี (Tactical Decision Maker) ในการปฏิบัติการทางอากาศ ตามแนวทางNCO ด้วยอากาศยานยุคใหม่ที่ถูกออกแบบในลักษณะ Systems of Systems นายทหารควบคุม การบินสกัดกั้น (Fighter Controller) ซึ่งถือเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำ�คัญในการปฏิบัติการทางอากาศตาม แนวทาง NCO ต้องสามารถปฏิบัติหน้าที่ในการควบคุมการบินผ่านระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี (Tactical Data Link : TDL) วิศวกรและเจ้าหน้าที่เทคนิคที่รับผิดชอบซ่อมบำ�รุงอากาศยานยุคใหม่ ต้องมีความรู้และ สามารถซ่อมบำ�รุงอากาศยานได้ทุกระบบ (Multi-Disciplined Engineer &Technician) นอกจากนี้ กองทัพ อากาศต้องพัฒนาผูเ้ ชีย่ วชาญเทคโนโลยีก�ำ ลังทางอากาศในด้านต่าง ๆ เช่น สงครามอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเชือ่ มโยง ข้อมูลทางยุทธวิธี และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นต้น รวมทั้งจัดตั้งหน่วยงานและปรับรูปแบบการทำ�งาน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มขีดความสามารถ
นับตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาขีดความสามารถตามวิสัยทัศน์ “กองทัพอากาศ ชัน้ นำ�ในภูมภิ าค” กองทัพอากาศให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เพื่อพัฒนามุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization : LO) ในการดำ�เนินโครงการสำ�คัญ ต่าง ๆ โดยเฉพาะโครงการจัดซื้อเครื่องบิน Gripen 39 C/D กองทัพอากาศกำ�หนดให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer) เพื่อให้บุคลากรเกิดความรู้ความเข้าใจและก้าวทันเทคโนโลยีกำ�ลังทางอากาศยุคใหม่ และเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีกำ�ลังทางอากาศและประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานโดยเฉพาะ ในส่วนที่เกี่ยวกับการซ่อมบำ�รุงอากาศยานและอาวุธยุทโธปกรณ์ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น จึงได้กำ�หนดให้ ทุกหน่วยงานตั้งแต่ระดับแผนกดำ�เนินกิจกรรมการบริหารจัดการความรู้ (๑ แผนก ๑ องค์ความรู้) เพื่อให้ความรู้ และประสบการณ์เหล่านี้คงอยู่กับหน่วยงานรวมทั้งมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป นอกจากการพัฒนาขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ แล้ว กองทัพอากาศจะให้ความสำ�คัญกับการใช้งาน ทรัพยากรที่มีอยู่เดิมอย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด โดยมีแผนการดำ�เนินการที่สำ�คัญ ประกอบด้วย - การบริหารจัดการตามแนวคิด System Commonality เพื่อลดภาระด้านการส่งกำ�ลังและ ซ่อมบำ�รุงอากาศยานและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง - การนำ�แนวคิด Performance-Based Logistics (PBL) มาประยุกต์ใช้กับระบบการส่ง กำ�ลังบำ�รุง เพื่อให้สามารถดำ�รงสภาพความพร้อมปฏิบัติการในระดับที่ต้องการ (System Availability) โดยมี ค่าใช้จ่ายและ Logistics Footprint น้อยที่สุด - การปรับโครงสร้างและรูปแบบการทำ�งานของหน่วยงานด้านการซ่อมบำ�รุงอากาศยาน เพื่อให้ สามารถซ่อมบำ�รุงอากาศยานสมัยใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การเตรียมการในการปรับโครงสร้างกำ�ลังรบให้สอดคล้องกับภัยคุกคาม สภาพแวดล้อมด้าน ความมั่นคง และสถานภาพงบประมาณ - การพิจารณาปรับรูปแบบการฝึกศิษย์การบินให้สอดคล้องกับความต้องการทางยุทธการและ สถานภาพเครื่องบินฝึก การพัฒนาขีดความสามารถกำ�ลังทางอากาศ ตั้งอยู่บนแนวคิดการพัฒนามุ่งสู่การเป็นกองทัพอากาศ คุณภาพ มีขีดความสามารถการปฏิบติการทางอากาศตามแนวทาง NCO ส่งผลให้จำ�เป็นต้องใช้งบประมาณทั้งใน การจัดหาใหม่ การซ่อมบำ�รุงและรักษาสภาพความพร้อมรบ การปรับปรุงซ่อมแซมเพื่อยืดอายุการใช้งาน รวม ทั้งการปรับปรุงพัฒนาขีดความสามารถ ด้วยสถานภาพงบประมาณที่จำ�กัด กองทัพอากาศจึงต้องปรับรูปแบบ และแนวทางการบริหารจัดการ เพือ่ ให้ยงั คงสามารถดำ�รงขีดความสามารถในการปฏิบตั ภิ ารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ทั้งการป้องกันประเทศ การรักษาเอกราชอธิปไตยและผลประโยชน์ของชาติ การปฏิบัติตามนโยบายรัฐบาล ในการพัฒนาประเทศ ช่วยเหลือประชาชน และแก้ไขปัญหาของชาติ รวมทั้งการดำ�เนินโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ อย่างไรก็ตาม กองทัพอากาศจะยังคงก้าวมุง่ ไปสูอ่ นาคต พัฒนาขีดความสามารถในทุกองค์ประกอบ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การพัฒนามุ่งสู่วิสัยทัศน์ “กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค” เกิดขึ้นได้อย่างเป็นรูปธรรม
จากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีมาอย่างยาวนาน ทำ�ให้เกิดความสูญเสีย ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ จนเกิดเป็นความขัดแย้งทางความคิด ความหวาดระแวง ในเจ้าหน้าที่ของรัฐ ส่งผลกับสภาพจิตใจของผู้ที่ได้รับผลกระทบในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มของ เยาวชน ซึ่งเป็นส่วนที่ต้องการการฟื้นฟูทั้งสภาพร่างกายและจิตใจให้ไปในทิศทางที่ถูกต้อง เพื่อให้สามารถคิด วิเคราะห์และไม่ปฏิบัติตามเมื่อมีใครเข้ามาชักจูงให้ทำ�ในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เพื่อเป็นรากฐานสำ�คัญในอนาคต กองทัพอากาศ ได้จดั ตัง้ ศูนย์ตดิ ตามและสัง่ การเพือ่ แก้ไขปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ชายแดนภาคใต้ ในส่วนของกองทัพอากาศ ตามนโยบายของรัฐบาล ด้วยตระหนักถึงความสำ�คัญของเยาวชน ทีเ่ ป็นอนาคตของชาติ ความจำ�เป็น และความสำ�คัญในการสร้างความเข้าใจ และทัศนคติทถ่ี กู ต้องให้กบั ผูท้ อี่ าศัย อยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงได้ริเริ่มโครงการ “เยาวชนไทยใต้ฟ้าเดียวกัน” เมื่อปี ๒๕๔๘ ต่อมาได้เพิ่ม “โครงการชุมชนสัมพันธ์” เพื่อให้เกิดประสิทธิผลในเครือข่ายที่กว้างขึ้น โดยน้อมนำ�ยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาเป็นนโยบายหลักในการจัดทำ�โครงการ โดยใช้กำ�ลังพลและอากาศยานของ กองทัพอากาศในการปฏิบัติภารกิจ
• การเข้าใจ คือ การสร้างให้เกิดความเข้าใจในข้อมูลพื้นฐาน ด้วยการศึกษาข้อมูลทุกมิติของชุมชน ค้นหารากของปัญหา และรวบรวมองค์ความรู้ของโครงการพระราชดำ�ริทั่วประเทศ • การเข้าถึง เป็นเรือ่ งการสือ่ สารและสร้างการมีสว่ นร่วม โดยมุง่ สือ่ สารสร้างความเข้าใจและความมัน่ ใจ กับชุมชน ร่วมกันวิเคราะห์ ปัญหาและความต้องการของชุมชน และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา มากที่สุด • การพัฒนา เป็นเรื่องของการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชน การศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมถึง การประเมินผลในชุมชน การดำ�เนินงาน “โครงการเยาวชนไทยใต้ฟ้าเดียวกัน” เป็นการนำ�เยาวชนไทยพุทธและมุสลิมในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายเป็นเยาวชนอายุระหว่าง ๑๐ – ๑๕ ปี เพื่อให้เยาวชนเหล่านี้ ได้มาทำ�กิจกรรมร่วมกันในพื้นที่ที่ต่างกัน อาทิ การทัศนศึกษาในกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียง หรือ จังหวัดอื่น ๆ โดยให้เยาวชนได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกัน การพึ่งพาอาศัย และแบ่งปัน ให้เยาวชนเหล่านั้นได้เห็นถึง ความผูกพันระหว่างคนไทยด้วยกัน ถึงแม้จะคนละเชือ้ ชาติหรือศาสนา แต่กส็ ามารถพึง่ พาและอยูร่ ว่ มกันได้อย่าง สันติ และร่วมกันพัฒนาประเทศไทยของเราให้เจริญก้าวหน้าต่อไปได้
ข่าวทหารอากาศ ๕๗
เมษายน ๒๕๕๘
สำ�หรับโครงการ “ชุมชนสัมพันธ์” เป็นการนำ�ผู้ที่เป็นที่ให้ความเคารพ เชื่อถือของคนในหมู่บ้าน หรือ ชุมชนนั้น ๆ ทั้งไทยพุทธและมุสลิม ในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ มาร่วมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เพื่อให้มี การพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการเยี่ยมชมชุมชนต่าง ๆ ในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล รวมถึงจังหวัดอืน่ ๆ ทัศนศึกษาสถานทีส่ �ำ คัญทางประวัตศิ าสาตร์ มัสยิดใน พื้นที่นั้น ๆ และแหล่งท่องเที่ยวที่แสดงให้เห็นถึงการอยู่ร่วมกัน พึ่งพาอาศัยกัน ไม่มีการแบ่งแยกเชื้อชาติ หรือ ศาสนา อันจะทำ�ให้ผนู้ �ำ ชุมชนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมนัน้ ได้เห็นถึงความเป็นน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกันของคนไทยทีอ่ ยูบ่ นผืน แผ่นดินเดียวกัน และนำ�ไปเผยแพร่ ถ่ายทอดให้คนในชุมชนได้รับรู้และเข้าใจถึงการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และ ลดความหวาดระแวงของประชาชนต่อเจ้าหน้าที่รัฐอีกด้วย
ปัจจุบัน กองทัพอากาศ ได้ดำ�เนินโครงการเยาวชนไทยใต้ฟ้าเดียวกันมาแล้ว จำ�นวน ๘๐ รุ่น และ โครงการผู้นำ�ชุมชนสัมพันธ์ จำ�นวน ๒๐ รุ่น ผู้เข้าร่วมโครงการมีทัศนคติที่ดี มีการยอมรับในความแตกต่างของ เชือ้ ชาติ ศาสนามากขึน้ เยาวชนมีความเข้าใจในการอยูร่ ว่ มกัน พึง่ พาอาศัยกัน และมีความเป็นน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกัน เชือ่ ใจในการปฏิบตั ภิ ารกิจของเจ้าหน้าทีร่ ฐั และมีทศั นคติทดี่ ตี อ่ กัน กองทัพอากาศมีความมุง่ มัน่ และตัง้ ใจในการ จัดทำ�โครงการเหล่านี้ เพื่อให้ขยายผลได้อย่างกว้างขวางและเข้าถึงพี่น้องประชาชนในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต้ได้เป็นอย่างดี ด้วยยุทธศาสตร์พระราชทานที่ว่า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เราไม่สามารถแก้ไขสิ่งที่สะสม มาเป็นเวลานานให้กลับคืนได้ภายในไม่กปี่ ี แต่เราสามารถทีจ่ ะช่วยกันบรรเทา เยียวยา และให้ประชาชนในพืน้ ที่ รับรู้ว่าเราคือพี่น้องร่วมชาติเดียวกัน ความสงบสุขของประเทศอยู่ที่ความร่วมมือร่วมใจของประชาชนทุกคน ไม่ว่าจะเชื้อชาติ หรือศาสนาใดก็ตาม
ร.อ.จักรพันธ์ เครือวรรณ จากการวิเคราะห์ภัยคุกคามด้านความมั่นคงรูปแบบใหม่ในปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่าเป็นภัยคุกคาม ในทุกมิติ ทีไ่ ม่ใช่เฉพาะภัยคุกคามเฉพาะมิตดิ า้ นการทหารเท่านัน้ กองทัพอากาศเป็นกองทัพเชิงคุณภาพ ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการปฏิบัติภารกิจ แต่ก็มีจุดด้อยในเรื่องของการดำ�รงสถานภาพความพร้อม เพื่อตอบสนองต่อภัยคุกคามใน ทุกรูปแบบที่อาจเกิดขึ้นได้ เนื่องจากยุทโธปกรณ์ และระบบงานที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีระดับสูง ใช้งบประมาณ จำ�นวนมาก จำ�นวนที่สามารถจัดหาได้จึงมีน้อย นอกจากนี้สภาพการใช้งานยุทโธปกรณ์ที่เก่า มีอายุการใช้งาน มานาน จำ�เป็นต้องใช้งบประมาณในการซ่อมแซมและปรับปรุง หรือการจัดหาใหม่ทดแทน หากการซ่อมแซม ปรับปรุงไม่มีความคุ้มค่าอีกต่อไป นอกจากนี้การพัฒนากำ�ลังพลของกองทัพอากาศเพื่อรองรับเทคโนโลยี สมัยใหม่เป็นสิ่งจำ�เป็นที่ต้องใช้บุคลากรที่มีคุณภาพ และความรู้เฉพาะด้าน จึงจะสามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ การขาดแคลนงบประมาณในการจัดหายุทโธปกรณ์ทมี่ เี ทคโนโลยีสมัยใหม่ จะทำ�ให้เป็นอุปสรรค ในการพัฒนากำ�ลังพลในอนาคต แนวทางการพัฒนากองทัพอากาศในปี ๒๐๑๕ การปรับปรุงโครงสร้างกองทัพอากาศ ตามนโยบายเฉพาะ ผบ.ทอ.ด้านยุทธการและการฝึก ให้ทบทวน และปรับปรุงโครงสร้างกำ�ลังรบของกองทัพอากาศให้สอดคล้องตามวิสยั ทัศน์และยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๕๙
โดยคำ�นึงถึงสภาวะแวดล้อมด้านความมัน่ คง พัฒนาการของเทคโนโลยี และข้อจำ�กัดของทรัพยากร กำ�ลังทางอากาศ เป็นกำ�ลังเชิงคุณภาพ ดังนั้นจำ�เป็นต้องได้รับการพัฒนาให้ทันสมัยและเท่าทันเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ แนวคิดในการพึ่งพาตนเอง และความสอดคล้องกับสถานภาพงบประมาณ ประกอบเข้าด้วยกันกับนโยบายของ รัฐบาล นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม ทัง้ ในส่วนของนโยบายทัว่ ไป นโยบายการรักษาความมัน่ คง แห่งชาติ และนโยบายเฉพาะ โดยมุง่ เน้นการพัฒนากำ�ลังพลทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ให้มขี ดี ความสามารถ อย่างเพียงพอในสาขางานของตนเอง ก้าวทันเทคโนโลยี และวิทยาการสมัยใหม่ พร้อมทั้งเสริมสร้างอุดมการณ์ และจิตสำ�นึกในการเป็นทหารอากาศที่ดี มีความรักสามัคคี และมีจิตสาธารณะที่จะช่วยเหลือหน่วยงาน สังคม ประเทศชาติและประชาชนอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถการพัฒนาขีดความสามารถของกองทัพอากาศ เพื่อ เปลี่ยนผ่านเข้าสู่ “ยุคการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง” ทำ�ให้เกิดการหยั่งรู้สถานการณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Total Situation Awareness) อันจะเป็นเครื่องมือสำ�หรับผู้บังคับบัญชา ในการวางแผน อำ�นวยการ สั่งการ และควบคุมการใช้กำ�ลังทางทหารได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง และทันตามความต้องการในทุกสถานการณ์
การพัฒนากองทัพอากาศที่สำ�คัญ ในปี ๒๐๑๕ โครงการพัฒนากองทัพอากาศ ที่กำ�ลังดำ�เนินการอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ โครงการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี (Tactical Data Link: TDL) เพื่อจัดหาระบบ เชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธีสำ�หรับกองทัพอากาศ พร้อมติดตั้งอุปกรณ์เชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธีสำ�หรับ หน่วยภาคพื้นในพื้นที่ตอนกลางของประเทศให้ครบถ้วนสมบูรณ์ตามความต้องการของกองทัพอากาศ
๖๐ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
โครงการจัดหาอากาศยานไร้คนขับ เพื่อจัดหาอากาศยานไร้คนขับและระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทัง้ การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ เพือ่ ปฏิบตั ภิ ารกิจตามทีก่ องทัพอากาศกำ�หนด อาทิ การข่าวกรอง (Intelligence) การลาดตระเวน (Reconnaissance) การเฝ้าตรวจ (Surveillance) การค้นหาเป้าหมาย (Target Acquisition) และการปฏิบตั กิ ารสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Warfare) รวมไปถึงสนับสนุนการปฏิบตั ภิ ารกิจด้านการ พัฒนาประเทศ โครงการผลิตอากาศยานไร้คนขับของกองทัพอากาศ เพื่อผลิตอากาศยานไร้คนขับระดับยุทธวิธี ระยะกลาง จากอากาศยานไร้คนขับต้นแบบของกองทัพอากาศ (Tigershark II Medium Range Tactical UAV) พร้อมระบบอุปกรณ์และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ปฏิบัติภารกิจตามที่กองทัพกำ�หนด เป็นการพึ่งพาตนเอง ลดการ นำ�เข้าเทคโนโลยี เสริมสร้างขีดความสามารถกิจการด้านการบิน และอุตสาหกรรมด้านการป้องกันประเทศ โครงการปรับปรุงขีดความสามารถเครื่องบินขับไล่แบบ ๑๙/ก (F-16 A/B) MLU (Mid-Life Update) เพื่อปรับปรุงขีดความสามารถระบบ Avionics ระบบอาวุธ และระบบป้องกันตนเองของเครื่องบินขับไล่ แบบ ๑๙/ก ฝูงบิน ๔๐๓ ฯ จำ�นวน ๑๘ เครื่อง รวมทั้งจัดหาอะไหล่ อุปกรณ์สนับสนุน และการฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ เพื่อให้เครื่องบินขับไล่แบบ ๑๙/ก มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติการทางอากาศได้สูงขึ้น สามารถใช้ อาวุธที่ทันสมัย มีความแม่นยำ�สูงและระยะยิงไกล มีระบบป้องกันตนเองที่มีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัติการ ได้ทุกสภาพอากาศทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๖๑
โครงการปรับปรุงขีดความสามารถเครือ่ งบินขับไล่แบบ ๑๘ ข/ค (F-5 E/F) เพือ่ ปรับปรุงโครงสร้าง อากาศยานและระบบ Avionics รวมทั้งระบบอาวุธให้สามารถใช้อาวุธสมัยใหม่ที่มีความแม่นยำ�สูง และติดตั้ง เรดาร์ใหม่เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการตรวจจับ รวมทั้งติดตั้งระบบป้องกันตนเองที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โครงการจัดหาเฮลิคอปเตอร์ขนาดกลาง สำ�หรับค้นหาและช่วยชีวิตในพื้นที่การรบ เพื่อจัดหา เฮลิคอปเตอร์ขนาดกลางสำ�หรับค้นหาและช่วยชีวิต ทดแทนเฮลิคอปเตอร์ปฏิบัติภารกิจค้นหาและช่วยชีวิตเดิม ทีป่ ระจำ�การอยู่ พร้อมเครือ่ งช่วยฝึก อะไหล่ อุปกรณ์คน้ หาและช่วยชีวติ อาคารสถานที่ และการฝึกเจ้าหน้าที่ เพือ่ ให้กองทัพอากาศในฐานะเป็นหน่วยหลักด้านกำ�ลังทางอากาศของประเทศดำ�รงศักยภาพและขีดความสามารถ ในการค้นหาและช่วยชีวิตในภาพรวมทั้งทางทหารและพลเรือน พร้อมกับมุ่งพัฒนาเสริมสร้างสูค่ วามเป็น สากลในระดับภูมิภาค โครงการจัดหาเครื่องบินรับ-ส่งบุคคลสำ�คัญ เพื่อจัดหาเครื่องบินรับ-ส่งบุคคลสำ�คัญ สำ�หรับใช้งาน ในภารกิจการรับ-ส่งบุคคลสำ�คัญ โครงการผลิตเครือ่ งบินกองทัพอากาศแบบที่ ๖ เพือ่ ใช้ปฏิบตั ภิ ารกิจด้านธุรการ การฝึกศิษย์การบิน และการบินลาดตระเวนทางอากาศ รวมทั้งเป็นการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร และเสริมสร้างองค์ความรู้ ในการสร้างอากาศยานเป็นของตนเอง สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในอุตสาหกรรมการบิน ภายในประเทศ โครงการจัดหาเครื่องบินฝึกนักบินขับไล่ขั้นต้น เพื่อจัดหาเครื่องบินฝึกนักบินขับไล่ขั้นต้น พร้อม อะไหล่ขั้นต้น อุปกรณ์เครื่องมือที่จำ�เป็น การฝึกอบรมนักบินและเจ้าหน้าที่เทคนิคที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งถ่ายทอด เทคโนโลยี เพือ่ ทดแทน บ.ขฝ.๑ สำ�หรับรองรับการฝึกนักบินขับไล่ขนั้ ต้นของ กองทัพอากาศให้มคี วามรู้ ความสามารถ ในการปฏิบัติภารกิจกับเครื่องบินขับไล่สมรรถนะสูงของกองทัพอากาศ ต่อไป การดำ�เนินโครงการร่วมระหว่างกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ตามทีก่ องทัพอากาศ และกองทัพเรือได้มกี ารดำ�เนินโครงการพัฒนาระบบเชือ่ มโยงข้อมูลทางยุทธวิธใี นการ มุ่งสู่การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลางของแต่ละเหล่าทัพ และเห็นความสำ�คัญของการปฏิบัติการร่วม ในอนาคต จึงได้มกี ารจัดการสัมมนาแลกเปลีย่ นองค์ความรู้ ทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดจากการดำ�เนินโครงการระหว่างกัน เพือ่ นำ�ไปสูก่ ารพัฒนาการปฏิบตั กิ ารทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลางของ ๒ เหล่าทัพ และการปฏิบตั กิ ารร่วมระหว่าง เหล่าทัพ โดยคณะเจ้าหน้าที่ทำ�งานภายใต้คณะกรรมการบริหารโครงการเชิงบูรณาการของกองทัพอากาศ และ คณะกรรมการอำ�นวยการพัฒนาขีดความสามารถสำ�หรับสงครามที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลางของกองทัพเรือ โดยได้มีการทดสอบระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธีร่วมกันระหว่างกำ�ลังทางอากาศและกำ�ลังทางเรือ ในเดือน กันยายน ๒๕๕๗ ที่ผ่านมา ผลการทดสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ปัจจุบัน อยู่ระหว่างการจัดทำ� CONOPS เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการร่วมกันในอนาคต
๖๒ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
บทสรุป กองทัพอากาศเป็นหน่วยงานด้านความมั่นคงภายใต้สังกัดกระทรวงกลาโหม ที่มีหน้าที่เตรียมกำ�ลัง กองทัพอากาศในการป้องกันประเทศ รักษาเอกราช อธิปไตย พิทกั ษ์รกั ษาสถาบันพระมหากษัตริย์ และตอบสนอง ต่อนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศและแก้ไขปัญหาสังคม ตลอดจนการสนับสนุนการดำ�เนินงาน ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ดังเป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชนมาโดยตลอด เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจเป็นไปตามบทบาทหน้าที่ กองทัพอากาศได้ดำ�เนินการพัฒนากองทัพในด้าน ต่าง ๆ ตามยุทธศาสตร์ที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง และอย่างเต็มขีดความสามารถ ซึ่งถือว่าได้ประสบความสำ�เร็จ ในระดับหนึ่ง แต่อย่างไรก็ตามในการพัฒนากองทัพอากาศเพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ที่วางไว้ในปี ๒๕๖๒ ยังคง เป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายต่อการบริหารจัดการของกองทัพอากาศ ทัง้ ยังต้องการรับการสนับสนุนงบประมาณ เพือ่ ดำ�เนิน โครงการสำ�คัญต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อให้กองทัพอากาศสามารถดำ�รงขีดความสามารถตามเจตนารมณ์ในการปฏิบัติ ภารกิจและหน้าที่เพื่อรักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ การรักษาผลประโยชน์ของชาติ การพัฒนา ประเทศ เพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชนตลอดไป
ข่าวทหารอากาศ ๖๓
เมษายน ๒๕๕๘
ปริศนาอักษรไขว้
ประจำ�เดือน เมษายน ๒๕๕๘ มีน ๑. ให้หาคำ�มาเติมในช่องว่างทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยดูจากความหมายที่ให้มา ๒. แต่ละช่องเติมได้ ๑ ตัวอักษร สระบน สระล่าง และวรรณยุกต์ ให้เติมไว้กับอักษรช่องเดียวกัน ส่วนสระหน้าและสระหลัง ให้แยกช่องต่างหาก
๖๔ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
แนวตั้ง ๑. ชื่อกลุ่มดาวรูปแกะ ๒. กุหลาบ (มาจากภาษาชวา) ๓. หนึ่ง เปลี่ยว เดี่ยว ๔. ช้างตัวผู้ที่ไม่มีงาหรืองาสั้น ๕. ผม หัว ๖. ถุงบาตรที่มีสายคล้องบ่า ๗. ปรุงกลิ่นด้วยควันหรือรมด้วยกลิ่นในที่ที่ควันหรือ กลิ่นกระจายออกไปไม่ได้ ๘. หน้า ปาก ทาง ส่วนของตึกหรือเรือนที่ยื่นมาจาก ส่วนใหญ่มักอยู่ด้านหน้า ๑๑. มือที่พิการ นิ้วกำ�เข้าไม่ได้ ๑๓. การเล่นรื่นเริง มีโขน ละคร เป็นต้น ๑๕. อาวุธสำ�หรับซัด หอกซัด สามง่ามที่มีปลอกรูปเป็น ใบโพสวมอยู่ ๑๖. วรรณกรรมโดยเฉพาะประเภทละครที่ลงท้ายด้วย ความเศร้าหรือไม่สมหวัง ๑๘. ความมืด ความเขลา ๒๐. ลดเลี้ยวไปมา ๒๑. บำ�รุงบำ�เรอ เลี้ยงดู ๒๒. น้องของพ่อ ๒๔. พื้นที่ราบ ทำ�เป็นคันกั้นน้ำ�เป็นแปลง ๆ สำ�หรับ ปลูกข้าว ๒๙. สาวก ศิษย์ ๓๐. บริเวณที่คู่สงครามต่อสู้กัน ๓๒. คำ�อธิบาย คำ�กล่าว ๓๓. วัตถุธาตุของพื้นโลกที่ใช้สำ�หรับปลูกพืชหรือปั้น สิ่งต่าง ๆ ๓๔. เร็ว ๓๗. กาล คราว เวลา ๓๙. ป่าที่มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นหนาแน่น ๔๒. น้อง (โดยมากหมายถึงผู้หญิง) ๔๓. ฟัน งา ๔๔. นูนขึ้นเพราะถูกกระทบกระแทก ๔๕. ไม้เถาชนิดหนึ่ง ดอกเล็ก สีคราม
แนวนอน ๑. คำ�กล่าวอย่างตัดเยือ่ ใยไมตรี ไม่ให้ความหวังอยูเ่ ลย ๙. หมดไป สิ้นไป ๑๐. กริยาซึ่งเอาสิ่งที่เป็นผงโรยทับข้างบนเพื่อปิดบัง โดยปริยาย หมายความว่า ปิดบัง ๑๑. พระจันทร์ ๑๒. กล่าวคำ�ขอโทษ ๑๔. ชื่อต้นไม้ ไม่โศก ๑๖. เครื่องเล่นการพนันของจีน ๑๗. สึกเข้าไป กร่อนเข้าไป ๑๙. เครือ่ งประดับคอหรืออก เป็นแผ่น ๆ ทีต่ ดิ กับสังวาล อยู่ที่สะเอวและข้างหลัง ๒๑. อะลุ้มอล่วย ทำ�การปรองดอง ๒๓. ทองคำ� ๒๕. สิ่งที่รู้ได้ด้วยลิ้น ๒๖. การทรงไว้ การรับไว้ การหนุน ๒๗. ชื่อกระแจะเครื่องหอมชนิดหนึ่ง ๒๘. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๙ ๓๐. ศร ๓๑. ไส้เดือน ๓๔. ป่าทึบ ป่ารก ๓๕. มุ่งหมาย อยากได้ ๓๖. เหลวไหล มีแต่ลม ๓๘. หมอเวทมนตร์ หมอผี ๔๐. กระทบเรียดไป เท ราด สาด ฉีด ๔๑. ผู้ช่วย ๔๔. ที่พักคนเดินทางซึ่งต้องเสียค่าพักแรมด้วย ๔๖. สิ่งก่อสร้างที่ปิดกั้นลำ�น้ำ�ไม่ให้ไหลผ่าน ๔๗. เสมอกัน เท่ากัน
(เฉลยอยู่หน้า ๑๐๔)
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๖๕
ครูภาษาพาที
โครงการจัดทำ�ค่ายฝึกอบรมภาษาอังกฤษ แบบบูรณาการ (English Camp) และ วอล์คแรลลี่ (Walk Rally) ศภษ.ยศ.ทอ.
ตามนโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ประจำ�ปี ๒๕๕๖ และ ๒๕๕๗ ด้านการพัฒนาความสามารถ ในการใช้ภาษาอังกฤษของกำ�ลังพลกองทัพอากาศ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพกำ�ลังพลในทุกสายวิทยาการให้มี ขีดสมรรถนะสูงขึ้น ตามนโยบายเฉพาะด้านกำ�ลังพล ข้อ ๑.๑.๓ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ของกำ�ลังพลทุกระดับให้สามารถสือ่ สารได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดกิจกรรมเสริมทักษะความรูภ้ าษาอังกฤษ ผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น หลักสูตรเสริมในหน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ การพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ทั้งนี้เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการเสริมสร้างศักยภาพกำ�ลังพลให้สามารถ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ และประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสม ตามสถานการณ์ซึ่งเป็นพื้นฐานที่จ�ำ เป็นต่อการพัฒนาตามแนวทางการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations: NCO) ตอบสนองต่อวิสัยทัศน์กองทัพอากาศที่จะเป็น “กองทัพอากาศชั้นนำ� ในภูมิภาค (One of The Best Air Forces in ASEAN)” ในปี ๒๕๖๒
นอกจากนี้ นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ ประจำ�ปี ๒๕๕๘ นโยบายเฉพาะด้านกำ�ลังพล ข้อ ๑.๔ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.๒๕๕๘ โดย ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาความรู้ และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของกำ�ลังพลในทุกระดับ เพื่อให้สามารถ นำ�ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและการติดต่อสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
๖๖ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
แผนพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของกำ�ลังพลกองทัพอากาศระยะเวลา ๕ ปี (๒๕๕๖ ถึง ๒๕๖๐) ได้มุ่งพัฒนาระบบบริหารจัดการ และสร้างกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาภาษาอังกฤษ ควบคู่กับ การพัฒนาระบบการฝึกศึกษาและสภาวะแวดล้อม ที่สอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการของกำ�ลังพลและ ความจำ�เป็นของทางราชการ โดยให้กำ�ลังพลได้มีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้ภาษาอังกฤษมากขึ้น ด้วยการพัฒนา ระบบสื่อการเรียนรู้ที่มีช่องทางหลากหลาย เข้าถึงได้ง่าย และสะดวกขึ้น เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมของการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่องทั่วทั้งกองทัพอากาศ ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำ�คัญให้การพัฒนาความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษของกำ�ลังพลกองทัพอากาศบรรลุผลสำ�เร็จตามเป้าหมาย จากนโยบายของ ผบ.ทอ. และแผนพัฒนา ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของกำ�ลังพล กองทัพอากาศระยะเวลา ๕ ปี (๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) ประกอบกับการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ โดยในกฎบัตรอาเซียน ข้อ ๓๔ บัญญัติว่า “The working language of ASEAN shall be English.” หรือ “ภาษาที่ใช้ ในการทำ�งานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ” ดังนัน้ ยศ.ทอ.โดย ศภษ.ฯ ในฐานะหัวหน้าสายวิทยาการ การสอนภาษาอังกฤษเห็นความสำ�คัญทีจ่ ะให้มกี าร พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษโดยเฉพาะทักษะการสนทนาภาษาอังกฤษให้แก่กำ�ลังพลกองทัพอากาศ จึงได้ จัดทำ�โครงการค่ายฝึกอบรมภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ (English Camp) และวอล์คแรลลี่ (Walk Rally) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑. เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนายทหารชั้นสัญญาบัตร และนายทหารชั้นประทวนด้านทักษะการ สนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมรับการที่ประเทศไทยจะเข้าร่วมเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๕๘ ๒. เพื่อพัฒนาทักษะการสนทนาภาษาอังกฤษของนายทหารชั้นสัญญาบัตรและนายทหารชั้นประทวน ให้สนทนาภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษา และชาวต่างประเทศได้อย่างมั่นใจ ถูกต้อง สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำ�วันและในการปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษในบรรยากาศที่สนุกสนานผ่อนคลายนอกห้องเรียน ทำ�ให้ลดความอาย ความประหม่า ความกลัวที่จะพูด กิจกรรมทุกอย่างใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร โดยผู้เรียน ต้องทำ�งานร่วมกันเป็นกลุ่มเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ ๔. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ มีความรู้ความเข้าใจทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ตา่ ง ๆ มีความรูด้ า้ นการออกเสียงภาษาอังกฤษทีถ่ กู ต้อง มีความมัน่ ใจในการใช้ภาษาอังกฤษ เพิ่มขึ้น มีความรู้และแนวทางในการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษด้วยตนเองต่อไป
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๖๗
ผู้เข้ารับการอบรมครั้งนี้เป็นข้าราชการ ทอ. ชั้นยศ จ.ต. - น.อ.(พิเศษ) จากส่วนราชการในเขต ดอนเมือง และบางซื่อ รวม ๓๓ หน่วย ๆ ละ ๓ คน จำ�นวน ๕๙๔ คน ระยะเวลาดำ�เนินการตามโครงการ ธ.ค.๕๗ ถึง ก.ย.๕๘ จัดกิจกรรม จำ�นวน ๖ ครั้ง โดย จัดกิจกรรมให้นายทหารชัน้ สัญญาบัตร จำ�นวน ๓ ครัง้ และนายทหารชั้นประทวน จำ�นวน ๓ ครั้ง สลับกันไป ดังนี้ รุ่นที่ ๑ น.สัญญาบัตร วันที่ ๑๓ - ๑๕ ม.ค.๕๘ รุ่นที่ ๒ น.ประทวน วันที่ ๒๗ - ๒๙ ม.ค.๕๘ รุ่นที่ ๓ น.สัญญาบัตร วันที่ ๑๐ - ๑๒ มี.ค.๕๘ รุ่นที่ ๔ น.ประทวน วันที่ ๒๔ - ๒๖ มี.ค.๕๘ รุ่นที่ ๕ น.สัญญาบัตร วันที่ ๗ - ๙ ก.ค.๕๘ รุ่นที่ ๖ น.ประทวน วันที่ ๒๑ - ๒๓ ก.ค.๕๘ การจัดการจัดอบรมภาษาอังกฤษในรูปแบบค่ายฝึกอบรมภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ (English Camp) และ วอล์คแรลลี่ (Walk Rally) โดยมีรายละเอียดการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมดังนี้ วันที่ ๑ การอบรมแบบค่ายฝึกอบรมภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ (English Camp) เวลา ๐๘๐๐ ถึง ๑๒๐๐ และ ๑๓๐๐ – ๑๖๐๐ ดำ�เนินการโดยแบ่ง นทน.ออกเป็น ๖ กลุ่ม ๆ ละ ๑๔ - ๑๖ คน โดยแต่ละกลุ่ม จะได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำ�วันตามสถานการณ์ต่าง ๆ ได้แก่ - การแนะนำ�ตัวเอง และบุคคลอื่น (Self-Introductions and Third-party Introductions) - การทักทายและการกล่าวลา (Greetings, Pre-closings and Saying Goodbye) - การพูดคุยเกี่ยวกับกิจวัตรประจำ�วัน (Talking about Daily Schedules) - การขออนุญาต การขอร้องและการตอบรับและปฏิเสธ (Asking for Permission, Making Requests and Responses) - การบอกและถามทิศทาง (Giving and Asking for Directions) - การสนทนาทางโทรศัพท์ (Telephone Conversation) วันที่ ๒ การอบรมแบบค่ายฝึกอบรมภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ (English Camp) เวลา ๐๘๐๐ ถึง ๑๖๐๐ ดำ�เนินการโดยแบ่ง นทน.ออกเป็น ๖ กลุ่ม ๆ ละ ๑๔ - ๑๖ คน จัดกิจกรรมการใช้ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Grammar in Context)
วันที่ ๓ การอบรมด้วยกิจกรรมวอล์คแรลลี่ (Walk Rally) เวลา ๐๘๐๐ – ๑๒๐๐ ดำ�เนินการโดยแบ่ง นทน.ออกเป็น ๖ กลุ่ม ๆ ละ ๑๔ - ๑๖ คน โดยเน้นให้ ผู้เข้ารับการอบรมมีโอกาสฝึกใช้ทักษะภาษาอังกฤษที่เรียนรู้ระหว่างการอบรมใน English Camp ด้านการฟัง การพูด และการอ่าน ในบรรยากาศที่สนุกสนานผ่อนคลายนอกห้องเรียน ทำ�ให้ลดความอาย ความประหม่า ความกลัวที่จะพูด กิจกรรมทุกอย่างใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร โดยผู้เรียนต้องทำ�งานร่วมกันเป็นกลุ่มเพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ เวลา ๑๓๐๐ – ๑๖๐๐ ดำ�เนินการกิจกรรมการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษด้วยตนเองโดยผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ด้วยโปรแกรม Quartet Scholar และกิจกรรมการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษจากสือ่ ต่าง ๆ ได้แก่ เว็บไซต์ ศภษ.ยศ.ทอ. English Delivery Facebook Fanpage ของ ศภษ.ยศ.ทอ. คอลัมน์ครูภาษาพาที และ Test Tips ในหนังสือข่าวทหารอากาศ จากการจัดการอบรมภาษาอังกฤษในรูปแบบค่ายฝึกอบรมภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ ฯ ที่ผ่านมา กิจกรรมที่ได้จัดขึ้นทำ�ให้ผู้เข้ารับการอบรม ๑. สามารถมีความคุน้ เคยกับเจ้าของภาษา และสนทนาภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษา และชาวต่างประเทศ ได้อย่างมั่นใจขึ้น ๒. เกิดแรงจูงใจสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้เรียนรู้ไปตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยไม่จำ�กัด เฉพาะอยู่แต่ในห้องเรียนเท่านั้น ซึ่งการเรียนภาษาอังกฤษสามารถทำ�ได้ด้วยตนเองนอกชั้นเรียนตลอดเวลา ผ่านแผ่นพับ ป้ายโฆษณา สื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ หรือแม้แต่สื่อออนไลน์ต่าง ๆ ผ่านเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ๓. สามารถนำ�ความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำ�วันและในการปฏิบตั ริ าชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔. สามารถทราบแนวทางในการพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษของตนเอง และสามารถนำ�ความรู้ ที่ได้รบั ไปเผยแพร่ให้กับข้าราชการในหน่วยงานของตนเอง ซึ่งนับเป็นการสร้างเครือข่ายบุคลากรด้านการอบรม ภาษาอังกฤษอีกทางหนึ่งด้วย โครงการจัดทำ�ค่ายฝึกอบรมภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ (English Camp) และวอล์คแรลลี่ (Walk Rally) จะจัดขึ้นอีกครั้งในเดือน ก.ค.๕๘ ขอเชิญผู้ที่สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ ฯ กับเรานะคะ เพราะ การอบรมโครงการ ฯ นี้ นับเป็นประโยชน์ต่อการเพิ่มศักยภาพของบุคลากร ต่อหน่วยงานของข้าราชการทุกคน และต่อกองทัพอากาศเป็นอย่างยิ่ง ดั่งเป็นการยิงปืนนัดเดียวได้นกสองตัว (Kill two birds with one stone.)
ข่าวทหารอากาศ ๖๙
เมษายน ๒๕๕๘
เวลา...การ์ตูน มิสกรีน BEETLE BAILEY
ภาพ ๑ - นอนบนเตียงทำ�ไมบีทเทิ่ล ? - ก็ผมกวาด ถูพื้น ขัดพื้น เทถังขยะแล้วอ่ะ ยังมีอะไรทำ�อีกเหรอฮะ ? ภาพ ๒ - จ่าเขาคิดอะไรให้เราทำ�เพิ่มได้เสมอ ๆ แหละ to lie down swept scrubbed polished emptied
- เป็นสำ�นวน แปลว่า นอนราบ มักจะเป็นบนเตียงเพื่อนอนหลับหรือพักผ่อน - กริยา past tense ของ to sweep (กวาด, ปัดพื้นด้วยไม้กวาดหรือมือ) - กริยา past tense ของ to scrub (ถูแรง ๆ อาจใช้น้ำ�และสบู่ด้วย) ออกเสียงว่า "สกรั่บด" - กริยา past tense ของ to polish (ขัดให้เรียบและเป็นเงา) ออกเสียงว่า "พ้อลิชท" (ed ที่เติมท้ายออกเสียง "ท") - กริยา past tense ของ to empty (ทำ�ให้ว่าง, หมดไป) empty เป็นคำ�คุณศัพท์ก็ได้ Ex. It's no good to drink alcohol on an empty stomach. (มันไม่ดีที่จะดื่มแอลกอฮอล์ตอนกระเพาะว่าง)
๗๐ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ANDY CAPP
ภาพ ๑ - เมื่อคืนนี้ฉันได้ยินเสียงประหลาดอะไรไม่่รู้ดังมาจากบ้านเธอน่ะ ? - เอ้อ ใช่จ้ะ ... ภาพ ๒ - ฉันตัดสินใจลองใส่ชุดที่ไม่ได้ใส่มาหลายปีแล้วดู ภาพ ๓ - เสียงที่เธอได้ยินน่ะ คือ เสียงตะเข็บเสื้อแตกจ้ะ ...coming from your house... - เป็นวลีที่เรียกว่า participial phrase ใช้ขยายคำ�ว่า noise ให้ชัดเจน ว่ามาจากที่ใด to try on - เป็นสำ�นวน (idiom) แปลว่า ทดลองสวมใส่เสื้ือผ้า เพื่อดูว่าพอดีหรือไม่ (to put on a piece of clothing to see if it fits and how it looks) ส่วนอีกสำ�นวนหนึ่ง คือ to try out แปลว่า ทดสอบคนหรือสิ่งของ เพื่อดูว่ามีประสิทธิภาพเพียงใด (to test someone or something to see how good they are) ...exploding seams - ตะเข็บเสื้อที่กำ�ลังปริแตก exploding เป็น V + ing ที่เรียกว่า present participle ใช้เป็นคำ�คุณศัพท์แสดงการกระทำ�ของคำ�นาม ที่ขยายตัวอย่างอื่น ๆ ได้แก่ Those falling leaves are very beautiful. (ใบไม้ที่ก�ำ ลังร่วงอยู่โน่น สวยมาก) และ Please avoid that barking dog. (กรุณาเลี่ยงเจ้าหมาที่กำ�ลังเห่าอยู่นั่น)
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของ ทอ. สำ�หรับสงครามยุคใหม่ ทสส.ทอ.
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้ยุติลง มีการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มความสลับซับซ้อนขององค์ประกอบ และปัจจัยต่าง ๆ ของความขัดแย้งที่เพิ่มขึ้น ควบคู่ไปกับการพัฒนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ถูกนำ�ไปใช้เพื่อสร้างความได้เปรียบด้านการทหารมากขึ้น ทั้งนี้รูปแบบของการทำ�สงครามได้เปลี่ยนไปตาม เทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้น
รูปที่ ๑ การพัฒนาเทคโนโลยี ทฤษฎี แนวความคิดการปฏิบัติในสงครามยุคใหม่
วิวัฒนาการของเครื่องบินขับไล่ที่เปลี่ยนไปตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ จากยุคที่ ๑ ที่เริ่มเป็นเครื่องยนต์ไอพ่น จนมาถึงยุคที่ ๕ ที่มีการเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี และสามารถบูรณาการข้อมูล กับผู้ปฏิบัติหน่วยอื่นได้ มีการพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้มีความทันสมัย และมีความเร็วในการประมวลผล
๗๒ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
มากยิ่งขึ้น พร้อมกับการออกแบบเครื่องบินให้มีคุณสมบัติยากต่อการตรวจจับ ประกอบกับการมีระบบอาวุธที่ ทันสมัย ที่สามารถจำ�กัดความสูญเสียแต่เพิ่มผลกระทบต่อเป้าหมาย ตลอดจนมีการแบ่งปันข้อมูลข่าวสารและ ความหยั่งรู้ในสถานการณ์ระหว่างผู้ปฏิบัติอื่น ๆ ดังนั้น การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ทอ.สำ�หรับสงครามยุคใหม่ จึงจำ�เป็นต้องมี การพัฒนาให้เท่าทันเฉกเช่นเดียวกับวิวัฒนาการของโทรศัพท์มือถือ จากรุ่น 1G แบบ Analog ที่สื่อสารด้วยเสียง เพียงอย่างเดียว มาเป็นรุน่ 2G ทีเ่ ริม่ รับ - ส่งข้อมูลระหว่างกันได้ แต่มขี อ้ จำ�กัดด้านความเร็วและปริมาณของข้อมูล จนมาเป็นรุ่น 3G ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ที่สามารถ Download ภาพยนตร์เรื่องสั้น ๆ ได้ด้วยความเร็วประมาณ 2 Mbps เปรียบเสมือนการขี่จักรยาน ในปีนี้คาดว่า กสทช.จะเปิดให้มีการประมูลคลื่นความถี่ 1900 MHz และ 900 MHz สำ�หรับโทรศัพท์รนุ่ 4G ทีม่ คี วามเร็วมากกว่ารุน่ 3G ถึง ๕๐ เท่า เทียบเสมือนกับความเร็วของรถยนต์ ส่วนการพัฒนาด้าน ICT ของ ทอ.ในโครงการปี ๕๙ จะนำ�เทคโนโลยี LTE (Long Term Evolution) รุ่นล่าสุด แบบ eLTE (Enhance LTE) หรือรุ่น 4.5G มาใช้งานใน ทอ. ความเร็วมากกว่ารุ่น 3G ถึง ๕๐๐ เท่าเปรียบเทียบ กับความเร็วของเครื่องบินไอพ่น ทอ.ได้ก�ำ หนดยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๖๒ โดยมีวสิ ยั ทัศน์เป็นหนึง่ ในกองทัพอากาศ ชัน้ นำ�ของภูมภิ าคอาเซียนในปี ๒๕๖๒ และใช้แนวทางของการปฏิบตั กิ ารทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั กิ ารของ ทอ. ทัง้ นีต้ ามแผนทีย่ ทุ ธศาสตร์กองทัพอากาศกำ�หนด ให้มี ๖ องค์ประกอบหลักในการพัฒนานำ� ทอ.ไปสู่เป้าหมายที่กำ�หนด ได้แก่ การตรวจจับ (Sensor) ผู้ปฏิบัติ (Shooter) การบัญชาการและควบคุม (Command and Control) เครือข่าย (Network) การสนับสนุนและ บริการ (Support and Service) และด้านบุคลากรและองค์กร (Human and Organization) จากองค์ประกอบขีดความสามารถหลักทั้ง ๖ ด้าน เมื่อนำ�มาประยุกต์เป็นองค์ประกอบในการพัฒนา ด้าน ICT ได้ ๖ ส่วน ได้แก่ - เครือข่าย (Network) ทั้งเครือข่ายแบบใช้สาย และไร้สาย โดยเน้นให้ครอบคลุมพื้นที่ปฏิบัติงาน - อุปกรณ์ (Hardware) เพื่อให้เหมาะสม และพอเพียงต่อการใช้งาน - โปรแกรม (Software) โดยทำ�ให้เป็น Web Service และมีการบูรณาการข้อมูลจากระบบงานที่ เกี่ยวข้องกัน - การตรวจจับ (Sensor) ให้มีการพัฒนา หรือปรับปรุงทั้งส่วนภาคพื้น และภาคอากาศ - การรักษาความปลอดภัย (Security) เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คง และปลอดภัยทัง้ ในด้านสถานที่ ด้านสารสนเทศ สงครามอิเล็กทรอนิกส์ และสงครามไซเบอร์ - ทรัพยากรบุคคล (Peopleware) ให้มีการจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ และทำ�ให้บุคลากร สามารถปฏิบัติได้จริง
ข่าวทหารอากาศ ๗๓
เมษายน ๒๕๕๘
รูปที่ ๒ วิวัฒนาการของการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่
เครือข่าย (Network) จากข้อบัญญัตขิ องทฤษฎีการสงครามทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Tenets of NCW) ต้องเริม่ จากการ มีเครือข่ายทีม่ นั่ คงแข็งแรง ทีส่ ร้างความมัน่ ใจในการแบ่งปันข้อมูลและการหยัง่ รูใ้ นสถานการณ์ สร้างการทำ�งานที่ ประสานสอดคล้องกัน มีความรวดเร็วในการบัญชาการ จนนำ�ไปสูค่ วามสำ�เร็จในภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ทอ. มีเครือข่ายโทรคมนาคมทีร่ องรับการปฏิบตั กิ ารทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง ประกอบด้วยเครือข่ายโทรคมนาคม หลักของ ทอ. ได้แก่ เครือข่าย Microwave และ Fiber Optic ของ ทอ.รวมทั้งที่เช่าจากบริษัท Interlink เครือข่ายโทรคมนาคมรองที่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยนอก ทอ. ได้แก่ สส.ทหาร, ทสอ.กห., TOT, CAT และ เครือข่ายข้อมูลข่าวสารภาครัฐ (GIN) รวมทั้งยังมีเครือข่ายดาวเทียม TDMA เป็นเครือข่ายสำ�รอง ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี (Tactical Data Link: TDL) เป็นสิ่งจำ�เป็นในการบูรณาการข้อมูล และแบ่งปันการหยั่งรู้สถานการณ์ ทอ.จึงพัฒนา จัดหา และติดตั้งระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี (TDL) แบบ Link-T บน บ.ข.๒๐ และ Link-16 บน บ.ข.๑๙ (MLU) และยังสามารถเชื่อมต่อข้อมูลกับเรือรบของ ทร. ได้อีกด้วย ทั้งนี้ มีแนวความคิดจะทำ�การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง Link-T กับ Link-16 ด้วยอุปกรณ์ Gateway เป็นตัวกลางในการปรับรูปแบบของข้อมูล ทำ�ให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ นอกจากเครือข่ายสารสนเทศในพื้นที่ (Local Area Network) ที่ใช้สายแล้ว ทอ.ได้ติดตั้งอุปกรณ์ เครือข่ายไร้สาย แบบ WIFI ทั้งภายในและภายนอกอาคาร ชนิดที่มีระบบรักษาความปลอดภัยในสถานที่ทำ�งาน
๗๔ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ทุกแห่งของ ทอ. ให้กำ�ลังพลสามารถเข้าถึงเครือข่ายของ ทอ.ได้ครอบคลุมพื้นที่ในอาคารที่ทำ�งาน และมีความ คล่องตัวในการปฏิบัติงาน ทอ.ได้ริเริ่มโครงการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการกองบิน ที่จะดำ�เนินการในปี ๕๙-๖๑ จะเป็นโครงการนำ�ร่อง ที่จะนำ�เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายแบบ LTE (Long Term Evolution) รุ่นล่าสุดแบบ eLTE (Enhanced LTE) ที่มีรัศมีครอบคลุมประมาณ 3 กม. มาใช้งานกับทุกกองบิน มีวิทยุมือถือแบบ Trunk ที่มีจอภาพ มีกล้องติด บนหมวก และกล้องติดรถยนต์ให้กับชุดลาดตระเวนภายในกองบิน มี Tablet ให้กับชุดปฏิบัติงานภาคพื้น (อย. และ สห.) เพื่อให้สามารถรับ-ส่งข้อมูล ทั้งแบบภาพเคลื่อนไหวและเสียง ได้ด้วยความเร็วมากกว่าโทรศัพท์มือถือ รุ่น 3G ถึง ๕๐๐ เท่า
รูปที่ ๓ องค์ประกอบในการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(ฉบับหน้าจะกล่าวถึงอุปกรณ์ <Hardware>)
สดุดีวีรชน จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร พล.อ.ท.ปรีชา ประดับมุข
แม้ยามนี้ยังมีเราเฝ้าเวหา คอยพิทักษ์รักษาไม่หวั่นไหว ทั้งท้องฟ้าผืนน้ำ�ขืนล้ำ�ไทย อย่าหมายใจว่าจะพรั่นหรือหวั่นเกรง เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๐๓ ข้าราชการ ทหารอากาศทั้งกองทัพ ได้ทราบข่าวอันก่อเกิดความ เศร้าสลดและสะเทือนใจอย่างสุดซึ้งเกินกว่าพรรณนา ด้วยเหตุการณ์ครั้งนี้นับเป็นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง ของประวัติศาสตร์กองทัพอากาศไทย ที่พลอากาศเอก เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร ผู้บัญชาการทหารอากาศ ซึ่ง เป็นหัวหน้าคณะทูตสันถวไมตรี เดินทางไปราชการ ณ กรุงไทเป ตามคำ�เชิญของ ผู้บัญชาการทหารอากาศจีนคณะชาติ เพื่อร่วมงาน Operations Get Together ขณะที่คณะทั้งหมดเดินทางกลับประเทศไทย เหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันได้เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน เมื่อเครื่องบิน พาหนะแบบ DC-4 ของท่านและคณะได้ประสบอุบัติเหตุชนภูเขาบริเวณสนามบินซุงซานใกล้กรุงไทเป ท่านและคณะเสียชีวิตทั้งหมด จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร เป็นยศที่ได้รับพระราชทานหลังจากถึงแก่อนิจกรรม ท่านเป็น ผู้ปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณประเทศชาติมาโดยตลอด ทั้งยังได้ประกอบวีรกรรมทางอากาศอย่าง กล้าหาญ เด็ดเดี่ยว แสดงถึงความมีจิตมุ่งมั่น ที่จะเอาชนะข้าศึกเพื่อปกป้องประเทศชาติ โดยกล้าเอาชีวิต เป็นเดิมพัน อันสมควรได้รับการยกย่องสรรเสริญ ท่านจึงได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญ ได้แก่ วีรกรรม ทางอากาศเหนือน่านฟ้าบางยาง และเหนือน่านฟ้าลำ�ปาง เป็นต้น ท่านไม่เพียงแต่เป็นนักรบผู้กล้า ผู้ทำ�หน้าที่เสียสละ ประกอบคุณงามความดีให้แก่ประเทศชาติ และ กองทัพอากาศ แต่ยังเป็นผู้มีคุณูปการอย่างใหญ่หลวงในการก่อตั้งกองบินยุทธการในอดีต ซึ่งถือเป็นต้นกำ�เนิด กรมควบคุมการปฏิบตั ทิ างอากาศในปัจจุบนั เมือ่ ครัง้ นัน้ “ห้องปฏิบตั กิ ารสงคราม” เป็นสิง่ ทีท่ า่ นต้องการอย่างยิง่ ท่านมีความประสงค์ทจี่ ะสร้างห้องปฏิบตั กิ ารสงครามทีถ่ กู ต้องทันสมัย ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถสัง่ การได้จากห้องนี้ และเห็นภาพการรบทางอากาศทั่วทั้งยุทธบริเวณ แต่ในขณะนั้นดำ�ริของท่านยังคงเป็นเพียงความฝัน เนื่องด้วย เหตุผลด้านงบประมาณ แม้กระนั้นท่านก็ยังพยายามคิดค้นวิธีการที่จะมีห้องปฏิบัติการสงครามนั้นให้จงได้
อนุสาวรีย์ จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร
การริเริ่มนี้เป็นไปอย่างถูกต้อง คิดการไกลถึงอนาคต ท่านเคยปรารภถึง ๓ สิ่ง คือ หอประชุมกองทัพอากาศ สโมสรนายทหารอากาศ และห้องปฏิบัติการสงคราม ในที่สุดท่านตัดสินใจเลือกประการสุดท้าย ด้วยเหตุผล ของท่านที่ว่า “ภารกิจของกองทัพอากาศนั้น คือ การอำ�นวยการทางอากาศเพื่อเอกราชของชาติ” หากเรา บรรลุภารกิจนั้นได้ ความผาสุกคือสโมสร ดังนั้น สโมสรจึงควรตามมาทีหลัง และเมื่อเรามีความผาสุกพอควร การสั่งงานหรือการประชุมสั่งการควรเป็นเรื่องหลังสุด แล้วเมื่อนั้นหอประชุมจึงควรมี เมื่อเราไม่สามารถปฏิบัติ ตามภารกิจของเราได้ สิ่งทั้งสองนั้นจะมีไว้เพื่อประโยชน์อันใด ความคิดของท่านนับว่าเป็นต้นแบบแห่งความ เป็นผู้นำ� ต้นแบบการคิดวิเคราะห์ และแสดงนัยด้านจิตสำ�นึกของฝ่ายอำ�นวยการอย่างแยบยล ดังปรารภของท่าน ที่กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “เราคงต้องการแก่นมากกว่ากระพี้” คนเรามักต้องการกระพี้มาไว้เพื่อประดับประดา เพื่อความสวยงาม แต่หาแก่นสารและสารประโยชน์ไม่ได้มากนัก นอกจากนั้น ท่านยังเป็นผู้ที่ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียน จ่าอากาศพยาบาลหญิง เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๑ ปัจจุบันเป็นวิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ กรมแพทย์ทหารอากาศ หลังจากที่ จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ ถึงแก่อนิจกรรม กองบินยุทธการจึงได้สร้างอนุสาวรีย์ เป็นประติมากรรมลอยตัว (แบบครึ่งตัว) ขนาดเท่าตัวจริง วัสดุที่ใช้เป็น ทองเหลืองรมดำ� เพื่อประกาศเกียรติคุณให้ชนรุ่นหลัง ได้ระลึกถึงและสักการะตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๔ วันที่ ๑๔ เมษายน ของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันถึงแก่อนิจกรรมของท่าน กรมควบคุมการปฏิบัติ ทางอากาศ ได้ถือปฏิบัติให้มีการประกอบพิธี บวงสรวง คล้องพวงมาลัย วางพวงมาลา และประกอบพิธีสงฆ์ เพื่อ ทำ�บุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของท่านสืบเนื่องเป็นประจำ�ทุกปี เช่นเดียวกับในปี พ.ศ.๒๕๕๘ นี้ เป็นปีที่ ๕๕ ที่ครบรอบการถึงแก่อนิจกรรมของท่าน กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ โดย พล.อ.อ.เผด็จ วงษ์ปิ่นแก้ว ผู้บัญชาการกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ ได้จัดพิธีที่ได้ถือปฏิบัติกันสืบมาในช่วงเช้าวันพุธที่ ๘ เมษายน พร้อมทั้งเชิญครอบครัววัฒนางกูร มาร่วมพิธีดังกล่าวด้วย การประกอบพิธีดังกล่าว เพื่อปรารถนาที่จะให้ ดวงวิญญาณของท่านได้รับรู้ถึงมุทิตาจิต ด้วยจิตสำ�นึกในคุณงามความดี คุณประโยชน์และความเสียสละที่ท่าน ได้สร้างไว้แก่กองทัพอากาศประดุจรากแก้วอันมั่นคงนั้น จะยังติดตรึงอยู่ในหัวใจของข้าราชการทหารอากาศ มิรู้เลือน “ขอสดุดีวีรชน จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร”
เครื่องบิน DC-4
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๗๗
ยุทธศึกษา กับการพัฒนา กองทัพอากาศ น.อ.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย์ “ทรัพยากรบุคคล” นับเป็นองค์ประกอบทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ องค์ประกอบหนึง่ ของทุกองค์กร การทีอ่ งค์กร ใด ๆ จะประสบความสำ�เร็จอย่างยัง่ ยืนได้ ล้วนแล้วแต่ขนึ้ อยูก่ บั คุณภาพและศักยภาพของบุคลากรทุกระดับทีอ่ ยู่ ในองค์กรนัน้ ๆ โดยเฉพาะบุคลากรในระดับผูน้ �ำ องค์กร กองทัพอากาศเป็นองค์กรราชการขนาดใหญ่ทปี่ ระกอบ ไปด้วยบุคลากรในส่วนต่าง ๆ ถึงกว่าสี่หมื่นคน และเช่นเดียวกัน ความสำ�เร็จในภารกิจของกองทัพอากาศในการ เตรียมกำ�ลังกองทัพอากาศและดำ�เนินการเกี่ยวกับการใช้กำ�ลังกองทัพอากาศเพื่อปกป้องราชอาณาจักรและ ให้การสนับสนุนในการพัฒนาประเทศนั้น ขึ้นอยู่กับคุณภาพและศักยภาพของ “กำ�ลังพลกองทัพอากาศ” ซึ่งถือเป็นทรัพยากรที่สำ�คัญยิ่งขององค์กร การที่กองทัพอากาศจะสามารถดำ�เนินภารกิจให้บรรลุผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในเชิงรูปธรรมนั้น กำ�ลังพลที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในส่วนต่าง ๆ ตามโครงสร้างการจัดหน่วยของกองทัพอากาศ ตั้งแต่ระดับผู้บริหารชั้นสูงไปจนถึงระดับผู้ปฏิบัติ จะต้องมีคุณลักษณะ (Characteristics) ตลอดจนสมรรถนะ (Competency) ที่เพียงพอและเหมาะสมกับตำ�แหน่งหน้าที่ตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย การที่กำ�ลังพลจะ เสริมสร้างคุณลักษณะให้ตรงกับขีดความต้องการของกองทัพอากาศในการเข้าปฏิบัติหน้าที่ในตำ�แหน่งต่าง ๆ นั้น จำ�เป็นจะต้องมีกระบวนการในการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของกำ�ลังพลในบริบทขององค์กรหลักด้าน ความมั่นคงของประเทศอย่างเป็นระบบ กองทัพอากาศมีการบริหารกิจการกำ�ลังพลตามวงรอบการบริหารกิจการกำ�ลังพล ซึ่งประกอบไปด้วย การกำ�หนดความต้องการ, การจัดหา, การบรรจุและใช้งาน, การพัฒนา, การบำ�รุงรักษา และการให้พ้น จากราชการ (ภาพที่ ๑) โดย “การพัฒนา” นับเป็นกระบวนการทีส่ �ำ คัญยิง่ กระบวนการหนึง่ ในวงรอบการบริหาร กิจการกำ�ลังพลของกองทัพอากาศ เนื่องจากเป็นกระบวนการที่จะเสริมสร้างพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของ กำ�ลังพลในห้วงระยะเวลาทีร่ บั ราชการในกองทัพอากาศให้มคี วามสามารถในการปฏิบตั ภิ ารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย อย่างเหมาะสมเพียงพอกับระดับการปฏิบัติงานที่สูงขึ้นตามเส้นทางความก้าวหน้าในการรับราชการ (Career Path)
๗๘ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ภาพที่ ๑ วงรอบการบริหารกิจการกำ�ลังพล
กระบวนการพัฒนากำ�ลังพลนับว่าเป็นกุญแจแห่งความสำ�เร็จ (Key Success Factor) ในมิติของการ ขับเคลื่อนกองทัพอากาศให้สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ซึ่งกระบวนการพัฒนานั้น คือ “กระบวนการให้การฝึกศึกษา” แก่กำ�ลังพลโดยแยกตามระดับและช่วงระยะเวลา ทีก่ �ำ หนดตามแนวทางรับราชการ เพือ่ ให้ตรงกับความต้องการของกองทัพอากาศ โดยหน่วยงานหลักทีร่ บั ผิดชอบ ทำ�หน้าที่ในการให้การฝึกศึกษาเพื่อพัฒนากำ�ลังพลของกองทัพอากาศในระดับต่าง ๆ ตลอดจนให้การสนับสนุน บางส่วนของกระบวนการสรรหากำ�ลังพล คือ “กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ” ซึง่ ภารกิจและหน้าทีข่ องกรมยุทธศึกษา ทหารอากาศนั้นมีบทบาทสำ�คัญยิ่งในการกำ�หนดอนาคตของกองทัพอากาศ ในมิติกำ�ลังพัฒนากำ�ลังพล ปี พ.ศ.๒๕๕๘ นับเป็นปีสุดท้ายในก้าวที่สองของการเป็น กองทัพอากาศที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Air Force: NCAF) ตามยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๖๒ ที่มีวิสัยทัศน์มุ่งสู่ การเป็น “กองทัพอากาศชั้นนำ�ในภูมิภาค (One of The Best Air Forces in ASEAN)” โดยการพัฒนา ในก้าวสำ�คัญนี้ จำ�เป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องครอบคลุมทัง้ ๖ องค์ประกอบของ NCAF ซึง่ ประกอบไปด้วย การบัญชาการ และควบคุม (Command and Control), ระบบตรวจจับ (Sensor), ผู้ปฏิบัติและหน่วยปฏิบัติ (Shooter), เครือข่าย (Network), ระบบสนับสนุนและบริการ (Support and Services) และ ทรัพยากรบุคคลและองค์การ (Human and Organization) หัวใจของความสำ�เร็จในการบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว คือ การพัฒนา “กำ�ลังพล” ซึ่งมีความเกี่ยวข้องที่สำ�คัญอย่างยิ่งกับทุกองค์ประกอบดังกล่าวข้างต้น ดังนั้น ภารกิจด้านการฝึกศึกษา ของ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ จึงทวีความสำ�คัญในการสร้างความพร้อมรวมทั้งเสริมสร้างศักยภาพและคุณภาพ ให้กับกำ�ลังพล สามารถตอบสนองการปฏิบัติภารกิจ และร่วมกันขับเคลื่อนไปสู่วิสัยทัศน์ของกองทัพอากาศ ในการจัดการฝึกศึกษาให้ตอบสนองต่อการพัฒนากำ�ลังพลของกองทัพอากาศนั้น จำ�เป็นต้องมีการ วางแผนการปฏิบัติ อำ�นวยการ ประสานงาน กำ�กับดูแล และ ดำ�เนินการเกี่ยวกับการศึกษา การฝึกอบรม แก่กำ�ลังพลเพื่อให้ตรงตามที่กองทัพอากาศกำ�หนด จึงนับเป็นภารกิจสำ�คัญที่มีความท้าทายสูง โดยเฉพาะ ในปัจจุบนั ซึง่ เป็นยุคทีม่ พี ลวัตรการเปลีย่ นแปลงสูง ดังนัน้ การจัดการฝึกศึกษาจึงต้องมีการคิดพิจารณาอย่างรอบคอบ และครอบคลุมเชิงระบบ เพือ่ ให้สามารถสนองตอบต่อความต้องการของกองทัพอากาศภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงอย่างมีคุณภาพ
กรมยุทธศึกษาทหารอากาศมีโครงสร้างการจัดและการบริหารจัดการภารกิจทีเ่ ป็นเชิงระบบ ประกอบ ไปด้วย ปัจจัยนำ�เข้า (Input), กระบวนการ (Process) และ ผลผลิตกับผลลัพธ์ (Output and Outcome) ดังภาพที่ ๒ กุญแจสำ�คัญของการดำ�เนินภารกิจเพือ่ ผลิตผูส้ �ำ เร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาทัง้ หมดในสังกัด ของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศนั้น อยู่ที่ปัจจัยนำ�เข้าและกระบวนการ (กระบวนการบริหารงาน, กระบวนการ จัดการฝึกศึกษา และกระบวนการปรับปรุงพัฒนา) โดยมีปัจจัยภายนอก (External Factors) ซึ่งส่งผลกระทบ อันได้แก่ ยุทธศาสตร์และนโยบายของกองทัพอากาศ, กฎ ระเบียบ คำ�สั่งที่เกี่ยวข้อง, เทคโนโลยี และการ เปลีย่ นแปลงของสภาวะแวดล้อมภายนอก ต้องนำ�มาพิจารณาอย่างรอบคอบและครอบคลุม กอปรกับการนำ�เอา ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ซึง่ เป็นการประเมินผลจากผูเ้ กีย่ วข้องทัง้ ทีอ่ ยูใ่ นส่วนของปัจจัยนำ�เข้า กระบวนการ รวมทัง้ ผลผลิตและผลลัพธ์ เพือ่ บูรณาการแนวทางในการบริหารจัดการภารกิจทัง้ หมดให้สามารถตอบสนอง เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความต้องการของกองทัพอากาศ ภายใต้แนวทางพัฒนาปรับปรุงที่ระบุไว้ใน แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปี
ภาพที่ ๒ แผนภาพกรมยุทธศึกษาทหารอากาศเชิงระบบ
ผู้บังคับบัญชา ฝ่ายเสนาธิการ ฝ่ายอำ�นวยการ และกำ�ลังพลที่ปฏิบัติงานในการขับเคลื่อนกองทัพอากาศ (Key Person) ล้วนแล้วแต่เป็นผู้ที่ผ่านกระบวนการฝึกศึกษาจากสถาบันการศึกษาของกรมยุทธศึกษา ทหารอากาศทั้งสิ้น ดังนั้นการหล่อหลอมให้ผู้เข้ารับการศึกษาเป็นผู้ที่สำ�เร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ และมีคุณลักษณะตรงตามความคาดหวังของกองทัพอากาศจึงเป็นสิ่งจำ�เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในห้วงเวลาที่
๘๐ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
กองทัพอากาศจะนำ�สมรรถนะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลางและสมรรถนะด้านการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์องค์กรมาเป็นเครื่องมือในการบริหารกิจการกำ�ลังพล พร้อมทั้งเสริมสร้างความพร้อม ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ดังนั้น การพิจารณาบรรจุเนื้อหาตลอดจนกิจกรรมการศึกษาในการ ฝึกอบรมเรื่องดังกล่าว จึงมีการสอดแทรกลงในหลักสูตรการศึกษาตามแนวทางรับราชการหรือระบบการศึกษา ทหารอาชีพ ซึง่ มีลักษณะเฉพาะ และมีความแตกต่างไปจากระบบการศึกษาโดยทั่วไป โดยให้มคี วามสอดคล้อง กับการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ในสภาวะปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ดังนั้นจึงเป็นกลไกสำ�คัญยิ่งในมิติของการ พัฒนากำ�ลังพลของกองทัพอากาศอย่างยัง่ ยืน ซึง่ สถาบันการศึกษาในระดับนีข้ องกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ คือ วิทยาลัยการทัพอากาศ, โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ, โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส และโรงเรียน นายทหารชั้นผู้บังคับฝูง อนึ่ง กระบวนการจัดการฝึกศึกษานั้นมิได้สำ�คัญเฉพาะแต่ส่วนของการมุ่งสร้างบุคลากรที่จะเติบโต ไปเป็นผู้บังคับบัญชา ฝ่ายเสนาธิการ ฝ่ายอำ�นวยการ และกำ�ลังพลที่ปฏิบัติงานในการขับเคลื่อนกองทัพอากาศ เท่านั้น การสร้างบุคลากรในส่วนสนับสนุนและส่วนปฏิบัติการอื่น ๆ ซึ่งถือเป็นหัวใจของการปฏิบัติงาน ของกองทัพอากาศ ให้มคี วามพร้อมในการปฏิบตั งิ าน ก้าวทันเทคโนโลยีและการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อม มีความพร้อมในการเป็นทหารอาชีพ เป็นกำ�ลังสำ�คัญของกองทัพ ก็มีความสำ�คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน ดังนั้น ภารกิจด้านการพัฒนากำ�ลังพลซึ่งกรมยุทธศึกษาทหารอากาศได้รับจึงเป็นภารกิจที่ครอบคลุมทุกระดับของกำ�ลังพล ในกองทัพอากาศ ซึ่งสถาบันการศึกษาในระดับนี้ของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ คือ โรงเรียนนายทหารชั้น ผู้บังคับหมวด, โรงเรียนนายทหารชั้นประทวน และโรงเรียนจ่าอากาศ นอกจากมิติด้านการผลิตผู้สำ�เร็จการศึกษาที่มุ่งเน้นทั้งคุณภาพและคุณลักษณะให้ตรงตามที่ กองทัพอากาศต้องการแล้ว การพิจารณาถึงการเสริมสร้างศักยภาพความพร้อมของบุคลากรด้านการศึกษา ก็เป็นสิง่ สำ�คัญเช่นกัน ดังนัน้ กระบวนการในการเสริมสร้างความพร้อมในการเป็นครูอาจารย์ให้มที งั้ ความรู้ ทักษะ และคุณธรรมที่เหมาะสมต่อการทำ�หน้าที่ครูอาจารย์ในสายวิชาชีพทางทหาร จึงเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำ�คัญด้วย ซึ่งสถาบันที่ทำ�หน้าที่ฝึกอบรมความเป็นครูทหารของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ คือ โรงเรียนครูทหาร ในอีกด้านหนึ่งของภารกิจกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ นอกเหนือจากกระบวนการพัฒนากำ�ลังพล ดังกล่าวแล้ว ยังมีภารกิจที่สนับสนุนการพัฒนากำ�ลังพลกองทัพอากาศในภาพรวมที่ส�ำ คัญ ๓ ภารกิจ ได้แก่ ๑) การให้การฝึกศึกษาภาษาอังกฤษแก่บุคลากรของกองทัพอากาศในภาพรวม และ ให้การฝึกศึกษาภาษาไทย แก่ผู้เรียนซึ่งเป็นนายทหารนักเรียนจากมิตรประเทศที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรวิชาชีพ ทางทหาร ซึ่งสถาบันที่ทำ�หน้าที่สอนภาษา คือ ศูนย์ภาษา ๒) การสนับสนุนกระบวนการจัดหากำ�ลังพลเพื่อให้ ได้บุคลากรตรงตามกำ�หนดความต้องการของกองทัพอากาศ โดยเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการที่สำ�คัญในวงรอบ การบริหารกิจการกำ�ลังพล ซึ่งสถาบันที่ทำ�หน้าที่สนับสนุนของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ คือ ศูนย์ทดสอบ บุคคล และ ๓) การสอนอบรมศีลธรรม, คุณธรรม, จริยธรรมและวัฒนธรรมแก่บุคลากรของกองทัพอากาศและ ครอบครัว เพื่อขัดเกลาจิตใจของกำ�ลังพลให้มีพื้นฐานเป็นคนที่คิดชอบและปฏิบัติชอบ พร้อมทั้งการนำ�ปฏิบัติ
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๘๑
ศาสนกิจตลอดจนพิธีกรรมต่าง ๆ ซึ่งหน่วยงานที่ทำ�หน้าที่สนับสนุนเกี่ยวกับศาสนกิจของกรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ คือ กองอนุศาสนาจารย์ สิ่งหนึ่งที่ต้องคำ�นึงถึงในการดำ�เนินภารกิจด้านการจัดการฝึกศึกษาที่สำ�คัญภายใต้การเข้าสู่การเป็น ประชาคมอาเซียนที่จะมีการแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางการศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในวงกว้างขึ้น คือ “ความเป็นมาตรฐานสากล” ซึ่งกรมยุทธศึกษาทหารอากาศได้นำ�ไปพิจารณาประกอบในกระบวนการปรับปรุง พัฒนา เพือ่ ให้สะท้อนออกมาเป็นหลักสูตรการศึกษาตลอดจนกระบวนการในการฝึกศึกษาทีร่ องรับต่อความร่วมมือ ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะเห็นได้วา่ “การพัฒนา” ในวงรอบการบริหารกิจการกำ�ลังพลของกองทัพอากาศ ซึง่ มี “กรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ” เป็นหน่วยงานหลักที่ดูแลรับผิดชอบด้วยการให้ “การฝึกศึกษา” ทั้งในระบบหลักสูตรการฝึก ศึกษาวิชาชีพทางทหารของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ และในระบบการสนับสนุนแก่กำ�ลังพลของกองทัพ ในภาพรวมดังกล่าวข้างต้นนัน้ มีความสำ�คัญอย่างยิง่ ต่อ “การพัฒนากองทัพอากาศ” ในฐานะกลไกในการสร้าง บุคลากรที่มีศักยภาพและความพร้อมในการขับเคลื่อนกองทัพอากาศไปสู่วิสัยทัศน์ที่ได้วางเอาไว้ในอนาคต อย่างยั่งยืน ภายใต้จิตวิญญาณของความเป็นทหารอาชีพที่แท้จริง
และในก้าวสุดท้ายของช่วงการเป็นกองทัพอากาศทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCAF) นัน้ กรมยุทธศึกษา ทหารอากาศจะได้น�ำ แนวคิดของปฏิบตั กิ ารทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรม ในการบริหารจัดการงานภายใต้บริบทของหน่วยงานขับเคลือ่ นกองทัพด้วยการให้การฝึกศึกษา เพือ่ ขับเคลือ่ นให้ กองทัพอากาศเข้าสูก่ ารเป็น “กองทัพอากาศชัน้ นำ�ในภูมภิ าค” โดยมีกรมยุทธศึกษาทหารอากาศเป็น “องค์กร การศึกษาเพือ่ พัฒนากำ�ลังพลให้เป็นทหารอากาศชัน้ นำ�ในภูมภิ าคอาเซียน” สมดัง่ วิสยั ทัศน์ทไี่ ด้วางไว้ตอ่ ไป...
๘๒ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
สก.ทอ. สวัสดิการ (Welfare) ในการบริหารงานบุคคล อาจเรียกกันหลายอย่างเช่น ผลประโยชน์เกื้อกูล ผลประโยชน์พิเศษ ได้มีผู้ให้ความหมายต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะสอดคล้องกันคือ สวัสดิการเป็นภาวะของการมีความสุข มีสุขภาพดี มีความเจริญรุ่งเรือง ถ้าเกี่ยวกับด้านแรงงาน หมายถึง สิ่งหรือภาวะที่ผู้บังคับบัญชาจัดให้เพื่อความ สะดวกสบายหรือเพื่อความอยู่ดีกินดีของผู้ใต้บังคับบัญชา เป็นบริการหรือกิจกรรมใด ๆ ที่หน่วยงานจัดขึ้น เพื่อความสะดวกสบาย เป็นสิ่งจูงใจให้คนงานมีขวัญและกำ�ลังใจดี มีความพอใจในงานมีความรักงาน และ เต็มใจทำ�งานให้มีคุณภาพดี เป็นผลประโยชน์และบริการที่หน่วยงานจัดให้บุคลากรของหน่วยงานทั้งในขณะ ปฏิบตั งิ าน หยุดพักงานชัว่ คราว และเมือ่ ออกจากงานเพือ่ บำ�รุงขวัญของบุคลากรให้ท�ำ งานด้วยความสบายใจและ ได้รับความสะดวกสบาย จะได้มีความพอใจในงานและทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น บริการเกี่ยวกับสุขภาพ ความปลอดภัย การศึกษา ความมั่นคงในทางการเงิน การพักผ่อน กีฬา นันทนาการ หรือการให้คำ�ปรึกษา เมื่อมีปัญหาส่วนตัวมีหลักประกันแน่นอนในการดำ�รงชีวิตหรือให้ได้รับประโยชน์อื่น นอกเหนือจากเงินเดือน หรือค่าจ้างประจำ�สำ�หรับสวัสดิการทีก่ องทัพอากาศจัดให้แก่ขา้ ราชการของกองทัพนัน้ เป็นการจัดให้เพือ่ อำ�นวย ความสะดวกแก่การทำ�งานและสวัสดิการทีเ่ อือ้ แก่การดำ�รงชีวติ ถ้ามีการจัดการทีด่ ดี ว้ ยแล้ว ก็จะเป็นการประหยัด ค่าใช้จ่ายขององค์การมากขึ้น การจัดสวัสดิการ และการจูงใจเป็นสิง่ สำ�คัญในการทำ�งานและมูลเหตุส�ำ คัญในการจูงใจ คือ ความต้องการ จะเห็นได้ว่ายึดหลักเกี่ยวกับความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ของมาสโลว์ (MasLow) มาเป็นแนวทางในการจัด เช่น ประเภทสวัสดิการได้แบ่งออกเป็น สวัสดิการพืน้ ฐาน คือ สวัสดิการทีจ่ �ำ เป็นต่อการดำ�รงชีวติ ได้แก่ สวัสดิการ อาหารกลางวัน การรักษาพยาบาล เครื่องแบบ บ้านพักพนักงาน เป็นต้น สวัสดิการเศรษฐกิจ คือ สวัสดิการที่ จ่ายเป็นเงินหรือคำ�นวณเป็นเงินได้ ได้แก่ เงินโบนัส เงินบำ�เหน็จ รถบริการรับ – ส่งพนักงาน เป็นต้น สวัสดิการทาง สังคม คือ สวัสดิการที่มุ่งส่งเสริมคุณภาพชีวิต และพัฒนาความสามารถของผู้ปฏิบัติงานได้แก่ การฝึกอบรมทั้ง ภายในและภายนอกองค์กร การส่งเสริมให้พนักงานศึกษาต่อ ฯลฯ สวัสดิการดังกล่าวนี้ ถ้าหน่วยงานใดสามารถ
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๘๓
จัดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของพนักงานได้มาก ก็มีแนวโน้มได้ว่า สวัสดิการนั้นจะเป็นสิ่งจูงใจที่สำ�คัญ อย่างหนึ่งในการทำ�งานของพนักงานได้ คำ�ว่า “ผลประโยชน์เกื้อกูล” และ “บริการสวัสดิการ” มีความหมายคล้ายคลึงกัน ผลประโยชน์เกื้อกูล มีความหมายแยกออกเป็น ๒ ประเภท คือ ผลประโยชน์เกื้อกูลที่เป็นตัวเงิน หมายถึงสิ่งที่จ่ายให้ในลักษณะที่ เป็นตัวเงินหรือทีส่ ามารถตีราคาออกเป็นตัวเงินได้งา่ ย เช่นเงินปันผลกำ�ไร ทีจ่ า่ ยให้เป็นปีหรือเป็นงวดค่าเช่าบ้าน เงินช่วยเหลือการศึกษาของตนเองและของบุตร ค่ารักษาพยาบาลของตนเองและครอบครัว เงินช่วยค่าครองชีพ ค่าพาหนะในการเดินทาง และโยกย้ายสถานที่ทำ�งาน เป็นต้น ประเภทที่ ๒ ได้แก่ ประโยชน์เกื้อกูลที่ไม่เป็น ตัวเงิน หมายถึง การจ่ายให้ในรูปของให้บริการต่าง ๆ บริการตรวจสุขภาพ บริการเกี่ยวกับยานพาหนะ บริการ กูย้ มื เงินในอัตราดอกเบีย้ ต่�ำ กว่าท้องตลาด การอนุญาตให้หยุดงานประจำ�ปีเพือ่ พักผ่อน เพือ่ คลอดบุตร เจ็บป่วย หรือเพื่อธุรกิจส่วนตัว โดยได้รับเงินเดือน ฯลฯ ซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปแล้วมักเรียกประโยชน์เกื้อกูลประเภทหลังนี้ว่า “บริการสวัสดิการ” การจัดสวัสดิการสามารถพิจารณาได้ โดยใช้หลัก ๑๐ ประการ คือ หลักความเสมอภาค หลักแห่ง ผลประโยชน์ หลักแห่งการจูงใจ หลักแห่งการตอบสนองความต้องการ หลักแห่งประสิทธิภาพ หลักแห่งการประหยัด หลักแห่งการบำ�รุงขวัญ หลักแห่งความสะดวก หลักแห่งความยุตธิ รรม หลักแห่งงบประมาณสวัสดิการทุกประเภท จะยังอยู่ในขอบข่ายของสวัสดิการ เพื่อช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงานด้านเศรษฐกิจ ด้านกีฬาและนันทนาการ และด้าน อำ�นวยความสะดวกสบาย ในที่นี้ได้แบ่งประเภทของสวัสดิการ โดยทั่วไปเป็น ๓ ประเภท คือ ๑. สวัสดิการด้านเศรษฐกิจ สวัสดิการประเภทนี้ เป็นสวัสดิการที่จัดขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้าง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของผู้ปฏิบัติงาน นอกเหนือจากเงินเดือนหรือค่าจ้าง เป็นการเพิ่มพูนรายได้หรือ ลดรายจ่าย เป็นหลักประกันในกรณีที่เกิดการเจ็บป่วย ตาย หรือต้องออกจากงาน เช่น การจำ�หน่ายสินค้าราคาถูก การจัดให้มีอาหารกลางวัน การให้กู้ยืมเงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำ� การช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาล การประกันชีวิต การประกันสุขภาพ การฌาปนกิจสงเคราะห์ การตรวจสุขภาพ บำ�เหน็จบำ�นาญ เป็นต้น ๒. สวัสดิการด้านกีฬาและนันทนาการสวัสดิการประเภทนี้ เป็นสวัสดิการทีจ่ ดั ขึน้ โดยมีจดุ มุง่ หมายให้ ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสได้ออกกำ�ลังเพื่อสุขภาพ ได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน ความสุขความบันเทิงเป็นการ พักผ่อนและลดความเคร่งเครียดจากการปฏิบัติงานประจำ�วัน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานได้มีโอกาส สังสรรค์และจัดกิจกรรมร่วมกัน ก่อให้เกิดความรักใคร่สามัคคีในหมู่ผู้ปฏิบัติงาน อันจะเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน โดยส่วนรวม สวัสดิการประเภทนี้ ได้แก่ การจัดให้มีการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ จัดการแข่งขันกีฬาทั้งภายในหน่วยงาน และนอกหน่วยงาน การจัดทัศนาจร การจัดให้มีสโมสร การจัดงานสังสรรค์ในโอกาสต่าง ๆ เป็นต้น ๓. สวัสดิการด้านอำ�นวยความสะดวกสบาย เป็นสวัสดิการที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างเต็มความสามารถ ด้วยการจัดสิ่งอำ�นวยความสะดวกสบายต่าง ๆ ให้ทั้งในเวลา และนอกเวลาปฏิบัติงาน สวัสดิการประเภทนี้บางกิจกรรม นอกจากจะเป็นการอำ�นวยความสะดวกสบายแล้ว ยังเป็นการช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจโดยการลดรายจ่ายได้อกี ทางหนึง่ เช่น การจัดบริการบ้านพัก การจัดบริการ
๘๔ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
รถรับ – ส่ง จัดบริการร้านอาหารในหน่วยงาน การจัดจำ�หน่ายสินค้าราคาถูกในหน่วยงาน การจัดบริการทางแพทย์ การจัดบริการตรวจสุขภาพประจำ�ปี การจัดบริการน้�ำ ดืม่ บริการห้องสมุด การให้บริการทางด้านกฎหมาย เป็นต้น สรุปความว่า สวัสดิการ หมายถึง การกระทำ�ขององค์การหรือหน่วยงานทีก่ ระทำ�ขึน้ เพือ่ เป็นการบำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุขให้กับบุคลากรหรือเพื่อให้บุคลากรได้รับสิ่งที่เขาต้องการโดยมีจุดหมายสำ�คัญอยู่ที่การบำ�รุงขวัญและ กำ�ลังใจของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ก้าวสู่ทศวรรษที่ ๗ ของการพัฒนาสวัสดิการทหารอากาศ แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการ กองทัพอากาศจะต้องมีแนวทางในการพัฒนาในด้านต่าง ๆ จาก องค์ประกอบของสังคม และหน่วยงาน ตลอดจนสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ประกอบด้วย ๖ ด้าน คือ ๑. ความหมายการจัดสวัสดิการ ผู้เกี่ยวข้องงานสวัสดิการ กองทัพอากาศ จะต้องเข้าใจ และทราบ ความหมายของการจัดสวัสดิการ ดังนี้ ๑.๑ ระบบการจัดบริการสังคม ๑.๒ หน้าที่ ป้องกัน แก้ไข พัฒนา ส่งเสริมความมั่นคง ๑.๓ ความจำ�เป็นพื้นฐาน ๑.๔ คุณภาพชีวิตที่ดี ๑.๕ พึ่งตนเอง ๑.๖ การศึกษา ๑.๗ สุขภาพอนามัย ๑.๘ ที่อยู่อาศัย ๑.๙ การทำ�งาน/การมีรายได้ ๑.๑๐ นันทนาการ ๑.๑๑ กระบวนการยุติธรรม ๑.๑๒ บริการสังคมทั่วไป ๑.๑๓ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ๑.๑๔ สิทธิบุคคลในสังคม ๑.๑๕ การมีส่วนร่วมของสังคม ๒. แนวทางการกำ�หนดเป้าหมายหลักในการจัดสวัสดิการ ผูเ้ กีย่ วข้องงานสวัสดิการ กองทัพอากาศจะต้อง กำ�หนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และผลสัมฤทธิ์ ของการจัดสวัสดิการ ดังนี้ ๒.๑ สวัสดิการครอบคลุมทุกคน ๒.๒ มีสวัสดิภาพ ๒.๓ สวัสดิการสังคม ๒.๔ ความมั่นคงของมนุษย์ ๓. แนวทางการพัฒนาสังคม การบริหารสังคม การพัฒนามนุษย์ และการพัฒนาแบบยั่งยืน ผู้เกี่ยวข้อง กับงานสวัสดิการ กองทัพอากาศ จะต้องนำ�หลักการการพัฒนาสังคม และการบริหารสังคมเป็นแนวทางเพื่อใช้ ทรัพยากรของสังคมในการขับเคลื่อนสังคม ดังนี้ ๓.๑ การบริหารสังคม ธรรมาภิบาล ๓.๑.๑ นิติธรรม ๓.๑.๒ คุณธรรม ๓.๑.๓ ความโปร่งใส ๓.๑.๔ การมีส่วนร่วม ๓.๑.๕ สำ�นึกรับผิดชอบ ๓.๑.๖ ความคุ้มค่า
๓.๒ การพัฒนามนุษย์ ๓.๒.๑ เศรษฐกิจพอเพียง ชีวิตสมดุล เศรษฐกิจมั่นคง สังคมยั่งยืน ๓.๒.๒ ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ ๓.๒.๓ ทุนที่เป็นสถาบัน องค์กร ๓.๒.๔ ทุนปัญญา ๓.๒.๕ ทุนวัฒนธรรม ๓.๓ การพัฒนาแบบยั่งยืน ๓.๓.๑ บูรณาการทุกภาคส่วนในสังคม ๓.๓.๒ สมดุลของสังคม ๓.๓.๓ พึ่งตนเอง ๔. แนวทางการพัฒนาความมั่นคงของมนุษย์ ผู้เกี่ยวข้องกับงานสวัสดิการ กองทัพอากาศ จะต้องคำ�นึงถึง และสร้างความมั่นคง ดังนี้ ๔.๑ ที่อยู่อาศัย ๔.๒ สุขภาพอนามัย ๔.๓ การศึกษา ๔.๔ การมีงานทำ�และรายได้ ๔.๕ ครอบครัว ๔.๖ สังคม-วัฒนธรรม ๔.๗ การเมืองและธรรมาภิบาล ๔.๘ สิทธิและความเป็นธรรม ๔.๙ การสนับสนุนทางสังคม การช่วยเหลือ การเข้าถึงความสุขในชีวิต คุณค่าชีวิต ๔.๑๐ ความมั่นคงส่วนบุคคล ความปลอดภัยในชีวิต ความปลอดภัยในทรัพย์สิน หลักประกัน สังคม ๕. แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ผูเ้ กีย่ วข้องกับงานสวัสดิการ กองทัพอากาศ จะต้องดูแลคุณภาพชีวติ ของกำ�ลังพล ดังนี้ ๕.๑ การบริการประกันสังคม ๕.๒ การสงเคราะห์ข้าราชการ ๕.๓ การบริการสังคม ๖. แนวทางการพัฒนาการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ ผูเ้ กีย่ วข้องกับงานสวัสดิการ กองทัพอากาศ จะต้องดำ�เนินการให้เป็นไปตามระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ ดังนี้ ๖.๑ หลักการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ ๖.๒ ครอบคลุมเจ้าหน้าที่ และหน่วยงาน ๖.๓ บทบาทของสมาชิก โปร่งใส เป็นธรรม โดยสรุปการพัฒนาการจัดสวัสดิการ กองทัพอากาศ ตามยุทธศาสตร์ของกองทัพอากาศนั้น จะต้อง ขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติด้านสวัสดิการสังคม กับนโยบายการจัดสวัสดิการของกองทัพอากาศ ภายใต้ ข้อกำ�หนดด้านกฎหมาย ระเบียบ และอืน่ ๆ รวมทัง้ การรองรับ การปรับการบริหารจัดการด้านสวัสดิการ กองทัพอากาศ เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต ขวัญ กำ�ลังใจของข้าราชการกองทัพอากาศ ซึ่งจะส่งผล ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติภารกิจ อันจะนำ�ไปสู่ความเป็น “กองทัพอากาศชั้นนำ�ของภูมิภาค”
สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
ภูมิทัศน์อุตสาหกรรม ป้องกันประเทศของอาเซียน สทป.
ขีดความสามารถของภาคอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของอินโดนีเซีย อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของอินโดนีเซียมีรัฐวิสาหกิจหลักที่รับผิดชอบยุทโธปกรณ์แต่ละด้าน ครบวงจรเพือ่ ตอบสนองกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สำ�หรับกองกำ�ลังทางบก มี PT Pindad ทีเ่ ชีย่ วชาญ ด้านยานรบทางบกและ PT Dahana ที่เชี่ยวชาญด้านวัตถุระเบิด กองกำ�ลังทางเรือมี PT Pal ในการบริการต่อเรือ ส่วนกำ�ลังทางอากาศมี PT Dirgantara Indonesia ที่รับผิดชอบด้านการประกอบอากาศยานและวิศวกรรม อากาศยาน รัฐวิสาหกิจทั้ง 4 มีเจ้าหน้าที่ประมาณ 9,000 คน และได้รับการสนับสนุนและควบคุมการปฏิบัติงาน ภายใต้รัฐมนตรีว่าการรัฐวิสาหกิจและอยู่ภายใต้กฎหมาย Defence Industry Bill นอกจาก 3 รัฐวิสาหกิจหลัก นีแ้ ล้ว ยังมีบริษทั ย่อยอืน่ ๆ ราว 15 - 20 บริษทั ทีม่ ผี ลผลิตด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศด้วย อย่างไรก็ตาม ฐานการผลิตอุตสาหกรรมเหล่านี้ส่วนใหญ่ทำ�การผลิตตามใบอนุญาตที่มีเทคโนโลยีในระดับต่ำ�ที่เรียกว่า Third-Tier เช่น การผลิตโครงอากาศยานปีกหมุนและปีกนิง่ สำ�หรับการขนส่งระดับกลางและเล็ก ขีดความสามารถ การวิจัย พัฒนาและผลิตยานรบทางบกเช่น รถลำ�เลียงพลหุ้มเกราะ (ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมป้องกันประเทศที่
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๘๗
สามารถกล่าวได้ว่าประสบความสำ�เร็จสูงสุด เพราะสามารถผลิตได้เองทั้งสายการผลิต) อุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร ที่ไม่ซับซ้อน ยานรบทางเรือชั้น 3 เช่น เรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง เรือเร็ว เรือยาง การผลิตเครื่องกระสุน อาวุธปืนเล็ก อมภัณฑ์และสารดินขับ ทัง้ หมดนีร้ วมถึงการซ่อมบำ�รุงพืน้ ฐาน การซ่อมคืนสภาพ ในขณะทีอ่ ปุ กรณ์หรือยุทธภัณฑ์ ที่มีระดับเทคโนโลยีชั้นสูงเช่นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบนำ�ร่อง เครื่องยนต์ ระบบไฟฟ้าอาวุธ จะใช้การสั่ง นำ�เข้ามาประกอบภายในประเทศ
การประกอบรวม ฮ.แบบ NAS-332 Super Puma
สายการผลิตรถยานเกราะล้อยาง
อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของอินโดนีเซียยังคงประสบปัญหาหลายประการ ปัญหาหลัก ๆ ได้แก่ ประการแรกโครงสร้างและขีดความสามารถอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของอินโดนีเซียเกี่ยวกับเทคโนโลยีขั้นสูง ในปัจจุบันมีอยู่จำ�กัด ทั้งนี้หมายรวมถึงความสามารถในการซึมซับเทคโนโลยียังอยู่ในระดับต่ำ�กว่าที่ควร อีกประการหนึ่งคือ นโยบายภาครัฐของอินโดนีเซียยังมีความไม่ต่อเนื่องกล่าวคือการสนับสนุนจากรัฐบาลนั้น ขึน้ อยูก่ บั ตัวผูน้ �ำ ในแต่ละสมัย นอกจากนีย้ งั มีปญ ั หาจากระบบราชการและองค์กรภาครัฐของอินโดนีเซียทัง้ เรือ่ ง ปัญหาความล่าช้า ปัญหาเรื่องธรรมาภิบาล (good governance) และปัญหาด้านความเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ และภาคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ ต้องใช้การประสานงานแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านเทคโนโลยีป้องกันประเทศอย่างใกล้ชิด ระหว่างภาครัฐและเอกชน แต่ผู้บริหารของกองทัพของอินโดนีเซียยังมีแนวคิดอนุรักษ์นิยมในลักษณะที่กลัว การรั่วไหลของข้อมูลด้านเทคโนโลยีป้องกันประเทศ เป็นต้น โครงสร้างอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ อุตสาหกรรมป้องกันประเทศของอินโดนีเซีย มีบริษัทที่อยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลของรัฐบาลจำ�นวน 4 แห่ง ซึ่งประกอบไปด้วยบริษัทย่อยกว่า 10 แห่ง ผลิตผลของอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นการผลิตภายใต้ ใบอนุญาตจากผู้เป็นเจ้าของเทคโนโลยี เช่น อากาศยานขนาดเล็กและขนาดกลาง ทั้งแบบปีกตรึงและปีกหมุน อุปกรณ์สื่อสารพื้นฐาน เรือ OPV และเรือเร็ว รวมถึงอาวุธทหารราบ กระสุนและวัตถุระเบิด ตลอดจนการ ซ่อมบำ�รุงเรือและอากาศยาน รวมทั้งได้มีความพยายามในการพัฒนาอากาศยานไร้คนขับ นับตั้งแต่ ปี 2008 เป็นต้นมา รัฐบาลสนับสนุนการพึ่งพาตนเองและอุตสาหกรรมป้องกันประเทศมากขึ้น ตามแผนแม่บท 2011 ถึง 2025 และ Defence Industry Bill ซึ่งได้รับการอนุมัติในปี ค.ศ.2012
อากาศยานแบบ CN-235 NC212
อุตสาหกรรมการบิน อุตสาหกรรมการบินถือว่าเป็นตัวชูโรงอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศของอินโดนีเซีย มีขดี ความสามารถในการผลิต ประกอบและซ่อมบำ�รุง เครื่องบินแบบ CN-235 NC212 และ NAS-332 Super Puma ทั้งนี้ รัฐบาลมุ่งที่จะผลักดัน การพึง่ พาตนเองในด้านอุตสาหกรรมอากาศยาน ด้วยการรับ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ตามมาตรการด้าน Offset จากโครงการ ร่วมพัฒนาอากาศยานต้นแบบรุน่ KFX กับประเทศเกาหลีใต้ และการพัฒนาอากาศยานไร้คนขับแบบ Puma
ปืนเล็กยาวแบบ SS3 หน่วยรบพิเศษอินโดนีเซีย
ฮ.แบบ NAS-332 Super Puma
ยุทโธปกรณ์ทางบก บริษัท PT เป็นผู้ดำ�เนินการผลิตรถ ยานเกราะล้อยาง และอาวุธทหารราบ รวมถึง การผลิตภายใต้ลิขสิทธิ์ปืนของ FN Hersal และ ST Engineering ในส่วนของรถยานเกราะ ได้มีความร่วมมือกับ FNSS Savunma จาก ประเทศตุรกี ตลอดจนการพัฒนาจรวดและ ดินขับ
รถยานเกราะล้อยาง 6x6 แบบ Badak ที่มา IHS
อุตสาหกรรมการต่อเรือ มีขีดความสามารถในการออกแบบและผลิตยานสะเทินน้ำ�สะเทินบก เรือโจมตีเร็ว นอกเหนือจากนี้ ยังมีขีดความสามารถในการต่อเรือ LPD ผ่านความร่วมมือกับบริษัท Dae Sun ประเทศเกาหลีใต้ และ Damen Schelde Naval Shipbuilding จากประเทศเนเธอร์แลนด์
การผลิตดินขับ ระเบิดและอมภัณฑ์ PT Dahana รัฐวิสาหกิจอินโดนีเซีย และบริษัท Roxel และ Eurenco ของฝรัง่ เศส เริ่มโครงการพัฒนา โรงงานดินขับเพื่อตอบสนองความต้องการเรื่องดินขับ กระสุน อมภัณฑ์ ทั้งอาวุธที่มีขนาดลำ�กล้องปืนเล็ก กลาง และใหญ่ ของกองทัพอินโดนีเซีย โดยตั้งโรงงานอยู่ที่เมือง Sabung ที่ชวาตะวันตก พร้อมกันนี้ อินโดนีเซีย กำ�ลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาจรวดหลายลำ�กล้องขนาด 122 มม. รุ่น R-HAN 122 ซึ่งใช้เวลาพัฒนามาแล้ว 6 ปี นอกจากนี้ยังมีการลงนามข้อตกลงร่วมกับประเทศจีน ในปี 2011 ในข้อตกลงการถ่ายทอดเทคโนโลยี จรวดต่อต้านเรือ แบบ C-802
๙๐ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ท่อและดินขับจรวด
บริษทั PT Pindad ทีม่ รี ฐั เป็นเจ้าของ บริษทั อุตสาหกรรมภายในประเทศ และหน่วยงานวิจยั และพัฒนา ของกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย สามารถผลิตดินขับชนิด Hydroxyl Ammonium Nitrate หรือ HAN พร้อมกับ ทำ�การยิงทดสอบภาคพลวัตจรวดแบบพื้นสู่อากาศ พร้อมกับระบบนำ�วิถีด้วย GPS รุ่น R-Han ขนาด122 มม. พิสยั 15 กม. การดำ�เนินการในระยะต่อไปจะเป็นการพัฒนา Rantis ให้สามารถรองรับขนาดจรวดทีใ่ หญ่ขนึ้ และ มีพิสัยการยิงไกลขึ้น ขณะนี้ประจำ�การอยู่ที่หน่วย KORMAR และอาจจะมีการพัฒนารุ่นต่อ ๆ ไป เพื่อประจำ�การ ในหน่วยปืนใหญ่สนาม อินโดนีเซียทดสอบยิงจรวดจากรถยิงจรวด
ปืนเล็กยาวแบบ SS3
เครือข่ายความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
เยอรมนี
มีการจัดตั้ง Forum ด้านเทคโนโลยีระหว่างสองประเทศ ภายหลังจากที่ได้มีการเจรจา การซือ้ ขายจรวด C-705 และ C-802 ในปี ค.ศ. 2011 ระหว่าง บริษทั PT Pindad ของ อินโดนีเซีย และ บริษัท CPMIEC จากประเทศจีน บริษทั EADS มีความร่วมมือกับ PT Dirgantara มาเป็นเวลานานกว่า 30 ปี ในการผลิต อากาศยานแบบปีกหมุน รวมทัง้ มีขอ้ ตกลงกับฝรัง่ เศสเพือ่ ผลักดันการนำ�เข้าและส่งออก ยุทโธปกรณ์มากขึ้น บริษัท Airbus ร่วมมือกับ บริษัท PTDI ในการประชาสัมพันธ์เครื่องบิน CN295 ใน 6 ประเทศสมาชิกอาเซียน ได้ลงนามข้อตกลงในความร่วมมือในการวิจยั และพัฒนา การผลิต และการส่งกำ�ลังบำ�รุง และอืน่ ๆ MOOTW ในครัง้ ทีน่ ายกรัฐมนตรีเยอรมันเดินทางมาเยือนประเทศอินโดนีเซีย
เนเธอร์แลนด์
ร่วมมือในการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่าง Damen และ PT Pal ในการต่อเรือ Sigma-class Corvette
จีน
ฝรั่งเศส
รัสเซีย สิงคโปร์ เกาหลีใต้
ลงนามความร่วมมือในการให้ค�ำ ปรึกษาในการต่อเรือและซ่อมบำ�รุงอากาศยาน Sukhoi ในปี ค.ศ.2011 ต่อมาในปี ค.ศ.2013 ในการประชุม Indonesian-Russian Commission on Military Technical Co-Operation นำ�ไปสูก่ ารขยายความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ รวมทั้งการสนับสนุนงบประมาณช่วยเหลือ ความร่วมมือในการผลิตปืนใหญ่และอาวุธทหารราบ ข้อตกลงและบันทึกความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ หนึง่ ในนัน้ รวมถึง ข้อตกลงระหว่าง PT Dirgantara และ Korea Aerospace Industries ในโครงการพัฒนา อากาศยานต้นแบบ Korean Fighter Xperiment / Indonesia Fighter Xperiment
สหราชอาณาจักร ลงนามบันทึกความเข้าใจ ในปี ค.ศ.2012 ระหว่าง รมว.กห. ของสองประเทศ สหรัฐอเมริกา ในปี 2013 มีความร่วมมือในการพัฒนาขีดความสามารถด้าน CBRNE แอฟริกาใต้
บริษัท PT Pindad ของอินโดนีเซีย และบริษัท Rheinmetall Denel Munition (RDM) ของแอฟริกาใต้ลงนาม MoU ร่วมกันในการผลิตกระสุนสำ�หรับกองทัพอินโดนีเซีย และเน้น การส่งออกไปยังลูกค้าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความร่วมมือระหว่างอินโดนีเซียและจีน
ความร่วมมือระหว่างอินโดนีเซียและรัสเซีย ด้านอากาศยาน
(ฉบับหน้าจะกล่าวถึงขีดความสามารถของภาคอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของมาเลเซีย)
(ต่อจากฉบับที่แล้ว)
บทที่ ๑ กล่าวนำ�
มีข้อสรุปในผลงานวิจัยของ RAND ฉบับทีท่ ำ� การศึกษาเกี่ยวกับแนวโน้มกำ�ลังทางอากาศว่า มีเพียง ๒ – ๓ ชาติเท่านั้นที่มีศักยภาพของกำ�ลังทางอากาศที่ สามารถต่อกรกับ ทอ.สหรัฐอเมริกา ได้ ถ้าข้อสรุปนี้ เป็นจริงก็หมายความว่า ตอนนี้ข้าศึกกำ�ลังค้นหาวิธีอื่น ๆ (นอกจากที่จะนำ�เครื่องบินวิ่งขึ้นไปสู้กัน) ที่จะต่อกร กับกำ�ลังทางอากาศของอเมริกา งานวิจัยของ RAND ที่ทำ�ให้ ทอ.สหรัฐอเมริกาฉบับที่ท่านกำ�ลังอ่านอยู่นี้ ก็มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาคำ�ตอบของคำ�ถามที่ว่า “หนทางใดบ้างที่ข้าศึกจะโจมตีต่อกำ�ลังทางอากาศของ ทอ.สหรัฐอเมริกา” การศึกษาประวัติศาสตร์การโจมตีฐานบินทางภาคพื้น ที่จะได้กล่าวถึงในบทต่อ ๆ ไปนี้ ก็เป็นส่วนหนึ่ง ของความพยายามที่จะตอบคำ�ถามข้างต้น หากท่านอ่านเอกสารชิ้นนี้จบลงแล้ว จะเห็นชัดว่าการโจมตีฐานบิน จะเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ ก็เพราะว่าผลสำ�เร็จของการโจมตีนั้นน่าชื่นใจจริง ๆ เพียงแค่เทคนิคง่าย ๆ ทั้งของ การโจมตีและการป้องกันฐานบิน ก็สามารถเปลี่ยนโฉมหน้าของสงครามได้ กระทั่งปัจจุบันเทคนิคดังกล่าวก็ยัง คงสามารถใช้การได้ดี ที่น่าสนใจก็คือเทคโนโลยีทางข้อมูลข่าวสาร อุปกรณ์ตรวจจับ และอาวุธนำ�วิถี ได้สร้าง
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๙๓
โอกาสให้กับทั้งฝ่ายป้องกัน และฝ่ายโจมตี ประเด็นจึงอยู่ที่ว่าใครกันหนอที่จะใช้ประโยชน์โอกาสนั้นได้อย่าง มีประสิทธิภาพมากกว่ากัน รายงานชิ้นนี้จะนำ�เสนอให้ผู้อ่านเห็นถึงภาพรวมของการโจมตีฐานบินทางภาคพื้นในอดีต ตั้งแต่ปี ค.ศ.๑๙๔๐ จนถึงปี ค.ศ.๑๙๙๒ วัตถุประสงค์ ยุทธวิธี และผลลัพธ์ ของการโจมตีเหล่านั้นจะถูกวิเคราะห์ เพื่อ ที่จะคั้นเอาบทเรียนการรบที่ได้ มาประยุกต์ใช้ในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รายงานนี้จะบอกท่านว่าเทคนิค การโจมตีแบบใดบ้างทีพ่ สิ จู น์แล้วว่าป้องกันยาก พร้อมเสนอแนะหนทางทีจ่ ะปรับปรุงการป้องกันฐานบิน ให้พร้อม รับมือกับการโจมตีเหล่านั้น ปูพื้นฐาน ในปี ค.ศ.๑๙๒๑ นายพลอิตาเลียนนาม “ดูเอ้” กล่าวว่า “มันเป็นการง่าย และได้ผลดี ที่จะทำ�ลายนกเหล็กของข้าศึก โดยการปีนขึน้ ไปทุบ รัง และไข่ ของมันซะ ดีกว่าทีจ่ ะแหงนคอ ล่านกเหล็กเหล่านัน้ ตอนทีพ่ วกมันล่องลอยอยูใ่ นอากาศ” (“It is easier and more effective to destroy the enemy’s aerial power by destroying his nests and eggs on the ground than to hunt his flying birds in the air”) คำ�อุปมานี้ชี้ให้ทหารอากาศเห็น ๒ เรื่อง เรื่องแรก “กำ�ลังทางอากาศเป็นเครื่องมือการรุกที่ทรงพลัง ที่สุด” เรื่องที่สอง “ยอมรับซะเถิดว่าเครื่องบินง่ายต่อการทุบจริง ๆ เมื่อมันอยู่บนพื้น” คุณลักษณะของ กำ�ลังทางอากาศ ที่มีความเร็ว / คล่อง / อ่อนตัว...แต่เสียดายที่คุณลักษณะที่ว่านั่นไม่มีอยู่เลยสักนิด ในเครื่องบิน ทุกลำ�ที่ จอดอยู่ !!! ในห้วงสงครามโลกครั้งที่สอง การโจมตีสนามบินเป็นเรื่องยอดฮิต และแถมสำ�เร็จบ่อยซะด้วย ตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๖๗ เป็นต้นมา เงินหลายพันล้านเหรียญสหรัฐ ถูกใช้ในโครงการก่อสร้างโรงเก็บ บ. การป้องกันภัย ทางอากาศ และหลายต่อหลายโครงการที่จะสร้างความปลอดภัยให้กับฐานบิน สิ่งที่ ดูเอ้คิด มีพวกเอาไปประยุกต์ใช้อย่างน้อย ๖๔๕ ครั้ง ใน ๑๐ สมรภูมิ ตั้งแต่ ค.ศ.๑๙๔๐ ถึง ค.ศ.๑๙๙๒ ทำ�ลายหรือสร้างความเสียหายให้กับเครื่องบินมากกว่า ๒,๐๐๐ ลำ� กองกำ�ลังที่เข้าโจมตีฐานบิน ทางภาคพื้นมีทั้ง หน่วยพลร่ม การส่งลงด้วยอากาศยาน หน่วยทหารราบ นาวิกโยธิน และหน่วยยานเกราะ มาในระยะหลัง ๆ การส่งลงด้วยเฮลิคอปเตอร์ ก็เป็นที่นิยม จนมาถึงการแทรกซึมของหน่วยรบพิเศษ กองโจร และพวกก่อการร้าย
รูปแสดงตำ�แหน่งของการโจมตีฐานบินทางภาคพื้น ในห้วง ค.ศ.๑๙๔๐ - ๑๙๙๒
จากรูปจะเห็นได้ว่าการโจมตีในอดีตได้เคยเกิดขึ้นกระจายทั่วทุกพื้นที่ในโลก การโจมตีฐานบินเหล่านั้น ส่งผลอะไรต่อสงครามบ้างหรือไม่ ? อย่างน้อยผลของการโจมตีฐานบิน ก็ทำ�ให้สูญเสียเครื่องบิน อุปกรณ์ต่าง ๆ และชีวิตของกำ�ลังพล นอกจากนี้ ยังทำ�ให้ฝ่ายป้องกัน ต้องหาทรัพยากรทั้งคน ของ และเงิน มาเพื่อป้องกัน ฐานบินของตน ตัวอย่างเช่น – หน่วยรบพิเศษอังกฤษ โจมตีสนามบิน ของฝ่ายอักษะในแอฟริกาเหนือ ผลก็คือ ด้วยจำ�นวนเครื่องบินที่ ถูกทำ�ลาย ทำ�ให้ก�ำ ลังทางอากาศเปรียบเทียบระหว่างอังกฤษ -เยอรมัน เปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยยะ ไม่น่าเชื่อว่ามันจะเป็นผลที่เกิดจากการ โจมตีสนามบินเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น อีกตัวอย่าง – การสูญเสียสนามบินให้กบั ฝ่ายทีเ่ ข้าโจมตี ทำ�ให้ กองทัพอากาศฝ่ายนั้นเข้าใช้เป็นสนามบินหน้า เพือ่ ต่อรัศมีทำ�การรบ ให้กบั อากาศยานฝ่ายตน ทำ�ให้ในสมรภูมแิ ปซิฟกิ ภารกิจสำ�คัญยิง่ ของ ทัง้ ญีป่ นุ่ และอเมริกนั ก็คอื “จะไปยึดสนามบินของอีกฝ่ายหนึง่ ได้อย่างไร และจะป้องกันรักษาสนามบินฝ่ายเราให้รอดปลอดภัยได้อย่างไร”
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๙๕
การทีก่ �ำ ลังภาคพืน้ ของญีป่ นุ่ สามารถยึดสนามบินทีส่ �ำ คัญ ๆ ได้ ก็ท�ำ ให้ญปี่ นุ่ มีชยั เหนืออังกฤษในมาลายา แผนการยุทธของอเมริกันในการยกพลขึ้นเกาะต่าง ๆ ตลอดห้วงของสงครามโลกครั้งที่ ๒ ล้วนมีวัตถุประสงค์ ในการเข้ายึดสนามบินทั้งสิ้น โดยเฉพาะฐานบินเมือง Tinian Okinawa และเมือง Ie Shima ถูกฝ่ายอเมริกัน ยึดเพื่อใช้เป็นสนามบินหน้า ในการส่งกำ�ลังทางอากาศเข้าโจมตีใจกลางประเทศญี่ปุ่น , ในขณะที่ญี่ปุ่นเอง ก็ตัดสินใจ โจมตี Midway ก็เพราะต้องการที่จะเข้ายึดสนามบิน ความล้มเหลว และการสูญเสียของญี่ปุ่นที่ Midway นั้น เป็นสาเหตุที่สำ�คัญ ในการที่ทำ�ให้เกิดจุดเปลี่ยนของสงครามเลยทีเดียว ความตั้งใจ น่าแปลกใจทีป่ ระวัตศิ าสตร์ในการโจมตีฐานบินในสมรภูมติ า่ ง ๆ ในอดีต ไม่เคยได้รบั การตีพมิ พ์มาก่อนเลย รายงานชิ้นนี้จะเติมเต็มโดยการรวบรวมและวิเคราะห์การโจมตีฐานบินในห้วง ๕๐ ปี ที่ผ่านมา วัตถุประสงค์ ยุทธวิธี และผลลัพธ์ ทั้งของการโจมตีแบบยิงจากภายนอก และการแทรกซึมเข้าฐานบิน จะถูกวิเคราะห์เพื่อที่จะ ชี้ให้เห็นว่ายุทธวิธีใดมีประสิทธิภาพมากที่สุด และมาตรการใดบ้างของฝ่ายป้องกันที่ประสบความสำ�เร็จ ก็เพื่อ ที่จะประยุกต์เป็นบทเรียนการรบ สำ�หรับนำ�ไปใช้ในสงครามครั้งหน้า รายงานนี้จะตอบโจทย์ต่าง ๆ ข้างล่างนี้ • กองกำ�ลังฝ่ายโจมตีแทรกซึมเข้ามายังพื้นที่ส่วนหลังของ ฝ่ายป้องกันได้อย่างไร ? • อาวุธแบบใด และยุทธวิธีใด ที่ฝ่ายโจมตีใช้ได้ผลที่สุด • มาตรการใดของฝ่ายป้องกัน ที่ได้ผลดี • มาตรการใดบ้างทีน่ า่ จะเป็นวิธที ดี่ ี แต่กลับมิได้ถกู นำ�มาใช้ • การโจมตีฐานบินทางภาคพืน้ ส่งผลอะไรบ้างต่อสงคราม ในระดับยุทธศาสตร์ ท่านจะพบอะไรในบทต่อ ๆ ไป ในบทที่ ๒ ท่านจะพบกับ ๔ วัตถุประสงค์หลักของ นักจู่โจม ฐานบิน พร้อมทั้งฉายภาพการโจมตีฐานบินในอดีต ในแต่ละวัตถุประสงค์ด้วย ดูกันให้ดีก็จะพบว่าขนาดกำ�ลังของ ผู้โจมตีจะแปรตามวัตถุประสงค์ของการโจมตี เมื่อเป็นอย่างนี้แล้ว บทที่ ๒ นี้ ก็จะช่วยให้ฝ่ายป้องกันมองเห็น แนวความคิดที่เชื่อมโยงระหว่างภัยคุกคาม การจัดหน่วยป้องกัน ยุทธวิธี และอาวุธ ยกตัวอย่างเช่น ในการ รุกระดับยุทธบริเวณซึ่งต้องใช้กำ�ลังขนาดใหญ่ ที่จะเข้าตีเพื่อยึดฐานบินของอีกฝ่ายนั้น หน่วยอากาศโยธินที่ประจำ�อยู่ ณ ฐานบินนั้น ไม่สามารถจะต้านทานการรุกดังกล่าวได้เพียงลำ�พัง พูดให้ชัดก็คือ ถ้าจะต้องป้องกันการรุกใน ระดับที่พูดถึง คนที่ต้องรับผิดชอบในการเตรียมรับการรุกนั้น ไม่ใช่ ผบ.ฐานบิน แต่คือ ผบ.ยุทธบริเวณ ดังนั้น
๙๖ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
จริง ๆ แล้ว สิ่งที่ท้าทายอากาศโยธินก็คือ จะต่อกรกับกำ�ลังขนาดเล็ก ที่จ้องจะทำ�ลายเครื่องบินในฐานบินของเรา ได้อย่างไร ? บทที่ ๓ ถึงบทที่ ๕ จะนำ�เสนอกรณีศึกษาการโจมตีฐานบิน ใน ครีต แอฟริกาเหนือ และเวียดนาม เพื่อ แสดงให้เห็นถึงภัยคุกคามในอดีตทีไ่ กล ๆ ไล่เรียงมาจนถึงอดีตทีเ่ พิง่ ผ่านมาไม่นานนัก เผยให้เห็นถึงเทคนิคในการ แทรกซึม ยุทธวิธีการโจมตี และอาวุธที่ใช้ (น่าเชื่อเหลือเกินว่าเทคนิคดังกล่าวยังคงเป็นที่นิยมในปัจจุบัน) ในกรณีที่ ครีต เมื่อพลร่มเยอรมัน โจมตีและเข้ายึดฐานบินของอังกฤษ ผลลัพธ์หลังจากนั้นก็คือ อังกฤษ คิดได้ก่อนใครเพื่อนว่า “ เอ...สงสัยว่าเราจะต้องมีกองกำ�ลังที่มีหน้าที่ป้องกันฐานบิน เป็นการเฉพาะเสียแล้ว กระมัง” ...กรมทหารอากาศโยธิน กรมแรกในโลก จึงถือกำ�เนิดขึ้นตั้งแต่บัดนั้น ทีแ่ อฟริกาเหนือ หน่วยรบพิเศษอังกฤษ ประสบความสำ�เร็จอย่างงดงาม ในการโจมตีฐานบินของฝ่ายอักษะ และแน่นอน...เราจะได้เรียนรู้เทคนิคที่ พวกเขาใช้ ที่เวียดนาม ครองแชมป์การโจมตีฐานบิน ด้วยสถิติ ๔๗๕ ครั้ง พิสูจน์ ให้เห็นว่า ความคิดสร้างสรรค์ บวก ความสามารถในการประยุกต์บวกความทรหด ทำ�ให้ประเทศในโลกที่สาม ที่มีเพียงอาวุธธรรมดา สามารถขย่มฐานบินของ มหาอำ�นาจจนสะเทือนเลื่อนลั่น นอกจากนี้การศึกษาการโจมตีฐานบินของ ทอ.สหรัฐอเมริกา (ที่มีที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย) จำ�นวน ๕ เหตุการณ์ ก็จะทำ�ให้ เราทราบถึงปัญหาของการป้องกันฐานบินบางประการด้วย สุดท้ายในบทที่ ๖ ก็จะได้สรุปบทเรียนการรบ และบทสรุปสำ�หรับการป้องกันฐานบินในอนาคต
(อ่านต่อฉบับหน้า)
ข่าวทหารอากาศ ๙๗
เมษายน ๒๕๕๘
เฉลย ปริศนาอักษรไขว้ มีรางวัล
ประจำ�เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
รายชื่อผู้โชคดี จากการจับฉลาก จำ�นวน ๓ ท่าน ดังนี้ - น.ต.หญิง สุภัทรา นามศิริ กบ.ทอ. - ร.อ.ไพบูลย์ รักษ์ศิริ ขส.ทอ. - ร.ต.สวง ไชยมงคล สพ.ทอ.
มีน
โทร. ๒ - ๑๕๑๔ โทร. ๒ - ๐๐๖๘ โทร. ๒ - ๕๐๙๒
กรุณาติดต่อรับรางวัล ๆ ละ ๓๐๐ บาท จากสำ�นักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ ห้อง ๑๐๑ ชั้น ๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ ภายใน พ.ค.๕๘ โทร.๒ - ๔๒๔๑
รอบรู้...อาเซียน
ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยประชาคมอาเซียน Cambodia Do’s and Don’ts
@Zilch
http://www.tourismcambodia.org/travel_info/do_dont
It is customary to remove your shoes when entering a place of worship such as a pagoda or temple. Additionally, visitors should dress appropriately when inside a religious site (upper arms and legs should be covered, hats removed).
เป็นธรรมเนียมที่คุณต้องถอดรองเท้า เมื่อ เข้าสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เช่น เจดีย์ หรือ วัด นอกจากนี้ ผู้เยี่ยมชมควรแต่งกายอย่างเหมาะสมเมื่ออยู่ภายใน ศาสนสถาน (ควรสวมเสือ้ ผ้าทีค่ ลุมต้นแขนและขา และ ถอดหมวก)
A respectful way of greeting another การทักทายที่ให้เกียรติผู้อื่นคือการก้มศีรษะ individual is to bow the head slightly with เล็กน้อย และประนมมือระหว่างอก (เรียกว่า ซัมเพห์) hands pressed together at the chest (known as “Sampeah”). If invited to attend a Cambodian wedding, หากได้รับเชิญให้เข้าร่วมงานแต่งงาน ตาม it is customary to bring cash as a wedding gift. ธรรมเนียมของชาวกัมพูชา คุณควรมอบเงินสด ให้เป็นของขวัญแต่งงาน Keep business cards ready, and present จัดเตรียมนามบัตรให้พร้อม และใช้ทั้งสองมือ them with both hands. Accept business cards with ส่งและรับนามบัตร both hands. Don't touch a Cambodian person on the head.
อย่าสัมผัสกับศีรษะของชาวกัมพูชา
Women should never touch male monks ผู้หญิงไม่สามารถสัมผัส หรือส่งสิ่งของให้แก่ or hand something directly to them. พระสงฆ์ได้โดยตรง
ข่าวทหารอากาศ ๙๙
เมษายน ๒๕๕๘
ฟักทอง
นานา...น่ารู้
ผักเป็นยามากคุณค่าวิตามิน
“ฟักทอง” มีชอื่ วิทยาศาสตร์วา่ Cucurbita moschata Decne. อยูใ่ นวงศ์ CUCURBITACAEA และมีชื่ออื่น ๆ เช่น มะฟักแก้ว มะน้ำ�แก้ว น้ำ�เต้า บางแค หมักอื้อ หมากฟักเหลือง เป็นต้น ฟักทองเป็น ไม้ล้มลุกที่มลี ำ�ต้นเป็นเถา อาศัยเลื้อยไปตามพื้นดิน หรือหลักยึดต่าง ๆ ตามลำ�เถาจะมีมือเอาไว้เกาะ เถามีขนาดยาวใหญ่ และมีขนสาก ๆ ปกคลุมอยู่ มีสีเขียว ใบจะออกใบเดี่ยวตามลำ�เถาเป็นแผ่นใหญ่สีเขียว แยกออกเป็น ๕ หยัก และมีขนสาก ๆ ปกคลุมอยู่ทั่วทั้งใบ ส่วนดอกจะออกดอกเดี่ยวตามง่ามใบ ลักษณะ ของดอกเป็นรูปกระดิ่งหรือระฆังสีเหลือง ผลมีขนาดใหญ่ ลักษณะเป็นพูกลม ส่วนใหญ่เป็นทรงแบน และมีทรงสูง อยู่บ้าง เปลือกของผลจะแข็งผิวลักษณะขรุขระ มีทั้งสีเขียวและสีน้ำ�ตาลแดงตามแต่สายพันธุ์ เนื้อในมีสีเหลือง และมีเมล็ดสีขาว เนื้อของฟักทอง อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุมากมายที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย อาทิ มีวิตามินเอสูง มีฟอสฟอรัส แคลเซียม วิตามินซี แป้ง เบต้าแคโรทีน ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ สามารถช่วยลดการเกิดมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหัวใจได้ อีกทัง้ ช่วยต้านความชรา ป้องกันโรคผิวหนัง บรรเทาอาการปวดเมือ่ ยของ ข้อเข่า และบั้นเอวได้ เปลือกของฟักทอง สามารถกระตุ้นการหลั่งอินซูลินในร่างกาย ซึ่งช่วยควบคุมระดับน้ำ�ตาลในเลือด ป้องกันการเกิดเบาหวาน ความดันโลหิต บำ�รุงตับ บำ�รุงไต บำ�รุงดวงตา และสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่ตายไป ให้สามารถทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใบอ่อน มีวิตามินเอสูงเท่ากับเนื้อฟักทอง แต่มีแคลเซียมและฟอสฟอรัสสูงกว่าในเนื้อ ดอก มีวิตามินเอ แคลเซียม ฟอสฟอรัส และมีวิตามินซีเล็กน้อย เมล็ด ประกอบด้วยแป้ง ฟอสฟอรัส โปรตีน และวิตามิน รวมทั้งสารที่ชื่อว่า “คิวเคอร์บิติน” ซึ่งมีฤทธิ์ ในการฆ่าพยาธิตัวตืดได้ดี และยังช่วยขับปัสสาวะ ป้องกันการเกิดนิ่ว มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ นอกจากนี้น้ำ�มัน จากเมล็ดฟักทองยังช่วยบำ�รุงประสาทได้ดี และยังมีกรดอะมิโนบางชนิดที่ช่วยป้องกันไม่ให้ต่อมลูกหมากของ ผู้ชายขยายใหญ่ขึ้น และช่วยปรับระดับฮอร์โมนเพศชายที่ได้จากลูกอัณฑะให้อยู่ในระดับปกติ ราก สามารถนำ�มาต้มน้ำ�ดื่มแก้อาการไอได้ ช่วยบำ�รุงร่างกาย และช่วยถอนพิษของฝิ่นได้ เยื่อกลางผล สามารถนำ�มาพอกแผล แก้อาการฟกช้ำ� อาการปวด อักเสบได้ คุณค่ามากอย่างนี้ อย่าลืมหา “ฟักทอง” มาทานกัน ขอขอบคุณ นิตยสารสุขภาพ Hospital & Healthcare
๑๐๐ ข่าวทหารอากาศ
มุมสุขภาพ
เมษายน ๒๕๕๘
ระวัง ! การใช้ยาในผู้สูงอายุ
นายห่วงใย
เป็นที่ทราบกันดีว่า ยาเป็นเครื่องมือสำ�คัญในการรักษาโรคทางอายุรศาสตร์ แต่พบว่าปัญหาการใช้ยา ยังพบได้บ่อยในชีวิตประจำ�วันของผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ฉบับวันนี้จะขอเน้นหนักเกี่ยวกับปัญหาการใช้ยา ในผู้สูงอายุ วัยสูงอายุเป็นวัยของการเสือ่ ม ดังนัน้ ผูส้ งู อายุสว่ นมากจะประสบปัญหาเกีย่ วกับความเจ็บป่วย มากบ้าง น้อยบ้าง ตามปัจจัยของกรรมพันธุ์ สิง่ แวดล้อม และพฤติกรรมด้านสุขภาพ ซึ่งเริ่มมาจากวัยหนุม่ สาว ปัญหาทาง สุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ จึงเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความเสื่อมของอวัยวะในระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคกระดูกเสือ่ ม ระบบปัสสาวะผิดปกติ โรคตา โรคระบบการได้ยินและเวียนศีรษะ และโรคมะเร็ง ฯลฯ ผู้ป่วยที่สูงอายุจึงต้องได้รับยาหลายขนานจาก แพทย์หลายสาขา จนบางรายอาจต้องรับประทานยามากกว่า ๑๐ ชนิดในแต่ละวัน ดังนัน้ จึงมีโอกาสจะพบปัญหา หลากหลายที่เกี่ยวข้องกับยา ไม่ว่าการกินยาผิดเวลา กินยาผิดจำ�นวน ลืมกินยาบางชนิด ยาที่ได้รับเกิดปฏิกิริยา ต่อกันทั้งเสริมฤทธิ์กัน ต้านฤทธิ์กัน เพิ่มผลข้างเคียงของยา รวมทั้งกินยาซ้ำ�ชนิดกันโดยไม่รู้ตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผูป้ ว่ ยทีร่ กั ษาหลายโรคจากแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญหลายท่านจากหลายโรงพยาบาลต่างกัน เนือ่ งจากแพทย์แต่ละท่าน ไม่ทราบว่าผู้ป่วยได้รับยาอะไรบ้าง แม้จะสอบถามจากผู้ป่วย แต่ผู้ป่วยอาจจะตอบได้ไม่ชัดเจนเท่ากันทุกคน ความผิดพลาดที่เกิดจากการใช้ยาที่พบได้บ่อยอีกชนิด ก็คือ การกินยาผิด ซึ่งมีทั้งผิดชนิด ผิดขนาด ซึ่งสาเหตุเนื่องจากไม่อ่านฉลากยา ซึ่งจะบอกชื่อยา และวิธีการกินยาไว้ ผู้ป่วยบางคนอาจอ่านไม่ออก หรือ อ่านแล้วไม่ชดั เนือ่ งจากปัญหาสายตาในผูส้ งู อายุ บางท่านไม่อา่ นฉลากยาแต่ใช้ความจำ�ซึง่ ในผูส้ งู อายุจะพบปัญหา ของความจำ�ที่ไม่สมบูรณ์ได้บ่อย การนำ�ยาออกจากซองแล้วไม่เก็บรวมไว้ในซองเดิม แต่เก็บปะปนกับยาชนิดอื่น ๆ พบในผูป้ ว่ ยหลายท่านทีแ่ กะเม็ดยาออกจากแผงยาครัง้ ละจำ�นวนมาก ซึง่ อาจเพิม่ โอกาสให้ยาชืน้ และเสือ่ มคุณภาพ ได้ง่าย การนำ�ยาออกจากแผงยาทำ�ให้แยกยาบางชนิดออกจากยาอื่นได้ยาก เนื่องจากเม็ดยามีลักษณะคล้ายกัน ถ้าเก็บไว้ในแผงยาจะทราบชื่อยาที่อยู่บนแผงยา ง่ายต่อการแยกยาต่างชนิดออกจากกันได้ง่าย และลดโอกาส ในการเพิ่มความชื้นของเม็ดยา
ข่าวทหารอากาศ ๑๐๑
เมษายน ๒๕๕๘
ผู้ป่วยที่ได้รับยาจำ�นวนครั้งละมาก ๆ โอกาสที่ยาจะเหลือสะสมจำ�นวนมากถ้าไม่จัดการรับประทานยา ตามลำ�ดับเวลาที่ได้รับยามา โอกาสยาที่เหลืออยู่อาจหมดอายุได้ การเก็บยาที่ถูกต้องก็เป็นสิ่งที่ควรคำ�นึง เช่น ยาบางชนิดจะต้องเก็บไว้ในซองทึบแสง ซึ่งมักจะบอกไว้บนฉลากยา ก็ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด หรือยาที่ ระบุให้เก็บในตูเ้ ย็น ก็ตอ้ งปฏิบตั ติ ามเช่นกัน และควรเก็บไว้ในตูเ้ ย็นช่องธรรมดา ไม่ใช่ชอ่ งทำ�น้�ำ แข็งหรือทีช่ อ่ งเก็บ ที่ด้านในของประตูตู้เย็น ทั้งนี้เพื่อรักษาคุณภาพของยาไว้ให้ออกฤทธิ์ได้คงเดิม ผู้ป่วยบางรายก็หยุดยาเองเพราะกลัวว่ากินยาจำ�นวนมากแล้วเป็นพิษต่อร่างกาย ที่พบบ่อยว่าผู้ป่วย กลัวมาก คือ พิษต่อไต ต้องไม่ลมื ว่าแพทย์จะเฝ้าระวังอยูเ่ สมอ ถ้าไตจะเสือ่ มก็มกั มีสาเหตุจากโรคทีเ่ ป็นมากกว่า จ่ายยา บางท่านกินยาแล้วมีอาการผิดปกติ ก็สงสัยว่าจะเป็นผลข้างเคียงจากยา จึงหยุดยาเองทั้ง ๆ ที่กินยา พร้อมกันหลายชนิด ถ้ากังวลในทั้งสองเรื่องนี้ควรปรึกษาแพทย์ที่ให้การรักษาก่อนจะตัดสินใจหยุดยาเอง คำ�แนะนำ�ของการใช้ยาในผู้สูงอายุ ควรนำ�ยาที่ได้รับทั้งหมดในช่วงเวลานั้นมาให้แพทย์ทุกท่านดูด้วยเมื่อแพทย์นัด ถ้าเกรงว่าจะต้อง เป็นภาระถือยาจำ�นวนมาก ให้นำ�เพียงตัวอย่างยาทุกชนิดที่ได้รับพร้อมนับจำ�นวนเม็ดยาที่เหลืออยู่มาให้แพทย์ ดูด้วยทุกครั้ง เมื่อมีข้อสงสัยเกี่ยวกับยาตัวใด จะได้มีตัวอย่างยาให้แพทย์ดูอย่างถูกต้อง การอธิบายให้แพทย์ ทราบว่าเป็นยารักษาโรคอะไร รูปร่างลักษณะยาเป็นอย่างไร ก็จะให้แน่ใจในความถูกต้องมากกว่าการที่แพทย์ เห็นเม็ดยาด้วยตาตนเองไม่ได้ อ่านฉลากยาทุกครั้งก่อนรับประทานยา ถ้าอ่านไม่ออกหรืออ่านไม่ชัดให้ญาติช่วยดูให้ หรือถ้าอยู่ คนเดียวให้บอกเภสัชกรผู้จ่ายยาให้แนะนำ� และทำ�เครื่องหมายให้เข้าใจง่ายทุกครั้ง ก่อนรับยากลับบ้าน กรณีมีญาติช่วยดูแล ควรให้ญาติช่วยตรวจสอบจำ�นวนเม็ดยาที่เหลือ ถ้ามียาบางชนิดเหลือมากกว่า ยาตัวอื่นเป็นจำ�นวนมากผิดปกติ ให้สอบถามวิธีกินยาจากผู้ป่วยว่ากินยาถูกต้องหรือไม่ บางครั้งถ้าไม่แน่ใจ อาจต้องสังเกตด้วยว่าผู้ป่วยได้รับประทานยาจริงหรือไม่ ในบางกรณีอาจพบว่า ยาบางชนิดหมดก่อนกำ�หนด อาจเกิดจากผู้ป่วยกินยาเกินจำ�นวนที่ระบุไว้บน ฉลากยา หรือได้รับยามาไม่เพียงพอ ถ้าเป็นกรณีแรกให้ปรับวิธีกินยาให้ถูกต้อง อย่างไรก็ดี ทั้งสองกรณีผู้ป่วย ต้องไปพบแพทย์ก่อนวันนัดหมาย เพื่อไม่ให้ขาดยาไม่ควรรอจนกว่าจะถึงวันนัดของแพทย์แม้จะไม่มีอาการ ผิดปกติก็ตาม โปรดอย่าลืมว่า มียาดี แต่ใช้ไม่ถูกต้อง ก็อาจทำ�ให้อาการของโรคไม่ดีขึ้นเท่าที่ควร ขอขอบคุณ : นพ.สราวุฒิ สนธิแก้ว นิตยสารสุขภาพ Hospital & Healthcare
๑๐๒ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
เป็นคนรักษาวินัย วันหนึ่งผู้เขียนขับรถออกจากซอย ต้องการจะเลี้ยวขวาเข้าถนนพหลโยธิน เนื่องจากอายุมากแล้ว จึงต้องหาแยกที่มีไฟเขียวไฟแดงจะได้เลี้ยวข้ามถนนไปได้ แต่เนื่องจากเป็นวันที่รถติดยาวมากขณะที่รถทางตรง ไฟเขียว เหลือง และแดงนั้น รถทุกคันก็ไม่มีหยุดเลยรถจึงเต็มถนน เวลาไฟของรถออกจากซอยเป็นสีเขียวก็ไปไหน ไม่ได้ คนขับที่เป็นคันแรกก็พยายามหาช่องทางจะข้ามถนนให้ได้ ก็โผล่ไปได้ช่องทางเดียว ไฟก็แดง ถนนทางตรง ไฟเขียวแต่รถวิง่ ได้แค่สองช่องทางเพราะติดรถทีอ่ อกจากซอยเลีย้ วหนึง่ ช่องทาง พอถนนใหญ่ไฟแดงรถจากซอย ก็ออกไปได้อกี หนึง่ ช่องทาง เพราะรถทางตรงไม่หยุดตอนไฟแดง พอทางตรงไฟเขียวเหลือรถวิง่ ได้ชอ่ งทางเดียว พอครั้งที่สาม รถจากซอยจึงข้ามถนนได้ ผู้เขียนก็ขับตามเขาไปเรื่อย ๆ โดยทำ�ใจให้สงบเย็นไว้ เพราะจะไป โมโหโกรธาก็คงไม่เกิดประโยชน์ ในใจก็นึกว่าสังคมใดคนไร้ระเบียบวินัย ไม่ชอบปฏิบัติตามกฎกติกามารยาท ก็วุ่นวายติดขัด ไปไหนกันไม่ได้สักทางอย่างนี้แหละ แต่ในสังคมที่มีวินัย คนรักษากติกามารยาท กิจการงานต่าง ๆ ก็จะไหลลื่นไปตามอัตภาพ จึงอยากพูดถึงการรักษาระเบียบวินัยของสังคม ถ้าจะกล่าวถึงคำ�ว่า วินัย ทุกท่านคงเข้าใจกันดี อยู่แล้วว่าหมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ สำ�หรับ ควบคุมความประพฤติทางกายของคนในสังคมให้เรียบร้อย ดีงาม เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจะได้อยู่ร่วมกันได้อย่าง เรียบร้อย มีความสุข ไม่กระทบกระทั่งกันซึ่งมีเขียนไว้ ครบถ้วน แต่วันนี้จะกล่าวเน้นเรื่อง “ความมีวินัย” และ การ “เป็นคนรักษาระเบียบวินัย” เป็นสำ�คัญ ความมีวนิ ยั คำ� ๆ นีส้ งิ่ สำ�คัญอยูต่ รง..ความมี..ความมีไม่ได้หมายถึงการเป็นเจ้าของ เช่น มีรถ มีบา้ น แต่ ความมีในที่นี้หมายถึง การมีสำ�นึกในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ตราตรึงติดแน่นในจิตใจ คอยกระตุ้นเตือนตนเองอยู่เสมอ ที่จะทำ�สิ่งนั้น ๆ ให้ดีที่สุด ความมีวินัย เป็นสิ่งที่ฝังลึกอยู่ในจิตใจของคนที่ได้รับการฝึกฝน อบรม มาอย่างดี
เมษายน ๒๕๕๘
ข่าวทหารอากาศ ๑๐๓
ลักษณะเด่นของคนมีวินัย คือ ๑. มีความซื่อสัตย์ สุจริต ไม่หลอกตัวเอง ๒. มีความรับผิดชอบ ตั้งใจทำ�และติดตามผลให้ได้ตามที่ตั้งใจไว้ ๓. เคารพในสิทธิ และความสามารถของผู้อื่น ๔. เคารพ และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม ๕. เป็นผู้มุ่งมั่นในการสร้างสิ่งดีๆเพื่ออนาคต ๖. มีความเป็นผู้นำ� ๗. รู้จักกาลเทศะ และรักษาเวลา ๘. มีความเชื่อมั่นในตนเอง ๙. มีความอดทน ๑๐. มีความเสียสละ และเห็นใจผู้อื่น ตัวอย่างของการมีวินัย หากใครสักคนตั้งใจจะเล่นเปียโนให้เก่ง เขาคงต้องไปสมัครเรียนที่ รร.ดนตรี เขาต้องไปเรียนตามกำ�หนดที่ครูนัดหมาย ฝึกซ้อมตามตารางที่ครูกำ�หนด เข้าทดสอบตามเวลา ร่วมการแสดง ตามที่ รร.กำ�หนด เขาควรทำ�ในสิ่งเหล่านี้ติดต่อกันอย่างต่อเนื่อง อดทน ไม่น้อยกว่า ๕ ปี เขาจะมีโอกาสเป็น นักเปียโนที่เก่ง คือต้องทำ�ทั้งสิบข้อตามที่กล่าวมาซึ่งพูดง่ายแต่ทำ�ยากมาก เพราะเขาต้องมีและรักษาวินัยใน การเรียนเปียโนอย่างเคร่งครัดมากเป็นเวลานาน ๆ แม้ในระหว่างนั้นจะเบื่อบ้าง เซ็งบ้าง ก็ต้องอดทน การรักษาวินัย จึงเป็นเรื่องสำ�คัญอีกเรื่องหนึ่งหรืออาจสำ�คัญกว่าการมีวินัยก็ว่าได้ การรักษาวินยั หรือการรักษาระเบียบวินยั คือ การพยายาม ปฏิบตั ติ นตาม กฎ ระเบียบ ของสังคมอย่างเคร่งครัดจนสุดความ สามารถ ไม่ยอมฝ่าฝืนไม่ว่ากรณีใด ๆ หรือนานเท่าใด ลักษณะของผู้ที่รักษาวินัยในตนเองได้ดี ๑. ต้องเข้าใจในระเบียบวินัยนั้น ๆ อย่างชัดเจน เช่น เรื่องของไฟเขียว ไฟแดง ไฟเหลือง ต้องรู้ว่าเขามีไว้ให้ทำ�อะไร ๒. ต้องรู้ถึงผลดี ผลเสีย ของการไม่รักษาระเบียบวินัย ว่าจะเกิดอะไรขึ้น หากมีการละเมิดระเบียบวินัย เช่น หากเรา ไม่หยุดรถเมือ่ ไฟแดงขึน้ ถือโอกาสขับตามรถคันหน้าไป อีกด้านหนึง่ ที่ได้ไฟเขียวก็ไปไม่ได้ สี่แยกก็จะเกิดจราจรติดขัดไปหมด ทั้ง ๆ ที่มีไฟเขียวไฟแดง ๓. ต้องเข้าใจและยอมรับในบทลงโทษของการฝ่าฝืนระเบียบวินัย รวมทั้งต้องปฏิบัติหน้าที่นี้อย่าง เคร่งครัดในกรณีที่เป็นเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลรักษาระเบียบวินัย ๔. ต้องปลูกฝังความมีวินัยไว้ในใจตนเองให้ได้ ไม่เป็นคนมักง่ายเอาแต่ใจตนเอง ๕. เป็นคนมีความภาคภูมิใจที่ได้รักษา กฎ กติกา หรือระเบียบของสังคมอย่างเคร่งครัด ไม่หวั่นไหว กับสายตาหรือคำ�กล่าวหาต่าง ๆ จากรอบด้าน
๑๐๔ ข่าวทหารอากาศ
เมษายน ๒๕๕๘
ผู้เขียนยกตัวอย่างจากเรื่องการจราจรเพราะมีไฟสีต่าง ๆ เข้าใจได้ง่าย ในชีวิตจริงของเรา สังคมของเรา มีกฎ กติกา ระเบียบแบบแผนต่าง ๆ มากมาย หากผู้คนในสังคมไม่พยายามรักษาวินัย ความโกลาหลวุ่นวาย ก็คงจะเกิดขึ้นเหมือนที่เราได้พบเห็นอยู่บ่อย ๆ สังคมใดผูค้ นรูจ้ กั รักษาระเบียบวินยั จะเป็นสังคม ที่มีระเบียบแบบแผนที่ดี สภาพแวดล้อมได้รับการดูแล รักษา กิจวัตรประจำ�วันของผู้คนไหลลื่นเป็นระบบ ผู้คน จะมีความเครียดน้อย จึงเป็นสังคมทีส่ งบเย็น น่าอยูน่ า่ อาศัย ท่านผูอ้ า่ นหลายคนอาจเคยได้สมั ผัสกับสังคมเหล่านัน้ มาบ้าง ถ้าอยากได้ก็ต้องช่วยกันทำ�และแนะนำ�ให้ผู้คนในสังคม ของเราเป็นคนรักษาวินัยด้วย
เฉลยปริศนาอักษรไขว้ ประจำ�เดือน เม.ย.๕๘
มีน
พล.อ.อ.วรพงษ สงาเนตร ผบ.ทสส. และ พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจง ผบ.ทอ.รวมทำการบินกับเครื่องบินขับไลแบบที่ ๒๐ ก (Gripen 39 D) ไปยัง บน.๗ จว.สุราษฎรธานี เพื่อเปนประธานในพิธีเปดศูนยพัฒนากีฬา กองบิน ๗ พรอมเยี่ยมชมการสาธิตเครื่องชวยฝกของระบบ Gripen โดยมี น.อ.สฤษฏ วุทธีรพล ผบ.บน.๗ ใหการตอนรับ ณ ลานจอดอากาศยานทหาร บน.๗ เมื่อ ๒๗ ก.พ.๕๘
พล.ร.อ.วรพงษ สงาเนตร ผบ.ทสส. เปนประธานในการประชุม ผบ.เหลาทัพ ครั้งที่ ๓/๒๕๕๘ โดยมี พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจง ผบ.ทอ. พรอมดวย ผบ.เหลาทัพ
และ ผบ.ตร. เขารวมประชุม ณ อาคาร บก.ทร. เมื่อ ๒ มี.ค.๕๘
พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจง ผบ.ทอ. และ น.อ.หญิง อุดมลักษณ สนแจง
นายกสมาคมแมบาน ทอ. พรอมดวย น.ผูใหญ ขาราชการ และครอบครัว รวมพิธี เวียนเทียน เนื่องในวันมาฆบูชา ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร เมื่อ ๔ มี.ค.๕๘
พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจง ผบ.ทอ. ตอนรับ พล.อ.อ.อากูซ ซูปรีอัทนา เสธ.ทอ.
อินโดนีเซีย (เทียบเทา ผบ.ทอ.) และคณะ เยือน ทอ. อยางเปนทางการ ณ หองรับรองพิเศษ ๑ เมื่อ ๒๓ ก.พ.๕๘
พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจง ผบ.ทอ. เปนประธานในพิธีขอขมาของ นนอ.ชั้นปที่ ๒ และ ๓ จำนวน ๖๓ คน ที่จะเขาพิธีบรรพชาอุปสมบทหมูภาคฤดูรอน ประจำป ๕๘ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร โดยมี พล.อ.ท.วิเชียร ธรรมาธร ผบ.รร.นนก. กลาว รายงาน เพื่อถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาส ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๗ พรรษา ณ หองรับรอง ทอ. เมื่อ ๑๓ ก.พ.๕๘
พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจง ผบ.ทอ. เปนประธานในพิธีประดับเครื่องหมาย ความสามารถในการบินพลเรือน ทอ. และมอบประกาศนียบัตร ของหนวย ฝกการบินพลเรือน ทอ. แกสมาชิกหนวยฝกการบินพลเรือน ทอ. รุนที่ ๖๘ และสมาชิกหนวยฝกการบินพลเรือน ทอ.ที่สำเร็จหลักสูตรตอเนื่อง ณ หองรับรอง ทอ. เมื่อ ๑๘ ก.พ.๕๘
พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจง ผบ.ทอ. และคณะ ตรวจเยี่ยม สพ.ทอ. โดยมี พล.อ.ท.ประคอง จันทรศรี จก.สพ.ทอ. ใหการตอนรับ เมื่อ ๑๖ ก.พ.๕๘
พล.อ.อ.ศิวเกียรติ์ ชเยมะ ผช.ผบ.ทอ. ประธานกรรมการพัฒนาระบบราชการ ทอ. (ก.พ.ร.ทอ.) ตอนรับ คุณทองกร บุญอำนาจเดช ผูแทนคณะกรรมการพัฒนา พล.อ.อ.สุทธิพันธ กฤษณคุปต ผช.ผบ.ทอ. ชมการบินทดสอบภาคอากาศระบบ อากาศยานไรคนขับ โดยมี น.อ.กฤษดา เมืองนารถ ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ (วัฒนานคร)
ใหการตอนรับ ณ ฝูงบิน ๒๐๖ฯ เมื่อ ๓ มี.ค.๕๘
ระบบราชการ และผูแทนคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำ กห.และผูแทนสถาบันสงเสริมการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดยมี พล.อ.ต.ชวดล สันตยานนท ผอ.สพร.ทอ. รวมใหการตอนรับ ณ หองรับรอง ผบช. เมื่อ ๑๓ ก.พ.๕๘
พล.อ.ท.ชาญฤทธิ์ พลิกานนท ผบ.อย. เปนประธานในพิธีสวดมนตนั่งสมาธิ เพื่อถวายเปนพระราชกุศล แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ณ บก.อย. เมื่อ ๑๒ ก.พ.๕๘
พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ จก.ยศ.ทอ./ประธาน คณอก.ประกันคุณภาพ การศึกษาของ ทอ. เปนประธานในการประชุม คณอก.ฯ และสายวิทยาการ ของ นขต.ทอ. ครั้งที่ ๑/๕๘ ณ หองประชุม ยศ.ทอ. (อาคารหอสมุด ทอ.ชั้น ๓) เมื่อ ๒๓ ม.ค.๕๘
พล.อ.ท.พลานันท ปะจายะกฤตย จก.ชอ. เปนประธานในพิธีเปดการอบรม
การใชงานระบบสารสนเทศดานการสงกำลังบำรุงอากาศยาน ทอ. (Logistics Management Information System : LMIS) ณ หองประชุมเวชยันตรังสฤษฏ ชอ. เมื่อ ๒๓ ก.พ.๕๘
พล.อ.ท.อำพล อิ่มบัว จก.กบ.ทอ. หัวหนาคณะฝายไทยเขารวมประชุม ทบทวนโครงการชวยเหลือเพื่อความมั่นคง (Security Assistance Management Review : SAMR) ประจำป ๒๕๕๘ ระหวางผูแทน ทอ. กับ ผูแทน ทอ. สหรัฐอเมริกา ณ โรงแรมรีเจนทชะอำบีชรีสอรท จว.เพชรบุรี ระหวาง ๑๖ - ๒๐ ก.พ.๕๘
พล.อ.ท.สุรศักดิ์ มีมณี ผอ.ศวอ.ทอ. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทาง การจัดการความรูเพื่อเสริมสรางให ศวอ.ทอ. เปนองคการแหงการเรียนรู โดยมี พล.อ.ต.หญิง สุพิศ ประสพศิลป และ น.ท.หญิง สุวิมล สมัตถะ เปนผู บรรยาย ณ หองประชุม ศวอ.ทอ. เมื่อ ๑๑ ก.พ.๕๘
พล.อ.ท.วิเชียร ธรรมาธร ผบ.รร.นนก. และคณะ ตรวจเยี่ยมการโดดรมทาง ยุทธวิธีของ นนอ.ชั้นปที่ ๒ โดยมี พล.อ.ต.จิรวัฒน มูลศาสตร เสธ.อย. และ คณะครูฝก รับผิดชอบการฝก ในการนี้ น.อ.วสันต บัณฑิตศักดิ์สกุล รอง ผบ. บน.๒ และคณะทำงานใหการตอนรับและอำนวยความสะดวกตลอดการฝก ณ บน.๒ จว.ลพบุรี เมื่อ ๕ มี.ค.๕๘
พล.อ.ต.ศิริพงษ สุภาพร ลก.ทอ. พรอมดวยขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และทหารกองประจำการ จัดกิจกรรมทำบุญถวายสังฆทานแดพระภิกษุสงฆ และ เลี้ยงอาหารกลางวันแกนักเรียน เนื่องในวันคลายวันสถาปนา สลก.ทอ.ครบ ๖๐ ป ณ วัดทุงศรีโพธิ์ และ ร.ร.วัดศรีโพธิ์ อ.บางปะอิน จว.พระนครศรีอยุธยา เมื่อ ๒๔ ก.พ.๕๘
พล.อ.ต.ศักดา สุจริตธรรม รอง จก.พอ. นำ จนท.จัดอบรมการชวยฟนคืนชีพ และการใชอุปกรณทางการแพทยในการชวยฟนคืนชีพคลื่นหัวใจดวยไฟฟาแบบ อัตโนมัติ (AED) เพื่อใชในการรักษาเบื้องตนที่มีภาวะหัวใจหยุดเตน ณ หองรับรอง บก.ทอ.๑ และ ๔ เมื่อ ๒๖ ก.พ.๕๘ และ ๒ มี.ค.๕๘
พล.อ.ต.รัชชาพงษ สมนาม ผบ.รร.การบิน ตอนรับ น.อ.เสกสรร สายเพ็ชร
หก.กกฝ.กวท.รร.นนก. พรอมดวย นนอ.ชั้นปที่ ๓ จำนวน ๖๗ คน ในโอกาสเขารับ การฝกศึกษาและดูงาน ณ หองประชุม บก.รร.การบิน ระหวาง ๒ -๖ มี.ค.๕๘
พล.อ.ต.เฉลิมชัย ศรีสายหยุด หน.สน.ศอ.ปส.ทอ. และคณะ ตรวจเยี่ยม ติดตามการปฏิบัติงานปราบปรามยาเสพติด ศป.ปส.บน.๔๖ โดยมี
น.อ.ฐากูร นาครทรรพ ผบ.บน.๔๖ ใหการตอนรับ เมื่อ ๑๙ ก.พ.๕๘
พล.อ.ต.สรกฤต มังสิงห ผอ.สนภ.ทอ. เปนประธานในพิธีเปดการจัดฝกอบรม สัมมนากิจกรรมพัฒนาคุณภาพการจัดความรู (Knowledge Management : KM) ณ หองเรียน รร.นรภ.ทอ.กวก.สนภ.ทอ. เมื่อ ๒๕ ก.พ.๕๘
พล.อ.ต.ชวดล สันตยานนท ผอ.สพร.ทอ. เปนประธานการจัดกิจกรรมพัฒนา ระบราชการ ป ๕๘ เรื่อง การปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ ทอ. ณ ภูผาผึ้งรีสอรท อ.สวนผึ้ง จว.ราชบุรี ระหวาง ๒๔ - ๒๖ ก.พ.๕๘
พล.อ.ต.ชลิต รัมมะวาส จก.ชย.ทอ. เปนประธานการประชุมสัมมนา การบริหารจัดการความรูในองคกร (KM) โดยมี น.ท.บดินทร วิจารณ
พล.อ.ต.ณัฐพงษ วิริยะคุปต ผบ.วทอ.ยศ.ทอ. ใหการตอนรับ Lt.Col. Thierry Poignant Defence Attache ใหเกียรติบรรยายแก นศ.วทอ. ในหัวขอ
“French Military Policy” ณ หองบรรยาย วทอ.ยศ.ทอ. เมื่อ ๑๓ ก.พ.๕๘
เปนวิทยากร ณ หองประชุม ชย.ทอ. เมื่อ ๒๓ ก.พ.๕๘
น.อ.ระวิน ถนอมสิงห ผบ.บน.๑ และคณะ ตอนรับนักบินและ จนท. ของ ทอ.
สิงคโปร และ ทอ.สหรัฐฯ ที่เดินทางมารวมการฝก COPE TIGER 2015 ณ บน.๑ เมื่อ ๒๕ ก.พ.๕๘ และ ๘ มี.ค.๕๘
น.อ.พิทูร เจริญยิ่ง ผบ.บน.๕ เปนประธาน เปด-ปด โครงการฝกอบรม
ลูกเสือ - เนตรนารี เหลาอากาศ ประจำป ๒๕๕๘ ณ สโมสรอาวมะนาว บน.๕ จว.ประจวบคีรีขันธ ระหวาง ๑๘ - ๒๐ ก.พ.๕๘
น.อ.เสกสรร คันธา ผบ.บน.๔ และ คุณอภิษฎา คันธา ประธานชมรมแมบาน ทอ. บน.๔ นำขาราชการและชมรมแมบาน ทอ.บน.๔ รวมกับ กซอ. ๑ ชอ., บริษัท อุตสาหกรรมการบิน จำกัด, สโมสรไลออนสชัยนาท, สโมสรไลออนสพระสังขตาคลี และ กลุมโรงงานน้ำตาลเกษตรไทย ออกหนวยมิตรประชาชวยเหลือประชาชน และ นักเรียน พรอมทั้งไดนำน้ำมอบใหแกประชาชนไวใชอุปโภค ณ ร.ร.วัดหนองจิกรี อ.ตาคลี จว.นครสวรรค เมื่อ ๒๗ ก.พ.๕๘
น.อ.นิสิต โขเมษฐวัฒน ผบ.บน.๒๑ พรอมดวยขาราชการ ลูกจาง
พนักงานราชการ และทหารกองประจำการ กระทำพิธีถือน้ำพิพัฒนสัตยา พรอมปฏิญาณ และสาบานตนวาจะไมยุงเกี่ยวกับยาเสพติด ตามโครงการธรรมะ เอาชนะยาเสพติดของ ทอ. ประจำป ๕๘ ณ หอประชุม บน.๒๑ เมื่อ ๕ มี.ค.๕๘
พล.อ.ต.ชลิต รัมมะวาส จก.ชย.ทอ. เปนประธานการประชุมสัมมนา การบริหารจัดการความรูในองคกร (KM) โดยมี น.ท.บดินทร วิจารณ
พล.อ.ต.ณัฐพงษ วิริยะคุปต ผบ.วทอ.ยศ.ทอ. ใหการตอนรับ Lt.Col. Thierry Poignant Defence Attache ใหเกียรติบรรยายแก นศ.วทอ. ในหัวขอ
“French Military Policy” ณ หองบรรยาย วทอ.ยศ.ทอ. เมื่อ ๑๓ ก.พ.๕๘
เปนวิทยากร ณ หองประชุม ชย.ทอ. เมื่อ ๒๓ ก.พ.๕๘
น.อ.ระวิน ถนอมสิงห ผบ.บน.๑ และคณะ ตอนรับนักบินและ จนท. ของ ทอ.
สิงคโปร และ ทอ.สหรัฐฯ ที่เดินทางมารวมการฝก COPE TIGER 2015 ณ บน.๑ เมื่อ ๒๕ ก.พ.๕๘ และ ๘ มี.ค.๕๘
น.อ.พิทูร เจริญยิ่ง ผบ.บน.๕ เปนประธาน เปด-ปด โครงการฝกอบรม
ลูกเสือ - เนตรนารี เหลาอากาศ ประจำป ๒๕๕๘ ณ สโมสรอาวมะนาว บน.๕ จว.ประจวบคีรีขันธ ระหวาง ๑๘ - ๒๐ ก.พ.๕๘
น.อ.เสกสรร คันธา ผบ.บน.๔ และ คุณอภิษฎา คันธา ประธานชมรมแมบาน ทอ. บน.๔ นำขาราชการและชมรมแมบาน ทอ.บน.๔ รวมกับ กซอ. ๑ ชอ., บริษัท อุตสาหกรรมการบิน จำกัด, สโมสรไลออนสชัยนาท, สโมสรไลออนสพระสังขตาคลี และ กลุมโรงงานน้ำตาลเกษตรไทย ออกหนวยมิตรประชาชวยเหลือประชาชน และ นักเรียน พรอมทั้งไดนำน้ำมอบใหแกประชาชนไวใชอุปโภค ณ ร.ร.วัดหนองจิกรี อ.ตาคลี จว.นครสวรรค เมื่อ ๒๗ ก.พ.๕๘
น.อ.นิสิต โขเมษฐวัฒน ผบ.บน.๒๑ พรอมดวยขาราชการ ลูกจาง
พนักงานราชการ และทหารกองประจำการ กระทำพิธีถือน้ำพิพัฒนสัตยา พรอมปฏิญาณ และสาบานตนวาจะไมยุงเกี่ยวกับยาเสพติด ตามโครงการธรรมะ เอาชนะยาเสพติดของ ทอ. ประจำป ๕๘ ณ หอประชุม บน.๒๑ เมื่อ ๕ มี.ค.๕๘
น.อ.เศกสรรค สวนสีดา ผบ.บน.๒ ตอนรับ น.ท.เทพพิรักษ ฮอธิวงศ
ผบ.ฝูงบิน ๒๐๓ และขาราชการ รายงานตัวตอผูบังคับบัญชา เพื่อเดินทางไป ฝกอบรมตามโครงการจัดหา ฮ. ขนาดกลาง สำหรับคนหาและชวยชีวิต ณ บริษัท AIRBUS HELICOPTER ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส ระหวาง ๑ ก.พ. - ๙ พ.ค.๕๘
น.อ.ชาตินนท สทานไผท ผบ.บน.๔๑ เปนประธานในพิธีมอบประกาศนียบัตร ใหแก น.ต.เฉลิมรัฐ ไพรเถื่อน น.มาตรฐานการบิน บน.๔๑ ที่สามารถทำการบิน
กับเครื่องบินขับไลฝก แบบ ๑ (L-39) ครบ ๑,๐๐๐ ชั่วโมง ณ ลานจอดฝูงบิน ๔๑๑ บน.๔๑ เมื่อ ๒๖ ก.พ.๕๘
น.อ.อลงกต แตมประเสริฐ รอง ผบ.บน.๔๖ พรอมคณะ ออกปฏิบัติการชวยเหลือ
ประชาชน โดยใหบริการตรวจรักษาโรคทั่วไป ตัดผมชาย-หญิง พรอมทั้งมอบอุปกรณ กีฬา อุปกรณการศึกษา ใหแก ร.ร.สามัคคีประชาราษฎร ต.ทาหมื่นราม อ.วังทอง จว.พิษณุโลก เมื่อ ๒๕ ก.พ.๕๘
น.อ.สฤษฏ วุทธีรพล ผบ.บน.๗ พรอมดวยขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ ทหารกองประจำการ และครอบครัว รวมกันประกอบพิธีเวียนเทียน เนื่องในวัน มาฆบูชา ประจำป ๕๘ ณ บริเวณพุทธสถาน บน.๗ เมื่อ ๔ มี.ค.๕๘
น.อ.วสุ มโนสิทธิศักดิ์ รอง ผบ.บน.๖ เปนประธานในกิจกรรมรณรงคปองกัน อุบัติเหตุภาคพื้น เรื่อง วิธีใชเครื่องดับเพลิงและฝกซอมดับเพลิง ใหแกกำลังพล บน.๖ ณ บน.๖ เมื่อ ๒๑ ม.ค.๕๘
นิรภัย กองบิน ๔ จัดโครงการปองกันอุบัติเหตุดานการปองกันอัคคีภัยใหแก กำลังพลและครอบครัว โดยมีเจาหนาที่หมวดดับเพลิงและกูภัยใหการอบรม ณ อาคารอเนกประสงค บน.๔ เมื่อ ๑๘ ก.พ.๕๘
สำหรับข้าราชการ ทอ.
ทอ.