หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน มกราคม 2559

Page 1







ขาวทหารอากาศ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ เจาของ

กองทัพอากาศ

ที่ปรึกษา

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง

พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑไพโรจน พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

พล.อ.ต.ธนบดี อุตะมะ พล.อ.ต.นอย ภาคเพิ่ม น.อ.ไววิทย เสือดี น.อ.ศุภโชติ ชัยวงษ น.อ.กานตชนก หันหาบุญ น.อ.วันชัย บุญภักดี

พล.อ.ต.นพดล บุญมั่น พล.อ.ต.สําเริง พูลเพิ่ม น.อ.ขวัญกลา นกเอี้ยงทอง น.อ.วันชัย พึ่งเจียม น.อ.หญิง วิภาดา ชนไมตรี น.อ.ณรงคศักดิ์ พิชิตชโลธร

ผูอํานวยการ

พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ เจากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

รองผูอํานวยการ

พล.อ.ต.คุณทร มณีเขียว เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.อัมพร ทองถม รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจัดการ น.อ.สหัสชัย มาระเนตร ผูชวยผูจัดการ น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ ผูชวยบรรณาธิการ น.อ.หญิง ธัญญาภรณ พันธุเพ็ง น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี ประจํากองบรรณาธิการ น.อ.หญิง วรรณิภา ยี่ประชา น.อ.นิพนธ กอสินคา น.อ.หญิง วัลภาภรณ มูลละ น.ท.สินธพ ประดับญาติ น.ท.หญิง ยุพเรศ วงศมีศักดิ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห กองจัดการ น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง ร.อ.สุวัฒน ประชากูล ร.ต.ชัดชัย ชาวดร พ.อ.อ.หญิง เฉลา แกวยศ นาง อมรา หัตถมาศ

หนังสือขาวทหารอากาศ ความเปนมา

หนังสือขาวทหารอากาศ เปนนิตยสารรายเดือนของกองทัพ อากาศ เริ่มดําเนินการเมื่อป พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรมขาวทหารอากาศ มีนาวาอากาศเอก สกล รสานนท เปนบรรณาธิการคนแรก ดําเนินการ โดยทุนของขาราชการทหารอากาศ ตอมาป พ.ศ.๒๔๙๘ ไดโอนกิจการ มาอยูในความอํานวยการของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ไดเขาอยูในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กํากับดูแลโดยคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพกองทัพ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค.๕๒ กําหนดใหใชระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพ อากาศ วาดวยการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒

ภารกิจ

ดําเนินกิจการหนังสือขาวทหารอากาศ ใหเปนไปตามนโยบายของ คณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ มีผอู าํ นวยการ หนังสือขาวทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค

๑. เพื่อเพิ่มพูนความรูในกิจการทั่ว ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในดานการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม อันจะ เปนประโยชนตอสวนรวม ๓. เพื่อเผยแพรกิจการกองทัพอากาศ

การดําเนินงาน

๑. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น ที่เปน ประโยชนในการพัฒนากองทัพและสวนรวม ๒. เรื่องที่นําลงในหนังสือขาวทหารอากาศ - ตองไมขัดตอวัตถุประสงค/นโยบาย กองทัพอากาศ - ตองไมกระทบตอความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ สวนรวม - ตองไดรับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการ พิจารณาเรื่องของสํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ

กําหนดการเผยแพร

นิตยสารรายเดือน

สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th หอง ๑๐๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

พิมพที่ บริษัท ปรีชาธร อินเตอรพริ้น จํากัด ๔/๕ ซอย รามอินทรา ๔๒ แยก ๘ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐ โทร. ๐๒-๙๓๐-๗๐๕๓-๔ แฟกซ ๐๒-๙๓๐๗๐๕๐ คาสมาชิกภายนอกปละ ๓๕๐ บาท (รวมคาสง) สั่งจาย ปณ.คลองถนน ๑๐๒๒๒

ความคิดเห็นของผูเขียนในหนังสือฉบับนี้ ไมมีสวนผูกพันกับทางราชการแตประการใด ภาพที่ลงในหนังสือขาวทหารอากาศนํามาจาก google.com ออกแบบปก : น.ท.สินธพ ประดับญาติ/จ.ท.หญิง รัฐพร เตชะสินทวี E-mail: rtafmag@gmail.com


ปที่ ๗๖ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม ๒๕๕๙

สารบัญ ๒๓

๓๕

๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๕ ๑๙ ๒๓ ๓๑ ๓๕ ๔๓ ๔๙ ๕๑ ๕๗ ๖๒

บทบรรณาธิการ สวัสดีปใหม ๒๕๕๙ ...น.อ.เกษม พงษพันธ สารอวยพรปใหม ผบ.ทอ. พุทธศักราช ๒๕๕๙ ประโยชนสุขของแผนดิน : องคความรู สูประชาคม ...ตามรอย เครื่องหนวงความเร็ว ...น.ท.สฤษฎ พรมมา งูในรังพญาอินทรี : การโจมตีฐานบิน ในเวียดนามและไทย ...น.อ.วัชระ สกุลรัตน บทบาทกองทัพอากาศกับการกาวสู ประชาคมอาเซียน ...น.ท.พรอมรบ จันทรโฉม SDFDS 2015 การประชุมทันตแพทยทหาร ตํารวจนานาชาติ 2015 ...น.ต.พาคินทร วาทิน นโยบายผูบัญชาการทหารอากาศ ประจําป พุทธศักราช ๒๕๕๙ ธงแดงประเทศไทย ...พล.อ.อ.ปรีชา ประดับมุข มุมกฎหมาย : สัญญาค้ําประกัน ...น.อ.วันชัย มาสุวรรณ Brimstone เพลิงพิโรธ “เขี้ยวเล็บใหมของ UAV” ...น.ท.วัชรพงษ กลีบมวง เรื่องเลาจากแฟมการยุทธทางอากาศ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร ครูภาษาพาที : วาดวยเรื่อง... ก.เอย ก.ไก (ตอนที่ ๒) ...PJ the Piglet

๖๖ CROSSWORD (มีรางวัล) ...อ.วารุณี ๖๙ เวลาการตูน ...มิสกรีน ๗๑ องคการการศึกษาทางทหารชั้นนําในภูมิภาค อาเซียน ๖๗ ป กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ...ปชส.ยศ.ทอ. ๗๔ รอบรู...อาเซียน : เกร็ดเล็กเกร็ดนอย ประชาคมอาเซียน ...@ Zilch ๗๕ กาวไปขางหนาดวยเศรษฐกิจดิจิทัล ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ๘๒ ภาษาไทยดวยใจรัก : คํานี้เขียนอยางนี้ (ตอ) ...นวีร ๘๔ มุมสุขภาพ : 6 โรคที่พึงระวังในฤดูหนาว ...นายหวงใย ๘๖ พิธีพุทธาภิเษก ...น.อ.เกษม พงษพันธ ๘๘ ขอบฟาคุณธรรม : เปนคนมีดีครบถวน ...1261 ๙๑ ในรั้วสีเทา

๕๑

น.ท.วัชรพงษ กลีบมวง


บทบรรณาธิการ

สวัสดีครับ สมาชิกหนังสือขาวทหารอากาศทุกทาน

เนื่องในวาระอันเปนศุภมิ่งมงคลขึ้นปใหม ๒๕๕๙ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ ขออาราธนา คุณพระศรีรัตนตรัยและอํานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก โปรดประทานพรใหสมาชิกทุกทานและครอบครัว ประสบแตความสุข ความเจริญรุงเรือง ดวยจตุรพิธพรชัย สัมฤทธิผลในสิ่งอันพึงปรารถนาทุกประการ ปนหี้ นังสือขาวทหารอากาศไดกา วเขาสูป ท ี่ ๗๖ คณะผูจ ดั ทําหนังสือขาวทหารอากาศไดพฒ ั นาและปรับปรุง รูปแบบของหนังสือใหทนั สมัย มีเนือ้ หาสาระทีน่ า สนใจและทันตอเหตุการณ ดังวัตถุประสงคของหนังสือขาวทหารอากาศ ที่ตองการใหสมาชิกไดเพิ่มพูนความรู แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น และเผยแพรกิจการของกองทัพอากาศ สําหรับปนี้ หนังสือขาวทหารอากาศไดมีจํานวนหนาสีเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีนักเขียนใหม ๆ เพิ่มเติมหลายทานมานําเสนอ เพื่อใหเกิด ความหลากหลายและเกิดประโยชนสูงสุดแกสมาชิก ณ โอกาสนี้ จึงขอเรียนเชิญทานที่สนใจเปนนักเขียนรุนใหม สงบทความลงในหนังสือขาวทหารอากาศตอไป วันที่ ๑๘ มกราคมของทุกป เปน วันกองทัพไทย หรือ วันยุทธหัตถี ซึ่งเปนวันที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกระทํายุทธหัตถีมีชัยชนะตอพระมหาอุปราชของพมา คณะผูจัดทําฯ ขอระลึกถึงพระองคทานที่ไดพิทักษ ปกปอง รักษาแผนดินไทยใหเกิดความสงบสุข ในฉบับนีค้ ณะผูจ ดั ทําฯ ไดนาํ นโยบายของกองทัพอากาศ ประจําปพทุ ธศักราช ๒๕๕๙ มาใหสมาชิกทุกทาน ไดรับทราบถึงเจตนารมณ นโยบายทั่วไป และนโยบายเฉพาะ ๑๐ ดาน เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ราชการ และสรางความยัง่ ยืนใหกบั กองทัพอากาศ นอกจากนีก้ องทัพอากาศยังไดดาํ เนินการและเตรียมความพรอมในการเขาสู ประชาคมอาเซียน โดยสมาชิกสามารถติดตามไดจากบทความ บทบาทกองทัพอากาศกับการกาวสูป ระชาคมอาเซียน และยังมีบทความทีน่ าํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชทางดานเศรษฐกิจ เพือ่ เปนการขับเคลือ่ นประเทศไทยใหกา วไปขางหนา เรื่อง กาวไปขางหนาดวยเศรษฐกิจดิจิทัล สําหรับปกฉบับนี้เปนอาวุธนําวิถีอากาศสูพื้น Brimstone เพลิงพิโรธ “เขี้ยวเล็บใหมของ UAV” ที่พัฒนา ใหมีประสิทธิภาพ สามารถทําลายเปาหมายขนาดเล็กที่เคลื่อนที่เร็วทั้งบนพื้นดินและทางทะเล ดวยการใชแสงเลเซอร นอกจากนี้ยังมีบทความที่มีสารประโยชนใหติดตามอานอีกหลายเรื่อง ขอเชิญสมาชิกพลิกอานตามอัธยาศัย  บรรณาธิการ 


สวั สวสดปใหมไปทุ สดีปใหมไปทกทิ ปทุกทศ ทิศ คุณพระพุทธพระธรรมล้ลําโอฬาร คุณศั​ักดิ​ิ์สิทธิ​ิ์แหงพรหมอุดมเลิ​ิศ คุณทวยเทพเทวาทั่วธาตรี พระสยามเทวาสงาศรี พระบารมีจอมกษัตริยชัชวาล คุณบิดามารดาพาสุขศรี คุณของทานปูยาพาสุขใจ คุณแหงสถาบันการศึกษา คุณพระแมโพสพประจบพร คุณพระแมธรณีศรีสถาน คุณของที่ทํางานปานชีวิน พระคุณแหงพระบิดาทัพอากาศ คุณแผนดินถิ่นเกิดกําเนิดตน คุณมั่นคงดํารงทรงพิลาส ทัพอากาศชาติไทยไดเชิดชู ขอพระคุณทั้งมวลลวนไพศาล ขอทุกทานพบแตสุขไปทุกยาม

หหาเกาประสทธทวไปอยางไพศาล าเกาประสิทธิ์ทั่วไปอยางไพศาล สุดตระการคุณพระสงฆองคมุนี สุดปประเสริ​ิฐองคอินทรถิ่นโโกสี​ีย จงยินดีคุมครองผองภัยพาล พระคุณมีมากมายหลายสถาน โปรดประทานพรชวยอํานวยชัย คุณความดีครูอาจารยงานสดใส คุณอําไพยายตาเอื้ออาทร คุณวัดวาอาวาสพิลาสสอน คุณถาวรแมคงคาสงาจินต คุณอาคารบานชองหองหอศิลป คุณอาจิณมากมายคือนายตน พระคุณชาติยิ่งใหญไมสับสน เปนมงคลมุงมั่นกตัญู เทพประสาทพรชัยใหเลิศหรู ชาวโลกรูท่วั สากลผลงดงาม ตําแหนงงานที่ประสงคจงลนหลาม มียศงามตลอดปมั่งมีเทอญ

ดวยความเคารพ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)



ประโยชนสุขของแผนดิน

องคความรูสูประชาชน ตามรอย

“...ถาโครงการดี ในไมชา ประชาชนก็ไดกําไร จะไดผล ราษฎรจะอยูดีกินดีขึ้น จะไดประโยชนไป...” พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

คนสวนใหญบอกรักพระเจาอยูหัว แตจะมีสักกี่คนที่ลุกขึ้นมาปฏิบัติบูชาโดยนําคําที่พระองคไดสอนเรา มาใชกับตัวเอง ใชกับครอบครัว ขยายไปจนถึงองคกร ชุมชน และสังคม สิ่งที่พระเจาอยูหัวทรงสอน เราไดเห็น ไดยินกันอยูทุกวัน สิ่งเหลานี้จะสรางประโยชนสุขตอยอดไปในวงกวางได ก็คงไมใชดวยใครที่ไหน แตเปนดวยมือ ของพวกเราทุกคน นาทึ่งที่พระเจาอยูหัวทรงเขาใจวา แตละพื้นที่ตองไดรับการพัฒนาที่แตกตางกันแบบไหน ตัวอยางเชน ชาวชุมชนวัดพระรามเกาไดนําเอาพระราชดําริมาสานตอตามแนวทางที่เรียกวา บวร เหมือนวิถีชีวิต ที่เอื้ออาทรซึ่งกันและกันของคนไทยในสมัยกอน และจากพระราชดําริที่แกไขปญหาน้ําเสียในบึงพระรามเกา และพระราชดําริใหพัฒนาชุมชนรอบ ๆ โดยอาศัยหลัก บวร ซึ่งมาจากคําวา บาน วัด และโรงเรียน เพื่อให ทั้งสามสวนประสานกันอยางสมดุล


วัดพระรามเกา

วัดพระรามเกากาญจนาภิเษก เปนแบบอยางของความสมถะ เรียบงาย ทีเ่ ราไมคอ ยเห็นกันในเมืองใหญ แบบกรุงเทพฯ วัดแหงนี้เปนทั้งศูนยกลางกิจกรรม ศูนยรวมจิตใจ และเครื่องยึดเหนี่ยวของผูคนในชุมชนไวให ยังคงผูกพันกับพระพุทธศาสนา “สี่พันหนึ่งรอย” คือ ตัวเลขจํานวนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จนถึงปจจุบัน และยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

แมหองทรงงานของพระองคจะไมใชผืนดินกันดาร แรนแคนกลางแดดและฝนอยางเมื่อกอนที่ผานมา และแมโครงการตาง ๆ ที่เคยพระราชทานแนวทางลงมาจนประสบผลสําเร็จ สงใหราษฎรไดอยูอยางพอมีพอกิน รูจักพึ่งพิงกับธรรมชาติ และสรางสมดุล ดิน น้ํา ปา ดังพระราชประสงคแลว แตพระองคก็ยังคงทรงงาน ไมเคยหยุด แมกระทั่งในวัย ๘๘ พรรษา เชนทุกวันนี้ “หนึ่งหมื่นสองพันครั้ง หนึ่งลานสองแสนกิโลเมตร” คือ จํานวนครั้งและระยะทางที่พระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินทั่วประเทศในชวงสิบกวาปแรก ๆ ของการทรงงาน คงไมมใี ครทีจ่ ะรูจ กั ประเทศนีด้ เี ทากับพระเจาอยูห วั อีกแลว ทัง้ สีพ่ นั หนึง่ รอยโครงการจึงกระจายตัวอยูท วั่ ทุกพืน้ ที่ ขณะเดียวกันก็ทรงศึกษาทุกศาสตร ทุกแขนง เพือ่ นํามาชวยใหชวี ติ ของพวกเรากาวไปสูอ กี ขัน้ ของความเปนอยู ที่ดีขึ้น


การจัดการน้ การน้ํา

ตลอดหลายสิบปแหงความเพียร องคความรูจ ากพระเจาอยูห วั จึงคอย ๆ สรางประโยชนสขุ สูป ระชาชน รินรดพืน้ ดินทีแ่ หงแลงใหชมุ ชืน้ คืนพืน้ ทีย่ ากไรใหพอมี เชือ่ มทางทีไ่ กลใหใกล และคลายทีร่ อ นใหกลับเย็นเสมอมา เราอาจไมไดเปนสวนหนึ่งของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริโดยตรง แตที่จริงแลวแนวพระราชดําริของ พระองคทานตางหากที่เชื่อมโยงใชไดกับทุก ๆ เรื่องในชีวิตเรา ลึกลงไปกวานั้นยังมีหลักคิดที่แฝงอยูในการ ดําเนินชีวิตของพวกเรา และถาพวกเราทุก ๆ คน ทุก ๆ ครอบครัว มารวมกันปลูกเมล็ดพันธุแหงองคความรูจาก พระเจาอยูหัวลงบนแผนดินนี้ ศูนยศึกษาการพัฒนาทั้ง ๖ แหง เปรียบไดกับโรงเรียนหลังใหญที่คัดเลือกเอาวิชา เดน ๆ กวา ๑๐๐ บทเรียน จากการศึกษาทดลองทั้งหมดนับพันเรื่องมาใหเลือกเรียนรู ที่นี่ไมไดมีตําราเลมใหญ มาใหนั่งเปดอาน แตเปนพิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต มีของจริง ผลสําเร็จจริง ใหเรานํากลับไปใชไดไมยากเลย เราอาจลงวิชาสรางฝายทดน้ํา ที่ศูนยฯ หวยฮองไคร ไปลองทําความรูจักกับ ๓ ดํา ๑ ขาว ที่ศูนยฯ ภูพาน หรือ เขาหองเรียนวิชาแกลงดินที่ศูนยฯ พิกุลทอง เหมือนกับคนอีกนับลานที่สนใจเขามาศึกษาดูงาน และอีกกวา ๒๐,๐๐๐ คน ที่เขารับการอบรมในแตละป และ “สองพันเการอย” ก็คือ ตัวเลขจํานวนโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ํา ทรงมองภาพรวมถึงความเกื้อกูลกันระหวางคนกับธรรมชาติ ตัง้ แตทอ งฟาจรดทะเล ใชวธิ กี ารเรียบงาย ไมซบั ซอน แตสามารถสรางประโยชนแกประชาชนไดอยางยัง่ ยืน ดังนัน้ ประชาชน รวมถึงหนวยงานในพืน้ ที่ ควรตองมีสว นในการรวมมือแกไขปญหา และถาเรานอมนําแนวพระราชดําริ ที่ทรงพระราชทานไวใหมาใชก็จะกอใหเกิดคุณคากับชีวิตและความสุข ที่ผานมาทุกครั้งที่พวกเราไดรับรูถึงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ความรูสึกที่เกิดขึ้น คือ ความสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระเจาอยูหัว แตนับจากนี้พวกเราควรจะขอเปนลูกไมที่หลนใตตน นําสิ่งที่พระราชทานไวใหมาลงมือทําใหเกิดประโยชนมากที่สุดดวย เพราะพวกเรารูแลววา

เราโชคดีแคไหน ที่มีแบบอยางในทุก ๆ ดานของชีวิต ใหยึดเหนี่ยวและกาวเดินตาม


น.ท.สฤษฎ พรมมา ปจจุบันกําลังทางอากาศไดมีบทบาทอยางมากตอการรักษาความมั่นคงภายในประเทศ ตลอดจนการ รักษาสันติภาพในระดับภูมิภาค เนื่องดวยขีดความสามารถของกําลังทางอากาศที่มีความคลองตัว สามารถ เขาปฏิบัติการจนถึงใจกลางดินแดนขาศึกโดยไมจํากัดเวลาและสภาพอากาศ อํานาจการทําลายลางเปาหมายสูง และแมนยํา อยางไรก็ดีกําลังทางอากาศก็มีขีดจํากัดที่ตองพึ่งพาฐานบิน ตองการระยะสําหรับทางวิ่งในการ บินขึ้นและบินลง สําหรับการปฏิบัติฐานบินบนบก สนามบินจะถูกออกแบบใหทางวิ่งมีระยะทางที่เพียงพอ ตอความตองการของเครื่องบินที่ใชงาน แตการบินลงของเครื่องบินรบบนเรือบรรทุกเครื่องบินนั้น พื้นที่บน ดาดฟาเรือมีความยาวนอยกวาระยะที่ตองการใหเครื่องบินสามารถหยุดบนดาดฟาได หรือในบางโอกาสเครื่องบิน ตองการระยะทางมากกวาปกติ เชน สภาพอากาศ เครื่องยนตขัดของ โดยเฉพาะเครื่องบินรบที่มีสมรรถนะสูง หากไมสามารถหยุดไดในทางวิ่งจะทําใหเครื่องบินเกิดความเสียหายและอาจสูญเสียชีวิตนักบินได ดังนั้น กองทัพอากาศจึงไดมีการนํา เครื่องหนวงความเร็วเครื่องบิน มาประยุกตใชในงานฐานบิน Aircraft Arresting System หรือ ระบบยุดอากาศยาน หมายถึง ชุดของสวนประกอบตาง ๆ ที่ใช หยุดอากาศยาน โดยการดูดกลืนโมเมนตัมไปขางหนาในการบินลงสูพ นื้ ตามปกติหรือการบินลงสูพ นื้ ฉุกเฉินหรือ การวิง่ ขึน้ ทีล่ ม เหลว (พจนานุกรมศัพททหาร อังกฤษ - ไทย ฉบับใชรว มสามเหลาทัพ พ.ศ.2547 กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด) สําหรับกองทัพอากาศใชชื่อเรียกวา “เครื่องหนวงความเร็วเครื่องบิน” จุดเริ่มตนของเครื่องหนวงความเร็วเครื่องบิน เริ่มจากแนวคิดที่ตองการเพิ่มขีดความสามารถกําลังทาง อากาศใหมีความคลองตัวในการวางกําลังมากขึ้น ดวยตระหนักถึงศักยภาพและขีดความสามารถกําลังทาง อากาศ โดยการที่สามารถลําเลียงบรรทุกไปกับเรือและใชเรือเปนฐานปฏิบัติการกลางทะเลได ชวงสงครามโลก ครั้งที่ 1 กองทัพสหรัฐฯ ริเริ่มใชเรือ Cruiser เปนฐานปฏิบัติการอากาศยาน ที่บินขึ้นจากดาดฟาเรือ เมื่อลงจอด


๑๖ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

จะปลอยตะขอหรือขอยุดที่บริเวณสวนหาง เพื่อเกี่ยวสายเชือกที่ถวงดวยถุงทราย จากนั้นมีการพัฒนาเรื่อยมา ในยุคตอมาเมือ่ เขาสูย คุ ไอพน เครือ่ งบินรบมีสมรรถนะ กําลังขับ ความเร็วเพิม่ ขึน้ ตองการความยาวทางวิง่ สําหรับ การบินขึ้น - รอนลงมากขึ้น ในแตละครั้งที่เครื่องบินปฏิบัติการบินจะมีความเสี่ยงอุบัติเหตุไถลออกนอกทางวิ่ง เนือ่ งจาก emergency landing และ abort take off ได ซึง่ การเกิดอุบตั เิ หตุแตละครัง้ นัน้ กอใหเกิดความเสียหาย อยางมากตออากาศยานตลอดจนชีวติ ของนักบิน ดังนัน้ จึงมีการพัฒนาเครือ่ งหนวงความเร็วเครือ่ งบิน เพือ่ รองรับ การใชงานฐานบินบนบก เครือ่ งหนวงความเร็วเครือ่ งบินประกอบดวยสวนประกอบหลัก คือ อุปกรณสาํ หรับยุดจับเครือ่ งบินและ ระบบดูดซับแรง (Energy Absorber) หนวงการเคลื่อนที่ของเครื่องบินไปขางหนา สามารถจําแนกตามลักษณะ การเขาปะทะยุดเครือ่ งบินได 2 แบบหลัก คือ แบบ Hook Cable เครือ่ งบินใช Tail Hook เกีย่ วยึดจับสายเคเบิล้ และแบบ Net Barrier เครื่องบินเขาปะทะชนกับตาขายที่กั้นขวาง แบบ Hook Cable ใชไดกบั เครือ่ งบิน ที่มีขอยุดจับสายเคเบิ้ล Tail Hook เทานั้น เครื่องบินจะเขาปะทะยุดเกี่ยวสายเคเบิ้ลได แบบ Hook Cable 2 ทิศทาง การเขาปะทะยุดอากาศยานไมทาํ ให เครื่องบินเกิดความเสียหาย ตําแหนงติดตั้งหางจากปลายทางวิ่งประมาณ 950 - 1,500 ฟุต แบบ Net Barrier เปนระบบ ยุดอากาศยานทีใ่ ชไดกบั เครือ่ งบินทีม่ หี รือ ไมมี Tail Hook เครื่องบินจะเขาปะทะ ชนตาขายทีก่ นั้ ขวางไดทศิ ทางเดียว และ เมื่อเขาปะทะแลว เครื่องบินจะมีความ แบบ Net Barrier เสียหายเล็กนอย อยางไรก็ดคี วามเสียหาย ทีเ่ กิดขึน้ จะอยูก บั ลักษณะการเขาปะทะ น้าํ หนักและความเร็วของเครือ่ งบินทีเ่ ขาปะทะ จะใชงานในกรณีฉกุ เฉิน เทานั้น ตาขายสามารถกาง ยกขึ้นลงได ควบคุมการยกไดทั้งที่หอบังคับการบินและ ณ ตําแหนงติดตั้งที่ปลายทางวิ่ง เมื่อกางตาขายแลว ระบบสามารถทํางานไดอัตโนมัติรองรับเครื่องบินเขาปะทะชนตาขาย ตําแหนงติดตั้งที่ ปลายทางวิ่งแตละดาน  ประเภทเครื่องหนวงความเร็วเครื่องบิน (Aircraft Arresting System) เรียกชื่อวา BAK (Barrier Arresting Kit) และตามดวยหมายเลข (ลําดับของระบบที่ไดมีการจัดหาและ ผลิตขึ้นมาใชงานใน ทอ.สหรัฐฯ) BAK-12 เปนระบบหนวงที่ใช Hydraulic Friction Brake เมื่อเครื่องบินเขาปะทะ จะดึงเทปทําใหวงลอ บรรจุเทปหมุน ทําใหปมไฮดรอลิกทํางานเพิ่มแรงดันเขาไปในกระบอกสูบ กดทับแผนจานซึ่งยึดติดกับวงลอ ใหเกิดความฝดและหยุดหมุน ขีดความสามารถหยุดเครื่องบินน้ําหนัก 50,000 ปอนด ที่ความเร็ว 180 นอต ระยะทางเครื่องบินวิ่งออกไปไกลสุด 1,200 ฟุต นิยมใชงานใน ทอ.สหรัฐฯ


ขาวทหารอากาศ ๑๗

มกราคม ๒๕๕๙

BAK-13 หรือ Water Twister เปนระบบหนวงที่ใช Water Turbine Brake เมื่อเครื่องบินเขาปะทะ จะดึงเทป ทําใหวงลอบรรจุเทปหมุน จากนั้นจะทําใหกังหันที่อยูในถังบรรจุนํ้าหลอเย็นหมุน เกิดเกลียวคลื่น หนวงการเคลื่อนที่เครื่องบินไปขางหนา ขีดความสามารถหยุดเครื่องบินน้ําหนัก 32,500 ปอนด ที่ความเร็ว 190 นอต ระยะทางเครื่องบินวิ่งออกไปไกลสุด 1,100 ฟุต นิยมใชงานในนาวิกโยธินสหรัฐฯ

BAK-12

BAK-13 (Water Twister)

BAK-14 คือ ระบบอุปกรณยก - ดึงเก็บสายเคเบิ้ลยุดรั้งเครื่องบิน โดยการเก็บสายเคเบิล้ ใหอยูใ ตผวิ ทางวิง่ ในกรณีฉกุ เฉินจะยกขึน้ สําหรับ ใหขอเกี่ยวของเครื่องบินยึดจับสายเคเบิ้ล นิยมใชในสนามบินรวม ทหารและพาณิชย สามารถควบคุมการยกขึ้นและดึงเก็บสายเคเบิ้ล ไดจากหอบังคับการบิน ณ ตําแหนงที่ติดตั้ง เครื่องบินสามารถเขาปะทะ ยุดเกี่ยวสายเคเบิ้ลได 2 ทิศทาง

BAK-15

BAK-14

BAK-15 หรือ Net Barrier System สามารถ ใชกับเครื่องบินที่มีหรือไมมี Tail Hook เครื่องบิน เขาปะทะชนตาขายทีก่ นั้ ขวางไดทศิ ทางเดียว และเมือ่ เขาปะทะแลว เครื่องบินจะมีความเสียหายเล็กนอย

จะเห็นไดวา เครือ่ งหนวงความเร็วเครือ่ งบินมีประโยชนอยางมาก ตอการลดความสูญเสียตออากาศยาน และชีวิตนักบิน แตเครื่องหนวงความเร็วเครื่องบินที่ใชงานโดยทั่วไปตามฐานบินที่มีฝูงบินประจําการอยูนั้น เปนแบบติดตั้งถาวร ซึ่งการติดตั้งตองใชระยะเวลานานหลายเดือนในการกอสรางสิ่งอํานวยความสะดวกพื้นฐาน ที่เกี่ยวของกับการติดตั้งอุปกรณและการทดสอบระบบ ดังนั้นจึงไดมีการพัฒนาสรางเครื่องหนวงความเร็วเครื่องบิน แบบเคลื่อนที่ใหสามารถติดตั้งและใชงานไดรวดเร็วขึ้น เหมาะสําหรับการวางกําลังที่ฐานบินสนามหรือฐานบิน สวนหนาซึ่งไมมีเครื่องหนวงความเร็วเครื่องบินติดตั้งอยู สามารถเคลื่อนยายไดทั้งทางบก ทางอากาศ และทางทะเล เพือ่ สนับสนุนภารกิจซอมฟน ฟูความเสียหายสนามบินจากการถูกโจมตีโดย ทอ.สหรัฐฯ ใช BAK-12 เปน Energy Absorber ติดตั้งกับ Trailer เรียกวา Mobile Aircraft Arresting System (MAAS) ขีดความสามารถ


๑๘ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

หยุดเครื่องบินน้ําหนัก 50,000 ปอนด ที่ความเร็ว 180 นอต ระยะทางเครื่องบินวิ่งออกไปไกลสุด 1,200 ฟุต สวนนาวิกโยธินสหรัฐฯ ใช BAK-13 (Water Twister) ติดตั้งเปน Energy Absorber เรียก Mobile Arresting Gear (MAG) ขีดความสามารถหยุดเครื่องบินน้ําหนัก 60,000 ปอนด ที่ความเร็ว 175 นอต ระยะทางเครื่องบิน วิ่งออกไปไกลสุด 1,100 ฟุต MASS

MAG

เครื่องหนวงความเร็วเครื่องบินแบบเคลื่อนที่

สําหรับเครื่องหนวงความเร็วเครื่องบินที่มีใชงานของกองทัพอากาศไทยนั้น ประกอบดวย BAK-12, BAK-13 (44B-4H), BAK-14, MK6 (Stanchions)/MEN302 (Net), ระบบการควบคุมระยะไกล ติดตั้งประจําการ ณ ฐานบินหลัก สวนเครื่องหนวงความเร็วเครื่องบินแบบเคลื่อนที่เปนแบบ MAG-8 BAK-12

BAK-13 (44B-4H)

BAK-14

เครื่องหนวงความเร็วเครื่องบินแบบตาง ๆ ที่มีใชงานในกองทัพอากาศ

MK6 (Stanchions)/ MEN302 (Net)

Radio Control

MAG-8

จะเห็นไดวา ความพรอมกําลังทางอากาศในยุคปจจุบนั มิไดมเี พียงแตอากาศยานเทานัน้ แตยงั ตองมีการ บริหารจัดการความเสีย่ ง โดยการพิจารณาความพรอมใชงานของเครือ่ งหนวงความเร็วเครือ่ งบิน เพือ่ ใหแนใจไดวา ทุกครั้งเครื่องบินจะปฏิบัติการบินขึ้น - รอนลงสนามบินไดอยางปลอดภัย ลดความสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสิน ทางราชการ พรอมทัง้ สรางความเชือ่ มัน่ ใหแกผปู ฏิบตั กิ ารบิน ตลอดจนสรางความไววางใจใหแกพนี่ อ งประชาชน ที่มีตอกองทัพอากาศในขีดความสามารถและศักยภาพในการปองกันประเทศ  เอกสารอางอิง : Air Force Flight Standards Agency, Department of Air Force United of America. Air Traffic Control Training Series Arresting Systems, March 2004. Brian A Stokes, Regional Director. Presentation of Aircraft Arresting Systems to Royal Thai Air Force. (slides). Thailand, March 2000. Department of Air Force United of America. Guide to Mobile Aircraft Arresting System, Airforce Handbook 10-222,Volume 8, March 2000. ESCO.“BetterWay”.[Online January 10, 2013].Available from:https://www.youtube.com/watch ?v=IJ9mmKFLqAI, November 2014. ESCO, M-1160 Operations and Maintenance Instructions Fixed Base BAK-12 Hook Cable System, March 1991. ESCO, SM-671 Handbook Installation, Operation, Maintenance and Overhaul Instructions with Illustrated Parts Breakdown Model 44B-4F/ MK6-6/MN 302/ MER Aircraft Arresting System, March 1989. ESCO, SM-672 Handbook Installation, Operation, Maintenance and Overhaul Instructions with Illustrated Parts Breakdown Model MAG/44B-4H/ SP/WR Type VIII Mobile Arresting Gear System, March 1989. FFA, Department of Transportation United of America . Advisory Circular 150/5220-9A, 2006. http://www.zodiacaerospace.com/en/our-products/aerosafety/arresting-systems/military-systems


ตอน การโจมตีฐานบินในเวียดนามและไทย การโจมตีของเวียดกง (แนวรวมของพรรคคอมมิวนิสตในเวียดนามใต) และกองทัพเวียดนามเหนือ ตอฐานบินปฏิบัติการหลัก (MOB) ของ ทอ.สหรัฐอเมริกา ในสาธารณรัฐเวียดนามและในประเทศไทย ในชวงป ค.ศ.๑๙๖๔ - ๑๙๗๓ การโจมตีฐานบินในเวียดนามนัน้ สามารถนํามาวิเคราะห เชิงปริมาณไดดกี วาขอมูลเกาะครีตและแอฟริกาเหนือ เนือ่ งจาก ปริมาณของขอมูลทีม่ มี ากทีส่ ดุ ทําใหสามารถคัดแยกออกมาเปน ความรูไดดังนี้   การปองกันฐานบินปฏิบัติการหลักของ ทอ.สหรัฐฯ มีประสิทธิภาพยิ่งในการตรวจการณคนหาและหยุดยั้งการ เล็ดลอดเขาโจมตีของขาศึก เวียดกงและกองทัพเวียดนามเหนือ ใชยุทธวิธีแทรกซึมโดยแซปเปอรเพียง ๒๑ ครั้ง ซึ่งสรางความ เสียหายเพียงเล็กนอยใหกับเครื่องบินของ ทอ.สหรัฐฯ


๒๐ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

๙๖% ของการโจมตีฐานบิน ใชยุทธวิธีการยิงไกลจากภายนอก (Standoff Attack) มากกวาที่จะใช ยุทธวิธีในการเล็ดลอดเขาฐานบิน   การโจมตีดวยอาวุธยิงจากภายนอก ถูกพิสูจนแลววายากที่จะหยุดยั้ง   การลาดตระเวนทางภาคพื้นและการลาดตระเวนทางอากาศ จําเปนอยางยิ่งในการควบคุมพื้นที่ ที่ขาศึกอาจใชเปนที่ตั้งยิงจากภายนอก 

 พื้นฐานและภาพรวมของการโจมตี การโจมตีฐานบินในเวียดนามนั้นเปนสถิติสูงสุด เวียดกงและกองทัพเวียดนามเหนือโจมตีฐานบิน ปฏิบตั กิ ารหลักของ ทอ.สหรัฐฯ จํานวนทัง้ สิน้ ๔๗๕ ครัง้ ในชวงป ค.ศ.๑๙๖๔ - ๑๙๗๓ สามารถทําลายเครือ่ งบิน ของ ทอ.สหรัฐฯ และของ ทอ.เวียดนามใต รวม ๙๙ เครื่อง และ ๑,๑๗๐ เครื่องตองเสียหาย และเมื่อรวมกับการ โจมตีตอที่ตั้งอื่นของ ทอ. ทบ. นย.สหรัฐฯ และ ทอ.เวียดนามใต รวมทั้งฐานบินของ ทอ.สหรัฐฯ ในประเทศไทย แลวยอดรวมเครื่องบินที่ถูกทําลายพุงเปน ๓๗๕ เครื่อง ประมาณ ๔% ของจํานวนเครื่องบินทั้งหมด ถึงแมวา ตัวเลข ๔% นี้ดูคอนขางนอย แตก็นาสนใจตรงที่เครื่องบินรบของ ทอ.สหรัฐฯ ถูกทําลายดวยการโจมตีฐานบิน มากกวาที่ถูกเครื่องบินมิกของขาศึกยิงรวง (ดวยตัวเลข ๙๙ เครื่อง ตอ ๖๒ เครื่อง) เมื่อสงครามเริ่มขยายตัวขึ้นในป ค.ศ.๑๙๖๕ - ๑๙๖๘ การโจมตีฐานบินก็พุงขึ้นดวย ในขณะที่สงคราม ชะลอตัวลงในป ค.ศ.๑๙๗๑ - ๑๙๗๓ การโจมตีฐานบินก็ลดลงตามจํานวนครัง้ ของการโจมตีทเี่ พิม่ ขึน้ จาก ๑๗ ครัง้ ในป ค.ศ.๑๙๖๗ เพิ่มเปน ๑๒๑ ครั้งในป ค.ศ.๑๙๖๘ หลังจากนั้นสองปถัดมามีการโจมตีมากกวา ๑๐๐ ครั้ง/ป และในป ค.ศ.๑๙๗๑ - ๑๙๗๒ การโจมตีลดลงไปประมาณครึ่งหนึ่ง


ขาวทหารอากาศ ๒๑

มกราคม ๒๕๕๙

การโจมตีในอีกมุมมองหนึง่ “ความสําเร็จ” จะถูกนิยามดวยอัตราสวนของการโจมตีตอ จํานวนเครือ่ งบิน ที่ถูกทําลายหรือเสียหาย ในป ค.ศ.๑๙๖๕ - ๑๙๖๗ นั้น อัตราสวนความสําเร็จสูงมาก ทั้ง ๆ ที่ชวงเวลาดังกลาว มีจํานวนการโจมตีไมมาก แสดงวาพวกเวียดกงมียุทธวิธีที่ดีและเหมาะสมในชวงเวลานั้น อัตราสวนในชวง ค.ศ.๑๙๖๘ - ๑๙๗๐ นาสนใจมากถึงแมจํานวนการโจมตีจะเพิ่มมากขึ้นกวา ๑๐ เทาตัว แตอัตราความสําเร็จนั้น กลับพุงสวนทางลงต่ํา ชวง ค.ศ.๑๙๖๘ - ๑๙๗๑ มีอัตราความสําเร็จที่ คอนขางต่าํ หากประเมินอีกทางหนึง่ จะสะทอนใหเห็นผลลัพธ ของการเพิม่ มาตรการปองกันฐานบิน ในชวง ค.ศ.๑๙๖๕ ถึง ค.ศ.๑๙๖๘ การเพิม่ การตรวจการณทางอากาศทําใหเปนการ ยากที่จะแทรกซึมกําลังขนาดใหญในบริเวณใกลฐานบิน สวนอํานาจการยิงของปนที่ติดตั้งบนอากาศยานและระบบ ตอตานการยิงจากระยะไกล (เทคโนโลยีของเรดารทสี่ ามารถตรวจจับตําแหนงเครือ่ งยิงลูกระเบิดหรือจรวดของ ขาศึกทีท่ าํ การยิงเขามา) นัน้ ทําใหยทุ ธวิธขี องขาศึกทีใ่ ชการโจมตีดว ยกําลังขนาดใหญและใชเวลานานจะถูกตอตาน อยางหนักจากฝายปองกัน เวียดกงและกองทัพเวียดนามเหนือเองก็ขาดแคลนยุทโธปกรณและกําลังพลทีม่ ี ความสามารถ ทั้งหมดทั้งปวงนี้คือ เหตุที่ทําใหอัตราความสําเร็จจมดิ่งลงอยางรวดเร็ว

อัตราความสําเร็จของการโจมตีฐานบินปฏิบัติการหลัก


การสูญเสียอากาศยานอันเนื่องมาจากการโจมตีทางภาคพื้นจําแนกตามเหลาทัพ โดยกองทัพอากาศ สูญเสียอากาศยานปกตรึงมากที่สุด ในขณะที่กองทัพบกสูญเสียอากาศยานปกหมุนมากที่สุด ซึ่งจริง ๆ แลว ทบ.สูญเสียอากาศยานมากกวา ทอ.ถึงสองเทา ทั้งนี้ก็เพราะ ทบ.ตองวางกําลัง ณ พื้นที่สวนหนา ที่สุมเสี่ยงและ เฮลิคอปเตอรของ ทบ.ก็มักจะถูกโจมตี ณ จุดรอนลงในระหวางปฏิบัติการเคลื่อนยายทางอากาศยุทธวิธี การจําแนกประเภทของอากาศยานที่ถูกทําลายจากการโจมตีทางภาคพื้น อากาศยานที่ถูกทําลายนี้ ไลเรียงตั้งแต บ.เครื่องยนตเดียวอยาง O-1 จนถึง บ.รบ สมรรถนะสูงอยาง F-4 จากการสังเกตพบวาเครื่องบิน ทรงคุณคาทางยุทธศาสตรอยาง KC-135, B-52, AC-130 และ F105G นัน้ วางกําลัง ณ ฐานบินในประเทศไทย และเกาะกวม ซึ่งมีภัยคุกคามทางภาคพื้นต่ําหรือไมมีเลย

แบบและจํานวนของอากาศยานที่ถูกทําลาย (ฉบับหนาติดตาม การโจมตีฐานบินในเวียดนาม)


(ตอจากฉบับที่แลว)

“หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งอัตลักษณ หนึ่งประชาคม” “One Vision, One Identity, One Community”

กลไกทีม่ คี วามสําคัญอยางยิง่ ในการแสวงหาความรวมมือระหวางกองทัพอากาศอาเซียน คือ การประชุม ผูบัญชาการทหารอากาศอาเซียน ซึ่งจัดขึ้นปละหนึ่งครั้งโดยแตละประเทศจะหมุนเวียนการเปนเจาภาพ ปกติ จะจัดขึ้นในชวงเดือนกันยายนของทุก ๆ ป เริ่มมีครั้งแรกเมื่อป พ.ศ.๒๕๔๗ โดยกองทัพอากาศไทยเปนเจาภาพ การประชุมผูบัญชาการทหารอากาศอาเซียนนี้ นับวาเปนการริเริ่มกรอบความรวมมือระหวาง กองทัพอากาศในกลุมอาเซียนยุคตน ๆ ของประชาคมอาเซียน ซึ่งภายหลังจากที่ประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ ๙ เมื่อ ต.ค.๔๖ มีการตกลงใจแลววา ประชาคมอาเซียนจะมี ๓ เสาหลัก คือ เสาเศรษฐกิจ เสาการเมือง และความมัน่ คง และเสาสังคมและวัฒนธรรม (การประชุมผูบ ญ ั ชาการทหารอากาศอาเซียนเกิดกอนการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ๓ ป) ความรวมมือที่มาจากการประชุมผูบัญชาการทหารอากาศอาเซียนเปนไปอยาง คอยเปนคอยไป เนื่องจากในชวงที่ริเริ่มนั้นกระทรวงกลาโหมของแตละประเทศเพิ่งจะเริ่มเจรจาพูดคุยกัน


อยางไมเปนทางการ จนกระทั่งมีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ครั้งที่ ๑ (1stADMM) ขึ้นในป ๔๙ และมี APSC Blueprint ฉบับแรกในป ๕๒ ภายหลังจากนั้นเองเนื้อหาสาระของการประชุมผูบัญชาการทหารอากาศ มีความเขมขนมากขึ้น เห็นไดจากในป ๕๓ กองทัพอากาศเวียดนามเปนเจาภาพจัดการประชุมผูบัญชาการ ทหารอากาศอาเซียน ครัง้ ที่ ๗ และเสนอแนวความคิด โครงการ ASEAN Junior Air Force Officers interaction Program: AJAFOIP (ขว.ทอ.เปนเจาภาพ) และจัดครั้งแรกในป ๕๔ โดยกองทัพอากาศเวียดนามเปนเจาภาพ โดยการเชิญผูแทนกองทัพอากาศแตละประเทศ ชั้นยศ ร.ต. - น.ต.จํานวน ๓ คน เขารวมกิจกรรม ซึ่งการดําเนินการ ตามโครงการฯ นั้นไดกําหนดใหแตละประเทศในอาเซียนผลัดกันเปนเจาภาพหมุนเวียนกันไป ตามวงรอบของ การประชุมผูบัญชาการทหารอากาศอาเซียน นับวาโครงการฯ นี้เปนกลไกเสริมจากการประชุมผูบัญชาการ ทหารอากาศอาเซียนที่เปนรูปธรรมและเกิดประโยชน โดยวัตถุประสงคนั้นมุงเนนไปที่นายทหารระดับตนของ แตละเหลาทัพ ไดมีโอกาสเสริมสรางความสัมพันธ ความสามัคคี และสรางความไวเนื้อเชื่อใจ ความเขาใจระหวางกัน ทั้งยังเปนการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณในระดับผูปฏิบัติ ภายใตรูปแบบการเยี่ยมชมหนวยงาน การแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ และการรวมกิจกรรมสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางกัน จะสงผลให เกิดประโยชนและการปฏิบัติงานรวมกันในอนาคต โครงการฯ นี้มีอยางตอเนื่อง ครั้งแรกป ๕๔ ทอ.เวียดนาม เปนเจาภาพ ครั้งที่ ๒ ป ๕๕ ทอ.เปนเจาภาพ ครั้งที่ ๓ ป ๕๖ ทอ.มาเลเซียเปนเจาภาพ ครั้งที่ ๔ ป ๕๘ ทอ.ลาว เปนเจาภาพ (ป ๕๗ ทอ.ลาวขอเลื่อน) และในปหนาครั้งที่ ๕ ป ๕๙ ทอ.เมียนมาจะเปนเจาภาพในครั้งตอไป


สําหรับการเตรียมความพรอมของกองทัพอากาศในการจะเขาไปสูประชาคมอาเซียน พ.ศ.๒๕๕๘ นั้น มีการตระเตรียมทั้งขั้นตอนกระบวนการ รวมทั้งหนวยผูรับผิดชอบขึ้นอยางจริงจังตั้งแตป ๕๕ และในจุดที่ นาสนใจอีกประการหนึ่งคือ ในที่ประชุมสภากลาโหมฯ ครั้งที่ ๗/๕๕ เมื่อ ๒๖ ก.ค.๕๕ รมว.กห.ไดกรุณาอนุมัติ รางแนวทางปฏิบัติของ กห.ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในป ๕๘ และใหหนวยขึ้นตรง กห. (ซึ่งหมายรวม ทอ.ดวย) จัดทํา แผนงาน/โครงการ และงบประมาณสําหรับป ๕๗ - ๕๘ ตามโครงการ Flagship Project เสนอ บก.ทท. และ กห.ทราบ เพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการ ๓ ป กห. (ป ๕๖ - ๕๘) ภายใน ต.ค.๕๕ ซึง่ ในจุดนีเ้ องถือวาเปนจุดเริม่ ตนกาวเดินทีส่ าํ คัญในการเขาไปมีบทบาทและสวนรวมของการเขาสูป ระชาคมอาเซียน อยางเปนขั้นเปนตอนและเปนทางการของกองทัพอากาศ


 แนวทางปฏิบัติของกระทรวงกลาโหมในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในป ๒๕๕๘ มีดังนี้ ๑. การพัฒนาดานกําลังพล : พัฒนาการฝกและศึกษา การใชภาษาอังกฤษ และภาษาของชาติในอาเซียน ของกําลังพลในกองทัพใหสามารถบูรณาการองคความรูไดอยางประสานสอดคลองเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เชน การพัฒนารูปแบบในการฝกรวมผสมหรือการปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนเสนาธิการเหลาทัพ เพื่อใหรองรับ นายทหารนักเรียนตางชาติในอาเซียนไดมากขึ้น เปนตน ๒. การพัฒนาดานการจัดทํางบประมาณ : ปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ ๔ ป ของกระทรวงกลาโหม และหนวยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม (ป ๕๕ - ๕๘) และแผนปฏิบัติราชการประจําปใหสามารถตอบสนองและ สามารถรองรับตอภารกิจในความรับผิดชอบ และสนับสนุนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียนในป ๕๘ ไดอยาง เปนรูปธรรม ๓. การพัฒนาดานการบริหารจัดการ : ๓.๑ บูรณาการกิจกรรมตาง ๆ ของอาเซียนที่ไดมีการจัดทําไวอยูแลว เชน การประชุมผูบัญชาการ ทหารสูงสุดอาเซียนอยางไมเปนทางการ การประชุมผูบัญชาการเหลาทัพอาเซียน การแขงขันยิงปนอาเซียน การประชุมเจากรมขาวทหารอาเซียนอยางไมเปนทางการ การประชุมเจากรมยุทธการทหารอาเซียนอยาง ไมเปนทางการ เปนตน ๓.๒ ดําเนินการตามเอกสารแนวความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ADMM) และกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเ จรจา (ADMM-Plus) ทัง้ ๙ ฉบับ** (รายละเอียดอยูในตอนที่ ๑) ใหเกิดผลเปนรูปธรรม โดยการจัดทําแผนงานงบประมาณเพื่อรองรับทั้ง ๙ ดาน ๓.๓ จัดตั้งกลไกในการดําเนินการขับเคลื่อนความรวมมือในกรอบอาเซียนและพิจารณาปรับปรุง แกไขกลไกหรือกฎระเบียบตาง ๆ ทีม่ อี ยูแ ลวใหมคี วามเหมาะสมเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ รวมถึงอาจจัดตัง้ หนวยงาน


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๒๗

ทีเ่ กีย่ วกับการสรางความไวเนือ้ เชือ่ ใจ สถาบันดานการศึกษาและวิจยั งานดานอาเซียนเพิม่ เติม หรือการปรับปรุง กฎระเบียบตาง ๆ ที่ลาสมัยเพื่อรองรับการเปนประชาคมอาเซียน เปนตน ๓.๔ ปรับปรุงแผนปองกันประเทศและภารกิจของกองกําลังปองกันชายแดนใหสอดคลองกับ การเปนประชาคมอาเซียนในป ๕๘ ดวยการเตรียมความพรอมของหนวย ยุทโธปกรณ บุคลากร ใหมีความ เปนสากล และสามารถรองรับการแกไขปญหารวมกันของอาเซียนในภาพรวมได ๓.๕ สนับสนุนการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ดวยการใชศักยภาพและขีดความสามารถที่มีอยูของกระทรวงกลาโหม *** แนวทางปฏิบัติฯ ของ กห.นี้ เปนตนแบบสําคัญของการกําเนิด รางยุทธศาสตร ทอ.ในการเขาสูประชาคมอาเซียน พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๖๒ ในเวลาตอมา *** ภายหลังจากที่มีสั่งการดวนจาก กห.ใหหนวยขึ้นตรงจัดทําแผนงาน/โครงการ และงบประมาณรองรับ แนวทางปฏิบตั ฯิ ของ กห.แลว ยก.ทอ.จัดประชุมการเตรียมความพรอมของ ทอ.เพือ่ รองรับการเขาสูป ระชาคม อาเซียนในป ๕๘ เมือ่ ๑๔ ส.ค.๕๕ โดยทีป่ ระชุมฯ ประกอบดวยผูแ ทน กรม ฝสธ.และหนวยเกีย่ วของ รวมกําหนด แนวทางการดําเนินการของ ทอ.เพื่อรองรับการเปนประชาคมอาเซียน สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ ๑. ยึดถือนโยบายและสั่งการของรัฐมนตรีและมติ ครม. รมว.กห. ผบ.ทสส. และ ผบ.ทอ.เปนสําคัญ ๒. ดําเนินการใหสอดคลองตามกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ADMM) และกรอบการ ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา (ADMM - Plus) ๓. เสริมสรางความสัมพันธและความรวมมือโดยใชกลไกของ ทอ.ที่ดําเนินการทั้งกรอบทวิภาคี และ กรอบพหุภาคีใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด ๔. กําหนดแผนงาน/โครงการ และ งป.ทอ.สําหรับป ๕๗ - ๕๘ ที่มีลําดับความสําคัญสูง สงให บก.ทท. และ กห.เพื่อดําเนินการจัดทําแผนงาน/โครงการที่มีลําดับความสําคัญสูง (Flagship Project) ตามแผนปฏิบัติการ ๓ ป กห. (ป ๕๖ - ๕๘) ทอ.ไดกําหนดโครงการที่มีลําดับความสําคัญสูงสุดตามแผนปฏิบัติการ ๓ ป กห.จํานวน ๓ โครงการ โดยใช งป.ทอ.ดังนี้ ๑. โครงการแลกเปลี่ยนการเยือนระหวาง ทอ. - ทอ.มิตรประเทศ (อาเซียน) ระดับผูบริหารระดับสูง และระดับปฏิบัติงาน โดยให ขว.ทอ.เปนเจาภาพ ๒. โครงการเสริมสรางศักยภาพ ทอ.พรอมเขาสูประชาคมอาเซียน โดยให กพ.ทอ.เปนเจาภาพ ๓. โครงการความรวมมือในการจัดการกับภัยพิบัติธรรมชาติในประเทศอาเซียน โดยให กร.ทอ.เปน เจาภาพ สวนโครงการที่มีความสําคัญรองลงมาอีก ๔ โครงการ ไดแก ๑. โครงการสัมมนาเรื่อง ๓ เสาหลักของประชาคมอาเซียน โดยให ยศ.ทอ.เปนเจาภาพ ๒. โครงการเตรียมความพรอมบุคลากรดานไอซีทีของ ทอ.เพื่อรองรับการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน โดยให ทสส.ทอ.เปนเจาภาพ


๒๘ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

๓. โครงการกําหนดแนวทางพัฒนาไอซีทีและการเพิ่มศักยภาพบุคลากรดานไอซีทีของ ทอ.เพื่อรองรับ การเขาสูประชาคมอาเซียน โดยให ทสส.ทอ.เปนเจาภาพ ๔. โครงการสัมมนาวิชาการเหลาทหารพระธรรมนูญเพือ่ เตรียมความพรอมสูป ระชาคมอาเซียน โดยให สธน.ทอ.เปนเจาภาพ หลังจากที่ ทอ.ไดเสนอคําของบประมาณใหแก บก.ทท.และ กห. ในปลาย ก.ย.๕๕ เรียบรอยไปแลว ในตนเดือน ต.ค.๕๕ ดวยวิสยั ทัศนอนั กวางไกลของ ผบ.ทอ.ไดกาํ หนดนโยบาย ผบ.ทอ.ป ๕๖ ในนโยบายเรงดวน ขอ ๔ กําหนดใหมหี นวยรับผิดชอบงานในสวนทีเ่ กีย่ วของกับการเขาสูป ระชาคมอาเซียน ในป ๕๘ ตลอดจนสราง ความตระหนักและความรู ความเขาใจใหแกกาํ ลังพล เพือ่ รองรับการปฏิบตั งิ านภายใตเสาหลักดานการเมืองและ ความมัน่ คงของประชาคมอาเซียน ใหมคี วามสมบูรณสงู สุด และเกือ้ กูลตอความเขมแข็งดานสังคม วัฒนธรรมและ ดานเศรษฐกิจอยางเหมาะสม จึงจัดตัง้ หนวยรับผิดชอบในสวนทีเ่ กีย่ วของกับการเขาสูก ารเปนประชาคมอาเซียน ในป ๕๘ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการอาเซียนกองทัพอากาศ โดยมี ผช.ผบ.ทอ.(สายงานกิจการพิเศษ) เปนประธาน กรรมการ และ ผอ.กนผ.ยก.ทอ.เปนกรรมการและเลขานุการ มีหนาที่กําหนดแนวทาง และวางแผนการปฏิบัติ รวมถึงอํานวยการ ประสานงาน และกํากับดูแลการดําเนินการเกี่ยวกับอาเซียน ทอ. ตลอดจนติดตามและ ประเมินผล โครงการและงบประมาณในการดําเนินการเกีย่ วกับอาเซียนของ ทอ.ใหสอดคลองกับนโยบาย ผบ.ทอ. และแนวทางปฏิบัติของ กห.ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในป ๕๘ ทั้งนี้คณะกรรมการอาเซียน ทอ.มีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการอาเซียน ทอ.ขึ้นจํานวน ๒ คณะ ไดแก - คณะอนุกรรมการอาเซียน ทอ.ดานความรวมมือรวม โดยมี รอง เสธ.ทอ.(ยก., ขว.) เปนประธาน อนุกรรมการ มีหนาที่ประสานงาน กํากับดูแล และบูรณาการการดําเนินการในรูปแบบของคณะทํางานรวม ทอ.กับ ทอ.กลุมอาเซียน (Air Working Group: AWG) และงานดานความรวมมือตาง ๆ ของ ทอ.กับ ทอ.ใน ภูมิภาคอาเซียน รวมกับคณะผูเชี่ยวชาญ ๖ ดาน ตามแนวทางความรวมมือในกรอบ ADMM-Plus - คณะอนุกรรมการอาเซียน ทอ.ดานการฝกศึกษา โดยมี รอง เสธ.ทอ.(กพ., กบ.) เปนประธาน อนุกรรมการ มีหนาทีป่ ระสานงาน กํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินการเกีย่ วกับอาเซียนของ ทอ. ในดานการฝกศึกษาเปนสําคัญ ๒. สํานักงานอาเซียนกองทัพอากาศ (เพื่อพลาง) โดยมี รอง จก.ยก.ทอ.เปน หน.สํานักงาน มีหนาที่ ดําเนินการธุรการ สนับสนุน และการบริการ รวมถึงวางแผนการใชงบประมาณที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน ของคณะกรรมการฯ ตลอดจนประสานงานหนวยเกี่ยวของตามแผนงาน/โครงการ รวมถึงดําเนินงานตามที่ได รับมอบจากคณะกรรมการฯ ในชวงตลอดป ๕๖ ทีผ่ า นมา คณะกรรมการอาเซียนกองทัพอากาศ มีมติใหจดั ทํายุทธศาสตรกองทัพอากาศ ในการเขาสูป ระชาคมอาเซียน โดยมอบใหสาํ นักงานคลังสมองกองทัพอากาศ รับผิดชอบจัดทํายุทธศาสตรเฉพาะ ในการเขาสูประชาคมอาเซียน เพื่อเปนแนวทางระยะยาวสําหรับใหหนวยตาง ๆ ไดใชเปนแนวทางในการจัดทํา แผนปฏิบัติการรองรับการเขาสูประชาคมอาเซียนของหนวยตนเอง


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๒๙

กระบวนการจัดทํายุทธศาสตร ทอ.ในการเขาสูประชาคมอาเซียน พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๖๕ นั้น เริ่มมา ตั้งแต ๒ เม.ย.๕๖ ผานการประชุมคณะกรรมการอาเซียน ทอ. การประชุม ฝสธ.ทอ.และการประชุม ทอ. รวมทัง้ ปรับแกไขตามสัง่ การของ ผบ.ทอ.ในทีป่ ระชุม ทอ.เมือ่ ๒๙ ก.ค.๕๖ จนกระทัง่ แลวเสร็จเมือ่ ๗ ส.ค.๕๖ และ ไดรับอนุมัติจาก ผบ.ทอ.เมื่อ ๖ ก.ย.๕๖ ในชวงขณะเดียวกันสํานักงานอาเซียน ทอ.รวบรวมแผนงาน/โครงการ ทีม่ ลี าํ ดับความสําคัญสูง (Flagship Project) ตามทีไ่ ดนาํ เสนอ บก.ทท.และ กห. เพือ่ ทีจ่ ะดําเนินการในป ๕๗ มีรายละเอียด ดังนี้ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป ๕๗ ตามแนวทางปฏิบัติของกระทรวงกลาโหม ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในป ๒๕๕๘ ๑. การพัฒนาดานกําลังพล ๑.๑ การประชุม : การแลกเปลีย่ นความรวมมือดานการศึกษาระหวางประเทศในกลุม ประชาคมอาเซียน ณ ประเทศเนการา บรูไน ดารุสซาราม (ยศ.ทอ.) ๑.๒ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ : การแลกเปลี่ยนความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพกําลังพล ทอ.ใหพรอมเขาสู ประชาคมอาเซียน (กพ.ทอ.) ๑.๓ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : แนวทางการพัฒนาการศึกษาวิชาชีพทางทหาร PME (Professional Military Education) รองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน (ยศ.ทอ.) ๑.๔ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : การเตรียมความพรอม วพอ.พอ.เขาสูป ระชาคมอาเซียน (วพอ.พอ.) ๑.๕ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : แนวทางปรับปรุงระบบการศึกษา รร.นนก.ใหรองรับการเปนประชาคม อาเซียน (รร.นนก.) ๒. การพัฒนาดานการบริหารจัดการ ๒.๑ การประชุม ผบ.ทอ.อาเซียน (สนง.อาเซียน ทอ.) ๒.๒ การประชุม : การแลกเปลีย่ นความรวมมือดานความมัน่ คง ระหวาง ทอ.กับ ทอ.ประเทศเพือ่ นบาน และ ทอ.ประเทศในกลุมประชาคมอาเซียนภายใตกรอบของสหประชาชาติ (ขว.ทอ.) ๒.๓ การประชุม : การจัดทําความรวมมือดานความมั่นคงภายใตกรอบ ทอ.อาเซียน (ยก.ทอ.) ๒.๔ การประชุม : การเตรียมความพรอมความรวมมือทางทหารในการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ของอาเซียนในกรอบสหประชาชาติ (ยก.ทอ.) ๒.๕ การประชุม : ความรวมมือทางทหารในการบรรเทาภัยพิบตั แิ ละสถานการณกรณีฉกุ เฉิน ระดับ อาเซียนในกรอบของสหประชาชาติ (ยก.ทอ.) ๒.๖ การประชุม : ผลกระทบจากปญหาและภัยคุกคามดานความมั่นคงรูปแบบใหม (ขว.ทอ.) ๒.๗ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : การเตรียมความพรอมเพือ่ เผชิญกับปญหาความมัน่ คงในรูปแบบใหม ในทุกดาน ไดแก ดานพลังงาน ดานสิ่งแวดลอม ความมั่นคงของมนุษย อาชญากรรมขามชาติ และการกอการราย และอุบัติภัย (ขว.ทอ.)


๓๐ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

๒.๘ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : การเตรียมความพรอมความรวมมือทางทหารในการปฏิบตั กิ ารรักษา สันติภาพของอาเซียนในกรอบสหประชาชาติ (ยก.ทอ.) ๒.๙ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : ความรวมมือทางทหารในการบรรเทาภัยพิบตั แิ ละสถานการณกรณี ฉุกเฉินระดับภูมิภาคอาเซียนในกรอบสหประชาชาติ (ยก.ทอ.) ๒.๑๐ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ : การจัดทํา ASEAN AF Standard Maritime Surveillance SOP ในสวนของ ทอ. (ยก.ทอ.) ๒.๑๑ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : การเตรียมความพรอมแพทยทหารในระดับภูมภิ าคอาเซียน (พอ.) ๒.๑๒ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ : การแพทยการบินพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน (สวบ.ทอ.) ๒.๑๓ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : ยุทธศาสตรความรวมมือดานความมัน่ คงภายในกรอบ ทอ.อาเซียน (สคม.ทอ.) ๒.๑๔ การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร : การเตรียมความพรอมดานยุทธการในประชาคมอาเซียน (ยก.ทอ.)

๓. การจัดตัง้ กลไกในการดําเนินการขับเคลือ่ นความรวมมือในกรอบอาเซียน เพือ่ ใหเกิดการบูรณาการ ในการเสริมสรางความสัมพันธอันดีใหแนนแฟน สรางความไวเนื้อเชื่อใจตอกัน กอใหเกิดความรวมมือทางทหาร ตอกันในอนาคตและมุงหวังใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู เขาใจวิถีชีวิต สภาพสังคม วัฒนธรรมประเพณีของ ประชาชนแตละประเทศ ซึง่ ในขณะเวลานัน้ มีการดําเนินการในรูปแบบคณะทํางานรวม ทอ.กับ ทอ.มิตรประเทศ (Air Working Group: AWG) จํานวน ๓ ประเทศ (ทอ.สิงคโปร ทอ.อินโดนีเซีย และ ทอ.มาเลเซีย) โดยในป ๕๗ ขยายผลเพิ่มเติมอีก ๔ ประเทศ ไดแก ทอ.กัมพูชา กรมทหารอากาศลาว ทอ.เมียนมา และ ทอ.เวียดนาม) ในชวงระยะ ๒ ปที่ผานมา (๕๖ - ๕๗) กองทัพอากาศไดผลักดันสรางความตระหนักและความรู ความเขาใจใหแกกาํ ลังพล เพือ่ รองรับการปฏิบตั งิ านภายใตเสาหลักดานการเมืองและความมัน่ คงของประชาคม อาเซียน ผานโครงการ/กิจกรรมทีส่ าํ คัญมากมาย อาทิ โครงการประชุมวิชาการ เรือ่ ง ทิศทางการเขาสูป ระชาคม อาเซียนของกองทัพอากาศ จัดโดย สคม.ทอ. เมื่อ ๓๐ เม.ย.๕๖ โครงการเพิ่มศักยภาพกําลังพลกองทัพอากาศ ใหพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน จัดโดย กพ.ทอ. เมื่อ ๑๗ ธ.ค.๕๖ เปนตน  (ฉบับหนาติดตาม แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป ๕๘ ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในป ๒๕๕๘)


น.ต.พาคินทร วาทิน ชวงปลายเดือนกันยายน ๒๕๕๘ ทีผ่ า นมา ทันตแพทยสมาคมแหงประเทศไทยไดรบั เกียรติจากองคกร ทันตแพทยนานาชาติหรือที่รูจักกันในนามวา FDI (Federation Dentaire Internationale) มอบหมายให ประเทศไทยเปนเจาภาพในการจัดงานประชุมวิชาการสหพันธทันตแพทยโลกประจําป 2015 (2015 Annual World Dental Congress) ขึน้ ณ ศูนยประชุมไบเทค บางนา ภายในงานประกอบดวย การประชุมทางวิชาการ งานแสดงสินคาทางทันตกรรม ซึง่ จัดขึน้ ปละหนึง่ ครัง้ หมุนเวียนกันไปในประเทศสมาชิกทีม่ อี ยูน บั รอยประเทศ ทั่วโลก และในการประชุมวิชาการทันตแพทยจะมีการประชุมของทันตแพทยทหารตํารวจ ที่เรียกชื่อยอวา SDFDS (Section of Defense Forces Dental Services) รวมอยูดวย โดยจัดขึ้นอยางตอเนื่องมาเปนเวลา กวาสิบปแลว สําหรับการจัดประชุมทันตแพทยทหารตํารวจ ดําเนินงานโดยคณะกรรมการซึ่งเปนทันตแพทย จากเหลาทัพในประเทศเจาภาพ และในป 2015 ทันตแพทยสมาคมแหงประเทศไทยไดเชิญกรมแพทยทหารบก กรมแพทยทหารอากาศ กรมแพทยทหารเรือ สํานักงานแพทย สํานักงานสนับสนุน สํานักงานปลัดกระทรวง กลาโหม สํานักงานแพทยทหาร กรมยุทธบริการทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย และโรงพยาบาลตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ มาเปนเจาภาพรวมในการจัดงานประชุม SDFDS ครั้งนี้ดวย


๓๒ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

SDFDS 2015 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 - 22 กันยายน 2558 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนเวทีการพบกัน ในกลุมทันตแพทยทหารตํารวจ และแลกเปลี่ยนความรูระหวางทันตแพทยจากประเทศสมาชิกทั่วโลก ทั้งทาง ดานวิชาการ การนําเสนอผลงานวิจยั ความรูด า นนวัตกรรมตาง ๆ และการนําเสนอสิง่ ประดิษฐใหม ๆ ซึง่ ทันตแพทย ทหารตํารวจไดแสดงศักยภาพและรวมพลัง ทําใหการจัดงานครั้งนี้ออกมาอยางยิ่งใหญและสมศักดิ์ศรี ถือวา ประสบความสําเร็จอยางมาก เพราะมีทันตแพทยทหารตํารวจจากตางประเทศเขารวมงานมากกวา 100 คน เมื่อรวมกับจํานวนทันตแพทยทหารตํารวจของไทยอีกประมาณ 200 คน รวมเปนผูเขารวมงานถึง 300 กวาคน ซึ่งถือวาบรรลุเปาหมายที่วางไว สมดังความมุงมั่นและตั้งใจของคณะกรรมการผูจัดงานทุกทาน วันทีส่ องของการประชุม กองทัพอากาศไดรบั เกียรติใหเปนเจาภาพหลักในการดําเนินการจัดงานประชุม วิชาการ โดยไดรบั ความรวมมือและการสนับสนุนดวยดีจาก ผบ.ทอ. ผูบ งั คับบัญชาทุกระดับใน พอ. และ นขต.พอ. ทุกทาน ทําใหการจัดดําเนินงานในสวนของกองทัพอากาศ ทั้งในดานการประชุมวิชาการ การแสดงสินคา ทางทันตกรรม และการจัดพิธีปดประสบความสําเร็จเปนอยางดี การดําเนินงานในครั้งนี้ น.อ.หญิง รัตนาพร ตีระวัฒนานนท ผอ.กองทันตกรรม รพ.ภูมพิ ลอดุลยเดช พอ. ในฐานะประธานคณะกรรมการกําลังพลทันตแพทย ทอ. ไดมอบหมายให น.อ.หญิง ปริยกมล ถาวรนันท และ น.ท.หญิง พนาวัลย กระแสรตานนท เปนตัวแทน ของกองทัพอากาศ เขารวมเปนคณะกรรมการจัดงานประชุมทันตแพทยทหารตํารวจดวย

ในการประชุม SDFDS 2015 กองทัพอากาศไดมอบหมายให ร.อ.หญิง รัฐติยา ปุณยานันต ทันตแพทย กองทันตกรรม โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทยทหารอากาศ นําเสนอเกี่ยวกับนวัตกรรมทางทันตกรรม ในหัวขอ Nasoalveolar Molding (NAM) in Cleft Lip and Palate Infants: Case Reports ซึ่งไดรับ ความสนใจจากผูเขารวมประชุมอยางมาก เนื่องจาก NAM หรือเครื่องมือเพดานเทียม เปนนวัตกรรมที่มีสวน ปรับตําแหนงโครงสรางของจมูกในทารกแรกเกิดที่มีภาวะปากแหวงเพดานโหวใหใกลเคียงตําแหนงปกติ กอนที่ เด็กจะเขารับการผาตัดตกแตงริมฝปากและจมูกตอไป ซึ่งกองทัพอากาศถือเปนหนวยงานแรกของเหลาทัพ ในประเทศไทยที่สามารถสรางนวัตกรรมชิ้นนี้ขึ้นมา และเครื่องมือชนิดนี้ชวยเด็กทารกที่มีภาวะปากแหวง เพดานโหวเปนจํานวนมาก จึงเปนความภาคภูมใิ จอยางมากของกรมแพทยทหารอากาศทีส่ ามารถแกไขสภาวะ ผิดปกตินี้ใหกับคนไขไดสําเร็จดวยดีหลายราย


 ปากแหวงเพดานโหวดานเดียว

 ปากแหวงเพดานโหวสองดาน

เครื่องมือ


การจัดประชุม SDFDS 2015 ครั้งนี้ มีประโยชนตอประเทศไทยเปนอยางมาก และสอดคลองกับการ กาวเขาสู AEC ทําใหมีการเสริมสรางความสัมพันธระหวางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศไทยซึ่งกําลัง จะมีการจัดตั้งศูนยแพทยทหารอาเซียนขึ้น แมขณะนี้อยูในขั้นเตรียมตัวก็ตาม แตงานประชุมครั้งนี้ก็เปนสิ่งดี ที่จะขยายผลไปสูการจัดตั้งศูนยแพทยทหารอาเซียนตอไปในอนาคต 



ROYAL THAI AIR FORCE

เจตนารมณ

One of the best Air Forces in ASEAN

กองทัพอากาศตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนากองทัพอากาศ เพือ่ มุง สูว สิ ยั ทัศนอยางเปนรูปธรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งการปฏิบัติงานของกองทัพอากาศตองเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและมาตรฐาน เพื่อดํารง ขีดความสามารถของกองทัพอากาศในการปองกันประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน และการสนับสนุน รัฐบาลในการพัฒนาประเทศ จึงกําหนดนโยบายผูบัญชาการทหารอากาศ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติงานของ สวนราชการกองทัพอากาศ โดยมุงเนนการปฏิบัติงานตามแผนงานในแผนแมบทกองทัพอากาศทุกดาน ตามทิศทางยุทธศาสตรกองทัพอากาศ ทั้งนี้ ทุกสวนราชการสังกัดกองทัพอากาศตองกําหนดแผนงานที่ชัดเจน เพื่อเปนเครื่องมือในการบริหารของแตละสวนราชการ กองทัพอากาศมุงมั่นสรางความยั่งยืนในการพัฒนาและดํารงขีดความสามารถของกองทัพอากาศ ดังนั้นการพึ่งพาตนเอง การสรางองคความรู การสรางมาตรฐานการทํางาน และความปลอดภัยเปนสิ่งจําเปน อยางยิ่ง พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง ผูบัญชาการทหารอากาศ


นโยบายทั่วไป

กองทัพอากาศ กองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค

พระราชบัญญัติจัดระเบียบบริหารราชการ กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๒๑ กําหนดให กองทัพอากาศมีหนาที่เตรียมกําลังกองทัพอากาศ ปองกันราชอาณาจักร และดําเนินการเกี่ยวกับการใชกําลัง กองทัพอากาศตามอํานาจหนาทีข่ องกระทรวงกลาโหม มีผบู ญ ั ชาการทหารอากาศ เปนผูบ งั คับบัญชารับผิดชอบ ดังนั้น เพื่อใหสามารถบริหารราชการกองทัพอากาศภายใตกรอบภารกิจตามกฎหมายเปนไปตามนโยบาย ความมัน่ คงของรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี กองทัพอากาศจึงไดกาํ หนดนโยบายทัว่ ไป ซึง่ เปนการดําเนินการ ตอเนื่องจากป พ.ศ.๒๕๕๘ เพื่อใหหนวยมีแผนงานและเปาหมายที่ชัดเจน รวมถึงมีการติดตามความสําเร็จของ สวนตาง ๆ ใหเปนไปตามยุทธศาสตรและแผนแมบทกองทัพอากาศ ดังนี้ ๑. ดํารงขีดความสามารถในการปองกันประเทศและการรักษาความมั่นคงภายใน ควบคูไปกับดํารง ขีดความสามารถในการสนับสนุนรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ การชวยเหลือประชาชน การดําเนินการตาม โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พรอมทั้งเตรียมความพรอมในการ เขาสูประชาคมอาเซียน ๒. ดํารงความมุง หมายตามยุทธศาสตรกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๖๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๗) และแผนแมบทกองทัพอากาศ เพื่อมุงสูวิสัยทัศนกองทัพอากาศ โดยทุกสวนราชการสังกัดกองทัพอากาศ ตองยึดถือการดําเนินการตามยุทธศาสตรและแผนแมบทกองทัพอากาศ ตลอดจน ทบทวน ปรับปรุง และ ใชแผนแมบทเปนหลักในการขับเคลื่อนกองทัพอากาศตามหวงเวลาที่กําหนดทั้งระยะกลางและระยะยาว โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของทรัพยากรและสอดคลองกับการวางแผนงบประมาณของกองทัพอากาศ ๓. การปฏิบตั งิ านของสวนราชการสังกัดกองทัพอากาศ ตองมีแผนงานและปฏิทนิ การทํางานทีค่ รบถวน ในงานที่รับผิดชอบ และมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของสวนราชการของกองทัพอากาศ ๔. ผูบังคับบัญชาทุกระดับตองเปนแบบอยางที่ดีในการปกครองบังคับบัญชาตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งประกอบดวย หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ และ หลักความคุมคา และตองมีความสามารถในการเปนผูนําการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งเสริมสรางและปลูกจิตสํานึก ใหกาํ ลังพลมีความรักสามัคคี มีวนิ ยั ศรัทธาและความเสียสละควบคูก บั การยึดถือและปฏิบตั ติ นตามคานิยมหลัก ของกองทัพอากาศ และนอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกระแสพระราชดํารัส “เขาใจ เขาถึง และ พัฒนา” มาเปนแนวทางในการปฏิบตั ริ าชการกองทัพอากาศอยางเต็มความสามารถโดยยึดถือประโยชนของชาติ เปนสําคัญ


ROYAL THAI AIR FORCE One of the best Air Forces in ASEAN

นโยบายเฉพาะ

๑. ดานกําลังพล ๑.๑ นําสมรรถนะ (Competency) กําลังพลกองทัพอากาศมาใชในการบริหารกําลังพล เพือ่ เปนแนวทาง ในการเสริมสรางศักยภาพกําลังพลในทุกสายวิทยาการ ใหมขี ดี ความสามารถทีจ่ าํ เปนในการปฏิบตั หิ นาทีไ่ ดอยาง มีประสิทธิภาพ ๑.๒ จัดทําแผนพัฒนาการศึกษาในภาพรวมของกองทัพอากาศ เพือ่ เปนแนวทางการจัดการศึกษาอยาง เปนระบบและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนากองทัพอากาศ โดยมุง เนนการพัฒนากําลังพลใหตรงความตองการ ของกองทัพอากาศทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ๑.๓ กําหนดแนวทางการพัฒนากําลังพลสายวิทยาการใหสามารถดํารงขีดความสามารถในการปฏิบตั งิ าน ไดตามมาตรฐาน โดยการตรวจสอบและปรับหลักสูตรของโรงเรียนเหลาสายวิทยาการใหสอดคลองกับมาตรฐานงาน และความกาวหนาของเทคโนโลยี การพิจารณาแนวทางการกําหนดหลักสูตร การทบทวนความรู (Refresher Course) การยกระดับความชํานาญการ (Upgrade Course) และการประเมินหลักสูตรเพื่อกํากับมาตรฐาน ของแตละสายวิทยาการอยางเปนระบบ ๑.๔ ปรับปรุงโครงการศึกษาของกองทัพอากาศในตางประเทศโดยมุงเนนผลสัมฤทธิ์และคํานึงถึง ความคุมคา พิจารณาริเริ่มโครงการศึกษาในประเทศที่สามารถรองรับการพัฒนาขีดความสามารถและยกระดับ มาตรฐานการปฏิบัติงานกําลังพลแตละหนวยงาน ๑.๕ ศึกษาแนวทางการนําระบบการเรียนรูดวยตนเองผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (E-Learning) มาใชเปน เครื่องมือในการเรียนการสอนของทุกสายวิทยาการ เพื่อใหผูเรียนสามารถเขาถึงสื่อการเรียนการสอนไดงาย โดยไมกระทบตอการปฏิบัติงานประจํา ๑.๖ พัฒนากําลังพลกองทัพอากาศใหมีจิตสํานึกทางสังคมในการใหบริการ

๒. ดานการขาว ๒.๑ นําแนวความคิดในการปฏิบตั กิ ารขาวกรอง การเฝาตรวจและการลาดตระเวน (ISR CONOPs) และ หลักนิยมการขาวกรอง การเฝาตรวจและการลาดตระเวน (ISR Doctrine) ไปสูการปฏิบัติของหนวยเกี่ยวของ โดยการวางแผน แสวงหาขอมูล การดําเนินกรรมวิธี และการกระจายขาวกรองทีร่ วดเร็วและแมนยํา เพือ่ ตอบสนอง ตอการตัดสินตกลงใจ สั่งการและควบคุมตามแนวทางการปฏิบัติที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง ๒.๒ พัฒนาขีดความสามารถในการแปลความและวิเคราะหขอมูลทุกประเภทที่ไดจากระบบตรวจจับ เพื่อใหไดขาวกรองที่ถูกตอง เหมาะสมสําหรับการควบคุมบังคับบัญชาในทุกระดับ และสนับสนุนการพิจารณา ตัดสินใจตกลงใจที่ถูกตอง รวดเร็ว และทันตอเหตุการณ ๒.๓ พัฒนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo informatics) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานดานการขาว รองรับการปฏิบัติที่ใชเครือขายเปนศูนยกลางใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ๒.๔ สรางจิตสํานึกดานการขาวและการรักษาความปลอดภัยใหกับขาราชการและครอบครัว เพื่อใหรู เทาทันและไมตกเปนเครื่องมือของผูสรางสถานการณและภัยคุกคามที่เปลี่ยนแปลงไป


นโยบายเฉพาะ

กองทัพอากาศ กองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค

๓. ดานยุทธการและการฝก ๓.๑ ปรับปรุงรายละเอียดโครงสรางกําลังรบของกองทัพอากาศ โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับ สภาวะแวดลอม ระดับความสามารถในการซอมบํารุง และกรอบงบประมาณที่เปนไปไดจริง ๓.๒ กําหนดแนวทางการเตรียมความพรอมบุคลากรรองรับยุทโธปกรณที่จะเขาประจําการตั้งแตป พ.ศ.๒๕๕๙ เชน เครื่องบินฝกนักบินขับไลขั้นตน เฮลิคอปเตอรรับ - สงบุคคลสําคัญ และอากาศยานไรคนขับ ตามโครงการผลิตอากาศยานไรนักบินของกองทัพอากาศ เปนตน ตลอดจนพัฒนาระบบเครื่องชวยฝกจําลอง โดยคํานึงถึงความคุมคาที่ไดรับจากการฝก ๓.๓ พัฒนาระบบเชื่อมโยงขอมูลทางยุทธวิธีกับกองทัพเรือตามแผนการดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่อ ใหกองทัพอากาศและกองทัพเรือสามารถปฏิบตั กิ ารรวมไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพิจารณาแนวทางการ ขยายผลไปสูกองทัพไทยและเหลาทัพ ๓.๔ ดําเนินการและสนับสนุนการแกไขปญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตตามแนวทางของ กองอํานวยการรักษาความมัน่ คงภายในภาค ๔ สวนหนาและรายงานผลการปฏิบตั งิ านของกองทัพอากาศ พรอม เสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการแกไขปญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตของกองทัพอากาศ ๓.๕ จัดทํามาตรฐานความสมควรเดินอากาศดานการปฏิบัติการบินใหเปนไปตามมาตรฐานสากล และเสริมสรางความรูความเขาใจใหกับหนวยเกี่ยวของโดยเรงดวน ๓.๖ เสริมสรางกองทัพอากาศใหเปนองคการแหงความปลอดภัยและกําหนดมาตรการในการกํากับ ดูแลการปฏิบตั ภิ ารกิจใหเปนไปตามมาตรฐานความปลอดภัย โดยผูบ งั คับบัญชาทุกระดับชัน้ ตองใหความสําคัญ กับงานนิรภัย และกําลังพลทุกคนตองมีสวนรวมในการปองกันอุบัติเหตุ มุงเนนการปองกันอุบัติเหตุเชิงรุก


ROYAL THAI AIR FORCE One of the best Air Forces in ASEAN

นโยบายเฉพาะ

๔. ดานสงกําลังบํารุง ๔.๑ ประยุกตใชแนวคิดการบริหารยุทโธปกรณตลอดอายุการใชงาน (Life Cycle Management: LCM) ในการจัดหา ใชงาน และดูแลรักษายุทโธปกรณทกี่ องทัพอากาศกําหนด รวมทัง้ การวิเคราะหขอ มูลสงกําลังบํารุง ที่สําคัญ ๔.๒ กําหนดใหระบบสารสนเทศดานการสงกําลังบํารุง (LMIS) เปนระบบหลักในการบริหารจัดการ การสงกําลังและซอมบํารุงของกองทัพอากาศ เพื่อเปนฐานขอมูลประกอบการตัดสินใจดานการสงกําลังบํารุง ไดอยางมีประสิทธิภาพและทันสถานการณ ทัง้ นีท้ กุ หนวยทีเ่ กีย่ วของตองตรวจสอบขอมูลในระบบใหมคี วามทันสมัย ตลอดเวลา ๔.๓ พัฒนาการติดตามความกาวหนาในการจัดซือ้ จัดจางของกองทัพอากาศ โดยนําระบบสารสนเทศ มาประยุกตใช เพือ่ ใหสามารถติดตามความกาวหนาและรายงานผลการดําเนินการไดอยางตอเนือ่ ง รวมทัง้ ประสาน การปฏิบัติในการแกไขปญหาขอขัดของกับศูนยเรงรัดติดตามการจัดซื้อ/จางของกองทัพอากาศ ๔.๔ จัดทํามาตรฐานความสมควรเดินอากาศดานการสงกําลังและซอมบํารุง ใหเปนไปตามมาตรฐาน สากล และเสริมสรางความรูความเขาใจใหกับหนวยเกี่ยวของโดยเรงดวน ๔.๕ กําหนดแนวทางการปฏิบัติในการผลิตและการใชพลังงานทดแทน รวมทั้งการอนุรักษพลังงาน โดยคํานึงถึงความคุม คาในการใชพลังงานแตละประเภท และการสรางองคความรูด า นพลังงานของกองทัพอากาศ ตลอดจนการรักษาสภาวะแวดลอมและการดํารงรักษามาตรการการประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงภาคพื้นไวอยาง ตอเนื่อง ๔.๖ ตรวจสอบสถานภาพที่ราชพัสดุและกําหนดแผนการใชประโยชนที่ราชพัสดุในการปกครองดูแล และรับผิดชอบของกองทัพอากาศ ตลอดจนพิจารณาปรับปรุงมาตรฐานของฐานบินเพือ่ รองรับการปฏิบตั ภิ ารกิจ ของกองทัพอากาศ


นโยบายเฉพาะ

กองทัพอากาศ กองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค

๕. ดานกิจการพลเรือนและการประชาสัมพันธ ๕.๑ ดําเนินมาตรการปลูกฝงคานิยม ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และแสดงออกถึงความ จงรักภักดี เทิดทูน พิทักษรักษาสถาบันพระมหากษัตริยอยางสมพระเกียรติ ๕.๒ ระดมทรัพยากรของกองทัพอากาศและรวมมือกับทุกภาคสวน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดําริ สงเสริมใหขาราชการและหนวยงานของกองทัพอากาศเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง และเผยแพรสูประชาชนทั่วไป ๕.๓ กําหนดยุทธศาสตรการประชาสัมพันธใหสอดคลองกับสถานการณในแตละหวงเวลา โดยมุงเนน การสรางความตระหนักและความเชือ่ มัน่ ศรัทธา พรอมทีจ่ ะใหความรวมมือสนับสนุนภารกิจ และกิจกรรมทัง้ ปวง ของกองทัพอากาศ ๕.๔ พัฒนาและเสริมสรางขีดความสามารถในการปฏิบตั ดิ า นการปฏิบตั กิ ารขาวสาร เพือ่ สนับสนุนการ ปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ ๕.๕ ดํารงความพรอมในการปฏิบตั งิ านชวยเหลือประชาชนเมือ่ เกิดสาธารณภัยอยางรวดเร็ว ทันเหตุการณ สนับสนุนการปฏิบัติตามนโยบายรัฐบาลภายใตกรอบความรวมมือของประชาคมอาเซียน ตลอดจนกําหนด แนวทางและรูปแบบการบูรณาการกับทุกภาคสวนอยางเปนระบบ ๕.๖ พัฒนางานดานประวัติศาสตร เพื่อกาวสูการเปนหอจดหมายเหตุกองทัพอากาศและเปนแหลง รวบรวมความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรทหารดานการบิน ๕.๗ กําหนดแผนการพัฒนาพิพธิ ภัณฑกองทัพอากาศและการบินแหงชาติ โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับ แผนการกอสรางโครงการรถไฟฟาสายสีเขียว (สถานีพิพิธภัณฑกองทัพอากาศ) เพื่อพัฒนาพิพิธภัณฑกองทัพอากาศ และการบินแหงชาติ ใหเปนแหลงรวบรวมองคความรูดานการบินและอวกาศ รวมถึงการเปนแหลงทองเที่ยว ทางประวัติศาสตรการบินของประเทศ


ROYAL THAI AIR FORCE One of the best Air Forces in ASEAN

นโยบายเฉพาะ

๖. ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๖.๑ พัฒนาใหมีศูนยโทรคมนาคมสํารองและระบบเครื่องแมขายแบบคลาวดของกองทัพอากาศ รวมถึง ระบบสํารองฐานขอมูลที่เพียงพอ เพื่อรองรับกรณีระบบงานใดขัดของใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางตอเนื่อง ตลอดจนสามารถกูขอมูลเดิมไดทันสถานการณ ๖.๒ พัฒนาขีดความสามารถการปฏิบัติการดานสงครามไซเบอร โดยเฉพาะการสงเสริมและพัฒนา กําลังพลดานไซเบอรใหมีความพรอมในการปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล ๖.๓ ตรวจสอบระบบรักษาความปลอดภัยเครือขายสารสนเทศ และกําหนดแนวทางการพัฒนาระบบ รักษาความปลอดภัยเครือขายสารสนเทศใหสามารถตรวจจับ ปองกันการบุกรุก รวบรวม วิเคราะหเหตุการณ ละเมิดการรักษาความปลอดภัย และรายงานผลที่เกิดขึ้น ๖.๔ กําหนดแนวทางการพัฒนาเครือขายของกองทัพอากาศใหมีความแข็งแกรง สามารถติดตอสื่อสาร ขอมูลไดอยางรวดเร็ว ปลอดภัย รองรับปริมาณความตองการใชงาน

๗. ดานการวิจัยและพัฒนา ๗.๑ สงเสริมการนําผลงานวิจัยและพัฒนาการทหารของกองทัพอากาศที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน ยุทโธปกรณหรือรับรองคุณภาพผลงานวิจยั และพัฒนาการทหารกองทัพอากาศ มาพิจารณาผลิตใชงาน โดยตอง คํานึงถึงความคุมคาอยางเปนรูปธรรม พรอมทั้งเผยแพรผลงานวิจัยและพัฒนาของกองทัพอากาศใหแกบุคคล หรือหนวยงานทั้งภายในและภายนอกกองทัพอากาศ ๗.๒ พัฒนาการรับรองมาตรฐานยุทโธปกรณของกองทัพอากาศ ใหครอบคลุมทั้งผลงานวิจัยและ พัฒนาการทหาร รวมถึงสิง่ ประดิษฐคดิ คน โดยคํานึงถึง ความเปนมาตรฐานสากล กระบวนการผลิต การทดสอบ ทดลองใชงาน การสงกําลังและซอมบํารุง คูมือการใชงาน และการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของ ๗.๓ ยกระดับการวิจยั ใหเปนไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะการริเริม่ โจทยวจิ ยั ซึง่ ตรงความตองการ ของกองทัพอากาศ โดยใหความสําคัญกับระบบอากาศยานไรคนขับ (UAS) และระบบเครื่องชวยฝกจําลอง (Simulation) ทัง้ นี้ การดําเนินกระบวนการวิจยั ตองมีการจัดเก็บและบันทึกขอมูลอยางเปนระบบ ตลอดจนการ จัดทําเอกสารผลงานวิจัยที่ครบถวนสมบูรณ


ธงแดงประเทศไทย พล.อ.อ.ปรีชา ประดับมุข

เกิดอะไรขึ้นกับดานการบินพลเรือนของประเทศไทย และทําไมองคการการบินพลเรือน ระหวางประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) จึงไดมาตรวจ ประเทศไทย โครงการตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัยสากล (Universal Safety Oversight Audit Programme: USOAP) เปนโครงการขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นตั้งแตเดือนมกราคม ๒๕๔๒ (ค.ศ.๑๙๙๙) เพื่อรองรับการ ตรวจสอบการควบคุมความปลอดภัยในการเดินอากาศอยางเพียงพอทั่วโลก โดยมีวัตถุประสงคคือ สงเสริม ความปลอดภัยดานการบินในภาพรวม ผานการตรวจสอบตามปกติ (regular audit) ของระบบการควบคุม ความปลอดภัยในประเทศสมาชิกของ ICAO (๑๙๑ ประเทศ) ซึ่งการตรวจสอบของ USOAP จะเนนในเรื่อง ความสามารถของรัฐ ที่จะจัดใหมีการควบคุมความปลอดภัย โดยประเมินวา รัฐสมาชิกสามารถจะนํามาปฏิบัติ ภายใตองคประกอบทีส่ าํ คัญดานระบบควบคุมความปลอดภัยไดอยางมีประสิทธิภาพและตอเนือ่ ง รวมถึงการจัด ระดับของรัฐทีส่ ามารถนํามาตรฐานและขอแนะนําดานความปลอดภัยของ ICAO มาสูก ารปฏิบตั ไิ ด โดยพิจารณา ถึงขัน้ ตอนการดําเนินการและคูม อื การปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วของ ซึง่ ในป ๒๕๕๓ (ค.ศ.๒๐๑๐) ICAO ไดมกี ารจัดใหมกี าร ประชุมสมัชชาครั้งที่ ๓๗ และไดออก Resolution A37-5 เพื่อยืนยันวา การตรวจสอบ USOAP ของ ICAO ถือเปนสิง่ สําคัญในอันดับแรกในการรับรองขอมูลสมรรถนะความปลอดภัยของรัฐสมาชิกทีจ่ ะจัดใหแกรฐั ภาคี สมาชิกอืน่ เพือ่ ใหทาํ การเดินอากาศสาธารณะไดอยางตอเนือ่ ง ซึง่ การพัฒนาทีส่ าํ คัญในการเดินอากาศระหวาง ประเทศนี้จําเปนตองไดรับการรวมมือและความสนับสนุนจากรัฐสมาชิกทั้งหมด โดยในเดือนมกราคม ๒๕๕๗ (ค.ศ.๒๐๑๓) ICAO ไดนํา Universal Safety Oversight Audit Programme Continuous Monitoring Approach: USOAPCMA ซึ่งเปนโครงการตรวจสอบการอยางตอเนื่องเกี่ยวกับการกํากับดูแลความปลอดภัยสากล มาใชอยางสมบูรณ โดยมีเครื่องมือ กลไกและคูมือการตรวจสอบที่ปรับปรุงเรียบรอยแลว


๔๔ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศมาตรวจสอบประเทศไทย (International Civil Aviation Organization: ICAO) เพราะตองการมาตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัยดานการบินของหนวยงานกํากับ ดูแลดานการบินของประเทศไทย คือ กรมการบินพลเรือนเดิม (บพ.) (Department of Civil Aviation: DCA) ตอมาไดมีพระราชกําหนดตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ ใหเปนสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.) (Civil Aviation Authority of Thailand: CAAT) เพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ซึ่ง ICAO ไดตรวจ ทุกประเทศที่เปนสมาชิกตามวงรอบการตรวจอยูแลว ICAO และไดมาตรวจสอบเมื่อ ๑๙ – ๓๐ มกราคม ๒๕๕๘ โดยใชแบบของคําถามมาตรฐานประมาณ ๑,๐๐๐ ขอ เกี่ยวของกับการกํากับดูแลความปลอดภัยดานการบิน ๘ ดาน ไดแก ดานกฎหมาย (Primary Aviation Legislation and Civil Aviation Regulations: LEG) ดานโครงสราง (Civil Aviation Organization: ORG) ดานการออกใบอนุญาตสวนบุคคลและการฝกอบรม (Personnel Licensing and Training: PEL) ดานการปฏิบัติการบิน (Aircraft Operations: OPS) ดานความ สมควรการเดินอากาศ (Airworthiness of Aircraft: AIR) ดานการตรวจสอบอากาศยานอุบตั เิ หตุและอุบตั กิ ารณ (Accident & Incident Investigation: AIG) ดานการใหบริการการเดินอากาศ (Air Navigation Services: ANS) และ ดานการบริการจราจรทางอากาศ (Aerodromes and Ground aids: AGA) ตามองคประกอบสําคัญ ๘ ประการ (The Effective Implementation of Eight Critical Elements: CE) ไดแก ดานกฎหมายหลัก ของการบินพลเรือน (Critical Element 1: CE1) ดานกฎระเบียบที่เกี่ยวของ (CE-2) ดานระบบการบินพลเรือน (CE-3) ดานคุณสมบัติและการฝกอบรมบุคลากร (CE-4) และดานแนวทางปฏิบัติและขอกําหนดความปลอดภัย ที่จําเปน (CE-5) ดานการอนุญาตและการรับรอง (CE-6) ดานการติดตามกํากับดูแล (CE-7) และดานมาตรการ การแกปญหาที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย (CE-8) ซึ่ง ICAO ตรวจพบขอบกพรอง ๕๖๐ ขอ และเปนประเด็น ที่มีนัยสําคัญเกี่ยวของกับความปลอดภัย ๓๓ ขอ (Significant Safety Concern: SSC) หลังจากที่ ICAO ไดมาตรวจแลว กรมการบินพลเรือนหรือสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ไดเสนอแผนการปฏิบัติเพื่อแกไขขอบกพรองสงไปให ICAO ในเวลาที่กําหนดไว แต ICAO เห็นวาแผนดังกลาว


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๔๕

ยังไมเหมาะสมที่จะนํามาใชในการแกไขขอบกพรองได โดยเฉพาะประเด็นที่เปนนัยสําคัญดานความปลอดภัย จึงไดประกาศทางเว็บไซตสาธารณะ (Public Website) ให “ธงแดง” แกประเทศไทย เมือ่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ ซึ่งเปนมาตรการแจงเตือนใหประเทศตาง ๆ ที่เปนสมาชิกอีก ๑๙๑ ประเทศ ไดทราบ การถูกติดธงแดง ไมได หมายความวาสายการบินไมปลอดภัย เพียงแตขีดความสามารถกํากับดูแลการบินของกรมการบินพลเรือนเดิม ยังไมไดมาตรฐานในบางประเด็น ผลก็คือ สายการบินที่ประเทศไทยบินไปประเทศตาง ๆ จะมีขอจํากัดมากขึ้น เชน จะตองถูกตรวจสอบจากหนวยงานของประเทศที่ทําการบินไปลงอยางละเอียด การเปลี่ยนแปลงดานการบิน อื่น ๆ ไมสามารถทําได เชน แบบเครื่องบินที่บินไป เสนทางบิน จํานวนเครื่องบิน เปนตน ซึ่งสรางความลําบากใจ ใหแกผูประกอบการและสงผลกระทบอยางรุนแรงตอกิจการดานการบินของประเทศไทย หลังจากที่ ICAO ใหธงแดงประเทศไทยแลว ยังมี หนวยงานใหญ ๆ อีกหลายหนวย เชน สํานักงานบริหารการบิน แหงชาติของสหรัฐอเมริกา (Federal Aviation Administration: FAA) ซึง่ เปนหนวยงานทีด่ แู ลมาตรฐานความปลอดภัยดานการบินของ สหรัฐอเมริกา ไดเขามาตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยดานการบิน ของประเทศไทย ซึง่ ประเทศไทยมีเครือ่ งบินทีบ่ นิ ไปสหรัฐอเมริกา และก็มีเครื่องบินจากสหรัฐอเมริกาบินเขามาประเทศไทย โดย FAA มาตรวจ เมื่อวันที่ ๑๓ – ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘ การตรวจของ FAA จะเนนเรือ่ งการกํากับดูแลและการปฏิบตั กิ ารบินและความ สมควรเดินอากาศ ซึง่ พบขอบกพรองในลักษณะเดียวกับ ICAO จํานวน ๓๕ ขอ และกรมการบินพลเรือนจะตอง ทําแผนการปฏิบัติในการแกไขสงให FAA และ FAA ไดมาตรวจซ้ําอีกครั้งในวันที่ ๒๗ – ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ ที่ผานมาเพื่อพิจารณาในการคงระดับความปลอดภัยหรือจะลดระดับความปลอดภัย (Category 1 หรือ 2) หากถูกลดระดับเปน Category 2 จะไมไดรับอนุญาตใหเพิ่มเที่ยวบิน และการใหบริการของสายการบินจะตอง ถูกตรวจสอบจาก FAA อยางเขมงวด จะถูกหามทํา Code Share กับสายการบินของประเทศสหรัฐอเมริกาและ อาจถูกพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตใหสายการบินของประเทศไทยทําการบินเขาประเทศสหรัฐอเมริกา ตอมาสํานักงานบริหารความปลอดภัยดานการบินของสหภาพยุโรป (European Aviation Safety Agency: EASA) ไดมาตรวจสอบใน ๙ – ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ที่ผานมา ซึ่งการมาตรวจสอบของ EASA นั้น จะมุงเนนเรื่องผลการแกไขปญหาที่ผานมาของ ICAO และ FAA เปนหลัก หาก EASA ตรวจสอบแลวไมเปนที่ พอใจ จะประกาศหาม (Ban) สายการบินของประเทศไทยบินเขาไปในกลุมประเทศยุโรปที่เปนสมาชิกทั้งหมด ๒๘ ประเทศ ใครดําเนินการแกไขปญหา เพื่อเปนการแกปญหาดานการบินพลเรือนของประเทศไทยอยางเรงดวน หัวหนาคณะรักษาความสงบ แหงชาติ (หน.คสช.) ไดมคี าํ สัง่ ใหจดั ตัง้ ศูนยบญ ั ชาการแกไขปญหาดานการบินพลเรือน (ศบปพ.) ขึน้ มีผบู ญ ั ชาการ 


๔๖ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

ทหารอากาศเปนผูบัญชาการศูนยฯ (ผบ.ศบปพ.) เพื่อดําเนินการรวมกับกรมการบินพลเรือนหรือสํานักงาน การบินพลเรือนแหงประเทศไทยในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นใหเปนมาตรฐานสากลใหเร็วที่สุด ศูนยบัญชาการแกไขปญหาดานการบินพลเรือนไดประเมินสถานการณในขณะนั้นวา การจัดทํา แผนการแกไขปญหาของ FAA เปนเรื่องเรงดวนที่สุด ประกอบกับเงื่อนไขของเวลาที่มีจํากัด เพราะถาสอบผาน FAA จะเรียกความเชือ่ มัน่ กลับคืนมา จึงมุง ประเด็นไปในการรับการตรวจสอบของ FAA โดยดูขอ บกพรองที่ FAA ตรวจพบทั้ง ๓๕ ขอ และสรุปวาเกิดจากสาเหตุในประเด็นตาง ๆ ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ คือ นโยบายและแนวทางปฏิบัติ การกํากับดูแลและการปฏิบัติของสายการบินตาง ๆ ยังไมสอดคลองกับมาตรฐานสากล เชน การตรวจสอบสายการบินตางประเทศมาลงในประเทศ การตรวจสอบ แหลงซอมบํารุงตาง ๆ ทั้งในและตางประเทศ หนวยฝกอบรมดานการบินที่ผลิตนักบินใหกับสายการบิน ประเด็นที่ ๒ คือ จํานวนผูตรวจสอบไมเพียงพอ เมื่อเทียบกับปริมาณนักบินและเครื่องบินที่เพิ่มขึ้น ในป ๒๕๔๘ มีสายการบินจํานวน ๑๒ สายการบิน มีเครื่องบิน ๑๘๖ เครื่อง มีผูตรวจสอบจํานวน ๘ คน ในป ๒๕๕๘ มีสายการบินจํานวน ๔๑ สายการบิน มีเครื่องบิน ๔๑๔ เครื่อง มีผูตรวจสอบจํานวน ๑๑ คน จะเห็นไดวาสายการบินเพิ่มขึ้นกวา ๓ เทา แตจํานวนผูตรวจสอบเพิ่มขึ้นเพียง ๓ คน ประเด็นที่ ๓ คือ เนื่องจากสายการบินไดนําเครื่องบินแบบใหม ๆ เขามาปฏิบัติการบินเปนจํานวนมาก เชน เครื่องบิน Airbus 380 Boeing 777 และ Boeing 787 คุณสมบัติของผูตรวจสอบของกรมการบินพลเรือน ในขณะนัน้ ไมเพียงพอทีจ่ ะไปตรวจสอบการปฏิบตั กิ ารบินของนักบิน เจาหนาทีข่ องเครือ่ งบินแบบใหม ๆ ดังกลาว ประเด็นที่ ๔ คือ ขั้นตอนการตรวจสอบการปฏิบัติการบินของนักบินและเจาหนาที่ในการตรวจสอบ เครื่องบินรุนใหม ๆ ที่สายการบินนํามาใชยังไมครบถวน เชน ขั้นตอนการปฏิบัติการฉุกเฉินบางรายการ จึงเปน ที่มาของขอบกพรอง ทั้ง ๓๕ ขอ ศูนยฯ ดําเนินการแกไขปญหาอยางไร ในประเด็นที่ ๑ ไดชวยสนับสนุนบุคลากรไปชวยกรมการบินพลเรือนหรือสํานักงานการบินพลเรือน แหงประเทศไทย ในการจัดทํานโยบายและแนวทางปฏิบตั กิ ารกํากับดูแลความปลอดภัยใหสอดคลองกับมาตรฐาน สากล และรวมจัดทําแผนปฏิบัติการในการแกไขปญหา แนวทางในการตรวจสอบตาง ๆ จัดทําคูมือ รวมทั้ง ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหการดําเนินการตรวจสอบเรียบรอยตามกําหนดเวลา โดยศูนยบัญชาการ แกไขปญหาดานการบินพลเรือนไดทํางานอยางเต็มที่ ในประเด็นที่ ๒ เรื่องจํานวนผูตรวจสอบที่ไมสมดุลกับงาน ศูนยบัญชาการแกไขปญหาดานการบิน พลเรือนไดพิจารณาและขออนุมัติกําหนดอัตราผูตรวจสอบเปนการเรงดวน เพื่อใหเพียงพอกับปริมาณงาน โดยในขั้นตนไดกําหนดอัตราผูตรวจสอบจํานวน ๘๖ คน รวมทั้งขออนุมัติงบประมาณในการดําเนินการไวดวย ในประเด็นที่ ๓ จัดหาผูตรวจสอบที่มีคุณสมบัติถูกตอง สําหรับการตรวจสอบเครื่องบินแบบตาง ๆ ที่ยังไมมีผูตรวจสอบ สวนหนึ่งไดรับการสนับสนุนจากสายการบินและกองทัพอากาศ รวมทั้งจัดการฝกอบรม ใหผูตรวจสอบเหลานั้นมีคุณสมบัติใหเปนผูตรวจสอบของกรมการบินพลเรือนหรือสํานักงานการบินพลเรือน 


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๔๗

แหงประเทศไทยที่ถูกตอง ซึ่งการแกปญหาดังกลาวเปนการแกปญหาทั้งจํานวนและคุณภาพผูตรวจสอบ รวมทั้ง ไดขออนุมัติกําหนดกรอบอัตราและงบประมาณในการจัดหาผูตรวจสอบดวย ในประเด็นที่ ๔ ไดกาํ กับดูแลการตรวจสอบการปฏิบตั กิ ารบินของนักบินและเจาหนาทีใ่ นการตรวจสอบ เครื่องบินรุนใหม ๆ ที่สายการบินนํามาใชใหครบถวนทุกแบบ สําหรับการปลดธงแดงไดเร็วหรือชานัน้ ขึน้ อยูก บั การประเมินความกาวหนาของขีดความสามารถใน การแกไขปญหาขอบกพรองตาง ๆ ที่ไมเปนไปตามมาตรฐานทั้ง ๕๖๐ ขอของ ICAO วาเราทําไดดีเพียงใด แต ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ อยูท กี่ ารแกไขปญหาดานการปฏิบตั กิ ารบิน ซึง่ สวนใหญเปนขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญดานการออก ใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศใหม (Re-Certification of Air Operator Certificate) ของทุกสายการบิน ซึ่งเปนขั้นตอนที่ตองใชเวลาพอสมควรดังนี้ อันดับแรก คือ การเชิญสายการบินมาชี้แจงในกระบวนการตรวจสอบใหม โดยสายการบินจะตองสงคูมือ ของการปฏิบัติการบินของเครื่องบินแตละแบบที่มีใชอยูมาใหสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย เปนผูตรวจ ซึ่งผูตรวจตองมีคุณสมบัติครบถวนและตองตรวจสอบคูมือของเครื่องบินแบบนั้น ๆ วาสอดคลอง กับแนวทางที่กําหนดไวหรือไม ขั้นตอนตอไป คือ การประเมินโดยการตรวจสอบทั้งภาคพื้น การปฏิบัติภาคอากาศ ทั้งใน Simulator และการบินดวยเครือ่ งบินจริง เมือ่ ปฏิบตั คิ รบถวนแลวก็จะเปนการออกใบรับรองผูด าํ เนินการเดินอากาศใหใหม ผูต รวจสอบของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย จะตองทดสอบนักบินทีท่ าํ การบินเครือ่ งบินทุกแบบ ทีม่ ใี ชอยู และแตละแบบจะใชเวลาในการตรวจพอสมควร เพราะตองทดสอบการปฏิบตั กิ ารบินในลักษณะตาง ๆ ทั้งการปฏิบัติการบินที่ปกติและการปฏิบัติการบินที่ไมปกติ ยกตัวอยางเชน บริษัท การบินไทย มีเครื่องบินแบบ Boeing 787 ทั้งหมดจํานวน ๘๔ เครื่อง มีนักบิน ที่จะตองรับการตรวจสอบจํานวน ๑,๓๓๙ คน ตองใชระยะเวลาในการตรวจสอบเปนเวลานาน ซึ่งในภาพรวมแลว จะตองตรวจสอบทัง้ ๔๑ สายการบิน เครือ่ งบินจํานวนทัง้ สิน้ ๑๗ แบบ โดยตองตรวจสอบนักบินทีถ่ อื ใบอนุญาต พาณิชยเอก (Air Transport License: ATPL) จํานวน ๒,๐๐๐ กวาคน ที่จะตองเขารับการตรวจสอบ จะเร็วหรือชา ขึ้นอยูกับความพรอมของสายการบินที่จะจัดนักบินและเครื่องบินมาใหตรวจ ปกติสายการบินก็มีตารางการบิน ที่เปนประจําอยูแลว และอีกประการหนึ่งก็คือ จํานวนบุคลากรที่จะเปนผูตรวจวาจะมีเพียงพอที่จะไปตรวจได เร็วเพียงใด ในการแกไขปญหาเพื่อที่จะปลดธงแดงนั้น เราจะตองแกไขปญหาทั้ง ๕๖๐ ขอ ที่ไดกลาวไปแลว ซึ่ง เกี่ยวของกับขอกฎหมาย กฎขอบังคับ แนวทางการตรวจ การกํากับดูแลในดานตาง ๆ ซึ่งผูที่จะตองไดรับการตรวจ มีเปนจํานวนมาก ความรวดเร็วก็ขนึ้ อยูก บั จํานวนเจาหนาทีท่ งั้ ของผูต รวจและผูร บั ตรวจ ตัวอยางเชน เรามีหนวย ซอมบํารุงทั้งหมด ๒๔๕ หนวย ทั้งในประเทศและตางประเทศ หนวยฝกอบรมดานการบิน ๙ หนวย สนามบิน ในประเทศ ๓๕ แหง ที่ตองไดรับการตรวจเพื่อใหไดเปนมาตรฐานทั้งสิ้น จึงตองมีแผนการแกไขปญหา ที่ชัดเจน ตลอดจนการนําไปสูการปฏิบัติที่ไดมาตรฐานสากลและ ICAO จะตองกลับมาประเมินอีกครั้ง (ICAO Coordinated Validation Missions: ICVM) ซึ่งจะตองใชเวลาในการแกไขปญหาชวงระยะเวลาหนึ่งโดยไมมี เงื่อนไขในเรื่องของเวลา


๔๘ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

ในชวงเดือนพฤศจิกายนทีผ่ า นมา ศูนยบญ ั ชาการแกไขปญหาการบินพลเรือนซึง่ ประกอบไปดวยผูแ ทน กองทัพอากาศ ผูแ ทนสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ผูแ ทนกระทรวงการตางประเทศ รวมทัง้ ผูแ ทน จากรัฐบาลไทย ไดเดินทางไปชี้แจงเรื่องการแกไขปญหาการกํากับดูแลความปลอดภัยดานการบินตอ FAA ที่ ประเทศสหรัฐอเมริกาและกระทรวงคมนาคมของสหภาพยุโรป (DG MOVE) รวมทั้ง EASA ที่ประเทศเบลเยี่ยม จึงเปนการแสดงใหเห็นถึงความทุมเทและมุงมั่นของประเทศไทยในการแกไขปญหา โดยคณะฯ ไดชี้แจงถึงการ แกไขปญหาในเชิงยุทธศาสตรระยะสั้นและระยะยาว เพื่อสรางความเชื่อมั่นดานความปลอดภัยดานการบิน พลเรือน กลาวคือ จะตรวจสอบสายการบินเพื่อออกใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศใหม (Re-Certification of Air Operator Certificate) กับสายการบินทั้ง ๔๑ สาย และปรับโครงสรางสํานักงานการบินพลเรือนแหง ประเทศไทย ใหเปนหนวยงานกํากับดูแลมาตรฐานการบินพลเรือนตามมาตรฐานโลก (World Class Regulator)

 บทสงทาย ปจจุบนั มี ๑๓ ประเทศรวมทัง้ ประเทศไทยจากสมาชิกทัง้ หมด ๑๙๑ ประเทศ โดยสวนใหญเปนประเทศ ในแถบแอฟริกาและเอเชีย โดยไทยเปนประเทศเดียวในอาเซียนทีต่ ดิ สัญลักษณธงแดงในเว็บไซตสาธารณะ (Public Website) เกิดอะไรขึ้นกับการกํากับดูแลมาตรฐานการบินพลเรือนของประเทศไทย ในเวลานี้คงจะไมมีเวลา มาสงสัยกันแลว แตจะทําอยางไรที่จะเรงแกไขและพัฒนาระบบการกํากับดูแลมาตรฐานการบินพลเรือนใหได ตามมาตรฐานโลก (World Class Regulator) ใหได ประกอบกับประเทศไทยอยูในชัยภูมิที่เหมาะในการเปน ศูนยกลางในอาเซียน หลายประเทศโดยเฉพาะประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) จึงนาจะมีผลประโยชนรว ม ในการผลักดันใหไทยประสบผลสําเร็จในการแกไขปญหาตาง ๆ ใหไดตามมาตรฐานดังกลาว และถึงแมวา ผลการ แกปญหาที่ผานมาทั้งของ FAA และ EASA จะออกมาเปนเชนไร ศูนยบัญชาการแกไขปญหาการบินพลเรือนก็จะ แกปญหาหลักทั้งหมดที่จะนําไปสูการปลดธงแดงของ ICAO ใหไดในเวลาที่เหมาะสมที่สุดตอไป 


มุมกฎหมาย

สัญญาค้ ญาคํา้ ประกัน น.อ.วันชัย มาสุวรรณ สืบเนื่องจากสภานิติบัญญัติแหงชาติ (สนช.) ผานรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ.๒๕๕๗ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ ๑๓ พ.ย.๕๗ โดยแกไขเพิ่มเติม กฎหมายวาดวยการค้าํ ประกันและจํานองบางมาตรา ผูเ ขียนจึงเห็นสมควรนําเรือ่ งกฎหมายค้าํ ประกันมาเขียน เพื่อใหเจาหนี้ ลูกหนี้ และผูค้ําประกัน ไดเขาใจและรักษาสิทธิประโยชนของตนภายใตบทบัญญัติของกฎหมาย อยางเดียวกัน การใชบงั คับของกฎหมายทีแ่ กไขเพิม่ เติมฉบับนี้ ไมกระทบกับสัญญาค้าํ ประกันทีไ่ ดทาํ ขึน้ กอนวันที่ กฎหมายฉบับนีใ้ ชบงั คับ ยกเวนเฉพาะ ๑) กรณีลกู หนีผ้ ดิ นัดไมชาํ ระหนี้ ๒) กรณีเจาหนีก้ ระทําการใด ๆ อันเปนการ ลดหนี้ใหกับลูกหนี้ ถาเกิดขึ้นนับแตวันที่กฎหมายฉบับนี้ใชบังคับ ตองใชบังคับตามกฎหมายฉบับที่แกไขใหม ความหมายของสัญญาค้าํ ประกัน ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๐ วรรคแรก บัญญัติวา “อันวาค้ําประกันนัน้ คือ สัญญาซึง่ บุคคลภายนอกคนหนึง่ เรียกวา ผูค า้ํ ประกัน ผูกพันตนตอเจาหนีค้ นหนึง่ เพือ่ ชําระหนีใ้ นเมือ่ ลูกหนี้ ไมชําระหนี้นั้น” คําวา บุคคลภายนอกคนหนึ่ง เจาหนี้คนหนึ่งนั้น จะมีอยูหลายคนก็ได การใชถอยคําดังกลาว เปนเพียงสํานวนทางกฎหมายเทานั้น จากบทกฎหมายขางตน สัญญาค้ําประกันจะมีบุคคลอยู ๓ ฝาย คือ เจาหนี้ ลูกหนี้ และผูค้ําประกัน แตก็ไมไดหมายความวา ขณะทําสัญญาค้ําประกันจะตองมีหนี้เกิดขึ้นแลวหรือนัยหนึ่ง ฐานะความเปนเจาหนี้ลูกหนี้ยังไมเกิดขึ้นก็ได แตอาจจะมีขึ้นในอนาคต ดัง ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๑ วรรคสอง บัญญัติวา “หนี้ในอนาคตหรือหนี้ที่มีเงื่อนไข จะประกันไวเพื่อเหตุการณซึ่งหนี้นั้นอาจเปนผลไดจริงก็ประกันได” เรื่องการค้ําประกันนั้น จะมีสัญญาอยู ๒ สัญญา คือ สัญญาระหวางเจาหนี้กับลูกหนี้ เรียกวา สัญญาประธาน และสัญญาระหวางเจาหนี้กับผูคํ้าประกันเรียกวา สัญญาอุปกรณ สวนคําวา “บุคคลภายนอก” นั้น หมายถึง บุคคลอื่นที่ไมใชเจาหนี้และลูกหนี้ นอกจากนั้น ระหวางผูค้ําประกันกับลูกหนี้ ไมตองมีสัญญาตอกัน นั่นคือ ถาผูค้ําประกันไดชําระหนี้ใหแกเจาหนี้แลว ผูค ้ําประกันก็เขารับชวงสิทธิของเจาหนี้ที่จะไลเบี้ย เอาเงินที่ชําระ ไปคืนจากลูกหนี้ได สมบูรณของสัญญาค้ําประกัน ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๐ วรรคสอง บัญญัติวา “อนึ่ง สัญญาค้ําประกันนั้น ถามิไดมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูค้ําประกันเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรอง ใหบงั คับคดีหาไดไม” คําวา “หลักฐานเปนหนังสือ” นัน้ ไมใชแบบของนิตกิ รรม ดังนัน้ แมการทําสัญญาค้าํ ประกัน จะไมมีหลักฐานเปนหนังสือที่ผูค้ําประกันลงชื่อ ก็ไมทําใหสัญญาค้ําประกันที่ทํากันนั้นเปนโมฆะ เพียงแต หากเจาหนี้นําคดีไปฟองใหผูคํ้าประกันชําระหนี้ และผูคํ้าประกันยกเหตุดังกลาวขึ้นตอสู ศาลก็จะไมประทับ รับฟองไวพจิ ารณา อยางไรก็ดี หากผูค า้ํ ประกันยินยอมชําระหนีใ้ หกบั เจาหนีก้ ถ็ อื วาเปนการชําระหนีต้ ามกฎหมาย หรือเปนการชําระหนีท้ ชี่ อบดวยกฎหมาย และการมีหลักฐานเปนหนังสือนัน้ จะกระทําดวยวิธอี ยางใดก็ได จะทํา เปนหนังสือสัญญา หนังสือรับสภาพหนี้ หรือเปนจดหมายก็ได ถาสามารถอานไดเขาใจวายอมรับผิดชําระหนี้ ใหเจาหนี้ ถาลูกหนี้ไมชําระหนี้นั้น และผูค้ําประกันไดลงชื่อไวก็สามารถฟองคดีใหผูค้ําประกันชําระหนี้ได


๕๐ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

หนี้ที่ค้ําประกันนั้นตองเปนหนี้ที่สมบูรณ ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๑ วรรคแรก บัญญัติวา “อันค้ําประกันนั้น จะมีไดแตเฉพาะเพือ่ หนีอ้ นั สมบูรณ” หนีท้ สี่ มบูรณในทีน่ ี้ หมายถึง หนีท้ ไี่ มเปนโมฆะเทานัน้ ไมรวมถึงหนีท้ เี่ ปน โมฆียะหรือหนี้ที่ไมสมบูรณ ตัวอยาง  นาย ก กูเงิน นาย ข จํานวน ๗,๐๐๐ บาท โดยตกลงกันวา ถา นาย ก ไมชําระหนี้ตามเวลา ที่กําหนด นาย ก ตองชดใชเงินคืนแก นาย ข เปนจํานวน ๑๔,๐๐๐ บาท โดยมี นาย ค เปนผูค้ําประกัน ในสวนขอตกลงที่กําหนดกันวา ถา นาย ก ไมใชหนี้จํานวน ๗,๐๐๐ บาท ตามเวลาที่กําหนด นาย ก ตองชดใช เงินคืนเปนจํานวน ๑๔,๐๐๐ บาท นัน้ เปนการทําสัญญากูโ ดยเรียกผลประโยชนสงู เกินอัตราทีก่ ฎหมายกําหนด ในสวนที่เกินกวาประโยชนที่ควรไดตกเปนโมฆะ นาย ก ตองรับผิดเพียง ๗,๐๐๐ บาท สวน นาย ค ค้ําประกัน หนี้จํานวน ๑๔,๐๐๐ บาท ไมไดค้ําประกันหนี้จํานวน ๗,๐๐๐ บาท นาย ค จึงไมตองรับผิด (คําพิพากษาฎีกา ที่ ๗๓๐/๐๘)  นาย ก ทําสัญญากูเงิน นาย ข จํานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ในขณะที่ศาลมีคําสั่งพิทักษทรัพยของ นาย ก เด็ดขาด โดยมี นาย ค เปนผูค้ําประกัน เมื่อการกูเงินดังกลาวไมไดรับอนุญาตหรือความเห็นชอบจากศาล หรือเจาพนักงานพิทักษทรัพย หรือที่ประชุมเจาหนี้ สัญญากูเงินดังกลาวจึงเปนนิติกรรมที่กระทําโดยฝาฝนตอ พ.ร.บ.ลมละลายฯ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๔ และตกเปนโมฆะตาม ป.พ.พ.มาตรา ๑๕๐ มีผลให นาย ค ผูค้ําประกันไมผูกพันตองรับผิดตามสัญญาค้ําประกันดังกลาว (คําพิพากษาฎีกาที่ ๔๐๘๒/๕๒) ค้ําประกันหนี้ในอนาคตหรือหนี้มีเงื่อนไข ตองระบุวัตถุประสงคของหนี้ ลักษณะของมูลหนี้ จํานวนเงินที่ ค้ําประกันและระยะเวลาในการกอหนี้ แตถาเปนการค้ําประกันในกิจการที่เนื่องกันไปหลายคราวไมมีกําหนดเวลา จะไมระบุระยะเวลาก็ได ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๑ วรรคสอง บัญญัตวิ า “หนีใ้ นอนาคตหรือหนีม้ เี งือ่ นไขจะประกันไว เพือ่ เหตุการณซงึ่ หนีน้ นั้ อาจเปนผลไดจริงก็ประกันได แตตอ งระบุวตั ถุประสงคในการกอหนีร้ ายทีค่ า้ํ ประกัน ลักษณะของมูลหนี้ จํานวนเงินสูงสุดทีค่ า้ํ ประกัน และระยะเวลาในการกอหนีท้ จี่ ะค้าํ ประกัน เวนแตเปนการ ค้ําประกันเพื่อกิจการเนื่องกันไปหลายคราวตามมาตรา ๖๙๙ จะไมระบุระยะเวลาดังกลาวก็ได”๑ การทํา สัญญาค้ําประกันหนี้ในอนาคต เชน การค้ําประกันบุคคลเขาทํางาน การประกันตัวผูตองหา การค้ําประกัน ความสําเร็จของงานจาง เปนตน ในสัญญาค้าํ ประกันจะตองบอกถึงหนีน้ นั้ วากอขึน้ เพือ่ อะไร หนีน้ นั้ เปนมูลหนีอ้ ะไร เชน หนี้ที่เกิดจากสัญญา หนี้ที่เกิดจากละเมิด เปนตน รวมทั้งตองระบุจํานวนเงินที่ผูค้ําประกันตองรับผิด และ ระยะเวลาการกอหนีน้ นั้ สําหรับการกําหนดระยะเวลา ถาเปนการค้าํ ประกันหนีท้ ตี่ อ เนือ่ งกันไปหลายคราว ไมมีกําหนดเวลา เชน การค้ําประกันบุคคลเขาทํางานจะไมระบุระยะเวลาก็ได สัญญาค้าํ ประกันตองระบุหนีห้ รือสัญญาทีค่ า้ํ ประกันใหชดั เจน และผูค า้ํ ประกันจะรับผิดเฉพาะหนี้ หรือสัญญาที่ระบุไวเทานั้น ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๑ วรรคสาม บัญญัติวา “สัญญาค้ําประกันตองระบุหนี้หรือ สัญญาที่ค้ําประกันไวโดยชัดแจง และผูค้ําประกันยอมรับผิดเฉพาะหนี้หรือสัญญาที่ระบุไวเทานั้น”๒ ๑ - ๒ บทบัญญัติที่แกไขเพิ่มเติม

(ฉบับหนาติดตาม สัญญาค้ําประกัน ป.พ.พ. มาตรา ๖๘๑/๑)


น.ท.วัชรพงษ กลีบมวง อากาศยานไรคนขับ หรือ UAV นับไดวามีบทบาทสําคัญทั้งดานการทหารและพลเรือน โดยเฉพาะ ในชวงทศวรรษที่ผานมา การสรางและพัฒนา UAV ในหลาย ๆ ประเทศ ไมวาจะเปนทั้งฝงอเมริกา ฝงเอเชีย เชน อิสราเอล อิหราน จีน อินเดีย และฝงยุโรป อยางเชน ฝรั่งเศส รัสเซียฯ ไดเพิ่มขึ้นจากกอนหนานี้มาก ซึ่งมีทั้ง UAV ขนาดเล็กน้ําหนักเบาไปจนถึงขนาดใหญที่มีน้ําหนักหลายพันกิโลกรัม อาจกลาวไดวา เปนยุคทอง ของอากาศยานไรคนขับเลยก็วา ได ความหลากหลายในการใชงาน UAV นัน้ มีตงั้ แตการบินสอดแนม ลาดตระเวน การโจมตีเปาหมายภาคพื้น สําหรับภารกิจทางทหาร เก็บขอมูลสําหรับพยากรณอากาศจนกระทั่งการสงสินคา ใหกบั ลูกคาทีส่ งั่ ซือ้ ผานอินเทอรเน็ตในภาคพลเรือนดวย การพัฒนาซอฟตแวรและระบบเซนเซอรทมี่ คี วามซับซอนตาง ๆ มาติดตัง้ กับ UAV ทําใหสามารถสงขอมูลทีจ่ าํ เปนใหกบั ผูค วบคุมหรือศูนยบญ ั ชาการในการตัดสินใจหรือสัง่ การ ในภารกิจตาง ๆ โดยแนวโนมในอนาคตนั้นมีการคาดการณกันวาจะมีการพัฒนาให UAV สามารถที่จะตัดสินใจ ไดเหมือนกับมนุษย เชน การเลือกที่จะปฏิบัติภารกิจหรือโจมตีเปาหมายที่มีโอกาสทําไดสําเร็จมากกวา เปนตน การใช UAV ในภาคพลเรือนปจจุบันนั้นนับวาอยูในขั้นเริ่มตน ซึ่งจะตองมีการออกระเบียบ ขอกําหนดตาง ๆ ในการนํามาใชงานในชีวิตประจําวันโดยคํานึงถึงความปลอดภัย การละเมิดสิทธิความเปนสวนตัวตาง ๆ แตใน ทางทหารนัน้ UAV ไดมกี ารใชงานมาอยางยาวนาน เชน เปนหูเปนตาแทนกําลังรบภาคพืน้ สงขอมูลการวางกําลัง ของฝายขาศึกใหกบั ศูนยบญ ั ชาการ รวมทัง้ เขาโจมตีเปาหมายสําคัญทางภาคพืน้ แทนเครือ่ งบินรบในภารกิจทีม่ ี ความเสีย่ งสูง จากรูปแบบการรบและภัยคุกคามในปจจุบนั ทีเ่ ปลีย่ นไปจากการรบในสมัยกอนทีเ่ ปนการนํากําลัง ทหารของทั้งสองฝายเขาปะทะกันแบบเต็มอัตราศึก มาเปนการรบกับกลุมผูกอการรายที่แฝงตัวอยูในเขตพื้นที่


๕๒ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

อยูอาศัยของพลเรือน ขาวการโจมตีกลุมผูกอการรายโดย UAV นั้น ไดมีการรายงานออกมาอยางตอเนื่องทั้ง ในดานบวกและดานลบ โดยเฉพาะการใชอาวุธโจมตีเปาหมายซึ่งเปนกลุมผูกอการรายที่อยูในละแวกใกลเคียง กับชุมชนหรือที่อยูอาศัยของพลเรือน มักเกิดเหตุการณที่พลเรือนไดรับผลกระทบทั้งบาดเจ็บและเสียชีวิตจาก การโจมตีดงั กลาว การใชอาวุธโจมตีเปาหมายของ UAV นัน้ เปนการตัดสินใจของศูนยบญ ั ชาการภาคพืน้ โดยอาศัย ขอมูลที่ UAV สงกลับมาให ซึ่งอาวุธที่ติดตั้งกับ UAV เชน อาวุธนําวิถีอากาศสูพื้นหรือลูกระเบิดอากาศนั้นมีรัศมี ในการทําลายที่เปนวงกวาง รวมทั้งระบบนําวิถีบางชนิดที่อาจเกิดความคลาดเคลื่อนดวยสภาพอากาศหรือ สิง่ รบกวนตาง ๆ นับวาเปนสาเหตุสาํ คัญประการหนึง่ ทีท่ าํ ใหเกิดความเสียหายตอชีวติ และทรัพยสนิ ของพลเรือน จนมีกระแสตอตานการใช UAV ในการรบจากผลงานดังกลาวที่ผานมา

การพัฒนาอาวุธนําวิถีสําหรับ UAV เพื่อใหสามารถใชงานไดสอดคลองกับสถานการณภัยคุกคาม ในปจจุบนั ทีเ่ ปลีย่ นไปนัน้ ประการแรกจําเปนทีจ่ ะตองมีระบบการนําวิถที มี่ คี วามแมนยําสูงสามารถจับเปาหมาย ขนาดเล็กเคลื่อนที่เร็วได ตองใชงานไดในทุกสภาพอากาศ รวมทั้งสามารถเปลี่ยนเปาหมายไดโดยการตัดสินใจ ของผูควบคุม เมื่อเห็นวาอาวุธนําวิถีจับเปาหมายผิดตําแหนงและมีรัศมีในการทําลายที่มีวงจํากัดอยูเฉพาะ เปาหมายที่ตองการ เพื่อลดความสูญเสียกับผูที่อยูใกลเคียงซึ่งอาจเปนพลเรือนหรือกําลังฝายเดียวกัน รวมทั้ง ตองสามารถใชอาวุธจากระดับความสูงและระยะหางจากเปาหมายทีม่ าก เพือ่ ความปลอดภัยจากการตอตานของ กําลังทางภาคพื้นอีกดวย ซึ่งอาวุธนําวิถีอากาศสูพื้นที่มีคุณสมบัติเขาเกณฑดังกลาวนั้น หากตัดเรื่องระยะหาง ในการยิงอาวุธสูเปาหมายแลว GBU-44 Viper Strike อสรพิษรายฉายา “มัจจุราชจากฟากฟา” ก็นับวาเหมาะสมกับ การใชงานนี้ แตเมือ่ คํานึงถึงความครบครันในคุณสมบัตดิ งั กลาวแลว ตัวเลือกคงเหลือเพียง AGM-176 Griffin ที่ มีการพัฒนาระบบนําวิถีอยาง Imaging Infrared (IIR) คาย Raytheon ของอเมริกากับ Brimstone คาย MBDA ของอังกฤษ ซึง่ ถือวาเปนมวยรุน เดียวกันทีม่ คี วามสูสกี นั มาก หากแตในเรือ่ งของการนําวิถที เี่ หนือชัน้ กวาคงตอง


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๕๓

ภาพจาก www.Brimstonemissile.com

ยกให Brimstone ซึ่งไดรับความสนใจจากกองทัพอากาศสหรัฐฯ ในการที่จะนํามาติดตั้งใหกับ Combat UAV อยาง MQ-9 Reaper Brimstone “เพลิงพิโรธ” (Brimstone หมายถึง หินกํามะถันไดจากภูเขาไฟ ซึง่ ในคัมภีรไ บเบิลมักใช ในการกลาวถึงการลงโทษของพระเจาตอคนบาป “Fire and Brimstone”) เปนอาวุธนําวิถอี ากาศสูพ นื้ ทีถ่ กู พัฒนา โดยใชโครงสรางลําตัวของ AGM-114 Hellfire อาวุธนําวิถอี ากาศสูพ นื้ ของบริษทั Lockheed Martin มาเปนแบบ ในการพัฒนา โดยบริษัท MBDA ไดสรางสวนการนําวิถี หัวรบและสวนขับเคลื่อนใหมทั้งหมด เพื่อตอบสนอง ความตองการของกองทัพอากาศอังกฤษซึง่ ใชกบั เครือ่ ง Tornado GR4 โดยในชวงแรกนัน้ ยังไมไดมกี ารคิดทีจ่ ะนํา

ภาพจาก www.Brimstonemissile.com


ภาพจาก www.Brimstonemissile.com

ไปติดตัง้ กับ UAV การพัฒนาโดยเฉพาะในสวนของหัวรบนัน้ เปนแบบทีเ่ มือ่ เกิดการระเบิดแลวจะเกิดสะเก็ดเพียง เล็กนอยในการทําลายเปาหมายวงแบบ Tandem Shaped Charge ทีส่ ว นใหญใชในจรวดบุคคลตอสูย านเกราะ สมัยใหม ซึง่ หัวรบนีแ้ ตกตางจากหัวรบแบบ Shaped Charge ทรงกรวยแบบดัง้ เดิม เนือ่ งดวยเปาหมายภาคพืน้ ที่เปนเกราะหนา เชน รถถัง ในปจจุบันไดมีการพัฒนาเกราะที่เปนแผนโลหะหนา 2 แผน ประกบวัตถุระเบิด ซึ่งเรียกวา Reactive Armor เมื่อถูกโจมตีดวยหัวรบแบบกรวย แรงระเบิดจากหัวรบจะถูกบังคับใหพุงเขา เจาะทะลุแผนโลหะ วัตถุระเบิดทีอ่ ยูใ นชัน้ ถัดจากแผนเกราะจะเกิดการระเบิดสรางแรงดันสะทอนหัวรบกลับไป ทําใหหัวรบไมสามารถเจาะเขามาในตัวรถถังได แตหัวรบแบบ Tandem Shaped Charge นั้นจะมีการระเบิด สําหรับเจาะเกราะ 2 ขั้นตอน (ตามชื่อ Tandem หมายถึง การพวงมา 2 ตัวตอกันในการลากรถ หรือจักรยานที่ มีทนี่ งั่ สําหรับปน ได 2 คนหนาและหลัง) โดยในตอนแรกทีห่ วั รบปะทะกับเกราะจะเกิดการระเบิดนําซึง่ ไมรนุ แรง แตสามารถเจาะเกราะชัน้ แรกและทําใหระเบิดภายในเกราะเกิดการระเบิดขึน้ จากนัน้ ในขัน้ ที่ 2 จะเกิดการระเบิด แบบรุนแรงกวาในขั้นตอนแรก ซึ่งสามารถเจาะเกราะชั้นในจนกระทั่งทะลุถึงภายในของรถถังได ดวยหัวรบ แบบใหมนี้ทําให Brimstone มีประสิทธิภาพในการทําลายเปาหมายประเภทเกราะหนา เชน รถถัง ไดมากกวา AGM-65 Maverick ถึง 3 เทา Brimstone จึงเปรียบไดกับนักมวยรุนฟลายเวทที่มีหมัดหนักสามารถน็อค นักมวยรุนเฮฟวี่เวทอยาง Maverick ได

ภาพจาก www.Brimstonemissile.com


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๕๕

นอกจากหัวรบประสิทธิภาพสูงแลวสวนประกอบทีส่ าํ คัญของ Brimstone ทีถ่ อื ไดวา ล้าํ หนาอาวุธนําวิถี ทีม่ อี ยูใ นปจจุบนั คือ สวนของการนําวิถใี นระบบ Dual Mode ทีเ่ ปนแบบเรดารความถีส่ งู และเลเซอร ซึง่ สามารถ ใชงานไดทงั้ สองแบบ โดยระบบนําวิถแี บบเรดารความถีส่ งู นัน้ สามารถทีจ่ ะนําขอมูลของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา ทีส่ ะทอนจากเปาหมายมาสรางเปนภาพไดเพือ่ คํานวณหามุมในการเขาโจมตีทสี่ รางความเสียหายใหกบั เปาหมาย มากทีส่ ดุ นอกจากนัน้ ระบบนําวิถแี บบเรดารความถีส่ งู นัน้ เหมาะอยางยิง่ ในการตรวจจับเปาหมายขนาดเล็ก ทีม่ กี ารเคลือ่ นทีอ่ ยางรวดเร็ว เชน รถยนต รถกระบะตาง ๆ ซึง่ เปนการยากทีจ่ ะเล็งดวยเลเซอรและ Brimstone สามารถที่จะใชเรดารในการนําวิถีไปจนถึงเปาหมายเองได (Fire and Forget) ซึ่งทําใหเครื่องบินรบสามารถ เขาโจมตีเปาหมายอื่นตอไดทันทีหลังจากยิง Brimstone ออกไปแลว และเพื่อเปนการเพิ่มความแมนยําในการ โจมตีเปาหมายทีอ่ ยูท า มกลางพลเรือนหรือฝายเดียวกัน ระบบการนําวิถขี อง Brimstone จึงถูกพัฒนาใหสามารถ เปลี่ยนการนําวิถีมาเปนแบบการชี้เปาดวยแสงเลเซอรจากกําลังรบทางภาคพื้นได ซึ่งจะชวยลดความผิดพลาด ในการโจมตีเปาหมายที่อาจสรางความเสียหายใหกับพลเรือนหรือฝายเดียวกันที่อยูใกลกับเปาหมาย ดวยน้าํ หนักทีเ่ บากวาอาวุธนําวิถอี ากาศสูพ นื้ โดยทัว่ ไปซึง่ Brimstone นัน้ หนักเพียง 50 กิโลกรัม ทําให สามารถติด Brimstone ได 3 นัดในตําแหนงเดียวกัน ซึ่งเปนการเพิ่มจํานวนอาวุธสําหรับโจมตีใหกับเครื่องบินรบ ไดมากขึ้น เชน เครื่อง Typhoon ซึ่งสามารถติดตั้งอาวุธนําวิถีอากาศสูพื้นได 6 ตําแหนงก็จะสามารถติด Brimstone ไดสงู สุดถึง 18 นัด ดวยความแมนยําและประสิทธิภาพในการทําลายเปาหมายทีส่ งู ของ Brimstone อาจกลาวไดวา เครือ่ ง Typhoon 1 เครือ่ ง สามารถโจมตีเปาหมาย อยางเชน รถถังไดถงึ 18 คัน สําหรับการพัฒนา ให Brimstone สามารถติดตั้งไดกับเครื่อง Typhoon นั้น ไดมีการทดสอบติดตั้งครั้งแรกเมื่อปลายป 2014 ที่ผานมา โดยคาดวาจะเสร็จสมบูรณราวป 2018 เพื่อทดแทนเครื่อง Tornado GR4 ของกองทัพอากาศอังกฤษ ที่จะปลดประจําการในป 2019 นอกจากนั้นแลว Brimstone ยังไดถูกเตรียมพัฒนาเพื่อติดตั้งกับเครื่อง F-35 Lightning II ที่เขาประจําการในกองทัพอากาศอังกฤษ รวมทั้ง MQ-9 Reaper เครื่อง UAV ของกองทัพอากาศ สหรัฐฯ ที่นําเอา Brimstone เขามาเสริมเปนเขี้ยวเล็บอันใหมอีกดวย


ทดสอบการยยงิ จากเ ทดสอบการยิ จาากเรือรบ

ภาพจาก www.Brimstonemissile.com

เครื่อง MQ-9 Reaper นั้นเปน UAV ที่ใชในภารกิจโจมตีเปาหมายภาคพื้นรุนแรกโดยมีเพดานบินที่สูงมาก และบินไดในระยะเวลานานสูงสุดถึง 42 ชั่วโมง สามารถถูกปอนโปรแกรมใหบินแบบอัตโนมัติหรือควบคุมโดย ศูนยบญ ั ชาการภาคพืน้ ได ซึง่ มีใชทงั้ ในกองทัพอากาศ กองทัพเรือสหรัฐฯ กองทัพอากาศอิตาลี และกองทัพอากาศ อังกฤษ โดยสามารถติดตั้งอาวุธไดทั้งแบบอากาศสูอากาศ เชน AIM-9 sidewinder ลูกระเบิดนําวิถีดวยเลเซอร GBU-12 Paveway II อาวุธนําวิถีอากาศสูพื้น AGM-114 Hellfire และ GBU-38 JDAM (Joint Direct Attack Munition) ซึ่งมีใชทั้งในกองทัพอากาศ กองทัพเรือสหรัฐฯ กองทัพอากาศอิตาลี และกองทัพอากาศอังกฤษ โดย สามารถติดตั้งอาวุธไดทั้งแบบอากาศสูอากาศ เชน AIM-9 sidewinder ลูกระเบิดนําวิถีดวยเลเซอร GBU-12 Paveway II อาวุธนําวิถีอากาศสูพื้น AGM-114 Hellfire และ GBU-38 JDAM (Joint Direct Attack Munition) ซึง่ เมือ่ ดูจากรายชือ่ อาวุธทีต่ ดิ ตัง้ ไดนนั้ ถือวาการมีพษิ สงในการโจมตีเปาหมายภาคพืน้ อยูม ากทีเดียว แตเนือ่ งดวย รูปแบบการรบในปจจุบันที่เปลี่ยนไป ในการโจมตีเปาหมายนั้นตองมีความแมนยําสูงและจํากัดรัศมีการทําลาย อยูเพียงเปาหมายเทานั้น จากประสิทธิภาพของ Brimstone กองทัพอากาศสหรัฐฯ จึงไดเกิดความสนใจที่จะ นําเอา Brimstone มาติดตั้งกับ MQ-9 Reaper แทน AGM-114 Hellfire ซึ่ง Brimstone นั้น มีความเหนือชั้นกวา ในดานของระบบนําวิถีแบบ Dual mode ที่สามารถปรับเปลี่ยนการนําวิถีดวยเรดารความถี่สูงที่อาวุธนําวิถี จะคนหาและโจมตีเปาหมายเองมาเปนเลเซอรทถี่ กู ชีโ้ ดยกําลังภาคพืน้ เพือ่ เพิม่ ความแมนยําในการโจมตีเปาหมาย ทีล่ อ มรอบไปดวยพลเรือนหรือกําลังฝายเดียวกัน อีกทัง้ ยังสามารถยกเลิกการโจมตีเปาหมายไดโดยศูนยบญ ั ชาการ เมื่อเห็นวา Brimstone จับเปาหมายผิดตําแหนง เพื่อลดการสูญเสียในสวนของพลเรือน โดยการทดสอบยิง Brimstone เพื่อโจมตีเปาหมายเคลื่อนที่เร็ว จาก MQ-9 Reaper เมื่อตนป 2014 นั้นก็ประสบความสําเร็จ อยางงดงาม นอกจากนั้นแลวบริษัท MBDA ยังไดนําเสนอ Brimstone II ใหกับกองทัพอากาศสหรัฐฯ อีกดวย ซึ่งในรุนที่พัฒนาใหมนี้มุงเนนในการโจมตีเปาหมายขนาดเล็กเคลื่อนที่เร็วทั้งบนพื้นดินและทะเล โดยมีระยะยิง ไกลสุดเพิม่ ขึน้ จาก 20 กิโลเมตรในรุน แรก เปน 60 กิโลเมตร และสามารถทําลายเปาหมายทีเ่ คลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 112 กิโลเมตร/ชั่วโมง ไดดวยการพัฒนาให Brimstone มีระยะในการยิงเพิ่มขึ้นอีก 3 เทาตัวนั้น นับวาเปนการ ตอกย้ําถึงความพรอมในการเปนเขี้ยวเล็บใหมใหกับ UAV ฉายา “นายพรานนักลา” อยาง MQ-9 Reaper ไดอยางไมตองสงสัย  แหลงที่มาของขอมูล : 1. http://www.theuav.com 2. http://www.GlobalSecurity.org 3. http://www.Defensenews.com 4. http://www.wikipedia.org 5. http://www.rat.mod.uk 6. http://www.telegraph.co.uk 7. http://www.brimstonemissile.com 8. เอกสาร Dual Mode Brimstone บริษัท MBDA


ที่มา : เนื้อเรื่องสําคัญมาจาก ประวัติการยุทธทางอากาศ กรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส พ.ศ. 2483 - 2484 / กองทัพอากาศ 2519

ตอนที่ 6 ตอจาก PILOT HEAVEN

 การรบของหมูบินฮอวค 75 ฝูงบินขับไลที่ 60 ขึ้นอยูกับ บน.ผสม 66 กองบินใหญภาคใต ประจําอยูที่ดอนเมือง มี ร.ท.ทวี จุลละทรัพย เปนรอง ผบ.ฝูง นักบินในฝูงนี้มี ร.ต.ผัน สุวรรณรักษ ผบ.หมวดบินที่ 2 นักบิน มี พ.อ.อ.นิล สุขสะอาด, พ.อ.อ.สังวาลย (เทอดศักดิ์) วรทรัพย, พ.อ.ท.ทยาน พิมกุล, พ.อ.ต.ทองอยู เกียรติบุตร, จ.อ.ทองคํา (คํารบ) เปลงขํา และ จ.อ.สละ เกษณียบุตร ฝูงบินนี้มาจากอัตราปกติ บน.1 ฝูง 1 ซึ่งมี ร.ท.ทวี จุลละทรัพย เปน ผบ.ฝูง น.ต.ม.จ.รังษิยากร อาภากร เปน ผบ.บน.1 เครื่องบินที่ประจําการในฝูงนี้ คือ เครื่องบินแบบ 16 (ฮอวค 75) เมื่อ 1 ธ.ค.83 ร.ต.ผัน สุวรรณรักษ ไดรับคําสั่งใหนําหมูเครื่องบินแบบ 16 จํานวน 3 เครื่อง ซึ่งมี จ.อ.สังวาลย วรทรัพย เปนหมายเลข 2 จ.อ.สละ เกษณียบุตร เปนหมายเลข 3 ไปชวยปฏิบัติการที่สนามบิน อุดรธานี อยูในบังคับบัญชาของ ร.อ.พิชิต บุณยเสนา ผบ.ฝูงตรวจการณที่ 42 บน.ผสมที่ 40 เมื่อไปประจํา อยูที่สนามบินอุดรธานี ไดรับมอบภารกิจบินคนหาและทําลายเครื่องบินขาศึกตามเสนทางริมฝงแมนํ้าโขงจาก เวียงจันทนถึงนครพนม และทําการบินคุมกันเครื่องบินตรวจการณที่ไปปฏิบัติภารกิจตรวจการณและถายรูป เมื่อเครื่องบินแบบ 23 ไปทําการทิ้งระเบิด ฮอวค 75 ก็จะเปนพี่เลี้ยงบินคุมกันใหทุกครั้ง และยังไดรับคําสั่งให ทิ้งระเบิดที่หมายทางทหารในแดนขาศึกอีกดวย


๕๘ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

เมื่อ 1 ธ.ค.83 ร.ต.ผัน สุวขรรณรั กษ ไดบ.ขั รับบคํไล าสั่งแบบ ใหนํา16 หมูเฮอว ครื่อคงบิ75 นแบบ 16 จํานวน 3 เครื่อง ซึ่งมี อมูลของ จ.อ.สังวาลย วรทรัพย เปนหมายเลข 2 จ.อ.สละ 3 ไปชวยปฏิบัติการที่สนามบิน อัตราเร็ วสูงสุด เกษณียบุตร เปนหมายเลข 435 กม./ชม. อุดรธานี อยูในบังคับบัญชาของ ร.อ.พิ ชิต นบุณยเสนา ผบ.ฝูงตรวจการณ ที่ 42เมตร บน.ผสมที่ 40 เมื่อไปประจํา เพดานบิ 10,058 อยูที่สนามบินอุดรธานี ไดรับมอบภารกิ บินคนขนาด หาและทํ าศึกตามเสนทางริมฝงแมนํ้าโขงจาก อาวุธจปกอ. 12.7าลายเครื มม. ่องบิ1นขกระบอก เวียงจันทนถึงนครพนม และทําการบิ นคุมดกัทํนาเครื ่องบินตรวจการณ ลูกระเบิ ลายขนาด 250 กก. ที่ไ1ปปฏิ ลูก บัติภารกิจตรวจการณและถายรูป เมื่อเครื่องบินแบบ 23 ไปทําการทิ้งระเบิด ฮอวค 75 ก็จะเปนพี่เลี้ยงบินคุมกันใหทุกครั้ง และยังไดรับคําสั่ง ใหทิ้งระเบิดที่หมายทางทหารในแดนขาศึกอีกดวย 8 ธ.ค.83 เวลา 1630 หมูบินฮอวค 75 ไดรับคําสั่งใหบินคุมกัน ร.ต.ศานิต นวลมณี ซึ่งนําเครื่องบินแบบ 23 ไปทิ้งระเบิดเวียงจันทน และใหหมูบินฮอวค 75 ทิ้งระเบิดที่หมายทางทหารริมฝงแมน้ําโขงรวมดวย ร.ต.ศานิต ฯ นําเครื่องเขาทิ้งระเบิดในระยะสูง 200 เมตร ถูกที่หมายไฟไหม ขาศึกบนพื้นดินไดยิงตอสูอยางหนาแนน เครื่องบิน คอรแซรถูกกระสุนปนหลังที่นั่งของนักบินที่ 2 และปลายปกซายขาดกระจุย แตนักบินทั้งสองปลอดภัย 9 ธ.ค. 83 เวลา 0946 หมูบินฮอวค 75 ไดรับคําสั่งใหไปชวยเครื่องบินแบบ 17 ฮอวค 3 ซึ่งกําลังรบ ติดพันอยูก บั เครือ่ งบินขาศึกทีน่ ครพนม ไดรบี บินไปถึงนครพนมแตไมพบเครือ่ งบินขาศึก จึงทําการบินคนหา ไปจนถึงสุวรรณเขตก็ไมพบเครือ่ งบินขาศึกจึงบินกลับอุดรธานี ตอนบาย 14.08 น. ไดรบั คําสัง่ ใหนาํ หมูบ นิ ฮอวค 75 บินคุม กันเครือ่ งบินคอรแซร 3 เครือ่ งไปทิง้ ระเบิดบานนาแพะ ตามคําสัง่ ใหบนิ จากอุดรธานีผา นบานหนองเดือน ตรงไปบานนาแพะ เมื่อบินออกจากสนามบินอุดรธานีและบานหนองเดือนไปแลว อากาศไมดีมีเมฆปกคลุม


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๕๙

มองไมเห็นพื้นตลอดเสนทาง หมูเครื่องบินแบบ 23 (คอรแซร) คงบินตรงไปเรื่อย ๆ ดูเวลาใกลจะถึงที่หมายแลว ยังมองไมเห็นพื้น สงสัยวาเลยบานนาแพะไปจนถึงอาวตังเกี๋ยก็คงเชนเดียวกัน จึงตัดสินใจนําหมูบินออมไป ขางหนา หมูเครื่องบินแบบ 23 ปฏิบัติตามบินมาจนถึงแมนํ้าโขงเห็นพื้นดิน จึงนําหมูบินลงระยะต่ําแตปรากฏวา เปนพระธาตุพนม ตองบินเลาะฝง แมนา้ํ โขงไปสงเครือ่ งบินหมูท งิ้ ระเบิดทีน่ ครพนมตามคําสัง่ จากนัน้ จึงนํา หมูเ ครือ่ งบินแบบ 16 กลับสนามบินอุดรธานีเมือ่ ลงสนามบินเรียบรอยแลวเดินไปถึง บก.ฝูง ก็พอดีพลบค่าํ ทันใดนัน้ ก็ไดยินเสียงเครื่องบินมา นึกวาเปนเครื่องบินขาศึกตามมา ทุกคนรีบออกไปดูกัน ปรากฏวาเปนหมูเครื่องบิน แบบ 23 เครือ่ งหนึง่ ลงนอกสนามทีห่ นากรมทหาร หกคะเมนหงายทองตองหามออกมา คือ จ.อ.สาคร แกววิมล ที่เปนนักบิน อีก 2 เครื่องลงสนามไดแตขับตอไปไมได เพราะน้ํามันหมดทั้ง 3 เครื่อง ถามไดความวา ที่สนามบิน นครพนมถูกระดมยิงดวยปนใหญขาศึก จึงหามเครื่องบินลงทําใหตองนําหมูมาลงสนามบินอุดรธานี 11 ธ.ค.83 ไดรบั คําสัง่ ใหไปประจําสนามบินอุบลราชธานี ซึง่ อยูใ นบังคับบัญชาของ น.ต.หลวงอิศรางกูรเสนีย จึงไดออกจากสนามบินอุดรธานีตั้งแตเวลา 05.40 น. ไปอุบลราชธานี เมื่อไปถึงก็ไดรับคําสั่งใหทําการบินคุมกัน เครื่องบินแบบ 23 ไปทิ้งระเบิดที่ปากเซ - จําปาศักดิ์ - สาละวัน เสร็จภารกิจแลวบินกลับอุบลฯ 12 ธ.ค.83 ไดรับคําสั่งใหไปคนหาเครื่องบิน ขาศึกตามสนามบินและเสนทางอุบลฯ - สุวรรณเขต สนามบินบานธาตุ - บานนคร - บานผากัน - บานละครเพ็ง แลวบินกลับอุบลฯ ไมพบเครื่องบินขาศึก 13 ธ.ค.83 บินคนหาเครื่องบินขาศึกอีก ตามเสนทางอุบลฯ - สาละวัน - บานนคร - สนามบิน บานธาตุ - ผานมุกดาหาร แลวกลับไปลงที่อุบลฯ ตกกลางคืนเวลา 05.30 น. เครือ่ งบินขาศึกมาทิง้ ระเบิด ที่สนามบินอุบลฯ ยังไมทันขึ้นบินตอสูเครื่องบินขาศึก เขามาทิง้ ระเบิด ลูกระเบิดตกขางเครือ่ งบินฮอวค 75 เครือ่ งบินประจําตัวของ ร.ต.ผัน ฯ พอดี ทําใหเครือ่ งบิน เสียหายใชการไมได 14 ธ.ค.83 ทางการไดสั่งใหหมูบินฮอวค 75 ไปประจําสนามบินศรีสะเกษ แตยังไมทันไปเพราะ ร.ต.ผัน สุวรรณรักษ หัวหนาหมูบิน รอเครื่องบินแบบ 23 ไปตรวจ สนามบินกอน ตอนขากลับเครื่องยนตกําลังออน ตองรอซอมจึงกลับไมไดตอ งคางทีส่ นามบินศรีสะเกษ รุง ขึน้ จึงบินกลับได สวนทางสนามบินอุบลฯ นัน้ เชามืดของ 15 ธ.ค.83 จ.อ.สละ ฯ นักบินฮอวค 75 หมายเลข 3 ซึ่งอยูที่อุบลฯ คนเดียว ไดรับคําสั่งใหนําเครื่องบินฮอวค 75 รวมกับหมูฮอวค 3 บินคุมกัน หมูเครื่องบินแบบ 23 ไปทิ้งระเบิดสนามบินขาศึก ร.ต.ฉาย สุขกสิกร นักบินฮอวค 3 กําลังวิ่งขึ้น จ.อ.สละ ฯ ขับเครื่องบินวิ่งตัดหนา จึงถูกใบพัดของฮอวค 3 ฟนขาขาดถึงแกความตาย ร.ต.ฉาย ฯ


๖๐ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

บาดเจ็บสาหัส หมูบินฮอวค 75 หมูแรกจํานวน 3 เครื่อง จึงเหลืออยูเพียงเครื่องเดียว ทางการจึงใหฮอวค 75 ใหม มาประจําหมูบินนี้อีก 2 เครื่อง หัวหนาหมูคงเปน ร.ต.ผัน ฯ ตามเดิม ลูกหมูใหม ไดแก พ.อ.ต.ทองคํา (คํารบ) เปลงขํา และ จ.อ.ทองอยู เกียรติบุตร ขณะที่ติดเครื่องยนตจะเดินทางไปอุดรฯ มีทหารวิ่งมาบอกวา เครื่องบิน ขาศึก 5 เครือ่ ง กําลังบินตรงมาทีอ่ บุ ลฯ หมูบ นิ ฮอวค 75 จึงวิง่ ขึน้ สกัดเครือ่ งบินขาศึก แตบนิ วนคนหาอยู 2 ชัว่ โมง ไมปรากฏเครื่องบินขาศึก จึงกลับลงสนามบินอุบลฯ ค่ําแลวไปอุดรฯ ไมทัน รุงขึ้นจึงเดินทางไปอุดรฯ 16 ธ.ค.83 เวลาบายหมูบินฮอวค 75 บินคุมกัน บ.ทิ้งระเบิดแบบ 41 มารติน จํานวน 3 เครื่อง ไปทิ้งระเบิด สนามบินบานสินและสนามบินเชียง เมื่อทิ้งระเบิดเสร็จแลว ไดรับคําสั่งใหไปลงสนามบินนครราชสีมา แลวกลับ เขาที่ตั้งดอนเมืองตามเดิม หมูบินฮอวค 75 แหงฝูงบินขับไลที่ 60 ไดปฏิบัติการอยูในภาคอีสาน 1 เดือน ก็กลับที่ตั้ง สูญเสีย เครื่องบินไป 2 เครื่อง นักบิน 1 นาย เริ่มปใหมฝูงบินฮอวค 75 ซึ่งกลับที่ตั้งเดิมคือที่ ฝูงบินที่ 1 บน.1 หรือตามอัตรา ทอ.สนาม คือ ฝูงบินขับไล ที่ 60 แหง บน.ผสมที่ 66 ดอนเมือง เริ่มดวยการบินคุมกันฝูงบินโจมตีทิ้งระเบิดพิบูลสงคราม ซึ่งไดรับเครื่องบิน แบบนาโงยา มาใหม ๆ จากประเทศญี่ปุน ฝูงบินพิบูลสงครามออกไปทิ้งระเบิดครั้งใด ฮอวค 75 จะเปน บ.คุมกัน ใหทุกครั้ง ตลอดศึกอินโดจีนฝรั่งเศส ประเดิมดวยเมื่อ 4 ม.ค. 84 เวลา 14.14 น. ฮอวค 75 จํานวน 3 เครื่อง ทําการบินคุมกัน บ.โจมตีทิ้งระเบิดแบบ 23 (นาโงยา) จํานวน 9 เครื่อง โดยไปทิ้งระเบิดพระตะบองและ เสียมราฐ เมืองพระตะบองถูกลูกระเบิดไฟไหม ปตอ.ยิงปองกันหนาแนน มองเห็นควันทีล่ กู กระสุน ปตอ.แตกระเบิด เต็มไปหมด จากพระตะบองเลีย้ วซายเขาทิง้ ระเบิดเมืองเสียมราฐ มองเห็นกลุม ลูกระเบิดตกเลยเมืองไปเล็กนอย หมูทิ้งระเบิดเลี้ยวซายผานนครวัดเพื่อกลับดอนเมือง ที่สนามบินเสียมราฐมองเห็น บ.ขับไลแบบโมราน กําลังวิ่งขึ้น ร.ต.ผัน ฯ หัวหนาหมูบินฮอวค 75 จึงตัดสินใจนําหมูบินดําลงไปหมายจะทําลายเสีย โดยไมทันบอกใหลูกหมู ไดทราบ ลูกหมูค นหนึง่ จึงแตกหมูห ายไป คงเหลือ จ.อ. ทองอยู เกียรติบตุ ร เกาะหมูบ นิ ตามลงไปดวย เมือ่ ลงไปใกล สนามบินมองหา บ.ขาศึกทีว่ งิ่ ขึน้ มาไมพบ จึงบินขึน้ ตามหมูท งิ้ ระเบิดตอไป จ.อ.ทองอยู ฯ ซึง่ เกาะหมูอ ยูท างขวา บอกใบใหมองดูทางซายดานหลัง จึงเห็น บ.ขับไลแบบโมราน 4 เครื่องตามมา ทําใหเปนหวงหมูทิ้งระเบิด จึงบอกใบใหสัญญาณ (วิทยุพูดกันไมรูเรื่อง) ให จ.อ.ทองอยู ฯ แยกไปคุมกันหมู บ.ทิ้งระเบิด สวน ร.ต.ผัน ฯ เลี้ยวซายเขาหา บ.ขาศึก เพื่อปะทะไวกอน โดยเชื่อวาสมรรถนะของ บ.แบบ 16 พอจะสูกันได แตทันใดนั้นก็ ถูกโมรานทั้ง 4 เครื่อง รุมลอมขนาบซายขวาหนาหลัง ทั้งขางลางและขางบน เมื่อเขาที่คับขันเชนนั้นจึงหันหัวเครื่องบิน เขาประเทศไทยไวกอน พรอมกันนั้นก็ใชวิธีบินตวัดขวาที ซายที ยิงดวยปนใตปกทั้งสองกระบอก บนลําตัวอีก สองกระบอกยังไมกลาใชเกรงจะถูกใบพัดตัวเอง เอาไวบินเขาใกล ๆ เขตไทยกอนจึงคอยวากันเต็มที่ พรอมกันนี้ ก็ตองคอยมองดานหลัง เมื่อเห็นตรงมาก็ดึงหลบขึ้นหรือดําลงอยางเร็วและแรง ตอนที่ถูกเครื่องทางขวาและ ทางหลัง ดานบนยิงถูกทีป่ ลายปกขวาและทีพ่ งิ ศีรษะกราวใหญ ก็เพราะเผลอตัวชัว่ ขณะโดยเกิดความดีใจจนลืมตัว เนือ่ งจากเมือ่ ตวัดซายเขายิงเครือ่ งบินทีข่ นาบอยูท างซายจนเกือบจะชนกัน บ.ขาศึกแฉลบหลบลงรอดใตทอ งไป คิดวาถูกปนรวงแลวจึงเอียงปกขวาดู เครื่องบินอยูในทานิ่งจึงถูกยิงเขาอยางฉกรรจจึงรูสึกตัว และทําการตอสู กันตอไป แทบทุกครั้งที่เขายิงเขาเราก็มักจะโดนยิงดวย พอถึงศรีโสภณ บ.ขาศึกก็บินผละจากไป เมื่อกลับ ลงสนามบินเครื่องบินเอียงกะเทเลเพราะยางลอซายและลอหางถูกยิงแตกหมด


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๖๑

จากการรบกลางอากาศครั้งนี้ รวมทั้งการปฏิบัติหนาที่อันดีเดนเยี่ยมยอดมาแตตน หัวหนาหมูบินฮอวค 75 คือ ร.ต.ผัน สุวรรณรักษ ไดรับพระราชทานเหรียญกลาหาญพรอมกับนักบินทานอื่น ๆ อีกหลายทาน ตัง้ แตตน ปใหมมา ฝูงบินพิบลู สงครามโหมกําลังทิง้ ระเบิดจุดยุทธศาสตรแดนขาศึกติดตอกันมาเรือ่ ย ฝูงบิน ฮอวค 75 ก็บินคุมกันใหตลอด โดยไปทิ้งระเบิดที่ศรีโสภณ - จงกัลป - ภูกําปรง - เสียมราฐ - มงคลบุรี ดังนี้ 13 ม.ค.84 ไดรับคําสั่งใหนําหมู บ.แบบ 16 จํานวน 3 เครื่อง บินคุมกัน บ.แบบ 26 หมู 9 ไปทิ้งระเบิด จงกัลป - ภูกําปรง - เสียมราฐ - มงคลบุรี 17 ม.ค.84 ไดรับคําสั่งใหนําหมู บ.แบบ 16 จํานวน 3 เครื่อง บินคุมกัน บ.แบบ 26 หมู 9 ไปทิ้งระเบิด ศรีโสภณ 19 ม.ค.84 ไดรับคําสั่งใหนํา บ.แบบ 16 จํานวน 3 เครื่อง ไปทิ้งระเบิดเผาโรงเก็บ บ.ขาศึกที่เสียมราฐ ดวยลูกระเบิดเพลิง ขนาดลูกละ 15 กก. เครื่องละ 10 ลูก 23 ม.ค.84 ไดรับคําสั่งใหนําหมู บ.แบบ 16 จํานวน 3 เครื่อง ทิ้งระเบิดเผาโรงเก็บ บ.ขาศึกที่สนามบิน เสียมราฐ ดวยลูกระเบิดเพลิงขนาด 15 กก. เครื่องละ 10 ลูก 24 ม.ค. 84 ไดรับคําสั่งใหนําหมู บ.แบบ 16 จํานวน 3 เครื่อง ทําการบินคุมกัน บ.แบบ 41 (มารติน) จํานวน 3 เครื่อง ไปทิ้งระเบิดสนามบินและโรงเก็บ บ. ที่เสียมราฐ บ.แบบ 41 อยูที่สนามบินบานแพะ บ.แบบ 16 อยูที่ดอนเมือง จุดนัดพบเหนือบริเวณกอนจะถึง ศรีโสภณ ถึงเวลาที่กําหนด บ.แบบ 41 ยังไมมาตองบินรออยูเกือบ 10 นาที และในวันเวลาเดียวกันนี้เครื่องบิน โจมตีแบบ 26 จํานวน 9 เครื่อง มี ร.อ.ทวี จุลละทรัพย นําหมู บ.แบบ 16 จํานวน 3 เครื่องเปนผูคุมกัน ไปทําการ ทิ้งระเบิดเมืองตาง ๆ แถบทะเลสาบเขมรดวย ขณะที่ บ.แบบ 41 กําลังทิ้งระเบิดที่เสียมราฐอยูนั้น เครื่องบิน ขับไลแบบโมรานของฝรั่งเศสจํานวน 4 เครื่อง ไดบินผานหมูทิ้งระเบิดแบบ 41 ไปทาง บ.ทิ้งระเบิดแบบ 26 ซึ่งมี น.อ.ขุนรณนภากาศ เปนผูนํา เมื่อกลับถึงดอนเมืองแลวจึงทราบวา บ.ขับไลโมรานทั้ง 4 นั้น ไปรุมเลนงาน ทานเครื่องเดียว เปนการตอสูระหวาง 1 ตอ 4 ดวยฝมือบินและชั้นเชิงที่เหนือกวา บ.ขับไลโมรานทั้ง 4 จึงทํา อันตรายไมไดและอุตสาหบินมาสงถึงจันทบุรี 27 ม.ค. 84 ไดรับคําสั่งใหนําหมู บ.แบบ 16 จํานวน 3 เครื่อง ทําการบินคุมกัน บ.แบบ 41 จํานวน 3 เครื่อง ไปทิ้งระเบิดเมืองศรีโสภณ ประวัติการทํางานของหมูบินฮอวค 75 ไดสะดุดหยุดลงเพียงนี้ ครูดอน ฯ พยายามที่จะสืบหาตอไป ก็ยังไมประสบความสําเร็จ แตอยางไรก็ตามในการสงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศสนั้น เมื่อ ทอ.สนาม เปดการ ปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร ทําลายเครื่องบินขาศึก สนามบินและคลังยุทโธปกรณของขาศึก ฮอวค 75 ไดเปนพีเ่ ลีย้ งใหแกฝงู บินทิง้ ระเบิดบินคุม ครองให และบางครัง้ ก็ไดรว มมือโจมตีเปาหมายทางอากาศดวย ฮอวค 75 เปนประหนึง่ หมูบ นิ พเนจรหรือมือปราบพเนจร บินไปใหความคุม ครองแกฝงู บินตรวจการณและทิง้ ระเบิดตลอด แนวรบดวยภารกิจการบินคุมกันฝูงบินทิ้งระเบิดหมูบินฮอวค 75 เปนมือปนพเนจร ก็ตองปะทะกับ บ.ขับไล ของขาศึกถึงกับพันตูกันกลางอากาศอยางอุตลุต บ.ขับไลโมรานของฝรั่งเศส 4 เครื่อง รุมกินโตะ ฮอวค 75 เพียงเครื่องเดียวก็กินไมลง มิหนําซ้ํา บ.ขับไลโมรานเครื่องหนึ่งยังถูกยิงตกเสียอีกดวย เปนการแสดงใหเห็นถึง ฝมือและชั้นเชิงของนักบินไทยที่มีเหนือกวาอยางมากมาย 


ครูภาษาพาที

วาดวยเรื่อง... ก.เอย ก.ไก (ตอนที่ ๒) Sora

(ตอจากฉบับที่แลว)

กอนที่เราจะวากันดวยเรื่องสัตวปก (poultry) ชนิดอื่น ๆ ที่ไดรับความนิยมพอกันกับไก ยังมีคําศัพท อีกหนึ่งคําที่มีความหมายเชนเดียวกับคําวา “poultry” คือ คําวา “fowl” อานวา “เฟาลฺ” เปนคําศัพทจาก ภาษาเยอรมัน มีความหมายวาสัตวปก หรือเนื้อของสัตวปก ซึ่งในสมัยกอน “fowl” จะหมายถึงสัตวปกที่ถูกลา มาเพื่อไวบริโภคเนื้อเปนอาหารเทานั้น ไมวาจะเปน เปดปา นกเปดน้ํา หรือแมแตไกฟา แตปจจุบันความหมาย กวางขึ้น ใชครอบคลุมทั้งสัตวปกที่เลี้ยงไวในเลาหรือลาในปา หรือพูดกันงาย ๆ คือ สัตวปกที่นําเนื้อมาบริโภค เปนอาหาร เราเหมารวมเรียก “fowl” ดังนั้นทั้ง “poultry” และ “fowl” จึงมีความหมายเหมือนกัน  ไกงวง (turkey) ไกงวงมีตนกําเนิดจากทวีปอเมริกา โดยชาวแอซเท็กซ (Aztecs) เปนผูริเริ่มการเลี้ยงไกชนิดนี้ไวเพื่อบริโภค ไกงวง เริม่ แพรหลายในทวีปยุโรป เนือ่ งมาจากกลุม นักสํารวจ (explorer) กองทหาร นักผจญภัย (adventurer) ชาวสเปน และโปรตุเกส ทีเ่ รียกกันวา กองกิสตาดอร (conquistador) เดินทางไปทวีปอเมริกา เพือ่ คนหาทอง แตไปพบไกงวงทีช่ าวแอซเท็กซเลีย้ งไวเปนอาหาร รับประทานแลวรูส กึ รสชาติอรอย จึงจับไกงวงกลับมาใหชาวยุโรป ไดลองชิมบาง หลังจากนัน้ ไมนานไกงวงก็เปนทีน่ ยิ มทัง้ ในฝรัง่ เศส อิตาลี และอังกฤษ ความนิยมเนือ้ ไกงวงนับวาไมแตกตางจากเนือ้ ไก แตดว ย ความทีไ่ กงวงนัน้ ตัวใหญมาก จึงนํามาทําอาหารไดยากกวาไกทวั่ ไป และทีส่ าํ คัญตองรับประทานกันหลาย ๆ คน ไกงวงจึงกลายเปนอาหารที่ใชเฉพาะในโอกาสพิเศษ (special occasion) อยางเชน เทศกาลคริสตมาสและ วันขอบคุณพระเจา (Thanksgiving) ไกงวงเปนอาหารที่แฝงอยูในวัฒนธรรมของชาวอเมริกันอยางลึกซึ้งและเชื่อวา เราคงชินตากับภาพไกงวงอบ (roast turkey) ตัวใหญที่ถูกจัดวางบนโตะอาหารเพื่อเฉลิมฉลอง (celebrate) ชวงเวลาพิเศษดังกลาวรวมกัน


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๖๓

สาเหตุทที่ าํ ใหไกงวงกลายเปนอาหารจานหลักหรือ สัญลักษณ (symbol) ของเทศกาลนี้ เนือ่ งมาจากไกงวงเปน สัตวทหี่ าไดงา ยตามทองถิน่ ในทวีปอเมริกา โดยมีเรือ่ งเลาวา ในยุคลาอาณานิคม (colonial era) ประมาณคริสตศตวรรษ ที่ ๑๘ ชวงที่ชาวยุโรปเขามาในประเทศอเมริกาใหม ๆ อาหารที่ ถูกใชในการเฉลิมฉลองจริง ๆ เปนเนือ้ ซีโ่ ครงหมู (spare rib) แตหมูตัวหนึ่งคงมีซี่โครงใหเรากินไดไมมากนัก สูไกงวงปา ไมไดทที่ งั้ ตัวใหญ เนือ้ เยอะ วิง่ ลอตาไปมาอยูไ มไกล สามารถ แบงกันรับประทานอิม่ อรอยครบทุกคน จึงทําใหความนิยมใน ซีโ่ ครงหมูเปลีย่ นมาเปนไกงวงดวยประการฉะนี้ คนทีท่ าํ ให ชาวยุโรปในอเมริการูจ กั กับไกงวงก็ไมใชใครอืน่ ไกล นอกจากชาวอินเดียนแดง (Red Indian) เจาของพืน้ ที่ นั่นเอง  เปด (duck) ชาวจีนเปนชนชาติแรกทีเ่ ลีย้ งเปดเปนอาหารและเพือ่ เก็บไขรบั ประทาน ชาวยุโรปนิยมรับประทานเปดปา สวนคนไทย นิยมเลี้ยงเปดไวรับประทานไขมากกวาเนื้อ เนื่องจากรูสึกวา เนื้อเปดมีกลิ่นสาบ เนือ้ เปดมีโปรตีนสูง มีไขมันมากเมือ่ เทียบกับเนือ้ สัตวปก อื่น ๆ ทําใหคนสวนใหญนิยมรับประทานเนื้อสวนอกมากกวา เพราะเปนเนื้อลวน ๆ ไขมันนอยกวาสวนอื่น ๆ แตชาวเอเชีย อยางเรามีเมนูอกี หลายอยางทีน่ าํ เปดทัง้ ตัวมารังสรรคเปนเมนู แสนอรอย ไมวาจะเปนเปดปกกิ่ง (Peking duck) เปดพะโล (pot-stewed duck) เปดยัดไสเกาลัด (roast duck with chestnut stuffing) เปนตน นอกจากนี้จากการศึกษาของนักจิตวิทยา ริชารด ไวซแมน (Richard Wiseman) และเพื่อนรวมงาน ที่มหาวิทยาลัยเฮิรทฟอรตเชียร (University of Hertfordshire) ประเทศอังกฤษ ในปคริสตศักราช ๒๐๐๒ ทําการทดลองและวิจัยเรื่องการหัวเราะของมนุษย พบวา “เปดเปนสัตวที่ดึงดูดอารมณขัน (ภาษาอังกฤษแบบ อังกฤษใช humour แตภาษาอังกฤษแบบอเมริกันใช humor) มากที่สุด” ดังนัน้ เราคงไมแปลกใจทีโ่ ดนัลด ดัก๊ (Donald Duck) ตัวการตนู จากคายการตนู วอลทดสิ นีย (Walt Disney) หรือเปดสีดําอยางแดฟฟ ดั๊ก (Daffy Duck) จากคายลูนี่ย ตูนส (Looney Tunes) จะสรางเสียงหัวเราะใหกับ เด็ก ๆ (รวมทั้งผูเขียนดวย) มานานนับศตวรรษ แตคนไทยอยางเรา ๆ อาจจะไมหัวเราะหรือหัวเราะไมออก เมื่อเจอสํานวนเกี่ยวกับเปดแบบ “เซ็งเปด” แน ๆ


๖๔ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

 นกกระทา (quail) สัตวปก ซึง่ มีถนิ่ กําเนิดแถวตะวันออกกลาง คนนิยม วางกับดัก (trap) เพื่อลา (hunt) ไวเปนอาหาร ในตํารา อาหารฝรั่งเศสตางก็ยกใหเมนูนกกระทาเปนอาหารจานเอก สวนชาวอินเดียมักนําไปทําเปนอาหารประเภทแกงกะหรี่ หรือบูหนา (bhuna) และความที่นกกระทาเปนสัตวปก ขนาดเล็ก เนือ้ มีไมมากนัก เราจึงนิยมรับประทานเนือ้ และ กระดูกไปพรอมกัน ซึ่งงายกวาการคอย ๆ เลาะกระดูกของนกกระทาที่ตัวเล็กจิ๋ว ที่สําคัญกระดูกของนกกระทา ก็กรอบ (crunchy) เคีย้ วงายอีกดวย ดังนัน้ การบริหารกราม (jaw) และเสริมสรางแคลเซียมไปพลาง คงไมเสียหายอะไร  นกกระจอกเทศ (ostrich) นกตัวใหญที่สุดในโลกชนิดนี้ มีตนกําเนิดจากทวีปแอฟริกาและ เปนอาหารของชาวแอฟริกนั มาแลวกวา ๑,๐๐๐ ป แตสาํ หรับวงการอาหาร ระดับโลก เนื้อนกกระจอกเทศเพิ่งเปนที่รูจักเมื่อไมนานมานี้เอง เนื้อของนกกระจอกเทศ มีสีแดงเหมือนเนื้อวัวแตรสชาติเขมขนกวา สวนรสสัมผัส (texture) นั้นหยาบกระดางกวาเนื้อไก แตเปนเนื้อที่ได รับการสงเสริมจากนักโภชนาการวาดีตอสุขภาพมากที่สุด เนื่องจากมีไขมัน และคลอเรสเตอรอลต่าํ มาก จึงเหมาะสําหรับผูม ปี ญ หาไขมันในเสนเลือดสูง นอกจากนี้ยังชวยควบคุมน้ําหนักไดดี ดวยเหตุนี้เองเนื้อนกกระจอกเทศ จึงไดรบั ความนิยมมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ทัว่ ทุกมุมโลก จนนําไปสูก ารคิดคนเมนู ใหม ๆ มากมาย บางครัง้ ก็นาํ มาประกอบอาหารแทนเนือ้ วัว ทัง้ เบอรเกอร (burger) สตูวเ นือ้ (stew) สเตก (steak) จนถึงไขคน (scrambled eggs) สวนอาหารจานเด็ดแบบไทย ๆ ที่ใหรสชาติจัดจานเผ็ดรอน ก็คงไมพน เนื้อนกกระจอกเทศผัดพริกไทยดํา (black pepper ostrich) หรือผัดกะเพรา (sweet basil ostrich stir-fry) ซึง่ หารับประทานงายและราคาไมแพงอยางทีค่ ดิ เนือ่ งจากปจจุบนั มีนกั ลงทุนเงินหนาหัวใสทําฟารมนกกระจอกเทศ อยูห ลายแหงในบานเรา ซึง่ มีครบวงจรนับตัง้ แตโรงเลีย้ ง โรงเพาะไขนก จนถึงโรงชําแหละ บางแหงเปดใหเขาชม ทัศนศึกษา ทองเที่ยว และเปนแหลงพักผอนหยอนใจไปในตัวเสร็จสรรพ ถือเปนความโชคดีของคนไทยที่มีโอกาสไดเห็นนกกระจอกเทศตัวเปน ๆ แถมยังไดชิมรสโดยไมตอง เสียคาเครื่องบินไปไกลถึงแอฟริกา ขาดแตเพียงพอหนุมนิเชามายืนยิ้มยิงฟนดําใหดูเทานั้นเอง  นกพิราบ (pigeon) นกที่เปนสัญลักษณของเสรีภาพ (liberty) นี้เปนที่รูจักของมนุษยมาไมต่ํากวา ๓,๐๐๐ ป โดยในยุคโรมัน (Roman) นกพิราบเปนสัตวที่ไดรับเกียรติใหเปนสวนหนึ่งในการฉลองชัยแกบรรดานักสูแหงโคลอสเซียม หรือ


ขาวทหารอากาศ ๖๕

มกราคม ๒๕๕๙

แกลดิเอเตอร (gladiator) แตนํามาประกอบเปนอาหาร เพราะโดยปกตินักสูจะรับประทานอาหารประเภท คารโบไฮเดรตที่ใหพลังงานในการตอสู เชน หัวเผือก (taro root) หัวมัน (yam) ถาพวกเขาชนะก็จะไดรางวัล เปนเมนู “suckling pig” เมนูที่มีหนาตาคลายหมูหัน แตสิ่งพิเศษที่สรางความตื่นตะลึงใหกับชาวโรมัน ก็คือ เมื่อผาทองหมูหันปุบ นกพิราบก็จะบินกรูออกมาจากทองหมูราวกับการแสดงมายากลไมมีผิด โชคไมดีที่เกิด ชาไปหนอยจึงไมไดชิมและชมเปนบุญตา หลายคนอาจจะมองนกพิราบวาเปนสัตวสกปรก แหงทองถนน เพราะเรามักจะเห็นนกพิราบอยูท วั่ ไปตามที่ สาธารณะในเมืองใหญ ๆ ของโลก ไมวา จะเปนที่ ปอาซซา เดอ ซาน มารโค (Piazza De San Marco) ในเมืองเวนิส ประเทศอิตาลี จัตุรัสทราฟลการ (Trafalgar Square) ในใจกลางกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ หรือแมแต ทองสนามหลวง (Royal Plaza or The Pramane Ground) ใกล ๆ นี่เอง แตหากพูดถึงโลกของอาหารแลว อาหารทีท่ าํ จากลูกนกพิราบ (squab) เปนอาหารสุดหรูทภี่ ตั ตาคาร ชัน้ เยีย่ มแทบทุกแหงในประเทศฝรัง่ เศสจําเปนตองเสิรฟ โดยเฉพาะเนือ้ สวนอก (squab breast) เปนทีช่ นื่ ชอบ มากที่สุดของใครหลาย ๆ คน แตไมใชผูเขียนแนนอน สวนอาหารตํารับดัง้ เดิมของชาวอียปิ ตกม็ นี กพิราบ รวมอยูในรายการดวยเชนกัน ชาวอียิปตนํานกพิราบ มายัดไสดว ยขาวและสมุนไพรสูตรเฉพาะพิเศษ และนําไป ยางตอจนแหงกําลังดี กลายเปนเมนู Hamam Mahshi ปจจุบันเมนูนี้ก็ยังเปนที่ชื่นชอบอยู ซึ่งเพื่อนชาวอียิปต เลาใหฟงวา รานอาหารทองถิ่น (local restaurant) บางราน ยังนิยมเสิรฟเมนูนี้พรอมกับหัวนกพิราบเผา สอดไสในตัวนกอีกดวย ใครวาเปบพิสดารมีแคที่เมืองไทยเทานั้น คนขวัญออนที่คิดจะเดินทางไปอียิปตอาจจะ ตองเตรียมใจกันเล็กนอยกับการเจอหัวนกดําเกรียมอยูในตัวนกเวลารับประทานเขาไป ถึงแมจะดําไปหนอย แตหลายคนรับรองวารสชาติอรอยล้ํา  (ฉบับหนาติดตาม เมนูสัตวปกที่ชาวโลกอยางเรานิยมบริโภคกัน) แหลงขอมูลอางอิง : - http://en.wikipedia.org/wiki/Poultry - http://www.poultryclub.org/poultry/history-of-poultry - http://healthandcuisine.com/recipedetail.asp - https://www.facebook.com/wonderwayworld/photos/ - http://www.online-english-thai-dictionary.com/ - http://www.nomu.co.za/recipes/roast-duck-with-chestnut-and-amaretti-stuffing/print - http://th.w3dictionary.org/index.php?q=fowl - http://www.oxfordlearnersdictionaries.com/


มีรางวัล



อ.วารุณี

ขอเชิญสมาชิกลับสมอง แลวสงคําตอบโดยเขียน ยศ - ชือ่ - สกุล และหมายเลขโทรศัพท ไปทีส่ าํ นักงาน หนังสือขาวทหารอากาศ ภายใน ๑๐ ก.พ.๕๙ หากมีผูตอบถูกจํานวนมากจะใชวิธีจับสลากรายชื่อ ๓ รางวัล ๆ ละ ๓๐๐ บาท และแจงผลการจับสลากพรอมเฉลยในฉบับ มี.ค.๕๙


ขาวทหารอากาศ ๖๗

มกราคม ๒๕๕๙

 Across 

 Down 

1. A place where people play card game and other type of games in which you can win or lose money. 6. Opposite of "grandma" 11. An informal greeting 12. A : Could you pour me some more juice? B : Sorry, there is ............. left. 14. Too much candy will ............. your teeth. 15. Last night when I walked into my bedroom, I could sense that something is ............... or not as if should be. 16. A weapon 17. Lately some villages got the severe disaster from the falling of ................... until they had to fix their roofs. 18. To examine somebody's knowledge or skill in something. 19. Sumalee is friendly so she has a ............. of friends or many friends. 20. ..................., went, gone 22. To ................... means to notice, indentity or examine somebody, something by using your nose. 24. They ............. their living as the musicians. 26. ........... what time will you get back home? 27. ..........., sat, sat 30. ........... is a supply of things that are avaliable to be sold or used. 32. That fat man bought a cheeseburger and a ............... coke, the greater size of cup. 33. Negative answer

1. Sir, how do you pay me, cash or ...............? 2. Puspose 3. An example 4. You can smell sweet or bad odor by your ............. . 5. She starts his first job ............... Monday. 6. What kind of sport or ................. that you like? 7. May was born to be an ............... , a person who likes to play the sport until she is the World Champion in 2013 8. To practise 9. .......... is a game for two teams of horses and riders 10. The same as No. 26 Across 13. Those leaves are ............. or they are eaten. 21. He likes to have .............. (a type of grain) with milk. 23. The way she sings is absolutely ................ or wonderful, excellent. 25. Tony likes to have .............. or egg from fish. 28. ............... is used to agree with something that has just been said or for emphasis its meaning "certain, really" 29. The same as No.65 Across 31. ........... is a soldier who fought while riding a horse in a Middle Ages. 35. Opposite of "maximum" 36. I ................ not a lazy boy so many teachers like me. 37. To .............. means to hit or move somebody or something with your foot.


๖๘ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

 Across 

 Down 

34. Have you ever ................. a ghost? 35. Make, made, ............... 38. He, She, ......... etc. 41. These days there are many serious ............. , something which is against the law daily. 43. To ............... means to enter a country in order to live there. 47. A, ........... , the 48. Her children always ................ when she does not buy them some toys. 49. Tom has ............................. own car to drive to Chiengmai. 50. Someone stole Jim's bicycle even he ........... it at the post firmly. 51. The same as No.18 Across 53. ........................ is the edge of a piece of cloth especially on a skirt, dress or pants that has been turned under and sown down. 55. You must put on the engineer helmet when you enter a ................. where a building is being constructed. 56. His illness is probably ................... to stress. 57. Opposite of "down" 59. Run, ..............., run 61. Do you ............... if I smoke here? 63. Rot 64. Opposite of "in" 65. She hurt her ............ , one of the five small parts like fingers at the end of each foot.

39. When Anong was young, she always ............ hard to get success. 40. The same as No.26 Across 42. Now a ............. of currency exchange, one dollar is nearly 35 baht. 44. Opposite of "Ms." 45. .............. is a person who spends his/her life developing the spirit and communicating with God. 46. ............ means to make something sure or certain. 52. Thanom likes to drink Chinese ............... in order to get rid of fat from the oily food that he often has. 53. The same as No.11 Across 54. Those boys always ............... or walk with bare feet in a shallow water. 58. ................. is a large hole that is made in a ground. 60. The same as No.33 Across 62. The same as No.33 Across

ะคะ น ี ด โชค


เวลาการตูน BEETLE BAILEY

มีสกรีน

ภาพ ๑ - เรามีกองทหารในอิรัก อัฟกานิสถาน เกาหลี ฟลิปปนส อียิปต... - ใช เรามีกองกําลังประจําการอยูทั่วโลก ภาพ ๒ - ยกเวนที่นี่ (มีพลทหารไมทํางานอยู) troops - กองกําลังทหารจํานวนมาก (soldiers especially in large groups) การออกเสียงชื่อประเทศตาง ๆ เมื่อพูดภาษาอังกฤษตองใชเสียงหนักเบาที่พยางคใดพยางคหนึ่ง เชน Iraq (อิแรค), Afghanistan (อัฟกานิสตาน), Korea (คอเรีย), The Philippines (เดอะ ฟลิปพีนส) และ Egypt (อี๊จิปต) เปนตน active (adj.) - ในที่นี้ใชเกี่ยวกับทหาร แปลวา ซึ่งปฏิบัติหนาที่ในการปองกันประเทศหรือในสงคราม สําหรับความหมายอื่น ๆ ที่คุนเคย active แปลวา ทํางานยุง มีสวนรวม หรือมีชีวิตชีวา (busy, involved, lively) คําตรงขาม คือ inactive except (prep.) - เปนคําบุพบท แปลวา ยกเวน (ออกเสียงวา เอ็กเซพท) We work everyday except Sunday. (เราทํางานทุกวันยกเวนวันอาทิตย) และ They all came except Mac. (พวกเขามากันหมดยกเวนแม็ค)


๗๐ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

ANDY CAPP

ภาพ ๑ - ขอยืมกลองเครื่องมือหนอยนะชอลคกี้ ? - ไดเลย ภาพ ๒ - โฟล จะซอมอะไรละ ? - ผมขอแยงนะ เธอไมไดเปนคนเดียวที่ทํางานเล็ก ๆ นอย ๆ ในบานนะ คุณก็รู ! ภาพ ๓ - โฟล จะซอมอะไรละ ? (เพื่อรูวาภรรยาเปนคนทํา) - ตูในครัว Can I borrow your toolbox, Chalkie ? no problem to object odd jobs

- เปนประโยคขอรอง (request) แบบคนกันเอง ถาจะใชสุภาพกวา ก็ใช Could I ....... หรือ May I ..... ? และจะเติม please ดวยก็สุภาพขึ้นไปอีก - เปนคําตอบไมขัดของ เมื่อถูกขอรอง อาจใช Of course หรือ Certainly หรือ Yes ก็ได - คัดคาน, โตแยง (to say that you disagree or oppose sth.) Ex. Many local people object to the building of the new airport. (คนในทองถิ่นจํานวนมากคัดคานการกอสรางสนามบินแหงใหม) - งานเล็ก ๆ นอย ๆ ที่ทําในบาน (small jobs of various types) 


พล.อ.ต.ธนบดี อุตะมะ รอง จก.ยศ.ทอ.

น.อ.ไววิทย เสือดี รอง เสธ.ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ พล.อ.ต.นพดล บุญมั่น จก.ยศ.ทอ. รอง จก.ยศ.ทอ.

พล.อ.ต.คุณทร มณีเขียว เสธ.ยศ.ทอ.

น.อ.อัมพร ทองถม รอง เสธ.ยศ.ทอ.

ปชส.ยศ.ทอ.

กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ วิวัฒนาการมาจากแผนกโรงเรียนในกรมเสนาธิการกองทัพอากาศ และ กําเนิดขึน้ ในกองทัพอากาศตามผังการจัดกองทัพอากาศเมือ่ ป พ.ศ.๒๔๙๑ โดยเปนหนวยขึน้ ตรงตอกองทัพอากาศ ถึงแมวา กรมยุทธศึกษาทหารอากาศจะกําเนิดขึน้ ในกองทัพอากาศ แตมคี วามพรอมในการบริหารงานตามภารกิจ ของหนวย เมือ่ ๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๒ ดวยสาเหตุดงั กลาว จึงถือเอาวันที่ ๗ มกราคมของทุกป เปนวันสถาปนา กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ นับตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา โดยมี พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ เปนเจากรม ยุทธศึกษาทหารอากาศคนแรก กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ มีหนาที่ วางแผนการปฏิบัติ อํานวยการ ประสานงาน กํากับดูแล และ ดําเนินการเกี่ยวกับการศึกษา การฝกอบรม แกกําลังพลของกองทัพอากาศ ตามที่กองทัพอากาศกําหนด และ การอนุศาสนาจารย รวมทัง้ ตรวจตรากิจการในสายวิทยาการ ดานการศึกษาและการฝก และการอนุศาสนาจารย มีเจากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ


๗๒ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

ตลอดระยะเวลา ๖๗ ป ที่ผานมา กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ โดย ผูบังคับบัญชา ขาราชการ ตางมุงมั่น ทุมเทกําลังกาย กําลังใจ ในการพัฒนากําลังพลกองทัพอากาศ ใหเปนไปตามที่กองทัพอากาศกําหนดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยรับผิดชอบจัดการฝกศึกษาในระบบการศึกษาตามแนวทางรับราชการ มีการจัดการฝกศึกษา หลักสูตรตาง ๆ ในโรงเรียนหลักขัน้ ตน ไดแก รร.จอ.ฯ รร.นป.ฯ และ รร.นม.ฯ และโรงเรียนหลักขัน้ ปลาย ซึง่ เปน การศึกษาวิชาชีพทางทหาร (PME) ไดแก รร.นฝ.ฯ รร.นอส.ฯ รร.สธ.ทอ.ฯ และ วทอ.ฯ นอกจากหลักสูตร ที่ไดกลาวมาแลว ยศ.ทอ.ยังมีสวนที่รับผิดชอบในการพัฒนาบุคลากร ทอ. อาทิ  ศูนยภาษาฯ หนวยงานทีไ่ ดดาํ เนินโครงการเรียนภาษาอังกฤษออนไลน (E-Learning) ดวยโปรแกรม การเรียนรูดวยตนเองที่เรียกวา Quartet Scholar เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษใหกับขาราชการ ลูกจาง และ พนักงานราชการ ทอ. ซึง่ สอดคลองกับนโยบายเฉพาะดานกําลังพลของผูบ ญั ชาการทหารอากาศ ปพทุ ธศักราช ๒๕๕๙ ทีใ่ หนาํ ระบบการเรียนรูด ว ยตนเองผานสือ่ อิเล็กทรอนิกส (E-Learning) มาใชเปนเครือ่ งมือในการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนสามารถเขาถึงไดงายโดยไมกระทบตอการปฏิบัติงานประจํา รวมทั้งหลักสูตรการสอนภาษาไทย สําหรับนายทหารตางประเทศอีกดวย  ศูนยทดสอบบุคคลฯ หนวยงานทีเ่ ปนสวนหนึง่ ในการคัดเลือกบุคคลพลเรือนเขาเปนนักเรียนทหาร เขารับขาราชการ ทอ. และเขารับการศึกษาในหลักสูตรตาง ๆ ของ ทอ. รวมทั้งพัฒนาบุคลากร ทอ.ใหมี ความรูแ ละทักษะ ในการทําหนาทีเ่ ปนกรรมการสอบสัมภาษณ โดยการจัดอบรมวิธกี ารสัมภาษณ เพือ่ ใชในการ คัดเลือกบุคคลพลเรือน โดยเฉพาะการคัดเลือกศิษยการบิน ทอ. ั นากําลังพล ทอ. ใหมคี ณ ุ ธรรมและจริยธรรมอยางสม่าํ เสมอ  กองอนุศาสนาจารยฯ หนวยงานทีพ่ ฒ เชน การจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมทั้งในและนอก ยศ.ทอ. และบรรจุวิชาคุณธรรมและจริยธรรมในหลักสูตร สายวิทยาการ ทอ. เปนตน


นอกเหนือจากภารกิจหลัก ยังไดจดั กิจกรรมโครงการเฉลิมพระเกียรติแดองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา รวมทั้งยังปลูกจิตสํานึกในการรักชาติ อนุรักษ สิ่งแวดลอม และการปฏิบัติงานรวมกันดวยความรักสามัคคี มีวินัย จะเห็นไดวาภารกิจทั้งหลายที่กลาวมานั้น ยศ.ทอ.ไดปฏิบัติตามยุทธศาสตรของกองทัพอากาศ ในเรื่อง ของการมุง เนนพัฒนากําลังพลใหมขี ดี ความสามารถและตรงตามความตองการของ ทอ.ทัง้ เชิงปริมาณและคุณภาพ กาวป พ.ศ. ๒๕๕๙ เปนปแรกของระยะที่ ๑ ของการเปนองคการที่ทันสมัย (Modern Organization) ตามวิสัยทัศนของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ที่ตองการเปน “องคการการศึกษาทางทหารชั้นนําในภูมิภาค อาเซียน (One of The Best Military Education Organizations in ASEAN)” จึงทําใหกรมยุทธศึกษา ทหารอากาศมีความมุง มัน่ พัฒนา สรางองคความรู ในการฝกศึกษาหลักสูตรตาง ๆ รวมทัง้ ภารกิจทีไ่ ดรบั มอบหมาย อยางเต็มกําลังความสามารถ เพื่อมาตรฐานการทํางานที่มีประสิทธิภาพและผลิตกําลังพลของกองทัพอากาศ ใหมีความรูและเขาใจในงาน มีพฤติกรรมใฝรูและแลกเปลี่ยนความรู เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและสิ่งที่ ทาทายในอนาคต มีคานิยมรวมในการฝกศึกษา เพื่อสนับสนุน ยศ.ทอ.ใหพัฒนาไปสูวิสัยทัศน ทอ. ในการเปน กองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค (One of the Best Air Forces in ASEAN) 


รอบรู...อาเซียน

ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน Republic of the Philippines Fastival Guide

@Zilch

The Procession of Black Nazarene in Manila, Philippines

เทศกาลรวมขบวนแหพระเยซูดํา ในกรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟลิปปนส

The feast of the Black Nazarine known to devotees in Spanish as Nuestro Padre Jesús Nazareno, is day-long festival in Quiapo Manila that is considered as the largest religious festival in Asia. The Black Nazarine procession is yearly event held every 9th of January. Every Year, Black Nazarene Procession is attended by several million devotees that fills the streets of processional route through the City of Manila. The devotees come to the church of Quiapo to take part in the procession as a way of strengthening their faith or fulfilling their “panata” (vow) to Jesus Christ.

เทศกาลฉลองพระเยซูดําเปนที่รูจักกันอยาง แพรหลายสําหรับผูม จี ติ ศรัทธาชาวคริสตนกิ ายโรมันคาทอลิก มาจากภาษาสเปนวา Nuestro Padre Jesús Nazareno ซึง่ จะจัดขึน้ ทัง้ วันในเมืองเกียโป กรุงมะนิลา และนับวาเปน เทศกาลทางศาสนาทีใ่ หญทสี่ ดุ ในเอเชียอีกดวย เทศกาลแห พระเยซูดาํ เปนเทศกาลประจําปทจี่ ดั ขึน้ ทุกวันที่ ๙ มกราคม และทุก ๆ ปจะมีผูมีจิตศรัทธาหลายลานคนเขารวมพิธี เฉลิมฉลองในขบวนแหพระรูปพระเยซูดําตลอดเสนทาง บนถนนหลายสายในกรุงมะนิลา ผูคนเดินทางไปยังโบสถ เกียโปเพื่อรวมขบวนแห อันเสมือนเปนการเติมพลังใหแก ศรัทธาของตน หรือเปนการปฏิบัติตามปฏิญาณที่ใหไวแก พระเยซูคริสต

ขอมูลจาก : http://outoftownblog.com/quiapo-fiesta-feast-black-nazarene-2014-schedule-activities/ https://www.catholic.or.th ภาพจาก : https://www.flickr.com/photos/maria_concepcion/5464471368 http://darkroom.baltimoresun.com/2013/01/jan-9-photo-brief-ferry-crash-in-new-york-storms-dump-rain-and-snow-on-the-middle-east-blacknazarene-carnival-masks/black-nazarene-2/


น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต

ในชวงปทผี่ า นมา พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดกลาวถึงเศรษฐกิจดิจทิ ลั ทีจ่ ะพลิกโฉม ประเทศไทย ซึ่งไดจัดขึ้น ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด เซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว สรุปใจความไดวา รัฐบาลมี นโยบายทีจ่ ะปรับปรุงและเปลีย่ นแปลงกฎหมายเพือ่ อํานวยความสะดวกดานเศรษฐกิจ โดยการจัดใหมนี โยบาย ทีเ่ รียกวา Digital Economy หรือ เศรษฐกิจดิจทิ ลั ขึน้ กลาวคือเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ จากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) ในภาคการผลิตตาง ๆ อยางเขมขน เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพและสรางความสามารถ ในการแขงขันกับประเทศตาง ๆ ผานเครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband Internet) ซึง่ การทีร่ ฐั บาล ผลักดันนโยบายดานเศรษฐกิจดิจิทัลนั้น ถือเปนการขับเคลื่อนประเทศไทยใหกาวไปขางหนาและเปนกาวที่มี ความสําคัญเปนอยางยิง่ เพราะเศรษฐกิจดิจทิ ลั จะนํามาซึง่ การเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน อีกทัง้ ยังชวย ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศไดเปนอยางดี อันเกิดมาจากวิวฒ ั นาการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารยุคใหมทถี่ อื เปนตัวขับเคลือ่ น เชน การใชอปุ กรณไฮเทคพกพาในวงกวางดวยสมารทโฟนและแท็บเล็ต ที่ติดตอสื่อสารผานเครือขายอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง 4G (Wireless Broadband) ซึ่งสถาบันวิจัยเพื่อ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ไดคาดไววา 4G จะเปนรากฐานที่สําคัญสําหรับเศรษฐกิจดิจิทัล รวมทั้งเรื่องอี่น ๆ ที่ เกีย่ วของ นอกเหนือจากการปรับปรุงกฎหมายและแนวทางปฏิบตั ทิ เี่ หมาะสม เชน บริษทั อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด ไดผลักดันเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับ Internet of Things ทีเ่ ปนสวนสําคัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจดิจทิ ลั อีกทัง้ ยังทําใหเกิดโอกาสทางธุรกิจใหม ๆ ในทุกสาขา เศรษฐกิจ อาทิ บริการแท็กซี่อัจฉริยะของ All Thai Taxi ทั้งนี้เพื่อเตรียมความพรอมใหแกผูดําเนินธุรกิจ ในรูปแบบใหม ซึ่งจะนําไปสูการสงเสริมในการกาวไปขางหนาดวยเศรษฐกิจดิจิทัล ที่ถือเปนเรื่องใหมในหลาย ๆ ประเทศรวมทั้งประเทศไทย โดยบทความในฉบับมีมุมมองและรายละเอียดที่นาสนใจดังนี้


๗๖ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

 ภาพรวมขับเคลื่อนนโยบาย Digital Economy ขอมูลมาจาก www.parliament.go.th/library “เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) : นโยบาย ขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม” เอกสารวิชาการ มีนาคม ๒๕๕๘ ผูเขียนอานและเห็นดวยกับแนวทางปฏิบัติหลักในภาพรวม การขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลก็คือ ตองนําดิจิทัลเขาไปเสริมศักยภาพการทํางานของทุกกระทรวงที่มี ดิจิทัลเขาไปเกี่ยวของ ตลอดจนตองนําไปเปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ SMEs ทีเ่ ราถือเปนอุตสาหกรรมหลักของประเทศใหสามารถแขงขันกับประเทศตาง ๆ ได ในมุมมองแนวทางขับเคลือ่ น นโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลของรัฐบาลสามารถเริ่มไดจาก อยางแรก คือ การเรงยกรางกฎหมายเพื่อรองรับเศรษฐกิจดิจิทัล โดยการแกไขกฎหมายเดิมที่มีอยูแลว เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายใหมหรือหากเรื่องใดไมมีกําหนดไวใหเตรียมที่จะยกราง อาทิ การสรางเครือขาย ขอมูลสุขภาพของประชาชนระหวางโรงพยาบาล นอกจากนีย้ งั มีกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับงานดานดิจทิ ลั จํานวนหนึง่ ที่ยังไมมีผลบังคับใช ไมวาจะเปนกฎหมายดานลายมือชื่อดิจิทัล กฎหมายพาณิชยอิเล็กทรอนิกสที่ทันสมัยและ กฎหมายคอมพิวเตอรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ณ ปจจุบันกระทรวงไอซีทีไดเตรียมความพรอมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดิจิทัลตามนโยบายรัฐบาล ดวยการปรับปรุงกฎหมายที่มีความเกี่ยวของ ๓ กลุม โดยกลุมแรก คือ กลุมกฎหมาย สงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล สวนกลุมที่สอง คือ กลุมกฎหมายที่สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล ไดแก กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส และกลุมที่สาม คือ กลุมกฎหมายดานความมั่นคง ไดแก กฎหมาย คุมครองขอมูลสวนบุคคล กฎหมายรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร และกฎหมายกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร ถือเปนผลงานของอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงไอซีที เพื่อรองรับในการกาวไปสูเศรษฐกิจดิจิทัล อยางที่สอง คือ ขอความรวมมือจากผูใหบริการอินเทอรเน็ตเอกชน (ISP) เชน AIS, Dtac หรือ True ซึ่งเปนผูประกอบการ เพื่อขอใหลดคาบริการอินเทอรเน็ตลง แตในขณะเดียวกันก็ตองขอเพิ่มความเร็วของ อินเทอรเน็ตใหสูงขึ้น ซึ่งนโยบายนี้ถาไดรับความรวมมือจากเอกชน จะชวยใหผูใชโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๗๗

SMEs นั้น สามารถเขาถึงบริการที่ดีและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ถือเปนการชวยใหกาวไปสูเศรษฐกิจดิจิทัล ไดเร็วขึ้น อยางทีส่ าม คือ การปรับโครงสรางหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ อาทิ กระทรวงไอซีทที ที่ าํ หนาทีร่ บั ผิดชอบโดยตรง ในเรือ่ งเศรษฐกิจดิจทิ ลั ยังมีโครงสรางการแบงอํานาจทีไ่ มชดั เจน รวมทัง้ รูปแบบการบริหารงานทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป จึงมีความจําเปนทีจ่ ะตองปรับโครงสรางและกําหนดหนาทีก่ ารกํากับดูแลในแตละสวนใหชดั เจนมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ใหการทํางานของกระทรวงไอซีทีนั้นสอดรับในมิติการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล จึงตองมีการเพิ่มหนวยงานขึ้นมา ประกอบ หนวยงานแรกดูแลในเรื่องการสงเสริมพัฒนาเศรษฐกิจที่จะตองนําดิจิทัลมาชวยอุตสาหกรรมสําหรับ การขับเคลื่อนธุรกิจโดยเฉพาะกลุม SMEs ที่กลาวไดคือ สงเสริมธุรกิจ SMEs ใหมีศักยภาพใชระบบออนไลน ในการทําธุรกิจ ซึ่งถือเปนเรื่องเรงดวนที่กระทรวงไอซีทีตองดําเนินการ หนวยงานที่สองดูแลในเรื่องการพัฒนา และสงเสริมดิจทิ ลั ทีเ่ กีย่ วกับสังคม ทําใหดจิ ทิ ลั นัน้ เขาไปมีสว นชวยในการแกไขปญหาความยากจน และหนวยงาน ทีส่ ามเกีย่ วกับไซเบอรคอนเทนต เพือ่ ทําใหประชาชนตระหนักถึงการใชไอซีทอี ยางชาญฉลาด ตลอดจนการควบคุม ดูแลเว็บไซตที่ไมเหมาะสม และอาจมีการดึงบุคลากรที่มีความรูของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน บุคลากรศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) เขามาอยูกับกระทรวงไอซีที รวมไปถึงบางหนวยงานที่จะเปนปจจัยในการพัฒนาไปสูเศรษฐกิจดิจิทัลได


และที่สําคัญอยางที่สี่ คือ การสรางเครือขายบรอดแบนดแหงชาติ (National Broadband) ที่เปน นโยบายของภาครัฐมาหลายรัฐบาล ซึง่ มีความจําเปนอยางมากทีร่ ฐั บาลตองวางระบบโครงสรางพืน้ ฐานเศรษฐกิจ ดิจิทัล ดวยการวางเครือขายบรอดแบนดแหงชาติ เพื่อชวยใหมีบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง (Broadband Internet) เขาถึงทุกพื้นที่เพราะประเทศของเราเมื่อกาวเขาสูเศรษฐกิจดิจิทัลจะมีการสงผานขอมูลจํานวนมาก โดยสื่อสารผานอินเทอรเน็ต จึงจําเปนตองมีเครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงที่ดีเชื่อมตอกันทุกพื้นที่ ในเวลาที่ผานมา จะเห็นทัง้ ภาครัฐและเอกชนไดมกี ารพัฒนาโครงสรางดานสือ่ สารและโทรคมนาคมเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง อางขอมูล จาก Average ASEAN Internet Speed 2014 ประเทศของเรามีความเร็วอินเทอรเน็ตบรอดแบนดอยูที่ 17.7 Mbps ซึง่ สูงกวาคาเฉลีย่ อินเทอรเน็ตบรอดแบนดของโลกที่ 17.5 Mbps ณ ปจจุบนั รัฐบาลควรเรงดําเนินการวางระบบ โครงสรางพื้นฐานเศรษฐกิจดิจิทัลดวยการวางระบบเครือขาย เพื่อกระจายบรอดแบนดใหทุกครัวเรือนเขาถึง อินเทอรเน็ตความเร็วสูง ตามแผนภายในสิ้นป ๒๕๕๙ และเขาถึงทุกคนไดในป ๒๕๖๐ รวมทั้งผลักดันใหมีการ ใช Internet Protocol รุน 6 (IPv6) เพื่อรองรับการใชงานการเชื่อมตออุปกรณอินเทอรเน็ตในอนาคต อีกเรื่อง ทีม่ คี วามสําคัญก็คอื ควรเรงดําเนินการขยายการเชือ่ มตอขอมูลผานเครือขายอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง 4G (Wireless Broadband) สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ไดคาดวา 4G จะเปนรากฐานที่สําคัญ สําหรับเศรษฐกิจดิจิทัล รวมทั้งควรพัฒนา 3G ใหมีความเสถียรมากขึ้น เพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม ๆ ที่จะถูกนํามาใช ในการเชื่อมตออยางทั่วถึง อาทิ Internet of Things (IoT)


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๗๙

 Internet of Things (IoT) ชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ขอมูลจากเว็บไซต www.forbes.com ไดกลาวถึง Internet of Things (IoT) ที่กําลังมาเปลี่ยนแปลง โครงสรางพื้นฐานทางธุรกิจ เห็นไดจาก สิ่งแรก IoT สงเสริมใหผูประกอบการสามารถสรางผลิตภัณฑฉลาด ๆ ที่อุปกรณสามารถสื่อสารและสงขอมูลถึงกันเองได “M2M” (Machine-to-Machine Communication) โดยไมตองมีมนุษยมาสั่งการโดยตรง ตัวอยางเชน ตูเย็นสั่งอาหารหรือขาวของที่ขาดไปไดเองโดยตรงกับระบบ ออนไลนชอปปง ซึ่งถือเปนสิ่งที่จุดประกายทางธุรกิจและมองถึงความเปนไปไดในการขยายการผลิตในอนาคต สิง่ ทีส่ อง IoT ทําใหการตัดสินใจและการดําเนินงานธุรกิจดียงิ่ ขึน้ ซึง่ สวนสําคัญทีส่ ดุ สวนหนึง่ ของอุปกรณ อันชาญฉลาด (Smart Devices) ก็คือ เซนเซอร โดยชิ้นสวนเล็ก ๆ เหลานี้สามารถติดไปไดกับทุกสิ่ง เพื่อเก็บ บันทึกขอมูลและสงไปบนคลาวด สิ่งเหลานี้ทําใหธุรกิจสามารถเก็บขอมูลจําเพาะที่สงกลับมาไดมากขึ้น อาทิ เมื่อไหรที่อุปกรณถูกใชงาน เมื่อไหรที่อุปกรณชํารุดเสียหาย หรือรูแมกระทั่งอะไรคือสิ่งที่ผูบริโภคตองการ ในอนาคต และสิ่งที่สาม IoT นั้นเปลี่ยนแปลงรูปแบบธุรกิจ (Business model) เห็นไดจากบริษัทในอเมริกา John Deere ที่ทําธุรกิจดานยานยนตเพื่อการเกษตร กอสราง และอุปกรณเครื่องยนตขนาดใหญ โดยสิบปที่ผานมา บริษัทฯ ไดขายรถแทรคเตอรและไดกําไรเปนจํานวนมาก ตอมาในป 2012 บริษัทฯ ไดเพิ่มความสามารถในการ ติดตัง้ ระบบสือ่ สารขอมูลไปทีอ่ ปุ กรณของเขา ผลก็คอื ทําใหชาวไรชาวเกษตรทราบวา ควรเก็บเกีย่ วผลผลิตทีไ่ หน กอนและเมื่อไหรดี เมื่อไหรที่ควรไถดิน หรือแมแตเสนทางในการไถดิน ซึ่งตอนนี้ John Deere ไดโฟกัสธุรกิจ ทางดานขอมูลมากพอ ๆ กันกับการขายรถแทรคเตอรเลยทีเดียว เมือ่ หันกลับมามองในบานเรา นายสนธิญา หนูจนี เสง กรรมการผูจ ดั การบริษทั อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด ไดกลาววา “IoT เปนฟนเฟองหนึง่ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล อาทิ การใชขอมูลที่ไดจากสวนตาง ๆ มาวิเคราะหสินคา วิเคราะหพฤติกรรม ลูกคา เพื่อปรับปรุงสินคาและวางแผนการตลาด เพื่อทําการตลาดใหตรงกลุมเปาหมายที่สําคัญทําใหตนทุน ถูกลงแตรายไดนั้นเพิ่มขึ้น” โดยนําเสนอโครงการ All Thai Taxi ซึ่งเกิดจากความรวมมือระหวาง บริษัท นครชัยแอร จํากัด และ บริษทั ไอทีเอส คอนซัลแตนซี จํากัด ทีไ่ ดรบั การสนับสนุนจากบริษทั อินเทล ประเทศไทย ในการนําเทคโนโลยี IoT มาชวยเพิม่ ประสิทธิผลจากการดําเนินธุรกิจรถแท็กซีใ่ นรูปแบบใหม โดยทีมพัฒนาและ ออกแบบระบบแท็กซี่อัจฉริยะของ All Thai Taxi ไดติดตั้งอุปกรณเพื่อเก็บขอมูลคนขับ เชน ปริมาณการ เผาผลาญน้าํ มันระหวางขับและลักษณะการขับรถของคนขับ โดยขอมูลทัง้ หมดจะถูกสงไปยังระบบฐานขอมูลสวนกลาง ของนครชัยแอร เพือ่ ทําการประเมินผลการขับของคนขับ ความพึงพอใจของผูม าใชบริการ และยังสามารถทราบ สภาพรถยนตเพือ่ การตรวจสอบได ถือเปนจุดเริม่ ตนทีท่ าํ ใหคนขับแท็กซีไ่ มสามารถปฏิเสธผูโ ดยสารได ซึง่ ทําให การใหบริการของแท็กซี่อื่น ๆ ตองปรับตัว จัดเปนโครงการที่วางจุดคุมทุนไวนานและการนําเทคโนโลยี IoT มาชวย ทําใหสามารถนําขอมูลที่ไดมาวางแผนการใหบริการ ที่ตรงกับความตองการของกลุมเปาหมาย ซึ่งในเวลา ที่ผานมา ถูกจัดเปนหนึ่งในหากลุมตัวอยางธุรกิจไทยที่ประสบความสําเร็จ ที่สําคัญชวยใหแท็กซี่ทุกคันสามารถ เดินรถไดอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น


๘๐ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

ในมุมมองที่เกี่ยวกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลนั้น เมื่อพิจารณานํา Internet of Things (IoT) มาชวยในการทําธุรกิจ ไมใชเพียงแความันทํางานไดอยางชาญฉลาด ที่มากกวานั้นคือ มันชวยสรางขอมูลที่ ทําใหธุรกิจในกลุม SMEs มีประสิทธิภาพที่มากขึ้น หรืออาจจะสรางรายไดจากขอมูลที่เปนประโยชนเหลานี้ ใหแกลูกคาและพารตเนอรในตางประเทศได


 ขอคิดที่ฝากไว จะเห็นเศรษฐกิจดิจทิ ลั นัน้ (Digital Economy) สงผลทีด่ ตี อ ภายในประเทศและเชือ่ มโยงไปถึงตางประเทศ โดยที่เศรษฐกิจดิจิทัลจะชวยเพิ่มโอกาสในการแขงขัน ลดขอจํากัดทางการคา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพและ ลดตนทุนในการดําเนินธุรกิจ ซึ่งในการเริ่มตนขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศไทยนั้น ถือเปน จุดเริ่มตนที่ดี แมจะชาไปอยูบาง แตอยางไรก็ตามสิ่งที่สําคัญในการวางรากฐานเศรษฐกิจดิจิทัลใหกับประเทศ นอกเหนือจากจะอาศัยโครงสรางพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารยุคใหม ที่ครอบคลุม ทั่วถึงทุกภูมิภาคเขามาชวยเพิ่มมูลคาใหกับเศรษฐกิจของประเทศ ที่สําคัญควรจะรวมถึงการเปดกวางและให โอกาสกับแนวคิดใหม รวมทั้งการสนับสนุนจากภาครัฐในการคนควาและวิจัย เพื่อที่จะสรางนวัตกรรมใหม ๆ (Digital Innovation) ที่เปนของประเทศ..อีกดวย  ธ

ัมพัน ส า ช ะ

ปร

โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช (NKRAFA ) ไดเปลี่ยนชื่อ เว็บไซตใหม เพื่อใหสอดคลอง กับชื่อโรงเรียน เปน http://www.nkrafa.ac.th ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป สําหรับเว็บไซตเดิม www. rtafa.ac.th สามารถใชได จนถึงวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๐


ภาษาไทยดวยใจรัก

้ ี น ง า  อย

น ย ี ีน้เข

คํา

นวีร

(ตอจากฉบับที่แลว)

ขึ้นปใหม หลายคนคงคุนเคยกับคําวา ในวารดิถีขึ้นปใหม คํานี้อาจมีผูเขียนผิดเปน วาระดิถี ผูเขียน ขอนําคํานี้ขึ้นตนเรื่อง กอนที่จะกลาวถึงคําอื่น ๆ วา คํานี้เขียนอยางนี้ ตอจากฉบับเดือนธันวาคม ๒๕๕๘ ดอกจัน เปนชือ่ เครือ่ งหมาย มีลกั ษณะรูปกลม ๆ เปนจัก ๆ ดังนี้ * เขียนไวขา งหนาหรือขางหลังขอความ เพื่อใหเปนที่สังเกตหรือแสดงความสําคัญของคําหรือขอความนั้น ๆ มักเขียนผิดเปน ดอกจันทน (เยื่อหุมเมล็ด จันทนเทศ) หรือดอกจันทร ดอกไมจันทน เนื้อไมจันทน เปนตน ที่ไสเปนแถบบางนํามาประดิษฐเปนชอขนาดเล็ก ใชในการเผาศพ มักเขียนผิดเปน ดอกไมจันหรือดอกไมจันทร ตระเวน หมายถึง เที่ยวตรวจตรา เปนหนาที่ของขาราชการโบราณในกรมนครบาล หรือหมายถึง ไปทั่ว ๆ หรือพาไปทั่ว ๆ เพื่อประจาน มักเขียนผิดเปน ตระเวณ ตุล ชื่อราศีที่ ๖ ในจักรราศี มักเขียนผิดเปน ตุลย ถั่วพู ชื่อถั่วชนิดหนึ่ง ฝกมีครีบตามยาว ๔ ครีบ มักเขียนผิดเปน ถั่วพลู ทนทายาด หมายถึง อดกลั้นอยูไดอยางมาก มักเขียนผิดเปน ทนทายาท ทรมาทรกรรม หมายถึง ทนทุกขทรมานไมรูจักจบสิ้น มักเขียนผิดเปน ทรมานทรกรรม ทลาย หมายถึง แตกหัก พัง มักเขียนผิดหรือสับสนกับคําวา ทะลาย ซึ่งหมายถึง ชอหมากหรือมะพราว เทาแขน หมายถึง ตัวไมสําหรับค้ํายันของหนัก หรือสวนของเกาอี้สําหรับวางแขน หรือเรียกอาการนั่ง พับเพียบเอาแขนเทาพื้นวานั่งเทาแขน มักเขียนผิดเปน ทาวแขน เทาความ หมายถึง อางถึงขอความหรือเรื่องที่กลาวมากอน มักเขียนผิดเปน ทาวความ ธงไตรรงค หมายถึง ธงชาติไทย ใช ค มักเขียนผิดเปน ธงไตรรงศ นงพะงา หมายถึง นางผูเปนที่รัก นางงาม มักเขียนผิดเปน นงพงา ไนตคลับ หมายถึง สถานที่เริงรมยเปดเวลากลางคืน มีดนตรี มีการแสดง และขายอาหารกับเครื่องดื่มดวย มาจากคําวา nightclub มักเขียนผิดเปน ไนทคลับ


ขาวทหารอากาศ ๘๓

มกราคม ๒๕๕๙

บิณฑบาต หมายถึง อาหารหรือกริยาที่พระภิกษุสงฆ สามเณรรับของที่เขานํามาใสบาตร (บิณฑ = กอนขาว, บาต = การตก) มักเขียนผิดเปน บิณฑบาตร โบ หมายถึง เชือกหรือริบบิ้น ทําเปนหวง ๒ หวง คลายหูกระตาย มักเขียนผิดเปน โบว ประจัญบาน หมายถึง รบอยางตะลุมบอน (ประจัญ = ปะทะ ตอสู) มักเขียนผิดเปน ประจันบาน (ประจัน = กั้นเปนสวนสัด เผชิญ เชน ฝาประจันหนากัน เขาและเธอประจันหนากัน) ปลนสะดม หมายถึง ปลนโดยวิธรี มยาใหเจาของทรัพยหลับสนิทโดยไมรตู วั มักเขียนผิดเปน ปลนสะดมภ หรือปลนสดมภ ผล็อย หมายถึง อาการที่รวงหลนไปโดยเร็ว มักเขียนผิดเปน ผลอย ฝดาษ หมายถึง ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการไขสูงแลวมีผื่นขึ้นดาษตามใบหนา และลําตัว ตอมาผื่นจะกลายเปนตุมใส ตุมหนอง และตกสะเก็ด ไขทรพิษก็เรียก มักเขียนผิดเปน ฝดาด ฯพณฯ (พะนะทาน) หมายถึง คํานําหนาชือ่ หรือตําแหนงขาราชการผูใ หญชนั้ รัฐมนตรี เอกอัครราชทูต มักเขียนผิดเปน พณฯ, ฯพณ, ฯพณฯ ทาน ฟน หมายถึง คลึงสิ่งเปนเสนหลายเสนใหเขาเกลียวกัน เชน ฟนดาย หรือนําปาน หรือปอมาตีเกลียว ใหเปนเชือก เชน ฟนเชือก มักเขียนผิดเปน ฝน ภูตผี ภูต แปลวา ผี มักใชคูกันเปน ภูตผี มักเขียนผิดเปน ภูติผี (ภูติ แปลวา ความรุงเรือง ความมั่งคั่ง) มุกตลก หมายถึง วิธีทําใหขบขัน มักเขียนผิดเปน มุขตลก มุงมาด หมายถึง ปรารถนา นิยมใชคูกันเปน มุงมาดปรารถนา มักเขียนผิดเปน มุงมาตร ยุงกนปลอง มักเขียนผิดเปน ยุงกนปอง เรี่ยไร หมายถึง เก็บเงิน มักเขียนผิดเปน เรี่ยราย ซึ่งแปลวา เกลื่อนกลาด ฤกษพานาที หมายถึง ระยะเวลาที่เปนฤกษ มักเขียนผิดเปน ฤกษผานาที ลิดรอน หมายถึง ตัดทอน เชน ลิดรอนอํานาจ ลิดรอนสิทธิ์ มักเขียนผิดเปน ริดรอนหรือริดลอน วันทยหัตถ หมายถึง ทาเคารพดวยมือของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เปนตน ที่แตงเครื่องแบบ สวมหมวก ไมไดถืออาวุธ มักเขียนผิดเปน วันทยาหัตถ แตถาถืออาวุธอยูกับที่ ใหใช วันทยาวุธ สะเทินน้าํ สะเทินบก หมายถึง ครึง่ ๆ กลาง ๆ ก้าํ กึง่ มักเขียนผิดเปน สะเทิน้ น้าํ สะเทิน้ บก คําวา สะเทิน้ แปลวา แสดงกริยาอยางขัด ๆ เขิน ๆ เพราะรูสึกขวยอาย มักใชแกหญิงสาว สีสัน หมายถึง สีตาง ๆ มักเขียนผิดเปน สีสันต สีสรร สีสรรพ หรือสีสรรค สวน แสบสัน หมายถึง อาการปวดแสบปวดรอนอยางมาก ก็มักเขียนผิดเปน แสบสันต การเขียนคําตาง ๆ เหลานีย้ ดึ ถือตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ และ อานอยางไร และเขียนอยางไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพครั้งที่ ๒๒ พ.ศ.๒๕๕๗ 


6

โรคที่พึงระวัง ในฤดูหนาว นายหวงใย

เมื่อเขาสูฤดูหนาวอุณหภูมิและอากาศเย็นลง จากสภาวะเชนนี้

ประชากรที่อยูอาศัยในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตองพึงระมัดระวังสุขภาพเปนพิเศษมากกวาภาคอื่น ๆ สวนประชากรในกลุมเสี่ยงที่ตองระมัดระวังมากกวากลุมอื่น ๆ ไดแก เด็กอายุต่ํากวา 5 ป ผูสูงอายุที่มีอายุมากกวา 65 ป ผูปวยโรคเรื้อรังตาง ๆ เชน โรคปอด โรคหัวใจ โรคไต เปนตน

6 โรคที่พึงระวังในฤดูหนาว มีดังนี้ โรคไข้หวัด (Common Cold) และไข้หวัดใหญ่ (Influenza) อาการจะเริ่มดวยมีไขสูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกลามเนื้อ และไอ เมื่อเริ่มมีอาการ ควรนอนพักผอนใหมาก ๆ ดื่มนํ้าบอย ๆ ถาตัวรอนมาก ควรใชผาชุบนํ้าอุนเช็ดตัวหรือรับประทาน ยาลดไข อาการจะคอย ๆ ดีขึ้นภายใน 2 - 7 วัน แตหากมีอาการไอมากขึ้น หรือมีไขสูงนาน เกิน 2 วัน ควรไปพบแพทย

โรคปอดบวม (Pneumonia) อาการโดยทั่วไป ไดแก ไอ เจ็บหนาอก มีไขสูง และหายใจหอบ วินิจฉัยโรคโดยการฉายรังสี เอกซเรยปอดและตรวจเสมหะ ผูปวยตองไดรับการรักษาอยางทันที เนื่องจากเปนสาเหตุของ การเสียชีวิตมากที่สุดในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป รวมทั้งเด็กที่มีนํ้าหนักตัวนอย เด็กขาดสารอาหาร และเด็กที่มีความพิการแตกําเนิด เชน โรคหัวใจ เปนตน

โรคอีสุกอีใส (Chickenpox) มักจะเกิดในเด็ก เมื่อเปนโรคนี้แลวจะมีภูมิตานทานโรคนี้ตลอดชีวิต อาการจะเริ่มดวยไขตํ่า ๆ ตอมาจะมีผื่นขึ้นที่หนังศีรษะ หนา ตามตัว โดยเริ่มเปนผื่นแดง ตุมนูน แลวเปลี่ยนเปนตุมพองใส หลังมีไข 2 - 3 วัน หลังจากนั้นตุมจะเปนหนองและแหงตกสะเก็ดหลุดออกเองประมาณ 5 - 20 วัน เด็กเล็กที่ปวยควรตัดเล็บใหสั้น เพื่อปองกันการอักเสบจากการเกาที่ผื่น


โรคหัด (Measles) มักเกิดในเด็กโตและวัยรุน อาการจะเริ่มจากมีไข นํ้ามูกไหล ไอ ตาแดง และจะมีผื่นขึ้นภายหลัง มีไขประมาณ 4 วัน จากนั้นผื่นจะกระจายทั่วตัว โดยผื่นจะจางหายไปภายใน 2 สัปดาห เด็กที่ ปวยเปนหัด ใหแยกออกจากเด็กอื่น ๆ ประมาณ 1 สัปดาห

โรคหัดเยอรมัน (Rubella ) เปนไดทั้งผูใหญและเด็กเล็ก มีอาการไข ออกผื่นคลายโรคหัด บางรายอาจไมมีผื่นขึ้น หาก เปนหัดเยอรมันระหวางตั้งครรภโดยเฉพาะในชวง 3 เดือนแรก อาจทําใหทารกในครรภพิการได ดังนั้นควรพบแพทย

โรคอุจจาระร่วง (Diarrhea) มักจะเกิดขึ้นกับเด็กอายุตํ่ากวา 2 ป ติดตอโดยการดื่มนํ้าหรือรับประทานอาหารที่มีเชื้อไวรัสปนเปอน โดยจะ ถายอุจจาระเปนนํ้าหรือถายเหลวบอยครั้ง โดยทั่วไปอาการไมรุนแรง แตบางคนอาจขาดนํ้ารุนแรง ควรให รับประทานอาหารเหลวบอย ๆ เชน นํ้าขาวตม นํ้าแกงจืด ในเด็กเล็กใหดื่มนมแม สําหรับเด็กที่ดื่มนมผสม ควรผสมนมใหเจือจางลงครึ่งหนึ่งจนกวาอาการจะดีขึ้น หากยังถายบอยใหผสมสารละลายนํ้าตาลเกลือแรใหดื่ม บอย ๆ อาการจะกลับเปนปกติไดภายใน 8 - 12 ชั่วโมง หากอาการไมดีขึ้นตองรีบพาไปพบแพทยทันที

4 สิ่งที่ควรปฏิบัติในฤดูหนาว 1. ดูแลรางกายใหอบอุน 2. ดืม่ นํ้าอุน ๆ รวมทั้งรับประทานอาหารที่ให พลังงานแกรางกายอยางเพียงพอ 3. ออกกําลังกายใหพอเหมาะและสม่ําเสมอ 4. หากเจ็บปวยใหรีบไปพบแพทย

ผักและผลไม้ที่ควรรับประทานในฤดูหนาว หอม กระเทียม และผักโขม ชวยปองกันไขหวัดไดอยางดี ถั่วลิสง ชวยเสริมภูมิตานทานใหรางกายตอสูกับโรคไดดีขึ้น แครอท อุดมไปดวยสารอาหารจําพวกวิตามินที่รางกาย ตองการหลายชนิด สม ชวยเสริมภูมิตานทานไขหวัด กีวี เปนผลไมที่เต็มเปยมไปดวยวิตามินซี ฝรั่ง ชวยตานไขหวัด และยังมีสารไลโคปนและสารแอนตี้ ออกซิแดนทที่ชวยปองกันโรคเกี่ยวกับหัวใจและชวยให ผิวใสดูออนวัย

5 สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในฤดูหนาว 1. หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผูปวยโรคทางเดินหายใจ และผูปวย ควรใสหนากากอนามัยเพื่อปองกันการแพรเชื้อโรคไปยังผูอื่น 2. อยานอนในที่โลงแจง ลมโกรก โดยไมสวมเสื้อผา 3. อยาผิงไฟในที่อับ เชน ในหองหรือในเต็นท เพราะกาซ คารบอนไดออกไซดหรือคารบอนมอนอกไซด จะทําใหเกิด การงวงซึมและหลับ ซึ่งอาจทําใหถึงแกชีวิตได 4. ระมัดระวังอยาใหเด็กเล็ก ๆ เขาใกลควันไฟ เพราะควันไฟ อาจจะมีปญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจได นอกจากนั้น ไมควรเอาผาคลุมศีรษะใหเด็กเล็ก ๆ โดยเฉพาะบริเวณจมูก และปาก เนื่องจากอาจทําใหเด็กขาดอากาศหายใจได 5. หามดื่มสุราแกหนาว ในที่ที่มีอากาศหนาวเย็น เพราะหาก เมาสุราและหลับไปโดยไมมีเครื่องนุงหม อาจเปนสาเหตุ ใหถึงแกชีวิตได แหลงขอมูล : - กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข - หนวยสุขศึกษา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.


น.อ.เกษม พงษพันธ เมื่อไมนานมานี้ มีทีวีรายการหนึ่งไดเสนอขาวเกี่ยวกับการแจกดอกไม โดยเฉพาะดอกมะลิวันแมของ สถานทีแ่ หงหนึง่ โดยนําเสนอวาไดนาํ ดอกมะลิหรือพวงมาลัยดอกมะลิเทียมดังกลาวไปเขาพิธพี ทุ ธาภิเษกเรียบรอยแลว หลังจากขาวนี้ออกมาไมนาน ไดมีคําถาม ขอสงสัยเกี่ยวกับคําวา “พุทธาภิเษก” มาถึงผูเขียนเปนจํานวนมาก จึงขอถือโอกาสนี้อธิบายขยายความ ตามกําลังสติปญญาสืบตอไป เมือ่ มีการหลอ ตลอดถึงการสรางพระพุทธรูป พระประธาน พระพุทธรูปบูชาขนาดตาง ๆ ก็ดี สรางเหรียญ พระพุทธรูปไมวาองคใดก็ดี หากสรางเปนจํานวนมาก มีวัตถุประสงคเพื่อนําจตุปจจัย (เงิน) ที่ไดจากการบูชา ไปสรางถาวรวัตถุ หรือบูรณปฏิสังขรณถาวรวัตถุใด ๆ ก็ตาม หรือเพื่อสงเสริมการศึกษา หรือสาธารณกุศลอื่น ๆ ทําใหเกิดความเชื่อถือศรัทธาของพุทธศาสนิกชนจะไดมาบูชากันมาก ๆ ในระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคดังกลาว จึงมีกุศโลบายจากบัณฑิตนักปราชญ พระ และฆราวาสวา ควรจะมีพิธีศักดิ์สิทธิ์อยางหนึ่ง ซึ่งนิยมเรียกวา “พิธีพุทธาภิเษก” พิธีพุทธาภิเษกนั้นมีรายละเอียดมาก แตผูเขียนจะพยายามยนยอพอสมควรแกเวลาและความเหมาะสม ขอเชิญสาธุชนโปรดติดตามตอไป หัวใจสําคัญของพิธีพุทธาภิเษกนอกจากมีสถานที่ที่เหมาะสมและมีการจัดแตงอยางถูกวิธี ยังตองมี ราชวัตร ฉัตร ธง ตนกลวย ตนออย ตูเทียนชัย สายสิญจน ภาชนะน้ํามนต เทียนชัย เทียนมหามงคล เทียนพุทธาภิเษก เทียนน้ํามนต ๑๐๘ ขาวตอกดอกไมแลว การจัดสถานที่ตองจัดอยางสวยงามโดยผูชํานาญการเทานั้น มีการ เดินสายสิญจนอยางครบถวน ใหดดู ดี ขู ลัง กอนพิธสี งฆจะตองมีพธิ บี วงสรวงเทพยดาอารักษ ซึง่ ตองจัดอยางครบถวน และงดงาม การเจริญพระพุทธมนตถา เปนพระราชพิธหี รือรัฐพิธี นิยมนิมนตพระสงฆ ๑๐ รูป พิธขี องประชาชนทัว่ ไป นิยมนิมนตพระสงฆ ๙ รูป ถือวากาวหนา บททีเ่ จริญพระพุทธมนตทถี่ อื วาสําคัญและเปนหัวใจ คือ บทธรรมจักร กัปปวัตนสูตร เหมือนกันหมด เมื่อจบการเจริญพระพุทธมนตแลวจึงจะเขาสูพิธีพุทธาภิเษก โดยจะอาราธนา พระสงฆที่เจริญพระพุทธมนตนั่งปลุกเสกตอ หรือจะนิมนตพระสงฆอีกชุดหนึ่งตางหากก็ได เขาประจําที่นั่งปรก


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๘๗

หรือปลุกเสก ๔ ทิศ หรือ ๘ ทิศ แลวแตวานิมนตพระสงฆจํานวนเทาใด โดยมีพระสงฆจํานวน ๔ รูป สวดบท พุทธาภิเษก เมื่อพระสงฆเขาประจําที่แลวจะนิมนตประธานสงฆจุดเทียนชัย ประธานฝายฆราวาสจุดเทียน พุทธาภิเษก เทียนมหามงคล และมีผูแตงชุดขาวที่เรียกวา พราหมณ คอยจุดเทียนน้ํามนต ๑๐๘ พระสงฆ ๔ รูป จะสวดบทพุทธาภิเษกเรื่อยไป พระที่นั่งปรกหรือนั่งปลุกเสก ทานก็จะนั่งบริกรรมคาถาหรือสงกระแสจิตอะไร ก็แลวแตทาน แตตามที่กราบเรียนถาม ทานจะตอบวา บริกรรมคาถา (บทพุทธคุณ) พิธีจะสั้นหรือยาวขึ้นอยู กับการสวดของพระสงฆ ๔ รูป แตสวนมากจะใชเวลาประมาณ ๑ ชม. ถารวมเจริญพระพุทธมนตดวยจะใช เวลาประมาณ ๒ ชม. ทั้งนี้ขึ้นอยูกับฤกษยามอีกทีหนึ่ง ซึ่งพิธีพุทธาภิเษกนี้มักยึดถือเรื่องฤกษงามยามดีอยาง เครงครัด เสร็จพิธีก็ประพรมน้ําพระพุทธมนตและโปรยขาวตอกดอกไมไปที่วัตถุมงคลตาง ๆ สวนการสรางเหรียญหรือรูปเหมือนพระสงฆ การประกอบพิธี การจัดพิธี นิยมจัดเชนเดียวกับพิธี พุทธาภิเษก แตไมเรียกวาพุทธาภิเษก เพราะไมใชรูปพระพุทธเจาจะเรียกแตเพียงวา ปลุกเสกหรือพิธีปลุกเสก เหรียญพระคณาจารย นอกเสียจากวาในพิธดี งั กลาวจะมีพระพุทธรูปอยูด ว ย จึงเรียกวา พุทธาภิเษกได ซึง่ สวนใหญ ก็นิยมทําในลักษณะนี้ สวนการจัดสิ่งของตาง ๆ เชน ดอกไม ผายันต ปูชนียบุคคล รูปบูชาตาง ๆ นานา เชน ปลาตะเพียน ชูชก เศรษฐีนวโกฏิ จิ้งจก ไซ เหลานี้ เพื่อนิมนตพระสงฆทําพิธีปลุกเสก อาจไมจัดใหญโตเหมือนพุทธาภิเษก จัดเปนเอกเทศ แลวนิมนตพระเกจิอาจารยมาปลุกเสกคลายพิธีพุทธาภิเษก แตไมเรียกพุทธาภิเษก จะเรียกวา “มังคลาภิเษก” แตบางทีในการจัดพิธีพุทธาภิเษกมักจะมีผูขอนําสิ่งของตาง ๆ ดังกลาวขางตนเขารวมพิธี เพื่อความเปนสิริมงคลหรืออะไรก็แลวแตอยูเสมอ ก็เลยกลายเปนวาของเหลานั้นไดผานพิธีพุทธาภิเษกไปแลว ทั้งที่นาจะเปนมังคลาภิเษก ความสับสนจึงมักเกิดขึ้นเหมือนกับที่เกริ่นไวขางตน สวนเรือ่ ง มหาพุทธาภิเษก หรืออภิมหาพุทธาภิเษก เปนการรวมเอาพิธพี ทุ ธาภิเษกกับมังคลาภิเษก ซึ่งจัดอยางยิ่งใหญ มีพระพุทธรูปและปูชนียบุคคล ตลอดจนสิ่งของตาง ๆ ตามตองการหรือบางทีก็เปนเทคนิค ของการประชาสัมพันธใหเกิดความเชื่อถือ ศรัทธา จึงใชคําวามหาพุทธาภิเษก หรืออภิมหาพุทธาภิเษก ซึ่งพิธีนี้ เปนพิธสี าํ คัญชวนใหเกิดศรัทธา เชือ่ ถือ ทัง้ เปนการปดเปาสิง่ เศราหมองทัง้ ปวงใหอนั ตรธานไป ผูไ ดรปู บูชาตาง ๆ ไปเคารพบูชาจะไดมีความเชื่อมั่น เปนขวัญกําลังใจในการประกอบคุณงามความดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ซึ่งตามที่บัณฑิต นักปราชญไดอธิบายไวเรื่องพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ตลอดถึงคุณของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายนั้น สามารถ คุม ครองปองกันไดจริง ยิง่ เมือ่ ไดอาราธนาพระสงฆผเู ปนพระเกจิอาจารยซงึ่ เปนทีเ่ คารพเชื่อถือของสาธุชน ยิ่งเพิ่มความศักดิ์สิทธิ์ขึ้นอยางมากมาย จึงถือไดวา พิธพี ทุ ธาภิเษก มังคลาภิเษก หรือมหาพุทธาภิเษกก็ตาม เปนพิธกี ารทีด่ งี ามควรแกการสืบทอด ถึงแมจะมีคนบางพวกบางเหลาทวงติงวาเปนการนําหรืออาราธนาพระสงฆมาปลุกเสกพระพุทธเจาก็ตาม ก็ถอื เปน ความคิดเห็นของคนอีกประเภทหนึ่ง ขอสําคัญวา เมือ่ ไดพระพุทธรูปหรือรูปเคารพตาง ๆ มาแลว ควรนํามาประดิษฐานในทีอ่ นั สมควร และ หมัน่ สวดมนตระลึกถึงพระคุณของทาน ทานจึงจะคุม ครองปกปองรักษา ซึง่ โบราณอาจารยสอนวา ไหวพระพุทธ ไมควรติดอยูท ที่ องคํา ไหวพระธรรมไมควรติดอยูท ใี่ บลาน ไหวพระสงฆไมควรติดอยูท ลี่ กู หลานชาวบาน แตควร เขาใจวา ไหวพระพุทธชวยขจัดทุกข ไหวพระธรรมหรือปฏิบัติธรรมชวยขจัดภัย ไหวพระสงฆบูชาพระสงฆ ชวยขจัดโรค 


 เปนคนดีมีครบถวน  ในกรุงเทพฯ ถาฝนตกตอนเชาวันทํางาน ก็จะตามมาดวยรถติดอยางมโหฬาร ผูเขียนจําเปนตองนั่งอยู ในรถทีค่ อ ย ๆ คืบคลานตามกันเปนชัว่ โมง ๆ โดยขับตามหลังรถปกอัพขายของตามซอยคันหนึง่ เนือ่ งจากมีเวลา นานมาก จึงไดสังเกตเห็นวาบนรถปกอัพคันหนานั้น มีผูหญิงคนหนึ่งนั่งจัดผักตาง ๆ พวกฟก แฟง แตงกวา พริกขีห้ นู มะเขือ หัวปลี ฯลฯ ใสถงุ และนําไปแขวนไวรอบ ๆ รถ ซึง่ การทีร่ ถติดก็ทาํ ใหแขวนไดสะดวก ผูเ ขียนนัง่ มอง ไปเรือ่ ย ๆ จนเธอแขวนไดรอบคัน ทําใหไดรวู า เธอไมไดชงั่ อะไรเลยสักอยางเดียว เพียงแตจบั ใสถงุ กะกะเอาแลว ก็ขายทุกอยางถุงละ ๑๐ บาท ซึง่ ไมขาดทุนแน ๆ เพราะซือ้ มาเปนถุงใหญ ๆ จากตลาดสีม่ มุ เมือง ผูเ ขียนขับรถตาม ไปเรื่อย ๆ มองเธอหยิบของจากถุงใหญใสถุงเล็กแขวนไวรอบรถ ทําอยางนี้กับสินคาทุกชนิด ซึ่งเปนวิธีการที่สะดวก สําหรับผูซ อื้ ทีจ่ ะเลือกหยิบเอาจากดานไหนก็ไดไมตอ งมารอคิวกัน ถามีลกู คาเยอะก็ลอ มรถ หยิบกันไปไดเลยแบบนี้ ถูกใจคนไทยนัก ทําใหผูเขียนนึกเลยไปวารถคันนี้ผานไปทางไหนก็เปนที่พึ่งพาดานอาหารของชาวบานได แมจะ ดูรกรุงรังแตมีประโยชนมาก เพราะมีอาหารที่จําเปนแทบทุกอยาง หัวหอม กระเทียม น้ําปลา กะป ปลารา ปลาเจา มีแยกขายตางหาก คันเดียวมีแทบทุกอยาง ใจก็เลยคิดตอไปวา ถาคนเราแตละคน สามารถสะสม ความดี ความสามารถใหรอบรูรอบตัวเหมือนรถคันนี้ ไปอยูที่ไหนก็คงจะมีประโยชนกับผูเกี่ยวของ จึงเปนที่มา ของขอเขียนในวันนี้ วาแตวาถาเปนคน ไมใชรถ จะตอง เอาอะไรแขวนไวบาง ถึงจะเปนประโยชน เปน คนมีดีครบถวน เปนคําถามที่นาสนใจทีเดียว กอนจะตอบคําถามนี้ผูเขียนอยากพูด ถึงความดีสักนิดหนึ่งกอน อันที่จริงความดีนั้น มันก็ไมมีจริง ๆ หรอก แตมันเปนคําจํากัดความ ที่กลุมคนกลุมหนึ่ง หรือสังคมหนึ่ง ๆ กําหนดขึ้นมา เพื่อแยกแยะสิ่งตาง ๆ ใหแตกตางกัน อะไรที่สังคม สวนรวมเห็นรวมกันวาคนในสังคมนาจะทําหรือทําแลวมีผลดีกับสวนรวม ก็บอกวามันดี ที่ไมชอบก็บอกวามัน ไมดี ตัวอยางเชน คนไทยเราเจอกันก็ยมิ้ ใหกนั แตในบางสังคมยิม้ ใหกนั ก็เปนเรือ่ งทันที เราเจอกันเราก็ยกมือไหว ทักทายกัน ฝรั่งเจอกันเขาจับมือทักทายกัน แขกเจอกันเขาก็โอบกอดเอาแกมชนกัน ทุกอยางเปนเรื่องดี ในสังคมนั้น ๆ เพราะฉะนั้นเรื่องความดีก็ตองดูเปนเรื่อง ๆ ไปดวย ในที่นี้ผูเขียนจะกลาวถึงความดีใน ๓ ประเด็น


มกราคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๘๙

ประเด็นที่ ๑ ความดีทางศาสนา ในทุก ๆ ศาสนาจะมีคุณสมบัติของคนดีอยู ๗ ประการ เรียกวา สัปปุริสธรรม ๗ ๑.๑ มีความรูจักธรรม คือ รูจักกฎของธรรมชาติชัดเจน ๑.๒ มีความรูจักอรรถ คือ รูวาสิ่งตาง ๆ มีประโยชนอยางไร ๑.๓ มีความรูจักตน คือ รูตัววามีกําลัง มีความรู มีความสามารถเทาไร ๑.๔ มีความรูจักประมาณ คือ รูจักความพอดี ๑.๕ มีความรูจักกาล คือ รูวาเมื่อไรควรทําอะไร ๑.๖ มีความรูจักบริษัท คือ รูจักการอยูรวมกันในสังคม ๑.๗ มีความรูจักบุคคล คือ รูจักแยกแยะคน ประเด็นที่ ๒ คนดีของครอบครัว เพื่อนฝูง ครูบาอาจารย ๒.๑ ไมเปนคนอวดดี อวดรวย อวดเกง อวดยศตําแหนง หรืออวดความดีของตนไปทั่ว ๒.๒ ไมพูดมากจนนาเบื่อ คือ พูดไมมีสาระ จนคนอื่นรําคาญ ๒.๓ เปนคนออนนอมถอมตน ไมแข็งกระดาง จนขาดสัมมาคารวะ ๒.๔ เปนคนรูจ กั ผอนสัน้ ผอนยาว เรือ่ งราวหรือปญหาตาง ๆ ในครอบครัว หรือเพือ่ นฝูง บางที ก็ตองยอม ๆ กันบาง เพื่อการอยูรวมกันอยางเปนสุข ๒.๕ พูดจาออนหวาน คือ พูดความจริงที่เหมาะสมกับการอยูรวมกันในสังคม ๒.๖ เปนคนเสียสละ ไมเอาเปรียบคนอื่น มีน้ําใจ เอื้อเฟอเผื่อแผ พี่นอง เพื่อน ครู อาจารย ๒.๗ เปนคนกตัญูกตเวที รูบุญคุณคน และตอบแทนอยางเหมาะสม ๒.๘ เปนคนไมริษยาผูอ่นื มีจิตใจดี ไมอิจฉาตารอน ๒.๙ เปนคนมีสติ สุขุมรอบคอบ จะเห็นไดวา ลักษณะของความดีในหมูญ  าติพนี่ อ ง เพือ่ นฝูง ก็จะมีลกั ษณะพิเศษ เพราะมีความผูกพันกัน ทางใดทางหนึ่ง




๙๐ ขาวทหารอากาศ

มกราคม ๒๕๕๙

ประเด็นที่ ๓ คนดีของสังคม คือ คนที่ผูอื่นเคารพนับถือ ไปไหนก็สามารถโปรยปรายประโยชนใหผูอื่นได ทําใหผูพบเห็นหรืออยูใกลมีความสุข ตนเองก็มีความสุข ลักษณะของคนดีที่นาจะมี คือ ๓.๑ เปนคนไมเพงโทษผูอื่น มีแตแนะนําใหประโยชนน หรือสนับสนุนผูอื่นดวยความเต็มใจ ๓.๒ เปนคนไมขึ้น ๆ ลง ๆ ไปตามสภาวะ แหงโลกธรรม ๘ ของชีวิต สามารถเก็บอารมณได ๓.๓ เปนคนสํารวมอินทรีย รักษาอาการของ หู ตา จมูก ปาก ลิ้น กาย ใจ ใหเหมาะสมในทุกสถานการณ ๓.๔ เปนคนมีศีลาจารวัตร ตรงกับวาระแหงคุณวุฒิ วัยวุฒิของตนเสมอ ๓.๕ เปนคนที่ทําแตสิ่งที่เปนประโยชนตอสวนรวม ๓.๖ เปนคนที่คิด พูด ทํา สิ่งตาง ๆ อยางผูมีปญญา รวมทั้งการแนะนําสั่งสอนผูอื่นก็เพื่อใหเขา มีปญญา ๓.๗ เปนคนไมยงุ เรื่องของคนอื่น จนเกินพอดี มีพรหมวิหารสี่ที่เหมาะสม ๓.๘ เปนคนที่สงเคราะหผูอื่นตามกําลัง ไมตระหนี่ถี่เหนียวเกินไป ๓.๙ เปนคนไมผิดศีลธรรมที่ดีของสังคม ๓.๑๐ เปนคนเสียสละเพื่อสังคมหรือคนหมูมาก ๓.๑๑ เปนคนที่แสวงหาและเพิ่มพูนความรูอยูเสมอ ๓.๑๒ เปนคนเห็นคุณคาของศิลปะ วัฒนธรรมของสังคม ๓.๑๓ เปนคนที่รูจักแสวงหาความพนทุกขดวยตนเอง ๓.๑๔ เปนคนที่เคารพบูชายกยองนับถือผูอื่นที่คุณความดีของคน มิใชผลประโยชนที่จะไดรับ ๓.๑๕ เปนคนที่ซื่อตรงตอตนเองและผูอื่น ผูเขียนกลาวถึงความดีเพียง ๓ ดาน อาจจะมีดานอื่น ๆ อีกหรือมีรายละเอียดปลีกยอยอีกมากในเรื่อง ตาง ๆ แตเทานี้ก็นาจะเพียงพอที่ทานผูอานจะเอาใสถุงหรือใสซองแขวนไวที่ใจของแตละทาน อาจจะดูรุงรัง เหมือนรถขายของตามซอย แตผูเขียนมั่นใจวาทานจะเปนคนที่มีประโยชน ผานไปทางไหนมีแตคนมายืนรอคอยโบก และหอมลอมพูดคุยโอภาปราศรัยกับทานแนนอน ขอเพียงทาน มีดีใหครบถวน  “กลิ่นดอกไมนั้น ไมสามารถหอมทวนลมได แตกลิ่นแหงความดี สามารถไปไดทั้งตามลมและทวนลม”












Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.