หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ 2559

Page 1







ขาวทหารอากาศ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ เจาของ

กองทัพอากาศ

ที่ปรึกษา

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง

พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑไพโรจน พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

พล.อ.ต.ธนบดี อุตะมะ พล.อ.ต.นอย ภาคเพิ่ม น.อ.ไววิทย เสือดี น.อ.ศุภโชติ ชัยวงษ น.อ.กานตชนก หันหาบุญ น.อ.วันชัย บุญภักดี

พล.อ.ต.นพดล บุญมั่น พล.อ.ต.สําเริง พูลเพิ่ม น.อ.ขวัญกลา นกเอี้ยงทอง น.อ.วันชัย พึ่งเจียม น.อ.หญิง วิภาดา ชนไมตรี น.อ.ณรงคศักดิ์ พิชิตชโลธร

ผูอํานวยการ

พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ เจากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

รองผูอํานวยการ

พล.อ.ต.คุณทร มณีเขียว เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.อัมพร ทองถม รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจัดการ น.อ.สหัสชัย มาระเนตร ผูชวยผูจัดการ น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ ผูชวยบรรณาธิการ น.อ.หญิง ธัญญาภรณ พันธุเพ็ง น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี ประจํากองบรรณาธิการ น.อ.หญิง วรรณิภา ยี่ประชา น.อ.นิพนธ กอสินคา น.อ.หญิง วัลภาภรณ มูลละ น.ท.สินธพ ประดับญาติ น.ท.หญิง ยุพเรศ วงศมีศักดิ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห กองจัดการ น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง ร.อ.สุวัฒน ประชากูล ร.ต.ชัดชัย ชาวดร พ.อ.อ.หญิง เฉลา แกวยศ นาง อมรา หัตถมาศ

หนังสือขาวทหารอากาศ ความเปนมา

หนังสือขาวทหารอากาศ เปนนิตยสารรายเดือนของกองทัพ อากาศ เริ่มดําเนินการเมื่อป พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรมขาวทหารอากาศ มีนาวาอากาศเอก สกล รสานนท เปนบรรณาธิการคนแรก ดําเนินการ โดยทุนของขาราชการทหารอากาศ ตอมาป พ.ศ.๒๔๙๘ ไดโอนกิจการ มาอยูในความอํานวยการของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ไดเขาอยูในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กํากับดูแลโดยคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพกองทัพ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค.๕๒ กําหนดใหใชระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพ อากาศ วาดวยการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒

ภารกิจ

ดําเนินกิจการหนังสือขาวทหารอากาศ ใหเปนไปตามนโยบายของ คณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ มีผอู าํ นวยการ หนังสือขาวทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค

๑. เพื่อเพิ่มพูนความรูในกิจการทั่ว ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในดานการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม อันจะ เปนประโยชนตอสวนรวม ๓. เพื่อเผยแพรกิจการกองทัพอากาศ

การดําเนินงาน

๑. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น ที่เปน ประโยชนในการพัฒนากองทัพและสวนรวม ๒. เรื่องที่นําลงในหนังสือขาวทหารอากาศ - ตองไมขัดตอวัตถุประสงค/นโยบาย กองทัพอากาศ - ตองไมกระทบตอความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ สวนรวม - ตองไดรับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการ พิจารณาเรื่องของสํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ

กําหนดการเผยแพร

นิตยสารรายเดือน

พิมพที่ บริษัท ปรีชาธร อินเตอรพริ้น จํากัด ๔/๕ ซอย รามอินทรา ๔๒ แยก ๘ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐ โทร. ๐๒-๙๓๐-๗๐๕๓-๔ แฟกซ ๐๒-๙๓๐๗๐๕๐ คาสมาชิกภายนอกปละ ๓๕๐ บาท (รวมคาสง) สั่งจาย ปณ.คลองถนน ๑๐๒๒๒

สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th หอง ๑๐๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

ความคิดเห็นของผูเขียนในหนังสือฉบับนี้ ไมมีสวนผูกพันกับทางราชการแตประการใด ภาพที่ลงในหนังสือขาวทหารอากาศนํามาจาก google.com ออกแบบปก : น.ท.สินธพ ประดับญาติ/จ.ท.หญิง รัฐพร เตชะสินทวี E-mail: rtafmag@gmail.com


ปที่ ๗๖ ฉบับที่ ๒ เดือน กุมภาพันธ ๒๕๕๙

สารบัญ

๒๓

๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๖ ๒๓ ๒๙ ๓๕ ๔๓ ๔๖ ๔๗ ๕๐ ๕๕

บทบรรณาธิการ วันมาฆบูชา ...น.อ.เกษม พงษพันธ พระบรมราโชวาท ประโยชนสุขของแผนดิน : หญาแฝก... กําแพงธรรมชาติที่มีชีวิต ...ตามรอย บทบาทกองทัพอากาศกับการกาวสูประชาคม อาเซียน ...น.ท.พรอมรบ จันทรโฉม แนวโนม ICT 2016 ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ทสส.ทอ. ศูนยขอมูลกองทัพอากาศ (RTAF Data Center) ...น.ท.อนุโชต วุฒิพรพงษ ศคพ.สอ.ทอ. STORM SHADOW เงามรณะ ...น.ท.วัชรพงษ กลีบมวง ความกาวหนาของกองบินตนแบบ ที่มีเครือขาย เปนศูนยกลาง ๓๔ ป กองบิน ๗ ...ปชส.บน.๗ นานา...นารู : ครัวบําบัดโรค...เบกกิ้งโซดา ...บางแค การเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญของ AEROTHAI ...TMCS วิทยุการบินฯ งูในรังพญาอินทรี : การโจมตีฐานบิน ในเวียดนาม ...น.อ.วัชระ สกุลรัตน ภาษาไทยดวยใจรัก : เขียนอยางไร ...นวีร

๕๙

๕๗ ปริศนาอักษรไขว (มีรางวัล) ...มีน ๕๙ เบื้องหลังประกาศ EASA ...พล.อ.อ.ปรีชา ประดับมุข ๖๔ เวลาการตูน ...มิสกรีน ๖๖ เรื่องเลาจากแฟมการยุทธทางอากาศ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร ๗๑ การฝกบริหารสถานการณวิกฤติในระดับ ยุทธศาสตร (SCM) ...น.ท.สุรศักดิ์ ภูทอง นศ.วทอ.รุนที่ ๔๙ ๗๗ ครูภาษาพาที : วาดวยเรื่อง... ก.เอย ก.ไก (ตอนที่ ๓) ...Sora ๘๑ มุมสุขภาพ : 5 ทํา 5 ไม หางไกลมะเร็ง ...นายหวงใย ๘๔ รอบรู...อาเซียน : เกร็ดเล็กเกร็ดนอย ประชาคมอาเซียน ...@ Zilch ๘๕ มุมกฎหมาย : สัญญาค้ําประกัน (ตอ) ...น.อ.วันชัย มาสุวรรณ ๘๘ ขอบฟาคุณธรรม : เปนคนมีบุญวาสนา ...1261 ๙๑ ในรั้วสีเทา


บทบรรณาธิการ

สวัสดีครับ สมาชิกหนังสือขาวทหารอากาศทุกทาน

เดือนกุมภาพันธเปนเดือนที่มีวันสําคัญที่นาสนใจหลายวัน อาทิ วันที่ ๓ กุมภาพันธของทุกป เปน “วันทหารผานศึก” เปนวันที่ระลึกถึงวีรกรรมของเหลาทหารกลาที่ไดรวมรบ ปองกันเอกราชและอธิปไตยของชาติ เพือ่ เปนการระลึกถึงคุณความดีและการเสียสละของทาน รวมทัง้ ตอบแทนบุญคุณ ของเหลาทหารและครอบครัวทีต่ อ งสูญเสียชีวติ และพิการจากการปกปองประเทศชาติ ขอเชิญสมาชิกทุกทานสนับสนุน ซื้อ “ดอกปอปป” สัญลักษณวันทหารผานศึก เพื่อนํารายไดไปชวยทหารผานศึกและครอบครัว วันที่ ๔ กุมภาพันธของทุกป “วันมะเร็งโลก” ซึ่งปจจุบันโรคมะเร็งเปนสาเหตุการเสียชีวิตอันดับตน ๆ ของ ประชากรโลก WHO และ UICC ตระหนักถึงภัยรายจากโรคนี้ จึงรณรงคใหประชากรหันมาใสใจสุขภาพของตนเอง โดยสมาชิกสามารถติดตามไดในมุมสุขภาพ “5 ทํา 5 ไม หางไกลมะเร็ง” วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ “วันมาฆบูชา” ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๓ เปนวันที่องคพระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงแสดงธรรมโอวาทปาฏิโมกข แกพระสงฆที่พระองคทรงบวชให และมาประชุมโดยมิไดนัดหมายจํานวน ๑,๒๕๐ รูป โดยมีหลักคําสอนสําคัญใหนําไปปฏิบัติ คือ “ละเวนความชั่ว ทําความดี ทําจิตใจใหบริสุทธิ์ผองใส” คณะผูจัดทํา หนังสือขาวทหารอากาศจึงขอเชิญชวนสมาชิกรวมกันบําเพ็ญกุศลดวยการทําบุญตักบาตร ฟงพระธรรมเทศนา ปฏิบตั ธิ รรม และเวียนเทียน เพื่อนอมรําลึกถึงพระรัตนตรัยและธํารงไวซึ่งพระพุทธศาสนาสืบตอไป วันที่ ๒๔ กุมภาพันธของทุกป รัฐบาลเห็นชอบและอนุมัติใหเปน “วันรณรงคใหปลอดควันพิษจากไฟปา” เพื่อกระตุนใหหนวยงานและประชาชนมีความรู ตระหนัก และมีสวนรวมในการจัดการแกปญหาหมอกควันพิษและ ฝุนละอองจากการเผาปา อันกอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพของประชาชน ซึ่งสงผลกระทบตอบรรยากาศของประเทศ ในโลกปจจุบัน ปกฉบับนี้ เปนอาวุธลูกระเบิดทําลายรันเวย ชื่อ STORM SHADOW เงามรณะ ซึ่งถูกพัฒนาดวยเทคโนโลยี ขั้นสูง ใหเปน Cruise Missile ที่สามารถโจมตีเปาหมายไดอยางแมนยํา พรอมลดความเสี่ยงใหกับนักบินในการโจมตีศัตรู และอีกบทความทีห่ ลังจากประเทศไทยถูกติดธงแดงจาก ICAO สํานักงานบริหารความปลอดภัยดานการบินของสหภาพยุโรป (European Aviation Safety Agency: EASA) ไดเขามาตรวจสอบโดยมุงเนนเรื่องผลการแกไขปญหาที่ผานมาของ ICAO และ FAA รวมทั้งมุงเนนเรื่องมาตรฐานความปลอดภัยของแตละสายการบินเปนหลัก ซึ่งสมาชิกสามารถติดตาม ไดใน “เบื้องหลังประกาศ EASA” และบทความที่สมาชิกทุกทานควรอานอีกเรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารที่มีบทบาทสําคัญตอองคกรในยุคดิจิทัล คือ แนวโนม ICT 2016 (Gartner: ICT trends for year 2016) เพื่อนํามาประยุกตใชและพัฒนาองคกรใหเกิดความกาวหนาตอไป นอกจากนีย้ งั มีบทความทีม่ สี าระนาสนใจอีกหลายเรือ่ งใหสมาชิกไดตดิ ตาม ขอเชิญพลิกอานไดตามอัธยาศัย บรรณาธิการ zzz


วันมาฆบูชาพาสุขสันต วันมหามงคลผลศรัทธา ชนชาติไทยจิตงามตามกุศล บางใสบาตรทําบุญอบอุนใจ บางถวายสังฆทานงานพิสุทธิ์ ไปรอบโบสถรอบวิหารเบิกบานใจ บางก็ไปไหวพระกะเกาวัด บางพากันเลิกเมาทั้งเหลายา สิ่งสําคัญสดใสไมสลัว ทําจิตใจใหขาวรอบชื่นชอบกัน นอมหลักการอันสําคัญในวันนี้ ปฏิบัติสืบไปในครรลอง วันมาฆบูชาเวียนมาถึง ปฏิบัติแตดีมีปญญา ชวยเชิดชูดวงจิตไมผิดผัน สิ่งใดดีมีกุศลผลศรัทธา ขอคุณพระรัตนตรัยคุณไพศาล ทวยเทพไทเทวฤทธิ์ทุกทิศทาง ประสบสุขสวัสดีศรีสวัสดิ์ โดยเฉพาะชาวพุทธสุดวิมล

วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา ปวงประชาปรีดิ์เปรมอิ่มเอมใจ กอปรมงคลเพื่อตนผลสดใส บางตั้งใจสวดมนตกุศลใจ บางจุดธูปจุดเทียนเวียนไสว บางก็ไปปลอยสัตวตามวัดวา บางก็จัดเทศนธรรมตามประสา บางศึกษาทางธรรมประจําวัน คือละชั่วทําดีที่พรอมสรรพ จะสบสันตทั่วไปดังใจปอง ที่บงชี้การุณยลนชนทั้งผอง จะครอบครองสุขสวัสดิ์วัฒนา ชาวพุทธพึงทําใจใหหรรษา เห็นคุณคาทางธรรมเปนสําคัญ บาปทั้งนั้นอยาใสใจใหทุกขา ควรนํามาใสกมลทุกหนทาง โปรดประทานพรชัยไมขัดขวาง ชี้สวางแกไทยไปทุกคน พรพิพัฒนแกไทยไปทุกหน ใหเลิศลนสุขฤดีทวีเทอญ

พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)


พระบรมราโชวาท “...การทีจ่ ะใหงานประสานกันนัน้ มีหลักสําคัญอยูว า ทุกฝายจะตองไมแบงแยกกัน ไมแยงประโยชน ไมแยงความชอบกัน แตละฝายแตละคนตองทํางานดวยความบริสุทธิ์ใจ มุงหวังผลสําเร็จในการงานเปนใหญยิ่งกวาสิ่งอื่น ความบริสุทธิ์ใจและความมุงหมาย อันเที่ยงตรงเปนอยางเดียวกันนั้น จะทําใหเขาใจกันได...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๒๒


ประโยชนสุขของแผนดิน

หญาแฝก...กําแพงธรรมชาติที่มีชีวิต ตามรอย

“...หญานั้นมีทั้งหญาเปนวัชพืชซึ่งเปนโทษและหญาที่มีคุณอยางหญาแฝก ซึ่งเปนประโยชนอยางยิ่งแกการอนุรักษดินและน้ํา เพราะมีรากที่หยั่งลึกแผกระจายลงไปตรง ๆ ทําใหอุมน้ําและยึดเหนี่ยวดินไดมั่นคงและมีลําตนชิดติดกันแนนหนา ทําใหดักตะกอนดินและรักษาหนาดินไดดี...” พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ป พ.ศ.๒๕๓๔ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงเห็นความสําคัญของหญาชนิดนี้ และมีพระราชดําริ ใหนาํ หญาแฝกไปทดลองปลูกตามศูนยศกึ ษาฯ ตาง ๆ หลังจากนัน้ ไดพระราชทานใหคนไทยนําไปปลูกเพือ่ แกปญหาการพังทลายของหนาดิน ทรงศึกษาวาใน บรรดาหญาที่มีอยูบนโลกนับหมื่นชนิด หญาแฝก เปนหญาทีม่ กั พบในเขตรอนชืน้ และประเทศไทยก็พบ หญาชนิดนีห้ ลายสายพันธุ คนไทยรูจ กั และใชประโยชน จากหญาแฝก โดยนํามาใชมุงหลังคาที่พักอาศัย และ องคความรูเ ชนนีก้ ค็ งเกิดขึน้ ตอไปหากไมมเี หตุการณ ซึง่ เปนจุดเปลีย่ นทีท่ าํ ใหคนไทยไดรจู กั หญาแฝกมากขึน้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงศึกษาเรื่องราว ของหญาแฝกจากเอกสารของธนาคารโลกอยางละเอียด หลังจากนั้นจึงพระราชทานพระราชดําริแก ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ซึ่งในขณะนั้นดํารงตําแหนง เลขาธิการ กปร. ใหศึกษาทดลองการปลูกหญาแฝกในพื้นที่ศูนยศึกษาฯ และพื้นที่อื่น ๆ อยางกวางขวาง


หญาแฝกบนเข

หญาแฝกใ

นศูนยศึกษ

าฯ ตาง ๆ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวยังพระราชทานพระราชดําริเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศที่จะ ปลูกหญาแฝกวา หากปลูกบนพื้นที่ภูเขาใหปลูกตามแนวขวางของความลาดชันและปลูกในรองน้ําเพื่อปองกัน การพังทลายของหนาดิน สวนการปลูกบนพื้นที่ราบใหปลูกโดยรอบแปลง ๆ ละ ๑ หรือ ๒ แถว สําหรับการ ปลูกในแปลงพืชไรใหปลูกตามรองสลับไปกับพืชไร และยังมีพระราชดําริใหเก็บขอมูลจากผลการศึกษาทดลอง ทั้งทางดานการเจริญเติบโตของลําตนและราก ความสามารถในการอนุรักษความสมบูรณของดินและการเก็บ ความชื้นในดิน รวมถึงใหศึกษาในเรื่องสายพันธุของหญาแฝกอีกดวย หญาแฝกที่ดอยตุง

จากแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทําใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของไดรวบรวมสายพันธุ หญาแฝกจากทั่วประเทศนําไปทดลองปลูกตามศูนยศึกษาฯ ตาง ๆ โดยเฉพาะที่โครงการพัฒนาดอยตุง จังหวัด เชียงราย พื้นที่ทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีถูกใชเปนพื้นที่ทดลองปลูกหญาแฝกบนพื้นที่ ลาดชันอีกแหงหนึง่ กอนหนานัน้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดกราบบังคมทูลสมเด็จยาถึงความมหัศจรรยของ หญาแฝก ซึง่ เปนหญาธรรมดาแตมคี ณ ุ สมบัตชิ ว ยในการอนุรกั ษดนิ และน้าํ และชวยใหพชื ทีป่ ลูกรวมกับหญาแฝก เจริญเติบโตไดดี ซึ่งก็ไดสรางแรงบันดาลใจใหสมเด็จยาเสด็จพระราชดําเนินไปปลูกหญาแฝกที่โครงการพัฒนา ดอยตุงดวยพระองคเอง การปลูกหญาแฝกในครัง้ นัน้ ก็ไดสงผลตอสุขภาพและพลานามัยของสมเด็จยาเปนอยางมาก ทรงแข็งแรงขึ้นกวาเดิมที่เปนเชนนี้เพราะทานไดออกกําลังพระวรกายอยางตอเนื่อง


๑๔ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ระยะเวลาเพียง ๙ เดือน หญาแฝกทีโ่ ครงการพัฒนาดอยตุงก็สามารถเจริญเติบโตบนพืน้ ทีล่ าดชัน ปองกัน การพังทลายของหนาดินไดเปนอยางดี ความสําเร็จในการปลูกหญาแฝกบนพื้นที่ลาดชันทําใหมีการขยายผล การปลูกหญาแฝกไปยังสถานีเกษตรหลวงอางขาง จังหวัดเชียงใหม และสงเสริมใหชาวบานที่นี่ปลูกหญาแฝก รวมกับพืชไรของพวกเขา สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือสํานักงาน กปร. ไดดาํ เนินงานสนองพระราชดําริเกีย่ วกับหญาแฝก โดยเปนแกนกลางในการประสานงานกับ หนวยงานภาครัฐและเอกชนกวา ๓๐ หนวยงาน มีการใชแผนแมบทการพัฒนาและรณรงคการใชหญาแฝก อันเนื่องมาจากพระราชดําริเปนกรอบชี้นําการดําเนินงานมาตั้งแตป พ.ศ.๒๕๓๖ จากแผนแมบทฯ นี้เอง ทําให เกิดเปนงานศึกษาและวิจยั เกีย่ วกับหญาแฝกตามมา เบือ้ งตนเปนการวิจยั และศึกษาขอมูลพืน้ ฐานของหญาแฝก โดยมุงเนนการรวบรวมขอมูลพื้นฐาน ศึกษาแหลงพันธุ ลักษณะการเจริญเติบโต และการแตกของกอหญาแฝก

การประชุมเรื่องหญาแฝก

การวิจัยและศึกษาในเรื่องนี้ทําใหสามารถจําแนกหญาออกเปน ๒ ประเภท คือ แฝกลุมและแฝกดอน รวมทัง้ สิน้ ๒๘ สายพันธุ งานศึกษาวิจัยอันดับตอมา คือ งานวิจัยเทคโนโลยีดานการขยายพันธุห ญาแฝก ซึง่ พบวาการ แยกหนอทําใหไดกลาหญาแฝกจํานวนมาก นอกจากนี้ยังศึกษาถึงการปลูกหญาแฝกรูปแบบตาง ๆ ทั้งในลักษณะ การปลูกเปนรูปตัววีคว่าํ และหงาย ปลูกเปนวงกลมและครึง่ วงกลม ทัง้ นีเ้ พือ่ ศึกษาระยะของแนวหญาแฝกในการ ปองกันการชะลางพังทลายของหนาดิน จากแผนแมบทการพัฒนาและรณรงคการใชหญาแฝกอันเนื่องมาจาก พระราชดําริที่เปนกรอบชีน้ ําการดําเนินงานมาตั้งแตป พ.ศ.๒๕๓๖ จนถึงปจจุบนั สงผลใหคนไทยรูจ ักหญาแฝก อยางลึกซึ้ง และนี่ก็คือ สิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังที่ไดมีการสงเสริมใหคนไทยรูจัก และใชประโยชนจากหญาแฝก กันอยางแพรหลาย


๑๑๕๕ แปลงหญาแฝก

การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอันเปนผลมาจากภาวะโลกรอน สงผลใหฝนตกไมเปนไปตาม ฤดูกาล การชะลางของหนาดินเกิดขึ้นทั่วทุกภูมิภาคของประเทศและทวีความรุนแรงมากขึ้นในทุกป วิกฤติที่ ประเทศไทยกําลังเผชิญอยู หาไดรอดพนจากสายพระเนตรอันกวางไกลของพระองคทานได ทรงพระราชทาน พระราชดําริใหนําหญาแฝกไปปลูกรวมกับพืชชนิดตาง ๆ ที่มีรากแกว ซึ่งจะชวยยึดหนาดินไดดียิ่งขึ้น การศึกษา การใชเทคโนโลยีหญาแฝกชวยในการฟน ฟู การอนุรักษดินและน้าํ ในพื้นที่ประสบอุทกภัย เปนงานสวนหนึ่งของ แผนแมบทการพัฒนาและรณรงคการใชหญาแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดําริ และเมื่อเกิดอุทกภัยและดินถลม ที่บานหนาถ้ํา อําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งเกิดอุทกภัยและดินถลมอยูบอย ๆ มูลนิธิชัยพัฒนา จึงไดรวมกับสถาบันลูกโลกสีเขียวและกรมพัฒนาที่ดิน นําหญาแฝกไปทดลองปลูกรวมกับมะขามและตนไทร เพื่อปองกันการพังทลายของหนาดิน ตลอดระยะเวลา ๒๐ ปที่ผานมา พระองคทรงมีพระราชดํารัสเกี่ยวกับการพัฒนาและรณรงค การใชหญาแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มาตั้งแตป พ.ศ.๒๕๓๔ ถึงป พ.ศ.๒๕๕๔ มากกวา ๓๐ ครั้ง ดวยกัน ซึง่ นัน่ ก็หมายความวา พระองคคาดหวังวาหญาแฝกจะชวยใหพสกนิกรทีป่ ระสบกับปญหาเรือ่ งของ ดินและน้ํา ไดนําหญาแฝกไปแกปญหาจากหญาที่มองดูไรคุณคา แตเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดศึกษาและทดลองจนมั่นใจวาชวยอนุรักษดินและน้ําได และพระราชทานใหกับพสกนิกรของพระองค ทําใหชาวบานรูจักหญาแฝกมากขึ้นกวาแตกอน และหญามหัศจรรยนี้ก็ไดสรางประโยชนสุขใหกับคนไทย อยางแทจริง """


การดําเนินการกิจการอาเซียนภายในกองทัพอากาศเปนไปอยางเขมขนและมีพฒ ั นาการเพิม่ ขึน้ อยาง กาวกระโดดในชวง ๒ ป เชน - การแลกเปลี่ยนการเยือนคณะนายทหารระดับตนในระดับทวิภาคีของ ทอ.กับ ทอ.มิตรประเทศ โดยใชอากาศยานของแตละประเทศสนับสนุน ซึ่งจะเปนการจัด บ.สนับสนุนในการเดินทาง ๑ ครั้ง โดยขาไป : ประเทศที่ไปเยือนจะจัด บ.สงคณะฯ ของตนและรับคณะฯ ของประเทศที่มาเยือนและขากลับ : ประเทศที่รับ การเยือนจะจัด บ.สงคณะฯ ที่ไปเยือน และรับคณะฯ ของตนเองกลับ โดยประเทศที่รับการเยือน จะรับผิดชอบ ในเรื่อง การจัดทํากําหนดการ การติดตอประสาน กรรมวิธีการเขา - ออกประเทศ อาหาร ที่พัก ยานพาหนะ และคาใชจายอื่น ๆ ตามสมควรของคณะฯ มาเยือน - การประชุมของคณะทํางานรวม ทอ.กับ ทอ.มิตรประเทศ (เฉพาะกลุมอาเซียน) จํานวน ๖ ประเทศ ระหวาง ทอ.กับ ทอ.สิงคโปร, ทอ.กับ ทอ.มาเลเซีย, ทอ.กับ ทอ.อินโดนีเซีย, ทอ.กับ ทอ.กัมพูชา, ทอ.กับ ทอ.เวียดนาม, ทอ.กับ ทอ.สปป.ลาว และ ทอ.กับ ทอ.เมียนมา (๔ ประเทศหลัง จัดตั้งในป ๕๗) ซึ่งกรอบการ ดําเนินงานตามที่ ผบ.ทอ. ไดอนุมัติไว เมื่อ ๕ มี.ค.๕๗ มีอยู ๔ ดาน ไดแก ดานการฝก ดานการศึกษา ดานการ แลกเปลี่ยนการเยือน และดานการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณเฉพาะดาน - การจัดทํายุทธศาสตร ทอ.ในการเขาสูประชาคมอาเซียน ประกอบดวย ๔ ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ ๑ : เสริมสรางสมรรถนะและความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตรที่ ๒ : การพัฒนาความรวมมือดานความมั่นคงของประเทศในกลุมอาเซียน ยุทธศาสตรที่ ๓ : พัฒนาความสัมพันธของกองทัพอากาศประเทศในกลุมอาเซียน ยุทธศาสตรที่ ๔ : การสนับสนุนประชาคมเศรษฐกิจและประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในความรวมมือระดับพหุภาคีของกองทัพอากาศทั้ง ๑๐ ชาตินั้น การประชุม ผบ.ทอ.อาเซียน และ โครงการ ASEAN Junior Air Force Officers interaction Program เพียง ๒ กิจกรรมเทานั้นที่เปนกลไก ความรวมมือระดับสูง และระดับผูปฏิบัติงานกองทัพอากาศอาเซียน ยังขาดกรอบความรวมมือในระดับฝายอํานวยการ อันเปนกลจักรสําคัญในการขับเคลื่อนความรวมมือระหวางกองทัพอากาศใหมีมากยิ่งขึ้น เพื่อเปนการเสริมสราง ความรวมมือใหครบทุกระดับของกองทัพอากาศอาเซียน


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ


แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ป ๕๘ ตามแนวทางปฏิบัติของกระทรวงกลาโหม ในการรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในป ๒๕๕๘ ในป ๕๗ เปรียบเสมือนการเตรียมความพรอมภายในกองทัพอากาศ ใหมีขีดความสามารถที่จะรับมือ กับการเปนประชาคมอาเซียนในปลายป ๕๘ ไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด สําหรับป ๕๘ การดําเนินงานของกิจการอาเซียน ทอ.ดําเนินการภายใตคณะกรรมการอาเซียน กองทัพอากาศ โดยมี ปธ.คปษ.ทอ.เปนประธานฯ และสํานักงานอาเซียนกองทัพอากาศ โดยมี รอง ผอ.สยฝ. ยก.ทอ.เปน หน.สํานักงานฯ ซึ่งในปนี้ยังคงใชกรอบแนวทางปฏิบัติของ กห.เปนแนวทางปฏิบัติเชนเดิม ดังนี้ ๑. การพัฒนาดานกําลังพล ๑.๑ โครงการเพิ่มทักษะการใชภาษาอังกฤษ/ภาษาของชาติอาเซียน ๑.๑.๑ รร.การบิน : ภาษาอังกฤษ/ภาษาจีน ๑.๑.๒ บน.๑ : ภาษาอังกฤษ ๑.๑.๓ บน.๒ : ภาษาอังกฤษ/ภาษาจีน ๑.๑.๔ บน.๔ : ภาษาอังกฤษ/ภาษาจีน ๑.๑.๕ บน.๕ : ภาษาอังกฤษ/ภาษาพมา ๑.๑.๖ บน.๖ : ภาษาอังกฤษ/ภาษาเวียดนาม ๑.๑.๗ บน.๗ : ภาษาอังกฤษ/ภาษามาลายู ๑.๑.๘ บน.๒๑ : ภาษาอังกฤษ/ภาษาเขมร ๑.๑.๙ บน.๒๓ : ภาษาลาว/ภาษาจีน/ภาษาเวียดนาม ๑.๑.๑๐ บน.๔๑ : ภาษาอังกฤษ/ภาษาจีน/ภาษาพมา ๑.๑.๑๑ บน.๔๖ : ภาษาอังกฤษ/ภาษาพมา ๑.๑.๑๒ บน.๕๖ : ภาษาอังกฤษ/ภาษามาลายู ๑.๒ การจัดทําฐานขอมูลกําลังพล ทอ.สําหรับผูท มี่ ีความรูด านภาษาของประเทศในกลุม ประชาคม อาเซียน (กพ.ทอ.) ๑.๓ สัมมนาการจัดการหลักสูตรและการฝกภาษาอังกฤษและภาษาของชาติอาเซียนในระดับ PME (กพ.ทอ.) ๑.๔ สัมมนาพัฒนากฎระเบียบทีเ่ กีย่ วกับหวงอากาศ เพือ่ รองรับการเขาสูป ระชาคมอาเซียน (คปอ.) ๑.๕ สัมมนาแนวทางการพัฒนาระบบการคนหาและชวยชีวิตของ ทอ.ไปสูการเปนผูนําในการเขาสู ประชาคมอาเซียน (คปอ.) ๑.๖ สัมมนาการปรับตัวและการใชประโยชนจากการเขาสูป ระชาคมอาเซียน : ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนและประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (สคม.ทอ.) ๑.๗ สัมมนาเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนงานรองรับยุทธศาสตร ทอ.ในการเขาสูประชาคมอาเซียน พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๒ (ยก.ทอ.)


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๑๙

๒. การพัฒนาดานการจัดทํางบประมาณเพือ่ รองรับผลผลิตการดําเนินงานดานความมัน่ คงในกรอบ อาเซียน (สนง.อาเซียน ทอ.) ๒.๑ จัดทําแผนปฏิบัติราชการ ๔ ป ทอ. ๒.๒ จัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป ทอ. ๒.๓ จัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําป ทอ./รมว.กห. ๒.๔ จัดทําคูมือการคํานวณตนทุนตอหนวยผลผลิตกิจกรรมอาเซียน ทอ. ๒.๕ จัดทําคูมือพจนานุกรมกิจกรรม ทอ.ปงบประมาณ ๕๘

๓. การพัฒนาดานบริหารจัดการ (การบูรณาการกับกิจกรรมตาง ๆ ที่มีอยูแลว) ๓.๑ บูรณาการกับคณะทํางานการประชุม AAFET (ASEAN Air Force Education & Training Working Group Meeting) ณ จว.เสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา ๓.๒ บูรณาการกับการประชุม ผบ.ทอ.อาเซียน ครั้งที่ ๑๒ ณ จว.เสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา ๓.๓ บูรณาการกับการประชุมคณะทํางานรวม ทอ.กับ ทอ.เวียดนาม ๓.๔ บูรณาการกับการประชุมคณะทํางานรวม ทอ.กับ ทอ.เมียนมา ๓.๕ บูรณาการกับการประชุมคณะทํางานรวม ทอ.กับ ทอ.กัมพูชา ๓.๖ บูรณาการกับการประชุมคณะทํางานรวม ทอ.กับ ทอ.สปป.ลาว ๓.๗ สัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดทํารางมาตรฐานวิธีการปฏิบัติงานดานปฏิบัติการชวยเหลือดาน มนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติของกองทัพอากาศประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียนในสวน ทอ.(ยก.ทอ.) ๓.๘ สัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดทํารางมาตรฐานวิธีการปฏิบัติงานดานปฏิบัติการชวยเหลือดาน มนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติของกองทัพอากาศประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน โดย ทอ.เปนเจาภาพ (ยก.ทอ.)


๒๐ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

จากจุดเริ่มตนของการพูดคุยกันระหวางกองทัพอากาศในอาเซียนตั้งแตระดับผูบัญชาการทหารอากาศ อาเซียน ผูแทนคณะทํางานระดับฝายอํานวยการ ตลอดจนผูปฏิบัติงาน ผูเชี่ยวชาญพิเศษดานตาง ๆ มีแนวทาง การปฏิบัติหลากหลายหนทางปฏิบัติ แตสุดทายแลวในสิ่งที่เปนไปไดสูงสุด จะใหเห็นภาพของความรวมมือ ในกองทัพอากาศอาเซียนดวยกันอยางเปนรูปธรรมนัน้ เกิดจากบทเรียนทีป่ ระเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดเผชิญกับภัยคุกคามรูปแบบใหม นัน่ คือ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ซึง่ เปนเรือ่ งทีห่ ลีกเลีย่ งไมไดและมีแนวโนมการเกิด สูงขึ้น ซึ่งถือวาเปนภัยคุกคามรวมกันของประชาคมอาเซียน หรือ Common Threat อีกทั้งการที่อาเซียน รวมมือกันในการจัดการภัยพิบัติจะสามารถสรางสภาวะความไวเนื้อเชื่อใจกันในระหวางชาติอาเซียน และ ไมมภี ยั พิบตั ขิ นาดใหญทใี่ ดในโลกในภารกิจการชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบตั ทิ ไี่ มใชอากาศยาน ดวยขีดความสามารถของกําลังทางอากาศทีส่ ามารถเขาสูพ นื้ ทีท่ ไี่ ดรบั ผลกระทบไดอยางรวดเร็ว หากมีการรวมมือ


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๒๑

ระหวางกําลังทางอากาศในระดับภูมภิ าคอาเซียนหรือประเทศอืน่ ๆ ทีม่ คี วามประสงคใหความชวยเหลือจํานวน ของอากาศยานจะมีจํานวนมากขึ้น การรวมมือกันและชวยเหลือซึ่งกันและกันระหวางมิตรประเทศอาเซียน ในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (Humanitarian Assistance and Disaster Relief: HA/DR) ในอาเซียนจะชวยปองกันหรือบรรเทาความเดือดรอนไดดที สี่ ดุ หนทางหนึง่ ซึง่ การใชทรัพยากร ของเหลาทัพ โดยเฉพาะกองทัพอากาศของอาเซียน หากมีการบริหารจัดการอากาศยานในแบบองครวมระหวาง ทอ. และ ทอ.มิตรประเทศ เพือ่ การเตรียมความพรอมในการรับมือภัยพิบตั ขิ นาดใหญจะทําใหสามารถปฏิบตั งิ าน ไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนัน้ ในการประชุม ผบ.ทอ.อาเซียน ครัง้ ที่ ๑๑ ระหวาง ๒๔ - ๒๖ ก.ย.๕๗ ณ กรุงเนปดอว ณ สาธารณรัฐ แหงสหภาพเมียนมา มีมติให ทอ.เปนเจาภาพในการจัดทํารางมาตรฐานวิธีการปฏิบตั ิงานการใหความชวยเหลือ ดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติในอาเซียนสวนของ ทอ.อาเซียน และจะนําผลที่ไดรับจากการสัมมนา เชิงปฏิบัติการนี้ นําเรียนในที่ประชุม ผบ.ทอ.ครั้งที่ ๑๒ ทอ.จึงริเริ่มดําเนินการเตรียมการตั้งแตปลายป ๕๗ และไดเชิญตัวแทน ทอ.ประเทศในกลุมสมาชิก จํานวน ๑๘ คน เขารวมสัมมนาเชิงปฏิบัติการระหวาง ๒๒ - ๒๖ มิ.ย.๕๘ ณ เมืองพัทยา จว.ชลบุรี ผูเขารวม สัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ ไดวิเคราะหหัวขอที่ถูกกําหนดไวจํานวน ๑๑ หัวขอ คือ ๑) หลักการสําหรับการ ใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ รวมถึงหลักการของการรองขอ ๒) รูปแบบความ ชวยเหลือ ๓) รายการทรัพยากรและขีดความสามารถของ ทอ.อาเซียน ๔) การจัดตั้งผูประสานงานประจํา ทอ.ของประเทศสมาชิกอาเซียน ๕) การวางกําลังและการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทา ภัยพิบัติ ๖) ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ๗) การดําเนินงานดานธุรการและการสนับสนุนดานการสงกําลัง บํารุง ๘) การบัญชาการและควบคุม ๙) การติดตอสื่อสาร ๑๐) การฝกบูรณาการกําลัง และ ๑๑) การจัดการ สิ่งของบริจาค รวมทั้งยังไดทบทวนผลการปฏิบัติงานการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทา


๒๒ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ภัยพิบัติของแตละประเทศที่ผานมาเปนบทเรียน ผานการระดมความคิด และอภิปรายกันอยางกวางขวางโดย อาศัยกระบวนการมีสวนรวม และเห็นพองตองกันในแนวทางปฏิบัติที่เปนไปได สรุปแนวทางสําหรับวางแผน และดําเนินความรวมมือระหวางกองทัพอากาศและประเทศสมาชิกอาเซียน ในความสามารถปฏิบัติงานการให ความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิไดอยางมีประสิทธิภาพและทันเวลา พรอมทัง้ หลีกเลีย่ ง ความเขาใจผิดเกี่ยวกับการใชทรัพยากรและขีดความสามารถของประเทศสมาชิกอาเซียนไดเปน ๑๐ หัวขอ โดยลด ขอที่ ๕ (เดิม) ซึง่ ขอมูลเรือ่ ง “การวางกําลังและการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิ” ออกไป** (**รายละเอียดปรากฏในแจกจาย นขต.ทอ. รายงานสรุปผลการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารฯ และการจัดการ ความรูฯ ของ ยก.ทอ.ป ๕๘**) สําหรับป ๕๙ ทีจ่ ะถึงนี้ สํานักงานอาเซียนกองทัพอากาศ และสวนทีเ่ กีย่ วของยังคงดําเนินงานอยางตอเนือ่ ง เพือ่ จะผลักดันยุทธศาสตร ทอ.เขาสูป ระชาคมอาเซียน ไปสูแ ผนงานการปฏิบตั ิของ นขต.ทอ.ใหไดมากทีส่ ดุ และ เกิดประโยชนกับกองทัพอากาศมากที่สุด (ฉบับหนาติดตาม แนวทางของ ทอ.หลังจากที่เขาสูประชาคมอาเซียน ภายหลังป ๕๘)


น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ทสส.ทอ.

เปนประจําทุกป ที่ผูเขียนจะรายงานบทวิเคราะหการคาดการณเทคโนโลยีดาน ICT ของ Gartner บริษัททําวิจัยเทคโนโลยีดาน ICT ระดับโลก (www.gartner.com/newsroom/id/3143521) ที่ไดทําการ คาดการณฯ เปนประจําทุกป ในงาน Gartner Symposium/ITxpo 2015 ที่ผานมา ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 4 - 8 ตุลาคม 2015 ที่เมือง Orlando รัฐ Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา นักวิเคราะห Gartner ไดคาดการณ 10 แนวโนมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) โดย คุณ David Cearley ไดกลาววา “ทิศทางของ เทคโนโลยีดาน ICT ในป 2016 จะเนนในดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่กําลังเกิดขึ้น ถือเปน ตัวผลักดันในการคาดการณของ Gartner ที่เรียกวา Internet of Things (IoT) ซึ่งสิ่งของและอุปกรณ เชน Mobile Device, Wearable, เครือ่ งใชไฟฟาตามบาน และอุปกรณบนรถยนตนนั้ มีความฉลาดทีม่ ากขึน้ สามารถ สื่อสารกันไดโดยผานอินเทอรเน็ต”


๒๔ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ในภาพรวม 10 เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของป 2016 จะนําความเปลี่ยนแปลงมาสู องคกรและทางธุรกิจ อาทิ ในเรื่องการตอยอดไปอีก นอกเหนือจากมนุษยทสี่ ามารถสือ่ สารและแลกเปลีย่ น ขอมูลบนอุปกรณสมารทโฟนและแท็บเล็ตไดโดยผาน อินเทอรเน็ต ในอนาคตอันใกลอุปกรณ Wearable, เครื่องใชไฟฟาตามบาน และอุปกรณบนรถยนตจะ ถูกรวมเขามาเรียกวา Device Mesh ผลจะไดเห็น จากอุปกรณบน Device Mesh เริ่มที่จะสื่อสารและ แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกันมากขึ้น หรือในเรื่อง Adaptive Security Architecture ที่เปน ภัยคุกคามตอองคกรนัน้ เติบโตขึน้ อยางรวดเร็ว ซึง่ ระบบ รักษาความปลอดภัยในแบบเดิมคงใชไมได โดยระบบ Application ที่ปองกันตัวเองไดและระบบวิเคราะห พฤติกรรมในการใชงานจะกลายเปนเทคโนโลยีใหม สําหรับการรักษาความปลอดภัยในแบบที่เรียกวา Adaptive Security Architecture ในบทความนี้ ขอนําเสนอ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสําคัญตอองคกรในยุคดิจิทัล ซึ่งจะสรางความ ไดเปรียบใหแกผบู ริหารทีม่ คี วามพรอมและนํามาใชกอ น โดยบทความในฉบับมีมมุ มองและรายละเอียดทีน่ า สนใจ ดังนี้

อุปกรณ Device Mesh Device Mesh หรือ “อุปกรณที่สามารถสื่อสารกันเองได” จะทําใหระบบ IoT ของผูผลิตที่ตางกัน สามารถที่จะสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกันได และในป 2016 Device Mesh นั้น ไดถูกกําหนดใหอยู ในสวนแรกของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ถูกเรียกวา “ตาขายดิจิทัล” (The Digital Mesh) ถือเปนแนวโนมที่ตอยอดไปอีกของ Internet of Things ในปจจุบันจะเห็นผูใชงานแตละคนมีการใชงาน


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๒๕

อุปกรณไฮเทคตาง ๆ มากขึ้น ไมวาจะเปน Mobile Device, Wearable, เครื่องใชไฟฟาตามบาน และอุปกรณ บนรถยนต ซึ่งก็คือ Sensors ในระบบ Internet of Things ณ วันนี้ เมื่อมองอุปกรณดังกลาว จะเห็นวาสวนใหญ ยังคงทํางานเปนอิสระตอกันและนั่นหมายถึง ระบบ Back-End สําหรับ Internet of Things ณ ปจจุบันนี้ ยังมีการแยกขาดจากกันสําหรับผูผลิตแตละราย อาทิ บริษัท Qualcomm ผูผลิตโปรเซสเซอรสําหรับอุปกรณ ไฮเทครายใหญของโลก ไดขยายการผลิตโปรเซสเซอรจากกลุมสมารทโฟนไปสูโปรเซสเซอรในกลุมของอุปกรณ สมารทโฮม ไดแก เครื่องซักผา ตูเย็น และเครื่องปรับอากาศ อีกมุมหนึ่ง Google ไดทุมเงินจํานวนมากที่จะเปน ผูน ําผลิตภัณฑดา น Internet of Things ชัน้ แนวหนา เพือ่ รองรับแผน Internet of Things ในการเชื่อมอุปกรณ และทุกสิ่งเขาดวยกันของบริษัท Google ตั้งแตโทรศัพทพื้นฐานไปจนถึงอุปกรณสวมใส และบานอัจฉริยะ ซึ่ง Gartner ไดคาดการณไวอีก 2 ปขางหนา Device Mesh หรือ “ยุคของตาขายอุปกรณ” จะเกิดขึ้นและทําให อุปกรณสมารทโฟน แท็บเล็ต Wearable เครื่องใชไฟฟาตามบาน และอุปกรณบนรถยนต สามารถที่จะสื่อสาร และแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกันไดโดยผานอินเทอรเน็ต อันเปนผลมาจากระบบ Back-End สําหรับ Internet of Things มีการใชงานรวมกันในผูผ ลิตแตละราย ซึง่ จะชวยเพิม่ ความสามารถใหกับผูใ ช (Mobile User) ในการ เขาถึงแอพพลิเคชัน่ และขอมูลทีต่ อ งการหรือทีส่ าํ คัญจะชวยเพิม่ หนทางในการติดตอสือ่ สารกับบุคคล หนวยงาน สังคมออนไลน หรือทางธุรกิจได โดยผานอุปกรณทุกชนิดที่อยูบน Device Mesh ในมุมมองเมื่อเขาสูยุคของ Device Mesh อุปกรณตาง ๆ จะถูกเชื่อมโยงเขาสูอินเทอรเน็ต นอกเหนือจากมนุษยที่จะแลกเปลี่ยนขอมูล และสื่อสารกับอุปกรณตาง ๆ ไดโดยผานอินเทอรเน็ตแลว คงจะไมแปลกที่อุปกรณสวมใส (Wearable) เชน

สมารทวอชทหรือกําไลขอมือ เริ่มจะแลกเปลี่ยนขอมูลและสื่อสารกันเอง หรือกับอุปกรณบนรถยนต (M2M) โดยคนไมตองเขาไปยุงหรือสั่งการ จะเห็นไดจากผูผลิตรองเทากีฬาเริ่มใส “โปรเซสเซอร” เขาไปในรองเทา เพื่อใหมันตรวจวัดลักษณะการวิ่งของเจาของ โดยที่รองเทากีฬาในแบบนี้สามารถสงขอมูลไปยังอุปกรณอื่น ๆ


๒๖ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

บน Device Mesh ได อาทิ สงสถิติการวิ่งของเราไปบน Google Glass หรือสมารทโฟน เพื่อแสดงผลใหเรา ไดเห็นวาตอนนี้เราวิ่งเร็วเทาไร วิ่งไปกี่กาว และเผาผลาญแคลอรี่ไปเทาไรแลว ซึ่ง Device Mesh จะทําใหเห็น การเชือ่ มตอของอุปกรณทขี่ ยายออกไปอีก และยังเปนประโยชนใหกบั กลุม ธุรกิจไมวา จะเปนดานเทคโนโลยีหรือ ดานการผลิต ขณะเดียวกันก็ถอื เปนความเสีย่ งไปพรอมกัน เพราะถาหากระบบรักษาความปลอดภัยของอุปกรณ และเครือขายอินเทอรเน็ตไมดีพอ จะทําใหผูประสงครายเขามาทําในสิ่งที่ไมพึงประสงคได จึงจําเปนที่จะตอง พัฒนาในมาตรการและเทคนิคในการรักษาความปลอดภัยควบคูกันไป ที่สําคัญผูบริหารที่รับผิดชอบควรทราบ และเตรียมรับมือกับโอกาสหรือความทาทายใหมนี้ซึ่งเปนอันตรายที่มากขึ้น

ระบบ Adaptive Security Architecture Adaptive Security Architecture หรือ “ระบบรักษาความปลอดภัยทีส่ ามารถปรับตัวได” ณ ปจจุบนั คงไดเห็นแนวโนมภัยคุกคามบนระบบเครือขายนั้นตรวจจับไดยากขึ้น ในขณะที่โซลูชั่นดานการรักษา ความปลอดภัยในแบบเดิมก็ไมสามารถรับมือกับภัยคุกคามในรูปแบบใหม ๆ ได เชน การโจมตีบนเซิรฟเวอรของ Sony Pictures จึงทําใหมีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยยุคใหมใหประกอบไปดวย Application ทีป่ องกันตัวเอง และระบบวิเคราะหพฤติกรรมในการใชงาน ซึง่ จัดเปนระบบรักษาความปลอดภัยยุคใหมในแบบ Adaptive Security Architecture ที่จะมารับมือกับภัยคุกคามบนระบบเครือขายในรูปแบบใหม ๆ ได และ ในป 2016 ระบบ Adaptive Security Architecture ถูกกําหนดใหอยูในสวนที่สามของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ถูกเรียกวา “ไอทียุคใหม” (The New IT Reality) โดยคุณ Neil MacDonald นักวิเคราะห Gartner กลาวถึงผลทีไ่ ดจากการวิเคราะหดา นการรักษาความปลอดภัยไววา “จากรูปแบบในการใชงานดาน ICT ที่เปลี่ยนแปลงไป ตลอดจนความนิยมในการใชงานอินเทอรเน็ตที่เพิ่มขึ้น ทําใหองคกรตาง ๆ มีโอกาสถูกโจมตี จากภัยคุกคามเพิ่มมากขึ้นกวาในอดีต ในขณะเดียวกันนั้นนักเจาะระบบ (Hacker) ก็ไดมีการพัฒนาเทคนิค และ


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๒๗

วิธีการในการโจมตีทกี่ า วหนามากขึน้ สามารถหลบเลีย่ งการตรวจจับไดดยี ิ่งขึน้ ทําใหโซลูชั่นดานการรักษา ความปลอดภัยในแบบเดิม เชน การปองกัน (Prevention) โดยการจํารองรอย (Signature) นัน้ ไมมปี ระสิทธิภาพ ที่เพียงพอสําหรับการยับยั้งภัยคุกคามจากการโจมตีและมัลแวรรูปแบบใหม ๆ ได ดังนั้นการออกแบบระบบ รักษาความปลอดภัยยุคใหมในแบบ Adaptive Security Architecture ที่เนนการปองกันที่ครอบคลุมตองมี ขั้นตอนการปองกันที่สามารถปรับตัวได ดวยการรวมความสามารถในการทํานาย (Prediction) การปองกัน (Prevention) การตรวจสอบ (Detection) และความสามารถในการตอบสนอง (Response Capabilities) ไว ในระบบรักษาความปลอดภัย เพื่อคุมครองความปลอดภัยจากการโจมตีขั้นสูง (Advanced Attacks) อันถือเปน สิ่งที่ผูเกี่ยวของดานการรักษาความปลอดภัยในองคกรตาง ๆ นั้นตองการในยุคดิจิทัล”

ในมุมมองที่มาจากการอานรายงาน “Designing an Adaptive Security Architecture for Protection From Advanced Attacks” ของ Gartner ทีม่ ใี หแกผเู ชีย่ วชาญดานการรักษาความปลอดภัยของ แตละองคกรคือ ควรเปลี่ยนความเชื่อที่มีผลตอการรักษาความปลอดภัย (Mindset) จาก Incident Response ไปสู Continuous Response ควรเปลี่ยนรูปแบบในการรักษาความปลอดภัยจากการปองกันเพียงอยางเดียว ไปสูในการปองกันที่ครอบคลุม ตองมีขั้นตอนการปองกันที่สามารถปรับตัวได ดวยการรวมความสามารถ ในการทํานาย (Prediction) การปองกัน (Prevention) การตรวจสอบ (Detection) และความสามารถในการ ตอบสนอง (Response Capabilities) ไวในระบบรักษาความปลอดภัย (Adaptive Security Architecture)


๒๘ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

และที่สําคัญควรเลือกผูขาย (Security Vendors) ที่มีโซลูชั่นดานการการรักษาความปลอดภัยในแบบที่เรียกวา Adaptive Security Architecture อยางเชน PANDA Security ประกอบกับในการลงทุนดานการรักษา ความปลอดภัยนั้นตองทั่วถึงทุกขั้นตอนของวงรอบในการรักษาความปลอดภัย (Security Life Cycle) ทั้งหมด ถือเปนสิ่งที่ผูเชี่ยวชาญดานการรักษาความปลอดภัยของแตละองคกรควรทราบและใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง Â ขอคิดที่ฝากไว การประกาศแนวโนม 10 เทคโนโลยีในดาน ICT ของ Gartner สําหรับองคกรในป 2016 สรุปใหเห็นวา ICT ทั้ง 2 อยาง ที่ไดนําเสนอมาจะมีบทบาทที่สําคัญตอองคกรตาง ๆ ในยุคดิจิทัล สิ่งสําคัญคือ องคกรภาครัฐ องคกรภาคเอกชน หรือหนวยงานทางทหารทีเ่ กีย่ วของ จะตองมีแผนในการนําเทคโนโลยีดา น ICT ใหม ๆ เหลานี้ มาพัฒนาองคกรใหเกิดความกาวหนา ผูบ ริหารทีม่ วี สิ ยั ทัศนจะตองทําการพัฒนาบุคลากรใหพรอม และตระหนัก ถึงการนําเทคโนโลยีในดาน ICT นั้น มาประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุดตอองคกร ผลที่ไดรับจะนํามาซึ่งการ เพิ่มขีดความสามารถในการทํางานและที่สําคัญยังชวยในการพัฒนาประเทศไดเปนอยางดี """

เกร็ดเล็ก เกร็ดนอย

กลวยหอม : ผลไมคูใจระหวางการเดินทาง องคการอนามัยโลกกลาววาในชีวิตประจําวัน มนุษยควรรับประทานผักและผลไมเฉลี่ยวันละ 0.5 กิโลกรัม เพื่อลดความเสี่ยงในการเจ็บปวยเปนโรคตาง ๆ จากการขาดวิตามิน เกลือแร หากคุณไมไดใชชีวิตประจําวันแบบปกติทั่วไป เชน ออกไปนอกสถานที่หรืออยูในระหวางเดินทาง สํานักโภชนาการระดับสากลหลายแหงแนะนําใหรับประทาน กลวยหอม วันละ 2 ลูก ซึ่งเปนผลไมคูใจในระหวาง การเดินทาง กลวยหอม ผลไมที่มีสารทริปโตแฟน (Tryptophan) เปนกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง ซึ่งรางกายสามารถเปลี่ยน ใหเปนสารเซโรโทนิน (Serotonin) ที่จะทําใหคุณผอนคลาย มีความสุข หายจากความกังวลทั้งปวง ในกลวยหอม ยังถือเปนแหลงรวมวิตามินบี ชวยการทํางานของระบบประสาท หากคุณตองนั่งเครื่องบินหรือขับรถเปนเวลานาน อาจทําใหกลามเนื้อบริเวณใดบริเวณหนึ่งลา กลวยหอมชวยได เพราะวามีโพแทสเซียมชวยปองกันตะคริว และหาก การเดินทางทําใหคุณไมไดกากใยของผักผลไมเลย การรับประทานกลวยหอมก็ชวยลดอาการทองผูก และหาก ในการเดินทางนั้นคุณมีอาการแฮ็งกจากเครื่องดื่มมึนเมา การไดน้ําตาลจากกลวยหอมที่รับประทานคูกับน้ําผึ้งก็จะ ทําใหคุณสดชื่นจากอาการออนเพลียไดเร็วขึ้น ขอบคุณขอมูลจาก http://men.th.msn.com/health/


น.ท.อนุโชต วุฒิพรพงษ ศคพ.สอ.ทอ. ศูนยขอมูลกองทัพอากาศ (RTAF Data Center) หรือมีชื่อเรียกที่นิยมใชทั่วไปวา “ดาตา เซ็นเตอร (Data Center)” เปนสถานที่ที่ออกแบบไวสําหรับจัดวางเครื่องคอมพิวเตอรแมขายและอุปกรณสื่อสารหลัก ของกองทัพ เพื่อใหบริการระบบสื่อสารและสารสนเทศภายในกองทัพอากาศ โดยสถานที่ดังกลาวตองสามารถ ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้นของอากาศ และมีระบบรักษาความปลอดภัย เพื่อปองกันการบุกรุกทั้งทางกายภาพ และทางไซเบอร (Cyberspace) ดาตาเซ็นเตอรเปนศูนยกลางหรือเกตเวย (Gateway) ในการเชื่อมตอของ ชองสัญญาณการสือ่ สารและมีระบบสํารองกระแสไฟฟาทีพ่ รอมใหบริการและสามารถทํางานไดตลอด 24 ชัว่ โมง หากมีระบบใดระบบหนึง่ ทีท่ าํ งานผิดพลาดจะมีระบบสํารองทีส่ ามารถทํางานแทนไดโดยอัตโนมัติ ซึง่ ศูนยขอ มูล กองทัพอากาศจะเปนศูนยรวมเครื่องแมขายที่ใหบริการระบบงานสื่อสารและสารสนเทศภายใน ทอ. ตั้งแต เครื่องขนาดเล็ก เชน เครื่องแมขายใหบริการเว็บไซต นขต.ทอ. ไปจนถึงเครื่องแมขายขนาดใหญที่ทาํ งาน ในลักษณะคลาวดขององคกร (Private Cloud) และเปนที่ติดตั้งระบบสื่อสารและสารสนเทศที่มีความสําคัญ (Critical) เชน ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ทอ. (RTAF e-mail) เว็บไซต ทอ. ระบบกลองวงจรปดของ ทอ. (CCTV) ระบบงานสารสนเทศดานการเงิน ทอ. ระบบการเรียนการสอนแบบออนไลน ของ ศภษ.ฯ และ ยศ.ทอ. เปนตน ซึ่งถือเปนชองทางหลัก (Gateway) เชื่อมตอไปยังหนวยงานภายนอก เชน เครือขายขอมูลภาครัฐ (Government Information Network: GIN) และชองสัญญาณอินเทอรเน็ต นอกจากนี้ การจัดตั้งศูนยขอมูลกองทัพอากาศนี้ยังตอบสนองนโยบายของรัฐบาลที่ตองการบูรณาการศูนยขอมูลของ หนวยงานภาครัฐ ยกเวนกระทรวงกลาโหมและกระทรวงการคลัง ตามมติประชุมครั้งแรกของคณะกรรมการ เตรียมการดานดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมครั้งที่ 1/2558 ที่มี พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี เปนประธาน เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 58 ที่ผานมา โดยกองทัพอากาศถือเปนหนวยงานภายใตกระทรวงกลาโหม ที่สามารถบริหารจัดการศูนยขอมูลของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย อีกทั้งเปนหนวยงานดาน ความมั่นคงแหงแรก ที่ผานการรับรองมาตรฐานระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยขอมูลสารสนเทศ


๓๐ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ที่เปนสากล หรือ ISO 27001:2013 จากองคกรมาตรฐานแหงสหราชอาณาจักร หรือ British Standard Institute (BSI)

หองปฏิบัติการและรักษาความปลอดภัยเครือขายของศูนยขอมูล ทอ. (NSOC)

เนื่องจากศูนยขอมูลกองทัพอากาศตองสามารถทํางานไดตลอดเวลา 24/7 คือ ไมมีวันหยุดนั่นเอง จึงจําเปนตองมีเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถในการเฝาระวัง ตรวจจับ ดูแลรักษาความปลอดภัยของระบบ สื่อสาร - อิเล็กทรอนิกส ระบบเครือขาย และระบบงานสารสนเทศ ที่ใหบริการภายในศูนยขอมูลใหทํางานได อยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพตลอดเวลาและมีความเสถียร โดยมีหองปฏิบัติการและรักษาความปลอดภัยเครือขาย (Network Security Operation Center: NSOC) เปนหองปฏิบัติงานหลัก มีเจาหนาที่เวรทํางานตลอด 24 ชั่วโมง ทําหนาทีเ่ ฝาตรวจสภาพแวดลอมของเครือขายและระบบสารสนเทศทีส่ าํ คัญของกองทัพ หากมีการแจงเตือนจาก ระบบเฝาตรวจและปองกันเครือขายหรือพบสิง่ ผิดปกติตาง ๆ ทีอ่ าจสงผลกระทบตอการใหบริการ ระบบจะตอง รายงานปญหาที่ตรวจพบ แกไขปญหาเบื้องตน บันทึกสาเหตุ วิธีการแกไขปญหา และแนวทางการปองกัน เพื่อ เก็บเปนระบบจัดการคลังความรู (Knowledge Management: KM) ใหเจาหนาที่สามารถสืบคนและนําไปใช ในการแกไขปญหาที่อาจเกิดซ้ําตอไปในอนาคต ¾ กระบวนการทํางานของเจาหนาที่ แบงเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับที่ 1 เจาหนาที่ระดับปฏิบัติการ (Help Desk) ที่คอยเฝาตรวจการทํางานของระบบตาง ๆ และ สภาพแวดลอมของศูนยขอ มูลใหพรอมทํางานไดตลอด 24 ชัว่ โมง โดยคอยปองกันและระงับเหตุหากมีเหตุการณ เฉพาะหนาเกิดขึ้นกับระบบฯ เชน หากเกิดกระแสไฟฟาดับ เจาหนาที่จะตองตรวจสอบวาระบบสํารองไฟและ เครื่องยนตทําไฟสามารถปฏิบัติงานและจายกระแสไฟฟาเขาสูระบบงานตาง ๆ ที่ติดตั้งภายในศูนยขอมูล ไดอยางสมบูรณ อีกทั้งตองตรวจสอบวาระบบปรับอากาศสามารถทํางานไดอยางปกติในชวงเวลาดังกลาว หากระบบปรับอากาศไมสามารถทํางานได ก็จะตองทําการปดระบบและเตรียมระบบสํารองขึ้นมาทํางานแทน


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๓๑

ระดับที่ 2 เจาหนาที่เชี่ยวชาญเฉพาะ ซึ่งจะเปนระดับหัวหนากองของศูนยคอมพิวเตอร ที่มีความ เชี่ยวชาญเฉพาะดานทําหนาที่แกไขปญหา เชน หากมีการโจมตีผานเครือขาย เจาหนาที่ดังกลาวจะตองติดตาม วาการโจมตีมาจากเครือ่ งใดและชองทางใด จากนัน้ ทําการปดชองโหวของการโจมตีและแกไขปญหาทีส่ าเหตุหลัก ของระบบ และนําระบบกลับมาทํางานใหไดตามกําหนดเวลา ระดับที่ 3 ทีมงานหลักของศูนยคอมพิวเตอร สอ.ทอ. มี ผอ.ศูนยคอมพิวเตอรเปนผูอ าํ นวยการ กํากับ ดูแล และประสานงาน แกไขปญหาตาง ๆ ที่ไมสามารถแกไขได นอกจากนี้หากเปนเหตุการณที่มีความรายแรงสูง (Major Incident) เชน เกิดไฟฟาดับเปนเวลานาน หรือเกิดการโจมตีเครือขายที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน (Zero Day Attack) หรือการโจมตีแผกระจายเปนวงกวางของไวรัสคอมพิวเตอร (Outbreak Virus) ก็จะมีทีมงาน แกไขปญหาเฉพาะเรงดวนขึ้นมาทําหนาที่แกไขปญหาเฉพาะหนาโดยทันที ศูนยขอมูลกองทัพอากาศ (RTAF Data Center) ไดรับการรองรับมาตรฐาน ISO/IEC 27001 ซึง่ มาตรฐานนีจ้ ะกลาวถึงขอมูล (What to do) ในการจัดทําระบบบริหารจัดการความมัน่ คงปลอดภัยหรือ ISMS (Information Security Management System) ใหกับองคกร

แผนผังการทํางานของเจาหนาที่ปฏิบัติการในหองปฏิบัติการและรักษาความปลอดภัยเครือขาย


๓๒ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

~ ทําไมจึงตองมีมาตรฐาน มนุษยในสังคมปจจุบันมีการใชมาตรฐานกับผลิตภัณฑหรือการใหบริการเพื่อควบคุมคุณภาพและ ความปลอดภัยในการดําเนินชีวติ ประจําวันของเรา ทัง้ มาตรฐานการแผกระจายคลืน่ ในโทรศัพทมอื ถือ มาตรฐาน องคการอาหารตลอดจนยาทีเ่ ราบริโภค มาตรฐานทีก่ าํ กับอุปกรณทใี่ ชในการขนสงและยานพาหนะ หรือมาตรฐาน ของสินคาอุปโภคบริโภคตาง ๆ ซึง่ การใชมาตรฐานเปนเครือ่ งมือในการกําหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ (Product) หรือการใหบริการ (Services) ชวยสรางหลักเกณฑและประโยชนของการประกันคุณภาพทีผ่ บู ริโภคจะไดรบั จาก ผลิตภัณฑหรือการใหบริการนั้น ๆ โดยการใชมาตรฐานเปนเครื่องมือในการควบคุมการผลิตหรือการใหบริการ มีประโยชนตอผูผลิตหรือผูใหบริการ คือ 1. ระบบการทํางานมีแบบแผนมากขึ้น มีขั้นตอนการทํางานและการปฏิบัติที่ชัดเจน ทําใหผูปฏิบัติงาน หรือเจาหนาทีท่ ุกคนมีสวนรวมในการทํางานและงานทีไ่ ดรับจะมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยสามารถอางอิง การปฏิบัติงานตามแผนผังองคกรที่วางไว 2. เมือ่ มีขอ ผิดพลาดเกิดขึน้ ในการผลิตหรือใหบริการ จะมีกระบวนการติดตาม ทบทวน และแกไขปญหา ไดอยางสะดวก รวดเร็ว ชัดเจน มีการวิเคราะหหาสาเหตุทแี่ ทจริงของปญหา และสามารถนําไปสูก ารแกไขปญหา/ การปองกันการเกิดซ้ําไดตรงจุด เนื่องจากมีการบันทึกผลการปฏิบัติงานที่ถูกตองไวอยางชัดเจน สงผลใหระบบ การทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. สรางความเชื่อถือและเปนที่ยอมรับตอผูรับบริการหรือลูกคา ทําใหลูกคาหรือในที่นี้คือ นขต.ทอ. มีความมัน่ ใจในการใหบริการของศูนยขอ มูล ทอ.มากยิง่ ขึน้ สงผลใหมจี าํ นวนผูใ ชบริการเพิม่ มากขึน้ มีการทํางาน แบบรวมศูนยสง ผลใหกองทัพประหยัดงบประมาณในการดูแลระบบและทรัพยากรตาง ๆ ไดมากขึน้ เชน คากระแส ไฟฟา คาการซอมบํารุงระบบ คาเบี้ยเลี้ยงเฝาดูแลระบบ เปนตน สงผลใหผูใหบริการไดรับความรวมมือรวมใจจาก ผูใชงานและทุกคนภายในกองทัพไดมากยิ่งขึ้น แตทั้งนี้ทั้งนั้นทุกคนตองมีสวนรวมดวยความตั้งใจ จริงใจ ใสใจ และตระหนักในสิ่งที่ตนทํา รวมถึงมีใจรักในงานที่ทําดวย 4. ระบบงานมีการปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนือ่ ง ซึง่ มีผลมาจากทุกคนมีสวนรวม เมือ่ ทุกคนมีสวนรวม ระบบงานบริการคุณภาพก็จะมุง เดินหนาตอไปในทางทีด่ ขี ึ้นไปเรือ่ ย ๆ อยางไมมที ี่จบสิน้ ซึง่ เปนการพัฒนาอยาง ยั่งยืน (Sustainable Development) และสงผลตอภาพลักษณของกองทัพอากาศในทางที่ดีขึ้น 5. ในสวนของภาคการผลิต การสรางมาตรฐานของผลิตภัณฑทําใหชวยลดจํานวนวิธีการหรือหนทาง ปฏิบัติ เพื่อใหไดผลอยางเดียวกันและใหเหลือเทาที่จําเปน โดยมีการเปลี่ยนแปลงสายการผลิตใหนอยลง ลดเครื่องมือ เครื่องจักร และเวลาที่ใช รวมถึงชวยลดจํานวนแบบและขนาดใหนอยลง ดวยการใชแบบและขนาดที่สับเปลี่ยน ทดแทนกันได หรือแมกระทั่งการผลิตซอฟตแวรเพื่อใชในการบันทึกเหตุการณละเมิดความมั่นคงปลอดภัย ซึ่งเปน ซอฟตแวรที่ผลิตขึ้นโดยบุคลากรของ ทอ.เอง และไดรับการรับรองมาตรฐานดวยนั้น ทางศูนยคอมพิวเตอร สามารถผลิตซอฟตแวรอื่น ๆ ใหมีมาตรฐานเดียวกัน อีกทั้งสามารถนําซอฟตแวรดังกลาวมาดัดแปลงใชงานกับ การบันทึกเหตุการณใหกับระบบอื่น ๆ ของกองทัพ เพื่อใชในการติดตามงานไดเชนเดียวกัน


ขาวทหารอากาศ ๓๓

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

มีระบบการจัดการเหตุการณ ขอผิดพลาดและการละเมิดฯ (Incident management) มีเทคโนโลยีปองกันและรักษา ความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Security)

มีระบบ Monitoring ในการปฏิบัติการ และระบบ Log management

มีกระบวนการและเทคโนโลยี การควบคุมการเขาถึง (Access Control)

มีกระบวนการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

นโยบาย และมาตรการ และ ขอกําหนดในการปฏิบัติการ

มีแผนและเทคโนโลยี ใหการ ดําเนินงานทําไดตอเนื่อง (Business Continuity)

มีกระบวนการจัดการบุคลากร ใหปฏิบัติตามขอกําหนดดานการ รักษาความปลอดภัย

การนํามาตรฐานระบบบริหารจัดการดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยขอมูลสารสนเทศ มาใชในการควบคุมการปฏิบัติงานและการใหบริการภายในศูนยขอมูลกองทัพอากาศ

6. มาตรฐานชวยลดความยุงยากและคาใชจายในการตรวจสอบ ควบคุมคุณภาพ และควบคุมอุบัติเหตุ ในการทํางานใหลดลง กอใหเกิดการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพ ซึ่งนําไปสูการลดตนทุนการผลิต ราคา และ เพิ่มปริมาณการขายได 7. สิง่ หนึง่ ทีท่ กุ มาตรฐานตองคํานึงถึง คือ การจัดการความเสีย่ ง ซึง่ เมือ่ มีการกํากับดูแลรักษามาตรฐาน ในกระบวนการผลิตหรือการใหบริการเปนบรรทัดฐานแลว กระบวนการตาง ๆ ก็จะมีแผนบริหารความเสี่ยง แผนสํารอง หรือแผนเผชิญสถานการณวิกฤติ เพื่อลดความเสี่ยงตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตหรือ การใหบริการได จะเห็นไดวามาตรฐานระบบบริหารจัดการดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ ชวยใหกลไกหลักในการปฏิบัตงิ านภายในศูนยขอมูลกองทัพอากาศที่มีบุคลากร กระบวนการ และเทคโนโลยี เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย หากเจาหนาที่พบเหตุการณเสี่ยงที่อาจสงผลกระทบตอการใหบริการ สื่อสารและสารสนเทศก็จะมีหลักเกณฑคุณภาพในการปฏิบัติงานและกระบวนการรักษาความปลอดภัย เปนระบบที่ชัดเจน


๓๔ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

นอกจากประโยชนที่ไดรับในสวนของผูผลิตหรือผูใหบริการแลว มาตรฐานยังมีประโยชนตอผูบริโภค หรือผูใชบริการ คือ 1. สะดวก ประหยัดเงินและเวลาในการเลือกซือ้ - เลือกใช เพราะผลิตภัณฑมาตรฐาน สามารถสับเปลีย่ น ทดแทนกันได อีกทั้งทําใหเกิดความปลอดภัยในการใชงานและการบริโภค 2. ผูบริโภคไดรับความคุมครองทั้งในดานคุณภาพ ความปลอดภัย และการใชงานของสินคาหรือบริการ ทําใหเกิดความมัน่ ใจในการใชบริการ เนือ่ งจากมาตรฐานชวยกํากับคุณภาพของการผลิตทําใหสนิ คาทีถ่ กู ผลิตออกมา มีการควบคุมและมีความปลอดภัยตามมาตรฐานตาง ๆ เชน มาตรฐานการแผกระจายคลื่นแมเหล็กไฟฟาของ จอโทรทัศน เปนตน 3. ผูบริโภคไดรับความเปนธรรมในการซื้อผลิตภัณฑ เพราะผลิตภัณฑมาตรฐานจะมีคุณภาพสมราคา และ สามารถเลือกซื้อไดตามความตองการ สามารถซื้อหาสินคาที่มีคุณภาพและสมรรถนะในการทํางานไดอยาง เดียวกันในราคาที่ต่ําลง รวมทั้งสามารถควบคุมคาใชจายและเวลาโดยไมตองตรวจสอบคุณภาพของสินคา แบบเดียวกันซ้ําอีก 4. ผูบ ริโภคสามารถซือ้ หาสวนประกอบและอะไหลทตี่ อ งการสับเปลีย่ นไดงา ย เนือ่ งจากชิน้ สวนอุปกรณ ที่ชํารุดหรือเสียหายที่มีมาตรฐานกํากับ ทําใหหาชิ้นสวนอื่นที่ไดมาตรฐานเดียวกันมาทดแทนได ทําใหสะดวก รวดเร็ว ไมจําเปนตองเปลี่ยนอุปกรณใหมหมดทั้งชุด

อยางไรก็ตามการปฏิบัติตามมาตรฐานก็อาจมีขอดอยหรือการสิ้นเปลืองงบประมาณในการดําเนินการ เชน คาใชจายในการจัดทําระบบบันทึกขอมูล คาวัสดุในการบันทึก หรือมีความลาชา เพราะตองรอเอกสาร ตามระบบทีว่ างไว และบางครัง้ อาจมีการบันทึกเอกสารมากเกินไป ยุง ยากตอการทํางาน ทําใหผปู ฏิบตั เิ บือ่ หนาย ตอการทํางาน และอาจสงผลใหเกิดความขัดแยง เพราะมีความเห็นไมตรงกันของผูปฏิบัติ ซึ่งสิ่งที่เราสิ้นเปลือง หรือสูญเสียงบประมาณไปนี้ หากเปรียบเทียบกับสิ่งที่ไดรับและเปนสิ่งที่ตรวจสอบได ถือวาสิ่งที่ไดรับนั้นคุมคา กวามาก อีกทัง้ ชวยสงเสริมใหเกิดความสําเร็จในวิธกี ารดําเนินการในทุกระดับขององคกร สงเสริมวัฒนธรรมของ การปรับปรุงระบบ การใหบริการอยางตอเนือ่ งและยัง่ ยืน เพือ่ ขับเคลือ่ นกองทัพอากาศใหเปนหนึง่ ในกองทัพอากาศ ชั้นนําในภูมิภาคอาเซียนไดอีกดวย (ฉบับหนาติดตาม มาตรฐาน ISO 27001:2013 คืออะไร)


นับตั้งแตที่มีการริเริ่มนําเครื่องบินมาใชเปนกําลังรบทางอากาศนั้น ถือไดวาเปนการพลิกโฉมหนา การสงครามแบบใหม ซึ่งการพัฒนากําลังทางอากาศทั้ง บ.รบ ระบบการรับสงขอมูล ระบบอาวุธแบบตาง ๆ ไดมีการพัฒนาดวยเทคโนโลยีขั้นสูงจากหลาย ๆ คายผูผลิตชั้นนําของโลก โดยเฉพาะ บ.รบ รุนใหม ๆ นั้น เมื่อติดตั้ง ระบบอาวุธสมัยใหมไปดวยแลวยิ่งทวีศักยภาพในการรบทั้งรุกและรับใหมปี ระสิทธิภาพสูงมากขึ้นไปอีก กาวสู ขอบเขตการรบแบบพนระยะสายตา ที่ถึงมองไมเห็นแตก็สามารถเผด็จศึกไดในพริบตา โดยมีเงื่อนไขคือ บ.รบ ตองอยูในอากาศ จึงจะสามารถใชอาวุธที่เปยมประสิทธิภาพนี้ได บ.รบ ตั้งแตรุนแรก ๆ จนถึงรุนใหมลาสุด หากไมรวม บ.F-35B Lightening II ที่สามารถขึ้นลงในแนวดิ่งไดแลวนั้น สวนใหญตองอาศัยรันเวยในการ นําเครื่องขึ้นและลงจอด อาจกลาวไดวา รันเวย คือ หัวใจสําคัญที่สงให บ.รบ ทะยานสูสนามรบบนฟากฟา ดังนั้น ถึงแมวา บ.รบ จะมีสมรรถนะสูงขนาดไหนก็ตาม จะติดตั้งระบบอาวุธล้ํายุคเพียงใดก็ตาม หากเอาเครื่องขึ้นไมได ก็ไมตางจากเศษเหล็กที่กองอยูบนพื้นที่รอเปนเปาในการถูกโจมตีจากฝายตรงขาม การตอตานทางอากาศเชิงรุก (OCA: Offence Counter Attack) คือ การทําลายศักยภาพของกําลัง ทางอากาศของฝายขาศึก เพื่อสรางความไดเปรียบใหกับกําลังของตน การไลทําลายหรือยิง บ.รบ ของศัตรูทีละลํา อาจไมใชความคิดทีด่ นี กั หากฝายศัตรูมอี าวุธนําวิถที ที่ นั สมัยดวยแลว ยอมสรางความเสียหายกลับคืนมาไดเชนกัน หลักพิชยั สงครามของซุนวูประการหนึง่ คือ การเปลี่ยนทางออมมาเปนทางลัดยอมพลิกความไดเปรียบใหมาอยู ในกํามือไดอยางรวดเร็ว

ความเสียหายของรันเวยสนามบินซานาของเยเมน หลังการโจมตี โดย บ.รบ ซาอุดิอาระเบีย (ภาพจาก www.reuters.com)


๓๖ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

การเขาไปโจมตีสนามบินลึกเขาไปในดินแดนฝายศัตรูนนั้ อาจเปนเหมือนทางออมทีไ่ มไดเปนการทําลาย บ.รบ ทั้งหมดของศัตรู หากแตเมื่อทําลายรันเวยไดแลวยอมสงผลให บ.รบ ทั้งหมดไมสามารถบินขึ้นมาตอกร ไดอีก ซึ่งเปลี่ยนเปนทางลัดในการพิชิตฝายศัตรูไดอยางรวดเร็ว เชนเดียวกับเมื่อชวงกลางป 2015 เมื่อกองทัพอากาศซาอุดิอาระเบียไดสง บ.รบ เขาโจมตีรันเวยของสนามบินซานาของเยเมน ซึ่งอยูภายใตการยึดครองของกลุมกบฏ เพื่อ ปองกันไมให บ.รบ ของเยเมน สามารถบินขึ้น มาตอตานได รวมทั้งเปนการตัดไฟแตตนลม ไมให บ.รบ ของอิหรานซึง่ เปนหัวหอกหลักในการ สนับสนุนกลุม กบฏทีจ่ ะเขามาสนับสนุนการรบ สามารถลงจอดได สําหรับลูกระเบิดที่ใชในการ ทําลายรันเวยที่มีใชในปจจุบัน เชน Durandal (ชื่อดาบในตํานานของฝรั่งเศสในยุคกลาง) นั้นคาดวาไดรับการ พัฒนามาจากลูกระเบิดที่ใชทําลายรันเวยในสงคราม 6 วัน ในป 1967 ระหวางอิสราเอลกับชาติอาหรับประเทศ เพื่อนบาน ซึ่งมีความขัดแยงกันมาอยางยาวนานประกอบดวยประเทศ อียิปต จอรแดน และซีเรีย ดวยกลยุทธ การรบและเทคโนโลยีที่เหนือชั้นกวา ทําใหอิสราเอลไดรับชัยชนะอยางงดงามและไดครอบครองดินแดนในสวน ตาง ๆ อีกมากมาย เชน ฉนวนกาซา ที่ราบสูงโกลาน คาบสมุทรไซนาย และเวสตแบงค รวมทั้งยึดนครเยรูซาเลม กลับคืนมา ซึ่งกลยุทธอยางหนึ่งที่อิสราเอลใช คือ การเขาโจมตีฐานบินของอียิปตแบบไมใหทันตั้งตัว ซึ่งสราง ความเสียหายใหกับรันเวย สนามบิน และ บ.รบ ของอียิปตเกือบทั้งหมด


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๓๗

Durandal เปนลูกระเบิดทําลายรันเวยประสิทธิภาพสูง ซึง่ ไดรบั การพัฒนาในชวงแรกโดยบริษทั Matra สัญชาติฝรั่งเศส ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนเปน MBDA โดยถูกออกแบบสําหรับทิ้งที่ระดับต่ํา ซึ่งความสูงระดับต่ําสุด อยูที่ 61 เมตร ความเร็วสูงสุด 1,020 กม./ชม. โดยใชรมชวยในการชะลอการตก และเมื่อลูกระเบิดทํามุม 40 องศากับแนวระดับแลว จรวดขับดันจะเริม่ จุดตัวเพือ่ เรงใหลกู ระเบิดพุง เขาสูผ วิ หนาของรันเวยโดยมีความเร็ว 260 เมตร/วินาที หลังจากนัน้ ระเบิดหลัก (ปริมาณ 220 ปอนด) จะระเบิดเพือ่ เจาะผิวคอนกรีตและสงใหระเบิดรอง (ประมาณ 33 ปอนด) พุงลึกลงไป และจะระเบิดหลังจากระเบิดหลักประมาณ 1 - 2 วินาที ดวยชนวนถวงเวลา ซึ่งชนวนถวงเวลานี้ตอมาไดถูกพัฒนาใหสามารถหนวงเวลาไดหลายชั่วโมง ลูกระเบิดจะฝงอยูในรันเวยโดยที่ ยังไมระเบิดในทันที ทําใหฝายตรงขามเกิดความลังเลและไมกลาที่จะเขามาซอมแซม หรือตองใชเวลาในการ เก็บกูระเบิดกอนจึงจะสามารถเขาซอมแซมรันเวยได ความรายกาจของ Durandal ที่มีมากกวาลูกระเบิดทั่วไปในการใชทําลายรันเวย อยูที่การสราง ความเสียหายอยางมากใหกับรันเวย โดยที่สามารถเจาะทะลวงคอนกรีตหนาถึง 40 เซนติเมตร ดวยแรงขับดัน ของจรวดทําใหตัวลูกระเบิดมีความเร็วที่สูงมากเมื่อปะทะกับผิวรันเวย และเมื่อระเบิดแลวจะสรางหลุมลึก ถึง 2 เมตร มีรัศมีกวาง 5 เมตร นอกจากนั้นแลวยังสรางความเสียหายตอแผนคอนกรีตโดยรอบที่แตกราว ยับเยินในรัศมี 15 เมตร พรอมทั้งแผนคอนกรีตเหลานั้นจะถูกดันใหสูงขึ้นจากระดับเดิมอีกราว 50 เซนติเมตร ซึ่งเปนการยากที่จะซอมแซมรันเวยใหพรอมใชงานไดในระยะเวลาอันสั้น Durandal จึงเปนตัวเลือกที่ดีในการ ใชทําลายรันเวยของฝายศัตรูมากกวาที่จะใชลูกระเบิดอากาศธรรมดาในการทําลาย

(ภาพจาก www.toocatsoriginals.tumblr.com)

ดวยประสิทธิภาพดังกลาว Durandal จึงไดรบั ความสนใจจากชาติตา ง ๆ และถูกจัดหาเพือ่ เขาประจําการอยู ในหลายประเทศทัว่ โลก เชน สหรัฐอเมริกา จีน ฝรัง่ เศส อิสราเอล เยอรมัน อียปิ ต ฯ ลฯ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา


ซึ่งไดดําเนินการพัฒนา Durandal ใหมีความสามารถในการโจมตีในมุมที่ชันขึ้นและสามารถทิ้งที่ความเร็วที่สูง กวาเดิมได โดยเปลี่ยนชื่อเปน BLU-107/B เพื่อติดตั้งกับ บ.F-111 และ บ.F-15 และถูกใชในชวงสงคราม อาวเปอรเซียในปฏิบัติการพายุทะเลทราย นอกจากนั้นแลวจีนซึ่งในปจจุบันถือไดวามีความกาวหนาในการผลิต อาวุธล้ําสมัยไมแพชาติมหาอํานาจอื่น ๆ ไดนําเอา Durandal มาเปนตนแบบในการพัฒนาลูกระเบิดทําลาย รันเวยของตนเองโดยใชชื่อ 200A อีกดวย การพัฒนาอาวุธสําหรับทําลายรันเวยนั้น ไดมีการพัฒนาตอมาโดยบริษัท MBDA ซึ่งไดออกแบบและ สราง Apache ซึ่งเปน Cruise Missile ที่สามารถถูกปลอยไดจากระยะไกลหางจากเปาหมายมาก หากเปรียบเทียบ กับ Durandal ซึ่งเปนลูกระเบิดที่ไมมีการนําวิถีและไมมีสวนขับเคลื่อนที่จะสามารถเขาสูเปาหมายไดเองจาก ระยะไกล จึงจําเปนตองทิ้งใกลกับเปาหมายนั้นเปนการเพิ่มความเสี่ยงใหกับ บ.รบ จากการตอตานของกําลัง ปองกันฐานบิน การพัฒนา Cruise Missile อยาง Apache นั้น อาจกลาวไดวาเปนการปดจุดออนที่ Durandal มี ซึ่งเปนผลดีตอ บ.รบ ที่ไมตองเผชิญหนากับการตอตานจากกําลังปองกันภาคพื้น


Apache AP ถูกปลอยจาก บ.Mirage 2000N (ภาพจาก Jane's Air-Launched Weapons)

ดวยเครือ่ งยนต Turbojet ซึง่ ใหพลังในการขับเคลือ่ นมากกวาเชือ้ เพลิงแข็งในสวนขับดันของจรวดและ Missile ทั่วไปในน้ําหนักที่เทากัน ทําให Apache สามารถเคลื่อนที่เขาสูเปาหมายที่อยูหางถึง 140 กิโลเมตรได ซึ่งพนระยะการตอตานจากกําลังปองกันฐานบินดวยความเร็ว 1,000 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยใชการนําวิถี ดวยระบบ GPS รวมกับระบบความเฉื่อย INS (ติดตั้งอุปกรณวัดทิศทาง ความเร็ว และประมวลผลไวในลําตัว) ในการทําให Apache เขาสูเปาหมาย พรอมทั้งรูปทรงที่ถกู ออกแบบมาเพื่อใหสามารถพรางตัวจากการตรวจจับ ของเรดารได ดวยความเร็วที่สูงมากและความสามารถในการพรางตัวจากเรดาร ทําใหการตอตานจากกําลัง ทางภาคพื้นนั้นทําไดยาก สงผลถึงโอกาสในการทําลายเปาหมายไดสําเร็จมากขึ้น สําหรับ Aphace ในรุน ที่ใชสําหรับทําลายรันเวยนั้นเรียกวา Apache AP โดยมีน้ําหนัก 1,230 กิโลกรัม ลําตัวยาว 5.1 เมตร และมีความกวางระหวางปลายปกอยูที่ 2.53 เมตร และสวนประกอบสําคัญคือ KRISS ลูกระเบิดสําหรับทําลายรันเวย ซึ่งสามารถเจาะทะลุพื้นคอนกรีตหนา โดยมีหัวรบหนักถึง 50 กิโลกรัม จํานวน 10 ลูก ที่ถูกบรรจุอยูภายในลําตัวของ Apache เนื่องดวยถูกผลิตโดยบริษัทสัญชาติฝรั่งเศส Apache จึงถูก นํามาใชติดตั้งกับ บ.รบ สัญชาติฝรั่งเศส เชน บ.Mirage 2000N, บ.Rafale เปนตน เนื่องจาก Apache เปนอาวุธ ทีส่ ามารถปลอยไดจากระยะไกลเพือ่ เขาโจมตีเปาหมาย (Stand-Off Weapon) จึงไดถกู พัฒนาอยางตอเนือ่ งเพือ่ ตอบสนองตอภารกิจการรบแบบตาง ๆ เชน Storm Shadow (ชื่อในภาษาฝรั่งเศสคือ SCALP EG หมายถึง Cruise Missile เอนกประสงคระยะไกล) ซึ่งเปนการตอยอดจาก Apache มีอังกฤษ ฝรั่งเศส และอิตาลี รวมมือในการพัฒนา โดยมีความแตกตางจาก Apache ในการเปลี่ยนจากลูกระเบิดมาเปน BROACH มีหัวรบขนาด 450 กิโลกรัม ที่สามารถทะลุทะลวงและสรางแรงระเบิดได สามารถกําหนดมุมและทิศทางในการโจมตีได ซึ่ง ไดรบั การออกแบบมาเพือ่ ใชสาํ หรับ Cruise Missile โดยเฉพาะ ดวยความสามารถของหัวรบนี้ Storm Shadow จึงสามารถใชโจมตีเปาหมายไดหลายประเภทไมวา จะเปนฐานบัญชาการใตดนิ สะพาน ฐานยิงอาวุธนําวิถี อาคาร สิง่ กอสรางทางทหาร โรงเก็บอากาศยาน รวมทัง้ รันเวย และดวยเครือ่ งยนต Turbojet ทีใ่ หพลังขับเคลือ่ นสูงกวา เครื่องยนตของ Apache ในสวนของ Storm Shadow นั้นมีระยะปฏิบัติการที่ไกลถึง 250 กิโลเมตร มากกวา Apache ถึง 2 เทาตัว


Storm - Shadow ติดตั้งกับ บ.Rafale

ในการเขาโจมตีเปาหมาย เมือ่ Storm Shadow ถูกปลอยทีร่ ะดับความสูงปานกลางหรือระดับต่าํ จะเริม่ บิน เขาสูเ ปาหมายตามขอมูลพิกดั ทีไ่ ดรบั การตัง้ คาไวในตอนแรกโดยบินในระดับต่าํ เพือ่ หลีกเลีย่ งการตรวจจับจากเรดาร ซึง่ อยูท รี่ ะดับ 30 - 40 เมตร โดยมีระบบ INS และ ระบบ GPS และระบบ TRN (Terrain Reference Navigation: ระบบนําวิถที อี่ าศัยขอมูลภูมิประเทศในการระบุและยืนยันตําแหนงของอาวุธนําวิถีประเภท Cruise Missile) ทีช่ ว ยในการนําวิถใี ห Storm Shadow เขาสูเ ปาหมายรวมกัน เมือ่ เขาใกลกบั เปาหมายทีก่ าํ หนดไวแลว ระบบ IIR (Imaging Infrared Recognition) และ ระบบ ATR (Automatic Target Recognition) จะเริม่ ทํางานโดยเมือ่ รับขอมูลรังสีอินฟราเรดจากเปาหมายแลว จะสรางเปนภาพเปรียบเทียบกับขอมูลเพื่อยืนยันเปาหมายกอนเขา โจมตี และถาหากไมสามารถจับเปาหมายไดตรงกับขอมูลที่กําหนดแลว Storm Shadow จะเปลี่ยนเปาหมาย ไปยังจุดตกทีก่ าํ หนดไวเพือ่ ลดความเสีย่ งในการเกิดความสูญเสียจากการโจมตีเปาหมายผิดพลาด Storm Shadow นัน้ ถูกใชงานจริงในการเขาทําลายเปาหมายสําคัญ เชน ฐานบัญชาการ สนามบิน ทีม่ นั่ ทางทหาร ในชวงการลมสลาย ของอิรักเมื่อป 2003 และสงครามกลางเมืองในลิเบียป 2011 โดยกองทัพอากาศอังกฤษ ฝรั่งเศส และอิตาลี ซึ่งประสบผลสําเร็จในการทําลายเปาหมายเปนอยางมาก นอกจากนั้นแลว Storm Shadow ยังไดรับการพัฒนาโดยติดตั้งระบบ Datalink ในเบื้องตนเปนแบบ One-way คือ สามารถสงขอมูลของเปาหมายกอนที่จะเขาโจมตีกลับมาที่ บ.รบ ได และกําลังไดรับการพัฒนา ระบบ Datalink แบบ Two-way เพื่อใหสามารถเปลี่ยนเปาหมายในการโจมตีใหมไดหลังจากปลอย Storm Shadow ออกไปแลว สําหรับ บ.รบ นอกจาก บ.Mirage 2000N และ บ.Rafale แลวยังสามารถติดตั้งไดกับ บ.Tornado และลาสุดไดถกู ปรับปรุงใหสามารถติดตัง้ ไดกบั บ.Eurofighter Typhoon เมือ่ ป 2013 และปรับปรุง


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๔๑

เพื่อติดตั้งกับ บ.F-35 Joint Strike Fighter ของสหรัฐอเมริกาอีกดวย เพื่อรองรับการเขาประจําการในกองทัพ อากาศของอังกฤษ สําหรับประเทศที่มี Storm Shadow ประจําการอยูไดแก ฝรั่งเศส กรีซ อิตาลี กาตาร ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อังกฤษ และอียิปต


(ภาพจาก Theaviationist.com)

จากลูกระเบิดสําหรับทําลายรันเวยทตี่ อ งอาศัยความกลาและฝมือของนักบินในการบินเขาสูเ ขตปองกัน ทีแ่ ข็งแกรงและแนนหนาของฝายศัตรู รวมกับการทิง้ ระเบิดทีม่ คี วามแมนยําพุง ตรงเขาหาเปาหมาย สูเ ทคโนโลยีขนั้ สูง ในการนําวิถีที่จะนํา Cruise Missile ใหเขาหาเปาหมายไดอยางแมนยํา พรอมทั้งชวยลดความเสี่ยงของนักบิน ในการโจมตีเปาหมายสําคัญอยางสนามบิน รันเวย ฐานบัญชาการตาง ๆ ของฝายตรงขาม ที่มีการปองกันแบบ เต็มอัตราศึกนั้น สามารถทําไดในระยะที่ปลอดภัยและผลที่ไดนั้นมีประสิทธิภาพสูงกวาการโจมตีแบบดั้งเดิม จากแนวโนมของการพัฒนาอาวุธในปจจุบัน แสดงใหเห็นถึงความตองการสมรรถนะของอาวุธที่จะตองสามารถ ใชในการปฏิบัติภารกิจไดหลายหลายรูปแบบ เพื่อใหเกิดความคุมคากับราคาและงบประมาณที่ลงทุนไป ซึ่งการ พัฒนา Apache ดวยการเปลี่ยนหัวรบแบบใหมที่สามารถโจมตีเปาหมายไดหลากหลายประเภท พรอมทั้งติดตั้ง ระบบนําวิถีหลายชนิดเขาไปเพื่อเพิ่มความแมนยําและคงความสามารถในการนําวิถีไดในสถานการณตาง ๆ นั้น ถือวาเปนการตอบโจทยรูปแบบการรบสมัยใหม ซึ่ง Storm Shadow ไดแสดงใหเห็นแลวจากการใชงานจริง ในหลายสนามรบที่ผานมา""" แหลงที่มาของขอมูล : 1. นิตยสาร Air Force Monthly ฉบับเดือน ต.ค.2015 “Typhoon Over The Horizon” 2. “Cruise Missile Proliferation in the 1990s” W. Seth Carus 3. http://www.reuters.com “Saudi-led planes bomb Sanaa airport to stop Iranian plane landing” 4. http://www.missilethreat.com “Apache AP” 5. http://www.fas.org “Apache” 6. http://www.airforce-technology.com 7. http://www.mbda-systems.com “Storm Shadow/SCALP” 8. http://www.wikipedia.org 9. http://www.iaf.org.il “Six Day War”


ปชส.บน.๗

กองบิน ๗ ฐานบินรบหลักของกองทัพอากาศในพื้นที่ภาคใต เปนจุดยุทธศาสตรสําคัญในภูมิภาคที่ อุดมไปดวยทรัพยากรทางธรรมชาติ กองทัพอากาศจึงใหความสําคัญกับการพัฒนาขีดความสามารถของกําลัง ทางอากาศ เพือ่ ใหสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจปกปองดูแลเอกราชอธิปไตย ความมัน่ คงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย การปกครองระบอบประชาธิปไตย และรักษาผลประโยชนของชาติ ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ ไดอยางมีประสิทธิภาพ กองบิน ๗ มีหนาที่เตรียมและปฏิบัติการใชกําลังตามอํานาจหนาที่ของกองทัพอากาศ เสริมสราง สมรรถนะและความพรอมในการปองกันประเทศ ในอดีตกองบิน ๗ ตั้งอยูที่ ตําบลจุกเสม็ด อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และเมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๒๕ กองทัพอากาศไดปรับยายกองบิน ๗ มาที่สนามบินหัวเตย อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎรธานี ที่ตั้งปจจุบัน โดยใชชื่อ กองบิน ๗๑ พรอมกับไดโอนยายเครื่องบินโจมตี แบบที่ ๕ OV-10 จาก ฝูงบิน ๕๓๑ กองบิน ๕๓ จังหวัดประจวบคีรีขันธ เขามาประจําการเปนอากาศยานแบบแรก ณ ฝูงบิน ๗๑๑ กองบิน ๗๑ ในป พ.ศ.๒๕๓๓ รัฐบาลไดกําหนดนโยบายสําคัญในการคุมครองและรักษาผลประโยชนแหงชาติ ทางทะเล กองทัพอากาศจึงปรับการวางกําลังอีกครั้ง โดยยายเครื่องบินขับไลแบบที่ ๑๘ ข/ค F-5 E/F จาก ฝูงบิน ๑๐๒ กองบิน ๑ จังหวัดนครราชสีมา มาประจําการทดแทนเครือ่ งบินโจมตีแบบที่ ๕ และในป พ.ศ.๒๕๔๑ ไดเพิม่ การวางกําลังเครือ่ งบินขับไลแบบที่ ๑๘/ก หรือ F-5 A/B, เครือ่ งบินลาดตระเวนถายภาพแบบที่ ๑๘ RF-5A


จากฝูงบิน ๒๓๑ กองบิน ๒๓ จังหวัดอุดรธานี มาประจําการสมทบ จากนั้นในป พ.ศ.๒๕๔๒ กองทัพอากาศ ไดยกสถานภาพจากกองบิน ๗๑ กําหนดใหเปนฐานบินปฏิบัติการหลักของกองทัพอากาศ พรอมทั้งเปลี่ยนชื่อ เปน กองบิน ๗ นับตั้งแตนั้นเปนตนมา การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญของกองบิน ๗ เกิดขึ้นตั้งแตวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๐ เมื่อคณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบและอนุมัติใหกองทัพอากาศ ไดดําเนินโครงการจัดหาเครื่องบินขับไลอเนกประสงคทดแทน เครื่องบินขับไลแบบที่ ๑๘ ก/ข ซึ่งเครื่องบินที่ไดรับคัดเลือก ไดแก เครื่องบิน Gripen 39C/D โดยไดเริ่มบรรจุ ประจําการตั้งแตป ๒๕๕๔ เพื่อใหเปนกองบินตนแบบที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง Network Centric Air Base หรือ NCAB เพื่อรองรับการขับเคลื่อนไปสูวิสัยทัศนการเปนกองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค หรือ One of the Best Air Forces in ASEAN เพือ่ ใหการกาวไปสูเ ปาหมายของการเปน NCAB อยางเปนรูปธรรมตามยุทธศาสตรของทางกองทัพอากาศ ที่วางไว กองบิน ๗ จึงไดพัฒนาเสริมสรางขีดความสามารถขององคกร ทั้ง ๖ มิติ อยางตอเนื่อง ดังนี้ ๑. หนวยยิง Shooter ฝูงบิน ๗๐๑ กองบิน ๗ ไดรับการบรรจุประจําการเครื่องบินขับไล Gripen 39C/D ซึ่งมีเทคโนโลยี ทีล่ ้ําสมัยทีส่ ดุ ของกองทัพอากาศในยุคปจจุบนั มีขดี ความสามารถใชอาวุธเกินระยะสายตา ระบบเชือ่ มโยงขอมูล ยุทธวิธี รวมถึงติดตั้งยุทโธปกรณที่ทันสมัยหลากหลาย ทั้งยังไดบรรจุหนวยบินเตรียมพรอม ๗๐๑๑ และ ๗๐๑๒ ทําหนาทีป่ องกันภัยทางอากาศตลอด ๓๖๕ วัน นอกจากนี้ กองพันทหารอากาศโยธิน กองบิน ๗ ยังไดรับการบรรจุ อาวุธตอสูอ ากาศยานแบบลาสุดของกองทัพอากาศแบบ KS-1C เพือ่ เฝาระวังปองกันภัยทางอากาศในทีต่ งั้ อีกดวย ๒. หนวยตรวจจับ Sensor ฝูงบิน ๗๐๒ กองบิน ๗ ไดรบั การบรรจุอากาศยานแจงเตือนลวงหนา “ERIEYE” SAAB 340 Airborne Early Warning เปรียบเสมือนสถานีเรดารลอยฟา ซึง่ มีขีดความสามารถในการตรวจจับเปาหมายในทุกมิตทิ ั้งใน อากาศ บนพื้นดิน และบนทองทะเล ถือเปนระบบตรวจจับที่มีความทันสมัยที่สุดในปจจุบัน ๓. ระบบบัญชาการและควบคุม การเชื่อมโยงขอมูลระหวาง Sensor และ Shooter ทําใหการควบคุมการปฏิบัติ มีวงรอบการตัดสินใจ และสั่งการไดอยางรวดเร็วเหนือกวาฝายตรงขาม โดยเปนการทํางานรวมกันแบบบูรณาการระหวางกองบิน ๗ และศูนยควบคุมปฏิบัติการทางอากาศ ๓


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๔๕

๔. ระบบเครือขาย Network การพัฒนาดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการปองกันภัยดานสงครามไซเบอร (Cyber Warfare) อยางตอเนื่อง สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนการบริหารฐานขอมูลกับสวนกลาง หรือหนวยที่เกี่ยวของได แบบ Real Time อาทิ ระบบโปรแกรมบูรณาการศูนยปฏิบัติการกองบิน ระบบบริหารการซอมบํารุง FENIX ระบบบริหารงบประมาณ และระบบบริหารฐานขอมูลกําลังพล ๕. บุคลากร Human & Organization กองบิน ๗ ใหความสําคัญในเรื่องพัฒนาสืบสานองคความรูใหอยูในองคกรอยางยั่งยืน มีการบริหาร จัดการความรูอยางเปนระบบ รวมถึงใหความสําคัญกับการพัฒนาการใชภาษาอังกฤษและคอมพิวเตอร เพื่อเปน พืน้ ฐานสําคัญใหแกบคุ ลากร นอกจากนัน้ ยังมีเปาหมายทีจ่ ะพัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหงความปลอดภัย มีอตั รา อุบัติเหตุเปนศูนยอยางยั่งยืน โดยมีพฤติกรรมองคกรเฉพาะที่ เรียกวา No Blame Culture ๖. การใหการสนับสนุนและบริการ Support & Service กองบิน ๗ ใหความใสใจตอการอนุรักษสิ่งแวดลอม ลดการใชทรัพยากร สนับสนุนการใชพลังงาน ทดแทน ลดการใชทรัพยากรดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการปฏิบัติงานดวยความเปนมืออาชีพ รวมถึงดาน การพัฒนาสวัสดิการใหกบั ราชการอยางตอเนือ่ ง อาทิ การพัฒนาบานพักอาศัยขาราชการ โรงเรียนอนุบาล ศูนย พัฒนากีฬา สระวายน้ํา สนามฟุตบอลหญาเทียม สนามกอลฟมาตรฐาน เพื่อใชเปนสถานที่พักผอนหยอนใจของ ขาราชการและสรางความประทับใจแกผูมาเยี่ยมเยียน ในยามสงบ นอกเหนือจากการเตรียมกําลังเพือ่ ใหเกิดความพรอมเมือ่ เกิดภาวะสงครามแลว กองบิน ๗ จัดเปนแหลงเรียนรูดานการบินและประชาสัมพันธกิจกรรมของกองทัพอากาศ ใหแกหนวยงานราชการ เอกชน และโรงเรียนตาง ๆ ในยามทีป่ ระสบสาธารณภัย กองบิน ๗ จะเปนแหลงพึง่ พิงชวยเหลือพีน่ อ งประชาชนในพืน้ ที่ อยูเสมอ ในยามที่ประสบภัยแลง กองบิน ๗ ยังใหการสนับสนุนเปนฐานปฏิบัติการใหกับหนวยฝนหลวง อยางตอเนื่อง แมในยามที่พี่นองในชุมชนทองถิ่นเจ็บปวย โรงพยาบาลกองบิน ๗ เปนแหลงใหบริการการรักษา พยาบาลขั้นพื้นฐาน นอกเหนือจากนี้ศูนยบําบัดและฟนฟูผูติดยาเสพติดของกองบิน ๗ ยังเปนแหลงพัฒนาคนดี เพื่อคืนคนดีสูสังคม โดยใหความรู ทักษะ สัมมาอาชีพเพื่อนําไปใชประกอบอาชีพอยางสุจริตตอไป จากวันนั้นจวบจนวันนี้ กองบิน ๗ ยังคงดํารงอยูบนเปาหมายในการเปนกองบินตนแบบที่ใชเครือขาย เปนศูนยกลาง เพื่อเปนกลไกขับเคลื่อนสําคัญใหกองทัพอากาศไปสูจุดหมายยุทธศาสตรที่วางไว ดวยความมุงมั่น ในการดํารงขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจควบคูไปกับการใชประโยชนจากเทคโนโลยีที่ทันสมัยอยางมี ประสิทธิภาพ เพื่อประโยชนสูงสุดตอความมั่นคงของชาติตลอดไป

เรา กองบิน ๗ จะพิทักษทองนภาสยาม เรา กองบิน ๗ จะคุมครองผลประโยชนของชาติทั้งทางบกและทางทะเล เรา กองบิน ๗ พรอมเสมอเพื่อพี่นองประชาชน



TMCS วิทยุการบินฯ โครงสรางพืน้ ฐานการขนสงเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ การทองเที่ยว และระบบโลจิสติกส ของประเทศ โดยภาคการขนสงทางอากาศถือเปนการคมนาคมขนสงที่มีความรวดเร็วและปลอดภัยที่สุด ซึ่ง ในชวงหลายปทผี่ า นมา ตัวเลขปริมาณจราจรทางอากาศมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ทัง้ นีไ้ ดมกี ารคาดการณ การเติบโตของปริมาณจราจรทางอากาศของประเทศไทยวาจะมีอัตราการเติบโตสูงสุดในอาเซียน บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด ในฐานะหนวยงานใหบริการการเดินอากาศ ตองแบกภาระ อันสําคัญยิ่งในการบริหารจัดการเที่ยวบินที่นับวันจะเพิ่มขึ้น ในขณะที่นานฟามีอยูอยางจํากัด โครงการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานระบบบริการการเดินอากาศ (Thailand Modernization CNS/ATM Systems: TMCS) จึงเกิดขึ้น เพื่อเปนแรงผลักดันสําคัญในการเพิ่มขีดความสามารถขององคกร ไดแก • เพิ่มขีดความสามารถดานการใหบริการควบคุมจราจรทางอากาศทั้งในประเทศและระหวางประเทศ เพื่อใหประเทศไทยมีระบบบริการการเดินอากาศที่มีศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันเปนไปตาม มาตรฐานและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการบินของโลกปจจุบัน • เพิ่มขีดความสามารถรองรับจํานวนเที่ยวบินที่มีปริมาณมากขึ้น • เพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใหบริการการเดินอากาศ • เพิ่มบทบาทในการเปนศูนยกลางทางการบินและการเดินอากาศในภูมิภาค ความนาสนใจของโครงการนี้ อยูท รี่ ะบบอุปกรณ เทคโนโลยี และกระบวนการปฏิบตั งิ านในรูปแบบใหม ระบบการบริหารจราจรทางอากาศแนวใหมทจี่ ะนํามาใชงาน คือ ระบบ “TOPSKY” ประกอบดวย ๒ ระบบหลัก คือ TOPSKY ATC และ TOPSKY TOWER ซึ่งมีระบบฟงกชั่นการทํางานที่แตกตางกันออกไป สามารถรองรับ การทํางานของเจาหนาทีค่ วบคุมจราจรทางอากาศไดเปนอยางดี มีระบบการแจงเตือนอัตโนมัติ เพิม่ ความปลอดภัย ทางการบิน อีกทั้งยังพัฒนาระบบใหมีการเชื่อมโยงกันทั่วประเทศและเชื่อมโยงกับประเทศตาง ๆ


การกาวสูก ารเปลีย่ นแปลงครัง้ นี้ จะมีการปรับเปลีย่ นเทคโนโลยีการจราจรทางอากาศจากระบบเทคโนโลยี ภาคพื้น (Ground - based) ไปสูระบบเทคโนโลยีที่อาศัยอุปกรณสื่อสารดาวเทียม (Satellite - based) ใหมี ขีดความสามารถตามขอกําหนดของแผนการเดินอากาศระบบใหมทั้งหมด เพือ่ ใหสามารถรองรับการเติบโตของ ปริมาณเที่ยวบินที่เพิ่มขึ้นอยางกาวกระโดด ถือเปนการเปดประสบการณใหมที่ทาทาย โดยครอบคลุมระบบ การบริหารจราจรทางอากาศ (ATM) ระบบการสื่อสารดวยเสียง (VCCS) และระบบบันทึกเสียง (DVR) รวมทั้ง ระบบการจายไฟฟาสํารอง (UPS) ของทั้งประเทศใหเชื่อมตอกันอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งในสวนของทุงมหาเมฆ เชียงใหม หาดใหญ ภูเก็ต พิษณุโลก และหอบังคับการบินลูกขายทุกแหง ใหสามารถรองรับการเจริญเติบโตของ ปริมาณการจราจรทางอากาศในทุกพืน้ ทีท่ วั่ ประเทศ โดยเปลีย่ นแปลงจากการใหบริการแบบ Semi - Automation เปน Fully Automation โดยในป ๒๕๖๐ ระบบเทคโนโลยีใหมนี้จะมาชวยสนับสนุนพัฒนาระบบการจราจร ทางอากาศใหทันสมัย อีกทั้งยังเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับปริมาณการจราจรทางอากาศของประเทศไปได อีก ๗ - ๑๐ ปขางหนา เปนการเพิ่มประสิทธิภาพการขนสงทางอากาศของประเทศใหแขงขันได ซึ่งเทคโนโลยี ดังกลาวจะมาชวยลดภาระงานของเจาหนาที่ควบคุมจราจรทางอากาศ


หองปฏิบัติการหลัก อยูที่ศูนยบริหารจราจรทางอากาศแหงใหม (Air Traffic Management Center: ATMC) และศูนยบริหารเครือขายจราจรทางอากาศ (Network Management Center: NMC) มีการออกแบบ ตกแตงอยางทันสมัยที่สุดแหงหนึ่งในโลก เพื่อรองรับการใชงานระบบใหม ซึ่งไมเพียงแตจะเปนศูนยปฏิบัติการ ในการบริหารจัดการจราจรทางอากาศและหวงอากาศใหเกิดความคลองตัวยิง่ ขึน้ ยังเปนศูนยปฏิบตั กิ ารควบคุม จราจรทางอากาศสําหรับการประสานงานกับหนวยงานทางทหารและเปนศูนยกลางการบริหารระบบเทคโนโลยี การจราจรทางอากาศทั้งหมดของประเทศ ที่เพียบพรอมไปดวยระบบอุปกรณและเทคโนโลยีควบคุมจราจร ทางอากาศใหม ๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยมีการเชื่อมโยงเปนระบบเดียวกันทั่วทั้งประเทศ การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีระบบบริการการเดินอากาศของไทยครั้งนี้ ถือเปนการเปลี่ยนแปลงระบบ ปฏิบัติการจราจรทางอากาศครั้งสําคัญในประวัติศาสตรวิทยุการบินฯ ระบบอุปกรณและเทคโนโลยีใหม ๆ กําลังจะเขามาชวยสนับสนุนใหการบริหารจัดการเที่ยวบินมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งชวยใหการจัดสรร ใชทรัพยากรในหวงอากาศไดอยางมีความยืดหยุน และเพิม่ ความจุอันจะทําใหสามารถรองรับปริมาณการจราจร ทางอากาศที่มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต วิทยุการบินฯ ใหความมั่นใจกับทุกฝายที่เกี่ยวของไดวา จะเปน พลังสําคัญในการขับเคลื่อนใหประเทศไทยมีระบบบริการการเดินอากาศที่มีศักยภาพและขีดความสามารถ ในการแขงขันเปนไปตามมาตรฐานและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการบินของโลก """


จากการโจมตีทั้งสิ้น ๔๗๕ ครั้งนั้น มีการนํา ๓ เหตุการณมาศึกษา ซึ่งมีเหตุการณที่นักวางแผนปองกัน ฐานบินตองเผชิญเปนอยางยิ่ง คือ กอนปลายป ค.ศ.๑๙๖๔ ทอ.สหรัฐฯ จัดใหการปองกันฐานบินในเวียดนามอยูในลําดับความสําคัญ ที่ต่ํา ยกตัวอยาง ฐานบินที่ ตัน ซอน นัท มีรถสายตรวจของ สห./อย. (ทอ.สหรัฐฯ กําหนดใหเหลาทหารที่เปน เหลาหลักในการปองกันฐานบินคือ Security Forces เทียบไดกับเหลาทหารสารวัตรและเหลาทหารอากาศ โยธิน ของ ทอ.ไทย) เพียง ๖ คัน ทั้ง ๆ ที่ตองรับผิดชอบแนวรั้วยาว ๑๖ ไมล ฐานบินสวนใหญมีรั้วบางไมมีบาง ทอ.เวียดนามใตเองก็แทบไมมีมาตรการควบคุมการผานเขาออกฐานบินเสียเลย ความออนแอของฐานบินแบบนี้ ทาทายนักโจมตีฐานบินชาวเวียดกงเปนอยางมาก


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ


“พวกเวียดกงระดมยิงเขามาดวยความแมนยําสุด ๆ การยิงถลมสวนหนึง่ พุง ไปทีค่ ลังเก็บเชือ้ เพลิง ถังเก็บ ขนาดมหึมาถังหนึง่ เกิดระเบิดกลายเปนทะเลเพลิงพุง ขึน้ ไปบนทองฟาหลายรอยฟุต ผสมเขากับพลุสอ งสวาง ทีฝ่ า ยอเมริกนั ยิงออกจากอากาศยาน เพือ่ ใหเกิดความสวางในพืน้ ที่ พวก จนท.ดับเพลิงก็อลหมานกับการควบคุมเพลิง ทีถ่ งั เก็บเชือ้ เพลิง และเรงดับไฟทีก่ าํ ลังลุกไหมอยู ณ จุดอืน่ ๆ ในฐานบิน ความแมนยําของการโจมตีไดสรางความ เสียหายใหกับเครื่องบินเปนอยางมาก บางนัดโดนเขาเครื่องบินแบบตรง ๆ บางนัดตกหนาเครื่องบินที่จอดอยูใน รีเวทเมนท สะเก็ดระเบิดจํานวนมากพุงเขาทําลายตัวเครื่องบิน” ไมมีทางเลี่ยงขอเท็จจริงนี้ไดเลยวา การโจมตีขางตนเปนการโจมตีที่สรางความเสียหายใหกับ ฝายอเมริกันมากที่สุดในสงคราม อยางไรก็ตามการโจมตีครั้งนั้นจะสรางความเสียหายใหญหลวงกวาที่เกิดขึ้น อีกหลายเทาตัว หากผูบังคับบัญชาชั้นสูงของ ทอ.สหรัฐฯ ไมตระหนักถึงภยันอันตรายภายหลังการโจมตีที่เบียนโฮ จนเกิดมาตรการตาง ๆ ในการปองกันฐานบินขึ้นมามากมาย ซึ่งฐานบินตัน ซอน นัท ไดดําเนินมาตรการที่สําคัญ ในการปองกัน ไดแก การกอสรางรีเวทเมนท การวางแนวลวดหนามรอบพื้นที่สําคัญสูง การวางกับระเบิดและ พลุสะดุด การจัดกําลังหนวยลาดตระเวนนอกฐานบิน และการจัดชุดซุม โจมตี (จัดจากทหารเวียดนามใต) ในเวลา กลางคืนบนเสนทางที่คาดวาขาศึกจะเขามา ในขณะที่การยิงถลมฐานบินตัน ซอน นัท กําลังอุบัติขึ้น ชุดซุมโจมตีดังกลาวไดถูกตรวจพบและโจมตี เขาใสพวกเวียดกงบางสวน หากชุดซุมโจมตีแบบนี้มีหลายชุดและกระจายกันวางกําลัง พวกเวียดกงทั้งหมดที่ เขามาโจมตีก็อาจถูกตรวจพบกอนที่จะมีโอกาสเริ่มยิงถลมฐานบิน สุนัขทหารของ ทอ.สหรัฐฯ ก็โชวฟอรมเยี่ยม สามารถตรวจพบความเคลื่อนไหวขาศึกไดที่ดานตะวันตกและตะวันตกเฉียงใตของแนวรั้ว การยิงปะทะกันได เกิดขึ้น กดดันใหขาศึกไมสามารถหลุดเขามาในฐานบินได เฮลิคอปเตอรที่ติดตั้งปนกลและเครื่องยิงพลุสองสวาง ก็สามารถขึ้นสูอากาศไดภายใน ๒๐ นาทีหลังเริ่มถูกโจมตี ปนกลบนเฮลิคอปเตอรไดสาดกระสุนเขาใสที่ตั้งยิง เครื่องยิงลูกระเบิดของเวียดกง จนทําใหการยิงของพวกเวียดกงยุติลง สิ่งที่นาผิดหวังเปนอยางมากของฝายปองกัน คือ เรดารตัวใหมที่ใชตรวจจับตําแหนงที่ตั้งยิงของขาศึกไมสามารถตรวจจับที่ตั้งยิงของฝายเวียดกงได เนื่องจาก ที่ตั้งยิงดังกลาวอยูใกลกวาระยะต่ําสุดที่เรดารสามารถตรวจจับได ตางกันกับที่ฐานบินปฏิบัติการหลักอื่น ๆ เชน ที่ดานังความรับผิดชอบในการปองกันฐานบินไมได ตกอยูกับ สห./อย. เพราะดานังเปนที่ตั้งกองบัญชาการและศูนยสงกําลังบํารุงของนาวิกโยธิน ดังนั้นการ ปองกันฐานบินดานังจึงอยูในความรับผิดชอบของนาวิกโยธิน โดยที่ ทอ.รับผิดชอบเฉพาะการบินลาดตระเวน ตรวจการณ


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๕๓

เวียดกงและกองทัพเวียดนามเหนืออยากทดลอง มาตรการปองกันที่ดานังดูบาง จึงเปดยุทธการโจมตี ฐานบินดานัง ในเดือนกุมภาพันธ ๑๙๖๗ ดวยการโชว ศักยภาพใหม “จรวดโซเวียตขนาด ๑๔๐ มม.” ลูกจรวด ๖๔ นัด พุงเขาฐานบินภายในเวลาไมถึง ๑ นาที สรางความเสียหายใหกับเครื่องบิน ๑๓ เครื่อง ภายหลังการโจมตี ฝายอเมริกันตรวจพบรองรอย ของที่ตั้งยิงจรวดของฝายเวียดกงถึง ๑๓๔ ที่ตั้งยิง หางจากฐานบินไปทางตะวันตกเฉียงใต ๘ กม. ดวยระยะยิง น้ําหนักที่เบา และการใชงานที่งาย ทําใหเวียดกง ใชจรวดลักษณะนี้โจมตีฐานบินสหรัฐฯ อื่น ๆ อีกมาก เมื่อเวียดกงไดรับจรวดขนาด ๑๐๒ มม. ๑๒๒ มม. และ ๑๔๐ มม. เขามาประจําการดวยแลว ยิ่งทําใหพวกเขาสามารถทําการยิงโจมตีในระยะที่ไกลขึ้นที่ ๑๑ กม. ดวยเหตุนี้ ทําให ทอ. สหรัฐฯ และมิตรประเทศ จําตองขยายเขตพื้นที่ทางยุทธวิธีจากแนวรั้วฐานบินใหครอบคลุม ไปยังรัศมีการยิงของจรวดดังกลาวดวย ทอ. ทบ. และนาวิกโยธินสหรัฐฯ ที่ดานังตางก็สงเครื่องบินของตน บินลาดตระเวนเขตพื้นที่ดังกลาวตลอดทั้งวัน


๕๔ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

นาวิกโยธินที่ดานังไดยืมเฮลิคอปเตอรแบบ OH-6A จาก ทบ. ทําการบินลาดตระเวน ๓ เที่ยวตอวัน ดวยการบินที่ความสูงยอดไมทําใหบอยครั้งที่พวกเขาตรวจพบตําแหนงขาศึก แลวสงตอใหทหารราบ ในบริเวณใกลเคียงหรือไมก็ทหารปนใหญเพื่อโจมตีตอขาศึกดังกลาว การบินลาดตระเวนกลางคืนแทบจะไมได กระทําเลย เนื่องจากพวกเขาขาดแคลนอุปกรณตรวจการณในเวลากลางคืน นอกจากนี้นาวิกโยธินยังไดขึงแนวรั้ว ความยาว ๔๘ กม. ตามแนวขอบวงระยะยิงไกลสุดของจรวด ๑๒๒ มม. กําลังทหารเวียดนามใตไดรับมอบหมาย ใหเฝาตรวจแนวรั้วดวยหอสูงตรวจการณและบังเกอร นาวิกโยธินเองรับผิดชอบพื้นที่เปดโลงหนาแนวรั้ว ๕๐๐ เมตร นอกจากรั้วลวดหนามแลวยังมีโครงขายของอุปกรณตรวจจับการบุกรุกของบุคคลหรือยานพาหนะดวย กองพลนาวิกโยธินที่ ๑ รายงานวา ระบบตรวจจับการบุกรุกนี้ไดผลเชื่อถือได สงผลบีบใหขาศึกตองหาทางออมไกล เพื่อหลีกเลี่ยงระบบตรวจจับดังกลาว ขาศึกมักหลุดมาใหระบบตรวจจับไดบอย ๆ จะถูกติดตามทันทีดวยกําลัง ทางภาคพื้นหรือไมก็กระสุนปนใหญ ในขณะทีร่ วั้ และระบบตรวจจับสามารถ เพิ่มอัตราการตรวจจับขาศึกใหกับนาวิกโยธิน สหรัฐฯ ได แตนั่นก็ไมสามารถหยุดยั้งการโจมตี ฐานบินดานังดวยจรวดไดเลย พื้นที่ระหวางแนวรั้ว กับทีต่ งั้ ทางทหารนัน้ เต็มไปดวยประชากรทีห่ นาแนน ในเวลากลางวันมีการเคลื่อนไหวของผูคนและ สินคาเขาออกเขตพืน้ ทีน่ ตี้ ลอดเวลา ในขณะนัน้ ไมมี วิธีใด ๆ เลย ที่สามารถเฝาตรวจหรือตรวจสอบ ทุก ๆ การเคลื่อนไหวได ดังนั้นขาศึกจึงสามารถ เล็ดลอดเขามาถึงแนวยิงจรวดไดบอย ๆ ในเดือนกุมภาพันธ ๑๙๖๘ เวียดกงระดมยิงจรวด ๒๙๗ นัด เขาสู ฐานบินดานัง สรางความเสียหายมูลคา ๑๑๐ ลานเหรียญสหรัฐ มีคํากลาวของ ผบ.กองบินรบยุทธวิธีที่ ๓๖๖ ที่ตั้งอยูในดานัง กลาวถึงการโจมตีครั้งนั้นวา “สงผลกระทบอยางรุนแรงตอภารกิจการรบของพวกเรา” วาไปแลว มาตรการปองกันการโจมตีดวยจรวดที่ทรงประสิทธิภาพมากที่สุด คือ การปองกัน “เชิงรับ” เดือนเมษายน ๑๙๖๙ ทอ.สหรัฐฯ สรางโรงเก็บรูปโคงสําหรับเก็บเครือ่ งบินรบทีด่ านัง โรงเก็บนีค้ ลุมดวยคอนกรีต หนา ๑๕ นิ้ว ซึ่งถูกทดสอบมาแลววาทนตอการโจมตีดวยจรวดขนาด ๑๔๐ มม. ได """

(ฉบับหนาติดตาม การโจมตีฐานบินในประเทศไทย)


ภาษาไทยดวยใจรัก

นวีร ฉบับนี้อยากตอบคําถามที่มีผูถามวา ในภาษาไทยนั้น การเขียนวันเดือนป เขียนอยางไร ในหนังสืออานอยางไรและเขียนอยางไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (แกไขเพิ่มเติม) พิมพครั้งที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๗ กลาวไวสรุปวา หากระบุวันหรือคําวา วันที่ ตองมีคําวา พ.ศ. หนาเลขบอก พ.ศ. เชน - วันเสารที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๘ - วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๘ หากไมระบุวันหรือไมมีคําวา วันที่ ไมตองมีคําวา พ.ศ. หนาเลขบอก พ.ศ. เชน - ๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ หากเขียนวันเดือนปอยางยอ ระบุเฉพาะเลขวันที่ อักษรยอของชื่อเดือน และเลข พ.ศ. ๒ หลักทาย (ถือวาเปนการเขียนอยางไมเปนทางการ แตกําหนดไวพอเปนแนวทาง) เชน - ๑ ส.ค.๕๘ หากเปนการเขียนชวงวันเดือนปในกรณีที่เปนปเดียวกันใหใชคําวา ถึง หรือเครื่องหมาย ยติภังค คั่นกลางระหวางวันเดือนป โดยจะระบุปหรือไมก็ได เชน - วันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๘ ถึง ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๘ - ๑๓ เมษายน ๒๕๕๘ ถึง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ - ๑๓ เมษายน ๒๕๕๘ - ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ - ๑๓ เมษายน ถึง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ - ๑๓ เมษายน - ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ แตถาเปนการเขียนชวงวันเดือนปในกรณีที่เปนคนละป ใหใชคําวา ถึง หรือเครื่องหมาย ยติภังค คั่นกลางระหวางวันเดือนป เชน - ๑๓ เมษายน ๒๕๕๗ ถึง ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ - ๑๓ เมษายน ๒๕๕๗ - ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ มีอีกคําถามหนึ่ง คือ คําวา แซบ (ภาษาถิ่นอีสาน แปลวา อรอย) ลอกแลก (แสดงอาการหลุกหลิก เหลียวซายแลขวาอยูตลอดเวลา ถือกันวาเปนกิริยาไมสุภาพหรือบางทีก็สอ พิรุธดวย) และ วอกแวก (อาการ ที่จิตใจไมจดจอแนวแนอยูกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เชน เวลาครูสอนมีสิ่งรบกวนทําใหจิตใจวอกแวก) คําเหลานี้ตองมี


๕๖ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

วรรณยุกต เอกกํากับหรือไม เพราะในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ใหเขียนวา แซบ ลอกแลก และวอกแวก ซึ่งไมนาจะถูกตองเพราะเวลาออกเสียง ออกเสียงสั้น คําสามคําดังกลาวมีการโตแยงกันหลายครั้ง จนมีพจนานุกรมฉบับใหมลาสุด คือ พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ออกมา ปรากฏวาคํา ๓ คํานั้น เขียนวา แซบ ลอกแลก และ วอกแวก คือ มีวรรณยุกตเอกกํากับ โดยถือวาโครงสรางของคํานั้นเกิดจากสระเสียงสั้น คําถามที่จะกลาวถึงตอไปเปนคําถามที่มาจากการเลนไลน เนื่องจากผูอานทานหนึ่งกดปุมที่พูดใสแลว เครื่องโทรศัพทจะพิมพตัวอักษรเปนคําใหเลย คําวา steak เครื่องพิมพภาษาไทยวา สเต็ก (ใชไมไตคู) ผูอานทานนั้น สงสัยวา คํานีเ้ ขียนถูกตองหรือไม ขอตอบวา ไมถูกตอง เพราะตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลมลาสุด คือ ฉบับ พ.ศ.๒๕๕๔ ใชวา สเตก (ใชไมตรี) แมยอนหลังขึ้นไปอีกฉบับหนึ่ง คือ ฉบับ พ.ศ.๒๕๔๒ ก็ใชไมตรีเชนกัน โดยใหความหมายวา ชื่ออาหารคาวชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทําดวยเนื้อสันหรือปลา เปนตน หั่นชิ้นใหญ ๆ มักปรุงรสแลวนําไปทอดหรือยางกินกับมันฝรั่งทอด บด หรือตม และผักบางชนิด คําถามที่ ๔ มีผูถามวา ภาชนะรูปกลม มีฝาครอบสําหรับบรรจุขาวเหนียวนึ่ง เขียนวา กระติบ หรือ กระติ๊บ คําถามนี้ถาถือเอาตามเสียง คงเขียนวา กระติ๊บ แตในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ใชวา กระติบ (ไมมีวรรณยุกต) สวนในพจนานุกรมฯ พ.ศ.๒๕๕๔ มีทั้งคําวา กระติบ และ กระติ๊บ คือ ใชไดทั้ง ๒ คํา สวนคําถามสุดทายในบทความนี้ มีผูถามวา ชื่อประเทศ Myanmar ซึ่งเรียกเปนทางการวา Union of Myanmar นั้น เขียนเปนภาษาไทยวาอยางไร คําตอบคือ ในประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีและประกาศ ราชบัณฑิตยสถาน เรื่องกําหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง พ.ศ.๒๕๔๕ ใชวา พมา และใชเปนทางการวา สหภาพพมา ชื่อประเทศนี้ สื่อเขียนทับศัพทกันทั้ง เมียนมา และ เมียนมาร ความจริงถาเขียนทับศัพทก็นาจะเปน เมียนมาร แตภาษาพมาไมมี ร แตอังกฤษใชวา Myanmar ผศ.วิรัช นิยมธรรม แหงศูนยศึกษาพมา มหาวิทยาลัย นเรศวร ไดกลาวไวในงานวิจัย เมียนมา นามใหมของพมาในทรรศนะเชิงชาตินิยม วา เดิมนั้นพมาเรียกตัวเองวา เมียนมา มาแตแรก แตชาวอังกฤษฟงจากพมาภาคใตหรือยะไข หรือชาวมอญวา บะมา (Burma) คนไทย เรียก พมา โดยผานภาษาเขียนของมอญ แตชาวไทยใหญและลานนา เรียก มาน ครั้นอังกฤษเขาปกครองพมา ใชชื่อตามภาษาอังกฤษวา The Union of Burma จน พ.ศ.๒๕๕๓ รัฐบาลทหารไดเปลี่ยนชื่อเปน The Union of Myanmar (มยัน แปลวา มา มา แปลวา คลองแคลว ปราดเปรียว รวมแลวหมายความวา มาที่องอาจ ถือเปน ความหมายของชื่อประเทศมาแตเดิม) อนึ่ง จดหมายขาวราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ มิ.ย.๓๒ กลาววา คนไทยรูจักและมีความสัมพันธ ทางประวัติศาสตรกับประเทศในชื่อ พมา มาแตโบราณ สมควรใหเรียกเปนทางการวา สหภาพพมา ตามที่ใช มาแตเดิม เชนเดียวกับที่เรียก จีน (China) ญี่ปุน (Japan) ปอรตุเกส (Portugal) อังกฤษ (England)


Ģǰǰ ǰ ģǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ Ĥ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰ

ĥǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ Ħ ǰǰ ħ ǰ ǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

Ī ǰǰǰǰǰ ǰǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĢġ

ǰǰ

ǰǰǰ

ǰǰǰǰǰ

ĢĢ ǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

Ģĥ ǰǰ ĢĦ ǰǰǰ

ǰǰǰǰǰ

ǰĢħ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰ

Ģģ

ǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

Ĩǰǰǰǰǰ ǰǰĩ ǰǰǰǰǰ ǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰĢĤ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ĢĨ ǰǰǰ ǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰ

ǰǰǰ

Ģĩ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰ ǰǰĢĪ ǰǰ ǰǰ ǰ ǰ ģġ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰģĢ ǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰ ǰ

ǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰǰ

ǰ

ǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰģĪ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰģĦ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ģħ ǰ ǰǰǰǰ ǰǰ ģĨ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰ ǰ

ǰ

ǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰĤĩ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰ ĤĪ ǰǰǰǰǰǰǰǰ

ĥĤ ǰǰǰǰǰǰ ǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰĤġǰǰǰ

ĤĦǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰĤħ ǰǰ ǰ ǰ ǰǰĤĨ

ǰǰǰ

ģĤ ǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰģĥ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ĤĤ ǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰ

ǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰģģ

ǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰ

ģĩ ǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ĤĢ ǰǰ Ĥģ ǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰ

Ĥĥ ǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰ ǰ

ǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰ ǰ

ĥġ ǰ

ǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰĥĢ ǰĥģ

ǰǰǰǰ

ǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰ

ĥĥ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰĥĦ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰ

ǰǰǰǰǰǰǰ


๕๘ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

à แนวตั้ง

แนวนอน Â

๑. วันที่เพิ่มขึ้นในปสุริยคติ คือ ในปนั้นเพิ่มวันเขาไป ในเดือน ก.พ.อีก ๑ วัน ๒. ความเห็น ความคิดเห็น ๓. อาการที่ลมทับกัน ๔. ผูทําน้ําหวาน แมลงตาง ๆ เชน ผึ้ง ๕. พูดจนผูฟงเคลิบเคลิ้มไปตาม ๖. ปาทึบ ๗. โลหะผสมชนิดหนึ่ง เอาทองคํา เงิน ทองแดง ผสมกัน ๘. ทําโดยมานะบากบั่น ๑๑. หนําใจ สาใจ ๑๕. คําที่เปลงออกมาแสดงอารมณผิดคาดหรือผิดหวัง ๑๗. คอยระวังประคับประคองไวใหดี ๑๙. ไมรูปคลายตะลุมพุกสําหรับควาญทายตีชาง เมื่อตองการใหชางไปเร็ว ๒๑. ใจ ๒๓. หญิงที่นาเอ็นดู ๒๔. สิ่งที่เปนเสน ขึ้นตามผิวหนังของคนหรือสัตว ๒๖. สรอยที่ถักเปนสายคดกริช ชื่อเพลงไทย ชื่อกลบท ๒๘. บุคคลหรือกลุมคนที่ไมมีเรื่องเกี่ยวกับกิจการ หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง ๓๑. ครู อาจารย ๓๒. มั่นคง ๓๓. คลี่หรือคลายสิ่งที่เปนมุนหรือเปนกลุมกอนอยู ใหแผกระจายออก ๓๖. แสดงอาการอยากไดหรือไมอยากไดจนเกินควร ๓๗. ครั้ง คราว ๓๙. เท ราด สาด ๔๐. ความมัวหมอง ๔๒. ชาย ขอบ ๔๓. สิ่งที่ใชแกหรือปองกันโรค หรือบํารุงรางกาย

๑. พูดอยางไรก็ไมเชื่อ ๗. เกา ๙. ความทรงไว ปญญา ความมั่นคง ๑๐. คําแผลงจากคําวา ถวาย ๑๑. ชื่ออาหารชนิดหนึ่งตามแบบตะวันตก ทําดวย เนือ้ สันหรือปลา เปนตน หัน่ ชิน้ ใหญ ๆ ยางหรือทอด ๑๒. เขียนไว ๑๓. ทําเครื่องหมายเปนรูปกากบาท ๑๔. หมา ๑๖. รถชลประทานสําหรับสูบน้ําเขานา ๑๘. ไมสี่เหลี่ยมขนาดยาว หนา ๑" x ๑" ใชตีทับ บนกลอนหรือจันทันสําหรับมุงกระเบื้อง หรือตีทับ คราวเพื่อทํารั้ว ๒๐. ดอกบัว ๒๑. พระจันทร ๒๒. เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ขึงดวยหนัง ๒๔. ของหวานหรือของกินที่ไมใชกับขาว ๒๕. แจมกระจาง ๒๗. ลมที่พัดกลับไปกลับมาขณะฝนตก ๒๙. ฉุนเฉียวงาย ไมหนักแนน ๓๐. ภาชนะตอดวยไมหรือสานเปนรูปสี่เหลี่ยม คลายหีบสําหรับบรรจุสิ่งของ ๓๑. ขอความหรือเรื่องหนึ่ง ๆ ๓๔. ขอรองสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ หชว ยเหลือ โดยใหคาํ มัน่ วา จะใหสิ่งของตอบแทนหรือทําตามสัญญาที่ใหไว ๓๕. เชี่ยวชาญ ๓๘. คํากริยาที่มีกรรมหรือผูถูกกระทํามารับ ๔๓. พื้นที่สูงกวาบริเวณโดยรอบ ๔๔. กลอนประตูที่ทําดวยไมสําหรับขัดบานประตู อยางประตูโบสถ ๔๕. ความถือตัว


หลังจากทีอ่ งคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) ไดมาตรวจสอบกรมการบินพลเรือนเดิม หรือ บพ. (Department of Civil Aviation: DCA) เมื่อปลายเดือน มกราคม ๒๕๕๘ ปจจุบันเปนสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หรือ กพท. (Civil Aviation Authority of Thailand: CAAT) จากนัน้ บพ.ไดเสนอแผนการปฏิบตั เิ พือ่ แกไขขอบกพรอง (Corrective Action Plan: CAP) สงไปให ICAO ในเวลาทีก่ าํ หนดไว แต ICAO เห็นวาแผนแกไขขอบกพรองดังกลาวยังไมเหมาะสมทีจ่ ะนํามาใชใน การแกไขขอบกพรองได โดยเฉพาะประเด็นที่เปนนัยสําคัญดานความปลอดภัย (Significant Safety Concern: SSC) จึงไดประกาศทางเว็บไซตสาธารณะ (Public Website) ให “ธงแดง” แกประเทศไทยเมือ่ ๑๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ ซึ่งเปนมาตรการแจงเตือนใหประเทศตาง ๆ ที่เปนสมาชิกอีก ๑๙๑ ประเทศไดรับทราบวา มาตรฐานการกํากับ ดูแลทางดานความปลอดภัยนัน้ ยังต่าํ กวามาตรฐานทัว่ ไป หลังจากที่ ICAO ใหธงแดงประเทศไทยแลว สํานักงาน บริหารการบินแหงชาติของสหรัฐอเมริกา (Federal Aviation Administration: FAA) ซึ่งเปนหนวยงานที่ดูแล มาตรฐานความปลอดภัยดานการบินของสหรัฐอเมริกาไดเขามาตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยดานการบิน ของประเทศไทยภายใตความตกลงดานการบินที่ไดลงนามกันไวตั้งแต ๑๙ กันยายน ๒๕๕๘ ซึ่งประเทศไทย มีเครือ่ งบินทีบ่ นิ ไปสหรัฐอเมริกาและก็มเี ครือ่ งบินจากสหรัฐอเมริกาบินเขามาประเทศไทย โดย FAA มาตรวจสอบ เมื่อ ๑๓ - ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘ การตรวจสอบของ FAA จะเนนเรื่องการใหใบอนุญาตนักบิน การกํากับดูแล การปฏิบัติการบิน และความสมควรเดินอากาศ พบขอบกพรองหลายประการ จึงตองทําแผนการปฏิบัติในการ แกไขสงให FAA และ FAA ไดมาตรวจซ้ําอีกครั้งในวันที่ ๒๗ - ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘ ที่ผานมา เพื่อพิจารณาในการ คงระดับมาตรฐานความปลอดภัยดานการบินหรือจะลดระดับมาตรฐานความปลอดภัยดานการบิน (Category 1 หรือ 2) แตผลจากการตรวจสอบ ทาง กพท.ไมสามารถคงระดับมาตรฐานความปลอดภัยดานการบินในการ กํากับดูแลได ดังนั้น FAA จึงประกาศใหลดระดับเปน Category 2 เมื่อ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ผลก็คือ สายการบินของประเทศไทยจะไมไดรบั อนุญาตใหเพิม่ เทีย่ วบิน และการใหบริการของสายการบินจะตองถูกตรวจสอบ จาก FAA อยางเขมงวด จะถูกหามทํา Codeshare กับสายการบินของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเด็นสําคัญ อีกประการหนึ่งก็คือ ตางประเทศขาดความเชื่อมั่นในมาตรฐานการกํากับดูแลความปลอดภัยดานการบินของ ประเทศไทย


ประเด็นหลัก ๆ ที่บกพรอง คือ จํานวนผูตรวจสอบ (Inspector) ที่มีไมเพียงพอและคุณสมบัติ ไมครบถวนตามคูมือที่ ICAO กําหนด รวมทั้งการออกใบรับรองผูดาํ เนินการเดินอากาศ (Air Operator Certificate: AOC) ของสายการบินที่ไมครบถวนตามคูมือที่กําหนด ตอมาสํานักงานบริหารความปลอดภัยดานการบินของสหภาพยุโรป (European Aviation Safety Agency: EASA) มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่เมืองโคโลนจ ประเทศเยอรมนี (Cologne, Germany) ไดมาตรวจสอบ กพท. เมื่อ ๙ - ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ที่ผานมาตามขอตกลงที่มีสายการบินของประเทศไทยบินเขาไปในกลุม ประเทศยุโรป ซึ่งการมาตรวจสอบของ EASA นั้น มีการตรวจสอบอยู ๒ สวน คือ ตรวจสอบหนวยที่กํากับดูแล ความปลอดภัยดานการบิน (กพท.) โดยการตรวจจะมุง เนนเรือ่ งผลการแกไขปญหาทีผ่ า นมาของ ICAO และ FAA เปนหลัก หาก EASA ตรวจสอบแลวไมเปนที่พอใจ จะถูกประกาศหาม (Ban) สายการบินของประเทศไทย บินเขาไปในกลุมประเทศยุโรปที่เปนสมาชิกทั้งหมด ๒๘ ประเทศ และสวนที่ ๒ คือ ตรวจสอบสายการบินที่ขอ บินเขายุโรป (Third Country Operator: TCO) โดยการตรวจจะมุง เนนเรือ่ งมาตรฐานความปลอดภัยของแตละ สายการบินเปนหลัก หากมีมาตรฐานเพียงพอตามที่ EASA กําหนด จึงจะอนุญาตใหบินเขายุโรปได

การมาตรวจสอบของ EASA ในครั้งนี้เปนไปหลังจากที่ประเทศไทยติดธงแดงจาก ICAO แลว และอยู ระหวางการรอประกาศผลของ FAA จึงทําใหผูที่เกี่ยวของกับการแกไขปญหาวิตกกังวลเปนอยางมาก ซึ่งหาก ทาง EASA ประกาศหาม (Ban) สายการบินจากประเทศไทยบินเขายุโรป จะทําใหสายการบินที่จดทะเบียนกับ ประเทศไทยไมสามารถบินเขาไปในกลุมประเทศยุโรปที่เปนสมาชิกทั้งหมด ๒๘ ประเทศ ซึ่งจะทําใหเสียหายตอ ธุรกิจการบินของประเทศไทยอยางใหญหลวง ดังนัน้ คณะกรรมการขับเคลือ่ นยุทธศาสตรของคณะรักษาความสงบ แหงชาติ โดยมีพลเอก ประวิตร วงษสวุ รรณ รัฐมนตรีวา การกระทรวงกลาโหมซึง่ เปนประธานกรรมการ ไดทาํ เรือ่ งเสนอ


คณะรัฐมนตรี ขออนุมตั แิ ตงตัง้ คณะทํางานพิเศษเดินทางไปหารือกับผูแ ทนสหภาพยุโรป (European Union: EU) โดยมีนายพิศาล มาณวพัฒน เอกอัครราชทูตไทย ประจํากรุงวอชิงตัน เปนหัวหนาคณะ พลอากาศเอก ปรีชา ประดับมุข กรรมการและเลขานุการศูนยบัญชาการแกไขปญหาการบินพลเรือน และนายจุฬา สุขมานพ ผูอํานวยการสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย เปนรองหัวหนาคณะ และผูเกี่ยวของจํานวน ๕ นาย รวมเปนคณะเดินทางไปพบหารือเพือ่ ใหขอ มูลความคืบหนาของฝายไทยกับหนวยงานทีเ่ กีย่ วของกับคณะผูแ ทน ของกระทรวงคมนาคมของสหภาพยุโรป (Directorate-General for Mobility and Transport: DG MOVE) ทีเ่ มืองบรัสเซล ประเทศเบลเยีย่ ม (Brussel, Belgium) โดยนายกรัฐมนตรีไดลงนามเมือ่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เมื่อ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ฝายไทยไดไปพบกับคณะผูแทนของกระทรวงคมนาคมของสหภาพยุโรป (DG MOVE) นําโดยนาย Moumen Hamdouch ตําแหนงผูชวยปลัดกระทรวงคมนาคม และ นาย Peter Bombay, Deputy Head of Unit, Aviation Safety, DG MOVE ผูรับผิดชอบการจัดทําขอตัดสินใจเกี่ยวกับ ประเทศไทย โดยมีเจาหนาที่ที่เกี่ยวของจาก DG MOVE และองคการกํากับดูแลดานความปลอดภัยทางการบิน แหงสหภาพยุโรป (European Aviation Safety Agency: EASA) เขารวมประชุมดวย ซึง่ ฝายไทยไดบรรยายสรุป เกี่ยวกับแผนแมบทลาสุด (New Master Plan) พรอมผนวกขอหวงกังวลของ ICAO และ FAA ไว ประกอบดวย (๑) ยุทธศาสตรระยะสัน้ ในการใหความเชือ่ มัน่ ดานความปลอดภัยการบินพลเรือน กลาวคือ ไมออกใบอนุญาตใหม และจะตรวจสอบสายการบินเพือ่ ออกใบรับรองผูด าํ เนินการเดินอากาศใหม (Re-Certification of Air Operator Certificate: Re-AOC) กับสายการบินทั้งหมดที่เคยจดทะเบียนไว ๔๑ สาย โดยอาจจะรวมมือกับผูตรวจสอบ จากตางประเทศ และ (๒) ยุทธศาสตรระยะกลางและระยะยาวในการปรับโครงสราง กพท.ใหเปนหนวยกํากับ ดูแลมาตรฐานการบินพลเรือนตามมาตรฐานโลกโดยรวมมือกับ EASA ผลการเจรจานั้น ฝาย EU ชื่นชมการเมืองของรัฐบาลไทย และใหขอแนะนําบางประการที่สําคัญ คือ (๑) พรอมใหเวลาที่จําเปนสําหรับประเทศไทยในการแกปญหาที่ตนตอ และเปนการแกปญหาที่ยั่งยืน ที่สําคัญคือ หากฝายไทยสามารถควบคุมและขับเคลือ่ นการทํางานของทุกภาคสวนใหเปนไปตามแผนแมบทลาสุดทีม่ งุ มาตรฐาน ความปลอดภัย ฝาย EU ก็ไมมีความจําเปนตองหามสายการบินจากประเทศไทยบินเขายุโรป (๒) ในการตรวจสอบ สายการบินเพื่อออกใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศใหม ประเทศไทยตองใหความสําคัญกับมาตรฐานในเชิง คุณภาพดานความปลอดภัยภายในเวลาเทาที่จําเปนมากกวาการทํางานที่เรงรัดตามตารางเวลาที่ตั้งไวจน สงผลกระทบตอมาตรฐานในเชิงคุณภาพ (๓) กพท.ตองกลาตัดสินใจดําเนินการมาตรการลงโทษผูดําเนินการ เดินอากาศของสายการบินทีม่ คี วามเสีย่ งดานความไมปลอดภัยดวยการพักใชหรือระงับใบอนุญาตอยางเด็ดขาด และจริงจังโดยเร็วที่สุด นอกจากนี้ กพท.ควรแจงการดําเนินการตามมาตรการลงโทษทุกกรณีใหฝาย EU, FAA และ ICAO ไดรับทราบ เพื่อเปนเครดิตในการรักษามาตรฐานความปลอดภัยของประเทศไทย (๔) ตามที่


๖๒ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ฝายไทยขอใหขอตัดสินใจของ FAA ในวันประกาศผลไมสงผลกระทบตอการตัดสินใจของ EU เพราะ FAA ยังไมมี โอกาสรับทราบขอมูลแผนแมบทลาสุด (New Master Plan) นั้น ฝาย EU ยืนยันวา จะเปนเชนนั้น เพราะ DG MOVE จะพิจารณาตามเนื้อผาและฟงความเห็นจากประเทศสมาชิกทั้ง ๒๘ ประเทศ เทานั้น (๕) DG MOVE เห็นชอบและพอใจในมาตรฐานความปลอดภัยของบริษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) ตามผลการตรวจประเมิน ของ EASA อนึง่ ภายหลังการประชุม นาย Peter Bombay ไดเชิญคณะผูแ ทนไทยเขาชีแ้ จงตอทีป่ ระชุม Air Safety Committee: ASC ในวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ มีผลสรุปไดวา หลังจากผูแทนไทยไดชี้แจงแลว ที่ประชุม ไมมีประเด็นซักถามที่แสดงความกังวลหรือหวงใยใด ๆ และนาย Peter Bombay ประธานการประชุม ขอรับการ ยืนยันวา ไมวา ผลการพิจารณาจะออกมาอยางไร ฝายไทยจะใหความรวมมือแลกเปลีย่ นขอมูลกับ EU อยางสม่าํ เสมอ ซึ่งฝายไทยไดใหการยืนยัน ทั้งนี้ภายหลังการชี้แจง นาย Peter Bombay แจงวา จะมีการรับรองและประกาศ ผลการประชุม ASC ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ มีขอสังเกตวา ฝาย EU สนับสนุนแผนแมบทลาสุด (New Master Plan) เพราะจะมุงไปสูมาตรฐาน ความปลอดภัยของ EU และใชองคกรของ EU (EASA และ Civil Aviation Authority International: CAAi) เปนหุนสวนดําเนินการและไทยเปนศูนยกลางการบินในอาเซียน EU จึงมีผลประโยชนรวมในการผลักดันใหไทย ประสบผลสําเร็จในการปรับ กพท.ใหไดมาตรฐานของ EU เพือ่ ใหมบี ทบาทขับเคลือ่ นอาเซียนไปสูม าตรฐานเดียวกัน ภายใตโครงการ ASEAN Air Transport Integration Project: AATIP


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๖๓

แมวาประเทศไทยจะถูกปกธงแดงจาก ICAO เมื่อ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๘ ที่ไดมาทําการตรวจสอบใน เรือ่ งทีเ่ กีย่ วของกับการกํากับดูแลความปลอดภัยดานการบินทุกดาน และถูกลดระดับ (Downgrade) การกํากับ ดูแลดานความปลอดภัยทางดานการบินจาก FAA เปนระดับ ๒ (Category 2) ที่เนนการออกใบอนุญาตนักบิน การกํากับดูแลการปฏิบัติการบิน และความสมควรเดินอากาศ เมื่อ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ทําใหมีผลกระทบ ในทางลบตอธุรกิจการบินของประเทศไทยเปนอยางมาก เชน สายการบินของประเทศไทยทีบ่ นิ ไปประเทศตาง ๆ จะมีขอจํากัดมากขึ้น จะตองถูกตรวจสอบจากหนวยงานของประเทศที่ทําการบินไปลงอยางละเอียด แมกระทั่ง ถูกหามทํา Codeshare กับสายการบินของบางประเทศอยางสหรัฐอเมริกา เปนตน แตเมือ่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ ประเทศไทยก็ยังมีขาวดีที่ EASA ไดประกาศทาง Web Site วา ไมมีประเทศไทยอยูใน Ban List นั่นหมายความวา สายการบินของประเทศไทย ยังคงสามารถบินเขาไปใน EU ไดตามปกติ กอปรกับบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ก็ยังไดรับ TCO เมื่อ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ เพื่อบินเขาไปลงในประเทศที่เปนสมาชิกของ EASA ทั้ง ๒๘ ประเทศไดอีกดวย หนวยทีเ่ กีย่ วของหลังจากการประกาศของ EASA โดยเฉพาะ ศบปพ.ทีจ่ ะตองดําเนินตอไปก็คอื ยุทธศาสตร ตาง ๆ ที่ไดไปตกลงกับทาง EASA ไว จึงตองรวมกับ กพท.พิจารณากําหนดมาตรการ กลาวคือ เรงรัดในการ ผลักดันใหผูที่ไดรับใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศทุกรายของสายการบินทั้ง ๔๑ สาย ใหเขามาตรวจสอบ กระบวนการ เพื่อออกใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศฉบับใหมใหเปนไปตามเปาหมายที่วางไว โดยใหมี มาตรการลงโทษทางปกครองเกี่ยวกับใบอนุญาต เชน พักใชหรือระงับใบอนุญาต สําหรับสายการบินที่ไมให ความรวมมือหรือมีความเสี่ยงสูง ดานความไมปลอดภัยภายในระยะเวลาที่เหมาะสมและไมเกิดความเสียหาย ตอการแกไขปญหาในภาพรวมของประเทศ ทั้งนี้ กพท.จะตองไมออกใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศฉบับใหม เพิม่ เติมจนกวาจะสามารถแกไขขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญตอความปลอดภัย (Significant Safety Concern: SSC) ไดโดยเร็วที่สุดดวย บทสงทาย การมาตรวจของ ICAO, FAA และ EASA ที่ประเทศไทยในหวงเวลาที่ผานมานั้น เปนการมาตรวจสอบ หนวยทีม่ หี นาทีก่ าํ กับดูแลความปลอดภัยดานการบินวามีประสิทธิภาพหรือไม หนวยนัน้ ก็คอื กพท.ซึง่ ถือวาเปน รากฐานสําคัญ (root cause) สําหรับการกํากับดูแลการปฏิบตั กิ ารบินทีต่ อ งมีความปลอดภัย หากขาดการกํากับ ดูแลที่ถูกตองและเหมาะสมแลว จะถือวาเปนภัยคุกคามในการปฏิบัติการบินพลเรือนระหวางประเทศทั่วโลก วิธีแกปญหานี้จริง ๆ แลวอยูที่ประเทศไทยตองรีบยกระดับมาตรฐานการบินพลเรือนใหเปนที่พอใจของ ICAO เพื่อใหถอนธงแดงที่เคยประกาศใหไว หาก ICAO เห็นวาการแกไขมาตรฐานการบินพลเรือนที่เรากําลังเรง ยกระดับใหเทียบเทาสากลได ก็เชือ่ วาจะชวยสงผลให FAA รับรองมาตรฐานความปลอดภัยดานการบินพลเรือน แหงประเทศไทยเชนกัน และจะเปนผลดีตอการปฏิบัติงานรวมกับ EASA ในอนาคต ที่สําคัญอีกประการหนึ่ง ในการยกระดับมาตรฐานการบินพลเรือน คือ หนวยงานระดับสูงของรัฐบาลไทย โดยเฉพาะกระทรวงคมนาคม จะตองผลักดันการดําเนินการและชวยกันแกไขปญหาในครั้งนี้ดวยกัน """


เวลาการตูน

มิสกรีน

BLONDIE

ภาพ ๑ - แมครับ ชวยเช็คใหหนอยวาผมลืมหนังสือคณิตศาสตรไวในหองผมรึเปลา ? ภาพ ๒ - รอเดี๋ยวนะลูก แมกําลังขึ้นไปขางบน ภาพ ๓ - มันจะใชเวลานานกวาเดี๋ยวนะ อเล็กซานเดอร ! Could you check ........... ?

- เปนประโยคขอรอง (request) แบบสุภาพที่ขอใหคนอื่นทําอะไรใหเรา อาจจะใช Would you check ............. ? หรือ Would you mind checking ............... ? ก็ได Give me a minute. - แปลตรงตัว คือ ใหเวลาฉัน ๑ นาที ซึ่งความหมายคือ รอเดี๋ยวหรือสักครู อาจใช Just a minute. หรือ Just a moment. ก็ได to be on one's way - เปนสํานวน (idm) แปลวา ไป, มา (going or coming) Ex. John is on his way to ChiangMai. (จอหนกําลังเดินทางไปเชียงใหม) และ The package should be on its way to you. (หอพัสดุควรจะ กําลังมาถึงคุณ) to take time - แปลวา กินเวลาหรือใชเวลาที่จะทําสิ่งหนึ่งหรือที่สิ่งหนึ่งจะเกิดขึ้น Ex. It takes him one hour to work out in the gym. (เขาใชเวลา ๑ ชม. ออกกําลังที่โรงยิม) (คุณแมบอกวาตองใชเวลานานกวาเดี๋ยวเดียว เพราะหองลูกชายรกรุงรังมาก ! His room is a mess. หรือ His room is messy.)


ขาวทหารอากาศ ๖๕

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

THE BORN LOSER

ภาพ ๑ - ดังนั้น ผมบอกเขาวา ................ - หาว ภาพ ๒ - บทสนทนาของผมทําใหคุณเบื่อหรือไง ? ภาพ ๓ - ใหผมพูดอยางนี้ก็แลวกัน ถาคุณกําลังออกทีวีอยู ผมก็จะรีบหารีโมทเลยอะ ! to yawn to bore

- ออกเสียงวา "ยอน" แปลวา หาว - ทําใหเบื่อ Ex. The show bored the audience. (การแสดงทําใหคนดูเบื่อ) กริยาตัวนี้ใชในรูปคุณศัพท (adj.) ไดและใหความหมายเดียวกัน (bored, boring) Ex. The audience were bored with the show. (คนดูเบื่อการแสดงนั้น) และ The show was boring. (การแสดงนั้นนาเบื่อ) to put + sth. + adv. - แสดงออกหรืออธิบายเฉพาะเหตุการณ (to express or state sth. in a particular way) Ex. He was too trusting or to put it another way, he had no head for business. (เขาซื่อสัตยเกินไป หรือพูดอีกแบบคือ เขาไมมีหัวธุรกิจนะ) If you were on TV, I'd (would) be reaching for the remote ! - เปนประโยค if clause แบบ present unreal (ไมเปนจริงในปจจุบัน) กริยาใชรูป past simple ทั้งสอง clause ÙÙÙÙÙÙÙ


ตอน วีรบุรุษทัพฟา ร.อ.บุญนํา สังขภูติ (น.อ.สุรพล ไกรฤทธิราญ) เมื่อวันพุธที่ 21 กันยายน พ.ศ.2519 พล.อ.ต. ชุมพล พลางกูร และ น.อ.ประเสริฐ สัชฌุกร ไดมีโอกาส เขาพบวีรบุรุษทัพฟาทานหนึ่งที่ฝากผลงานการรบเอาไวมากมาย ไดใหสัมภาษณโดยเลาเรื่องใหฟงกอนแลว จึงตอบขอซักถาม ในการสัมภาษณครัง้ นีไ้ ดมกี ารบันทึกดวยเครือ่ งบันทึกเสียงเอาไวดว ย ซึง่ ก็ไมพน ความสามารถ ของ ร.อ.ดอน นาดี หรือ ครูดอนเจาเกา ที่ไปเสาะหามาจากแฟมการยุทธทางอากาศมาถายทอดใหนักบิน ลูกศิษย ในฝูงไดรบั ทราบถึงวีรกรรมของบุพการีทางการบิน เพือ่ กระตุน จิตสํานึกในการเปน “นักบิน” ของกองทัพอากาศ ขณะนี้ ครูดอน พรอมแลวที่จะนําทานไปสูอดีตของวีรบุรุษทัพฟา ทานผูนี้คือ น.อ.สุรพล ไกรฤทธิราญ เดิมทานชื่อ บุญนํา สังขภูติ ทานเปนเรืออากาศเอกเมื่ออายุเพียง 23 ป ซึ่งเมื่อเทียบกับสมัยนี้ นับวายังเด็กมาก สมัยใหมนี้กวาจะจบจากโรงเรียนออกมาเปนนายทหารและเปนนักบินดวยยศเรืออากาศตรี อายุก็ตกไป 25 ปแลว


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๖๗

กอนเกิดกรณีพิพาทอินโดจีน ทานสังกัด กองบิน 2 แลวยายมาอยู กองบิน 4 สมัยนั้นทั้ง 2 กองบินนี้ อยูที่โคกกะเทียมดวยกัน กองบิน 2 บรรจุเครื่องบินแบบคอรแซร สวนกองบิน 4 เปนเครื่องบินแบบฮอวค 3 กองบิน 2 มี น.ท.หลวงปลื้มประหารหาว เปน ผบ.กองบิน และสมัยตอมาไดเปลี่ยนมาเปน น.ท.หลวงลาฟาเริงรณ กองบิน 4 มี น.ท.ขุนสวัสดิทิฆัมพร เปน ผบ.กองบิน มีฝูงบิน 3 ฝูง ฝูงที่ 1 บรรจุเครื่องบินแบบ ฮอวค 2 มี น.ต.ม.ล.ประวาศ ชุมสาย เปน ผบ.ฝูง อีก 2 ฝูง คือ ฝูง 2 มี ร.ท.เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร เปน ผบ.ฝูง ใชเครื่องบินแบบฮอวค 3 และ ฝูง 3 มี ร.อ.บุญนํา สังขภูติ เปน ผบ.ฝูง ใชเครื่องบินฮอวค 3 เชนกัน เครื่องบิน แบบฮอวค 3 หรือเครื่องบินแบบ 17 สมัยนั้นถือวาเปนเครื่องบินที่มีสมรรถนะดีมาก เมื่อทานปฏิบัติราชการ ได 1 ป ก็เกิดกรณีพิพาทอินโดจีนขึ้น ทางการมีคําสั่งให ฝูง 2 ไปประจําที่สนามบินจังหวัดปราจีนบุรี ฝูง 3 ไปประจําที่สนามบินจันทบุรี โดยมี น.ต.ม.ล.ประวาศ ชุมสาย เปน ผบ.ฝูงขับไลที่ 72 และ ร.อ.บุญนํา สังขภูติ เปน รอง ผบ.ฝูง ที่ตั้งคือ สนามบินเนินพลอยแหวน จังหวัดจันทบุรี และมีฝูงบินตรวจการณ ซึ่งมี ร.อ.ถนอม ปณฑแพทย เปน ผบ.ฝูง ก็ไดประจําอยูที่แหงนี้ดวย การเดินทางเขาที่ตั้งสนาม เดินทางไดสองทาง คือ ทางบกและทางอากาศ ทางบกนั้น น.ต.ม.ล.ประวาศ ฯ ผบ.ฝูง คุมไปเองลวงหนาไปกอน โดยเดินทางดวยรถยนตไปกรุงเทพฯ แลวลงเรือไปตอ สวนเครื่องบินนั้นไป ทางอากาศ พอถึงกําหนด ร.อ.บุญนํา ฯ ไดนําฝูงบินขับไลเครื่องบินแบบฮอวค 3 จํานวน 9 เครื่อง ออกเดินทาง จากโคกกะเทียมจะไปลงสนามบินจันทบุรี แตดวยผูบังคับบัญชาสงสารเห็นอกเห็นใจ จึงใหคางคืนที่ปราจีนบุรี คืนหรือสองคืน แลวเดินทางตอไปจันทบุรี ทานบอกวาเปนครั้งแรกในชีวิตที่เดินทางมาภูมิภาคนี้ ทานเลาวาในสมัยนั้น การฝกศึกษาอะไรยังไมเจริญ ไมไดมีการฝกศึกษาอะไรกันมากนัก ผูบังคับบัญชา ก็ไมคอยชี้แจง หรือบรรยายสรุปอะไรใหฟง กองทัพอากาศยังเพิ่งเริ่มตั้ง เรามีเวลาสั้น ๆ จัดอยูในพวกแรกเริ่ม อะไร ๆ จึงยังไมพรอม เพิ่งสําเร็จมาได 2 ป ไมไดรับการอบรมในวิชาการอะไรมาก ไมมีโรงเรียน ไมมีหลักสูตร การศึกษา คนหัวในมีไมกคี่ น คนหัวนอกหลายคน แตกย็ งั ปรึกษาหารือกันอยูว า จะจัดการศึกษาในกองทัพอากาศ อยางไรบาง ยังไมไดลงมือทําอะไรก็เกิดสงคราม จึงไมไดรบั การฝกวางรากฐานการอบรมอะไร พอมีคาํ สัง่ ใหออกสนาม ก็พากันตื่นเตนยินดี โดยใจจริงแลวทุกคนพรอมที่จะเสียสละ แตอุปกรณอะไร ๆ ตาง ๆ มันยังไมมี ยังไมพรอม ไมไดเจตนาจะลวงเกินผูบังคับบัญชาสมัยนั้นเลย สนามบินโคกกะเทียมสมัยนั้น ก็เปนสนามบินลูกรัง ไมคอยเรียบรอย เครื่องชวยเดินอากาศไมทันสมัย หอบังคับการบินก็ไมมอี ะไร เรามีไดแคนนั้ เมือ่ จะบินก็ตดิ เครือ่ งยนต เรงเครือ่ งยนตใหไดที่ พอผูบ ังคับบัญชา ใหสัญญาณก็ออกไปเทานั้นเอง เจาหนาที่พื้นดินฝายตาง ๆ เชน ชางอากาศ สรรพาวุธ ใหความรวมมือดี แมจะ มีจํานวนจํากัด แตเราก็ปฏิบัติงานกันได มีความสามารถพอตัว เมื่อตอนจะไปจากที่ตั้งปกติ ทุกคนก็มุงแตจะเอาลูกระเบิด 50 กก.ไปกันทั้งนั้น ที่ไมอยากเอาขนาด 250 กก.ไป เพราะมันหนัก ใหญโต ตองใชเครือ่ งทุน แรง คือ ตองเอาแมแรงขนาดใหญไปดวย เจาหนาทีส่ รรพาวุธ ทวงวามันเกะกะ แตก็พยายามเอาไปกันจนได


๖๘ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

เมื่อเครื่องบินไปถึงสนามบินเนินพลอยแหวน ก็ไดอาศัยศาลาเกาสนามบินเปนที่พักสําหรับนายทหาร สัญญาบัตร สวนนายทหารประทวนตองสรางโรงพักอยูดานหลังชั่วคราว เปนโรงไมเสาไมไผหลังคามุงจาก สวนเครื่องบินก็คงจอดตากแดดตากฝนอยูริมสนามบินอยางนั้น ฝูงตรวจการณในความควบคุมของ ร.อ.ถนอม ปณฑแพทย ไปอยูกอนแลว เปนอันวาสนามบิน เนินพลอยแหวน จังหวัดจันทบุรี ก็มีเครื่องบินขับไลแบบ 17 (ฮอวค 3) จํานวน 9 เครื่อง เครื่องบินตรวจการณ แบบ 23 (คอรแซร) จํานวน 9 เครื่อง และมีเครื่องบินสื่อสารแบบเวิสรดวิน อีก 1 เครื่อง ผบ.ฝูงบินขับไลเปน ผูบังคับบัญชา ทั้งหมดไปประจําอยูที่สนามบินจันทบุรี นานเทาไรก็จําไมได จึงเกิดเรื่องการรบที่เกาะชางขึ้น ในการที่ไปประจําอยูที่จังหวัดจันทบุรีนั้น การติดตอกับสวนราชการอื่นมีดังนี้ การติดตอสื่อสาร หนวยสื่อสารของกองทัพอากาศไดไปอยูที่นั่นดวย บนเครื่องบินไมมีเครื่องมือสื่อสาร จึงติดตอกันไมไดระหวางเครื่องบินตอเครื่องบิน และเครื่องบินกับพื้นดิน การสงสัญญาณกันระหวางเครื่องบิน ก็ใชทัศนสัญญาณ เชน โคลงปก ชูกํามือ เรื่องการติดตอสื่อสารนี้ คนทั่วไปที่ไมรูขอเท็จจริงจึงเขาใจผิดกันมาก และหนวยสื่อสารอื่น ๆ ที่จะมาติดตอไมมี สําหรับกองทัพเรือนั้น ไดติดตอให ร.อ.บุญนํา ฯ ไปพบกับ พล.ร.ต.หลวงนาวาวิจิตร เสนาธิการ ดวยตนเอง หลังพูดจาทานไดสงใหไปพบกับผูชวยของทานหลายคนจนคุนเคยกัน กองทัพอากาศนั้น เหมือนแมตัว กองทัพเรือนั้นเหมือนแมเลี้ยง มีแมสองคนไดติดตอใกลชิดโดยทางวิทยุ ทานไปเยี่ยมกองเรืออยูนาน ประมาณ 1 ชั่วโมง ไดขอยืมหนังสือ Jane’s Fighting Ships ป 1939 - 1940 มา 3 เลม เพราะรูจักคุนเคยกับ หนังสือนี้มากอน เห็นวามีประโยชนมาก มีรายละเอียดของเรือรบทั่วโลก หวังวาจะยืมเอาไปใหพวกนักบิน ในฝูงอาน เพื่อศึกษากองทัพเรือที่เนนเรื่องเรือรบลามอตตปเกตใหทราบกอน จึงไดนํามาศึกษากัน เก็บเอาไว ดูที่ บก.1 เลม อีก 2 เลม สงใหนักบินประทวนศึกษากัน ถาหากจะมีคําถามวา ตัวทานเองเปนผูมีความรูและ มีหนาที่ปกครองบังคับบัญชา ทําไมไมอบรมนักบินในฝูง ขอตอบวาไมมีเวลาเลย มีงานอื่น ๆ ที่จะตองทําเปน ประจําทุกวันมากมาย สําหรับตัวเองนั้นรูจักเรื่องราวของเรือรบลามอตตปเกตดีจากหนังสือ แตไมทราบแนวา เรือลํานี้ไปประจําอยูที่ตําบลไหน เรือรบฝรั่งเศสกับเรือรบไทยนั้นมีที่สังเกตเห็นไดชัด คือ เรือรบของฝรั่งเศส นั้นมีสีเทาออน สวนเรือรบของไทยนั้นสีเทาแก สีตางกันมากเห็นไดชัด รูปรางก็ตางกัน เรือรบของไทยรูปราง ปอม ๆ สั้น ๆ ปนใหญยาวมาก สวนของฝรั่งเศสรูปรางผอมเรียว ปนใหญมีขนาดเล็กแตยาวกวา จึงแตกตางกัน อยางเห็นไดชัด การปฏิบัติการของฝูงนี้ กิจวัตรประจําวันก็คือ ตอนเชา น.ต.ม.ล.ประวาศ ฯ สั่งการใหบิน ลาดตระเวนบินเลาะชายฝง ชะเงอมองเห็นเกาะกงอยูรําไร ๆ แลวบินเลี้ยวกลับเพราะบินล้ําแดนเขาไปไมได บินวนไปทางทะเลดานกวางออกไปลึก บินไดประมาณชั่วโมงครึ่งก็บินกลับ เข็มวัดบนแผงหนาปดเชื่อถือไมได จึงอาศัยดูเวลาจากนาิกาขอมือของนักบินเอง คะเนดวยสายตาวาหางจากฝงสักเทาไร อาศัยประสบการณและ ไหวพริบ แตละครั้งก็บินไปลาดตระเวนกัน 1 หมู 3 เครือ่ ง บินลาดตระเวนกันครัง้ สองครัง้ สวนฝูงบินตรวจการณ ที่ประจําอยูดวยกันนั้นเขามีหนาที่โดยตรง ไดออกบินตรวจการณลาดตระเวนตามภารกิจ จึงคงปฏิบัติมากกวา ฝูงบินขับไล


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๖๙

สําหรับฝูงบินขับไลไดฝกหัดบินทิ้งระเบิดทางดิ่ง เหนือสนามบินประมาณ 4 - 5 ครั้ง โดย ร.อ.บุญนํา ฯ เปนผูฝกเอง ใชวิธีพลิกตัวทางขาง ไมมีเวลาไดเตรียมการลวงหนา ตางคนตางฝกโดยใชคําพูดวา “เชนเคย” คําวา “เชนเคย” นั้นคือ ไมมีเปาหมาย จุดประสงคทิ้งระเบิดก็ฝกไปไมไดตั้งเปาหมายวานี่เปนการฝกเพื่อโจมตี เรือรบ ผูบงั คับฝูงก็ไมไดกาํ หนดสั่งสอนอยางไร รูแตวาถาจะเขาโจมตีทิ้งระเบิดเรือรบ ไมเขาทางขวาง ใหเขา ทางยาว ไมมีเวลาอบรมผูใตบังคับบัญชาวาใหซื่อสัตยตอภารกิจ เพราะตางก็เปนเด็กดวยกันทั้งนั้น Â การโจมตีเรือขาศึกครั้งแรก เหตุเกิดทีบ่ า นอบยาม เมือ่ 1 ธ.ค.83 ไดทราบขาวจากฝูงตรวจการณวา มีเรือรบขนาดเล็กมายกพลขึน้ บก ที่บานอบยาม ผบ.ฝูง ไดสั่งให ร.อ.บุญนํา ฯ นําหมูเครื่องบิน 3 เครื่อง ลูกหมูมี จ.อ.มาลา วีรพันธ และ จ.อ.อุทัย สังขเนตร ไปทําการโจมตี กอนขึ้นบินไดเรียกลูกหมูมานัดหมายกัน ตกลงกันวา ถาชูกําปนขึ้น หมายความวา ใหลงดําทิ้งระเบิด ขณะนั้นเวลาประมาณ 1200 กําลังรับประทานอาหารกลางวันอยูกับ ผบ.ฝูง น.ต.ม.ล.ประวาศ ฯ และ ร.ท.ประสงค คุณะดิลก จึงทิ้งอาหารกลางวันออกไปปฏิบัติการ เมื่อบินขึ้นไปเกาะหมูกันไดแลว ก็บินตรง ไปไมไกล ประมาณ 20 นาทีก็ถึง บินไตขึ้นสูง วนซายดูเหตุการณและเรือรบขาศึก เสียดายที่พูดกับลูกหมูไมได ไดแตมองหนากัน เมื่อบินสูงพอสมควรก็ใหสัญญาณบินระดับ แลวชูกําปนสงสัญญาณใหลงโจมตี แลวตนเอง ก็พลิกตัวลงดําทิ้งระเบิด ไดติดลูกขนาด 50 กก. จํานวน 5 ลูก ตั้งใจวาจะทิ้งทันทีทั้ง 4 ลูก แตเปลี่ยนใจเปน ปลอยลูกระเบิดที่ปลายปก 2 ลูก ขางละลูกลงไปกอน พอปลดระเบิดแลวไดมองเห็นน้ํากระจาย ลูกระเบิดตก ขางซายและขวาของเรือพอดีมองเห็นไดชดั เดิมเรือขาศึกแลนอยูแ ลวแตคงไมเร็ว เพราะสายน้าํ ทายเรือยังไมแรง พอลูกระเบิดตกขาง ๆ เห็นสายน้ําและฝอยน้ําทายเรือเปนทางขาว แสดงวาเรือขาศึกไดเรงเครื่องแลนอยางเร็ว ไดแลนวกออกมานอกอาว ตอจากนัน้ เปนโอกาสของลูกหมูท งั้ สอง แตลกู หมูท งั้ สองก็ยงั ไมดาํ ลงทิง้ ระเบิด จึงบิน ตัดหนา จ.อ.มาลา ฯ แลวพลิกตัวลงทิ้งอีก 2 ลูก ตอนนั้นเครื่องบินจี้ลงต่ํามาก จึงไดเห็นลูกระเบิดของลูกหมู ทัง้ สอง ตกหางเรือประมาณ 2 - 3 ครัง้ เพราะเรือขาศึกวิง่ เร็วและวิง่ ทแยงไปมาซิกแซกหลบการโจมตีทางอากาศ ไดบินขึ้นไปรออยูขางบน เมฆมีมากพอลูกหมูไตขึ้นมาพบก็เกาะหมูกันกลับสนามบิน กลับมาถึงก็รายงานให ผูบังคับบัญชาทราบผลการปฏิบัติภารกิจ รุงขึ้นจึงไดทราบเรื่องราวทางพื้นดิน 16 ม.ค. 84 กองทัพเรือแจงมาวา เห็นเครื่องบินสีขาวเหนือเกาะจาน จึงให ร.ท.ประสงค ฯ ขึ้นไปสกัด การปฏิบัติขอใหสอบถามจาก ร.ท.ประสงค ฯ 17 ม.ค. 84 ทางฝูงบินไดรับโทรศัพทจากนายทหารเรือชื่อ เย็น ฯ โทรศัพททางไกลมาแตเชา ร.ท.เจียม ปาละกะวงศ นายทหารสรรพาวุธฝูงบิน ซึ่งเปนนายทหารเวรไดมาปลุก บอกวามีเสียงปนใหญ เขาใจวาเปน เสียงปนเรือ ร.อ.บุญนํา ฯ ซึง่ ตืน่ อยูแ ลว เพราะเสียงเครือ่ งยนตดงั แตเชาทุกเชา เนือ่ งจากตองมีเครือ่ งบินเตรียมพรอม เปนเครื่องบินแบบฮอวค 3 เครื่อง และเครื่องบินแบบคอรแซร 3 เครื่อง ชางติดเครื่องยนตตั้งแตตี 4 กวา ๆ เสียงเครื่องยนตจึงปลุกกันโดยอัตโนมัติ สวนลูกระเบิดยังไมไดติด ถาติดคาไวจะทําใหขาโอลีโอรับน้ําหนัก มากไป และอีกประการหนึ่งน้ําหนักของลูกระเบิดจะทําใหปกเครื่องบินลูลง เมื่อจะออกปฏิบัติการก็สามารถ ติดลูกระเบิดไดทนั ที สวนขนาด 250 กก. ตองใชเวลาใหเครือ่ งบินของเราเตรียมพรอมเชนนี้ จึงพรอมทีจ่ ะออกปฏิบตั กิ าร ไดทันที


เครื่องบินขับไลแบบที่ 17 (ฮอวค 3)

วันนั้น ผบ.ฝูง น.ต.ม.ล.ประวาศ ฯ ไปราชการกรุงเทพฯ ร.อ.บุญนํา ฯ จึงทําการแทน เมื่อทางเรา ไดขาวก็เรียกประชุม รีบสงวิทยุดวนรายงานใหกองทัพอากาศและกองทัพเรือทราบ และวิทยุถึงแมทัพอากาศ พล.อ.ต.หลวงอธึกเทวเดช รายงานใหทราบพรอมทั้งขออนุมัติไปทําการโจมตี แมทัพอากาศตอบทันควัน อนุมัติ ใหโจมตีไดถาจําเปน ตอนนั้นเปนเวลาตี 5 กวาเกือบตี 6 แลว ยังไดยินเสียงเพลงตื่นเถิดชาวไทยจากวิทยุ จึงไดสั่งให ร.ท.ประสงค ฯ นําหมูไปโดยใหติดลูกระเบิดขนาด 50 กก. เพราะจะเรงรีบไป เมื่อรายงานทางกองทัพอากาศแลว ก็ไดรายงานวิทยุให หลวงนาวาวิจิตร แมทัพเรือทราบทันที หมูบินของ ร.ท.ประสงค ฯ บินขึ้นเมื่อเวลา 0705 น. ขณะนั้นยังไดยินเสียงปนเรืออยู เมื่อหมูบินแรก ไปแลว ก็สั่งชางสรรพาวุธติดลูกระเบิด 250 กก. ใหกับเครื่องของตน และลูกหมูอีก 2 คน คือ จ.อ.ทองหลอ ฯ และ จ.อ.บุญชวย ฯ เตรียมพรอมไว ร.ท.ประสงค ฯ บินไปประมาณชั่วโมงครึ่งก็กลับมารายงานวาไดทิ้งระเบิดแลว โดย ร.อ.บุญนํา ฯ กับลูกหมูก็บินขึ้นไป ขณะนั้น ร.อ.ทวนชัย โกลิลานนท นายทหารบกเดินทางมาธุระจากจังหวัดปราจีนบุรี เมื่อมาพบเหตุการณนั้น และไดฟงเหตุการณอยูดวย ร.อ.นักรบ บิณษรี บินมาอยางไรไมทราบ มาพอดี จึงไดบอก ร.อ.นักรบ ฯ วา “เปน เจานายแทน ดูแลดวย อั๊วจะไป” เมื่อบินขึ้นไปคอยการเกาะหมูอยู จ.อ.บุญชวย ฯ บินขึ้นไปแลวเกิดอะไรไมทราบ กลับบินลงไป คงมี จ.อ.ทองหลอ ฯ บินเกาะหมูกันไป 2 เครื่อง จนถึงเกาะชาง บินวนกันรอบใหญ ๆ จ.อ.ทองหลอ ฯ หายไป คงเหลืออยูเครื่องเดียว เมื่อกลับไปจึงพบ จ.อ.ทองหลอ ฯ ยืนอยูที่สนามบินแลว ลูกระเบิดก็ยังติดอยู ขณะบินวนเห็นเรือของเราลําหนึ่งควันขึ้นโขมง ก็รูวา ร.ล.ธนบุรี โดนเขาแลว ไดบินวนจนถึงเกาะกูด พบเรือ ตอรปโดลําหนึ่งจอดอยู ไมมีอะไรบุบสลายเลย (ทราบภายหลังวาเปน ร.ล.ระยอง) จึงไดบินยอนกลับมาที่เรือ ที่ควันขึ้นโขมง ไดบินโฉบลงไปต่ํามาก จนเห็นเรือชื่อ ร.ล.ธนบุรี และเห็น ร.ล.ชาง กําลังแลนอยูใกล ๆ ไดบินโฉบ อยู 3 - 4 เที่ยวในระยะต่ํามาก ไดเห็นความเสียหายของ ร.ล.ธนบุรี ก็นึกเศราใจมาก จึงไดบินกลับโดยไมได ทิ้งลูกระเบิดเลย ลูกระเบิดก็ยังติดมากับเครื่องบิน กลับมาถึงก็รายงานใหหลวงอธึกเทวเดช แมทัพอากาศทราบ และคืนนั้นหลวงอธึก ฯ สงเงินมา 200 บาท ใหเลี้ยงกัน 18 ม.ค.84 ผบ.ฝูง กลับมาโดยดวน กําลังกินขาวเชาดวยกัน มีขนมปง ทหารวิ่งเอาวิทยุหลวงนาวาวิจิตร ฯ มาแจงวา เรือรบลามอตตปเกต มาที่แหลมสิงห น.ต.ม.ล.ประวาศ ฯ จึงสั่งวา “บุญนําไป” จึงไดทิ้งจานขนมปง นําเครื่องบินออกไปเครื่องเดียว กอนถึงแหลมสิงหพบ ร.ล.ศรีอยุธยา กับหมูเรืออีก 4 ลํา จึงบินผานไปออกทะเลลึก บินอยูรวมชั่วโมงน้ํามันจะหมดจึงบินกลับมารายงานวา ไมมีเรือขาศึก มีแต ร.ล.ศรีอยุธยา กับหมูเรืออีก 4 ลํา ตอมาทางกองทัพเรือไดโทรเลขมาบอกวา “ขอโทษใหขาวผิดไป” นี่เปนบทบาทตอนหนึ่งของ ร.อ.บุญนํา สังขภูติ หรือ น.อ.สุรพล ไกรฤทธิราญ ในขณะที่ทานออกจาก ราชการ รองผูบังคับฝูงบินขับไลที่ 72 ในสงครามกรณีพิพาทอินโดจีน ผูเขียนขอจบเรื่องราวจากการสัมภาษณ เพียงเทานี้ """


การฝกบริหารสถานการณวิกฤติในระดับยุทธศาสตร (Strategic Crisis Management: SCM) ของนักศึกษาหลักสูตรการทัพอากาศ รุนที่ ๔๙ น.ท.สุรศักดิ์ ภูทอง นศ.วทอ.รุนที่ ๔๙ วิทยาลัยการทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ เปนสถาบันการศึกษาวิชาชีพทางทหารชั้นสูงของ กองทัพอากาศ มีหนาที่ ใหการศึกษาและฝกอบรมนายทหารสัญญาบัตรของกองทัพอากาศในระดับยุทธศาสตร ยุทธการ การบริหารจัดการ และการอํานวยการระดับสูง โดยมีผูบัญชาการวิทยาลัยการทัพอากาศเปนผูรับผิดชอบ และมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเขารับการศึกษา มีความพรอมในการเปนผูนําระดับยุทธศาสตรที่มีคุณธรรมและ จริยธรรม เปนฝายอํานวยการที่มีประสิทธิภาพในการเตรียมและใชกําลัง สามารถวางแผนการปฏิบัติการรวม ทางทหารในระดับยุทธศาสตร และตระหนักถึงบทบาทของกองทัพตอความมั่นคงของชาติ หลักสูตรวิทยาลัยการทัพอากาศ ประกอบดวย ๕ หมวดวิชา โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหผเู ขารับการศึกษา สามารถวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอความมั่นคงและบทบาททหารในการปองกันประเทศ ประเมินยุทธศาสตร ดานความมั่นคง รวมทั้งสังเคราะหแนวทางพัฒนายุทธศาสตรทหารไดอยางเปนระบบ หมวดวิชาที่ ๑ ความมั่นคงแหงชาติและยุทธศาสตรดานความมั่นคง เพื่อใหสามารถวิเคราะหปจจัย ทีม่ ผี ลกระทบตอความมัน่ คงของชาติและปจจัยทีม่ ผี ลตอการตกลงใจในการกําหนดยุทธศาสตรชาติ เขาใจในหลักการ กําหนดยุทธศาสตร และสามารถประเมินยุทธศาสตรดานความมั่นคงได หมวดวิชาที่ ๒ การทหาร เพือ่ ใหมคี วามรูค วามเขาใจ เกีย่ วกับทฤษฎีและการปฏิบตั ทิ างทหารในระดับ ยุทธศาสตร สามารถเชือ่ มโยงสูก ารกําหนดยุทธศาสตรทหารในการใชกาํ ลังและการเตรียมกําลัง รวมทัง้ สามารถ ทําหนาที่นายทหารฝายเสนาธิการชวยเหลือผูบังคับบัญชาระดับสูงในการวางแผนใชกําลังรวมกับเหลาทัพอื่น ๆ และ/หรือชาติอื่น ๆ เพื่อแกปญหาวิกฤติชาติได หมวดวิชาที่ ๓ ผูน ําระดับยุทธศาสตร เพือ่ ใหเขาใจและสามารถประยุกตใชความรูเ กีย่ วกับทฤษฎีและ หลักการของผูนําระดับยุทธศาสตร การพัฒนาการใชเครื่องมือของความเปนผูนําในสถานการณตาง ๆ และมี ความพรอมในการเปนผูนําองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ


๗๒ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

หมวดวิชาที่ ๔ เอกสารวิจยั เพือ่ ใหสามารถวิเคราะหเอกสารแลวสังเคราะหองคความรู ใหเกิดประโยชน ในการพัฒนาองคกร/กองทัพ ที่มีความเชื่อถือได หมวดวิชาที่ ๕ กิจกรรมและวิชาเสริมหลักสูตร เพือ่ ใหมคี วามพรอมในการศึกษา พัฒนาความรู ทักษะ เจตคติ ในการปฏิบัติกิจกรรม ที่เปนปฏิสัมพันธระหวางสถาบันการศึกษาตางเหลาทัพ รวมทั้งขยายวิสัยทัศน จากการเยี่ยมชมกิจการและการศึกษาภูมิประเทศจากสถานที่จริง นอกจากการศึกษาในหมวดวิชาการตาง ๆ แลว นักศึกษาจะตองเขารับการฝกบริหารสถานการณวิกฤติ ในระดับยุทธศาสตร (Strategic Crisis Management: SCM) การฝกนี้เปนการบูรณาการความรูที่ไดศึกษา มาแลวตลอดหลักสูตร นํามาประยุกตใชในการแกไขปญหาสถานการณวกิ ฤติของประเทศ โดยนักศึกษาตองจัดลําดับ ความสําคัญของสถานการณวิกฤติที่เกิดขึ้นพรอม ๆ กันหลายสถานการณ และตองจัดทําแผนแบบทางยุทธการ (Operational Design) เพื่อนําไปใชในการแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไดอยางสมบูรณ โดยเฉพาะกระบวนการ Operational Design ที่ประกอบดวย ๔ ขั้นตอน คือ วิเคราะหสภาพสถานการณปจจุบัน (Current System) กําหนดสภาพสถานการณทตี่ อ งการ (Desired System) ระบุปญ  หา (Define the Problem) และพัฒนาแนวทาง ปฏิบัติ (Operational Approach) ซึ่งนักศึกษาตองทําการฝกในลักษณะปดขั้นตอนภายในกลุม ณ ที่ตั้งกอน จนมีความเขาใจและสามารถที่จะนําไปประยุกตใชในการฝกภาคสนามตอไป การฝก SCM ของนักศึกษาวิทยาลัยการทัพอากาศ รุนที่ ๔๙ ไดถูกกําหนดขึ้นระหวางวันที่ ๖ - ๑๑ กันยายน ๒๕๕๘ ณ กองบิน ๑ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งคณะอาจารย นักศึกษา และเจาหนาที่ไดเดินทางเขาสู ที่ตั้งการฝกในวันอาทิตยที่ ๖ กันยายน ๒๕๕๘ เพื่อจัดเตรียมความพรอมของอาคาร สถานที่ และหองสําหรับ การฝกภายในอาคาร Exercise Complex สําหรับการฝกของนักศึกษาไดถูกแบงออกเปน ๖ กลุม ซึ่งแตละกลุม ไดกําหนดชื่อเรียก (Call Sign) คือ กลุมที่ ๑ “One-Derful” กลุมที่ ๒ “Eagle Eye” กลุมที่ ๓ “Tri-Power” กลุมที่ ๔ “Fantastic Four” กลุมที่ ๕ “Phoenix” และกลุมที่ ๖ “Thunder”


วันแรกของการฝก พล.อ.ต.ณัฐพงษ วิริยะคุปต ผบ.วทอ.ยศ.ทอ. (ยศและตําแหนงในขณะนั้น) เปนประธานเปดการฝก บริหารสถานการณวกิ ฤติระดับยุทธศาสตร พรอมใหโอวาทแกผเู ขารับการศึกษาวา “...ขอใหนกั ศึกษาทุกคนตัง้ ใจ และทําการฝกครัง้ นีอ้ ยางจริงจัง ซึง่ เปนการฝกทีม่ ปี ระโยชนและนักศึกษาจะไดนาํ เอาความรูแ ละประสบการณที่ ไดรับไปประยุกตใชกบั การปฏิบตั ิหนาทีข่ องตัวเองในอนาคต...” หลังจากนัน้ เปนการเริ่มตนฝก SCM โดยสมมุติ ใหประเทศน้ําเงิน เกิดสถานการณวิกฤติภายในประเทศและมีความขัดแยงกับประเทศเพื่อนบาน รวมทั้ง นําไปสูการเขามาแทรกแซงของประชาคมโลก ซึ่งกําหนดใหเหตุการณเกิดขึ้นในป ๒๕๖๒ โดยนักศึกษาทุกคน ทําหนาที่เปนฝายอํานวยการระดับสูงของผูบังคับบัญชา รวมทั้งฝกการเปนผูนําและผูตามแลวแตจะถูกกําหนด นักศึกษาตองมีสวนรวมในการวิเคราะหความเรงดวนของสถานการณวิกฤติที่เกิดขึ้นในประเทศน้ําเงิน รวมทั้ง กําหนดแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อเปนขอมูลใหกับผูบังคับบัญชาไดพิจารณาและตัดสินใจในการที่จะใชกําลัง ทางทหารเขาไปแกไขปญหาในสถานการณวิกฤตินั้น ๆ สําหรับการฝกในวันแรก ไดสมมุติเหตุการณใหประเทศ น้ําเงินตองเผชิญกับสถานการณวิกฤติที่เกิดขึ้นพรอม ๆ กัน ๓ สถานการณ สรุปไดดังนี้ สถานการณภัยพิบัติ เกิดแผนดินไหว ขนาด ๖.๕ ริกเตอร ทางตอนเหนือของประเทศน้ําเงิน ทําให บานเรือนของประชาชนไดรับความเสียหายกวา ๑๐๐ หลัง ประชาชนเสียชีวิต ๑๒ คน บาดเจ็บ ๖๐ คน เสนทางคมนาคมถูกตัดขาด ๑๐ แหง และไดมีการประกาศเปนพื้นที่ภัยพิบัติ สถานการณความขัดแยงพื้นที่ทับซอน ทางทะเล ระหวางประเทศแดงกับประเทศน้าํ เงิน ซึ่งสถานการณที่เกิดขึ้นเมื่อเรือประมงประเทศ น้ําเงินถูกเรือรบประเทศแดงยิง ขณะเดียวกันได มีการเผยแพรขาวใน Social Media วารัฐบาล ประเทศน้าํ เงินขับไลแรงงานประเทศแดงกลับประเทศ สงผลใหประเทศแดงปดดานพรมแดน ประชาชน ทั้ง ๒ ประเทศ ประทวงเรียกรองความชอบธรรม กรณีพื้นที่ทับซอนทางทะเล ซึ่งความขัดแยงมี แนวโนมรุนแรงขึน้ มีการเคลือ่ นยายกําลังของทหาร ประเทศแดงเพิ่มเติมบริเวณชายแดน และมีการ ตรวจพบเรือรบประเทศแดง ๒ ลํา ลาดตระเวน


๗๔ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ในบริเวณพื้นที่ทับซอน และอากาศยานของประเทศแดงมีการขึ้นบินตามแนวชายแดน ทําใหทั้งสองประเทศ ตางวางกําลังตามแนวชายแดนพรอมเผชิญเหตุการณ สถานการณใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ของประเทศน้ําเงิน มีการกอความไมสงบดวย Car Bomb โกดังเก็บสินคา มีการลอบวางเพลิงหางสรรพสินคาและรานสะดวกซื้อ มีการซุมทํารายประชาชนชาวพุทธและ มุสลิม ทําใหองคกรดานศาสนาระหวางประเทศประทวงรัฐบาลประเทศน้ําเงิน กรณีชาวมุสลิมหลายคนถูกทําราย จากสถานการณวิกฤติที่เกิดขึ้น นายกรัฐมนตรีประเทศน้ําเงินไดประกาศเจตนารมณ ตองการใหกําลัง ทางทหารเขามามีบทบาทในการแกไขสถานการณวิกฤติดังกลาว โดยตองคํานึงถึงความมั่นคงของประเทศ ตลอดจนชีวิต ทรัพยสิน และความเปนอยูของประชาชน แนวทางการปฏิบัติ กําหนดใหนักศึกษานําเจตนารมณของนายกรัฐมนตรี มาวิเคราะหสภาวะแวดลอม ของแตละสถานการณที่เกิดขึ้นและจัดลําดับความสําคัญเรงดวนของสถานการณ โดยใหแตละกลุมนําความรู ตามหลักวิชาที่ไดเรียนมาตลอดหลักสูตร พรอมนําเสนอขอมูลการวิเคราะหและผลลัพธจากการใชเกณฑ การพิจารณาดานตาง ๆ มาจัดลําดับความเรงดวนทั้ง ๓ สถานการณ

วันที่ ๒ ของการฝก จากสถานการณดานการขาวประกอบการฝก สมมุติใหเหตุการณที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ในชวงระยะเวลา ๖ วันที่ผานมา สรุปไดดังนี้ สถานการณภัยพิบัติ เกิดแผนดินไหวตอเนื่อง (Aftershock) ขนาด ๔ - ๖.๔ ริกเตอร มีความเสียหาย ในพื้นที่หลายจังหวัดของประเทศน้ําเงิน ประชาชนเสียชีวิตและไดรับบาดเจ็บเพิ่มมากขึ้น มีการประกาศพื้นที่ ภัยพิบตั ิในหลายจังหวัดของประเทศน้าํ เงิน มีการประทวงและจลาจล ระบบสาธารณูปโภคถูกทําลาย ประชาชน ขาดแคลนอาหาร ทีพ่ กั น้าํ ดืม่ น้าํ ใช แสงสวาง รวมทัง้ ประเทศไมคซึ่งเปนประเทศเพื่อนบาน ก็ไดรบั ความเสียหาย จากแผนดินไหวและขอรับความชวยเหลือจากประเทศน้ําเงิน สถานการณความขัดแยงพื้นที่ทับซอนทางทะเล สถานการณมีแนวโนมที่จะรุนแรงยิ่งขึ้น เมื่อประเทศแดง ไดวางกําลังตามแนวชายแดนเพิม่ มีการลาดตระเวนทัง้ ทางทะเลและทางอากาศ มีการรุกล้าํ ดินแดนประเทศน้าํ เงิน รวมทัง้ ไดประกาศปดพรมแดน ๙ แหง และสือ่ มวลชนรายงานขาววารัฐบาลประเทศแดงไดยนื่ หนังสือถึงศาลโลก กรณีปญหาพื้นที่ทับซอนทางทะเล


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๗๕

สถานการณใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต มีการกอวินาศกรรมในหลายพื้นที่ เศรษฐกิจเริ่มฝดเคือง ทําใหประชาชนบางสวนอพยพไปจังหวัดใกลเคียงเพื่อความปลอดภัย ขณะเดียวกันชาวมุสลิมภาคใตเรียกรอง ใหประเทศมาเล็ค ซึ่งเปนประเทศเพื่อนบานเขามาชวยแกไขปญหาที่เกิดขึ้น และการที่รัฐบาลประเทศน้ําเงิน สงตัวชาวอุยกูรและโรฮีนจา ที่ลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมายกลับประเทศ ทําใหถูกกดดันจากประชาคมระหวาง ประเทศ เนื่องจากสื่อตางชาติออกขาวบิดเบือนจากความเปนจริงทําใหเกิดการเขาใจผิด ขณะเดียวกันองคกร ศาสนาระหวางประเทศไดมีการสงเจาหนาที่มาพบปะกลุมแกนนําเคลื่อนไหวภาคใต แนวทางการปฏิบัติ กําหนดใหนักศึกษานําเจตนารมณของรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมมาเปน แนวทางในการทบทวนลําดับความเรงดวนของสถานการณ ทั้งนี้เนื่องจากความรุนแรงของแตละสถานการณ ไดมกี ารเปลีย่ นแปลงไป ซึง่ แตละกลุม จะตองจัดทําสภาพสถานการณในปจจุบนั (Current System) และสภาพ สถานการณที่ตองการ (Desired System) รวมถึงกําหนดวัตถุประสงคทางทหาร (Military End State) ของ แตละสถานการณ

วันที่ ๓ ของการฝก หลังจากทีไ่ ดทาํ การฝกมา ๒ วัน และไดมกี ารจัดลําดับและทบทวนสถานการณวกิ ฤติทเี่ กิดขึน้ ทางคณาจารย ไดกําหนดใหเหลือ ๒ สถานการณสําหรับการฝกในวันนี้ คือ สถานการณภัยพิบัติและสถานการณใน ๓ จังหวัด ชายแดนภาคใต ซึ่งสถานการณสําหรับการฝกสมมุติใหมีเหตุการณ ดังนี้ สถานการณภัยพิบัติ ยังเกิดแผนดินไหวตอเนื่อง (AfterShock) ระดับ ๔ - ๖.๔ ริกเตอร ในพื้นที่ ทางภาคเหนือของประเทศน้าํ เงิน บานเรือนของประชาชนทีไ่ ดรบั ความเสียหายอยางหนักมีเพิม่ มากขึน้ ประชาชน ไดรบั บาดเจ็บและเสียชีวติ มากขึน้ ระบบสาธารณูปโภคหลักไดรบั ความเสียหายหนัก ประชาชนขาดแคลนอาหาร ยารักษาโรค และเสื้อผา กระทรวงสาธารณสุขประกาศใหเปนพื้นที่โรคระบาด มีการประทวงของประชาชน ในหลายพื้นที่ ประเทศไมคยังคงรองขอความชวยเหลือจากประเทศน้ําเงิน ในขณะที่สนามบินภายในประเทศ ยังคงมีความเสียหายมาก เครื่องบินขนาดใหญไมสามารถใชขึ้น - ลงได และหอบังคับการบินใชงานไมได สถานการณใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต องคกรศาสนาระหวางประเทศยืน่ ขอเสนอตอรัฐบาลประเทศ น้าํ เงิน ใหชาวมุสลิมไดปกครองตนเองตามแนวทางศาสนา เพือ่ ใหเกิดความเปนธรรมแกชาวมุสลิม และชาวมุสลิม ใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ชุมนุมกันหนาศาลากลางเพือ่ สนับสนุนแนวทางขององคกรศาสนาระหวางประเทศ ในการขอปกครองตนเอง


๗๖ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

แนวทางการปฏิบัติ กําหนดใหการฝกแบงออกเปน ๒ ชุด โดยชุดแรก ประกอบดวย กลุมที่ ๑ กลุมที่ ๓ และกลุมที่ ๕ รับผิดชอบสถานการณภัยพิบัติ ชุดที่สอง ประกอบดวย กลุมที่ ๒ กลุมที่ ๔ และ กลุมที่ ๖ รับผิดชอบ สถานการณ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต โดยแตละชุดตองจัดทํา Operational Design ใหครบ ๔ ขั้นตอน รวมถึง การเขียนเจตนารมณของผูบังคับบัญชา (Commander’s Intent)

วันที่ ๔ ของการฝก เปนการทบทวนหลังการปฏิบตั ิ (After Action Review: AAR) ซึง่ วัตถุประสงคของ AAR ตองการทบทวน กระบวนการฝก หลังจากทีไ่ ดทาํ การฝกไปแลว โดยดูทงั้ ขอดีทนี่ าํ ไปสูค วามสําเร็จ และขอเสียทีต่ อ งนํามาปรับปรุง แกไข ตลอดจนขอเสนอแนะตาง ๆ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนประสบการณ นําไปแกปญหาที่เกิดขึ้นและปองกัน ไมใหเกิดซ้ําอีก โดยแตละกลุมไดมีการสัมมนาและสรุปประเด็นที่สําคัญในการฝกครั้งนี้ ในหัวขอบทเรียนที่ไดรับ สิ่งที่ดีในการฝก รวมทั้งขอควรปรับปรุงและขอเสนอแนะ ซึ่งผลการสรุปครั้งนี้จะเปนประโยชนตอวิทยาลัย การทัพอากาศ ในการทีจ่ ะนําไปปรับปรุงกระบวนการฝกบริหารสถานการณวกิ ฤติระดับยุทธศาสตร ใหมคี วามสมบูรณ มากยิ่งขึ้นในรุนตอ ๆ ไป การฝกบริหารสถานการณวิกฤติระดับยุทธศาสตร (SCM) ทําใหนักศึกษาสามารถบูรณาการความรู ทีไ่ ดเรียนมาตลอดหลักสูตร นํามาประยุกตใชในการแกไขปญหาสถานการณวกิ ฤติของประเทศทีส่ มมุตขิ นึ้ มา และ นักศึกษาสามารถจัดลําดับความสําคัญของสถานการณที่เกิดขึ้นพรอม ๆ กันไดอยางสมเหตุสมผล ที่สําคัญคือ นักศึกษาสามารถที่จะทํางานรวมกันเปนทีม ยอมรับในบทบาททั้งการเปนผูนําและผูตาม เสริมสรางความสามัคคี ใหเกิดขึ้นในหมูคณะ ทั้งยังเปนไปตามวัตถุประสงคของการฝก ซึ่งความรูและประสบการณที่ไดรับจาก การฝกในครั้งนี้ จะทําใหนักศึกษาสามารถนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานในอนาคตไดเปนอยางดี เปนการ เตรียมพรอมในการเปนผูนําและฝายอํานวยการระดับสูงของกองทัพ ดังคําขวัญของวิทยาลัยการทัพอากาศที่วา “พัฒนาผูนํา คุณธรรมเดน เนนยุทธศาสตร ฉลาดบริหาร” """


ครูภาษาพาที

วาดวยเรื่อง... ก.เอย ก.ไก (ตอนที่ ๓) Sora

(ตอจากฉบับที่แลว)

จากประวัติศาสตรอันยาวนานและซับซอนของสัตวปกนานาชนิด ทําใหมนุษยเดินดินผูเสาะแสวงหา ของกินไมพลาดที่จะสรางสรรคเมนูสุดอรอยมากมาย ดังนั้นเรามาทําความรูจักกับเมนูสุดคลาสสิกที่เปนที่นิยม กันดีกวา อาหารจานเด็ด (poultry dishes) เปดปกกิ่ง (Peking Duck) เมนูนี้ถือเปนมรดกล้ําคาหรือ “เพชรยอดมงกุฎ” (crown jewel) ของชาวจีนเลยก็วาได เนื่องจาก มีตนกําเนิดมาตั้งแตสมัยราชวงศหมิง (Ming Dynasty) หรือเมื่อ ๔๐๐ ปมาแลว ในสมัยนั้นเปดปกกิ่งนับเปน อาหารชาววัง กอนที่จะถูกดัดแปลงเปนอาหารตอนรับแขกบานแขกเมืองอยางในปจจุบัน เคล็ดลับความอรอยของเปดปกกิ่งตองเริ่มตั้งแตคัดเลือกสายพันธุ โดยตองเปนพันธุปกกิ่ง (Peking) ที่ผานการเลี้ยงดวยวิธีพิเศษเพื่อใหไดเปดที่มีความสมบูรณเทานั้น สวนวิธีเตรียมและวิธียางก็เปนเหมือนงาน ศิลปะเลยทีเดียว เนื่องจากกอนนําเปดมายางตองผานขั้นตอนอันซับซอน ตั้งแตการถอนขนเปด ลางทองดวย น้ําเย็นเพื่อใหเปดมีรสชาตินุมลิ้น ตอดวยการเปาลมเขาไปในคอเพื่อแยกหนังและเนื้อออกจากกัน หลังจากนั้น คอย ๆ เคลือบน้ําตาลบนตัวเปดทิ้งไว ๒๔ ชั่วโมงแลวจึงยาง ไมทใี่ ชยา งเปดตองเปนไมทมี่ กี ลิน่ หอม เชน ไมตนพุทรา ไมตนแพร ไมตนทอ หรือ ไมตนสาลี่ การยางนั้นตองยางจนหนังเปด มีสีแดงเหมือนพุทราจีนซึ่งเปนระยะเวลาที่ พอเหมาะในการยาง เพื่อใหไดหนังกรอบ เนื้อนุม ทั้งยังมีกลิ่นหอม (aroma) จากไม ติดมาดวย ดังนั้นเมื่อคีบเปดปกกิ่งใสปาก เราจะรูสึกถึงความกรอบของหนังแตรสชาติ กลับไมเลีย่ นเลย เรียกไดวา อรอยล้าํ ลึก แตทวา


๗๘ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ที่ล้ํากวานั้น คือ กรรมวิธีในการแลที่นาตื่นตาตื่นใจยิ่งกวา เปดหนึ่งตัวจะตองแลใหไดหนังและเนื้อรวมกัน ๑๐๘ ชิ้น (ซึ่งผูเขียนก็ไมเคยไดนับสักที) โดยชิ้นแรก ๆ จะแลเฉพาะหนังกรอบและชิ้นตอไปจะแลบาง ๆ ติดทั้ง เนื้อและหนัง ตองแลใหเสร็จกอนที่ตัวเปดจะเย็น มิฉะนั้นอาจทําใหเสียรสชาติได ทุกวันนี้เปดปกกิ่งไมไดเปนเพียงแคอาหารจานโปรดของชาวจีน หากแตยังเปนอาหารยอดนิยมของ ชาวตางชาติอีกดวย ไกตุนไวนแดง : ค็อคโอแวง (Coq Au Vin) เมนูชื่อดังของชาวฝรั่งเศส โดยการนําเนื้อไกมาเคี่ยวกับไวนแดงที่ขึ้นชื่อของฝรั่งเศส มีตํานานเลาวา ไกตุนไวนแดงเปนเมนูเกาแกมาตั้งแตสมัยที่ฝรั่งเศสยังไมรวมเปนประเทศและยังอยูภายใตการปกครองของ จักรวรรดิโรมัน ซึ่งตอนนั้นชาวฝรั่งเศสเรียกตนเองวา “กอล” (Gaul) อาหารจานเด็ดชนิดนีเ้ กิดจากชาวกอล พยายามแกแคนชาวโรมันที่ปกครองแบบกดขี่ ขมเหง เอารัดเอาเปรียบมาโดยตลอด ดังนั้น เมื่อถึงเวลาที่ชาวกอลจะตองสงสวยให จูเลียส ซีซาร (Julius Caesar) ชาวกอลจึงแกเผ็ด ดวยการใชพอ ไกชราภาพ ตุน เปนสตูในไวนแดง ถวายแดจักรพรรดิผูยิ่งใหญ แตคดีพลิก เรื่อง กลับตาลปตร ผลประโยชนกลับไปอยูที่จําเลย เสียอยางนัน้ เพราะเมนูนกี้ ลายเปนทีถ่ กู อกถูกใจ กันไปเสียนี่ ในปจจุบันไกตุนไวนแดงทํามาจากเนื้อไกบานที่เลี้ยงไปจนแกและนํามาตุนในไวนไมตางจากเดิม เพียงแตเพิ่มเบคอน หอมใหญ เห็ด และเหลาเบอรกันดีไปดวย แตเสนหของอาหารจานนี้ยังคงอยูที่ตัวไวนที่ใช เพราะไวนในแตละแควนแตละพืน้ ทีย่ อมใหรสชาติไมเหมือนกัน ดังนัน้ ไกตุนไวนแดงจึงมีรสชาติแตกตางกันออกไป แลวแตวาเรามีโอกาสไปทานที่แควนใด คราใดที่มีโอกาสไปฝรั่งเศสควรตองลิ้มลอง จะไดรูวาทําไมจูเลียส ซีซาร ถึงหลงใหลไดปลื้มนัก แกงไกยางเครื่องเทศ (Chicken Tikka Masala) เพียงแคชอื่ เสริมกับหนาตาของอาหารจานนี้ หลายคนฟนธงวาเปนอาหารประจําชาติของอินเดียแนนอน แตเอาเขาจริงอาหารจานนี้กลับถูกเรียกวา “อาหารประจําชาติของอังกฤษ” ซึ่งคงเปนเพราะอินเดียเคยตกอยู ในอาณานิคมของอังกฤษมาหลายสิบป ประกอบกับอังกฤษเองก็ไมมีอาหารจานเดนของตัวเองมากนัก ดังนั้น เมื่อชาวอังกฤษไดเรียนรูซึมซับวัฒนธรรมอาหารของชาวอินเดียเขาไป เมนูนี้จึงเปนที่โปรดปรานของชาวอังกฤษ จนไดรับการบรรจุอยูในรายการของรานอาหารแทบจะทุกแหงเลยทีเดียว


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๗๙

เมนูนี้ทํามาจากไกที่หั่นเปนชิ้น ๆ ซึ่งชาวอินเดีย เรียกวา ทิกกะ (Tikka) หมักในเครื่องเทศและโยเกิรต ที่ชาวอินเดียเรียกวา ดาฮี (Dahi) แลวนําไปยาง จากนั้นนํามาเคี่ยวในน้ําแกงที่ทําดวยมาซาลา (Masala) ซึ่งเปน เครื่องเทศรวมของชาวอินเดีย สวนวิธีปรุงแกงมีหลายวิธีดวยกัน บางสูตรก็จะเติมมะเขือเทศ นม พริกปาปริกา หรือน้ําสมลงไปดวยเพื่อเพิ่มรสชาติและสีสัน จนไดน้ําแกงสีสม ๆ นาทาน หากไดชิมสักครั้งรับประกันไดเลยวา ตองอยากชิมแลวชิมอีก

สวนที่มาของอาหารจานนี้เปนที่ถกเถียงกันมายาวนานวาใครเปนผูคิดคนกันแน ระหวางชาวอินเดีย ในแควนปญจาบเมื่อ ๕๐ ปกอน หรือรานอาหารในยานโซโห (Soho) กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซึ่งรานที่ อางสิทธิ์ก็ยังมีอีก ๒ ราน ขอขัดแยงบานปลายเกือบจะกลายเปนกรณีพิพาทระดับชาติ ถึงขนาดจะนําไปเปน ขอยุติในสภาและสหภาพยุโรปวาดวยลิขสิทธิ์ของอาหารในพื้นที่ (ไมธรรมดาเลยทีเดียว) เพราะตางฝายตางเชื่อ ในความถูกตองของตน เดชะบุญตางฝายตางยั้งความคิดไวไดทันกอนที่ปญหาจะลุกลามใหญโต อยางไรก็ตามมีเชฟ (chef หมายถึง หัวหนาพอครัว) ชาวอินเดียจํานวนไมนอย เชือ่ วาแกงไกยางเครื่องเทศ เปนของใครไปไมได นอกจากเมนูดั้งเดิมของอินเดียทีม่ ีมาตัง้ แตสมัยโมกุล ในยุคทีม่ ีการสรางทัชมาฮาลโนน เลยทีเดียว มาถึงจุดนี้คงรูแลววาใครเปนเจาของสูตรตัวจริงเสียงจริง ถายังไมแนใจแคเห็นหนาตาของอาหาร จานนี้ก็รูแลววาใครโมเมกันแน ไกสอดไสเนยชุบแปงทอด : ชิกเกน อะลาเคียฟ (Chicken a`la Kiev) แมเมนูไกสอดไสเนยชุบแปงทอดนี้จะมีชื่อวา เคียฟ (Kiev) ตามชื่อเมืองหลวงของยูเครน ซึ่งเคย อยูภ ายใตการปกครองของรัสเซียมาเปนเวลานาน ทุกคนจึงคิดวาเมนูนเี้ ปนของชาวรัสเซียอยางไมตองสงสัย แต เปลาเลยคะ แทที่จริงแลวเมนูนี้ไมไดเกิดจากชาวรัสเซียแตประการใด อาหารจานนี้เกิดจากฝมือของเชฟชาวฝรัง่ เศส ที่ชื่อ นิโคลัส ฟรองซัวส อัปแปร (Nicolas Francois Appert) ทําขึ้นเพื่อถวายจักรพรรดินีอลิซาเบธ เปโตรฟนา


๘๐ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

(Empress Elizabeth Petrouna) แหงรัสเซียผูชื่นชอบอาหารฝรั่งเศสเปนชีวิตจิตใจ ดังนั้นถาจะพูดใหถูกคือ เมนูนี้เกิดขึ้นในประเทศรัสเซียก็จริงแตคนฝรั่งเศสเปนผูคิดคน ปจจุบันยังหารับประทานไดทั้งในประเทศรัสเซีย และฝรั่งเศส โดยจะเสิรฟมาในปริมาณที่มาก มิใชใหญเพียงแตจานเทานั้น

ไกตุนโสมเกาหลี : ซัมเกทัง (Samgyetang) อาหารจานนี้รูจักกันในชื่อ “ไกตุนโสมเกาหลี” (Ginseng Chicken Soup) เปนซุปที่ทําจากไกยัดไส ดวยขาวเหนียวและสมุนไพรตาง ๆ เชน รากโสม กระเทียม พุทราจีน กินคูกับเครื่องเคียงอยางเหลาโสม พริกไทย และเกลือ นิยมเสิรฟในหมอซุปที่ทําจากหินแลวรับประทานรอน ๆ เพราะเชื่อกันวาเปนอาหารที่สรางเสริมสุขภาพ และบํารุงกําลัง ในอดีตเมนูนี้ (เหมือนในละคร แดจังกึม) จะปรุงกินกันเฉพาะภายในราชวังเทานั้น แมซัมเกทัง ดูเหมือนจะเปนอาหารที่นิยมรับประทานกันในฤดูหนาวเพราะรับประทานกันรอน ๆ นาจะระงับความหนาวได เปนอยางดี แตชาวเกาหลีกลับนิยมซดซัมเกทังในฤดูรอนมากกวา ดวยความเชื่อวาเมื่อรับประทานเขาไปแลว เหงื่อออกมากเทาไหร ยอมสงผลดีตอสุขภาพมากขึ้นเทานั้น จากที่กลาวมาทั้งหมด ไมวามนุษยจะ เริ่มบริโภคหรือรับประทานเจาสัตวสองเทาบินได มาแตหนไหน ตลอดจนวัฒนธรรมการรับประทาน หรือการปรุงอาหารแตกตางกันมากเทาใด ตางก็ สะทอนใหเราเห็นถึงการพัฒนาในการรับประทาน ทัศนคติ และความเชือ่ ของคนในสมัยนัน้ ๆ จวบจน ถึงปจจุบันนี้ """ แหลงขอมูลอางอิง : - https://www.youtube.com/watch?v=r9IA9Mt92jU - https://www.youtube.com/watch?v=dBQLE_fijq8 - http://healthandcuisine.com/recipedetail.aspx - https://www.facebook.com/wonderwayworld/photos/ - http://www.oxfordlearnersdictionaries.com/ - http://www.royin.go.th/wp-content/uploads/2015/03/2371_6847.pdf


5ห่างไกลมะเร็ ทํา 5 ไม่ ง มุมสุขภาพ นายหวงใย โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของประชากรโลก องค์การ อนามัยโลก WHO (World Health Organization) และสมาพันธ์ควบคุมโรคมะเร็ง สากล UICC (Union for International Cancer Control) จึงร่วมกันกําหนดให้ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็น วันมะเร็งโลก (World Cancer Day) เพื่อให้ ประชากรทั่วโลกตระหนักถึงภัยร้ายจากโรคมะเร็ง รวมถึงรณรงค์ให้ประชากรหันมา ใส่ใจสุขภาพของตนเอง โรคมะเร็งนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญและเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับหนึ่งของประเทศไทยตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ เป็นต้นมา


มะเร็งที่พบบ่อยในคนไทย 5 อันดับมะเร็งของเพศชาย 1) มะเร็งตับและท่อน้ําดี 2) มะเร็งปอด 3) มะเร็งลําไส้ใหญ่ 4) มะเร็งต่อมลูกหมาก 5) มะเร็งต่อมน้ําเหลือง

5 อันดับมะเร็งของเพศหญิง 1) มะเร็งเต้านม 2) มะเร็งปากมดลูก 3) มะเร็งตับและท่อน้ําดี 4) มะเร็งปอด 5) มะเร็งลําไส้ใหญ่

ปัจจุบันโรคมะเร็งลําไส้ใหญ่ของทั้งเพศชายและเพศหญิงในประเทศไทยกําลังเพิ่มสูงขึ้น จากพฤติกรรมการบริโภคของคนไทยที่เปลี่ยนไปตามกระแสตะวันตกที่นิยมรับประทานแต่ เนื้อสัตว์ ส่วนผักผลไม้รับประทานน้อยลงและยังขาดการออกกําลังกาย

แนวทางปฏิบัติตน ห่างไกลมะเร็ง โดยยึดหลัก 5 ทํา 5 ไม่

5ทํา

ออกกําลังกายเป็นนิจ ทําจิตแจ่มใส รับประทานผักผลไม้ อาหารหลากหลาย ตรวจร่างกายเป็นประจํา

1. ออกกําลังกายเป็นนิจ ช่วยลดอุบัติการณ์ของการเกิดมะเร็ง

และโรคหัวใจ โดยมีผลลดความอ้วนและความเครียด ในร่างกายที่เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็ง 2. ทําจิตแจ่มใส ความเครียดเป็นสาเหตุที่ทําให้ภูมิต้านทานของ ร่างกายต่ําและส่งเสริมการเกิดโรคมะเร็ง 3. รับประทานผักผลไม้ ให้ได้ครึ่งหนึ่ง ของปริมาณอาหารในแต่ละมื้อหรือประมาณ 500 กรัมต่อวัน เพราะ ในผักผลไม้มีสารต้านอนุมูล รวมถึงเส้นใยอาหารที่ทําหน้าที่คล้าย กับแปรงไปกระตุ้นผนังลําไส้ใหญ่ให้สร้างเมือกมากขึ้น และช่วยเพิ่ม ภูมิคุ้มกันให้กับเยื่อบุผิวลําไส้ใหญ่และลดความเสี่ยงที่จะเกิดมะเร็งลําไส้ 4. รับประทานอาหารหลากหลาย ให้ครบ 5 หมู่ ไม่ซ้ําซาก จําเจ และสดใหม่ สะอาด ปราศจากเชื้อรา ลดอาหารที่มีไขมันสูง อาหารปิ้งย่า่ ง ทอดที่ไหม้เกรียม เนื้อสัตว์สีแดงและอาหารหมักดอง หลีกเลี่ยงอาหารที่มี สารดินประสิว และโตรซามีน 5. ตรวจร่างกายเป็นประจําทุกปี โดยเฉพาะคนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อตรวจค้นหามะเร็งระยะเริ่มแรก


5ไม่

ไม่สูบบุหรี่ ไม่มีเซ็กซ์มั่ว ไม่มัวเมาสุรา ไม่ตากแดดจ้า ไม่รับประทานปลาน้ําจืดสุก ๆ ดิบ ๆ

1. ไม่สูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงการสูดดมควันบุหรี่จาก

ผู้อ่นื สําหรับผู้สูบบุหรี่ ถ้าหยุดสูบสามารถป้องกัน การเกิดโรคมะเร็งได้ 60 - 70% 2. ไม่มีเซ็กซ์มั่ว มีเพศสัมพันธ์เมื่อถึงวัยอันควร สตรีท่มี ีเพศสัมพันธ์ต้งั แต่อายุน้อยและกับผู้ชาย หลายคน พบว่ามีความเสี่ยงกับการติดเชื้อ HPV (Human Papilloma Virus) ซึ่งเป็นสาเหตุสําคัญของการเกิดมะเร็งปากมดลูก 3. ไม่มัวเมาสุรา คนดื่มสุราจะมีความเสี่ยงกับมะเร็งหลายชนิด (ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ชายไม่ควรดื่มเกิน 2 แก้วต่อวัน ผู้หญิง 1 แก้วต่อวัน เบียร์ไม่เกิน 1 ขวดเล็ก ไวน์ไม่เกิน 1 แก้วต่อวัน) 4. ไม่ตากแดดจ้า เพราะอาจทําให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ทางที่ดีควรใช้ครีมกันแดดที่มี เอสพีเอฟตั้งแต่ 15 ขึ้นไป และใช้อุปกรณ์ป้องกันแสงแดดเมื่อยามที่ต้อง ออกแดด เช่น เสื้อแขนยาว ร่ม หมวก ฯลฯ 5. ไม่รับประทานปลาน้ําจืดสุก ๆ ดิบ ๆ โดยเฉพาะปลาน้ําจืดดิบที่มีเกล็ด เพราะ มีตัวอ่อนระยะติดต่อของพยาธิใบไม้ตับอยู่ในเนื้อปลา ซึ่งเป็นสาเหตุการเกิดมะเร็ง ท่อน้ําดีในตับ

ถึงแม้มะเร็งจะเป็นโรคร้ายอย่างที่หลายคนเข้าใจ แต่ 1 ใน 3 ของโรคมะเร็งสามารถป้องกันได้ ถ้าสามารถตรวจพบในระยะเริ่มแรกและรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง จะเพิ่มความตระหนั ตระหนกและทราบวธปฏบตทสามารถลดโอกาสเสยงของการเปนมะเรงได กและทราบวิธีปฏิบัติที่สามารถลดโอกาสเสี่ยงของการเป็นมะเร็งได้

แหลงอางอิง : สถาบันมะเร็งแหงชาติ กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสข กระทรวงสาธารณสุข


รอบรู...อาเซียน

ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน Vietnam Fastival Guide

@Zilch

Tết Nguyen Dan Vietnam New Year Festival

เตดเฮงเวียนดาน เทศกาลปใหมเวียดนาม

Tết Nguyen Dan, or Tết for short, or Vietnamese New Year, is considered the biggest and most popular festival of the year in Vietnam. Celebrated on the first day of the first month in Lunar Calendar (around late January or early February), Tết’s celebration is the longest holiday which may last up to seven days. Tết is the occasion for Vietnamese to express their respect and remembrance for their ancestors as well as welcoming the New Year with their beloved family members. Many Vietnamese prepare for Tết by cooking special holiday foods, cleaning the house and decorating the house with the kumquat tree, peach flowers, and marigolds symbolizing the fertility and fruitfulness for the family. Many customs are practiced during Tết such as visiting a person's house on the first day of the new year, ancestor worship, wishing New Year's greetings, giving lucky money to children and elderly people, and opening a shop.

เตดเฮงเวียนดาน หรือเรียกยอ ๆ วา เตด เปนเทศกาล ปใหมของชาวเวียดนาม ถือเปนเทศกาลทีย่ งิ่ ใหญทสี่ ดุ และมีการ เฉลิมฉลองกันอยางแพรหลาย เทศกาลนีจ้ ะเริม่ เฉลิมฉลอง ในวันแรกของเดือนแรกตามปฏิทนิ จันทรคติ (ราว ๆ ปลายเดือน มกราคม หรือตนเดือนกุมภาพันธ) เทศกาลเตดจะมีวันหยุดที่ ยาวนานที่สุดถึงเจ็ดวัน ในชวงเทศกาลเตดนี้ ชาวเวียดนามจะ แสดงความเคารพและรําลึกถึงบรรพบุรุษ พรอมกับตอนรับ ปใหมกับสมาชิกอันเปนที่รักในครอบครัว ชาวเวียดนามจะจัด เตรียมอาหารมื้อพิเศษ ทําความสะอาดบานเรือน และประดับ ตกแตงบานดวยไมมงคล ๓ ชนิด คือ ตนสมจี๊ด ดอกทอสีชมพู และดอกดาวเรือง อันเปนสัญลักษณของความรุงเรืองและ ความอุดมสมบูรณของครอบครัว สําหรับธรรมเนียมปฏิบัติ อืน่ ๆ ในเทศกาลนี้ ไดแก การไปเยีย่ มบานคนรูจ กั ในวันขึน้ ปใหม สักการะบรรพบุรุษ อวยพรปใหม ใหเงินนําโชคกับเด็ก ๆ รวมถึง ญาติผูใหญ และเปดรานขายของ เปนตน

ขอมูลจาก https://en.wikipedia.org/wiki/T%E1%BA%BFt http://www.vietnamonline.com/tet.html http://daily.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURONWIzVXdNakF4TVRBMU5nPT0=&sectionid=Y25Wd1lXbHRiMlJs&day=TWpBeE15MHhNQzB3TVE9PQ รูปภาพจาก http://www.google.com http://moongardenhomestay.com/en/cttc113a114/tet-holiday-the-traditional-beauty-of-vietnam.html


มุมกฎหมาย

สัญญาค้ ญาคํา้ ประกัน น.อ.วันชัย มาสุวรรณ (ตอจากฉบับที่แลว)

สัญญาค้ําประกันหามระบุใหผูค้ําประกันรับผิดอยางลูกหนี้รวมกับลูกหนี้ ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๑/๑ บัญญัตวิ า “ขอตกลงใดทีก่ าํ หนดใหผคู ้ําประกันตองรับผิดอยางเดียวกับลูกหนีร้ ว มหรือในฐานะเปนลูกหนีร้ วม ขอตกลงนั้นเปนโมฆะ” ๓ ในปจจุบันมักพบสัญญาค้ําประกันที่ทําขึ้นบางแหงที่กําหนดในสัญญาค้ําประกันในทํานองวา “ขาพเจาในฐานะผูค้ําประกันยินดีรับผิดอยางลูกหนี้รวมหรือรับผิดเชนเดียวกับลูกหนี้” การกําหนดขอความ ดังกลาวจะมีผลใหผูค้ําประกันไมอาจยกสิทธิของตนตามกฎหมายขึ้นเปนขอตอสูเจาหนี้ได สิทธิดังกลาว ไดแก สิทธิใหเจาหนี้ไปเรียกรอง ไปฟองคดี ไปยึดอายัดทรัพยสินของลูกหนี้กอน หรือไปเอากับหลักประกันของลูกหนี้ ที่อยูกับเจาหนี้กอน ซึ่งหากในสัญญายังคงกําหนดขอความทํานองนี้อีก ก็จะไมเกิดผลอะไรหรือถือเสมือนวา ไมไดกําหนดขอความนั้นไวเลย สัญญาค้ําประกันหนี้ที่มีกําหนดเวลาชําระหนี้ไวแนนอน หามระบุคํายินยอมของผูค้ําประกันไว ลวงหนาวา หากเจาหนีย้ อมผอนเวลาชําระหนีใ้ หกบั ลูกหนี้ ถือวาผูค า้ํ ประกันยินยอมดวยแลว ป.พ.พ.มาตรา ๗๐๐ วรรคสอง บัญญัติวา “ขอตกลงที่ผูค้ําประกันทําไวลวงหนากอนเจาหนี้ผอนเวลาอันมีผลเปนการยินยอมให เจาหนีผ้ อ นเวลาขอตกลงนัน้ ใชบงั คับมิได” ๔ บทบัญญัตดิ งั กลาวมีขนึ้ เพือ่ คุม ครองผูค า้ํ ประกันและสอดคลองกับ หลักของสัญญาที่วา เวลาที่กําหนดใหชําระหนี้นั้น ผูค้ําประกันสัญญาไวในตัววาเมื่อถึงเวลานั้น เชน เปนเวลาที่ ผูค้ําประกันไดเก็บเกี่ยวขาวขายมีเงินชําระหนี้แทนลูกหนี้ได แตถาเจาหนี้ผอนเวลาการชําระหนี้ใหแกลูกหนี้ ใหทอดยาวออกไป ถาผูค้ําประกันไมยินยอมดวย ก็ใหผูค้ําประกันหลุดพนจากความรับผิด สัญญาค้ําประกันหามกําหนดขอความในเรื่องตอไปนี้ (ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๕/๑) ๕ หากมีการกําหนดไว ขอความนั้นเปนโมฆะ คือ - ขอหามผูค้ําประกันยกขอตอสูที่ผูค้ําประกันมีอยูตามกฎหมายและขอตอสูของลูกหนี้ที่มีอยูตาม กฎหมายขึ้นเปนขอตอสูกับเจาหนี้ - ขอความใหผูค้ําประกันยังตองรับผิดอยู แมหนี้ของลูกหนี้ไดหมดสิ้นไปแลวไมวาดวยเหตุใด ๆ - ขอหามผูค้ําประกันบอกเลิกการค้ําประกันในกิจการที่เนื่องกันไปหลายคราวโดยไมมีกําหนด ระยะเวลา - ขอความที่ใหผูค้ําประกันตองรับผิดกับการค้ําประกันหนี้ที่ไมสมบูรณ - ขอความที่กําหนดหรือไมกําหนดตามที่กฎหมายไดบังคับไวตาม ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๑ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม ดังไดกลาวแลวขางตน


๘๖ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ผูค้ําประกันหลายคน ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๒ วรรคสอง บัญญัติวา “ถาบุคคลหลายคนยอมตน เขาเปน ผูค้ําประกันในหนี้รายเดียวกันไซร ทานวาผูค้ําประกันเหลานั้นมีความรับผิดอยางลูกหนี้รวมกัน แมถึงวา จะมิไดเขาค้ําประกันรวมกัน” การเขาเปนผูค้ําประกันหลายคนในหนี้รายเดียวกันนั้น ไมจําเปนตองเขามาเปน ผูค้ําประกันพรอมกัน กลาวคือ อาจเขามาเปนผูค้ําประกันตางวันตางเวลากันก็ได ผูค้ําประกันเหลานั้นจะตอง รวมกันรับผิดในระหวางผูค้ําประกันดวยกันเองนั้นอยางลูกหนี้รวม ความเปนลูกหนี้รวมก็คือ แตละคนจะแบง ความรับผิดเปนสวนไมได เจาหนี้มีสิทธิเรียกใหคนใดคนหนึ่งชําระหนี้ทั้งหมดได สวนสิทธิหนาที่ทั้งหลายอื่น จะตองบังคับตามกฎหมายวาดวยลูกหนี้รวม (การปลดหนี้ใหลูกหนี้คนหนึ่ง ลูกหนี้อื่นไดประโยชนดวย, ลูกหนี้ คนหนึ่งชําระหนี้แลวไลเบี้ยลูกหนี้อื่นได ฯลฯ) ความรับผิดของผูค้ําประกันหลายคนอยางลูกหนี้รวมในบทบัญญัตินี้ ตางกับกรณีความรับผิดของผูค้ําประกันอยางลูกหนี้รวมกับลูกหนี้ ความรับผิดของผูค้ําประกัน ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๓ บัญญัติวา “อันค้ําประกันอยางไมมีจํากัดนั้น ยอมคุมถึง ดอกเบีย้ และคาสินไหมทดแทนซึง่ ลูกหนีค้ า งชําระ ตลอดจนคาภาระติดพันอันเปนอุปกรณแหงหนีร้ ายนัน้ ดวย” บทบัญญัติดังกลาว เปนบทกําหนดความรับผิดของผูค้ําประกันโดยทั่วไปตามกฎหมายลักษณะหนี้ การบอกกลาวใหผูค้ําประกันชําระหนี้ ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๖ วรรคแรก บัญญัติวา “เมื่อลูกหนี้ผิดนัด ใหเจาหนี้มีหนังสือบอกกลาวไปยังผูค้ําประกันภายในหกสิบวันนับแตวันที่ลูกหนี้ผิดนัด และไมวากรณีจะเปน ประการใดเจาหนีจ้ ะเรียกใหผคู ้ําประกันชําระหนีก้ อนที่หนังสือบอกกลาวจะไปถึงผูค ้ําประกันมิได แตไมตัดสิทธิ ผูค า้ํ ประกันทีจ่ ะชําระหนีเ้ มือ่ หนีถ้ งึ กําหนดชําระ” ๖ กอนอืน่ ตองเขาใจกอนวาลูกหนีผ้ ดิ นัดเมือ่ ใด คําวา “ผิดนัด” ชําระหนี้นั้น หมายถึง เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแลวและเจาหนี้ไดใหคําเตือนแลวลูกหนี้ไมชําระหนี้ หรือในกรณี หนีน้ นั้ ไดกาํ หนดเวลาชําระหนีไ้ วแนนอนตามวันปฏิทนิ ถาลูกหนีไ้ มชาํ ระหนีต้ ามวันทีก่ าํ หนด ก็ถอื วาลูกหนีผ้ ดิ นัด ชําระหนี้แลวโดยเจาหนี้ไมตองเตือน และในกรณีที่ไมไดกําหนดเวลาชําระหนี้กันไว แตไดกําหนดกันวาถาจะให ชําระหนี้ เจาหนีต้ อ งบอกกลาวกอนโดยกําหนดเวลาคํานวณนับไดตามปฏิทนิ เมือ่ เจาหนีไ้ ดบอกกลาวแลวลูกหนี้ ไมชําระหนี้ภายในเวลาที่กําหนด ก็ถือวาลูกหนี้ผิดนัดชําระหนี้ ในกรณีเหลานี้ เจาหนี้จะตองมีหนังสือแจง ผูค้ําประกันใหชําระหนี้ภายใน ๖๐ วัน นับแตวันที่ลูกหนี้ผิดนัด สําหรับผูค้ําประกันมีสิทธิที่จะชําระหนี้ได เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระ ถาเจาหนี้ละเลยไมมีหนังสือแจงผูค้ําประกันหรือแจงเกินกําหนดดังกลาว จะเกิดผลใน ทางกฎหมายตามที่บัญญัติไวในวรรคสอง ความวา “ใหผูค้ําประกันหลุดพนจากความรับผิดในดอกเบี้ยและ คาสินไหมทดแทน ตลอดจนคาภาระติดพันอันเปนอุปกรณแหงหนี้รายนั้นบรรดาที่เกิดขึ้นภายหลังจาก พนกําหนดเวลาตามวรรคหนึง่ ” สรุปคือ เจาหนีจ้ ะไดรับดอกเบี้ยผิดนัดและคาสินไหมทดแทน รวมทั้งหนีท้ ี่เปน อุปกรณอื่น ๆ (ถามี) ในหนี้รายนั้นภายในระยะเวลา ๖๐ วัน นับแตวันที่ลูกหนี้ผิดนัดเทานั้น สิทธิของผูค า้ํ ประกันในการชําระหนี้ เมือ่ หนีถ้ ึงกําหนดชําระและลูกหนีไ้ มชําระหนี้ ผูค ้ําประกันมีสิทธิเลือก คือ ชําระหนี้รายนั้นทั้งหมดโดยสิ้นเชิง หรือขอชําระหนี้ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขอยางเดียวกับลูกหนี้ก็ได และ เมือ่ ผูค า้ํ ประกันใชสทิ ธิดงั กลาวแลว ถาเจาหนีไ้ มยอมรับการชําระหนี้ ผูค า้ํ ประกันเปนอันหลุดพนจากความรับผิด ในหนี้รายนั้น (ป.พ.พ.มาตรา ๖๘๖ วรรคสาม ) ๗


ผลของการลดหนี้ใหกับลูกหนี้ ถาเจาหนี้ไดกระทําการอยางใด ๆ อันมีผลเปนการลดหนี้ใหกับลูกหนี้ ไมวาจะเปนเงินตน ดอกเบี้ย คาสินไหมทดแทน หรือหนี้อันเปนอุปกรณของหนี้รายนั้น แลวลูกหนี้ไดชําระหนี้ ตามที่ลดนั้นเสร็จสิ้นแลว หรือลูกหนี้ชําระ แตยังไมเสร็จสิ้นแลวผูค้ําประกันไดมาชําระหนี้ที่ลดนั้นตอจนเสร็จสิ้น ครบถวนแลว หรือลูกหนี้ไมไดชําระหนี้ตามที่ลดเลยแตผูค้ําประกันไดมาชําระหนี้ที่ลดจนเสร็จสิ้นครบถวนแลว ผูค้ําประกันเปนอันหลุดพนจากความรับผิดในหนี้รายนั้น นอกจากนั้นการระบุขอความในสัญญาค้ําประกัน จะระบุใหมขี อ ความใหผคู า้ํ ประกันตองรับผิดมากไปกวาทีก่ ลาวมาขางตนไมได หากมีการระบุไวกไ็ มมผี ลใชบงั คับ (ป.พ.พ.มาตรา ๖๙๑) ๘

สรุป สัญญาค้าํ ประกัน นอกจากจะตองปฏิบตั ิใหถูกตองตามหลักการทําสัญญาโดยทัว่ ไปแลว คูส ัญญา ยังจะตองปฏิบตั ใิ หถกู ตองตามทีก่ ฎหมายในเรือ่ งสัญญาค้าํ ประกันกําหนดดวย โดยเฉพาะเรือ่ งความสมบูรณของ สัญญาค้าํ ประกัน ความสมบูรณของหนีท้ คี่ า้ํ ประกัน (ไมตกเปนโมฆะ) และตองระบุวตั ถุประสงคของหนี้ ลักษณะ ของมูลหนี้ จํานวนเงินที่ค้ําประกัน ระยะเวลาในการกอหนี้ รวมทั้งระบุหนี้หรือสัญญาที่ค้ําประกันใหชัดเจน อีกทัง้ ถาหนีท้ คี่ ้ําประกันนัน้ มีกาํ หนดเวลาชําระหนีไ้ วแนนอน จะระบุคํายินยอมของผูค า้ํ ประกันในการผอนเวลา ชําระหนี้ไวลวงหนาไมได ๓ - ๘ บทบัญญัติที่แกไขเพิ่มเติม


เปนคนมีบุญวาสนา ผูเขียนชอบดูการถายทอดการแขงขันกีฬาทางโทรทัศน โดยเฉพาะการแขงขันกอลฟ เพราะดูแลวสบายตา เนื่องจากมีแตตนไมสีเขียวตลอด แถมบางสนามยังมีวิวสวย ๆ ใหดู สวนการแขงขันก็สนุกตื่นเตนพอประมาณ บางครั้งไดดูการแขงขันกอลฟอาชีพของสุภาพสตรีก็จะมีแฟชั่นการแตงตัวแถมใหอีกดวย ครั้งหนึ่งมีการแขงขัน ที่ประเทศมาเลเซีย ในวันที่สาม โปรแหวน (พรอนงค เพชรล้ํา) นักกอลฟสาวไทยเปนผูทําคะแนนนําอยู คนไทย จํานวนมากก็คงเอาใจชวย แตในวันที่สี่ ผูชนะกลับกลายเปนนักกอลฟสาวจีน ชื่อ ซาน ซาน เฟง (Shan Shan Feng) ซึ่งเลนไดดีมากในวันสุดทาย และบางหลุมยังมีโชคชวย ลูกที่เธอตีไปตกนอกกรีนกลับกระเดงไปอยูขาง ๆ หลุม อยางไมนาเชื่อ ซึ่งเมื่อปกอนเธอก็ทําไดอยางนี้และชนะการแขงขันที่เมืองจีนบานเกิดของเธอมาแลว โดยใน หลุมสุดทายลูกที่เธอตีออกไปเกือบตกน้ําแตกลับชนกอนหินและกระเดงมาอยูขาง ๆ หลุม ทําใหนึกถึงสุภาษิตไทย ที่วา “แขงเรือแขงพายแขงกันได แตแขงบุญวาสนาแขงกันไมได” ผูเขียนก็เลยอยากรูวาบุญวาสนานี้เราจะหาได จากที่ไหน พอคน ๆ ดูก็พอจะเขาใจไดบาง จึงนํามาเลาในวันนี้ เพราะเรื่องนี้เปนเรื่องคุณธรรมที่นาสนใจทีเดียว


กุมภาพันธ ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๘๙

คําวา บุญวาสนา เปนคําที่เราไดยินกันมาแตเล็กจนโต ความเขาใจทั่ว ๆ ไปก็คือ มีบางสิ่งบางอยางที่ นอกเหนือจากการควบคุมมาชวย มีการสะสมสงตอกันมาหรือสงตอกันไปได แตที่ผูเขียนจะอธิบายตอไปนี้ กอนอื่น ตองทําความตกลงกันกอนวา คําวา บุญวาสนา ที่ผูเขียนอธิบายในบทความนี้ เปนเรื่องที่ผูเขียนอธิบายเรื่องราว ตาง ๆ ของใครก็แลวแต ในชวงเวลาที่เขาเกิดมาดํารงชีวิตอยูและตายจากไปตามอายุขัยเทานั้น ผูเขียนจะไมกลาว ถึงเรื่องราวกอนหนานี้หรือหลังจากนี้ แตผูเขียนไมไดปฏิเสธเรื่องที่ใคร ๆ กลาวถึงอดีตหรืออนาคตอันยาวไกล ในเรื่องของบุญวาสนา บุญ มาจากภาษาบาลี วา ปุญญะ แปลวา เครื่องชําระจิตใจ จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลวา ความดี คุณงามความดี การทําดี เชน คนใจบุญ คือ คนใจดี คนมีบุญ คือ คนมีคุณความดี ประเด็นสําคัญตรงนี้ก็คือ คําวา ดี หรือ ความดี นั้นเอาอะไรมาตัดสิน ในยุคสมัยหนึ่งเราใช หลักศาสนามาตัดสินวาอะไรดี อะไรคือความดี จึงมีคําวา ทําบุญ ที่หมายถึง ขั้นตอนตามบุญกริยาวัตถุตาง ๆ ซึ่ง เปนเรื่องที่ดีเพราะสังคมไมซับซอนมากนัก แตเมื่อสังคมใหญขึ้น กวางขวางขึ้น สลับซับซอนมากขึ้น การทําความดี ก็คงตองขยายกวางขวางไปดวย ตามคําจํากัดความของสังคม วาสนา มาจากภาษาบาลี แปลวา สิ่งที่ไดสะสมมาหรือความเคยชินที่ไดทํามา ใชไดทั้งดานบวกและ ดานลบ เชน วาสนาดี วาสนาไมดี แตในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลวา บุญบารมี หรือกุศลที่ ทําใหไดลาภ ยศ สรรเสริญ ในภาษาไทยจึงมีคําวา อํานาจวาสนา โชควาสนา มีแตดานบวก ไมมีดานลบ เมื่อคําสองคํานี้มารวมกันในภาษาไทยเปน บุญวาสนา ซึ่งถาแปลตามภาษาบาลี จะไดวา บุญวาสนา คือ ความดีที่สะสมมาหรือความดีที่ไดทํามาจนเคยชิน ถาแปลตามภาษาไทยก็จะไดวา ความดีที่ทําใหไดลาภ ยศ สรรเสริญ ผูเขียนไมไดตั้งใจจะอธิบายภาษา แตตองการจะขยายคําวา บุญวาสนา ใหใชไดกับทุก ๆ เรื่อง ในชีวิตประจําวัน ไมจําเปนตองทําหรือใชเฉพาะที่ปฏิบัติศาสนกิจ กลับไปที่การแขงขันกอลฟอีกที การที่ ซาน ซาน เฟง ตีลูกกอลฟขึ้นกรีนในชอรตสองของ หลุมพารหา หรือตีเกือบตกน้ํา แตกลับชนกอนหิน กระเดงขึ้นมาอยูขาง ๆ หลุม ทําใหไดแชมปไป และ ในปตอ มา เธอตีลกู ไปตกนอกกรีนแลวกระเดงเขาไป อยูขาง ๆ หลุม ทําใหไดแชมปไปอีก ทั้งสองครั้งนี้ เปนบุญวาสนาของเธอ ใชหรือไม ผูอานบางทาน อาจคิดวาบุญวาสนาจะไปเกีย่ วอะไรกับกอลฟ ถาเรา แปลบุญวาสนาวา ความดีที่ไดทํามาจนเคยชิน ตามภาษาบาลี ผูเขียนกลับไปคนประวัติของ ซาน ซาน เฟง พบวา เธอเปนคนที่ฝกฝนการตีหัวไมแฟรเวยมาอยางหนัก จนใชไดอยางชํานาญและมั่นใจมาก นอกจากนี้การฝก ของนักกีฬาจากจีนและเกาหลีนั้น เขาฝกกันโหดมาก จิตใจของเขาจึงแข็งแกรง ในจังหวะที่ ซาน ซาน เฟง ตีไป จอที่หลุม โปรแหวนซึ่งเปนผูนํารวมและตีอยูอีกหลุมหนึ่งไดตีลูกกอลฟตกน้ําไป แสดงวาจิตใจของทั้งสองคน


๙๐ ขาวทหารอากาศ

กุมภาพันธ ๒๕๕๙

รับแรงกดดันไดไมเทากัน เราจะใชคาํ วาฟลุกกับคนหนึง่ และโชคไมดสี ําหรับอีกคนหนึง่ ก็ได แตผูเขียนคิดวา เขามี บุญวาสนาไมเทากันชัดเจนมากกวา คือ เขามีการฝกฝนจนเคยชินไมเทากัน คนที่มีมากกวามีบุญวาสนามากกวา จึงเปนผูชนะไป และตอจากนีไ้ ป เราก็จะเอาคําวา เปนคนมีบุญวาสนา มาใชกับชีวิตประจําวันได คือ “เปนผูม กี ารฝกฝน การทําความดีจนเคยชิน” นัน่ เอง ความดี ในทีน่ ไี้ มใชแคไปทําบุญทีว่ ดั แตหมายถึง การทําหนาทีข่ องตนใหดที สี่ ดุ ชํานาญทีส่ ดุ เปนชางไม ชางปูน ชางเครื่องยนต ชางซอมอากาศยาน เปนนักบิน เปนเจาหนาทีส่ ารบรรณ เปนแพทย เปนพยาบาล เปนทหาร เปนชาวนาชาวสวน เปนนักศึกษา ฯลฯ ซึ่งทุกคนสามารถทําตนใหเปนคนมีบุญวาสนา ไดเสมอดวยตัวของตัวเอง ไมจําเปนตองไปโทษฟาดิน อดีต หรืออนาคตอะไร ขอใหฝกฝนหนาที่การงานของตัวเอง ใหมีความชํานาญเทานั้น

ปญหาที่ทําใหคนเรายอทอหมดกําลังใจไปเสียกอนที่จะมีบุญวาสนาก็คือ การที่แปลคํา ๆ นี้วา ความดีที่ทําใหไดลาภ ยศ สรรเสริญ เพราะเมื่อทําไปแลวก็จะรอลาภ ยศ สรรเสริญ แตก็อาจจะผิดหวัง เพราะ เรื่องทั้งสองนี้ไมเกี่ยวของกันโดยตรงเลย การทําหนาที่ของตัวเองใหดี ใหชํานาญ เปนเรื่องที่เราฝกฝนตัวเอง แตลาภ ยศ สรรเสริญ เปนสิ่งที่คนอื่นหยิบยื่นใหเรา เราควบคุมคนอื่นไมได ลาภ ยศ สรรเสริญ จะไดมาหรือไม เปนเรื่องของโชควาสนา เปนเรื่องที่เกินเลยบุญวาสนาออกไปอีก เพราะการที่เราจะไดลาภ ยศ สรรเสริญ นั้น นอกจากเราจะตองมีบุญวาสนาแลว เราก็ตองแสดงกับคนที่เหมาะสม ในจังหวะที่เหมาะสม และในสถานที่ เหมาะสม บุญวาสนาของเราถึงจะแสดงผลออกมาได หากมันไมเหมาะสมกันในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง ผลที่เกิด ก็อาจจะไมเปนไปตามที่เราอยากได จะเห็นวา อยางนอย ๆ ทุกทานก็ควรเปนคนมีบุญวาสนา (เปนผูฝกฝน ทําความดีจนเคยชิน) แลว ทานอาจจะมีโชควาสนาก็ได หากไมมโี ชควาสนาก็ไมใชเรือ่ งแปลกอะไร สังคมมนุษย ก็เปนเชนนี้เอง ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เปนโลกธรรมที่ไมยั่งยืน แตบุญวาสนานั้นติดตัวเราไปตลอดชีวิต












Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.