หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน เมษายน 2559

Page 1











ขาวทหารอากาศ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ เจาของ

กองทัพอากาศ

ที่ปรึกษา

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง

พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑไพโรจน พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

พล.อ.ต.ธนบดี อุตะมะ พล.อ.ต.นอย ภาคเพิ่ม น.อ.ไววิทย เสือดี น.อ.ศุภโชติ ชัยวงษ น.อ.กานตชนก หันหาบุญ น.อ.วันชัย บุญภักดี

พล.อ.ต.นพดล บุญมั่น พล.อ.ต.สําเริง พูลเพิ่ม น.อ.ขวัญกลา นกเอี้ยงทอง น.อ.วันชัย พึ่งเจียม น.อ.หญิง วิภาดา ชนไมตรี น.อ.ณรงคศักดิ์ พิชิตชโลธร

ผูอํานวยการ

พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ เจากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

รองผูอํานวยการ

พล.อ.ต.คุณทร มณีเขียว เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.อัมพร ทองถม รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจัดการ น.อ.สหัสชัย มาระเนตร ผูชวยผูจัดการ น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ ผูชวยบรรณาธิการ น.อ.หญิง ธัญญาภรณ พันธุเพ็ง น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี ประจํากองบรรณาธิการ น.อ.หญิง วรรณิภา ยี่ประชา น.อ.นิพนธ กอสินคา น.อ.หญิง วัลภาภรณ มูลละ น.ท.สินธพ ประดับญาติ น.ท.หญิง ยุพเรศ วงศมีศักดิ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห กองจัดการ น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง ร.อ.สุวัฒน ประชากูล ร.ต.ชัดชัย ชาวดร พ.อ.อ.หญิง เฉลา แกวยศ นาง อมรา หัตถมาศ

หนังสือขาวทหารอากาศ ความเปนมา

หนังสือขาวทหารอากาศ เปนนิตยสารรายเดือนของกองทัพ อากาศ เริ่มดําเนินการเมื่อป พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรมขาวทหารอากาศ มีนาวาอากาศเอก สกล รสานนท เปนบรรณาธิการคนแรก ดําเนินการ โดยทุนของขาราชการทหารอากาศ ตอมาป พ.ศ.๒๔๙๘ ไดโอนกิจการ มาอยูในความอํานวยการของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ไดเขาอยูในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กํากับดูแลโดยคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพกองทัพ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค.๕๒ กําหนดใหใชระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพ อากาศ วาดวยการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒

ภารกิจ

ดําเนินกิจการหนังสือขาวทหารอากาศ ใหเปนไปตามนโยบายของ คณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ มีผอู าํ นวยการ หนังสือขาวทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค

๑. เพื่อเพิ่มพูนความรูในกิจการทั่ว ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในดานการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม อันจะ เปนประโยชนตอสวนรวม ๓. เพื่อเผยแพรกิจการกองทัพอากาศ

การดําเนินงาน

๑. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น ที่เปน ประโยชนในการพัฒนากองทัพและสวนรวม ๒. เรื่องที่นําลงในหนังสือขาวทหารอากาศ - ตองไมขัดตอวัตถุประสงค/นโยบาย กองทัพอากาศ - ตองไมกระทบตอความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ สวนรวม - ตองไดรับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการ พิจารณาเรื่องของสํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ

กําหนดการเผยแพร

นิตยสารรายเดือน

พิมพที่ บริษัท ปรีชาธร อินเตอรพริ้น จํากัด ๔/๕ ซอย รามอินทรา ๔๒ แยก ๘ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐ โทร. ๐๒-๙๓๐-๗๐๕๓-๔ แฟกซ ๐๒-๙๓๐๗๐๕๐ คาสมาชิกภายนอกปละ ๓๕๐ บาท (รวมคาสง) สั่งจาย ปณ.คลองถนน ๑๐๒๒๒

สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th หอง ๑๐๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

ความคิดเห็นของผูเขียนในหนังสือฉบับนี้ ไมมีสวนผูกพันกับทางราชการแตประการใด ภาพที่ลงในหนังสือขาวทหารอากาศนํามาจาก google.com ออกแบบปก : น.ท.สินธพ ประดับญาติ/จ.ท.หญิง รัฐพร เตชะสินทวี E-mail: rtafmag@gmail.com


ปที่ ๗๖ ฉบับที่ ๔ เดือนเมษายน ๒๕๕๙

สารบัญ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๒๑ ๒๕ ๒๗ ๓๐ ๓๒ ๓๕

๓๙

๔๓ ๔๕ ๔๗

๕๑

๕๕

บทบรรณาธิการ วันสงกรานต ...น.อ.เกษม พงษพันธ สารผูบัญชาการทหารอากาศ ประโยชนสุขของแผนดิน : เดินตามรอยเทาพอ ...ตามรอย ศูนยขอมูลกองทัพอากาศ (RTAF Data Center) ...น.ท.อนุโชต วุฒิพรพงษ บทบาทและความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ๗๕ ป กองบิน ๖ ...ปชส.บน.๖ บทบาทกองทัพอากาศกับการกาวสู ประชาคมอาเซียน ...น.ท.พรอมรบ จันทรโฉม วันกองทัพอากาศ ...ฒ.ผูเฒา งูในรังพญาอินทรี : การโจมตีฐานบิน ในประเทศไทย ...น.อ.วัชระ สกุลรัตน การปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (Network Centric Operations: NCO) ทอ. - ทร. ...น.อ.กฤษณัส กาญจนกุล ๔๙ ป วิทยาลัยการทัพอากาศกับการพัฒนา ตามสภาวะแวดลอมและภัยคุกคามที่เปลี่ยนแปลง ...ปชส.วทอ.ยศ.ทอ. กาวไปกับ ๙ กิจกรรม ๙๔ ป กองบิน ๕ ...ปชส.บน.๕ ขับขี่ปลอดภัยรับปใหมไทย ...แรมโบ ผูบัญชาการทหารอากาศคนแรก พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฎ ...พล.อ.ท.วิเชียร ธรรมาธร กรมยุทธศึกษาทหารอากาศกับการพัฒนากําลังพล ของกองทัพอากาศในทศวรรษหนา ...น.ท.สุริยา ราชขันธ กรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ มุงสูองคกร คุณภาพ สรางความเชื่อมั่นและศรัทธากองทัพอากาศ ตอสาธารณชนอยางยั่งยืน ...ปชส.กร.ทอ.

๕๘ กิจการการบินของไทยกับสี่แผนดินราชวงศจักรี ...ปชส.ศภษ.ยศ.ทอ. ๖๔ เรื่องเลาจากแฟมการยุทธทางอากาศ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร ๖๗ การแพทยทหารอากาศกับการชวยเหลือ ทางมนุษยธรรมผูประสบภัยพิบัติภายใต กรอบความรวมมือของอาเซียน ...พล.อ.ท.ศักดา สุจริตธรรม ๗๒ สวัสดิการสรางสรรค เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ของกําลังพลกองทัพอากาศ ...ปชส.สก.ทอ. ๗๕ การพัฒนาและบูรณาการระบบคนหาและ ชวยชีวิตในพื้นที่การรบ (CSAR) สูการคนหา และชวยชีวิตแหงชาติ (National SAR) ...ยก.ทอ. ๘๑ เวลาการตูน ...มิสกรีน ๘๓ ครูภาษาพาที : อังกฤษกลายพันธุ (ตอนที่ 2) ...Mr.Know It All ๘๗ 3D PRINTER เทคโนโลยีที่จับตองได ...น.อ.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย, Ph.D. ๙๒ ปริศนาอักษรไขว ประจําเดือน เม.ย.๕๙ ...มีน ๙๔ ภาษาไทยดวยใจรัก : เนื่องมาจาก วิวาหพระสมุท ...นวีร ๙๖ ขอบฟาคุณธรรม : เปนคนละเอียดรอบคอบ ...1261 ๙๙ มุมสุขภาพ : สุขภาพดีกับ 4 ชวงวัย ...นายหวงใย ๑๐๒ รอบรู...อาเซียน : เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน ...@Zilch ๑๐๓ เฉลยปริศนาอักษรไขวมีรางวัล ประจําเดือน ก.พ.๕๙ ...มีน ๑๐๔ มุมกฎหมาย : ใครมีสิทธิรับมรดก ...ร.ท.ชานุวัฒน แสงสุวรรณ ๑๐๖ เฉลยปริศนาอักษรไขวประจําเดือน เม.ย.๕๙ ...มีน ๑๐๗ ในรั้วสีเทา ๑๑๒ กําหนดการรับสมัครนักเรียนพยาบาลทหารอากาศฯ


บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ สมาชิกหนังสือขาวทหารอากาศทุกทาน หนังสือขาวทหารอากาศฉบับเดือนเมษายนนี้ เปนฉบับพิเศษทีม่ วี นั สําคัญตาง ๆ ใหสมาชิกทุกทานไดรบั ทราบ วันที่ ๒ เมษายนของทุกป เปนวันคลายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจาฟามหาจักรีสริ นิ ธร รัฐสีมาคุณากรปยชาติ สยามบรมราชกุมารี พระองคทรงมีพระปรีชาหลายดาน โดยเฉพาะดานศิลปวัฒนธรรม ทรงมี พระมหากรุณาธิคุณอนุรักษสนับสนุนกิจกรรมวัฒนธรรมของชาติเสมอมา รัฐบาลจึงประกาศใหวันนี้เปน “วันอนุรักษ มรดกไทย” นับแตป พ.ศ.๒๕๒๘ เปนตนมา วันที่ ๖ เมษายนของทุกป “วันจักรี” ถือวาเปนวันสําคัญวันหนึ่งของไทย เปนวันที่ชาวไทยทุกคนจะได รวมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ปฐมบรมราชวงศจกั รี และทรง สถาปนา กรุงเทพมหานคร เปนเมืองหลวงของประเทศไทย วันที่ ๙ เมษายนของทุกป “วันกองทัพอากาศ” เปนวันที่ “กรมทหารอากาศ” ไดยกฐานะเปน “กองทัพอากาศ” เมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๐ หนังสือขาวทหารอากาศจึงไดนํา ภารกิจโดยรวม มาทํา เปนภาพปกฉบับนีใ้ หสมาชิกไดเก็บไวเปนภาพประวัตศิ าสตร พรอมนีไ้ ดนาํ บทความเกีย่ วกับกองทัพอากาศในอดีตมาให สมาชิกไดตดิ ตาม เชน “กิจการการบินไทยกับสีแ่ ผนดินราชวงศจกั รี” ซึง่ จัดทําเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษควบคูก นั และบทความ “วันกองทัพอากาศ” รวมทั้ง “ผูบัญชาการทหารอากาศคนแรก พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฎ” นอกจากนี้ยังมีบทความเกี่ยวกับการพัฒนาขีดความสามารถกําลังรบระหวางกองทัพอากาศและ กองทัพเรือ เรือ่ ง “การปฏิบตั กิ ารทีใ่ ชเครือขายเปนศูนยกลาง (Network Centric Operations: NCO) ทอ. - ทร.” วันที่ ๑๓ - ๑๕ เมษายน ตรงกับ เทศกาลสงกรานตและวันขึ้นปใหมไทย ซึ่งเปนประเพณีเกาแกที่ชาวไทยได ยึดถือและสืบทอดปฏิบตั กิ นั มา โดยการทําบุญตักบาตร สรงน้าํ พระ รดน้าํ ขอพรจากผูใ หญ รวมทัง้ การเลนน้าํ สงกรานต ซึ่งในแตละปจะมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบนถนนเปนประจํา คณะผูจัดทําฯ ไดตระหนักถึงเหตุการณดังกลาว จึงอยากใหสมาชิก ทุกทานอานบทความ “ขับขี่ปลอดภัยรับปใหมไทย” สุดทายนี้ คณะผูจัดทําฯ ขออวยพรใหสมาชิกทุกทานมีความสุขและเดินทางทองเที่ยวในเทศกาลปใหมไทย ดวยความปลอดภัยทุกทาน และรวมกิจกรรมสืบสานประเพณีสงกรานตของชาติไทยใหยั่งยืนตลอดไป  บรรณาธิการ 




ประโยชนสุขของแผนดิน

ตามรอย

เดินตามรอยเทาพอ “...ฉันเดินตามรอยเทาอันรวดเร็วของพอโดยไมหยุด ผานเขาไปในปาใหญ นากลัว ทึบ แผไปโดยไมมีที่สิ้นสุด มืด และกวาง มีตนไมใหญ เหมือนหอคอยที่เขมแข็ง พอจา...เราจะถึงจุดหมายปลายทางไหม ?...” บทพระราชนิพนธ “เดินตามรอยเทาพอ” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

แมเวลาลวงเลยจนปจจุบนั ขัตติยราชกุมารีพระองคนยี้ งั ทรง เดินตามรอยเทาอันรวดเร็วของพอโดยไมหยุด เพื่อสานตอภารกิจ ของพอ สูก ารพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชาวไทยทัง้ แผนดิน สิง่ ทีพ่ ระองค ทรงเปนหวงมากที่สุดเรื่องหนึ่งก็คือ การศึกษา เพราะเด็กและเยาวชน ที่อยูหางไกลยังอานและเขียนภาษาไทยไมไดเลย


หากเยาวชนอานไมออก เขียนไมได การเรียนรูวิชาตาง ๆ ก็ยอมจะมืดมนไปดวย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จึงทรงวิรยิ ะอุตสาหะ เสริมสรางขีดความสามารถผานทางการศึกษา มาโดยตลอด ทั้งนี้ก็เพื่อใหพวกเขาพรอมรับการ เปลี่ยนแปลงของสังคม สามารถแขงขันและ ดํารงชีวิตอยูไดอยางมีคุณภาพเชนเดียวกับเด็ก การเรียนการสอนในโรงเรียนปอเนาะภาคใต ในที่อื่น ๆ ความรูที่พวกเขาไดรับจากโรงเรียน /โรงเรียน ตชด. จว.ตาก การพัฒนาในดานตาง ๆ และตามทันการเปลีย่ นแปลง ทีเ่ กิดขึน้ กระทัง่ สามารถสรางชีวติ สรางอาชีพมาสูค วามเปนอยูท ยี่ งั่ ยืนได จึงไมมที ใี่ ดไกลเกินสายพระเนตร...หลายโรงเรียน จึงกอตั้งขึ้น...สานตอแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เพื่อใหคนทุกระดับ ทุกพื้นที่ และทุกวัย ไดเขาถึง โอกาสทางการศึกษาอยางแทจริง...

ปจจุบนั มีสถานศึกษาในโครงการตามพระราชดําริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ จํานวน ๗๗๖ แหง กระจายอยูตามภาคสวนตาง ๆ ทั่วประเทศ - โรงเรียนในสังกัดกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน ๑๗๘ แหง - สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๙๓ แหง - สังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒๗๗ แหง - สังกัดสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ ๕๐ แหง - สังกัดสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน ๑๕ แหง - สังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น ๓๘ แหง และโรงเรียนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ๒๕ แหง

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในการชวยเหลือ

พระเมตตายังไมจาํ กัดเฉพาะชาวไทยเทานัน้ แต ประเทศลาว กัมพูชา พมา เวียดนาม ยังพระราชทานความรวมมือไปยังหลายประเทศเพือ่ นบาน และประเทศอื่น ๆ เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนในประเทศเหลานัน้ ใหมสี ขุ ภาพ และความเปนอยูท ดี่ ขี นึ้ เพือ่ วันขางหนาพวกเขา จะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาบานเมือง พัฒนาบานเกิดของเขาเองใหเจริญกาวหนาตอไปได


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงทําอาหารเลี้ยงเด็ก ๆ ในโรงเรียน ตชด.

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน เพราะทรงมองเห็นความสําคัญของอาหารและโภชนาการที่เด็ก ๆ ควรไดรบั ... เมือ่ พวกเขามีสขุ ภาพทีแ่ ข็งแรง จะไดนาํ ความรูไ ปพัฒนาบานเมืองได พืน้ ทีเ่ ล็ก ๆ หลังโรงเรียนจึงแปรเปลีย่ น เปนทัง้ หองเรียนวิชาเกษตรและแหลงอาหารเลีย้ งปากทองของพวกเขา ดวยเหตุนพี้ ระองคทรงเริม่ ตนงานพัฒนาสงเสริม ดานโภชนาการและสุขภาพของเด็กในโรงเรียนที่อยูในทองถิ่นทุรกันดารกอนขยายผลไปยังโรงเรียนแหงอื่นทั่วประเทศ ในเวลาตอมา นอกจากนี้ทรงตระหนักดีวาการพัฒนาเด็กและเยาวชนเพียงกลุมเดียว ไมเพียงพอที่จะทําใหเกิดความมั่นคง ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของราษฎรได ยังตองชวยเหลือครอบครัวของเด็กและเยาวชนในชุมชนนัน้ ดวย ปจจุบนั มีกลุม อาชีพประชาชนในถิ่นทุรกันดาร ทั้งหมด ๕๐ กลุม ในพื้นที่ ๙ จังหวัด ทั่วทั้ง ๔ ภาคของประเทศ มีจํานวนสมาชิก รวมทัง้ สิน้ ๑,๔๖๘ คน นอกจากนีย้ งั มีกลุม อาชีพทีท่ รงพระราชทานความชวยเหลือในพืน้ ทีป่ ระสบภัยตาง ๆ อาทิ พืน้ ที่ ๖ จังหวัดภาคใตที่ประสบภัยสึนามิ และพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถซึ่งประสบอุทกภัยดินถลม ดวยความที่พระองคทรงสนพระทัยในทุก ๆ เรื่องที่สงผลกระทบตอสวนรวม ไมมีเรื่องไหนที่พระองคทาน ทรงละเลยจากสายพระเนตร โดยเฉพาะสภาพผืนปา ตนน้ํานานที่กําลังจะหมดไปจากการบุกรุกทําลายเพื่อทําไรของ ชาวบานโดยรูเ ทาไมถงึ การณ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงตองการใหเด็กและเยาวชนตระหนักถึงความภาคภูมใิ จ ในศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นของตนเอง จึงทรงสงเสริมใหเกิดการศึกษา คนควา รวบรวม เผยแพรวัฒนธรรมเพื่อรักษา ประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงามของทองถิ่นนั้นไว อันเปนการปองกันไมใหวัฒนธรรมถูกทําลาย เนื่องจากผลของการพัฒนา จากภายนอก


ขาวทหารอากาศ ๑๙

เมษายน ๒๕๕๙

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงงานดานโบราณสถาน นาฏศิลป ดนตรี พิพิธภัณฑภูมิปญญาไทย ระบบประเพณีตาง ๆ เรื่องอาหารไทย และวิถีชีวิตไทยในทองถิ่น

นอกจากนี้ยังทรงเปนผูนําและตนแบบในการฟนฟู อนุรักษ สืบสาน และเผยแพรมรดกทางศิลปวัฒนธรรม มาอยางตอเนื่องดวย ทรงสนพระราชหฤทัยสรางสรรค และอุปถัมภบํารุงศิลปะสาขาตาง ๆ รวมทั้งทรงมีพระราชดําริ ในการอนุรกั ษ ฟน ฟู และสืบทอดศิลปวัฒนธรรมหลายแขนง เพือ่ ใหเปนสมบัตขิ องชาติตลอดไป ดังจะเห็นไดจากรัฐบาล ไดประกาศใหวันที่ ๒ เมษายนของทุกป ซึ่งตรงกับวันพระราชสมภพเปนวันอนุรักษมรดกไทย องคความรูในการพัฒนาประเทศของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เกิดจากการแกปญหาดวยความเขาใจ อยางแทจริง ทําใหความรูนั้นยั่งยืนและปรับใชไดกับหลายพื้นที่... หลายโครงการทรงมุงหวังใหเปนตนแบบของความ สําเร็จใหแกเกษตรกร และผูท สี่ นใจทัว่ ไปไดมคี วามรูแ ละชวยเหลือตนเองได ในฐานะเปนแหลงศึกษาวิทยาการใหม ๆ ที่ ผสมผสานกับวิถีชีวิตของราษฎรไดอยางเหมาะสม และที่สําคัญแนวพระราชดําริในการพัฒนาทุกโครงการ เริ่มตนบน พืน้ ฐานเดิมของสังคมไทย ตามสภาพภูมปิ ระเทศและสังคมวิทยา รวมถึงนิสยั ใจคอของคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณี ในแตละทองถิน่ ทีม่ คี วามแตกตางกัน... ซึง่ ลวนแตเดินตามหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทัง้ นัน้ แมจะ อยูหางไกลในถิ่นทุรกันดาร... แมจะเปนเพียงแคชาวไทยภูเขาที่มีความตางทั้งเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม และแมความเปนอยูจ ะยากจนแรนแคนขาดโอกาสทางการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และมีปญ หาสุขภาพอนามัยสักแคไหน...


ภาพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงงาน พวกเขาจะไมมีวันอยูอยางโดดเดี่ยว ประตูแหงโอกาสที่ครั้งหนึ่งเคยปดตายสําหรับคนดอยโอกาสในทองถิ่นทุรกันดาร ไดถูกเปดขึ้น เพื่อใหพวกเขาเหลานั้นไดมีโอกาสกาวสูความสําเร็จ สามารถยืนหยัดและกาวไปสูสิ่งที่ดีกวาในชีวิตได อยางยั่งยืนมั่นคง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คือ ผูน าํ ความเปลีย่ นแปลงมาสูผ คู นในพืน้ ทีห่ า งไกลทุรกันดาร ในหลาย ๆ ดาน พระองคไมเคยละเลย แมแตสิ่งเล็ก ๆ และไมวาอยูหางไกลสักแคไหน น้ําพระราชหฤทัยก็เดินทางไปถึง คําถามที่วา พอจา...เราจะถึงจุดหมายปลายทางไหม ? ในบทพระราชนิพนธ คงเปนที่ประจักษแกมหาชนแลว

“...เพื่อมนุษยชาติ จงอยาละความกลา เมื่อเผชิญกับความทุกข ใหอดทนและสุขุม และจงมีความสุข ที่ไดยึดอุดมการณที่มีคาไปเถิด ถาเจาตองการเดินตามรอยเทาพอ...” พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว


น.ท.อนุโชต วุฒิพรพงษ ศคพ.สอ.ทอ. (ตอจากฉบับที่แลว)

มาตรฐาน ISO/IEC 17799 เปนมาตรฐานที่กลาวถึงเรื่องของวิธีปฏิบัติ (HOW TO) ที่จะนําไปสูระบบ บริหารจัดการความมัน่ คงปลอดภัยทีศ่ นู ยขอ มูลไดจดั ทําขึน้ ซึง่ จะตองเปนไปตามขอกําหนดในมาตรฐาน ISO/IEC 27001 รายละเอียดของมาตรฐานนี้จะบอกถึงวิธีปฏิบัติในการลดความเสี่ยงที่เกิดจากจุดออนของระบบ โดยแบงหัวขอหลักที่ เกี่ยวของกับระบบและใหแนวทางวาผูจัดทําควรปฏิบัติอยางไร ซึ่งผูใชสามารถเพิ่มเติมมาตรการหรือใชวิธีการอื่น ๆ ที่ เหมาะสมตามที่องคกรไดประเมินไว ซึ่งหัวขอสําคัญมี 14 หัวขอหลัก (Domain) หรือ 114 มาตรการควบคุม (Control) ในมาตรฐานเวอรชนั 2013 ทีศ่ นู ยคอมพิวเตอร กรมสือ่ สารอิเล็กทรอนิกส ไดนาํ ไปปฏิบตั เิ พือ่ รักษาความมัน่ คงปลอดภัย ขอมูลและระบบสารสนเทศใหกับศูนยขอมูล ทอ. โดยมีรายละเอียดของหัวขอ ดังนี้ ๙) การบริหารจัดการดานการสื่อสาร (Com๑) นโยบายความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ munications Security) (Information Security Policy) ๑๐) การจัดหา การพัฒนาและบํารุงรักษา ๒) โครงสรางความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Systems Acquisition, Develop(Organization of Information Security) ment and Maintenance) ๓) ความมั่นคงปลอดภัยสําหรับทรัพยากร ๑๑) การควบคุมผูผลิตหรือผูใหบริการ บุคคล (Human Resources Security) (Supplier Relationships) ๔) การบริหารจัดการทรัพยสิน (Asset ๑๒) การบริหารจัดการเหตุการณที่เกี่ยวของ Management) ๕) การควบคุมการเขาถึง (Access Control) กับความมั่นคงปลอดภัยขององคกร (Information Security Incident Management) ๖) การเขาและถอดรหัส (Cryptography) ๑๓) การบริหารความตอเนื่องในการดําเนิน ๗) การสรางความมั่นคงปลอดภัยทางกายภาพ และสิ่งแวดลอม (Physical and Environmental Security) งานขององคกร (Business Continuity Management) ๑๔) การปฏิบัติตามขอกําหนด (Compliance) ๘) การสรางความมั่นคงปลอดภัยในการ ดําเนินการ (Operations Security)


๒๒ ขาวทหารอากาศ ดังนัน้ จึงสรุปไดวา ความแตกตางของมาตรฐาน ISO/ IEC 27001 และมาตรฐาน ISO/IEC 17799 คือ มาตรฐาน ISO/IEC 27001 จะเนนเรื่องขอกําหนดในการจัดทําระบบ ISMS ใหกบั องคกรตามขัน้ ตอน Plan-Do-Check-Act และ ใชแนวทางในการประเมินความเสีย่ งมาประกอบการพิจารณา เพือ่ หาวิธกี ารหรือมาตรการทีเ่ หมาะสม สวนมาตรฐาน ISO/ IEC 17799 จะเนนเรื่องวิธีปฏิบัติที่จะนําไปสูระบบ ISMS ที่องคกรไดจัดทําขึ้น ซึ่งจะตองเปนไปตามมาตรฐาน ISO/ IEC 27001 กําหนดไวดวย  มาตรฐานระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัย ขอมูลสารสนเทศ (ISO 27001: 2013) การจัดทํามาตรฐานระบบบริหารจัดการความ มั่นคงปลอดภัยขอมูลสารสนเทศ (Information Security Management System: ISMS) เปนมาตรการรักษาความ มัน่ คงปลอดภัยทีส่ าํ คัญ ซึง่ นขต.ทอ.สามารถนําไปประยุกต ใชเพื่อสรางความแข็งแกรงใหกับระบบสารสนเทศ หรือ อุปกรณสื่อสารอิเล็กทรอนิกสที่ตนเองดูแลอยูได มาตรการจัดการดานความมัน่ คงปลอดภัยสําหรับ สารสนเทศ (อางอิงมาตรฐาน ISO/IEC 27001 Annex A และศึกษารายละเอียดวิธีปฏิบัติทางเทคนิคจาก ISO/IEC 17799:2013) ซึง่ สวนนีเ้ ปนสวนที่ ๒ ของกระบวนการจัดทํา ระบบบริหารจัดการความมัน่ คงปลอดภัยขอมูลสารสนเทศ เปนมาตรการทีศ่ นู ยขอ มูล ทอ. ไดปฏิบตั ติ าม ซึง่ มีทงั้ นโยบาย กระบวนการปฏิบัติและเทคโนโลยีที่ใช ดังตอไปนี้ ๑) นโยบายความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security Policy) ประกอบดวย นโยบายความมั่นคงปลอดภัย สําหรับสารสนเทศ มีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดทิศทางและ ใหการสนับสนุนการดําเนินการดานความมั่นคงปลอดภัย สําหรับสารสนเทศขององคกร เพือ่ ใหสอดคลองหรือเปนไป ตามขอกําหนดทางกฎหมายและระเบียบปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วของ โดยศูนยคอมพิวเตอร สอ.ทอ. ไดจัดทํานโยบายที่เปน ลายลักษณอักษร โดยมีวัตถุประสงคหลักของการรักษา

เมษายน ๒๕๕๙ ความมั่นคงปลอดภัย คือ CIA หรือ การรักษาความ ลับ (Confidentiality: C) ความถูกตอง (Integrity: I) และความพรอมใชงาน (Availability: A) ของขอมูล สารสนเทศ มีการจัดทํากลยุทธดา นความมัน่ คงปลอดภัย สารสนเทศและการบริหารความเสี่ยง โดยพิจารณา ผลกระทบทีเ่ กีย่ วของกับทรัพยสนิ สารสนเทศทีห่ ากขาด ความมั่นคงปลอดภัยดังกลาว จะสงผลกระทบกับการ สูญเสียชื่อเสียงและความเชื่อมั่น (Loss of Reputation and Confidence) และการสูญเสียความสามารถในการ ดําเนินการเปนหลัก (Loss of Operation) ซึ่งหากการ สูญเสียเกินขอบเขตที่จะยอมรับได ศูนยคอมพิวเตอรจะ ตองหามาตรการตาง ๆ มาควบคุม ลด หรือถายโอนความ เสีย่ งดังกลาวออกไป นอกจากนีน้ โยบายดังกลาวจะตองมี การทบทวนตามกรอบระยะเวลาทีก่ าํ หนดหรือเมือ่ มีการ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญขององคกร ๒) โครงสรางความมัน่ คงปลอดภัยสารสนเทศ (Organization of Information Security) เอกสารนี้ กลาวถึงโครงสรางระบบบริหารจัดการความมัน่ คงปลอดภัย ขอมูลสารสนเทศรวมทัง้ โครงสรางเอกสารทีป่ ฏิบตั ภิ ายใน ศูนยขอ มูล ทอ. ดังภาพ ทีม่ กี ารกําหนดบทบาทและความ รับผิดชอบ ดังตอไปนี้ ๒.๑ คณะกรรมการบริหารจัดการความ มั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ (ISMS Steering Committee) มีหนาที่อนุมัติกรอบการดําเนินงานและ นโยบายดานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ กําหนด ทิศทาง วัตถุประสงค และแผนงานในการดําเนินการของ ระบบฯ รวมทั้งการสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปนตอการ จัดทําและการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัย ซึ่งจะ ประกอบดวย จก.สอ.ทอ. รอง จก.สอ.ทอ. เสธ.สอ.ทอ. รอง เสธ.สอ.ทอ. และ ผอ.ศคพ.สอ.ทอ. ๒.๒ ตัวแทนฝายบริหารจัดการความมัน่ คง ปลอดภัยสารสนเทศ (ISMS Management Representative หรือ ISMR) ซึ่งกําหนดเปน ผอ.ศคพ.สอ.ทอ. มีหนาทีร่ ายงานผลการดําเนินการตอคณะกรรมการฯ และ


เมษายน ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๒๓

ภาพโครงสรางเอกสารในระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลสารสนเทศ

ตรวจสอบผลการดําเนินการ รวมทัง้ รับผิดชอบในการนํา ระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศไป ใชงานจริงและดูแลใหเปนไปตามที่กําหนด ๒.๓ คณะทํางาน ISMS (ISMS Working Committee) มีหนาทีส่ นับสนุนดูแลการนํานโยบายดาน ความมั่นคงปลอดภัยไปใชอยางเหมาะสม ทําการตรวจ สอบและปรับปรุงแกไขนโยบายหรือกระบวนการเพิ่ม เติม เพื่อใหการดําเนินการมีประสิทธิภาพและเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน ทําการอบรมและสรางความตระหนัก ดานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศใหกับขาราชการที่ ปฏิบตั งิ านภายในศูนยขอ มูล รวมทัง้ ติดตามและตรวจสอบ ภัยคุกคามรูปแบบใหมที่สําคัญที่อาจสงผลกระทบสราง ความเสี่ยงใหกับระบบงาน และสามารถชี้แจงใหความรู กับขาราชการภายในและภายนอก สอ.ทอ. รวมทั้งผูให บริการอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ ใหสามารถปฏิบตั ติ ามขอกําหนด นโยบาย และขอบังคับอื่น ๆ ที่เกี่ยวของไดอยางถูกตอง ๒.๔ คณะผูตรวจสอบภายใน (Internal Audit) เปนผูต รวจผลการดําเนินการดานการบริหารจัดการ

ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ตลอดจนกระบวนการ ตาง ๆ เพือ่ ใหมนั่ ใจวาสอดคลองกับนโยบายและมาตรการ ที่เกี่ยวของ ๒.๕ เจาของระบบ (System Owner) มี หนาทีจ่ ดั การขอมูลสารสนเทศในระบบงานของตนเอง เปน ผูก าํ หนดมาตรการดานความมัน่ คงปลอดภัยตลอดจนอนุมตั ิ ตรวจทาน และรับรองสิทธิการเขาใชระบบงานทีเ่ หมาะสม กับระดับชั้นความลับของขอมูล ๒.๖ ผูด แู ลระบบ (Custodian) คือ ผูท ไี่ ดรบั มอบหมายใหบริหารจัดการระบบสารสนเทศจากเจาของ ระบบ โดยจะตองปฏิบัติตามมาตรการดานความมั่นคง ปลอดภัยที่เจาของระบบกําหนดไว และดูแลใหระบบ สารสนเทศดังกลาวสามารถใหบริการไดสอดคลองกับ ขอกําหนดในนโยบายดานความมั่นคงปลอดภัยดวย ๒.๗ ผูใช (User) ไดแก บุคคล ระบบงาน หรือ กระบวนการ ทีไ่ ดรบั อนุญาตใหเขาถึงขอมูลสารสนเทศ ไดตามกระบวนการหรือขอบังคับของเจาของระบบงานเอง อยางไรก็ตามผูใ ชตอ งปกปองขอมูลภายใตการควบคุมของ


๒๔ ขาวทหารอากาศ ผูด แู ลระบบ และปฏิบตั ติ ามนโยบาย มาตรการ และแนวทาง การดําเนินการที่เกี่ยวของ ๓) ความมัน่ คงปลอดภัยสําหรับทรัพยากรบุคคล (Human Resources Security) จะกลาวถึงบทบาทของ ผูบ ริหารองคกรกองกําลังพลของหนวย รวมถึงหัวหนางาน ในสวนที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ ๓.๑ การสรางความมั่นคงปลอดภัยกอนการ ปฏิบัติงาน ขาราชการใหมทุกคนจะตองผานการคัดกรอง และตรวจสอบประวัตจิ ากกรมขาวทหารอากาศและบันทึก ประวัตทิ กี่ รมกําลังพลทหารอากาศเมือ่ เริม่ ปฏิบตั งิ านที่ ศคพ. สอ.ทอ. จะตองลงทะเบียนประวัตยิ อ ทีธ่ รุ การตามแบบฟอรม ISMS-3FM-036 รวมทัง้ ตองลงชือ่ ยอมรับขอตกลงการปฏิบตั ิ งานอยางเครงครัด Non-Disclosure Agreement เพื่อให ขาราชการเขาใจถึงบทบาทและหนาทีค่ วามรับผิดชอบของ ตน และเพือ่ ลดความเสีย่ งอันเกิดจากการขโมย การฉอโกง และการใชอุปกรณผิดวัตถุประสงค ๓.๒ การสรางความมัน่ คงปลอดภัยในระหวาง การปฏิบตั งิ าน จัดการฝกอบรมเพือ่ ใหขา ราชการและผูเ กีย่ วของ จากหนวยงานภายนอกไดตระหนักถึงภัยคุกคามและปญหา ทีเ่ กีย่ วของกับความมัน่ คงปลอดภัย หนาทีค่ วามรับผิดชอบ และทําความเขาใจกับนโยบาย เพือ่ ลดความเสีย่ งอันเกิดจาก ความผิดพลาดในการปฏิบัติหนาที่ ๓.๓ การสิ้นสุดและการยายโอน เพื่อให ขาราชการทีป่ ฏิบตั หิ นาทีภ่ ายในศูนยขอ มูลและผูเ กีย่ วของ จากหนวยงานภายนอกไดทราบถึงหนาที่ความรับผิดชอบ และบทบาทของตน รวมทั้งการดําเนินการถอดถอนหรือ เปลีย่ นแปลงสิทธิผ์ ใู ชเขาถึงในระบบฯ ทีผ่ นู นั้ ดูแลหรือมีสทิ ธิ์ เขาถึงเมื่อสิ้นสุดการจางงานหรือมีการเปลี่ยนยายโอน

เมษายน ๒๕๕๙ ๔) การบริหารจัดการทรัพยสิน (Asset Management) จะกลาวถึงการจัดทําบัญชีทรัพยสิน สารสนเทศ การเพิ่มเติม การปรับปรุง และการทบทวน บัญชีทรัพยสินสารสนเทศ โดย ศคพ.สอ.ทอ.มีการแบง ประเภทของทรัพยสนิ สารสนเทศซึง่ มี ๕ หมวด ในขอบเขต ของนโยบายความมัน่ คงปลอดภัย ไดแก ขอมูล บุคลากร ฮารดแวร ซอฟตแวร และการใชระบบสารสนเทศ โดยมี เจาของทรัพยสินสารสนเทศดังตอไปนี้ ๔.๑ กองกรรมวิธีขอมูล ศคพ.สอ.ทอ. มีหนาที่รับผิดชอบดูแล ทรัพยสินซอฟตแวร เครื่องแมขาย ที่ใหบริการ ขอมูลระบบ และ ระบบงานสารสนเทศ ตาง ๆ ๔.๒ กองสื่อสารขอมูล ศคพ.สอ.ทอ. มีหนาทีร่ บั ผิดชอบดูแล ทรัพยสนิ อุปกรณเครือขาย อุปกรณ รักษาความปลอดภัยเครือขาย และสื่อสายสัญญาณ ตาง ๆ ๔.๓ กองซอมบริภัณฑคอมพิวเตอร ศคพ. สอ.ทอ. มีหนาที่รับผิดชอบดูแล ทรัพยสิน อุปกรณให บริการโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ เชน เครื่องสํารองไฟฟา เครือ่ งยนตทาํ ไฟ เครือ่ งปรับสภาพอากาศ อุปกรณดบั เพลิง อัตโนมัติ เปนตน ซึง่ แตละหนวยงานจะตองบริหารจัดการ ดูแล ทรัพยสนิ ของตนเอง รวมทัง้ จัดประเภททรัพยสนิ ตามระดับ ความสําคัญของขอมูล (Information Classification) ประเมินความเสี่ยงและพิจารณาระดับของผลกระทบที่ มีตอบริการหรือภารกิจหากเกิดภัยคุกคามที่เกิดขึ้นกับ ทรัพยสิน หรือ ระบบงานที่ตนเองดูแล ฉบับหนาติดตาม การควบคุมการเขาถึง (Access Control)


น.อ.วสุ มโนสิทธิศักดิ์ ผบ.บน.๖

น.อ.พรเดชน คงปน รอง ผบ.บน.๖ (๑)

น.อ.อธิราช ศิริทรัพย เสธ.บน.๖

น.อ.จิรภัทร ปทอง รอง ผบ.บน.๖ (๒)

บทบาทและความพรอม ในการเขาสูประชาคมอาเซียน ๗๕ ป กองบิน ๖ ปชส.บน.๖

ฐานทัพอากาศดอนเมือง เปนที่ตั้งของกองบิน ๖ กองบินลําเลียงทางอากาศที่มีจํานวนฝูงบินและจํานวน อากาศยานมากที่สุดในกองทัพอากาศ จึงนับเปนกองบินที่มีความสําคัญทั้งในแงของที่ตั้ง ซึ่งตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร อันเปนจุดยุทธศาสตรทสี่ าํ คัญยิง่ ของประเทศไทยและภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และในแงของบทบาทและภารกิจ ของอากาศยานลําเลียงที่ทวีความสําคัญขึ้นอยางมากในปจจุบัน กองบิน ๖ แรกเริ่มกอตั้ง เมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๔ โดยมุงหมายใหเปนกองบินทิ้งระเบิดแหงแรก ของประเทศไทยในชวงสงครามมหาเอเชียบูรพา และกําหนดชือ่ เรียกในขณะนัน้ คือ กองบินนอยที่ ๖ โดยมี นาวาอากาศเอก สกล รสานนท ดํารงตําแหนงผูบังคับการกองบินทานแรก ตอมาในป พ.ศ.๒๕๐๖ กองทัพอากาศไดเปลี่ยนแปลงการ กําหนดอัตราหนวยงานใหม กองบินนอยที่ ๖ จึงเปลีย่ นชือ่ เปน กองบิน ๖ โดยเปนหนวยขึน้ ตรงตอกองทัพอากาศ และ มีการเปลี่ยนแปลงการจัดสวนราชการกองทัพอากาศอีกหลายครั้ง จนกระทั่งในป พ.ศ.๒๕๕๒ ไดมีพระราชกฤษฎีกา แบงสวนราชการกองทัพอากาศ กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๒ โดยกําหนดให กองบิน ๖ เปนหนวยขึ้นตรง ตอกองทัพอากาศ


๒๖ ขาวทหารอากาศ

กองบิน ๖ ไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง และใน ป พ.ศ.๒๕๕๘ ที่ผานมาประเทศไทยไดกาวเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) อยางเปนทางการ ดังนั้นกลุมประเทศอาเซียนจึง กลายเปนกลุมความรวมมือที่ถูกจับตามองจากประเทศ ตาง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศไทยซึ่งตั้งอยูในจุด ยุทธศาสตรสําคัญของภูมิภาค สงผลใหผูนําประเทศตาง ๆ ไมวา จะเปนในกลุม อาเซียนเองและกลุม ประเทศมหาอํานาจ ตางก็ใหความสนใจเดินทางมาเยือนประเทศไทยเพิม่ ขึน้ เปน จํานวนมาก กองทัพอากาศไดดําเนินการสรางอาคารทา อากาศยานทหาร ๒ กองบิน ๖ มีวตั ถุประสงคทจี่ ะใชเปนทา อากาศยานทหารแบบเต็มรูปแบบ และใชรบั รองบุคคลสําคัญ ทัง้ ในและตางประเทศ ไดเปดใชอยางเปนทางการเมือ่ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๗ โดยเปนอาคารขนาดใหญทที่ นั สมัย มีสิ่งอํานวยความสะดวก และระบบรักษาความปลอดภัย ที่เพียบพรอม และมีขีดความสามารถพรอมที่จะสนับสนุน การปฏิบัติภารกิจรับ-สงบุคคลสําคัญ ทั้งในระดับชาติและ ระดับนานาชาติไดอยางสมเกียรติ ดวยศักยภาพในดานตาง ๆ ไดแก ศักยภาพของอาคาร ศักยภาพลานจอด ศักยภาพ ของการบริหารจัดการลานจอด (Apron Management) และศักยภาพดานการรักษาความปลอดภัยและมาตรฐาน การดําเนินงาน สงผลใหการรับรองบุคคลสําคัญระดับผูนํา

เมษายน ๒๕๕๙

ประเทศ นับตั้งแตเปดใชอยางเปนทางการทุกภารกิจ สําเร็จลงดวยความเรียบรอย สมเกียรติ ตามนโยบาย ของผูบังคับบัญชากองบิน ๖ ที่มุงมั่นใหทาอากาศยาน ทหาร ๒ กองบิน ๖ ตองใหบริการดวยแนวคิด “สมเกียรติ มาตรฐาน ปลอดภัย” นอกจากนี้ทาอากาศยานทหาร ๒ กองบิน ๖ ยังสามารถสนับสนุนภารกิจอืน่ ๆ ไดเปนอยางดี เชน การ สนับสนุนภารกิจการชวยเหลือประชาชนทีป่ ระสบภัยพิบตั ิ ทัง้ ในและตางประเทศทีม่ แี นวโนมเพิม่ ขึน้ การสนับสนุน ภารกิจตาง ๆ ของกองทัพไทย และการสนับสนุนภารกิจ การประชาสัมพันธกองทัพอากาศ ซึ่งความสําเร็จที่เกิด ขึ้นนั้น นอกจากความพรอมของทาอากาศยานทหาร ๒ กองบิน ๖ และบุคลากรของกองบิน ๖ แลว ยังเกิดจาก การประสานการปฏิบัติกับหนวยงานตาง ๆ ของกองทัพ อากาศ และหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของอยางใกลชิด อีกดวย ดวยศักยภาพและความพรอมในดานตาง ๆ ประกอบกับมาตรฐานในการดําเนินงานที่เปนสากล และการสรางความรวมมือกับหนวยงานทีเ่ กีย่ วของอยาง ใกลชิด จึงเปนที่ประจักษแลววา ทาอากาศยานทหาร ๒ กองบิน ๖ พรอมแลวที่จะเปนประตูสูประชาคมอาเซียน ของกองทัพอากาศและประเทศไทยอยางแทจริง 


“หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งอัตลักษณ หนึ่งประชาคม” “One Vision, One Identity, One Community” ในป ๒๕๕๙ นี้ การดําเนินกิจการอาเซียนของ ทอ.กาวยางเขาขวบปที่ ๔ มีการเตรียมการลวงหนากอนเขาสู ประชาคมอาเซียนเปนระยะเวลาพอสมควร ซึง่ ในปนคี้ ณะกรรมการอาเซียนกองทัพอากาศ มี จก.ยก.ทอ. เปนประธานฯ และ สํานักงานอาเซียนกองทัพอากาศ มี นยก.อาวุโส ยก.ทอ.เปน หน.สํานักงานฯ โดยยึดถือแนวทางปฏิบัติการเขาสู ประชาคมอาเซียนของ กห.และยุทธศาสตร ทอ.ในการเขาสูประชาคมอาเซียนเปนแนวทางปฏิบัติ ซึ่งกําหนดไว ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ ๑ การเสริมสรางสมรรถนะและ ความพรอมของกองทัพอากาศในประชาคมอาเซียน : คณก.อาเซียน ทอ.เล็งเห็นแลววา การเตรียมความพรอม โดยใหกาํ ลังพลกองทัพอากาศมีขดี ความสามารถดานภาษา อังกฤษหรือภาษาอาเซียน ซึง่ มีความสําคัญเปนอยางยิง่ ในชวง ๒ ปทผี่ า นมา เริม่ ตนจากพัฒนาปรับปรุงโครงสราง พื้นฐานในการเรียนรู โดยมีโครงการปรับปรุงและพัฒนา หองปฏิบัติการทางภาษาของทุกกองบินที่มีหองปฏิบัติ การฯ อยูแลว รวมไปถึงหนวยดานการศึกษา เชน ศภษ. ยศ.ทอ. และ รร.จอ.ฯ เปนตน เพือ่ ทีจ่ ะไดมสี ถานทีใ่ นการ ศึกษาหาความรูด า นภาษาใหเปนมาตรฐานสากล ประกอบ กับการสรางสภาวะแวดลอมที่เอื้อประโยชนในการเรียน ภาษาไทยใหกับนายทหารมิตรประเทศที่มาเรียนภาษา ไทยใน ศภษ.ยศ.ทอ.(นายทหารตางประเทศทุกเหลาทัพ เขารับการศึกษาอบรมที่ ยศ.ทอ.ทั้งหมด) โดยการจัดทํา คูมือรองรับทหารอาเซียนและมิตรประเทศ จัดตั้งเครือ ขายการดูแล นทน.มิตรประเทศอยางเปนระบบ ในทาง คูข นานมีการริเริม่ จัดทําหลักสูตรหรือการอบรมระยะสัน้

ภาคภาษาอังกฤษ เชน หลักสูตรนิรภัยการบิน และหลักสูตร เวชศาสตรการบิน เปนตน เพื่อใหเปนศูนยกลางแหงการ แลกเปลี่ยนเรียนรูในภูมิภาค และเปนการขยายโอกาสให ทอ.มิตรประเทศเขามาสรางความรวมมือกับ ทอ.ไดมากขึน้ ในอนาคต และเปาหมายปลายทางของยุทธศาสตรนี้คือ การจัดตัง้ ศูนยการเรียนภาษาไทย/ภาษาอาเซียน อยางครบ วงจรและเปนมาตรฐานสากล ซึ่งเปนการสนับสนุนแผน งานประชาคมการเมืองและความมั่นคงของ กห.ในหัวขอ การจัดตัง้ หนวยงานทีส่ รางความไวเนือ้ เชือ่ ใจในกรอบความ รวมมืออาเซียน ทั้งนี้ในการจัดตั้งศูนยการเรียนฯ จําเปน ตองอาศัยความรวมมือของหลายสวน นขต.ทอ.ในการ ศึกษาแนวทางในการจัดตั้งศูนยการเรียนฯ ตอไป ยุทธศาสตรที่ ๒ การพัฒนาความรวมมือดาน ความมั่นคงของประเทศในกลุมอาเซียน : จากสภาพ ภูมริ ฐั ศาสตร และปจจัยโครงสรางพืน้ ฐานในการคมนาคม ขนสง และทีต่ งั้ ทีไ่ ดเปรียบทางยุทธศาสตรของประเทศไทย นั้น การเปนศูนยกลางในการฝกเพื่อรองรับภัยคุกคามรูป แบบใหม และตามกรอบความรวมมือ รมว.กห.อาเซียน


และ รมว.กห.อาเซียนกับประเทศคูเ จรจา ในบริบทของ ทอ. ไมวา จะเปนสนามบิน สิง่ ปลูกสรางในสนามบิน อุปกรณชว ย ฝก พืน้ ทีก่ ารฝก หวงอากาศสําหรับการฝก รวมถึงสิง่ อํานวย ความสะดวกโดยรอบกองบิน ลวนแตมีความเพียบพรอม และเอื้อตอการฝกฯ เปนอยางยิ่ง เห็นไดจากการฝกรวม ผสมหลายการฝกที่มีมาอยางตอเนื่อง หลายประเทศที่เขา รวมการฝกตางพึงพอใจและยินดีเขามาฝกฯ ในประเทศไทย ยุทธศาสตรที่ ๓ การพัฒนาความสัมพันธของ กองทัพอากาศประเทศในกลุม อาเซียน : ทอ.มีกลไกสําคัญ ในการแสวงหาความรวมมือกับประเทศในกลุม อาเซียน คือ คณะทํางานรวม ทอ.กับ ทอ.มิตรประเทศ ซึ่งในขณะนี้ คณะทํางานฯ ระดับทวิภาคี มีครบทั้ง ๙ ประเทศในกลุม อาเซียนแลว สวนความรวมมือในระดับพหุภาคีกบั ทอ.ประเทศ สมาชิกประชาคมอาเซียนมี ๓ ระดับ (๑) ระดับ ผบ.ทอ.

อาเซียน (๒) ระดับคณะทํางานความรวมมือดานการฝก และศึกษาระหวาง ทอ.ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน และ (๓) ระดับผูปฏิบัติงาน/นายทหารระดับตนในกลุม ทอ.ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน นอกจากนั้นใน อนาคตมีแนวโนมขยายความสัมพันธใหเกิดการแขงขัน กีฬาเฉพาะทางของ ทอ.ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตรที่ ๔ การสนับสนุนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนและประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน : หากกลาวถึงความสัมพันธและความเชื่อม โยงไปในมุมมองเศรษฐกิจ การแสวงหาความรวมมือดาน อุตสาหกรรมการบิน รวมไปถึงการสงกําลังบํารุงรวมดาน ยุทโธปกรณมคี วามเปนไปไดอยางยิง่ หากแตจาํ เปนตองมี ความเขมแข็งดานการประชาสัมพันธเชิงสรางสรรค และ ใชประโยชนจากเวทีการแสดงการบินนานาชาติเปนเครือ่ งมือ


สรางเครือขายความรวมมือ ในมุมมองของการแลกเปลีย่ น องคความรู รวมไปถึงการแบงปนขอมูลที่สําคัญสําหรับ อากาศยานที่เปนชนิดเดียวกันในกลุมประเทศสมาชิก อาเซียนดวยกัน ซึง่ ปจจัยความสําเร็จในสวนนีจ้ าํ เปนตอง อาศัยความสัมพันธของกองทัพอากาศในกลุม อาเซียนโดย เฉพาะระดับนโยบาย ในการพูดคุยใหบอ ยขึน้ การพบปะ แบบไมเปนทางการบอย ๆ ในทุกระดับชัน้ จะชวยใหสราง ความสัมพันธใหมีความแนนแฟนมากยิ่งขึ้น จากบทความทีก่ ลาวมาทัง้ หมดขางตน บทบาทที่ สําคัญของกองทัพอากาศอยูท ไี่ หนนัน้ เราจําเปนตองรูจ กั ตัวตนของหนวยงานของเราใหมากเพียงพอทีจ่ ะเขาไปเชือ่ ม ตอกับกรอบความรวมมือในระดับรัฐบาลไดตรงจุดไหนและ อยางไร โดยใชทรัพยากรที่มีอยู และสิ่งสําคัญอยางยิ่งที่ ลืมเสียไมไดคือ เราไมสามารถหลีกหนีการเปลี่ยนแปลง

ในครั้งนี้ได มีแตจะตองเผชิญกับสิ่งที่กําลังจะเกิดขึ้น แต ขึน้ อยูก บั วาเราจะมีความพรอม หรือแสวงหาสิง่ ทีจ่ ะทําให หนวยของเราเกิดความพรอมในการเผชิญสิง่ ทีจ่ ะเขามาได มากนอยแคไหน กรอบแนวทางในระดับรัฐบาลมีความ ชัดเจนพอสมควร หากแตการคิดริเริ่มจากเพียงหนวย เดียวดูเหมือนอาจไมเพียงพอ (ดังเชนภัยคุกคามรูปแบบ ใหม ประเทศใดประเทศหนึ่งก็ไมสามารถแกไขไดอยาง เบ็ดเสร็จอีกตอไปแลว) เพราะฉะนั้นมีความจําเปนอยาง มีนยั สําคัญทีจ่ ะตองมีการแสวงหาความรวมมือกันภายใน หนวยงานของเราเอง ชวยกันระดมสมอง ระดมความ คิดหรือบางทีอาจตองเปนหนวยงานนอกในการแบงปน ขอมูลทีเ่ กีย่ วของ ซึง่ นับวาเปนสิง่ ทีท่ า ทายในบทบาทของ กองทัพอากาศในอีก ๓ ปขางหนา ที่จะไปถึงวิสัยทัศนที่ กองทัพอากาศไดตั้งไว 


ฒ.ผูเฒา

กิจการบินของไทย เริ่มตนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เมื่อมีชาวตางประเทศนําเครื่องบินมาแสดง ใหชาวไทยไดชมเปนครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๔๕๔ อันทําให ผูบ งั คับบัญชาระดับสูง ของกองทัพในสมัยนัน้ พิจารณาเห็นวา ประเทศไทย จําเปนตองมีเครือ่ งบินไวเพือ่ ปองกันภัยทีจ่ ะเกิดแกประเทศชาติในอนาคต ดวยเหตุนี้กระทรวงกลาโหมจึงไดตั้ง “แผนกการบิน” ขึ้นในกองทัพบก พรอมทั้งไดคัดเลือกนายทหารบก ๓ คน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมไป ศึกษาวิชาการ ณ ประเทศฝรั่งเศส อันไดแก นายพันตรี หลวงศักดิ์ ศัลยาวุธ นายรอยเอก หลวงอาวุธสิขิกร และ นายรอยโท ทิพย เกตุทัต ในเวลาตอมาทั้ง ๓ ทาน ไดรับพระราชทานยศและบรรดาศักดิ์ ตาม ลําดับ คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ นาวาอากาศเอก พระยา เวหาสยานศิลปสิทธิ์ และ นาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต ซึ่ง กองทัพอากาศไดยกยองใหเปน “บุพการีของกองทัพอากาศ”

พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ นาวาอากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ นาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต (สุนี สุวรรณประทีป) (หลง สินศุข) (ทิพย เกตุทัต)


ในขณะทีน่ ายทหารทัง้ สามกําลังศึกษาวิชาการบิน อยูน นั้ ทางราชการไดสงั่ ซือ้ เครือ่ งบิน รวมทัง้ มีผบู ริจาคเงิน รวมสมทบซือ้ ดวยเปนครัง้ แรกจํานวน ๘ เครือ่ ง คือเครือ่ ง บินเบรเกตปก ๒ ชั้น จํานวน ๔ เครื่อง และเครื่องบิน นิเออปอรตปกชั้นเดียว จํานวน ๔ เครื่อง อันอาจกลาว ไดวา กําลังทางอากาศของไทยเริ่มตนจากนักบินเพียง ๓ คน และเครื่องบินอีก ๘ เครื่องเทานั้น การบินของไทย ในระยะแรก ไดใชสนามมาสระปทุมหรือราชกรีฑาสโมสร ในปจจุบันเปนสนามบิน แตดวยความไมสะดวกหลาย ประการ บุพการีทั้ง ๓ ทาน จึงไดพิจารณาหาพื้นที่ที่มี ความเหมาะสมตอการบินและไดเลือกเอาตําบลดอนเมือง เปนที่ตั้งสนามบิน พรอมทั้งไดกอสรางอาคาร สถานที่ โรงเก็บเครือ่ งบินอยางถาวรขึน้ เมือ่ การโยกยายกําลังพล อุปกรณ และเครื่องบิน ไปไวยังที่ตั้งใหมเรียบรอยแลว ในวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๗ กระทรวงกลาโหมไดสั่ง ยกแผนกการบินขึ้นเปน “กองบินทหารบก” ซึ่งถือไดวา กิจการการบินของไทยไดวางรากฐานอยางมั่นคงขึ้นแลว กองทัพอากาศจึงถือเอา วันที่ ๒๗ มีนาคม ของทุกป เปน “วันที่ระลึกกองทัพอากาศ” นับแตนั้นมาบทบาทของกําลังทางอากาศก็ได แสดงใหเห็นถึงความสําคัญและมีการพัฒนาอยางเปน ลําดับ ตั้งแตการเขารวมรบในสงครามโลกครั้งที่ ๑ กับ พันธมิตรในยุโรป เมื่อป พ.ศ.๒๔๖๐ ซึ่งทําใหชื่อเสียง และเกียรติภมู ขิ องชาติเปนทีย่ อมรับและยกยองเปนอัน มาก และทางราชการไดยกฐานะกองบินทหารบกขึน้ เปน “กรมอากาศยานทหารบก” ในเวลาตอมากําลังทางอากาศ

ไดพฒ ั นาตอไปอยางไมหยุดยัง้ และเปนกําลังสําคัญในการ พัฒนาประเทศชาติทางดานตาง ๆ อันเปนรากฐานของ กิจการหลายอยางในปจจุบนั อาทิ การบินสงไปรษณียท าง อากาศ การสงแพทย และเวชภัณฑทางอากาศ เปนตน ในป พ.ศ.๒๔๖๔ กระทรวงกลาโหมไดพิจารณา เห็นวา กําลังทางอากาศมิไดเปนกําลังเฉพาะในดานยุทธศาสตร ทางทหารเทานัน้ แตมปี ระโยชนอยางกวางขวางตอกิจการ ดานอื่น ๆ อีกดวย จึงไดแกไขการเรียกชื่อจาก “กรม อากาศยานทหาร” เปน “กรมอากาศยาน” และเปน “กรม ทหารอากาศ” ในเวลาตอมา โดยใหอยูใ นบังคับบัญชาของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมโดยตรง พรอมทั้งไดมี การกําหนดยศทหารและการเปลีย่ นแปลงเครือ่ งแบบจาก สีเขียวมาเปนสีเทาดังเชนในปจจุบัน วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๐ กรมทหารอากาศไดยกฐานะเปน “กองทัพ อากาศ” มีนาวาอากาศเอก พระเวชยันตรังสฤษฎ เปน ผูบ ญ ั ชาการทหารอากาศคนแรก กองทัพอากาศ จึงไดถอื เอาวันที่ ๙ เมษายน ของทุกปเปน “วันกองทัพอากาศ” กําลังทางอากาศไดพฒ ั นาไปอยางมากมาย และ ไดเปนกําลังสําคัญในการปกปองรักษาอธิปไตยของชาติ อาทิ สงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศสและสงคราม มหาเอเชียบูรพา รวมทัง้ เขารวมกับกองกําลังสหประชาชาติ ในสงครามเกาหลีและรวมกับพันธมิตรในสงครามเวียดนาม จากเครือ่ งบินใบพัดเพียง ๘ เครือ่ งในอดีต จนมาถึงเครือ่ งบิน ไอพนที่ทันสมัยในปจจุบัน กองทัพอากาศขอยืนยันที่จะ ดํารงความมุงมั่นในภารกิจที่จะพิทักษรักษาเอกราชและ อธิปไตยของชาติไวใหมั่นคงยั่งยืนตลอดไป  แหลงขอมูล - http://www.rtaf.mi.th/page.aspx?p=20


(ตอจากฉบับที่แลว)  การโจมตีครั้งที่ ๔ ฐานบินอูตะเภา ครั้งที่ ๔ เกิดขึ้นหลังจากการโจมตีครั้งที่ ๓ ถึง สองป ครั้งนี้ขาศึกเลือกฐานบินอูตะเภาซึ่งนาจะเปนฐานบิน ที่ปลอดภัยที่สุดในไทย ตอนตีสองยี่สิบสองนาที วันที่ ๑๐ มกราคม ๑๙๗๒ แซปเปอร ๓ คน ไดเล็ดลอดเขามา ถูกตรวจพบโดยสุนขั ทหารหางจาก B-52 ทีจ่ อดอยูป ระมาณ ๒๐๐ เมตร พวกแซปเปอรไดเปดฉากยิงเขาใสทหารยาม แซปเปอรคนหนึ่งหายไป อีก ๒ คน วิ่งตรงไปที่ B-52 ไทยการดจํานวนหนึ่งเห็นแตก็ไมสามารถหยุดยั้งขาศึกได แซปเปอร ๒ คน นัน้ วิง่ เขาไปโยนระเบิดมือ ๑ ลูก กับระเบิด กระเปาอีก ๔ ลูก เขาไปยัง B-52 ๓ เครื่องที่จอดอยูใน รีเวทเมนท ทําให ๑ เครื่อง ไดรับความเสียหายระดับกลาง อีก ๒ เครื่อง เสียหายเล็กนอย สํานักงานสอบสวนพิเศษ ทอ.สหรัฐอเมริกา ทําการ ประเมินการถูกโจมตีครั้งนั้นไววา “ระดับความสําเร็จหรือความลมเหลวของการ โจมตีฐานบินอูตะเภาในครั้งนี้จะออกมาเปนเชนไรนั้นก็ขึ้น

อยูกับวาใครเปนผูประเมิน หากมองในมุมของผูกอการ รายคอมมิวนิสต (ซึ่งนาเชื่อวาแซปเปอรในการโจมตีครั้ง นี้คือ ผกค.) พวกเขา ๓ คน สามารถเล็ดลอดเขามาใน ฐานบินซึง่ วางกําลังปองกันอยางหนาแนน ทําลายเครือ่ ง บินราคาแพงของ ทอ.สหรัฐอเมริกา โดยทีพ่ วกเขาเสียชีวติ


เมษายน ๒๕๕๙ ไป ๑ คน อีก ๒ คน หนีไปได เมื่อวัดผลที่ออกมาซึ่งนาพึง พอใจและเปนผลทางจิตวิทยาทีจ่ ะสงผลกระทบอยางใหญ หลวงตอไปแลว ภารกิจของพวกเขาก็เรียกวาสําเร็จอยาง งดงามทีเดียว หากมองในมุมอเมริกนั การทีส่ ามารถตรวจ พบขาศึกไดกอ น และขาศึกไมสามารถสรางความเสียหาย ถึงขนาดที่จะสงผลกระทบตอการปฏิบัติการทางอากาศ ใด ๆ ได ก็มองไดวาการโจมตีครั้งนี้ขาศึกประสบความ ลมเหลว ไมวาจะมองในมุมใด ๆ ก็ตาม การโจมตีครั้งนี้ ก็ยนื ยันใหเห็นอีกครัง้ วา กําลังขนาดเล็กทีม่ งุ มัน่ และผานการ ฝกมาอยางดีสามารถเล็ดลอดเขาฐานบิน ทอ.สหรัฐอเมริกา ในไทยได” ภายหลังการโจมตี ฐานบินอูตะเภาก็ไดปรับ มาตรการปองกันหลายอยาง อาทิ ทหารอากาศโยธิน ทอ.สหรัฐอเมริกา รูด วี า ขาดแคลนกําลังพลทีจ่ ะเฝาตรวจ แนวรัว้ ชัน้ นอกของฐานบินทีย่ าวมาก พวกเขาจึงมุง เนนไป ที่การพัฒนาการปองกันชั้นในสุด และการปองกันชั้นที่ ๒ (แนวรั้วฐานบิน) สุนัขยามสายตรวจจะเฝาตรวจอยาง เขมขนในพื้นที่ตรงกลางระหวางสองแนวนี้ และวางชุด ซุม โจมตีในแนวเสนทางทีค่ าดวาขาศึกจะใชเขาโจมตี (วาง ในแนวเสนทางระหวางแนวรัว้ ชัน้ นอกกับรีเวทเมนทจอด เครื่องบิน) การปองกันชั้นในสุดทําใหเขมขึ้นโดยการวาง ทหารยาม ๑ คน ตอเครื่องบิน ๑ เครื่อง  การโจมตีครั้งที่ ๕ ฐานบินอุบล การโจมตีครั้งสุดทายนี้เกิดขึ้นคลอยหลังครั้ง กอนหนา ๖ เดือน ครั้งนี้เกิดขึ้นที่ฐานบินอุบล (อีกแลว) ในวันที่ ๑ มิถุนายน ๑๙๗๒ สํานักงานสอบสวนพิเศษ ทอ.สหรัฐอเมริกา ไดรบั รายงานวามีชาวเวียดนาม ๑๒ คน ซึง่ อาศัยอยูใ นจังหวัดอุบลราชธานีเพิง่ เดินทางกลับมาจาก การฝกยุทธวิธีแซปเปอรในเวียดนามเหนือ จนกลางคืน ของวันที่ ๓ ตอวันที่ ๔ มิถุนายน หลังเที่ยงคืนไมกี่นาที ตํารวจภูธรอุบลรายงานวาเห็นชาย ๑ คน ภายในรั้วฐาน บินหางจากตัวเขาประมาณ ๕๐ เมตร กําลังวิ่งตรงไปยัง เครื่อง AC-130 ที่จอดเรียงรายอยูในรีเวทเมนท ตํารวจ

ขาวทหารอากาศ ๓๓ ผูน นั้ ไดปะทะกับแซปเปอรชายดังกลาว ผลแซปเปอรถกู ยิง เสียชีวิต คนในตัวพบระเบิดกระเปาจํานวน ๘ ลูก ตลอด คืนนัน้ มีการตรวจพบความพยายามในการเล็ดลอดเขามา เรื่อย ๆ แตก็ไมมีการเล็ดลอดเขามาได และไมมีเครื่องบิน เครื่องใดไดรับความเสียหาย


๓๔ ขาวทหารอากาศ

แนวความคิดในการปองกันฐานบิน  การปองกันเปนชั้น ฐานบินของ ทอ.สหรัฐอเมริกา ในเวียดนามและไทย ไดคดิ ริเริม่ การปองกันเปนชัน้ เพือ่ ไวรบั มือขาศึกทีใ่ ชยทุ ธวิธี ทัง้ การยิงจากภายนอกและการเล็ดลอดเขาฐานบิน ในชัน้ ที่ ๑ นั้น หมายถึงพื้นที่รอบ ๆ ฐานบิน ซึ่งเปนกําลังทางฝาย เดียวกับตํารวจ และ จนท.การขาวกรอง จะเปนแหลงที่ให ขอมูลแจงเตือนภัยคุกคามลวงหนา หรือในบางโอกาสกอง กําลังเหลานั้นอาจทําหนาที่ติดพันขาศึกดวย สําหรับชั้นที่ ๒ ก็คือ แนวรั้วของฐานบิน ซึ่งเตรียมไวเปนแนวอุปสรรค แนวแรกที่ขัดขวางและตรวจจับพวกแซปเปอร มีหอสูง สําหรับการตรวจการณและปอมปน จะถูกวางไวตลอดแนว ของชั้นนี้ เอกสารในโครงการ CHECO ไดอธิบายไววา “แนวคิดก็คือ จะตองติดพันขาศึกเพื่อปองกัน มิใหเล็ดลอดเขาฐานบินได จะเปนอยางนัน้ ไดกจ็ ะตองอาศัย ประโยชนของรัว้ ลวดหนาม สนามทุน ระเบิด และพลุสะดุด เพื่อที่จะตรวจจับ หนวงเหนี่ยว และบีบใหขาศึกเคลื่อนที่ เขาไปยังพืน้ ทีส่ งั หารทีเ่ ตรียมไว ดวยอํานาจการยิงทีส่ งู กวา จากปอมปนกล และที่ตั้งยิงเครื่องยิงลูกระเบิด อํานาจการ ยิงเหลานีม้ อี ยูอ ยางเหลือเฟอในฐานบินทีเ่ วียดนามภายหลัง

เมษายน ๒๕๕๙

การรุกใหญวันตรุษในป ค.ศ.๑๙๖๘ (Tet Offensive) ทุกฐานบินในเวียดนามมี ปก.ขนาด .๕๐ นิ้ว ปก.แบบ M.60 ทั้งที่ติดตั้งบนยานยนต และที่ประจําปอมปน คบ. ๘๑ มม. และ ปลยอ.แบบ M-16 อยางเพียงพอที่จะจาย ประจํากายใหทงั้ อย./สห. กําลังสนับสนุน และกําลังพล ทั้งหมดที่เหลือในฐานบิน” สวนการปองกันในชั้นที่ ๓ ประกอบกําลังดวย ชุดสายตรวจเคลือ่ นทีเ่ ร็ว ทหารยาม และสุนขั ทหาร เพือ่ ตรวจจับการเล็ดลอดเขามาของขาศึก ในเวียดนามชุดกําลัง เหลานี้จะมีกําลังเสริมคือ ชุดตอบโตเร็ว ซึ่งประกอบไป ดวยกําลังพล ๑๒ คน บนยานยนตหมุ เกราะแบบ M-113 หรือแบบ M-706 และจะใชรถจิป๊ รถบรรทุก หรือรถอืน่ ๆ ที่หาได ในกรณีที่ยานยนตหุมเกราะไมเพียงพอ สุดทาย ณ พื้นที่ที่สําคัญยิ่งจะวางกําลังปอมปน ชุดสายตรวจ เดินเทา และทหารยามสําทับไวอีกทบหนึ่ง ตัวอยางเชน ในเวลากลางวันทหารยาม ๑ คน ไดรับมอบหมายให รับผิดชอบเฝาตรวจอากาศยาน ๘ เครื่อง และจะปรับ เปนทหารยาม ๑ คน/๔เครื่อง ในเวลากลางคืน สําหรับ เครื่องบินแบบ B-52 และ KC-135 จะไดรับการปองกัน เพิ่มดวยยามคู  (ฉบับหนาติดตาม การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด)


การปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (Network Centric Operations: NCO) เปนการ ปฏิบตั กิ ารทางทหารซึง่ ตอบสนองทฤษฎีการสงครามทีใ่ ช เครือขายเปนศูนยกลาง (Network Centric Warfare: NCW) ซึ่งเปนการสงครามรูปแบบใหมในยุคของขอมูล ขาวสาร (Information Age) กอใหเกิดอานุภาพในการ รบ ผานการเชื่อมโยงเปนระบบเครือขาย (Network) ระหวางผูมีอํานาจในการตัดสินใจและผูปฏิบัติในพื้นที่ การรบ เพื่อการ Share Situation Awareness (SA) กอใหเกิดความรวดเร็วและความถูกตองในการตัดสินใจ นําไปสูการปฏิบัติที่ถูกจังหวะเวลา มีอานุภาพทําลาย ลางสูง ลดการสูญเสียของกําลังพลและอาวุธยุทโธปกรณ ของฝายเรา รวมถึงสรางความเปนหนึง่ เดียวในการปฏิบตั ิ ซึ่งการปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) นั้น เปนการประยุกตใชความกาวหนาทางเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) สนับสนุนใหเกิดการ แลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง Sensor Layer, Decision Maker Layer และ Effector Layer โดยใชเครือขาย (Network) เปนศูนยกลาง ทั้งภายในและระหวางหนวย ทหาร ทั้งระดับยุทธวิธี ยุทธการ และยุทธศาสตร เพื่อ ใหขอมูล ขาวสาร ภาพสถานการณ และคําสั่งผานการ สื่อสารไดอยางถูกตอง รวดเร็ว แมนยํา และทั่วถึง ทําให ผูบ งั คับบัญชาสามารถตัดสินสัง่ การไปยังหนวยรบ/ผูป ฏิบตั ิ

ไดอยางถูกตอง และทันตอสถานการณ กอใหเกิดความได เปรียบในการทําสงคราม ซึ่งความไดเปรียบที่กลาวมานั้น เกิดจากความกาวหนาในเทคโนโลยีทางการทหาร รวมทัง้ ความกาวหนาของเทคโนโลยีเครือขาย (Network) ทีท่ าํ ให การเชือ่ มตอและการสือ่ สารระหวาง Layer ตาง ๆ เปนไป อยางมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติการทาง ทหาร ดวยการบูรณาการระบบตาง ๆ เขาไวดวยกันแบบ System of Systems เชน ระบบตรวจจับและแสวงหา ขอมูลขาวสาร (Intelligence Sensors) ระบบควบคุม บังคับบัญชา (Command and Control Systems) ระบบอาวุธที่แมนยํา (Precision Weapons) และระบบ ตาง ๆ ในสวนของเครือขาย (Network) เปนตน ซึ่งการ บูรณาการระบบตาง ๆ เขาไวดว ยกันนี้ ทําใหเกิดการขยาย ศักยภาพในการรับรูถึงภาพสถานการณ การประเมิน เปาหมายทีร่ วดเร็วและการใชอาวุธทีแ่ มนยํา จากประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของพัฒนาระบบดังกลาว ทําใหแนวคิด ในการทําสงครามโดยใชเครือขายเปนศูนยกลางเปนที่ ยอมรับจากหลายประเทศในการนําแนวคิดนี้มาเปนหลัก ในการพัฒนาระบบควบคุมบังคับบัญชา ระบบตรวจจับ ระบบอาวุธ และระบบการสื่อสารของกองทัพ


๓๖ ขาวทหารอากาศ

ทอ. และ ทร.ตระหนักถึงการพัฒนาขีดความ สามารถกําลังรบ จึงนําแนวคิดการปฏิบตั กิ ารทีใ่ ชเครือขาย เปนศูนยกลาง (NCO) มาประยุกตใช โดยรวมกันพัฒนาการ ปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) ตั้งแตป ๕๓ เปนตนมา เพื่อนําไปสูการปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปน ศูนยกลางระหวาง (NCO) ทอ.-ทร.ทีเ่ ปนรูปธรรมในอนาคต การพัฒนาการปฏิบตั กิ ารทีใ่ ชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) ทอ.-ทร.นั้น ทั้งสองเหลาทัพไดกําหนดขีดความสามารถ

เมษายน ๒๕๕๙

ที่ตองการจากความตองการทางยุทธการ นําไปสูการ พัฒนาระบบฯ และอุปกรณเพือ่ ติดตัง้ กับ Platform ของ ทั้งสองเหลาทัพรองรับการปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปน ศูนยกลาง (NCO) ภายใตกรอบงบประมาณที่ไดรับการ อนุมตั จิ ากรัฐบาล โดย ทอ.ไดพฒ ั นาระบบเชือ่ มโยงขอมูล ทางยุทธวิธี (Tactical Data Link: TDL) แบบ Link-T ติดตั้งกับ บ.Gripen 39C/D และระบบบัญชาการและ ควบคุมทางอากาศ (Air Command and Control:


เมษายน ๒๕๕๙

ACCS) ของ ทอ.เพื่อใชในการปฏิบัติการทางอากาศ และปฏิบัติการรวมกับเหลาทัพอื่น ซึ่ง ทร.ไดพัฒนา ขีดความสามารถกําลังทางเรือ โดยติดตั้งระบบอํานวย การรบ (Combat Management System: CMS) กับ ร.ล.จักรีนฤเบศร ร.ล.นเรศวร และ ร.ล.ตากสิน จึงติด ตั้งระบบเชื่อมโยงขอมูลทางยุทธวิธี (TDL) เชนเดียวกับ ทอ. เพือ่ ใหเกิดการแลกเปลีย่ นขอมูลทางยุทธวิธี (TDL) กับ บ.Gripen 39C/D และ บ.Saab 340AEW ของ ทอ.แบบ บูรณาการ สวนขอมูลภาพสถานการณการปฏิบตั กิ ารรวม ในพืน้ ทีก่ ารรบจะถูกสงใหกบั สวนบัญชาการและควบคุม ของ บก.ทท.และทัง้ สองเหลาทัพ ผานเครือขายและระบบ แผนที่สถานการณรวมของ บก.ทท. เพื่อการสรางภาพ สถานการณ (Common Operating Picture: COP) ที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล นําไปสูก ารตัดสินตกลงใจ ของผูบ งั คับบัญชาในการปฏิบตั กิ ารรวมทีถ่ กู ตอง รวดเร็ว และแมนยําในทุกระดับชั้น

ขาวทหารอากาศ ๓๗


๓๘ ขาวทหารอากาศ ในการปฏิบตั กิ ารรวมโดยใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) นั้น เรือของ ทร.สามารถแลกเปลี่ยนขอมูลทาง ยุทธวิธี (TDL) กับ บ.Gripen 39C/D ของ ทอ.เพื่อเสริม ขีดความสามารถในการโจมตีเปาหมายและปองกันการทําลาย ฝายเดียวกัน อีกทัง้ สามารถรับขอมูลการตรวจจับเปาหมาย จาก บ.Saab 340AEW ของ ทอ.เพือ่ เสริมประสิทธิภาพการ ตรวจจับของกองเรือ รวมทั้งขอมูลที่แลกเปลี่ยนในพื้นที่ การรบผานระบบเชือ่ มโยงขอมูลทางยุทธวิธี (TDL) สามารถ สงใหกับระบบบัญชาการและควบคุมของทั้ง ๒ เหลาทัพ ผานเครือขาย (Network) ซึ่งเปนไปตามหลักการของการ ปฏิบตั กิ ารทีใ่ ชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) เปนการเพิม่ ขีดความสามารถในการทําลายขาศึกและลดโอกาสในการ โจมตี

เมษายน ๒๕๕๙ ฝายเดียวกัน (Blue on Blue Fratricide Prevention) การปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) ระหวาง ทอ.-ทร. กอใหเกิดปจจัยทวีกาํ ลัง (Force Multiplier) ซึ่งเกิดจากความตระหนักรูในสถานการณ (Situation Awareness) รวมกันทั้งในระดับยุทธวิธี ระดับยุทธการ ระดับยุทธศาสตร นําไปสูการตัดสิน ตกลงใจและการใชกาํ ลังทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งเปนคุณประโยชนมหาศาลในการปองกันประเทศที่ พรอมรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ เพือ่ ปกปองเอกราช และอธิปไตยของประเทศชาติ สืบไป 


พล.อ.ต.นอย ภาคเพิ่ม น.อ.อํานวย สมวงศ ผบ.วทอ.ยศ.ทอ. รอง ผบ.วทอ.ยศ.ทอ.

ปชส.วทอ.ยศ.ทอ.

วิทยาลัยการทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหาร อากาศ เปนสถาบันการศึกษาสูงสุดของกองทัพอากาศ การจัดตั้งวิทยาลัยการทัพอากาศ เกิดจากแนวความคิด ของผูบังคับบัญชาระดับสูงของกองทัพอากาศในอดีต ซึ่งตองการใหนายทหารอากาศที่ดํารงตําแหนงสําคัญ ในกองทัพมีความรูกาวทันกับความเจริญกาวหนาทาง ดานวิทยาการที่พัฒนาไปอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะ อยางยิ่งใหสามารถใชกําลังทางอากาศที่มีอยูสนับสนุน นโยบายของชาติไดอยางถูกตองและเกิดประโยชนสงู สุด กองทัพอากาศไดรายงานขอจัดตัง้ วิทยาลัยการทัพอากาศ ไปยังกองบัญชาการทหารสูงสุดเมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมไดอนุมัติให วิทยาลัยการทัพอากาศ เปนสวนราชการขึ้นตรงตอกรม ยุทธศึกษาทหารอากาศ เรียกชื่อยอวา “วทอ.” เมื่อวันที่

๑ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๐๙ วิทยาลัยการทัพอากาศเปดการ ศึกษา รุน ที่ ๑ ระหวาง ๑๒ มกราคม ๒๕๑๐ - ๓๑ สิงหาคม ๒๕๑๐ มีผูเขารับการศึกษาเรียกวา “นักศึกษา” เรียกยอ วา “นศ.วทอ.” เปนขาราชการสังกัดกองทัพอากาศเขา รับการศึกษา จํานวน ๑๘ คน กระทรวงกลาโหมไดอนุมัติ อัตราวิทยาลัยการทัพอากาศตามคําสัง่ กระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๒๗/๑๐ ลง ๑๑ เมษายน ๒๕๑๐ ดังนั้นจึงถือ เอาวันที่ ๑๑ เมษายน เปนวันสถาปนาวิทยาลัยการทัพ อากาศ ตอมาหลักสูตรวิทยาลัยการทัพอากาศ (ปจจุบัน เปลีย่ นชือ่ เปนหลักสูตรการทัพอากาศ) ไดเปดเปนหลักสูตร ประจําทุกป ๆ ละ ๑ รุน ซึง่ นอกจากขาราชการจากกองทัพ อากาศยังมีขา ราชการทหารจากตางเหลาทัพ ทหารอากาศ จากมิตรประเทศ ขาราชการจากกระทรวงอืน่ ๆ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ และเอกชน เขารับการศึกษาดวย

นักศึกษาวิทยาลัยการทัพอากาศ ชุดที่ ๑


๔๐ ขาวทหารอากาศ วิทยาลัยการทัพอากาศ มีหนาที่ใหการฝกศึกษา และอบรมแกนายทหารสัญญาบัตรของกองทัพอากาศใน ทางยุทธศาสตรและการบริหาร อันจําเปนสําหรับผูบังคับ บัญชาและฝายอํานวยการชั้นสูง มีผูบัญชาการวิทยาลัย การทัพอากาศเปนผูรับผิดชอบ โดยมีพันธกิจ ๑) จัดการ เรียนการสอนตามหลักสูตร ๒) ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ความเปนทหารอาชีพ ๓) กิจกรรมเนนการทํางานเปนทีม การมีสว นรวม ๔) กระบวนคิดทางยุทธศาสตร และ ๕) พัฒนา การเรียนการสอน อาคารสถานที่ และบุคลากร ใหพรอม สนับสนุนการจัดการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด การดําเนินการศึกษาหลักสูตรการทัพอากาศ ในปจจุบันใชหลักสูตร “การทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๘” เริ่ม นํามาใชเมือ่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๘ สําหรับปการศึกษา ๒๕๕๙ เปนตนไป ประกอบดวย ๕ หมวดวิชา ไดแก หมวดวิชาที่ ๑ ความมัน่ คงแหงชาติและยุทธศาสตรดา นความมัน่ คง หมวด วิชาที่ ๒ การทหาร หมวดวิชาที่ ๓ ผูนําระดับยุทธศาสตร หมวดวิชาที่ ๔ เอกสารวิจัย และหมวดวิชาที่ ๕ กิจกรรม และวิชาเสริมหลักสูตร โดยวัตถุประสงคของหลักสูตรเพื่อ ใหผูเขารับการศึกษามีความพรอมในการเปนผูนําระดับ ยุทธศาสตรที่มีคุณธรรม จริยธรรม เปนฝายอํานวยการที่ มีประสิทธิภาพในการเตรียมและใชกําลัง สามารถวางแผน

เมษายน ๒๕๕๙ การปฏิบัติการรวมทางทหารในระดับยุทธศาสตร และ ตระหนักถึงบทบาทของกองทัพตอความมั่นคงของชาติ วิทยาลัยการทัพอากาศ ไดปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรการศึกษา รวมทัง้ เอกสารประกอบการศึกษาอยาง ตอเนือ่ ง เพือ่ ใหมคี วามทันสมัย เหมาะสมกับสถานการณ สภาพแวดลอม และเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลงไป มีความ เปนมาตรฐานทางวิชาการ รวมทั้งสอดคลองกับแนวคิด ในการพัฒนากองทัพอากาศตามวิสยั ทัศนทกี่ าํ หนด ทัง้ นี้ เพือ่ ใหผทู สี่ าํ เร็จการศึกษาสามารถนําความรูแ ละทักษะที่ ไดจากการศึกษาไปใชประโยชนสงู สุดในการปฏิบตั หิ นาที่ หลักสูตรการทัพอากาศในปจจุบันไดนําการฝกบริหาร สถานการณวกิ ฤติในระดับยุทธศาสตร (Strategic Crisis Management: SCM) ใหนกั ศึกษาฝกปฏิบตั กิ อ นจบการ ศึกษา โดยมีวตั ถุประสงคใหนกั ศึกษาบูรณาการความรูท ี่ ไดรบั การศึกษาตลอดหลักสูตรมาประยุกตใชในการแกไข ปญหาสถานการณวกิ ฤตของประเทศ การนําการฝก SCM บรรจุไวในหลักสูตรการทัพอากาศมีความสอดคลองกับ สถานการณกับสภาพแวดลอมที่เกิดขึ้นในปจจุบันและ แนวโนมภัยคุกคามรูปแบบใหม (Non-Traditional threats) ซึ่งเปนภัยที่มีความซับซอน หลากหลายมิติ รวมกัน และจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ภัยคุกคาม


เมษายน ๒๕๕๙ รูปแบบใหมที่หลายประเทศทั่วโลกเผชิญอยูเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางยุทธศาสตรความ มั่นคงโลกภายใตกระแสโลกาภิวัตน สงผลใหภัยคุกคาม รูปแบบเดิม (Traditional threats) หรือภัยคุกคามตาม แบบ (Conventional threats) ทีก่ ระทําโดยรัฐตอรัฐ ตอ อํานาจอธิปไตยและบูรณภาพเหนือดินแดนของรัฐ ซึง่ เปน ภัยคุกคามทางทหาร (Military threats) นั้นไดลดนอย ลงอยางเห็นไดชัด ในขณะที่ภัยคุกคามรูปแบบอื่นที่มิใช ภัยคุกคามทางทหารกลับมาสรางปรากฏขึ้นใหเห็นโดย ทัว่ ไปและมีแนวโนมทีจ่ ะทวีความรุนแรงขยายวงกวางไป ทัว่ โลก นอกจากนีก้ ารฝก SCM ยังเปนการฝกเตรียมความ พรอมใชกําลังของกองทัพอากาศสําหรับปฏิบัติภารกิจ ทางทหารนอกเหนือจากสงคราม (Military Operation Other Than War: MOOTW) ไดแก ภารกิจสนับสนุน รัฐบาลในการพัฒนาประเทศ การชวยเหลือประชาชน การดําเนินการตามโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย วิทยาลัยการทัพอากาศ ไดพัฒนาหลักสูตร การศึกษาการบริหารการศึกษา และโครงสรางพืน้ ฐานใน การศึกษา เพือ่ ใหสอดคลองกับนโยบายผูบ ญ ั ชาการทหาร อากาศ ตามคําสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ที่ ๒/๕๖ ลง ๙ มกราคม ๒๕๕๖ เรื่อง นโยบายการศึกษาของกองทัพ อากาศ การพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานในการจัดการ ศึกษา วิทยาลัยการทัพอากาศไดจัดการเรียนการสอน ผานสื่ออิเล็กทรอนิกสดวยระบบอิเล็กทรอนิกสวิชาการ (e-learning) เพื่อใหนักศึกษาสามารถเขาสูแหลงขอมูล ของการเรียนรู ตํารา กําหนดการศึกษา และเอกสาร ประกอบการศึกษาไดตลอดเวลา การจัดการเรียนการ สอนผานระบบ e-learning รวมทั้งนําระบบสารสนเทศ มาใชในการเรียนการสอนในวิชาทีน่ กั ศึกษาสามารถศึกษา ไดดว ยตนเองนอกเวลาราชการ การนําเทคโนโลยีดงั กลาว มาใชในการดําเนินการศึกษา ทําใหวทิ ยาลัยการทัพอากาศ สามารถลดการนํากระดาษมาใชในการผลิตตําราเรียน

ขาวทหารอากาศ ๔๑ และเอกสารประกอบการศึกษาอืน่ ๆ ซึง่ เปนการประหยัด งบประมาณคาใชจายในการจัดซื้อกระดาษ เวลา และ แรงงานในการดําเนินการ สําหรับการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรการทัพ อากาศใหเกิดประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ นัน้ วิทยาลัยการทัพ อากาศ ไดดาํ เนินการจัดใหมกี ารประเมินหลักสูตรการทัพ อากาศโดยนักศึกษาเมือ่ จบการศึกษาแตละหมวดวิชา และ เมือ่ นักศึกษาจบการศึกษาไปแลว ๖ เดือน ไดมกี ารติดตาม การปฏิบตั งิ านของผูส าํ เร็จการศึกษา (follow up study) โดยจัดสงแบบสอบถามไปยังตนสังกัดและผูบังคับบัญชา ของผูสําเร็จการศึกษา เพื่อประเมินความพึงพอใจของ ตนสังกัดตอผูส าํ เร็จการศึกษาในดานความรูค วามสามารถ ตามวัตถุประสงคของหลักสูตรโดยไดกระทําอยางตอเนือ่ ง ตลอดมา ซึง่ การประเมินความพึงพอใจของผูส าํ เร็จการศึกษา หลักสูตรการทัพอากาศในปจจุบนั ไดกลายเปนสวนหนึง่ ของ ผลการดําเนินการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูส าํ เร็จการศึกษา ตัวบงชีท้ ี่ ๑.๑ ประสิทธิภาพ ของผูส าํ เร็จการศึกษา ชนิดของตัวบงชี้ : ผลผลิต คําอธิบาย ตัวบงชี้ ผูสําเร็จการศึกษามีความรูความสามารถตรงตาม วัตถุประสงคของหลักสูตรและมีพฤติกรรมการทํางานเปน ที่พึงพอใจของผูบังคับบัญชา โดยผลการติดตามผูสําเร็จ การศึกษาหลักสูตรการทัพอากาศ รุนที่ ๔๘ ในป ๒๕๕๗ ผูบ งั คับบัญชาของผูส าํ เร็จการศึกษามีความพึงพอใจระดับ “ดีมาก” ดัชนีชวี้ ดั ถึงคุณภาพและผลสัมฤทธิท์ างการศึกษา ของหลักสูตรการทัพอากาศอีกประการหนึ่งไดจากการ ติดตามความกาวหนาในหนาทีก่ ารงานของศิษยเกาจนกาว สูตําแหนงผูนําและผูบริหารสูงสุดขององคการ วิทยาลัย การทัพอากาศไดเปดการศึกษาหลักสูตรการทัพอากาศ มาแลว จํานวน ๔๙ รุน มีผูเขารับการศึกษาอบรม จํานวน ทั้งสิ้น ๒,๖๘๓ คน ในแตละปจะมีการพิจารณาศิษยเกา ดีเดน เพื่อเปนการยกยองเชิดชูเกียรติแกศิษยเกาที่ได ปฏิบัติงานในตําแหนงหนาที่สําคัญของทางราชการและ เอกชนที่ไดทําคุณประโยชนใหแกวิทยาลัยการทัพอากาศ


๔๒ ขาวทหารอากาศ หรือประเทศชาติเปนพิเศษ โดยดูจากการโยกยายและการ แตงตัง้ ผูบ งั คับบัญชาทางทหารภายในกระทรวงกลาโหมและ ผูบริหารระดับสูงของหนวยงานของรัฐภายนอกกระทรวง กลาโหม รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน รวมทั้งผูดํารงตําแหนง ทางการเมือง ซึ่งมีระเบียบกําหนดเกณฑการพิจารณา ศิษยเกาดีเดน ไดแก ศิษยเกาภายในกระทรวงกลาโหมที่ ไดรับตําแหนงผูบัญชาการเหลาทัพจนถึงรัฐมนตรีวาการ กระทรวงกลาโหม และศิษยเกาภายนอกกระทรวงกลาโหม เปนผูที่ไดรับตําแหนงสูงสุดในกระทรวง ทบวง กรม ผูที่ได รับตําแหนงสูงสุดในองคกรภาครัฐและภาคเอกชน ตั้งแต ระดับผูวาการรัฐวิสาหกิจ อธิการบดี หรือเทียบเทาขึ้นไป ผูที่ไดรับตําแหนงทางการเมืองระดับรัฐมนตรีวาการ กระทรวงขึ้นไป ศิษยเกาที่เปนชาวตางประเทศที่ไดรับ ตําแหนงสูงสุดในกระทรวง ทบวง กรม ของประเทศนั้น

เมษายน ๒๕๕๙ ซึ่งที่ผานมามีศิษยเกาวิทยาลัยการทัพอากาศ รุนที่ ๑ - ๓๗ ไดรับการพิจารณาเปนศิษยเกาดีเดนทั้งภายใน และภายนอกกระทรวงกลาโหม จํานวน ๓๖ คน รวมทั้ง ศิษยเกาจากกองทัพอากาศมิตรประเทศ พลอากาศโท ดาโตะ เสรี อาหมัด ซารูจี บิน เช รอส (General Tan Sri Dato' Seri Ahmad Saruji bin Che Rose) ศิษยเกา วิทยาลัยการทัพอากาศ รุนที่ ๑๕ ไดรับการแตงตั้งเปน ผูบัญชาการกองทัพอากาศมาเลเซียคนที่ ๑๑ ระหวาง ๑๐ สิงหาคม ๒๕๓๙ - ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๔ ซึ่งแสดง ใหเห็นถึงการยอมรับคุณภาพและผลสัมฤทธิข์ องหลักสูตร การทัพอากาศ ในฐานะสถาบันการศึกษาทางวิชาชีพทหาร สูงสุดของกองทัพอากาศในการผลิตผูน าํ ใหกบั หนวยงาน ของกระทรวงกลาโหมและองคกรภายนอก

การฝกบริหารสถานการณวิกฤติในระดับยุทธศาสตร (Strategic Crisis Management: SCM) ปการศึกษา ๒๕๕๘ ณ กองบิน ๑ จังหวัดนครราชสีมา

ในฐานะทีเ่ ปนสถาบันการศึกษาวิชาชีพทางทหารสูงสุดของกองทัพอากาศ วิทยาลัยการทัพอากาศยังมีบทบาท สําคัญในการเตรียมความพรอมใหกับบุคลากรของกองทัพอากาศในการเขาสูประชาคมอาเซียน โดยการพัฒนาความ เปนมืออาชีพในทางทหารใหแกบุคลากรของกองทัพ เพื่อใหมีความรูและความเขาใจในแนวคิด “การปฏิรูประบบงาน ความมั่นคง” (Security Sector Revolution: SSR) และ “ธรรมาภิบาลในระบบงานความมั่นคง” (Security Sector Government: SSG) ซึ่งเปนแนวคิดภายใตบทบัญญัติของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ใหมีความรูงาน ดานความสัมพันธระหวางประเทศและกฎหมายระหวางประเทศ รวมทัง้ สามารถใชกาํ ลังทางทหารไดอยางมีประสิทธิผล ตรงตามวัตถุประสงคของชาติ และใหผทู สี่ าํ เร็จการศึกษามีคณ ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค เปนผูน าํ ผูบ ริหาร ฝายอํานวยการ ระดับยุทธศาสตร มีกระบวนการคิดทางยุทธศาสตร สามารถกําหนดนโยบายและวางแผนยุทธศาสตรได 


ปชส.บน.๕ กองบิน ๕ หรือกองบินนอยที่ ๕ กอตั้งเมื่อ วันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๕ โดยมีบุพการีของหนวย ๒ ทาน คือ รอยเอกหลวงอมร ศักดาวุธ และรอยโท กาพย ทัตตานนท โดยมีชื่อในยุคกอตั้งวา กองบินใหญที่ ๑ และไดมวี วิ ฒ ั นาการมาโดยตลอด ตอมากองทัพอากาศได พัฒนาและปรับโครงสรางของกองทัพ กองบินใหญที่ ๑ ก็ไดปรับและวิวัฒนาการเปลี่ยนชื่อตอมาโดยลําดับ เปน โรงเรียนการยิงปน โรงเรียนการบินที่ ๒ กองบินนอยที่ ๕ กองบิน ๕๓ และในป ๒๕๕๐ เปลี่ยนชื่อกลับมาเปน กองบิน ๕ เพื่อรําลึกถึงความกลาหาญของวีรชนในอดีต ที่สรางเกียรติประวัติการสูรบของหนวย ที่มีชื่อเสียงเปน ที่รูจักกันโดยทั่วไปคือ วีรกรรมการสูรบวันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๔ ครัง้ สงครามมหาเอเชียบูรพาสมัยสงครามโลก ครั้งที่ ๒ ซึ่งในขณะนั้นใชชื่อหนวยวา กองบินนอยที่ ๕ ดังมีอนุสาวรียประดิษฐานเปนอนุสรณสถานปรากฏอยู ในปจจุบัน ในวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๙ นี้ กองบิน ๕ ครบรอบ ๙๔ ป ตั้งแตวันนั้นถึงวันนี้ กองบิน ๕ ไดพัฒนา เจริญกาวหนาและมุงมั่นที่จะขับเคลื่อนไปสูกองทัพ อากาศชั้นนําในภูมิภาค (One of the Best Air Forces in ASEAN) โดยสามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัลและแนวคิด

การปฏิบตั กิ ารทีใ่ ชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) ในการ ปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการที่มิใชการรบเพื่อตอบ สนองตอภัยคุกคามในทุกรูปแบบไดอยางมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองใหมากที่สุด ในปนี้ กองบิน ๕ ไดจัดใหมีกิจกรรม ๙ กิจกรรม เนื่องในวาระ ครบรอบ ๙๔ ป เพื่อบงบอกถึงความจงรักภักดีในชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย รวมทัง้ เพือ่ ใหขา ราชการของ กองบิน ๕ มีความรูรัก สามัคคี รูหนาที่ มีวินัย ใฝคุณธรรม ตามคําขวัญของ นาวาอากาศเอก สรวิชญ สุรกุล ผูบ งั คับการ กองบิน ๕ และตามคานิยมหลัก กองบิน ๕ ซึ่งกําหนดขึ้น โดยยึดตามคานิยมหลักของกองทัพอากาศ (RTAF Core Values) เพื่อใหเปนแนวทางการปฏิบัติที่เปนอันหนึ่ง อันเดียวกันทั้งกองทัพอากาศ รวมทั้งไดกําหนดคานิยมที่ เปนแนวทางของกองบิน ๕ เพิ่มเติมโดยมีคํายอวา “AIR FIVEs” และมีกิจกรรมหลักใหกําลังพลยึดถือ ดังนี้


๔๔ ขาวทหารอากาศ F เปนพยัญชนะแรกของคานิยม “Faithful” ซึง่ สือ่ ความหมายวา ตองมีความศรัทธา ศรัทธาตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ศรัทธาตอองคกร กองบิน ๕ ศรัทธา ในผูบังคับบัญชา พรอมที่จะสนับสนุนภารกิจของกองบิน I เปนพยัญชนะแรกของคานิยม “Initiative” ซึง่ สื่อความหมายวา ตองมีความคิดริเริ่ม สรางสรรค สามารถ แกปญ  หาไดอยางลึกซึง้ ทีน่ อกเหนือไปจากการคิดอยางปกติ ธรรมดา สามารถคิดไดหลายแงหลายมุม ผสมผสานจนเกิด ผลผลิตใหมที่ถูกตองสมบูรณกวา V เปนพยัญชนะแรกของคานิยม “Virtue” ซึ่งสื่อ ความหมายวา ตองยึดหลักศีลธรรมในการดําเนินชีวติ ปฏิบตั ิ หนาที่อยางมีคุณธรรม จริยธรรม ดําเนินชีวิตดวยทางสาย กลาง มีสติ และไมประมาท นอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาปฏิบัติ E เปนพยัญชนะแรกของคานิยม “Efficiency & Effectiveness” ซึ่งสื่อความหมายวา ตองมุงมั่น ตั้งใจ ทํางานใหกับกองบิน ๕ อยางเต็มความสามารถภายใต ทรัพยากรทีม่ อี ยางจํากัดใหคมุ คาทีส่ ดุ อยางมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล S เปนพยัญชนะแรกของคานิยม “Synergy” ซึ่ง สือ่ ความหมายวา ตองรวมมือรวมใจทํางานรวมกันดวยความ

เมษายน ๒๕๕๙ สามัคคี ผนึกกําลังทุกสวนในการผลักดันภารกิจใหสาํ เร็จ ตามวัตถุประสงคและเปาหมาย กิจกรรมที่ ๑ การปลูกพืชเศรษฐกิจถวาย สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ๘๔ พรรษา กิจกรรมที่ ๒ การทําพิธีถวายเครื่องราชสักการะ สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยแหงสยาม ณ อุทยานราชภักดิ์ กิจกรรมที่ ๓ การพิชิตยอดเขาลอมหมวกฟรี สําหรับเทศกาลวันหยุดยาวตั้งแต ๓ วันขึ้นไป กิจกรรมที่ ๔ การปลอยพันธุสัตวน้ําสูทะเล ถวายเปนพระราชกุศลโดยรวมกับศูนยวิจัยและพัฒนา ประมงชายฝงประจวบคีรีขันธ กิจกรรมที่ ๕ เปดใหชมพิพิธภัณฑฟรีสําหรับ นักเรียนชั้นอนุบาล - มัธยมศึกษา กิจกรรมที่ ๖ ลีลาศยอนยุค กิจกรรมที่ ๗ หาดสวยดวยมือเรา กิจกรรมที่ ๘ คอนเสิรตมหากุศล กิจกรรมที่ ๙ รวมสรางพระมหาธาตุเจดียศรีมงคล ณ วัดคลองวาฬ พระอารามหลวง

กองบิน ๕ เปนสถานทีท่ มี่ ปี ระวัตศิ าสตร คือ วีรกรรมการสูร บอันหาวหาญของเหลาวีรชน ๘ ธ.ค.๘๔ และทําให กองบิน ๕ ไดรบั พระราชทานเหรียญกลาหาญประดับธงชัยเฉลิมพล ซึง่ เปนความภาคภูมใิ จของเหลาขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และบุคคลทุกหมูเหลา รวมทั้งชาวประจวบคีรีขันธเปนอยางยิ่ง ดังนั้นเมื่อ ๒ ก.พ.๕๙ น.อ.สรวิชญ สุรกุล ผบ.บน.๕ และคุณนิรชา สุรกุล ประธานชมรมแมบาน ทอ.บน.๕ พรอมดวยขาราชการ บน.๕ ไดเปนผูแทนมอบของที่ ระลึกจาก พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจง ผูบัญชาการทหารอากาศ ใหแก พลอากาศโท ศรีศักดิ์ สุจริตธรรม อดีตวีรชน ๘ ธ.ค.๘๔ กองบิน ๕ ในวันคลายวันเกิดครบ ๑๐๐ ป ณ บานพัก จว.แพร เพื่อแสดงออกถึงความกตัญูกตเวทีตออดีต วีรชน จากวันนั้นถึงวันนี้ เรายังคงกาวตอไปอยางไมหยุดยั้งเพื่อมุงมั่นไปสูวันขางหนาและวันตอ ๆ ไป 


ชวงเทศกาลปใหมที่ผานมา พบวาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุเกิดจากการเมาสุรา 37.30% ขับรถเร็วเกิน กําหนด 24.39% และขับรถตัดหนากระชั้นชิด 17.75% สําหรับชวงเทศกาลสงกรานตที่จะถึงนี้ เปนอีกชวงเวลาที่จะมี ประชาชนกลับภูมิลําเนา ทองเที่ยว และมีการใชรถใชถนนในการเดินทางจํานวนมาก ซึ่งมีความเสี่ยงตอชีวิต ทรัพยสิน และอาจเกิดอุบตั เิ หตุบนถนนสูง เพือ่ ความปลอดภัยของทุกทาน จึงขอแนะนําเกร็ดเล็กเกร็ดนอย เพื่อลดการสูญเสียชีวิต และทรัพยสินของทาน กอนเดินทางออกจากบาน ควรตรวจสอบภายในบานใหเรียบรอย เชน ประตู หนาตางทุกบานจะตองมี การล็อกที่แข็งแรง ควรถอดปลั๊กอุปกรณไฟฟาที่ไมจําเปนออก อยาซอนกุญแจไวนอกบาน เชน กระถางตนไม ตูเก็บ รองเทา อยาชวยเหลือผูรายโดยการเขียนโนตไววา ไมอยูบาน,, และอยาผากขอความเสียงไวในเครื่องรับโทรศัพทวา ไมอยูบาน ,, โดยเด็ดขาด เมื่อตองเดินทางออกจากบานดวยการขับขี่ยานพาหนะ ไมวาจะเปนรถจักรยานยนตหรือรถยนต อาจ เกิดความเสี่ยงที่ไมสามารถหลีกเลื่ยงได แตหากใสใจดวยการปฏิบัติตาม หลัก 3 M จะชวยใหชีวิตปลอดภัยและลด อุบัติเหตุได ,,

,,

Material การดูแลสภาพยานพาหนะ นํารถเขาศูนยฯ เพือ่ เขาตรวจสอบสภาพเครือ่ งยนตกอ นการเดินทางทุกครัง้ และมีอปุ กรณท่ี จําเปนในรถใหพรอม เชน แมแรง คีม ไฟฉาย เปนตน ตรวจเช็กลมยางทุกครัง้ หากพบวาลมยางออน ควรเติมลมยางใหพอดีไมแข็งและไมออ นจนเกินไป ตรวจสอบยางปดนํา้ ฝน ไฟหนารถ และไฟเบรกใหอยูใ นสภาพทีพ่ รอม Man ผูขับขี่ยานพาหนะ เตรียมสภาพรางกายใหพรอมกอนขับขี่ โดยพักผอนใหเพียงพอ และควรศึกษาเสนทางกอน ออกเดินทางทุกครั้ง กอนขัน้ รถทุกครัง้ ควรตรวจรอบ ๆ รถวาไมมีใครซุมคอยขึ้นรถมาดวย และเมื่อขึ้นรถแลว ควรล็อคประดูใหเรียบรอย


๔๖ ขาวทหารอากาศ

เมษายน ๒๕๕๙

ไมดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลหรือของมึนเมากอนขับรถ เพราะจะทําใหความสามารถใน การขับขี่รถลดลงถาดื่มเกินกฎหมายกําหนด ควรนั่งรถแท็กซี่กลับบานหรือใหเพื่อนที่ไมเมาขับขี่ไปสง คาดเข็มขัดหรือสวมหมวกนิรภัยทุกครั้ง และควรกําชับใหผูรวมเดินทางคาดเข็มขัดหรือ สวมหมวกนิรภัยดวย ไมใชโทรศัพทขณะขับขี่ จะทําใหไมมีสมาธิ ถาจําเปนตองรับสาย ควรใชอูปกรณเสริม ตองเคารพกฎจราจรและมีวินัยในการใชรถใชถนน ไมขับขี่รถเร็วเกินที่กฎหมายกําหนด

Management การขับขี่ เมื่อยางแตก ใหชะลอความเร็วรถยนต หามเหยียบเบรก บังคับรถเขาขางทาง เมื่อขับในเวลากลางคืน ไมควรใชไฟสูง เมื่อตองการจะเลี้ยวรถ ควรชะลอรถและเปดไฟเลี้ยวกอนถึงทางเลี้ยวไมนอยกวา 30 เมตร เพื่อสงสัญญาณใหรถที่ตามหลังลดความเร็วไดทัน เมื่อพบฝนตกถนนลื่น ถนนขรุขระ หรือทัศนวิสัยไมดี ควรขับรถดวยความระมัดระวัง และเมื่อถึงทางโคงใหชะลอความเร็วลง หามเบรกกะทันหัน เมื่อมีอุบัติเหตุขางหนา ใหเปดไฟฉุกเฉินเพื่อใหรถคันอื่นทราบ ถากระจกหนารถแตกและจําเปนตองทุบกระจก ใหทุบจากดานในรถออกไปเพื่อปองกันกระจก บาดคนในรถ พรอมทั้งปดกระจกทั้ง 4 ดานใหสนิทปองกันลมตีกลับ ติดหมายเลขโทรศัพทที่จําเปนไวในรถ เชน ตํารวจทางหลวง (โทร.1193) สถานีวิทยุ จส.100 (โทร.1137) สถานีวิทยุรวมดวยชวยกัน (โทร.1677) ศูนยเอราวัณ (กทม.) โทร.1646 ศูนยนเรนทร (ตางจังหวัด) โทร.1669 เปนตน


ผูบัญชาการทหารอากาศคนแรก พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฎ พล.อ.ท.วิเชียร ธรรมาธร จก.กพ.ทอ. สืบเนื่องมาจากในวันที่ ๙ เมษายน ของทุกป เปนวันสําคัญคือเปน “วันกองทัพอากาศ” ผูเ ขียนขอถือ โอกาสนําเสนอเกร็ดชีวติ บุคคลสําคัญทานหนึง่ ทีเ่ กีย่ วของ โดยตรงกับกองทัพอากาศ ทานผูนั้น คือ พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฎ ทานเปนผูบัญชาการ ทหารอากาศคนแรก ซึ่งผูเขียนเชื่อมั่นวา เมื่อรับทราบ แลวยอมเกิดความภาคภูมิใจอยางแนนอน เนื่องจาก ทานเปนบุคคลตัวอยางในหลาย ๆ ดาน อาทิ มีผลการ เรียนทีด่ ี มีเทคนิคการสอนงาน มีความซือ่ สัตย ออนนอม

ถอมตน และเปนผูที่ยึดมั่นตามระเบียบ ไมทะเยอทะยาน และมีความรูลึกซึ้งทางวิชาการ คุณสมบัติดังกลาวมานี้ ดร.วิชิตวงศ ณ ปอมเพชร ราชบัณฑิตไดเลาไวในหนังสือ “บุคคลที่ไมธรรมดา” จากการสัมภาษณ พลอากาศโท มุนี ฯ ดวยตนเอง ผูเขียนจึงขอนําเหตุการณบางชวงมาเลาตอ พอสังเขป (บทความนีเ้ คยลงตีพมิ พในวารสาร สารชาวฟา มาครัง้ หนึง่ แลว ในฉบับนีผ้ เู ขียนไดปรับปรุงเนือ้ หาเพิม่ ขึน้ ) ดังนี้


๔๘ ขาวทหารอากาศ ในเรือ่ งการศึกษาทานเปนคนเรียนหนังสือเกงมาก มีผลการเรียนที่ดีเดน ทานจบจากโรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัยในป พ.ศ.๒๔๕๔ และสามารถสอบชิงทุนเลาเรียน หลวง “คิงสสกอลาชิพ” ไปศึกษาตอในประเทศอังกฤษ ในฐานะนักเรียนของกระทรวงกลาโหม อีก ๕ ปตอมา ทานไดสําเร็จหลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกล ไดรับปริญญา วิทยาศาสตรบณ ั ฑิต เกียรตินยิ มอันดับ ๑ B.Sc.hons (First Class) จากมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร ทานเปนคนไทยคนแรก ที่ไดรับปริญญาเกียรตินิยมอันดับ ๑ จากมหาวิทยาลัยใน ประเทศอังกฤษ แตทานยังไมไดกลับประเทศไทยในทันที เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑ จึงไดเขาประจําการใน กองทหารอาสา ซึ่งรัฐบาลไดสงไปปฏิบัติราชการสงคราม ในทวีปยุโรป และไดรับพระราชทานยศนายรอยตรีตั้งแต ยังอยูในประเทศอังกฤษ เมื่อสงครามยุติลงทานไดศึกษา ตออีกชวงระยะเวลาหนึ่ง ในป พ.ศ.๒๔๖๓ ทานจึงกลับมา รับราชการทีก่ รมอากาศยานทหารบก และไดนาํ ความรูค วาม สามารถสรางผลงานใหแกกองทัพอากาศมากมาย อาทิ การสรางสนามบินดอนเมือง และการออกแบบสรางเครือ่ งบิน ขับไล “บริพัตร” เปนตน ในเรื่องของเทคนิคการสอนงาน ขณะที่ทานมี หนาที่รับผิดชอบโรงงานอากาศยานนั้น ทานพบความยาก ลําบากในการอธิบายหลักวิชาเทคนิคใหผูใตบังคับบัญชา ซึ่งเปนทหารชั้นผูนอยและไมมีพื้นความรูความเขาใจทาง วิทยาศาสตร ทานตองใชวิธียกตัวอยางในเรื่องพื้น ๆ ที่ พวกเขาพอจะเขาใจได โดยเปรียบเทียบใหฟงกับหลักวิชา จนกระทั่งมีความเขาใจ เมื่อเลาประสบการณแลวทานยัง ย้ําวา ในการสอนหนังสือนั้นจะตองมุงใหผูเรียนไดเขาใจ อยางถองแท อยาไดอธิบายเฉพาะในเชิงวิชาการซึ่งยากที่ จะเขาใจ จะตองยกตัวอยางมาก ๆ และใชคําอธิบายพื้น ๆ ทานใหขอคิดวา เราจะตอง “ลง” ไปหาเขา มิใชพยายาม “ดึง” ใหเขาขึ้นมาหาเรา (ผูเขียนมีความคิดเห็นวา ขอคิด ดังกลาวนาจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการนํามาประยุกต ใชกับการทํางานในยุคปจจุบันที่มีการนําเครื่องมือทางการ บริหารมาใชอยางมากมาย การจัดการฝกอบรม การสัมมนา

เมษายน ๒๕๕๙ และการเปนวิทยากรจึงเปนอาชีพที่แพรหลาย เพราะ ทุกหนวยงานตางมุงหวังใหหนวยงานของตนมีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลทั้งสิ้น แตปญหาที่ สําคัญคือ การถายทอดความรูตาง ๆ ใหแกบุคลากร ซึ่งเปนเรื่องสําคัญ เชนเดียวกับที่ พลอากาศโท มุนี ฯ ยกตัวอยางเรื่อง การที่ผูใตบังคับบัญชาไมเขาใจการ ปฏิบัติงาน) พลอากาศโท มุนี ฯ ไดรับการยกยองอยางสูง จากทั้งฝายขาราชการประจําและฝายการเมืองวาเปน ผูท มี่ คี วามซือ่ สัตยและไวใจได การทีท่ า นไมมสี ว นเกีย่ วของ ใด ๆ กับการเมือง ทําใหทานไมไดรับผลกระทบจาก การปฏิวัติรัฐประหารในแตละครั้งเลย ทานไดเลาให ดร.วิชิตวงศ ฯ ฟงตอนหนึ่งวา เมื่อประมาณป ๒๔๗๖ ขณะดํารงตําแหนง ผูช ว ยเจากรมอากาศยานฝายเทคนิค ชวงนัน้ ทานเดินทางไปพักผอนทีบ่ า นพักฝง ธนบุรี เมือ่ ถึง กําหนดตองกลับไปปฏิบัติราชการที่ดอนเมือง ระหวาง ทางทานนั่งเรือขามฟากไปยังสถานีรถไฟบางซื่อ เพื่อ นั่งรถไฟตอไปดอนเมืองดังที่เคยปฏิบัติ และไดพบกับ นายรอยเอกหลวงกาจสงคราม ซึง่ ถามทานวา “คุณพระ จะไปไหน” เมือ่ ไดทราบวาจะไปดอนเมือง คุณหลวงกาจฯ ก็อุทานวา “คุณพระไปอยูเสียที่ไหนมา ไมทราบหรือ วาพวกกบฏ (บวรเดช) ไดยึดดอนเมืองเสียแลว” คุณหลวงกาจฯ ก็บอกกับทานตอไปวาไดยินวาเจาคุณ นายกฯ (นายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา) ไตถามถึง ทานอยู คุณหลวงกาจฯ จึงแนะนําใหทา นไปรายงานตัวตอ เจาคุณพหลฯ เมื่อทานมาถึง เจาคุณพหลฯ แสดงความ ดีใจอยางมาก จากนัน้ ทานจึงรายงานใหฝา ยรัฐบาลทราบ ถึงกําลังทางอากาศทีด่ อนเมือง โดยเฉพาะในดานเครือ่ งบิน ซึ่งฝายตรงขาม (กบฏ) อาจมาใชโจมตีกรุงเทพฯ ได เมื่อเหตุการณ “บวรเดช” ยุติลง ปรากฏวา นายทหารอากาศชั้นผูใหญและผูนอยจํานวนมากถูก ปลดจากประจําการ เนื่องจากเปนสมาชิกของผูกอการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง และสําหรับพลอากาศโท มุนี ฯ ซึง่ เปนนายทหารชัน้ ผูใ หญในจํานวนไมกคี่ น ทีม่ ใิ ชสมาชิก


เมษายน ๒๕๕๙ ของคณะผูกอการฯ จึงทําใหทานไดรับการไววางใจจาก รัฐบาลมากทีส่ ดุ แมวา ในขณะนัน้ ทานมียศเปนนายพันเอก ทานก็ไดรับการแตงตั้งใหรักษาราชการแทนเจากรม อากาศยานทหารบก ตอมากอนสิน้ ป พ.ศ.๒๔๗๖ ทานได รับการแตงตัง้ เปนเจากรมฯ หลังจากนัน้ “กรมอากาศยาน ทหารบก” ไดแยกตัวออกมาเปน “กรมอากาศยาน” อยู ในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม โดยตรง และกรมอากาศยานไดยกฐานะเปน “กรมทหาร อากาศ” และไดรบั การสถาปนาเปน “กองทัพอากาศ” ใน วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๐ โดยมีนายนาวาอากาศเอก พระเวชยันตรังสฤษฎ เจากรมทหารอากาศเปน ผูบ ญ ั ชาการ ทหารอากาศคนแรก และกองทัพอากาศไดกําหนดให วันที่ ๙ เมษายน ของทุกปเปน “วันกองทัพอากาศ” ในทางดานการเมือง ถึงแมวา ทานจะไมเกีย่ วของ กับการเมืองโดยตรง และไมมคี วามสนใจหรือทะเยอทะยาน ทางการเมืองแมแตนอยก็ตาม แตทานก็ไดรับความไว วางใจจากฝายการเมือง ใหดาํ รงตําแหนงสําคัญ ๆ ทางการ เมือง ไดแก รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการ กระทรวงตาง ๆ อาทิ กระทรวงเกษตราธิการ กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคม กระทรวงพาณิชย และ กระทรวงศึกษาธิการ เปนตน ทานเลาตอไปอีกวา ทาน ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีเปนครัง้ แรกเมือ่ อายุ ๕๓ ป เทานัน้ บางชวงชีวติ การทํางานก็มคี วามไมสะดวกสบายนัก กลาว คือ ขณะทีท่ า นไดรบั การแตงตัง้ ใหดาํ รงตําแหนงกระทรวง อุตสาหกรรม (ธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๓ - มีนาคม พ.ศ.๒๔๘๔) ทานก็ดํารงตําแหนงเปน ผูบัญชาการทหารอากาศ ดวย ทานตองเทียวไปเทียวมาระหวางกรุงเทพฯ กับดอนเมือง สมัยนั้นการเดินทางตองใชรถไฟเปนสวนใหญ เมื่อขบวน รถไฟจากกรุงเทพฯ ผานหนา กองบัญชาการกองทัพ อากาศ ก็ชะลอใหทา นกระโดดลงกอนจะเคลือ่ นเขาสถานี ดอนเมือง นอกจากนี้ทานยังไดรับดํารงตําแหนงหนาที่ ราชการสําคัญ ๆ หลายตําแหนง อาทิ ที่ปรึกษาปองกัน ราชอาณาจักร ที่ปรึกษากระทรวงพาณิชย ราชบัณฑิต กิตติมศักดิ์ รองประธานกรรมการบริหารสภาพัฒนาการ

ขาวทหารอากาศ ๔๙

สรางอุตสาหกรรมแหงชาติ กรรมการขาราชการพลเรือน เปนตน ดังนัน้ ทานจึงเปนทีร่ จู กั และไดรบั ความเคารพนับถือ อยางกวางขวางทั้งในวงการทหารและฝายพลเรือน จาก คุณงามความดีอันบําเพ็ญตอประเทศ จนไดสมญานามที่ มีความเหมาะสมที่สุดสําหรับชีวิตของทาน คือ “วีรบุรุษ อุตสาหกรรมของประเทศไทย” คุณสมบัติที่โดดเดนของทานอีกประการหนึ่ง คือ การมีความออนนอมถอมตน ยึดมั่นตามระเบียบ ไมทะเยอทะยาน ทานเลาถึงเหตุการณตอนหนึ่งวา ขณะ ที่ทานดํารงตําแหนง ผูบัญชาการทหารอากาศ วันหนึ่ง พันเอก หลวงพิบลู สงคราม รัฐมนตรีวา การกระทรวงกลาโหม ไดเดินทางมาเยี่ยมกองทัพอากาศที่ดอนเมือง ในฐานะ ผูบัญชาการทหารอากาศ ทานไดสั่งการใหทหารอากาศ


ตั้งแถวรับ ซึ่งในขณะนั้นเครื่องแบบของทหารยังแตก ตางกันระหวาง“พลรบ” กับ “ชวยรบ” กลาวคือ เครื่อง แบบของฝาย “พลรบ” มีความสงางามกวาฝาย “ชวย รบ” ทานเปนฝายเทคนิคก็ไดแตงเครื่องแบบ “ชวยรบ” มาโดยตลอด ซึ่งเปนไปตามระเบียบกระทรวงกลาโหม คุณหลวงพิบูลฯ เห็นเขาก็มากระซิบถามทานวา “ทําไม คุณพระแตงเครือ่ งแบบอยางนี”้ ทานก็ตอบวา ไดถอื ปฏิบตั ิ ตามระเบียบกระทรวงกลาโหม คุณหลวงพิบูลฯ สายหนา บอกวา “ไมไดสิคุณพระ เปนผูบัญชาการฯ แลวนี่นา แต เอาเถิด ผมจะแกระเบียบเสียใหม” ตอมาจึงมีการแกไข ระเบียบใหทุกฝายแตงเครื่องแบบอยางเดียวกัน พลอากาศโท มุนี ฯ ไมเคยวางราชการอยางแทจริง ในระหวางทีม่ ไิ ดเปนรัฐมนตรีฯ ทานก็มหี นาทีร่ บั ผิดชอบใน ฐานะอธิการบดีจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื่องจากทาน เปนทีย่ อมรับวามีความรูล กึ ซึง้ ในทางวิชาการ แมจะมีเวลา มาปฏิบัติงานไมมากนักก็ตาม ในป พ.ศ.๒๕๐๑ - ๒๕๐๔ นับเปนชวงสุดทายที่ทานเปนอธิการบดีและเปนชวงการ กอตัง้ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การกอตัง้ จําเปนตองใชงบประมาณของตนเองเพือ่ ใหอสิ ระจากคณะ ตาง ๆ แมจะพยายามเจรจาทําความตกลงกับเจาหนาที่ ของสํานักงบประมาณหลายคราวแตไมประสบผลสําเร็จ

สุดทายเจาหนาที่แนะนําใหไปคุยกับผูอํานวยการสํานัก งบประมาณ (ขณะนั้น คือ ดร.ปวย อึ๊งภากรณ ซึ่งดํารง ตําแหนงผูว า การธนาคารแหงประเทศไทยอีกตําแหนงหนึง่ ดวย) พลอากาศโท มุนี ฯ ในฐานะอธิการบดี เมื่อทราบ เรื่องก็ตกลงจะเดินทางไปเจรจากับ ดร.ปวย ฯ ตามที่ นัดหมาย ขณะนัน้ ทานอายุประมาณ ๖๖ ป เดินขึน้ บันได อันสูงของธนาคารชาติ ตรงไปยังหองทํางานของผูว า การฯ นัง่ รอพักสักครู ดร.ปวย ฯ ออกมาตอนรับ ทานก็แจงความ ประสงคจะขอความกรุณาเรื่องงบประมาณของบัณฑิต วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และขอให ดร.วิชติ วงศ ฯ เปนผูชี้แจง ดร.ปวย ฯ โบกมือหามไมให ดร.วิชิตวงศ ฯ พูดอะไร และกราบเรียนทานวา “ตัง้ แตกระผมรูจ กั ใตเทา มา ใตเทายังไมเคยขออะไรผมเลย ดังนั้นคราวนี้กระผม ยินดีรับใช” และ ดร.ปวย ฯ ไดจัดสรรงบประมาณใหแก บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตามทีต่ อ งการ และจากคุณปู การของทานพลอากาศโท มุนี ฯ ในครัง้ นัน้ ไดสงผลมาถึงปจจุบัน กลาวคือ ไดนําไปสูการรวมมือ ทางวิชาการในการจัดทําหลักสูตรระดับปริญญาโททาง รัฐประศาสนศาสตรรวมกันระหวางกองทัพอากาศกับ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในป พ.ศ.๒๕๔๗

จากเกร็ดชีวติ บุคคลสําคัญและคุณสมบัตทิ โี่ ดดเดนของทานพลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฎ ผูบัญชาการทหารอากาศคนแรก ที่ผูเขียนเรียบเรียงมานี้ หวังวาจะเปนประโยชนแกชาวกองทัพอากาศทุกคนในการ ยึดเปนแนวทางประพฤติปฏิบัติไดเปนอยางดี คุณูปการและคุณความดีตาง ๆ ที่ทานไดสรางไวแกพวกเรานั้น นับเปน รากฐานอันสําคัญที่สงผลใหกองทัพอากาศของเรามีการพัฒนาอยางรวดเร็ว และตอเนื่องตราบถึงปจจุบัน  แหลงขอมูล - กองทัพอากาศ. วันกองทัพอากาศ ๙ เมษายน ๒๕๕๘ หนังสือเพลงเกียรติภูมิแหงนานฟา (One of The Best Air forces in ASEAN) - กองทัพอากาศ. [ออนไลน]. ๒๕๕๙. เขาถึงไดจาก: http: // www.rtaf.mi.th [๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๙] - ดร.วิชิตวงศ ณ ปอมเพชร. บุคคลที่ไมธรรมดา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพดอกหญา, ๒๕๔๕ - ๔ แผนดินราชวงศจักรี ๑๐๐ ป การบินของบุพการีทหารอากาศ. กรุงเทพฯ: เอส.พี.เอ็น. การพิมพ, ๒๕๕๔



๕๒ ขาวทหารอากาศ การพัฒนากําลังพลในทศวรรษหนา คือ ความสามารถ ในการเรียนรู การรับขาราชการเขามาบรรจุใหม จะมอง เฉพาะคุณลักษณะและสมรรถนะไมไดอีกตอไป สิ่งสําคัญ ที่สุดคือ ตองดูวาบุคคลนั้นมีความสามารถในการพัฒนา สมรรถนะและปรับคุณลักษณะไดรวดเร็วขนาดไหน แลวเรา จะรูไดอยางไร ? คงไมใชเรือ่ งงายทีจ่ ะตอบคําถามนัน้ ไดอยางหนัก แนน แตกม็ หี นทาง ซึง่ หนทางเดียวทีจ่ ะรับประกันไดวา กําลัง พลของเราจะมีความฉลาดและรอบรูในงานในสภาวการณ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเรื่อย ๆ คือบุคลากรตองมีความ สามารถในการเรียนรู ซึ่งคงตองใชรูปแบบ Learn-Unlearn-Relearn คือ เรียนรู แลวลืมสิ่งทีเ่ คยรู แลวเรียน รูกันใหม ไมเพียงเฉพาะเทคโนโลยีทางดานขอมูลขาวสาร หรือทางดานการบินที่มีการพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงแบบ กาวกระโดด เทคโนโลยีดานอื่น ๆ ก็เปลี่ยนแปลงไปดวย ไมแพกัน รวมทั้งเทคโนโลยีทางดานการฝกศึกษากําลังพล เพือ่ สรางประสิทธิผลไดเทาเดิมหรือมากกวาโดยใชเวลานอย ลง จึงขอยกตัวอยางเทคโนโลยีทกี่ าํ ลังพัฒนาตัวมันเองใหมี ความสามารถมากขึ้นในทุกวัน เชน ศาสตรแหงการสราง ผลลัพธโดยการถอดแบบจากความเปนเลิศ (Neuro Linguistic Programming: NLP) โดยศาสตรนี้มีความ เชีย่ วชาญดานการเรียนรูใ นตัวเอง ซึง่ ตองใหความสนใจกับ การสอนในเรื่อง วิธีการเรียนรูใหมีประสิทธิผล (Learn how to learn) เปนเรื่องแรกกอนเรื่องอื่น ๆ โดยศาสตร นี้ไดแนะนํารูปแบบการเรียนรู (Learning Frame) ที่ตอง อาศัยพืน้ ฐานสองอยาง อยางแรกเรียกวา Be Generative คือ การนําเอาสิ่งที่มีอยูเดิมมาทําใหดีกวาเดิม อยางที่สอง Imagine As if คือ การจินตนาการถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นขางหนา แลวทดลองทํา Be Generative เปนการใหความสนใจตอ การขยายศักยภาพของตัวเองเปนหลัก โดยมีหลักคิดวา คนทุกคนมีทรัพยากรเพียงพออยูในตัวเองสําหรับการ แกปญหาหรือหาหนทางปฏิบัติใหบรรลุผลได ซึ่งเนนการ เขาถึงแหลงทรัพยากรภายในตัวเอง เมื่อเราตระหนักและ

เมษายน ๒๕๕๙ มองเห็นวามีทรัพยากรมากขึน้ การใชทรัพยากรนัน้ ก็มาก ขึน้ คือมีศกั ยภาพมากขึน้ สิง่ เดิมทีเ่ คยคิดวาเปนปญหาก็จะ มีทางแกไข หรือจัดการไดอยางงาย ๆ ไดทนั ทีจดุ ประสงค ก็เพือ่ เตรียมตัวเองใหมที กั ษะทีเ่ หมาะสมสําหรับอนาคต โดยการคนหาแนวทางใหม ๆ ในการเรียนรู เปนการเพิม่ ความสามารถในการตอบสนองตอเหตุการณทไี่ มคาดคิด วาจะเกิด สามารถถอดรูปแบบความรูจากบทเรียนหนึ่ง จากที่หนึ่งไปประยุกตใชกับอีกบริบทที่แตกตางกันได Imagine As If เปนสิ่งที่ตองฝก ไอนสไตน กลาวไววา “จินตนาการนั้นสําคัญกวาความรูมากนัก” เชน ถาเราตั้งคําถามกับตัวเองวา “จะเกิดอะไรขึ้นถาเรา สามารถ...?” ดวยพลังแหงจินตนาการ คนเราจึงสามารถ ตระหนักไดวา มีอะไรบางที่สามารถเปนไปได โดยกอน หนานัน้ อาจไมเคยแมแตจะคิดถึง หัวใจของขัน้ ตอนนีค้ อื ถาสมมติวาเราเปนแบบนั้น โดยการปรับทั้งภาษากาย วิธีคิด อารมณความรูสึก และเชื่อมโยงกับจุดมุงหมายที่ ตองการ เมือ่ เขาสูส ภาวะนัน้ ไดแลว เราจะเริม่ เขาใจความคิด ความรูส กึ มุมมองและความเปนไปได หลังจากนัน้ ก็เรียนรู ทีจ่ ะสรางใหเปนความจริง ซึง่ วิธกี ารนีจ้ ะชวยสรางความงาย ในการวางแผนและการแกปญ  หาไดดอี กี ดวย โดยใชความ ฉลาดทัง้ สีม่ ติ ไิ ปพรอมกันไมวา จะเปน รางกาย (Physical Quotient) สมอง (Intelligent Quotient) อารมณความ รูส กึ (Emotional Quotient) และ จิตวิญญาณ (Spiritual Quotient) ทําใหสามารถพัฒนาบุคลากรไดอยางรวดเร็ว กวาการเรียนรูแ บบมิตเิ ดียว ผลลัพธทไี่ ด เชน คนหนึง่ คน สามารถวางแผนงานทีส่ ามารถนําไปปฏิบตั ไิ ดจริง การที่ จะทําไดแบบนั้น ในหนึ่งคนจะตองมีทั้งความสามารถใน การจินตนาการเหตุการณขา งหนา วางแผนใหสอดคลอง กับความเปนจริงในปจจุบัน รวมทั้งวิเคราะหไดวาจะมี ปญหาอะไรบางที่อาจจะเกิดขึ้น อะไรทําได อะไรทําไมได แลวนําไปปรับแผนใหมีความรัดกุมมากขึ้น นอกจากการพัฒนากําลังพลใหมคี วามสามารถ ในการเรียนรูข า งตนแลว กองทัพอากาศเองยังนําแนวความ คิดเรื่องการนําองคกรแหงการเรียนรูมาใชในหนวยงาน


เมษายน ๒๕๕๙ ดังนัน้ คงตองพูดถึงเรือ่ ง Personal Mastery ดวย คนเรา จะสามารถเปนผูเชี่ยวชาญในงานได หรือสามารถสั่งการ ตัวเองได สิง่ สําคัญคือการรูจ กั ตัวเอง ซึง่ เปนประเด็นทีจ่ ะ ตองทําความเขาใจใหแจมชัด ในหลักสูตรการพัฒนากําลังพล สมัยปจจุบันที่เริ่มนิยมใชกันในองคกรระดับใหญ ๆ หรือ อยางนอยทีส่ ดุ ก็ใชในการพัฒนาผูน าํ ขององคกร มีเครือ่ งมือ ที่มีความสามารถในการพัฒนาการเรียนรูและออกแบบ แผนปฏิบัติการสําหรับการเปลี่ยนแปลงไดอยางดีเยี่ยม ชือ่ วา Logical Level เปนโมเดลทีพ่ าเราออกจากจุดทีย่ นื อยูข ณะนีไ้ ปยังเปาหมายทีต่ อ งการ โดยการทํางาน ๖ ขัน้ ของการเปลีย่ นแปลงทีส่ ง ผลสัมพันธซงึ่ กันและกัน โดย ๖ ระดับนั้น เรียงจากบนลงลางอันประกอบไปดวย วิสัย ทัศน (Spiritual or Vision) เอกลักษณ (Identity) คา นิยมและความเชือ่ (Values and Beliefs) ความสามารถ และทักษะ (Capabilities and Skills) พฤติกรรม (Behaviors) และสิ่งแวดลอม (Environment) ซึ่งเครื่องมือนี้จะ ชวยทําใหรจู กั ตนเองและสามารถเชือ่ มโยงทัง้ ๖ ระดับให

ขาวทหารอากาศ ๕๓ สอดคลองกันตัง้ แตสถานทีห่ รือสิง่ แวดลอมทีเ่ ขาอยูส งู ขึน้ ไป เรือ่ ย ๆ ตามระดับขัน้ จนถึงระดับวิสยั ทัศน โดยทัง้ ๖ ระดับ มีความเชื่อมโยงความฉลาดทั้งสี่มิติที่กลาวมาขางตนตาม แบบของการเรียนรู เมื่อทําใหทั้ง ๖ ระดับสอดคลองกัน ไดแลว บุคลากรคนนั้นก็จะเห็นคุณคาและความสําคัญใน สถานทีท่ ตี่ นกําลังทํางานอยู งานทีต่ นกําลังทําอยู ซึง่ สงผล ถึงทุกระดับของ Logical Level ไมวา จะมองจากบนลงลาง หรือจากลางขึน้ บน ลวนประสานสอดคลองกันและมุง ไปสู การบรรลุวสิ ยั ทัศน เมือ่ เปนไดตามนีก้ ม็ นั่ ใจไดวา บุคคลนัน้ จะไมเพียงดํารงหนวยใหอยูร อด แตยงั สามารถพัฒนางาน ในตําแหนงนัน้ ใหมที งั้ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพทีด่ ขี นึ้ เรื่อย ๆ อีกดวย นอกจากนี้หากมีปญหาเกิดขึ้นหรือการ พัฒนาเกิดการชะงัก บงบอกวามีบางอยางที่ไมสอดคลอง กัน เราสามารถใชเครื่องมือนี้คนหาสาเหตุของปญหาวา ในปญหานีม้ สี าเหตุมาจากระดับใดเพือ่ จะไดเลือกวิธกี ารที่ เหมาะสมไปแกไขใหตรงจุด เชน ถาปญหาอยูที่ระดับของ ความเชื่อ หากเรามัวแตไปปรับพฤติกรรม หรือฝกอบรม


๕๔ ขาวทหารอากาศ ใหเขามีทักษะ ซึ่งอยูระดับตางกันกับเหตุปญหา ปญหานี้ ก็ไมอาจแกไขใหหมดไปได ในขณะเดียวกันไอนสไตนเคย บอกไววา “เราไมสามารถแกปญ  หาโดยอาศัยแนวความคิด แบบเดียวกัน ซึ่งเปนตัวสรางปญหา” เมื่อทราบแบบนี้และ มีเครื่องมือที่ชัดเจน ก็สามารถเลือกชุดความคิดที่ระดับสูง ขึ้นไปอีกระดับใน Logical Level มาแกไขปญหาในระดับ ลางไดดวย การไปสูวิสัยทัศนการเปนกองทัพอากาศชั้นนํา ในภูมภิ าค จะสําเร็จมากนอยประการใด กําลังพลคือหัวใจ ที่สําคัญ การรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่กองทัพอากาศ ตองเผชิญ จึงตองสรางและพัฒนาคนใหพรอมอยูเสมอ

เมษายน ๒๕๕๙ จากที่กลาวมาขางตนเปนเพียงสวนหนึ่งของหลักคิดใน การพัฒนาคน ดังนั้นในบริบทแหงการเปลี่ยนแปลงที่มี เทคโนโลยีเปนตัวขับสําคัญนี้ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตระหนักถึงภารกิจทีม่ คี วามสําคัญยิง่ ในการผลิตและพัฒนา กําลังพลใหมคี ณ ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงคตรงตามความตองการ ของกองทัพอากาศ ซึง่ ตองมีความสามารถในการเรียนรูท ี่ มีประสิทธิผล ควบคูไปกับการเปน Personal Mastery ดังคานิยมของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศทีเ่ พิม่ ตอจาก AIR มาเปน...ใฝเรียนรู สูงาน เชี่ยวชาญการศึกษา สามารถ ยืนหยัดพรอมรับการเปลีย่ นแปลงของกระแสโลก นําพา กองทัพอากาศยางกาวไปสูทศวรรษหนาไดอยางมั่นคง


ปชส.กร.ทอ. “...ทหารนั้น มิใชจะมีหนาที่ใชศัสตราวุธทําสงครามประการเดียว หากยังตองปฏิบัติภารกิจดานกิจการ พลเรือน คือ ใชความรู ความคิด จิตวิทยา และความเฉลียวฉลาด ซึ่งอาจรวมเรียกวา อาวุธทางปญญา เขาปฏิบัติ พัฒนาทองถิน่ ใหประชาชนอยูด ี กินดี มีความปลอดภัย มีขวัญและกําลังใจ ทีจ่ ะสรางความดี ความเจริญ ความมัน่ คง ใหแกตนเองและสวนรวมอีกประการหนึ่งดวย...” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานกระบี่และปริญญาบัตรแกผูสําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ และวิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา วันพฤหัสบดีที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๖ ณ อาคารใหมสวนอัมพร

สถานการณดา นความมัน่ คงมีการเปลีย่ นแปลง อยางรวดเร็ว กองทัพอากาศไมเพียงแตตองเตรียมความ พรอมเพือ่ รับมือกับภัยคุกคามรูปแบบเดิมเทานัน้ หากแต ตองรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหมที่เกิดขึ้น เชน การ กอการราย ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งมีแนวโนมรุนแรง มากขึน้ กองทัพอากาศจึงตองเตรียมกําลังกองทัพอากาศ ใหมีความพรอม และปรับบทบาทเพื่อใหเผชิญกับภัย คุกคามดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพและทันทวงที

โดยเฉพาะการใชขีดความสามารถของกองทัพอากาศ ในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาภัย พิบตั ิ (Humanitarian Assistance and Disaster Relief: HADR) ทั้งภายในประเทศและภูมิภาคอาเซียน เพื่อใหการดําเนินงานดานกิจการพลเรือนตอบ สนองตอยุทธศาสตรกองทัพอากาศและสภาพแวดลอมดาน ความมั่นคงที่เปลี่ยนแปลงดังกลาว กรมกิจการพลเรือน ทหารอากาศจึงไดกําหนดแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้


ปลูกฝงคานิยม ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย การปลูกฝงคานิยมความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ใหแกกําลังพลของกองทัพอากาศ รวมทั้งการ แสดงออกถึงความจงรักภักดี เทิดทูน พิทักษรักษาสถาบันพระมหากษัตริยอยางสมพระเกียรติ โดยมีการจัดกิจกรรม เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ และพระบรมวงศานุวงศ ในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันประสูติ และวันสําคัญตาง ๆ ตามทีร่ ฐั บาลกําหนด อีกทัง้ จัดใหมกี ารเผยแพรพระราชกรณียกิจ และพระมหากรุณาธิคณ ุ ทีท่ รงบําเพ็ญคุณานุประโยชนแกประเทศชาติ และประชาชนชาวไทย ดําเนินการสรางความรวมมือ กับหนวยงานภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุนโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ สงเสริมใหขา ราชการเรียนรูแ ละ ปฏิบตั ติ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนเปนหนวยงานตนแบบในการปฏิบตั ติ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใหแกประชาชน กําหนดยุทธศาสตรประชาสัมพันธ ดําเนินงานดานการประชาสัมพันธภายใตยทุ ธศาสตรการประชาสัมพันธทสี่ อดคลองกับนโยบายและแผนการ ประชาสัมพันธแหงชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๔) ซึ่งมีแนวทางการประชาสัมพันธในเชิงรุก แบงเปน ๒ แผน คือ แผนงานภารกิจปกติและแผนงานเฉพาะกิจ เพื่อใหสอดคลองกับหวงเวลาและสถานการณ โดยมุงหวังใหประชาชน ไดทราบถึงกิจกรรมและความเปนไปของกองทัพอากาศผานทางสื่อประชาสัมพันธ เชน รายการวิทยุในเครือกองทัพ อากาศ สื่อสิ่งพิมพและโทรทัศน รวมถึงการเขาถึงประชาชนในทุกภาคสวนผานกิจกรรมเยี่ยมเยือนประชาชนในพื้นที่ ตาง ๆ ซึ่งกอใหเกิดความเชื่อมั่นศรัทธา และใหการสนับสนุนภารกิจของกองทัพอากาศตอไปในอนาคต


ดํารงความพรอมในการปฏิบัติงานชวยเหลือประชาชน ดําเนินการติดตามสถานการณ วางแผน เตรียมการและประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง เพื่อใหความชวยเหลือพี่นองประชาชนยามเกิดภัยพิบัติทั้งในสวนกลางและกองบินตางจังหวัดทั่วประเทศผานศูนย บรรเทาสาธารณภัยกองทัพอากาศ และศูนยบรรเทาสาธารณภัยกองบิน เพื่อใหความชวยเหลือพี่นองประชาชนเปนไป อยางรวดเร็ว ทันเหตุการณ และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ยังไดเตรียมการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติกับประเทศในกลุมประชาคมอาเซียนดวย พัฒนางานดานประวัติศาสตรใหเปนแหลงความรูดานการบิน สงเสริมใหเยาวชนและบุคคลทัว่ ไปไดเขามาศึกษาหาความรูด า นประวัตศิ าสตรการบินและการบินในปจจุบนั ณ พิพิธภัณฑกองทัพอากาศและการบินแหงชาติ เพื่อปลูกฝงใหเยาวชนเห็นถึงความสําคัญในการมีกําลังทางอากาศไว เพื่อปกปองนานฟา และการพัฒนาประเทศ ดังพระราชดํารัสของ จอมพล สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจักรพงษ ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ “พระบิดากองทัพอากาศ” “กําลังในอากาศเปนโลอันแทจริงอยางเดียวที่จะกันมิใหการสงครามมาถึงทามกลางประเทศของเราได ทั้งเปนประโยชนใหญยิ่งในการคมนาคมเวลาปกติ” กวาทศวรรษที่ผานมา งานดานกิจการพลเรือนและการประชาสัมพันธไดเขามามีบทบาทสําคัญในการสงเสริม ภารกิจและภาพลักษณทดี่ ขี องกองทัพอากาศอยางตอเนือ่ ง โดยปฏิบตั งิ านควบคูก บั ภารกิจดานตาง ๆ ของกองทัพอากาศ ตรงตามนโยบายผูบ ญ ั ชาการทหารอากาศทีเ่ ล็งเห็นความสําคัญในการปฏิบตั งิ านดานกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ ซึง่ จะทําใหกาํ ลังพลของกองทัพอากาศ และประชาชนเกิดความเขาใจ เชือ่ มัน่ ศรัทธา และใหความรวมมือหรือสนับสนุน การปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศจนสําเร็จลุลวงอยางสมบูรณ ดังวิสัยทัศนกรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ

“มุงสูองคกรคุณภาพในการเสริมสรางภาพลักษณเชิงรุก สรางความเชื่อมั่นและศรัทธากองทัพอากาศตอสาธารณชนอยางยั่งยืน” “Towards becoming a quality air force organization. We take part in presenting the proactive image of the Royal Thai Air Force and instilling lasting public confidence and faith”


ปชส.ศภษ.ยศ.ทอ.  ประวัติกองทัพอากาศ กอเกิด : กิจการการบินในสมัยรัชกาลที่ ๖ เพียง ๗ ปเศษหลังจากการบินของโลกถือกําเนิด ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เปน ชวงเวลาที่สยามไดเริ่มกิจการการบินขึ้น นับเปนพระมหากษัตริยที่ทรงเปน “ผูพระราชทานกําเนิดการบินของไทย” เนื่องจากทรงตระหนักถึงความสําคัญของเครื่องบินจึงมีพระบรมราชานุญาตใหชาวตางชาติเขามาแสดงการบินใหคนไทย ชมเปนครั้งแรก และดวยการริเริ่มของจอมพล สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจักรพงษภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลก ประชานารถ เสนาธิการทหารบก และจอมพล พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรี สุรเดช เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ที่ทรงเห็นความกาวหนาดานการบินในประเทศฝรั่งเศส ทั้ง ๓ พระองคทรงตระหนัก ถึงความจําเปนทีส่ ยามตองมีเครือ่ งบินไวใชในการปองกันประเทศ จึงไดทรงสงนายทหารไปศึกษาวิชาการบิน ณ ประเทศ ฝรั่งเศส และกอเกิดกิจการการบินนับจากนั้นมา “พระบิดาแหงกองทัพอากาศ” ทรงกอรางสรางกําลังทางอากาศ จอมพล สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจักรพงษภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ ทรงเปนสมเด็จ พระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว สําเร็จการศึกษาวิชาทหารจากประเทศรัสเซีย ซึ่งพระนาม ของพระองคไดรับการจารึกไวบนแผนศิลาของโรงเรียน ในฐานะเปนผูสอบไดคะแนนสูงสุด หลังสําเร็จการศึกษาทรง กลับมารับราชการและเปนพระองคหนึ่งที่วางรากฐานของกําลังทางอากาศ จึงไดรับการยกยองใหเปน “พระบิดาแหง กองทัพอากาศ” นอกจาก “พระบิดาแหงกองทัพอากาศ” แลว ยังมีผมู คี ณ ุ ปู การตอกิจการการบิน อีก ๓ พระองค ไดแก จอมพล สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพตั รสุขมุ พันธุ กรมพระนครสวรรควรพินติ จอมพล พระเจาบรมวงศเธอ พระองค เจาจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช และนายพลเอก พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาบุรฉัตรไชยากร กรมพระกําแพงเพ็ชรอัครโยธิน


ขาวทหารอากาศ ๕๙

เมษายน ๒๕๕๙

The History of Royal Thai Air Force

Genesis: Aviation in the Reign of King Rama VI The first chapter of aviation in Thailand began just seven years after the first flight in an airplane (1903) due to the foresight of His Majesty King Vajiravudh (Rama VI) on the vitality of aviation by granting permission for the first flying demonstration by westerners. Initiated by General His Royal Highness Prince ChakrabongseBhuvanath, Prince of Bisnulok, the Chief of Staff; and Field Marshal His Royal Highness Prince NakornJaisriSuradej, the Minister of War who had seen the advancement of military aviation in France, all realized the necessity of airplanes in national defence. The Aviation Unit was then established and Army officers were dispatched to attend aviation courses in France. “Father of the Royal Thai Air Force” building up Siam Air Power Field Marshal His Royal Highness Prince Chakrabongse Bhuvanath, Prince of Bisnulok, younger brother to His Majesty King Vajiravudh (Rama VI), graduated summa cum laude in military science from Russia, and his name is stone-etched at the academy. Back home by royal commission, he became one of the founders of air power, and lauded as “Father of the Royal Thai Air Force”. Apart from the “Father of the Royal Thai Air Force”, three other benefactors to Siam Aviation are: Field Marshal His Royal Highness Prince ParibatraSukhumbhand, Prince of NakhonSawan, Field Marshal His Royal Highness Prince NakornJaisriSuradej and General His Royal Highness Prince PurachatraJayakar, Prince of Kambaengbejra.


“บุพการีทหารอากาศ” หนาที่นี้เพื่อแผนดิน นายทหาร ๓ คนที่ไดรับคัดเลือกใหเดินทางไปศึกษา และนําความรูดานการบินกลับมาสูประเทศ คือ นายพันตรี หลวงศักดิ์ศัลยาวุธ (สุนี สุวรรณประทีป) นายรอยเอก หลวงอาวุธสิขิกร (หลง สินศุข) และนายรอยโท ทิพย เกตุทัต นับเปนผูบ กุ เบิกวิชาการบิน ซึง่ เปนความรูใ หมในแผนดินสยาม และความรูน นั้ คือรากฐานทีท่ าํ ใหกจิ การบินถือกําเนิดขึน้ และพัฒนาเปนกองทัพอากาศในเวลาตอมา ทั้ง ๓ ทานจึงไดรับการยกยองใหเปน “บุพการีทหารอากาศ” เหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรที่กองทัพอากาศมีสวนรวม สงครามโลกครั้งที่ ๑ หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงประกาศเขารวมสงครามโลกครั้งที่ ๑ ไดมีการสง กองทหารอาสาไปราชการสงครามยังทวีปยุโรป ซึ่งการสงกองทหารอาสาไปในครั้งนั้น นอกจากมีความมุงหมายเพื่อ เกียรติยศศักดิ์ศรีของประเทศแลว ยังมุงหวังที่จะสงคนไปฝกและศึกษาวิชาการบิน รวมทั้งการชางอากาศดวย เพื่อเปน ประโยชนแกกิจการการบินของชาติตอไป กาวไกล : กิจการการบินในสมัยรัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั ทรงสนพระราชหฤทัยในกิจการการบินมาตัง้ แตเริม่ ตน หลังจากเสด็จขึน้ ครองราชยแลว ไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมชมกิจการการบินหลายครั้ง ในรัชสมัยของพระองคกรมอากาศยาน สามารถออกแบบและสรางเครื่องบินขึ้นใชเอง รวมทั้งมีสนามบินที่ถือเปนศูนยกลางการบินในภูมิภาค จึงมีโอกาสได ตอนรับชาวตางชาติที่นําเครื่องบินมาลงอยูบอยครั้ง ขณะเดียวกันการไปรษณียอากาศและการบินโดยสารไดพัฒนา อยางตอเนื่อง ทําใหเกิดการบินพาณิชยขึ้น นั่นคือกาวยางอันสําคัญที่ผลักดันใหกิจการการบินของประเทศกาวไกลจวบจน ปจจุบัน กลาแกรง : กิจการการบินในสมัยรัชกาลที่ ๘ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดลเปนพระมหากษัตริยอีกพระองคหนึ่งที่ทรงสนพระราชหฤทัย ดานการบิน ในรัชสมัยของพระองคมเี หตุการณสาํ คัญทางดานการบินเกิดขึน้ มากมาย ประเทศไทยมีกาํ ลังทหารครบทัง้ ๓ เหลาทัพ คือ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ นอกจากนี้ยังเปนชวงเวลาแหงประวัติการณในการจัดหา และสรางเครือ่ งบินเปนจํานวนมาก ทีไ่ ดแสดงบทบาทในการตอสูเ พือ่ รักษาไวซงึ่ เอกราชและอธิปไตยของชาติ โดยเฉพาะ การรบทางอากาศทีแ่ สดงถึงความกลาแกรงจนสามารถเขาตอกรกับฝายตรงขามโดยไมเกรงกลัวแมประเทศทีย่ งิ่ ใหญ ในสงคราม


ขาวทหารอากาศ ๖๑

เมษายน ๒๕๕๙

“Founding Fathers of the Royal Thai Air Force” with a homeland mission The three officers selected to study military aviation abroad were: Major LuangSakdiSalyavudh (Sunee Suwanprateep), Captain LuangArvudhsikikorn (Long Sinsuk) and Lieutenant Thip Ketudat. They were pioneers of aviation with their new learning for Siam as the foundation, and later development into the Royal Thai Air Force. Hence, they are highly praised as the “Founding Fathers of the Royal Thai Air Force”. RTAF Participation in Historic Events World War I After His Majesty King Vajiravudh had committed to World War I, he dispatched an expeditionary force to Europe; not only for national pride and honour, but also for personnel training on flying and aircraft engineering for Siam Aviation in the future. Progress: Aviation in the Reign of King Rama VII His Majesty King Prajadhipok’s (Rama VII) interest in aviation was eminent, from his frequent visits to the Aeronautical Department, which, by then, could design and build airplanes on its own; and its airfield had become the aviation centre of the region, hosting more than regular foreign landings. Concurrently, air mail and passenger services prospered into civil aviation. All these helped promote the advancement of national aviation up until the present day. Gallantry: Aviation in the Reign of King Rama VIII His Majesty King AnandaMahidol (Rama VIII) had a great interest in aviation, and oversawmuch of its development. Thailand then had all three armed forces: the Army, the Navy and the Air Force. It was a time of procuring and building a fleet of aircraft which proved its worth when it went up to defend the sky in defiance of an opponent far superior in warfare.


๖๒ ขาวทหารอากาศ

เมษายน ๒๕๕๙ สงครามโลกครั้งที่ ๒ หลังจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ขึ้นในทวีป ยุโรป และลุกลามมายังทวีปเอเชีย ญีป่ นุ ประกาศสงคราม กับฝายสัมพันธมิตร และตองการเดินทัพผานไทยจึงไดนาํ กําลังบุกเขามายังทีต่ า ง ๆ รวม ๘ จุด ทําใหเกิดการปะทะ กับทหารไทย โดยเฉพาะการยกพลขึ้นบกที่ กองบินนอย ที่ ๕ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ และการใชกาํ ลังทางอากาศ ที่สนามบินวัฒนานคร จังหวัดปราจีนบุรี กองทัพอากาศ ไดนําเครื่องบินขึ้นตอสู แมจะมีกําลังพลและอาวุธที่ นอยกวา แตทหารอากาศทุกคนก็ไดสรางวีรกรรมการรบ ที่กลาหาญ เปนเกียรติประวัติมาจนทุกวันนี้ เกริกเกียรติ : กิจการการบินในสมัยรัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีความสนพระราชหฤทัยในกิจการดานการบินและ กิจการอืน่ ๆ ของกองทัพอากาศเฉกเชนพระมหากษัตริย พระองคกอ น ๆ ในรัชสมัยของพระองคมกี ารเปลีย่ นแปลง เกิดขึ้นหลายอยาง กองทัพอากาศไดปฏิบัติหนาที่ในการ ปองกันประเทศ ควบคูก บั การสนองโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดําริ การพัฒนาประเทศ การชวยเหลือประชาชน รวมถึงการสรางความสัมพันธอนั ดีกบั ประเทศตาง ๆ ทําให เกียรติของกองทัพอากาศเกริกกองไกลไปทุกภูมิภาค

กองทัพอากาศในปจจุบัน ในภาวะที่บานเมืองปราศจากสงคราม กองทัพอากาศยังคงทําหนาที่ดูแล และบรรเทาทุกขใหกับประชาชน อยางตอเนื่อง ไมวาจะอยูในประเทศหรือตางแดน แมจะอยูหางไกลเพียงใด ตองผจญกับอันตรายใหญหลวงแคไหน เครื่องบินของกองทัพอากาศก็พรอมออกไปปฏิบัติภารกิจ เพื่อชวยเหลือในทุกสภาวการณ การชวยเหลือดานมนุษยธรรมเปนอีกภารกิจหนึ่งของกองทัพอากาศที่แสดงใหเห็นถึงการปฏิบัติหนาที่ดวย ความเสียสละ และพรอมจะใหความรวมมือกับมิตรประเทศเพื่อความสัมพันธอันดีตอกัน อีกทั้งยังเปนการปฏิบัติการ เพื่อสันติภาพ ที่สําคัญคือ ทําใหประเทศไทยไดมีสวนรวมและมีบทบาทในเวทีโลก สําหรับดานการปฏิบตั กิ ารรบและการปฏิบตั กิ ารทีม่ ใิ ชการรบ ในปจจุบนั กองทัพอากาศไดรว มมือกับหนวยงาน ดานความมั่นคงทั้งในและนอกประเทศประชาคมอาเซียนในการพัฒนาระบบเครือขายใหเปนมาตรฐานเดียวกัน เพื่อ ใหเกิดการบูรณาการขอมูล ขาวสาร และการปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO: Network Centric Operations) ไดอยางมีประสิทธิภาพ ตามทิศทางการพัฒนาระยะที่ ๓ ของกองทัพอากาศที่จะขับเคลื่อนไปสูวิสัยทัศน แหงการเปน “กองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค” หรือ “One of the Best Air Forces in ASEAN” ตอไป 


เมษายน ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๖๓

World War II After the Second World War in Europe spread to Asia, Japan declared war on the Allies, with Thailand as a manoeuvre bridge. Consequently, Thailand was invaded after clashes at eight strategic locations. The Royal Thai Air Force fought back valiantly despite having significantly fewer men and armaments, against a force landing at Wing 5 in PrachuapKhiri Khan and an air intrusion over WatthanaNakhon Airfield in PrachinBuri. Glory: Aviation in the Reign of King Rama IX Similar to his predecessors, His Majesty King Bhumibol Adulyadej (Rama IX) is keen on many aspects of aviation including several developments of the Royal Thai Air Force in national defence of people and in cordial relations with other countries. All these helped extend the Royal Thai Air Force’s pride and glory into every corner of the world. During peacetime, the Royal Thai Air Force adheres to public relief activities. No matter where, in-country or abroad, far or dangerous, the RTAF aircraft are ever ready for the mission, regardless of circumstances. Rendering humanitarian aid and peace keeping operations are other missions of the Royal Thai Air Force; verifying its dedication and readiness to cooperate with allies for a better relationship. It also places Thailand on the world forum. Concerning the combat and non-combat operations, the Royal Thai Air Force has been cooperating with defence organizations in ASEAN and other countries to standardize the Network Centric Operations (NCO) efficiently in accordance with the 3rd development phase to achieve the vision “One of the Best Air Forces in ASEAN”.  แหลงขอมูล - ขอมูลจากพิพิธภัณฑกองทัพอากาศและอุทยานการบินกองทัพอากาศ สารชาวฟา ปที่ ๕๕ ฉบับที่ ๒๑๓๓ วันที่ ๑ - ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๙ - http://www.nbr.ac.th/index.php/2014-06-22-05-59-52/thai-language/item/272-2014-nov-25-14-48-17 - http://www.dae.mi.th/prince_Jakkapong/fatherOfacsc.jpg - http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2012/07/X12317738/X12317738-0.jpg - http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak/images/unit4/chapter4/chapter4_8/r8/R.81.jpg - http://www.bangkokframe.com/image/cache/data/products/photos/FPKQ/FPKQ-0021-800x800.PNG - http://2g.pantip.com/cafe/gallery/topic/G3078484/G3078484-6.jpg


ตอน บันทึกของ ร.ท.ประสงค คุณะดิลก ผูบังคับหมวดบิน ฝูงบินขับไลอิสระจันทบุรี  การรบทางเรือที่เกาะชาง ในตอนเชามืดวันรุง ขึน้ 17 ม.ค.84 ขณะทีย่ งั มืดอยู ประมาณ 05.00 น.เศษ พวกเราตองตกใจตื่นเพราะไดยิน เสียงปนดังพรึม ๆ ตอเนือ่ งกันไมขาดระยะ ก็ไดแตนกึ อยูใ นใจ วา กองเรือของเราซึ่งจอดอยูในอาวที่เห็นเมื่อวานตอนเย็น นัน้ คงถูกเรือขาศึกจูโ จมทําการยิงแน และคงจะอยูใ นฐานะ เสียเปรียบอยางมาก ทั้ง ๆ ที่ไมไดรับการติดตอขอความชวยเหลือ จากกองทัพเรือ แตทางฝูงบินก็มคี วามเห็นวาจะตองออกไป ทําการชวยเหลือโดยดวน ทุกคนพรอมทัง้ นักบิน ชางเครือ่ ง ชางอาวุธ ตอนนั้นยังมืดอยูยังไมสวาง ทําการแทน ผบ.ฝูง ไดสั่งให พ.อ.อ.อนันต พุทธจริยะวงศ นําหมูแรกออกไป ทําการทิ้งระเบิดเรือขาศึก โดยติดลูกระเบิดขนาด 50 กก. ยังนึกอยูว า ทําการแทน ผบ.ฝูง คงจะใชใหนาํ หมูไ ปเปนหมู แรก เพราะรูที่ตั้งของกองเรือของเราดี และกองเรือขาศึก

ควรจะอยูบริเวณใด การติดลูกระเบิดก็ควรจะใชขนาด 250 กก. แตเปนเพียง ผบ.หมวด ก็แลวแต ผบ.ฝูง ไดแต พูดเปรย ๆ กับชางเครื่อง ชางอาวุธก็วานาจะติดขนาด 250 กก. เพราะทิ้งระเบิดเรือรบ จะเปน พ.อ.อ.อนันต ฯ หรือลูกหมูของ พ.อ.อ.อนันต ฯ จําไมไดแน ถามวาจะไป ทีไ่ หนก็ได บอกวาใหไปทีบ่ ริเวณเกาะชาง เพราะกองเรือ ของเราอยูที่เกาะชาง ในตอนนัน้ รูส กึ วามีการชุลมุนกันบาง ฝูงตรวจการณ ก็สงั่ ใหไปทิง้ ระเบิด ฝูงขับไลกใ็ หไปทิง้ ระเบิด ตางฝูงตางสัง่ ไมมีการประสานกัน หัวหนาหมูบางคนก็อาจจะไมรูวา กองเรือของเราอยูท ไี่ หน และกองเรือขาศึกทีจ่ โู จมกองเรือ ของเรานาจะอยูบริเวณใด สําหรับฝูงบินขับไล ทําการแทน ผบ.ฝูง ไดใช ใหขาพเจาไปทําการทิ้งระเบิดเปนหมูที่ 3 หมูสุดทาย ซึ่ง เปนเวลาคอนขางสาย เกือบ 08.00 น.แลว ไดขออนุญาต


เมษายน ๒๕๕๙ ติดลูกระเบิดขนาด 250 กก. ซึ่งไดรับอนุมัติ สวนลูกหมู อีกสองคน คือ จ.ท.หิรัญ ฯ และ จ.ท.อุทัย สังขเนตร ติด ขนาด 50 กก. ไดนาํ หมูว งิ่ ขึน้ บินตรงไปทีเ่ กาะชางทางดาน ทิศใต ในระยะสูง 3,000 เมตร เพราะคิดวากองเรือขาศึก นาจะอยูบ ริเวณนัน้ ขณะทีบ่ นิ ไปถึงเกาะชาง ก็ไดเห็นเรือ ขาศึกขนาดใหญ ทราบภายหลังวาชือ่ ลามอตตปเ กต กําลัง แลนออกมาจากแนวระหวางเกาะชางกับเกาะกระดาษ สังเกตไดชดั จากแนวพรายน้าํ ซึง่ เปนแนวทางยาวมากและ เรือขาศึกอีก 3 - 4 ลํา ขนาดเทาเรือศรีอยุธยาและเรือ ธนบุรี ซึง่ กําลังแลนตามกันออกจากดานใตของเกาะชาง ที่ มัน่ ใจวาเปนเรือขาศึกเพราะใหญกวาเรือศรีอยุธยาและเรือ ธนบุรี ประมาณ 4 - 5 เทา พูดงาย ๆ คือ ใหญกวากันมาก เรือลามอตตปเกต เทาที่จําได หนักประมาณ 9,000 ตัน เรือธนบุรี หนักประมาณ 2,000 ตัน จึงไดใหสญ ั ญาณแกลกู หมูเ พือ่ ลงโจมตีทงิ้ ระเบิด โดยขาพเจาลงโจมตีกอน ดวยการพลิกตัวแลวดําดวยมุม -3 (ลบ 3 ) องศา เพราะการดําดวยมุม 90 องศา เครื่องบิน ยังมีการเคลื่อนไปขางหนา ทั้งนี้เพื่อใหการทิ้งระเบิดมี ความแมนยํายิ่งขึ้น เนื่องจากขาศึกใชยุทธวิธีแลนตีวง เปนวงกลม เมือ่ ดําต่าํ ลงไปใกลทหี่ มายตองบิดเครือ่ งตาม แลวปลดระเบิด ก็วา ดําลงต่าํ มากแลวตอนคืนหางจากพืน้ น้ําไมเทาไร แตทานผูใหญที่อยู สธ.2 (ยุทธการ) สมัยนั้น วิจารณวา ทําการทิ้งระเบิดสูงไป คนนั่งโตะก็วาไปตาม ทรรศนะของคนนัง่ โตะ แลวยังแนะวิธเี ขาทิง้ ระเบิดอีก ซึง่ เปนเรื่องนาขําเพราะทําไมไดในการปฏิบัติการจริง ทําได แตขีดเสนบนกระดาษบนโตะ สําหรับการยิงตอสูของ เรือขาศึกซึ่งมีมากกวาเมื่อทิ้งระเบิดเรือที่บริเวณเกาะกง ไมเห็นตําบลที่ระเบิดตกวาใกลไกลเรือเพียงใด ตอมา สอบถามลูกหมู ก็บอกวาไมเห็นตําบลระเบิดเลยไมทราบ ผล ความจริงลูกระเบิดขนาด 250 กก. มีอํานาจรุนแรง มากในสมัยนั้นตกใกลไกลเรือก็นาจะเห็นตําบลระเบิด สําหรับการทิ้งระเบิดของลูกหมูทั้งสองคน ไดเห็นตําบล ระเบิดหางจากเรือประมาณ 20 - 50 เมตร สวนมากตก ทางทายเรือ

ขาวทหารอากาศ ๖๕ หลังจากรวมหมูแลวก็ไดสงสัญญาณถามวา ลูกระเบิดหลุดหรือเปลา เขาสายหนา ผมคิดวายังไมหลุด จึงใหสัญญาณวาจะไปทิ้งอีก เขาก็โบกมือหาม การสง สัญญาณกันในสมัยนัน้ ก็ไดแตใชมอื สัญญาณ และพยักหนา หรือสายหนา ไมมีวิทยุใช ความจริงเครื่องบินฮอวค 3 ที่ สั่งซื้อจากอเมริกานั้นมีวิทยุติดมากับเครื่องดวยทุกเครื่อง แตไมไดพจิ ารณาใชกนั คงเห็นวายังไมจาํ เปน หอบังคับการ บินก็ยังไมมีเครื่องมือควบคุมขึ้นลงใชสัญญาณตัว “ที” บอกทิศทางลม และธงเขียว-แดง เขียวลงได แดงหามลง ขณะนัน้ อยูใ นระยะสูง 3,000 เมตร มองเห็นกองเรือขาศึก รวมขบวนกันแลวมุงออกทะเลลึกทางตะวันออกเฉียงใต จึงไดนาํ หมูก ลับ แลวรายงานให ทําการแทน ผบ.ฝูง ทราบ จากนัน้ มีขา วลือจากเรือประมงวา เรือลามอตตปเ กต ถูกลูกระเบิดไฟไหม บางคนถึงกับมาแสดงความยินดี ก็ได แตบอกวา “คงจะไมใช” เพราะเมือ่ ตอนทิง้ ระเบิดแลวเห็น เรือขาศึกเปนปกติ ไมมีควันไฟลุกแสดงวาไฟไหมเลย ผบ.ฝูง น.ต.ม.ล.ประวาศ ฯ ไดกลับมาถึงจันทบุรี ตอนบาย จากนั้นก็ไดรับคําสั่งใหนําหมูออกติดตามกองเรือ ขาศึกอีก ขาพเจาไดนําหมูออกทะเลลึกตามแนวเกาะชาง - เรียม ไปจนสุดรัศมีการบิน ไมพบกองเรือขาศึกจึงบินกลับ ขณะผานเกาะชางไดเห็นเรือ ซึ่งตอมาทราบวาเปนเรือ ธนบุรี จมตะแคงอยูหนาแหลมงอบ และเห็นเรือซึ่งเขาใจ วาเปนเรือศรีอยุธยาแลนไปถึงเกาะชางพอดีบนิ ถึงสนามบิน เกือบมืดแลว รายงานให ผบ.ฝูง ทราบ ในวันรุงขึ้น 18 ม.ค.84 ตอนบาย ทางฝูงไดรับ วิทยุจากกองทัพเรือแจงมาวา มีเรือขาศึกขนาดใหญกําลัง มุง หนาจะเขาโจมตีเรือของเราทีแ่ หลมสิงห ขอใหสง เครือ่ งบิน ไปชวยเหลือดวน ผบ.ฝูง จึงสั่งใหขาพเจานําหมูออกไปโจมตีเรือ ขาศึกทันที คราวนี้ติดลูกระเบิดขนาด 250 กก. ทุกครั้ง เราไปกัน 3 เครื่อง มี จ.ท.ม.ร.ว.ปรียะ จักรพันธุ และ จ.ท.หิรญ ั ฯ เปนลูกหมู ตัง้ ใจไววา คราวนีจ้ ะตองทิง้ ระเบิด กันอยางเผาขน จึงนําหมูบ นิ ตรงไปยังแหลมสิงหซงึ่ อยูใ กล ๆ แคนนั้ เอง ในระยะสูง 500 เมตร แทนทีจ่ ะขึน้ สูง 3,000 เมตร


อยางที่เคยปฏิบัติมา พอบินไปถึงแหลมสิงหก็เห็นเรือรบ ลําหนึง่ กําลังแลนเขามายังเกาะแหลมสิงหซงึ่ เปนเรือขนาด เล็ก ตอมาทราบวาเปนเรือศรีอยุธยา พอเห็นก็รูวาคงไมใช เรือขาศึก เพราะในใจนั้นคิดอยูเสมอวาเรือลามอตตปเกต มีขนาดใหญมาก จึงบินผานเรือศรีอยุธยาไป และบินคนหา กลับไปกลับมาในทะเลลึกตามแนวแหลมสิงหและสัตหีบ อีกเปนเวลานาน ก็ไมพบเรือขาศึก จึงนําหมูกลับไมไดทิ้ง ระเบิด แลวรายงานให ผบ.ฝูง ทราบ ผบ.ฝูง บอกวา เปน หวงอยูเหมือนกันกลัวจะไปทิ้งเอาเรือศรีอยุธยาเขา เพราะ นําหมูว งิ่ ขึน้ ไปแลว ทางกองทัพเรือก็วทิ ยุมาบอกวา ทีว่ า เรือ

ขาศึกนั้นไมใช เปนเรือฝายเรา คือ เรือศรีอยุธยา นับวา ยังเคราะหดีอยูที่ไมไดทําการทิ้งระเบิด ทีท่ า นไดอา นไปนัน้ เปนบันทึกของทาน ร.ท.ประสงค คุณะดิลก ยศในขณะนั้น เมื่อสงครามสงบลง ทานได รับราชการกาวหนาเรื่อยมา ทานไดรับพระราชทานยศ พลอากาศเอก และครองตําแหนงเสนาธิการทหารอากาศ ผมขอจบเรื่องราวของทานเพียงเทานี้ สําหรับครั้งตอไป ผมจะพยายามหาเรือ่ งราวทีน่ า ภาคภูมใิ จของพวกเราชาว ทหารอากาศมาเสนอใหทานไดทราบ ครูดอน ฯ กลาว กอนกาวลงจากเวที 


ปจจุบนั ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติมแี นวโนมทวีความรุนแรงขึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ สถานการณภยั พิบตั ขิ นาดใหญ ที่เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟก เชน พายุไตฝุน ดีเปรสชัน สงผลใหเกิดภัยน้ําทวมขนาดใหญ แผนดินไหว ภัยจาก ภูเขาไฟระเบิด ภัยพิบัติสึนามิ สงผลกระทบตอประชาชนในภูมิภาคเปนจํานวนมาก ถือเปนการสูญเสียตอมนุษยชาติ อยางใหญหลวง ดวยขีดความสามารถของกําลังทางอากาศที่ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติที่เปนมาตรฐานและเปนการ สามารถเขาสูพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบไดอยางรวดเร็ว มีการ บูรณาการความรวมมือดานการชวยเหลือมนุษยธรรมและ รวมมือกันระหวางกําลังทางอากาศในระดับภูมิภาค บรรเทาภัยพิบัติ อาเซียนหรือประเทศอื่น ๆ ที่มีความประสงคใหความ จากนโยบายผูบ ญ ั ชาการทหารอากาศ ป ๒๕๕๙ ชวยเหลือ การรวมมือและชวยเหลือซึ่งกันและกัน ดานการชวยเหลือประชาชนภายใตกรอบความรวมมือ ระหวางมิตรประเทศอาเซียน ในการใหความชวยเหลือ ดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ใิ นอาเซียน เปน หนทางหนึง่ ในการปองกันหรือบรรเทาความเดือดรอนการ ใชทรัพยากรของเหลาทัพ โดยเฉพาะกองทัพอากาศของ อาเซียน หากมีการบริหารจัดการอากาศยานในแบบองค รวมระหวาง ทอ.และ ทอ.มิตรประเทศ การเตรียมความ พรอมในการรับมือกับภัยพิบตั ขิ นาดใหญจะทําใหสามารถ ปฏิบตั งิ านไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ ในการ ประชุม ผบ.ทอ.อาเซียน ครั้งที่ ๑๑ ระหวาง ๒๔ - ๒๖ ก.ย.๕๗ ณ กรุงเนปดอว ณ สาธารณรัฐแหงสหภาพ เมียนมา ที่ผานมา มีมติให ทอ.มิตรประเทศอาเซียน รวมจัดทํามาตรฐานวิธีการปฏิบัติงานการใหความชวย เหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ใิ นอาเซียน


ของอาเซียน “ดํารงความพรอมในการปฏิบตั งิ านชวยเหลือ ประชาชนเมื่อเกิดสาธารณภัยอยางรวดเร็ว ทันเหตุการณ สนับสนุนการปฏิบตั ติ ามนโยบายรัฐบาลภายใตกรอบความ รวมมือของประชาคมอาเซียน ตลอดจนกําหนดแนวทาง และรูปแบบการบูรณาการกับทุกภาคสวนอยางเปนระบบ” ไดกําหนดโครงสรางรองรับการปฏิบัติ คือ ศูนยบรรเทา สาธารณภัยกองทัพอากาศ (ศบภ.ทอ.) โดยมีหนวยปฏิบัติ ทางดานการแพทย คือ กรมแพทยทหารอากาศ กรมแพทยทหารอากาศ ดําเนินการรองรับนโยบาย ดังกลาว ดังนี้ ๑) ขออนุมตั ปิ รับโครงสรางกรมแพทยทหารอากาศ ใหมหี นวยงานรองรับภารกิจขางตน โดยกระทรวงกลาโหม ไดอนุมตั ใิ หมกี ารปรับปรุงโครงสรางดานการแพทยเปนกรณี เรงดวนตามแนวทาง รางแผนการปรับปรุงโครงสรางกองทัพ ไทย พ.ศ.๒๕๕๖ – ๒๕๖๕ เพื่อใหมีความสอดคลองกับ นโยบายและยุทธศาสตรของ กห. และรัฐบาล เกีย่ วกับการ

ใหบริการดานสาธารณสุข การชวยเหลือประชาชน และ การบรรเทาสาธารณภัย ซึง่ เปนการเพิม่ ประสิทธิภาพการ ปฏิบัติภารกิจของ ทอ. ดานการแพทย ทั้งในยามปกติ และกรณีภยั พิบตั ิ กําหนดใหศนู ยปฏิบตั กิ ารแพทยทหาร อากาศ (ศปพ.พอ.) เปนสวนราชการขึน้ ตรงตอกรมแพทย ทหารอากาศ ตั้งแต ๑ ต.ค.๕๗ ๒) จัดทําแผนปฏิบตั ริ าชการโดยกําหนดประเด็น กลยุทธ คือ การปฏิบัติการทางการแพทยทหารอยางมี ประสิทธิภาพ และมีกลยุทธยอ ย ๓ กลยุทธ ไดแก ปฏิบตั ิ การแพทยยทุ ธการอยางมีประสิทธิภาพ ปฏิบตั กิ ารแพทย ดานการบรรเทาสาธารณภัยอยางมีประสิทธิภาพ และ เตรียมความพรอมปฏิบัติการดานการแพทยทหาร เพื่อ ตอบสนองการแพทยทหารอากาศกับการชวยเหลือทาง มนุษยธรรมผูประสบภัยพิบัติภายใตกรอบความรวมมือ ของอาเซียน

การแพทยทหารอากาศกับการชวยเหลือทางมนุษยธรรมผูประสบภัยพิบัติภายใตกรอบความรวมมือของอาเซียน

HADR: Human Assistance Disaster Release ที่มา สนผ.กห.


เมษายน ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๖๙

การดําเนินงานทางการแพทยในการชวยเหลือทางมนุษยธรรมผูป ระสบภัยพิบตั ภิ ายใตกรอบความรวมมือของ อาเซียนในสวนของ ทอ.แบงออกเปน ๒ ทาง คือ การชวยเหลือทางตรงและทางออม การชวยเหลือทางตรง ภารกิจในการลําเลียงผูป ว ย ทางอากาศ ในกรณีทมี่ ผี บู าดเจ็บจํานวน มาก จําเปนตองมีชุดนายทหารติดตอ การลําเลียงทางอากาศเขาไปประเมิน สถานการณ ใหคําแนะนําและคัดแยก ผูปวย ณ รพ.สนาม และ/หรือในพื้นที่ ที่มีการดูแลรักษาผูปวยเบื้องตน จาก นั้นศูนยลําเลียงทางอากาศสายแพทย สถาบันเวชศาสตรการบินกองทัพอากาศ (ศลพ.สวบ.ทอ.) จะจัดชุดเตรียมผูปวย ทางอากาศเคลื่อนที่ไปประจําอยูใน สนามบินตนทางในพื้นที่ที่เกิดภัยพิบัติ โดยจะติดตัง้ เต็นทผปู ว ยพรอมอุปกรณ ทางการแพทยรองรับผูปวยที่ลําเลียงมาจาก รพ.สนาม ทําการพักรอเพื่อสงลําเลียงทางอากาศโดยอากาศยาน โดย ชุดลําเลียงทางอากาศตอไป ซึ่งการจัดอัตรากําลังพลปรับเปลี่ยนไดขึ้นอยูกับขนาดของภารกิจ กรณีปกติอัตราการจัด กําลังพล มีดังนี้ ๑) ชุดนายทหารติดตอลําเลียงทาง อากาศ ๒) ชุดเตรียมผูปวยลําเลียงทาง อากาศเคลื่อนที่ ๓) ชุดลําเลียงผูปวยทางอากาศ ๔) ชุดประสานงานสวนหนา ดานการแพทย ๕) ชุดพยาบาลกูชีพ ๖) ชุดรักษาพยาบาลเฉพาะกิจ ปฏิบัติการการแพทยตอบสนองภาวะฉุกเฉิน (Medical Emergency Response Team: MERT) ๗) ชุด รพ.เคลื่อนที่/รพ.สนาม ๘) ชุดศัลยกรรมเคลื่อนที่ 


การชวยเหลือทางออม การบินลําเลียงทางอากาศ สนับสนุนภารกิจบินรับ-สง เจาหนาที่ทหาร ตํารวจ และบุคลากรที่เกี่ยวของ รวมถึง สิ่งของบริจาคและอุปกรณพิเศษอื่น ๆ ไปปฏิบัติการเพื่อมนุษยธรรมและการชวยเหลือผูประสบภัยเมื่อมีคําขอของ ประเทศที่ประสบภัยพิบัติ โดยเตรียม บ.ล.๘ สําหรับการสนับสนุน อัตราการจัดกําลัง จนท.ประจํา บ. ประกอบดวย กรมยุทธการทหารอากาศปฏิบตั หิ นาทีเ่ ปนผูอ าํ นวยการเดินทาง กรมสงกําลังบํารุงทหารอากาศ และกรมกิจการพลเรือน ทหารอากาศปฏิบตั หิ นาทีด่ า นการติดตอประสานงาน กองบิน ๖ เปนผูค วบคุมอากาศยาน และสถาบันเวชศาสตรการบิน กองทัพอากาศ รวมทั้งกรมแพทยทหารอากาศปฏิบัติหนาที่ดานการแพทย 

 การปฏิบัติงานที่ผานมา

จัดขาราชการสนับสนุนทางการแพทยในการสงกําลังพลของกองทัพไทย ที่เดินทางไปชวยเหลือผูประสบ อุทกภัย ณ สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา ระหวาง ๒๗ ส.ค. - ๔ ก.ย.๕๘ ถือเปนจุดเริม่ ตนของการแพทยทหารอากาศ กับการชวยเหลือทางมนุษยธรรมผูประสบภัยพิบัติภายใตกรอบความรวมมือของอาเซียน


เมษายน ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๗๑

 แนวทางการพัฒนาการแพทยทหารอากาศกับการชวยเหลือทางมนุษยธรรมผูประสบภัยพิบัติภายใตกรอบ ความรวมมือของอาเซียน ระดับกองทัพอากาศ พัฒนาศูนยปฏิบัติการแพทยทหารอากาศใหเปนศูนยประสานงานแพทยทหารรองรับการปฏิบัติเครือขาย เปนศูนยกลาง (Military Medical Service, Network Centric Operations) โดยมีการจัดตั้งศูนยควบคุมและสั่งการ ทางการแพทยทหาร (War Room) ศูนยการเรียนรูทางดานการแพทยทหาร (Military Medical Learning Center) เพื่อใหรองรับกับอาเซียน ระดับอาเซียน พัฒนาความเชื่อมโยงกับศูนยประสานงานแพทยทหารอาเซียน (ASEAN Center of Military Medicine: ACMM) และเชือ่ มโยงสูศ นู ยชว ยเหลือทางมนุษยธรรม (ASEAN Coordinating Center for Humanitarian Assistance on Disaster Management: AHA) โดยมีการเตรียมการทัง้ ทางดานขอมูลขาวสาร การฝก การวางแผน/SOP ทรัพยากร จนท.ประสานงาน ชุดแพทยปฏิบัติ เพื่อใหพรอมปฏิบัติอยางบูรณาการเมื่อเกิดสถานการณตามแผนภูมิ

การแพทยทหารอากาศมีความจําเปนตอการชวยเหลือทางมนุษยธรรมผูประสบภัยพิบัติภายใตกรอบความรวมมือ ของอาเซียนตามคุณลักษณะของกองทัพอากาศ ไดแก รวดเร็ว พิสัยไกล ออนตัว และคลองตัว สามารถตอบสนอง นโยบายกลาโหม นโยบายรัฐบาล และสอดคลองกับประชาคมการเมืองความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC) ที่เนนการรวมตัวของอาเซียนเพื่อสรางความมั่นใจ เสถียรภาพ และสันติภาพ ในภูมิภาค เพื่อให ประชาชนในอาเซียนอยูรวมกันอยางสันติสุข  แหลงขอมูล - กรมยุทธการทหารอากาศ. ๒๕๕๙. นโยบายผูบัญชาการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๕๙. กรุงเทพฯ - กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ. ประชาคมอาเซียน.[online]. เขาถึงไดจาก : http://www.mfa.go.th/asean/th/asean-media-center/2395 - สํานักงานอาเซียน กรมยุทธการทหารอากาศ. ๒๕๕๘. มาตรฐานวิธีปฏิบัติงานการใหความชวยเหลือทางมนุษยธรรมและการบรรเทา ภัยพิบัติในอาเซียน. กรุงเทพฯ


ในการดํารงขีดความสามารถของกองทัพในการ ปองกันประเทศ การรักษาความมั่นคงภายใน และการ สนับสนุนรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ แมวากองทัพจะ มี ยุทธปจจัยที่เพียบพรอมไปดวยอาวุธยุทโธปกรณอันทัน สมัย แตถากําลังพลขาดซึ่งขวัญและกําลังใจ ยอมทําให การปฏิบัติงานขาดประสิทธิภาพที่ดี ดังนั้นผูบัญชาการ ทหารอากาศจึงกําหนดนโยบายเฉพาะดานสวัสดิการ เพื่อ ใหกําลังพลและครอบครัวของกองทัพอากาศทุก ๆ คน มีขวัญกําลังใจ และมีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณแข็งแรง รวมทั้งสงเสริมและสรางโอกาสในการหารายไดเสริมให กับครอบครัวขาราชการ เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตไดอยาง เหมาะสม เพียงพอ พึ่งตนเองได มีคุณภาพชีวิตที่ดี และ มั่นคง สอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน กรมสวัสดิการทหารอากาศ มีหนาที่รับผิดชอบ ดําเนินการใหกําลังพลและครอบครัวมีความอบอุนผอน คลายความเดือดรอนและความทุกขยากนานาประการ เพือ่ เสริมสรางขวัญและกําลังใจของกําลังพลทัง้ ในยามปกติและ ยามมีสถานการณ ใหกาํ ลังพลปราศจากความวิตกกังวลเมือ่ พวกเขาตองไปปฏิบัติหนาที่ราชการหางไกลจากที่ตั้งปกติ

และหางไกลจากครอบครัว กรมสวัสดิการทหารอากาศ จึงมีความมุงมั่นที่จะพัฒนางานดานสวัสดิการใหตอบ สนองนโยบายของผูบ ญ ั ชาการทหารอากาศ ในดานตาง ๆ ดังนี้ ดานการสงเคราะห ดําเนินการเกี่ยวกับการ สวัสดิการ กิจการทหารผานศึก การที่ดิน และอาคาร สงเคราะห การฌาปนกิจ การฌาปนสถานและสุสาน การกุศล ตลอดจนควบคุมดูแลกิจการบานรับรอง และ ไดดําเนินงานเกี่ยวกับ - การจัดดําเนินงานเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ ภายในกองทัพอากาศ - การบริการบานพักรับรอง ไดจดั บานพักรับรอง ตากอากาศ บริการแก ขาราชการ ลูกจางประจํา และ พนักงานราชการ ที่เดินทางไปราชการ หรือเดินทางไป พักผอน หรือทัศนศึกษา ไดเขาพัก คือ บานพักกองรักษา การณเขาเขียว - การฌาปนกิจสงเคราะห ขาราชการ ลูกจาง ประจํา พนักงานราชการและคูส มรสสมัครเปนสมาชิกได ตองมีอายุไมเกิน ๔๐ ปบริบรู ณ สวนบิดามารดาอายุไมเกิน


เมษายน ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๗๓

๕๕ ปบริบูรณ นอกจากนี้นักเรียนทหารก็สามารถสมัคร เปนสมาชิกได - การฌาปนสถานกองทัพอากาศ จัดดําเนิน การเกี่ยวกับพิธีศพ ตั้งแตการใหบริการสถานที่รดน้ําศพ สวดพระอภิธรรม บรรจุศพ และฌาปนกิจศพ รวมทัง้ การ ขอพระราชทานเพลิงศพ ณ ฌาปนสถานกองทัพอากาศ ปรับปรุงภูมิทัศนและสิ่งแวดลอม รวมทั้งศาลาตาง ๆ - การอุปสมบทหมู กําหนดใหขาราชการ ลูกจางประจํากองทัพอากาศและครอบครัว ที่ประสงค จะอุปสมบทหมูยื่นใบสมัครไดที่ แผนกสังคมสงเคราะห กองการสงเคราะห กรมสวัสดิการทหารอากาศ ตั้งแต เดือนมีนาคม - พฤษภาคม ของทุกป โดยไมเสียคาใชจาย - การกูยืมเงิน ขาราชการ ลูกจางประจํา และ พนักงานราชการ ที่มีความเดือดรอนสามารถกูยืมเงิน ทุนตาง ๆ ได เชน กูยืมเงินประกอบอาชีพเพิ่มเติมโดย ไมเสียดอกเบี้ย กูเงินสวัสดิการพิเศษสงเคราะห (กห.) กูเงินสวัสดิการสงเคราะหของสมาชิกกองทัพอากาศ กูเงินเคหะสงเคราะหจากธนาคารอาคารสงเคราะห - จัดสรรเงินทุนการศึกษาใหแกบตุ รของขาราชการ ลูกจางประจํา และพนักงานราชการกองทัพอากาศ ประจํา ทุกป - จัดทําประกันภัยหมูแบบพิทักษพล ทอ. ให แกขาราชการ ลูกจาง ทอ.ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต และผูที่ปฏิบัติงานเสี่ยงอันตราย ดานกีฬา ดําเนินงานเกีย่ วกับการฝก การแขงขัน และสงเสริมกีฬา การเสริมสรางสมรรถภาพรางกาย พัฒนาบุคลากรโดยการสนับสนุนใหขา ราชการกองทัพ อากาศไดเลนกีฬาและออกกําลังกายทุกวัน นอกจากนี้ ยังใหการสนับสนุนขาราชการทีเ่ กษียณอายุราชการแลว ไดใชสนามกีฬาของกองทัพอากาศทีอ่ ยูใ นความดูแลและ รับผิดชอบของกรมสวัสดิการทหารอากาศ โดยไดรบั การ ยกเวนคาบริการ และมีโครงการอบรมกีฬาเยาวชนภาค ฤดูรอ นตานภัยยาเสพติด โดยมีวตั ถุประสงคใหเยาวชน ไดใชเวลาวางใหเกิดประโยชน


๗๔ ขาวทหารอากาศ

เมษายน ๒๕๕๙

ดานอาชีวสงเคราะห ดําเนินการเกีย่ วกับกิจการ กสิกรรม การเลีย้ งสัตว จัดใหมกี ารสงเสริมการปลูกไมดอกไม ประดับ การทําปุย หมัก การทําปุย น้าํ ชีวภาพ สาธิตการเลีย้ ง สัตวทเี่ จริญเติบโตเร็ว และสามารถใหผลผลิตทีด่ ี ไดแก ปลา ทับทิม ปลาดุก กบ และหนอนนก การฝกอบรมวิชาชีพให แกขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และครอบครัว ใหมี ความรูใ นสาขาวิชาชีพตาง ๆ เพือ่ นําไปประกอบอาชีพเสริม เพิ่มรายไดใหกับครอบครัว ดานรานสวัสดิการทหารอากาศ ดําเนินการให รานสวัสดิการทหารอากาศเปนแหลงขายสินคาราคาถูกที่ ไมตองเดินทางไปไกล จําหนายสินคาในราคาสวัสดิการ พรอมทั้งจัดลดราคาสินคาในราคาตนทุนบางรายการใน ชวงเทศกาลสําคัญ และบริการสินคาแบบผอนชําระ เพือ่ ใหบริการแกขาราชการและครอบครัว ดานสโมสรทหารอากาศ สิง่ หนึง่ ทีท่ าํ ใหขา ราชการ และครอบครัวไดผอ นคลายความเครียดจากการปฏิบตั ริ าชการ คือ การใหบริการของสโมสรทหารอากาศ การสงเสริมและ เผยแพรความรูทั่วไป การกีฬาสโมสร ตลอดจนกิจกรรม พิเศษเกี่ยวกับการสวัสดิการแกกําลังพลและครอบครัว จัดใหมงี านเลีย้ งสังสรรคยอ ย จัดประชุมใหญสมาชิกสโมสรฯ พรอมทั้งใหบริการในการจัดงานเลี้ยงสังสรรค งานมงคล งานพิธกี าร เนือ่ งในโอกาสตาง ๆ และจัดทัศนศึกษาทองเทีย่ ว สถานที่ตาง ๆ ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ กรมสวัสดิการทหารอากาศ พรอมทีจ่ ะพัฒนาและมุง มัน่ งานดานสวัสดิการอยางตอเนือ่ ง มุง เนนการสรางขวัญ และกําลังใจในการปฏิบัติงานของกําลังพลกองทัพอากาศ และสรางประโยชนสูงสุดใหแกกําลังพลกองทัพอากาศ โดย ตระหนักถึงจิตสํานึกในการใหบริการ (Service Mind) และเสริมสรางความมั่นคงในการดํารงชีพของกําลังพลกองทัพ อากาศและครอบครัวตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” และจะพัฒนาประสิทธิภาพการจัดสวัสดิการกองทัพอากาศ ในรูปแบบเครือขายการใหบริการดานสวัสดิการ (Network Based Service) อยางเปนระบบและทั่วถึง โดยเฉพาะการ ใหโอกาสขาราชการ ลูกจางและครอบครัวสามารถเขาถึงขอมูลการใหบริการอยางรวดเร็วและถูกตอง นําไปสูค วามเปน “กองทัพอากาศชั้นนําของภูมิภาค”


Preserving the life and well-being of our Service members and civilians who are placed in harm’s way while defending out Nation’s interests is, and must remain one of our highest priorities. William J. Perry, Secretary of Defense Secretary of Defense memorandum, 26 January 1996 กิจการการบินในประเทศไทย มีอากาศยาน ประเภทตาง ๆ เปนจํานวนมาก ซึ่งอากาศยานเหลานั้น ตองขึ้นบินเพื่อปฏิบัติภารกิจเปนประจํา จึงมีความเสี่ยง ที่อากาศยานจะประสบอุบัติเหตุได เพื่อใหมีการคนหา และชวยเหลือผูป ระสบภัยไดอยางรวดเร็วเปนระบบ คณะ รัฐมนตรีจึงมีมติ เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๒๑ ให จัดตัง้ องคกรเพือ่ การคนหาและชวยเหลือแหงชาติขนึ้ โดย มีศูนยประสานงานการคนหาและชวยเหลืออากาศยาน และเรือทีป่ ระสบภัย ตัง้ อยูท กี่ รมการขนสงทางอากาศ ซึง่ ปจจุบนั คือ กรมการบินพลเรือน และแตงตัง้ คณะกรรมการ แหงชาติในการคนหาและชวยเหลืออากาศยานและเรือที่ ประสบภัย เพือ่ ดําเนินกิจการองคการคนหาและชวยเหลือ จึงใหสวนราชการตาง ๆ รับผิดชอบกิจการคนหาและ ชวยเหลือ โดยมีกรมการบินพลเรือนเปนศูนยประสาน งานการคนหาและชวยเหลืออากาศยานและเรือทีป่ ระสบ ภัย มีหนวยงานทําหนาที่เปนหนวยคนหาและชวยเหลือ และหนวยระวังภัย ประกอบดวย กระทรวงกลาโหม

กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวง คมนาคม

โครงการจัดหาเฮลิคอปเตอรแบบ EC725 กาวสําคัญสูก ารคนหาและชวยชีวติ แหงชาติ (National SAR) กองทัพอากาศไดพัฒนาระบบการคนหาและ ชวยชีวิตในพื้นที่การรบไดอยางสมบูรณ โดยมีการฝก


๗๖ ขาวทหารอากาศ อยางสม่าํ เสมอ เพือ่ ทดสอบแผนระบบการสัง่ การ อุปกรณ และบริภณ ั ฑตา ง ๆ ทีใ่ ชอยูใ นปจจุบนั โดยใชพนื้ ทีก่ ารฝกบิน หมุนเวียนตามภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศไทย ทั้งนี้การฝก การคนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบจะจําลองเหตุการณ เสมือนการรบจริงวา มีนักบินปฏิบัติภารกิจในพื้นที่การรบ และจําเปนตองสละอากาศยานและรอรับการชวยเหลือ การปฏิบัติทุกครั้งหัวหนาชุดวางแผนการคนหาและชวย ชีวิตจะใชเฮลิคอปเตอรคนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบ เครื่องบินคุมกัน เครื่องบินคนหาและพิสูจนฝาย รวมทั้ง เครื่องบินอื่น ๆ ในระบบการคนหาและชวยชีวิตในพื้นที่ การรบ ทํางานรวมกันเพื่อคนหาและชวยเหลือนําผูรอดชีวิต จากการสละอากาศยานกลับมาใหเร็วที่สุด ทําการฝกซอม จนเกิดความเชื่อมั่นวาอากาศยานที่กองทัพอากาศบรรจุ ประจําการในปจจุบนั สามารถปฏิบตั ภิ ารกิจไดอยางรวดเร็ว ถูกตองทันเวลา ทําใหผบู งั คับบัญชาระดับสูงมัน่ ใจวาเมือ่ เกิด สถานการณการรบ นักบินที่ปฏิบัติภารกิจในพื้นที่การรบ เมื่อจําเปนตองสละอากาศยานจะมีโอกาสรอดชีวิตสูง อากาศยานที่สําคัญที่สุดของการคนหาและชวย ชีวติ ในพืน้ ทีก่ ารรบคือ เฮลิคอปเตอร เนือ่ งจากเฮลิคอปเตอร ที่ใชในภารกิจการคนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบตองมี

เมษายน ๒๕๕๙ ขีดความสามารถปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีก่ ารรบเพียงลําพังได โดยตองสามารถคนหาพิสจู นฝา ย สามารถปองกันตนเอง ไดระดับหนึ่งและรับผูรอดชีวิตที่มีการตอตานจากฝาย ขาศึกได ในปจจุบนั กองทัพอากาศใชเฮลิคอปเตอรแบบที่ ๖ (UH-1H) เปนเฮลิคอปเตอรหลัก ซึ่งใชงานไดภายใตขอ จํากัดและมีอายุการใชงานมานานกวา ๔๐ ป เทคโนโลยี ที่ใชในการบินมีขีดจํากัดและลาสมัย โดยกองทัพอากาศ กําลังอยูร ะหวางดําเนินโครงการจัดหาเฮลิคอปเตอรขนาด กลาง สําหรับการคนหาและชวยชีวติ ในพืน้ ทีก่ ารรบจํานวน ๑ ฝูงบิน (๑๖ เครื่อง) แบงการจัดหาออกเปน ๔ ระยะ โดยเฮลิคอปเตอรที่ไดรับการคัดเลือก คือ เฮลิคอปเตอร แบบ EC725 จากบริษัท Airbus Helicopters ทั้งนี้ โครงการจัดหาฯ ระยะที่ ๑ ไดรบั มอบเรียบรอยแลวจํานวน ๔ เครื่อง เมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘ และขึ้นทะเบียน ประจําการเปนเฮลิคอปเตอรแบบที่ ๑๑ บรรจุเขาประจํา กองทีฝ่ งู บิน ๒๐๓ กองบิน ๒ จังหวัดลพบุรี และโครงการ จัดหาฯ ระยะที่ ๒ จํานวน ๒ เครื่อง กําหนดสงมอบใน เดือนธันวาคม ๒๕๕๙ สวนโครงการจัดหาฯ ระยะตอไป อยูระหวางดําเนินการ


ขาวทหารอากาศ ๗๗

เมษายน ๒๕๕๙

เฮลิคอปเตอรแบบที่ ๑๑ เปนเฮลิคอปเตอรทมี่ เี ทคโนโลยีการบินทีท่ นั สมัยในระดับแนวหนาของเฮลิคอปเตอร ระดับเดียวกัน เมือ่ เปรียบเทียบกับเฮลิคอปเตอรแบบที่ ๖ ทีก่ องทัพอากาศใชงานอยูม ขี ดี ความสามารถเชิงเปรียบเทียบ ดังตาราง ขอมูลทั่วไป

UH-1H

EC725

ขนาด (กxยxส) 14.6 x 17.4 x 4.2 ม. 16.2 x 20 x 4.6 ม. เครื่องยนต 1 เครื่องยนต แบบ T53-L-13B 2 เครื่องยนตแบบ Turbomeca Makila 2A1 กําลังเครื่องยนต 1,400 SHP 2,382 SHP 9,500 Lbs. 24,251 Lbs. น้ําหนักวิ่งขึ้นสูงสุด บินไดนาน 2 ชั่วโมง 30 นาที 4 ชั่วโมง 26 นาที พิสัยบิน 250 Nm. 491 Nm. รัศมีปฏิบัติการ 50 Nm. 200 Nm. ยานความเร็วปฏิบัติภารกิจ 0 - 120 Kts. 0 - 145 Kts. บรรทุกผูโดยสาร 11 คน 28 คน เปลพยาบาล 6 เปล 11 เปล รอกกวาน 1 Hoist 1 Hoist อุปกรณสําหรับคนหาและชวยชีวิตที่สําคัญที่ ติดตั้งกับเฮลิคอปเตอรแบบที่ ๑๑ ประกอบดวย ระบบ จัดการควบคุมการบินแสดงขอมูลแบบ Glass Cockpit เชือ่ มตอขอมูลกับระบบจัดการการบินสําหรับคนหาและ ชวยชีวิตแบบอัตโนมัติ (Flight Management System with Search and Rescue Modes) และระบบการคนหา เปาหมาย หรือ Search Mode ทําการคนหาเปาหมาย ดวยสัญญาณเรดารทงั้ พืน้ ทีบ่ นบกและพืน้ ทีท่ างทะเล ซึง่ จะแสดงเปาหมายที่ตรวจพบบนแผนที่ดิจิทัล นอกจากนี้ ยังมีอปุ กรณ รอกกวาน เรดารตรวจอากาศ ระบบไฟสอง สวางสําหรับการคนหาและชวยชีวิต (Search Light) ตลอดจน Emergency Floatation Gear ใชสาํ หรับการ ลงฉุกเฉินบนพื้นน้ํา ดวยขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจของ เฮลิคอปเตอรแบบที่ ๑๑ สงผลใหสามารถขยายขอบเขต ภารกิจไดมากขึ้น ดังนี้

 การคนหาและชวยชีวติ ในพืน้ ทีก่ ารรบ (Combat SAR) เปนการปฏิบตั กิ ารคนหาและชวยชีวติ ในพืน้ ทีก่ ารรบ ตามขอบเขตภารกิจของกองทัพอากาศ   การคนหาและชวยชีวิตแหงชาติ (National SAR) เปนขีดความสามารถในการสนับสนุนการคนหาและ ชวยชีวิตแหงชาติ   การคนหาและชวยชีวิตในภูมิภาคอาเซียน (Regional SAR) เปนขีดความสามารถในการดําเนินการ ตามผลการประชุม ADMM (ASEAN Defense Ministers’ Meeting) เรื่องที่ ๒ การใชทรัพยากรและศักยภาพทาง ทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และบรรเทาภัยพิบตั ิ เพือ่ รองรับการเขาสูป ระชาคมอาเซียน


แผนการพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถในการ คนหาและชวยชีวิตทางทหารและพลเรือน เปนระยะเวลา ๑๓ ปแลว นับจากคณะเจาหนาที่ ทํางานปรับปรุง/พัฒนาเกี่ยวกับการคนหาและชวยชีวิต ซึง่ แตงตัง้ โดยคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถในการ ปฏิบตั ภิ ารกิจของกองทัพอากาศไดจดั ทําแผนพัฒนาปรับปรุง ขีดความสามารถในการคนหาและชวยชีวิตทางทหารและ พลเรือน และกําหนดเปาหมายที่ทาทายตามนโยบายของ รัฐบาลในสมัยนัน้ ใหประเทศไทยเปนแกนนําและมีศกั ยภาพ ดานการคนหาและชวยชีวิตทางพลเรือนในระดับชาติและ ระดับภูมภิ าค มีขดี ความสามารถตามมาตรฐานขององคกร การบินระหวางประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) เปนศูนยกลางการบินในภูมภิ าคโดย ตั้งสมมติฐานเกณฑความตองการขีดความสามารถในการ คนหาและชวยชีวิตในยามปกติตองปฏิบัติภารกิจได ดังนี้   สามารถปฏิบัติภารกิจไดภายใน ๑ ชั่วโมง หลังไดรับแจงเหตุ   เขาถึงพื้นที่เปาหมายไดภายใน ๒๔ ชั่วโมง   ระดมขีดความสามารถทัง้ มวลจากทรัพยากร

ของชาติที่เกี่ยวของเหมาะสมกับภารกิจการคนหาและ ชวยชีวิตที่มีอยูใหเขาปฏิบัติการไดภายใน ๖ ชั่วโมง แนวคิดในการพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถ ในการคนหาและชวยชีวติ ทางทหารและพลเรือน ดําเนินการ ภายใตยทุ ธศาสตรการสรางศักยภาพดานการคนหาและ ชวยชีวติ ๓ ดาน คือ (๑) การกาวไปสูก ารเปนองคกรการ คนหาและชวยชีวติ ในระดับภูมภิ าคและสากลดวยการจัด ระบบงานเปนองคกรอิสระ (๒) การสรางขีดความสามารถ เหนือระดับ (Excess) รองรับไวลวงหนาทุกระยะ ๑๐ ป และ (๓) การนําทรัพยากรดานการคนหาและชวยชีวิต ของทุกฝายมาบูรณาการอยางเปนระบบ แผนดังกลาวถือไดวา เปนกาวสําคัญในการกําหนด แนวทางในการพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบตั กิ าร ดานตาง ๆ ไดแก พิสยั บิน การรักษาชีวติ การลงรับ/รับตัว การมองเห็นกลางคืน การคนหา/บอกตําแหนง การแจงเหตุ และการควบคุมสั่งการ จากแผนของประเทศถายทอดสู แผนของกองทัพอากาศในการจัดทําแผนงานและโครงการ ตาง ๆ ที่สําคัญ เชน โครงการจัดหาเฮลิคอปเตอรคนหา และชวยชีวติ การจัดทําโครงการจัดหาเครือ่ งมือ/อุปกรณ


ขาวทหารอากาศ ๗๙

เมษายน ๒๕๕๙

คนหาและชวยชีวติ และการปรับปรุงกลไกภายในกองทัพอากาศ เพือ่ ใหสามารถตอบสนองการปฏิบตั ภิ ารกิจการคนหา และชวยชีวิตไดอยางรวดเร็ว ตลอดจนการเสริมสรางความพรอมในการปฏิบัติการเหนือนานน้ํา นานฟาสากล ใหมี ขีดความสามารถในการเคลื่อนยายหนวยคนหาและชวยชีวิตจากที่ตั้งปกติ ณ ฐานบินใหสามารถไปวางกําลังชั่วคราว ณ ฐานบินนอกประเทศในลักษณะใหความชวยเหลือมนุษยธรรมไดทั่วภูมิภาค โครงสรางการประสานงานการคนหาและชวยชีวิตของกองทัพอากาศและการฝกซอมที่สําคัญ ศูนยปฏิบัติการกองทัพอากาศ

ศูนยยุทธการทางอากาศ

การคนหาและชวยชีวิต กรมควบคุมการปฏิบัติการทางอากาศ - ทําหนาที่เปนศูนยประสานและสั่งการรวมกับ ศูนยประสานงานการคนหาและชวยเหลือ อากาศยานและเรือที่ประสบภัย - ฝายเสนาธิการ ศูนยยุทธการทางอากาศ (CSAR)

ระบบเรดารและเฝาตรวจ ตลอด ๒๔ ชม. แจงขาวอากาศยานสูญหาย ประสบอุบัติเหตุ หรือถูกทําลายจากขาศึก

บริษัทวิทยุการบิน/กองบังคับการบิน (ทอ.) หนวยที่ติดตอกับ นบ.และแจงขายการสื่อสาร เมื่อตองการความชวยเหลือตลอด ๒๔ ชม.

ศูนยประสานงาน การคนหาและชวยเหลือ อากาศยานและเรือที่ประสบภัย

หนวยบินคนหาและชวยชีวิต/ ฮ.พรอม จนท. สามารถปฏิบัติงาน ไดตลอดเวลา จํานวน ๘ หนวยบิน

แผนผังแสดงโครงสรางการประสานงานการคนหาและชวยชีวิตของกองทัพอากาศ

การฝกซอมการคนหาและชวยเหลืออากาศยาน และเรือที่ประสบภัย (Search And Rescue Exercise: SAREX) เปนการบูรณาการดานการคนหาและชวยเหลือ อากาศยานและเรือทีป่ ระสบภัยทีส่ าํ คัญของประเทศไทย ประกอบดวยหนวยงานตาง ๆ คือ กองทัพอากาศ กองทัพบก กองทัพเรือ กรมการบินพลเรือน กองบิน ตํารวจ กองบังคับการตํารวจน้าํ กลุม งานศูนยสง กลับและ รถพยาบาล โรงพยาบาลตํารวจ สํานักการบินอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ กรมประมง กรมอุตุนิยมวิทยา หนวยประสานงานกูภัยอุทยานแหงชาติที่ ๔ สํานัก อุทยานแหงชาติ กรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและ พันธุพืช บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)

สถาบันการบินพลเรือน สมาคมนักวิทยุอาสาสมัคร และ บริษทั วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด รวมฝกซอมการ คนหาและชวยเหลืออากาศยานที่ประสบภัย โดยการฝก ซอมดังกลาวไดจดั เปนประจําทุกป และหมุนเวียนกันเปน เจาภาพ ซึ่งเปนการฝกเพื่อเตรียมความพรอมของหนวย งานทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ ใหกาํ ลังพลของหนวยงานนัน้ ๆ ไดรบั รู รับทราบถึงลําดับขั้นตอนการปฏิบัติตาง ๆ ทั้งของหนวย งานตนเอง และหนวยงานที่ตองประสานความชวยเหลือ เพื่อใหการคนหาและชวยเหลืออากาศยานที่ประสบภัย เปนไปดวยความรวดเร็วและเกิดการสูญเสียใหนอยที่สุด อีกทัง้ ยังทําใหประชาชนเกิดความเชือ่ มัน่ และมัน่ ใจในการ ปฏิบัติภารกิจดังกลาวอีกดวย


ความทาทายของการพัฒนาและบูรณาการระบบ   การพัฒนาทักษะและสรางแรงจูงใจให คนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบ (CSAR) สูการคนหา บุคลากรซึ่งมาปฏิบัติหนาที่ในโครงสรางหนวยงานดาน การคนหาและชวยชีวิต และชวยชีวิตแหงชาติ (National SAR) ตามที่องคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ “ติดธงแดง” ประเทศไทยบนเว็บไซตของ ICAO เมื่อ  บทสรุป ๑๘ มิ.ย.๕๘ หลังจากกรมการบินพลเรือนไมสามารถแกไข จากภารกิจที่กองทัพอากาศไดรับมอบหมาย ปญหา “ขอบกพรองที่มีนัยสําคัญตอความปลอดภัย” จากคณะกรรมการแหงชาติในการคนหาและชวยเหลือ ไดภายในกําหนดเวลา สงผลสืบเนื่องตอการปฏิรูประบบ อากาศยานและเรือที่ประสบภัย คือ การเปนหนวยงาน ความปลอดภัยดานการบินพลเรือนหลายประการ เชน หลักในการคนหาและชวยเหลือผูป ระสบภัยจากอากาศยาน ใหจัดตั้ง “ศูนยบัญชาการแกไขปญหาการบินพลเรือน” และเรือ และสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ (Command Center for Resolving Civil Aviation รวดเร็ว และปลอดภัย ครอบคลุมพืน้ ทีท่ วั่ ทุกภูมภิ าคของ Issues) เรียกโดยยอวา ศบปพ. (CRCA) รวมถึงการประกาศ ประเทศไทยทัง้ หมดนัน้ ณ วันนีก้ ารเปลีย่ นผานจากขอจํากัด พระราชกําหนดการบินพลเรือนแหงประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๘ ของเฮลิคอปเตอรแบบที่ ๖ สูเฮลิคอปเตอรคนหาและ ใหจดั ตัง้ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยขึน้ เรียก ชวยชีวิตในพื้นที่การรบแบบ EC725 หรือเฮลิคอปเตอร โดยยอวา “กพท” และใชชอื่ เปนภาษาอังกฤษวา “The Civil แบบที่ ๑๑ เชือ่ มัน่ วาจากความสามารถของเฮลิคอปเตอร Aviation Authority of Thailand” เรียกโดยยอวา “CAAT” รุน ใหมและความรูข องบุคลากร ประกอบการทํางานอยาง เปนหนวยงานของรัฐที่ไมเปนสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ เปนระบบ รวมทั้งการฝกซอมอยางสม่ําเสมอ จะสามารถ ตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น ตอบสนองความตองการของการคนหาและชวยเหลือ และมีฐานะเปนนิติบุคคล อากาศยานและเรือที่ประสบภัยแหงชาติไดอยางรวดเร็ว ปจจัยดังกลาวเปนทัง้ วิกฤติและโอกาสของประเทศ ทันเวลาและปลอดภัยทั้งในสถานการณการรบและ ไทย ในการปรับปรุงพัฒนาและบูรณาการการทํางานดาน ในภาวะปกติ ซึ่งจะทําใหนานาชาติที่มีสายการบินที่มี การคนหาและชวยชีวติ ของชาติใหเปนรูปธรรมตามปณิธาน เสนทางบินผานเขตการบินของประเทศไทย เกิดความ ทีต่ งั้ ไวเมือ่ ๑๓ ปทผี่ า นมา ตามแผนพัฒนาปรับปรุงขีดความ เชื่อมั่นในขีดความสามารถของระบบการคนหาและ สามารถในการคนหาและชวยชีวิตทางทหารและพลเรือน ชวยชีวติ ของประเทศไทย และความพรอมในการกาวไปสู ดังนั้นโจทยสําคัญสูการเปนหนวยงานหลักดานการคนหา การเปนประชาคมอาเซียนตามกรอบความรวมมือดานการ และชวยชีวิตแหงชาติ (National SAR) ที่กองทัพอากาศ รักษาความมัน่ คงของภูมภิ าคในประเด็นการเตรียมความ ตองทบทวน คือ พรอมรองรับภัยพิบตั ิ การชวยเหลือดานมนุษยธรรมและ   กองทัพอากาศจะปรับโครงสรางหนวยงาน การบรรเทาภัยพิบัติของภูมิภาคอาเซียนตอไป  ดานการคนหาและชวยชีวิตอยางไร “If it doesn’t challenge you, It doesn’t change you”   ยุทโธปกรณรองรับภารกิจดานการคนหา และชวยชีวิตแหงชาติมีเพียงพอหรือไม ทั้งจํานวน เฮลิคอปเตอร และอุปกรณคนหาและชวยชีวิต   ระบบซอมบํารุงของเฮลิคอปเตอรแบบที่ ๑๑ ซึ่งเปนยุทโธปกรณหลักมีรูปแบบการสงกําลังและ ซอมบํารุงที่เปนมาตรฐานรองรับเพียงพอหรือไม   การปรับปรุงกลไกภายในดานการคนหา และชวยชีวิตกองทัพอากาศใหเกิดความคลองตัวอยางไร แหลงขอมูล - แผนการพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถในการคนหาและชวยชีวิตทางทหารและพลเรือน. (๒๕๔๗) ; คณะเจาหนาที่ทํางานปรับปรุง/ พัฒนาเกี่ยวกับการคนหาและชวยชีวิต. - แผนคนหาชวยชีวิตกองทัพอากาศ. (๒๕๓๘) ; กรมยุทธการทหารอากาศ. - National Search and Rescue Manual. (1973) ; FM 20-150 - Combat Search and Rescue. (1998) ; Air Force Doctrine Document 2-1.6


เวลาการตูน มิสกรีน BEETLE BAILEY

ภาพ ๑ - บีทเทิ่ลตื่นหรือยัง ? - หลังจากออกคําสั่งไป ๔ ครั้งแลว เขายังไมตอบอะไรเลย ภาพ ๒ - เอานี่ ลองดูวิธีที่จะชักชวนไดดีกวานะ to be up ordering (gerund) responded (v.) persuasive (adj.) method (n.)

- ตื่นนอน (to be awake) ถาใชเปนสํานวนที่เราคุนเคย ก็คือ to get up - เปนการใช V + ing ตามหลัง บุพบท (preposition) แทนที่จะใชประโยค ซึ่งให ความหมายเดียวกัน Ex. After I had ordered him four times, he still hasn't responded. - กริยาชองที่ ๒ ของ to respond แปลวา ตอบ (to answer) แตใชแบบคอนขาง เปนทางการ คํานามคือ response Ex. She made no response to my inquiry. (เธอไมใหคําตอบใด ๆ กับคํารองขอขอมูลของฉัน) - ชักชวน, โนมนาวใหเชื่อได (able to make someone to do or to believe something) เชน persuasive speech (การพูดชักชวน) และ persuasive agreements (ขอตกลงที่ชักชวนใหเชื่อ) เปนตน คํากริยา คือ to persuade - วิธีการ (a particular way of doing something)


๘๒ ขาวทหารอากาศ

เมษายน ๒๕๕๙

THE BORN LOSER

ภาพ ๑ - คุณแมกําลังทานอาหารเสริมแปะกวย เพื่อชวยความจําอยูคะ ภาพ ๒ - แลวชวยมั้ยละ ? ภาพ ๓ - ชวยซี ! เธอจําไดแมกระทั่งสิ่งที่เธอไมเคยรูจักมากอนอะ ! ... has been taking ... supplements (n.) ginkgo biloba memory (n.)

even (adv.)

in the first place

- กริยาในรูป present perfect continuous tense แสดงการกระทํา ที่เกิดขึ้นในอดีตและเนนความตอเนื่องจนถึงปจจุบัน (ใชโครงสราง have หรือ has been + Ving) - สิ่งที่เพิ่มให เพื่อใหสิ่งนั้นดีขึ้นหรือสมบูรณ ในที่นี้ หมายถึง อาหารเสริม (food หรือ dietary supplements) - ใบแปะกวย ที่นํามาทําอาหารเสริมชวยความทรงจํา ออกเสียงวา "กิ๊งโก บิโลเบอ" - ความทรงจํา (ability to remember) Ex. I have a bad memory for names. (ฉันมีความจําไมดีเกี่ยวกับชื่อคน) และ He suffered loss of memory for weeks. (เขาสูญเสียความทรงจํา ไปหลายสัปดาห) - ในที่นี้ ใชเนนย้ําสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ทําใหประหลาดใจหรือไมคาดคิดมากอน Ex. It was cold there even in summer. (ที่นั่นอากาศหนาว แมกระทั่งในหนารอน) และ She didn't even call to say goodbye. (เธอไมแมกระทั่งจะโทร. มากลาวลา) - เปนสํานวน แปลวา ตั้งแตแรก Ex. I still don't understand why you chose that name in the first place. (ฉันยังคงไมเขาใจวาทําไมคุณถึง เลือกชื่อนั้นตั้งแตแรก)


Mr.Know It All ฉบับทีแ่ ลว ผูเ ขียนไดเขียนเรือ่ งขอแตกตางของภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ (British English) และแบบอเมริกนั (American English) เกี่ยวกับการสะกดคําที่แตกตางกันไปแลว ครั้งนี้จะขอเพิ่มเติมรายละเอียดเรื่องการสะกดคําตอ และการออกเสียงสระ ตามลําดับ - คําที่ลงทายดวย -ce หรือ -se ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษจะลงทายดวย -ce ในขณะที่แบบอเมริกันลงทายดวย -se ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

คําอาน

ความหมาย

defence (n) licence (n) license (v)

defense (n)

ดิเฟนสฺ

license (n,v)

ไลเซินสฺ

offence (n)

offense (n)

เออะเฟนสฺ

การปองกัน ใบอนุญาต การอนุญาต ใหอํานาจ การกระทําผิด การกระทําผิดกฎหมาย

pretence (n)

pretense (n)

พรีเทนสฺ

การเสแสรง

practice (n) practise (v)

practise (n,v)

แพรคทิส

การปฏิบัติ ปฏิบัติ ฝกหัด n = noun คํานาม / v = verb คํากริยา

- คําที่ลงทายดวย -re หรือ -er ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษจะลงทายดวย -re ในขณะที่แบบอเมริกันลงทายดวย -er ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

คําอาน

ความหมาย

calibre (n) centre (n) fibre (n)

caliber (n) center (n) fiber (n)

แคลิเบอะ เซ็นเทอะ ไฟเบอะ

ขนาดลํากลองปน ศูนยกลาง เสนใย


๘๔ ขาวทหารอากาศ

เมษายน ๒๕๕๙

ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

คําอาน

ความหมาย

lustre (n) meagre (adj) sombre (adj) spectre (n) theatre (n)

luster (n) meager (adj) somber (adj) specter (n) theater (n)

ลัสเทอะ มีเกอะ ซอมเบอะ สเปคเทอะ เธียเทอะ

ความเงา ความรุงโรจน ขาดแคลน ไมเพียงพอ มืด สลัว โศกเศรา ผี ความหวาดกลัว โรงละคร

n = noun คํานาม / adj = adjective คําคุณศัพท

- คําที่ลงทายดวย -our หรือ -or ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษจะลงทายดวย -our ในขณะที่แบบอเมริกันลงทายดวย -or ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

คําอาน

ความหมาย

behaviour (n) colour (n) flavour (n) humour (n) labour (n) neighbour (n) rumour (n) vigour (n)

behavior (n) color (n) flavor (n) humor (n) labor (n) neighbor (n) rumor (n) vigor (n)

บิเฮฟวฺเยอะ คะเลอะ เฟลฺเวอะ ฮยูวเมอะ เลเบอะ เนเบอะ รูเมอะ วิเกอะ

ความประพฤติ สีสัน รสชาติ อารมณขัน แรงงาน เพื่อนบาน ขาวลือ แรง กําลัง พลัง n = noun คํานาม

- คําที่สะกดเหมือนกัน มีคําศัพทอยูหลายคําที่มีการสะกดแบบเดียวกันทั้งสองแบบ ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

คําอาน

ความหมาย

rebelled (v) endurance (n) feather (n) mediocre (adj) exercise (n,v) actor (n)

rebelled (v) endurance (n) feather (n) mediocre (adj) exercise (n,v) actor (n)

ริเบลดฺ อินดยูวเออะเรินซฺ เฟะเธอะ มีดีโอเคอะ เอ็กเซอะไซสฺ แอคเทอะ

ขัดขืน ตอตาน ความอดทน ความทนทาน ขนนก ปานกลาง ไมดีไมเลว ฝกหัด การฝกฝน นักแสดงชาย


ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

คําอาน

ความหมาย

fooling (v) advertise (v)

fooling (v) advertise (v)

ฟูลลิง แอดเวอไทสฺ

หลอกลวง โกง โฆษณา

n = noun คํานาม / v = verb คํากริยา / adj = adjective คําคุณศัพท

- ออกเสียงตางกัน ความหมายเหมือนกัน ความแตกตางในการสะกดระหวางภาษาอังกฤษแบบอังกฤษและแบบอเมริกัน ในบางครั้ง ทําใหคําทั้งสองออกเสียงตางกัน อยางไรก็ตามแมวาจะมีการสะกดและออกเสียงที่ตางกันบาง แตความแตกตางเล็ก ๆ นอย ๆ นีไ้ มทําใหความหมายของคําศัพทเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมแตอยางใด คําศัพทนั้นยังคงหมายถึงสิ่ง ๆ เดียวกัน แมวาจะมีการสะกดและออกเสียงคําที่แตกตางกันบาง ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

ความหมาย

aeroplane (n) (แอเรอะเพลน) aluminium (n) (แอเลอะมินิอัม) sledge (n) (สเลดจฺ) pavement (n) (เพฟเมินทฺ) disorientated (adj) (ดิสออริเอินเททิด)

airplane (n) แอเพลน aluminum (n) อะลูมินัม sled/sleigh (n) สเลด/สเล sidewalk (n) ไซดฺวอลคฺ disoriented (adj) ดิสออริเอินทิด

เครื่องบิน อลูมิเนียม แครเลื่อนหิมะ บาทวิถี ทําใหงงหรือสับสน

n = noun คํานาม / adj = adjective คําคุณศัพท

- สะกดตางกัน ความหมายแตกตางกัน ในภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ คําบางคําแมวา จะมีการสะกดทีต่ า งกัน แตออกเสียงเหมือนกัน และใหความหมาย ที่ตางกัน ในขณะที่แบบอเมริกัน แมจะเปนคํา ๆ เดียวกัน แตก็ใหความหมายที่ตางกันได ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ความหมาย

kerb (n) curb (v) storey (n) story (n) enquire (v) inquire (v) metre (n) meter (n) tyre (n) tire (v)

ขอบถนน ทางเดิน ยับยั้ง ควบคุม ชั้น ระดับในตึกหรืออาคาร เรื่องเลา นิทาน นิยาย ขอรอง เรียกรอง วิงวอน สืบสวน สอบสวน ไตสวน หนวยในการวัดความยาว เครื่องมือที่ใชในการวัด ยางรถ เหน็ดเหนื่อย

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

ความหมาย

curb (n,v)

ขอบถนนและยับยั้ง

story (n)

ชั้นของตึกและเรื่องราว

inquire (v)

ขอรองและไตสวน

meter (n)

หนวยวัดความยาวและ เครื่องมือในการวัด

tire (n,v)

ยางรถและเหน็ดเหนื่อย n = noun คํานาม / v = verb คํากริยา


การออกเสียงสระ ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ คําบางคํามีสระสองตัวเขียนติดกัน โดยที่สระตัวหนึ่งจะไมถูกออกเสียง แตแบบ อเมริกัน จะตัดสระตัวดังกลาวออกไป ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

คําอาน

ความหมาย

anaemia (n) foetus (n) manoeuvre (n) palaeontology (n)

anemia (n) fetus (n) maneuver (n) paleontology (n)

เออะนีมีเออะ ฟเทิส เมอะนูเวอะ เพลิเอินทอเลอะจี

ภาวะโลหิตจาง ทารกในครรภ การซอมรบ ชีววิทยาพืชสัตวโบราณ n = noun คํานาม

- รูปแบบของกริยาในอดีตที่ลงทายดวย -ed และ -t เมือ่ คํากริยาอยูใ นรูปของอดีต ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษและแบบอเมริกนั จะมีวธิ กี ารสะกดทีแ่ ตกตางกันบาง ในบางคํา โดยเฉพาะอยางยิ่งกับคํากริยาที่ลงทายดวย l, m หรือ n ภาษาอังกฤษแบบอเมริกันจะมีการเติม -ed ที่ทาย คํากริยาดังกลาว ในขณะที่ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษมักเติม -t แทน ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

คําอาน

ความหมาย

burnt/burned (v) dreamt/dreamed (v) learnt/learned (v) smelt/smelled (v) spelt/spelled (v)

burned (v) dreamed (v) learned (v) smelled (v) spelled (v)

เบิรนดฺ ดรีมดฺ เลิรนดฺ สเมลดฺ สเปลดฺ

เผาไหม ฝน เรียนรู ดมกลิ่น มีกลิ่น สะกด v = verb คํากริยา

- ตัดตัว e ออก ภาษาอังกฤษแบบอเมริกันจะมีการตัด e ที่ทายคําบางคํา ในขณะที่ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษจะยังคงรักษา เอาไว แมวาจะไมมีผลตอการออกเสียงของคํา ๆ นั้นเลยก็ตาม รูปแบบดังกลาวมักเกิดขึ้นกับคําที่ลงทายดวย e และที่ มีการเติม suffix เชน -ment ที่ทายคํา ตัวอยางเชน ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน คําอาน ความหมาย acknowledgement (n) ageing/aging (adj) axe (n) judgement (n) useable/usable (adj)

acknowledgment (n) aging (adj) ax (n) judgment (n) usable (adj)

(เอิคนอลิดจฺเมินทฺ) (เอจจิง) (แอกซฺ) (จัดจฺเมินทฺ) (ยูสเซอะเบิล)

การยอมรับ การรับรอง ทําใหเกา ขวาน การตัดสิน มีไวใช สะดวกแกการใช

n = noun คํานาม / adj = adjective คําคุณศัพท

รายละเอียดดังกลาวเปนขอมูลทีเ่ ปนประโยชนแกผอู า นทุกทาน ทัง้ ยังชวยเอือ้ ประโยชนในการเรียนรูภ าษาอังกฤษ ไดเปนอยางดี ผูเขียนขอใหผูอานมีความสุขในการเรียนภาษาอังกฤษ สวัสดี  (หมายเหตุ ผูเขียนระบุคําอานของคําศัพทในบทความไวในรูปแบบอังกฤษ)

แหลงขอมูลและภาพ - Help Your Kids with English--A unique step-by step visual Guide by Carol Vorderman - http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?id=47515 - Google, www.studentsoftheworld.info, www.teslmalaysia.com


นน.อ.ณั .อ.ณัฐววุ​ุฒิ สสามไพบู ามไพบูลยย, PPh.D. h.D. นวัตกรรมดาน IT นับวันจะมีการพัฒนาอยางกาวกระโดด ผลิตภัณฑที่มาจากผลพวงของนวัตกรรมตาง ๆ เหลานั้นก็เชนกัน ทยอยออกมาในตลาดสูมือผูอุปโภคตลอดเวลา หนึ่งในจํานวนนั้น ไดแก เครื่องพิมพแบบ 3 มิติ หรือที่รูจักกันดีในนามของ “3D PRINTER” ซึ่งสามารถพิมพ (สราง) รูปรางตาง ๆ ที่เราตองการใหออกมาเปนชิ้น งานสําเร็จรูปแบบ 3 มิติ ที่สามารถจับตองได เชน แบบจําลองบุคคล สัตว สถานที่ รถยนต ยานพาหนะ แบบรองเทา แบบเฟอรนิเจอร แบบเครื่องประดับ ตลอดจนชิ้นงานเชิงชางตั้งแตชิ้นสวนอะไหล (Part) อุปกรณเครื่องมืองาย ๆ ไป จนกระทั่งสามารถพิมพ (สราง) อาวุธปนขึ้นมาใชงานไดจริงอีกดวย จริง ๆ แลว เทคโนโลยีการพิมพแบบ 3 มิตินั้น เปนนวัตกรรมที่ถือกําเนิดขึ้นมาตั้งแตหวงป 1990s ที่ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยในชวงนั้นมีใชงานเฉพาะใน บริษัทผูผลิตขนาดใหญ ซึ่งใชประโยชนจากเครื่องพิมพ 3 มิติ ในการพิมพแบบจําลองของอากาศยานหรือรถยนต รุนใหม ที่วิศวกรไดออกแบบไวในระบบคอมพิวเตอร ใหสามารถสรางออกมาเปนชิ้นงานจําลองแบบ 3 มิติ ที่สามารถมองเห็นและจับตองไดจริง ๆ ทีไ่ ดรบั ความสนใจในวงกวางในปจจุบนั นัน้ เปน เพราะสนนราคาของเครือ่ งพิมพแบบ 3 มิติ ทีล่ ดตัวลงมา อยูในระดับที่บริษัทขนาดยอมหรือแมแตภาคครัวเรือน


๘๘ ขาวทหารอากาศ

เมษายน ๒๕๕๙

ตาง ๆ สามารถทีจ่ ะจัดซือ้ จัดหาเขามาใชงานได โดยเฉพาะ ความหลากหลายของเครื่องพิมพที่มีระบบการพิมพที่ใช วัตถุดิบที่อยูในระดับราคาที่จัดหาไดทั่วไป และสามารถ พิมพงานที่มีคุณภาพในระดับหนึ่งได ทําใหการออกแบบ ชิ้นงานในจอคอมพิวเตอร (ดวยโปรแกรมสรางแบบ 3 มิติ เชน AutoCat, SolidWork, Maya ฯลฯ) ทีต่ อ งใชจนิ ตนาการ ขัน้ สูงเขาชวย ถูกทดแทนดวยการผลิตตัวอยางชิน้ งานนัน้ ๆ ออกมาดูไดจริงตามสเกลที่ตองการ  3D PRINTER พิมพชิ้นงานออกมาเปน 3 มิติ ไดอยางไร ? หลักการพื้นฐานที่สําคัญของการพิมพชิ้นงาน 3 มิตินั้น มาจากแนวคิดของการมองชิ้นงานตาง ๆ แบบ 3 มิติ ออกเปนการซอนตัวกันหลาย ๆ ชัน้ ของภาคตัดขวาง (Cross Section) ของชิ้นงานที่เปนแบบ 2 มิติ (แกน X, Y) แลวทยอยพิมพชิ้นงานนั้น ๆ ที่ละชั้นตั้งแตชั้นแรกไป จนกระทั่งชั้นสุดทาย (แกน Z) โดยชั้นของชิ้นงาน (ชั้น ภาคตัดขวาง) ทีซ่ อ นทับกันนัน้ ทายทีส่ ดุ จะประกอบกันเปน ชิ้นงานที่มีรูปรางแบบ 3 มิติ ตามสัดสวนที่กําหนดไดอยาง นาอัศจรรย

หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ หากเราตัดแบง ชิ้น งาน 3 มิติออกเปนแผนบาง ๆ ตามแนวนอน โดย ตัดที่ความบางนอย ๆ เชน บางระดับกระดาษ เราจะ ไดแผนบาง ๆ (Layer) ที่แสดงเสนสายลายเสนของ ชิ้นงานที่มองจากแนวดิ่งของแตละแผน โดยเมื่อพิมพ แผนบาง ๆ นั้นออกมาทีละแผนตั้งแตแผนแรกไปจนถึง แผนสุดทาย และนําทุกแผนที่พิมพมาซอนกันในแนวตั้ง ตามลําดับ (Layers) โดยทุกแผนทีซ่ อ นกันนัน้ มีคณ ุ สมบัติ ในการผสานติดกัน เราก็จะไดชนิ้ งาน 3 มิตอิ อกมาไดอยาง ถูกตองตรงตามแบบทีก่ าํ หนดไวในคอมพิวเตอร และหาก แผนหนาตัดนัน้ ยิง่ มีความบางเทาไร (ยิง่ บาง ยิง่ มีจาํ นวน แผนหนาตัดมากขึ้น) ความละเอียดของชิ้นงานสุดทาย ที่ไดก็จะยิ่งมีความละเอียดมากเทานั้น โดยระดับของ ความบางของแตละแผนหนาตัดนั้นวัดกันอยูในระดับ ไมครอน (ระดับ 0.001 มิลลิเมตร) เลยทีเดียว


อาจเกิดความสงสัยวา เครือ่ งพิมพจะทําอยางไร เมื่อแผนหนาตัดที่ซอนกันนั้น มีความหนามากขึ้นเรื่อย ๆ ตรงนี้เครื่องพิมพใชหลักการงาย ๆ วา เมื่อพิมพแผน หนาตัดแตละแผนเสร็จ ชุดหัวพิมพจะเคลื่อนที่สูงขึ้น เทากับความหนาของแผนหนาตัดหรือตรงกันขาม เมื่อ พิมพแผนหนาตัดแตละแผนเสร็จ ฐานรองชิน้ งานดานลาง จะลดระดับลงเทากับความหนาของแผนหนาตัด เพื่อที่ จะพิมพแผนหนาตัดถัดไปทางดานบน และจะทําซ้ําเรื่อย ๆ จนกระทั่งแผนหนาตัดบนสุดพิมพเสร็จและไดชิ้นงานที่ ตองการ ซึ่งโดยปกติทั่วไปแลวเครื่องพิมพแบบ 3 มิติจะ ใชวิธีการลดระดับของฐานรองชิ้นงานลงครั้งละความ หนาของแผนหนาตัดจนกระทั่งเสร็จสิ้นการพิมพชั้นบน สุดของแผนหนาตัด  3D PRINTER มีแบบใดบาง ? เครือ่ งพิมพแบบ 3 มิตนิ นั้ โดยหลักการของการ ขึ้นรูปชิ้นงานแลว สามารถแบงออกเปน 4 ชนิดหลัก ๆ ดวยกัน

 แบบฉีดขึ้นรูป (Fused Deposition Modeling: FDM) ใชวิธีหลอมวัตถุดิบจําพวกเสนพลาสติก (ABS, PC, PC/ABS, PPSU, PLA) ใหกลายเปนของเหลว แลวฉีดน้ําพลาสติกเหลวนั้นออกมาจากหัวฉีด (Nozzle) ทีละชั้น ๆ เพื่อขึ้นรูปชิ้นงาน โดยสวนของชิ้นงานที่มี ชองวางรวมอยู เชน ชองวางของเกลียวเฟอง เครื่องพิมพ จะฉีดวัสดุพยุงรูป (Support Material) เขาไปบริเวณชอง วาง ซึง่ วัสดุพยุงรูปสามารถทีจ่ ะเคาะออกหรือลางออกดวย น้ําไดในภายหลัง แบบ FDM นี้เปนแบบที่ไดรับความนิยม จากผูใ ชงานทัว่ ไปมากทีส่ ดุ เพราะจัดหามาใชไดในราคาที่ ไมแพงจนเกินไป และสามารถผลิตชิ้นงานไดหลากหลาย


๙๐ ขาวทหารอากาศ

เมษายน ๒๕๕๙

ขอดี : วัตถุดบิ (เสนพลาสติกชนิดตาง ๆ) สามารถ หาไดงายทั่วไปในทองตลาด ชิ้นงานมีความคงทนสูง เชนเดียวกับพลาสติก (สามารถนํามาขัด เจาะ หรือตกแตง ตอได) สามารถผลิตชิ้นงานที่มีหลากสีได ขอจํากัด : ผิวของชิน้ งานจะไมราบเรียบเทาทีค่ วร เมื่อเทียบกับแบบอื่น ๆ  แบบฉายแสงขึน้ รูป (Stereolithography: SLA) ใชวิธีฉายแสงลงไปที่ถาดใสวัตถุดิบจําพวก เรซิ่นไวแสง โดยสวนที่ถูกแสงจะเกิดปฏิกิริยาและเกิดการ แข็งตัว สวนที่ไมถูกแสงจะไมแข็งตัวเมื่อฉายแสงแผนหนา ตัดหนึ่งเสร็จก็จะลงวัตถุดิบคลุมชั้นบนตอไปเพื่อฉายแสง ตอ และจะทําซ้ําจนกระทั่งฉายแสงแผนหนาตัดชั้นบนสุด เสร็จ ซึ่งลําแสงที่ฉายลงมามีทั้งแบบที่เปนลําเสนเลเซอร และแบบที่เปนแผนฉายเลเซอร (หนึ่งแผนครอบคลุมพื้นที่ ทั้ง Layer) ขอดี : สามารถผลิตชิน้ งานทีม่ คี วามละเอียดสูงได โดยผิวชิ้นงานจะมีความละเอียดสูง ขอจํากัด : โดยทั่วไปใชกับการผลิตชิ้นงานที่มี ขนาดเล็ก เชน เครื่องประดับแบบ Figure ตาง ๆ เนื่องจาก เครื่องพิมพขนาดใหญมีราคาสูง ชิ้นงานที่ผลิตออกมาเมื่อ ถูกแสงแดดนาน ๆ อาจเกิดการเปราะแตกได

  แบบหลอมขึ้นรูป (Selective Laser Sintering: SLS) ใชวิธีฉายแสงลงบนผงวัตถุดิบ (เชน ผง ไนลอน ผงทองเหลือง ผงโลหะ ฯลฯ) ที่โรยเอาไวเปนชั้น โดยผงวัตถุดิบที่ถูกแสงจะเกิดการหลอมละลาย สวนที่ ไมถูกแสงจะคงสภาพเปนผงเชนเดิม เมื่อฉายแสงแผน หนาตัดหนึ่งเสร็จก็จะเกลี่ยผงวัตถุดิบคลุมดานบนตอ ไปเพื่อฉายแสงตอ และจะทําซ้ําจนกระทั่งฉายแสงแผน หนาตัดชั้นบนสุดเสร็จ ซึ่งลําแสงที่ฉายลงมามีทั้งแบบที่ เปนลําเสนเลเซอร และแบบทีเ่ ปนแผนเลเซอร (หนึง่ แผน ครอบคลุมพื้นที่ทั้ง Layer)


เมษายน ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๙๑

ขอดี : สามารถผลิตชิน้ งานทีม่ คี วามละเอียด สูงได เมือ่ ใชผงโลหะจะสามารถผลิตชิน้ งานแบบเดียวกับ ที่ตองใชแมพิมพ (โมลด) ผลิตได ขอจํากัด : การทําความสะอาดคอนขางยาก มีคาใชจายคอนขางสูง  แบบฉีดกาวขึ้นรูป (Binder Jetting) ใชวิธีฉีดผสมกาว (ผสมสีลงไปได) เขากับผง วัตถุดิบ (เชน ผงพลาสติก ผงยิปซั่ม) ที่โรยเอาไวเปนชั้น โดยผงวัตถุดิบที่ผสมกับกาวและสีจะจับตัวกัน สวนที่ไม ถูกผสมจะคงสภาพเปนผงเชนเดิม เมื่อฉีดผสมกาวและ สีลงแผนหนาตัดหนึ่งเสร็จก็จะเกลี่ยผงวัตถุดิบคลุมดาน บนตอไปเพื่อฉีดผสมตอ และจะทําซ้ําจนกระทั่งฉีดผสม กาวลงแผนหนาตัดชั้นบนสุดเสร็จ ขอดี : สามารถผสมสีตา ง ๆ ไดตามทีต่ อ งการ ขอจํากัด : ชิน้ งานขาดความแข็งแรง เมือ่ ถูก กระทบแรง ๆ อาจชํารุดเสียหายไดงา ย ตองหมัน่ ทําความ สะอาดบริเวณโดยรอบ

จะเห็นวา หลักการของเครื่องพิมพแบบ 3 มิตินั้น มีความเรียบงายกวาที่คิด อยางไรก็ตาม เครื่องพิมพแบบที่ สามารถผลิตชิ้นงานที่มีทั้งความละเอียดและคุณภาพสูงนั้น ยังมีราคาที่คอนขางแพง จะพบการใชงานเฉพาะในบริษัท หรือองคกรใหญ ๆ ทีท่ าํ งานเกีย่ วกับดานการออกแบบและการผลิตชิน้ สวนละเอียดเทานัน้ นอกจากนี้ ราคาของวัตถุดบิ ที่ใชก็ยังคงมีราคาที่จัดวาสูงอยูเชนกัน สําหรับในประเทศไทยนั้น ปรากฏการณ 3D PRINTER BOOM กําลังจะเกิดขึ้นอยางจริงจัง นับตั้งแตมี เครื่องพิมพ 3 มิติ แบบที่ใชสําหรับภาคธุรกิจขนาดเล็กถึงขนาดกลางและภาคครัวเรือนทั่วไปเริ่มเขามาสูตลาด IT เมื่อ หวงระยะเวลาที่ผานมา โดยสนนราคานั้นมีตั้งแตหลักหมื่นบาทไปจนถึงหลักหลายแสนบาทหรือสูงกวานั้น ขึ้นอยูกับ ประสิทธิภาพเครื่องพิมพและคุณภาพของชิ้นงานที่สามารถผลิตได หลังจากนี้ เราคงไดเห็นผลิตภัณฑชิ้นพิมพขึ้นรูป 3 มิติที่สามารถเพิ่มมูลคาในตัวไดดวยการใสความเปน Originality ใหตรงตามความตองการของเฉพาะบุคคลเพิ่มมากขึ้น และในวันหนึ่งคุณผูอานเองก็คงสามารถสราง ชิ้นงานที่มีความเปน Originality ของตัวเองชนิดจับตองไดอยางที่ใจจินตนาการ 


ประจําเดือน เม.ย.๕๙ มีน

๑. ใหหาคํามาเติมในชองวางทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยดูจากความหมายที่ใหมา ๒. แตละชองเติมได ๑ ตัวอักษร สระบน สระลาง และวรรณยุกต ใหเติมไวกับอักษรชองเดียวกัน สวนสระหนาและสระหลัง ใหแยกชองตางหาก


เมษายน ๒๕๕๙

 แนวตั้ง ๑. ตัดสินใจที่จะรวมมือหรือรวมชีวิตดวย ๒. ชักชา ลังเลใจ ๓. เอากะทิเคลากับขาวเหนียวเพื่อใหมัน ๔. ตําหนิสิ่งที่ยังทําไมเสร็จหรือที่ยังไมรูวาอะไรเปนอะไร ๕. สารประกอบประเภทออกไซดของตะกั่ว มีสูตร Pb3O4 ลักษณะเปนผงละเอียดสีแดง ๖. ทองฟา ๗. การมาถึง มักใชเปนสวนทายของคําสมาส ๘. ชื่อเครื่องมือสําหรับหีบออยหรือหีบมะพราวขูด เพื่อ เอาน้ําออยหรือน้ํากะทิ คราวละมาก ๆ ชื่อโรคมะเร็ง ขึ้นแถวกราม ๑๑. เทาที่ตองการ ๑๔. หนึ่ง เปลี่ยว เดี่ยว ๑๕. ชื่อไมไผที่พาดบนหัวแปใชปดริมหลังคาดานหัว และทายเรือนกันลมตีเครื่องมุง ๑๖. ชื่อ ๑๗. ใสกลอน ๒๐. หนวยทหารที่ประกอบดวยทหารหลายกองพลมี จํานวนไมแนนอนเปนการจัดตั้งเฉพาะกิจอยางใดอยางหนึ่ง ๒๒. ทําใหจมติดแนนอยูในสิ่งตาง ๆ ๒๔. ทาง ชอง ๒๕. มุงใหพบ ๒๗. กระทบเรียดไป ๓๐. ลักษณะมีสวนปลายหักโคงเขาหาตัวมันเอง เชน รูปอยางขอ ๓๒. สงสาร สังเวช ๓๔. ขาศึก ๓๕. อํานาจ ๓๖. เอาขึ้นใหสูงจากที่เดิม ๓๘. พิง กาย ๔๑. สิ่งที่งอกขึ้นเหนือจมูกแรด แข็งเหมือนเขาสัตว ๔๓. ใหม ใชนําหนาคําสมาส ๔๔. ไฉน ทําไม

ขาวทหารอากาศ ๙๓

แนวนอน  ๑. มีรูป ๓ คือ รูปพระพรหม (พระผูสราง) พระวิษณุ หรือพระนารายณ (พระผูร กั ษา) พระศิวะหรือพระอิศวร (พระผูทําลาย) ๕. เสาเรือนตนแรกทีย่ กขึน้ ตามฤกษของการปลูกเรือน ๙. หายใจมีเสียงดังในลําคอขณะหลับ ๑๐. ยี่สิบ ๑๒. วันหนึ่ง ๆ ในสัปดาห ๑๓. ใชสิ่งใดสิ่งหนึ่งเปนอุบายชักนํา ๑๔. เรือนที่เรียกตามลักษณะทรงหลังคาเอนเขาหา อกไกทั้ง ๔ ดาน ไมมีหนาจั่ว ๑๗. งาม ๑๘. นานมาก ๑๙. ทั้งมวล ทั้งหมด ทั้งสิ้น ๒๑. ตกแตงใหมีเหยาเรือน ๒๓. เอาของใสปากแลวหุบปาก ไมกลืนลงไป ๒๔. ใหญ ๒๖. เริ่มการแสดงมหรสพ เชน โขน ละคร ลิเก ๒๘. แกม มะปราง ๒๙. ชื่อตนไมขนาดกลางมีมากทางภาคใต ใบเมื่อขยี้ มีกลิ่นฉุนคลายการบูร ไมใชกอสรางบานเรือนได ๓๑. งาม สวนปลายแหงของบางอยางที่ยาวเรียวแลว ชอยขึ้น ๓๓. พออยูได ๓๗. ภาษาโบราณ แปลวา คูรัก ๓๘. ปา ดง ๓๙. เรียกคําหรือพยางคทมี่ ี ก ข ค ฆ สะกดวา มาตรา... หรือแม... ๔๐. ตาง ๆ ๔๒. หลุดออกหมด ไมเหลือติดอยู ๔๔. มือ ๔๕. มีสีตัวจางหรือซีดลง เปนลักษณะปลากัดที่สูไมได ๔๖. เครื่องขับขี่มีรถและเรือ เปนตน (เฉลยอยูหนา ๑๐๖)


ภาษาไทยดวยใจรัก นวีร

เนื่องมาจาก วิวาหพระสมุท วิวาหพระสมุท เปนวรรณคดีประเภทบทละครพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (เขียนชื่อเรื่องตามตนฉบับ) ที่ตั้งชื่อเรื่องบทความเชนนี้ เพราะมีผูถามถึงที่มาของคําประพันธตอนหนึ่งวา เมื่อแกเฒาหมายเจาชวยรับใช เมื่อยามไขหมายเจาเฝารักษา เมื่อยามถึงวันตายวายชีวา หวังลูกชวยปดตาเมื่อสิ้นใจ ขอตอบวา คําประพันธนี้มาจากเรื่อง วิวาหพระสมุท (ปจจุบันเขียนวา พระสมุทร) วิวาหพระสมุท เปนบทละครสังคีต คือบทละครพูดทีม่ เี พลงและบทรองประกอบ แตพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ทรงเรียกวา บทละครพูดสลับลํา (ลํา หมายถึง เพลงหรือบทกลอน) ทรงใชนามปากกาวา ศรีอยุธยา พระราชนิพนธ เรื่องนี้ และไดนํามาเลนละครครั้งแรกเมื่อ ๒๖ สิงหาคม ๒๔๕๙ ในงานประจําปของจิตรลดาสภาคาร ซึ่งพระองคทรง รวมแสดงดวย โดยแสดงเปน นาวาเอก เอ็ดเวอรด ไลออน และเรือ่ งนีไ้ ดนาํ มาแสดงอีกหลายครัง้ ในรัชสมัยของพระองค จนกระทั่งปจจุบันก็ยังมีผูนํามาเลนละครอยูเสมอ เนื้อเรื่องมีดังนี้ อันเดรเปนเจาชายตางเมืองซึ่งรักอยูกับนางอันโดรเมดา ธิดาของทาวมิดัส เจาผูครองเกาะอัลฟะเบตา แต ขัดที่มีคอนสตันติโนส หลานของหัวหนานักบวชแหงเกาะนั้น หลงรักนางอันโดรเมดาอยูเชนกัน และไดรวมวางแผน กับเพื่อนชื่อโยฮันนิส เพื่อหาทางแตงงานกับนางใหได โดยออกขาวยุยงปลุกปนใหชาวเมืองอัลฟาซึ่งเปนนครหลวงของ เกาะอัลฟะเบตา หวาดกลัวภัยของทองทะเล และเรียกรองใหทาวมิดัสทําพิธีวิวาหนางอันโดรเมดากับพระสมุท เทากับ เปนการยกนางใหแกทะเล ซึ่งถาเปนเชนนั้นนางจะตองจมน้ําตาย คอนสตันติโนสวางแผนใหหัวหนานักบวชผูทําพิธี วิวาหเปนผูเ สนอตนเขาพิธวี วิ าหกบั นางแทน โดยอางวาไดรบั ความเห็นชอบจากพระสมุท แตอนั เดรกับทาวมิดสั ไดทราบ แผนของคอนสตันติโนสเสียกอน จึงไดวางแผนแกไขกับนาวาเอก เอ็ดเวอรด ไลออน ผูบังคับเรือรบออกฟอรดของ อังกฤษ เสนอชื่ออันเดรแทน จนอันเดรไดวิวาหกับนางอันโดรเมดาในที่สุด วรรณคดีเรือ่ งนี้ นับเปนเรือ่ งเอกประเภทสุขนาฏกรรม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ทรงพระราชนิพนธ ดวยถอยคําเปนบทรองไทย ๆ ที่เหมาะกับบท กินใจทุกกระบวน ทั้งในกระบวนรัก ขบขัน เยาะเยย เสียดสี บางบทเปน ที่นิยมอยางแพรหลาย และใชรองเปนเพลงยอดนิยมมาจนปจจุบันดวยทวงทํานองเพลงไทยเดิม เชน เพลง คลื่นกระทบฝง “สุริยันจันทรา” อันโดรเมดาสุดาสวรรค ยิ่งกวาชีวันเสนหา ขอเชิญสาวสวรรคชั้นฟา เปดวิมานมองมาใหชื่นใจ ถึงกลางวันสุริยันแจมประจักษ ไมเห็นหนานงลักษณยิ่งมืดใหญ ถึงราตรีมีจันทรอันอําไพ ไมเห็นโฉมประโลมใจก็มืดมน อาดวงสุรียศรีของพี่เอย ขอเชิญเผยหนาตางนางอีกหน ขอเชิญจันทรสองสวางกลางสกล เยี่ยมใหพี่ยลเยือกอุรา


เมษายน ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๙๕

เพลง โยสลัม “ปากเปนเอก” ปากเปนเอกเลขเปนโทโบราณวา หนังสือตรีมีปญญาไมเสียหลาย ถึงรูมากไมมีปากลําบากตาย มีอุบายพูดไมเปนเห็นปวยการ ถึงเปนครูรูวิชาปญญามาก ไมรูจักใชปากใหจัดจาน เหมือนเตาฝงนั่งซื่อฮื้อรําคาญ วิชาชาญมากเปลาไมเขาที เพลง ปแกวนอย “โฉมเฉลา” โฉมเฉลาเยาวภาอยาเฉลียว พี่เคยเที่ยวเจนจิตทุกทิศา ไมเคยเห็นนารีที่ตองตา จนพบแกวกัลยาจึงสรานรัก (สราน : คําโบราณของ ซาน = แลนกระจายไปทั่ว) เพลง แขกหนัง “อํานาจ” ผูใดมีอํานาจวาสนา ธรรมดาหาอะไรก็หาได กําหมัดคือยุติธรรมจงจําไว ใครหมัดใหญไดเปรียบเรียบเชียวเกลอ ฯลฯ มีอํานาจวาสนาวาจาสิทธิ์ พูดสิ่งใดไมผิดเพราะฤทธิ์ขลัง ถึงพูดผิดกําหมัดซัดลงปง กลายเปนพูดถูกปงไปทั้งเพ เพลง สามเสา “เปนผูหญิง” เปนผูชายยิ่งยากกวาหลายเทา เปนผูหญิงแทจริงแสนลําบาก หญิงตองเจียมกายามาแตเยาว ชายตองเฝาวิงวอนใหหลอนรัก หญิงถึงรักก็ตองแกลงแสรงทําเฉย หวังใหชายอยากเชยยิ่งขึ้นหนัก ตางคนตางซัดกันนาขันนัก ที่แทตางสมัครรักกันเอย เพลง บังใบ “ไดยินคําสําเนียง” ไดยินคําสําเนียงเสียงเสนาะ แสนไพเราะรสรักเปนหนักหนา เหมือนยินเสียงหงสทองที่ฟองฟา กลอมสุนทรวอนวานายินดี ก็ผวาเมื่อสดับศัพทเสียงพี่ ถึงแมวาจะสนิทนิทรา ถึงดิฉันรอนรุมกลุมฤดี เสียงเหมือนทิพยวารีมาประพรม เพลง แขกสาหราย “ถาแมนพี่เลือกได” ถาแมนพี่เลือกไดตามใจพี่ จะไปพนที่นี้ก็หาไม จะยืนชมขวัญตาผูยาใจ กวาจะไดสวมกอดแมยอดรัก ทานผูอ า นหลายทานคงไดยนิ เพลงหรือไดพบเห็นบทกลอนบทเพลงเชนนีม้ าแลว กลาวกันวา พระองคไดจดั แสดง ละครเรือ่ งนีเ้ พือ่ เก็บเงินบํารุงราชนาวีสมาคมแหงสยามดวย และทรงมุง ใหเห็นแสนยานุภาพของกองทัพเรือ โดยเปรียบ วากองทัพเรือนั้นมีอํานาจเหนือสิ่งใดในทองทะเล ที่สําคัญ บทกลอนของพระองคแฝงไวดวยคติสอนใจ ปลุกใจใหเกิด ความรักชาติ สมัครสมานสามัคคี ใหสารประโยชน สะทอนสภาพบานเมือง ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมที่มีคุณคา และ ที่สําคัญมีคุณคาทางการใชภาษาไทยที่งดงามดวยวรรณศิลปโดยแท 


 เปนคนละเอียดรอบคอบ  ผูเ ขียนไดมโี อกาสเดินทางไปทําบุญออกพรรษาทีว่ ดั สุวรรณคีรี (เขาดงยาง) อําเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา เพราะเหตุวา มีธรุ ะทีน่ คิ มอุตสาหกรรมเกตเวยซติ ี้ ในวันนัน้ จึงถือโอกาสไปทําบุญ ที่วัดนี้มีบันไดขึ้นเขาเจ็ดรอยกวาขั้น เปนการเดินขึ้นเขาที่ลาดชันทีเดียว ดานบนมีวิวที่สวยงาม และมีพระพุทธรูปหลายองค ผูเ ขียนพบกระดาษแผนเล็ก ๆ ตกอยูแผนหนึ่ง มีขอความสะดุดใจมาก เขาเขียนวา “ไมมี ใครเคยหกลมเพราะสะดุดภูเขา มีแตหกลมเพราะสะดุด กอนหิน” เขาอาจมีเจตนาใหกําลังใจคนขึ้นเขาก็ได เพราะ เดิน ๆ ไปก็เมื่อยเหมือนกัน ตองหยุดเปนชวง ๆ และก็มอง ขึน้ เขาบาง เพือ่ ใหมกี าํ ลังใจวาจะถึงแลว บางทีกม็ องกลับไป ขางหลัง ใหมีกําลังใจวาเดินขึ้นมาไกลแลว มองขาง ๆ ปา ก็เห็นกอนหินมากมาย ก็รวู า กอนหินมันเล็กมากเมือ่ เปรียบ กับภูเขา ซึง่ ผูเ ขียนก็ชอบใจวลีนมี้ าก และเมือ่ ตริตรองดูกย็ งิ่ เห็นความสําคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งเปนเรื่องใหญกวาภูเขา ดวยซ้ําไป

ผูเขียนพยายามคิดวา จะเปรียบเทียบภูเขา กับกอนหินใหเปนอะไรดี และจะตั้งชื่อหัวขอเรื่องนี้วา อยางไรดี จึงจะสือ่ ถึงใจความสําคัญ สุดทายก็หาเจอ ผูเ ขียน ใหความใฝฝน ความหวัง หรือจินตนาการของผูค น คือภูเขา ลูกใหญ ที่ทุกคนพยายามปายปนใหขึ้นไปใหถึงจุดสูงสุด สําหรับกอนหิน กอนเล็กกอนนอยมากมายตามรายทาง นั้นก็คือ อุปสรรค ขวากหนาม ที่เราจะตองกาวขามไปสู จุดหมายปลายทาง สิง่ ทีจ่ ะชวยใหเราประสบความสําเร็จ ไดก็คงมีปจจัยมากมาย และสิ่งหนึ่งก็คือ การเปนคน ละเอียดรอบคอบ จึงเปนหัวขอที่นํามาเขียนในวันนี้ ความละเอียดรอบคอบ แปลเปนภาษาอังกฤษ ไดวา Attention to Details การใหความสําคัญกับราย ละเอียดของเรื่องที่ทําในทุกแงทุกมุมอยางตอเนื่อง มีการ ติดตามขอมูลรอบขาง มีการประเมินสถานการณและ ตรวจสอบผลการดําเนินการอยางสม่ําเสมอ พรอมทั้ง แกไขปรับปรุงขบวนการตาง ๆ ที่เกี่ยวของใหเหมาะสม ตลอดเวลา


เมษายน ๒๕๕๙ โทมัส อไควนาส นักปรัชญาคริสเตียนไดกลาวไว วา ความละเอียดรอบคอบ เปน “มารดา” แหงคุณธรรม ทั้งปวง เพราะสิ่งนี้คือ ความสามารถที่ประเสริฐสุดของ ผูที่มีปญญาโดยแท เหตุที่กลาวเชนนี้เพราะวา ผูที่มี ปญญาทั้งหลาย คือ ผูที่จะตองคิดวางแผนและตัดสินใจ เรื่องราวตาง ๆ ของสังคมสวนรวม การทํางานดวยความ ละเอียดรอบคอบ จึงเปนพืน้ ฐานทีจ่ ะประกันคุณภาพของ งานนั่นเอง ที่จริงแลวเราทุกคนเคยไดรับการอบรมกันมา วา ใหเปนคนที่ทํางานดวยความละเอียดรอบคอบ เราได พบเห็นตัวอยางมากมายวา กิจการบางอยางผิดพลาด ลมเหลวไปดวยเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ อันเปนเหตุจากความ ไมรอบคอบนัน่ เอง เชน เมือ่ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๔๓ เครื่องบินคองคอรด (Concorde) ซึ่งเปนเครื่องบิน โดยสารเร็วกวาเสียงแบบเดียวทีม่ นุษยไดใชงานกันจริง ๆ เกิดไฟลุกไหม ในกรุงปารีส เพราะมีเศษเหล็กจากรันเวย กระเด็นไปกระทบกับสวนปกของเครื่องบิน สุดทาย เครื่องบินก็ตก มีผูเสียชีวิตมากมาย และเปนจุดเริ่มตน ของบทสุดทายของเครือ่ งบินแบบนี้ โครงการนีเ้ ปนเมกะ โปรเจกตที่เสียหายมากมาย เนื่องจากความไมละเอียด รอบคอบในการดูแลรันเวย ในชีวิตจริง ๆ ที่ผานมาของ ทานผูอาน ก็คงจะมีตัวอยางของปญหาใหญ ๆ ที่เกิดขึ้น มักมาจากปญหาเล็ก ๆ ทีเ่ ราไมละเอียดรอบคอบตัง้ แตแรก

ขาวทหารอากาศ ๙๗ มีขอสังเกตที่นาสนใจอยู ๒ เรื่อง ทําใหเกิดอุบัติเหตุ หรือ เปนสาเหตุทาํ ใหการตัดสินใจผิดพลาดหรือไมดพี อ โดยสิง่ ทีผ่ เู ขียนจะเนนใหทา นเห็นก็คอื ประเด็นปญหาและความ ลมเหลวของมนุษยนนั้ สวนหนึง่ มาจากการมีความละเอียด รอบคอบไมเพียงพอนั่นเอง


 ลักษณะการทํางานที่ไมละเอียดรอบคอบ - ไมมกี ารตรวจเช็คความถูกตองของขอมูล ผล การปฏิบัติตาง ๆ อยางเปนระบบ - มองขามรายละเอียดของการคิดหรือการ ปฏิบตั งิ านในบางขัน้ ตอนไป เพราะความเคยชิน หรือความ ไววางใจมากเกินไป - ไมติดตามแกไขปญหาที่เกิดขึ้น - ขาดขอมูลจากผูที่เกี่ยวของหรือผูเชี่ยวชาญ ในดานนั้น ๆ โดยตรง - มีอคติกับระบบ  หลักการสําคัญในการทํางานหรือตัดสินใจ อยางละเอียดรอบคอบ - ตองเขาใจหลักการและมาตรฐานการตรวจ สอบงานนั้น ๆ อยางดี สามารถคนพบขอบกพรองไดดวย ตนเอง - เปนผูท สี่ ามารถประยุกตมาตรฐานการตรวจ สอบกับสภาพแวดลอมที่มีอยูไดอยางเหมาะสม - ขอคําปรึกษาจากผูรับผิดชอบ ระดับรอง ๆ ลงไป หรือผูรวมงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ - ตั้งขอสงสัยในขอมูลที่ไมชัดเจนและนําไป ขยายผลหาขอมูลเพิ่มเติม เพื่อแกไขปญหา - มองภาพรวมของงานออก สามารถเห็นความ สัมพันธระหวางปญหาขอผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ กับผลกระทบกับ งานทั้งระบบ เพื่อพิจารณาแกปญหาใหเสียหายนอยที่สุด

- คิดหาแนวทางการตรวจสอบใหม ๆ อยู เสมอ เพราะเมื่อเวลาเปลี่ยนไปทุกอยางก็เปลี่ยนไปดวย การทํางานแบบเดิม ๆ ยอมไมครอบคลุมสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป  ปจจัยที่จะทําใหคนมีความละเอียดรอบคอบ ๑. มีความทรงจําที่ดี และชางสังเกต ๒. มีความเฉลียวฉลาด ๓. สามารถประยุกตขอมูลตาง ๆ ไดดี ๔. เปนนักวางแผนใหตนไดเปรียบ ๕. รูจักเปรียบเทียบหนทางปฏิบัติตาง ๆ กอน ตัดสินใจ ๖. เปนคนมองการณไกล ๗. เปนผูที่สามารถสรุปเรื่องราวตาง ๆ ไดคมชัด ๘. รูจักระมัดระวัง หลีกเลี่ยงความเสี่ยง มีเพลงพื้นบานบทหนึ่งของชาวยุโรป เนื้อเพลง แปลเปนไทยไดวา “เพราะตะปูตวั เล็ก ๆ ตัวหนึง่ หลุดหาย ไป เกือกมาจึงหลุดหาย เนือ่ งจากเกือกมาหลุดหายไป มา จึงเสียหลัก เนือ่ งจากมาเสียหลัก ขุนพลจึงตกลงจากหลัง มา เนื่องจากขุนพลพลัดตกจากหลังมา การสูรบจึงพายแพ เนื่องจากการสูรบพายแพ จึงสูญเสียชาติไป” นาคิดจริง ๆ ใชไหมครับ ? ตะปูตัวเล็ก ๆ ตัวหนึ่ง เปนสาเหตุของการสิน้ ชาติ สิน้ แผนดินได ในโลกแหงความ เปนจริง ธุรกิจบางบริษัทอาจจะพบจุดจบลงได เพราะ พนักงานรับโทรศัพทพดู จาไมเขาหูลกู คา หรือสรางความ ประทับใจในแงลบแกลูกคาเพียงคนเดียว 

“ขอทุกทาน จงทํางานของกองทัพอากาศ ดวยความละเอียดรอบคอบ”





รอบรู...อาเซียน

ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน Thailand Festival Guide Songkran Festival

Songkran is practiced in Southeast Asian countries like Thailand, Laos, Myanmar, Cambodia and Vietnam including South China. In Thailand, the Songkran festival is celebrated as the traditional New Year's Day from 13 to 15 April. April 13, Grand Songkran Day or New Year Eve, is the day of cleaning house, purifying both physically and mentally. People start the water festival. April 14, Day of the Between, is the day of performing activities and folk games such as making sand merits, building sand pagodas, Songkran Festival procession, cultural performance and entertainment, including water festival practice. April 15, Day of Celebration or New Year Day, is the day of celebrating New year. Merit making is performed by freeing fish and birds, devoting merits to passed away ancestors, blessing and begging for best wishes in good life to and from respected elderly, pouring sacred water to Buddhist images, monks and other religious symbols. Water festival is everywhere.

@Zilch

เทศกาลสงกรานต

สงกรานตเปนวันเฉลิมฉลองขึ้นปใหมของกลุม ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน ไทย ลาว เมียนมา กัมพูชา เวียดนาม รวมไปถึงบริเวณจีนตอนใต สําหรับ ประเทศไทยเทศกาลสงกรานตเปนการเฉลิมฉลองวัน ขึน้ ปใหมตามประเพณีไทยระหวางวันที่ ๑๓ - ๑๕ เมษายน ของทุกป วันที่ ๑๓ เมษายน เรียกวา วันมหาสงกรานต หรือ วันสงทายปเกา เปนวันทําความสะอาดบานเรือน ชําระลาง รางกายและจิตใจใหใสสะอาด และเริม่ มีการเลนสาดน้าํ เปน วันแรก วันที่ ๑๔ เมษายน เรียกวา วันกลาง หรือวันเนา เปนวันที่มีการจัดกิจกรรมการละเลนพื้นบานมากมาย เชน ขนทรายเขาวัด กอพระเจดียทราย ขบวนแหประเพณี สงกรานต การแสดงทางวัฒนธรรมและมหรสพอื่น ๆ และ ยังรวมถึงการเลนสาดน้ําดวย วันที่ ๑๕ เมษายน เรียกวา วันเถลิงศก หรือวัน ขึ้นปใหมเปนวันทําบุญตักบาตรตอนรับปใหม ปลอยนก ปลอยปลา อุทิศสวนกุศลใหแกบรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว มีการรดน้ําดําหัวผูใหญ ผูที่เคารพนับถือ เพื่อเปนการขอขมา และขอพรปใหม เพื่อเปนสิริมงคลตอชีวิต ตลอดจนมีการ สรงน้าํ พระสงฆ พระพุทธรูป สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิส์ าํ คัญคูบ า นคูเ มือง อีกดวย และวันนี้ยังคงมีการเลนสาดน้ําอยูเชนกัน

แหลงขอมูลและภาพ - https://en.wikipedia.org/wiki/Songkran_(Thailand) - http://www.thewisetraveller.com/Blog/ID/2103/Songkran-Thailand 2015 - http://asiaplacestosee.com/songkran-the-water-festival-bangkok/


เฉลยปริศนาอักษรไขว ประจําเดือน ก.พ.๕๙ มีน

รายชื่อผูโชคดี จํานวน ๓ ทาน ดังนี้ - น.ต.หญิง เพ็ญพิศ ผจงวิริยาทร รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. โทร.๒-๗๑๔๑ - น.ต.หญิง ศิโรรัตน มงคลหมู สบศ.บก.ยศ.ทอ. โทร.๒-๓๕๕๙ - ร.ต.พงศธร อุนนันกาศ สบ.ทอ. โทร.๒-๑๕๗๕ กรุณาติดตอรับรางวัล ๆ ละ ๓๐๐ บาท จากสํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ หอง ๑๐๑ ชั้น ๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ ภายใน พ.ค.๕๙ โทร.๒-๔๒๔๑


มุมกฎหมาย

ร.ท.ชานุวัฒน แสงสุวรรณ นธน.ขส.ทอ.

มรดก คือ ทรัพยสินทุกชนิดของผูตาย เชน ที่ดิน บาน รถยนต เครื่องเพชร เงิน ในธนาคาร ตลอดจนสิทธิหนาที่และความรับผิดตาง ๆ เชน ภาระจํายอม สิทธิจํานอง สิทธิ ในเครือ่ งหมายการคา สิทธิเรียกรองตาง ๆ เชน สิทธิเรียกรองในฐานะเปนเจาหนีต้ ามสัญญา กูยืม เวนแตตามกฎหมายหรือโดยสภาพแลวเปนการเฉพาะตัวของผูตายโดยแท เชน สิทธิ ตามสัญญาเชา กรณีผูเชาตาย ถือวาสัญญาเชายอมระงับสิ้นสุดลง ทีส่ าํ คัญทรัพยสนิ ทีจ่ ะเปนมรดกไดนนั้ ตองเปนทรัพยสนิ ทีผ่ ตู ายมีอยูใ นขณะที่ ตายดวย ดังนั้น เงินบํานาญซึ่งไมใชทรัพยสินที่ผูตายมีอยูในขณะที่ตาย จึงไมเปนมรดกตามกฎหมาย  มรดกจะตกทอดแกทายาทเมื่อใด

มรดกจะตกทอดแกทายาทเมื่อเจามรดกถึงแก ความตาย อาจจะเปนการตายโดยเสียชีวติ หรือตายโดยผล ของกฎหมาย คือ ถูกศาลสัง่ ใหเปนคนสาบสูญก็ได กองมรดก ของบุคคลนัน้ ยอมตกทอดแกทายาทโดยสิทธิตามกฎหมาย เรียกวา ทายาทโดยธรรม มี ๖ ลําดับ ดังนี้ ลําดับที่ ๑ ผูสืบสันดาน ไดแก ลูก หลาน เหลน ลื้อ ลําดับที่ ๒ บิดา มารดา ลําดับที่ ๓ พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ลําดับที่ ๔ พี่นองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน ลําดับที่ ๕ ปู ยา ตา ยาย ลําดับที่ ๖ ลุง ปา นา อา สําหรับคูสมรสที่ถูกตองตามกฎหมายและยังมี ชีวิตอยู ถือเปนทายาทโดยธรรมดวย และหากเจามรดก ทําพินยั กรรมยกทรัพยใหผใู ดไว มรดกยอมตกทอดแกผนู นั้ เรียกวา ผูรับพินัยกรรม การแบงมรดกของทายาทโดยธรรม ในลําดับและ ชั้นตาง ๆ มีหลักการทางกฎหมาย ดังนี้ ๑. ถาเจามรดกมีทายาทโดยธรรมในลําดับชั้น ตาง ๆ หลายชั้น ผูมีสิทธิรับมรดก ไดแก ทายาทโดยธรรม

ในลําดับตน สวนทายาทลําดับรองลงมาไมมสี ทิ ธิรบั มรดก ยกเวน กรณีผูตายมีทายาทโดยธรรมทั้งลําดับที่ ๑ และ ๒ (ผูส บื สันดานและบิดามารดา) กฎหมายบัญญัตใิ หบดิ า และมารดามีสิทธิไดรับมรดกของผูตายเสมือนเปนบุตร ของผูตาย ตัวอยางเชน นาย ก ตายโดยไมไดทาํ พินยั กรรม มีเงินอยูกอนตาย จํานวน ๔๐,๐๐๐ บาท มีบุตร ๒ คน คือ นายเขียวและนายขาว และบิดามารดาของนาย ก ยังมีชีวิตอยูทั้งสองคน คือ นายสีและนางสม และยังมี ปู ยา ตา ยาย และลุง ปา นา อา ดวย ผูมีสิทธิรับมรดก เงินจํานวน ๔๐,๐๐๐ บาท ของนาย ก ไดแก นายเขียว กับนายขาว ในฐานะทายาทลําดับที่ ๑ และนายสีกับ นางสม ในฐานะทายาทลําดับที่ ๒ ซึ่งมีสิทธิเสมือนหนึ่ง วาเปนบุตร เปนจํานวนเงินคนละ ๑๐,๐๐๐ บาท สวนปู ยา ตา ยาย และลุง ปา นา อา นั้น เปนทายาทโดยธรรม ลําดับที่ ๕ และ ๖ ซึง่ อยูล าํ ดับหลังจึงไมมสี ทิ ธิไดรบั มรดก ๒. กรณีผูตายมีคูสมรสที่ถูกตองตามกฎหมาย และยังมีชีวิตอยู แมผูตายจะมีทายาทโดยธรรมในลําดับ ใดก็ตาม คูสมรสมีสิทธิไดรับมรดกเสมอ แตตองแบงสิน สมรสระหวางผูต ายกับคูส มรส จากนัน้ นําสินสมรสในสวน ของผูตายไปแบงในระหวางทายาทตามหลักเกณฑ ดังนี้


เมษายน ๒๕๕๙ ๒.๑ ถาผูตายมีทายาทโดยธรรมในลําดับ ที่ ๑ (ผูสืบสันดาน) คูสมรสจะมีสิทธิไดรับมรดกเสมือน หนึ่งวาเปนบุตรของผูตาย ตัวอยางเชน นาย ก ตายโดยไมไดทาํ พินยั กรรม มีเงินอยูกอนตาย ๒๐,๐๐๐ บาท มีบุตร ๑ คน ภริยาและ บุตรของนาย ก จะไดรับเงินมรดกคนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ๒.๒ ถาผูตายมีทายาทโดยธรรมในลําดับ ที่ ๒ (บิดามารดา) หรือมีทายาทโดยธรรมลําดับที่ ๓ (พีน่ อ งรวมบิดามารดาเดียวกัน) คูส มรสมีสทิ ธิไดรบั มรดก ครึ่งหนึ่ง ตัวอยางเชน นาย ก มีเงินอยูกอนตาย ๖๐๐,๐๐๐ บาท บิดามารดาของนาย ก ยังมีชีวิตอยู ภริยาของนาย ก จะไดรับเงินมรดกครึ่งหนึ่ง คือ จํานวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท สวนบิดามารดาของนาย ก จะไดรับเงิน มรดกคนละ ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๒.๓ ถาผูตายมีทายาทโดยธรรมลําดับ ที่ ๔ (พี่นองรวมบิดาหรือรวมมารดาเดียวกัน) หรือมี

ขาวทหารอากาศ ๑๐๕ ทายาทโดยธรรมลําดับที่ ๕ (ปู ยา ตา ยาย) หรือมีทายาท โดยธรรมลําดับที่ ๖ (ลุง ปา นา อา) คูสมรสมีสิทธิไดรับ มรดก ๒ ใน ๓ สวน ตัวอยางเชน นาย ก ตายโดยไมไดทํา พินัยกรรม มีเงินอยูกอนตาย ๙๐๐,๐๐๐ บาท มีพี่รวม บิดา ๑ คน นองรวมมารดา ๑ คน ภริยาของนาย ก มีสิทธิไดรับเงินมรดก ๒ ใน ๓ สวน คือ ๖๐๐,๐๐๐ บาท สวนพี่รวมบิดาและนองรวมมารดาของนาย ก ไดรับเงิน มรดกคนละ ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๒.๔ ถาผูตายไมมีทายาทโดยธรรมอยูเลย คงมีแตคสู มรส มรดกทัง้ หมดตกแกคสู มรสแตเพียงผูเ ดียว ๓. กรณีมีทายาทโดยธรรมในลําดับเดียวกัน หลายคน ใหทายาทโดยธรรมเหลานั้นไดรับมรดกคนละ สวนเทา ๆ กัน ตัวอยางเชน นาย ก มีเงินมรดก ๔๐,๐๐๐ บาท มีลุง ๑ คน ปา ๑ คน นา ๑ คน และอา ๑ คน แตละคน มีสิทธิไดรับเงินมรดกของนาย ก คนละ ๑๐,๐๐๐ บาท


๑๐๖ ขาวทหารอากาศ

เมษายน ๒๕๕๙

๔. กรณีมผี สู บื สันดานหลายชัน้ ในระหวางทายาท โดยธรรมลําดับที่ ๑ ผูส บื สันดานชัน้ ทีใ่ กลชดิ เจามรดกเทานัน้ ทีม่ สี ทิ ธิในมรดก ผูส บื สันดานชัน้ ถัดไปจะมีสทิ ธิไดรบั มรดก ก็แตเฉพาะการรับมรดกแทนที่ ตัวอยางเชน นาย ก มีเงินมรดก ๔๐๐,๐๐๐ บาท มีลูก ๑ คน คือ นายดํา และนายดํามีลูก ๑ คน คือ นายขาว แตนายดําถึงแกความตายกอนนาย ก เงินมรดกจํานวน ๔๐๐,๐๐๐ บาท จึงตกทอดแกนายขาว ซึ่งเปนผูรับมรดก แทนที่นายดํา ๕. ผูสืบสันดาน หมายถึง บุตรที่เกิดจากบิดา

มารดาที่จดทะเบียนสมรสกันโดยชอบดวยกฎหมาย ถา บิดามารดาไมไดจดทะเบียนสมรส กฎหมายบัญญัติให เปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมายของมารดาเทานั้น จะเปน บุตรที่ชอบดวยกฎหมายของบิดาตอเมื่อบิดามารดาได จดทะเบียนสมรสกันภายหลัง หรือบิดาไดจดทะเบียน รับรองวาเปนบุตร หรือศาลมีคาํ พิพากษาวาเปนบุตรของ บิดา หรือบิดาใหการรับรองดวยการใหการอุปการะเลีย้ งดู ใหการศึกษา ใหใชนามสกุล จึงจะถือวาเปนผูสืบสันดาน ตามกฎหมาย นอกจากนี้ บุตรบุญธรรมตามกฎหมายก็มี สิทธิรับมรดกของผูรับบุตรบุญธรรมไดดวยเชนกัน (ฉบับหนาติดตาม การรองขอเปนผูจัดการมรดก)

เฉลยปริศนาอักษรไขว ประจําเดือน เม.ย.๕๙ มีน


óú Ă ðøĊßćǰÝĆîìøŤēĂßćǰðú ÖĀ ǰøĆïöĂïđÙøČĂę ÜĒïïìĀćøĂćÖćýÝćÖǰ óú Ă Ă êøĊìýǰÿîĒÝšÜǰñï ìĂ ǰǰèǰǰÖøąìøüÜÖúćēĀöǰǰǰ

óú Ă Ă êøĊìýǰÿîĒÝšÜǰñï ìĂ ǰĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰ.S (MZOǰ5PXOTFOEEBWJFTǰ đĂÖĂĆÙøøćßìĎêüĉÿćöĆâñĎšöĊĂĈîćÝđêĘöĒĀŠÜÿĀøĆåĂđöøĉÖćǰĔîēĂÖćÿđךćđ÷Ċę÷öÙĈîĆïǰǰ èǰǰĀšĂÜøĆïøĂÜóĉđýþǰĢǰïÖ ìĂ ǰđöČĂę ǰĨǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă Ă êøĊìýǰÿîĒÝšÜǰñï ìĂ ǰđðŨîðøąíćîĔîóĉíĊ×Ă×öćúćĂčðÿöïì×ĂÜǰîîĂ ǰßĆîĚ ðŘìǰęĊ Ĥǰ øčîŠ ìĊǰę ħģǰÝĈîüîǰħĥǰÙîǰēé÷öĊǰóú Ă ì ÞĆêøßĆ÷ǰïčââćîčøÖĆ þŤǰñï øø îîÖ ǰÖúŠćüøć÷Üćîǰ èǰǰĀšĂÜøĆïøĂÜǰìĂ ǰđöČęĂǰĩǰöĊ Ù ĦĪ

"$.ǰ.BSTIBMǰ.BSLǰ#JOTLJOǰñĎšïĆâßćÖćøìĀćøÿĎÜÿčéĂĂÿđêøđúĊ÷øŠüöÜćîüĆîÖĂÜìĆóĕì÷ǰ ēé÷öĊǰî Ă ĂéĉýøǰĂčèĀđú×Öąǰñßì ǰĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰǰèǰǰÿëćîđĂÖĂĆÙøøćßìĎêĕì÷ǰ ÖøčÜĒÙîđïĂøŠćǰđöČęĂǰĪǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă Ă êøĊìýǰÿîĒÝšÜǰñï ìĂ ǰøĆïđ÷Ċę÷öÙĈîĆïÝćÖǰ(Q $BQU 6 ǰ4IBISJMǰ"OXBSǰCJOǰ )BKJ .BBXJBIǰñï ìĂ ïøĎĕîǰǰèǰǰĀšĂÜøĆïøĂÜóĉđýþǰĢǰïÖ ìĂ ǰđöČęĂǰģǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă Ă êøĊìýǰÿîĒÝšÜǰñï ìĂ ǰïøø÷ć÷óĉđýþǰđøČĂę ÜǰÖćøóĆçîćÖĂÜìĆóĂćÖćýǰĒúąøĆïôŦÜ ÖćøîĈđÿîĂñúÜćîÖćøîĈîē÷ïć÷ǰñï ìĂ ǰðŘǰĦĪǰÿĎÖŠ ćøðäĉïêĆ ×ĉ ĂÜǰîìî ĀúĆÖÿĎêøǰîĂÿ øčîŠ ìĊǰę ħĪǰǰèǰǰĀšĂÜïøø÷ć÷ǰđöîąøčÝǰĉ øø îĂÿ ÷ý ìĂ ǰđöČĂę ǰģĢǰöĊ Ù ĦĪ


óú Ă Ă üĆíîǰöèĊî÷Ć ǰøĂÜǰñï ìĂ ðøąíćîÖøøöÖćøÖĊāćǰìĂ ǰđðŨîðøąíćîĔîóĉíđĊ ðŗéÖćøĒ׊Ü×Ćî ÖĊāćõć÷ĔîǰìĂ ǰÙøĆÜĚ ìĊǰę ĥĨǰðøąÝĈðŘǰģĦĦĪǰǰèǰǰÿîćöÖĊāćǰìĂ ǰ íĎðąđêöĊ÷ Ť ǰđöČĂę ǰĦǰöĊ Ù ĦĪǰǰ

óú Ă Ă đñéĘÝǰüÜþŤðŗũîĒÖšüǰñß ñï ìĂ ǰđðŨîðøąíćîĔîóĉíĊöĂïđÙøČęĂÜĀöć÷đßĉéßĎđÖĊ÷øêĉ ñĎšìĈÙčèðøąē÷ßîŤĒÖŠǰìĂ ǰǰèǰǰĀšĂÜøĆïøĂÜóĉđýþǰĢǰïÖ ìĂ ǰđöČęĂǰĢĢǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă Ă ÝĂöǰøčŠÜÿüŠćÜǰđÿí ìĂ ǰđðŨîðøąíćîĔîóĉíĊðøąéĆïđÙøČęĂÜĀöć÷Ùüćöÿćöćøë ĔîÖćøïĉîóúđøČĂîǰìĂ ǰĒúąöĂïðøąÖćýîĊ÷ïĆêø×ĂÜĀîŠü÷òřÖÖćøïĉîóúđøČĂîĔĀšĒÖŠÿöćßĉÖ ìĊęÿĈđøĘÝĀúĆÖÿĎêøǰǰèǰǰĀšĂÜøĆïøĂÜǰìĂ ǰđöČęĂǰĢǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă Ă ÝĂöǰøčÜŠ ÿüŠćÜǰđÿí ìĂ ǰøĆïđ÷Ċ÷ę öÙĈîĆïǰ"$.ǰ.BTNVOǰ:BOǰ.BOHHFTBǰñß đÿí ìĂ ǰ ĂĉîēéîĊđàĊ÷òść÷ÙüćööĆîę ÙÜǰêćöēÙøÜÖćøĒúÖđðúĊ÷ę î׊ćüÿćøøąĀüŠćÜǰìĂ ǰÖĆïǰìĂ ĂĉîēéîĊđàĊ÷ǰǰ èǰǰĀšĂÜøĆïøĂÜóĉđýþǰĢǰïÖ ìĂ ǰđöČęĂǰĢǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă Ă íĊøÞĆêøŤǰÖøąēÝöĒÖšüǰñìÙ óĉđýþǰìĂ ðøąíćîĂîčÖøøöÖćøïøĉĀćøüćøÿćøĒúą ÿČęĂÿĉęÜóĉöóŤǰìĂ ǰđðŨîðøąíćîÖćøðøąßčöǰÙèĂÖ ïøĉĀćøüćøÿćøĒúąÿČęĂÿĉęÜóĉöóŤǰìĂ ǰ ÙøĆĚÜìĊęǰĤ ĦĪǰǰèǰǰĀšĂÜðøąßčöǰýïõ ìĂ ǰđöČęĂǰĢĩǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ì öćîąǰðøąÿóýøĊǰøĂÜǰđÿí ìĂ ǰ Öø ǰÖþ ǰóøšĂöÙèąǰêøüÝđ÷Ċ÷ę öÙüćöóøšĂöðäĉïêĆ Öĉ ćø ÿć÷üĉì÷ćÖćøĒïïøüöÖćøǰðøąÝĈðŘÜïðøąöćèǰĦĪǰÿŠüîÖĈúĆÜóúǰÖćøýċÖþćĒúąÖĉÝÖćøóĉđýþǰïî Ģǰ ēé÷öĊǰî Ă øąüĉîǰëîĂöÿĉÜĀŤǰñï ïî ĢǰĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰ


óú Ă ì ÿčøýĆÖéĉǰĝ ìčÜŠ ìĂÜǰøĂÜǰđÿí ìĂ ×ü ǰóøšĂöÙèąǰêøüÝđ÷Ċ÷ę öÿć÷üĉì÷ćÖćøĒïïøüöÖćø ÿŠüîÖĈúĆÜøï ǰēé÷öĊǰî Ă ÿøüĉßâŤǰÿčøÖčúǰñï ïî ĦǰĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰǰèǰǰĀšĂÜïøø÷ć÷ÿøčð òĎÜ ĦġĢǰđöČęĂǰĩǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ì ßćâùìíĉǰĝ óúĉÖćîîìŤǰñï Ă÷ ǰđðŨîðøąíćîĔîóĉíðĊ éŗ ÖćøýċÖþćĀúĆÖÿĎêøÿŠÜìćÜĂćÖćýǰ Ă÷ ǰøčŠîìĊęǰħĥǰ îîĂ ǰǰèǰǰýì÷ Ă÷ ǰđöČęĂǰĥǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ì ÞĆêøßĆ÷ǰïčââćîčøĆÖþŤǰñï øø îîÖ ǰóøšĂöÙèąǰךćøćßÖćøǰĒúąêĆüĒìîǰîîĂ ǰ ßĆîĚ ðŘìǰęĊ ĥǰøčîŠ ìĊǰę ħĢǰđךćđ÷Ċ÷ę öÙĈîĆïǰîć÷íîćíĉðǰĂčðêŦ ýĉ ùÜÙŤǰđĂÖĂĆÙøøćßìĎêǰǰèǰǰÖøčÜöąîĉúćǰ ÿćíćøèøĆåôŗúĉððŗîÿŤǰĔîēĂÖćÿìĊęǰîîĂ òřÖđéĉîĂćÖćýêŠćÜðøąđìýǰđöČęĂǰĪǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ì áđèýǰßúĉêõĉøêĆ ǰĉ ÝÖ ÷ý ìĂ ǰđðŨîđÝšćõćóÿüéóøąĂõĉíøøöǰóøąíøøöÿĉÜĀïčøćÝćø÷Ťǰ ĀúüÜóŠĂÝøĆâǰåĉêíöÚēö ǰĂéĊêđÝšćĂćüćÿüĆéĂĆöóüĆîǰìĊęðøċÖþćđÝšćÙèąõćÙǰĤǰĒúąĂéĊê đÝšćÙèąÝĆÜĀüĆéÿĉÜĀŤïčøĊǰǰèǰǰüĆéĂĆöóüĆîǰĂ óøĀöïčøĊǰÝü ÿĉÜĀŤïčøĊǰđöČęĂǰģǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ì õćîčóÜýŤǰđÿ÷÷ÜÙąǰÝÖ ÷Ö ìĂ ǰóøšĂöÙèąǰđךćøŠüöðøąßčöǰ1SPKFDUǰ.BOBHFNFOUǰ 3FWJFXǰ 1.3 ǰÙøĆÜĚ ìĊǰę ĨǰĒúąêĉéêćöÙüćöÖšćüĀîšćÖćøñúĉêđăúĉÙĂðđêĂøŤĒïïǰ&$ ǰøŠüöÖĆï ïøĉþĆìǰ"JSCVTǰ)FMJDPQUFSTǰǰèǰǰÿćíćøèøĆåòøĆęÜđýÿǰøąĀüŠćÜǰģĪǰÖ ó ǰ ǰħǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ì üĉøĉ÷ąǰöĊýĉøĉǰñĂ ÿÙö ìĂ ǰóøšĂöÙèąǰêøüÝđ÷Ċę÷öÿć÷üĉì÷ćÖćøǰēé÷öĊ î Ă ÿøüĉßâŤǰÿčøÖčúǰñï ïî ĦǰĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰǰèǰǰïî Ħǰ


óú Ă ê øĆßßćóÜþŤǰÿöîćöǰñï øø ÖćøïĉîǰđðŨîðøąíćîĔîóĉíĊÿŠÜöĂïēÙøÜÖćøðøĆïðøčÜ ÿõćóĒüéúšĂöĒúąßŠü÷đĀúČĂðøąßćßîǰðøąÝĈðŘǰĦĪǰēé÷öĊǰî ì ÿčüç Ć îŤǰõćüēîǰÙøĎĔĀ⊠ÿëćîĂîčïćúđéĘÖđúĘÖÝĆîìøčđïÖþćǰøø ÖćøïĉîǰđðŨîñĎšøĆïöĂïǰđöČęĂǰĩǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ê ĂîčßĉêǰĒÖšüðøąÿóǰÝÖ ÿÖ ìĂ ǰóøšĂöéšü÷ǰî ñĎšĔĀâŠǰךćøćßÖćøǰúĎÖÝšćÜ ĒúąóîĆÖÜćîøćßÖćøǰđךćøŠüöĔîóĉíüĊ ĆîÙúšć÷üĆîÿëćðîćǰÿÖ ìĂ ǰÙøïøĂïǰħģǰðŘ èǰǰĂćÙćøǰïÖ ÿÖ ìĂ ǰđöČęĂǰģǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ê üÜýÖøǰđðćēøĀĉê÷ŤǰøĂÜǰñï Ă÷ ðøąíćîÙèąÖøøöÖćøêøüÝÿĂïÙüćöóøšĂöøïǰ óøšĂöÙèąǰìéÿĂïĒñîðŜĂÜÖĆîìĊęêĆĚÜǰïî Ħħǰēé÷öĊǰî Ă ĂöùêǰÖîÖĒÖšüǰñï ïî Ħħǰ ĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰǰèǰǰúćîÝĂéĂćÖćý÷ćîǰòĎÜ ĦħĢǰđöČęĂǰĨǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ê đÞúĉöüÜþŤǰÖĊøćîîìŤǰñï éö ǰóøšĂöõøĉ÷ćǰîĈךćøćßÖćøǰÿî ñï éö øŠüöúÜîćöëüć÷óøąóøǰóøąïćìÿöđéĘÝóøąđÝšćĂ÷ĎŠĀĆüǰǰèǰǰýćúćÿĀìĆ÷ÿöćÙö ĔîóøąïøööĀćøćßüĆÜǰđöČęĂǰĪǰöĊ Ù ĦĪ

óú Ă ê îšĂ÷ǰõćÙđóĉęöǰñï üìĂ ÷ý ìĂ ǰĕéšøĆïđÖĊ÷øêĉÝćÖÙèąìĊöÜćîǰ"JSǰ6OJWFSTJUZ 64"'ǰÝĆéÖćøÿĆööîćđßĉÜðäĉïĆêĉÖćøøŠüöÖĆïǰÙèąĂćÝćø÷ŤǰüìĂ ĄǰĔîđøČęĂÜđÖĊę÷üÖĆï ÖćøÝĆéìĈ÷čìíýćÿêøŤĔĀšĒÖŠǰîý üìĂ ǰǰèǰǰüìĂ ÷ý ìĂ ǰ

óú Ă ê ÿößć÷ǰîčßóÜþŤǰñĂ ÿ÷ò ÷Ö ìĂ ĀĆüĀîšćÿĈîĆÖÜćîýĎî÷ŤĂĈîü÷ÖćøðŜĂÜÖĆîĒúą ðøćïðøćö÷ćđÿóêĉéǰìĂ ǰóøšĂöÙèąǰđ÷Ċę÷öýĎî÷ŤôŚŪîôĎÿöøøëõćóñĎšêĉé÷ćđÿóêĉéǰïî Ģǰ ēé÷öĊǰî Ă øąüĉîǰëîĂöÿĉÜĀŤǰñï ïî ĢǰĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰ


î Ă èøÜÙŤýÖĆ éĉǰĝ óĉßêĉ ßēúíøǰñĂ ýìï ÷ý ìĂ ǰóøšĂöÙèąǰìĈÖćøìéÿĂïüĉõćüüĉÿ÷Ć ĔĀšĒÖŠ ךćøćßÖćøǰĒúąóîĆÖÜćîøćßÖćøǰïî Ħħǰēé÷öĊǰî Ă ÿčìíĉóÜþŤǰüÜþŤÿüĆÿéĉǰĝ øĂÜǰñï ïî Ħħǰ ĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰǰèǰǰĀĂðøąßčöǰïî ĦħǰđöČęĂǰĪǰöĊ Ù ĦĪ

î Ă öîĎâǰßČęîßöÙčèǰøĂÜǰñĂ ÿîõ ìĂ ǰóøšĂöÙèąǰêøüÝđ÷Ċę÷öòść÷ĂĈîü÷ÖćøîĉøõĆ÷ǰïî ģǰ ēé÷öĊǰî Ă đÝþãćǰĒìŠÜìĂÜÙĈǰñï ïî ģǰĔĀšÖćøêšĂîøĆïǰǰèǰǰĀšĂÜðøąßčöǰïî ģǰđöČĂę ǰĪǰöĊ Ù ĦĪ

î Ă ĂöùêǰÖîÖĒÖšüǰñï ïî Ħħ øĂÜǰñï ÖÖú ìĂ ÞÖ ĪǰđðŨîðøąíćîđðŗéēÙøÜÖćø ÿĆööîćÖćøĔßšÖĈúĆÜìćÜĂćÖćýĔîóČĚîìĊęÝĆÜĀüĆéßć÷ĒéîĔêšǰǰèǰǰēøÜĒøöđàĘîìćøćǰĀćéĔĀâŠǰ Ă ĀćéĔĀâŠǰÝü ÿÜ×úćǰđöČęĂǰĥǰöĊ Ù ĦĪ

î Ă íîđÿãåŤǰíøøöĂĈîü÷ÖĉÝǰñï ïî ģĤǰđðŨîðøąíćîĔîóĉíđĊ ðŗéĂïøöēÙøÜÖćøõćþćĂĆÜÖùþ đóČęĂóĆçîćÙüćöøĎšĔĀšĒ֊ךćøćßÖćøǰïî ģĤǰǰèǰǰĀšĂÜđïĂøŤđîĂøŤǰïî ģĤǰđöČęĂǰĨǰöĊ Ù ĦĪ

î Ă îđøýǰđ÷Ċę÷öÿëćîǰđÿí ïî ĢǰîĈǰýïõ ïî ĢǰøŠüöÖĆïǰĂïê ĀîĂÜÖøąìčŠöÝĆéÖĉÝÖøøö ×čéúĂÖÙĎÙúĂÜÖĈÝĆéñĆÖêïßüćĒúąüĆßóČßîĚĈǰđóČęĂđóĉęöðøąÿĉìíĉõćóÖćøøąïć÷îĚĈǰðŜĂÜÖĆî ĂčìÖõĆ÷ĔîߊüÜùéĎòîǰđöČęĂǰģǰöĊ Ù ĦĪ

ךćøćßÖćøǰúĎÖÝšćÜǰóîĆÖÜćîøćßÖćøǰìÿÿ ìĂ ǰđךćøŠüöòřÖàšĂöéĆïđóúĉÜĒúąĂó÷óĀîĊĕôǰǰ èǰǰïøĉđüèĀîšćĂćÙćøóĆÿéčǰìÿÿ ìĂ ǰđöČęĂǰĪǰöĊ Ù ĦĪ







Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.