ตามรอย
ขาวทหารอากาศ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ เจาของ
กองทัพอากาศ
ที่ปรึกษา
พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง
พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑไพโรจน พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
พล.อ.ต.ธนบดี อุตะมะ พล.อ.ต.นอย ภาคเพิ่ม น.อ.ไววิทย เสือดี น.อ.ศุภโชติ ชัยวงษ น.อ.กานตชนก หันหาบุญ น.อ.วันชัย บุญภักดี
พล.อ.ต.นพดล บุญมั่น พล.อ.ต.สําเริง พูลเพิ่ม น.อ.ขวัญกลา นกเอี้ยงทอง น.อ.วันชัย พึ่งเจียม น.อ.หญิง วิภาดา ชนไมตรี น.อ.ณรงคศักดิ์ พิชิตชโลธร
ผูอํานวยการ
พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ เจากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ
รองผูอํานวยการ
พล.อ.ต.คุณทร มณีเขียว เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.อัมพร ทองถม รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจัดการ น.อ.สหัสชัย มาระเนตร ผูชวยผูจัดการ น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ ผูชวยบรรณาธิการ น.อ.หญิง ธัญญาภรณ พันธุเพ็ง น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี ประจํากองบรรณาธิการ น.อ.หญิง วรรณิภา ยี่ประชา น.อ.นิพนธ กอสินคา น.อ.หญิง วัลภาภรณ มูลละ น.ท.สินธพ ประดับญาติ น.ท.หญิง วรรณวิไล เนียมวงษ น.ท.หญิง ยุพเรศ วงศมีศักดิ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห กองจัดการ น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง น.อ.อุรุพงษ แสงจันทร ร.อ.สุวัฒน ประชากูล ร.ต.ชัดชัย ชาวดร พ.อ.อ.หญิง เฉลา แกวยศ นาง อมรา หัตถมาศ
หนังสือขาวทหารอากาศ ความเปนมา
หนังสือขาวทหารอากาศ เปนนิตยสารรายเดือนของกองทัพ อากาศ เริ่มดําเนินการเมื่อป พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรมขาวทหารอากาศ มีนาวาอากาศเอก สกล รสานนท เปนบรรณาธิการคนแรก ดําเนินการ โดยทุนของขาราชการทหารอากาศ ตอมาป พ.ศ.๒๔๙๘ ไดโอนกิจการ มาอยูในความอํานวยการของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ไดเขาอยูในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กํากับดูแลโดยคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพกองทัพ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค.๕๒ กําหนดใหใชระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพ อากาศ วาดวยการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒
ภารกิจ
ดําเนินกิจการหนังสือขาวทหารอากาศ ใหเปนไปตามนโยบายของ คณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ มีผอู าํ นวยการ หนังสือขาวทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ
วัตถุประสงค
๑. เพื่อเพิ่มพูนความรูในกิจการทั่ว ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในดานการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม อันจะ เปนประโยชนตอสวนรวม ๓. เพื่อเผยแพรกิจการกองทัพอากาศ
การดําเนินงาน
๑. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น ที่เปน ประโยชนในการพัฒนากองทัพและสวนรวม ๒. เรื่องที่นําลงในหนังสือขาวทหารอากาศ - ตองไมขัดตอวัตถุประสงค/นโยบาย กองทัพอากาศ - ตองไมกระทบตอความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ สวนรวม - ตองไดรับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการ พิจารณาเรื่องของสํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ
กําหนดการเผยแพร
นิตยสารรายเดือน
สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th หอง ๑๐๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ แฟกซ ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑
พิมพที่ บริษัท ปรีชาธร อินเตอรพริ้น จํากัด ๔/๕ ซอย รามอินทรา ๔๒ แยก ๘ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐ โทร. ๐-๒๙๓๐-๗๐๕๓-๔ แฟกซ ๐-๒๙๓๐-๗๐๕๐ คาสมาชิกภายนอกปละ ๓๕๐ บาท (รวมคาสง) สั่งจาย ปณ.คลองถนน ๑๐๒๒๒
ความคิดเห็นของผูเขียนในหนังสือฉบับนี้ ไมมีสวนผูกพันกับทางราชการแตประการใด ภาพที่ลงในหนังสือขาวทหารอากาศนํามาจาก google.com ออกแบบปก : น.ท.สินธพ ประดับญาติ/จ.ท.หญิง รัฐพร เตชะสินทวี E-mail: rtafmag@gmail.com
ส
ารบัญ
บทบรรณาธิการ วันวิสาขบูชา ...น.อ.เกษม พงษพันธ วันฉัตรมงคล ...น.อ.เกษม พงษพันธ อุตสาหกรรมปองกันประเทศ กับการสรางเศรษฐกิจไทย ...สทป. ๑๙ ISR ...น.อ.ทศพร เนตรหาญ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖
๒๓ การใชกําลังทางอากาศรองรับความมั่นคงรูปแบบใหม ในศตวรรษที่ 21 ...น.ท.พรอมรบ จันทรโฉม ๒๗ งูในรังพญาอินทรี : การโจมตีฐานบินในประเทศไทย ...น.อ.วัชระ สกุลรัตน ๓๑ อําลา เครื่องบินแบบ AVRO 748 ...พ.อ.อ.รัชต รัตนวิจารณ ๓๖ ศูนยขอมูลกองทัพอากาศ (RTAF Data Center) ...น.ท.อนุโชต วุฒิพรพงษ ๔๑ โครงการพลังงานแสงอาทิตยของกองทัพอากาศ ...น.ต.วสันต เชวงเศรษฐกุล ๔๓ มุมมอง CCTV กับการนํามาใชในยุคดิจิทลั ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ๔๘ กองทัพอากาศกับการแกไขปญหาเรงดวน ตามนโยบายของรัฐบาล (ICAO) ...พล.อ.อ.ปรีชา ประดับมุข ๕๔ เวลาการตูน ...มิสกรีน ๕๖ CROSSWORD ...อ.วารุณี
ปที่ ๗๖ ฉบับที่ ๕ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙
๕๙ Tor-M2E เพชฌฆาต UAV ...น.ท.วัชรพงษ กลีบมวง ๖๕ สายตรวจรถจักรยาน สห.ทอ. ...สน.ผบ.ดม. ๖๖ สัจจะ...กับราชการใสสะอาดของกองทัพอากาศและ ความมั่นคงของประเทศ ...น.อ.ชัยวัฒน แจมดวง ๗๑ ๖๓ ป กาวสูความมั่นคงและยั่งยืน โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช ...พล.อ.ท.ฉัตรชัย บุญญานุรักษ ๗๕ ภาษาไทยดวยใจรัก : มาลีหลากนาม ...นวีร
๗๗ ครูภาษาพาที : อรอยยังไงไมใหอึดอัด ...Ms. Carrot ๘๑ มุมกฎหมาย : การรองขอเปนผูจัดการมรดก ...ร.ท.ชานุวัฒน แสงสุวรรณ ๘๓ มุมสุขภาพ : บุหรี่...ภัยรายใกลตัว ...พญ.ศศิผกา สินธุเสน และ น.ต.นพ.สุรินทนาท เจริญจิตต รพ.บน.23 ๘๖ รอบรู...อาเซียน : เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน ...@Zilch ๘๗ ขอบฟาคุณธรรม : เปนผูวางตัวไดงดงามตามฐานะ ...1261 ๙๐ เฉลย CROSSWORD ประจําเดือน พ.ค.๕๙ ...อ.วารุณี ๙๑ ในรั้วสีเทา
บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ สมาชิกหนังสือขาวทหารอากาศทุกทาน เดือนพฤษภาคมเปนอีกเดือนหนึ่งที่มีวันสําคัญทางประวัติศาสตรของไทยใหสมาชิกไดนอมรําลึก วันที่ ๕ พฤษภาคมของทุกป วันฉัตรมงคล เปนวันที่ระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรง พระราชพิธีพระบรมราชาภิเษกขึ้นครองราชสมบัติเปนพระมหากษัตริยรัชกาลที่ ๙ แหงราชวงศจักรี และในวันนี้พระองคทรงมี พระปฐมบรมราชโองการในพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษกวา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชน ชาวสยาม” วันที่ ๙ พฤษภาคม วันพืชมงคล เปนวันที่กําหนดพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ซึ่งเปนพระราชพิธีเกามา แตโบราณที่สืบเนื่องมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เพื่อเปนการระลึกถึงความสําคัญของเกษตรกรและเสริมสราง ขวัญกําลังใจแกเกษตรกรของชาติ โดยพระราชพิธีนี้จะกระทําที่ทองสนามหลวง ประกอบดวย ๒ พระราชพิธี คือ พระราชพิธี พืชมงคล และพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม วันวิสาขบูชา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๖ ถือเปนวันสําคัญที่สุดทางพระพุทธศาสนา เปน วันทีพ่ ระสัมมาสัมพุทธเจาทรงประสูติ ตรัสรู และปรินพิ พาน องคการสหประชาชาติจงึ ไดกาํ หนดใหเปนวันสําคัญของโลก เรียกวา Vesak Day โดยใหเหตุผลวา พระองคทรงเปนมหาบุรษุ ผูใ หความเมตตาตอหมูม วลมนุษย ทรงเปดโอกาสใหทกุ ศาสนาสามารถ เขามาศึกษาพุทธศาสนาเพื่อพิสูจนหาขอเท็จจริงได โดยไมจําเปนตองเปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ พุทธศาสนิกชนทุกคน ตางนอมรําลึกถึงพระวิสุทธิคุณ พระปญญาคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ ของพระองคที่มีตอมวลมนุษยและสรรพสัตว วันที่ ๓๑ พฤษภาคมของทุกป วันงดสูบบุหรี่โลก (World No Tobacco Day) โดยองคการอนามัยโลก ไดเล็งเห็น อันตรายของบุหรีแ่ ละสุขภาพของผูส บู บุหรี่ รวมถึงผูท ไี่ มสบู แตตอ งมารับควันบุหรี่ จึงกระตุน ใหประชาชนทัว่ โลกไดตระหนักถึง พิษภัยและโทษของบุหรี่ ซึง่ หนังสือขาวทหารอากาศเห็นความสําคัญดังกลาว จึงอยากใหสมาชิกไดอา นบทความในฉบับ บุหรี.่ .. ภัยรายใกลตัว ปกฉบับนี้ เครือ่ งบินแบบ AVRO 748 เปนเครือ่ งบินทีก่ องทัพอากาศนอมเกลาฯ ถวายเปนเครือ่ งบินพระราชพาหนะ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๐๗ และไดทําการปลดประจําการ ไปแลวเมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๙ ซึ่งสมาชิกสามารถติดตามไดจากบทความเรื่องเดน อําลา เครื่องบินแบบ AVRO 748 บทความเรื่องเดนอีกเรื่อง Tor-M2E เพชฌฆาต UAV SAM รุนลาสุดของรัสเซีย ซึ่งกําลังไดรับความสนใจจากเหลาทัพ หลายประเทศทั่วโลก สามารถใชตอตานเปาหมายที่เปนภัยคุกคามทางอากาศไดหลายประเภทและที่สําคัญคือตอตาน UAV รวมทั้งเรื่อง มุมมอง CCTV กับการนํามาใชในยุคดิจิทัล เปนเรื่องเกี่ยวกับระบบโทรทัศนวงจรปดที่มีอยูทั่วประเทศ ซึ่งถือวา เปนเครื่องมือที่มีศักยภาพในการปองกันและแจงเตือนกอนที่อันตรายนั้นจะเกิดขึ้น นอกจากนี้ยังมีบทความที่นาสนใจจาก นักเขียนหนาใหมอีกหลายเรื่องใหสมาชิกไดติดตาม """ บรรณาธิการ
zzz
รอบรูเทคโนโลยีปองกันประเทศ อุตสาหกรรมปองกันประเทศกับการสรางเศรษฐกิจไทย อุตสาหกรรมปองกันประเทศ เปนอุตสาหกรรมที่ ไมปรากฏชือ่ ในระบบอุตสาหกรรมของประเทศไทย ในขณะที่ หลาย ๆ ประเทศไดใหความสําคัญอยางมากตออุตสาหกรรม ปองกันประเทศ เชน กลุมประเทศที่จัดอยูในกลุมประเทศ ชั้นนํา หรือ “First Tier” ซึ่งเปนประเทศที่มีอุตสาหกรรม ปองกันประเทศสมบูรณแบบและครบวงจร สามารถพัฒนา องคความรูต อ ยอดไดถงึ ระดับสูงสุด เชน สหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน และกลุมประเทศยุโรปตะวันตก สวนกลุมประเทศที่จัด อยูในกลุมที่ 2 หรือ “Second Tier” ที่มีอุตสาหกรรม ปองกันประเทศครบวงจร แตยังไมสามารถพัฒนาองคความ รูตอยอดไดถึงระดับสูงสุดดวยขอจํากัดบางประการ เชน ขอจํากัด ดานเศรษฐกิจหรือการเมือง ตัวอยางประเทศใน กลุม นี้ ไดแก เกาหลีใต อินเดีย บราซิล อารเจนตินา อิสราเอล ออสเตรเลีย สิงคโปร แคนาดา และแอฟริกาใต โดยภาค อุตสาหกรรมปองกันประเทศของทั้งสองกลุมนี้ มีขนาด ใหญสามารถนํารายไดเขาประเทศอยางมหาศาล นอกจากนี้ ยังสรางความมั่นคงในลักษณะของการพึ่งพาตนเองได อีกดวย สําหรับประเทศไทย จัดอยูใ นกลุม ที่ 3 หรือ “Third Tier” มีขดี ความสามารถเพียงเพือ่ การซอมบํารุงและสราง อาวุธยุทโธปกรณบางประเภทสนับสนุนใหแกกองทัพเทานัน้ บริษทั เหลานีส้ ว นมากยังไมมขี ดี ความสามารถสูงพอทีจ่ ะสง ออกผลิตภัณฑที่สามารถแขงขันในตลาดสากลได ปจจัยที่ สําคัญทีส่ ดุ อีกประการหนึง่ ของการสรางอุตสาหกรรมปองกัน ประเทศ คือ การใหความสําคัญตอการวิจยั และพัฒนาดาน เทคโนโลยีปองกันประเทศ อันเปรียบเสมือนองคความรูที่ จะใชเปนจุดกําเนิดของอุตสาหกรรมปองกันประเทศ
สทป.
อุตสาหกรรมปองกันประเทศ เปนอุตสาหกรรม หนึ่งที่เปนโอกาสและมีศักยภาพที่จะสรางและพัฒนา ใหตอบสนองตรงตามความตองการดานยุทโธปกรณ ของกองทัพ และกอใหเกิดประโยชนตอภาคเศรษฐกิจ ของประเทศไทย ซึง่ หลายประเทศในโลกรวมถึงประเทศ เพื่อนบานหลายประเทศ เชน มาเลเซีย อินโดนีเซีย และ สิงคโปร ก็ไดพฒ ั นาอุตสาหกรรมดานนีอ้ ยางจริงจัง เพราะ นอกจากจะนํารายไดเขาสูประเทศและสรางงานใหแก ประชาชนเชนเดียวกับอุตสาหกรรมประเภทอื่นแลว ยัง เปนการสรางความมั่นคงในดานการทหารของชาติ อีกดวย เมื่อพิจารณาที่นโยบายของรัฐบาลประเทศตาง ๆ ที่ประสบความสําเร็จในการสรางและพัฒนาเทคโนโลยี ปองกันประเทศ เพื่อการพึ่งพาตนเอง รวมทั้งสงเสริม และผลักดันใหภาคอุตสาหกรรมสามารถสงออกไปสู ตลาดสากลเพื่อนํารายไดเขาสูประเทศแลว จะพบวา ประเทศเหลานี้มีการจัดหาอาวุธในลักษณะรวมการ มี การพัฒนาและสรางเทคโนโลยีดวยตนเอง และพัฒนา โครงสรางอุตสาหกรรมเพื่อผลิตยุทโธปกรณตามความ ตองการของเหลาทัพ รวมถึงสงเสริมใหสามารถแขงขัน ในตลาดสากลได เชน สวีเดน สิงคโปร จีน สาธารณรัฐ เกาหลี ซึ่งนับเปนตัวอยางที่ดี หรือ Best practice ทั้งนี้ ในทุกประเทศเหลานัน้ จะมีการขับเคลือ่ นจากนโยบายที่ ชัดเจนและตอเนื่องจากรัฐบาล รวมทั้งการสนับสนุน งบประมาณทีเ่ พียงพอ โดยเฉพาะการกําหนดนโยบายการ ถายเทคโนโลยีผา นระบบการชดเชยเพือ่ ความเสมอภาค หรือ Defence Offset Policy มีการกําหนดประเภท อุตสาหกรรมปองกันประเทศที่จะใหการสนับสนุน รวมถึง
การกําหนดทิศทางของนวัตกรรม และเทคโนโลยีของ ประเทศทีจ่ ะนําไปสนับสนุนอุตสาหกรรมปองกันประเทศ สิ่งที่ยืนยันความสําคัญวาเพราะเหตุใดหลาย ประเทศนั้นสงเสริมใหมีการพัฒนาอุตสาหกรรมปองกัน ประเทศ คือ ประโยชนทไี่ ดตอ เศรษฐกิจ จากรายงานการ ศึกษาหลายฉบับสรุปตรงกันวา การเพิม่ งบประมาณปองกัน ประเทศจะมีสวนชวยกระตุนเศรษฐกิจแบบทวีคูณ หรือ Defence Spending Multipliers ไดอยางมาก เชน การ ศึกษาของ Nigel Wilkins (University of Technology Australia) สํารวจจาก 85 ประเทศตัวอยางพบวา การเพิม่ งบประมาณปองกันประเทศจะสงผลตอ GDP ในเชิงบวก อยางเห็นไดชัดโดยเฉพาะประเทศแคนาดา เมื่อเพิ่มงบ ประมาณปองกันประเทศ 1% จะสงผลเชิงบวกตอ GDP ถึง 0.47% แตหากประเทศทีม่ กี ารพัฒนาอุตสาหกรรมปองกัน ประเทศใหเขมแข็งแลว ยิ่งจะสรางมูลคาทางเศรษฐกิจ ไดอยางมหาศาล ดังนั้นจะเห็นไดวา หากอุตสาหกรรม ปองกันประเทศมีความเขมแข็งแลว การใชจายในการ จัดหายุทโธปกรณมากเทาไรก็ยิ่งสรางมูลคาทวีคูณใหแก ระบบเศรษฐกิจมากขึ้นตามไปดวย อุตสาหกรรมปองกัน ประเทศ จึงไมไดเปนการสรางความมัน่ คงทางทหารอยาง เดียว แตการพัฒนาอุตสาหกรรมปองกันประเทศทีถ่ กู ตอง ถือเปนการสรางเศรษฐกิจของชาติอีกดวย จากความสําคัญและประโยชนที่ประเทศไทย จะไดรับจากการพัฒนาอุตสาหกรรมปองกันประเทศดังที่ ไดกลาวไปแลว เชื่อแนวาหากมีความรวมมือกันระหวาง ภาครัฐและเอกชนทีจ่ ริงจัง โดยมีรฐั บาลใหการสนับสนุน ในระดับนโยบายดวย ก็จะทําใหประเทศไทยสามารถนํา อุตสาหกรรมปองกันประเทศไปสูต ลาดระดับสากลไดอยาง แนนอน ในเบื้องตนการที่จะขับเคลื่อนใหอุตสาหกรรม ปองกันประเทศประสบความสําเร็จไดคงตองเปนภาระ หนาที่ของรัฐบาลและกระทรวงกลาโหม ที่จะตองสราง หลักประกันใหเล็งเห็นความสําคัญดังกลาวและผลักดัน
ใหอุตสาหกรรมปองกันประเทศ มีศักยภาพแขงขันกับ ประเทศตาง ๆ ได โดยควรมีแนวทางการดําเนินการตาง ๆ ดังนี้ - รัฐบาลตองกําหนดนโยบายทีช่ ดั เจนวา ประเทศไทย จะมุง สรางอุตสาหกรรมปองกันประเทศทีเ่ ปนของคนไทย อยางแทจริงดานใดบาง และจัดสรรงบประมาณสนับสนุน ในเบื้องตน โดยพิจารณาจากความตองการ และแนวโนม ของเทคโนโลยีของกองทัพและตลาดตางประเทศ รวมถึง พื้นฐานและศักยภาพของอุตสาหกรรมและนักวิจัยของ ไทย ซึง่ ปจจุบนั อุตสาหกรรมปองกันประเทศทีม่ พี นื้ ฐาน มี เทคโนโลยีรองรับและมีศักยภาพที่สามารถพัฒนาได เชน อุตสาหกรรมการตอเรือ อุตสาหกรรมจรวด อุตสาหกรรม ยานยนตรบ อุตสาหกรรมเครื่องมือสื่อสาร อุตสาหกรรม อาวุธปนและกระสุน และอุตสาหกรรมดาวเทียม - กระทรวงกลาโหมควรจะศึกษารูปแบบ แนวทาง ในการดําเนินการแบบครบวงจร แลวนําเสนอตอรัฐบาล เพื่อที่จะนําไปกําหนดเปนนโยบายระดับชาติในภาพรวม ซึง่ ไมไดเพียงมุง แตการผลิตในอุตสาหกรรมปองกันประเทศ เทานัน้ แตจะรวมตัง้ แตตน น้าํ คือ ความตองการของกองทัพ การวิจัยพัฒนา การสรางตนแบบ การทดสอบทดลอง การผลิต ไปจนถึงการนําไปใช และการนําไปสูต ลาดสากล - รัฐบาลควรสนับสนุนการวิจยั ทีเ่ ปนนวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่สามารถนําไปสูการผลิตในภาคอุตสาหกรรม ของคนไทย ทัง้ ภาคอุตสาหกรรมปองกันประเทศและภาค อุตสาหกรรมอืน่ ๆ ซึง่ หมายถึง การลงทุนการวิจยั เทคโนโลยี ที่มุงใหเกิดประโยชนทั้งสองทางคือ ใชไดสําหรับกองทัพ และพลเรือนหรือที่เรียกวา Dual Use Technology อีก ทั้งจะสงเสริมใหมีการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีไปใช และจําหนายสูตลาดระดับสากล โดยประกอบดวยการ สนับสนุนการฝกอบรม พัฒนาบุคลากร และสรางเครือขาย เพื่อประสานความรวมมือทั้งจากหนวยงานภาครัฐและ เอกชน รวมทั้งสถานศึกษาตาง ๆ ทั้งในและตางประเทศ
- รัฐบาลควรกําหนดนโยบายของประเทศในเรือ่ ง การถายทอดเทคโนโลยีผานระบบการชดเชยเพื่อความ เสมอภาค หรือ Defence Offsets โดยจะใชกับการจัดหา ยุทโธปกรณทมี่ มี ลู คาสูง ซึง่ จะตองจัดตัง้ หนวยงานรวมของ ประเทศในการรับถายทอดเทคโนโลยีและแจกจายเทคโนโลยี ทีโ่ ปรงใส มีประสิทธิภาพ ใหแกหนวยงานตาง ๆ ซึง่ นโยบาย นี้ จะขยายไปสูการจัดซื้อของกระทรวงอื่น ๆ ใหเปนไป ในรูปแบบเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชนสูงสุดในการใชจาย งบประมาณกับตางประเทศ - ภาครัฐตองใหความชวยเหลือและสนับสนุนใน รูปแบบตาง ๆ ในการสรางและพัฒนาอุตสาหกรรมปองกัน ประเทศของประเทศไทยใหสามารถอยูร อดและมีศกั ยภาพ แขงขันกับอุตสาหกรรมตางประเทศในเบือ้ งตน เชน การเสริม สรางทักษะขีดความสามารถใหอตุ สาหกรรมของคนไทยให สามารถผลิตและจําหนายยุทโธปกรณทมี่ มี าตรฐาน และชวย หาตลาดทัง้ ในและตางประเทศ รัฐบาลควรสนับสนุนในการ สรางกลไก และปรับแกไขขอขัดของในเรือ่ ง กฎ ระเบียบตาง ๆ ของรัฐทีไ่ มเอือ้ อํานวยใหเกิดการวิจยั ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ใหสามารถนําไปสูภ าคการผลิต และจําหนายยุทโธปกรณได เปนรูปธรรม โปรงใสและเปนธรรม - ประเทศไทยควรสรางความรวมมือกับประเทศ ในอาเซียน ทั้งความรวมมือในดานการวิจัยและการผลิต ยุทโธปกรณโดยเฉพาะประเทศทีม่ เี ทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ทางทหารใกลเคียงกัน ซึ่งจะสามารถผลักดันใหเกิดความ รวมมือกันไดงายมากกวาการรวมมือกับประเทศที่มีความ แตกตางกันสูง ๆ การรวมมือกันในกลุมอาเซียนนอกจาก จะสรางความไวเนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกันแลว ยังจะลดการ แขงขันกันเอง อีกทั้งการรวมตัวกันสรางความเขมแข็งให สินคาของกลุม อาเซียนสามารถแขงขันกับกลุม ภูมภิ าคหรือ ประเทศมหาอํานาจทางอุตสาหกรรมปองกันประเทศอืน่ ๆ ได
จากที่ไดกลาวมาทั้งหมดถึงสภาพและลักษณะ ของอุตสาหกรรมปองกันประเทศของประเทศไทย ซึง่ เปน อุตสาหกรรมทีร่ ฐั บาลเห็นวาเปนโอกาสและประโยชนตอ ภาคเศรษฐกิจและความมัน่ คงของชาติ หากการดําเนินการ ตาง ๆ บรรลุเปาหมายแลว ประเทศไทยจะไดประโยชน จากการมีอุตสาหกรรมปองกันประเทศในภาพรวม 3 ประการ ไดแก ประการแรก จะเปนการสรางหลักประกันเชิง ยุทธศาสตร (Strategic Assurance) หมายถึง การที่ ประเทศมีขีดความสามารถของตนเอง (Capability) ที่ จะไมเสี่ยงจากการพึ่งพาตางประเทศในยามคับขัน ประการทีส่ อง จะเปนการเพิม่ ขีดความสามารถ ดานการปองกันประเทศ (Defence Capability) ให เหนือฝายตรงขามไดงา ย รวมทัง้ ยังสรางความออนตัวให ปรับขีดความสามารถรวมกับมิตรประเทศอื่น ๆ ได ซึ่ง จะนํามาถึงการสรางอิทธิพลเชิงยุทธศาสตร (Strategic Influence) จากการมีอุตสาหกรรมปองกันประเทศที่ กาวหนายอมสรางความยําเกรงทางการเมือง การทหาร และอุตสาหกรรม ประการทีส่ าม สําคัญทีส่ ดุ คือ จะเปนการสราง ผลกําไรทางเศรษฐกิจ (Wider Economic Benefits) อุตสาหกรรมปองกันประเทศจะสรางนักวิจยั และแรงงาน ที่มีทักษะชั้นสูงและยังสรางนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่ สามารถสงถายไปสูภ าคการพาณิชยและการสงออก อีกทัง้ เทคโนโลยีทเี่ กิดจากนวัตกรรมอาจจะนําไปประยุกตกบั ภาค อุตสาหกรรมอื่นไดในลักษณะ Dual Use Technology ซึ่งจะเปนการทวีคูณมูลคาไปสูภาคเศรษฐกิจและภาค สังคม """
ผลผลิตที่ไดรับจากการขาวกรองการเฝาตรวจและการลาดตระเวน ผลผลิตขาวกรองชวยสนับสนุนการตัดสินใจตกลงใจในทุกระดับ เพื่อสรางความตระหนักรูสถานการณ (Situation Awareness: SA) แบบ Real Time เปนจุดมุงหมายหลักของการปฏิบัตกิ าร ISR ตามความตองการของผูใชงาน การปฏิบัติการขาวกรองการเฝาตรวจและการลาดตระเวน (ISR Operation) การปฏิ บัติ การข าวกรองการเฝ าตรวจและการลาดตระเวน เปนการปฏิ บัติ เพื่ อใหได มาซึ่งขอมูลขาวสาร ขาวกรอง สนับสนุนการพิจารณาตัดสินตกลงใจของผูบังคับบัญชาที่ถูกตอง รวดเร็ว และทันตอเหตุการณ รวมทั้งสามารถเห็นภาพสนามรบ ในเวลาปจจุบัน โดยบุคลากรในหนวยปฏิบัติที่เกี่ยวของจะตองบูรณาการประสานงานและเขาใจแนวทางปฏิบัติที่ตรงกัน ซึ่งจะ สงผลตอการปฏิบัติทางอากาศที่มีประสิทธิภาพ มีองคประกอบในการปฏิบัติ ไดแก ระบบตรวจจับ (Sensor) ระบบเครือขาย (Network) สวนบัญชาการและควบคุม (C2) หนวยปฏิบัติ (Shooter)
แนวความคิดิ ในการปฏิ ใ ป ิบัติการขาวกรองการเฝฝาตรวจและการลาดตระเวนของ ทอ.
กองทัพอากาศกับภารกิจดานการขาวกรองการเฝาตรวจและการลาดตระเวน หัวใจสําคัญของการปฏิบัติการทางอากาศใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด คือ การตัดสินใจที่ถูกตองและรวดเร็ว การปฏิบัติ การขาวกรองการเฝาตรวจและการลาดตระเวน นํามาซึ่งขอมูลขาวกรองสําหรับผูบังคับบัญชาในทุกระดับ เพื่อใหเขาใจ สภาพแวดลอมในการปฏิบัติการ ทําใหสามารถเห็นภาพสนามรบในปจจุบัน และประมาณสถานการณที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต ซึ่งจะสงผลตอการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ ชวยลดความผิดพลาดในวงรอบการตัดสินใจ อีกทั้งยังสนับสนุนความ ตองการขาวกรองเพื่อใชในการพัฒนาและกําหนดทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถในอนาคตทั้งในระดับยุทธศาสตร ยุทธการ และยุทธวิธี """
น.ท.พรอมรบ จันทรโฉม ศตวรรษที่ 21 (ค.ศ.2000 - 2099) นับตัง้ แตโลก ผานจุดเปลี่ยนที่สําคัญไป Millennium หรือ Y2K หรือ วิกฤติป 2000 นัน่ เปนสัญญาณบงบอกสิง่ แรกทีเ่ ราไดกา ว ผานมาเปนศตวรรษที่ 21 เปนที่เรียบรอยแลว นี่เปนเพียง จุดเริ่มตนของศตวรรษที่ 21 มาถึงปจจุบัน (ค.ศ.2016) ขณะนีก้ ผ็ า นมาไมถงึ 20 ป การเปลีย่ นแปลงของโลกตางกับ ยุคสมัยเดิมอยางกาวกระโดด และดูเหมือนจะเปลีย่ นแปลง มากกวายุคใด ๆ ในประวัติศาสตร นับตั้งแตยุคแรก ยุค เกษตรกรรม ผูคนมีชีวิตความเปนอยูดีขึ้นจากการผลิต อาหารไดเอง มีเวลาอยูเปนหลักแหลงมากขึ้น ประชากร เริ่มเพิ่มมากขึ้น จนมาถึงในยุคที่สอง ยุคอุตสาหกรรม ที่ ปริมาณอาหารไมเพียงพอกับประชากรที่มากจนเกินไป อีกแลว การผลิตภาคครัวเรือนไมเพียงพอจนตองมีการ ปฏิวตั ทิ างอุตสาหกรรม มีการใชทรัพยากร แรธาตุ น้าํ มัน และแรงงานในการผลิตเพื่อรองรับกับอุตสาหกรรมหนัก ที่เกิดขึ้นใหมบนโลก ผลผลิตที่เกิดในยุคนี้นํามาซึ่งความ เปลีย่ นแปลงตอระบบการทํางาน และสงผลกระทบตอชีวติ มนุษยแทบทุกดาน ไมวา จะเปนสิง่ ประดิษฐทคี่ ดิ คนขึน้ มา ใหม ๆ อยางเครื่องจักรไอน้ํา โทรเลข โทรศัพท ลวนเกิด ขึน้ ในยุคนีท้ งั้ สิน้ แตในทางตรงขาม ความหายนะทีส่ ง ผล กระทบตอโลกก็มตี ามมาจากเทคโนโลยีตา ง ๆ เชนกัน เชน สงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 การใชระเบิดปรมาณูในการ ยุติสงคราม เปนตน ผลลัพธในโลกยุคที่ 2 ถูกเปลี่ยนถาย เปนโลกยุคที่ 3 ในเวลาใกลเคียงกับการเปลีย่ นเปนศตวรรษ ที่ 21 (หลังสงครามเย็น ค.ศ.1945 - 1991) เมื่อโลกรูจัก กับคําวา “อินเทอรเน็ต” (ค.ศ.1995) พรอมกับคําวา
“โลกาภิวตั น” โลกทัง้ ใบเชือ่ มตอกันผานระบบสารสนเทศ โดยไมมมี ติ ขิ องระยะทางอีกตอไป การสือ่ สารสามารถดําเนิน การตลอด 24 ชั่วโมง แหลงเงินทุนและสินทรัพยสามารถ เคลือ่ นยายระหวางประเทศไดตลอดเวลา ซึง่ ปรากฏการณ ดังกลาวไมเคยเกิดมากอนในชวงกอนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ดวยศักยภาพของการเปลี่ยนแปลงของโลกใน ยุคที่ 3 นี่เอง จุดสนใจเพงไปสูการอยูรอดของมนุษยชาติ ซึ่งมีจุดสําคัญในมุมมองดานความมั่นคงรูปแบบใหม การ ขยายตัวของประชากรโลก นับวันจะมีมากขึ้นในทุก ๆ วัน ความตองการขั้นพื้นฐานของประชากรก็เชนเดียวกัน แต ความสมดุลระหวางประชากรโลกกับการใชทรัพยากรบนโลก เปนไปในทิศทางตรงกันขาม อิทธิพลเหลานีจ้ งึ สงผลกระทบ ตอการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมศิ าสตรและบรรยากาศของโลก ตามมา โดยเฉพาะภัยคุกคามอันเกิดจากการเปลีย่ นแปลง ของภูมิอากาศ (Climate Change) ซึ่งเปนภัยคุกคามที่ “ขามรัฐ/ขามชาติ/ขามพรมแดน” ทางภูมิศาสตรของรัฐ ตาง ๆ และสถาปนาตัวเอง กลายเปนภัยคุกคามโลกอยาง หลีกเลีย่ งไมได จากรายงานหลายฉบับแสดงใหเห็นถึงความ กังวลของนานาชาติที่ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ซึ่งในอีก 50 ปขางหนา การกระจายตัวของ ฝนจะเปลีย่ นแปลงไปอยางมาก กลาวคือ ฝนจะตกบริเวณ มหาสมุทรมากขึน้ และฝนจะตกบริเวณพืน้ ทีอ่ ยูอ าศัยของ ประชากรโลกจะนอยลง สงผลตอระบบนิเวศวิทยาและ ปริมาณการผลิตอาหารในลําดับตอมา ผลกระทบคือ การ แยงชิงทรัพยากรและการอพยพยายถิ่นของประชากร จนถึงการขาดแคลนอาหาร ความยากจน ความไมเทาเทียมกัน
ทัง้ ทีถ่ กู แยงชิงทรัพยากรของตนเพือ่ อุทศิ แกการพัฒนาของ ประเทศอื่น จากความเชื่อมโยงมิติสัมพันธอยางมีนัยสําคัญ นีเ้ อง จะถูกพัฒนาไปเปนการกอการรายเพือ่ ตอรองกับชนชัน้ ปกครองในที่สุด จากความสัมพันธของแตละสิ่งที่คอย ๆ เกิดขึ้น บนโลกใบนี้ ตามยุคตามสมัยที่ปรากฏขึ้น ทําใหสามารถ บงบอกผลลัพธที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระยะกลางและ ระยะไกล ไมเกินครึ่งศตวรรษที่ 21 ได หากไมมีความรวม มือกันในระดับมหภาคหรือพหุภาคี ผลรายทีไ่ มพงึ ประสงค และไมสามารถแกไขไดทันทวงทีจะแสดงออกใหเห็นอยาง แนนอน หนึ่งในความรวมมือที่เปนไปได และเปนการ แสดงออกใหเห็นถึงความไวเนื้อเชื่อใจระหวางกัน คือ การ ชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติระดับ ประเทศและภูมิภาคนั่นเอง การที่จะสงกําลังหรือสิ่งอุปกรณ รวมถึงสิ่งของ เครื่องใชจําเปนบรรเทาทุกขใหไดทันทวงทีและรวดเร็วนั้น จําเปนตองพึง่ พาขีดความสามารถของกําลังทางอากาศ ซึง่ มีคุณลักษณะที่สําคัญคือ มีความรวดเร็ว การมีพิสัยที่ไกล ความออนตัวในการปฏิบัติงาน และความแมนยําในการถึง เปาหมายในวันเวลาทีต่ อ งการ กองทัพอากาศมีความพรอม
ที่ใชกําลังทางอากาศเพื่อชวยเหลือประชาชน รวมทั้งมี สวนรวมในการแกไขปญหาสําคัญของชาติในยามวิกฤติ ตาง ๆ ที่ผานมา เชน การบรรเทาภัยสาธารณภัยอันเกิด จากอุบตั ภิ ยั หรือภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติทงั้ ในประเทศและ ตางประเทศ การอพยพชวยเหลือคนไทยที่อาศัยในตาง ประเทศเมื่อเกิดความขัดแยงในพื้นที่ตางแดน การเฝา ระวังการอพยพเคลื่อนยายถิ่นฐานแบบไมปกติของชาว ตางชาติ การชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทาภัย พิบัติใหแกประเทศผูประสบภัยทั้งในอาเซียนและมิตร ประเทศ เปนตน ภายหลังจากที่กองทัพอากาศอาเซียนไดมีขอ ตกลงกันในเวทีการประชุมผูบัญชาการทหารอากาศ อาเซียน ครัง้ ที่ 10 ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ในป พ.ศ.2556 กองทัพอากาศอาเซียนไดเห็นพอง ตองกันวา ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในปจจุบัน มีความรุนแรงทวีขึ้นมากกวาเดิมเปนอันมาก และเปน สิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได ทั้งยังถือวาเปนภัยคุกคามรวมกัน ของประชาคมอาเซียน (Common Threat) อีกทั้ง การที่ชาติในประชาคมอาเซียนรวมมือกันในการจัดการ ภัยพิบัตินั้น จะเปนการสรางสภาวะใหเกิดความไวเนื้อ
พฤษภาคม ๒๕๕๙ เชื่อใจกันในระหวางชาติอาเซียนดวยกัน และเปนสิ่งที่ เห็นพองดวยกันมากที่สุดคือ ไมมีภัยพิบัติขนาดใหญที่ใด ในโลกในภารกิจการชวยเหลือดานมนุษยธรรมและบรรเทา ภัยพิบัติที่ไมใชอากาศยาน หากมีความรวมมือระหวาง กําลังทางอากาศในระดับภูมิภาคอาเซียนดวยกัน ผนึก รวมจํานวนของอากาศยานจะสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจรวม กันและจะทําใหเกิดประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ จึงไดรเิ ริม่ ใน การจัดทํา “รางมาตรฐานวิธกี ารปฏิบตั งิ านดานปฏิบตั กิ าร การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทา ภัยพิบัติ (SOP of ASEAN Air Forces Cooperation
ขาวทหารอากาศ ๒๕ Humanitarian Assistance and Disaster Relief)” เพือ่ เปน กรอบแนวทางปฏิบตั งิ านสําหรับการบริหารจัดการทรัพยากร ทางทหารอากาศอาเซียนใหไดเกิดประโยชนสูงสุดภายใต ความปลอดภัยและมีมาตรฐานอันเดียวกัน กระบวนการ จัดทํารางมาตรฐานฯ นี้ ใชเวลาทั้งสิ้น 2 ป ผานการสัมมนา เชิงปฏิบตั กิ าร ณ ประเทศไทย ระหวางวันที่ 22 - 26 มิถนุ ายน พ.ศ.2558 กอนจะเขาที่ประชุมผูบัญชาการทหารอากาศ อาเซียน ครั้งที่ 12 ณ ราชอาณาจักรกัมพูชา ระหวางวันที่ 2 - 5 กันยายน พ.ศ.2558 ที่ผานมา เพื่อผานความเห็นชอบ ของผูบัญชาการทหารอากาศอาเซียนครบทุกประเทศ
ในจุดเริ่มตนนี้ แสดงใหเห็นถึงความพรอม ไมเพียง เฉพาะกองทัพอากาศเทานัน้ แตหมายรวมถึงกองทัพอากาศ อาเซียนที่จะมีความรวมมือและประสานงานในการรักษา เสถียรภาพในภูมิภาค นับตั้งแตศตวรรษที่ 21 เปนตนไป การเสริมสรางแสนยานุภาพและขีดความสามารถของ กําลังทางอากาศของแตละประเทศมิไดเปนการ “แขงขัน สะสมอาวุธ” เพื่อถวงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน แตเพื่อกาว ไปสูก ารเปนกองทัพทีท่ นั สมัย และมีขดี ความสามารถเทียบ เทากับอารยประเทศเพือ่ การปฏิบตั กิ ารรวมกันทางการทหาร ไมวา จะเปนการปฏิบตั กิ ารดานมนุษยธรรมและการบรรเทา ภัยพิบัติ การปฏิบัติการเพื่อสันติภาพภายใตกรอบของ สหประชาชาติ การปฏิบัติการทางทหารรวมกันเพื่อผดุงไว ซึง่ ความมัน่ คงแหงภูมภิ าค อีกทัง้ พืน้ ทีข่ องบทบาทกําลังทาง อากาศในกรอบอาเซียนและนานาชาติยังสามารถแสวงหา ความรวมมือไดอีก อาทิ การลาดตระเวนรวมเพื่อคุมครอง เรือสินคาและเรือประมงนานาชาติจากโจรสลัด การสราง
เครือขายศูนยคน หาและชวยชีวติ ในทะเลจีนใต ทัง้ ทีเ่ กิด จากเครื่องบินพาณิชยประสบอุบัติเหตุ การชวยเหลือ ประชาชนจากเรือสําราญขนาดใหญเกิดอุบัติเหตุกลาง ทะเล และการใชกําลังทางอากาศที่จะชวยแกปญหาไฟ ปาและหมอกควันในบางประเทศ อันจะเปนบทบาทตอ ไปในการปฏิบตั กิ จิ พิเศษรวมกันในอนาคต ในการประชุม รัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนในป พ.ศ.2558 ณ สาธารณรัฐ มาเลเซีย ที่ผานมา มีมติเอกสารแนวคิดวาดวยการจัดตั้ง กองกําลังอาเซียน การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติที่เกิดขึ้น การจัดตั้งกองกําลัง เฉพาะกิจสําหรับรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหมในศตวรรษ ที่ 21 ซึ่งจะเปนบทพิสูจนตอไปของการรวมกันเปนกอง กําลังอาเซียนเพือ่ รักษาความมัน่ คงในภูมภิ าคตอไป และ กําลังทางอากาศเองจะยังคงมีบทบาทที่สําคัญยิ่งในการ เปนสวนหนึ่งของกองกําลังนี้เชนกัน """
(ตอจากฉบับที่แลว) ¾ การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชดิ ในภารกิจการ ปองกันฐานบินนัน้ ใชเครือ่ งแบบ AC-47 และเฮลิคอปเตอร ติดตัง้ ปนกลอากาศ สวนเฮลิคอปเตอรชว ยชีวติ นัน้ ก็ถกู ใช ในภารกิจตรวจการณทางอากาศดวยในชวงตนของสงคราม ที่ฐานบินนครพนม หนวยปองกันที่นั่นใชเฮลิคอปเตอร ชวยชีวิตแบบ HH-33 บินตรวจการณกลางคืน ๒ รอบ/คืน
ในรัศมี ๑๖ กม.จากแนวรัว้ ในแตละรอบกินเวลา ๓ ชัว่ โมง เบ็ดเสร็จบินตรวจการณกลางคืน คืนละ ๖ ชั่วโมงทุกวัน เอกสารในโครงการ CHECO มิไดระบุไววา การบินตรวจการณ กลางคืนดังกลาวไดใชประโยชนจากเครื่องมือชวยการ มองเห็น หรือพลุสอ งสวางหรือไม หากปราศจากเครือ่ งมือ ดังกลาวแลว การตรวจการณในเวลากลางคืนคงกระทําได ยาก แมวา คืนพระจันทรเต็มดวงหรือเกือบเต็มดวงจะชวย
๒๘ ขาวทหารอากาศ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
ในการมองเห็น แตพวกเวียดกงและกองทัพเวียดนามเหนือ ก็เหมือนกับหนวยรบพิเศษ SAS ของอังกฤษเมื่อ ๒๐ ปกอน ที่ชอบออกลาเหยื่อในคืนขางแรมหรือคืนพระจันทรเสี้ยว การบินตรวจการณในเวลากลางวันนัน้ ก็พสิ จู นแลววาสามารถ ปองกันการลอบยิงจากภายนอกไดเปนอยางดี เพราะวา มักจะตรวจพบการเตรียมที่ตั้งยิงจรวด (เชน หลุม เนินดิน และทีต่ งั้ ยิงทีท่ าํ จากเครือ่ งไมไผ) นอกจากนีเ้ กือบทุกฐานบิน ไดทําการตกลงกับหนวย ทบ. หรือ นาวิกโยธิน ในบริเวณ ใกลเคียงใหชว ยในภารกิจการปองกันฐานบินดวยการเตรียม เฮลิคอปเตอรติดตั้งปนกลอากาศเตรียมพรอม ๒๔ ชั่วโมง โดยขึน้ บินไดภายใน ๓ นาที และในบางฐานบินเตรียมพรอม เฉพาะในชวง “แซปเปอรไพรมไทม” สี่ทุมถึงตีสาม
ไปยังหนวยปนใหญทตี่ งั้ อยูใ นฐานบิน ซึง่ จะคํานวณระยะ และทําการยิงตอตานกลับไปภายใน ๒ - ๓ นาที หลังจาก ทีผ่ สู งั เกตการณเห็นแสงวาบ กระสุนปนใหญมรี ศั มีทาํ ลาย ๑๐๐ เมตร โดยเครื่องดับการยิงคือ ๑๐๐ เมตร สูงกวา เปา ๑๐๐ เมตรซาย ๑๐๐ เมตรขวา และสุดทายตรง เปาหมาย วิธีการยิงตามเครื่องดับนี้ถูกออกแบบมาเพื่อ ทําลายขาศึกใหไดกอ นทีข่ า ศึกจะถอนตัว เปนทีน่ า สังเกต วาถึงแมฐานบินเบียนโฮ จะมีระบบตรวจจับการยิงไกลดวย เรดารกต็ าม แตการโจมตีฐานบินเบียนโฮ ดวยการระดม ยิงจรวดและเครื่องยิงลูกระเบิดรวม ๓ ครั้ง ในหวงตั้งแต ๑ มกราคม ถึง ๑๗ มิถุนายน ๑๙๖๙ นั้น การตรวจจับ และแจงเตือนลวนมาจากผูสังเกตการณบนหอสูง”
¾ การยิงตอตานการยิงจากระยะไกล การยิงตอตานการยิงจากระยะไกล (Counter Battery Fire) คือ ทางเลือกหนึ่งที่สงผลสําคัญใหขาศึก ขยาดที่จะใชยุทธวิธีการยิงจากระยะไกล จนทําใหยุทธวิธี การยิงไกลมีความเสี่ยงพอ ๆ กันกับยุทธวิธีการเล็ดลอด เขาฐานบิน เอกสารในโครงการ CHECO ไดอธิบายถึงขัน้ ตอน การทํางานของระบบดังกลาวไววา “ที่ตั้งยิงเครื่องยิงลูกระเบิดหรือที่ตั้งยิงจรวดของ ขาศึกจะถูกตรวจจับไดภายหลังทีท่ าํ การยิงออกมาแลว โดยผู สังเกตการณบนหอสูงเมือ่ สังเกตเห็นแสงวาบทีเ่ กิดจากการยิง จรวดหรือเครือ่ งยิงลูกระเบิดของขาศึกก็จะสงคามุมภาค ทิศของตําแหนงทีต่ งั้ ยิงโดยวิทยุสอื่ สารมายัง จนท.บันทึกที่ ประจําอยู ณ ศูนยควบคุมการรักษาการณ (CSC: Combat Security Control) เพือ่ บันทึกลงบนแผนจดระยะ (Plotting Board) แบบ M-5 ระบบนี้ถูกเรียกวา “ระบบอิงแสงวาบ Flash Base System” ในขณะเดียวกันผูสังเกตการณ บนหอสูงก็จะเปดสัญญาณไซเรนเพื่อแจงเตือนกําลังพล ในฐานบินดวย (มีเวลา ๑๖ - ๒๐ วินาที กอนที่จรวดหรือ ลูกระเบิดจะถึงฐานบิน) สวน จนท.บันทึกแผน M-5 สามารถ คํานวณหาพิกัดที่ตั้งยิงไดภายใน ๒๐ วินาที โดยพิกัดที่ได มีความคลาดเคลื่อนไมเกิน ๑๐๐ เมตร พิกัดนี้จะถูกสงตอ
เหมือนกับหลาย ๆ กรณีในสงครามเวียดนาม แผนอัจฉริยะทางทหารมักถูกทําใหดอยคาดวยปจจัยที่ ไมคาดคิด ที่ฐานบินเบียนโฮ การโจมตีดวยอาวุธยิงไกล ทั้งหมดลวนมาจากพื้นที่ใกลหมูบานที่อยูระหวางพื้นที่
พฤษภาคม ๒๕๕๙
รับผิดชอบของหนวยทหารเวียดนามใตสองหนวย ตาม กฎการปะทะทีต่ กลงกันไวการทีจ่ ะทําการยิงตอตานอาวุธ ยิงไกลนั้น ผบ.ฐานบินเบียนโฮ จะตองสงคําขออนุญาต ทําการยิงไปยังผูวาราชการจังหวัด และ ผบ.หนวยทหาร เวียดนามใตเสียกอน กระบวนการเยีย่ งนีท้ าํ ใหการหวังผล ตอประสิทธิภาพการยิงตอตานอาวุธยิงไกลแทบไมมคี วาม เปนไปไดเลย แถมเพียงแค ๑ ใน ๔ ของคําขออนุญาต เทานั้นที่ไดรับการอนุมัติ แตกวาที่จะทําการยิงได เพื่อนเรา เวียดกงก็เปดไปไกลแลว
ขาวทหารอากาศ ๒๙ จนถึงระยะ ๑๑ กม. คิดเปนเนื้อที่มากกวา ๒๐๐ ตารางไมล (ประมาณ ๕๐๐ ตารางกิโลเมตร) ถึงแมวาตอนนั้นจะไมมี หนวยกําลังภาคพื้นหนวยใดไดรับภารกิจควบคุมพื้นที่ ดังกลาวเปนการเฉพาะ แตในบางกรณีหนวยกําลังฝาย เดียวกันทีม่ คี ณ ุ ภาพก็ทาํ การลาดตระเวนในพืน้ ทีร่ อบฐานบิน เชน ทีฐ่ านบินพู แคท และฐานบินนา ตรัง การลาดตระเวน อยางเขมแข็งและปฏิบตั กิ ารทางภาคพืน้ อืน่ ๆ ในพืน้ ทีร่ อบ ๆ ฐานบินของกองกําลังเกาหลีใต ชวยใหจํานวนการโจมตี ดวยอาวุธยิงไกลของขาศึกลดลงไดมาก สวนที่ฐานบินดานัง การตรวจการณทั้งทางภาคพื้นและภาคอากาศก็กระทํา อยางเขมขน
¾ มาตรการปองกันเชิงรับ ความแออัดของอากาศยานในบางฐานบิน ทําให มาตรการปองกันเชิงรับ อยางเชน รีเวทเมนท อาคาร เก็บอากาศยาน และการกระจายจุดจอดอากาศยาน ถูก จํากัด ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ ป ค.ศ.๑๙๖๗ เวียดกง และกองทัพเวียดนามเหนือใชจรวดรัสเซียยิงถลมฐานบิน ดานัง เนื่องจากการตอตานการยิงดังกลาวกระทําไดดวย ปนใหญและอากาศยานเทานัน้ ทําใหการปองกันเชิงรับเปน ¾ การควบคุมแนวระยะยิงของอาวุธยิงไกล วิธที มี่ ปี ระสิทธิภาพทีส่ ดุ ในการขัดขวางและปองกัน สิ่งจําเปนอยางยิ่งที่ตองกระทํา ทอ.สหรัฐฯ ไดทดลองหา การโจมตีดว ยอาวุธยิงไกลในเวลานัน้ ก็คอื การควบคุมแนว มาตรการปองกันอยูหลายวิธี จนมาไดคําตอบที่การสราง ระยะยิงของขาศึก ที่มีจรวด ๑๒๒ มม. มีระยะยิงไกลสุด รีเวทเมนทและอาคารเก็บอากาศยาน ในป ค.ศ.๑๙๖๙ การ ถึง ๑๑ กม. รอบ ๆ ฐานบิน เพื่อที่จะเอาชนะภัยคุกคามนี้ สรางรีเวทเมนทแบบมีหลังคาหลังหนึง่ แมจะถูกจรวดขนาด เราจะตองควบคุมอาณาบริเวณตั้งแตแนวรั้วฐานบิน ๑๔๔ มม. ยิงตกเขาใสแบบตรง ๆ แตเครือ่ งบินทีอ่ ยูภ ายใน
๓๐ ขาวทหารอากาศ ก็ไมไดรับอันตรายแตอยางใด ในทางตรงกันขามการสราง รีเวทเมนทแบบเปดโลงไมมีหลังคานั้น กลับมีขอจํากัดใน การปองกัน เชน ในการโจมตีครั้งใหญที่ฐานบินตัน ซอน นัท ในป ค.ศ.๑๙๖๖ จํานวนเครื่องบินที่เสียหายทั้งหมด ๖๑ ลํา มี ๓๙ ลํา ไมไดรับความเสียหาย ในรายงานไมได ระบุวา ๓๙ ลําดังกลาวจอดอยูใ นพืน้ ทีท่ ถี่ กู โจมตีดว ยหรือไม รีเวทเมนทชว ยควบคุมเพลิงไมใหกระจายตัวออกไปและยัง ปองกันการระเบิดแบบตอเนือ่ ง แตกไ็ มสามารถปองกันการ ยิงเขาใสแบบตรง ๆ ได โดยทั่วไปจะมี บ.รบ ๒ ลํา จอดอยู ในรีเวทเมนทชอ งเดียวกัน เมือ่ ถูกยิงเขาตรง ๆ ทีล่ าํ หนึง่ ก็จะ ทําลายอีกลําไปดวย นอกจากนีก้ ารทีแ่ นวรีเวทเมนทหนั หนา ชนกันโดยมีทางขับอยูร ะหวางกลาง หากลูกจรวดตกลงบน ทางขับก็อาจสรางความเสียหายใหกบั เครือ่ งบินไดหลายลํา ¾ ยุทธวิธีในการโจมตี จากเหตุการณที่ฐานบินในเวียดนามและไทย ถูกโจมตี จะเห็นไดชดั เจนวา ยุทธวิธขี องเวียดกงและกองทัพ เวียดนามเหนือเปนเชนไร สรุปคือ ประการแรก พวกเขานิยม โจมตีดว ยอาวุธยิงไกลถึง ๙๖% ประการทีส่ อง พวกเขานิยม การโจมตีแบบชุดเล็ก คือ ยิงถลมครัง้ ละไมเกิน ๑๐ นัดแลว รีบเผน และประการสุดทาย พวกเขาชอบโจมตีวันอาทิตย มากกวาวันอื่น ๆ ¾ การโจมตีดวยแซปเปอร ภาพพจนของสงครามเวียดนามที่ไดรับการจดจํา มาจนถึงวันนี้อยางหนึ่งก็คือ การโจมตีดวยแซปเปอร แต การโจมตีดวยยุทธวิธีแซปเปอรโดด ๆ มักสรางความเสียหาย ใหกับฐานบินไดนอย มีเพียง ๒๑ ครั้ง ที่โจมตีดวยยุทธวิธี แซปเปอรโดด ๆ โดย ๑๒ ครั้ง ไมสามารถสรางความเสีย หายไดเลย มีเพียง ๑ ครั้ง ที่ทําลายคลังอาวุธที่มีมูลคา สี่แสนเหรียญสหรัฐ สวนอีก ๘ ครั้งที่เหลือ ทําลายเครื่องบิน ๕ เครือ่ ง และอีก ๒๑ เครือ่ ง ไดรบั ความเสียหาย แตอยางไร ก็ตาม “แซปเปอร” ถือวาเปนยุทธวิธีสําคัญและประสบ ความสําเร็จอยางงดงามในการโจมตีทตี่ งั้ ของทหารอเมริกนั
พฤษภาคม ๒๕๕๙
อื่น ๆ (ที่ไมใชฐานบิน) และมีแนวโนมที่จะถูกนํามาใชอีก ในอนาคต นาสนใจตรงทีก่ ารโจมตีฐานบินในไทยทัง้ ๕ ครัง้ นั้น ใชแซปเปอรทุกครั้ง บางทีอาจเปนเพราะการขน ยายอาวุธยุทโธปกรณในยุทธวิธีการยิงไกล ขามมายังฝง ไทยกระทําไดลําบาก หรือไมก็พวกเวียดนามเหนือรูดี วาฐานบินในไทยนั้นงายตอการเล็ดลอดเขาไปมากกวา ในเวียดนามเองนั้นมีการโจมตีที่ใชยุทธวิธีผสมระหวาง แซปเปอรกับการระดมยิงไกล จํานวน ๘ ครั้ง เครื่องบิน ถูกทําลาย ๘ เครื่อง อีก ๔๙ เครื่องไดรับความเสียหาย เชือ้ เพลิง ๔.๖ แสนแกลลอน กลายเปนเปลวเพลิง ถังเก็บ เชื้อเพลิงขนาดความจุ ๒.๒๕ ลานแกลลอน โดนทําลาย และกระสุนวัตถุระเบิดปริมาณ ๖,๐๐๐ ตัน กลายเปน จุณ ซึ่งยังไมเปนที่แนชัดวาการยิงไกลเปนสาเหตุใหญ ของการสูญเสียขางตน หรือเปนแคการยิงลวงเพือ่ ชวยให แซปเปอรแอบเขาไปทํางานในฐานบินไดงา ยขึน้ (เหมือน กับที่ ทอ.อังกฤษโจมตีทงิ้ ระเบิด เพือ่ ชวยใหรบพิเศษ SAS ทํางานในแอฟริกาเหนือ) การโจมตีดวยแซปเปอรในแตละฐานบิน ทุก ฐานบินในเวียดนามถูกโจมตีดวยแซปเปอรอยางนอย ๑ ครั้ง ฐานบินคัม ราน เบย ถูกโจมตีดวยแซปเปอรถึง ๗ ครั้ง สวนฐานบินพู แคท และฐานบินพัน แรง ตามมา เปนที่สองดวยสถิติ ๓ ครั้งเทากัน """ (ฉบับหนาติดตาม การยิงไกลขนาดยอม)
พ.อ.อ.รัชต รัตนวิจารณ ยอนอดีตเมือ่ วันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2508 เครือ่ งบินโดยสารสองเครือ่ งยนตสขี าว คาดตลอดแนวลําตัวสีนา้ํ เงิน สวยงาม ที่สวนหางใชสีสม - ขาว ติดเครื่องหมายธงชาติไทยและที่ลําตัวมีวงกลมขนาดใหญ แตกตางจากเครื่องบิน โดยสารทั่วไป เหนือขอบหนาตางดานขวาของเครื่องบินมีขอความภาษาไทยวา “กองทัพอากาศไทย” สวนดานซายมี ขอความสีดําเขียนวา “ROYAL THAI AIR FORCE” รอนลงจอดที่สนามบินดอนเมือง จากนั้นเคลื่อนตัวมายังอาคาร กองบัญชาการกองทัพอากาศ (ปจจุบนั ถูกรือ้ ออกและสรางเปนอาคารผูโ ดยสารระหวางประเทศทาอากาศยานกรุงเทพ) เปนเครื่องบินโดยสารแบบที่มีประจําการในสายการบิน “เดินอากาศไทย” แตเขียนชื่อวา “กองทัพอากาศไทย” เครื่องบินนี้มีชื่อวา เครื่องบิน AVRO 748 หรือ HS 748 เปนเครื่องบินพระที่นั่งเครื่องใหมที่กองทัพอากาศจัดหามา เพื่อถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
๓๒ ขาวทหารอากาศ AVRO เปนชื่อของบริษัทสรางเครื่องบิน AVRO Whitworth Division ซึ่งเปนบริษัทสรางเครื่องบินที่มีชื่อเสียง ในชวงสงครามโลกครัง้ ที่ 1 และสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีผลงาน ออกมามากมาย (กองทัพอากาศเคยซือ้ สิทธิบตั ร AVRO 504N มาสรางเปนเครือ่ งบินฝกจํานวนมากในชวงกอนสงครามโลก ครัง้ ที่ 2) บริษทั ฯ นีเ้ ปนสาขาหนึง่ ของกลุม อุตสาหกรรมสราง เครื่องบิน Hawker Siddeley Aviation Ltd. ซึ่งตั้งอยูใน เมืองกรีนเกต มิดเดิลดีน ประเทศอังกฤษ ตอมาภายหลัง บริษทั ฮอคเกอร ไดรวมกิจการทัง้ หมดเขาดวยกัน เครือ่ งบิน แบบ HS 748 นี้ คนไทยมักจะเรียกวา AVRO 748 เพราะ บริษทั เดินอากาศไทย จํากัด สัง่ ซือ้ เครือ่ งบินรุน นีม้ าใชครัง้ แรก 3 เครื่องในราคาเครื่องละ 19 ลานบาท กอนป 2506 กอน ที่จะเปลี่ยนเปน HS 748 ในปเดียวกันนั้น ดังนั้นเครื่องบิน แบบนีใ้ นสายการบินพาณิชยและการทหารของไทยจึงเรียก ชื่อวา AVRO 748 และเรียกชื่อนี้มาจนถึงปจจุบัน โครงการ AVRO 748 กําเนิดขึ้นมาตั้งแตป 2502 เพื่อทดแทนและเปนคูแขงที่สําคัญของ DC-3 ที่มีใชใน สายการบินพาณิชยและการทหารในกองทัพตาง ๆ ทัว่ โลก โครงการ AVRO 748 นั้น เริ่มขึ้นจากการที่สายการบินตาง ๆ
พฤษภาคม ๒๕๕๙ หันมานิยมใชเครื่องบินที่ไดรับการติดตั้งเครื่องยนต เทอรโบเจ็ตหรือเทอรโบปร็อป แทนการใชเครื่องยนต ลูกสูบที่คาใชจายในการซอมบํารุงสูงกวา โดยไดรับการ สั่งสรางจากสายการบินตาง ๆ ทั่วโลก รวมถึงถูกใชงาน ในทางทหารอีกหลายชาติและไดรบั การติดตัง้ ระบบเครือ่ ง วัดแบบที่ใชงานในทางทหารเขาไปแทน ในป 2506 บริษัท เดินอากาศไทย จํากัด เปน สายการบินเดียวของไทยที่จัดซื้อเครื่องบินแบบ AVRO 748 มาใชในการรับ-สงผูโดยสารภายในประเทศและ ระหวางประเทศเพื่อนบานใกลเคียง และเริ่มทําการบิน ใหบริการครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน 2507 จากนั้น ก็จัดหาเพิ่มเติมจนครบจํานวน 9 เครื่อง เพื่อสนับสนุน เครื่องบิน DC-3/C-47 ดาโกตา ที่มีใชอยูแลว ภายหลังจากรัฐบาลอังกฤษไดเลือกเครื่องบิน AVRO 748 Series 2 จํานวน 2 เครื่อง เพื่อถวายเปน เครื่องบินพระราชพาหนะของสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินี แหงจักรภพอังกฤษ และรับมอบบรรจุ เขาประจําการในกองทัพอากาศอังกฤษเมือ่ กลางป 2507 และในปลายปเดียวกันนั้นเอง เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม
พ.ศ.2507 กองทัพอากาศไทย และบริษทั ฮอกเกอรซดิ เดลีย ก็ไดรว มในพิธรี บั มอบเครือ่ งบิน AVRO 748 หรือ HS 748 Series 2 ซึ่งไดรับการกําหนดหมายเลขพิเศษ “11-111” ณ โรงงานที่วูดฟอรด ซึ่งถือเปนเครื่องบินรุนแรกของ กองทัพอากาศไทยทีก่ าํ หนดหมายเลขพิเศษนี้ จากนัน้ นักบิน 2 นาย และชางประจําเครื่องอีก 6 นาย ก็เริ่มทําการฝก บินสรางความคุนเคยกับเครื่องบิน AVRO 748 หรือ HS 748 Series 2 หมายเลข 11-111 ที่กองทัพอากาศจัดซื้อ ในราคา 20 ลานบาท เพื่อเตรียมนอมเกลาฯ ถวายเปน เครื่องบินพระราชพาหนะพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ โดยมีแผน จะบรรจุเปนเครื่องบินพระราชพาหนะหลักทดแทน เครื่องบินพระราชพาหนะแบบ C-47 และ C-54 เดิมที่ ใชอยูในชวงนั้น วันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2508 เวลา 11.45 น. ตามเวลาทองถิ่น เครื่องบิน AVRO 748 หรือ HS 748 Series 2 หมายเลข 11-111 ของกองทัพอากาศไทย ก็ได ทะยานขึน้ จากสนามบินของโรงงานทีว่ ดู ฟอรด เพือ่ มุง หนา กลับสูประเทศไทย ดวยระยะทางกวา 7,000 ไมล โดยใช นักบินของกองทัพอากาศ และนักบินของบริษัทฯ นับวา เปนความภาคภูมใิ จอีกครัง้ หนึง่ ของนักบินไทยทีม่ ศี กั ยภาพ ในการบินเดินทางไกลผานนานฟานานาชาติ เครื่องบิน เดินทางถึงประเทศไทยเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2508 และไดรับการบรรจุประจําการในฝูงบิน 63 กองบิน 6 ได รับการกําหนดชือ่ เรียกวา เครือ่ งบินลําเลียงแบบที่ 5 หรือ บล.5 นอกจากนี้ยังไดจดทะเบียนสากลอีกวา HS-TAF
AVRO 748 หรือ HS 748 Series 2 หมายเลข 11-111 มีรูปรางทั่วไปภายนอกคลายกับ AVRO ที่ใชใน สายการบินเดินอากาศไทย แตที่พิเศษคือ การจัดเกาอี้ และการตกแตงภายในหองโดยสารใหสมกับพระเกียรติ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยจัดหองประทับไว สวนทายเครือ่ ง และจัดเกาอีป้ ระทับเปนแบบเกาอีค้ ู 2 ตัว และเกาอี้เดี่ยวที่หมุนหรือยืดใหนอนไดอีก 2 ตัว ภายในหองโดยสารของเครือ่ งบินพระราชพาหนะ เครื่องนี้ ยังไดรับการติดตั้งระบบปรับอุณหภูมิและความ ดันของอากาศ ระบบปรับอากาศนี้ประกอบดวยเครื่อง อัดอากาศกอตเฟลย รตเตอร ซึ่งทํางานโดยชุดเฟองขับ อุปกรณชวยของเครื่องยนต สามารถเปาอากาศออกไป ไดไมนอยกวา 25 ปอนดตอนาที ณ ความสูง 25,000 ฟุต ซึ่งเพียงพอที่จะรักษาความกดอากาศในหองโดยสารมิให ลงต่ํากวาที่เลือกไวถึงแมเครื่องอัดอากาศจะทํางานเพียง เครื่องเดียวก็ตาม อยางไรก็ตามระบบปรับความดันและ อุณหภูมอิ ตั โนมัตนิ จี้ ะไมทาํ งานจนกวาเครือ่ งยนตจะเริม่ เดิน เครือ่ ง และดวยเหตุทปี่ ระเทศไทยของเราเปนประเทศรอน ดังนั้นเมื่อเครื่องบินตองจอดอยูกลางแจงเปนเวลานาน ๆ จะทําใหหอ งโดยสารเกิดอากาศรอนมาก เครือ่ งบินเครือ่ งนี้ จึงตองไดรบั การติดตัง้ เครือ่ งเปาอากาศขนาดใหญขบั โดย กําลังไฟฟาจากเครื่องกําเนิดไฟฟาภาคพื้นกอนทําการติด เครื่องยนต ซึ่งจะทําใหอากาศภายในหองโดยสารเย็นลง ไดบาง หากยังเย็นไมพอก็สามารถนําทออากาศเย็นของ เครื่องปรับสภาพอากาศบนพื้นดินมาตอทอเขาที่ชองพิเศษ ใตลําตัวที่ไดรับการออกแบบเปนพิเศษ
เครื่องยนตเทอรโบปร็อบ โรลส-รอยซ ดารท อารดีเอ 7 (Rolls Royce Dart RDA 7) ใหกําลังเครื่องละ 1,910 แรงมา จํานวน 2 เครื่อง ที่ไดรับการติดตั้งใหกับ “11-111” เครื่องนี้ ไดรับการปรับใหใชไดเฉพาะน้ํามัน เชื้อเพลิง JP-4 และ JET A-1 โดยปกติของเครื่องยนตรุน นีไ้ ดรับการออกแบบใหใชน้ํามันเชื้อเพลิง JP-1 และ JP-4 เครือ่ งยนตดา นซายของ AVRO ไดรบั การติดตัง้ หามลอใบพัด โดยเมือ่ เครือ่ งบินลงจอดนักบินสามารถใชหา มลอนีท้ าํ ให ใบพัดหยุดหมุนเร็วขึน้ นัน่ หมายถึงเมือ่ นักบินปดเครือ่ งยนต ผูโดยสารก็แทบจะออกจากเครื่องไดทันทีเลยเชนกัน ในป 2516 กองทัพอากาศไดรบั อนุมตั จิ ากรัฐบาล ใหจดั ซือ้ เครือ่ งบิน HS 748 เพือ่ นอมเกลาฯ ถวายเปนเครือ่ งบิน พระราชพาหนะอีกหนึง่ เครือ่ ง และกําหนดหมายเลขพิเศษ “99-999” ทําใหกองทัพอากาศมีเครือ่ งบินพระราชพาหนะ แบบ AVRO 748 ประจําการ 2 เครือ่ ง โดยบรรจุประจําการ อยูในฝูงบิน 63 กองบิน 6 ดอนเมือง (หลังป 2520 เปลี่ยน ชือ่ เปน ฝูงบิน 603) ในฐานะเครือ่ งบินพระราชพาหนะ และ รับ-สงบุคคลสําคัญ VIP ตอมาในป 2526 กองทัพอากาศไดจดั หาเครือ่ งบิน AVRO 748 จากบริษัท เดินอากาศไทย จํากัด อีก 4 เครื่อง มาเสริมเปนเครื่องบินลําเลียงในกองทัพอากาศ และเมื่อ กองทัพอากาศปรับโครงสรางกําลังทางอากาศใหม จึงยาย ไปประจําการในฝูงบิน 602 ภายหลังเมื่อมีการปลดประจําการ เครื่องบินลําเลียงแบบ C-47 ทั้งหมดในกองทัพอากาศ จึง ยายกลับมาประจําการในฝูงบิน 603 จนถึงปจจุบัน โดยยัง คงปฏิบัติภารกิจลําเลียงและรับ-สงบุคคลสําคัญ
เครื่องบินเหลานี้บรรจุประจําการมาตั้งแตป 2507 เปนตนมา และตลอดเวลาของการประจําการ AVRO 748 หรือ HS 748 จนกระทั่งปจจุบัน 50 ป แมวา จะไมไดปฏิบัติหนาที่เปน “เครื่องบินพระราชพาหนะ” ในปจจุบันแลวก็ตาม แตเครื่องบินทั้งหมดก็ยังคงถูกใช งานทัง้ ในภารกิจเปนเครือ่ งบินรับ-สงบุคคลสําคัญไดเปน อยางดี ดวยผลงานการบํารุงรักษาของบรรดาเจาหนาที่ ฝายการชาง และนักบินของกองทัพอากาศ อาจจะกลาว ไดวา AVRO 748 เปนเครื่องบินทางทหารที่เกาแกที่สุด ทีย่ งั ประจําการอยูใ นกองทัพอากาศจนทุกวันนี้ และเมือ่ ป 2557 ที่ผานมา ในโอกาสพิเศษนี้กองทัพอากาศ โดย ฝูงบิน 603 กองบิน 6 จัดทําลวดลายบริเวณหางของ เครื่องบินวา “ครบรอบ 50 ป เครื่องบินลําเลียงแบบที่ 5” เพื่อจารึกเปนประวัติศาสตรการบินที่สําคัญหนาหนึ่ง ของกองทัพอากาศไทย
พฤษภาคม ๒๕๕๙
ขาวทหารอากาศ ๓๕
ทัง้ นี้ ในป 2559 นี้ กองทัพอากาศจะปลดประจําการเครือ่ งบิน AVRO 748 ซึง่ นับวาเปนเครือ่ งบินทีเ่ กาแกทสี่ ดุ ในกองทัพอากาศ ถือเปนการหยุดพักการปฏิบัติการของ AVRO 748 อยางเปนทางการ ซึ่งเราคงตองรอที่จะไปเยี่ยม เครื่องบินเครื่องนี้ในพิพิธภัณฑกองทัพอากาศและการบินแหงชาติ ตอไปในอนาคต นีค่ อื ความภาคภูมใิ จสูงสุดของผูท าํ งานทีเ่ กีย่ วของกับการบินในแผนดินสยามและคนไทยทุกคน มิใชเพียง กองทัพอากาศเทานัน้ การทีเ่ รามีเครือ่ งบินพระทีน่ งั่ มากมายหลายแบบและหลายเครือ่ งก็เพือ่ ถวายความปลอดภัย สูงสุดใหกับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระราชวงศ ทุกพระองค เนื่องเพราะทุกพระองคมีพระราชกรณียกิจในทองถิ่นตาง ๆ โดยเฉพาะการเยี่ยมราษฎรของพระองค ในทุกทองถิ่นไมเวนแมบางพื้นที่ซึ่งรถยนตยังเขาไมถึง ทั้งหมดเพราะพระองคทรงหวงใยในทุกขสุขและความเปน อยูของประชาชน และทั้งหมดที่เราตองมีเครื่องบินพระที่นั่งก็เพื่อใหพระองคทรงสะดวกสบาย เพราะเราก็รักและ หวงใยพระองคทานเชนเดียวกัน """
น.ท.อนุโชต วุฒิพรพงษ ศคพ.สอ.ทอ. (ตอจากฉบับที่แลว) ๕) การควบคุมการเขาถึง (Access Control) จะกลาวถึงบทบาทของผูบ ริหารองคกรตัวแทนฝายบริหาร จัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ผูดูแลระบบและ ขาราชการของ ศคพ.สอ.ทอ. ในดานตาง ๆ ดังตอไปนี้ ๕.๑ การจัดทํานโยบายควบคุมการเขาถึงศูนย คอมพิวเตอร เพือ่ ควบคุมการเขาถึงทรัพยากรสารสนเทศและ ทรัพยสนิ ตาง ๆ ภายในหองศูนยขอ มูลหองศูนยปฏิบตั กิ ารและ รักษาความปลอดภัยเครือขาย และหองอื่น ๆ ของ ศคพ. สอ.ทอ. ๕.๒ การบริหารจัดการการเขาถึงของผูใช โดยมีขนั้ ตอนการลงทะเบียนและการเพิกถอนสิทธิผ์ ใู ชอยาง เปนลายลักษณอกั ษรเพือ่ ควบคุมการเขาถึงระบบสารสนเทศ เฉพาะผูท ไี่ ดรบั อนุญาตแลวและปองกันการเขาถึงโดยไมได รับอนุญาต ๕.๓ การจํากัดสิทธิ์ โดยจะตองกําหนดสิทธิ์ ในการเขาถึงระบบงาน/ขอมูลตามภาระหนาที่และความ จําเปนในการปฏิบัติงาน (Need to know basis) เพื่อ ปองกันการเขาถึงโดยไมไดรบั อนุญาต การเปดเผยหรือการ ขโมยสารสนเทศและอุปกรณประมวลผลสารสนเทศ ๕.๔ การควบคุมการเขาใชงานระบบปฏิบตั กิ าร การตรวจสอบยืนยันผูใชงานที่ตองมีการกําหนดรหัสผูใช
และรหัสผานทีม่ คี วามเหมาะสม ยากตอการคาดเดา และ ไมใชงานรวมกัน ๕.๕ การควบคุมอุปกรณเครือขาย อุปกรณ สื่อสารประเภทพกพาและการปฏิบัติงานจากภายนอก เพื่อสรางความมั่นคงปลอดภัยใหกับอุปกรณและการ ปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ ๖) การเขารหัสและถอดรหัส (Cryptography) มีการกําหนดนโยบายทีเ่ กีย่ วของกับการควบคุมและจัดการ การเขารหัสขอมูลตาง ๆ ขององคกร ใหมีการเขารหัสที่ ถูกตอง ปลอดภัย และมีแนวปฏิบัติที่เปนไปในทิศทาง เดียวกัน โดยขอมูลทีม่ ชี นั้ ความลับของหนวยงานจะตอง ถูกเขารหัสและมีการเก็บรักษาในตูนิรภัยเปนอยางดี ๗) การสรางความมัน่ คงปลอดภัยทางกายภาพ และสิ่งแวดลอม (Physical and Environmental Security) โดยกลาวถึงบทบาทของ ศคพ.สอ.ทอ. ในการ ดูแล เฝาระวัง รักษาความปลอดภัยดานตาง ๆ ดังตอไปนี้ ๗.๑ มีการกําหนดพื้นที่หรือโซนที่ตองมี การรักษาความมั่นคงปลอดภัย เพื่อปองกันการเขาถึง ทางกายภาพโดยไมไดรบั อนุญาต การกอใหเกิดความเสีย หายการกอกวนหรือแทรกแซงตอทรัพยสนิ สารสนเทศของ องคกรโดยมีการแบงระดับการเฝาระวังและควบคุมพืน้ ที่
พฤษภาคม ๒๕๕๙ ออกเปน ๓ ระดับ ไดแก ๗.๑.๑ โซนสีเขียว (Green Zone) หมายถึง พื้นที่ที่จัดอยูในระดับความสําคัญนอย ไดแก พื้นที่หอง Training ๑, ๒ และพื้นที่ทางเดิน ๗.๑.๒ โซนสีเหลือง (Yellow Zone) หมายถึง พืน้ ทีท่ จี่ ดั อยูใ นระดับความสําคัญปานกลาง ไดแก หองปฏิบตั กิ ารและรักษาความปลอดภัยเครือขาย NSOC พืน้ ทีจ่ ดั เก็บสํารองขอมูล และพืน้ ทีโ่ ดยรอบของโซนสีแดง ภายในศูนยคอมพิวเตอร ๗.๑.๓ โซนสีแดง (Red Zone) หมายถึง พืน้ ทีท่ จี่ ดั อยูใ นระดับความสําคัญสูง ไดแก พืน้ ที่ ตัง้ ของระบบและอุปกรณสาํ คัญภายในศูนยคอมพิวเตอร ๗.๒ การควบคุมการเขาถึงพื้นที่ การขอ อนุญาตเขาถึงพื้นที่ของบุคคลภายนอก มีการกรอกแบบ
ขาวทหารอากาศ ๓๗ ฟอรมเพื่อนําอุปกรณเขาและออกบริเวณดังกลาว เพื่อ ปองกันการสูญหาย การเกิดความเสียหาย การถูกขโมย หรือการถูกเปดเผยโดยไมไดรบั อนุญาตของทรัพยสนิ หรือ การดําเนินงานตาง ๆ ที่อาจสงผลใหการปฏิบัติงานของ ศูนยขอมูลเกิดการติดขัดหรือหยุดชะงัก ๗.๓ การตรวจสอบสภาพความพรอมใชงาน ของระบบสนับสนุนการทํางานของระบบและอุปกรณ คอมพิวเตอร เพือ่ ใหระบบตาง ๆ ภายในศูนยขอ มูลสามารถ ปฏิบตั งิ านไดอยางตอเนือ่ งและมีเสถียรภาพ โดยมีเจาหนาที่ ศคพ.สอ.ทอ. เฝาดูแลการทํางานของระบบโครงสราง พื้นฐานตาง ๆ ไดแก ระบบกระแสไฟฟา (ตู MDB, EMDB) ระบบการควบคุมความชืน้ และระบบการปรับอุณหภูมริ ะบบ ไฟฟาสํารอง UPS และเครื่องทําไฟ (Generator) ระบบ ดับเพลิงอัตโนมัติ (FM200) ระบบกลองวงจรปด (CCTV)
ภาพการแบงพื้นที่รักษาความปลอดภัยทางกายภาพของศูนยขอมูลกองทัพอากาศ
๓๘ ขาวทหารอากาศ และระบบควบคุมการเขาถึงพื้นที่ (Access Control) ๘) การสรางความมัน่ คงปลอดภัยในการดําเนิน การ (Operations Security) โดยไดกลาวถึงการกําหนด หนาทีค่ วามรับผิดชอบและขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ใหการ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับอุปกรณประมวลผลสารสนเทศ เปนไปอยางถูกตองและปลอดภัย ดังตอไปนี้ ๘.๑ การตรวจสอบติดตามและประเมินผล การบริการจากภายนอกเปนประจํา เพื่อใหมั่นใจไดมีการ ปฏิบัติตามขอตกลงในการรักษาความปลอดภัยของขอมูล และเพือ่ ใหไดมกี ารจัดการกับปญหาทางดานความปลอดภัย อยางเหมาะสม ๘.๒ การบริหารการเปลี่ยนแปลง การ เปลี่ยนแปลงใด ๆ ในระบบเครือขายและระบบสารสนเทศ ขององคกรจะตองปฏิบัติตามกระบวนการบริหารจัดการ การเปลี่ยนแปลง (Change management procedure) ขององคกร ๘.๓ การปองกันโปรแกรมทีไ่ มประสงคดหี รือ มัลแวร (Malware) เพือ่ รักษาซอฟตแวรและสารสนเทศให ปลอดภัยจากการถูกทําลายโดยซอฟตแวรที่ไมประสงคดี ๘.๔ การสํารองขอมูล เพื่อรักษาความถูกตอง สมบูรณและความพรอมใชของสารสนเทศและอุปกรณ ประมวลผลสารสนเทศ ๙) การบริหารจัดการดานการสื่อสาร (Communications Security) เปนการบริหารจัดการทางดาน ความปลอดภัยสําหรับเครือขายขององคกร เพื่อปองกัน สารสนเทศบนเครือขายและโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุน การทํางานของเครือขายใหปลอดภัยและสามารถใหบริการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ มีการปองกันเครือขายจากการบุกรุก โดยไมไดรับอนุญาตผานทางการจัดรูปแบบของเครือขาย (Network Topology) การแสดงผังการเชื่อมตอของเครือขาย และปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง เครือขายการเฝาระวัง โดยบันทึกเหตุการณที่เกี่ยวของกับ การใชงานระบบเครือขายและสารสนเทศ (Audit Logging) การตรวจสอบการใชงานระบบสารสนเทศอยางสม่ําเสมอ
พฤษภาคม ๒๕๕๙ เพื่อใหแนใจวาระบบเครือขายและสารสนเทศยังคง สามารถใหบริการไดตามปกติ ๑๐) การจัดหา การพัฒนาและบํารุงรักษา ระบบสารสนเทศ (Systems Acquisition, Development and Maintenance) โดยมีการจัดทําขอกําหนดดาน ความมัน่ คงปลอดภัยสําหรับระบบสารสนเทศ เพือ่ ใหการ จัดหาและพัฒนาระบบสารสนเทศไดพจิ ารณาถึงประเด็น ทางดานความมัน่ คงปลอดภัยเปนองคประกอบพืน้ ฐานที่ สําคัญ โดยพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ ๑๐.๑ การประเมินความเสี่ยงและระบุ ขอกําหนดทางดานความมั่นคงปลอดภัย (Security Requirements) ของระบบงานที่จะจัดหาหรือพัฒนา อยางเปนลายลักษณอักษร รวมทั้งการจัดทําแผนการ ทดสอบโดยผูพัฒนาระบบ ๑๐.๒ การเขารหัสขอมูลสําคัญที่มีการ รับ-สงขอมูลระหวางเครือ่ งผูใ ชงานกับเครือ่ งคอมพิวเตอร ใหบริการ ๑๐.๓ การตัดและหมดเวลาการใชงาน หลังจากที่ไมไดใชระบบงานเกินกวาระยะเวลาตามที่ กําหนดไว เชน ๑๕ - ๓๐ นาที เปนตน ๑๐.๔ การกําหนดแผนการติดตั้งสําหรับ ระบบงาน ซึง่ รวมถึงระยะเวลาทีจ่ ะดําเนินการรวมทัง้ แจง ใหผทู เี่ กีย่ วของไดรบั ทราบกอนลวงหนา เชน แผนการติด ตัง้ ฮารดแวร ซอฟตแวรและอืน่ ๆ ในกรณีทเี่ ปนการติดตัง้ ระบบ เพื่อทดแทนระบบงานเดิมใหทําการสํารองขอมูล ที่จําเปนเชนฐานขอมูล ๑๐.๕ การติดตั้งโปรแกรมแกไขชองโหว ตาง ๆ (Patch) ทีเ่ กีย่ วของกับระบบงานตามความจําเปน เชน โปรแกรมแกไขชองโหวสําหรับระบบปฏิบัติการ โปรแกรมแกไขชองโหวสําหรับระบบบริหารจัดการ ฐานขอมูล เปนตน ๑๐.๖ การออกแบบการรักษาความ ปลอดภัยระบบ (Security Operational Design) เพื่อ ใหการใชงานซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นมาใชงานในระบบ
พฤษภาคม ๒๕๕๙ มีความปลอดภัย ปองการการโจมกรรมขอมูล หรือการโจมตี ระบบผานทางเครือขาย ผูพัฒนาควรนําหลักการพัฒนา ระบบใหมีความมั่นคงปลอดภัยมาใชงาน เชน OWASP (The Open Web Application Security Project) เพือ่ ปองกันระบบ/ซอฟตแวรจากชองโหวที่สําคัญ ๑๑) การควบคุมผูผ ลิตหรือผูใ หบริการ (Supplier Relationships) เปนการกําหนดมาตรการควบคุม เพื่อปองกันมิใหเกิดเหตุการณละเมิดความปลอดภัยกับ ระบบสารสนเทศอันเกิดจากการปฏิบตั งิ านของหนวยงาน ภายนอก โดยจะตองมีการประเมินความเสี่ยงหนวยงาน ภายนอก มาตรการปองกันที่เหมาะสม การชี้แจงขอควร ปฏิบัติใหแกหนวยงานภายนอก เจาของระบบ/เจาของ พื้นที่ ใหรับทราบกอนเขามาปฏิบัติงาน
ขาวทหารอากาศ ๓๙ ๑๒) การบริหารจัดการเหตุการณที่เกี่ยวของ กับความมั่นคงปลอดภัยขององคกร (Information Security Incident Management) เปนการรายงาน เหตุการณและจุดออนทีเ่ กีย่ วของกับความมัน่ คงปลอดภัย เพื่อใหเหตุการณและจุดออนที่เกี่ยวของกับความมั่นคง ปลอดภัยของระบบสารสนเทศขององคกรไดรบั การดําเนิน การทีถ่ กู ตอง ในชวงระยะเวลาทีเ่ หมาะสมตามกระบวนการ เฝาระวังและรักษาความปลอดภัยระบบทีไ่ ดกลาวไปแลว ซึง่ ระบบจัดเก็บขอมูลดังกลาวไดรบั การรับรองตามมาตรฐาน ISO ของหัวขอ ๑๐ ดานการพัฒนาระบบสารสนเทศ และพัฒนาโดยบุคลากรของ ศคพ.สอ.ทอ. อีกทั้งสามารถ นําไปประยุกตใชงานกับระบบสารสนเทศอื่น ๆ ของ ทอ. ตอไปได
ภาพระบบบันทึกอุบัติการณและบริการสารสนเทศ RTAF Data Center (NCSC)
๔๐ ขาวทหารอากาศ ๑๓) การบริหารความตอเนือ่ งในการดําเนินงาน ขององคกร (Business Continuity Management) โดยจะกลาวถึงบทบาทของผูบริหารองคกรและผูปฏิบัติ งาน ที่เกี่ยวกับหัวขอพื้นฐานสําหรับการบริหารความตอ เนื่องในการดําเนินงานขององคกร เพื่อปองกันการติดขัด หรือการหยุดชะงักของการใหบริการระบบงานของกองทัพ ทีม่ คี วามสําคัญอันเปนผลมาจากการลมเหลวหรือหายนะที่ มีตอระบบสารสนเทศ และเพื่อใหสามารถกูระบบกลับคืน มาไดภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ๑๔) การปฏิบตั ติ ามขอกําหนด (Compliance) โดยกลาวถึงบทบาทของผูบ ริหารองคกร หรือ ตัวแทน และ หนาที่ของพระธรรมนูญในดานตาง ๆ ดังตอไปนี้ ๑๔.๑ การปฏิบตั ติ ามขอกําหนดทางกฎหมาย เพื่อหลีกเลี่ยงการละเมิดขอกําหนดทางกฎหมาย ระเบียบ ปฏิบัติ ขอกําหนดในสัญญา และขอกําหนดทางดานความ มั่นคงปลอดภัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ๑๔.๒ การปฏิบัติตามนโยบาย มาตรฐาน ความปลอดภัยและขอกําหนดทางเทคนิค เพื่อใหระบบ เปนตามนโยบายและมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัย
พฤษภาคม ๒๕๕๙ ตามที่องคกรกําหนดไว จะเห็นไดวาเมื่อศูนยขอมูลกองทัพอากาศ ไดปฏิบัติตามนโยบาย กระบวนการตาง ๆ ที่วางไวทั้ง ๑๔ หัวขอ ทีไ่ ดกลาวไปแลวนัน้ ไดมกี ารฝกอบรมบุคลากร เจาหนาที่ใหมีความตระหนักและปฏิบัติตามมาตรฐาน ระบบบริหารจัดการความมัน่ คงปลอดภัยขอมูลสารสนเทศ อีกทัง้ มีการใชเครือ่ งมือและเทคโนโลยีตา ง ๆ เขามาชวยใน การปฏิบตั กิ ารอยางเหมาะสม จะทําใหศนู ยขอ มูลกองทัพ อากาศ (RTAF Data Center) เปนสถานทีท่ มี่ คี วามมัน่ คง ปลอดภัยและมีกระบวนการเฝาระวัง ปองกัน ปกปอง ขอมูลและระบบงานสารสนเทศที่จัดเก็บไวไดอยางทัน ทวงทีเมือ่ เกิดสถานการณ เปนการสนองตอบตอนโยบาย ผบ.ทอ. ที่ตองการรวมระบบงานตาง ๆ ภายในกองทัพ ไวที่ศูนยขอมูลดังกลาวและมีระบบสํารองพรอมใชงาน เพือ่ ใหประหยัดงบประมาณในการซอมบํารุง ดูแลระบบ สารสนเทศ และเครื่องแมขายตาง ๆ ที่ นขต.ทอ.ตางคน ตางดูแล รวมทั้งเพื่อใหการบูรณาการระบบรักษาความ ปลอดภัยเครือขายและระบบงานสารสนเทศของกองทัพ อากาศเปนไปอยางยัง่ ยืนดวยบุคลากรของ ทอ. """
โครงการพลังงานแสงอาทิตย ของกองทัพอากาศ น.ต.วสันต เชวงเศรษฐกุล
เนือ่ งจากพลังงานเปนปจจัยทีส่ าํ คัญยิง่ ประการ หนึง่ ตอการปฏิบตั ภิ ารกิจของกองทัพอากาศ ผูบ ญ ั ชาการ ทหารอากาศไดกาํ หนดนโยบายดานสงกําลังบํารุง กําหนด แนวทางและหลักเกณฑการใชพลังงานทดแทนในดาน ตาง ๆ เปนพลังงานสํารอง โดยจัดลําดับความสําคัญใน การขยายผลใหกบั หนวยงานภายในกองทัพอากาศ รวมถึง การพิจารณาแนวทางการใชพลังงานสํารองในภารกิจ ทางทหารและกิจการพิเศษตามความจําเปน มีการจัดตัง้ คณะกรรมการพลังงานทดแทน ทอ.และคณะอนุกรรมการ พลังงานทดแทนในดานตาง ๆ ประกอบไปดวย พลังงาน ลม ไบโอดีเซล พลังงานชีวมวล และพลังงานแสงอาทิตย เพือ่ กํากับดูแลและดําเนินงานดานพลังงานทดแทน ใหเปน ไปตามแผนยุทธศาสตรพลังงานทดแทนกองทัพอากาศป พ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๖๘ โดยมีประเด็นหลักทัง้ สิน้ ๕ ประเด็น ยุทธศาสตร ไดแก การบริหารจัดการดานพลังงานทดแทน การวิจยั และพัฒนาดานพลังงานทดแทน การสงเสริมการ ผลิตและการใชพลังงานทดแทน การพัฒนาบุคลากรดาน พลังงานทดแทน และการจัดการองคความรูด า นพลังงาน ทดแทน ในสวนของงานดานพลังงานแสงอาทิตย รับผิดชอบ โดยคณะอนุกรรมการพลังงานทดแทน ทอ.ดานพลังงาน แสงอาทิตย ไดดําเนินโครงการพลังงานแสงอาทิตย โดย สํารวจพืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ แผงเซลลพลังงานแสงอาทิตยและติดตาม ผลการดําเนินงานอยางตอเนื่องตั้งแตป ๕๑ มีโครงการ ติดตั้งทั้งในพื้นที่ราบและบนภูเขา ที่ระบบสายสงจาก การไฟฟาเขาไมถงึ เชน ตามสถานีถา ยทอดโทรคมนาคม ตาง ๆ และมีการติดตัง้ ใชงานเครือ่ งผลิตน้าํ รอนพลังงาน
แสงอาทิตยในหนวยงานทีม่ ที ตี่ งั้ บนภูเขาสูง เชน ดอยอิน ทนนท ภูหมันขาว ภูกระดึง ซึ่งมีอากาศหนาวเย็น ในฤดู หนาวมีอุณหภูมิต่ํากวา ๑๐ องศาเซลเซียส โดยในชวงที่มี แสงแดดเครือ่ งทําน้าํ รอนจะดูดซับพลังงานแสงอาทิตยและ ผลิตน้ํารอนบรรจุในถังเก็บ ทําใหขาราชการที่ปฏิบัติงานอยู ที่สถานีมีน้ําอุนใชไดตลอดทั้งวัน ปจจุบนั มีการติดตัง้ ระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ในหนวยงานตาง ๆ ของ ทอ. ไดแก กองบิน ฝูงบิน สถานี ถายทอดโทรคมนาคม สถานีรายงาน และศูนยการเรียนรู พลังงานทดแทน ทอ. รวมทั้งสิ้น ๓๓๙ กิโลวัตต โดยในป ๕๗ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสงเสริมการ อนุรกั ษพลังงานสําหรับดําเนินโครงการ ๒ โครงการ ไดแก โครงการติดตั้งระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย เพื่อ ใชงานในสถานีถา ยทอดโทรคมนาคมในสวนทีไ่ ฟฟาเขาไมถงึ ๔ แหง (สถานีถา ยทอดโทรคมนาคมภูกระดึง ภูโคง เขาชะเมา และเขาวงจันแดง) และโครงการติดตั้งระบบผลิตไฟฟา ดวยเซลลแสงอาทิตยสําหรับใชงานระบบเรดาร และใน ป ๕๘ ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ เพิ่มเติม อีก ๓ โครงการ ไดแก ๑. โครงการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสง อาทิตยขนาด ๑ เมกะวัตต สําหรับกองบิน ๒ ฝูงบิน ๒๓๗ น้ําพอง และโรงเรียนการบิน ๒. โครงการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสง อาทิตยสําหรับระบบเครื่องชวยเดินอากาศ (TACAN) ๒ แหง ๓. โครงการติดตัง้ ชุดโคมไฟถนนแอลอีดพี ลังงาน แสงอาทิตยในหนวยงานของกองทัพอากาศ
๔๒ ขาวทหารอากาศ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
สถทค.บานลาดชาง
สถทค.ภูโคง
สร.ภูหมันขาว
สร.เขาเขียว
ศูนยการเรียนรูพลังงานทดแทน ทอ.
โดยเปาหมาย ทอ.จะมีกาํ ลังการผลิตไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยรวมทัง้ สิน้ ๕,๑๓๔ กิโลวัตต ประมาณการไฟฟา ที่จะผลิตได ๘.๔๒ ลานยูนิตตอป ซึ่งนอกจากเปนการลด คาไฟฟาของ ทอ.แลว การดําเนินงานดานพลังงานแสงอาทิตย ยังมีผลดานบวกอื่น ๆ อีก ไดแก เปนการสนับสนุนการใช โรงไฟฟาจากพลังงานทดแทน เสริมสรางความมั่นคงดาน พลังงานใหกับ ทอ.และประเทศชาติ อีกทั้งยังสามารถเปน แหลงการเรียนรูใ นดานกระบวนการผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตยใหแกกําลังพล ทอ. และประชนชนที่สนใจ อีกดวย ในอนาคตจะมีแผนขยายการติดระบบฯ ในหนวย งานอื่น ๆ ของกองทัพอากาศตอไป โดยมีเปาหมายเพื่อ เพิม่ ขีดความสามารถในการปฏิบตั ภิ ารกิจ และทีส่ าํ คัญเพือ่ เสริมสรางความมัน่ คงของชาติและความสุขใหแกประชาชน
ศูนยการเรียนรูพลังงานทดแทน ทอ.
ผูเ ขียนจําไดวา เคยเขียนบทความเกีย่ วกับโทรทัศน วงจรปด (CCTV) มาแลวหลายครัง้ และในแตละบทความได เนนใหเห็นถึงประโยชนทจี่ ะไดรบั ถาผูใ ชนนั้ เลือกใชระบบ โทรทัศนวงจรปด (CCTV System) ที่ถูกตอง ในบทความนี้ ผูเขียนขอเขียนเกี่ยวกับโทรทัศนวงจรปดอีกครั้ง เนื่อง มาจากสิ่งแรกความไมสงบเรียบรอย โดยเฉพาะอยางยิ่ง เหตุการณการกอการรายและอาชญากรรมที่ผาน ๆ มา นั้นสงผลตอความมั่นคงของชาติ รวมทั้งความปลอดภัย รมเย็นเปนสุขของประชาชนในประเทศ จากปญหา เดิม ๆ ที่เกิดขึ้นในการใชโทรทัศนวงจรปด อาทิ กลอง ไมไดมาตรฐาน ภาพไมมีความคมชัด ไมไดรับการดูแล รักษาอยางตอเนื่อง และที่สําคัญไมไดรับการสนับสนุน งบประมาณจากภาครัฐ ซึ่งผูเขียนมองวาระบบโทรทัศน วงจรปดในยุคดิจทิ ลั ถือเปนเครือ่ งมือทีม่ ศี กั ยภาพในการ ปองกันและแจงเตือนกอนเหตุการณไมสงบจะเกิดขึน้ ได อยางมีประสิทธิภาพ หากมีการเลือกใชระบบโทรทัศน วงจรปดที่ถูกตอง มีการบูรณาการ และบริหารจัดการ ไดอยางเปนระบบ อาทิ ระบบรักษาความปลอดภัยแบบ โทรทัศนวงจรปด “PRAETORIAN” ที่นําไปติดตั้งใชงาน
ในทางทหารและเอกชนของสหรัฐฯ ทัง้ ในประเทศและตาง ประเทศ ประกอบกับสิง่ ตอมาเกิดขึน้ ชวงตนเดือนมกราคม ทีผ่ า นมา มีการประชุมหารือดานความมัน่ คงในบานเราวา มีความตองการใหกลองโทรทัศนวงจรปดทีม่ อี ยูท วั่ ประเทศ มีการเชื่อมโยงภาพระหวางกลองโทรทัศนวงจรปดดวย กัน ตัวอยางเชน การพิสูจนใบหนา ซึ่งสามารถนําภาพมา ใชไดทั้งกรมศุลกากร กรมสรรพากร สํานักงานตํารวจ แหงชาติ และตามดานชายแดนตาง ๆ อีกทั้งในปนี้จะ เพิ่มกลองโทรทัศนวงจรปดอีก ๕๐๐ กลอง ถือเปนการ ใชเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรและเครือขายที่มีผลตอ การใชระบบโทรทัศนวงจรปดในยุคดิจิทัล และคาดวาจะ มีการเชื่อมโยงระบบรักษาความปลอดภัยตาง ๆ เขากับ ระบบโทรทัศนวงจรปด เมือ่ นํามาเทียบกับระบบโทรทัศน วงจรปดแบบเดิมทีม่ ใี ชอยูใ นบานเรานัน้ จะเห็นมีขอ จํากัด อยูหลายขอในการใชงานดานการรักษาความปลอดภัย ดังเชน สามารถใชเปนไดแคเครือ่ งมือในการเฝาตรวจและ บันทึกเหตุการณ (Forensic) โดยบทความในฉบับมีมมุ มอง และรายละเอียดที่นาสนใจ ดังนี้
๔๔ ขาวทหารอากาศ ¾ CCTV ในบานเรา ขอมูลจากการสัมมนาระดมสมอง เรือ่ ง “โทรทัศน วงจรปด (CCTV) ชวยลดอาชญากรรมไดอยางไร” โดย คณะกรรมาธิการวิทยาศาสตรเทคโนโลยี การสื่อสารและ โทรคมนาคม วุฒิสภา เมื่อวันจันทรที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓ ซึง่ พูดถึงความสําคัญและประโยชนของ CCTV โดยเชิญหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร เขารวมประชุมเพือ่ ปรึกษาหารือ ตลอดจนเดินทางไปศึกษาดูงานสภาพพืน้ ทีจ่ ริงในการใชงาน CCTV เพื่อใหไดขอมูลขอเท็จจริงของสภาพการทํางานมา อยางตอเนื่อง จนกระทั่งพบขอเท็จจริงวา มีความจําเปน อยางยิง่ ทีจ่ ะตองบูรณาการและบริหารจัดการ CCTV ในบาน เราอยางเปนระบบ ผูเ ขียนไดอา นและเห็นดวย ในมุมมองของ ผูเขียนที่เคยทํางานดาน CCTV มากอน และมองเห็นขอ เท็จจริงของการใชงาน CCTV ในบานเรา ณ ปจจุบันกลาว ไดวา กลองโทรทัศนวงจรปดของภาครัฐที่ไดติดตั้งในพื้นที่ สาธารณะจากสภาพการณในปจจุบันที่มีการพบเห็นกัน อยูบอย ๆ เมื่อไดมีการรองขอขอมูลใด ๆ มักจะปรากฏ วา กลองโทรทัศนวงจรปดไมสามารถใชงานได ถึงจะใช งานไดภาพก็ไมมีความคมชัด ซึ่งควรที่จะมีแนวทางในการ ทําใหกลองโทรทัศนวงจรปดนั้นสามารถใชงานกันไดอยาง มีประสิทธิภาพตลอดเวลา สิ่งหนึ่งที่มองเห็นคือ ยังขาดการ ดูแลรักษาอยางตอเนือ่ งและยังขาดการสนับสนุนงบประมาณ
พฤษภาคม ๒๕๕๙ จากภาครัฐ ประกอบกับการติดตัง้ กลองโทรทัศนวงจรปด ทีผ่ า นมาตามขอมูล ไมมกี ารหารือรวมกันระหวางหนวยงาน ทีม่ คี วามจําเปนตองใชขอ มูล เชน กทม. มีการติดตัง้ กลอง โทรทัศนวงจรปดโดยมิไดทําการประสานกับสํานักงาน ตํารวจแหงชาติเกีย่ วกับพืน้ ทีท่ มี่ คี วามจําเปนตองทําการ ติดตั้ง เนื่องจากเจาหนาที่ตํารวจจะทราบดีวาจุดใดเปน จุดอับที่เปนอันตรายตอประชาชนและควรติดตั้งกลอง โทรทัศนวงจรปดไว ผลลัพธจึงไมเกิดประสิทธิภาพเทาที่ ควรจะเปนจากการติดตั้งกลองโทรทัศนวงจรปด ซึ่งจะ ตองสิ้นเปลืองงบประมาณและบุคลากรในการติดตั้ง กลองโทรทัศนวงจรปดเพิ่มเติม อาทิ เหตุระเบิดเกิดขึ้น ที่ราชประสงคในเวลาที่ผานมา โฆษกสํานักงานตํารวจ แหงชาติ ณ เวลานั้น ไดใหสัมภาษณวา “กลองโทรทัศน วงจรปดทัง้ หมดทีจ่ บั ภาพไดไมใชกลองโทรทัศนวงจรปด ของทาง กทม. ภาพทั้งหมดที่เห็นนั้นเปนกลองโทรทัศน วงจรปดของทางหางสรรพสินคาอัมรินทรพลาซา และทาง โรงแรมไฮแอทเอราวัณ” อางถึงขอมูลจาก รองผูวา กทม. เมื่อจันทรที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๙ เกี่ยวกับการติดตั้ง กลองโทรทัศนวงจรปดของ กทม. ทีไ่ ดดาํ เนินการมาตัง้ แต ป ๒๕๕๐ จนถึงปจจุบนั มีกลองโทรทัศนวงจรปดทีใ่ ชงานได รวม ๔๗,๗๑๙ กลอง และคาดวาในปงบประมาณ ๒๕๕๙ จะมีกลองโทรทัศนวงจรปดเพื่อชวยดูแลความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสินของชาว กทม. เพิ่มขึ้นเกือบ ๖๐,๐๐๐ กลอง
พฤษภาคม ๒๕๕๙
โดยสิง่ ทีค่ วรใหความสําคัญคือ การบูรณาการและบริหาร จัดการระหวางหนวยงานทีม่ คี วามจําเปนตองใชขอ มูล รวมกัน เชน กรมศุลกากร กรมสรรพากร สํานักงาน ตํารวจแหงชาติ และตามดานชายแดนตาง ๆ คงจะตองใช งบประมาณในจํานวนทีม่ าก เพือ่ เชือ่ มโยงขอมูลจากทุกพืน้ ที่ ทัว่ ประเทศมายังสวนกลาง ดังนัน้ สิง่ ทีส่ ามารถดําเนินการ ไดและตอบสนองดานความมัน่ คงในเวลาทีไ่ ดกาํ หนดคือ เพียงแคหนวยงานตาง ๆ ในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ตองสามารถเชือ่ ม โยงขอมูลเพือ่ ใชงานรวมกันในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ได เชน กทม.ได ลงทุนติดตัง้ ระบบกลองโทรทัศนวงจรปดไปแลว จึงควรที่ จะเชือ่ มโยงขอมูลดังกลาวไปยังสํานักงานตํารวจแหงชาติ เพื่อใหสามารถใชขอมูลรวมกันได หรือในเขตพื้นที่เมือง พัทยา เทศบาลเมืองพัทยาไดเชื่อมโยงขอมูลไปยังหนวย งานดานความมั่นคงตาง ๆ เพื่อสามารถใชขอมูลรวมกัน โดยไมตองลงทุนติดตั้งกลองโทรทัศนวงจรปดใหม ซึ่ง CCTV สวนมากในบานเรานัน้ เปนระบบโทรทัศนวงจรปด ในแบบเดิม (Traditional CCTV System) ที่มีขอจํากัด อยูหลายขอในการใชงานดานการรักษาความปลอดภัย เชน สามารถใชเปนไดแคเครื่องมือสําหรับการเฝาตรวจ และบันทึกเหตุการณ (Forensic) เห็นไดจากตองนําภาพ ทีบ่ นั ทึกไวกลับมาดูหลังจากความเสียหายไดเกิดขึน้ แลว
ขาวทหารอากาศ ๔๕
ซึง่ ยังขาดความสามารถในการปองกันและแจงเตือน กอนที่ อันตรายนัน้ จะเกิดขึน้ (Preemptive) อันถือเปนขอจํากัด หนึ่งในหลายขอที่ คุณ Peter Mahon ผูอํานวยการ E.I. Consulting Pty.Ltd. นั้นไดใหขอคิดแกผูเกี่ยวของของ รัฐวิกตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย เมื่อกรกฎาคม ๒๕๕๒ ดวยความเปนหวงเรื่องความปลอดภัยของสถานที่ทํางาน จากภัยคุกคามที่อาจมีตอโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ รวม ทั้งประชาชนที่ใชชีวิตในประเทศออสเตรเลีย สําหรับ ภาพรวมในการบูรณาการและบริหารจัดการ CCTV ไววา “คุณสมบัติหลัก ๆ ของระบบโทรทัศนวงจรปดที่จะนํามา ใชในยุคดิจทิ ลั นัน้ ควรทีจ่ ะมีความสามารถในการรวบรวม ภาพจากกลอง CCTV และ Sensor ตรวจจับที่มีใชอยูใน ระบบ ใหแสดงผลเปนภาพแบบ Real Time บนจอภาพ จอเดียว ภาพทีแ่ สดงบนจอภาพจะชวยเพิม่ ความพรอมใน การเผชิญเหตุใหแกเจาหนาที่ในการรักษาความปลอดภัย และที่สําคัญเทคโนโลยีที่นํามาใชนั้นควรที่จะชวยให เจาหนาที่รักษาความปลอดภัยสามารถตรวจสอบและ ควบคุมเหตุการณทผี่ ดิ ปกติไดอยางทันที” เชน ระบบรักษา ความปลอดภัยแบบโทรทัศนวงจรปด “PRAETORIAN” ที่เนนการเชื่อมโยงระบบรักษาความปลอดภัยตาง ๆ เขา กับระบบกลองโทรทัศนวงจรปด เชน ระบบควบคุมการ
ผานเขา - ออก (Access Control System) ระบบตรวจจับ การบุกรุก (Intrusion Detection System) และระบบอื่น ๆ ถาความมัน่ คงของชาตินนั้ เปนสิง่ ทีส่ าํ คัญเห็นสมควรตองใช งบประมาณจากภาครัฐ สําหรับภาพรวมในการบูรณาการ และบริหารจัดการ CCTV ในบานเราอยางเปนระบบ ซึง่ ถึง
เวลาแลวทีจ่ ะลงทุนทางเทคโนโลยี เพือ่ ใหเกิดความพรอม กับการนําระบบ CCTV ที่ทันสมัยมาใชในยุคดิจิทัล มอง แลวก็คมุ คากับความปลอดภัยของสถานทีแ่ ละประชาชน ทีใ่ ชชวี ติ อยูใ นประเทศทีอ่ าจจะเกิดเหตุการณระเบิดขึน้ โดยผูกอการรายเมื่อใดก็ได
พฤษภาคม ๒๕๕๙
¾ ขอคิดที่ฝากไว ในเวลา ๕๕ ปที่ผานมา ระบบรักษาความ ปลอดภัยดวยโทรทัศนวงจรปดไดมีการพัฒนามาเปน ลําดับตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป จากเครื่องมือที่ใชเฝา ตรวจและบันทึกเหตุการณ (Forensic) ไปสูเครื่องมือ ที่ใชปองกันและแจงเตือน กอนที่อันตรายนั้นจะเกิดขึ้น (Preemptive) ซึง่ ปจจัยสวนสําคัญทีจ่ ะทําใหสงั คมสงบ สุขนั้น ลําพัง CCTV อยางเดียวคงไมสามารถนําไปสูเปา
ขาวทหารอากาศ ๔๗
หมายได กลาวคือ ประชาชนตองมีจติ สาธารณะรวมเปนหู เปนตาสอดสองและใหขอ มูล เพือ่ สรางระบบเครือขายทีม่ ี ประสิทธิภาพ ปจจุบนั เปนทีน่ า ยินดีทตี่ าํ รวจไดใชประโยชน จากระบบโทรทัศนวงจรปด (CCTV System) เพื่อความ มั่นคงปลอดภัยของชาติและประชาชนมากขึ้น ซึ่งความ รวมมือรวมใจในการเอาใจใสตอ สังคมของผูเ กีย่ วของตาง ๆ นัน้ จะสามารถทําใหสงั คมโดยรวมในบานเราพบกับความ สงบสุขไดอยางยั่งยืน """
กองทัพอากาศ กับการแกไขปญหาเรงดวน ตามนโยบายของรัฐบาล (ICAO) พล.อ.อ.ปรีชา ประดับมุข นับตั้งแตรัฐบาลเริ่มเขามาบริหารประเทศ ได ใหความสําคัญในการแกปญหาตาง ๆ ที่สําคัญ ๆ ที่มี ความเรงดวน บางเรื่องเปนปญหาที่สะสมมายาวนานและ สงผลตอการพัฒนาประเทศ ซึง่ ควรทีจ่ ะตองไดรบั การแกไข โดยเรงดวน เชน เรื่องการทุจริตและประพฤติมิชอบ บาง เรื่องเปนปญหาที่สงผลกระทบตอการดํารงชีวิตประจําวัน ของประชาชน เชน ปญหาเศรษฐกิจที่ชะลอตัว บางเรื่อง สงผลตอภาพลักษณของประเทศไทยในสายตาของนานา ประเทศ ความสัมพันธระหวางประเทศ ซึ่งปญหาตาง ๆ เหลานี้ รัฐบาลถือวามีความสําคัญและมีความจําเปนเรงดวน ที่จะตองเรงแกไขใหเกิดผลเปนรูปธรรมโดยเร็ว โดยเฉพาะ การแกไขขอบกพรองดานการบินพลเรือนของประเทศไทย ใหเปนไปตามมาตรฐานขององคการการบินพลเรือนระหวาง ประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) ICAO ไดเขามาทําการตรวจสอบการกํากับดูแล ความปลอดภัยดานการบินพลเรือนตามโครงการ Universal Safety Oversight Audit Program: USOAP ซึง่ กรมการบิน พลเรือน (บพ.) ปจจุบนั คือ สํานักงานการบินพลเรือนแหง ประเทศไทย (กพท.) ตามพระราชกําหนดการบินพลเรือน แหงประเทศไทย พ.ศ.๒๕๕๘ เปนหนวยงานทีท่ าํ หนาทีก่ าํ กับ ดูแลดานการบินพลเรือนของประเทศไทยและเปนหนวยที่ รับการตรวจสอบนัน้ ผลการตรวจสอบพบวา การกํากับดูแล ความปลอดภัยดานการบินพลเรือนของประเทศไทย มีขอ บกพรองจํานวนมาก ซึง่ รวมถึงขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญตอ ความปลอดภัย (Significant Safety Concern: SSC) ดวย และหากมิไดรับการแกไขโดยเรงดวนแลว จะสงผลกระทบ
ตอเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศโดยรวมได โครงการ USOAP เปนโครงการของ ICAO ซึง่ ได จัดตัง้ ขึน้ ตัง้ แต ม.ค.๔๒ (ค.ศ.๑๙๙๙) โดยมีวตั ถุประสงค คือ สงเสริมการควบคุมความปลอดภัยดานการบินประเทศ ภาคีสมาชิกของ ICAO จํานวน ๑๙๑ ประเทศ ซึ่งการ ตรวจสอบของ USOAP จะเนนในเรือ่ งการประเมินความ สามารถของรัฐทีจ่ ดั ใหมกี ารควบคุมความปลอดภัยไดอยางมี ประสิทธิภาพและตอเนือ่ งตามมาตรฐานทีก่ าํ หนด โครงการ ดังกลาวประเทศไทยไดเขารวมรับการตรวจสอบจาก ICAO มาแลว ๒ ครั้ง โดยครั้งแรกเมื่อป ๔๒ (ค.ศ.๑๙๙๙) ซึ่ง เปนการตรวจติดตามการดําเนินการ (Follow-up) จาก ผลการประเมินการกํากับดูแลดานความปลอดภัยแบบ สมัครใจ (Voluntary Safety Oversight Assessment Program) และตอมาครั้งที่ ๒ เมื่อป ๔๘ (ค.ศ.๒๐๐๕) โดยวิธกี ารตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานและขอพึง ปฏิบตั ริ ะหวางประเทศ (Standard And Recommended Practices: SARPs) ในทุกภาคผนวกทีเ่ กีย่ วของกับความ ปลอดภัย (All Safety related annex) โดยตั้งแตป ๕๔ เปนตนมา ICAO ไดเปลี่ยนวิธีการตรวจไปเปนแบบเฝา ตรวจติดตามอยางตอเนื่อง (Continuous Monitoring Approach: CMA) โดยเขามาตรวจสอบประเทศไทย ในชวงระหวาง ๑๙ - ๓๐ ม.ค.๕๘ ที่ผานมา ผลการตรวจสอบโดยใชแบบของคําถามมาตรฐาน จํานวน ๑,๐๑๖ ขอ พบขอบกพรองประมาณ ๕๗๒ ขอ โดยเปนขอบกพรองที่มีนัยสําคัญตอความปลอดภัย (Significant Safety Concern: SSC) ๓๓ ขอ ไดแก ขอบกพรองดานการปฏิบัติการบิน (OPS: Aircraft
พฤษภาคม ๒๕๕๙
Operations) ๒๘ ขอ แบงออกเปนขอบกพรองเกี่ยวกับ การดําเนินการออกใบรับรองผูด าํ เนินการเดินอากาศ (Air Operator Certificate: AOC) ๑๕ ขอ และขอบกพรองเกีย่ ว กับการดําเนินการขนสงสินคาอันตรายและวัตถุอันตราย (Dangerous Goods: DG) ๑๓ ขอ และขอบกพรองดาน ความสมควรการเดินอากาศ (Airworthiness of Aircraft: AIR) ๕ ขอ ซึ่ง ICAO ตรวจพบขอบกพรองในภาพรวมมี ถึง ๖๔.๔% และตรวจสอบผานเพียง ๓๕.๖% หลังจากที่ ICAO แจงผลอยางเปนทางการแลว ประเทศไทยยังไมไดดําเนินการแกไขปญหาแตอยางใด ICAO จึงไดประกาศติดธงแดงใหกบั ประเทศไทยเมือ่ วันที่ ๑๘ มิ.ย.๕๘ เปนผลทําใหสายการบินของประเทศไทยที่ ตองทําการบินไปประเทศตาง ๆ จะมีขอ จํากัดมากขึน้ แต การทีป่ ระเทศไทยไดรบั ธงแดง ไมไดหมายความวาสายการ บินของไทยไมมคี วามปลอดภัย เพียงแตขดี ความสามารถ ในการกํากับดูแลการบินของประเทศไทยยังไมไดมาตรฐาน ซึ่งการตรวจครั้งนี้พบวา ประเทศไทยไมไดแยกการจัด องคกรและความรับผิดชอบระหวางหนวยงานกํากับดูแล
ขาวทหารอากาศ ๔๙
(Regulator) กับหนวยงานปฏิบัติ (Operator) ออกจาก กัน รวมถึงไมมีกลไกที่แสดงใหเห็นวาการจัดหาบุคลากร งบประมาณ เครื่องมืออุปกรณที่ใชในการตรวจสอบ รวมถึง การฝกอบรมบุคลากรทางดานเทคนิค เพื่อใหการดําเนิน งานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพโดยชัดเจน ประกอบกับ อัตราเงินเดือนของบุคลากรไมเหมาะสม ทําใหไมสามารถ แขงขันไดกับอุตสาหกรรมการบินของประเทศอื่น ๆ ได โดยปญหาดังกลาวมาจากสาเหตุหลัก ๓ ประการ คือ ประการแรก ปญหาดานกฎหมายหลักของการ บินพลเรือน (Critical Element-1, Primary Aviation Legislation: CE-1) ซึ่งแกไขไดยาก ทําใหไมคลองตัว ไม รองรับตอความเติบโตและความเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว ในดานการบิน อีกทั้งปญหากฎหมายรอง อันไดแก กฎ ระเบียบทีเ่ กีย่ วของกับการดําเนินงานเฉพาะในแตละดาน (Critical Element -2, Specific Operating Regulation: CE-2) ไมสามารถออกกฎหมายไดทันตอเหตุการณ จึง ทําใหเกิดปญหา เชน ปญหาการออกใบรับรองสนามบิน และปญหาดานการเดินอากาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน
๕๐ ขาวทหารอากาศ ประการที่สอง ปญหาดานโครงสรางการบิน โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงสรางองคกรที่เปนหนวยกํากับ ดูแลความปลอดภัยมีการจัดโครงสรางที่ไมเหมาะสมและ ไมสามารถรองรับความเติบโตตอการเดินอากาศในปจจุบนั ทําใหสง ผลกระทบตอประเด็นดานอืน่ ๆ เชน กระบวนการ ในการกํากับดูแลไมครอบคลุม จํานวนบุคลากรไมเพียงพอ ตอภาระงาน ทําใหตองสูญเสียบุคลากรไปใหภาคเอกชน การปฏิบตั งิ านถูกจํากัดใหอยูใ นกรอบราชการ งบประมาณ ในการพัฒนาเปนไปตามกรอบที่ราชการกําหนด ประการที่สาม ปญหาดานบุคลากรที่มีจํานวน นอยมากและมีคุณสมบัติไมเปนไปตามมาตรฐานสากล จึง ไมสามารถรองรับการดําเนินงานของฝายตาง ๆ ที่มีภาระ งานสูงขึ้นได เชน เจาหนาที่ฝายปฏิบัติการบิน เจาหนาที่ กลุม สมควรการเดินอากาศ เจาหนาทีว่ ศิ วกรรมการบิน และ เจาหนาที่กลุมทะเบียน เปนตน ดังนั้นเพื่อเปนการแกไขปญหาการกํากับดูแล และพัฒนาการบินพลเรือนของประเทศไทย จึงจําเปน ตองเรงดําเนินการปรับปรุงแกไขขอบกพรองดังกลาว รวมทัง้ พัฒนาการบินพลเรือน เพือ่ ยกระดับมาตรฐานการบิน พลเรือนของประเทศไทยใหสอดคลองตอมาตรฐานสากล โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติโดยความเห็นชอบของ คณะรักษาความสงบแหงชาติจงึ ไดมคี าํ สัง่ หัวหนาคณะรักษา ความสงบแหงชาติ ที่ ๒๗/๕๘ ลง ๑๑ ก.ย.๕๘ ใหจัดตั้ง “ศูนยบญ ั ชาการแกไขปญหาการบินพลเรือน” (Command Centre for Resolving Civil Aviation Issues: CRCA) เรียกโดยยอวา ศบปพ. เปนศูนยเฉพาะกิจขึน้ ตรงกับหัวหนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ โดยมีผบู ญั ชาการทหารอากาศ เปนผูบ ญ ั ชาการศูนยบญ ั ชาการแกไขปญหาการบินพลเรือน เรียกโดยยอวา ผบ.ศบปพ. ศบปพ. มีโครงสรางการปฏิบัติการ คือ มีคณะ กรรมการศูนยบัญชาการแกไขปญหาการบินพลเรือน ประกอบดวยบุคคลที่ ผบ.ศบปพ. แตงตั้งจํานวน ๑๔ คน
พฤษภาคม ๒๕๕๙
ดังนี้ ผูบ ญั ชาการทหารอากาศเปนประธานกรรมการ ปลัด กระทรวงคมนาคมเปนรองประธานกรรมการ เสนาธิการ ทหารอากาศเปนรองประธานกรรมการ ผูบัญชาการ กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ พลอากาศเอก วิจิตร จิตรภักดี นายพิชัย สนแจง อธิบดีกรมการบินพลเรือน ผูแ ทนสํานักงบประมาณ ผูแ ทนสํานักงานคณะกรรมการ ขาราชการพลเรือน ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ผูแทนกระทรวงตางประเทศ พลตํารวจตรี ไกรบุญ ทรวดทรง เปนกรรมการ โดยมี พลอากาศเอก ปรีชา ประดับมุข เปนกรรมการและเลขานุการ ซึง่ คณก. ศบปพ.จะทําหนาที่กําหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติ ในระดับรัฐบาล โดยให ทอ.และ กพท.เปนหนวยงาน หลักของ ศบปพ.ในการดําเนินการแกไขปญหาการบิน พลเรือน และให ผบ.ศบปพ.มีอํานาจแตงตั้งขาราชการ สังกัด ทอ.ไปชวยปฏิบัติงานหรือไปชวยทําการใด ๆ ใน กพท. หรือหนวยงานอื่นไดไมเกินสี่ป และยังคงปฏิบัติ หนาทีใ่ นตําแหนงและอัตราในสังกัดเดิม สําหรับคาตอบแทน รายเดือนหรือคาตอบแทนอื่น ๆ ใหเปนไปตามระเบียบ คําสั่ง หรือแบบธรรมเนียมที่ทางราชการกําหนด ¾ ศบปพ. ศบปพ.ไดเริ่มดําเนินการแกไขปญหาการบิน พลเรือน ตั้งแต ๑๔ ก.ย.๕๘ เปนตนมา ไดมีการดําเนินการ พอสรุปได ดังนี้
การแกปญหาดานกฎหมายหลักดานการบิน พลเรือน (CE-1, Primary Aviation Legislation) ได มีการเรงดําเนินการแกไข ปรับปรุงและยกรางพระราช บัญญัตกิ ารเดินอากาศขึน้ ใหมทงั้ ฉบับ โดยนําภาคผนวก ทั้ง ๑๙ ภาคผนวกของอนุสัญญาวาดวยการบินพลเรือน ระหวางประเทศ ค.ศ.๑๙๔๔ (อนุสัญญาชิคาโก) มาเปน หลักในการประกอบการพิจารณายกรางฯ ใหสอดคลอง และเปนไปตามมาตรฐานสากล สวนกฎหมายใดทีจ่ าํ เปน ตองออกเพือ่ ใหเกิดความคลองตัวและรองรับความเติบโต และความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วดานการบินไดตาม เหตุการณกจ็ ะนําไปออกเปนกฎหมายรองตอไป ซึง่ ไดแก กฎ ระเบียบทีเ่ กีย่ วของกับการดําเนินงานเฉพาะในแตละ ดาน (CE-2, Specific Operating Regulation) เชน ราง ขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน วาดวยการ รักษาความปลอดภัยสินคาและไปรษณียภัณฑทางอากาศ และรางขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน วาดวยการขนสงวัตถุอันตรายทางอากาศ เปนตน การแกปญหาดานโครงสรางดานการบิน ได จัดองคกรใหมเพื่อใหสามารถสอดรับกับความเจริญ เติบโตอยางรวดเร็วของกิจการดานการบิน ไดมกี ารออก กฎหมายการจัดหนวยและปรับปรุงสวนราชการ ดังนี้ พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.๒๕๔๕ และ พ.ศ.๒๕๕๘ พระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการเดิน อากาศ พ.ศ.๒๔๙๗ และ พ.ศ.๒๕๕๘ พระราชกําหนดการ บินพลเรือนแหงประเทศไทย ๒๕๕๘ และกฎกระทรวง แบงสวนราชการ กรมทาอากาศยาน กระทรวงคมนาคม
๒๕๕๘ เพื่อใหสามารถรองรับความเติบโตตอสถานการณ ดานการเดินอากาศในปจจุบันได การแกปญหาดานบุคลากร ซึ่งมีจํานวนไมเพียง พอและมีคุณสมบัติไมเปนไปตามมาตรฐานสากลทําให ไมสามารถรองรับการดําเนินงานของฝายตาง ๆ ที่มีภาระ งานสูงขึน้ ไดนนั้ ในดานเจาหนาทีฝ่ า ยปฏิบตั กิ ารบิน ศบปพ. ไดดาํ เนินการวางแผนการฝกอบรมและพัฒนาผูต รวจสอบ จํานวน ๕๒ คน โดยในชวงแรกจะทําการฝกอบรมใหผูที่ ผานหลักสูตรการออกใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศ ซึ่งมี ๕ ขั้นตอน (5 Phase Air Operator Certification) จํานวน ๑๗ คน ไปเขารับการฝกอบรมเปนผูตรวจสอบ การปฏิบตั กิ ารบิน (Flight Operation Inspectors: FOIs) จากสถาบันการบินพลเรือน สาธารณรัฐสิงคโปร ประมาณ กลางเดือน มี.ค.๕๙ สวนผูต รวจสอบทีเ่ หลือไดวางแผนให เขารับการฝกอบรมในชวงตอไป อีกทัง้ มีการรวมมือเกีย่ วกับ Cooperation Frame Work Agreement on Aviation Safety กับ EASA เพือ่ พัฒนาศักยภาพของประเทศไทยใน การปรับปรุงและยกระดับการกํากับดูแลความปลอดภัย ดานการบินในทุก ๆ ดาน และจางบริษัท Civil Aviation Authority International: CAAi มาแกไขขอบกพรองที่มี นัยสําคัญตอความปลอดภัย และเตรียมดําเนินการฝกปฏิบตั ิ งาน (On the Job Training: OJT) ใหกบั ผูท สี่ าํ เร็จการฝก อบรมเปน FOIs จากสาธารณรัฐสิงคโปร พรอมทั้งเตรียม ทีมชวยดานเทคนิค เพื่อที่จะออกใบรับรองผูดําเนินการ เดินอากาศใหมใหแกสายการบินตามลําดับ สวนเจาหนาที่ ทีป่ ฏิบตั งิ านดานอืน่ ๆ ไดดาํ เนินการวางแผนการฝกอบรม และพัฒนาบุคลากร พรอมทัง้ รับสมัครบุคคลภายนอกทีม่ ี
๕๒ ขาวทหารอากาศ คุณสมบัตทิ ตี่ อ งการเขามารับการฝกอบรมเพือ่ ใหมบี คุ ลากร เพียงพอและมีคณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามมาตรฐานสากลและ พิจารณาคาจาง คาตอบแทนใหสงู ขึน้ เพือ่ จูงใจใหบคุ ลากร มาปฏิบัติงานตามแผนไดตอไป นอกเหนือจากการแกปญหาที่เปนสาเหตุหลัก ดังกลาวแลว ศบปพ.ไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการแกไข ปญหาการบินพลเรือนในดานตาง ๆ ซึง่ ประกอบดวย ผูแ ทน ทอ. ผูแทน กพท.และผูเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของในดานตาง ๆ เปนคณะอนุกรรมการใน ๔ กลุม เพื่อจัดทําแผนการแกไข ขอบกพรองทัง้ ๕๗๒ ขอ รวมถึงแกไขประเด็นทีม่ นี ยั สําคัญ เกี่ยวของกับความปลอดภัย (SSC) ๓๓ ขอ ดังนี้ กลุมที่ ๑ คณะอนุกรรมการแกไขปญหาการบิน พลเรือนดานการปฏิบัติการบินของอากาศยาน (Aircraft Operations: OPS) กลุมที่ ๒ คณะอนุกรรมการแกไขปญหาการบิน พลเรือนดานการออกใบอนุญาตผูประจําหนาที่ในอากาศ และการฝกอบรม และดานความสมควรเดินอากาศ ของอากาศยาน (Personnel Licensing: PEL and Airworthiness of Aircraft: AIR) กลุมที่ ๓ คณะอนุกรรมการแกไขปญหาการบิน พลเรือนดานสนามบินและเครื่องชวยเดินอากาศภาคพื้น และดานการบริการการเดินอากาศ (Aerodromes and Ground Aids: AGA and Air Navigation Services: ANS) กลุมที่ ๔ คณะอนุกรรมการแกไขปญหาการบิน พลเรือนดานกฎหมายและขอบังคับการบินพลเรือนดาน โครงสรางการบินพลเรือนและดานการสอบสวนอุบัติเหตุ และอุบัติการณของอากาศยาน (Primary aviation legislation and civil aviation regulation: LEG, Civil aviation organization: ORG and Aircraft Accident and Incident Investigation: AIG) โดย ศบปพ. ไดให กพท. รายงานความกาวหนา ในการแกไขปญหาการบินพลเรือนตอองคการการบิน พลเรือนระหวางประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO) สํานักงานภูมิภาคเอเชียแปซิฟก
พฤษภาคม ๒๕๕๙ ประจําประเทศไทยครั้งลาสุดเมื่อ ๑๕ ก.พ.๕๙ โดยสรุป ไดดังนี้ คณอก.แกไขปญหาดานการบินพลเรือนในดาน ตาง ๆ ทัง้ ๔ คณะ ไดจดั ทําแผนแกไขขอบกพรองทีถ่ กู ตรวจพบทัง้ ๘ ดาน รวม ๕๗๒ ขอ โดยมุง ประเด็นดําเนิน การจัดทําแผนปฏิบตั กิ ารแกไขปญหา (Corrective Action Plan: CAP) ใหเปนรูปธรรมโดยเฉพาะขอบกพรองที่มี นัยสําคัญตอความปลอดภัยในการเดินอากาศซึง่ อยูใ นดาน การปฏิบตั กิ ารบินของอากาศยาน (Aircraft Operations: OPS) จํานวน ๓๓ ขอ ซึ่งคณะอนุกรรมการแกไขปญหา การบินพลเรือนดานการปฏิบัติการบินของอากาศยาน (Aircraft Operations: OPS) ไดมีการประชุมรวมกับ ผูแ ทนของผูด าํ เนินการเดินอากาศ (Airline) เพือ่ เปนการ ชวยเหลือในการแกปญหาดานการบินพลเรือนของ ประเทศใหแกผูปฏิบัติ (Operator) โดยเมื่อ CAP ไดรับ การทบทวนจาก คณอก.แลวจะนําเสนอ ศบปพ.ใหความ เห็นชอบกอนสง ICAO พิจารณาตอไป ศบปพ.ไดจดั ทําแผนการออกใบรับรองผูด าํ เนิน การเดินอากาศใหม (Air Operator Certificate Re-Certification: AOC Re-Certification) ซึง่ ประกอบ ไปดวยแผนหลัก คือ แผนการฝกอบรมและพัฒนาผูต รวจ สอบการปฏิบตั กิ ารบิน (Flight Operation Inspectors: FOIs) และแผนการจางบริษทั CAAi เพือ่ มาแกไขขอบกพรอง ที่มีนัยสําคัญตอความปลอดภัยในการเดินอากาศ ซึ่ง อยูในดานการปฏิบัติการบินของอากาศยาน (Aircraft Operations: OPS) ใหกบั ประเทศไทย ซึง่ ทัง้ ๒ แผนนัน้ ศบปพ.ไดทบทวนและนําเสนอตอ ครม.เพื่อพิจารณาให ความเห็นชอบ โดย ครม.อนุมตั แิ ผนดังกลาวเมือ่ ๒๓ ก.พ.๕๙ สําหรับแผนการออกใบรับรองผูดําเนินการ เดินอากาศใหม (AOC Re-Certification) นั้น ศบปพ. ไดแบงผูดําเนินการเดินอากาศ หรือสายการบินตาง ๆ ออกเปน ๔ กลุม โดย ๓ กลุม แรก ประกอบดวย ผูด าํ เนิน การเดินอากาศทีเ่ ปนสายการบินระหวางประเทศจํานวน ๒๘ สายการบิน จะเริม่ ทําตามขัน้ ตอนการออกใบรับรอง
พฤษภาคม ๒๕๕๙ ผูดําเนินการเดินอากาศใหมใหแกสายการบินตาง ๆ ตามลําดับ ในระหวาง มิ.ย.๕๙ - พ.ย.๕๙ สวนกลุมที่ ๔ ประกอบดวยผูดําเนินการเดินอากาศที่เปนสายการบิน ภายในประเทศจํานวน ๑๓ สายการบิน จะเริ่มทําตาม ขั้นตอนการออกใบรับรองผูดําเนินการเดินอากาศใหม ตามลําดับในระหวาง เม.ย. - ก.ย.๖๐ ศบปพ.กําลังดําเนินการอยางเรงดวนในปจจุบนั คือ การแกไขขอบกพรองทีม่ นี ยั สําคัญตอความปลอดภัย ในดานการปฏิบัติการบินของอากาศยาน (Aircraft Operations: OPS) ทีเ่ กีย่ วกับความสมควรการเดินอากาศ การออกใบรับรองผูด าํ เนินการเดินอากาศและการขนสง สินคาและวัตถุอันตราย โดย ศบปพ.ตองจัดทําแผนการ แกไขขอบกพรองที่มีนัยสําคัญตอความปลอดภัยในการ เดินอากาศทั้ง ๓๓ ขอ ซึ่งตองระบุรายละเอียดในการ แกไขของแตละหัวขออยางชัดเจนและสามารถนําไป ปฏิบัติไดจริง อีกทั้งตองระบุคุณสมบัติของผูตรวจสอบ (FOI) อยางยอ การฝกอบรมการออกใบรับรองผูดําเนิน การเดินอากาศ การรับรองดานสุขภาพของผูตรวจสอบ การรับรองการขนสงสินคาและวัตถุอันตราย ตลอดจน กระบวนการดําเนินการดานเอกสาร รวมทั้งจัดทําแผน ปฏิบตั กิ ารในการแกไขปญหา (Corrective Action Plan: CAP) โดยตองกําหนดระยะเวลาในการปฏิบัติไวอยาง ชัดเจน และตองนําเสนอขอมูลสง ICAO สํานักงานใหญ ผานระบบ Online CMA framework/OLF เพือ่ ประเมิน ความกาวหนาในการแกไขขอบกพรองทีถ่ กู ตรวจพบ เมือ่ ICAO พิจารณาเห็นวาไดแกไขขอบกพรองทัง้ หมดแลวจึง จะมาทํา ICAO Coordinated Validation Missions: ICVM เพื่อปลดธงแดงใหกับประเทศไทยตอไป จะเห็นไดวา ศบปพ.จําเปนตองเรงดําเนินการ แกไขขอบกพรองที่ถูกตรวจพบทั้งหมด ซึ่งรวมถึงขอ บกพรองทีม่ นี ยั สําคัญตอความปลอดภัยใหเสร็จสิน้ โดยเร็ว ที่สุด เพื่อใหประเทศไทยปลดธงแดงจาก ICAO ได โดย ศบปพ.ตองใชขีดความสามารถในการแกปญหาการบิน พลเรือนอยางสูงสุด เพื่อใหเปนที่ยอมรับและเชื่อถือแก
ขาวทหารอากาศ ๕๓ ประเทศทีเ่ ปนภาคีสมาชิกและเพือ่ ใหการกํากับดูแลความ ปลอดภัยดานการบินพลเรือนของประเทศไทยใหเปนไป ตามมาตรฐานสากล โดยสามารถพัฒนาเปนมาตรฐานสู ระดับโลกไดอยางยั่งยืนตลอดไป การแกไขปญหาจากสาเหตุหลักทั้ง ๓ ประการ อันไดแก การแกปญหาดานกฎหมายหลักและกฎหมาย รอง การแกปญหาดานโครงสรางดานการบิน และการ แกปญหาดานบุคลากรนั้น ยังมิใชเปนการแกปญหาดาน การบินพลเรือนอยางถูกตองครบถวนและสมบูรณตามที่ ICAO ไดใหคําแนะนําไวแตอยางใด เนื่องจากการแกไข ปญหาจําเปนตองแกไขใหครบทัง้ ๘ ดานดังทีก่ ลาวมาแลว ซึง่ เปนปญหาทีย่ งุ ยากและซับซอน โดยมีความเชือ่ มโยง ซึง่ กันและกัน และมีความสัมพันธกนั กับปญหาอืน่ ๆ อยาง เปนระบบ ไมสามารถแกเฉพาะดานหนึง่ ดานใดเพียงลําพังได ¾ บทสรุป ศบปพ.เปนศูนยเฉพาะกิจขึ้นตรงกับ หน.คสช. โดยมี ผบ.ทอ.เปน ผบ.ศบปพ. ในการแกไขปญหาการบิน พลเรือน จึงเห็นไดวา ทอ.เปนหนวยงานหลักที่มีความ สําคัญในการสนับสนุน กพท.ในการแกไขปญหาการบิน พลเรือน ซึ่งเปนไปตามการสนับสนุนการแกไขปญหาเรงดวน ตามนโยบายของรัฐบาลอยางแทจริง อยางไรก็ตาม กพท. จะตองเปนหนวยงานหลักในการกํากับดูแลกิจการดาน การบินพลเรือนของประเทศ จึงจําเปนตองเปนหนวย งานที่มีความเปนอิสระ มีการกําหนดนโยบายที่ชัดเจน มี การบริหารจัดการอยางมืออาชีพ กระบวนการดําเนินงาน ตองโปรงใสสามารถตรวจสอบได บุคลากรใน กพท.ตอง พัฒนาการปฏิบตั งิ านใหสอดคลองและมีขดี ความสามารถ รองรับตอความเจริญกาวหนาของกิจการการบินในอนาคต ภายใตกรอบการพัฒนาตามมาตรฐานสากล ดวยหลัก ธรรมาภิบาลโดยปราศจากผลประโยชนทับซอนทั้งปวง เพื่อใหกิจการการบินของประเทศมีความมั่นคงปลอดภัย และเปนที่เชื่อถือของประเทศสมาชิกของ ICAO และ ทั่วโลกไดอยางยั่งยืนตลอดไป """
เวลาการตูน มิสกรีน ANDY CAPP
ภาพ ๑ - ผมไดยินวาโฟลเจ็บหลังเหรอครับ ภาพ ๒ - ใช เธอพยายามจะยายเกาอี้โซฟาไปใกลทีวีกวาเดิมนะ ภาพ ๓ - ในทีส่ ุด ผมก็ตองคุยอวดวาผมเปนคนเลื่อนมันเอง to hurt
- แปลวา เจ็บปวดหรือทําใหเจ็บปวด (to feel painful or to cause physical pain to someone or yourself) Ex. It hurts when I bend my knee. (เวลาฉันงอเขามันจะเจ็บ) และ He hurt his leg playing football yesterday. (เขาขาเจ็บตอนเลนฟุตบอลเมื่อวานนี้) was trying to .............. - กริยาในรูป past continuous tense ใหความหมายวา "กําลังพยายามจะทํา......." ในอดีต couch (n.) - เกาอี้ที่นั่งไดหลายคน ออกเสียงวา "เคาช" sofa ก็มีความหมายเดียวกัน ออกเสียงวา "โซเฝอะ" In the end (idm) - ในตอนทาย, ในที่สุด (finally) had to (modal) - เปนกริยาชวย ในรูป past tense ของ have to หรือ has to แปลวา ตอง to get off it = to come of it - เปนสํานวน แปลวา คุยอวด (to boast หรือ to brag) myself (pron.) - เปนสรรพนามใหความหมายวา ทําอะไรดวยตัวเอง ใชกับประธาน I และ เปลี่ยนไปตามประธาน เชน You - yourself, She - herself เปนตน
พฤษภาคม ๒๕๕๙
ขาวทหารอากาศ ๕๕
THE BORN LOSER
ภาพ ๑ - พอผมมีเงินมากกวาพอคุณนะ ! ภาพ ๒ - ออ งั้นเหรอ ? ใชสิ ! ภาพ ๓ - แตวา พอผมมีบัตรเครดิตมากกวา ! more
Oh yeah ? yeah
- "มากกวา" ในที่นี้ ใชในการเปรียบเทียบขั้นกวากับคํานาม ซึ่งจะตองมี than อยูดวยเสมอ ยกเวนกรณีที่เขาใจกันอยูแลว ถาขั้นที่สุดจะใช the most Ex. My house has more windows than your house. (บานฉันมีหนาตางมากกวา บานคุณ) My house has the most windows in the village. (บานฉันมีหนาตางมากที่สุด ในหมูบาน) more กับ the most สามารถใชกับคํานามนับไมได Ex. China has more population than India. (จีนมีประชากรมากกวาอินเดีย) และ China has the most population in the world. (จีนมีประชากรมากที่สุดในโลก) - เปนสํานวน (idiom) ที่ใชแสดงความไมเห็นดวยในสิ่งที่คูสนทนาเพิ่งพูดไป - ภาษาพูดไมเปนทางการของ "yes"
C
d
rosswor ประจําเดือน พ.ค.๕๙
อ.วารุณี
ขาวทหารอากาศ ๕๗
พฤษภาคม ๒๕๕๙
Across 1. If you would like to have a boyfriend, don't choose the ............. man because you can not talk to another man. 7. Oh, Tim, please ............. your hair, it looks messy. 9. You should take care of your body, up to down ............... of only wearing the expensive clothes etc. 11. These jacket and trousers .................. or fit you very well. 13. Everybody has ................ or freedom to talk, to speak and to do something but they are not against the laws. 15. An object form of pronoun "we" 16. We want ............... go swimming. 17. Make, ............., Made 19. Before sending the package, you have to ............... or close it firmly. 21. These days the owner of many business is a ............ or youth, that it very good. 22. Now the government should ............... or send the foreigners out of our country quickly because of the bad economy. 25. He ................. about his age to be younger in order to join the army. 27. My neighbour has just given a birth, then she wants to buy a ..............., a narrow bed for a baby. 29. .............. is a prefix used to add in front of some words, its meaning is "new, modern." 30. The .............. of this skirt is not so nice so I have to sew the edge of it again.
31. After he retired, he plans to .............. the beef cattle for milk. 33. To help 36. The object of pronoun "I" 37. An abbreviation for "Before Christ" 38. ............. she a strict teacher ? 39. A level of quality that you compare something else with. 42. A word expressing surprise, pleasure. 44. Opposite of "out" 45. This test is ........... hard to do, so I can not do it. 46. The "L" size is a bit small for Joe, she must wear "........." size. (an abbreviation) 47. I don't understand what you ................. . 48. Too 51. My niece has just bought a baby dog, so it can ................ or bark in an excited way so often. 53. ................ is a way that you feel at a particular time. 56. .............. is a same type of lemon. 57. Mr.Redmond ............... or attempts to stay in Thailand, although he is so sick. 59. .............. is the main crop for Thai people. 61. Thailand has lots of nice fruits: rambutan, grape mango ............. (an abbreviation for and so on) 62. If I want to write about plants in Thailand, the .............. of this book should be "The Thai popular plants" 63. Lump, knot, knob 64. Please don't call him up, .............. is too busy to talk on the phone.
๕๘ ขาวทหารอากาศ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
Down 1. Christ 2. ............, less, least 3. That light bulb is nearly malfunction because it is ............... and off. 4. The same as No.15 Across 5. She often skips dinner, so she gets a ............ disease. 6. Anderson goes .............. or having less hair since he was 35 years old. 7. To move very quietly and carefully, often with your body in a low position. 8. Opposite of "girl" 10. The police said that this old man .................. or passed away many weeks ago. 12. It is ................ to tell her that "you love her" because she will marry Thanit next Sunday. 14. She did not see a nail on the street so she drove on it, one of a ............. has a hole then she sent to see the mechanics. 18. Fuss, fastidious 20. His ................ or purpose for the further education is to enter The Pre-Cadet School. 23 She is ............... of my best friends. 24. She wants to buy a ............... or a piece of wood with burning material at the end before she has the woods tour. 26. That poor man felt that it was his ............ to win the first prize of lotto. 28. To .................. means to act or behave toward somebody or something
30. ............. is frozen rain that falls in small hard ball. 32. That student is ............... smart that he is the top of his class. 34. The same as No.38 Across 35. .............. is a darker color that your skin has after you spend time in the sun. 36. It is very hard for her son to get .............. (an abbreviation) for doctor of Medicine. 37. ............... is an object that you can kick. 40. John, do you have any ............... or space in your car for me? 41. Did you ................ or wash the dishes? 43. During last Songkarn festival Thai people died a lot because they did not wear ............, a head protecter. 48. Before cooking you should wear an ................ in order to keep your clothes clean. 49. Going back and ............... to my office takes me one hour. 50. If you want a Coke, you must insert some coins in that ................. machine. 52. You can find that machine ............... the public places. 54. ................... is a small cube with a different numbers of spots used in certain games. 55. A : How have you .............. ? B : I am fine, thanks. 58. To finish 60. I, ............., you, they etc. (เฉลยอยูหนา ๙๐)
ความกาวหนาในการพัฒนาประสิทธิภาพของ อากาศยานไรคนขับ (UAV) ในปจจุบันไดสงผลถึงการนํา UAV ไปประยุกตใชงานในรูปแบบตาง ๆ ทั้งทางดานการ ทหารและทางดานพลเรือน ไมวาจะเปนการใช UAV ใน การถายภาพพืน้ ทีท่ างทหาร การติดอาวุธใหกบั UAV เพือ่ โจมตีเปาหมายทีม่ คี วามเสีย่ งสูงแทนเครือ่ งบินรบทีบ่ งั คับ โดยนักบิน การใช UAV ในการสงสิ่งของภายในเมืองที่มี การจราจรคับคั่ง การใช UAV บินตรวจสภาพการจราจร ฯลฯ จากตัวอยางเหลานีท้ าํ ใหเห็นถึงประโยชนของ UAV ในการประยุกตใชงานไดหลายรูปแบบ แตในขณะเดียวกัน UAV ก็อาจกลายเปนภัยคุกคามทีย่ ากตอการรับมือไดเชน กัน ราวปลายเดือนธันวาคม 2015 ทีผ่ า นมา ไดมกี ารเผย แพรภาพวิดิโอการใชอากาศยานไรคนขับ (UAV) ที่มีการ ติดตัง้ ตาขายขนาดใหญโดยสํานักงานตํารวจในกรุงโตเกียว เพือ่ ทดสอบการปองกันภัยคุกคามประเภท UAV ขนาดเล็ก ที่บินเขามาในเขตพื้นที่หวงหาม ซึ่งการทดสอบนีเ้ กิดจาก เหตุการณทผี่ ปู ระทวงรัฐบาลในญีป่ นุ ไดใช UAV ขนาดเล็ก บินเขาไปกอกวนและลงจอดบนหลังคาอาคารสํานักงาน
ของนายกรัฐมนตรี ซึ่งถือวาเปนสถานที่ที่มีความสําคัญ สูง แตไมสามารถปองกันการเขาถึงจาก UAV ขนาดเล็ก ได จึงเปนที่มาของการทดสอบใช UAV ติดตั้งตาขายเพื่อ บินไลจบั UAV ขนาดเล็กทีร่ กุ ล้าํ เขามาในเขตหวงหาม การ ประยุกตใชตาขายติดตัง้ กับ UAV เพือ่ ใชปราบ UAV ขนาด เล็กนัน้ อาจเปนคําตอบสําหรับปญหาภัยคุกคามทีเ่ ปน UAV ขนาดเล็กในเขตพืน้ ทีต่ วั เมืองอยางเชน กรุงโตเกียวหรือเมือง สําคัญตาง ๆ แตสําหรับ Combat UAV ซึ่งมีขนาดใหญ และยังติดอาวุธไดดวยนั้น ตาขายอยางที่ใชในกรุงโตเกียว คงไมใชคําตอบสําหรับภัยคุกคามประเภทนี้อยางแนนอน
การทดสอบใช UAV ติดตั้งตาขายจับ UAV ขนาดเล็ก ที่กรุงโตเกียว
Tor-M2E ขณะกางและพับเรดารตรวจจับเปาหมาย
การพัฒนาระบบอาวุธสําหรับใชในการปองกันภัย ทางอากาศ ตัวอยางเชน SAM (Surface to Air Missile) ซึง่ เปนระบบอาวุธนําวิถพี นื้ สูอ ากาศแบบตาง ๆ ในปจจุบนั นอกจากจะใชสําหรับยิงเครื่องบินรบ จรวดรอน (Cruise Missile) หรือขีปนาวุธ (Ballistic Missile) ไดแลว ยังตอง สามารถใชยิง UAV ไดอีกดวย ในหลายคายผูผลิต SAM ที่ขึ้นชื่อในเรื่องของประสิทธิภาพและความนาเกรงขาม ที่ เครื่องบินไมวาแบบใดก็ตามไมควรบินเขาใกล หนึ่งในนั้น คงตองยกใหคายทางฝงของรัสเซียซึ่งมีการพัฒนาอาวุธ ประเภท SAM มาอยางยาวนานตั้งแตยุคที่ยังเปนสหภาพ โซเวียต โดยมีทั้ง SAM สําหรับยิงเปาหมายระยะสั้น ระยะ
ปานกลางและระยะไกลแบบขามทวีป ที่ความสูงระดับ ไมกี่เมตรไปจนถึงชั้นอวกาศโดยในบางรุนนั้นสามารถที่ จะใชยงิ เพือ่ ทําลายดาวเทียมทีห่ มดอายุการใชงานทีล่ อย อยูในอวกาศได SAM ของรัสเซียรุนลาสุดที่มีการพัฒนาและ สงออกไปยังประเทศตาง ๆ ทั่วโลกนั้น ไมวาจะเปนจีน อิหราน ยูเครน ฯลฯ ไดแก Tor-M2E ซึง่ เปน SAM สําหรับ ปองกันภัยทางอากาศระยะสั้น ผลิตโดย Almaz-Antey บริษทั สัญชาติรสั เซีย ไดรบั การพัฒนามาจากระบบปองกัน ภัยทางอากาศ Tor ซึ่งถือไดวาเปนระบบปองกันภัยทาง อากาศทีถ่ กู ผลิตออกมาเปนรุน แรก ๆ ของโลกประมาณ
พฤษภาคม ๒๕๕๙ ป 1975 และไดมกี ารพัฒนาประสิทธิภาพอยางตอเนือ่ ง ทัง้ สวนของการตรวจจับเปาหมาย อาวุธนําวิถตี า ง ๆ จนถึง รุน ปจจุบนั คือ Tor-M2E ซึง่ สามารถใชตอ ตานเปาหมายที่ เปนภัยคุกคามทางอากาศไดหลายประเภท เชน เครือ่ งบิน รบ เฮลิคอปเตอร จรวดรอน อาวุธนําวิถี ลูกระเบิดนําวิถี และที่สําคัญคือ UAV จากรูปลักษณภายนอกของ Tor-M2E ทีเ่ มือ่ มอง อยางผิวเผินแลวจะเหมือนกับรถหุมเกราะติดปอมขนาด ใหญดานบนพรอมเรดาร โดย Tor-M2E นั้นประกอบไป ดวย 3 สวนหลักคือ สวนอํานวยการยิง สวนเรดารตรวจ จับและติดตามเปาหมาย และสวนของทอยิงอาวุธนําวิถี (Missile) โดยทัง้ หมดถูกติดตัง้ บนรถหุม เกราะเพียง 1 คัน มีเจาหนาทีป่ ระจํารถ 3 คน แบงเปนพลขับ 1 คน และเจา หนาที่อํานวยการยิง 2 คน รถหุมเกราะนี้สามารถเปลี่ยน จากลอสายพานเปนลอยางไดเพือ่ ใชงานในภูมปิ ระเทศแบบ ตาง ๆ โดยรถหุม เกราะของ Tor-M2E สามารถวิง่ ตอเนือ่ ง โดยไมตองเติมเชื้อเพลิงไดถึง 500 km และทําความเร็ว ได 65 km/h (แบบสายพาน) 80 km/h (แบบลอยาง)
ขาวทหารอากาศ ๖๑
๖๒ ขาวทหารอากาศ เมื่อวิ่งบนถนนที่เปนพื้นแข็ง (ถนนคอนกรีต ถนนลาดยาง) และ 35 km/h (แบบสายพาน) 30 km/h (แบบลอยาง) เมือ่ วิง่ บนถนนทีเ่ ปนดินลูกรัง ดวยลักษณะดังกลาวจึงทําให Tor-M2E มีความคลองตัวในการเคลือ่ นยายไปตามตําแหนง ตาง ๆ ตอบสนองตอภัยคุกคามทางอากาศที่ผานเขามาได อยางรวดเร็ว ความสามารถในการตอตานเปาหมายทางอากาศ ของ Tor-M2E นัน้ แบงตามชนิดของภัยคุกคามได 2 ประเภท คือ ภัยคุกคามประเภทอากาศยานแบบตาง ๆ ระยะในการ ยิง 1 - 12 km ที่ความสูง 10 m - 10 km และภัยคุกคาม ประเภทอาวุธนําวิถี ลูกระเบิดนําวิถี ระยะในการยิง 1.5 7 km ทีค่ วามสูง 50 m - 6 km ความเร็วสูงสุดของเปาหมาย ที่สามารถยิงได 700 m/s (ราว 2,520 km/h) สามารถยิง เปาหมายพรอมกันไดถึง 4 เปาหมาย โดยเรดารสามารถ ตรวจจับและติดตามเปาหมายไดในขณะทีร่ ถกําลังเคลือ่ นที่ พรอมทัง้ ในรุน Tor-M2E นีย้ งั ไดมกี ารพัฒนาใหสามารถยิง อาวุธนําวิถไี ดทนั ทีในขณะทีร่ ถกําลังเคลือ่ นทีไ่ มจาํ เปนตอง หยุดเพื่อทําการยิงเหมือนรุนกอน ๆ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
สําหรับการตรวจจับและติดตามเปาหมาย ของ Tor-M2E จะใชเรดารในการตรวจจับเปาหมายซึ่ง สามารถพับลงเมื่อรถเคลื่อนที่ และกางขึ้นเพื่อตรวจจับ เปาหมายได รวมทั้งเรดารติดตามเปาหมาย PESA ที่ติดตั้ง ดานหนาของปอมบนรถโดยมีระบบติดตามเปาหมาย แบบ Electro Optical ซึ่งชวยในการติดตามเปาหมาย ในกรณีทมี่ กี ารรบกวนสัญญาณเรดาร โดยระบบ Electro
พฤษภาคม ๒๕๕๙ Optical เปนการรับคลื่นรังสีความรอนที่แผออกมาจาก เปาหมายแลวนํามาแปลงเปนสัญญาณอิเล็กทรอนิกสเพือ่ ระบุตาํ แหนงของเปาหมายเพือ่ เปนขอมูลสงใหกบั อาวุธ นําวิถีภายหลังจากที่ถูกยิงออกไปแลว นอกจากนั้นแลว เมื่อมีการเชื่อมตอสัญญาณระหวาง Tor-M2E แตละคัน จะชวยเพิ่มปริมาณการตรวจจับเปาหมายและติดตาม เปาหมายไดมากขึ้นโดยติดตามเปาหมายแบบอัตโนมัติ พรอมกันไดถึง 10 เปาหมาย ในสวนของอาวุธนําวิถี (Missile) ที่ใชกับ TorM2E จะเปนอาวุธนําวิถี 9M331 ซึ่งเปนอาวุธนําวิถีที่ใช กับ Tor-M1 และอาวุธนําวิถี 9M332 เปนรุนที่ไดรับการ พัฒนาขึ้นมาเพื่อใชกับ Tor-M2E โดยเฉพาะ ซึ่งอาวุธ นําวิถีทั้งสองรุนสามารถติดตั้งกับ Tor-M2E ไดถึง 8 นัด ลักษณะพิเศษของอาวุธนําวิถที งั้ สองแบบนัน้ จะมีรปู ทรง ของลําตัวเปนทรงกระบอกและมีปก เปนแบบทรงกากบาท ควบคุมทิศทางในการเขาหาเปาหมายดวยไอพนที่ติดอยู บริเวณสวนหัวซึ่งแตกตางจากอาวุธนําวิถีโดยทั่วไปที่จะ ใชการบังคับปกเพือ่ ปรับทิศทางของอาวุธนําวิถี นําวิถดี ว ย ขอมูลของเปาหมายที่รับจากเรดารตรวจจับและติดตาม เปาหมายซึ่งติดตั้งอยูบน Tor-M2E ในการยิงอาวุธนําวิถี จะเปนการยิงในแนวตั้งและเปนแบบ Cold launch ซึ่ง เปนหนึ่งในวิธีการยิงอาวุธนําวิถีแบบพื้นสูอากาศจากทอ ยิง โดยในแบบ Cold launch นั้น จะใชแกสแรงดันสูง
ขาวทหารอากาศ ๖๓
ดันใหอาวุธนําวิถพี งุ ออกจากทอยิง เมือ่ อาวุธนําวิถพี น จาก ปากทอยิงในระดับความสูงที่กําหนดแลวสวนขับเคลื่อน (Rocker Motor) จะเริ่มจุดตัวและสรางแรงขับดันให อาวุธนําวิถีพุงขึ้นพรอมเขาสูเปาหมายได ซึ่งเปนการลด ความเสียหายของทอยิงจากไอพนที่เกิดจากอาวุธนําวิถี ซึ่งมีความรอนสูงมากและเหมาะกับ Tor-M2E ซึ่งมีทอยิง อาวุธนําวิถีติดตั้งอยูในตัวรถหุมเกราะ อาวุธนําวิถีที่ใชวิธี ยิงแบบ Cold launch มีอยูหลายชนิด เชน S-400 ของ รัสเซีย สําหรับการยิงอีกแบบคือ Hot launch จะเปน แบบที่สวนขับเคลื่อน (Rocket Motor) ของอาวุธนําวิถี จะจุดตัวภายในทอยิง ซึง่ ทอยิงจะถูกออกแบบดวยวัสดุทน ความรอนสูงและจะตองมีชอ งสําหรับใหไอพนสามารถผาน ออกสูภ ายนอกทอยิงในทิศทางอืน่ เพือ่ ปองกันอาวุธนําวิถี เกิดการระเบิดเนือ่ งจากความรอนของไอพน อาวุธนําวิถที ี่ ใชการยิงแบบ Hot launch เชน Tomahawk, Patriot ของอเมริกา สําหรับอาวุธนําวิถีที่ไดรับการพัฒนาขึ้นเพื่อ
๖๔ ขาวทหารอากาศ
ใชกับ Tor-M2E อีกรุนคือ 9M338 โดยไดรับการพัฒนาให สามารถยิงไดในระยะที่ไกลขึ้นและเปาหมายที่อยูในระดับ ความสูงที่เพิ่มขึ้น พรอมทั้งขนาดของอาวุธนําวิถีที่มีขนาด เล็กลงทําให Tor-M2E สามารถติดตั้ง 9M338 ไดมากถึง 16 นัด ซึ่งเปนการเพิ่มโอกาสในการทําลายเปาหมายได มากขึ้น การพัฒนาของ UAV ซึ่งเปยมไปดวยเทคโนโลยี ทีล่ า้ํ สมัย พรอมปฏิบตั ใิ นภารกิจตาง ๆ โดยมีคาดการณวา แนวโนมการใชงาน UAV นัน้ จะเพิม่ มากยิง่ ขึน้ ในภารกิจทาง ดานการทหาร ซึ่งประเมินไดจากขอมูลการใชงาน UAV ที่ เพิ่มขึ้นในหลายประเทศชวงสิบกวาปที่ผานมา โดยความ สามารถของ UAV นั้นอาจถูกพัฒนาใหสามารถปฏิบัติการ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
รบแทนเครือ่ งบินรบไดในเกือบทุกภารกิจและอาจถึงขัน้ ที่ สามารถวิเคราะหโอกาสในการทําลายเปาหมายเพือ่ เลือก ทําลายเปาหมายไดเอง แตในขณะเดียวกันเทคโนโลยี ในการที่จะปองกันการเขารุกรานของ UAV นั้นไดมีการ พัฒนาอยางเปนคูข นานกันอยูต ลอดเวลา ดังเชน Tor-M2E ซึ่งเปนระบบอาวุธทรงประสิทธิภาพ มีความคลองตัวทั้ง ในการเคลื่อนยายและโจมตีเปาหมาย ถูกพัฒนามาเพื่อ ตอกรภัยคุกคามทางอากาศไดเกือบทุกประเภทรวมทั้ง UAV ในปจจุบัน Tor-M2E กําลังไดรับความสนใจจาก เหลาทัพในหลายประเทศทั่วโลกและอยูในตัวเลือกของ ระบบปองกันภัยทางอากาศที่ตองการนําเขาประจําการ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปกปองนานฟาของตน ""
แหลงขอมูลและภาพ - เอกสารแนะนํา “Air Defence Missile System TOR-M2E” บริษัท AlMAZ-ANTEY - http://www.janes.com “Tokyo police use flying net to capture illicit UAVs” - http://www.almaz-antey.ru “Tor-M2E” - http://www.ausairpower.net “Russian/Soviet Point Defence Weapons” - http://www.armyrecognition.com “TOR-M2 TOR-M2E Short Range Air Defense Missile System SA-15D Gauntlet (NATO Code)” - https://books.google.co.th “Iran’s Rocket and Missile Forces and Strategic Options”
สัจจะ…กับราชการใสสะอาดของกองทัพอากาศ และความมั่นคงของประเทศ น.อ.ชัยวัฒน แจมดวง “Integrity หัวใจของคุณธรรมและจริยธรรม คือ การยึดมัน่ ในสิง่ ทีถ่ กู ตองชอบธรรมหรือหากผูใ ดเปนผูท ยี่ ดึ มัน่ ในความถูกตองชอบธรรมแลว ก็ยอ มจะตองประพฤติตน อยูใ นกรอบของคุณงามความดี กฎหมาย และศีลธรรมเสมอ Integrity มาจากรากศัพทภาษาลาตินวา Integer แปล วา Wholeness หรือ ความครบถวนสมบูรณ ความเปน จํานวนเต็ม” ศาสตราจารย ธานินทร กรัยวิเชียร องคมนตรี ไดกลาวถึงในปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “จริยธรรมของผูดํารง ตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาที่ของรัฐ” หลักเกณฑสาํ คัญ Integrity ศาสตราจารย สตีเฟน แอล. คารเตอร แหงมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา ไดใหขอ เสนอแนะวา การทีบ่ คุ คลใดจะไดชอื่ วา “เปนผูม ี Integrity” หรือ “เปนผูที่ยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรม” บุคคลนั้น จะตองปฏิบัติครบถวน ๓ ขั้นตอน คือ ๑. พินิจพิเคราะหแยกแยะใหกระจางชัดไดวา สิ่งใดเปนสิ่งที่ถูกตอง หรือสิ่งใดเปนสิ่งที่ผิด (Discerning what is right and what is wrong) ๒. ปฏิบตั ติ ามสิง่ ทีต่ นเชือ่ วาถูกตองอยางเครงครัด แมจะทําใหตนเองลําบากหรือเสียผลประโยชนก็ตาม (Acting on what you have discerned even at personal cost)
๓. ประกาศใหผอู นื่ ทราบทัว่ กันวา ตนไดปฏิบตั ิ ไปเชนนั้นโดยพินิจพิเคราะหแยกแยะแลววาเปนสิ่ง ทีถ่ ูกตอง (Saying openly that you are acting on your understanding of right from wrong) นอกจากนี้ ศาสตราจารย ธานินทร กรัยวิเชียร องคมนตรี ยังฝากใหชวยกันพิจารณาดูวา การที่วงการ วิชาชีพตาง ๆ ของประเทศอังกฤษสามารถรักษาคุณธรรม และจริยธรรมไดอยางนาทึ่งนั้น เขาทําไดอยางไร ? ชาว อังกฤษถือวาการเปน “เด็กดี สําคัญกวาและตองมากอน การเปน เด็กเกง” ดังนั้นเขาจึงฝกอบรมเด็กตั้งแตเขาใจ ความ ดวยคติธรรมงาย ๆ ๗ ประการ คือ Truth สัจจะพูดความจริง Honesty ความซื่อสัตยสุจริต Sense of Duty ความสํานึกในหนาที่ Patience ความอดกลั้น Fair play ความเปนธรรม Consideration for others ความเอาใจเขา มาใสใจเรา Kindness เมตตาธรรม ดังนั้น “บุคคลใดที่มีคติธรรมครบถวนทั้ง ๗ ประการ จึงถือวาเปนผูมี Integrity เปนคนเต็ม”
พฤษภาคม ๒๕๕๙ คุณธรรมจริยธรรมกับการพัฒนากําลังพล กองทัพอากาศเปนองคการหนึ่งที่ไดมุงมั่นพยายาม พัฒนาใหสังคมของกองทัพเกิดคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงาม จึงไดนํา “Integrity” มาบรรจุไวใน คานิยมหลักของ กองทัพอากาศ (Royal Thai Air Force Core Values) ซึง่ ถือเปนสิง่ ทีด่ มี าก แตการทีจ่ ะทําใหกาํ ลังพลของกองทัพ ทุกคนเขาใจความหมายของ Integrity ไดถกู ตองและครบ ถวนเชนเดียวกับที่ชาวอังกฤษไดปลูกฝงใหกับเด็กและ เยาวชนนั้น เปนสิ่งที่ทาทายอยางยิ่ง สังคมไทยในปจจุบนั มีขอ ประพฤติปฏิบตั ิ จารีต ประเพณี มีระเบียบปฏิบัติที่ดี มีศีลและหัวขอธรรมให ปฏิบตั กิ นั มากมาย แตเพราะเหตุใดสังคมไทยจึงตกอยูใ น ภาวะแตกแยก ขาดความสามัคคี เกิดการแกงแยง ชวงชิง อํานาจ โกงและทุจริตในหนาทีก่ ารงานไปทัว่ ทุกองคกรและ องคการในทุกระดับ ซึ่งเปนที่รูกันในหมูผูปฏิบัติงานดวย กัน เราทุกคนจึงตองชวยกันคนหาตนเหตุ และชวยกันคิด วาจะทําอยางไรตอไปกับสิ่งเหลานี้ ? “สัจจะ” ตามคําสอนในพุทธศาสนา พระเมธี วราภรณ (สุทศั น ป.ธ. ๙) ไดกลาวไวในหนังสือ“เบญจศีล เบญจธรรม อุดมชีวิตของมนุษย” ใหความหมายวาเปน ความสัตยซื่อ ความจริงใจ ความเที่ยง ความเปนคนมี จิตใจแนวแน มุงมั่นในสิ่งที่ตนปรารถนา แลวก็ทําจนเห็น ผล และตามความหมาย “การมีสจั จะ” ในศาสนาอิสลาม หมายถึง การพูดความจริง รวมไปถึงการพูดถึงสิง่ ทีส่ ะทอน ใหเห็นถึงความเปนจริง ถือเปนคุณสมบัตทิ จี่ าํ เปนสําหรับ สังคมมนุษย เปนหนึง่ คุณคาของพฤติกรรมมนุษยทนี่ าํ มา ซึง่ คุณงามความดีมากมาย ในขณะที่ “การกลาวเท็จ” นัน้ เปนหนึง่ องคประกอบใหญของความเสือ่ มในสังคมมนุษย เปนสาเหตุของการทําลายโครงสรางและสายสัมพันธของ สังคม และเปนลักษณะเฉพาะของความประพฤติชั่วราย ที่สุดอยางหนึ่ง อีกทั้งยังเปนสาเหตุของการแพรขยาย ความชั่วในสังคม ดังนั้นอิสลามจึงไดยึดมั่นในความจริง และหามปรามจากการกลาวเท็จ สัจจะกับความมั่นคงมนุษย เมื่อพิจารณาถึง
ขาวทหารอากาศ ๖๗ โทษที่เกิดขึ้นกับสังคมเมื่อขาดสัจจะ จะพบวาเปนเรื่อง เดียวกับปญหาดานความมัน่ คงของประเทศ กลาวคือ เมือ่ จิตใจขาดสัจจะ ความคิดก็จะขาดสัจจะ ความซื่อสัตยก็ ไมเกิดขึน้ จริง ศีล ระเบียบปฏิบตั ิ กฎหมายขอบังคับตาง ๆ ก็จะถูกฝาฝนเปนประจําจนชินชา เกิดเปนการกระทําผิด โดยไมรสู กึ ผิด เกิดเปนพฤติกรรมและสิง่ ทีไ่ มพงึ ปรารถนา ตาง ๆ ดังตัวอยางตอไปนี้ ไมซื่อสัตยตอตนเอง ผิดสัญญาที่ใหไวกับใจ ตนเอง ตั้งใจแลวไมทําจริง ผัดผอนไปเรื่อย กลายเปนคน ขาดระเบียบ ขาดความตั้งใจ ทําอะไรไมประสบผลสําเร็จ ในชีวิต ไมซอื่ สัตยตอ ครอบครัว สรางปญหาในชีวติ กอให เกิดความไมไววางใจซึง่ กันและกัน เปนทีด่ ถู กู เหยียดหยาม ของผูอื่น ไมซอื่ สัตยตอ เพือ่ น ทรยศตอกัน แตกความสามัคคี อยูในสังคมไดยาก หวาดระแวงกลัวคนอื่นจะหักหลัง ตลอดเวลา ไมซื่อสัตยตอหนาที่การงาน ใชอํานาจในทาง มิชอบ กระทําทุจริต ใชอาํ นาจหนาทีแ่ สวงหาผลประโยชน ในทางมิชอบแกตนเอง ครอบครัว หรือพวกพอง กอใหเกิด ความเสียหายแกประชาชนและบานเมือง ทําใหเกิดการ ทะเลาะวิวาท ไมซื่อสัตยตอประเทศชาติ ทรยศขายชาติ สังคม เกิดความยุง เหยิง ความหวาดระแวง ไมไวใจซึง่ กันและกัน เกิดความโกลาหลไปทัว่ ไมรสู งิ่ ไหนจริง สิง่ ไหนเท็จ ประเทศ ชาติไมมั่นคง ประชาชนไมสงบสุข ทําใหไรซึ่งเกียรติภูมิ และเปนที่ดูถูกของชนชาติอื่น เพราะฉะนั้นสาเหตุสําคัญของปญหาสังคมที่ พัฒนาลุกลามกลายเปนปญหาความมัน่ คงของประเทศ ก็คือ “การขาดสัจจะ” คําสอนเกีย่ วกับสัจจะในศาสนา เมือ่ เปรียบเทียบ คําสอนและการอบรมปลูกฝงอยางละเอียด จะพบวา พระศาสดาของศาสนาพุทธ อิสลาม และคริสต มีคําสอน ทีเ่ หมือนกัน คือ ใหยดึ มัน่ ในสัจจะของตนเอง และใหความ
๖๘ ขาวทหารอากาศ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
“ไมฝกใฝฝายใด” ชวยหยุดความแตกแยก ในสังคมไทย
“ไมทุจริตในงานราชการ ตลอดชีวิต” ชวยหยุดทุจริต โกงกิน ไมซื่อสัตย
สัจจะ “ไมสูบ ไมเสพ ไมขาย และไมยุยงสงเสริมใหผูอื่นสูบ เสพยาเสพติด ตลอดชีวิต” ชวยหยุดขบวนการสรางความไมมั่นคงจากยาเสพติด
แนวความคิดการนําสัจจะมาใชกับงานราชการใสสะอาดของกองทัพอากาศ และการแกไขปญหาความมั่นคงของประเทศ
สําคัญตอ “การปฏิบัติตนดวยสัจจะ” ยึดมั่นความจริง เพื่อ ใหสิ่งที่มุงมั่นตั้งใจเกิดขึ้นเปนความจริง และทรงนํามาเปน คําสอน ใหสาวกยึดถือสัจจะเปนสิง่ สําคัญในการดําเนินชีวติ ดังนัน้ “สัจจะจึงเปนแกนสารของการปฏิบตั แิ ละเปนธรรมะ ที่เปนสากลโลก” การนําสัจจะมาปฏิบตั จิ นเปนทีป่ ระจักษ สํานักสงฆ ถ้ํากระบอก จังหวัดสระบุรี ไดใชสัจจะ เปนเครื่องนําการ ปฏิบัติ โดยใหความหมายของสัจจะ คือ สัญญาที่ทําขึ้นไว กับใจตนเอง และจากการศึกษาขอเท็จจริงพบวา ในการ บําบัดรักษาผูต ดิ ยาเสพติดจากประเทศตาง ๆ ทัว่ โลก ตัง้ แต ป พ.ศ.๒๕๐๒ จนถึงปจจุบนั นัน้ สมุนไพรจากธรรมชาติเปน ตัวขับไลสารพิษที่ตกคางในรางกาย สวนการเลิกเสพยาได จริง เกิดขึ้นจากการรับสัจจะ “ไมสูบ ไมเสพ ไมขาย และ ไมยุยงสงเสริมใหผูอื่นสูบ เสพยาเสพติด ตลอดชีวิต” ซึ่ง ทําใหผทู บี่ าํ บัดแลวเกิดการเปลีย่ นแปลงชีวติ ไปในทางทีด่ ขี นึ้ การใชสจั จะแกไขปญหายาเสพติด การถือสัจจะ “ไมสบู ไมเสพ ไมขาย และไมยยุ งสงเสริมใหผอู นื่ สูบ เสพ ยาเสพติด ตลอดชีวติ ” จะเปนการปองกันตัวใหขา ราชการ ไมนาํ ตนเองเขาไปยุง เกีย่ วกับขบวนการทีส่ รางความไมมนั่ คง จากยาเสพติด ถือเปนการแกไขปญหาความมั่นคงใหกับ
ประเทศชาติ โดยเริ่มจากการสรางความเขมแข็งใหกับ กําลังพลทุกคน แนวทางการนําสัจจะมาประยุกตใชในชีวิต ประจําวัน จากการศึกษาวิเคราะหประเด็น “สัจจะ ปฏิบัติ” ที่สํานักสงฆถ้ํากระบอก พบวา เปนการปฏิบัติ ที่อยูในลักษณะ “การเดินสายกลาง” คือ การกําหนด ขอปฏิบัติใหกับตนเอง โดยระบุขอบเขตที่มีความชัดเจน และเปนไปไดจริง สัจจะปฏิบตั ิ = ขอปฏิบตั ทิ มี่ ขี อบเขต + กําหนด เวลาที่ชัดเจน เชน ใหสจั จะ ไมเห็นผูอ นื่ ผิด ๑ ชัว่ โมง ไมโกรธ ใคร ๑ ชั่วโมง ไมอิจฉาใคร ๑ ชั่วโมง ไมพูดเรื่องของ ผูอื่น ๑ ชั่วโมง ไมเสพ ไมยุยงสงเสริมใหผูอื่นเสพ ตลอดชีวิต เปนตน วิธีการแกไขนิสัยตนเอง บุคคลที่สามารถหยุด การกระทําตามนิสยั ตามอารมณของตนเองไดจริงวันละ ๑ ชัว่ โมง จะทําใหเกิดความภาคภูมใิ จยินดีทตี่ นเองทําได จึงเต็มใจที่จะทําอีกตอไป และเมื่อไดปฏิบัติตน ดวยขอ สัจจะเปนประจําทุกวัน นิสัยนั้นก็จะคอย ๆ ลดนอยลง จนหมดไปไดในที่สุด ตัวอยางเชน คนมีนิสัยอารมณเสีย
พฤษภาคม ๒๕๕๙ โมโหงาย ก็สามารถแกไขนิสยั ตนเอง โดยกําหนดขอสัจจะ ปฏิบตั ใิ หกบั ตนเอง เชน “ไมโกรธ ไมโมโห วันละ ๑ ชัว่ โมง ตั้งแต ๘ โมง ถึง ๙ โมงเชา มีกําหนด ๑ ป” ซึ่งขณะที่อยู ในชั่วโมงของการปฏิบัติ ก็จะทําใหเกิด สติเตือนตนเอง และเกิด สมาธิพิจารณา การกระทําของตนเองขึ้นโดย อัตโนมัติ สัจจะกับความมั่นคงของประเทศ จากขอเท็จ จริงพบวาทุกขอปฏิบตั ขิ ององคกร ผูน าํ จะตองเปนตัวอยาง ตองทําใหไดกอน เพราะขอปฏิบัติที่ผูนําทําไมได ผูตามก็ จะขาดความเชื่อถือ คือไมเชื่อถือทั้งตัวผูนําและไมเชื่อใน ขอปฏิบัติสิ่งตาง ๆ ที่พยายามใหทุกคนในองคกรยึดมั่น ยึดถือปฏิบัติ ก็จะประสบความลมเหลว ไมสัมฤทธิ์ผล ตามทีต่ อ งการ เพราะฉะนัน้ การแกปญ หา จึงจําเปนตอง มีผูนําการปฏิบัติ การใชสจั จะหยุดความแตกแยกในสังคม ปจจุบนั สังคมไทยกําลังแตกแยกเปนหลายฝายหลายสีและยังมี แนวโนมอาจเกิดเหตุรนุ แรงขึน้ เปนปญหาความมัน่ คงของ ประเทศ ซึง่ ยังไมมผี ใู ดสามารถแกไขได เราจึงตองใชสจั จะ วางตนเองใหอยูเหนือปญหา ไมเขากับฝายหนึ่งฝายใด ทําหนาที่ของตนเองใหดีที่สุดยึดมั่นใน “สัจจะไมฝกใฝ ฝายใด” โดยเปดโอกาสใหทกุ คนไดประกาศสัจจะรวมกัน ซึง่
ขาวทหารอากาศ ๖๙ การกระทําเชนนีม้ คี วามหมายคือ แตละคนไดยนื อยูเ หนือ ปญหา ไมเอาตัวเขาไปยุง เกีย่ วกับปญหา อันจะเปนการลด จํานวนคนไทยที่แตกแยกหลายฝายในประเทศ การใชสัจจะปฏิบัติหนาที่ราชการของกองทัพ อากาศ เพื่อใหเกิดความซื่อสัตยสุจริตในหนาที่ราชการ ของกองทัพอากาศ จึงควรใหกําลังพลทุกคนไดใหสัจจะ ตอกัน คือ “ไมทุจริตในงานราชการตลอดชีวิต” โดย ผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชา หัวหนาและลูกนอง ประกาศและถือสัจจะขอเดียวกัน เปนสักขีพยานและ ปฏิบัติรวมกัน การดําเนินการตาง ๆ ของกองทัพอากาศ จะพัฒนาเจริญเติบโตไปในทางที่ดี ดวยเหตุผลที่วาทุกคน สามารถทําไดจริงตามที่ประกาศไว เมื่อประกาศสัจจะไป แลว ผูใ ดมาบอกมาสัง่ มาชักชวนใหทาํ สิง่ ผิดหรือทําทุจริต ก็สามารถตอบไดชดั เจนวา ตนเองยึดมัน่ ในสัจจะไมทจุ ริต ในงานราชการตลอดชีวิต คนที่ไมมีสัจจะก็จะไมกลามา ยุงมาคุกคามอีก ไมตองเกรงกลัวการใชอํานาจอิทธิพลมา บังคับใหกระทําความผิดอีก จึงเปนการยุติพฤติกรรมการ ทุจริต โกงกิน ไมซื่อสัตยในการปฏิบัติหนาที่ราชการ เมื่อ ทําไดความเจริญก็จะเขามาหาตนเอง ครอบครัว หนวยงาน จนถึงกองทัพตอไป
๗๐ ขาวทหารอากาศ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
สัจจะกับราชการใสสะอาด ศูนยประสานราชการ ใสสะอาดกองทัพอากาศ ไดกาํ หนดวิสยั ทัศนในป พ.ศ.๒๕๖๒ วา “กองทัพอากาศ เปนองคการทีม่ กี ารบริหารจัดการดวย ความโปรงใส ยึดมัน่ ในคุณธรรม จริยธรรม เปนทีย่ อมรับใน ระดับสากล ภายใตหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการ บานเมืองทีด่ ”ี ซึง่ ก็จะประสบความสําเร็จไดจริง จากการที่ กําลังพลกองทัพอากาศใหสัจจะและปฏิบัติรวมกัน ๓ ขอ คือ ๑. ไมฝกใฝฝายใด ๒. ไมทุจริตในงานราชการตลอดชีวิต ๓. ไมสูบ ไมเสพ ไมขาย และไมยุยงสงเสริมให ผูอื่นสูบ เสพยาเสพติด ตลอดชีวิต ทั้งนี้ ผลจากการปฏิบัติตนดวยสัจจะ จะชวย สนับสนุนใหกองทัพอากาศกาวสูการเปน กองทัพอากาศ ชั้นนําในภูมิภาค One of the Best Air Forces in ASEAN ในป พ.ศ.๒๕๖๒ ไดโดยมี “ทหารอากาศไทยเปนผูม ี Integrity
จึงเปนทหารอากาศชั้นนําในภูมิภาค คือ One of the Best Airman in ASEAN ไดอยางสมบูรณ” กําลังพลของกองทัพอากาศไทยในอนาคต จะ เปนตัวอยางทีด่ ใี หกบั คนไทยทัง้ ชาติ ตลอดจนผูค นทัว่ โลก ความนาเชื่อถือ ความศรัทธาตอกองทัพอากาศไทยจะ ฟนคืนกลับมาอยางรวดเร็ว จะเจริญกาวหนาดวยความ มัน่ คง สามารถแกไขปญหาพลิกสถานการณตา ง ๆ ไปได ในทางที่ดี ถือเปนการพัฒนากองทัพโดยเริ่มจากภายใน จิตใจของทุกคน ซึ่งตรงกับหลักการทรงงานในพระบาท สมเด็จพระเจาอยูห วั เรือ่ ง ระเบิดจากขางใน ทีม่ งุ เนนให “...การพัฒนาคน ตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชน ที่เราเขาไปพัฒนาไดมีสภาพพรอมที่จะรับเสียกอน แลว จึงคอยออกมาสูส งั คมภายนอก มิใชการนําเอาความเจริญ หรือบุคคลจากสังคมภายนอกเขาไปหาชุมชนหมูบ า น ทีย่ งั ไมทันไดมีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว...” """
*** Truth : The action never die.*** แหลงขอมูล - ธานินทร กรัยวิเชียร, ศาสตราจารย องคมนตรี. ปาฐกถาพิเศษ เรื่องจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและ เจาหนาที่ของรัฐ. สํานักงานผูตรวจการแผนดิน, ๒๕๕๑, หนา ๒๗-๒๘. - พระเมธีวราภรณ (สุทัศน ป.ธ. ๙). เบญจศีลเบญจธรรม อุดมชีวิตของมนุษย. วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร, ๒๕๕๔, หนา ๑๔๔-๑๕๑ - มูลนิธิถ้ํากระบอก. ของฝากจากถ้ํากระบอก, บุญศิรกิ ารพิมพ, ๒๕๔๕, หนา ๓๓-๔๒. - อะไรคือความสําคัญของ “การมีสัจจะ” http://maifatema.wordpress.com/2009/03/05/ - ปริญญา ประหยัดทรัพย, ความสัจจะ หนึ่งในคุณสมบัติของมุสลิมที่แทจริง, สํานักจุฬาราชมนตรี http://www.skthai.org/ index.php?mo=3&art=630325, ๗ มิถุนายน ๒๕๕๔. - ชมรมผูบริหารมัสยิสหนองจอก, ความสัจจริง และ ความซื่อสัตย, บทความศาสนา, สาระธรรมอิสลาม, http://www.islammore.com/main/content.php?page=sub&category=26&id=520 - ประวัติคริสตศาสนา, หลักคําสอนของศาสนาคริสต , ศูนยกลางความรูแหงชาติ http://www.tkc.go.th/wiki/show/ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๕. - บทที่ ๑๒ ศาสนาคริสต, คําเทศนาบนเขา (ปฐมเทศนา), มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคริฟอรเนีย http://main.dou.us/view_ content.php?s_id=182&page=7 - หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, สํานักงานคณะกรรมการการพิเศษเพื่อประสานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ, พิมพครั้งที่ ๗, ก.ค.๒๕๕๕.
พล.อ.ท.ฉัตรชัย บุญญานุรักษ ผบ.รร.นนก. ดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณที่พระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อโรงเรียนนายเรืออากาศวา “โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช” ตัง้ แต วันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๖ มีความหมายวา “โรงเรียน นายเรืออากาศใหมทสี่ รางขึน้ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ผูทรงเปนกษัตริยาธิราชที่ยิ่งใหญ
รัชกาลที่ ๙” อางตามหนังสือ สํานักราชเลขาธิการ ที่ รล ๐๐๒.๔/๖๖๙๙ ลงวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เนือ่ งใน โอกาสทีจ่ ะปรับยายทีต่ งั้ แหงใหม ณ อ.มวกเหล็ก จว.สระบุรี ภายในป พ.ศ.๒๕๖๔ นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยาง หาที่สุดมิได ยังความปลื้มปติยินดีใหแกผูบังคับบัญชา ขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง และนักเรียนนายเรือ อากาศจากอดีตจนถึงปจจุบันทุกคน
ในโอกาสวันสถาปนาโรงเรียนนายเรืออากาศ นวมินทกษัตริยาธิราชเวียนมาบรรจบครบรอบ ๖๓ ป “๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙” สถาบันแหงนี้ไดผลิตนายทหาร สัญญาบัตรใหกองทัพอากาศมาแลว ๕๙ รุน หรือมากกวา ๕,๖๐๐ คน เขารับราชการในกองทัพอากาศและสังคม จนได รับการแตงตัง้ ใหเปนผูน าํ ผูบ ริหารของหนวยงานทัง้ ภายใน และภายนอกกองทัพอากาศ ซึง่ ความสําเร็จทัง้ หลายเปนผล มาจากการดําเนินการตามปณิธานของสถาบันรวมกันอยาง มุงมั่น ดวยความวิริยะ อุตสาหะ พากเพียรพยายาม ทุมเท กําลังกายกําลังใจของคณาจารย ผูบ งั คับบัญชา และกําลังพล ทุกคนทั้งในอดีตและปจจุบัน เพื่อใหเปนแหลงผลิต และรวบรวมองคความรูดานการบินและการทหารของ ชาติ สรางสรรคผลงานวิจัยที่สามารถผานการรับรองจาก คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานยุทโธปกรณกองทัพอากาศ และบรรจุเขาใชประจําการในกองทัพอากาศ ตลอดจน ผูสําเร็จการศึกษา (หรือที่รูจักกันในนามของ ชนอ.) ที่
เพียบพรอมดวยความรูค วามสามารถดานวิชาการ วิชา ทหาร คุณลักษณะผูนําทหาร และคุณธรรมจริยธรรม พรอมทั้งความสามารถพัฒนาตนเองใหทันตอการ เปลี่ยนแปลงไดเขาประจําการเพื่อพิทักษรักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข ตลอดระยะเวลา ๖๓ ปที่ผานมา โรงเรียนนายเรือ อากาศนวมินทกษัตริยาธิราช ไดมงุ เนนในการผลิตนายทหาร สัญญาบัตรกองทัพอากาศใหเปนไปตามความตองการ วิสัยทัศน นโยบายของกองทัพอากาศและกระทรวง กลาโหม ตลอดจนความเปนมาตรฐานสากลและเปนที่ ยอมรับอยางกวางขวาง ทั้งนี้หากจําแนกพัฒนาการของ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราชใหคลายคลึง กับวิวฒ ั นาการของเครือ่ งบินรบสามารถจําแนกออกเปน ๕ ยุค ดังนี้
บุพการีทหารอากาศ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุนี สุวรรณประทีป) นาวาอากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ (หลง ศินสุข) นาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต (ทิพย เกตุทัต) “ยุคที่ศูนย ยุคแรกตั้งกองทัพอากาศ” ระหวางป พ.ศ.๒๔๕๗ - ๒๔๙๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ไดทรงมุงหวังใหสยามประเทศทัดเทียมอารยประเทศ ดวยเหตุนี้ จอมพล สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจักรพงษภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ (พระบิดากองทัพอากาศ) จึงไดรับสนองพระบรม ราชโองการตั้งกิจการการบินขึ้น และสงนายทหารเขารับการศึกษาวิชาการบิน ณ ประเทศฝรั่งเศส ๓ ทาน คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุนี สุวรรณประทีป) นาวาอากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ (หลง ศินสุข) และนาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต (ทิพย เกตุทตั ) และกลับมาปฏิบตั ทิ าํ หนาทีเ่ ปนครูการบิน ชางเครือ่ งบิน และ ชางเครื่องยนต ตามลําดับ ตอมากระทรวงกลาโหมมีแนวความคิดในการยกระดับกําลังทางอากาศขึ้นเปนกองทัพ โดย ยกฐานะแผนกการบินกองทัพบกขึ้น เปนกองบินทหารบก กรมอากาศยานทหารบก กรมทหารอากาศ และกองทัพ อากาศ ในป ๒๔๘๐ ตามลําดับ ในยุคนี้ กองทัพอากาศมีความตองการนักบิน และผูท าํ การในอากาศจํานวนมากจึงรับสมัคร นายทหารหลักจากนายทหารบก นายทหารเรือ นายตํารวจเขาเปนศิษยการบินโดยตรง และเสริมดวยพลเรือนบางสวน สําหรับนายทหารเทคนิคไดคัดเลือกจากผูที่มีคะแนนดีเยี่ยมจากสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ
ตึกเหลือง “ยุคที่หนึ่ง ยุคแรกกําเนิดโรงเรียนนายเรือ อากาศ” ระหวางป พ.ศ.๒๔๙๖ - ๒๕๑๒ เปนยุคทีก่ องทัพ อากาศกอตั้งสถาบันผลิตนายทหารสัญญาบัตรของตนเอง เนื่องจากนายทหารอากาศที่สําเร็จการศึกษาจากโรงเรียน นายรอยพระจุลจอมเกลา และโรงเรียนนายเรือ ไดรับการ ฝกศึกษาเรียนในสาขาเฉพาะเหลาทหารบก/ทหารเรือ สวน สาขาวิชาเฉพาะเหลาทหารอากาศไมไดรบั การฝกศึกษาตรง ตามความตองการ ดังนัน้ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ เจากรมอากาศยานในขณะนัน้ จึงไดสถาปนาโรงเรียนนายเรือ อากาศขึ้นในวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๖ ณ ตึกเหลือง กองทัพอากาศ ดอนเมือง และปรับยายมา ณ ที่ตั้งปจจุบัน ในเวลาตอมา ยุคแรกเริม่ นีน้ กั เรียนนายเรืออากาศไดรบั การ ศึกษาวิทยาการในสาขาวิชาเหลาทหารเปนเวลา ๔ ป และ
ศึกษาวิชาการบินอีก ๑ ป หากแตมขี อ พิจารณาดานสิทธิ กําลังพลของศิษยการบิน จึงไดปรับหลักสูตรของโรงเรียน นายเรืออากาศ ใหนกั เรียนนายเรืออากาศศึกษาวิทยาการ ในสาขาวิชาเหลาทหารที่ประกอบรวมดวยนักบินและ ตนหน เหลาชางอากาศ เหลาสื่อสาร เหลาสรรพาวุธ เหลาอากาศโยธิน ณ โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนเวลา ๕ ปี หลังจากสําเร็จการศึกษาไดรับการบรรจุเปนนายทหาร สัญญาบัตร แลวจึงสมัครคัดเลือกเขารับการฝกศึกษาดาน การบิน ณ โรงเรียนการบิน ตออีก ๑ ป ในยุคนี้ผูสําเร็จ การศึกษาจากโรงเรียนนายเรืออากาศไดรบั ปริญญาบัตร วิทยาศาสตรบัณฑิต แหงกองทัพอากาศ “วทบ.(ทอ.)” ในสาขาวิชาเหลาทหารที่ไดรับการศึกษา ""
(ฉบับหนาติดตาม ยุคที่สอง ยุครองรับวิทยาการและเทคโนโลยี ดานการบิน ตลอดจนความเปนสากล)
มาลีหลากนาม
ภาษาไทยดวยใจรัก
นวีร
เพือ่ นคนหนึง่ บนวา ทําไมภาษาไทยตองมีคาํ ใชมากมายหลายคําเมือ่ หมายถึงสิง่ ๆ เดียวในขณะทีภ่ าษาอังกฤษ ใชคําคําเดียว เชน ภาษาอังกฤษใชคําวา I แตภาษาไทยมีใชทั้ง ฉัน ผม กระผม ดิฉัน อะฮั้น เดี๊ยน ขา ขาพเจา กู เรา อาตมา อาตมภาพ เคา บาว ลูกชาง ขาเจา อัญขยม หมอมฉัน เกลากระหมอม ขาพระพุทธเจา และอาจจะมีคําอื่น ๆ อีก แตเมือ่ ฟงคําอธิบายวา การมีหลากหลายคําเชนนีน้ บั วาเปนประโยชน เพราะเปนการบงถึงกาลเทศะและบุคคล รวมทัง้ ทําใหขอความนั้นมีน้ําหนักขึ้น การใชคําสื่อความคิดนี้มีใชเรียกสิ่งของตาง ๆ มากมาย แมกระทั่งชื่อดอกไมก็ยังเรียกชื่อตางกันไปโดยเฉพาะ ตามภาคตาง ๆ ทั้ง ๆ ที่เปนดอกไมประเภทเดียวกัน ดังชื่อ ดอกทองกวาว ที่ นภาลัย ฤกษชนะ เขียนไวเมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๘ วา จาน ทองกวาว กาน จอมทอง ทองธรรมชาติ พราวพิลาสหลากนามงามสดใส อยูริมทางชางสงาทาใครใคร ทั้งเหนือใตอีสานกลางไมหางตา ชื่อดอกไมทั้ง ๕ ชื่อในวรรคแรกเปนชื่อดอกไม ของดอกทีม่ ชี อื่ วา ทอง ซึง่ เปนชือ่ พรรณไมตน ดอกสีแสด ดอกทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ หรือดอกทองตน ก็เรียก ทางพายัพเรียก ทองกวาว กวาว หรือกาว ภาคใต เรียก จอมทอง และ ทางอีสานเรียก จาน ถือเปน มาลี หลากนาม ดอกไมหลายชนิดชวนใหคิดคนวา แตละชนิด มีชื่อเรียกตางกันไปอยางไรบาง จึงขอนําเสนอพอสังเขป ดังนี้ กณิการ - กรรณิกา - กรณิการ ชื่อนี้เพี้ยนกัน เพียงเล็กนอย เปนดอกไมกลีบดอกสีขาว มีกลิน่ หอม และ หลอดดอกสีแดง กระดังงา ดอกไมกลีบบาง ๖ กลีบ มีกลิ่นหอม ใชทํายาได เรียกอีกชื่อหนึ่งวา สะบันงา นอกจากนี้ยังมี แยกชื่อเฉพาะเปน กระดังงาสงขลา ซึ่งเปนไมพุม ดอก มักมีกลีบมากกวา ๖ กลีบ กระดังงาจีน เปนไมเถาเนื้อ แข็ง ดอกหอมมีกลีบหนา ๖ กลีบ หอมจัดตอนเย็น ๆ กันเกรา ดอกสีเหลืองออกเปนชอคลายดอกเข็ม ตําเสาหรือมันปลา ก็เรียก กลวยไม พายัพเรียก เอื้อง
กาสะลอง เปนชือ่ เรียกทางพายัพ ภาคกลางเรียก ปป แตถา มีดอกสีเหลืองทองเรียก กาสะลองคํา หรือปปทอง ทั้งปปและกาสะลองมีชื่ออีกชื่อหนึ่งวา ออยชาง การะเกด ดอกสีเหลือง มีกลิ่นหอม มักขึ้นในที่ ชื้นแฉะมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ ลําเจียกหนู การะบุหนิง ภาษาชวา (Kemuning) ดอกแกว ขาวใหม คือ ดอกชมนาด เขียนเปน ชํามะนาด ก็ได ดอกไมขาวเปนชอ กลิ่นเหมือนขาวใหม จามจุรี มักเรียกวา กามปู พฤกษ ซึก หรือซิก จําปา ดอกสีเหลืองอมสม แตทางปกษใตเรียก ลั่นทม จําป ดอกสีขาวคลายดอกจําปาแตกลีบเล็กและ หนากวา บางพันธุสีนวลหรือสีเหลืองออน กลิ่นหอมเย็น เรียก จําปสีนวล นอกจากนี้ ยังมี จําปแขก ซึ่งมีกลีบดอก แข็งสีนวล จําปาแขกก็เรียก และมี จําปสริ นิ ธร ซึง่ กลีบดอก ใหญยาวสีขาวนวล ตนขึ้นในปาพรุน้ําจืด ชงโค พรรณไมที่ใบปลายเวาลึกเปน ๒ แฉก ดอกสีชมพูอมแดงหรือมวงแดง แตถามีดอกสีเหลืองหอยลง เรียก ชงโคดอกเหลืองหรือโยทะกาชนิดหนึ่ง (โยทะกามี ๒ ชนิด ชนิดหนึง่ ดอกสีเหลืองหอยลงดังกลาวแลว อีกชนิด หนึ่ง ดอกสีขาวนวลมีลายสีชมพูออกเปนชอสั้น ๆ)
๗๖ ขาวทหารอากาศ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
ซอนกลิ่น ตนเปนกอ ดอกสีขาวเปนชอตั้งขึ้น กลิ่นหอมโบราณเรียก ดอกซอนชู ดอกดิน ลําตนเปนปุมปม เกาะเบียนเปนราก หญา ดอกสีมวงดําใชทําขนม ดอกดินแดง ก็เรียก ดอกฟอน เปนไมพุม ราชาวดีปาหรือดอกดาย ก็เรียก ทองอุไร ดอกสีเหลืองสดรูปแตร พวงอุไร ก็เรียก พุทธรักษา
ลัน่ ทม ดอกสีขาวหรือแดงเรือ่ ๆ กลิน่ หอม ลีลาวดี หรือจําปาหอม ก็เรียก พายัพเรียก จําปาลาว อีสานเรียก จําปา ปกษใตเรียก จําปาขอม ดอกไมนถี้ อื เปนสัญลักษณ ของประเทศลาว เสลา ไมตน ดอกสีชมพูถึงมวง ออกเปนชอตาม กิ่ง อินทรชิต ก็เรียก เอื้อง คือ ตนกลวยไม มีหลายชนิด เชน เอื้อง หนวดพราหมณดอกสีมวงแดง เอื้องครั่งหรือเอื้องน้ําครั่ง ดอกสีมวงแดง เอื้องฟามุยดอกสีฟาอมมวง เอื้องมอนไข หรือเอื้องมอนไขใบมนดอกขาวปากเหลือง เอื้องนางรุง หรือลิน้ กระบือ ดอกโตสีเหลืองประมวงแดงหรือสีมว งแดง เอื้องศรีเที่ยงหรือกระเจี้ยงดอกใหญสีเหลืองประแดง ไมดอกเหลานีเ้ รียกชือ่ ตางกันไปตามถิน่ ตาง ๆ ถือ เปนมาลีหลากนาม ทําใหภาษามีคาํ ใชเพิม่ ขึน้ และเปนการ เรียนรูภาษาทองถิ่นตาง ๆ ดวย """
บานบุรี
บานบุรี มีหลายสี ไมพุมรอเลื้อย สีเหลืองสด และสีมว ง แตถา ดอกสีมว งชมพูเรียกวา ดาวประดับ สวน ที่เปนไมเถา ดอกสีมวงชมพูภายในหลอดดอกสีเหลือง เรียกวา มวงมณีรัตน บุษบามินตรา เปนชื่อภาษาชวาของดอก พุทธรักษา พิกุล ดอกมีกลีบจักแหลม กลิ่นหอมและหอม อยูจนแหงใชทํายาได ทางพายัพเรียก แกว ทางปกษใต เรียก กุล รวงผึง้ ไมประดับดอกสีเหลือง ดอกเปนชอสัน้ ๆ ตามงามใบ น้ําผึ้ง ก็เรียก พิกุล
เสลา
ครูภาษาพาที
อรอยยังไงไมใหอึดอัด Ms. Carrot เมือ่ อานหัวขอ “อรอยยังไงไมใหอดึ อัด” หลายคน อาจนึกถึง อีโน ยาลดกรดในกระเพาะอาหารเหมือนใน โฆษณา แตคําวาอึดอัดในที่นี้ ไมไดหมายถึงทางกายแต เปนทางใจ ดังนัน้ เรือ่ งทีจ่ ะชวยใหทา นผูอ า นรับประทาน อาหารไดอยางเอร็ดอรอยมีรสชาติแบบไมตอ งรูส กึ อึดอัด ใจเพราะทําตัวไมถกู ไมรวู า ควรจะปฏิบตั อิ ยางไร ผูเ ขียน จึงขอถายทอดความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกับมารยาทและพิธกี าร ในการรับประทานอาหารแบบสากล (Table Manners) อันเปนวัฒนธรรมของชาวตะวันตก เนื่องจากการเรียนรู ภาษาตางประเทศใหไดผลดีควรเรียนรูเรื่องวัฒนธรรม ควบคูไ ปดวย เพือ่ ใหเกิดความเขาใจอันดีในการอยูร ว มกัน แมวา มีความรูภ าษาอังกฤษดี แตไมรธู รรมเนียมปฏิบตั ทิ ี่ ถูกตองอาจสรางความขุนเคืองหรือเขาใจผิดได กองทัพอากาศเปนหนวยงานราชการที่ตองมี การติดตอประสานกับตางประเทศอยางสม่ําเสมอ ทั้ง การฝกรบรวม การศึกษาดูงาน โครงการแลกเปลี่ยน ระหวางกองทัพตางประเทศ รวมทัง้ การเขารวมประชาคม อาเซียนที่จะทําใหการติดตอประสานกับตางประเทศ เพิ่มมากขึ้นอีกหลายเทาตัว ผูเขียนไดสืบคนขอมูลทาง อินเทอรเน็ต (Surf the Internet) ซึ่งเปนคูมือพิธีการ สําหรับภริยาทหารอากาศสหรัฐฯ (The Air University Protocol Handbook for the Air Force Spouse) ที่สามารถดาวนโหลดได ตลอดจนบทความจากเว็บไซต ตาง ๆ และบทความของอันโตนิโอ เซนเทโน (Antonio
Centeno) ประธานเว็บไซต atailoredsuit.com ผูเ คยได รับการอบรมเรือ่ งมารยาทในการรับประทานอาหารเมือ่ ครัง้ ยังเปนนายทหารนาวิกโยธินสหรัฐฯ ทําใหทราบถึงวิธกี าร ปฏิบัติที่เหมาะสม และเห็นวาเปนเรื่องนาสนใจที่ไมอาจ มองขามได ความรูเ รือ่ งการรับประทานอาหารแบบสากลนี้ จะชวยใหเราไมเกิดความเคอะเขิน (awkwardness) หรือ รูส กึ อึดอัด (feel uncomfortable) อันโตนิโอกลาววาเขา เห็นคนที่เรียนหนังสือเสียเงินไปเปนแสนเหรียญสหรัฐแต กลับตกงาน เพราะตกสัมภาษณที่รานอาหาร เนื่องจาก กินอาหารอยางกับชูชก (eat like a horse) หรือเขาอาย เพือ่ นของเขาบางคนแทบแทรกแผนดินหนีเพราะทานขาว หมดไปครึง่ จานแลว ในขณะทีค่ นอืน่ ๆ ยังไมไดเริม่ เพราะ รอกลาวขอบคุณพระเจากันอยู ดังนั้นเพื่อใหงายตอความ เขาใจและนําไปปฏิบัติ บทความนี้ผูเขียนจะขอกลาวถึง ประเภทของงานเลี้ยง บัตรเชิญ มารยาทบนโตะอาหาร การบอกลา และเคล็ดลับอิ่มอรอยแตไมอึดอัด
๗๘ ขาวทหารอากาศ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
ประเภทของงานเลี้ยงแบบตาง ๆ มีดังนี้ ๑. งานเลี้ยงแบบไมเปนทางการ ๑.๑ แบบไมมกี ารจัดทีน่ งั่ เฉพาะ (Informal Dining: Non-seated) งานเลีย้ งแบบนีจ้ ะไมมกี ารกําหนด ที่นั่งเฉพาะและยังไมมีกําหนดเวลาในการนั่งโตะดวย เชน งานเลี้ยงแบบปกนิก (picnic) และบารบีคิว (barbecue) เนื่องจากแขกมาถึงงานจะเริ่มรับประทานอาหารและ เดินทางกลับในเวลาที่แตกตางกัน การรับประทานอาหาร ไมมีพิธีรีตองอะไรมาก อยางไรก็ตามมีสิ่งที่พึงปฏิบัติดังนี้ • ตักอาหารพอประมาณ (Take an average sized serving.) หากตักมาแลวทานไมหมดจะดูไมดเี พราะ อาหารทีเ่ หลือในจานของเราอาจจะเปนสวนของแขกคน ทีม่ าในภายหลังซึง่ ไมไดรบั ประทานเนือ่ งจากอาหารหมด ควรตักพอประมาณ หากมีรสชาติถูกปากจะเดินไปตัก อีกรอบก็ได และเหมือนเปนการชมพอครัวแมครัววาทํา อาหารอรอยจนตองกลับมาเติมใหมอีกรอบ
• อยาจุมอาหารลงในน้ําจิ้มหรือเครื่องเคียงซ้ํา ๆ หลายครั้ง (Do not double dip.) ถาติดใจในรสชาติของ น้ําจิ้มหรือเครื่องเคียง ใหใชชอนตักมาวางบนจานของเรา จากนั้นจึงจิ้มอาหารมากนอยตามที่เราตองการได • กรณีงานเลี้ยงแบบบารบีคิว ใหหั่นเฉพาะเนื้อ สวนที่จะทาน (Precutting meat.) อาจหั่นใหคนที่ยืนรอ อยูใ กล ๆ ได แตอยาหัน่ เนือ้ ยางชิน้ ใหญทงั้ หมดเพราะเนือ้ ที่ หั่นทิ้งไวจะแหงไมอรอย • จัดการภาชนะที่ตนเองใช (Clean-up after yourself.) เชน แกว จาน ชาม หรือภาชนะที่ใชแลว ใหทิ้ง ลงในถุงขยะ เปนตน
ขาวทหารอากาศ ๗๙
พฤษภาคม ๒๕๕๙
๑.๒ แบบมีการจัดที่นั่งเฉพาะ (Informal Dining: Seated) การจัดโตะอาหารแบบนี้สามารถใชจัดอาหารมื้อใดก็ได เปนงานเลี้ยงแบบไมเปนทางการ แตมีการจัดที่นั่ง เฉพาะ เมือ่ สมควรแกเวลาเจาภาพจะเชิญแขกนัง่ ประจําโตะอาหาร จากนัน้ จึงเสิรฟ อาหารพรอมกับพูดคุยสนทนาระหวาง รับประทานอาหารรวมกัน เชน ในงานเลี้ยงเพื่อรับสมัครทหารเกณฑ หรือ งานเลี้ยงทางธุรกิจ หากมีสัมภาระติดตัวมา เชน กระเปาเอกสาร กระเปาสะพาย ถุงมือ หรือแฟมหนา ๆ ใหวางลงบนพื้นโดยไมใหขวางทางเดินของพนักงานเสิรฟ (Put your briefcase, handbag, gloves, or a stack of files on the floor out of the way of the waiter’s traffic flow.) อยาวางบนโตะ (Don’t place them on the table.)
การจัดโตะอาหารแบบไมเปนทางการ (Informal Table Setting)
๒. งานเลี้ยงแบบเปนทางการ (Formal Dining) การพิจารณาวาอาหารมื้อนั้นเปนทางการหรือไม ใหพิจารณาจากการกําหนดการแตงกาย (Dress Code) ที่ไดระบุไวในบัตรเชิญ วาตองแตงกายแบบใด เชน สําหรับงานเลี้ยงแบบเปนทางการของทางทหารจะแตงเครื่องแบบ ราตรีสโมสร (Mess Dress) สวนพลเรือนใสชุดทักซิโดโดยผูกหูกระตายสีดํา (tuxedo with black tie) ทั้งนี้หาก ไมแนใจใหโทรถามเจาภาพ สําหรับอุปกรณตาง ๆ ที่จัดวางบนโตะอาหารอาจทําใหเกิดความสับสนไดเนื่องจากมีหลายชิ้น ดังนั้นหาก ไมมีการศึกษาในเรื่องนี้ใหดี อาจเผลอดื่มน้ําหรือทานขนมปงของคนขาง ๆ ดังนั้นมีขอควรจํา คือ เครื่องดื่มของเราอยู ทางดานขวา สวนอาหารอยูทางดานซาย (A good rule of thumb to remember: drinks to the right, eats to the left.) อุปกรณทุกอยางอยูรอบ ๆ จาน สอมอยูทางซาย ชอนและมีดอยูทางขวา บางครั้งอาจมีการจัดวางชอนสอม สําหรับของหวานไวเหนือจาน การใชชอนสอมหรือมีดใหเริ่มจากดานนอกมาหาดานใน ดังนั้น สอมสําหรับสลัดหรือ อาหารเรียกน้ํายอยอยูทางซายของสอมทานอาหารจานหลัก สําหรับแกวน้ํา หากใชเสร็จแลวควรวางไวทางมุมขวาบน ในขอบเขตที่นั่งของเรา ปกติแกวจะมีขนาดตางกัน สําหรับน้ําดื่ม แกวน้ําจะมีขนาดใหญกวาแกวไวน สวนแกวไวนแดง จะมีขนาดใหญกวาแกวไวนขาว สวนจานรอง (Service Plate) ปกติแลวจะไมนํามาใชใสอาหาร แตจะใชสําหรับรอง จานซุปหรือจานสลัด จากนัน้ จะถูกเก็บออกไปกอนนําอาหารจานหลักมาเสิรฟ หากไมมนั่ ใจจริง ๆ อยาเพิง่ รับประทาน จนกวาจะเห็นคนอื่น ๆ เริ่มใชอุปกรณดังกลาวขางตน หลังจากนั้นจึงเริ่มรับประทานอาหารตามคนอื่น ๆ หรือเลนไป ตามสถานการณเพราะไมไดเตรียมตัวมากอน
การจัดโตะอาหารแบบเปนทางการ (Formal Dinner Setting)
บัตรเชิญ (an invitation card) หากบัตรเชิญ (an invitation) ระบุวา “RSVP” ยอมาจากคําวา Répondez S’il Vous Plaît เปนคําในภาษา ฝรัง่ เศสทีเ่ ปนภาษาสากลนิยม หมายถึง กรุณาตอบกลับ เราตองติดตอยืนยันเจาภาพภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนดไว หรือ ถาไมมีการระบุเวลา ควรตอบรับภายใน ๓ วันหลังจากไดรับบัตรเชิญ โดยบรรทัดแรกของบัตรตอบรับจะมีตัวอักษร M ขึ้นตน หมายถึง ตัวแรกของคํานําหนานาม โดยใหเขียนเพิ่มตอจากตัว M ดังตัวอยางตอไปนี้ Ms. Jane Doe (Ms. สําหรับผูหญิงที่ไมประสงคจะแสดงสถานะวาสมรสหรือไม) Miss Jane Doe (Miss สําหรับผูหญิงที่ยังไมไดสมรส) Mr. and Mrs. John Smith (Mr. and Mrs. สําหรับคูสมรส - สามีและภรรยา) Mr. John Smith (Mr. สําหรับผูชาย) Mrs. John Smith (Mrs. สําหรับผูหญิงที่มีสถานะสมรส) แตปจจุบันเจาภาพบางรายมักจะเปลี่ยนจากตัวอักษร M ตามแบบธรรมเนียมเปนคําวา Name หรือ Names of Guests แทน
ในกรณีที่ไมมีการแจกบัตรเชิญ ใหสอบถามเจาภาพวาเราตองเตรียมอะไรไปบาง และมีแขกรวมงานกี่คน สําหรับการแตงตัวตองแตงใหเหมาะสมกับกาลเทศะเพือ่ เปนการใหเกียรติแกเจาภาพ และเปนการสรางความประทับใจ แรกพบ (make first impressions) เมื่อไปรวมงานเลี้ยงรับประทานอาหารที่จัดที่บาน ใหนําของขวัญเล็ก ๆ นอย ๆ ติดไมติดมือไปมอบใหแกเจาภาพดวย เชน ดอกไมสักชอ ขนมช็อกโกแลต หรือ ไวนสักขวด ถาเปนบานของเพื่อนสนิท ใหถามลวงหนาวาจะใหชวยอะไรหรือไม เชน จะใหนําอาหาร ของวาง หรือเครื่องดื่มไปชวยงานสักอยางหรือไม ในการ ไปงานเลี้ยงใด ๆ ควรไปใหตรงเวลา (arrive on time) หรือหากไปถึงกอนเวลา ควรจะตองขับรถวนไปกอน หรือหา ที่จอดรถและรอจนกวาจะถึงเวลาที่กําหนด เนื่องจากเจาภาพอาจยังไมพรอมรับแขก เชน อาจจะกําลังแตงหนาทําผม หรือทํากับขาวหนามันอยูหนาเตา เราจะกลายเปนภาระและสรางความอึดอัดใจใหเจาภาพได ในขณะเดียวกัน ไมควร ไปสายเกิน ๑๕ นาที เพราะเจาภาพและแขกรับเชิญคนอื่น ๆ จะตองรอเพื่อเขาโตะอาหาร ทานผูอ า นไดทราบเกีย่ วกับประเภทของงานเลีย้ งและบัตรเชิญแลว ฉบับหนา ผูเ ขียนจะเขียนรายละเอียดเพิม่ เติม เรื่องมารยาทบนโตะอาหาร การดื่มอวยพร การบอกลา และเคล็ดลับอิ่มอรอยแตไมอึดอัด แลวพบกันใหม """ แหลงขอมูลและภาพ - http://www.militarywives.com/index.php/protocol-mainmenu-264/air-force-protocol-mainmenu-298/table-ofcontents-mainmenu-299 - http://www.artofmanliness.com/2010/03/26/guide-dining-etiquette-table-manners/ - http://www.au.af.mil/au/images/AU_Protocol_Handbook_for_the_AF_Spouse.pdf - http://static.e-publishing.af.mil/production/1/af_a1/publication/afpam34-1202/afpam34-1202.pdf - http://dtic.mil/dtic/tr/fulltext/u2/a168427.pdf
มุมกฎหมาย
ร.ท.ชานุวัฒน แสงสุวรรณ
เมื่อมีเหตุขัดของที่ไมอาจโอนมรดกได ทายาทของเจามรดกหรือพนักงานอัยการ อาจยื่นคํารองตอศาลที่เจามรดก มีภูมิลําเนาในขณะที่ถึงแกความตาย เพื่อขอใหตั้งผูจัดการมรดกได ปจจุบนั ทุกจังหวัดจะมีสาํ นักงานอัยการคุม ครอง สิทธิประชาชนประจําจังหวัด หรือสาขา (สคช.จังหวัด หรือ สาขา) เปนหนวยงานหนึ่งของสํานักงานอัยการจังหวัด ทั่วประเทศ มีอัยการจังหวัดประจําสํานักงานอัยการ สูงสุดเปนผูรับผิดชอบงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือ ทางกฎหมายแกประชาชน โดยมีอัยการจังหวัดเปน ผูก าํ กับดูแลใหเปนไปตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจําปและ นโยบายของสํานักงานอัยการสูงสุด โดยสํานักงานอัยการ คุมครองสิทธิประชาชนประจําจังหวัด หรือสาขา (สคช. จังหวัด หรือสาขา) มีบทบาทและภารกิจตามกฎหมาย เปนตนวา ชวยคุมครองสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพ และ ผลประโยชนของประชาชนตามทีก่ ฎหมายกําหนดใหเปน อํานาจหนาที่ของพนักงานอัยการตามกฎหมายตาง ๆ โดยประชาชนผูข อรับบริการจะไมเสียคาใชจา ยใด ๆ โดย สํานักงานอัยการคุมครองสิทธิประชาชนประจําจังหวัด หรือสาขา (สคช.จังหวัด หรือสาขา) มีบทบาทและภารกิจ กลาวโดยสรุป ดังนี้ ๑. ใหคําปรึกษาปญหาทางกฎหมาย ๒. ใหบริการทํานิติกรรมสัญญาตาง ๆ ๓. ใหบริการการใชสทิ ธิทางศาล เชน รองขอให ศาลตัง้ เปนผูจ ดั การมรดก รองขอใหศาลตัง้ เปนผูป กครอง รองขอใหศาลมีคําสั่งอนุญาตใหรับบุตรบุญธรรม รองขอ ใหศาลมีคาํ สัง่ เลิกรับบุตรบุญธรรม รองขอใหศาลมีคาํ สัง่ ใหเปนบุคคลสาบสูญ เปนตน
๔. ใหความชวยเหลือทางอรรถคดีแกผูยากจน โดยตัง้ ทนายความอาสา ออกเผยแพรความรูท างกฎหมาย ใหแกประชาชน เพือ่ เสริมสรางทัศนคติทดี่ รี ะหวางราษฎร กับหนวยงานของรัฐ สนับสนุนการมีสว นรวมโดยประชาชน เปนศูนยกลางและสงเสริมการบังคับใชกฎหมาย ๕. ใหความชวยเหลือการประนอมขอพิพาท ซึง่ หมายถึง การทีค่ กู รณีทงั้ สองฝายระงับขอพิพาทอันใดอันหนึง่ ซึง่ มีอยูห รือจะมีขนึ้ ใหหมดไปดวยตางฝายตางยอมผอนผัน ใหแกกนั และกัน โดยอาจมีบคุ คลหรือตัวแทนองคกรเขาไป ชวยดําเนินการเพือ่ ลดขอขัดแยง และสรางความปรองดอง ระหวางคูกรณีทั้งสองฝาย โดยไมมีการใชอํานาจบังคับ ไมวาทางตรงหรือทางออม ถาตกลงกันได ก็ทําสัญญาให มีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิดหรือ ตัวแทนฝายนั้นไว สัญญาดังกลาวมีผลทําใหขอเรียกรอง ที่แตละฝายสละนั้นระงับไป และทําใหแตละฝายไดสิทธิ ตามที่ตกลงไวในสัญญาประนีประนอมยอมความ สําหรับ คดีที่จะประนอมขอพิพาทได คือ คดีแพงทุกประเภท เชน เรื่องเกี่ยวกับความสามารถของบุคคล ทรัพยสิน นิติกรรม สัญญา หนีส้ นิ ครอบครัว มรดก สวนคดีอาญาตองเปนเรือ่ ง ที่เปนความผิดอันยอมความได เปนตน จะเห็นไดวาในปจจุบันองคกรอัยการมีบทบาท สําคัญในการใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน โดยไมเสียคาใชจายดังที่ไดกลาวไวแลวเบื้องตน
๘๒ ขาวทหารอากาศ
และสําหรับกรณีเกี่ยวกับการรองขอใหศาลตั้ง ผูจัดการมรดก ทายาทของเจามรดกไมจําเปนอีกตอไปที่ จะตองไปเสียคาใชจายในการวาจางทนายความเพื่อขอให ยื่นคํารองขอใหศาลตั้งผูจัดการมรดกให โดยทายาทของ เจามรดกเมื่อมีเหตุขัดของที่ไมอาจโอนมรดกได สามารถ เดินทางไปพบพนักงานอัยการที่สํานักงานอัยการคุมครอง สิทธิประชาชนประจําจังหวัด หรือสาขา (สคช.จังหวัด หรือ สาขา) ในพืน้ ทีใ่ นวันเวลาราชการ เพือ่ ขอใหพนักงานอัยการ ดําเนินการรองขอใหศาลตั้งผูจัดการมรดกใหกับตนไดโดย ไมเสียคาใชจาย กรณีที่จะใหพนักงานอัยการยื่นคํารองใหนั้น ให ผูร อ งหรือทายาทของเจามรดกตองจัดเตรียมเอกสารหลักฐาน สําคัญ ดังตอไปนี้ ๑. ทะเบียนบานของเจามรดก ๒. ใบมรณบัตรของเจามรดก ๓. ใบสําคัญการสมรสของเจามรดก ๔. เอกสารเกี่ยวกับทรัพยมรดก เชน โฉนดที่ดิน น.ส.๓ ก. ทะเบียนรถ บัญชีเงินฝาก ฯลฯ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
๕. ทะเบียนบานและบัตรประจําตัวประชาชน ของผูรองและทายาททุกคน ๖. ใบเปลี่ยนชื่อ-นามสกุลของเจามรดก และ ผูจัดการมรดก (ถามี) ถายเอกสารตามที่กลาวมาขางตน โดยรับรอง สําเนาเอกสาร จํานวน ๓ ชุด พรอมนําทายาทไปลงชื่อ ใหความยินยอมในการรองขอเปนผูจ ดั การมรดกตอหนา พนักงานอัยการทีส่ าํ นักงานอัยการคุม ครองสิทธิประชาชน ประจําจังหวัด หรือสาขา (สคช.จังหวัด หรือสาขา) จังหวัด ที่เจามรดก (ผูตาย) มีภูมิลําเนาอยู ในขณะที่ถึงแก ความตาย จะเห็นไดวาจากที่ผูเขียนไดกลาวมาทั้งหมด ขางตนเกีย่ วกับบุคคลใดบางทีเ่ ปนผูม สี ทิ ธิรบั มรดก และ ในกรณีมเี หตุขดั ของทีไ่ มอาจโอนมรดกได ทายาทของ เจามรดกสามารถขอใหพนักงานอัยการในพืน้ ทีย่ นื่ คํารอง ตอศาลเพือ่ ขอใหตงั้ ผูจ ดั การมรดกใหไดโดยไมเสียคาใชจา ย
“จะแกตัววาไมรูกฎหมาย เพื่อใหพนจากความผิดไมได”
รอบรู...อาเซียน
ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน Myanmar Festival Guide
@Zilch
Thadingyut, Festival of Lights
เทศกาลตาดิงยุต งานฉลองโคมประทีป
Thadingyut festival or Festival of Lights is held at the end of the Buddhist lent and lasts for three days: the day before the full moon day, the full moon day and the day after the full moon day. It commemorates the event that Buddha descended from heaven on the full moon day. During the festival days, Buddhists celebrate Thadingyut by illuminating and festooning the street, houses and public buildings with colored electric bulbs and candles. They usually go to pagodas and monasteries to pay respect to the monks and offer foods. Young people usually pay respect to their parents, teachers and elderly relatives and ask for forgiveness from the sins they have caused upon them throughout the year.
เทศกาลตาดิงยุต หรืองานฉลองโคมประทีป จัดขึ้นในชวงวันออกพรรษา หรือตอนสิ้นฤดูฝน ซึ่ง จะจัดขึ้น ๓ วัน คือ ในวันกอนวันพระจันทรเต็มดวง วันพระจันทรเต็มดวง และหลังวันพระจันทรเต็มดวง เพือ่ เปนการเฉลิมฉลองทีพ่ ระพุทธเจาเสด็จจากเทวโลก กลับสูโ ลกมนุษย พุทธศาสนิกชนจะรวมกันจุดเทียนและ ประดับประดาโคมไฟหลากหลายสีตามบานเรือน อาคาร สถานที่ และทองถนนใหสวางไสวไปทัว่ บริเวณ วัดวาอาราม จะเต็มไปดวยผูค นทีเ่ ขามากราบไหวและถวายภัตตาหาร แกพระสงฆ คนหนุมสาวจะถือโอกาส ขอขมาตอบิดา มารดา ญาติผูใหญ ครูอาจารย หรือผูอาวุโสในสิ่งที่ทํา ไมดีลงไปตลอดทั้งป
แหลงขอมูลและภาพ - http://www.tourtooktee.com/ขอมูลทองเที่ยว/ประเทศพมา - เทศกาลตาดิงยุต - https://en.wikipedia.org/wiki/Thadingyut_Festival
ÖÖ เปนผูวางตัวไดงดงามตามฐานะ ÖÖ ผูเขียนมีโอกาสไปพักผอนตีกอลฟ ที่สนามกอลฟ บางพระ จังหวัดชลบุรี ซึง่ เปนสนามกอลฟเกาแกลาํ ดับตน ๆ ของประเทศไทย รองจากสนามกอลฟหลวง หัวหิน สนาม กอลฟบางพระ สรางโดย การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต เปลีย่ นผูบ ริหารมาหลายครัง้ เนือ่ งจากเปนสนามเกาแก และอยูข า ง ๆ อางเก็บน้าํ บางพระ จึงมีตน ไมใหญ ๆ มากมาย ดูรม รืน่ ทีเดียว ทีผ่ เู ขียนมีโอกาส ไดไปก็เพราะซื้อแพ็กเกจในงานทองเที่ยวไทยที่ศูนยการ ประชุมแหงชาติสิริกิติ์ โดยขายรวมกันทั้งที่พักและคา กรีนฟในราคาไมแพงนัก เพือ่ เปนการสงเสริมการทองเทีย่ ว เนื่องจากเปนสนามที่อยูริมอางเก็บน้ํา มีความรมรื่นจาก ตนไมใหญ ในสนามกอลฟจึงมีฝูงลิงอยูมาก ผูเขียนเลน กอลฟไป ดูฝูงลิงวิ่งไปมาตามตนไม ก็เพลิดเพลินดี มีอยู หลุมหนึ่งพวกลิงพากันเขยากิ่งไม เพื่อใหลูกไมตกลงมา ใหบรรดาพวกลิงทั้งหลายเก็บกินกัน จู ๆ ก็มีลิงตัวหนึ่ง หนวยกานดูดีทีเดียว สะอาดสะอาน สวยงาม เดินออก
มาจากชายปา บรรดาฝูงลิงทั้งหลายคอยเงียบเสียงลง บางตัวเดินเลีย่ งหนีไป ปลอยใหเจาลิงตัวนีเ้ ก็บลูกไมกนิ จน พอใจ ไมมตี วั ไหนกลามาแยงกิน กินไปมองหนาลิงตัวอืน่ ไป เจาลิงตัวอื่น ๆ ตองหลบตา ผูเขียนคิดในใจวา…เอ็งแนจริง ๆ …เจาลิงตัวนี้คงเปนหัวหนาฝูง ผูเขียนนึกไปถึงเวลาที่ให อาหารนกเขาทีบ่ า น ก็จะคลาย ๆ แบบนี้ พอเราเอาอาหาร ไปวาง ก็จะมีนกหลายตัวบินมาแวะเวียนกินแบบกลา ๆ กลัว ๆ พอเห็นวาปลอดภัยแลว ก็จะมีนกตัวหนึ่งบินเขา มากลางวง นกตัวอืน่ ๆ ก็ตอ งถอยออกไปกอน ไมถอยก็จะ โดนไลจิก นี่เปนธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต ซึ่งแตละสายพันธุ ก็จะมีวิธีการจัดการ ควบคุม ปกครอง ตาง ๆ กันไป แตที่ แน ๆ ก็คอื แตละตัวมีลาํ ดับความสําคัญของตัวเองในกลุม สิง่ นีเ้ ปนสัญชาติญาณ หรือเปนระบบทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังกัน แน เปนเรื่องที่นาคิดและนาคนความาเลาสูกันฟงทีเดียว พอพูดถึงเรื่องนี้ จะมีคําวาฐานะ หรือ ฐานันดร เขามาเกี่ยวของ สัตวที่อยูตัวเดียว คงไมมีเรื่องเหลานี้
๘๘ ขาวทหารอากาศ
แตสัตวที่อยูเปนกลุม เปนฝูง หรือสัตวสังคม จะตองมีการ จัดการฐานะของสัตวแตละตัวเกิดขึ้น โดยทั่ว ๆ ไป พวกสัตว ก็จะใชกาํ ลังเปนตัวตัดสิน ตัวไหนแข็งแรงกวาก็จะไดรบั การ ยอมรับใหเขาควบคุมฝูง ตัวไหนไมยอมรับก็ตอ งออกจากฝูง ไป สวนตัวทีแ่ ข็งแรงเมือ่ แกลง ก็จะเจอตัวหนุม ๆ ทีแ่ ข็งแรง กวา จัดการเขาควบคุมฝูงตอไป หมุนเวียนเปนวัฏจักรไป คนเราก็คลาย ๆ กัน ไมวาจะเปนคนกลุมเล็ก กลุมใหญ ก็ จะมีผูปกครองเหมือนกัน แตจะเรียกเชนไร ก็แลวแตกลุม ชนนั้น ๆ เชน หัวหนา/หัวหนาเผา/ผูนําเผา/เทพเจา…ซึ่ง ในการเปนผูนํากลุม ก็จําเปนตองสรางระบบการควบคุม ปกครองขึน้ มา สวนใหญเปนธรรมเนียม เปนประเพณีปฏิบตั ิ หรือเปนกฎหมาย ใหผูคนในกลุมปฏิบัติ และตั้งฐานะของ ผูปฏิบัติเหลานั้นขึ้นมา จนกลายเปนฐานันดรตาง ๆ ที่เรา พอจะคนควาหาอาน หรือเฝามองเรือ่ งราวตาง ๆ ของคนใน สังคมขณะนี้ไดทั่วไป ผูเขียนเลามา เพื่อตองการสรุปใหเห็นวา ฐานะ หรือ ฐานันดรของคนในสังคมนั้น เปนเรื่องสมมุติ เพื่อให เกิดการปฏิบตั หิ นาทีต่ า ง ๆ ในการอยูร ว มกัน โดยมีเปาหมาย เพื่อความสงบเรียบรอยของสังคม ซึ่งหมายความวา คน ทุก ๆ คนจะตองมีฐานะ หรือ ฐานันดรอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลาย ๆ อยาง ในการอยูร ว มกัน อยางนอยก็ตอ งมีเรือ่ ง หลัก ๆ อยู ๓ ฐานะ ที่ทุกคนตองเปน คือ เปนผูที่เสมอกับ ผูอื่น เปนผูที่ตองปฏิบัติตามการควบคุมการปกครองของ ผูอื่นและเปนผูควบคุมปกครองผูอื่น
พฤษภาคม ๒๕๕๙ คน ๆ หนึ่งจึงตองดํารงฐานะหรือบทบาทที่ ตองทํา ตองเปนอยางนอย ๓ ฐานะที่กลาวมา ประเด็น ทีน่ า สนใจก็คอื เขาควรจะวางตัวอยางไร ถึงจะงดงามทัง้ ๓ ฐานะ ผูเขียนขอเนนอีกครั้งวา ฐานะ นั้น เปนเรื่อง สมมุติ แตการกระทําตางหากทีเ่ ปนเรือ่ งจริง ทีม่ ผี ลกระทบ ตอการอยูร ว มกันในสังคม ตัวอยางเชน นายดํา ไดรบั การ แตงตัง้ ใหเปนยามเฝาทางเขาหมูบ า น นายดําจึงมีอาํ นาจ ตรวจสอบคนที่จะเขา-ออก หมูบาน ตามกฎของหมูบาน ทัง้ หมดเปนเรือ่ งสมมุติ หากนายดํา วางตัวสมฐานะ ขยัน ขันแข็งในการทําหนาที่ของตน ทุกคนในหมูบานก็จะมี ความสุข รูสึกปลอดภัย แตถานายดําวางตนไมสมฐานะ ไมดูแลคนเขา-ออกในหมูบาน ปลอยใหมีโจร ผูราย พวก ลักขโมย เขามาในหมูบาน ผูคนในหมูบานก็จะพากัน เดือดรอน คนทุกคนตัง้ แตคนกวาดถนนไปจนถึงนายกรัฐมนตรี ลวนมีฐานะทีต่ อ งปฏิบตั ติ อ สังคมสวนรวม มากบางนอยบาง ตามเหตุปจจัย หากทุกคนปฏิบัติตัวไมสมฐานะของตน ความเดือดรอนวุนวายก็จะเกิดขึ้นแนนอน
¾ แนวทางการวางตัวใหสมฐานะ ๑. ทําจิตใจใหสะอาด เขาใจสิ่งสมมุติ ผูเขียน พยายามเนนใหเห็นวา คนเราทุกคนตองมีฐานะของตน ในสังคม เราแบงงานกันทํา แบงบานกันอยู แบงอาหาร กันทาน ไมมีอะไรเทากัน เพราะมีสมมุติเขามาเกี่ยวของ
พฤษภาคม ๒๕๕๙ เราตองทําจิตใจใหวาง ใหสะอาด จากคําถามที่วา ทําไม จึงเปนเชนนี้ เพราะไมมคี าํ ตอบ ถาลิงทุกตัวไมยอมเจาลิง หัวหนาฝูง ลิงทัง้ ฝูงคงกัดกันจนตายหมด เพือ่ ใหอยูร ว มกัน ได ลิงทุกตัวจึงรูฐานะของตนเอง คนเราก็ควรมองเห็นสิ่ง เหลานี้ และทําใจใหวาง เขาใจสมมุติ และทําหนาที่ของ ตนใหดีที่สุด ไมวาจะอยูในฐานะอะไรก็ตาม เพื่อใหสังคม ที่เราอยูมีความสงบสุข ๒. เปนผูม ศี ลี ธรรม ศีลธรรมนัน้ เปนขอทีก่ าํ หนด ขึน้ ใหคนเราตัง้ ใจทีจ่ ะทํา หรือลดละไมทาํ บางสิง่ บางอยาง ไมทําตนใหเปนปญหาตอสังคม เพื่อใหผูคนในสังคมอยู รวมกันอยางมีความสุข เมือ่ เราเขาใจสมมุตขิ องสังคมแลว ขอเพียงแตเราไมประพฤติตนใหเปนภาระแกสงั คม สังคม ก็จะไมเดือดรอน เชน เปนคนมีศลี หา คือ ตัง้ ใจจะไมทาํ ราย ใคร ไมลักของของผูอื่นมาเปนของตน ไมแยงของรักของ หวงของผูอื่น ไมพูดจาโกหกหลอกลวง พูดเพอเจอ พูด สอเสียด ไมเสพของมึนเมา หากทานวางตัวเองในศีล ๕ ใหถกู ตอง ไมวา ทานจะอยูใ นฐานะอะไร ทานก็จะสงางาม และสมฐานะ ๓. เปนผูมีคุณธรรม คือเปนผูที่อยูกับความจริง และสรางประโยชนใหแกสว นรวม การอยูก บั ความจริง คือ การเขาใจธรรมชาติและดํารงชีวติ ตามหลักของธรรมชาติ ไมใชดํารงชีวิตตามความตองการของกิเลสในใจตน การ สรางประโยชนใหกบั สวนรวม คือการคิดถึงประโยชนของ
ขาวทหารอากาศ ๘๙ สวนรวมเปนที่ตั้ง กอนที่จะตัดสินใจเรื่องใด ๆ มีคํากลาว วา “ไมเคยมีการทะเลาะกัน เพราะแยงกันทําประโยชน ใหแกสวนรวม มีแตทะเลาะกันเพราะแยงประโยชนจาก สวนรวม” ไมวาทานจะมีฐานะใด หากมีคุณธรรม ทานก็จะ สงางามสมฐานะ ๔. เปนผูมีจริยธรรม คือมีความงดงามในจิตใจ วาจา พฤติกรรม มีความอดทน อดกลั้น ออนโยน สํารวม กาย วาจา ใจ ตามฐานะที่ทานมีทานเปน ๕. เปนคนมีคณ ุ ภาพ ลักษณะเดนของคนมีคณ ุ ภาพ มีอยู ๒ ประการ คือ มีความรูความสามารถ ความชํานาญ ในหนาทีเ่ ปนอยางดี และมีความอดทนเปนเลิศ ไมวา ทาน จะอยูใ นฐานะใด หากทานทํางานดวยความรูค วามสามารถ และมีความอดทนแลว งานจะสําเร็จหรือไมนั้น ไมสําคัญ แตทานก็จะเปนผูที่มีความสงางามสมฐานะอยางแนนอน ๖. เปนคนทีม่ วี ยั วุฒเิ หมาะสม คนเราทุกคนมีอายุ เพิม่ ขึน้ การจะประพฤติปฏิบตั เิ รือ่ งใด ๆ ก็ควรดูใหเหมาะสม กับวัยวุฒขิ องตน หากทานวางตัวไดสมวัย ทานจะสงางาม ตามฐานะ ๗. เปนผูที่มีใจเปนกลาง การจะคิดจะทําอะไร ทัง้ สวนตัวและสวนรวม หากมีผลกระทบกับผูค นหลายฝาย จงพิจารณาสิ่งตาง ๆ ดวยพรหมวิหารสี่ และจงตัดสินใจ ดวยสติ อยางกลาหาญ หากมีปญหาที่ตองตัดสินใจหรือ แกไข จงทําดวยใจทีเ่ ปนกลาง ไมหนีปญ หา ทานจะสงางาม
๙๐ ขาวทหารอากาศ
พฤษภาคม ๒๕๕๙
ขาราชการ ทอ.ทุกคนมีฐานะของตนเอง โดยมียศ ตําแหนง มาเปนเครือ่ งกําหนดฐานะ หรือฐานันดรของแตละ คน ซึ่งเปนเรื่องสมมุติ แตหลาย ๆ คนก็ยึดติดในสมมุติ มีความอยากไดอยากเปนไมสิ้นสุด อยากไดยศ อยากได ตําแหนง โดยไมสนใจการปฏิบัติตนใหสมฐานะ จึงเกิด ผูบังคับบัญชาที่ไมงดงาม ผูรวมงานที่คอยเอาเปรียบกัน หรือ ผูใ ตบงั คับบัญชาทีไ่ มซอื่ ตรงตอกองทัพอากาศ หากทุกคนหยุด โทษผูอื่น แตหันมาแกไขที่ตนเอง ขอเพียงแตละคนเปน ผูวางตนไดสมฐานะ เชื่อวาทุกคนจะสงางาม และอยูรวมกัน อยางมีความสุขในกองทัพอากาศแนนอน"""
เฉลย CROSSWORD ประจําเดือน พ.ค.๕๙
อ.วารุณี
ÿöđéĘÝóøąđìóøĆêîøćßÿčéćĄǰÿ÷ćöïøöøćßÖčöćøĊ óøąøćßìćî ǰøćÜüĆúßîąđúĉýǰ ÖćøðøąÖüéøšćîÜćîÖćßćé ĒúąîĉìøøýÖćøđÞúĉöóøąđÖĊ÷øêĉÿöđéĘÝóøąîćÜđÝšćĄ óøąïøöøćßĉîĊîćë đîČęĂÜĔîēĂÖćÿöĀćöÜÙúđÞúĉöóøąßîöóøøþć ĩĥ óøøþć ĔîÜćîÖćßćé ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ ĔĀšĒÖŠ óú Ă Ă êøĊìýǰÿîĒÝšÜ ñï ìĂ è ĂćÙćøĔĀöŠÿüîĂĆöóø đöČęĂ Ĥġ öĊ Ù ĦĪ
óú Ă Ă êøĊìýǰÿîĒÝšÜ ñï ìĂ óøšĂöéšü÷ î ñĎšĔĀâŠ×ĂÜ ìĂ øŠüöóĉíĊøéîĚĈ×Ăóø óú Ă đðøöǰêĉèÿĎúćîîìŤ ðøąíćîĂÜÙöîêøĊĒúąøĆåïčøčþ đîČęĂÜĔîüĆîÿÜÖøćîêŤ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ è ïšćîÿĊęđÿćđìđüýøŤ đöČęĂ ĢĢ đö ÷ ĦĪ
óú Ă Ă êøĊìýǰÿîĒÝšÜǰñï ìĂ óøšĂöéšü÷ î ñĎšĔ ĀâŠ×ĂÜ ìĂ øŠ üöóĉ íĊøéîĚ Ĉ ×Ăóø óú Ă ðøąüĉêøǰüÜþŤÿüč øøè øĂÜîć÷ÖøĆåöîêøĊòćś ÷ÙüćööĆîę ÙÜĒúąøĆåöîêøĊüćŠ ÖćøÖøąìøüÜ ÖúćēĀö đîČęĂÜĔîüĆîÿÜÖøćîêŤ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ è ýćúćüŠćÖćøÖøąìøüÜÖúćēĀö đöČęĂ ĩ đö ÷ ĦĪ
óú Ă đðøöǰêĉèÿĎúćîîìŤǰðøąíćîĂÜÙöîêøĊĒúąøĆåïčøčþ đðŨîðøąíćîÜćîđúĊĚ÷ÜøĆïøĂÜđîČęĂÜĔîüĆî ÖĂÜìĆóĂćÖćý ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ ēé÷öĊ óú Ă ðøą÷čìíŤǰÝĆîìøŤēĂßćǰîć÷ÖøĆåöîêøĊ ĒúąĀĆüĀîšć Ùÿß ÷ óú Ă Ă êøĊ ýǰÿîĒÝšÜ ñï ìĂ ñï ÿÿ ñï ìï ñï ìø ñï êø Ēúą ñßì êŠ ćÜðøąđìýî óøšĂöéšü÷ ñï đĀúŠ ćìĆóì Ēúą ñßì êŠ ćÜðøąđìý đךćøŠüöÜćî è óĉóíĉ õĆèæŤÖĂÜìĆóĂćÖćýĒúąÖćøïĉ đךćÜøŠßćêĉ üöÜćî è óĉ óíĉ õĆèæŤÖĂÜìĆóĂćÖćýĒúąÖćøïĉîĒĀŠÜßćêĉ đöČĂę ĩ đö ÷ ĦĪ ĒĀŠ đöČĂę ĩ đö ÷ ĦĪ
óú Ă Ă ðøąÝĉîǰÝĆęîêĂÜǰøĂÜîć÷ÖøĆåöîêøĊǰóú Ă Ă ÝĂöǰøčŠÜÿüŠćÜǰđÿí ìĂ ĒúąÙčèÿćøĉèĊǰ ĒÿÜðøąÿĉìíĉĝǰÖøøöÖćøñĎšĂĈîü÷ÖćøĔĀ⊠ïøĉþĆì üĉì÷čÖćøïĉîĒĀŠÜðøąđìýĕì÷ ÝĈÖĆé øŠüöđÿüîć ìćÜüĉßćÖćø đîČęĂÜĔîüĆîÙúšć÷üĆîÿëćðîć üìĂ ÷ý ìĂ ÙøïøĂï ĥĪ ðŘ đøČęĂÜ ĶüĉÿĆ÷ìĆýîŤüĉì÷ćúĆ÷ ÖćøìĆóĂćÖćýĔîìýüøøþĀîšćķ ēé÷öĊ óú Ă ì áđèýǰßúĉêõĉøêĆ ĉ ÝÖ ÷ý ìĂ Ēúą óú Ă ê îšĂ÷ǰõćÙđóĉöę ñï üìĂ Ą ĔĀšÖćøêšĂîøĆï è ĀšĂÜïøø÷ć÷ üìĂ Ą đöČĂę ĢĢ đö ÷ ĦĪ
óú Ă Ă üĆíîǰǰöèĊî÷Ć øĂÜ ñï ìĂ đðŨîðøąíćîĔîóĉíðĊ éŗ ÖćøĒ׊Ü×ĆîÖĊāćõć÷Ĕî ìĂ ÙøĆÜĚ ìĊ ę ĥĨ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ è ÿîćöÖĊāćÖĂÜìĆóĂćÖćý íĎðąđêöĊ÷Ť
óú Ă Ă ÿčìíĉóÜþŤǰĂĉîìøĊ÷ÜÙŤǰñï ÙðĂ óøšĂöéšü÷ךćøćßÖćø øŠüöúÜîćöëüć÷óøąóø óøąïćìÿöđéĘÝóøąđÝšćĂ÷ĎŠĀĆü è ýćúćÿĀìĆ÷ÿöćÙö ĔîóøąïøööĀćøćßüĆÜ
óú Ă ì ßćâùìíĉĝǰóúĉÖćîîìŤǰñï Ă÷ đðŨîðøąíćîĔîóĉíĊđðŗéÜćîÿÜÖøćîêŤ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ ēé÷öĊךćøćßÖćø úĎÖÝšćÜ ĒúąóîĆÖÜćîøćßÖćø øŠüöøéîĚĈ×ĂóøñĎšïĆÜÙĆïïĆâßć đóČęĂÙüćöđðŨîÿĉøĉöÜÙúÿČïĕð è ïÖ Ă÷ đöČęĂ ĢĢ đö ÷ ĦĪ
óú Ă Ă üĆíîǰöèĊî÷Ć ǰǰøĂÜ ñï ìĂ đðŨîðøąíćîĔîóĉíĀĊ öčîøćÜüĆúÿúćÖÖćßćé ìĂ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ è øšćîÖćßćéÖĂÜìĆóĂćÖćý đöČĂę Ĩ đö ÷ ĦĪ
óú Ă ì ĂĈóúǰǰĂĉöę ïĆü øĂÜ đÿí ìĂ Öï óøšĂöÙèą êøüÝđ÷Ċ÷ę öÙüćöóøšĂöðäĉïêĆ Öĉ ćø ÿć÷üĉì÷ćÖćøĒïïøüöÖćøÿŠüîÿŠÜÖĈúĆÜïĈøčÜ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ ēé÷öĊ î Ă đÝþãćǰ ĒìŠÜìĂÜÙĈ ñï ïî ģ ĔĀšÖćøêšĂîøĆï è ïî ģ
óú Ă ì õćîčóÜýŤǰǰđÿ÷÷ÜÙąǰÝÖ ÷Ö ìĂ đðŨîðøąíćîĔîóĉíĊĂŠćîÿćø ñï ìĂ đîČęĂÜĔî üĆîÖĂÜìĆóĂćÖćý ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ ēé÷öĊ×ćš øćßÖćø úĎÖÝšćÜ ĒúąóîĆÖÜćîøćßÖćø øŠüöôŦÜÿćø è ĀšĂÜðøąßčö ÷Ö ìĂ đöČęĂ ĩ đö ÷ ĦĪ
óú Ă ì áđèýǰßúĉêõĉøêĆ ǰĉ ÝÖ ÷ý ìĂ đðŨîðøąíćîĔîóĉíđĊ ðŗéÖćøýċÖþćĀúĆÖÿĎêøîć÷ìĀćø ßĆîĚ ñĎïš ÜĆ ÙĆïĀöüé øčîŠ ìĊ ę ĨĨ è ĀšĂÜïøø÷ć÷ øø îö ÷ý ìĂ đöČĂę Ĩ đö ÷ ĦĪ
óú Ă ê ĀâĉÜǰĂčéöúĆÖþèŤǰÿîĒÝšÜ îć÷ÖÿöćÙöĒöŠïćš î ìĂ óøšĂöÙèą öĂïđÙøČĂę ÜÖøąêčîš ðúć÷ðøąÿćì "OPEZOF öĎúÙŠć ĤĦġ ġġġ ïćì ĔĀšĒÖŠÖĂÜđüßýćÿêøŤôîŪŚ ôĎ øó õĎöóĉ úĂéčú÷đéß óĂ ēé÷öĊǰóú Ă ì ÖĆöðîćìǰüĊøÖčúǰÝÖ óĂ đðŨîñĎøš ïĆ öĂï è ßĆîĚ Ģ ĂćÙćøýĎî÷ŤöąđøĘÜ đöČĂę ĢĢ đö ÷ ĦĪ
óú Ă ì đðøöýĆÖéĉǰĝ Ăčì÷Ć õó ÝÖ ßĂ îĈîĆÖÖĊāć×ĂÜÿēöÿøîć÷ìĀćøĂćÖćý ïćÜàČĂę đךćøŠüöÖćøĒ׊Ü×ĆîÖĊāćðøąđóèĊ ĥ ÿēöÿø ÙøĆÜĚ ìĊ ę Ħģ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ
óú Ă ì ïčâđĂîÖǰǰéüÜĂčĕø ÝÖ ÿó ìĂ óøšĂöéšü÷ךćøćßÖćø øŠüöúÜîćöëüć÷óøąóø óøąïćìÿöđéĘÝóøąđÝšćĂ÷ĎĀŠ üĆ è ýćúćÿĀìĆ÷ÿöćÙö ĔîóøąïøööĀćøćßüĆÜ
óú Ă ì ÞĆêøßĆ÷ǰǰïčââćîčøĆÖþŤǰñï øø îîÖ đðŨîðøąíćîĔîóĉíĊĂŠćîÿćø ñï ìĂ đîČęĂÜĔî üĆîÖĂÜìĆóĂćÖćý ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ ēé÷öĊךćøćßÖćø úĎÖÝšćÜ óîĆÖÜćîøćßÖćø ĒúąîĆÖđøĊ÷î îć÷đøČĂĂćÖćý øŠüöôŦÜÿćø è ĂćÙćøøèîõćÖćý đöČĂę ĩ đö ÷ ĦĪ
óú Ă ì ÿøćüčíǰÖúĉîę óĆîíčǰŤ ñĂ ýüĂ ìĂ óøšĂöéšü÷ךćøćßÖćø øŠüöúÜîćöëüć÷óøąóø óøąïćìÿöđéĘÝóøąđÝšćĂ÷ĎŠĀĆü è ýćúćÿĀìĆ÷ÿöćÙö ĔîóøąïøööĀćøćßüĆÜ
óú Ă ê ÿøÖùêǰöĆÜÿĉÜĀŤ ñĂ ÿîõ ìĂ đðŨîðøąíćîÖćøðøąßčöÙüćöÿöÙüøÖćø đéĉ î ĂćÖćýĒúąîĉ ø õĆ ÷ Öćøïĉ î ÙøĆ Ě Ü ìĊ ę Ģ "JSXPSUIJOFTT BOE 'MJHIU 4BGFUZ øŠüöÖĆïđÝšćĀîšćìĊęÿüĊđéî è ĀšĂÜðøąßčöøèîõćÖćý ÿîõ ìĂ đöČęĂ Ĩ đö ÷ ĦĪ
óú Ă ê ßúĉêǰøĆööąüćÿǰÝÖ ß÷ ìĂ đðŨîðøąíćîĔîóĉíĊðŗéÖćøýċÖþćĒúąöĂïðøąÖćýîĊ÷ïĆêø ĀúĆÖÿĎêøîć÷ìĀćøߊćÜē÷íćßĆĚîđøČĂĂćÖćýøčŠîìĊę Ģģ è ĀšĂÜđøĊ÷î ģ ÖüÖ ß÷ ìĂ
óú Ă ê óĊ ø ąóúǰĒÖš ü öèĊ ēßêĉ ÝÖ óí ìĂ đðŨ î ðøąíćîđðŗ é ÜćîÿÜÖøćîêŤ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ ēé÷öĊ×ćš øćßÖćø úĎÖÝšćÜ ĒúąóîĆÖÜćîøćßÖćø øŠüöøéîĚĈ×ĂóøñĎïš ÜĆ ÙĆïïĆâßćđóČęĂÙüćö đðŨîÿĉøĉöÜÙúÿČïĕð è ýćúćÖúćÜîĚĈ óí ìĂ đöČęĂ ĢĢ đö ÷ ĦĪ
óú Ă ê ĂîĆîêŤǰÝĆîìøŤÿŠÜđÿøĉöǰÝÖ ×ÿ ìĂ óøšĂöéšü÷ךćøćßÖćø øŠüöúÜîćöëüć÷óøąóø óøąïćìÿöđéĘ Ý óøąđÝš ć Ă÷Ď Š Ā Ć ü è ýćúćÿĀìĆ ÷ ÿöćÙö ĔîóøąïøööĀćøćßüĆ Ü
óú Ă ê Ăîč ß ĉ ê ǰĒÖš ü ðøąÿó ÝÖ ÿÖ ìĂ đðŨ î ðøąíćîĔîóĉ í Ċ Ă Š ć îÿćø ñï ìĂ đîČęĂ ÜĔîüĆ î ÖĂÜìĆ ó ĂćÖćý ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ ēé÷öĊ × š ć øćßÖćø úĎ Ö Ýš ć Ü Ēúą óîĆÖÜćîøćßÖćø øŠüöôŦÜÿćø è ĀĂðøąßč ö ÖćîêøĆ ê îŤ đöČ ę Ă ĩ đö ÷ ĦĪ
óú Ă ê đÞúĉöüÜþŤǰǰÖĊøćîîìŤǰñï éö đðŨîðøąíćîĔîóĉíĊđðŗéēÙøÜÖćøĔÿŠĀöüÖĔĀšîšĂÜ ÿĈĀøĆïÖúčŠöđéĘÖđ÷ćüßî đóČęĂøèøÜÙŤĔĀšđÖĉéÙüćöðúĂéõĆ÷ÝćÖĂčïĆêĉđĀêčÖćøÝøćÝø è ĀšĂÜĂđîÖðøąÿÜÙŤ Öøö ÿĀ ìĂ ÿî ñï éö
óú Ă ê îõćóúǰĂćßüćÙö ñĂ ÿóø ìĂ đðŨîðøąíćîÖćøÝĆéÖĉÝÖøøöÖćøđ×Ċ÷îĒñî ðäĉïĆêĉøćßÖćø î×ê ìĂ ðøąÝĈðŘÜïðøąöćè ĦĪ è ĀšĂÜïøø÷ć÷ ìĂ
î Ă ĂĆÜÙćøǰĂĉîìøć ñï ïî ĥ đðŨîðøąíćîĔîóĉíĊÿŠÜךćøćßÖćøĒúąìĀćøÖĂÜðøąÝĈÖćø ĕðøćßÖćøÿîćö ÿø đ×ćđ×Ċ ÷ ü è ÿîćöòř Ö ÖĂÜøš Ă ÷ìĀćøĂćÖćýē÷íĉ î óĆ î Ă÷ ïî ĥ
î Ă îĉÿĉêǰē×đöþåüĆçîŤǰñï ïî ģĢ óøšĂöéšü÷ךćøćßÖćø úĎÖÝšćÜ óîĆÖÜćîøćßÖćø ĒúąìĀćøÖĂÜðøąÝĈÖćø ÝĆ é Öĉ Ý ÖøøöđîČ ę Ă ÜĔîüĆ î ÖĂÜìĆ ó ĂćÖćý ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ
óú Ă ê ýĉøĉóúǰǰýĉøĉìøĆó÷ŤǰñĂ ÿîñ Öï ìĂ Āî Ùèą Ýîì ìĈÜćîßčéêøüÝđ÷Ċę÷öÙüćöóøšĂö ðäĉĉïĆêĉÖćøÿć÷üĉì÷ćÖćøđđïïøüöÖćøÿŠüîÿŠÜÖĈúĆÜïĈøčÜ ïî Ħ ēé÷öĊ î Ă ÿøüĉßâŤǰǰÿčøÖčú ñï ïî Ħ ĔĀšÖćøêšĂîøĆï
î Ă ÿøüĉßâŤǰǰÿčøÖčúǰñï ïî Ħ ĔĀšÖćøêšĂîøĆïÿöćÙööĆÙÙčđìýÖŤĂćßĊóĒĀŠÜðøąđìýĕì÷ ýċÖþćéĎÜćî è óĉóĉíõĆèæŤ ïî Ħ
î Ă íîđÿäåŤǰíøøöĂĈîü÷ÖĉÝ ñï ïî ģĤ óøšĂöéšü÷ךćøćßÖćøĒúąĒóì÷Ť ÝćÖ øó ïî ģĤ đ÷Ċ ę ÷ öĒúąßŠ ü ÷đĀúČ Ă ñĎ š ð øąÿïĂĆ Ù ÙĊ õ Ć ÷ ÝĈîüî ģ ĀúĆ Ü ÙćđøČ Ă î è ïš ć îđú×ìĊ ę ĢģĦ Ēúąïš ć îđú×ìĊ ę ĢĩĪ ïš ć îÿąÙč ĀöĎ Š ì Ċ ę ģ ê ĀîĂÜĀĆ ü ÙĎ Ă ïš ć îñČ Ă Ýü Ăč é øíćîĊ
î Ă üÿčǰöēîÿĉìíĉýĆÖéĉĝ ñï ïî ħ êøüÝÙüćöđøĊ÷ïøšĂ÷ĔîÖćøðäĉïĆêĉÜćîߊüÜđìýÖćú ÿÜÖøćîêŤđóČęĂđðŨî×üĆâĒúąÖĈúĆÜĔÝĔĀšĒÖŠđÝšćĀîšćìĊęìĊęðäĉïĆêĉÜćî è ìŠćĂćÖćý÷ćîìĀćø ģ đöČęĂ Ģģ đö ÷ ĦĪ
î Ă üÿĆ î êŤ ǰ ïĆ è æĉ ê ýĆ Ö éĉ ĝ ÿ Öč ú ǰøĂÜ ñï ïî ģ óøš Ă öéš ü ÷ך ć øćßÖćø úĎ Ö Ýš ć Ü óîĆ Ö ÜćîøćßÖćø ĒúąìĀćøÖĂÜðøąÝĈÖćø đך ć øŠ ü öóĉ í Ċ ô Ŧ Ü ÿćø×ĂÜ ñï ìĂ Ēúąóĉ í Ċ öĂïđĀøĊ ÷ âđÖĊ ÷ øêĉ ÷ ý øćÜüĆ ú ïč Ù ÙúéĊ đ éŠ î ĒúąøćÜüĆ ú Öĉ Ý Öøøö Ħ ÿ đîČ ę Ă ÜĔîüĆ î ÖĂÜìĆ ó ĂćÖćý ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ è ĀĂðøąßč ö ÖćîêøĆ ê îŤ ïî ģ đöČ ę Ă ĩ đö ÷ ĦĪ
î Ă ÿčîìøǰñŠĂÜĂĈĕóǰøĂÜ ñï ïî ĥĢ đךćøŠüöóĉíĊđðŗéýĎî÷ŤðäĉïĆêĉÖćøðŜĂÜÖĆîĒúąúéĂčïĆêĉđĀêč ìćÜëîîĔîߊüÜđìýÖćúÿÜÖøćîêŤ ðøąÝĈðŘ ģĦĦĪ è úćîóøąïøöøćßćîčÿćüøĊ÷ÿŤ ćöÖþĆêøĉ÷ Ť Ă đöČĂÜ Ýü đßĊ÷ÜĔĀöŠ đöČęĂ ĢĢ đö ÷ ĦĪ
î Ă ÿöĔÝǰßĆ÷üÜþŤ ñï ïî Ĩ óøšĂöéšü÷ךćøćßÖćø úĎÖÝšćÜ óîĆÖÜćîøćßÖćø ĒúąìĀćøÖĂÜðøąÝĈÖćø ïøĉÝćÙēúĀĉêëüć÷đðŨîóøąøćßÖčýú ÿöđéĘÝóøąđìóøĆêîøćßÿčéćĄ ÿ÷ćöïøöøćßÖčöćøĊ ĔîēĂÖćÿ ÞúĂÜóøąßîöć÷č ħĢ óøøþć øŠüöÖĆïđĀúŠćÖćßćéÝĆÜĀüĆéÿčøćþãøŤíćîĊ è ĀĂðøąßčöíĎðąđêöĊ÷ Ť ïî Ĩ đöČęĂ Ħ đö ÷ ĦĪ
î Ă ÿčìíĉóÜþŤǰüÜþŤÿüĆÿéĉǰĝ øĂÜ ñï ïî Ħħ øĂÜ ñï ýïõ ïî Ħħ êøüÝđ÷Ċ÷ę öĔĀšÖĈúĆÜĔÝđÝšćĀîšćìĊ ę ßčéðäĉïĆêĉÜćîïøĉÖćøðøąßćßîĔîߊüÜđìýÖćúÿÜÖøćîêŤóøšĂöÖĆïĀîŠü÷ךćÜđÙĊ÷Ü è ïøĉđüè ÿćöĒ÷ÖìŠćĀøĆęÜ ë ßĎóĆîíčŤ ê ēÙÖöŠüÜ Ă ÙúĂÜĀĂ÷ē×ŠÜ Ýü ÿÜ×úć đöČęĂ ĢĤ đö ÷ ĦĪ
î Ă üĉýøčêǰÝĆîìðøąéĉþåŤǰđÿí ïî ģĤ øŠüöóĉíĊøèøÜÙŤÙüïÙčöóČĚîìĊęđúŠîîĚĈÿÜÖøćîêŤ ðúĂéõĆ÷ĒúąðúĂéđÙøČęĂÜéČęöĒĂúÖĂăĂúŤìčÖßîĉé ēé÷öĊ óúêøĊǰĂĈîü÷ǰÝčúēîî÷ćÜ ñï öìï ģĥ đðŨîðøąíćîĄ è ïøĉđüèýĎî÷ŤÖćøÙšć÷ĎéĊìćüîŤ Ă đöČĂÜ Ýü ĂčéøíćîĊ đöČęĂ Ĩ đö ÷ ĦĪ