หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน สิงหาคม 2559

Page 1





ตราสัญลักษณ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ อักษรพระนามาภิไธย ส.ก. อักษร ส. ถมสีครามเขม สีแหงวันพระราชสมภพ อักษร ก. ถมสีขาว เปนสีเดชแหงวัน พระราชสมภพ อักษรพระนามาภิไธย ส.ก. มีพระมหามงกุฎสีทองประดิษฐานอยูเบื้องบน ภายใตพระมหามงกุฎประดิษฐาน พระแสงจักรตรีวาทรงสถิตอยูในพระบรมราชจักรีวงศ พระนามาภิไธย ส.ก. อยูภายในกรอบ วัชรรัตน ๗ ดวง วาทรงเจริญ พระชนมายุได ๗ รอบ มีพื้นสีมอคราม เปนสีประจําวันพระราชสมภพ นอกกรอบวัชรรัตนอลงกรณประกอบหนาราชหงสทอง อยูทั้งซายขวา วาทรงงามสงาดังราชหงสทอง หนาราชหงสมีกระหนกแนบ หอยพวงดอกไมทิพย อันมีดอกไมในพระนามเปน อาทิ มีพรรณมอครามปนทอง ถัดออกไปเปนขอบเขียนอักษรสีทองความวา พระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๕๕๙ ระบายพื้นดวยสีหงชาด อันเปนสิริแหงวันพระราชสมภพ เพื่อเฉลิมพระเกียรติในอภิลักขิตสมัยที่ทรงเจริญพระชนมายุบรรจบ ครบ ๘๔ พรรษา ดังมีเลขมหามงคลนั้น อยูใตอักษรพระนามาภิไธย ประกอบเถาไมทิพยชื่อ จิตรลดา ตามตําราวาเปนเครือเถา ไมทพิ ยมอี ยูใ นจิตรลดาวัน พระราชอุทยาน ๑ ใน ๔ แหงของพระอินทร หมายวาสมเด็จพระบรมราชินนี าถทรงเนานิเวศนสถาน ชื่อพระตําหนักจิตรลดารโหฐานอันเปนที่ประทับ เถาไมนี้วาเปนเถาไมแหงความหวังดุจดังสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ทรงเปน ความหวังแหงปวงชนราษฎรพนจากความยากไรดว ยพระมหากรุณาธิคณ ุ อันมีโครงการศิลปาชีพเปนอาทิ อาณาประชาราษฎร จึงนอมใจถวายพระพรใหทรงเจริญพระชนมยิ่งยืนนาน


พระราชดํารัส “…ขาพเจาไดตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงนําของพระราชทานไปชวยเหลือราษฎร...ทรงรับสัง่ กับขาพเจาวา การชวยเหลือแบบนีเ้ ปนการชวยเหลือเฉพาะหนา... ทรงคิดวาทําอยางไรจึงจะชวยเหลือชาวบานเปนระยะยาว... ขาพเจาจึงเริม่ คิดหาอาชีพเสริมใหแกครอบครัวชาวนาชาวไร และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ก็ทรงหาแหลงนาํ ใหการ ทําไรทํานาของเขาเปนผลตอประเทศชาติบานเมือง ทรงพระดําเนินไปดูตามไรของเขาตาง ๆ ทรงคิดวานี่เปนกําลังใจ และที่ทรงใหขาพเจาดูแลพวกครอบครัว ก็เลยเปนแหลงที่เกิดของมูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพ...” พระราชดํารัส พระราชทานแกคณะบุคคลตาง ๆ ที่เขาเฝาฯ ถวายชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๔


ขาวทหารอากาศ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ เจาของ

กองทัพอากาศ

ที่ปรึกษา

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง

พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑไพโรจน พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

พล.อ.ต.ธนบดี อุตะมะ พล.อ.ต.นอย ภาคเพิ่ม น.อ.ไววิทย เสือดี น.อ.ศุภโชติ ชัยวงษ น.อ.กานตชนก หันหาบุญ น.อ.วันชัย บุญภักดี

พล.อ.ต.นพดล บุญมั่น พล.อ.ต.สําเริง พูลเพิ่ม น.อ.ขวัญกลา นกเอี้ยงทอง น.อ.วันชัย พึ่งเจียม น.อ.หญิง วิภาดา ชนไมตรี น.อ.ณรงคศักดิ์ พิชิตชโลธร

ผูอํานวยการ

พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ เจากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

รองผูอํานวยการ

พล.อ.ต.คุณทร มณีเขียว เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.อัมพร ทองถม รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจัดการ น.อ.สหัสชัย มาระเนตร ผูชวยผูจัดการ น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ฌเณศ ชลิตภิรัติ ผูชวยบรรณาธิการ น.อ.หญิง ธัญญาภรณ พันธุเพ็ง น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี ประจํากองบรรณาธิการ น.อ.หญิง วรรณิภา ยี่ประชา น.อ.นิพนธ กอสินคา น.อ.หญิง วัลภาภรณ มูลละ น.ท.สินธพ ประดับญาติ น.ท.หญิง วรรณวิไล เนียมวงษ น.ท.หญิง ยุพเรศ วงศมีศักดิ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห กองจัดการ น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง น.อ.อุรุพงษ แสงจันทร ร.อ.สุวัฒน ประชากูล พ.อ.อ.หญิง เศาวณี พุกนอย พ.อ.อ.หญิง เฉลา แกวยศ นาง อมรา หัตถมาศ

หนังสือขาวทหารอากาศ ความเปนมา

หนังสือขาวทหารอากาศ เปนนิตยสารรายเดือนของกองทัพ อากาศ เริ่มดําเนินการเมื่อป พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรมขาวทหารอากาศ มีนาวาอากาศเอก สกล รสานนท เปนบรรณาธิการคนแรก ดําเนินการ โดยทุนของขาราชการทหารอากาศ ตอมาป พ.ศ.๒๔๙๘ ไดโอนกิจการ มาอยูในความอํานวยการของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ไดเขาอยูในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กํากับดูแลโดยคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพกองทัพ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค.๕๒ กําหนดใหใชระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพ อากาศ วาดวยการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒

ภารกิจ

ดําเนินกิจการหนังสือขาวทหารอากาศ ใหเปนไปตามนโยบายของ คณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ มีผอู าํ นวยการ หนังสือขาวทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค

๑. เพื่อเพิ่มพูนความรูในกิจการทั่ว ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในดานการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม อันจะ เปนประโยชนตอสวนรวม ๓. เพื่อเผยแพรกิจการกองทัพอากาศ

การดําเนินงาน

๑. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น ที่เปน ประโยชนในการพัฒนากองทัพและสวนรวม ๒. เรื่องที่นําลงในหนังสือขาวทหารอากาศ - ตองไมขัดตอวัตถุประสงค/นโยบาย กองทัพอากาศ - ตองไมกระทบตอความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ สวนรวม - ตองไดรับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการ พิจารณาเรื่องของสํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ

กําหนดการเผยแพร

นิตยสารรายเดือน

สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th หอง ๑๐๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ แฟกซ ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

พิมพที่ บริษัท ปรีชาธร อินเตอรพริ้น จํากัด ๔/๕ ซอย รามอินทรา ๔๒ แยก ๘ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐ โทร. ๐-๒๙๓๐-๗๐๕๓-๔ แฟกซ ๐-๒๙๓๐-๗๐๕๐ คาสมาชิกภายนอกปละ ๓๕๐ บาท (รวมคาสง) สั่งจาย ปณ.คลองถนน ๑๐๒๒๒

ความคิดเห็นของผูเขียนในหนังสือฉบับนี้ ไมมีสวนผูกพันกับทางราชการแตประการใด ภาพที่ลงในหนังสือขาวทหารอากาศนํามาจาก google.com ออกแบบปก : น.ท.สินธพ ประดับญาติ/จ.ท.หญิง รัฐพร เตชะสินทวี E-mail: rtafmag@gmail.com


ารบัญ

ปที่ ๗๖ ฉบับที่ ๘ เดือนสิงหาคม ๒๕๕๙

๙ บทบรรณาธิการ ๑๐ ภาพเกาเลาเรือ่ ง ...ฒ.ผูเฒา ๑๑ บทอาเศียรพาทสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ สดุดี ...น.อ.เกษม พงษพันธ ๑๒ ประโยชนสุขของแผนดิน : ดวยพลังแหงรัก สานศิลป สรางอาชีพ สรางชีวิต ...ตามรอย ๑๖ AASM HAMMER ลูกระเบิดอากาศอัจฉริยะ ...น.ท.วัชรพงษ กลีบมวง

๕๙

๑๖

๒๑ มุมตางแดน : ประสบการณนักเรียนทุน ทอ. ในสตอกโฮลม ...ร.อ.หญิง อังคณา จรรยา ๒๗ หลักสูตรการตอสูระยะประชิด ...ร.อ.ธนกร จีระเศรษฐ ๓๑ การขับเคลื่อนกองทัพอากาศใหเปนองคการ แหงการเรียนรู ...ร.อ.หญิง ภัทราภรณ เพชรฤทธิ์ ๓๗ ชื่อตําแหนงทางวิชาการในสถาบันการศึกษา ของทหาร ...พล.ท.ทวี แจมจํารัส ๔๐ องคกรคุณธรรม กรมแพทยทหารอากาศ ...น.อ.วิษณุ ภูทอง ๔๓ นภาธิปตยทัศนะ : กาวสูกองทัพอากาศในอนาคต ดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบ Cloud Computing ...ฝายวิชาการ นทน.เสธ.รุนที่ ๖๐ ๔๘ เทคโนโลยีการผลิตนํามันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ (BioJet Fuels) ...สทป.

๕๓ งูในรังพญาอินทรี : บทสรุป ...น.อ.วัชระ สกุลรัตน ๕๙ ภาพรวม Security Concept ระบบสารสนเทศ ...น.อ.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย, Ph.D ๖๔ เสือ พบ สิงห ...พล.อ.ท.ศรีศักดิ์ สุจริตธรรม ๖๙ เวลาการตูน ...มิสกรีน ๗๑ ครูภาษาพาที : รอบรูระบบการเมืองการปกครอง ของประเทศสหรัฐอเมริกา (Political System of the US) ...Christian Soldier ๗๕ มุมสุขภาพ : ของขวัญ ...วันแม ...น.ต.นพ.สุรินทนาท เจริญจิตต และ พญ.ศศิผกา สินธุเสน ๗๘ รอบรูอาเซียน : เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน ...@Zilch ๗๙ ปริศนาอักษรไขว ประจําเดือน ส.ค.๕๙ (มีรางวัล) ...มีน ๘๑ ภาษาไทยดวยใจรัก : ภาษาจากลิง ...นวีร ๘๓ ธรรมะประทีป : วัชชีอปริหานิยธรรม ...กอศ.ยศ.ทอ. ๘๔ มุมกฎหมาย : แชรลูกโซ กับ การเลนแชร ...ร.ท.ชานุวัฒน แสงสุวรรณ ๘๖ ขอบฟาคุณธรรม : เปนคนมีสํานึกรักชาติ ...1216 ๙๐ แบบสอบถามความพึงพอใจหนังสือขาวทหารอากาศ ๙๑ ในรั้วสีเทา


บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ สมาชิกหนังสือขาวทหารอากาศทุกทาน

คูพระบารมีศรีของชาติ นําพระทัยใสเย็นเชนวาริน พระทรงเปนแมหลวงของปวงราษฎร พระเมตตาการุญบุญบันดาล

ประชาราษฎรชื่นจิตนิจศีล ในดวงจินตแจมใสหาใดปาน ดวยอํานาจทศธรรมนํากลาวขาน ทั้งศีลทานบารมีศรีแผนดิน

เนื่องในโอกาสมหามงคลวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๘๔ พรรษา สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ ขอนอมเกลานอมกระหมอมถวายพระพรชัยมงคล ดวยจงรักภักดี ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลตลอดจนทั้งอํานาจแหงพระสยามเทวาธิราช โปรด บันดาลดลใหพระองคจงทรงพระเจริญดวยจตุรพิธพรชัย พระเกียรติคุณแผไพศาล เปนมิ่งขวัญรมเกลาของเหลาพสกนิกร ตราบจิรัฐิติกาลเทอญ ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ เพือ่ เปนการเทิดพระเกียรติแดสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ หนังสือขาวทหารอากาศขอนําเสนอบทความ ประโยชนสุขแหงแผนดิน : ดวยพลังแหงรัก สานศิลป สรางอาชีพ สรางชีวิต ที่กลาวถึงพระราชกรณียกิจของพระองค ที่ทรง อนุรักษงานหัตถกรรมของทองถิ่น โดยทรงจัดตั้งศูนยศิลปาชีพของภูมิภาค ซึ่งกระจายอยูในหลายพื้นที่ของประเทศไทย เพื่อ ชวยใหชาวบานมีอาชีพเสริมและมีรายไดที่มั่นคงอยางยั่งยืน เรื่องเดนประจําฉบับ AASM HAMMER ลูกระเบิดอากาศอัจฉริยะ เปนบทความเกี่ยวกับลูกระเบิดอากาศตระกูล Mk80 ที่ติดตั้งดวยชุดนําวิถีและสวนบังคับทิศทาง มีคุณสมบัติวิ่งเขาหาและโจมตีเปาหมายไดหลายเปาหมายในเวลาเดียวกัน เรือ่ งเดนตอมาเกีย่ วกับดานเทคโนโลยีและสารสนเทศ ภาพรวม Security Concept ระบบสารสนเทศ ทีน่ าํ เสนอ ๓ คุณสมบัติ อันพึงประสงคของระบบสารสนเทศ ไดแก ความปลอดภัย (Confidentiality) ความถูกตอง (Integrity) และความพรอมในการใช (Availability) หรือเรียกในนาม C.I.A. เพือ่ ปองกันและรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศขององคกร และบทความทีน่ า สนใจ อีกเรื่องเกี่ยวกับ การสรางชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) และปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการจัดการความรูของกองทัพอากาศ ซึ่ง สมาชิกสามารถติดตามรายละเอียดไดในเรื่อง การขับเคลื่อนกองทัพอากาศใหเปนองคการแหงการเรียนรู นอกจากนี้ยังมีอีก หลายบทความที่นาสนใจ เชิญพลิกอานไดตามอัธยาศัย สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศขอเชิญชวนสมาชิกทุกทาน ตอบแบบสอบถาม ในหนาที่ ๙๐ หรือที่ http://www. airforcemagazine.rtaf.mi.th ซึ่งทานสามารถสงแบบสอบถามไดถึง ๓๑ ต.ค.๕๙ คณะผูจัดทําฯ หวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับ ความรวมมือจากสมาชิกและขอขอบคุณทานที่ใหความรวมมือมา ณ โอกาสนี้ บรรณาธิการ




ภาพเกาเลาเรื่อง

ฒ.ผูเฒา

มูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๙ โดยสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อยกระดับฐานะคนไทยใหสามารถชวยเหลือตัวเองไดอยาง ยั่งยืน รวมทั้งอนุรักษงานฝมือโบราณและศิลปหัตถกรรมพื้นบาน ซึ่งปจจุบันมูลนิธิมีศูนยสงเสริมศิลปาชีพกระจายอยู ทุกภาคทั่วประเทศ แหลงขอมูลและภาพ : โครงการศูนยศิลปาชีพในพระราชดําริสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ


บทอาเศียรพาทสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ สดุดี ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๙ สิบสองสิงหาคมอุดมสมัย รําลึกถึงพระคุณบุญบารมี สมเด็จพระราชินีศรีสยาม พระทรงเปนแมหลวงดวงชีวิน พระทรงเปนแมหลวงของปวงราษฎร ไทยภักดีแมหลวงดั่งดวงใจ รําลึกถึงพระกรุณาพาสุขศรี พระประดุจรมไทรไทยนิกร เปนคูพระบารมีศรีประเทศ ทั่วแผนดินอิ่มใจไปทุกคน แมขณะพระองคทรงพักฟน ยังเลิศลําพระคุณบุญบารมี ทหารอากาศทุกผูตางรูซึ้ง พระคือแมแหงแผนดินถิ่นจํารูญ ขอคุณพระไตรรัตนจรัสศรี โปรดคุมครองพระองคพระทรงธรรม

ประชาไทยโสมนัสจรัสศรี พระบรมราชินีศรีแผนดิน สงางามพระเกียรติคุณพูนถวิล ทั่วแผนดินรักพระองคอยางจงใจ ดวยอํานาจทศธรรมนําสดใส ทั่วถิ่นไทยใบบุญตางพูนพร พระบารมีทั่วไทยมิถายถอน เปนรมบุญหนุนพรนิกรชน มาตุเรศเลิศรัตนจรัสผล แมแลงรอนชวยผอนปรนดลฤดี ยังราบรื่นพระกรุณาสงาศรี โชคทวีทั่วไทยไมเสื่อมคุณ พระคุณพึงเทิดไวไมเสื่อมสูญ พระการุณยตางประจักษหลักสําคัญ เทพทั่วฟาธาตรีศรีสวรรค ชั่วนิรันดรคุมครององคทรงพระเจริญ

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ ขาพระพุทธเจา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธถวาย)


ดวยพลังแหงรัก "...ขาพเจานั้นภูมิใจเสมอวา คนไทยมีสายเลือดของชางฝมืออยูทุกคน ไมวาจะเปนชาวไรชาวนาหรืออาชีพใดอยู สารทิศใด คนไทยมีความละเอียดออน และฉับไวตอการรับศิลปะทุกชนิดขอเพียงแต ใหเขามีโอกาสไดเรียนรูแ ละฝกฝน เขาก็จะ แสดงความสามารถออกมาใหเห็นได..." พระราชดํารัส สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ

ตตามรอย ามรอย เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๓ คราวนั้ น เกิ ด อุ ท กภั ย ในเขต จั ง หวั ด นครพนม นาข า วของราษฎรเสี ย หายเป น จํ า นวนมาก เมื่ อ นํ้ า ลดแล ว พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว พร อ มด ว ยสมเด็ จ พระนางเจ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ได เ สด็ จ พระราชดํ า เนิ น เยี่ ย มราษฎรที่ ป ระสบภั ย เพื่ อ พระราชทานสิ่ ง ของเพื่ อ บรรเทา ความเดื อ ดร อ น ครั้ ง นั้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว ทรงมี พ ระ ราชปรารภวา การนําสิ่งของไปแจกเปนเพียงการแกปญหาเฉพาะหนา เหมือนโยนกอนหินเล็ก ๆ ลงในแมนํ้าสักเทาใดจึงจะเพียงพอที่จะ ทําใหราษฎรเหลานั้นอยูรอด ในเวลานั้นมีแตชาวบานชนบทที่ยัง คงทอผาและนุงหมผาที่ทอไวใชเองในครัวเรือน อันเปนผลสืบเนื่อง มาจากในสมั ย สงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ ที่ รั ฐบาลยุค นั้น รณรงค ใ หค น ไทยแตงกายแบบสากล และสงเสริมอุตสาหกรรมอยางกวางขวาง ความนิ ย มในการใช ผ  า ทอ เครื่ อ งแต ง กายแบบไทยรวมทั้ ง งาน หัตถกรรมก็เริ่มเสื่อมถอยอยางเห็นไดชัดเรื่อยมา


ภาพของสมเด็จ พระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ประทับนั่งทามกลางราษฎรทอดพระเนตรผาไหมฝมือชาวบาน ทีละผืน ๆ อยางพินจิ พิจารณา พระราชทานคําแนะนํา ติชม คือ ภาพประทับใจของสมาชิกศิลปาชีพทุกคน และที่สําคัญอีก เรื่องหนึง่ ก็คอื เรือ่ งทีท่ รงศึกษาสิง่ ของทีช่ าวบานนํามาทูลถวาย ไมวาจะเปนผาไหม ผาฝาย เครื่องเงิน รวมทั้งสิ่งของตาง ๆ ซึ่งพระองคทรงศึกษาในรายละเอียดแลว จึงใหคําแนะนํากับ ชาวบานไปปรับปรุงตามเงื่อนไข กติกา ที่ทรงวางไวตั้งแต เริ่มตน เมื่อรวมกับคําติชมที่พระราชทานดวยพระองคเอง หรือผานขาราชบริพาร ทําใหฝม อื การทอผาของชาวบานคอย ๆ ดีขึ้นเปนลําดับ และนําไปสูการรวมกลุมของชาวบาน จัดตั้ง กลุมทอผาไหมในหลายพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กอนที่จะขยายไปสูภูมิภาคอื่น ๆ ตอไป ตามพระราชประสงคและพระราชปณิธานที่จะ อนุรักษสืบทอดงานหัตถกรรมของทองถิ่นเอาไว แมวัน เวลาจะผานไป ความงดงามของผาทอฝมือของชาวบาน ยั ง ปรากฏอยู  อ ย า งชั ด เจน งานปลู ก หม อ นเลี้ ย งไหม ทอผา กลั บมามีล มหายใจและเปนสว นหนึ่งในวิ ถีชีวิ ต ชาวชนบทอีกครัง้ ไมวา วันเวลาจะผานมานานเทาไหร สมาชิกศิลปาชีพบานนาโพธิ์ ยังพยายามรักษาคุณภาพ ผาไหมของกลุมอยางเครงครัดและพัฒนาคุณภาพ ผาไหมของพวกเขาอยูเสมอ วันนี้ธุรกิจของเขาดํ า เนิ น ไปควบคู  กั บ การอนุรักษเทคนิคการทอผาแบบดั้งเดิม ใหเปนอาชีพที่สามารถเลี้ยงชีวิตชาวบานนาโพธิ์อีก นับรอยครอบครัว โดยมีสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เปนแรงบันดาลใจ


แตอยางไรก็ตามคนไทยในยุคกอนยังไดเห็นภาพพระองคทาน สวมผาซิ่นมัดหมี่ในยามรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสมอ ความผูกพันและความสนพระราชหฤทัยใชผามัดหมี่สงผล มาจากเมื่อทรงดํารงพระอิสริยยศเปนสมเด็จพระราชินี

หลังจากเหตุการณ ที่จังหวัดนครพนม ชาวบานใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหลายหมูบาน มีโอกาสตอนรับคน แปลกหนาที่ออกตระเวนรับซื้อผาของชาวบานแมกระทั่งผา ถูเรือน บางครั้งก็เสด็จพระราชดําเนินดวยพระองคเอง ทําให ชาวบานในชนบทอีสานตื่นตัวหันมาทอผากันมากขึ้นนําไปสู การรวบรวมชางทอผาฝมือดีของแตละทองถิ่น โดยเฉพาะใน พื้นที่ที่ราษฎรยังยากไรขาดแคลน ชวยใหชาวบานมีอาชีพเสริม ที่เปนรายไดหลักของครอบครัว ชวยใหพวกเขามีเงินสํารอง ในยามเกิดภัยแลงหรือนาลม เพราะงานทอผาเปนงานที่ราษฎร ทํากันอยูแลว และมักมีอุปกรณตาง ๆ กันอยูทุกครัวเรือน


จากงานสงเสริมใหชาวบานทอผาไหมเปนอาชีพเสริม จนขยายสูง านหัตถกรรมแขนงอืน่ ๆ ทําใหราษฎรในภูมภิ าค มีรายไดเพิม่ ขึน้ มากจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งในภายหลังไดพัฒนา จัดตั้งเปนศูนยศิลปาชีพของภูมิภาคกระจายอยูในหลายพื้นที่ ของประเทศไทยเกือบ ๑๕๐ แหง

เพื่อเปนศูนยรวมของการเรียนการสอนศิลปาชีพ เปน ศูนยรวบรวมผลิตภัณฑศลิ ปาชีพ และจัดจําหนายใหแกผสู นใจได โดยตรงตามพระราชปณิธานที่จะสรางอาชีพเสริม แกปญหา ปากท อ ง ความเป น อยู  ข องราษฎร โดยอาศั ย ทั ก ษะความ เชี่ยวชาญในงานหัตถกรรมของชาวบานเปนพื้นฐาน โดยมุงเน น ภูมิปญญาและการใชวัตถุดิบในทองถิ่นเปนสําคัญ บมเพาะให ลูกหลานชาวไรชาวนาใหเปนชางที่มีฝไมลายมือเปนที่ยอมรับกัน อยางกวางขวางทั้งในประเทศและตางประเทศอยางเชนทุกวันนี้ 


นับตัง้ แตทมี่ กี ารคิดคนดินดําจนกระทัง่ ดินระเบิด ซึง่ เปนปจจัยสําคัญของอาวุธทีม่ อี านุภาพในการทําลายลางสูง การพัฒนาอาวุธดังกลาวยังคงไดรบั การพัฒนาและใชในการ รบมาอยางตอเนื่อง การกําเนิดขึ้นของปนใหญไดเปลี่ยน รูปแบบการรบในสมัยโบราณใหสามารถเพิ่มระยะในการ ทําลายเปาหมายไดไกลขึ้น แตระยะยิงที่ปนใหญทําไดนั้น คงไมสามารถเทียบไดกับการทิ้งระเบิดดวยเครื่องบิน ซึ่ง มีระยะในการโจมตีเปาหมายที่ไกลกวา โดยมิไดถูกจํากัด เฉพาะในพื้นที่การรบเพียงเทานั้น แตสามารถบินเขาไป ทิ้งระเบิดเปาหมายสําคัญในพื้นที่หลังแนวรบได และยัง สามารถตัดการสงกําลังบํารุงใหกับกําลังรบในแนวหนา ของฝายขาศึกไดอีกดวย เมื่อเสนทางขนสงตาง ๆ เชน ถนน รางรถไฟ สะพาน ฯลฯ ถูกทําลายโดยการทิ้งระเบิด นอกจากนัน้ แลวยังสามารถทําลายเปาหมายทางยุทธศาสตร เชน โรงงานผลิตอาวุธ เขื่อนผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งสามารถ เปลี่ยนโฉมหนาของสงครามและในบางครั้งสามารถชี้ผล แพหรือชนะได ในกรณีของสงครามเกาหลี (1950 - 1953) การทิง้ ระเบิดโจมตีเขือ่ นกักเก็บนาํ ของฝายเกาหลีเหนือ โดย กองกําลังสหประชาชาติซึ่งมีสหรัฐอเมริกาเปนแกนนํานั้น ไดสง ผลใหเกิดนาํ ทวมพืน้ ทีน่ าขาวซึง่ เปนแหลงเสบียงหลัก ของฝายเกาหลีเหนือและถนนรวมทั้งรางรถไฟตาง ๆ ซึ่ง

เปนเสนทางในการสงกําลังบํารุง ทําใหกําลังรบของจีน ที่เขามาชวยเกาหลีเหนือขาดการสนับสนุนเสบียงอยาง ตอเนื่อง จนนําไปสูการยอมเขาสูเวทีการเจรจาหยุดยิง และเปนการยุติสงครามเกาหลีในครั้งนั้น

การใชเครือ่ งบินทิง้ ระเบิดในชวงสงครามเกาหลี เพื่อทําลายเปาหมายสําคัญของฝายเกาหลีเหนือนั้น ไดสรางความสูญเสียใหกับเครื่องบินทิ้งระเบิดของฝาย สหประชาชาติเปนจํานวนมาก เนือ่ งจากการตอตานจาก ปนใหญตอ สูอ ากาศยานและอาวุธนําวิถพี นื้ สูอ ากาศของ ฝายเกาหลีเหนือ นอกจากนั้นแลวในการโจมตีเปาหมาย


AASM ติดตั้งกับ บ.Dassault Rafale ของฝรั่งเศส

ภาพจาก HIS Jane's/Patrick Allen

ดวยการทิง้ ระเบิดนัน้ จําเปนทีจ่ ะตองใชระเบิดจํานวนมาก ในการทําลายเปาหมายเพียงเปาหมายเดียวซึง่ เกิดจากการ ทิ้งระเบิดมีความแมนยําตํา เพื่อเปนการลดความสูญเสียของ เครื่องบินทิ้งระเบิดจากการตอตานจากกําลังทางภาคพื้น และเพิ่มความแมนยําใหกับลูกระเบิดอากาศ ผูผลิต หลายคายจึงไดมกี ารพัฒนาระบบนําวิถใี หกบั ลูกระเบิดอากาศ มาจนกระทัง่ ถึงปจจุบนั เชน ทางคายของสหรัฐอเมริกามี JDAM ลูกระเบิดติดตัง้ ชุดนําวิถดี ว ย GPS และ Paveway ลูกระเบิดติดตั้งชุดนําวิถีดวยเลเซอร คายของจีนมี Fei Teng ลูกระเบิดติดตั้งชุดนําวิถีดวยพิกัดดาวเทียม คาย ของอิสราเอลมี SPICE 1000 ลูกระเบิดติดตั้งชุดนําวิถี ดวย GPS คายของรัสเซียมี KAB-1500 ลูกระเบิดติด ตั้งชุดนําวิถีดวยเลเซอร โดยสวนใหญแลวลูกระเบิดเหลานี้ จะติดตั้งระบบนําวิถีเพียงอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งมีความ เหมาะสมในแตละภารกิจ แตเนื่องดวยเทคโนโลยีในการ ตอตานสัญญาณ GPS และรูปแบบของภัยคุกคามทีเ่ ปลีย่ น ไปจากการรบแบบกองทัพขนาดใหญกลายเปนกลุม กอการ รายขนาดเล็กทีม่ พี นื้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารในแหลงชุมชน ซึง่ ในการ โจมตีนนั้ ตองการความแมนยําทีส่ งู มาก ดังนัน้ การพัฒนา ลูกระเบิดติดตัง้ ระบบนําวิถที ปี่ ระกอบดวยระบบนําวิถี 2 แบบในชุดเดียวกัน จึงมีความเหมาะสมตอสถานการณ ในปจจุบัน ซึ่งคายผูผลิตของฝรั่งเศสคือ Sagem ผูผลิต และพัฒนา AASM Hammer ลูกระเบิดติดตัง้ ระบบนําวิถี

ซึ่งปจจุบันไดมีการทําสัญญาความรวมมือในการผลิตรวม กับ OIS Advanced Technology ของอินเดีย ซึ่งเปนไป ตามนโยบายของอินเดีย Made In India อันเปนการเสริม ความแข็งแกรงในอุตสาหกรรมการผลิตอาวุธใหกบั อินเดีย อีกดวย AASM "Hammer"

ภาพจาก www.sagem-ds.com


๑๘ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

AASM (ชื่อยอจากภาษาฝรั่งเศส “Armement Air-Sol Modulaire” หรือ “Modular Air to Ground Weapon” ในภาษาอังกฤษถูกตั้งฉายาวา Hammer โดยเปรียบเสมือนคอนที่ใชทุบทําลายเปาหมายใหยอยยับ) เปน ลูกระเบิดอากาศตระกูล Mk80 หรือรุนที่มีขนาดและรูปรางเทากัน รวมทั้งลูกระเบิดแบบทําลายเปาหมายแข็งแกรง ติดตั้งชุดนําวิถีและสวนบังคับทิศทาง โดยลูกระเบิดอากาศตระกูล Mk80 ที่ใชติดตั้งไดนั้นประกอบดวย - Mk81: ลูกระเบิดอากาศขนาด 250 ปอนด - Mk82: ลูกระเบิดอากาศขนาด 500 ปอนด - Mk83: ลูกระเบิดอากาศขนาด 1,000 ปอนด - Mk84: ลูกระเบิดอากาศขนาด 2,000 ปอนด การติดตั้งชุดนําวิถีและสวนบังคับทิศทางนั้น เพื่อเพิ่มระยะและความแมนยําในการโจมตีเปาหมายภาคพื้น รวมทัง้ ยังมีคณ ุ สมบัติ Fire & Forget ซึง่ อาวุธจะวิง่ เขาหาเปาหมายไดเองหลังจากถูกปลอย และสามารถใชโจมตีเปาหมาย หลายเปาหมายในเวลาเดียวกันโดย AASM สามารถปลอยไดทั้งจากระดับความสูงที่สูงและตําได โดยเมื่อปลอยจาก ระดับความสูงที่สูงจะมีระยะปลอยหางจากเปาหมายไกลสุดมากกวา 60 km และที่ระดับความสูงที่ตําจะมีระยะปลอย หางจากเปาหมายมากกวา 15 km นอกจากนัน้ แลวยังมีมมุ ยิงนอกแนวเล็งทีก่ วาง โดยสามารถปลอยลูกระเบิดไดแม ในขณะทีห่ วั ของเครือ่ งบินทํามุม 90 องศากับเปาหมาย ซึง่ ชวยเพิม่ ขีดความสามารถในการโจมตีเปาหมายทางยุทธวิธใี น สถานการณตาง ๆ ได และยังสามารถกําหนดมุมในการทิ้งระเบิดไดในระดับตาง ๆ จนถึงมุมที่ลูกระเบิดตั้งฉากกับพื้นที่ เปาหมาย AASM INS/GPS

AASM INS/GPS IR

AASM INS/GPS Laser

AASM เปนผลงานการผลิตและพัฒนาโดยบริษัท Sagem ของฝรั่งเศส แบงออกเปน 3 รุน โดยแยกตามชนิด ของระบบนําวิถี คือ 1. AASM INS/GPS เปนรุนนําวิถีดวยระบบนําวิถีแบบเฉื่อย (INS) ติดตั้งภายในชุดนําวิถีและระบบนําวิถี ดวยพิกัดจากดาวเทียม (GPS) ซึ่งการติดตั้งทั้งระบบนําวิถีแบบ INS และระบบนําวิถีแบบ GPS ไวดวยกันนั้นเพื่อรักษา ความสามารถในการนําวิถเี ขาสูเ ปาหมายเมือ่ สัญญาณ GPS ถูกรบกวนหรือไมมสี ญ ั ญาณ ลูกระเบิดยังคงสามารถใชขอ มูล ทิศทางและความเร็วจากระบบ INS ในการคํานวณทิศทางเขาสูเ ปาหมายได โดยในรุน นีม้ ชี อื่ เรียกวา SBU-38 Hammer (Smart Bomb Unit)


ขาวทหารอากาศ ๑๙

สิงหาคม ๒๕๕๙

2. AASM INS/GPS IR เปนรุนที่เพิ่มการนําวิถีดวยรังสีอินฟราเรด (IR) ซึ่งจะนํารังสีอินฟราเรดบนพื้นที่ เปาหมายมาสรางเปนภาพเปรียบเทียบกับภาพฐานขอมูลของเปาหมายที่ถูกใสขอมูลไวลวงหนา โดยอาวุธจะสามารถ จดจําเปาหมายไดโดยอัตโนมัติ ซึ่งจะทําใหสามารถคํานวณวิถีการเคลื่อนที่เขาสูเปาหมายในชวง 2 - 3 วินาทีสุดทาย เปนการเพิ่มความแมนยําที่มากขึ้นและลดความเสี่ยงในกรณีที่พิกัดจาก GPS เกิดความคลาดเคลื่อนหรือไมมีสัญญาณ GPS สําหรับในรุนนี้มีชื่อเรียกวา SBU-64 Hammer (Smart Bomb Unit) 3. AASM INS/GPS Laser เปนรุนที่เพิ่มการนําวิถีดวยแสงเลเซอร เพื่อใชสําหรับโจมตีเปาหมายที่เคลื่อนที่ เร็วบนพื้นดินหรือบนผิวนํา โดยอาศัยการชี้เปาดวยแสงเลเซอรจากกําลังทางภาคพื้นหรือจากอากาศยาน สําหรับในรุนนี้ มีชื่อเรียกวา SBU-54 Hammer (Smart Bomb Unit) AASM ติดตั้งกับลูกระเบิดอากาศตระกูล Mk80

จาก AASM ทั้ง 3 รุน ซึ่งมีระบบนําวิถีที่มีความแตกตางกัน แสดงใหเห็นถึงความพยายามในการผลิตอาวุธให มีความสามารถในการตอตานการรบกวนสัญญาณ GPS ซึง่ มีบทบาทสําคัญในการระบุพกิ ดั ของอาวุธและเปาหมายหรือ ในพื้นที่เปาหมายซึ่งอยูในพื้นที่อับสัญญาณ GPS นอกจากนั้นแลวยังตองการเพิ่มความแมนยําที่สูงมากใหกับอาวุธ ดังจะเห็นไดจากการผลิตรุน SBU-64 Hammer ซึ่งเพิ่มระบบการสรางภาพดวยรังสีอินฟราเรดเพื่อเปรียบเทียบกับ ฐานขอมูลพืน้ ทีเ่ ปาหมาย รวมถึงการจดจําเปาหมายแบบอัตโนมัตขิ องอาวุธ เปนการแสดงถึงเปาหมายซึง่ เปนภัยคุกคาม ในปจจุบันนั้นจะอยูในพื้นที่ซึ่งมีเปาหมายที่ไมเกี่ยวของกับทางการทหาร เชน ที่อยูอาศัยของพลเรือน ดังนั้นจึงมีความ จําเปนที่อาวุธจะตองมีความแมนยําสูงมาก เพื่อปองกันการโจมตีเปาหมายผิดพลาดจนสรางความเสียหายใหกับชีวิต และทรัพยสนิ ของพลเรือน และในรุน SBU-54 ทีม่ กี ารเพิม่ การนําวิถดี ว ยเลเซอร ซึง่ ใชสาํ หรับโจมตีเปาหมายทีเ่ คลือ่ นที่ เร็วทั้งบนบกและบนผิวนํา แสดงถึงการมุงเนนในการทําลายเปาหมายที่เปนยานพาหนะซึ่งเคลื่อนที่ไดเร็ว เชน รถยนต รถกระบะ เรือรบ ฯลฯ ซึ่งมีความสําคัญโดยอาจเปนยานพาหนะที่มีเปาหมายเปนผูนําหรือผูบัญชาการของฝายขาศึก ถึงแมวา การผลิต AASM ทัง้ 3 รุน จะเปนการเสริมสรางขีดความสามารถในการทําลายเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ แลวนั้น AASM ยังคงไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยในปจจุบันอยูในระหวางการพัฒนาระบบ Data Link ซึ่งจะ


๒๐ ขาวทหารอากาศ ทําใหอาวุธสามารถสือ่ สารกับเครือ่ งบินรบได และสามารถที่ จะรับสงขอมูลเปาหมายได รวมทัง้ การเปลีย่ นเปาหมายใหม ไดถึงแมวาอาวุธจะถูกปลอยออกไปแลว แมวา AASM จะเปนผลงานการผลิตและพัฒนา โดยบริษทั Sagem ซึง่ เปนคายทางฝง ยุโรป แตการทําสัญญา ความรวมมือในการผลิตรวมกับบริษัท OIS Advanced Technology ของอินเดีย ทําใหเห็นถึงการถายทอด เทคโนโลยีการผลิตอาวุธทีไ่ รพรมแดน ประเทศอินเดียซึง่ ขึน้ ชือ่ ในเรือ่ งของการเปนผูน าํ ทางดานซอฟทแวรนนั้ ในการผลิต อาวุธนําวิถที ที่ นั สมัยชนิดหนึง่ ขึน้ มาจําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตอง อาศัยระยะเวลาในการวิจัยและพัฒนาอันยาวนาน รวมทั้ง งบประมาณจํานวนมากที่จะตองใชในการวิจัยและพัฒนา การทําสัญญาความรวมมือในการผลิตรวมกับเจาของเทคโนโลยี เชนในกรณีของ AASM นี้ ถือไดวาเปนการพัฒนาขีดความ สามารถในการผลิตอาวุธของอินเดียอยางกาวกระโดด ซึ่ง จะเปนการเสริมความแข็งแกรงทางดานกําลังทางทหารของ อินเดียและความสามารถพึง่ พาตนเองในการผลิตอาวุธเพือ่ ใชงานในกองทัพของตนไดอยางยั่งยืน AASM อาจเปนหนึ่งใน Smart Bomb อีกหลาย ๆ รุนจากหลายคายผูผลิต ซึ่ง AASM อาจเปนผลงานการ ผลิตจากคายฝงยุโรป แตดวยการพัฒนาขีดความสามารถ

สิงหาคม ๒๕๕๙ การทดสอบ AASM “Hammer”

ของอาวุธอยางตอเนื่องแลว รวมทั้งความรวมมือในการ ผลิตกับอินเดียทําให AASM นั้นมีความนาสนใจไมแพ Smart Bomb จากคายผูผลิตอื่น ๆ โดยเฉพาะจาก อเมริกา อันเปนการตอกยําถึงประสิทธิภาพของ AASM ในการทีจ่ ะทําลายเปาหมายไดอยางราบคาบสมกับฉายา “HAMMER” 

แหลงขอมูลและภาพ - A. Timothy Warnock. The U.S.Air Force’s First War: Korea 1950-1953 Significant Events. Air Force History and Museums Program, 2000 - Charles Forrester. “Sagem, OIS-AT create AASM Hammer Joint venture”.[online]2016.Availablefrom: http://www.janes.com/article/59674/sagem-ois-at-create-aasm-hammer-joint-venture[2016 May 18] - Sagem. “AASM “HAMMER” Smart Air-To-Ground Weapon”.[PDF] 2016.Available from: http://www.sagem-ds.com[2016 May 18] - Sagem. “AASM INS/GPS”. [online] 2016.Available from: www.sagem.com/aerospace/weapons-and-missiles/ aasm [2016 May 18] - Sagem. “AASM INS/GPS IR”. [online] 2016.Available from: www.sagem.com/aerospace/weapons-andmissiles/aasm [2016 May 18] - Sagem. “AASM INS/GPS Laser”. [online] 2016.Available from: www.sagem.com/aerospace/weapons-andmissiles/aasm [2016 May 18]


มุมตางแดน

ร.อ.หญิง อังคณา จรรยา ยศ.ทอ.

...เหมือนลูกนกที่บินออกจากรัง...ออกมาสูโลกภายนอก สูโลกใบใหญที่ไมเคยพบเจอมากอนในชีวิต ประสบการณที่มากกวาความฝน เพราะไมเคยฝนมากอนวาจะไดรับโอกาสที่ดีแบบนี้ในชีวิต ไมนาเชื่อเลยวา เวลาไมถึงสองป จะทําใหเรียนรูสิ่งตาง ๆ ไดมากมายขนาดนี้... เมื่อผูเขียนไดรับทุนศึกษาตอระดับปริญญาโท สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยสตอกโฮลม กรุงสตอกโฮลม ราชอาณาจักรสวีเดน ในโครงการจัดซือ้ เครือ่ งบิน GRIPEN ทันทีทเี่ ดินทางมาถึงกรุงสตอกโฮลม เมืองหลวงและเมือง ที่ใหญที่สุดของราชอาณาจักรสวีเดน ก็รูสึกประทับใจ และหลงใหลไปกับความสวยงามของสถาปตยกรรมที่ตั้ง อยูบนเกาะนอยใหญจํานวน ๑๔ เกาะ ที่ถูกโอบลอมไป ดวยทะเลบอลติก (Baltic Sea) และทะเลสาบมาลาเร็น (Mälaren) สตอกโฮลมเปนเมืองหลวงที่สวยที่สุดในดิน แดนสแกนดิเนเวีย เนือ่ งดวยพืน้ ทีอ่ นั กวางใหญและจํานวน ประชากรทีไ่ มหนาแนน ประกอบกับการบริหารจัดการที่ มีคณ ุ ภาพ ระบบขนสงมวลชนทีเ่ ขาถึงในทุก ๆ พืน้ ที่ ผูค น เปนมิตรและมีจติ สํานึกในการรักษาความสงบและความ เปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง ทําใหความเปนอยูใ น เมืองใหญเมืองนี้สะดวกสบาย ไมวาใคร ๆ ที่ไดมาเยี่ยม เยือน ตางก็มักจะไดรับความประทับใจกลับไปทั้งนั้น

 เมืองคุณภาพกับคนคุณภาพ นอกจากความประทับใจกับทัศนียภาพทีส่ วยงาม ของเมืองบนพื้นนํานี้แลว สิ่งที่นาประทับใจไมแพกันก็คือ ความประทับใจที่มีตอคนที่นี่ “ชาวสวีดิช” สิ่งแรกที่ไมวา ใคร ๆ ที่มาเยี่ยมเยือนสวีเดนตางก็ตองพูดถึงคือ ความ สามารถในการใชภาษาอังกฤษของผูค นในประเทศนี้ แมวา ภาษาประจําชาติสวีเดนคือ ภาษาสวีดชิ (Svenska) แตคน ที่นี่ก็สื่อสารดวยภาษาอังกฤษไดดีมาก ๆ หลายครั้งเมื่อ ไมเขาใจเวลาไดยินภาษาสวีดิชและขอรองใหคนที่นี่พูด ภาษาอังกฤษดวย การเปลี่ยนจากภาษาสวีดิชเปนภาษา อังกฤษ พวกเขาเหลานัน้ ก็ทาํ ไดงา ยราวกับมีสวิชทเปลีย่ น ภาษาอยูที่ตัว ทําใหรูสึกอบอุนใจและไมมีอุปสรรคใด ๆ ในเรื่องของการสื่อสารดวยภาษาอังกฤษจากการขอรับ บริการจากสถานทีต่ า ง ๆ จากดัชนีวดั ความสามารถในการ ใชภาษาอังกฤษของสถาบัน Education First (EF) พบวา ชาวสวีดิชสอบไดคะแนนสูงที่สุดในโลกจากการทดสอบ


๒๒ ขาวทหารอากาศ ทั้งสิ้น ๗๐ ประเทศ ตั้งแตป ค.ศ.๒๐๑๒ - ปจจุบัน เมื่อ สอบถามถึงการเรียนภาษาอังกฤษจากเพือ่ นก็พบวา คนทีน่ ี่ ไมไดเริม่ ตนเรียนภาษาอังกฤษดวยอายุทตี่ า งไปจากเด็กไทย เลย การเรียนภาษาอังกฤษในระบบโรงเรียนเริม่ ตนในชวงอายุ ๙ - ๑๐ ขวบ แตสงิ่ ทีท่ าํ ใหการสือ่ สารดวยภาษาอังกฤษของ คนทีน่ เี่ ปนไปอยางมีประสิทธิภาพคือ สิง่ แวดลอมทีพ่ วกเขา เติบโต ไมวา จะเปนภาพยนตร โปรแกรมทางโทรทัศน หรือ เพลง ก็ลวนเผยแพรดวยภาษาอังกฤษทั้งหมด และมักจะมี คําอธิบาย (Sub-title) ที่เปนภาษาสวีดิชอยูดานลาง โดย คนสวีดิชมักจะใหเหตุผลแบบถอมตนเสมอวา เปนเพราะ ในอดีตชาวสวีดิชไมมีกําลังในการสรางรายการโทรทัศน หรือภาพยนตรที่เปนของตัวเอง หรือแมแตการพากยเปน ภาษาสวีดชิ ก็ตาม จึงตองซือ้ รายการโทรทัศนหรือเพลงจาก ตางชาติมาทําและอธิบายเปนภาษาสวีดิชแทน แตสําหรับ ผูเขียนกลับมองวา เด็กที่เติบโตในบานเมืองนี้จะไดเรียนรู ภาษาอังกฤษจากสื่อตาง ๆ ตั้งแตยังเด็ก และใชภาษาสวีดิช ในครอบครัว โรงเรียน รวมทั้งเรียนรูการใชภาษาสวีดิชที่ ถูกตองจาก Sub-title ในโปรแกรมทางโทรทัศนอีกดวย และไมใชเพียงแตภาษาอังกฤษเทานัน้ ชาวสวีดชิ และเด็กที่ เติบโตที่นี่จะตองเลือกเรียนภาษาที่สามในระบบการศึกษา เพิ่มเติม ซึ่งเทากับวาคนที่นี่มีความเขาใจสามภาษาเปน อยางนอย นอกจากคุณภาพในเรือ่ งของภาษาแลว ยังพบวา คนทีน่ ใี่ จดีและเปนมิตรไมตา งจากคนไทย หากไดสบตากับคนทีน่ ี่ สวนใหญกจ็ ะไดรบั คําทักทายและมีรอยยิม้ ใหกนั เสมอ สําหรับ คําทักทายของชาวสวีดชิ ทีใ่ ชกนั โดยทัว่ ไปคือ คําวา Hej (ออก เสียงวา เฮ) และการกลาวลาดวยคําวา Hejdå (ออกเสียง วา เฮ-ดัว) ในฐานะเปนผูอาศัย สิ่งเหลานี้ทําใหอุนใจเพราะ รูส กึ ไดวา ผูค นทีน่ มี่ อี ปุ นิสยั ทีค่ ลายคลึงกับคนไทย และชาว สวีดิชเองก็มีทัศนคติที่ดีตอคนไทยไมนอยเชนกัน มากไป กวานั้นผูคนที่นี่ยังปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีจิตสํานึก และ ใชชีวิตอยูในระเบียบวินัย ชวยกันสอดสองและรักษาความ สงบของบานเมืองอีกดวย สังเกตไดจากเรือ่ งงาย ๆ เชน การ ขามถนนตรงทางมาลายในทางขาม และหยุดรอสัญญาณไฟ แมวาจะไมมีรถบนถนน หรือแมกระทั่งผูขับขี่เองที่เคารพ

สิงหาคม ๒๕๕๙ กฎจราจรจะหยุดรถทันทีเมื่อเห็นคนกําลังจะขามถนน (ในทางขามที่ไมมีสัญญาณไฟจราจร) พรอมทั้งไมขับรถ หากดื่มสุราหรือของมึนเมา เพราะนอกจากจะเปนการ กระทําที่ผิดกฎหมายแลว ยังกอใหเกิดอันตรายกับผูใช ถนนคนอื่น ๆ ดวย ความมีคณ ุ ภาพของคนสะทอนใหเห็นถึงคุณภาพ ของสวนรวม โดยสวนตัวผูเ ขียนคิดวาระบบการจัดการที่ มีประสิทธิภาพสงผลใหการใชชีวิตของคนในบานเมือง มีความสุขสบาย เปนระบบระเบียบ การจัดเก็บระบบ ฐานขอมูลประชากรที่นี่มีความนาสนใจเปนอยางมาก ซึ่งถาหากใครที่มาอยูหรือศึกษาตอเกินหนึ่งปจะไดรับ หมายเลขประชาชนสิบหลัก และหมายเลขสิบหลักนี้จะ ออนไลนทั่วถึงทุกหนวยงาน ไมวาจะเปนหนวยงานของ รัฐ สํานักงานเขต โรงพยาบาล ธนาคาร หรือแมแตการ สมัครเขาเปนสมาชิกของรานคาตาง ๆ ก็ตาม ระบบ รัฐสวัสดิการที่มีคุณภาพจึงเปนสิ่งที่นาประทับใจเปน อยางมาก นอกจากนี้สวีเดนนับเปนชาติที่มีการจัดเก็บ ภาษีสงู เปนอันดับตน ๆ ของโลก ดวยการจายภาษีรายได ในอัตรากาวหนาที่สูงกวารอยละ ๓๐ รวมทั้งภาษีในการ ซื้อสินคาตาง ๆ ถึงรอยละ ๒๕ และสิ่งที่ประชาชนไดรับ กลับคืนมาก็คอื การดูแลเปนอยางดีจากรัฐบาลตัง้ แตแรกเกิด พอและแมสามารถลางานเพื่อเลี้ยงดูบุตรหลังคลอดได เปนเวลากวา ๔๐๐ วัน โดยเด็กจะไดรับเงินสนับสนุน จากทางรัฐบาลชวยเลี้ยงดูจนบรรลุนิติภาวะ ไดเรียนฟรี และรักษาพยาบาลฟรีจนถึงอายุ ๑๘ ป หากตองการเรียน ตอในระดับทีส่ งู ขึน้ ทางรัฐบาลก็สนับสนุนการศึกษาดวย การคิดดอกเบี้ยตํา หากเขาสูวัยทํางานก็มีวันลาพักรอน สูงสุดอันดับแรก ๆ ของโลก (๔๐ วันทําการ) และหาก ตกงานก็มีเงินชดเชยใหเปนเวลา ๑๐ เดือน นอกจากนี้ ประชาชนทุกอาชีพยังมีเงินบํานาญใชหลังเกษียณอีกดวย สิ่งที่กลาวมา คงจะสะทอนใหเห็นถึงความสัมพันธของ คุณภาพชีวิตกับระบบการบริหารจัดการที่แยกกันไมขาด ซึ่งหากการจัดการเปนไปอยางมีคุณภาพ ประกอบกับ ผูคนในบานเมืองมีจิตสํานึก ก็จะสงผลใหโอกาสในการ


สิงหาคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๒๓

เกิดปญหาตาง ๆ นอยลง ทําใหการพัฒนาเรื่องตาง ๆ เปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด  Fika (coffee break) หากพูดถึงธรรมเนียมปฏิบัติของชาวสวีดิชแลว ตองไมพลาดการกลาวถึง Fika (ออกเสียงวา ฟ-กา) หรือ ในภาษาอังกฤษคือ coffee break นั่นก็คือ การพักดื่ม กาแฟระหวางวัน เนื่องมาจากชาวสวีดิชเปนชนชาติที่ ดื่มกาแฟเปนอันดับตน ๆ ของโลก จึงสงผลให Fika เปน วัฒนธรรมทางสังคมที่เปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาว สวีดิชเลยก็วาได โดยทั่วไปแลว Fika ประกอบดวยการ ดื่มกาแฟพรอมดวยของหวาน เชน คุกกี้ หรือเคกตาง ๆ โดยขนมที่คนสวีเดนนิยมรับประทานคือ ขนมปงกลิ่น อบเชย (kanelbullar) ซึง่ พิจารณาแลวอาจจะดูไมแตกตาง จากการพักดื่มกาแฟทั่ว ๆ ไป แตสิ่งที่แตกตางออกไปอยู ที่การใหความสําคัญของวัฒนธรรมนี้มากกวา โดย Fika ในสถานที่ทํางานสวนมากจะมี ๒ ครั้งในหนึ่งวัน และ ใชเวลาประมาณ ๑๕ นาทีในแตละครั้ง โดยชาวสวีดิช มักจะใชโอกาสในการพักเบรคชวงเวลาสั้น ๆ นี้ พูดคุย หรือทําความคุน เคยกับบุคคลอืน่ ๆ ในทีท่ าํ งาน และไมใช เพียงแคการพักเบรคในทีท่ าํ งานเทานัน้ แต Fika ยังใชใน การนัดเจอเพื่อนฝูง เพื่อสังสรรค พบปะพูดคุย ดื่มกาแฟ รับประทานของหวาน และแลกเปลี่ยนเรื่องราวตาง ๆ สําหรับผูเขียนไดมีโอกาส Fika กับเพื่อนชาวตางชาติอยู บอยครั้ง หลังจากทํางานกลุมเสร็จ โดยไปนั่งดื่มกาแฟ รับประทานของหวานกับเพื่อนรวมกลุมชาวสวีดิช และ ฟนนิช รวมถึงนักเรียนทุนในโครงการเดียวกัน (ร.ท.หญิง สุขุมาล จันทรทอง) นอกจากการเรียนรูวัฒนธรรมการ ดื่มกาแฟแลว พวกเรายังไดพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องราว ตาง ๆ แบบผูหญิง ๆ จากมุมมองของคนที่มาจากตางที่ ตางถิ่น ทําใหไดแนวความคิดอีกดานที่คิดไมถึงมากอน และเรื่องเหลานี้เปนเรื่องที่หาไมไดจากในตําราเรียนหรือ หองเรียน ซึ่งนับวาคุมคากับสิ่งที่ไดรับกลับมา

 ความแตกตางของฤดูกาล เรือ่ งทีจ่ ะกลาวถึงตอไปคือ ฤดูกาล ราชอาณาจักร สวีเดนก็เหมือนกับอีกหลาย ๆ ประเทศในทวีปยุโรปที่มี ๔ ฤดูกาล ไดแก ฤดูหนาว (Winter) ฤดูใบไมผลิ (Spring) ฤดูรอน (Summer) และฤดูใบไมรวง (Fall/Autumn) ในแตละฤดูกาลมีความแตกตางกันออกไป ไมเหมือนกับ ฤดูกาลในประเทศไทยที่คอนขางจะคงที่ ซึ่งแมวาจะมีฝน ตกหนักในบางชวงหรือมีลมหนาวมาใหคนไทยไดดใี จใน บางครัง้ แตพระอาทิตยกย็ งั ขึน้ และตกในเวลาทีไ่ มตา งกันนัก สําหรับความแปรผันในฤดูกาลที่แตกตางกันอยางชัดเจน ของสถานที่แหงนี้สงผลโดยตรงกับความรูสึกของผูเขียน มาตลอดระยะเวลาการใชชีวิตในตางแดน ในชวงแรกทีเ่ ดินทางมาถึงเปนชวงทีม่ กี ารเปลีย่ น ฤดูกาลจากฤดูรอ นเปนฤดูใบไมรว ง จึงมีโอกาสไดเห็นใบไม ที่เริ่มเปลี่ยนสีจากสีเขียวเปนสีสม สีนําตาล และรวงหลน มายังพื้นดิน ตนไมสองขางทางกลับเหลือเพียงแคกิ่งกาน สาขา ฝนตกพรํา ๆ เกือบตลอดทั้งวัน ทองฟาเปลี่ยนเปน


๒๔ ขาวทหารอากาศ สีเทา แสงแดดที่เคยมีก็เริ่มลดนอยลง พระอาทิตยขึ้นชา กวาเดิมและตกเร็วขึ้น มีการปรับเวลาออมแสงกลับหลัง ทําใหระยะเวลาทีเ่ คยหางจากประเทศไทย ๕ ชัว่ โมง เปลีย่ น เปน ๖ ชั่วโมง ถึงอยางไรก็ไมไดมีผลมากเทากับความรูสึก คิดถึงบาน นอกจากทองฟาสีเทาแลว อุณหภูมิก็คอย ๆ ลดลงเรือ่ ย ๆ จากหนาวเปนหนาวจับใจ แตชว งเวลาแบบนัน้ ก็ไมไดอยูย าวนานนัก เพราะทันทีทหี่ มิ ะตกลงมาจากทองฟา ความรูส กึ สดชืน่ ก็กลับมาอีกครัง้ แมวา อากาศจะหนาวหรือ จะติดลบเทาไร แตทุกครั้งที่ไดเห็นหิมะสีขาวสะอาดตา บนพื้น และทองฟาที่เปลี่ยนจากสีเทาเปนสีขาว หลังคา บานเรือนเต็มไปดวยหิมะ ก็ทําใหอดยิ้มไมไดเลยสักครั้ง หากจะพูดถึงการใชชวี ติ ในฤดูหนาวทีน่ ไี่ มไดงา ยอยางทีค่ ดิ เห็นไดจากชาวสวีดิชจํานวนมากเลือกที่จะหนีหนาวไปใช ชีวิตอยูที่ประเทศไทย นั่นก็เพราะในชวงเวลาที่อากาศหนาว มาก ๆ อุณหภูมิจะลดลงแบบติดลบ (ปนี้อุณหภูมิติดลบ มาก ๑๕ ถึง - ๒๐ องศา) การเดินบนพื้นที่มีหิมะคอนขาง จะอันตราย เนื่องจากความเย็นทําใหพื้นกลายเปนนําแข็ง หากเดินอยางไมระวังและใสรองเทาทีไ่ มเหมาะสม ก็อาจจะ ทําใหลนื่ ลมไดและดูเหมือนคนทีน่ ปี่ รับตัวเขากับสิง่ แวดลอม ไดเปนอยางดี ในฤดูนี้แทนที่ทุกคนจะหนีหนาวอยูในบาน หรือออกไปเดินเลนตามหางสรรพสินคา แตเด็กเล็กรวมทัง้ ผูใ หญออกมาเลนสเก็ตนาํ แข็งบนลานนาํ แข็งทีท่ างเมืองจัด ไวใหเลนฟรี รวมทั้งยังเดินทางไปเลนสกีตามเนินสกีตาง ๆ ผูเขียนสังเกตเห็นเด็กบางคนหัดเลนสกีตั้งแตยังเดินไมแข็ง

สิงหาคม ๒๕๕๙ ดวยซาํ สวนตัวผูเ ขียนเองก็มโี อกาสไดไปลองเลนทัง้ สเก็ต และสกีเชนกัน เมื่อหิมะละลาย เปนสัญญาณที่บงบอกวาฤดู ใบไมผลิกาํ ลังกาวเขามา สังเกตไดจากตนไมทเี่ ริม่ ผลิดอก ออกใบ อุณหภูมทิ สี่ งู ขึน้ อากาศอุน ขึน้ พระอาทิตยเริม่ จะ อยูบ นทองฟานานขึน้ เวลาออมแสงก็ถกู ปรับไปขางหนาอีกครัง้ ผูค นจะออกมานัง่ รับแสงอาทิตย เพือ่ นชาวสวีดชิ บอกวา แสงอาทิตยทําใหรูสึกมีพลังและสดชื่นอีกครั้งหลังจากที่ ไมไดเห็นแสงอาทิตยมานาน ตามถนนหนทางหรือรานกาแฟ จะเห็นผูค นออกมานัง่ ดืม่ กาแฟหรือรับประทานขาวนอกราน ในชวงฤดูนี้จะผานไปคอนขางเร็ว จนถึงชวงเวลาที่ทุกคน รอคอยนั่นคือ ฤดูรอน ซึ่งบางปอุณหภูมิสูงราว ๆ ๓๐ กวาองศา แตคนทีน่ หี่ ลงรักแสงแดด ฤดูรอ นเปนชวงเวลา ที่คนหยุดงานและพักผอนเปนสวนมาก ผูคนใชเวลา ในการอาบแดดตามสถานที่ตาง ๆ ที่แสงแดดสองถึง นั่งปกนิกกลางแจง วายนํา (หากนําไมเย็นจนเกินไป) พักผอนที่บานพักตากอากาศ ออกมาพูดคุยพบปะเพื่อน ฝูงและครอบครัว รวมทัง้ ลองเรือเพือ่ ไปชมหมูเ กาะตาง ๆ คนที่นี่มีความสุขกับฤดูรอนมากจริง ๆ และผูเขียนเองก็ มีความสุขกับฤดูนี้ไมตางจากพวกเขาเพียงแคการปรับตัว เรื่องของเวลาและแสงอาทิตยยังเปนสิ่งที่ไมชินเชนเคย เพราะพระอาทิตยจะขึน้ ในเวลาเชามาก ๆ (ประมาณตีสอง ถึงตีสาม) และตกชามาก ๆ เชนกัน (บางวันหาทุม แลวยัง ไมมดื เลย) จึงตองอาศัยการปดมานชวยใหการใชชวี ติ ทีน่ ี่ ไมยากเกินไป


สิงหาคม ๒๕๕๙ จากทีก่ ลาวมา คงจะพอทําใหเห็นภาพวาฤดูกาล ตาง ๆ สงผลตอการดําเนินชีวิตอยางไร มาถึงวันนี้ผูเขียน ไดเรียนรูวา คงจะจริงที่ชาวสวีดิชมักพูดวา "Det finns inget dåligt väder, bara dåliga kläder" หรือ "there is no bad weather, there are only bad clothes" มีเพียงแคเสื้อผาที่ไมดีเทานั้น ไมมีหรอกอากาศที่ไมดี นั่นก็เปนเพราะวาหากเรามีการเตรียมพรอมเปนอยางดี ตรวจสอบพยากรณอากาศกอนออกจากบาน ฝกการปรับตัว ตามเวลา การใชชวี ติ ในสภาพอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปนัน้ ก็ไมไดยากอยางทีค่ ดิ และหากใจของเราพรอมทีจ่ ะเปดรับ สิง่ ใหม ๆ หรือความแตกตางทีจ่ ะเขามาในชีวติ เราก็จะได เห็นความสวยงามที่ซอนอยูในความแตกตางนั้น ๆ การ เปลี่ยนแปลงของฤดูกาลทําใหไดตระหนักวาเวลาผานไป เร็วจริง ๆ อีกไมนานก็จะเรียนจบ และไดกลับมาบาน เกิดแลว  ระบบการศึกษาตางแดน หลังจากทีไ่ ดบอกเลาถึงเรือ่ งราวอืน่ ๆ ไปมากแลว หากจะไมกลาวถึงเรือ่ งของระบบการศึกษาก็ดเู หมือนวาจะ เขาไมถึงแกนของชีวิตนักเรียนทุน และในฐานะที่ผูเขียน ทํางานดานการศึกษา สิ่งนี้จึงเปนสิ่งที่ใหความสนใจ มากทีส่ ดุ เพราะตัง้ ใจไววา ประสบการณและโอกาสทีไ่ ดรบั จะเปนประโยชนตอ การทํางานรับผิดชอบดานการศึกษา ของกองทัพอากาศในอนาคต กลาวถึงระบบการศึกษาใน ระดับมหาวิทยาลัยของทีน่ มี่ คี วามแตกตางจากระบบการ ศึกษาของประเทศไทยอยางมาก ทัง้ รูปแบบการจัดการเวลา ในแตละวิชา การดําเนินการสอน รวมไปถึงลักษณะของ ผูเ รียน ซึง่ จะขอกลาวถึงเฉพาะสาขาทีผ่ เู ขียนไดศกึ ษานัน่ คือ สาขา Management Studies, Stockholm Business School ของมหาวิทยาลัยสตอกโฮลม เพราะแตละหลักสูตร แตละมหาวิทยาลัยมีการจัดการที่แตกตางกันออกไป เริม่ จากเวลาทีใ่ ชในการเรียน การเรียนหลักสูตรนีจ้ ะเรียน เปนรายวิชาไป โดยในแตละภาคการศึกษา (ระยะเวลา ๔ เดือน) จะเรียนทั้งสิ้น ๔ วิชา (เฉลี่ยวิชาละเดือน) ซึ่ง

ขาวทหารอากาศ ๒๕ แตกตางจากประเทศไทย ทีจ่ ะเรียนไปพรอม ๆ กันทุกวิชา ในแตละภาคการศึกษา ผูเขียนคิดวาการเรียนดวยวิธีการ จัดการระยะเวลาเรียนแบบนี้ มีขอดีคือการเรียนในแตละ วิชาไมทบั ซอนกัน เรียนจบเปนรายวิชา ๆ ไป ทําใหนกั เรียน ไดตื่นตัวและขยันอยูเสมอ เนื่องจากจะตองเขียนรายงาน สงทุกอาทิตย ตองอานบทความและหนังสือเพื่อใชในการ เขียนรายงานและอภิปรายตลอดเวลา พรอมทั้งเตรียมตัว สอบในทุก ๆ สิ้นเดือน ซึ่งสงผลกระทบเปนอยางมากกับ ตัวผูเขียนที่ไมเคยไดเรียนในหลักสูตรแบบนี้มากอน อาจ ดวยปญหาอุปสรรคทางภาษา ที่ทําใหตองใชเวลาในการอาน หรือเขียนงานมากขึ้น เลยทําใหในชวงแรกที่ยังปรับตัว ไมได รูสึกไมชินและไมทันตั้งตัว ความรูสึกในการเรียน ตอนนั้น ไมมีอะไรทันเลยสักอยาง ฟง อาน เขียนก็ไมทัน ความมัน่ ใจทีต่ นเองสอบวัดระดับความสามารถทางภาษา (IELTS) ไดผา นตามทีม่ หาวิทยาลัยตองการกอนมาแทบจะ หายไปทัง้ หมด รูส กึ วาเวลาผานไปเร็วมาก ไมทนั ไดตกผลึก ทางความรูใด ๆ ก็เขาสูการสอบปลายภาค และเขาสูการ เรียนในวิชาใหมเสียแลว รูปแบบของการเรียนทีน่ กี่ ไ็ มเหมือนทีป่ ระเทศไทย เพราะการเรียนการสอนจะเนนการสัมมนาและอภิปราย เปนสวนใหญ และแทบจะไมมีการเรียนเพื่อทองจําเขา หองสอบเลย อาจารยจะเขาบรรยายในชวงแรกของการ เรียนเทานั้น หลังจากนั้นจะเปนการเขากลุมอภิปราย ซึ่ง เพื่อนตางชาติที่นี่จะอภิปรายกันอยางจริงจัง ใชความ สามารถในการคิดวิเคราะห ไดอยางละเอียด รอบคอบ รอบดานและตอยอดไปในจุดที่คาดไมถึง การอภิปราย ในหอง จะมีแตคนแยงกันพูด แยงกันแสดงความคิดเห็น อยางหลากหลาย ไมมีคําตอบถูกผิด มีเพียงแคเห็นดวย หรือไมเห็นดวย ทําใหไดเรียนรูว า กวาการอภิปรายจะออก มาดีไดแบบนัน้ ตองอาศัยการเรียนรูด ว ยการอานอยางมาก เนื่องจากหากขยันอานก็จะทําใหมีความรูมากพอ มีความ คิดสรางสรรค ยืดหยุน และตอยอดแนวคิดไปในเรือ่ งตาง ๆ ทีเ่ ปนประโยชนไดอยางดี การปรับตัวเพือ่ เรียนกับระบบการ ศึกษาทีน่ สี่ าํ หรับผูเ ขียนไมงา ยเลย เพราะเคยเปนนักเรียน


๒๖ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

Stockholm ดินแดนที่ถูกเรียกขานวา ราชินีแหงผืนนํา

Stockholm City Hall : ศาลาวาการเมืองสตอกโฮลม ทีเ่ รียนแบบทองจํามาแทบจะทัง้ ชีวติ แตกน็ นั่ ละไมมอี ะไรที่ ยากเกินความพยายาม แมวา วันนีจ้ ะยังไมจบการศึกษา แต ไดตระหนักวาความตั้งใจและความพยายามที่ไดทุมเทไปก็ สงผลกลับมาเปนพัฒนาการทางดานการเรียน ดวยผลการ เรียนทีด่ ขี นึ้ เรือ่ ย ๆ งานเขียนภาษาอังกฤษทีม่ กี ารพัฒนา การ ยอมรับจากเพือ่ นในหองสัมมนา ความรับผิดชอบในตัวเองทีม่ ี มากขึน้ ซึง่ ไมผดิ จริง ๆ หากจะกลาววา ถาเรามีความพยายาม มากพอ ความสําเร็จก็รอเราอยูที่ปลายทางเสมอ ทัง้ หมดทีก่ ลาวมา เปนเพียงประสบการณสว นหนึง่ เทานั้น แตประสบการณเหลานี้ก็ทําใหนักเรียนทุนอยาง ผูเ ขียนไดเรียนรูส งิ่ ใหม ๆ ทีไ่ มเคยพบเจอมากอน นอกเหนือ ไปจากสิ่งเหลานี้แลวยังไดเรียนรูถึงความสมหวัง ผิดหวัง การพบเจอ และพลัดพราก การตอสูกับความรูสึกทอแท ความรูสึกเหงาจับใจ ความรูสึกคิดถึง ทั้งคิดถึงอาหารไทย

บาน ครอบครัว เพื่อนฝูง และทุก ๆ สิ่งที่ประเทศไทย หากแตถาไมมีสิ่งเหลานี้เขามาเปนบททดสอบ ก็คงไมมีทาง ที่จะไดรูเลยวาการเติบโตขึ้นเปนผูใหญอยางสมบูรณนั้นเปน อยางไร ผูเขียนจึงขอใชโอกาสนี้ขอบคุณผูบังคับบัญชา และ เพื่อนขาราชการ ยศ.ทอ. ที่ใหการสนับสนุนและใหกําลังใจ ตลอดมา รวมทั้งครอบครัวที่อยูเคียงขางเสมอ ขอบคุณ เทคโนโลยีที่ทําใหประเทศไทยและสวีเดนใกลกันแคปลาย นิ้วสัมผัส ขอขอบคุณ น.อ.มนัท ชวนะประยูร ผชท.ทอ. ไทย/สตอกโฮลมฯ ที่ใหโอกาสผูเขียนไดถายทอด เรือ่ งราวเหลานีเ้ ปนตัวหนังสือใหทกุ ทานไดอา น ขอขอบคุณ เปนอยางสูงตอกองทัพอากาศและผูใหญใจดีทุก ๆ ทาน ทีไ่ ดใหโอกาสเก็บเกีย่ วประสบการณชวี ติ เพือ่ กลับมาทํา หนาที่ขาราชการรับใชกองทัพอากาศ และประเทศชาติ ที่รักยิ่ง 

แหลงขอมูลและภาพ : EF ENGLISH PROFICIENCY INDEX ๒๐๑๕, http://www.ef.se/epi/


ร.อ.ธนกร จีระเศรษฐ การฝกวิชาตอสูปองกันตัว นับเปนสิ่งสําคัญ สําหรับทหารทุกเหลาทัพในทุกประเทศ เพราะการสูรบ นั้นไมเพียงแตใชอาวุธเขาปะทะกันเทานั้น เมื่ออาวุธ ไมสามารถใชการได หรือบางสถานการณทหารไมสามารถ เปดฉากยิงกอนได เชน การควบคุมฝูงชน ทหารมีความ จําเปนตองใชวิชาการตอสูระยะประชิดหรือที่เรียกวา Close Combat เขามาแกไขสถานการณ นอกจากนีก้ าร ปฏิบัติหนาที่ในบางครั้งตองเขาไปในพื้นที่คับแคบ เชน การปฏิบัติหนาที่บนเครื่องบินโดยสารของ Air Marshal การเขาตรวจคนอาคาร เปนตน ทําใหมขี อ จํากัดในการใช อาวุธ การฝกวิธีการตอสูระยะประชิดจึงมีความจําเปน อยางยิ่งในหลักสูตรรบพิเศษของหนวยเฉพาะกิจในหลาย ๆ ประเทศ จนเปนเอกลักษณประจําหลักสูตรก็มี เชน การฝก

KravMaga ของอิสราเอล Systema ของรัสเซีย หรือแมกระทัง่ การผสมผสานของตะวันตกและตะวันออก ในการตอสูข อง ทหารฟลิปปนสที่เรียกวา ArnisEskrima and Kali ประเทศในแถบเอเซียตะวันออกและเอเซียตะวันออก เฉียงใตนั้น มีวิชาการตอสูปองกันตัวที่โดงดัง และมีความ หลากหลายรูจักกันแพรหลายในระดับโลกมากมาย เชน มวยไทย ยูโด ไอคิโด คาราเต ยูยิตสู เทควันโด กังฟู ฯลฯ ประเทศที่นาสนใจเปนอยางยิ่งในการนําวิชาตอสูปองกัน ตัวมาประยุกตใชใหเขากับภารกิจและเครื่องแตงกายใน ปจจุบันของทหารคือ ประเทศญี่ปุน โดยนําเอาวิชา ยูโด คาราเต และไอคิโด มาผสมผสานกัน กลายเปนวิชาการ ตอสูระยะประชิดของกองกําลังปองกันตนเอง ประเทศ ญีป่ นุ ทีเ่ รียกวา 自衛隊格闘術 (JieitaiKakutoujyutsu)

หลักสูตรการฝกตอสูระยะประชิด กองกําลังปองกันตนเองประเทศญี่ปุน 自衛隊格闘術

(JieitaiKakutoujyutsu)


๒๘ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

ในสมัยหลังสงครามโลกสิ้นสุดลงจนถึงชวงที่ญี่ปุนไดสถาปนากองกําลังปองกันตนเองขึ้นนั้น การฝกตอสูของ ทหารยังแบงแยกเปนเหลาทัพไมเหมือนกัน จนกระทั่งเกิดการวิจัยและรวมมือกันของสมาคมศิลปะปองกันตัวตาง ๆ จนกระทั่งป ค.ศ.1959 ไดกลายเปนหลักสูตรใชฝกทหารทุกเหลาทัพของญี่ปุน มีการแขงขันทั้งแบบตอสู และการแสดง ทารําตามแบบฝก ซึ่งในอดีตจนถึงป ค.ศ.2007 แบงการฝกออกเปน 3 แขนงใหญ ๆ คือ 1. การฝกตอสูดวยมือเปลา 2. การฝกตอสูดวยอาวุธปนติดดาบปลายปน 3. การฝกตอสูดวยอาวุธมีด


ตอมาในป ค.ศ.2008 ไดเปลี่ยนแปลงหลักสูตรเนื่องจากสถานการณที่เปลี่ยนไป การตอสูของสงครามเต็มรูปแบบ เริ่มหมดไป กลายเปนสงครามกองโจร การกอการราย หรือแมกระทั่งสายลับตางชาติที่เขามากอเหตุลักพาตัวคนญี่ปุน ทําใหตอ งทําการวิจยั เพือ่ แกไขหลักสูตรขึน้ มาอีกครัง้ จาก 3 หัวขอหลัก กลายมาเปน การตอสูด ว ยมือเปลาและการตอสู ดวยอาวุธ อีกทั้งยังคิดคนเครื่องชวยฝกเพื่อใหเกิดความสมจริง และเครื่องปองกันเพื่อความปลอดภัยในการฝก นอกจากนี้ ทีมวิจยั ยังออกแบบรูปแบบการฝก จนมีเครือ่ งหมายประกอบ (สําหรับผูส าํ เร็จหลักสูตรขัน้ สูง) เฉกเชน หลักสูตรรบพิเศษ เลยทีเดียว ทั้งยังออกกฎบังคับสําหรับกองทัพ โดยเฉพาะกองทัพบกระบุใหผูที่ยศตํากวารอยโท มีหนาที่ที่ตอง เขารับการฝก สวนกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ออกกฎบังคับใหผทู มี่ หี นาทีใ่ นการปองกันฐานทีต่ งั้ และการรักษาความ ปลอดภัยตองเขารับการฝก


ในกองทัพไทยยังไมมีหลักสูตรฝกการตอสูระยะประชิดที่เปนมาตรฐานเดียวกัน และยังไมมีการวิจัยหลักสูตร เหมือนดัง่ หลักสูตรของกองกําลังปองกันตนเองประเทศญีป่ นุ หากกองทัพไทยนําเอาเอกลักษณประจําชาติคอื วิชามวยไทย เขามาผสมผสานกับการตอสูวิชาอื่นใหเหมาะสมกับภารกิจของทหาร โดยผานกระบวนการวิจัยอยางละเอียดรอบคอบ ออกมาเปนหลักสูตรเฉพาะก็จะทําใหเกิดประโยชนอยางยิง่ ตอประเทศชาติและสามารถตอยอดใหเกิดการแลกเปลีย่ นทาง วัฒนธรรมระหวางกองทัพไทยกับกองทัพนานาชาติไดตอ ไปในอนาคต ทัง้ นีโ้ รงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช ไดเห็นถึงความสําคัญในการฝกศิลปะปองกันตัว จึงไดจัดทําหลักสูตรฝกศิลปะปองกันตัวใหกับนักเรียนนายเรืออากาศ ชั้นปที่ 1 ทุกคน ทุกวันเปนระยะเวลา 1 เดือน โดยหวังวา นนอ.จะสืบสานเจตนารมณและเห็นความสําคัญของการฝก การตอสูวิชาตาง ๆ สามารถปองกันตนเองไดเมื่อยามมีภัย และเมื่อมีความชํานาญเพิ่มขึ้นแลวจะสามารถชวยเหลือ คนรอบขางและสังคมตอไปไดในอนาคต เปนกําลังหลักในการพัฒนาการฝกของกองทัพอากาศตอไป 


การขับเคลื่อนกองทัพอากาศ ใหเปนองคการแหงการเรียนรู ร.อ.หญิง ภัทราภรณ เพชรฤทธิ์ ผพก.กคพ.สปพ.กพ.ทอ. (ตอจากฉบับที่แลว) ฉบับทีแ่ ลวไดกลาวถึง ความเปนมาของการขับเคลือ่ นกองทัพอากาศใหเปนองคการแหงการเรียนรูท สี่ บื เนือ่ ง มาจากนโยบายผูบัญชาการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๕๖ จนถึงปจจุบัน ในป พ.ศ.๒๕๕๙ นับเปนอีกกาวนวัตกรรมในการ เสริมสรางบรรยากาศแหงการเรียนรู นั่นคือ การจัดทําบทเพลงแหงการเรียนรู RTAF KM เพื่อรณรงคสรางบรรยากาศ แหงการจัดการความรูใ หทกุ นขต.ทอ.สรางชุมชนนักปฏิบตั ิ หรือ CoP ในหนวยงาน พลังแหงการขับเคลือ่ นกองทัพอากาศ ใหเปนองคการแหงการเรียนรูในอนาคต

บทเพลงแหงการเรียนรู RTAF KM กองทัพอากาศแหงการเรียนรู นวัตกรรมเราทําใหเห็น เราพัฒนากันจนวันนี้ ผูบังคับบัญชาสนับสนุน มีการจัดการและแลกเปลี่ยนความรู KM Knowledge management KM รวบรวมขอมูลความรู KM Knowledge management KM เทคโนโลยีกาวไกล

จัดการความรูดวย KM เพื่อองคความรูที่ยั่งยืน ความรูทมี​ี่มชี วยเจือจจุ​ุน กลั่นกรองความรู องคความมรูพรรอมมจัจัดเเก็ก็บ อยูคูกองทัทัพอา อากาศไทย ากาศไทย เปนผูนําทา ทางการจั างกการจจัดกการความรู ารความรู ใหอยูรวมกั มกั​ันเป เปปนหหนึนึ่งเด เดีดียว เขาใจงายดวยส ยสืสื่อลํานนํ​ําสสมัมัย สูการพัฒนา ฒนากองทั ากอองททัพออากาศ ากกาศ


๓๒ ขาวทหารอากาศ

เพลง RTAF KM คํารอง/ทํานอง/เรียบเรียง เสียงประสาน โดย จ.อ.สุจินต กุลชนะรงค ขับรองโดย จ.ท.ธรรมรัต อภิรดี และ จ.ท.หญิง รุงอรุณ พุกเจริญ Executive Producer ร.อ.บรรจง แกวคํา และ Mix/ Mastering พ.อ.ท.ภคพล สุขจิตร ความยาวของเพลง ประมาณ ๓ นาที นขต.ทอ.สามารถรับฟงบทเพลง RTAF KM ได ดวยการดาวนโหลดจาก Royal Thai Air Force KM Web Portal (http://www.kmrtaf.rtaf.mi.th) และ Website KM ระดับหนวยงานตาง ๆ พรอมทั้งมีการเผยแพร ทางรายการวิทยุ ทอ. และรายการเสียงตามสายของ นขต. ทอ. อีกดวย นับเปนอีกรูปแบบการประชาสัมพันธ KM ที่นาสนใจ และเปนการสรางบรรยากาศการเรียนรูไดอยางดียิ่ง การสรางบรรยากาศสูวัฒนธรรมองคการแหงการเรียนรู และการสรางทัศนคติทดี่ ตี อ การจัดการความรูเ พือ่ เสริมสราง ทอ.สูอ งคการแหงการเรียนรู เปนอีกกาวสําคัญในการสราง ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice: CoP) ตาม กลยุทธการจัดทําแผนแมบทการจัดการความรู เพือ่ เสริมสราง

สิงหาคม ๒๕๕๙

กองทัพอากาศใหเปนองคการแหงการเรียนรู เปนระยะ ๕ ป เริ่มตั้งแต พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ ซึ่งบทเพลง RTAF KM จะเผยแพรใหทุก นขต.ทอ.ไดรับการเสริมพลังและ สรางแรงจูงใจในการสรางวัฒนธรรมสนใจใฝรู ถายทอดและ จัดเก็บองคความรู ในการปฏิบัติงาน สรางนวัตกรรมให บรรยากาศ KM แบบผอนคลาย และลดทอนความเปน ทางการตามความเหมาะสมเพื่อใหเกิดการสรางชุมชน นักปฏิบัติ หรือ CoP  พลัง KM จากการสรางชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice: CoP) การสรางชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice: CoP) คือ เครือขายความสัมพันธที่ไมเปน ทางการ เกิดจากความใกลชิด ความพอใจ และพื้นฐาน ที่ใกลเคียงกัน ลักษณะที่ไมเปนทางการจะเอื้อตอการ เรียนรู และการสรางความรูใหม ๆ มากกวาโครงสรางที่ เปนทางการ


สิงหาคม ๒๕๕๙ คําวา ปฏิบัติ หรือ Practice ใน CoP ชี้จุดเนน ที่การเรียนรูซึ่งไดรับจากการทํางาน เปนหลัก เปนแงมุม เชิงปฏิบัติ ปญหาประจําวัน เครื่องมือใหม ๆ พัฒนาการ ในเรื่องงาน วิธีการทํางานที่ไดผล และไมไดผล การมี ปฏิสมั พันธระหวางบุคคล ทําใหเกิดการถายทอดแลกเปลีย่ น ความรูฝงลึก สรางความรู และความเขาใจไดมากกวา การเรียนรูจ ากหนังสือหรือการฝกอบรมตามปกติ รวมทัง้ เครือขายทีไ่ มเปนทางการ ซึง่ มีสมาชิกจากตางหนวยงาน ชวยใหองคกรประสบความสําเร็จไดดกี วาการสือ่ สารตาม โครงสรางทีเ่ ปนทางการ เปนการสรางแรงจูงใจในการสราง วัฒนธรรมแกผเู ชีย่ วชาญในหนวยงานใหมคี วามสนใจใฝรู ถายทอด ตรวจสอบ และจัดเก็บองคความรูใ นการปฏิบตั งิ าน พรอมทัง้ ใหผปู ฏิบตั มิ คี วามกระตือรือรนในการเรียนรูจ าก องคความรูท ผี่ า นการจัดเก็บ นําไปปฏิบตั ิ มีการแกไขพัฒนา ตอยอด สรางสรรคผลงานอันเปนประโยชนตอ หนวยงาน เกิดนวัตกรรม ตามแนวคิด 4 Learn Concept (Learn to Learn, Learn to Share, Learn to Connect และ Learn to Innovate) เกิดจาก CoP รวมกันปรับปรุง แกไขปญหารวมกัน จนเกิดผลงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ สามารถฟนฝาอุปสรรคตาง ๆ จนเกิดการพัฒนาและ มีนวัตกรรมเกิดขึ้นในองคการอยางตอเนื่อง

ขาวทหารอากาศ ๓๓  ความเปนมาของ RTAF CoP ในป ๕๖ คณะกรรมการอํานวยการขับเคลื่อน ทอ.ใหเปนองคการแหงการเรียนรู นวัตกรรม และกิจกรรม พัฒนาคุณภาพไดเชิญ นาวาอากาศโท บดินทร วิจารณ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการสรางชุมชนนักปฏิบัติ การสรางองคความรู และพัฒนาผูเชี่ยวชาญในงานใหกับ กําลังพล ชอ. สอ.ทอ. และ ทสส.ทอ.


๓๔ ขาวทหารอากาศ

จากนั้นในป ๕๗ - ๕๘ มีการจัดสัมมนาเชิง ปฏิบัติการแกหนวยขึ้นตรงอื่น ๆ โดยวิทยากรภายใน ทอ. พรอมกับการพัฒนาระบบเว็บทาของกองทัพอากาศ ที่ใช ชื่อวา Royal Thai Air Force KM Web Portal ควบคูกับ การบริหารจัดการใหมกี ารสราง Website ระดับหนวยงาน เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนการจัดการความรูทั่วทั้ง ทอ.โดย การจัดสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารสรางชุมชนนักปฏิบตั หิ รือ CoP ของหนวยงานตนแบบ มีการจัดกิจกรรมสําหรับผูเ ขารับการ สัมมนาฯ เพือ่ สรางความรูจ กั กันแบบขามสายงาน โดยผาน กระบวนการเรียนรูจากการปฏิบัติ Action Learning เพื่อ สะทอนแนวคิดจากหลักการการจัดการความรู การเขียน K-Map ในแตละ CoP

สิงหาคม ๒๕๕๙


สิงหาคม ๒๕๕๙ ในป ๕๙ ทุกฝายใหความสําคัญ สนใจ และ สนับสนุน KM เปนอยางมาก ดวยทีมงาน KM ที่เขมแข็ง และสรางสรรคพัฒนา KM อยางตอเนื่อง พล.อ.ต.หญิง สุพิศ ประสพศิลป เจาหนาที่บริหารงานอาวุโส และเปน ที่ปรึกษาการพัฒนา KM ของ ทอ.อยางตอเนื่องเสมอมา กลาววา “จากการดําเนินการขับเคลื่อนกองทัพอากาศ ใหเปนองคการแหงการเรียนรู นวัตกรรม และกิจกรรม พัฒนาคุณภาพ ขอชืน่ ชมผูบ ริหารทุกระดับ และกําลังพล ทุกหนวยงาน ทีไ่ ดรว มแรงรวมใจดําเนินการจัดการความ รูใหอยูคูกับหนวยงาน เพื่อมุงสูการเปนกองทัพอากาศ แหงการเรียนรูภายในป ๖๐ จึงหวังวากิจกรรม KM ที่มี คุณภาพ จะตองมีการจัดทําและแลกเปลีย่ นเรียนรู เผยแพร แนวปฏิบัติที่ดี และนวัตกรรมใหม ๆ ใหกับหนวยงาน ทั้งภายในและภายนอก ทอ.อยางตอเนื่อง เพื่อการเปน One of the Best Air Forces in ASEAN” ผลการดําเนินงานของ คณอก. ทําให นขต.ทอ. ไดรบั การสนับสนุน สงเสริมการดําเนินการขับเคลือ่ นการ จัดการความรูดวยการสรางแผนที่ความรูครบทุกหนวย ผูบ งั คับบัญชาระดับสูงใหความสําคัญ สนับสนุนและสงเสริม เปนแบบอยางทีด่ ใี นการปฏิบตั งิ านโดยใชความรูแ ละการ ถายทอดความรู จัดใหมกี ารอบรมสัมมนากําลังพลทุกระดับ ใหมีความรูความเขาใจการจัดการความรู สงเสริมใหมี การรวบรวมองคความรูที่กระจายอยูในตัวกําลังพลและ ในเอกสารมาพัฒนาจัดเก็บอยางเปนระบบ มีการเสาะ แสวงหาความรูใหมที่จําเปนตอการปฏิบัติงานและมีการ ติดตามผลการดําเนินงานตามนโยบาย ผบ.ทอ. ซึง่ กําหนด ใหสรางองคความรูในแตละแผนกอยางนอย ๑ องคความรู อยางตอเนื่อง เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติที่ดีในการพัฒนา กระบวนการทํางานและสรางนวัตกรรมใหเกิดประโยชน กับหนวยงาน รวมทั้งมีการยกยอง ชมเชย ใหรางวัล และสรางแรงจูงใจ ซึ่งในงานมหกรรมการจัดการความรู นวัตกรรมและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพกองทัพอากาศ ครั้งที่ ๓๒ ทุกหนวยมีการคัดเลือกผลงานคุณภาพ สงเขา ประกวดรวม ๑๑๙ กลุม แบงเปนประเภท QCC ๑๗ กลุม

ขาวทหารอากาศ ๓๕

และ KM ๑๐๒ กลุม ผลงานไดรับรางวัลระดับ Excellent Innovation Award ๒ กลุม Innovation Award ๑๗ กลุม และ Value Award ๓๓ กลุม รวมทั้งมีผลงานการสง ประกวดตราสัญลักษณ และคําขวัญการจัดการความรูสู การเปน ทอ. แหงการเรียนรู ซึง่ นําเสนอผลงานในรูปแบบ บอรดนิทรรศการ การนําเสนอผลงานบนเวที และการ ออกบูธ แลกเปลีย่ นเรียนรูก ารขับเคลือ่ นการจัดการความรู รวมทัง้ การสาธิตการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต ใชในการปฏิบัติงานรองรับการใชเครือขายเปนศูนยกลาง หรือ Network Centric Operation


๓๖ ขาวทหารอากาศ การขับเคลื่อนกองทัพอากาศใหเปนองคการแหง การเรียนรูท ผี่ า นมา ทําใหเกิดแนวคิดทีว่ า การใหความสําคัญ กับปจจัยทีม่ ผี ลตอความสําเร็จในการจัดการความรูเ พือ่ นํา องคกรไปสูองคการแหงการเรียนรูนั้น ผูบริหารมีบทบาท หนาที่ในการกําหนดนโยบาย สนับสนุน และมีสวนรวมใน การจัดกิจกรรมทีเ่ กีย่ วของกับการพัฒนาองคกรไปสูอ งคการ แหงการเรียนรู เชน กิจกรรมระดมสมองผูบริหาร หรือการ ประชุมจัดทําแผนยุทธศาสตร การมีจติ อาสา โดยเปดโอกาส ใหบคุ ลากรทีม่ คี วามตัง้ ใจและสนใจในการพัฒนาองคกรไป สูอ งคการแหงการเรียนรูเ ขามามีบทบาทในการดําเนินงาน จัดการความรู การสรางทีมขับเคลื่อน เพื่อใหการดําเนิน การจัดการความรูในองคกรมีการขับเคลื่อนไปขางหนาได อยางตอเนือ่ ง องคกรควรจัดกิจกรรมฝกอบรม เพือ่ ปูพนื้ ฐาน การจัดการความรูในองคกรและพัฒนาบุคลากรใหเปนผูที่ สามารถดําเนินการการจัดการความรูได การใชหลักการ PDCA (Plan Do Check Act) มาใชในการดําเนินการ กิจกรรมตาง ๆ ของการจัดการความรูในองคกร เริ่มตั้งแต มีกระบวนการวางแผนการจัดการความรู มีการปฏิบตั กิ าร ตามแผน มีการนําองคความรูสูการปฏิบัติ มีการวิเคราะห ปรับปรุงการดําเนินงาน มีคณะทํางานติดตามอยางจริงจัง มีการรายงานตอผูบ ริหารและบุคลากรทุกระดับอยางทัว่ ถึง และมีคณะกรรมการประสานงาน เพื่อแกไขปญหา การเปดหู เปดตาบุคลากรในองคกร การเปดใจยอมรับ เพื่อสราง ความเขาใจถึงความสําคัญ และใหบุคลากรเปดใจยอมรับ การดําเนินการจัดการความรูใ นองคกร และการแลกเปลีย่ น

สิงหาคม ๒๕๕๙

เรียนรู การมีสวนรวม เพื่อใหเกิดการมีสวนรวมในการ จัดการความรูจากหนวยงานตาง ๆ ภายในองคกรและ หนวยงานภายนอก การจัดใหมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ชุมชนนักปฏิบัติการใหรางวัล ยกยองชมเชย การสราง นวัตกรรมในการจัดเก็บเผยแพรองคความรู การสือ่ สาร ภายในองคกร เพือ่ ใหบคุ ลากรในองคกรทุกคนทุกระดับ สามารถติดตามขอมูลขาวสาร การดําเนินการจัดการ ความรูในหนวยงานไดอยางตอเนื่อง และการใหความ สําคัญกับการสรางบรรยากาศในการดําเนินการ กิจกรรมการจัดการความรู ควรมีการสรางบรรยากาศที่ เหมาะสม ตอกระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรู การยอมรับ ความคิดเห็นของบุคลากร ซึ่งอาจทําไดในรูปแบบตาง ๆ เชน กิจกรรมสภากาแฟ การเปลี่ยนสถานที่แลกเปลี่ยน เรียนรู การเสริมสรางบรรยากาศใหมใหเราใจ เปนตน แมจะเปนเพียงจุดเล็ก ๆ แตปจจัยเหลานี้ คือสวนสําคัญ ในการขับเคลื่อนกองทัพอากาศใหเปนองคการแหงการ เรียนรู ในป พ.ศ.๒๕๖๐ และบรรลุวสิ ยั ทัศนกองทัพอากาศ ชัน้ นําในภูมภิ าค ภายในป พ.ศ.๒๕๖๒ อยางเต็มภาคภูมิ

แหลงขอมูลและภาพ - คูมือการจัดทําแผนการจัดการความรู พ.ศ. ๒๕๔๙ โครงการพัฒนาสวนราชการใหเปนองคกรแหงการเรียนรูและการจัดการ ความรูในสวนราชการ โดยสํานักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ - การจัดการความรูกับการบริหารราชการแนวใหม โดย ศ.นพ.วิจารณ พานิช สถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม - สรุปผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการจัดการความรูเพื่อเสริมสราง ทอ.ใหเปนองคการแหงการเรียนรู ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๘ โดย คณอก.ขับเคลื่อน ทอ.ใหเปนองคการแหงการเรียนรู นวัตกรรมและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ - คูมือการจัดการความรูสูนวัตกรรม ดวย CoP เพื่อการเปนกองทัพอากาศแหงการเรียนรู โดย คณอก.ขับเคลื่อน ทอ.ใหเปน องคการแหงการเรียนรู นวัตกรรมและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ - http://www.phar.ubu.ac.th/km - http://www.kmrtaf.rtaf.mi.th


พล.ท.ทวี แจมจํารัส ปจจุบันนี้ในแวดวงการศึกษามหาวิทยาลัยไทยที่ปรากฏตามสื่อมวลชนและตําราทางวิชาการทั่วไปจะปรากฏมีชื่อ ตําแหนงทางวิชาการ เชน ผูชวยศาสตราจารย (ผศ.) รองศาสตราจารย (รศ.) ศาสตราจารย (ศ.) นําหนาชื่ออยูเปนจํานวนมาก ในสวนการศึกษาของสถาบันการศึกษาของทหาร ซึ่งใชคําวา “โรงเรียน” และ “วิทยาลัย” ซึ่งเปนการสืบสานตํานานไทยให บุคคลรุนหลังไดระลึกถึงความขลัง ที่มีมาในอดีตและยังใชอยูในปจจุบัน ไมมีคําเรียกวา “มหาวิทยาลัย” ในสถาบันการศึกษา ทางทหาร ก็ไดมีกําหนดเปนมาตรฐานไวตามขอบังคับกระทรวงกลาโหมวาดวย ศาสตราจารย รองศาสตราจารย และผูชวย ศาสตราจารย สถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๓ ซึง่ ออกตาม พ.ร.บ.กําหนดวิทยฐานะผูส าํ เร็จวิชาการทหาร (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๕๓ สรุปไดดังนี้ ๑. ผูชวยศาสตราจารย (ผศ.) ตองดํารงยศไมตํากวา พันตรี นาวาตรี หรือนาวาอากาศตรี เปนผูทไี่ ดรับปริญญา ตรีหรือเทียบเทาขึน้ ไป ในวิชาทีม่ กี ารสอนในสถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม และมีผลงานทางวิชาการทีเ่ ปนประโยชน ตอทางราชการ ทัง้ ไดแสดงความสามารถดีเดนในการสอนหรืออํานวยการสอน โดยมีระยะเวลาสอนหรืออํานวยการสอนหลังสุด ตอเนื่องกัน กอนที่จะไดรับการแตงตั้งเปนผูชวยศาสตราจารย สถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม ดังนี้ ๑.๑ ผูมีวุฒิการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเทาไมนอยกวา ๖ ป ๑.๒ ผูมีวุฒิการศึกษาปริญญาโทหรือเทียบเทาไมนอยกวา ๓ ป ๑.๓ ผูมีวุฒิการศึกษาปริญญาเอกหรือเทียบเทาไมนอยกวา ๑ ป ๒. รองศาสตราจารย (รศ.) ตองดํารงยศไมตํากวา พันโท นาวาโท หรือนาวาอากาศโท เปนผูที่ไดรับปริญญาตรีหรือ เทียบเทาขึ้นไป ในวิชาที่มีการสอนในสถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม และมีผลงานทางวิชาการที่เปนประโยชนตอ ทางราชการ โดยไมซาํ กับผลงานทีไ่ ดเคยใช สําหรับการพิจารณาแตงตัง้ เปนผูช ว ยศาสตราจารยมาแลว ทัง้ ไดแสดงความสามารถ ดีเดนในการสอนหรืออํานวยการสอน เปนผูด าํ รงตําแหนงผูช ว ยศาสตราจารย ปฏิบตั หิ นาทีใ่ นตําแหนงดังกลาว โดยมีระยะเวลา สอนหรืออํานวยการสอนหลังสุดตอเนื่องกันมาแลวไมนอยกวา ๓ ป กอนที่จะไดรับการแตงตั้งเปนรองศาสตราจารย สถาบัน การศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม ๓. ศาสตราจารย (ศ.) ตองดํารงยศไมตํากวา พันเอก นาวาเอก หรือนาวาอากาศเอก รับเงินเดือนไมตํากวาระดับ น.๔ ชั้น ๕ เปนผูที่ไดรับปริญญาตรีหรือเทียบเทาขึ้นไป ในวิชาที่มีการสอนในสถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม และมีผลงานทางวิชาการที่เปนประโยชนตอทางราชการ โดยไมซํากับผลงานที่ไดเคยใช สําหรับการพิจารณาแตงตั้งเปน ผูชวยศาสตราจารย และรองศาสตราจารยมาแลว ทั้งไดแสดงความสามารถดีเดนในการสอนหรือํานวยการสอนหลังสุดตอเนื่องกัน มาแลวไมนอยกวา ๒ ป กอนที่จะไดรับการแตงตั้งเปนศาสตราจารย สถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม ผูดํารงตําแหนงรองศาสตราจารยมาแลวไมนอยกวา ๑ ป และมีผลงานทางวิชาการที่กอประโยชนตอทางราชการ  โดยไมซํากับผลงานที่ไดเคยใช สําหรับการพิจารณาแตงตั้ง ผศ. รศ. และ ศ. ทั้งไดแสดงความสามารถดีเดนในการสอนหรือ อํานวยการสอนโดยตอเนื่องใหดํารงตําแหนงศาสตราจารย อัตราเงินเดือน ระดับ น.๖ (พลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี) ได


๓๘ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

๔. ศาสตราจารยเกียรติคุณ ตองเคยดํารงตําแหนงศาสตราจารย และไดทําคุณประโยชนตอทางราชการที่สมควร ยกยอง ซึ่งไดพนตําแหนงไปโดยมิใชเนื่องจากการกระทําความผิด ใหแตงตั้งเปนศาสตราจารยเกียรติคุณ สถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม เพื่อเปนเกียรติตลอดไป ๕. ใหกองบัญชาการกองทัพไทย (บก.ทท.) กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ เปนผูอนุมัติแตงตั้ง ผูชวย ศาสตราจารย และรองศาสตราจารย และเปนผูเสนอผูมีคุณสมบัติครบถวนเพื่อแตงตั้งเปนศาสตราจารย และศาสตราจารย เกียรติคุณ จะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งเฉพาะ ศ. และ ศ.(เกียรติคุณ) เทานั้น ๖. บุคคลใดไดรบั พระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตัง้ ใหดาํ รงตําแหนง ศ.(เกียรติคณ ุ ) ศ.หรือไดรบั แตงตัง้ ใหดาํ รงตําแหนง รศ. และ ผศ. ใหมสี ทิ ธิใชตาํ แหนงทางวิชาการทีไ่ ดรบั ประกอบยศทหาร และคํานําหนานามเพือ่ แสดงวิทยฐานะไดตลอดไป และ การใชตําแหนงวิชาการเปนเรื่องเฉพาะตัวของผูดํารงตําแหนงเมื่อประสงคจะใชในการลงชื่อของตนใหใชเรียงตามลําดับ กอนหลัง ดังนี้ ยศ ตําแหนงทางวิชาการ และบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์หรือคํานําหนานามสตรีที่ไดรับพระราชทานเครื่องราช อิสริยาภรณ และมีสิทธิใชคํานําหนานามนั้นตามกฎหมายระเบียบหรือประกาศของทางราชการ เชน พ.อ.รศ.ดร.กองเกียรติ ฯ เปนตน ๗. ผูที่มีตําแหนงทางวิชาการ เวน ศ.(เกียรติคุณและพิเศษ) จะมีสิทธิไดรับเงินประจําตําแหนงประเภทวิชาการใน โรงเรียนทหาร ไดแก ตําแหนง ตั้งแตชั้นยศ พ.ต. หรือ น.ต.ขึ้นไป ดังนี้ ๗.๑ ศ.ชั้นยศ พล.ท.ขึ้นไป จํานวน ๑๕,๖๐๐ บาท ๗.๒ ศ.ชั้นยศ พล.ต. พล.ร.ต. พล.อ.ต. พ.อ.อัตราเงินเดือน พ.อ.(พิเศษ) น.อ.อัตราเงินเดือน น.อ.(พิเศษ) จํานวน ๑๓,๐๐๐ บาท ๗.๓ รศ.ชั้นยศ พ.อ.อัตราเงินเดือน พ.อ.(พิเศษ) น.อ.อัตราเงินเดือน น.อ.(พิเศษ) จํานวน ๙,๐๐๐ บาท ๗.๔ รศ.ชั้นยศ พ.อ. น.อ. พ.ท. น.ท. จํานวน ๕,๖๐๐ บาท ๗.๕ ผศ.ชั้นยศ พ.อ. น.อ. จํานวน ๕,๖๐๐ บาท ๗.๖ ผศ.ชั้นยศ พ.ท. น.ท. พ.ต. น.ต. จํานวน ๓,๕๐๐ บาท ปจจุบันลาสุดไดมี พ.ร.บ.กําหนดวิทยฐานะผูสําเร็จวิชาการทหาร (ฉบับที่ ๖) พ.ศ.๒๕๕๘ โดยมีทาน พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีเปนผูร บั สนองพระบรมราชโองการ โดยไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ ๕ มี.ค.๒๕๕๘ ไดปรับปรุงเพิ่มเติมใหทันสมัยเปนไปตามสภาพสังคมปจจุบันทัดเทียมกับมหาวิทยาลัย สรุปไดดังนี้ ๑. ใหมีสภาการศึกษาวิชาการทหาร ประกอบดวย รมว.กห.เปนนายกสภา กรรมการสภาโดยตําแหนงอีกจํานวน ๒๐ คน สวนใหญเปนหัวหนาสวนราชการของ กห. ผูบัญชาการสถาบันวิชาการปองกันประเทศ เสนาธิการทหาร เสนาธิการของเหลาทัพ เจากรมยุทธศึกษาเหลาทัพ และผูบัญชาการโรงเรียน มีกรรมการสภาจากภายนอก ๓ ทาน ไดแก เลขาธิการคณะกรรมการ อุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ มีหนาที่ ๑๔ ประการ ใหคํานึงถึง มาตรฐานโดยทัว่ ไปทีส่ อดคลองกับมาตรฐานทีก่ ระทรวงศึกษาธิการหรือคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา กําหนดแลวแตกรณี ๒. ใหมีกรรมการสภาการศึกษาวิชาการทหารผูทรงคุณวุฒิ จํานวน ๙ คน ซึ่งจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้ง จากผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาตาง ๆ ซึ่งมิไดเปนนายทหารประจําการ (ผูเกษียณแลว ๓ คน) และตองเปนพลเรือนอยางนอย ๖ คน มีวาระดํารงตําแหนงคราวละ ๔ ป และจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งใหมไดอีก ๓. ใหผูสําเร็จวิชาการทหารจาก รร.จปร. รร.นร. รร.นนก. (รร.นายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช) และ รร.ผท. (รร.แผนที่) ไดรับปริญญาในสาขาที่มีการสอยในสถาบันการศึกษานั้น โดยใหมีปริญญา ๓ ชั้น คือ


สิงหาคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๓๙

ปริญญาเอก เรียกวา ดุษฎีบัณฑิต ใชอักษรยอ ด. ปริญญาโท เรียกวา มหาบัณฑิต ใชอักษรยอ ม. ปริญญาตรี เรียกวา บัณฑิต ใชอักษรยอ บ. ที่สําคัญคือ สภาการศึกษาวิชาการทหาร อาจกําหนดใหมีครุยวิทยฐานะหรือเข็มวิทยฐานะเปนเครื่องหมาย แสดงวิทยฐานะของผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรชั้นสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต ประกาศนียบัตร และอาจกําหนดใหมีครุย ประจําตําแหนงนายกสภาการศึกษาวิชาการทหาร กรรมการสภาการศึกษาวิชาการทหาร ผูบริหารหรือคณาจารยได ๔. ให รร.จปร. รร.นร. รร.นนก. รร.ผท. รร.สธ.ทบ. รร.สธ.ทร. รร.สธ.ทอ. โดยอนุมัติสภาการศึกษาวิชาการทหาร มีอํานาจใหปริญญากิตติมศักดิ์แกบุคคลซึ่งเห็นวาทรงคุณวุฒิและสมควรแกปริญญานั้นได ๕. ใหคณาจารยประจําของสถาบันการศึกษามีตาํ แหนงทางวิชาการ ดังนี้ ศาสตราจารย (ศ.) รองศาสตราจารย (รศ.) ผูชวยศาสตราจารย (ผศ.) และอาจารย ๖. ใหมีศาสตราจารยพิเศษ (ศ.พิเศษ) จะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ จากผูที่มิไดเปนคณาจารยประจําของสถาบัน การศึกษาเพิ่มเติมขึ้นมาดวย สําหรับศาสตราจารยเกียรติคุณ ในสาขาที่มีความเชี่ยวชาญ สภาการศึกษาวิชาการทหารเสนอให มีการแตงตั้งเพื่อเปนเกียรติยศได ๗. สภาการศึกษาวิชาการทหารอาจแตงตั้งผูซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม และมิไดเปนคณาจารยประจําของสถาบันการ ศึกษาเปน รองศาสตราจารยพเิ ศษ (รศ.พิเศษ) และผูช ว ยศาสตราจารยพเิ ศษ (ผศ.พิเศษ) ได โดยคําแนะนําของผูบ ญ ั ชาการของ สถาบันการศึกษานั้น ๘. กําหนดโทษผูใ ดใชครุยวิทยฐานะ ครุยประจําตําแหนง เข็มวิทยฐานะ ปริญญา อักษรยอปริญญา ประกาศนียบัตร บัณฑิตชั้นสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือประกาศนียบัตร ตาม พ.ร.บ.นี้ โดยไมมีสิทธิที่จะใชหรือแสดงดวยประการใด เพื่อ ใหบุคคลอื่นเชื่อวาตนมีสิทธิที่จะใช ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือนหรือปรับไมเกินหาหมื่นบาทหรือทั้งจํา ทั้งปรับ ๙. ใหออกระเบียบ ขอบังคับ หรือประกาศ ซึง่ แกไขเพิม่ เติมตาม พ.ร.บ.นี้ ใหแลวเสร็จภายใน ๑ ป นับแตวนั ที่ พ.ร.บ. นี้ใชบังคับ ปจจุบนั มีสถาบันการศึกษาทีเ่ ปดสอนในระดับปริญญาตรีของสถาบันทหาร ไดแก รร.จปร. รร.นร. รร.นนก. รร.ผท. สวนวิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา (วพม.) กองทัพบก และวิทยาลัยพยาบาลของเหลาทัพ (วพบ.) ของ ทบ. ทร. ทอ. เปดสอนของเหลาทัพเอง แตเปนสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดล สําหรับการศึกษาในระดับปริญญาโทก็มเี ปดสอนทีส่ ว น บัณฑิตศึกษา รร.เสนาธิการทหารบก (โดยมี พ.ร.บ.แยกตางหาก) ที่ใชระยะเวลาการศึกษา ๑ ป ไดรับประกาศนียบัตรและ ศึกษาตอยอดใหครบหนวยกิตที่ทางทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ (ในขณะนั้น) กําหนด และไดอนุมัติใหเปดสอนมาแลว ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๒๙ มีผูสําเร็จการศึกษาหลายรอยนายในหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ศศ.ม. (การทหาร) ตอมาปรับหลักสูตรเปน ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ทางดานความมั่นคงศึกษา ใชคํายอวา ศศ.ม. (ความมั่นคงศึกษา) และสามารถใชคุณวุฒิปริญญาโทนี้ ไปศึกษาตอในระดับปริญญาเอกที่ไมจํากัดสาขาในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนได ในอนาคตอีกไมนานจะเห็นนายทหารหนุม ๆ มีครุยสําหรับผูสําเร็จการศึกษาจาก รร.จปร. รร.นร. รร.นนก. และ รร.ผท. แตผูที่จบการศึกษาปริญญาโทจาก รร.สธ.ทบ.ในหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตยังไมมีการแกไขใหมีครุยวิทยฐานะ สมควรที่ ทบ.และ กห.นาจะไดแกไขใหในโอกาสตอไป และใน พ.ร.บ.ใหมนี้ให รร.สธ.ทบ. รร.สธ.ทร. และ รร.สธ.ทอ. มีอํานาจ ใหปริญญากิตติมศักดิ์ไดอีก จึงสมควรแกไขใหมีสิทธิสวมครุยวิทยฐานะไดเชนเดียวกัน 


น.อ.วิษณุ ภูทอง เลขา คณก.องคกรคุณธรรม พอ.

“ทําอยางไรใหโรงเรียนสรางคนดีใหแกบานเมือง” พระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ที่พระราชทานแกคณะองคมนตรี เมื่อเดือนกุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๕๕ คณะองคมนตรีไดแปลงนโยบายตามพระราชดําริสกู ารปฏิบตั นิ าํ ไปสูก ารทําโรงเรียนคุณธรรม โดย ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ไดนําแนวคิดดังกลาว ไปดําเนินการที่โรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม จว.พิจิตร ซึ่งประสบผลสําเร็จ เปนอยางดี โดยไดรับการสนับสนุนพระราชทรัพยสวนพระองคตั้งมูลนิธิยุวสถิรคุณขึ้น และขยายผลไปทั่วประเทศ ๑๔๐ โรงเรียน ผลทีไ่ ดรบั จากโรงเรียนคุณธรรมนัน้ มีมากมาย เชน ครูไมเอาเวลาราชการไปสอนพิเศษ นักเรียนมีความรับผิดชอบ ไมเที่ยวเตร ชวยกันติวหนังสือ ชวยงานบานบิดามารดา เสียสละเวลาทํางานจิตอาสา คะแนนสอบ O-Net คาเฉลี่ย สูงขึ้น สามารถสอบเขามหาวิทยาลัยของรัฐไดมากขึ้น และทําใหสังคมมองเห็นภาพลักษณที่ดีของโรงเรียนโดยไมตอง ประชาสัมพันธ จากโรงเรียนคุณธรรมสูโรงพยาบาลคุณธรรม โดย นพ.อัษฎา ตียพันธ ผอ.รพ.ชลบุรี ไดนําเอาแนวทางของ โรงเรียนคุณธรรมมาประยุกตใชกับโรงพยาบาล โดยมี ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย ทําหนาที่เปนที่ปรึกษาในการดําเนินการ เมื่อ ๓๑ มี.ค.๕๙ กรมแพทยทหารอากาศ ไดจัดปาฐกถาพิเศษ พล.อ.ท.นอย ปาณิกบุตร เรื่อง “โรงพยาบาล คุณธรรม” โดยเชิญ ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย และ นพ.อัษฎา ตียพันธ มาเปนวิทยากร ซึ่งการบรรยายดังกลาว ใหขอสรุปวา การมีโรงพยาบาลคุณธรรม ทําใหมั่นใจวาจะเกิดผลประโยชนอยางนอย ๔ เรื่อง คือ ๑. ความรักความสามัคคี ๒. การประหยัดลดการสูญเสียทรัพยากร ๓. คุณภาพการบริการรักษาพยาบาลดีขึ้น ๔. ไดรับการยกยองชื่นชมจากประชาชน


สิงหาคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๔๑

พล.อ.ท.กัมปนาท วีรกุล จก.พอ. คนปจจุบัน มีนโยบายที่ตองการใหกรมแพทย ทหารอากาศ เปนองคกรที่มีคุณธรรม โดยการ จัดตัง้ องคกรคุณธรรมขึน้ เพือ่ นอมนําพระราชดําริ ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมพิ ลอดุลยเดช มาเปนแบบอยางในการปฏิบัติงาน เพื่อสราง ความมัน่ คงใหแกองคกรและประเทศชาติ และ เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จ เถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ ๗๐ ป ในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๙ ที่ผานมา และ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๘๔ พรรษา ในวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙ วัตถุประสงคของการจัดตัง้ องคกรคุณธรรม เพือ่ ใหคนดีมอี ยูใ นทุกภาคสวนของ พอ. และโรงพยาบาลในสังกัด ของ ทอ. มีหลัก ๔ ประการ คือ ๑. เพื่อสรางธรรมาภิบาลในการบริการและบริหารที่มีคุณภาพ ๒. เพื่อใหประชาชนไดรับประโยชนจากคุณภาพการบริการ ประชาชนมีความสุขเมื่อไปใชบริการ ๓. เพื่อใหบุคลากรมีความสุขในการทํางานและบริการแกประชาชน ๔. เพื่อเปนบรรทัดฐานของสังคมในเรื่องการเปนผูใหบริการดวยความรูคูคุณธรรม การที่จะสรางให พอ.เปนองคกรคุณธรรม ใหมีคนดีในทุกภาคสวนของ พอ.ดังกลาว มีแนวทางดําเนินการ ทั้งหมด ๖ ขั้นตอน ดังนี้


๔๒ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

  ขัน้ ตอนแรก เปนขัน้ ตอนทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ในการสรางองคกรคุณธรรม เพือ่ ใหเกิดเปนความสําเร็จอยางยัง่ ยืน กําลังพลทุกคนในทุกภาคสวนขององคกรตองมีสว นรวม โดยเบือ้ งตนไดมกี ารแตงตัง้ คณก.ขับเคลือ่ นองคกรคุณธรรม พอ. ประกอบดวย ตัวแทนทุก นขต. และกลุม งานบางกลุม เชน กลุม ผูบ ริหาร กลุม งานจัดซือ้ จัดจาง กลุม งานการเงิน เปนตน คณก.ขับเคลื่อนฯ มีบทบาทสําคัญ ทําหนาที่เปนแกนนําในการเสริมสรางความเขาใจ สรางจิตสํานึกเรื่อง “คุณธรรมจริยธรรม” ใหแกกําลังพลทุกระดับในทุกหนวยงาน ใหทุกคนตกลงใจวาจะรวมมือกันสรางองคกรของเรา ใหเปนองคกรคุณธรรม โดยไมเปนการบังคับ จนกระทั่งทุกคนเห็นพองตองกัน   ขั้นตอนที่ ๒ การระดมความคิดเห็นของกําลังพลทุกคน ทุกระดับ เพื่อคนหาพฤติกรรมที่ผานมาของคนใน องคกร ทั้งที่พึงประสงคและไมพึงประสงค โดยใหทุกคนรวมแสดงความเห็นผานระบบ Online เปนหลัก (www. surveymonkey.com) ซึ่งมีผูรวมแสดงความคิดเห็นทั้งสิ้น ๑,๕๕๓ คน คิดเปนรอยละ ๔๑.๓ จากกําลังพลทั้งหมด ๓,๗๖๔ คน   ขัน้ ตอนที่ ๓ การระดมความคิดเห็นจากทุกภาคสวน เพือ่ กําหนดคุณธรรมหลัก ๓ ประการ หรืออัตลักษณ ขององคกร ทีเ่ ชือ่ มัน่ วาดวยคุณธรรมนี้ จะชวยลดหรือขจัดพฤติกรรมทีไ่ มพงึ ประสงค และสงเสริมพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค ใหเพิ่มขึ้นได โดยการระดมความคิดเห็นผานระบบ Online เชนเดียวกัน และสรุปผลเปนฉันทามติ ไดคุณธรรมหลัก ๓ ประการ หรืออัตลักษณของ พอ. คือ ซื่อสัตย รับผิดชอบ มีนําใจ   ขั้นตอนที่ ๔ การแปลง “คุณธรรมหลัก” ขององคกรใหเปน “จริยธรรม” ของทุกกลุมงานในองคกร โดย ใหแตละกลุม แตละแผนก ปรึกษาหารือรวมกัน กําหนดนโยบาย และแนวทางปฏิบัติที่ถูกตองดีงาม สําหรับทุกคน ในองคกร เพื่อใหสอดคลองกับภาระบทบาทหนาที่ที่ตนรับผิดชอบทั้ง ๓ ประการ   ขั้นตอนที่ ๕ ทุกภาคสวนในแตละ นขต.และกลุมงาน รวมกันทําแผนการปฏิบัติ กําหนดตัวชี้วัด และเปาหมาย กําหนดโครงการหรือกิจกรรมรองรับ แลวนําไปปฏิบัติโดย คณก.ขับเคลื่อนฯ จะติดตามการปฏิบัติและตัวชี้วัดเปน ระยะ ๆ ทุก ๓ เดือน และเมื่อครบหนึ่งป จะมีการประเมินผลทางตรงคือ การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมและผลกระทบ โดยรวมตอองคกรในทุกมุมมอง เชน การประหยัดเวลา งบประมาณ ความพึงพอใจของผูรับบริการ ความสุขของ ผูใหบริการ เปนตน   ขัน้ ตอนที่ ๖ ขัน้ ตอนสุดทาย เปนการนําผลการปฏิบตั มิ าพิจารณาปรับปรุงจนถึงเปาหมาย โดยเขาสูว งรอบ PDCA สําหรับแผนการดําเนินงานในปตอไป กรมแพทยทหารอากาศ ไดจัดกิจกรรมวันประกาศคุณธรรมหลัก ๓ ประการหรืออัตลักษณขององคกร พอ. อยางเปนทางการ และประกาศเจตนารมณการเปนองคกรคุณธรรมของคณะผูบ ริหาร และตัวแทนจาก นขต.ทัง้ ๑๑ หนวย โดยมี พล.อ.อ.นิทศั น ศิรมิ าศ หัวหนาคณะนายทหารฝายเสนาธิการ ประจําผูบ งั คับบัญชา กองบัญชาการกองทัพอากาศ ผูแทนผูบัญชาการทหารอากาศเปนประธานและสักขีพยาน เมื่ออังคารที่ ๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๙ ณ หองประชุม พล.อ.อ.ประพันธ ธูปะเตมีย ชั้น ๓ อาคารคุมเกลาฯ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. 


ฝายวิชาการ นทน.เสธ.รุนที่ ๖๐

“We live in an age that is driven by information. Technological breakthroughs... are changing the face of war and how we prepare for war.” By William James Perry - 19th United States Secretary of Defense ขอมูลขาวสารหรือสารสนเทศ (Information) เปนหนึ่งในทรัพยากรที่มีคาตั้งแตสงครามในอดีต และ ยิ่งทวีคุณคาและความสําคัญมากยิ่งขึ้นในสงคราม สมัยใหม ซึ่งหากฝายใดฝายหนึ่งมีขอมูลที่เหนือกวาก็จะ เปนฝายที่กุมความไดเปรียบและมีโอกาสไดรับชัยชนะ หลายประเทศทัว่ โลกจึงใหความสําคัญกับขอมูลขาวสาร เปนอยางมาก ตัวอยางเชน วิสัยทัศนของกองทัพอากาศ สหรัฐฯ ในการมุง สูก ารเปนกองทัพอากาศสําหรับศตวรรษ ที่ ๒๑ นั้น ไดกําหนดสมรรถนะที่จําเปนหกดานซึ่งนับวา เปนจุดชี้ขาดของการใชกําลังอํานาจทางอากาศ หนึ่งใน สมรรถนะนั้นคือ Information Superiority หรือความ เหนือกวาดานขอมูลขาวสาร โดยนิยาม “ความเหนือกวา ดานขอมูลขาวสาร หมายถึง ความสามารถใหไดมา รูจัก นําไปใชใหเกิดประโยชน การปกปอง และการตอสูดาน ขอมูลขาวสาร” ความตองการใหไดมาซึ่งความเหนือกวาดาน ขอมูลขาวสารประกอบกับความกาวหนาในดานเทคโนโลยี สารสนเทศ ทั้งคอมพิวเตอรที่มีความสามารถในการ ประมวลผลไดรวดเร็วขึ้นและมีขนาดเล็กลง ระบบเครือขาย ที่ครอบคลุมสามารถรับสงขอมูลไดปริมาณมาก รวมถึง ซอฟตแวรบริหารจัดการที่สามารถใชงานไดงาย จึงมี

การใชเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาชวยในสนามรบเพิม่ ขึน้ อาทิ อากาศยานไรคนขับติดตัง้ อุปกรณกลองตรวจจับความรอน (FLIR: Forward Looking Infrared System) การใชงาน ดาวเทียมสอดแนมการติดตัง้ ระบบ Tactical Data Link ให กับอากาศยาน รวมไปถึงหัวใจสําคัญของการบังคับบัญชาใน สนามรบ นัน่ คือ ระบบบัญชาการและควบคุม (ACCS: Air Command and Control System) ที่ทันสมัย เปนตน อยางไรก็ตาม แนวโนมภัยคุกคามในอนาคต มีความสลับซับซอนและรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะ ภัยคุกคามรูปแบบใหม เชน ภัยคุกคามดานไซเบอร ภัยคุกคามจากการกอการราย ภัยคุกคามจากยาเสพติด และภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติ เปนตน ความตองการนวัตกรรม เทคโนโลยีใหม ๆ ดานขอมูลขาวสาร เพือ่ ตอบโตกบั ภัยคุกคาม ดังกลาวใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นกวาเดิม จึงมีความ จําเปนในการนําเทคโนโลยี Cloud Computing มาใชใน สมรภูมิการรบ ที่เนนการแบงปนทรัพยากร ซึ่งจะชวยใน การระดมสรรพกําลังของชาติดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหเกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพสูงสุด ในที่นี้จะกลาวถึงบทบาทความสําคัญของขอมูล ขาวสารและนวัตกรรมเทคโนโลยีขอมูลขาวสารตอการ ปฏิบตั กิ ารทางทหารทีผ่ า นมา สภาพแวดลอมปจจุบนั ของ


๔๔ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

สนามรบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในอนาคต โดยการนําระบบ Cloud Computing มาประยุกตใชในกองทัพอากาศ รวมถึงขอพิจารณาและขอเสนอแนะ ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหนายทหารนักเรียนโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ ไดเขาใจผลกระทบ ที่เกิดจากความกาวหนาของนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางทหารตอแนวคิดการปฏิบัติการทางทหารทั้งในปจจุบันและ แนวโนมในอนาคต รวมทัง้ ตระหนักถึงความจําเปนในการประยุกตใชเทคโนโลยีในการปฏิบตั งิ าน และสามารถประยุกต ใชความรูดังกลาวเพื่อการเตรียมและใชกําลังของกองทัพอากาศไดอยางเหมาะสมตอไป  บทบาทความสําคัญของขอมูลขาวสารและนวัตกรรมเทคโนโลยีขอ มูลขาวสารตอการปฏิบตั กิ ารทางทหารทีผ่ า นมา ความเหนือกวาดานขอมูลขาวสาร (Information Superiority) นั้น จําเปนตองมีการปฏิบัติการดานขอมูล ขาวสาร โดยสามารถแบงไดเปน Information-in-Warfare หรือการปฏิบัติเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลในสงคราม เชน งานขาวกรองการเฝาตรวจและการลาดตระเวน (Intelligence Surveillance and Reconnaissance: ISR) การใช งานดาวเทียม และเรดาร เปนตน อีกดานคือ Information Warfare หรือสงครามขอมูลขาวสาร ไดแก การปฏิบัติการ สงครามอิเล็กทรอนิกส การปฏิบัติการ Electronic Protection และการปฏิบัติการจิตวิทยา เปนตน ดังแสดงในภาพ ที่ ๑

Information Operations

Information-in-Warfare

Information Warfare Counterinformation Offensive Counterinformation

Defensive Counterinformation

ภาพที่ ๑ แสดงกิจกรรมการปฏิบัติการดานขอมูลขาวสาร

ตั้งแตอดีตที่ผานมาจนถึงปจจุบันมีการปฏิบัติการที่เกี่ยวของกับการนําเทคโนโลยีมาใชเปนจํานวนมาก และ เปนปจจัยที่สําคัญตอการไดรับชัยชนะในสงคราม ไดแก


สิงหาคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๔๕

- สงครามกลางเมืองประเทศสหรัฐอเมริกา (ค.ศ.๑๘๖๑ - ๑๘๖๕) ในชวงใกลสิ้นสุดสงครามกลางเมือง ยูลีซิส เอส แกรนด ผูบังคับบัญชากองทหารฝายเหนือไดใชโทรเลขติดตอสื่อสารกับกองทหารที่ตั้งคายอยูหางไกลจน เปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหสามารถชนะทหารฝายใตไดในที่สุด - สงครามโลกครั้งที่ ๑ (ค.ศ.๑๙๑๔ - ๑๙๑๘) มีการนําบอลลูนและเครื่องบินมาใชในการลาดตระเวนหาขาว สวนสงครามโลกครั้งที่ ๒ (ค.ศ.๑๙๓๙ - ๑๙๔๕) มีการนําเทคโนโลยีเขามาใชเพิ่มขึ้น ไดแก เยอรมันคิดคนอุปกรณ เขารหัสทีเ่ รียกวาเครือ่ ง Enigma อังกฤษติดตัง้ Radar เพือ่ แจงเตือนการโจมตีทางอากาศ (Early Warning) จากเยอรมัน ซึ่งถือเปน Sensor ที่สําคัญในการหาขาว นอกจากนี้ฝายขาวกรองทหารเรือสหรัฐฯ สามารถดักจับสัญญาณวิทยุ ฝายญี่ปุนได ทําใหสหรัฐฯ รูวาเปาหมายตอไปของญี่ปุนคือ การโจมตีมิดเวยและสามารถเตรียมการรับมือไดทัน - สงครามพายุทะเลทราย (ค.ศ.๑๙๙๐ - ๑๙๙๑) นับเปนสงครามสมัยใหมที่เนนความเหนือกวาดานขอมูล ขาวสารอยางแทจริงโดยนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาชวย ซึ่งจะเห็นไดจากการปฏิบัติการขอมูลขาวสารของฝายสหรัฐฯ กับสัมพันธมิตร ทั้งการปฏิบัติการสงครามอิเล็กทรอนิกส การลวง การปฏิบัติการจิตวิทยา การบูรณาการใชเครือขาย ในการติดตอสื่อสารขอมูล และการใชระบบบัญชาการและควบคุม เปนตน ซึ่งทําใหฝายสหรัฐฯ สูญเสียอากาศยานไป เพียง ๓๘ ลําในการปฏิบัติภารกิจกวาแสนเที่ยวบิน ในขณะที่ฝายอิรักตองสูญเสียอากาศยานจํานวนมากกวา ๓๐๐ ลํา ปจจุบันนอกจากวิสัยทัศนของกองทัพอากาศสหรัฐฯ ที่มุงสูการเปนกองทัพอากาศในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมี Information Superiority เปนหนึง่ ในสมรรถนะทีส่ าํ คัญดังไดกลาวมาแลว ในสวนของกองทัพอากาศ ก็ไดเนนความสําคัญ ของการปฏิบัติการดานขอมูลขาวสาร โดยจะเห็นไดจากแนวความคิดในการปฏิบัติการ ขาวกรอง การเฝาตรวจและ การลาดตระเวนของกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๘ ซึ่งชี้ใหเห็นวาปจจัยทางดานการขาวกรอง การเฝาตรวจและการ ลาดตระเวนถือเปนจุดเริม่ ตนของการแพหรือชนะสงคราม หากเราแพดา นการขาวกรอง การเฝาตรวจและการลาดตระเวน จะสงผลตอการตัดสินใจของผูบ งั คับบัญชา รวมไปถึงการปฏิบตั กิ ารทางอากาศทีผ่ ดิ พลาด ซึง่ หมายถึงโอกาสทีจ่ ะไดรบั ชัยชนะในสงครามแทบจะเปนไปไมได ฉะนั้นหนทางเดียวที่มีโอกาสนําไปสูชัยชนะคือการชนะทางดานการขาวกรอง การเฝาตรวจและการลาดตระเวน เปนอันดับแรก ดังแสดงในภาพที่ ๒

ภาพที่ ๒ แสดงการไดรับชัยชนะในสงครามโดยมีภารกิจ ISR เปนหัวใจสําคัญ


๔๖ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

 สภาพแวดลอมปจจุบันของสนามรบ ปจจุบนั สภาพแวดลอมของสนามรบเนนการปฏิบตั กิ ารโดยใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) ซึง่ เปนวิวฒ ั นาการ ในการรบรูปแบบใหม (Revolutions in Military Affairs: RMA) ประกอบกับความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีทสี่ าํ คัญ ไดแก ระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย และซอฟตแวร เพื่อรองรับยุค Information Age ทั้งนี้การปฏิบัติการโดยใช เครือขายเปนศูนยกลางมีแนวความคิดหลัก ๓ ขอ ไดแก ๑) การเปลี่ยนความสนใจจากแพลตฟอรม (Platform) ไปเปน เครือขาย (Network) ๒) การเปลีย่ นการมองผูป ฏิบตั แิ ยกเปนแตละคนหรือแตละหนวยเปนการมองในภาพรวมทัง้ ระบบ และ ๓) การใหความสําคัญกับการตัดสินใจทางยุทธศาสตรที่จะปรับตัวเพื่อความอยูรอดในระบบที่เปลี่ยนแปลงไป การปฏิบตั กิ ารโดยใชเครือขายเปนศูนยกลางนัน้ เกิดขึน้ เมือ่ มีการเชือ่ มโยงของหนวยกําลังตาง ๆ เขาดวยกันดวย ขอมูลขาวสาร ซึง่ ทําใหกองกําลังเขาไปสูค วามไดเปรียบของขอมูล (Information Domain) โดยสามารถเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแบงปนและเขาถึงขอมูล รวมทั้งสามารถเปนปจจัยในการทวีกําลังจากการประสานงานระหวางหนวยภายใน กองกําลังและระบบ NCO อื่น ๆ ตลอดจนสามารถเพิ่มการระแวดระวังสถานการณ (Situation Awareness) ใหแกกัน และกัน นอกจากนีก้ ารปฏิบตั กิ ารโดยใชเครือขายเปนศูนยกลาง ยังสงผลใหระบบบัญชาการและควบคุมเกิดประสิทธิภาพ ผูบังคับบัญชาสามารถติดสินใจไดรวดเร็วขึ้น ทําใหวงรอบ OODA Loop เร็วขึ้น [การสังเกต (Observe) - การทําความ เขาใจ (Orient) - การตัดสินใจ (Decision) - การปฏิบัติ (Act)] ซึ่งการตอบสนองตอเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นแลวตัดสินใจ ใหเร็วกวา ยอมสรางปญหาและสรางความไดเปรียบตอวงรอบการตัดสินใจของขาศึก ดังแสดงในภาพที่ ๓

ภาพที่ ๓ แสดงสภาพแวดลอมปจจุบันของสนามรบ ที่เนนการปฏิบัติการโดยใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO)


สิงหาคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๔๗

สําหรับกองทัพอากาศไทยในปจจุบัน ก็เนนการปฏิบัติการในลักษณะการใชเครือขายเปนศูนยกลาง โดย ยุทธศาสตรกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๖๒ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๕๗) กําหนดใหเปนกองทัพอากาศที่ใชเครือขาย เปนศูนยกลาง (Network Centric Air Force: NCAF) มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการ ที่มิใชการรบ เพื่อตอบสนองตอภัยคุกคามในทุกรูปแบบรวมถึงภัยคุกคามรูปแบบใหมในยุคสงครามที่ใชเครือขายเปน ศูนยกลาง (Network Centric Warfare: NCW)  สภาพแวดลอมในอนาคตของกองทัพอากาศ การปฏิบัติการโดยใชเครือขายเปนศูนยกลางจะยังคงมีความสําคัญและทวีความสําคัญยิ่งขึ้น โดยมีความ ตองการปริมาณขอมูลเพื่อใชในการตัดสินใจเพิ่มมากขึ้น ในปจจุบันกองทัพอากาศมีระบบงานที่เชื่อมตอผานระบบ สื่อสารโทรคมนาคมของกองทัพอากาศจํานวนมาก ดังแสดงในภาพที่ ๔

ภาพที่ ๔ แสดงระบบงานที่เชื่อมตอ ผานระบบสื่อสารโทรคมนาคมของ กองทัพอากาศ

จากขอมูลเบื้องตนทําใหสามารถวิเคราะหและคาดการณสถานการณในอนาคตได ดังนี้ ๑. ปริมาณขอมูลที่เพิ่มขึ้นอยางมหาศาล จากระบบงานและความตองการที่เพิ่มขึ้น ไดแก การจัดหากลอง ถายภาพทางอากาศความละเอียดสูง การพัฒนาระบบ Tactical Data Link การติดตั้งระบบ Video Data Link และ การพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศ เปนตน นอกจากปริมาณขอมูลที่เพิ่มขึ้นแลว ตัวขอมูลเองก็ยังมีความซับซอนดวย ซึ่ง ยอมสงผลกระทบตอการตัดสินใจของผูบ งั คับบัญชาทีจ่ ะตองใชเวลานานมากขึน้ สวนทางกับความตองการวงรอบในการ ตัดสินใจซึ่งตองใหเร็วกวาวงรอบของขาศึก ๒. มีระบบงานที่เกี่ยวของกับดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มมากขึ้น จึงจําเปนที่จะตองจัดซื้อจัดหาอุปกรณ เทคโนโลยีที่สําคัญคือ คอมพิวเตอรจํานวนมาก โดยเฉพาะคอมพิวเตอรประสิทธิภาพสูงซึ่งมีราคาแพงและตองเตรียม อุปกรณเก็บขอมูล (Storage Device) ใหเพียงพอ รวมไปถึงอุปกรณอะไหลซอมบํารุงตาง ๆ นั่นหมายถึงคาใชจายที่ เพิ่มขึ้นและจะเพิ่มขึ้นไมมีสิ้นสุด ๓. มีบุคลากรในดานเทคโนโลยีสารสนเทศจํานวนจํากัด เชน กองบิน ๗ เปนกองบินตนแบบของกองบินที่ใช เครือขายเปนศูนยกลาง มีระบบที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเปนจํานวนมาก แตจากขอมูลพบวาในปจจุบัน ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกองบิน ๗ มีเจาหนาที่ปฏิบัติงานเพียง ๓ คนเทานั้น ซึ่งไมเพียงพอตอ การดูแลระบบตาง ๆ จํานวนมากทั้งในปจจุบันและในอนาคต  (ฉบับหนาติดตาม นวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบ Cloud Computing)


สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) กระทรวงกลาโหม Defence Technology Institute (Public Organisation) Ministry of Defence. The Kingdom of Thailand

รอบรูเทคโนโลยีปองกันประเทศ

สทป. นาํ มันเชือ้ เพลิงฟอสซิลถูกใชในอากาศยานทัว่ โลกประมาณ 200 ลานตันตอป (250 ลานลูกบาศกเมตร) (Elhaj, 2014) อยูในรูปของนํามันเคโรซีน (Kerosene) ผลิตจากกระบวนการกลั่นนํามันดิบ ซึ่งคิดเปนรอยละ 6 ของนํามันดิบ ที่ใชกันทั่วโลก ขอมูลปริมาณการใชนํามันอากาศยานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วโลกในป พ.ศ.2555 ดังแสดงในภาพ โดย มีการคาดการณวาจะมีแนวโนมการใชนํามันอากาศยานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 5 ตอป สงผลใหอัตรา การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ซึ่งเปนกาซเรือนกระจก หรือ Greenhouse Gas (GHG) เพิ่มสูงขึ้น ทําใหเกิด ภาวะโลกรอน การเก็บภาษีคารบอน (Carbon Tax) เพื่อชดเชยการปลอย GHG สูสภาวะแวดลอม และราคานํามันที่ เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ทั้งหมดนี้เปนตัวผลักดันใหอุตสาหกรรมการบินทั่วโลกเกิดความตระหนัก จึงหันมาใชนาํ มันเชือ้ เพลิงอากาศยานชีวภาพ (BioJet Fuels) ซึง่ ผลิตนาํ มันจากพืชหรือชีวมวล แทนการใชนาํ มันเชือ้ เพลิง อากาศยานทีผ่ ลิตจากเชือ้ เพลิงฟอสซิล GHG ทีถ่ กู ปลอยออกจากอากาศยานทีบ่ นิ อยูบ นทองฟาคิดเปนรอยละ 2 - 3 ของ ทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด แตเปนการปลอยสูบ รรยากาศชัน้ สูงโดยตรง ซึง่ มีผลกระทบมากกวาการปลอย GHG ทีร่ ะดับพืน้ โลกใน ปริมาณที่เทากัน เนื่องจากในระดับพื้นโลก CO2 บางสวนจะผานกระบวนการสังเคราะหดวยแสง (Photo Synthesis) เปลี่ยน CO2 ใหเปน O2 ตามธรรมชาติ

D

A

C B A สหรัฐอเมริกา B สหภาพยุโรป C บราซิล D เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต และประเทศที่ตั้งอยูในคาบสมุทรอาราเบียน

ปริมาณการใชนํามันอากาศยานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วโลกในป พ.ศ.2555


ขาวทหารอากาศ ๔๙

สิงหาคม ๒๕๕๙

ตั้งแต พ.ศ.2555 เปนตนมา สหภาพยุโรปเริ่มใชระบบการซื้อขายใบอนุญาตปลอยกาซเรือนกระจก หรือ Emission Trading Scheme (ETS) และออกรางกฎหมายวาดวยการสงเสริมการใชพลังงานจากแหลงพลังงานทดแทน (Renewable Energy Directive) ใหมสี ดั สวนการใชพลังงานทดแทนในภาคการขนสงไมตาํ กวารอยละ 10 สมาคมขนสง ทางอากาศระหวางประเทศหรือ International Air Transport Association (IATA) ออกมาใหคํามั่นวาจะปรับปรุง นํามันเชื้อเพลิงใหมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นรอยละ 1.5 และสงเสริมใหอุตสาหกรรมการบินชดเชยการปลอยคารบอน (Carbon Neutral) ภายในป พ.ศ.2563 และจะลดการปลอย CO2 ลงใหไดรอยละ 50 ภายในป พ.ศ.2593 โดยเทียบ จากป พ.ศ.2548 จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา อุตสาหกรรมการบินทัว่ โลกไดเห็นความสําคัญของปญหาภาวะโลกรอน ซึง่ การใช BioJet Fuels เปนหนทางหนึง่ ทีจ่ ะชวยลดการปลอย GHG จากภาคขนสงทางอากาศ BioJet Fuels ไดจากการนํานาํ มัน เชื้อเพลิงชีวภาพ มาผสมกับนํามันเชื้อเพลิงฟอสซิลในอัตราสวนไมเกินรอยละ 50 โดยยังคงคุณสมบัติดานสมรรถนะ เทียบเทานาํ มันเชือ้ เพลิงอากาศยานเดิมหรือดีกวา และยังตองมีคณ ุ สมบัตอิ นื่ ๆ เชนเดียวกับนาํ มันเชือ้ เพลิงทุกประการ แตอุปสรรคในการผลิต BioJet Fuels คือ ตองใชวัตถุดิบในปริมาณมาก และมีตนทุนการผลิตที่สูงกวานํามันเชื้อเพลิง ฟอสซิลถึง 3 - 15 เทา ตอปริมาตรที่เทียบเทากัน ขึ้นอยูกับวัตถุดิบที่ใชในการผลิต

ATJ CH FT

เทคโนโลยีที่ใชในการผลิต BioJet Fuels Alcohol-To-Jet Catalytic Hydrothermolysis Fischer-Tropsch Synthetic

FT-SPK

Fischer-Tropsch Synthetic Paraffinic Kerosene

FT-SKA

Fischer-Tropsch Synthetic Kerosene with Aromatics

HDCJ

Hydrotreated Depolymerized Cellulosic Jet

HDO-SK

Hydro-Deoxygenated Synthesized Kerosene

HDO-SAK

Hydro-Deoxygenated Synthesized Aromatic Kerosene

HEFA SIP

Hydrotreated Esters and Fatty Acids Synthesized Iso-Paraffins

เทคโนโลยีที่ใชในการผลิต BioJet Fuels ในปจจุบันมีหลายเทคโนโลยี แตมีอยูเพียง 3 เทคโนโลยีที่สมาคม American Society for Testing and Materials (ASTM) ออกมาใหการรับรอง ไดแก 1. Fischer-Tropsch Synthesis (FT) หรือบางครัง้ อาจเรียกวา BTL (Biomass To Liquid) ไดรบั การรับรอง เมื่อป พ.ศ.2552 หลักการคือ ใชวัตถุดิบตั้งตนเปนกาซธรรมชาติ ถานหิน หรือชีวมวล เผาที่อุณหภูมิประมาณ 400 องศาเซลเซียส ความดัน 4,100 บาร จะไดกา ซสังเคราะหทเี่ รียกวา Synthesis Gas ซึง่ เปนสวนผสมของไฮโดรเจน (H) และคารบอนมอนออกไซด (CO) ตอมาใส Alkalized Iron หรือ Cobalt ซึ่งเปนตัวเรงปฏิกิริยา (Catalyst) ทําให


๕๐ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

Synthesis Gas มีโมเลกุลทีย่ าวขึน้ และเปลีย่ นจากสภาวะกาซเปนของเหลว นําไปผานกระบวนการกลัน่ นาํ มันปโตรเลียม ก็จะไดนํามันเชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ เชน Naphtha นํามันเชื้อเพลิงอากาศยาน (อะตอมคารบอนจํานวน 9 - 15 ตัว) และ นํามันดีเซล เปนตน

Fischer-Tropsch Synthesis (FT)

2. Hydrogenated Esters and Fatty Acids (HEFA) ไดรับการรับรองเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.2554 หลักการคือ ใชวัตถุดิบขั้นตนเปนนํามันหรือไขมันจากพืช มีองคประกอบเปน Triglycerides (อะตอมคารบอนจํานวน 14 - 20 ตัว) ซึ่งจะมีออกซิเจน (O2) รวมอยูดวย ไปผานกระบวนการกําจัด O2 ที่เรียกวา Deoxygenation ออกไปในรูป ของนาํ (H2O) และคารบอนไดออกไซด (CO2) ตอมาไปผานปฏิกริ ยิ าแตกตัวดวยไฮโดรเจน (Cracks) และปรับโครงสราง (Isomerizes) จะไดนาํ มันเชือ้ เพลิงสังเคราะห นําไปผานกระบวนการกลัน่ นาํ มันปโตรเลียมก็จะไดนาํ มันเชือ้ เพลิงชนิด ตาง ๆ เชน นํามันเชื้อเพลิงอากาศยาน (อะตอมคารบอนจํานวน 9 - 15 ตัว) นํามันเบนซิน และนํามันดีเซล เปนตน Hydrogenated Esters and Fatty Acids (HEFA)

3. Synthesized Iso-Paraffins (SIP) ไดรบั การรับรองเมือ่ เดือนมิถนุ ายน พ.ศ.2557 หลักการคือ ใชวตั ถุดบิ เปนพืชใหนําตาล (Plant Sugar) ผานกระบวนการหมักโดยยีสต ไดสาร Farnesene (อะตอมคารบอนจํานวน 15 ตัว) มีองคประกอบของ C และ H ซึ่งมีความหนาแนนเทียบเทากับ Petroleum Hydrocarbons ที่ใชในนํามันดีเซลและ นํามันเชื้อเพลิงอากาศยาน Synthesized Iso-Paraffins (SIP)


ขาวทหารอากาศ ๕๑

สิงหาคม ๒๕๕๙

เทคโนโลยี

การรับรองจาก ASTM

วัตถุดิบที่ใช

ผูพัฒนาเทคโนโลยี

FT-SPK

รับรองป พ.ศ.2552 ผสมไดสูงสุดรอยละ 50

ถาน กาซธรรมชาติ ชีวมวล

Sasol, Shell, Syntroleum

HEFA

รับรองป พ.ศ.2554 ผสมไดสูงสุดรอยละ 50

นํามันจากพืช นํามันเหลือใช ไขมันสัตว

Honeywell UOP, Neste Oil, Dynamic Fuels, EERC

SIP

รับรองป พ.ศ.2557 ผสมไดสูงสุดรอยละ 10

นําตาล

Amyris, Total

FT-SKA

ยังไมไดรับรอง

ถาน กาซธรรมชาติ ชีวมวล

Sasol

ATJ

ยังไมไดรับรอง

แปง นําตาล พืชเสนใย

Gevo, Cobalt, Honeywell UOP, Lanzatech, Swedish Biofuels, Byogy

HDO-SK HDO-SAK HDCJ

ยังไมไดรับรอง ยังไมไดรับรอง ยังไมไดรับรอง

แปง นําตาล พืชเสนใย แปง นําตาล พืชเสนใย พืชเสนใย

CH

ยังไมไดรับรอง

พืชนํามัน ไขมันสัตว นํามันเหลือใช

Virent Virent Honeywell UOP, Licella, KiOR Chevron Lummus Global, Applied Research Associates, Blue Sun Energy

ตารางแสดงรายละเอียดของเทคโนโลยีการผลิต BioJet Fuels (Radich, 2015) คุณลักษณะ

Jet A-1

FT-SPK และ HEFA-SPK

SIP

Acid no. mg, KOH/g

0.1 (สูงสุด)

0.015 (สูงสุด)

0.015 (สูงสุด)

Flash Point ํC

38 (นาที)

100 (นาที)

100 (นาที)

Freezing Point ํC

-47 (สูงสุด)

-40 (สูงสุด)

-60 (สูงสุด)

Density @ 15 ํC, kg/m3

775 - 840

730 - 770

765 - 780

Net Heat of Combustion, MJ/kg

42.8 (นาที)

Additive-Antioxidants, (mg/L)

24.0 (สูงสุด)

42.8 (นาที) 17 (ตําสุด)

43.5 (นาที) 17 (ตําสุด)

Aromatics, Vol %

25 (สูงสุด)

0.5 (สูงสุด)

0.5 (สูงสุด)

Sulphur Content, ppm

0.30 (สูงสุด)

15 (สูงสุด)

2 (สูงสุด)

ตารางเปรียบเทียบคุณลักษณะทางกายภาพและเคมีของนํามัน Jet A-1 และนํามัน BioJet ชนิดตาง ๆ


๕๒ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

ในอนาคตจะมีการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ตามเทคโนโลยีที่กาวหนามากขึ้นในทุก ๆ ขั้นตอน ตั้งแตกระบวนการผลิต การจัดการ และการขนสง ซึ่งอาจทําใหราคา ตอหนวยของ BioJet Fuels มีแนวโนมลดลง เขาสูก ารผลิตในเชิงพาณิชย โรงงานผลิตเพิม่ จํานวนมากขึน้ ขณะทีป่ ริมาณ นาํ มัน และราคานาํ มันจะคาดการณไดยากขึน้ จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ มาใชกบั Biomass ในหลากหลายรูปแบบ มากขึ้น

การบินไทยขึ้นบินดวยเชื้อเพลิง BioJet Fuels เปนเที่ยวแรก เมื่อ 21 ธ.ค.54

หนวยงานในประเทศไทยใหความสําคัญกับการใชเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพเชนกัน กองทัพอากาศมีความ รวมมือในงานวิจัยดานเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพกับศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (มจพ.) และมหาวิทยาลัยขอนแกน (มข.) เพือ่ สนับสนุนเปาหมายของการบินไทย ในการใชเชือ้ เพลิงอากาศยานชีวภาพ สวนการบินไทยเองไดกาํ หนดเปนแผนความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ เชน บริษทั ผูผลิตนํามัน หนวยงานวิจัย สถาบันการศึกษา หนวยงานภาครัฐและเอกชน และบริษัทผูผลิตเครื่องบินในตางประเทศ ใหมีสวนรวมในการพัฒนาเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพภายใต “โครงการพัฒนาเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพในการบิน อยางยั่งยืน” สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) หรือ สทป. ตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนา เทคโนโลยีพลังงานเพื่อความมั่นคง จึงไดวางแนวทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีดานนี้ไวในแผนยุทธศาสตรสถาบัน เทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) กระทรวงกลาโหม พ.ศ.2553 - 2567 และ สทป. ไดจัดตั้งสวนงานวิจัย พลังงานทดแทน ในฝายวิจัยและพัฒนา เพื่อรองรับงานวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวของที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล ตอบสนองความตองการใชงานใหปฏิบัติภารกิจตาง ๆ ของกองทัพและหนวยงานภาครัฐอื่น ๆ ดวยการสรางเครือขาย ความรวมมือของทุกภาคสวน ผลักดันอุตสาหกรรมปองกันประเทศใหเขมแข็ง เพื่อใหประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเอง ไดอยางยั่งยืน  ขอมูลเพิ่มเติม - Emission Trading Scheme (ETS) เปนเครื่องมือที่ใชจัดการกับปญหาการปลอยกาซเรือนกระจก สงเสริมใหผูประกอบการ รายใหญ ลดการปลอยกาซเรือนกระจกสูชั้นบรรยากาศโลก - International Air Transport Association (IATA) เปนองคการระหวางประเทศที่รวมมือกัน เพื่อสงเสริมใหเกิดความสะดวก และความปลอดภัยในการบิน ปจจุบันมีสมาชิก 261 สายการบิน ขอมูลจาก www.iata.org ณ วันที่ 31 ธ.ค.58


อวสานงูในรังพญาอินทรี บทสรุปนี้จะเอาบทเรียนจากการรบทั้งหลาย มาสนธิเขาดวยกัน และนําเสนอสรุปสถิติของการโจมตี ทั้งหมด ๖๔๕ ครั้ง เพื่อใหแงมุมทางประวัติศาสตรเปน ประโยชนตอฝายอํานวยการของ ทอ.สหรัฐอเมริกา ที่ รับผิดชอบในการวางแผนปองกันฐานบิน โดยจะเริม่ ดวย ยุทธวิธีของการแทรกซึมและรูปแบบตาง ๆ ในการโจมตี ขอดอยในการปองกัน รวมถึงผลกระทบทางยุทธศาสตร และสุดทายจะใหขอสังเกตไวอยางกวาง ๆ เกี่ยวกับการ โจมตีฐานบินในอนาคต ยุทธวิธีในการโจมตี  รูปแบบของการแทรกซึม การโจมตีฐานบินนัน้ มีรปู แบบของการแทรกซึม โดยการเคลื่อนยายกําลังที่หลากหลาย ซึ่งแทจริง แลว การโจมตีทุกครั้งลวนตองใชการเคลื่อนที่ดวยการ เดินเทาในบางชวง ยกเวนการจูโ จมฐานบินดวยยานยนต

ในสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ สําหรับการโจมตีฐานบินในเวียดนาม ๔๘๓ ครั้งนั้น เปนการปฏิบัติการที่ไมตองพึ่งยานยนต เวียดกงและกองทัพเวียดนามเหนือนิยมใชจักรยานหรือ ไมก็เรือในการเคลื่อนยายกําลังพลและยุทโธปกรณทั้ง ในชวงการเตรียมการโจมตีและในชวงปฏิบัติการจริง แต วาเราไมมขี อ มูลชัด ๆ วาพวกเขาใชพาหนะดังกลาวจํานวน ทัง้ สิน้ กีค่ รัง้ ยุทธวิธใี นการแทรกซึมเพือ่ โจมตีฐานบิน ชวงป ค.ศ.๑๙๔๐ - ๑๙๙๒ (ยกเวนในเวียดนาม) รูปนีไ้ มรวมขอมูล ในเวียดนาม ดังนั้นจึงทําใหเราสามารถมองเห็นภาพของ เทคนิคการแทรกซึมอื่น ๆ แตอยางไรก็ตามการแทรกซึม ดวยการเดินเทานอกจากทีเ่ วียดนามแลวก็เปนเทคนิคทีใ่ ช กันมากในสมรภูมอิ นื่ ๆ ดวย ตามหลังมาดวยเทคนิคการใช ยานยนตรว มกับการเดินเทา ซึง่ เจาของเทคนิคนีก้ ค็ อื พวก LRDG/SAS ที่ปฏิบัติการในแอฟริกาเหนือ การแทรกซึม ดวยเรือดํานําใชกันในเฉพาะสงครามโลกครั้งที่ ๒ สวน การโจมตีฐานบินที่เกิดขึ้นในชวงหลังสงครามเวียดนามนั้น


๕๔ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

เรามีขอมูลนอยมากเกี่ยวกับเทคนิคที่ใชในการแทรกซึม แตจากที่เรารูเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศและคุณลักษณะ ของกองกําลังที่โจมตีนั้น ก็พอที่จะอนุมานไดวาพวกเขานาจะแทรกซึมดวยการเดินเทา การโจมตีฐานบินในอนาคต ก็นาที่จะใชเทคนิคดั้งเดิมนี้ รวมทั้งการใชประโยชนจากยานพาหนะที่มีจําหนายในทองตลาด รมบิน เครื่องอุลตราไลท หรือเครื่องรอน ก็อาจเปนเทคนิคในการแทรกซึมเพื่อโจมตีฐานบินในอนาคตได ๗% (เรือดํานํา) ๘% (เรือ) ๓๒% (เดินเทา)

๒๐% (อากาศยาน)

๔% (ยานยนต)

๒๙% (ยานยนตและเดินเทา)

รูปภาพยุทธวิธีในการแทรกซึม

 รูปแบบของการโจมตี

๓% (ผสม) ๒๒% (แทรกซึม)

๗๕% (ยิงจากภายนอก)

รูปภาพแสดงยุทธวิธีในการโจมตีฐานบิน ป ค.ศ.๑๙๔๐ - ๑๙๙๒


สิงหาคม ๒๕๕๙ จากรูปภาพจําแนกใหเห็นยุทธวิธขี องการโจมตี ทั้งสิ้น ๖๔๕ ครั้ง ที่นาสนใจอยางยิ่งก็คือ การปฏิวัติ รูปแบบการโจมตีภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ที่อังกฤษ โจมตีสนามบินฝายอักษะนั้นใชเทคนิคการเล็ดลอดทุกครั้ง แตพวกเวียดกงนั้นไมยอมเสี่ยงกับสนามทุนระเบิด แนวรั้ว ทหารยามและแสงสวาง พวกเขาจึงแทบไมใชเทคนิค เล็ดลอดเลย แตพวกเขาใชบริการเทคนิคการโจมตีดวย อาวุธยิงไกลถึง ๙๖% จากจํานวนการโจมตีทั้งหมด การโจมตีครัง้ ลาสุดใชทงั้ สองเทคนิคขางตน กบฏ ชาวเคริชดและผูก อ การรายชาวฟลปิ ปนสใชการเล็ดลอด เขาโจมตี ผูก อ การรายในเอลซาวาดอรและในอัฟกานิสถาน ใชการยิงไกล และหนวยรบพิเศษ SAS โจมตีฐานบิน อารเจนตินาบนเกาะเพบเบิล้ นัน้ พวกเขาใชทงั้ การเล็ดลอด และการยิงไกล โดยเปดฉากดวยการระดมยิงปนใหญจาก เรือและอาวุธตอสูรถถังขนาดเบา เสร็จแลวก็ยองเขาไป แขวนระเบิดไวบนเครื่องบิน นาเชื่อไดอีกเหมือนกันวา ทั้งสองเทคนิคนี้จะถูกใชอีกในอนาคต ขึ้นอยูกับคุณภาพ ของมาตรการรั้วรอบขอบชิด ฐานบินใดออนดอยในเรื่อง ดังกลาว ก็เปนไปไดที่นักโจมตีฐานบินอาจเลือกใชการ เล็ดลอดเขาวางระเบิดเพื่อทําลายเครื่องบิน ปญหาใหญทตี่ อ งเผชิญตอไปก็คอื อาวุธยิงไกลทีม่ ี ความแมนยําสูง (Precision-Guided Munitions: PGMs) รวมถึงอาวุธใหม ๆ ที่ทยอยออกมาสูทองตลาด อาวุธพวกนี้ จะทวีความเสียหายใหมากขึน้ ยกตัวอยางเกือบ ๓๐๐ ครัง้ ทีก่ ารยิงไกลถลมฐานบินในเวียดนามใชจาํ นวนนัดนอยกวา ๑๐ นัดในแตละครัง้ หากพวกเวียดกงมี PGMs ในครอบครอง แลวความสูญเสียของ ทอ.สหรัฐอเมริกาจากการโจมตีเล็ก ๆ นี้จะเพิ่มสูงขึ้นมากทีเดียว จากที่ทราบกันดีวา หากตองการยึดฐานบิน จําเปนตองใชกองกําลังขนาดใหญถงึ ระดับกรม แตชดุ กําลัง ขนาดเล็กก็แสดงใหเห็นแลววาเพียงพอที่จะใชทําลาย เครื่องบินและยุทโธปกรณสําคัญได ชุดกําลังขนาดเล็ก นี้สวนใหญนิยมใชระดับหมวด โดยแบงออกเปนหมูยอย ๆ หรือทีมยอยเล็ก ๆ รบพิเศษอังกฤษใชทีม ๓ - ๕ คน

ขาวทหารอากาศ ๕๕ ประสบความสําเร็จมาแลวในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ปฏิบัติ การโจมตีครั้งหลัง ๆ มา ก็นิยมใชกําลังระดับหมวดหรือ ระดับหมู จําไวไดเลยวากองกําลังขนาดใหญไมมีความ จําเปนทีจ่ ะใชเพือ่ การโจมตีฐานบิน เพราะกําลังขนาดเล็ก ไดถูกพิสูจนแลววาทรงประสิทธิภาพเพียงใด  ขอดอยในการปองกัน ในอดีตที่ผานมาการโจมตีฐานบินดวยกําลัง ขนาดใหญนั้นไมวาครั้งไหน ๆ ก็ประสบความสําเร็จทุกครั้ง ทัง้ นีก้ เ็ พราะกําลังปองกันฐานบินนัน้ “ตางจํานวน” (จํานวน นอยกวา) “ตางอาวุธ” (อํานาจการยิงนอยกวา) หรือไมก็ “ตางชัน้ ” (คุณภาพของกําลังรบดอยกวา) และมีอยางนอย ๑ กรณีตวั อยาง ทีก่ ารวางกําลังทีผ่ ดิ พลาด และภาวะผูน าํ ที่ออนดอย ทําใหไมสามารถใชกําลังพล (ที่ถูกฝกมาอยาง ดีและรุกรบอยางยิ่ง) ไดอยางมีประสิทธิภาพ และในหลาย ๆ ครั้งที่ฝายโจมตีสามารถครองอากาศไดก็ชวยใหพวกเขา ทํางานงายขึ้นมาก ในการโจมตีทมี่ งุ ทําลายอากาศยานพบวา หากการ รปภ.ในพื้นที่สวนหลังขาดประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจาก การไมมีชุดกําลังที่รับผิดชอบพื้นที่ดังกลาวโดยตรงและ การขาดแคลนเครือ่ งไมเครือ่ งมือในการตรวจการณ เหลานี้ คือจุดออนของฐานบินในการรับมือกับการโจมตีดว ยอาวุธ ยิงไกลและการโจมตีดวยการเล็ดลอด


๕๖ ขาวทหารอากาศ กองกําลังฝายอักษะในแอฟริกาเหนือก็แสดงใหเห็น จุดออนดอยอีกขอหนึง่ เพราะเชือ่ งชาในการทีจ่ ะหามาตรการ ตอบโตการโจมตีของรบพิเศษอังกฤษ SAS โดยเฉพาะอยางยิง่ ความลมเหลวในการสถาปนาชุด “หมาปาแมวเซา” เพือ่ ทํา หนาที่ฟงการณในเวลากลางคืน (night listening posts) และการจัดชุดซุมโจมตีไวคอยทาศัตรู นอกฐานบินก็ยัง เปนทีส่ งสัยวาทําไมพวกเขาไมคดิ จะทําบาง ผลตอบแทนที่ พวกเขาไมมมี าตรการตอบโตทดี่ พี อก็คอื ความสูญเสียอยาง ใหญหลวง ในทางตรงกันขาม กองกําลังสหรัฐอเมริกาใน เวียดนามกลับแสดงใหเราเห็นถึงนวัตกรรมที่โดดเดนและ ความคิดสรางสรรคในมาตรการปองกันเพื่อตอบโตพวก เวียดกง กองกําลังรวมระหวางเหลาทัพ พิสูจนใหเห็นวา สามารถตอบโตพวกแซปเปอรไดเปนอยางดี แตการที่ กองบัญชาการรบของสหรัฐอเมริกาปฏิเสธการยกระดับ ใหการปองกันฐานบินเปนปฏิบัติการที่ตองทุมทรัพยากร เพิ่มมากขึ้น ทําใหการตอตานการยิงดวยอาวุธยิงไกลขาด ประสิทธิภาพ เพราะวาไมมกี าํ ลังภาคพืน้ และกําลังทางอากาศ คอยทําหนาที่เฝาตรวจและควบคุมพื้นที่แนวยิงของอาวุธ ยิงไกล จึงทําใหฐานบินของสหรัฐอเมริกาเปราะบางตอการ ถูกโจมตีตลอดหวงของสงคราม การที่ ทอ.ตองพึง่ พาเหลาทัพหรือหนวยงานอืน่ ใน การปองกันฐานบินของตน คือปญหาทัง้ ของ ทอ.อังกฤษบน

สิงหาคม ๒๕๕๙ เกาะครีต ทอ.เยอรมันในแอฟริกาเหนือ และ ทอ.สหรัฐอเมริกา ในเวียดนาม ในแตละสมรภูมทิ กี่ ลาวมานัน้ ลวนนําเอาการ ปองกันฐานบินไปผูกติดกับภารกิจอืน่ ทีผ่ บู งั คับบัญชาชัน้ สูง ใหความสําคัญมากกวา ทีเ่ กาะครีตการปองกันฐานบินทีน่ นั่ ก็ไมมใี ครใสใจเพราะไมมใี ครตระหนักวา “ฐานบินคือชัยภูมิ ทีฝ่ า ยตรงขามจะตองยึดมาเปนของฝายตนใหจงได ไมวา จะตองทุม สักเทาใดก็ตาม” สวนทีแ่ อฟริกาเหนือ หนวยรอง ทัง้ หลายในการปองกันฐานบินตางก็รายงานไปยังหนวยแม ของตน แตสายการบังคับบัญชาทีอ่ อกแบบมาผิดพลาด ก็ ทําใหขอมูลไปไมถึงหูนายพลรอมเมล (ผบ.ยุทธบริเวณ) ทําใหไมเกิดการประสานสอดคลอง  ผลกระทบทางยุทธศาสตรอันเนื่องมาจากการ โจมตีฐานบิน การโจมตีฐานบินสงผลกระทบอยางไรบางไหม ? อยางนอยก็ทําใหเครื่องบินที่ทรงคุณคาตองถูกทําลาย กําลังพลและยุทโธปกรณอื่น ๆ ก็ตองสูญเสียไปมิใชนอย และบีบใหฝา ยปองกันตองทุม ทรัพยากรมากขึน้ เพือ่ ปองกัน ฐานบินของตน ในกรณีของรบพิเศษอังกฤษโจมตีฐานบินของ ฝายอักษะในแอฟริกาเหนือนั้น สามารถทําลายเครื่องบิน ไดเปนจํานวนมากจนลอแหลมตอดุลยภาพของกําลังทาง อากาศทีอ่ าจสงผลถึงผลลัพธของยุทธการบนแอฟริกาเหนือ


สิงหาคม ๒๕๕๙ สวนในสมรภูมิแปซิฟกการที่สามารถยึดฐานบินของฝาย ตรงขามไดก็ทําใหฝายตนตอระยะปฏิบัติการรบทาง อากาศออกไปไดอีก ความจําเปนในการยึดและปองกัน ฐานบินจึงเปนแรงขับใหทั้งอเมริกันและญี่ปุนเรงเปด ยุทธการยึดฐานบิน ตัวอยางเชน ชัยชนะของญี่ปุนเหนือ อังกฤษที่มาลายาก็เนื่องมาจากการที่ญี่ปุนสามารถยึด ฐานบินสําคัญ ๆ มาได และยุทธการจากเกาะสูเกาะของ อเมริกันตลอดหวงสงครามก็มุงไปที่การยึดสนามบิน ทั้งสิ้น จนสนามบินที่ไทเนียน โอกินาวา และเอล ชิมา ถูกยึดก็ทําใหอเมริกันใชสนามบินเหลานี้เปนฐานในการ โจมตีญปี่ นุ ถึงบาน และการทีญ ่ ปี่ นุ ตัดสินใจโจมตีทมี่ ดิ เวย ก็เพือ่ ทีจ่ ะยึดเกาะมาเปนฐานบินของฝายตน ความลมเหลว ของญีป่ นุ ทีม่ ดิ เวยนนั้ เปนจุดเปลีย่ นของสงครามเลยทีเดียว จากการวิเคราะหในเรื่องนี้ จึงเปนที่ชัดเจน แจมแจงวา การโจมตีฐานบินในอดีตไมอาจถูกลบลืมไป ราวกับวามันเปนเหตุการณพื้น ๆ เทคนิคงาย ๆ แตทรง ประสิทธิภาพและเหตุผลทางยุทธศาสตรที่ตองโจมตี ฐานบินในป ค.ศ.๑๙๔๐ ก็ไมตา งกันสักเทาใดกับในปจจุบนั จริง ๆ แลวการที่กําลังทางอากาศชวงชิงขึ้นเปนตัวนําใน สงครามสมัยใหมยงิ่ ทําใหฐานบินสงกลิน่ ยัว่ ยวนทีจ่ ะเปน

“มันเปนการงายและไดผลดี ทีจ่ ะทําลายนกเหล็ก ของขาศึก โดยการปนขึน้ ไปทุบรังและไขของมันซะดีกวา ทีจ่ ะแหงนคอลานกเหล็กเหลานัน้ ตอนทีพ่ วกมันลองลอย อยูในอากาศ” "It is easier and more effective to destroy the enemy’s aerial power by destroying his nests and eggs on the ground than to hunt his flying birds in the air" General Giulio Douhet, Italian Army, 1921

ขาวทหารอากาศ ๕๗ เปาไดมากกวาในอดีต  ยอนอดีต...มองอนาคต สรุปไดดังนี้ • วัตถุประสงคหลักในการโจมตีฐานบินคือ ทําลาย เครื่องบิน • ๗๕% ใชยุทธวิธีโจมตีดวยอาวุธยิงไกล • การโจมตีดว ยอาวุธยิงไกลถูกพิสจู นแลววายาก ที่จะตอตาน • การพึ่งพากําลังที่ไมใชทหารอากาศในการ ปองกันฐานบินถูกพิสูจนแลวเชนกันวาสรางปญหาใหกับ ทัง้ ทอ.อังกฤษบนเกาะครีต ทอ.เยอรมันในแอฟริกาเหนือ และ ทอ.สหรัฐอเมริกาในเวียดนาม • กําลังขนาดเล็กที่ใชอาวุธพื้น ๆ ประสบความ สําเร็จในการทําลายหรือสรางความเสียหายใหกบั อากาศยาน มากกวา ๒,๐๐๐ เครื่อง ในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง การโจมตีฐานบิน มีวัตถุประสงค คือ การยึดฐานบิน และทําลายหรือสราง ความเสียหายตอเครื่องบิน ทําใหไมสามารถใชงานฐานบิน ตอไปได สวนในชวงสงครามเวียดนาม เห็นไดชัดวาการ โจมตีฐานบินมุง ไปทีก่ ารทําลายเครือ่ งบิน และรบกวนฝายที่ ปองกัน และในอีก ๑๙ ครัง้ ทีเ่ กิดขึน้ หลังสงครามเวียดนาม


๕๘ ขาวทหารอากาศ นัน้ มี ๑๒ ครัง้ ทีด่ เู หมือนวาตองการทําลายเครือ่ งบิน ทีเ่ หลือ อีก ๗ ครัง้ นัน้ ก็เพือ่ ตองการยึดเปนสนามบินหนา หรือไมก็ ตองการทําลายหนวยกําลังที่มที ี่ตั้งอยูในฐานบิน การโจมตีดวยหนวยพลรม (ภายหลังสงคราม เวียดนาม) เกิดขึน้ โดยสหภาพโซเวียตในอัฟกานิสถาน และ สหรัฐอเมริกาในเกรนาดาและปานามา ซึง่ การโจมตีลกั ษณะ นีไ้ มนา จะเกิดขึน้ ในอนาคต เนือ่ งจากปจจุบนั มีไมกปี่ ระเทศ ทีม่ ศี กั ยภาพดังกลาว เมือ่ มองยอนไปในอดีตเพือ่ ทีจ่ ะทํานาย อนาคตนั้น ปรากฏชัดวาไมมีความนาจะเปนทีฐ่ านบินของ ทอ.สหรัฐอเมริกาจะถูกโจมตีดวยกําลังหนวยพลรมขนาด ใหญ หากแตการแทรกซึมดวยพลรมเพื่อวัตถุประสงคตาง ๆ ของขาศึกยังคงมีความเปนไปไดอยู ภัยคุกคามทีจ่ ะมีตอ ฐานบินของ ทอ.สหรัฐอเมริกา ในอนาคต นาจะเปนภัยคุกคามที่ผสมผสานกันระหวาง สิ่งที่ SAS ทําในสงครามโลกครั้งที่สอง กับสิ่งที่เวียดกงและ กองทัพเวียดนามเหนือทําในสงครามเวียดนาม และหาก “ทุก ๆ สนามบิน ตองเปนทีม่ นั่ ของนักสูเ ลือด ทอ. ไมใชเปนเรือนรับรองสําหรับพลเรือนทีส่ วมเครือ่ งแบบ ทหารและเสวยสุขภายใตความคุม ครองของหนวยแยก ทหารราบ ...ทหารอากาศทุกชั้นยศตองเขาใจอยาง แจมแจงวา พวกเขาทุกคนถูกคาดหวังวาจะรวมกันสู และตายเพื่อปองกันสนามบินของพวกเขาเอง” "Every airfield should be a stronghold of fighting air-groundmen, and not the abode of uniformed civilians in the prime of life protected by detachments of soldier... ...It must be clearly understood by all ranks that they are expected to fight and die in the defence of their airfields." Sir Winston Churchill Prime Minister of the United Kingdom

สิงหาคม ๒๕๕๙ เชื่อวาอดีตสรางเคาโครงใหอนาคตแลวละก็ การโจมตี ดวยอาวุธยิงไกล (Standoff Attacks) ก็จะยังคงเปนภัย คุกคามที่ทาทายอยางรุนแรง อาวุธแมนยําสูงจะทําให เครื่องยิง ลูกระเบิดและอาวุธยิงไกลทั้งหลายกลายเปน หนามยอกอกของเราในอนาคต การโจมตีดวยกําลังขนาดเล็กที่มีวัตถุประสงค จํากัดอยูท กี่ ารทําลายเครือ่ งบิน ไดประสบความสําเร็จใน การทําลายหรือสรางความเสียหายใหแกเครือ่ งบินมากกวา ๒,๐๐๐ เครือ่ ง ในชวงป ค.ศ.๑๙๔๐ - ๑๙๙๒ ขอเท็จจริง ในอดีต คือ คํายืนยันถึงประสิทธิภาพของกําลังขนาดเล็ก ที่ใชเพียงอาวุธธรรมดาโจมตีฐานบิน นักวางแผนปองกัน ฐานบินของ ทอ.สหรัฐอเมริกาหรือใครก็ตามที่เกี่ยวของ ในการปองกันฐานบินจําเปนอยางยิ่งที่ตองตระหนักใน ขอเท็จจริงดังกลาว เพื่อนํามาซึ่งหนทางที่จะทําใหฐานบิน ของตนรอดพนจากภัยคุกคาม 


ความเจริญและการพัฒนาอยางกาวกระโดด ของวงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ทําใหบุคลากร (เกือบจะ) ทุกระดับและทุกภาคสวนตองปรับตัวอยางรวดเร็ว เพื่อ ใหกาวทันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในองคกรและ สังคมรอบตัว โดยเฉพาะอยางยิ่ง บุคลากรในระดับของ “ผูบ ริหาร” ซึง่ จะตองเปนผูน าํ องคกรเพือ่ กอใหเกิดความ สําเร็จในภารกิจภายใตการใชประโยชนและการรักษาความ ปลอดภัยของระบบสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล การมองภาพองครวมของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเชิงระบบใหออก จึงเปนสิ่งจําเปนที่ขาด ไมไดและถือเปนสวนหนึ่งขององคประกอบที่สําคัญของ วิสยั ทัศนของผูน าํ และผูบ ริหาร ซึง่ ตรงนีต้ อ งใชทงั้ “ศาสตร” ความรูทางดานวิชาการและความเปน “ศิลปะ” ในการ เชือ่ มโยงความสัมพันธขององคประกอบทัง้ หมดในระบบ สารสนเทศ คุณสมบัตทิ พี่ งึ ประสงคของระบบสารสนเทศ ภัยคุกคามกับวัตถุประสงคและเปาหมายของภัยคุกคาม นัน้ ๆ ตลอดจนการรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ โดยจะตองสามารถมองภาพความสัมพันธทงั้ หมดไดอยาง เขาใจ เพื่อการวางแผนในการพัฒนาขับเคลื่อนองคกร ตอไปไดอยางเหมาะสม

 ระบบสารสนเทศ (Information System) “ระบบสารสนเทศ” เปนระบบที่ประกอบดวย กลุม ของสวนประกอบเชิงสารสนเทศจํานวน 5 สวน ไดแก คอมพิวเตอรและวัสดุอปุ กรณประกอบตาง ๆ (Hardware) โปรแกรมประยุกต (Software) ขอมูล (Data) บุคลากร หรือผูใชงาน (Peopleware) และขั้นตอนการปฏิบัติที่ เกี่ยวของ (Procedure) ที่มีการทํางานรวมกันเพื่อใหได มาซึ่งสารสนเทศ (Information) ประกอบการตัดสินใจ ในการบริหารจัดการทีส่ ามารถตอบโจทยไดตรงตามความ ตองการ ตองกา าร


๖๐ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

ทัง้ นี้ สวนของ Data Hardware และ Software นัน้ สามารถมองรวมเปนสวนของกลุม “เทคโนโลยี” ซึง่ ประกอบ ไปดวย เทคโนโลยีฐานขอมูล (Database Technology) เทคโนโลยีฮารดแวร (Hardware Technology) และเทคโนโลยี ซอฟตแวร (Software Technology) ได โดยในสวนของ Hardware และ Software นัน้ นอกเหนือจากดานคอมพิวเตอร แลวยังหมายรวมไปถึงดานการสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) ดวย สวนของบุคลากรหรือผูปฏิบัตินั้น ก็ทําความเขาใจงาย ๆ วา หมายถึง “คน” และขั้นตอนการปฏิบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ก็หมายถึง “กระบวนการ” ทําให ในปจจุบันเมื่อมีการกลาวถึงระบบสารสนเทศใด ๆ ก็จะคํานึงถึง 3 สวนหลัก ๆ ไดแก เทคโนโลยี คน และกระบวนการ

 คุณสมบัติที่พึงประสงคของระบบสารสนเทศ จากศาสตรความรูวิชาการดานสารสนเทศ คุณสมบัติที่พึงประสงคของระบบสารสนเทศใด ๆ ประกอบไปดวย 3 คุณสมบัติ ไดแก ความปลอดภัย (Confidentiality) ความถูกตอง (Integrity) และ ความพรอมในการใชงาน (Availability) หรือเปนที่รูจักกันดีในนามของ C.I.A. ซึ่งหมายถึง ระบบสารสนเทศที่ใชงานจะตองสามารถการันตีไดถึงความปลอดภัย ของขอมูลสําคัญในระบบฯ โดยผูที่ไมเกี่ยวของและไมมีสิทธิ์ใด ๆ จะไมสามารถเขาถึงเนื้อขอมูล (Data Content) นั้น ๆ ได (คุณสมบัติ Confidentiality) และสามารถการันตีถึงความถูกตองของขอมูลที่มีการรับสงในระบบฯ ไดวา ขอมูลนั้นจะไมถูกเปลี่ยนแปลงหรือแกไขใด ๆ จากผูที่ไมประสงคดี (คุณสมบัติ Integrity) โดยในบางบริบทของการใช งานอาจจะมีฟงกชันในการแจงเตือนผูรับขอมูลในกรณีที่ตรวจพบวาขอมูลในระบบฯ ถูกเปลี่ยนแปลงหรือแกไขดวย นอกจากนีย้ งั ตองสามารถการันตีไดถงึ ความพรอมใชงานของระบบฯ ทุกครัง้ ทีผ่ ใู ชงานมีความตองการใชอกี ดวย (คุณสมบัติ Availability) ตรงนีเ้ ขาใจไดไมยากหากจะยกตัวอยางระบบ e-mail ที่ใชงานกันอยูทุกวันนี้ เราคงไมอยากใหเนื้อความใน e-mail ของ เราถูกผูอื่นเขามาอานได หรือคงไมตองการใหมีใครมาเปลี่ยน เนื้อหาใน e-mail ของเราที่สงไปยังผูรับโดยไมไดรับอนุญาต และก็คงไมอยากที่จะใหระบบ e-mail เกิดการลมขึ้นมาในเวลา ที่เรามีความตองการใชงานทุกครั้ง ซึ่งนี่ก็คือคุณสมบัติของ C.I.A. ซึง่ ถือเปนคุณสมบัตทิ พี่ งึ ประสงคของทุกระบบสารสนเทศนัน่ เอง


สิงหาคม ๒๕๕๙

ขาวทหารอากาศ ๖๑

จะเห็นไดวาทั้ง 3 คุณสมบัติ เกี่ยวของกับเทคโนโลยี (Database, Com & Telecomm) กลาวคือ คุณสมบัติ ของความปลอดภัย (Confidentiality) และความถูกตอง (Integrity) จะมุงเนนไปที่ฐานขอมูลของผูใชงานและขอมูล ที่รับสงระหวางคูติดตอสื่อสารเปนหลัก สวนคุณสมบัติของความพรอมใชงาน (Availability) นั้นจะมุงเนนไปที่ความ พรอมใชของระบบคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารโทรคมนาคมเปนหลัก

 ภัยคุกคามกับวัตถุประสงคและเปาหมายของภัยคุกคาม ภัยคุกคามระบบสารสนเทศ (ภัยคุกคามดานไซเบอร) นั้นมีดวยกันหลากหลายรูปแบบไมวาจะเปน มัลแวร (Malware) ตาง ๆ เชน ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) หนอน (Worm) มาโทรจัน (Trojan Horse) กับดัก (Trap Door) ระเบิดเวลา (Logic Bomb) การแอบดักจับหรือโจรกรรมขอมูล (Spyware, Sniffer, Keylogger) การฝง Malicious Mobile Code (MMC) หรือ Adware ตลอดจนภัยคุกคามประเภทการโจมตีดวยการสงเมลขยะ (Spam Mail Attack) การสงเมลหลอกลวง (Phishing Mail) การเขารหัสไฟลเพื่อเรียกคาไถ (Ransomware) การโจมตีให ระบบไมสามารถใชการได (DDoS Attack) การโจมตีแบบ Man-in-the-Middle การเปลี่ยนแปลงหนาเว็บไซต การบุกรุก โจมตีเครือ่ งแมขา ย (Intrusion) การเปลีย่ นแปลงขอมูลแบบตาง ๆ ฯลฯ ซึง่ แตละรูปแบบอาจมีวตั ถุประสงคและเปาหมายที่ แตกตางกันออกไป อยางไรก็ตาม ภัยคุกคามตาง ๆ นัน้ ลวนแลวแตมวี ตั ถุประสงคในการทําลายคุณสมบัตอิ นั พึงประสงค ของระบบสารสนเทศ ซึ่งไดแก C.I.A. อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางพรอมกันในเวลาเดียวกันทั้งสิ้น เชน ไวรัสและ หนอนคอมพิวเตอร มักจะสรางความปนปวนในการใชงานคอมพิวเตอร เพราะคอมพิวเตอรจะทํางานผิดไปจากที่ ควรจะเปน หรือการโจมตีแบบ DDoS ที่จะทําใหเครื่องแมขายปฏิเสธการใหบริการ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงวัตถุประสงคใน การพยายามทําลายความพรอมใชงาน (Availability) ของระบบฯ การโจรกรรมหรือแอบดักจับขอมูลการสงเมลหลอกลวง ใหกรอกชื่อและรหัสผานในบัญชีใชงานตาง ๆ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงวัตถุประสงคในการทําลายดานความปลอดภัยของ ขอมูล (Confidentiality) และการเปลี่ยนแปลงแกไขขอมูล การเปลี่ยนหนาเว็บไซตตลอดจนการโจมตีแบบ Man-inthe-Middle อื่น ๆ และแสดงใหเห็นถึงวัตถุประสงคในการทําลายดานความถูกตองของขอมูล (Integrity) เปนตน


๖๒ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

ทัง้ นี้ เปาหมายของภัยคุกคามแบบตาง ๆ สามารถแบงออกเปนการมุง เปาไปทีส่ ว นของเทคโนโลยีของตัวระบบ สารสนเทศ (Database, Com & Telecomm) โดยตรง ดวยการเจาะระบบ (Hacking) การดักจับขอมูล (Sniffer) การโจมตีแบบ DDoS ฯลฯ และสวนของการมุงเปาไปที่คนดวยวิธีทางวิศวกรรมสังคม (Social Engineering) ตาง ๆ ตลอดจนการใชเมลหลอกลวง (Phishing) การแพรกระจายมัลแวร (Malware) นานาชนิดผานการใชงานอินเทอรเน็ต ที่ขาดความระมัดระวังที่เพียงพอของผูใชงานและวิธีอื่น ๆ เพื่อหวังผลทางออมในการทําลายสวนของเทคโนโลยีของ ตัวระบบฯ อีกตอหนึ่ง ซึ่งเปนที่เชื่อกันในวงกวางวารูปแบบการโจมตีแบบทางออมโดยเฉพาะผานทาง “คน” หรือสราง ความผิดพลาดอันเกิดจาก “คน” นั้น เปนการลงทุนโจมตีที่ใชตนทุนและความพยายามที่นอยที่สุดแตสามารถหวังผล ทางออมในการทําลายสวนของเทคโนโลยีของระบบฯ ไดอยางมีประสิทธิผลทีเดียว ในทางปฏิบตั โิ ดยทัว่ ไปนัน้ หลังจาก ที่ผูโจมตี (Hacker) สามารถเปดชองทางเขาสูเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องใดเครื่องหนึ่งในวงเครือขายคอมพิวเตอรไดแลว ก็จะพยายามที่จะขยายผลคืบคลานเขาสูระบบสารสนเทศหลักที่สูงขึ้น (มุงเปา Server ) ในระบบเครือขายตอไป (ขั้นตอน Privilege Escalation)

DDoS etc.

Malware etc.

 การรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ แนวคิดของการรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศนัน้ แททจี่ ริงแลวก็คอื แนวคิดในการทีจ่ ะทําการปองกัน และดํารงไวซึ่งคุณสมบัติของความปลอดภัย (Confidentiality) ความถูกตอง (Integrity) ตลอดจนความพรอมใชงาน (Availability) ของระบบสารสนเทศ (รวมการฟนฟูระบบฯ หรือ System Recovery) ใหสามารถกลับมาใชงานไดเปน ปกติดังเดิมกรณีเกิดความเสียหายขึ้นกับตัวระบบฯ ขององคกรเอาไวนั่นเอง ซึ่งจะเห็นไดวาระบบในการปองกันและ รักษาความปลอดภัยมาตรฐานที่ใชกันโดยทั่วไป เชน ใช Firewall ระบบตรวจจับการบุกรุก (Intrusion Detection System: IDS) ระบบปองกันการบุกรุก (Intrusion Prevention System: IPS) การจัดแบงสวนเปน Demilitarized Zone (DMZ) การสรางเครื่องเปาหมายลวง (Honeypot) การพิสูจนตัวตนผูใชงานกับการบริหารจัดการสิทธิ์ (User Authentication & Right Management) การทดสอบเจาะระบบเพื่อประเมินและบริหารความเสี่ยง (Penetration Testing) ระบบบริหารจัดการแพตช (Patch Management) การเขารหัส (Encryption) ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส (Digital Signature) ซอฟตแวรตรวจจับและปองกันมัลแวรประเภทตาง ๆ ตลอดจนระบบอืน่ ๆ นัน้ ลวนแลวแตเปนการ พยายามปองกันและดํารงไวซึ่งทั้ง 3 คุณสมบัติหลักดังกลาวของระบบสารสนเทศทั้งสิ้น จะเห็นไดวา การลงทุนในการสรางระบบการปองกันและรักษาความปลอดภัยนั้น สวนใหญจะเปนไปในทาง ดานฮารดแวรและซอฟตแวรที่ปกปองระบบสารสนเทศจากการโจมตีอันเกิดจากการเจาะระบบ (Hacking) การโจมตี แบบ DDoS และการแอบดักจับขอมูลสําคัญตาง ๆ โดยแนนอนวาการมีระบบปองกันและรักษาความปลอดภัยทีเ่ ขมแข็ง


ขาวทหารอากาศ ๖๓

สิงหาคม ๒๕๕๙

และทันสมัยดังกลาวเปนการลดความเสีย่ งตอความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ตอระบบสารสนเทศไดเปนอยางดี อยางไรก็ตาม จะเห็นวา “คน” เปนอีกหนึง่ องคประกอบทีส่ าํ คัญในระบบสารสนเทศ และเปนองคประกอบหลักทีส่ าํ คัญ ที่สุดที่เกี่ยวของกับการบริหารและการใชงานระบบสารสนเทศใด ๆ ดังนั้น ความเสี่ยงอันอาจจะเกิดขึ้นไดจากความ ผิดพลาดหรือความบกพรองในการปฏิบตั ขิ องคนบนพืน้ ฐานของการขาดจิตสํานึกแหงการรักษาความปลอดภัย (Security Awareness) ที่เพียงพอ ตั้งแตระดับผูดูแลระบบ (System Administrator) ไปจนถึงผูใชงานระบบทั่วไป (End User) เปนชองโหวที่สําคัญในการที่อาจทําใหระบบสารสนเทศโดยรวมเกิดความเสียหายและขาดไปซึ่งคุณสมบัติ 3 ประการ ที่สําคัญดังกลาวขางตนได

etc. etc.

DDoS etc.

Malware etc.

ดังนั้น การดึงเอาองคประกอบสุดทายที่วาดวย “กระบวนการ (Process)” ซึ่งมักจะถูกมองขามเนื่องจาก ไมเห็นผลเปนรูปธรรมทันทีที่ลงทุน มาใชใหเปนอีกหนึ่งเกราะปองกันและรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศของ องคกร จึงเปน Concept ทีค่ วรพิจารณาใหความสําคัญไมยงิ่ หยอนไปกวากัน ไมวา จะเปนการปรับปรุงขัน้ ตอนของการ ปฏิบัติตาง ๆ ทั้งการตั้งคาและการใชงานระบบสารสนเทศใหเกิดความปลอดภัยสูงสุด การออกกฎหรือระเบียบปฏิบัติ ตลอดจนมาตรฐานตาง ๆ เฉพาะขึ้นภายในองคกร เพื่อบังคับใชใหเกิดการปฏิบัติที่ถูกตองเหมาะสมและเปนมาตรฐาน รวมทั้งการตรวจประเมินดานความปลอดภัย (Security Audit) ตลอดจนการจัดการฝกอบรมใหความรูดานการรักษา ความปลอดภัยระบบสารสนเทศกับบุคลากรทุกระดับอยางเทาทันตอสถานการณภัยคุกคามที่เปนปจจุบัน จึงเปน สิ่งจําเปนและสําคัญในมาตรการการรักษาความปลอดภัย นอกเหนือไปจากวิธีการใชการอัพเดทระบบปฏิบัติการ (OS Updates) การเปดใช Firewall ระดับผูใชงาน การติดตั้งระบบปองกันมัลแวร ฯลฯ ไวที่ End Point ตาง ๆ ซึ่งการ คํานึงถึงทุกองคประกอบของระบบสารสนเทศนี้เองที่จะสราง Security Concept ในองครวมไดอยางเห็นภาพ


(ตอจากฉบับที่แลว) ในคืนวันที่ ๖ เม.ย. เปนการโจมตีอยางจริงจัง โดย การทิ้งระเบิดนาปาลมหนัก ๒๕๐,๐๐๐ แกลลอน ใสที่มนั่ ฝายญี่ปุน ซึ่งกระทําโดยกองพลที่ ๔๓ ในการเขาตีครั้งนี้ กองทัพสหรัฐฯ ไดรับการสนับสนุนชวยเหลือจากกองโจร ชาวฟลิปปนส ๓,๐๐๐ นาย ทําใหแนวรบทางปกซายของ พลโท Yokoyama ตองเผชิญกับการรบหนัก ในที่สุดวันทที่ ๑๗ พ.ค. กองทัพสหรัฐฯ กับกองโจรฟลิปปนส รวมกัน เปดแนวรบโจมตีเขายึด Ipo Dam ไวไดโดยไมไดรับความ เสียหาย ถัดไปทางใตกองพลที่ ๖ และกองพลที่ ๓๘ มา ชวยเหลือโจมตีกองทัพญี่ปุนที่เหนื่อยลาอยูแลว จนกระทั่ง ทหารทีเ่ หลือรอดตายจากหมูก องทัพ Shimbu ไดสลายตัว ไป และเขื่อน Wawa ตกอยูในเงื้อมมือของทหารอเมริกัน โดยไมไดรับความเสียหายในวันที่ ๒๘ พ.ค. และเปนเวลา เดียวกันกับหมูกองทัพ Shimbu ถูกทําลายลงโดยสิ้นเชิง

ตอนนีป้ ญ  หาเล็ก ๆ นอย ๆ เกีย่ วกับหมูก องทัพ Kambu ทางทิศตะวันตกของสนามบิน Clark Field ไดรบั การแกไขเรียบรอยแลว ขั้นสุดทายมุงสูกรุง Manila ใน ปลายเดือน ม.ค. สําหรับกองพลที่ ๔๐ ถูกทิ้งไวเพื่อเปน กลลวงหมูกองทัพ Kambu ที่มีกําลังพล ๒๕,๐๐๐ นาย อยูบ นทีร่ าบสูง ซึง่ กองทัพญีป่ นุ ไดใชทกุ สิง่ ทุกอยางใหเปน ประโยชนสูงสุด เชน ใชภูมิประเทศที่ไดเปรียบ เปนตน ทหารอเมริกัน ๓ กองพล คือ กองพลที่ ๔๐ กองพลที่ ๔๓ และกองพลที่ ๓๘ ตองใชเวลากดดันทหารญี่ปุนเกิน ๒ เดือน จึงสามารถทําให พลตรี Tsukada ตองยอมรับ สภาพ และในวันที่ ๖ เม.ย. เขาไดสั่งกองกําลังที่เหลือให แปรสภาพเปนสงครามกองโจรตอไป และยังมีหมูกองทัพทหารญี่ปุนอีก ๒ หมูทาง ทิศใตของ Manila ที่ไดแปรสภาพเปนสงครามกองโจร


สิงหาคม ๒๕๕๙ ภายในอาทิตยนเี้ ชนเดียวกัน อันไดแก กองกําลัง Fuji ภายใต บังคับบัญชาของ พันเอก Fuji shige เปนกําลังรวมผสม จากทหารบก ทหารเรือ รวมกันประมาณ ๑๓,๐๐๐ นาย ซึง่ เปนกําลังทีเ่ หลือจากหมูก องทัพ Shimbu ในตอนแรก รวมทั้งกําลังผสมทหารบก ทหารเรือ อีก ๓,๐๐๐ นาย ทีอ่ ยูท างแหลม Bicol อยูท างตะวันออกเฉียงใตทา ยเกาะ Luzon และก็อกี เชนเคยเปนการสูร บซาํ แลวซาํ เลาตลอด เดือน ก.พ. และ มี.ค. ดวยกองโจรฟลิปปนสที่รวมทํางาน ชวยเหลือกองทัพหลักของสหรัฐฯ ถึงสิ้นเดือน เม.ย. กองกําลัง Fuji ก็แปรสภาพเชนเดียวกับหมูก องทัพ Kambu เวลาเดียวกับกําลังสะเทินนาํ สะเทินบกสหรัฐฯ ยกพล ขึน้ บกที่ Legaspi บนแหลม Bicol ดวยกรมรบผสมสหรัฐฯ ที่ ๑๕๘ เขาโจมตีทางทิศตะวันตกผสมกับกองพลทหารมา ยานเกราะที่ ๑ ดังนัน้ ทําใหภาคใตของ Luzon ถูกปลดปลอย เปนอิสระ ในขณะที่การสูรบในเขตภาคกลางและภาคใต ของเกาะ Luzon กําลังดําเนินอยูอยางเขมขน อุปสรรค อันใหญหลวงทีเ่ หลือคือ หมูก องทัพ Shobu ของ พลเรือเอก Yamashita ทีม่ กี าํ ลังพลถึง ๑๑๐,๐๐๐ นาย จึงเปนเรือ่ ง สุดวิสัยที่ พลเอก Krueger จะสงกําลังไปโจมตีกองทัพ ของ พลเรือเอก Yamashita ไดมากกวา ๓ กองพล คือ กองพลที่ ๓๒ กองพลที่ ๓๓ และกองพลที่ ๒๕ ผสมดวย กองพลที่ ๓๗ และกองพลที่ ๓๓ พุงเขาโจมตีตรงหนา เมือง Bagio ซึ่งเคยเปนกองบัญชาการกองทัพใหญของ พลเรือเอก Yamashita ในวันที่ ๒๖ เม.ย. แตกต็ อ งใชเวลา ตลอดเดือน พ.ค.และ มิ.ย.ที่กองทัพนอยที่ ๑ ของ พลตรี Swift จะเขาตีผานไปทางชองเขา Barete Pass เขายึด เมือง Bambang และเจาะเขาตีขยายผลกดดันที่หุบเขา Cagayan Valley ตอหนวยพลรมถูกสงลงยึดพื้นที่ภาค เหนือสุดของหุบเขา Cagayan จนกระทั่งถึงปลายเดือน มิ.ย. มุงลงทางใต เขารวมกับกําลังของกองพลที่ ๓๗ ที่ Tuguegarao ในวันที่ ๒๖ มิ.ย. ถึงปลายเดือน มิ.ย. พลเรือเอก Yamashita ยัง มีกาํ ลังพลเหลืออยูใ นมือถึง ๖๕,๐๐๐ นาย พรอมอาวุธ

ขาวทหารอากาศ ๖๕ เต็มอัตราศึก กองกําลังหนวยนีถ้ กู ผลักดันใหถอยไปทางภูเขา ทางทิศใตของ Bontoe ถึงแมวา จะเปนสิง่ ทีเ่ ปนไปไมไดที่ กองกําลังหนวยนีจ้ ะกอความเสียหายใหกบั กองทัพสหรัฐฯ บนเกาะ Luzon ไดอีก แตก็เปนการตอสูเพื่อประวิงเวลา จนกวาสงครามจะสิน้ สุดลงและยังคงเหลือกองกําลังไวอกี ๔ กองพล เพื่อรองรับผลที่จะตามมา ในบรรดากองกําลัง ทหารญีป่ นุ ทัง้ หมดไดสาบานตนไววา จะทําการรบและรักษา หมูเ กาะฟลปิ ปนสไวจนสุดชีวติ เพือ่ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ กองกําลังทหารของ พลเรือเอก Yamashita ก็เปนทหาร อีกหนวยหนึ่งที่กระทําหนาที่ไดใกลเคียงหรือเกือบเทา จุดประสงคที่วางไว จนกระทั่งถึงปลายเดือน มิ.ย.๘๘ การยุทธบน เกาะ Luzon จึงสิ้นสุดลง มันเปนการดิ้นรนตอสูอยาง สุดฤทธิ์แบบสงครามในทวีปยุโรป ที่เกิดขึ้นในสงคราม คาบสมุทรแปซิฟกทั้งหมดที่ทําการสูรบกันบนเกาะที่มี ขนาดใหญเทากับเกาะอังกฤษดวยสงครามหลายรูปแบบ ทั้งสงครามรถถัง สงครามสะเทินนําสะเทินบก สงคราม ปลอยพลรม และสงครามกองโจร พรอมทั้งการสูรบนอง เลือดในเมืองบนถนนหนทางอีกดวย ในการนี้ฝายญี่ปุน ตองสูญเสียกําลังพลอยางมหาศาล รวมทั้งหมดประมาณ ๑๙๐,๐๐๐ นาย ฝายสหรัฐฯ เสียหายตาย ๘,๐๐๐ นาย บาดเจ็บ ๓๐,๐๐๐ นาย การรบใหญยงั รออยูข า งหนากอน ที่สงครามในแปซิฟกจะไดปดฉากลง แตก็คงจะไมเปน ปญหาใหญเหมือนกับสงครามเกาะ Luzon เปนแน พลเอก Mac Arthur ไมเคยรับคําสัง่ ใหปลดปลอย หมูเกาะฟลิปปนสทั้งหมดโดยตรง ความจริงทางกองทัพ อังกฤษไดรับคําสั่งจาก พลเอก Marsal วา ถาปญหา สําคัญ ๆ ในหมูเ กาะฟลปิ ปนสไดจดั การแกไขเปนผลสําเร็จ สวนเกาะเล็กเกาะนอยอืน่ ๆ ใหชาวฟลปิ ปนสจดั การแกไข ดวยตนเอง โดยไมมสี ว นชวยเหลือจากกองกําลังสวนสําคัญ ของสหรัฐอเมริกาอีกเลย สําหรับแมทัพใหญอยาง พลเรือเอก Mac Arthur ตราบใดที่ไมมีอุปสรรคสําคัญ ๆ เขามา ขัดขวาง และยังมีกําลังทหารจํานวนมหาศาลทั้งกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ สนับสนุนอยูในกํามือ


๖๖ ขาวทหารอากาศ ทานไดรับอภิสิทธิ์ใหตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติใหไดรับผล ดีที่สุดตามความเห็นสวนตัวของทาน การกวาดลางทางตอนกลางและตอนใตของ ฟลิปปนสเปนภาระหนาที่ของกําลังกองทัพที่ ๘ ภายใต บังคับบัญชาของ พลโท Robert L.Eichelberger ซึ่ง ภาระแรกที่จะตองปฏิบัติ คือ การเขาตัดเสนทางเดินเรือ ลัดผานไปทางชองแคบ Visayan Passages ทั้งนี้โดยการ ยกพลขึ้นบกทางฝงตะวันตกเฉียงเหนือของ Samar ในวัน ที่ ๑๙ ก.พ. เพื่อกวาดลางชองแคบ San Bernardino ซึ่ง ตองใชเวลาจนถึงเดือน มี.ค. ดวยการเขายึดครองเกาะเล็ก เกาะนอย เชน เกาะ Barias เกาะ Siniara เกาะ Romblom และเกาะ Tablas เกาะสุดทายในหมูนี้ คือ เกาะ Masbate และในวันที่ ๑๕ เม.ย. พลโท Eichelberger ไดรายงานให พลเอก Mac Arthur ทราบวาชองแคบ Visayan Passages ไดถกู กวาดลางเรียบรอยแลว ในขณะเดียวกันการปลดปลอย หมูเกาะสําคัญ ๆ ในภาคกลาง และภาคใตของฟลิปปนส ไดเริ่มตนปฏิบัติแลว ศัตรูคนสําคัญของ พลโท Eichelberger ในพื้นที่นี้ คือ แมทัพที่ ๓๕ ของญี่ปุน พลโท Sosaku Suzuki ที่มี กําลังพลอยูในมือถึง ๑๐๐,๐๐๐ นาย กระจายกําลังกันอยู ตามเกาะตาง ๆ ที่ไมสามารถจะรวมกําลังและชวยเหลือ ได แตก็พรอมทําการรบเคียงบาเคียงไหล เชนเดียวกับ หมูกองทัพบนเกาะ Luzon และก็ปฏิบัติไดจริง ๆ ภายใน กลางเดือน เม.ย. กําลังของ พลโท Eichelberger สามารถ ทําการยกพลขึ้นบกขนาดใหญติดตอกันไดถึง ๓๘ ครั้ง สู ภาคกลางและภาคใตของฟลิปปนส แตก็ยังเทียบไมไดกับ การยกพลขึ้นบกที่ Leyte หรือ Luzon ซึ่งถูกตานทาน อยางเหนียวแนนและเหี้ยมโหดไมแพกัน เกาะ Palawan ซึง่ อยูท างทิศตะวันตกของหมูเ กาะ ฟลิปปนสเปนเปาหมายสําคัญแหงแรก เกาะนี้มีความยาว ๑๗๐ ไมล กรมผสมปฏิบัติการพิเศษที่ ๑๘๖ ของสหรัฐฯ จากกองพลที่ ๔๑ ไดยกพลขึน้ บกทีอ่ า วนี้ เมือ่ วันที่ ๒๘ ก.พ. แตกต็ อ งใชเวลากวา ๑ อาทิตย ฝาดานตานทานของทหารบก และทหารเรือญี่ปุนรวมกัน ๑,๗๕๐ นาย ไดเปนผลสําเร็จ

สิงหาคม ๒๕๕๙ ในวันที่ ๒๐ มี.ค. ลานบินแหงหนึ่งที่ Puerto Princesa ไดถูกสรางขึ้นใชงานไดสําเร็จกอนหนานี้ ๑๐ วัน กําลัง ที่เหลือของกองพลที่ ๔๑ ไดตีตัดลงไปถึงทายสุดทาง ตะวันตกของเกาะ และไดยึดเกาะ Mindanao เปน เกาะสําคัญอันดับที่ ๒ ซึง่ อยูใ ตสดุ ของหมูเ กาะฟลปิ ปนส เปาหมายที่จะบุกใหญตอไป คือ แหลม Zamboanga มีลักษณะเปนแหลมยาวแคบ แตก็ตองใช เวลาอีกกวา ๒ สัปดาหจึงยึดได ในขณะที่กองพลที่ ๔๑ ไดแยกกําลังเขายึดกวาดลางหมูเกาะ Sulu ซึ่งมีหมูเกาะ เล็ก ๆ เปนแนวยาวระหวางเกาะ Mindanao และเกาะ Borneo ก็กระทําไดโดยงายดาย เกาะ Basilan เปนเกาะ ซึง่ อยูใ กลทสี่ ดุ ในหมูเ กาะ Sulu อยูศ นู ยกลางของแนวเกาะ เกาะนีม้ ที หารญีป่ นุ ยึดอยูจ าํ นวนถึง ๔,๐๐๐ นาย ไดตอ สู ตานทานอยางหนักนานถึง ๓ สัปดาห ทหารอเมริกันได ยกพลขึ้นบกตั้งแตวันที่ ๙ เม.ย. การกอความวุนวาย ภายในยังคงมีอยูตอไปบนเกาะ Sulu นี้จนถึงเดือน มิ.ย. ตอไปก็เปนเรือ่ งของเกาะทางภาคใตของ Visayas ประกอบดวย เกาะขนาดกลาง ๔ เกาะ อยูในระดับ เสน Latitude เดียวกันจากตะวันออกถึงตะวันตก คือ เกาะ Bohol เกาะ Cebu เกาะ Negros และเกาะ Panay พลโท Eichelberger ไดแบงหมูเกาะเหลานี้ ออกเปน ๒ สวน สบทบดวยเทือกเขาใน Negros ซึง่ แบง ออกเปน Negros Occidental (ตะวันตก) และ Negros Oriental (ตะวันออก) สวนเกาะ Panay และเกาะ Negros ตะวันตก มอบใหเปนหนาทีร่ บั ผิดชอบของกองพลที่ ๔๐ และเกาะ Negros ตะวันออก คือ เกาะ Cebu และเกาะ Bohol เปนของกองพล Americal ซึ่งกอตั้งขึ้นที่ New Calidonia โดยกําลังพลระดับกรมยอย ๆ ในยุทธภูมิ แปซิฟก ประกอบดวย ทหารผานศึกจาก Guadalcanal, Bougainville และ Leyte กองพลที่ ๔๐ ยกพลขึ้นบกที่ Panay ในวันที่ ๑๘ มี.ค. และเริ่มปฏิบัติการทันทีโดยไมยอมใหเสียเวลา แมแตนอย และไดรับความรวมมือชวยเหลือจากกําลัง กองโจรฟลิปปนสเปนอยางมาก บุกเขายึดทาเรือใหญสุด


สิงหาคม ๒๕๕๙ บนเกาะ Panay คือ Iloilo ในวันที่ ๒๐ มี.ค.บุกขาม ชองแคบเขาสูเกาะ Guimaras และขึ้นบกที่ฝงตะวันตก ของเกาะ Negros ในวันที่ ๒๙ มี.ค. เปนการจูโจมครั้งใหญ ของฝายสัมพันธมิตร แตกย็ งั มีกองทัพญีป่ นุ ขนาบคอยอยู แลวที่ Visayas ดวยกําลังทหารบกผสมกับทหารอากาศ จํานวน ๑๓,๕๐๐ นาย คอยตอนรับอยู นําโดย พลโท Takeshi Kono ทําใหการรบยืดเยื้อไปถึงเดือน มี.ค. และ เม.ย. กอนที่ พลโท Kono จะตัดสินใจนําทัพถอยรน เขาสูเขตภูเขาอยางไมมีทางหลีกเลี่ยง ปรากฏวาเหลือ กําลังพลอยูอีกถึง ๖,๐๐๐ นาย ที่ยังมีชีวิตอยู ณ ที่นี้ เมื่อ สงครามสิน้ สุดลง การรณรงคครัง้ ใหญสดุ ตกอยูก บั กองพล Americal ซึ่งขึ้นบกใกล ๆ กับเกาะ Cebu เมื่อวันที่

ขาวทหารอากาศ ๖๗ ๒๖ มี.ค. เปนการตานทานที่ควรจดจําครั้งหนึ่ง รวมทั้ง การวางทุนระเบิดตามชายหาด ซึ่งเปนอุปสรรคที่กองทัพ ที่ ๘ ไมเคยนึกวาจะไดประสบพบเห็นมากอน การสูร บอยาง หนักดําเนินไปถึง ๒ สัปดาห การสูรบครั้งนี้เปนการกําจัด การตานทานและการรวมพลของฝายญี่ปุน แตฝายญี่ปุน ก็ยังสามารถตรึงกําลังยึดที่มั่นอยูไดถึงเดือน มิ.ย. อีกครั้ง ขณะเดียวกันทหารอเมริกันกองพล Americal ก็สามารถ ทําใหการตานทานที่เกาะ Bohol ออนกําลังลงไดภายใน ๒ สัปดาห หลังจากที่ขึ้นบกเมื่อวันที่ ๑๑ เม.ย. และขาม ฝง ไปทางเกาะ Negros ตะวันออก เพือ่ สบทบกับกําลังพล ที่ ๔๐ ในการไลลา ทหารญีป่ นุ จํานวน ๑,๓๐๐ นาย สุดทาย ที่เหลืออยู และกําลังลาถอยอยางไมเปนขบวน


๖๘ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

ภายหลังจากการกวาดลางหมูเกาะ Sulu และ เกาะ Visayas ก็คงเหลือแตเกาะ Mindanao ซึ่งเปนเกาะ ใหญอันดับ ๒ ของหมูเกาะฟลิปปนส ซึ่ง ณ ที่นี้ พลเอก Mac Arthur เคยมีแผนที่จะยกพลขึ้นบกเพื่อปลดปลอย Philippines ในครั้งแรก แตก็พบอุปสรรคในขณะที่ พลโท Zusiki ไดใชกําลังครึ่งหนึ่งของกองทัพที่ ๓๕ ของญี่ปุนบน เกาะ Mindanao เพื่อความหวังอันแรงกลาที่จะใชเปน ที่มั่นสุดทายในการปองกันหมูเกาะฟลิปปนส แตก็เปนที่ นาผิดหวังเมื่อเขาไมสามารถนําทัพเขารบไดดวยตนเองบน เกาะนี้ ก็ตองมาจบชีวิตลงดวยการโจมตีของหมูเครื่องบิน สหรัฐฯ ในเดือน เม.ย. ผูที่มารับหนาที่ตอจากเขาคือ พลโท Gyosaku Morozumi ที่เขามานํากองทัพที่มีกําลังพลถึง ๔๓,๐๐๐ นาย ในที่มั่นแหงนี้ เมื่อคํานึงถึงการคุมกําลังอันมหึมาบนเกาะ Mindanao ที่แทฝายญี่ปุนสามารถยึดครองพื้นที่เพียง ๕% ของเกาะนี้เทานั้น พื้นที่สวนที่เหลือถูกยึดครองอยาง มั่นคงดวยกําลังกองโจรพื้นเมืองชาวฟลิปปนส ที่ไดรับการ สนับสนุนทางอาวุธยุทโธปกรณอยางสมบูรณแบบ มีการจัด กําลังพรอมมีผนู าํ ชาวพืน้ เมืองทีม่ คี วามสามารถ คือ พันเอก Wendell W. Fertig ฝายญีป่ นุ ไดยดึ ครองยานทีม่ ชี มุ ชนหนา แนน และ พลเอก Mac Arthur ตองการจะขับไลพวกเขา ออกไปใหหมด  ขอสรุป การรบบนเกาะ Mindanao เริ่มขึ้นในวันที่ ๑๗ เม.ย.๘๘ เมื่อกองทัพนอยที่ ๕ ของ นายพล Sibert ยกพล

ขึน้ บกทีอ่ า ว illana เคลือ่ นทีอ่ ยางรวดเร็วเขายึดพืน้ ทีบ่ น เกาะเพียงเวลา ๑๕ วัน ทัพนอยของ นายพล Sibert ก็ สามารถขยายพื้นที่ยึดครองไดถึง ๑๑๕ ไมล และบุกเขา สูเมือง Davao เพื่อกําจัดขุมกําลังฝายญี่ปุนที่ยึดเมือง สําคัญ ๆ บนเกาะฟลิปปนส ยึดไดเมือง Davao ในวันที่ ๓ พ.ค. แตตองใชเวลากวา ๑ เดือนในการรบอยางดุเดือด บนทีร่ าบสูงและเนินเขาทีอ่ ยูภ ายในเกาะ หลังจากทีย่ กพล ขึ้นบกทางฝงเหนือของเกาะ Mindanao ที่อาว Macala jar และอาว Batuan สงกําลังทางพื้นดินทหารอเมริกัน เขาแบงแยกกําลังทหารญี่ปุนที่รวมกําลังกันอยูอยางมี ระเบียบ ลาถอยไปสูภูมิประเทศที่เปนปาทึบ จนกระทั่ง ถึงสัปดาหสุดทายของเดือน มิ.ย. กําลังทหารญี่ปุนที่เหลืออีก ๒,๐๐๐ นาย อยู ทางทิศใตสุดของเกาะ ซึ่งถูกตัดขาดจากกําลังภายนอก ตัง้ แตกาํ ลังกองทัพนอยของ นายพล Sibert พุง เขาโจมตี เมือง Davao ในเดือน เม.ย. - พ.ค. กําลังทหารญี่ปุนที่ หลบหนีเหลานี้เปนเปาหมายการทําลายของกําลังทาง เรือสวนสุดทายที่ยกพลขึ้นบก เพื่อปราบปรามขาศึกใน หมูเกาะฟลิปปนส ซึ่งตั้งตนดวยการบุกเกาะ Leyte เมื่อ ต.ค. ในวันที่ ๑๒ มิ.ย. กองพันทหารราบของกองพลที่ ๒๔ ไดขึ้นบก เพื่อปฏิบัติการรบรวมกับกองโจรชาวพื้นเมือง ฟลิปปนส เพื่อโอบลอมทหารญี่ปุนสวนนี้ไวโดยยกพลขึ้นบก ที่อาว Sarangani ที่อยูทางใตสุด เสนทางเดินเรือสูฝง เกาะ Mindanao ซึ่งครั้งหนึ่ง พลเอก Mac Arthur เคย วางแผนทีจ่ ะสงกําลังเขาบุกยึดคืนหมูเ กาะฟลปิ ปนส ณ จุดนี้ แตบดั นีก้ ลายเปนจุดสิน้ สุดของการสูร บบนเกาะแหงนีไ้ ป

 แหลงขอมูลและภาพ - ประวัติการรบของกองทัพไทย ในมหาสงครามโลกครั้งที่ ๒ และสงครามมหาเอเชียบูรพา กองประวัติศาสตร กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด - หนังสือ Illustrated World War II Encyclopedia.


เวลา...การตูน มิสกรีน ANDY CAPP

ภาพ ๑ - คุณไมมีวันเดาออกหรอกวา แมฉันเพิ่งทําอะไรไป ทานเขาไปชมรมโบวลิ่งของชุมชนนะ ภาพ ๒ - ออเหรอ...ดีแลว มันเปนอะไรที่นาประทับใจสําหรับคนในวัยของทาน ภาพ ๓ - คุณก็รูวา ทานยังคงมองหาที่ใหม ๆ ที่จะเขาไปทําความรําคาญใหผูคนอยูนะ to guess to join impressive (adj.)

to look for to annoy

- เดาโดยยังไมแนใจ (to make judgment with being sure) - เขารวมกิจกรรมกับผูอื่น (to take part in something with other people) - นาประทับใจ อาจเปนคนหรือสิ่งของ Ex. This is an impressive show. (มันเปนการแสดงที่นาประทับใจ) และ She was very impressive in the interview. (เธอทําไดประทับใจมากในการ สัมภาษณ) - เปนสํานวน (idm) แปลวา มองหา คนหา (to search for) - ทําใหรําคาญ Ex. The traffic noise always annoys everyone in the neighborhood. (เสียงจากการจราจรมักทําความรําคาญแกทุกคนในบริเวณใกลเคียง) แตถาจะพูดวารูสึกรําคาญ ตองใช annoyed (adj.) Ex. We are annoyed by the loud music. (เรารูสึกรําคาญจากดนตรีเสียงดังนั่น)


๗๐ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

BLONDIE

ภาพ ๑ - ลูกชายผมขูวาจะยายออกจากบานถาผมไมเพิ่มเงินเบี้ยเลี้ยงให ภาพ ๒ - แยนะ ผมคิดวาผมตามใจเขามากไปโดยไมรูตัว ภาพ ๓ - ตั้งแตเขาอายุ ๓๕ ปนี่ เขาทําอยูอยางเดียวคือบนวาและขมขูจะยายออกทาเดียวครับ ! to threaten to move out to increase allowance (n.)

boy to spoil someone ever since (conj.)

- ขมขูใหกลัวหรือที่จะทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (to say that you will cause trouble or hurt someone) - เปนสํานวน (idm) แปลวา ยายออกจากบาน (to leave your old home) - เพิ่มจํานวนขึ้น (to make sth greater in amount) - ออกเสียงวา "เอะลาวเอิ่นซ" แปลวา เบี้ยเลี้ยงที่ใหเปนประจําหรือเฉพาะจุดมุงหมาย เชน เบี้ยเลี้ยงที่ใหลุกเปนรายเดือน หรือขาราชการไปอบรมตางประเทศ กรณีเฉพาะ จุดมุงหมาย ไดแก clothins allowance (คาเสื้อผา) และ travel allowance (คาเดินทาง) เปนตน - เปนคําอุทาน ในที่นี้ใชแสดงความเสียใจ - ทําใหคนนิสัยเสีย เพราะตามใจ (to give a child everything he wants) - ตั้งแต ใชเชนเดียวกับ since Ex. She is always upset since she returned from England. (เธอมักจะหัวเสียตั้งแตกลับมาจากอังกฤษ)




ครูภาษาพาที

Christian Soldier เมือ่ กลาวถึงประเทศมหาอํานาจ (super power) อันดับหนึง่ ของโลก คนสวนใหญจะนึกถึงประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States of America) เปนอันดับแรก หากไลเรียงทางประวัติศาสตร ประเทศสหรัฐอเมริกาถือวาเปน ประเทศที่ใหมมาก เพราะเปนประเทศที่เพิ่งเกิดขึ้นประมาณสองรอยกวาปหลังจากไดรับเอกราช (Independence) ตั้งแตโธมัส เจฟเฟอรสัน (Thomas Jefferson) รางคําประกาศอิสรภาพ (Declaration of Independence) และ ประกาศปลดปลอยประเทศจากการเปนอาณานิคมของประเทศอังกฤษในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2319 จึงถือวาวันที่ 4 กรกฎาคม ของทุกปเปนวันชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา (Independence Day) นับตั้งแตนั้นเปนตนมา ประเทศสหรัฐอเมริกานัน้ มีมลรัฐ (state) อยูท งั้ สิน้ 50 มลรัฐ ซึง่ เทากับจํานวนดาวทีป่ รากฏบนธงชาติ 50 ดวง โดยรวมอีกหนึง่ เขตการปกครองพิเศษคือ วอชิงตัน ดีซี (Washington D.C.) D.C. ยอมาจาก The District of Columbia เรียกสั้น ๆ วา The District หรือ D.C. ซึ่งวอชิงตัน ดีซี เปนเมืองหลวง (capital city) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ไมใช นิวยอรก (New York) อยางที่หลายทานเขาใจ อนุสรณสถานประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอรสัน (Thomas Jefferson Memorial) อนุสรณสถานประธานาธิบดีอับราฮัมลินคอลน (Abraham Lincoln Memorial) ศาลสูง (Supreme Court) อาคารเพนตากอน (The Pentagon) ซึ่งเปนที่ทําการของกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกา รวมทั้ง ทําเนียบขาว (White House) ก็อยูที่กรุงวอชิงตัน ดีซี เชนกัน

Thomas Jefferson

George Washington


๗๒ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

ในประวัตศิ าสตรของประเทศสหรัฐอเมริกา จอรจ วอชิงตัน (George Washington) เปนประธานาธิบดีคนแรก ของประเทศ สวนประธานาธิบดีที่ดํารงตําแหนงยาวนานที่สุดไดแก แฟรงคลิน ดี. รูสเวลท (Franklin D. Roosevelt) ซึ่งเปนประธานาธิบดีคนที่ 32 ของประเทศสหรัฐอเมริกา และดํารงตําแหนงทั้งสิ้น 3 สมัย เปนเวลาทั้งสิ้น 12 ป และ ในสมัยโธมัส เจฟเฟอรสัน (Thomas Jefferson) เปนประธานาธิบดี เปนชวงที่รัฐบาลแหงชาติมีความแข็งแกรงมาก เนื่องดวยการซื้อดินแดนลุยเซียนา (Louisiana) จากฝรั่งเศส ทําใหประเทศสหรัฐอเมริกามีพื้นที่เพิ่มขึ้นเปนสองเทา ประเทศสหรัฐอเมริกาปกครองโดยใชระบบสหพันธรัฐ (federal state) โดยมีรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลแหง สหพันธรัฐ (federal government หรือ national government) ทําหนาที่ติดตอสรางสัมพันธกับประเทศอื่น ทําสนธิสัญญา (treaties) ระหวางประเทศ ดูแลเรื่องความมั่นคง (national security) เรื่องระบบเงินตรา (finance) นอกจากนี้ ยังมีรัฐบาลแหงมลรัฐที่เรียกวา state government ซึ่งทั้งรัฐบาลกลางและรัฐบาลมลรัฐนั้นจะเปนอิสระ จากกัน แตละมลรัฐก็มีกฎหมาย มีรัฐธรรมนูญเปนของตัวเอง ซึ่งหมายความวารัฐธรรมนูญในประเทศสหรัฐอเมริกา มีทั้งสิ้น 51 ฉบับ คือ มลรัฐ 50 ฉบับ และรัฐธรรมนูญกลางอีก 1 ฉบับ ประเด็นสําคัญ (main point) คือ รัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายของมลรัฐจะไปขัดตอหรือแยงกับรัฐธรรมนูญแหงสหพันธรัฐไมได เชนวา รัฐธรรมนูญของมลรัฐจอรเจีย (Georgia) มลรัฐแคลิฟอรเนีย (California) มลรัฐเทกซัส (Texas) มลรัฐนิวเจอรซีย (New Jersey) หรือของมลรัฐ แอริโซนา (Arizona) จะไปขัดตอหรือแยงกับรัฐธรรมนูญแหงสหพันธรัฐไมได สําหรับประเทศทีใ่ ชระบบสหพันธรัฐ ไดแก สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก บราซิล เยอรมนี สวิตเซอรแลนด หรือมาเลเซียประเทศเพื่อนบานเรา

เรือ่ งทีโ่ ดดเดนในระบบการปกครองของประเทศสหรัฐอเมริกาอีกเรือ่ งก็คอื ระบบการแบงแยกอํานาจ (separation of powers) ซึ่งแบงอํานาจออกเปน 3 ฝาย ไดแก อํานาจนิติบัญญัติ (legislative power) อํานาจบริหาร (executive


ขาวทหารอากาศ ๗๓

สิงหาคม ๒๕๕๙

power) และอํานาจตุลาการ (judicial power) โดยอํานาจทั้ง 3 ฝายจะแบงแยกออกจากกัน แนวคิดนี้ไดมาจาก นักปรัชญา (philosopher) ทีช่ อื่ มงแตสกีเยอ (Montesquieu) เพราะนักปรัชญาทานนีไ้ ดแนวคิดจากอาณาจักรโรมัน และรัฐธรรมนูญประเทศอังกฤษ ซึ่ง มงแตสกีเยอเห็นดวยกับรัฐธรรมนูญประเทศอังกฤษที่ไดแบงอํานาจการปกครอง เปน 3 ฝาย คือ อํานาจของฝายกษัตริย อํานาจของฝายรัฐสภา และอํานาจของฝายตุลาการ เพื่อไมใหอํานาจรวมอยูที่ ผูทําหนาที่ปกครองประเทศมากเกินไป สําหรับอํานาจทั้ง 3 ฝายของประเทศสหรัฐอเมริกาที่กลาวไปแลว ยังมีการ ตรวจสอบและถวงดุลกันดวยระบบ checks and balances ตัวอยางเชน อํานาจนิติบัญญัติตรวจสอบอํานาจบริหารได โดย สามารถพิจารณาถอดถอนประธานาธิบดีหรือเจาหนาที่รัฐได หากปรากฏวามีการทรยศตอชาติ (treason) รับสินบน (bribery) หรือกระทําความผิดอาญาอยางรายแรง (misdemeanors) โดยการพิจารณาถอดถอนประธานาธิบดีแบบนี้เรียกวา impeachment ในประวัตศิ าสตรสหรัฐอเมริกา เคยมีประธานาธิบดีถกู พิจารณาถอดถอนจากตําแหนงแลว 3 ทาน ไดแก แอนดรูว จอหนสัน (Andrew Johnson) ริชารด เอ็ม. นิกสัน (Richard M. Nixon) และ บิล คลินตัน (Bill Clinton)

รัฐสภาแหงสหรัฐอเมริกา (US Congress)

รัฐสภาของชาวอเมริกัน หรือเรียกกันวา คองเกรส (Congress) มีสมาชิก 535 คน และเปนระบบ 2 สภา - สภาแรก ไดแก สภาลางหรือสภาผูแทนราษฎร ที่เรียกวา House of Representatives สภานี้มีสมาชิก 435 คน ที่มาจากการเลือกตั้งจากประชาชนแบบแบงเขต เปรียบกับบานเราก็แบบสภาผูแทนราษฎร โดยสมาชิก สภาผูแทนราษฎรจะมีวาระดํารงตําแหนง (term) แค 2 ปเทานั้น - สวนอีกสภา คือ สภาสูงหรือวุฒิสภา ที่เรียกวา The Senate ซึ่งมีสมาชิกอยู 100 คน มาจากการเลือกตั้ง จากประชาชนเชนกัน ซึ่งแตละมลรัฐจะมีวุฒิสมาชิก 2 คน รวม 50 มลรัฐก็จะเปน 100 คนพอดี สําหรับวาระการดํารง ตําแหนงของวุฒิสมาชิกอเมริกันนั้น 6 ป ประเทศสหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่มีพรรคการเมืองหลัก ๆ 2 พรรค (two party system) ที่ผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนกันเปนรัฐบาล พรรคแรกคือ พรรคเดโมแครต มีตราสัญลักษณเปนลา มีนโยบายสนับสนุนความเทาเทียมกัน ทางสังคมและเศรษฐกิจ (social and economic equality) ตอคนทุกชนชั้น และการจัดสวัสดิการ (welfare) ตาง ๆ


๗๔ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

สําหรับประธานาธิบดีที่มีชื่อเสียงเปนที่คุนเคยที่สังกัดอยูพรรคเดโมแครตไดแก วูดโรว วิลสัน (Woodrow Wilson) แฟรงคลิน ดี. รูสเวลท (Franklin D. Roosevelt) แฮรรี เอส.ทรูแมน (Harry S. Truman) จอหน เอฟ. เคนเนดี (John F. Kennedy) จิมมี คารเตอร (Jimmy Carter) บิล คลินตัน (Bill Clinton) และ บารัค โอบามา (Barack Obama) สวนพรรคใหญอกี พรรคไดแก พรรครีพบั ลิกนั มีตรา สัญลักษณเปนชาง สําหรับพรรคนีจ้ ะมีแนวคิดอนุรกั ษนยิ ม (conservative) เมือ่ เทียบกับพรรคเดโมแครตทีม่ แี นวคิดไป ทางเสรี (liberal) สําหรับประธานาธิบดีทมี่ ชี อื่ เสียงทีส่ งั กัด พรรคนี้เชน อับราฮัม ลินคอลน (Abraham Lincoln) ธีโอดอร รูสเวลท (Theodore Roosevelt) ดไวต ดี. ไอเซนฮาวร (Dwight D. Eisenhower) ริชารด เอ็ม. นิกสัน (Richard M. Nixon) โรนัลด เรแกน (Ronald Reagan) และ จอรจ ดับเบิลยู. บุช (George W. Bush) สัญลักษณพรรคเดโมแครต (Democrat Symbol)

สําหรับตําแหนงประธานาธิบดีของประเทศ สหรัฐอเมริกานั้น จะมีวาระการดํารงตําแหนง 4 ป โดยจะ ดํารงตําแหนงไดไมเกิน 2 วาระติดตอกัน ซึง่ ประธานาธิบดี คนปจจุบันคือ นายบารัค โอบามา (Barack Obama) ปจจุบันดํารงตําแหนงเปนสมัยที่สองแลว โอบามาสังกัด อยูพรรคเดโมแครต โดยครั้งแรกชนะคูแขงคือ นายจอหน แมคเคน (John McCain) จากพรรครีพับลิกัน สวนครั้งที่สอง สัญลักษณพรรครีพับลิกัน (Republican Symbol) ชนะคูแขงคือ นายมิตต รอมนีย (Mitt Romney) จาก พรรครีพับลิกันเชนกัน และในอีกไมกี่เดือนตอจากนี้ จะมี การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาครั้งที่ 58 ซึ่งตองมาติดตามดูวาใครที่จะขึ้นมาเปนประธานาธิบดีคนใหมของ ประเทศสหรัฐอเมริกาแทนประธานาธิบดีบารัค โอบามา  (ฉบับหนาติดตาม การเลือกตั้งประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา)

แหลงขอมูลและภาพ - https://en.wikipedia.org/wiki/United_States_presidential_election - www.haikudeck.com - www.en.wikipedia.org


มุ มสุขภาพ

¢Í§¢ÇÑÞ...ÇѹáÁ‹ น.ต.นพ.สุรินท์นาท เจริญจิตต์ พญ.ศศิผกา สินธุเสน รพ.กองบิน บน.23 ทุกวันนี้มะเร็งเปนผูรายที่คราชีวิตหญิงไทยมากขึ้นทุกวัน โดยมะเร็งเตานมครองแชมปขึ้นแทนสาเหตุอันดับ 1 สําหรับอัตราการเสียชีวิตในหญิงไทยที่ปวยดวยโรคมะเร็ง ตามมาดวยมะเร็งปากมดลูก ในชวงวันแม 12 สิงหาคม ที่กําลังจะมาถึงนี้ นอกจากของขวัญชิ้นใหญที่จะมอบใหคุณแมแลว เรื่องของสุขภาพก็เปนเรื่องสําคัญที่ไมควรละเลย ลูก ๆ ควรพาคุณแมไปตรวจคัดกรอง “มะเร็ง” เพื่อเปนของขวัญชิ้นพิเศษอีกชิ้นหนึ่งที่ลูก สามารถทําได เพราะถาหากพบตั้งแตเนิ่น ๆ โรคนี้ก็จะสามารถรักษาใหหายได

มะเร็งเตานม ปจจัยเสี่ยงมักพบในผูหญิงที่มีอายุมากกวา 50 ป มีประวัติการเปนมะเร็งรังไขหรือมะเร็งเตานมอีกขางมากอน มีคนในครอบครัวเปนมะเร็งเตานมหรือมะเร็งรังไข มีประวัติ ใชฮอรโมนเอสโตรเจนเปนเวลานาน และมีลักษณะของการ ใชชีวิตประจําวันที่ไมถูกตอง เชน อวน ขาดการออกกําลังกาย ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล การไดรับรังสีในปริมาณสูง

บางครั้งผูหญิงที่เปนมะเร็งเตานมอาจไมมีอาการของ มะเร็งเตานม หรืออาการผิดปกติที่พบอาจไมใชโรคมะเร็งก็ได ดังนั้นจึงควรรีบไปพบแพทยเมื่อมีอาการผิดปกติดังตอไปนี้ เชน มีกอนหนา ๆ ในเตานมหรือใตแขน หัวนมบุมเขา มีนํ้าเหลืองไหล มีแผล เตานมมีผื่นแดงรอน ผิวหนังมี ลักษณะคลายผิวสม มีอาการปวดบริเวณเตานม ฯลฯ


การตรวจคัดกรองเบื้องตนเปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยประเมินและตรวจพบมะเร็งเตานมในระยะตนได ซึ่งจะสง ผลใหการรักษามีโอกาสประสบความสําเร็จสูง โดยการตรวจประเมินมะเร็งเตานมเบื้องตนสามารถทําได ดังนี้คือ หมั่น สังเกตและตรวจเตานมตนเองดวยการคลํา ซึ่งเปนการเฝาระวังที่ดี อยางไรก็ตามอาจไดดผลเพยง ผลเพียง 50% เทานน เทานั้น

สํารวจลักษณะภายนอก 1. เตานมทั้งสองขางเทากันหรือไม 2. ผิวหนังมีรอยยน บวม เปนแผล หรือมีลักษณะคลายผิวสมหรือไม 3. หัวนมมีลักษณะบุมเขาดานใน มีของเหลวไหลออกมาหรือไม

ยืนคลํา (สามารถตรวจขณะอาบนํ้า สองมือถูดวยสบู เพื่องายตอการคลําหา) 1. ใชหัวแมมือกับนิ้วชี้บีบหัวนมเบา ๆ 2. กดหัวนมดูวามีกอนแข็งหรือไม 3. บีบหัวนมดูวามีของเหลวไหลออกมาหรือไม

นอนคลํา (สามารถผสมนํ้ามันทาตัวหรือครีมสําหรับทาเตานมลงบนฝามือ เพื่องายตอการคลําหา)) 1. นอนลงโดยไมตองมีหมอนรอง 2. หัวไหลซายรองหมอนใบเล็กไว มือซายวางไวหลังศีรษะ เพื่อตรวจขางซาย แลวตรวจเหมือนวิธีการยืนคลํา 3. สลับขาง เพื่อตรวจขางขวา

วิธีตรวจดวยการกด คลําหรือลูบนั้น ใหใชนิ้วชี้ นิ้วกลางและนิ้วนางของมืออีกขางในการตรวจหา ทางที่ดีควรไปตรวจคัดกรองกับแพทยทุก ๆ 1 - 2 ป ซึ่งจะไดรับการตรวจดวยเครื่องเอ็กซเรยเตานมแมมโมแกรมรวมกับ การทําอัลตราซาวนด โดยเฉพาะในผูที่มีประวัติเสี่ยง ควรรีบพาคุณแม ไปตรวจเตานมเพื่อหาความผิดปกติ ซึ่งเปนของขวัญที่ดีอีกชิ้นหนึ่ง


มะเร็งปากมดลูก แมวาอัตราการเสียชีวิตของผูปวยมะเร็งปากมดลูกจะลดลงมาเปนอันดับ 2 รองจากมะเร็งเตานม แตก็ยังถือวา สูงอยู ทั้งนี้เนื่องจากผูหญิงไทยสวนใหญอายที่จะตรวจภายใน จึงทําใหตองเสียชีวิตดวยโรคนี้มากขึ้นอยางตอเนื่อง แนวทางสําคัญที่จะยับยั้งโรคนี้ไดก็คือ พาคุณแมไปตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดวยการตรวจภายใน และ ทํา PAP Smear ทุก ๆ ป โดยในรายที่ไมพบมะเร็งนั้น ในปจจุบันสามารถฉีดวัคซีนเพื่อปองกันไวรัส HPV (Human Papilloma Virus) ซึ่งเปนตัวการสําคัญของมะเร็งปากมดลูกไดอีกดวย àª×éÍ HPV

สําหรับปจจัยเสี่ยงของมะเร็งปากมดลูก มาจากการมีเพศสัมพันธ เมื่ออายุยังนอย มีคูนอนหลายคนหรือฝายชายมีคูนอนหลายคน สูบบุหรี่ ภาวะภูมิคุมกันตํ่า ขาดสารอาหาร และพันธุกรรม โดยมีเชื้อโรค HPV เปน ตัวการสําคัญ ดวยเหตุนี้ ไมวาคุณแมจะมีอาการผิดปกติหรือไมก็ตาม ใหแพทยตรวจภายในเพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเปนประจำทุกป

ใกลจะถึงวันแมแลว อยาลืมดูแลสุขภาพคุณแม ดวยการพาคุณแมไปตรวจสุขภาพ คัดกรองมะเร็งที่กลาวมาขางตน รวมถึงอยาลืมไปตรวจคัดกรองมะเร็งตับโดยการเจาะเลือดดูคาการทํางานของตับ คัดกรองมะเร็งปอดโดยการเอกซเรยปอด และคัดกรองมะเร็งลําไสใหญโดยการสองกลองทางเดินอาหารดวย

แหลงขอมูลและภาพ - สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ - www.feidathai.com


รอบรู...อาเซียน

ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน Malaysia Festival Guide

@Zilch

Hari Raya Aidilfitri

ฮารีรายา อีดิ้ลฟฎริ

The Festival of the Breaking of the Fast, called Hari Raya Aidilfitri, is a religious holiday celebrated by Muslims. Hari Raya literally means ‘celebration day’, and Hari Raya Aidilfitri is the day that marks the end of Ramadan, the Islamic holy month of dawnto-sunset fasting. Also known as Hari Raya Puasa, it marks the culmination of Ramadan, during which Muslims around the world fast for a whole month. This is also a time to forgive and forget past quarrels. People ask for forgiveness from friends and family members. They visit ancestors’graves, say prayers at the mosque and visit relatives and friends and feast traditional Malay delicacies like ketupat, rendang, satay, lemang and curry. In Malaysia, children are given token sums of money from their parents or elders.

ฮารีรายา อีดิ้ลฟฎริ หรือที่เรียกวา วันอีด เปน เทศกาลการเฉลิมฉลองวันสิ้นสุดเดือนแหงการถือศีลอด และยังเปนวันหยุดของชาวมุสลิม คําวา ฮารีรายา หมายถึง “วันเฉลิมฉลอง” และ วันฮารีรายา อีดิ้ลฟฎริ คือ วันสิ้นสุด ของเดือนรอมฎอน ซึง่ เปนเดือนถือศีลอดของศาสนาอิสลาม วันนีม้ อี กี ชือ่ หนึง่ คือ ฮารีรายา ปวซา ซึง่ ถือเปนวันสิน้ สุดการ ถือศีลอดของชาวมุสลิมทัว่ โลก วันฮารีรายานีย้ งั เปนวันทีช่ าว มุสลิมขออภัยและใหอภัยซึง่ กันและกันในสิง่ ไมดตี า ง ๆ ทีไ่ ด ทําตอบุคคลในครอบครัวและเพือ่ น ๆ นอกจากนัน้ พวกเขาจะ ไปเยีย่ มสุสานบรรพบุรษุ ของตัวเอง ไปรวมละหมาดทีม่ สั ยิด รวมถึงเยี่ยมเยียนญาติพี่นองและเพื่อน และรับประทาน อาหารรวมกัน ซึ่งอาหารที่จัดเลี้ยงจะเปนอาหารพื้นเมือง ของมาเลเซีย เชน เกอตูปต เรินดัง สะเตะ เลอมัง และ แกงกะหรี่ ในประเทศมาเลเซียเด็ก ๆ จะไดรับเงินจาก พอแม หรือญาติผูใหญเพื่อเปนของขวัญ

แหลงขอมูลและภาพ - http://islamhouse.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=50&id=19767 - http://www.gloholiday.com/popular-festivals-in-singapore/hari-raya-aidilfitri/ - http://www.dgreetings.com/hari-raya/when-is-hari-raya.html


มีรางวัล ประจําเดือน ส.ค.๕๙ มีน

๑. ใหหาคํามาเติมในชองวางทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยดูจากความหมายที่ใหมา ๒. แตละชองเติมได ๑ ตัวอักษร สระบน สระลาง และวรรณยุกต ใหเติมไวกับอักษรชองเดียวกัน สวนสระหนาและสระหลัง ใหแยกชองตางหาก

ขอเชิญสมาชิกลับสมอง แลวสงคําตอบโดยเขียน ยศ - ชือ่ - สกุล และหมายเลขโทรศัพทไปทีส่ าํ นักงาน หนังสือขาวทหารอากาศ ภายใน ๑๕ ก.ย.๕๙ หากมีผูตอบถูกจํานวนมาก จะใชวิธีจับสลากรายชื่อ ๓ รางวัล ๆ ละ ๓๐๐ บาท และแจงผลการจับสลากพรอมเฉลยในฉบับ ต.ค.๕๙


๘๐ ขาวทหารอากาศ  แนวตั้ง ๑. รวม, ผสม ๒. นางพี่เลี้ยง ๓. แผดเสียงดวยความโกรธหรือไมพอใจ ๔. ขยับออกไปเล็กนอย ๕. ลักษณะชายผาที่ทิ้งตัวหอยลง ลักษณะเสนผม ที่ละเอียดออนนุมทิ้งตัวและมีปลายงอนงาม ๖. มาก ๗. ใจ ๘. ใหม ๙. วิธีการเขียนจิตรกรรม เปนลวดลายสีทองลงบนพื้น ลงรักหรือทาชาด ๑๑. กลอง ๑๒. เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาไมแนนอน ๑๓. พายแพ ๑๔. เครื่องกลไกสรางดวยโลหะใชทําใหเกิดการบีบและ ขยายของทรวงอกในการหายใจแทนการเคลื่อนไหว ตามธรรมชาติเมื่อมีอัมพาตของกลามเนื้อ เชน โปลิโอ โดยปริยายหมายถึงอดทน แข็งแรง ๑๕. งาม นาดู ๑๖. ทางปา ๑๗. เที่ยวตรวจไปทั่วเพื่อปองกันขาศึกศัตรู ๒๒. ฟนตัดแถวบนที่งอกออกจากปากชาง ๒๓. สภาพที่เปนอยูหรือเปนไป ๒๕. ถางออก ๒๗. กลุมของตนไมที่เกิดจากตนหรือเหงาเดียวกัน ๒๙. มาก หลาย ๓๐. พระจันทร ๓๑. ใชประกอบคําวา ขาว เปน ขาว... หมายความวา ขาวมาก ๓๓. งามอยางเอวบางรางนอย ๓๔. คํากรอนมาจากคําวา กับ ๓๕. ใบเรือ ๓๘. ถนน ๓๙. หมาก ๔๑. คําประกอบทายคําอื่นบอกความเชิงออนวอน บังคับหรือเนนใหหนักแนน

สิงหาคม ๒๕๕๙

แนวนอน  ๑. ผูสําเร็จความมุงหมายแลว พระนามพระพุทธเจา ๕. ที่สําหรับรวมประชุมคบหากันหรือรวมชุมนุมกัน ๑๐. ใชมือบีบหรือกดเพื่อใหคลายจากความปวดเมื่อย ๑๑. ตัวเลขหลักมูล ๑๒. เบา ออน นอย ๑๓. ความไมมี ความเสื่อม มักใชเปนคํานําหนา คําสมาส ๑๔. คลองแคลว วองไว ๑๗. ลวงเขาไปเกินเขตที่กําหนด ๑๘. ผูหญิง หญิงงาม ๑๙. คําแสดงความปรารถนาใหประสบสิ่งที่เปน สิริมงคล ๒๐. คน ๒๑. เครื่องหมายที่มีลักษณะเปนรูปตาง ๆ สําหรับ ประทับเปนสําคัญ ๒๓. นองของพอ ๒๔. มาก ๒๖. วันที่อยูถัดจากวันมหาสงกรานต กอนวันเถลิงศก ๒๗. ชั่วราย เสนียดจัญไร ๒๘. รอยของตนไมตรงที่เคยแตกกิ่ง ๓๐. ไมขวางบนคอวัวหรือควายใชไถนา คราดนา หรือเทียมเกวียน โดยปริยายหมายถึงการถูกกดขี่ ๓๑. สิ่งกอสรางที่มีหลังคาคลุม ปกติพื้นอยูติดกับดิน สําหรับเปนที่อยูอาศัย ประกอบการ หรือไวสิ่งของ ๓๒. หยุดตัวเลขตามที่ตองการ ๓๖. ปะทะกัน ๓๗. ทองคํา ๓๘. หัวเราะราเริง ๔๐. ปา ดง ๔๒. สีขาวปนเหลืองเล็กนอย ๔๓. คางคืน ๔๔. มากมาย ๔๕. พื้นที่ราบทําเปนคันกั้นนําเปนแปลง ๆ สําหรับ ปลูกขาว


ภาษาไทยดวยใจรัก

ภาษาจาก

ลิง นวีร

ลวงปวอกเขามาถึงเดือนสิงหาคมแลว ขอเขียนถึงภาษาหนังสือที่ ไดรบั จากอิทธิพลของลิง เปนภาษาทีไ่ ดจากกริยาทาทางซึง่ ตามธรรมชาติ ของลิงมักจะซุกซนไมอยูนิ่งเฉย และชอบทําอาการแปลก ๆ รวมทั้งภาษา ที่ไดจากตัวลิงดวย จากกริยาทาทางของลิงซึ่งซุกซน เราจึงมักไดยินผูใหญพูดตอวา เด็ก ๆ ที่ซุกซนโดยเปรียบกับทาทางของลิงวา ซนยังกับลิง ซนยังกะลิงกะคาง และยังมีการเปรียบทาทางของลิง เปนสํานวนตาง ๆ เชน จองหองพองขน หมายความถึง จองหอง อวดหยิ่ง (จนถึงลักษณะขนพอง) ดังความในนิราศเมืองแกลงของ สุนทรภูตอนหนึ่งวา ... ดูบนบกก็ลวนลิงแสม เลียบตลิ่งวิ่งตามชาวเรือแพ ทําลอบแลหลอนหลอกตะคอกคน คําโบราณทานผูกถูกทุกสิ่ง เขาวาลิงจองหองมันพองขน ทําหลุกหลิกเหลือกลานพาลลุกลน เขาดาคนจึงวาลิงโลนลําพอง สํานวนนี้ เห็นจะมีใชตงั้ แตสมัยกรุงศรีอยุธยาแลว เพราะในหนังสือบทละครเรือ่ งสังขทองครัง้ กรุงเกา มีความตอนหนึง่ วา เครื่องทรงของกูมิใชชั่ว เกินตัวมันเสียเปนไหนไหน จองหองพองขนเปนพนใจ มันเห็นไมมีที่พึ่งแลว ลิงหลอกเจา หมายความถึง แสดงกริยาลอหลอกผูใหญตอหนา เวลาผูใหญมองหรือเห็นจะทําเรียบรอย แต พอผูใหญเผลอหรือหันไปก็ทําหลุกหลิก ไมเรียบรอยเสมอตนเสมอปลาย ที่มาของสํานวนนี้อาจมาจากลักษณะกริยา ทาทางของลิงที่มักทําทาลอหลอกคน หรือมาจากเรื่องรามเกียรติ์ ตอนหนุมานเผาลงกา หรือตอนเอากลองดวงใจ ซึ่งหนุมานทําทาลอหลอกทศกัณฐอยางมากมายก็ได มีโคลงสุภาษิตของกรมหลวงพิชิตปรีชากร บทหนึ่งวา เสียใจเสียเชนนั้น เชิงหญิง แลวฮา คิดวาเจรจาจริง จึงเอื้อ มิรูเลนรายลิง หลอกราพณ สูบรสหมดสิ้นเนื้อ จึงสิ้นอาลัย คงจะเปนเรื่อง ลิงหลอกเจา จริง ๆ คือ ลอหลอกใหหลงเชื่อ หรือถาเปนการแสดงโขน ตัวหนุมานก็ลอหลอกทศกัณฐ คือ เลียนเอากริยาทาทางของลิงจริง ๆ มาใช จากความเปนลิง ยังทําใหเกิดสํานวนอื่น ๆ เชน ยื่นแกวใหวานร ยื่นแกวใหวานร หมายถึง เอาของดีใหแกคนไมรูคาของของนั้นเทากับเสียไปเปลา ๆ ไมเปนประโยชน คลายกับ ไกไดพลอย แตไกไดพลอย หมายถึง ไดของดีมาแตไมรูจักใชใหเปนประโยชน หรือไมรูจักประโยชนของของที่มีอยู


๘๒ ขาวทหารอากาศ

สิงหาคม ๒๕๕๙

สํานวนนี้มีเหมือนกันหลายชาติ เชน ญี่ปุนวา ยื่นทองใหแมว แขกวา ยื่นออยใหลา ยื่นขาวสุกใหลา ยื่นนํา กุหลาบใหหมู ยื่นพวงมาลัยใหลิง ยื่นมะพราวใหวานร ยื่นพวงมาลัยใหลิง อังกฤษวา ใสหวงทองที่จมูกหมู และ ในคัมภีรไบเบิลมีวา อยาใหไขมุกแกสุกร เปนตน นอกจากนั้น ยังมีการเอาลักษณะและกริยาทาทางของลิงมาเปรียบเทียบกับลักษณะทาทางของคน รวมทั้ง ใชภาษาและชื่อสิ่งของเครื่องใชตาง ๆ โดยเปรียบกับสิ่งที่เกี่ยวกับลิง เชน หัวแหลม หมายถึง ความคิดเฉียบแหลม แตมักไมพูดวาหัวแหลมเทานั้น มักจะตอไปวา หัวแหลมยังกะหัวลิง คือ ลิงมักจะมีผมกระจุกหนึ่งตั้งแหลมขึ้นไป (เหมือนทรงผมนําสมัยของวัยรุนยุคหนึ่ง) หนาวอก หมายถึง หนาขาวเลอะเทอะไมสวยงาม หนาขาวโพลน ซึ่งมักเกิดจากการผัดหนามากเกินไป เหมือน หนาลิงที่ขาวลอยเดนขึ้นมา ไวยังกะลิง หมายถึง ไวมาก คลองแคลว ถาเราเห็นนักมวยหลบหมัดไดคลองแคลว เราก็จะพูดเปรียบวา ไวยังกะลิง กินขาวลิง หมายถึง กินอยางรีบรอน ไมมีพิธีรีตองอะไร ดังที่ทราบแลววา ลิงมักทําอะไรเร็ว ๆ และวองไว จึงเปรียบเทียบลักษณะที่ทําอะไรเร็ว ๆ เหมือนกับความเปนลิงไปดวย การกินขาวอยางรีบรอน มีอะไรก็กิน ๆ เขาไป ไมพิถีพิถันอะไร เหมือนคนอยูปาดงพงไพรจึงเรียกวา กินขาวลิง หรืออาจเปนเพราะแตเดิมลิงเปนสัตวปา คนที่หลงทาง เหมือนหลงปา ไมมีขาวปลาอาหารเตรียมไวพรอม จึงตองกินขาวลิง คือกินเทาที่พอจะหาได นั่นเอง กางเกงลิง หมายถึง กางเกงชั้นในชนิดไมมีขาแนบตัว กางเกงชนิดนี้คงมาจากพวกละครสัตวหรือพวกที่ เอาลิงมาหัดเลนละคร จับลิงมาสวมเสื้อนุงกางเกง แตกางเกงนั้นตัดสั้น ๆ ไมมีขา เพื่อใหนุงสะดวกและไมรําคาญตา ตอมามนุษยเห็นวากางเกงชนิดนี้นุงสะดวกจึงเอาแบบมาตัดใชบาง แลวก็เรียกวา กางเกงลิง แตเรื่องนี้ไมมีการบันทึกไว เปนหลักฐาน ความจริงนั้นคนจะเอามาจากลิงหรือลิงเอามาจากคนไปใชก็ไมทราบแน มือลิง หมายถึง ไมที่ติดอยูขางเรือ อยูระหวางกง หรือจากกงขึ้นไป มักใชกับเรือขนาดเล็ก เชน เรือสําปน เรามักจะเรียกขนาดของเรือตามจํานวนมือลิง ถาเรือมี ๔ มือลิง ก็เรียกวา เรือขนาด ๔ มือลิง ทั้งนี้อาจเปนเพราะผูที่ตั้ง ชื่อคงเห็นลักษณะบางอยางของมือลิงวาคลายกับมือลิงของเรือ ก็เลยเรียกอยางนั้น คําวา ลิง ในชื่อเรื่องนี้ใชในความหมายของสัตว แตเราอาจเคยเห็นวา ชื่อตนไมก็มีคําวา ลิง อยูดวย เชน หัวลิง (ไมเถา ผลขนาดสมจีน มีสันตรงคลายหัวลิง) ลางลิง (ไมเถา แบนยาว งอกลับไปกลับมา คลายขั้นบันได ดอกเล็กสีขาว เปลือกเหนียวใชแทนเชือก เถาใชทํายาได กระไดลิง บันไดลิง กระไดวอก ก็เรียก) ชื่อตนไมนี้คงไมเกี่ยวกับปลิงนัก แต ก็นาสนใจที่กาพยในกาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง พระนิพนธของเจาฟาธรรมธิเบศร มีบทหนึ่งวา หัวลิงหมากลางลิง ตนลางลิงแลหูลิง ลิงไตกระไดลิง ลิงโลดควาประสาลิง ก็ถือวาเปนเรื่องของ ภาษาไทยดวยใจรัก ตอน ภาษาจากลิง ไดเหมือนกัน  


ธรรมะ

ประทีป กอศ.ยศ.ทอ.

วัชชีอปริหานิยธรรม ธรรมอันเปนที่ตั้งแหงความไมเสื่อมของชาววัชชี ๗ ประการ เริ่มเรื่องเลาวาพระพุทธเจาประทับ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ ใกลกรุงราชคฤห พระเจาอชาตศัตรู กษัตริยแควนมคธ ตองการจะตีแควนวัชชีไวในอํานาจ จึงสงวัสสการพราหมณใหไปเฝา พระผูมีพระภาคเลาความใหทรงทราบแลว ใหวัสสการพราหมณฟงดูวาจะทรงพยากรณอยางไร เพราะเชื่อวาจะไมตรัสผิดความจริง วัสสการพราหมณเขาไปเฝา กราบทูลเรื่องนั้น พระผูมีพระภาคก็ตรัสถามพระอานนททีละขอถึงธรรม ๗ ประการ ที่ชาววัชชีประพฤติกัน อันจะหวัง ความเจริญไดโดยสวนเดียวไมมีเสื่อมวาพระอานนทเคยไดฟงบางหรือเปลา พระอานนทก็กราบทูลวาเคยไดฟงธรรม ๗ ประการ ที่ชาววัชชีประพฤติ นั่นคือ ๑. จะหมั่นประชุมกันเนืองนิตย ๒. จะพรอมเพรียงกันประชุม พรอมเพรียงกันเลิกประชุม พรอมเพรียงกันทํากิจของชาววัชชี ๓. จะไมบญ ั ญัตสิ งิ่ ทีม่ ไิ ดบญ ั ญัตไิ ว จะไมถอนสิง่ ทีบ่ ญ ั ญัตไิ วแลว จะประพฤติปฏิบตั ใิ นวัชชีธรรมอันเปนของเกา ๔. จะเคารพเชื่อฟงชาววัชชีผูแกเฒา ๕. จะไมกาวลวงขมเหงกุลสตรี (หญิงที่มีสามีแลว) และกุลกุมารี (หญิงสาวที่ยังไมมีสามี) ๖. จะเคารพนับถือเจดียของชาววัชชีทั้งภายในและภายนอก ไมละเลยพลีกรรมอันเปนธรรมที่เคยใหเคยทํา ๗. จะจัดการรักษาคุมครองอันเปนธรรมในพระอรหันตของชาววัชชี จะตั้งใจวาพระอรหันตที่ยังไมมาขอใหมา ที่มาแลวขอใหเปนสุข หากผูนํา ผูบริหาร ทุกองคกร สามารถนําหลักธรรมขางตนไปประพฤติปฏิบัติ นําไปประยุกตใชในการทํางาน ในการบริหารประเทศ จะเกิดประโยชนอยางมหาศาล ทั้งแกตน ตอองคกร และประเทศชาติ สมดังสุภาษิตที่วา สุขา สังฆัสสะ สามัคคี ความพรอมเพรียงของหมูคณะนําประโยชนสุขมาให 


มุมกฎหมาย

ร.ท.ชานุวัฒน แสงสุวรรณ ความตกตําทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นเมื่อใด เราก็จะ พบเห็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบตาง ๆ สรางความ เสียหายแกประชาชน กรณีทเี่ ห็นชัดคือ การกลับมาระบาด ของแชรลูกโซ และตกเปนขาวแทบจะทุกสื่อในเวลานี้ วิธกี ารของแชรลกู โซเปนอยางไร ทําไมจึงสามารถ หลอกลวงใหประชาชนตกเปนเหยือ่ ไดในวงกวางและเราจะมี วิธกี ารพิจารณาลักษณะธุรกิจทีเ่ ปนแชรลกู โซออกจากธุรกิจ โดยทั่วไปไดอยางไร ลักษณะธุรกิจแชรลูกโซ : ประมาณ ๒๐ ปกอน มีตัวอยางการลมละลายของแชรลูกโซ ซึ่งมีผูเสียหาย จํานวนมากคือ การลมละลายของแชรนาํ มันหรือแชรแมชมอย หลังจากนัน้ ไมนานไดเกิดการลมละลายของบริษทั บริดเชอร คอรเปอรเรชั่น และเมื่อป ๒๕๔๘ บริษัท กรีนแพลนเนท เปนแชรลูกโซขนาดใหญอีกรายที่เกิดปญหาลมละลาย จากปญหาดังกลาวทําใหเกิดกฎหมาย พระราชกําหนดการกูยืมเงินที่เปนการฉอโกงประชาชน พ.ศ.๒๕๒๗ ซึง่ ระบุไวชดั เจนในมาตรา ๔ วา “ผูใ ดโฆษณาหรือประกาศ ใหปรากฏแกประชาชนหรือกระทําดวยประการใด ๆ ให ปรากฏแกบุคคลตั้งแตสิบคนขึ้นไป ในการกูยืมเงินตนหรือ บุคคลอื่นใด จะจายหรืออาจจายผลประโยชนตอบแทน

ใหตามพฤติการณแหงการกูยืมเงิน ในอัตราที่สูงกวา อัตราดอกเบี้ยสูงสุดที่สถาบันการเงินตามกฎหมายวา ดวยดอกเบีย้ ใหกยู มื เงินของสถาบันการเงินจะพึงจายได โดยทีต่ นรูห รือควรรูอ ยูแ ลววาตนหรือบุคคลนัน้ จะนําเงิน จากผูใ หกยู มื รายนัน้ หรือรายอืน่ มาจายหมุนเวียนใหแก ผูใหกูยืมเงิน หรือโดยที่ตนรูหรือควรรูอยูแลววา ตนหรือ บุคคลนั้นไมสามารถประกอบกิจการใด ๆ โดยชอบดวย กฎหมายที่จะใหผลประโยชนตอบแทนพอเพียงที่จะนํา มาจายในอัตรานั้นได และในการนั้นเปนเหตุใหตนหรือ บุคคลใดไดกยู มื เงินไป ผูน นั้ กระทําความผิดฐานกูย มื เงิน ที่เปนการฉอโกงประชาชน” และมาตรา ๑๒ บัญญัติวา “ผูใดกระทําความผิดตามมาตรา ๔ หรือมาตรา ๕ ตอง ระวางโทษจําคุกตัง้ แตหา ปถงึ สิบป และปรับตัง้ แตหา แสนบาท ถึงหนึ่งลานบาท และปรับอีกไมเกินวันละหนึ่งหมื่นบาท ตลอดเวลาที่ยังฝาฝนอยู” แชรลูกโซปจจุบันพัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ไปอยูในรูปธุรกิจขายตรง (Multi Level Marketing: MLM) ซึ่งในหลายบริษัทอาจใชคําอื่นที่แตกตางกันออกไป เชน การตลาดแบบระบบเครือขาย (Network Marketing) และ ในปจจุบนั แชรลกู โซบางแหงแฝงตัวอยูใ นธุรกิจแฟรนไชส


สิงหาคม ๒๕๕๙

รูปแบบการทํางานของธุรกิจแบบแชรลูกโซ เนนการหาสมาชิกเพื่อมารวมลงทุนตามแบบแผนธุรกิจ ซึ่งสวนมากลักษณะแผนธุรกิจของบริษัทประเภทนี้แทบ จะไมตางกัน แตอาจจะเปลี่ยนแครูปแบบ โดยใชสินคา หรือบริการที่แตกตางกันออกไปเทานั้น แตในความเปน จริงการซือ้ ขายสินคาเปนเครือ่ งบังหนาเพือ่ เลีย่ งกฎหมาย เทานั้น การพิจารณาวาธุรกิจเปนแชรลูกโซ : ธรรมชาติ ของกิจกรรมการผลิตหรือการประกอบธุรกิจใดก็ตาม จะสามารถนําทรัพยากรมาผลิตสินคาและบริการไดนั้น จะอาศัยสวนผสมของปจจัยการผลิตตาง ๆ ซึ่งตามหลัก เศรษฐศาสตรแบงออกเปน ๔ ปจจัยดวยกัน คือ ที่ดิน ทุน แรงงาน และผูประกอบการ แชรลูกโซนั้นตางจากการเลนแชร เนื่องจาก การเลนแชรนั้นมีกฎหมายรองรับคือ พระราชบัญญัติ การเลนแชร พ.ศ.๒๕๓๔ ซึ่งบัญญัติไวในมาตรา ๔ วา “การเลนแชร หมายความวา การที่บุคคลตั้งแตสามคน ขึ้นไปตกลงกันเปนสมาชิกวงแชร โดยแตละคนมีภาระ ที่จะสงเงินหรือทรัพยสินอื่นใดรวมเขาเปนกองทุนกลาง เปนงวด ๆ เพื่อใหสมาชิกวงแชรหมุนเวียนกันรับทุนกอง กลางแตละงวดนัน้ ไปโดยการประมูลหรือโดยวิธอี นื่ ใด และ ใหหมายความรวมถึงการรวมทุนในลักษณะอื่นตามที่

ขาวทหารอากาศ ๘๕

กําหนดในกฎกระทรวงดวย” ซึง่ การเลนแชรนนั้ กฎหมายอนุญาตใหเลนได โดยมีขอ หามอยูใ นมาตรา ๖ โดยบัญญัตวิ า “หามมิใหบคุ คล ธรรมดาเปนนายวงแชรหรือจัดใหมกี ารเลนแชรทลี่ กั ษณะ อยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ (๑) เปนนายวงแชรหรือจัดใหมีการเลนแชรมี จํานวนวงแชรรวมกันมากกวาสามวง (๒) มีจาํ นวนสมาชิกวงแชรรวมกันทุกวงมากกวา สามสิบคน (๓) มีทนุ กองกลางตอหนึง่ งวดรวมกันทุกวงเปน มูลคามากกวาจํานวนที่กําหนดไวในกฎกระทรวง (๔) นายวงแชรหรือผูจัดใหมีการเลนแชรนั้นได รับประโยชนตอบแทนอยางอืน่ นอกจากสิทธิทจี่ ะไดรบั ทุน กองกลางในการเขารวมเลนแชรในงวดหนึ่งงวดใดไดโดย ไมตอ งเสียดอกเบีย้ และเพือ่ ประโยชนแหงมาตรานี้ ใหถอื วา ผูที่สัญญาวาจะใชเงินหรือทรัพยสินอื่นใดแทนนายวงแชร หรือผูจ ดั ใหมกี ารเลนแชรเปนนายวงแชรหรือผูจ ดั ใหมกี าร เลนแชรดวย” ดังนั้น ทานผูอานทั้งหลายคงพอเขาใจความ แตกตางระหวาง “แชรลกู โซ กับ การเลนแชร” กันบางแลว อยาตกเปนเหยื่อของแชรลูกโซก็แลวกัน 


 เปนคนมีสํานึกรักชาติ  ผูเ ขียนไดมโี อกาสเดินทางไปเกาหลีอกี ครัง้ หนึง่ ในฐานะนักทองเที่ยว ซึ่งตางจากการไปครั้งกอน ๆ ที่ไป ในฐานะขาราชการที่มีการตอนรับแบบทางการ ที่อะไร ๆ ก็ดูงาย สบาย ๆ แตไมมีเวลาเปนสวนตัวนัก เราเองก็ มัวยุงอยูกับงานไมไดศึกษาประเพณีวัฒนธรรมของเขา มากนัก ทุกอยางเปนไปตามที่กรมขาวทหารอากาศ เตรียมการไวให แตเมื่อไดเดินทางไปอีกครั้ง ในฐานะ นักทองเที่ยวมีแตกําหนดการเรื่องการเที่ยวอยางเดียว ทําใหความอยากรูอยากเห็นมีมากขึ้น มีการคนควา เตรียมการ และเมื่อไปเห็นของจริง จึงเขาใจเรื่องราวได ดีพอควร ผูเขียนรูสึกประทับใจในวิธีการที่เขาพยายาม ทําใหคนทุกคน ทั้งวัยเด็ก วัยทํางาน และวัยชรา มีสํานึกรักชาติอยางมั่นคง และดวยจุดแข็งขอนี้ ทําให เขาสรางชาติขึ้นมาไดอยางองอาจ เขมแข็ง นาภาคภูมิใจ เดี๋ยวนี้ไปที่ไหน ๆ เราก็มักจะเจอแตซัมซุง ฮุนได และ แอลจี ซึ่งมีทุกอยางขายแมกระทั่งเรือรบและเครื่องบิน เขาทําไดเพราะคนของเขามีสํานึกรักชาติเปนพื้นฐาน ซึ่งเปนเรื่องที่เราจะคุยกันในวันนี้ เกาหลี (ทัง้ เหนือและใต) เปนคาบสมุทรทีต่ ดิ กับ ผืนแผนดินใหญของทวีปเอเชียติดกับจีน ทีส่ าํ คัญคือ พืน้ ที่ สวนใหญมากกวา ๗๐% เปนเทือกเขานอยใหญสลับกัน ไปมาจนหาที่ราบลุมไดนอยมาก สวนใหญเปนที่ราบเชิงเขา สรุปงาย ๆ วา ชาวเกาหลีก็คือ ชาวเขาบานเรานั่นเอง แมแตริมทะเลก็ยังเปนลักษณะของเกาะที่ไมมีชายหาด คําวาชาวเขา หมายถึง คนที่อาศัยอยูตามเชิงเขา ไมมี

ที่ราบ ความเปนอยูก็อยูกันเปนกลุมเล็ก ๆ เทาที่มีพื้นที่ เกาหลีจึงมีประวัติศาสตรคลาย ๆ ภาคเหนือของไทย ที่มี ลานนา ลานชาง หริภญ ุ ชัย เวียงจันทร เปนกลุม อาณาจักร เล็ก ๆ บางทีก็แยกกัน บางทีก็รวมกัน สวนจีนนั้น ถือวา เกาหลีเปนสวนหนึ่งของจีน เปนมณฑลหนึ่งของจีนที่อยู หางไกล ซึ่งเจาเมืองเล็ก ๆ เหลานี้ก็สวามิภักดิ์กับราชวงศ จีนทีเ่ ขมแข็ง เมือ่ ใดทีร่ าชวงศจนี ออนแอลง เมืองพวกนี้ ก็ตงั้ ตัวเปนเอกราช รบราบุกรุกกัน รวมประเทศไดเปนชวง ๆ เกาหลีกบั จีนจึงแยกกันไมออก จีนไมไดสนใจเกาหลีมากนัก เพราะเกาหลีมีแตภูเขา สมัยกอนการเดินทางก็ลําบาก ในยุคการลาอาณานิคมเมื่อ ๓๐๐ - ๔๐๐ ปที่ผานมา


สิงหาคม ๒๕๕๙

จีนมัววุนวายกับการตอสูกับชาติตะวันตก จึงเปนโอกาสให หัวเมืองตาง ๆ ในคาบสมุทรเกาหลีตั้งตัวเปนอิสระ แควน ที่เขมแข็งกวาก็คอย ๆ รวบรวมแควนเล็ก ๆ กอตั้งประเทศ ขึ้นมาไดอยางมั่นคง เปนอาณาจักรโซซอนที่เขมแข็ง  ขอดีของดินแดนในคาบสมุทรเกาหลี ๑. อยูในเขตอบอุน อยูบนพื้นที่สูง อากาศดี ๒. เปนคาบสมุทร มีฝนตกตลอดป มีความอุดมสมบูรณ ๓. มีภัยธรรมชาตินอยมาก เราแทบไมเคยไดยิน วามีแผนดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิดที่เกาหลี นาน ๆ จึงจะ มีไตฝุนหลงไปเยือนสักครั้ง ๔. เปนพื้นที่ที่อิงอยูกับแผนดินใหญของจีนและ รัสเซีย ไมมีใครอยากรุกราน สวนจีน ก็มองวาเปนชาวปา ชาวเขา ไมคิดจะเอารัดเอาเปรียบอะไร มีแตจะสนับสนุน ชวยเหลือเมื่อถูกรุกราน

เมื่อถึงยุคการลาอาณานิคม ซึ่งจีนมัวแตสูรบกับ ชาติตะวันตก เกาหลีจงึ ไดโอกาสเติบโตขึน้ มา ขณะเดียวกัน ศัตรูของเกาหลีกลับไมใชชนชาติตะวันตก กลายเปนญี่ปุน และรัสเซียที่มองเกาหลีเปนประตูสูการบุกรุกจีน รัสเซีย ไดเปรียบที่มีพื้นที่อยูบนทวีปเอเชีย ญี่ปุนเปนเกาะอยูตรงขาม กับรัสเซีย จีน และเกาหลี การทีญ ่ ปี่ นุ จะบุกรุกจีนหรือรัสเซีย ได ฐานทีม่ นั่ ทีส่ าํ คัญก็คอื คาบสมุทรเกาหลี เนือ่ งจากญีป่ นุ มี ความเชีย่ วชาญทางทะเลมาก ในอดีตญีป่ นุ พยายามยึดครอง

ขาวทหารอากาศ ๘๗

เกาหลีมาหลายครั้ง เกาหลีก็ขอใหจีนบางรัสเซียบางมา ชวยทุกครั้งไป ผลัดกันแพผลัดกันชนะมาหลายรอบ แต ในขณะที่จีนออนแออยูและรัสเซียมีศึกสงคราม จึงไมใช เรือ่ งยากทีญ ่ ปี่ นุ จะวางแผนยึดเกาหลีไดสาํ เร็จ เมือ่ ญีป่ นุ ยึดเกาหลีได สิ่งที่ญี่ปุนทําก็คือ พยายามกลืนเกาหลีให เปนอาณาจักรญี่ปุนบนพื้นทวีปเอเชีย จึงจําเปนตอง เปลี่ยนแปลงทั้งหมดโดยเร็ว ทั้งประเพณี วัฒนธรรม การศึกษา ภาษา รวมทั้งเผาพันธุของคน ซึ่งแตละเรื่อง ใหญ ๆ ทัง้ นัน้ และเปนบาดแผลทีฝ่ ง ลึกของประวัตศิ าสตร ทั้งสองชาติเลยทีเดียว โชคดี (ในความคิดของคนเกาหลี) ที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ และญี่ปุนแพสงคราม ทําให ญี่ปุนตองถอยรนออกจากคาบสมุทรเกาหลีไป สวนบน คาบสมุทรเกาหลีก็ยังมีการรบกันอยางตอเนื่องแตเปน เรื่องของสงครามตอตานคอมมิวนิสตไป ทั้ง ๆ ที่ลัทธิ คอมมิวนิสตไมไดมาเกี่ยวของกับคนเกาหลีเลย เพียงแต รัสเซียยึดไดพนื้ ทีต่ อนเหนือและสหรัฐอเมริกายึดไดพนื้ ที่ ตอนใต แลวตกลงกันไมได มหามิตรสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ จึงตองมารบกันเองที่เกาหลี ดูงง ๆ อยู แตชะตาชีวิตก็ ลิขิตมาอยางนี้ เมื่อทุกอยางผานไป แมเกาหลียังรวมกัน ไมได อยางไรเสียอนาคตเขาก็คงรวมกันไดอยูด ี เพราะเขา มีประวัตศิ าสตรรว มกันมาเปนพัน ๆ ป และตราบใดทีย่ งั ใชชื่อเกาหลีอยูอยางนี้ เมื่อมีโอกาสเขาก็คงรวมกันได ในปจจุบันนี้เทคโนโลยีกาวหนาไปมาก เทือกเขา ของเกาหลีถูกเจาะเปนอุโมงคใหรถไฟ รถยนตวิ่งกัน สะดวกสบาย เกาหลีพฒ ั นาประเทศกาวหนาเปนประเทศ อุตสาหกรรม แขงขันกับ ญีป่ นุ อเมริกา และ ยุโรปไดอยาง เทาเทียมกัน อะไรคือแรงผลักดันทีท่ าํ ใหคนของเขาลุกขึน้ สูอยางทุมเททั้งชีวิตแบบนี้ ผูเขียนไดไปนั่งอยูที่หนาอนุสรณพระราชวัง เคียงบก (Gyeong Bok Palace) เปนเวลานาน นึกถึง เรื่องราวที่ผานมาของเกาหลี ที่นี่คือความยิ่งใหญของ อาณาจักรโซซอน ทีอ่ ยูบ นคาบสมุทรเกาหลี เริม่ กอสราง เมือ่ พ.ศ.๒๔๘๑ ทีน่ มี่ ที งั้ ความเจริญรุง เรืองและการเมือง ที่สกปรก ที่นี่คือสถานที่ที่เปนบาดแผลที่เจ็บปวดที่สุด


๘๘ ขาวทหารอากาศ ของเกาหลี พระราชวังแหงนี้ไดถูกญี่ปุนทําลายมาครั้งหนึ่ง แลว เมื่อ พ.ศ.๒๑๓๕ ในชวงสงคราม ๗ ป และมีการ บูรณะขึ้นมาใหมพรอมกอสรางเพิ่มเติมอีกหลายสวน และ เมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๓๘ ณ พระราชวังแหงนี้ พระมเหสีมนิ จายองไดถกู สังหารโดยทีมสังหารของญีป่ นุ และ เผาพระศพทันทีในสวน กอนทีญ ่ ปี่ นุ จะยึดครองเกาหลีอยาง เปนทางการในป พ.ศ.๒๔๔๓ ทีน่ มี่ พี ระราชดํารัสของพระนาง กอนทีจ่ ะถูกฆาวา “ตอใหขา ตองตาย ขาก็จะยังปกปองแผนดิน นี้ไว เพื่อไมใหพวกเจามาแตะตองอาณาจักรอันศักดิ์สิทธิ์ แหงนี”้ ทีน่ เี่ ปนทีท่ ชี่ าวเกาหลีทกุ คนควรมาอยางนอยปละครัง้ เพราะวาการเมืองเปนเรือ่ งของอํานาจ แตชาติบา นเมืองนัน้ เมือ่ เสียเอกราชไปแลวอยาหวังเลยวาผูป กครองใหมจะนับ ญาติ เชือ้ ชาติ เผาพันธุก บั ทาน เมือ่ ญีป่ นุ สามารถยึดเกาหลีได โดยความยินยอมของรัสเซีย ก็ผนวกดินแดนคาบสมุทรเกาหลี เปนประเทศญีป่ นุ ไปเลย พรอมนําตัวบุคคลสําคัญในราชวงศ โซซอน ซึ่งเปลี่ยนเปนจักรพรรดิโครยองไปดูแลที่ประเทศ

สิงหาคม ๒๕๕๙ ญี่ปุน บังคับชาวเกาหลีใหเปนแรงงานขนทรัพยากรและ สิ่งมีคาตาง ๆ ไปไวที่ญี่ปุน หามมีการสอนประวัติศาสตร เกาหลี หามการแสดงทางวัฒนธรรมของเกาหลี ใหผูคน เปลีย่ นชือ่ เปนภาษาญีป่ นุ สิง่ พิมพทกุ ชนิดใหใชภาษาญีป่ นุ แทนภาษาเกาหลี ผูหญิงจํานวนมากถูกละเมิดทางเพศ จากทหารญีป่ นุ เรือ่ งเหลานีเ้ กิดขึน้ เปนเวลาถึง ๓๕ ปเต็ม ซึง่ ถือเปนเรือ่ งปกติของมาตรการในการกลืนชาติอยาง เรงดวน ที่ประเทศผูชนะมักจะทํากัน แตก็ยังนับวาเปน โชคดีของชาวเกาหลีทมี่ สี งครามโลกครัง้ ที่ ๒ เกิดขึน้ และ จบลงดวยความพายแพของญีป่ นุ เมือ่ วันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๖ เกาหลีจึงมีเอกราชมาจนถึงทุกวันนี้ หาก เหตุการณเปนอยางอื่นวันนี้อาจไมมีประเทศเกาหลีบน โลกใบนี้ เหมือนที่ไมมีประเทศมอญหรือประเทศยะไข อยูใ นโลกนี้ ทัง้ ๆ ทีเ่ มืองหงสาวดีคอื เมืองหลวงของมอญ นับเปนความชาญฉลาดของบรรพบุรุษเกาหลี ทีเ่ ก็บรักษาพระราชวังนีไ้ ว รวมทัง้ รัฐสภาของญีป่ นุ ทีม่ กี าร


ขาวทหารอากาศ ๘๙

สิงหาคม ๒๕๕๙ สรางอาคารรัฐสภาของญี่ปุนคั่นกลางแกเคล็ดไว เพราะ พระราชวังนี้สรางตามหลักฮวงจุย ซึ่งญี่ปุนก็ใชตํารา เดียวกันแกฮวงจุย แตเกาหลีกลับรักษาไวใหลูกหลาน ดูวา ความเจ็บปวดมันเปนอยางไร ลงทุนบูรณะสิง่ กอสราง ตาง ๆ ใหเหมือนเดิม เพื่อเก็บไวใหลูกหลานไดดูพรอม รายละเอียดของขอมูลที่ชาวเกาหลีทุกคนอานแลวจะ ปลื้มปติหรือขนลุกขนพองก็ไดวา ถาไมมีบรรพบุรุษที่ ยอมเสียสละแลว ปานนี้พวกเขาคงไมมีเพลงชาติ ไมมี เอกราช ไมมีประวัติศาสตรอยางทุกวันนี้ แลวเขาจะเอา ความภาคภูมิใจมาจากไหน สิ่งที่เขาตองทําคือ ทําความ เขาใจประวัตศิ าสตรเหลานีใ้ หชดั เจน หากพวกเขาไมเขมแข็ง ไมขยัน ไมเสียสละใหกับประเทศชาติแลวใครจะชวยเขา ผูเขียนเคยแปลกใจเสมอเมื่อเห็นผูบริหารระดับสูงของ เกาหลีลาออก แมเมื่อเกิดขอผิดพลาดเล็ก ๆ นอย ๆ ใน การทํางาน เมือ่ มาเห็นของจริงและพอลําดับเรือ่ งราวของ เขาได ผูเ ขียนจึงพอเขาใจทีม่ าทีไ่ ปของคําวา สํานึกรักชาติ ของคนเกาหลี ชาวเกาหลีเกือบจะไมมีชาติเกาหลีใหเขา ภูมิใจแลว ทั้ง ๆ ที่ตลอดเวลาหลายพันปที่ผานมา เขา ไมเคยไปรุกรานใครเลย พวกเขาอยูกันอยางมีความสุข พวกขุนนางก็มีการแยงอํานาจ อิจฉาริษยากันเหมือนใน ละครเกาหลีอยูกันมาหลายรอยป แลวอยู ๆ เขาก็ไดรับรู รสชาติของการพยายามกลืนชาติของญี่ปุนเปนเวลาถึง ๓๕ ป และเปนเวลา ๓๕ ปที่โหดเหี้ยม มันมากเกินพอที่ จะสอนลูกสอนหลานตอ ๆ ไปไดวา ถาเราไมมสี าํ นึกรักชาติ แลว เราอาจจะไมมีชาติใหรักก็ได และจากพื้นฐานของ สํานึกรักชาตินี้เอง ทําใหเกาหลีใชเวลาเพียง ๕๐ ปใน การพัฒนาประเทศ จนคนทั่วโลกตองรูจักเกาหลี อะไร ก็ได เพื่อชาติแลว เขารับได ยอมได ปฏิบัติตามได หนาที่

ของผูนําคือ ตองรับผิดชอบความสําเร็จของชาติ หาก ผิดพลาดตองขอโทษและลาออกไป หลายคนถึงกับฆา ตัวตายเพือ่ แสดงความรับผิดชอบ สิง่ เหลานีเ้ กิดขึน้ ไดเพราะ การมีสํานึกรักชาติเปนพื้นฐาน วันนี้ผูเขียนจะไมกลาวถึง ประเทศไทยมากนัก เรามีหลายอยางคลาย ๆ เกาหลี แต เราขาดการถูกกลืนชาติ ๓๕ ปไปเทานั้นเอง ทําใหสํานึก รักชาติอาจจะตางกันไป ทั้ง ๆ ที่ผูเขียนมั่นใจวา คนไทย ทุกคนรักชาติบานเมือง แตเราขาดแผลเปนที่เจ็บปวด บางครั้งเราจึงลืมความรักชาติไปบาง หากมีการกระตุน เตือนอยูเสมอ ๆ ก็นาจะดี 

“ตอใหขาตองตาย ขาก็จะยังปกปองแผนดินนี้ไว เพื่อไมใหพวกเจามาแตะตองอาณาจักรอันศักดิ์สิทธิ์แหงนี้”


ีมรางวัล

แบบสอบถามความพึงพอใจ หนังสือขาวทหารอากาศ

คําชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจความพึงพอใจและนําผลการสํารวจมาใชในการพัฒนาปรับปรุง หนังสือขาวทหารอากาศ (กรุณาใสเครื่องหมาย  ในชองที่ตรงกับความคิดเห็นของทาน) ยศ - ชือ่ - สกุล .................................................... อายุ.............. ปี หนวยงาน ................................................ โทรศัพท .........................

๑. ทานติดตามหนังสือขาวทหารอากาศจากแหลงใด (ตอบไดมากกวา ๑ ขอ) หนังสือขาวทหารอากาศ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th ๒. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอหนังสือขาวทหารอากาศ ระดับความพึงพอใจ หัวขอการประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย (๕)

(๔)

(๓)

(๒)

นอยที่สุด (๑)

ดานรูปแบบ ๑. การจัดรูปแบบมีความเหมาะสม ทันสมัย ๒. การออกแบบมีสีสัน สวยงาม นาอาน ๓. ขนาดและตัวอักษรชัดเจน อานงาย ๔. ภาพและเนื้อหามีความสัมพันธกัน

ดานเนื้อหา ๕. ขอมูลถูกตอง นาเชื่อถือ ทันสมัย และทันเหตุการณ ๖. มีความหลากหลาย ครอบคลุมในทุกดาน ๗. การใชภาษาและคําสะกดถูกตองตามหลักพจนานุกรม ๘. เพิ่มพูนความรูและสามารถนําไปใชประโยชนได

๓. ทานไดนําขอมูลที่ไดจากหนังสือขาวทหารอากาศไปใชประโยชนอยางไร (ตอบไดมากกวา ๑ ขอ) ใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต ใชเปนขอมูลอางอิง (อภิปราย/รายงาน/การเรียนการสอน ฯลฯ) ใชในการทํางาน อื่น ๆ (ระบุ) .............................................................................. ๔. ทานชื่นชอบบทความดานใด (สถาบันพระมหากษัตริย กิจการ ทอ. วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม การทหาร การศึกษา/วิชาการ และสังคมจิตวิทยา) ............................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................... ๕. ขอเสนอแนะเพิม่ เติม ............................................................................................................................................................. .....................................................................................................................................................................................................  ขอขอบคุณที่กรุณาใหขอคิดเห็นที่เปนประโยชนตอหนังสือขาวทหารอากาศ  กรุณาสงแบบสอบถามคืนที่สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ หอสมุดกองทัพอากาศ โทรสาร ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑ หรือ สามารถตอบแบบสอบถามไดที่ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th หมายเหตุ ผูตอบแบบสอบถาม มีสิทธิ์รับรางวัล สมุดบันทึกประจําวันทหารอากาศ ป ๒๕๖๐ จํานวน ๑ ชุด (๑ ชุด มี ๒ เลม) โดยวิธีจับสลาก ๑๕ รางวัล สงแบบสอบถามภายใน ๓๑ ต.ค.๕๙ ผูสงแบบสอบถามสามารถตรวจสอบรายชื่อผูรับรางวัลไดท่ี หนังสือขาวทหารอากาศ ฉบับเดือน ธ.ค.๕๙ หรือ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th












Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.