หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน กรกฎาคม 2560

Page 1


พระราโชวาท สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร งานราชการนั้น คืองานของแผนดิน มีผลเกี่ยวเนื่องโดยตรงถึงประโยชนของประเทศชาติและ ประชาชนทุกคน ดังนัน้ ขาราชการผูป ฏิบตั งิ านของแผนดิน จึงตองทําความเขาใจถึงความสําคัญในหนาที่ และความรับผิดชอบของตนใหถอ งแท แลวรวมกันคิดรวมกันทํา ดวยความอุตสาหะเสียสละ และดวยความ สุจริตจริงใจ โดยถือประโยชนทจี่ ะเกิดจากงานเปนหลักใหญ งานของแผนดินทุกสวน จักไดดาํ เนินกาวหนา ไปพรอมกัน และสําเร็จประโยชนทพี่ งึ ประสงค คือยังความเจริญมัน่ คงใหเกิดแกประเทศชาติและประชาชน ไดแทจริงและยั่งยืนตลอดไป พระราชทานแกขาราชการพลเรือน เนื่องในวันขาราชการพลเรือน วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๐

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 2

6/23/2560 BE 11:28


บทอาเศียรพาท สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสดุดี ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ยี่สิบแปดกรกฎาคมมหาผล วันมงคลของไทยคุณไพศาล ราชสมภพในองคตรงตองการ ทรงสืบสานวงศกษัตริยจรัสคุณ พระเสด็จจากฟามาเปนแน จึงงามแทพระบารมีที่เกื้อหนุน ปวงชนชาวไทยปราโมทยอุโฆษคุณ พระการุณยเลิศลํานําพระทัย พระบารมีศรีไทยวิไลเลิศ ไทยตางเทิดมั่นคงมิสงสัย ทั่วดินแดนแควนถิ่นแผนดินไทย สุดสดใสพระปรีชาสงางาม พระเกียรติยศงดงามนามไสว นําพระทัยเลิศคุณบุญสยาม เปนศรีชาติศรีนครพรเรืองนาม สงางามบุญตาคุณคาจริง ทศธรรมลําเลิศประเสริฐศักดิ์ ทรงเปนหลักชัยสยามงดงามยิ่ง ผูอยูใตใบบุญอบอุนจริง ทรงเปนมิ่งขวัญไทยอยางไพบูลย พระทสมินทรปนกษัตริยจรัสเลิศ ไทยตางเทิดทูนไวไมเสื่อมสูญ อเนกอนันตมั่นคงดํารงจํารูญ ตางเพิ่มพูนภักดีมิมีวาง วันสําคัญเชนนี้มีมาถึง ชาวไทยซึ้งพระคุณบุญกวางขวาง หันหนาสูที่ประทับทุกทิศทาง นอมเบญจางคประดิษฐประสิทธิ์พร ขอพระพุทธพระธรรมลําพระสงฆ โปรดจํานงคุมบพิตรอดิศร ขอทวยเทพเทวาฤทธิ์ประสิทธิ์พร ครบขั้นตอนคุมครององคทรงพระเจริญ ดวยเกลาดวยกระหมอม ขาพระพุทธเจา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ) 01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 3

6/23/2560 BE 09:27



_ET@E OC`G Ib;$TEbM <EV$TE? $O<EC LlTMES< $TE;lT<Z'GT$E6 T;- T* $ TIL[$ TEbM <EV$TE OZ 7 LTM$EEC$TE<V ; OD T *CW C T7E2T; EASA Part-145, EASA UK Part 145, EASA Part 147, EASA Part M, EASA Part 21 J

¤¤¢ ³¤ ºn ² ³¤ ¤µª² c¦¦q ®µ q ¤±¾ ©Â £ ˳ ² ºn ¤±«³ ³ ³¤ ¤¨ m®¢ ¾ ¤¸Æ® µ ® ® ² ®³ ³©¬¦³£ µ ¿¦±Á¬n ¤µ ³¤« ² « ¹ ³¤ e ® ¤¢ n³ ¾ µ Á¬n ² ¤µª² ®¹ «³¬ ¤¤¢ ³¤ µ ˳ ² 7$,  n ² ¢¸® ² ¤µª² FLTECHNICS ·Æ ¾ | ¤µª² ¶Æ¢¶ ¶ ¨³¢«³¢³¤ ¿¦± ¨³¢¾ ¶Æ£¨ ³è ³ ¾ µ ¶Æ£® ¾£¶Æ£¢Á n³ ®¹ «³¬ ¤¤¢ ³¤ µ Á ¤± ² «³ ¦ ¤n®¢¿¦n¨ ¶Æ ±¾¤m £³£ ¤µ ³¤ ³¤ e ® ¤¢¾ ¸Æ® «m ¾«¤µ¢©² £¡³ ¹ ¦³ ¤ n³ m³ ¾ ¸®Æ ¤® ¤² ³¤ £³£ ²¨ ® ®¹ «³¬ ¤¤¢ ³¤ µ Á ¡º¢µ¡³ ¾®¾ ¶£ ¾¤³¢¶ ¨³¢¡º ¢µ Á ¶Æ ±¿ ± Ë ³ «µÆ ¶Æ ± Ë ³ Á¬n ¹ «µÆ Á ®¹ «³¬ ¤¤¢ ³¤ µ Ë ³ ¾ µ  ®£m ³ ¤³ ¤¸Æ ¶Æ«¹ ¤n®¢ ²Ç ¬¦² «º ¤ e ® ¤¢¾ µ ¥ª ¶¿¦± ¡³ µ ² ¾µ µ ¤± ® ³¤ e ® ¤¢ n³ ¨µ©¨ ¤¤¢ ¿¦± ³¤¨³ ¿ ³¢ ¥ª ¶ ¬¦² «º ¤ ³¤ ˳ ¨³¢ ¹n ¾ £ ²Æ¨Â n³ ¤± ¨ ³¤ ²Ç ¬¢ ® 052 FLTECHNICS  n¤² ¾¦¸® ³ 87DLU ¾ ¸Æ® ³ ¢¶ ¨³¢ ¦m® ²¨ Á ³¤¾ n³ · ³¤ ˳¤¹ ¤² ª³ ¶Æ«¢ º¤ q¿ ¤± ² «³ ¦ 3K\OO LQW 7KDLODQG &RPSDQ\ /LPLWHG UHSUHVHQWDWLYH IURP )/7(&+1,&6 )/7(&+1,&6 ZLWK LWV +HDG 2IILFH LQ 9LOQLXV /LWKXDQLD LV D JOREDO SURYLGHU RI WDLORU PDGH VROXWLRQV IRU DLUFUDIW PDLQWHQDQFH DQG UHSDLU DQG LV D PHPEHU RI $YLD 6ROXWLRQV *URXS D :6( OLVWHG $YLDWLRQ &RPSDQ\ ZLWK PRUH WKDQ VXEVLGLDULHV JOREDOO\ FLTECHNICS LV DQ ($6$ 3DUW 3DUW 0 3DUW 3DUW FHUWLILHG FRPSDQ\ DV ZHOO DV D %RHLQJ *ROG &DUH 3URJUDP SDUWQHU ZLWK FHUWLILFDWH DSSURYDOV LQ 5XVVLD %HUPXGD DQG RWKHU FRXQWULHV 7KH FRPSDQ\ FXUUHQWO\ VHUYLFHV D ZLGH UDQJH RI %RHLQJ $LUEXV $75 (PEUDHU %RPEDUGLHU &5- DQG RWKHU W\SHV RI DLUFUDIW $LUFUDIW ZH VHUYH $LUEXV $ $ $LUEXV $ $ $LUEXV $ %RHLQJ &/ %RHLQJ 1* %RHLQJ %RHLQJ %RHLQJ %RHLQJ %RHLQJ 6$$% $75 $75 &5- &5- (PEUDHU ;5 0L 7 3 36 0L 07 0L 0L 079 0L 9 0L $07 0L DQG 0LOLWDU\ DOO 7\SHV SRU VHYLNXO 01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 5

6/23/2560 BE 09:27


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 6

6/23/2560 BE 11:29


วันอาสาฬหบูชา ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เพ็ญเดือนแปดเย็นใจไปทุกที่ วันอาสาฬหบูชาเขามาดล พุทธองคทรงประกาศศาสนา แกพระปญจวัคคียมีนําใจ ธรรมจักรหลักธรรมนํามาโปรด เกิดปฐมภิกษุบรรลุบุญ วันพระรัตนตรัยไดมาครบ วันอาสาฬหบูชามาประจํา เมื่ออาสาฬหบูชาเวียนมาถึง พระพุทธองคมีคุณบุญฤทัย คุณพระสงฆบุญเขตเหตุสืบสาน โลกสวางรมเย็นเพ็ญจํารูญ คุณมรรคผลนิพพานตระการศรี มีทวยเทพเทวาสาธุการ ขอคุณพระไตรรัตนพิพัฒนผล พบแตสุขสันตอันถาวร

ชื่นฤดีทั่วไปในทุกหน พรมงคลทั่วถิ่นแผนดินไทย สิ่งโอฬารสวางโลกโชคไสว ชาวโลกไดซาบซึ้งถึงพระคุณ ใหเห็นโทษทุกขทับสนับสนุน ชวยคําจุนพุทธศาสนประกาศธรรม ควรนอมนบเทิดไวใหเลิศลํา หลักเลิศลํา “วันพระสงฆ” จํานงใน ชาวพุทธพึงตั้งจิตวินิจฉัย พระธรรมไซรสวางโลกโชคเกื้อกูล ธรรมวินัยใสตระการไมเสื่อมสูญ นับเปนบุญของมนุษยสุดประมาณ ยังมากมีในมนุษยสุดกลาวขาน เปนมนุษยสุดประมาณตระการพร โปรดชวยชนชาติไทยมิถายถอน นิรันดรสุขสวัสดิ์พิพัฒนเทอญ

พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 7

6/23/2560 BE 09:27


ครบอาสาฬหบูชาพาสุขศรี ทรงกําหนดใหสงฆทรงศรัทธา อยูสถานที่ใดใหกําหนด เฝาฝกจิตของตนพนมัวเมา เดือนแปดแรมหนึ่งคําตามกําหนด ปฏิบัติจิตตนพนบวงมาร เมื่อพระสงฆจําพรรษาพาสุขถึง ปฏิบัติเชนเดียวใหเกลียวกลม จะพบทางหางมารการทั้งผอง ละเลิกอบายมุขสุขอนันต ทั้งสุรานารีกีฬาบัตร ยกระดับจิตตนทนบรรเทา เมื่อวันเขาพรรษาเวียนมาถึง หมั่นทําบุญตักบาตรประกาศตน ขอคุณพระรัตนตรัยคุณใหญหลวง ชาวพุทธตางมีสุขพนทุกขจริง

ก็พอดีถึงวันเขาพรรษา เขาศึกษาปฏิบัติเพื่อขัดเกลา ใหหมดจดผองใสไรขลาดเขลา เพื่อบรรเทาโลภหลงวงศแหงมาร อยูครบไตรมาสไมขาดสมาน และสืบสานทางพุทธสุดนิยม ชาวพุทธพึงตั้งใจใหเหมาะสม สุดนิยมทางธรรมที่สําคัญ ตามทํานองพบทางตางสุขสันต ผลผูกพันพาตัวพนมัวเมา สารพัดหมองหมนปนโงเขลา เลิกมัวเมาหางทุกขสุขกมล ชาวพุทธพึงทําบุญพูนกุศล พรมงคลเกิดแนสุขแทจริง เทพทั้งปวงอวยชัยใหใหญยิ่ง ประสบยิ่งพรเลิศเกิดทั่วเทอญ

พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 8

6/23/2560 BE 11:30


บานของพอ พระราชวังที่ไมเหมือนที่ใดในโลก

โครงการผลิตพลังงานทดแทน

นวรัตน

(ตอจากฉบับที่แลว)

จากสายพระเนตรอันยาวไกล พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน จึงมิไดเปนเพียงที่ประทับของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แตยังเปนหองทดลองคนควาสวนพระองค เพื่อนําผลการศึกษาพระราชทาน แกประชาชน พระองคทางริเริม่ การศึกษาวิจยั เรือ่ ง พลังงานทดแทนรูปแบบตาง ๆ ผานโครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา อยางเปนรูปธรรมมาอยางตอเนือ่ ง โดยมีพระราชดําริใหนาํ พืชผลการเกษตรมาผลิตเปนพลังงานทดแทน เพือ่ ใหคนไทย สามารถพึง่ พาตนเองไดในดานพลังงาน รวมทัง้ รองรับปญหาราคาพืชผลเกษตรตกตาํ ตลอดจนเปนการนําเศษวัสดุเหลือใช มาทําประโยชนใหคุมคาที่สดุ และสรางระบบนิเวศใหเกิดความสมดุล อีกทั้งยังจุดประกายใหคนไทย ตระหนักในคุณคา ของการอนุรักษและการพัฒนาพลังงานที่ยั่งยืน โดยมีโครงการดานพลังงานทดแทนที่สําคัญ ดังนี้

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 9

6/22/2560 BE 00:44


๑๐ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

โครงการทดลองผลิตแกสโซฮอลและไบโอดีเซล โครงการทดลองผลิตแกสโซฮอล งานทดลองผลิตภัณฑเชือ้ เพลิงเริม่ ขึน้ เมือ่ ป พ.ศ.๒๕๒๘ โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ไดเสด็จพระราชดําเนินตรวจเยีย่ มโครงการสวนพระองคฯ และมีพระราชกระแสรับสัง่ ใหศกึ ษาตนทุนการผลิตแอลกอฮอล จากออย เพราะวาในอนาคตอาจเกิดเหตุการณนาํ มันขาดแคลนหรือออยราคาตาํ การนําออยมาแปรรูปเปนแอลกอฮอล เพือ่ ใชเปนพลังงานทดแทน จึงเปนแนวทางหนึง่ ทีจ่ ะแกไขปญหานีไ้ ด พระองคไดพระราชทานเงินเพือ่ ใชเปนทุนวิจยั สําหรับ ใชในการดําเนินงาน จํานวน ๙๒๕,๕๐๐ บาท สําหรับจัดสรางอาคารและอุปกรณตาง ๆ ในการทดลองนี้ การศึกษาวิจัยเริ่มตั้งแตการทดลองปลูกออยหลายพันธุ โดยคัดเลือกพันธุที่ดีที่สุดเพื่อนํามาทําแอลกอฮอล นอกจากออยที่ผลิตไดภายในโครงการสวนพระองคฯ แลวยังออกไปรับซื้อออยจากเกษตรกรเพื่อนํามาเปนวัตถุดิบ อีกดวย

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 10

6/22/2560 BE 00:40


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๑๑

โรงงานแอลกอฮอลมีทั้งเครื่องหีบออย ถังหมัก หอกลั่นขนาดเล็ก เริ่มเดินเครื่องการผลิตครั้งแรกในป พ.ศ.๒๕๒๙ สามารถผลิตแอลกอฮอล ๙๑% ในอัตรา ๒.๘ ลิตรตอชั่วโมง ตอมาเนื่องจากวัตถุดิบมีไมเพียงพอ จึงไดเปลี่ยนมาใชกากนําตาล พรอมทั้งสรางอาคารศึกษาวิจัยหลังใหม ภายในโครงการ สําหรับแอลกอฮอลที่ผลิตในชวงแรกยังไมสามารถนําไปผสมกับเบนซินได จึงไดนําผลผลิตที่ไดไปทํา นาํ สมสายชู หลังจากนัน้ เปนแอลกอฮอลแข็งใชอนุ อาหารใหกบั ทางหองเครือ่ งของสวนจิตรลดาเนือ่ งจากเดิมใชแอลกอฮอล เหลว ครั้งหนึ่งเมื่อมีการขนสงแอลกอฮอลเหลวไปยังพระตําหนักในภาคเหนือ รถเกิดอุบัติเหตุจนไฟไหมรถทั้งคัน เพราะแอลกอฮอลเปนเชื้อเพลิงอยางดี จึงไดมีการคิดนําแอลกอฮอลมาทําเปนเชื้อเพลิงแข็งเพื่อความปลอดภัยแทน โรงงานแอลกอฮอลมีการพัฒนาปรับปรุงการกลั่นเรื่อยมา หลังจากนั้นสามารถผลิตแอลกอฮอลบริสุทธิ์ ๙๕% หรือ ที่เรียกวา “เอทานอล” ไดเปนผลสําเร็จ

เมื่อโรงงานแอลกอฮอลของโครงการสวนพระองคฯ สามารถผลิตแอลกอฮอลบริสุทธิ์ได ๙๕% ก็ไดทดลอง นําไปผสมกับนํามันเบนซินเติมเครื่องยนต แตไมประสบความสําเร็จ เพราะแอลกอฮอลบริสุทธิ์ ๙๕% มีนําผสมอยู จึงตองนําไปกลั่นแยกนําเพื่อใหไดแอลกอฮอลบริสุทธิ์ ๙๙.๕% หรือเอทานอลกอนนําไปผสมกับนํามันเบนซิน โครงการสวนพระองคฯ จึงไดนาํ แอลกอฮอลบริสทุ ธิ์ ๙๕% ไปผานกระบวนการแยกนาํ ทีส่ ถาบันวิจยั วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงประเทศไทยเพื่อใหไดเอทานอลและนํากลับมาผสมกับนํามันเบนซินที่โครงการสวนพระองคฯ ป พ.ศ.๒๕๓๗ โครงการสวนพระองคฯ ไดขยายกําลังการผลิตเอทานอลเพื่อใหมีปริมาณเพียงพอผสมกับ นํามันเบนซิน ๙๑ ในอัตราสวน ๑ : ๙ ไดเปนนํามันแกสโซฮอลเติมใหกับรถยนตทุกคันของโครงการสวนพระองคฯ ซึ่งเปน ๑ ใน ๖ โครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่พระองคทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ป

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 11

6/22/2560 BE 00:40


๑๒ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

เมือ่ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงเปดโรงงานผลิตแอลกอฮอลเปนเชื้อเพลิง โดยโรงกลั่นใหมนี้มีกําลังการผลิตแอลกอฮอลไดชั่วโมงละ ๒๕ ลิตร ในกระบวนการกลั่นจะไดนํากากสาเปนนําเสีย ซึ่งสวนหนึ่งใชรดกองปุยหมักของโรงงานปุยอินทรีย การผสมแอลกอฮอลกับเบนซินของโครงการสวนพระองคฯ ในระยะแรก เปนการนํานํามันและเอทานอล มาผสมในถังธรรมดา ใชแรงงานคนเขยาใหเขากัน ตอมาบริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) (การปโตรเลียมแหงประเทศไทย ในเวลานั้น) ไดนอมเกลานอมกระหมอมถวายหอผสมและสถานีบริการนํามันแกสโซฮอลแกโครงการสวนพระองคฯ

ป พ.ศ.๒๕๔๔ ภาคเอกชน ๒ กลุม นอมเกลาฯ ถวายเครื่องแยกนําออกจากเอทานอล (Dehydration Unit) ๒ แบบ คือ เครื่อง Molecular Sieve Dehydration Unit และเครื่อง Membrane Dehydration Unit ปจจุบนั สถานีบริการเชือ้ เพลิงในโครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา นอกจากผลิตนาํ มันแกสโซฮอลเติมใหกบั รถยนตทุกคันของโครงการแลว งานทดลองผลิตภัณฑเชื้อเพลิงนี้ยังเปนแหลงความรูแกประชาชนที่สนใจอีกดวย

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 12

6/22/2560 BE 00:40


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๑๓

โครงการผลิตไบโอดีเซล ในป พ.ศ.๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชดําเนินพรอมดวยสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตรโรงงานสกัดนํามันปาลมสาธิตที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และ มีพระราชดํารัสใหไปทดลองสรางโรงงานใหกลุมเกษตรกรที่มีความพรอมในพื้นที่จริง ในป พ.ศ.๒๕๓๙ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดจัดสรางโรงงานสกัดนํามันปาลมทดลองขึ้นที่สหกรณนิคม อาวลึก จังหวัดกระบี่ ในป พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชกระแสใหสรางโรงงาน แปรรูปนํามันปาลมขนาดเล็กครบวงจร ที่ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งแลวเสร็จในป พ.ศ.๒๕๓๓ ในป พ.ศ.๒๕๔๓ โครงการสวนพระองคฯ และกองงานสวนพระองค วังไกลกังวล อําเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ เริ่มการทดลองนํานํามันปาลมมาใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องยนตดีเซล จากการทดสอบพบวา นํามันปาลมบริสุทธิ์ ๑๐๐% สามารถใชเปนนํามันเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องยนตดีเซล โดยไมตองผสมกับนํามันเชื้อเพลิงอื่น ๆ หรืออาจใชผสมกับนํามันดีเซลไดตั้งแต ๐.๐๑% ไปจนถึง ๙๙.๙๙%

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 13

6/22/2560 BE 00:40


๑๔ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

สิทธิบัตรการประดิษฐ “การใชนํามันปาลมกลั่นบริสุทธิ์เปนนํามันเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องยนตดีเซล” จากผลความสําเร็จดังกลาว เมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหคุณอําพล เสนาณรงค องคมนตรี เปนผูแทนพระองคยื่นจดสิทธิบัตร “การใช นาํ มันปาลมกลัน่ บริสทุ ธิเ์ ปนนาํ มันเชือ้ เพลิงเครือ่ งยนตดเี ซล” และในปเดียวกันนัน้ สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ อัญเชิญผลงานของพระองค ๓ ผลงาน คือ ทฤษฎีใหม โครงการฝนหลวง และโครงการนาํ มันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากนาํ มันปาลม ไปรวมแสดงในงานนิทรรศการสิ่งประดิษฐนานาชาติ “Brussels Eureka 2001” ณ กรุงบรัสเซลส ประเทศเบลเยี่ยม โครงการนํามันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากนํามันปาลม ไดรับเหรียญทองประกาศนียบัตรสดุดีเทิดพระเกียรติคุณ พรอมถวยรางวัล

แหลงขอมูลและภาพ - พระบิดาแหงการพัฒนาพลังงานไทย - www.eppo.go.th

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 14

(ฉบับหนาติดตาม โครงการเชื้อเพลิงอัดแทง)

6/22/2560 BE 00:40


บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ ขาราชการกองทัพอากาศและสมาชิกทุกทาน หลายวัน

หนังสือขาวทหารอากาศฉบับเดือนกรกฎาคม เปนเดือนทีม่ วี นั สําคัญใหทกุ ทานไดรบั ทราบและระลึกถึงดวยกัน วันที่ ๒๘ กรกฎาคมของทุกปเปน วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร พระองคทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจดานตาง ๆ นานัปการ นําความเจริญไพบูลยและความมั่นคงมาสู ประเทศ เชน ดานการแพทยและสาธารณสุข การศึกษา การศาล การสังคมสงเคราะห การพระศาสนา การตางประเทศ การศึกษา ฯลฯ ขาพระพุทธเจาคณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ ขอพระราชทานถวายพระพรชัยมงคล ดวยความ จงรักภักดี ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และอานุภาพแหงสรรพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย อีกทั้งพระเดชานุภาพแหง พระสยามเทวาธิราช พระบารมีแหงพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจาทุกพระองค ไดโปรดอภิบาลประทานพรให ใตฝาละอองธุลีพระบาท ทรงพระเจริญดวยจตุรพิธพรชัย พระชนมพรรษายิ่งยืนนาน เฉลิมฉัตรเปนมิ่งขวัญ รมโพธิ์ทอง ของปวงขาพระพุทธเจา เหลาพสกนิกรชาวไทยตลอดกาลนิรันดรเทอญ ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ วันที่ ๘ กรกฎาคม “วันอาสาฬหบูชา” เปนวันที่พระพุทธเจาทรงประกาศพระพุทธศาสนาเปนครั้งแรก โดยแสดงปฐมเทศนา “ธรรมจักกัปปวัตนสูตร” โปรดพระปญจวัคคียท งั้ ๕ การแสดงธรรมครัง้ นี้ พราหมณอญั ญาโกณฑัญญะ ๑ ใน ๕ ปญจวัคคีย เกิดความเลือ่ มใสในธรรมของพระพุทธเจา ไดกราบทูลขอบวชและพระพุทธองคกท็ รงอนุญาต นับเปน “ปฐมสาวก” ของพระพุทธเจา ในวันนีจ้ งึ เปนวันแรกทีม่ พี ระรัตนตรัยครบองคสาม คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ วันที่ ๙ กรกฎาคม “วันเขาพรรษา” เปนวันที่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาอธิษฐานอยูประจําในวัดแหงเดียว ตามพุทธบัญญัติตลอด ๓ เดือนในฤดูฝน เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยและสงเคราะหพุทธบริษัททั่วไป คณะผูจัดทําฯ ขอเชิญชวน สมาชิกรวมทําบุญตักบาตร รักษาศีล ฟงพระธรรมเทศนา และสวดมนต เพื่อเปนการสืบทอดประเพณีอันดีงามของไทย เรื่องเดนในฉบับเปนบทความเกี่ยวกับ ผลการตรวจสอบการกํากับดูแลความปลอดภัยดานการบินพลเรือน ตามมาตรฐานทั้ง ๘ ดานของไทยในป ๒๕๕๙ โดยองคการการบินพลเรือนระหวางประเทศหรือที่รูจักในนาม The International Civil Aviation Organization: ICAO ซึ่งไทยยังคงมีปญหาดานการกํากับดูแลไมเปนไปตามมาตรฐาน ที่ทางองคการกําหนด จึงสงผลใหทาง ICAO ติดธงแดงใหกับประเทศไทย ประเทศไทยไดจัดตั้งศูนยบัญชาการแกไข ปญหาการบินพลเรือนขึ้น โดยมี ผูบัญชาการทหารอากาศเปนผูบังคับการศูนยฯ รายละเอียดสามารถติดตามไดในเรื่อง “ธงแดง” บนชื่อประเทศไทย และเรื่อง RBS-15F ER อาวุธในอนาคตของเครื่องบินขับไล Gripen E เปนจรวดนําวิถี ตอตานผิวนาํ ประเภท “fire-and-forget” ทีต่ ดิ ตัง้ กับเครือ่ งบินขับไล Gripen E ของกองทัพอากาศสวีเดนเปนจรวดนําวิถี ที่มีความแมนยําสูงและมีประสิทธิภาพในการทําลายเปาหมายโดยใชจรวดนําวิถีจํานวนนอยลง นอกจากนี้ยังมีอีก หลายบทความที่นาสนใจใหสมาชิกไดติดตาม """ บรรณาธิการ 

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 15

6/22/2560 BE 16:54


ขาวทหารอากาศ คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ

ความเปนมา

เจาของ

กองทัพอากาศ

ที่ปรึกษา

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.สหัสชัย มาระเนตร พล.อ.ต.ธนบดี อุตะมะ พล.อ.ต.นอย ภาคเพิ่ม น.อ.อํานวย สมวงศ น.อ.ศุภโชติ ชัยวงษ น.อ.วรชาติ ทองศิริ น.อ.ปรีชา วรวัชรญาณ

หนังสือขาวทหารอากาศ

พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑไพโรจน พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

พล.อ.ต.นพดล บุญมั่น พล.อ.ต.สําเริง พูลเพิ่ม น.อ.ขวัญกลา นกเอี้ยงทอง น.อ.วันชัย พึ่งเจียม น.อ.หญิง วิภาดา ชนไมตรี น.อ.ชัยวัฒน แจมดวง

ผูอํานวยการ

พล.อ.ท.ฉัตรชัย บุญญานุรักษ เจากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

รองผูอํานวยการ

พล.อ.ต.คุณทร มณีเขียว เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.วันชัย บุญภักดี รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจัดการ น.อ.อุรุพงษ แสงจันทร ผูชวยผูจัดการ น.อ.ชาญยุทธ รัตนสาลี กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ฉัตรชัย บุญญานุรักษ ผูชวยบรรณาธิการ น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง น.ท.หญิง วรรณวิไล เนียมวงษ ประจํากองบรรณาธิการ น.อ.หญิง เจิมขวัญ ประทีปรัตน น.อ.นิพนธ กอสินคา ร.ต.หญิง ณัฐธิฌา สนแจง พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห นาย ธีรเชษฐ ปยะเจียระไน กองจัดการ ร.อ.สุวัฒน ประชากูล พ.อ.อ.หญิง เศาวณี พุกนอย พ.อ.อ.หญิง เฉลา แกวยศ นาง อมรา หัตถมาศ

หนังสือขาวทหารอากาศ เปนนิตยสารรายเดือนของกองทัพ อากาศ เริ่มดําเนินการเมื่อป พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรมขาวทหารอากาศ มีนาวาอากาศเอก สกล รสานนท เปนบรรณาธิการคนแรก ดําเนินการ โดยทุนของขาราชการทหารอากาศ ตอมาป พ.ศ.๒๔๙๘ ไดโอนกิจการ มาอยูในความอํานวยการของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ไดเขาอยูในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กํากับดูแลโดยคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพกองทัพ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค.๕๒ กําหนดใหใชระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพ อากาศ วาดวยการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒

ภารกิจ

ดําเนินกิจการหนังสือขาวทหารอากาศ ใหเปนไปตามนโยบายของ คณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสือ่ สิง่ พิมพกองทัพอากาศ มีผอู าํ นวยการ หนังสือขาวทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค

๑. เพื่อเพิ่มพูนความรูในกิจการทั่ว ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในดานการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม อันจะ เปนประโยชนตอสวนรวม ๓. เพื่อเผยแพรกิจการกองทัพอากาศ

การดําเนินงาน

๑. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น ที่เปน ประโยชนในการพัฒนากองทัพและสวนรวม ๒. เรื่องที่นําลงในหนังสือขาวทหารอากาศ - ตองไมขัดตอวัตถุประสงค/นโยบาย กองทัพอากาศ - ตองไมกระทบตอความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ สวนรวม - ตองไดรับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะกรรมการ พิจารณาเรื่องของสํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ

กําหนดการเผยแพร

นิตยสารรายเดือน

สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th หอง ๑๐๑ อาคารหอสมุดกองทัพอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ แฟกซ ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

พิมพที่ บริษัท ปรีชาธร อินเตอรพริ้น จํากัด ๔/๕ ซอย รามอินทรา ๔๒ แยก ๘ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐ โทร. ๐-๒๙๓๐-๗๐๕๓-๔ แฟกซ ๐-๒๙๓๐-๗๐๕๐ คาสมาชิกภายนอกปละ ๓๕๐ บาท (รวมคาสง)

ความคิดเห็นของผูเขียนในหนังสือฉบับนี้ ไมมีสวนผูกพันกับทางราชการแตประการใด ภาพที่ลงในหนังสือขาวทหารอากาศนํามาจาก google.com ออกแบบปก : น.อ.ชาญยุทธ รัตนสาลี E-mail: rtafmag@gmail.com

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 16

6/22/2560 BE 00:40


ารบัญ

ปที่ ๗๗ ฉบับที่ ๗ เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๐

๑๘ ประวัติศาสตรชาติไทย ...สุรสิทธิ์ สําแดงสุข ๒๓ วันภาษาไทยแหงชาติ ...แมพลอย ๒๗ ๖๘ ป โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ นําการเปลี่ยนแปลง ...น.ท.สุริยา ราชขันธ อจ.กกศ.รร.สธ.ยศ.ทอ. ๓๐ ๖๔ ป กองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช ...พล.อ.ต.รศ.สมโภชน ผิวเหลือง ผอ.กกศ.รร.นนก. ๓๔ ความเหมือนที่แตกตางของระบบการศึกษาเมืองผูดี (อังกฤษ) ...น.อ.เฉลิมชัย ชูชาติพงษ ๓๙ “ธงแดง” บนชื่อประเทศไทย ...พล.อ.อ.ปรีชา ประดับมุข ๓๙

พล.อ.อ.ปรีชา ประดับมุข

๔๕ นักเรียนนายเรืออากาศไทยสรางชื่อเสียงในตางแดน ...แรมโบ ๕๑ ๗๑ ป โรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูง กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ...น.ท.เฉลิม มณีสถิตย ๕๕ รอบรูอาเซียน : เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน ...@Zilch ๕๖ RBS-15F ER อาวุธในอนาคตของเครื่องบินขับไล Gripen E ...พ.อ.อ.จํานงค ศรีโพธิ์

๖๑

น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต

๖๑ ความไมปลอดภัยในหวงอวกาศ ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ๖๖ “ปญญาพล” แนวคิดการพัฒนาทหารฉลาด ผานระบบ การฝกศึกษา (๔) ...น.อ.ยุทธศักดิ์ พูลสุวรรณ, Ph.D. ๗๐ เตรียมความพรอมกอนเกษียณอยางมีความสุข ...น.อ.ธวัชชัย มากพานิช ๗๔ ทอ.ปลอดภัย...หางไกลโรค : โรคตาแดง ...ร.ท.ชยุตม วิมลาภิรัต กวป.พอ. ๗๖ มุมสุขภาพ : ยานั้นสําคัญไฉน ?? ...นายหวงใย ๗๘ CROSSWORD (มีรางวัล) ...อ.วารุณี ๘๑ ภาษาไทยดวยใจรัก : เนื่องจากหิโตปเทศ ...นวีร ๘๔ ครูภาษาพาที : เศรษฐกิจอินเดียแซงหนาอเมริกา ...Christian Soldier ๘๘ เวลาการตูน ...มิสกรีน ๙๐ ขอบฟาคุณธรรม : เปนผูรูจักเขาโรงเรียนชีวิต ...1261 ๙๔ มุมกฎหมาย : เมื่อลูกหนี้ไมใชหนี้ เจาหนี้ตองทําอยางไร ...ร.อ.ชานุวัฒน แสงสุวรรณ ๙๘ ธรรมะ ประทีป : มัททวธรรม ...กอศ.ยศ.ทอ. ๙๙ ในรั้วสีเทา

หมายเหตุ : หนังสือขาวทหารอากาศฉบับที่ ๖ เดือนมิถุนายน ๒๕๖๐ เรื่อง ๖๘ ป โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ นําการเปลี่ยนแปลง หนา ๒๔ - ๒๖ เกิดขอผิดพลาด ทางหนังสือขาวทหารอากาศขออภัยมา ณ ที่นี้ และไดดําเนินการ ลงบทความใหใหมในฉบับนี้

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 17

6/22/2560 BE 17:47


สุรสิทธิ์ สําแดงสุข (ตอจากฉบับที่แลว)

อาณาจักรศรีอยุธยา ( พ.ศ.๑๘๙๓ – พ.ศ.๒๓๑๐ ) ๔๑๗ ป ยุคอาณาจักรศรีอยุธยา ประกอบดวย ๕ ราชวงศดังนี้

อาณาจักรศรีอยุธยา

ราชวงศอูทอง

ราชวงศสุวรรณภูมิ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 18

ราชวงศสุโขทัย (พระรวง)

ราชวงศปราสาททอง

ราชวงศบานพลูหลวง

6/22/2560 BE 00:40


• ราชวงศอูทอง รัชกาลที่ ๑ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง) พ.ศ.๑๘๙๓ – ๑๙๑๒ (๑๙ ป) รัชกาลที่ ๒ สมเด็จพระราเมศวร (ครองราชยครั้งที่ ๑) พ.ศ.๑๙๑๒ – ๑๙๑๓ (ไมถึงป) • ราชวงศสุวรรณภูมิ รัชกาลที่ ๓ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ (ขุนหลวงพระงั่ว) พ.ศ.๑๙๑๓ – ๑๙๓๑ (๑๘ป) รัชกาลที่ ๔ สมเด็จพระเจาทองจันทร (สมเด็จพระเจาทองลัน) พ.ศ.๑๙๓๑ (๗ วัน) รัชกาลที่ ๕ สมเด็จพระราเมศวร (ครองราชยครั้งที่ ๒) พ.ศ.๑๙๓๑ – ๑๙๓๘ (๗ ป) รัชกาลที่ ๖ สมเด็จพระรามราชาธิราช พ.ศ.๑๙๓๘ – ๑๙๕๒ (๑๔ ป) รัชกาลที่ ๗ สมเด็จพระนครินทราธิราช (เจานครอินทร) พ.ศ.๑๙๕๒ – ๑๙๖๗ (๑๕ ป) รัชกาลที่ ๘ สมเด็จพระบรมรามาธิบดีที่ ๒ (เจาสามพระยา) พ.ศ.๑๙๖๗ – ๑๙๙๑ (๒๔ ป) รัชกาลที่ ๙ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ.๑๙๙๑ – ๒๐๓๑ (๔๐ ป) รัชกาลที่ ๑๐ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ (พระอินทราชา) พ.ศ.๒๐๓๑ – ๒๐๓๔ (๓ ป) รัชกาลที่ ๑๑ สมเด็จพระบรมรามาธิบดี ที่ ๒ พ.ศ.๒๐๓๔ – ๒๐๗๒ (๓๘ ป) รัชกาลที่ ๑๒ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ (หนอพุทธางกูร) พ.ศ.๒๐๗๒ – ๒๐๗๖ (๔ ป) รัชกาลที่ ๑๓ พระรัษฎาธิราช พ.ศ.๒๐๗๖ – ๒๐๗๗ (๕ เดือนเศษ) รัชกาลที่ ๑๔ สมเด็จพระไชยราชาธิราช พ.ศ.๒๐๗๗ – ๒๐๘๙ (๑๒ ป) รัชกาลที่ ๑๕ พระยอดฟา (พระแกวฟา) พ.ศ.๒๐๘๙ – ๒๐๙๑ (๒ป) รัชกาลที่ ๑๖ ขุนวรวงศาธิราช (พันบุตรศรีเทพ) พ.ศ.๒๐๙๑ (๔๒ วัน) รัชกาลที่ ๑๗ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเจาชางเผือก) พ.ศ.๒๐๙๑ – ๒๑๑๑ (๒๐ ป)

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 19

6/22/2560 BE 00:40


๒๐ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

• ราชวงศสุโขทัย (พระรวง) รัชกาลที่ ๑๘ สมเด็จพระมหินทราธิราช พ.ศ.๒๑๑๑ – ๒๑๑๒ (๑ ป) รัชกาลที่ ๑๙ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช (พระสรรเพ็ชญที่ ๑) พ.ศ.๒๑๑๒ – ๒๑๓๓ (๒๑ ป) รัชกาลที่ ๒๐ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระสรรเพ็ชญที่ ๒) พ.ศ.๒๑๓๓ – ๒๑๔๘ (๑๕ ป) รัชกาลที่ ๒๑ สมเด็จพระเอกาทศรถ (พระสรรเพ็ชญที่ ๓) พ.ศ.๒๑๔๘ – ๒๑๕๓ (๕ ป) รัชกาลที่ ๒๒ พระศรีเสาวภาคย (พระสรรเพ็ชญที่ ๔) พ.ศ.๒๑๕๓ (๑ เดือนเศษ) รัชกาลที่ ๒๓ สมเด็จพระเจาทรงธรรม พ.ศ.๒๑๕๓ – ๒๑๗๑ (๑๘ ป) รัชกาลที่ ๒๔ สมเด็จพระเชษฐาธิราช พ.ศ.๒๑๗๑ – ๒๑๗๒ (๘ เดือน) • ราชวงศปราสาททอง รัชกาลที่ ๒๕ สมเด็จพระอาทิตยวงศ พ.ศ.๒๑๗๒ (๓๘ วัน) รัชกาลที่ ๒๖ สมเด็จพระเจาปราสาททอง (พระสรรเพ็ชญที่ ๕) พ.ศ.๒๑๗๒ – ๒๑๙๙ (๒๗ ป) รัชกาลที่ ๒๗ สมเด็จเจาฟาไชย (พระสรรเพ็ชญที่ ๖) พ.ศ.๒๑๙๙ (๙ เดือน) รัชกาลที่ ๒๘ สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา (พระสรรเพ็ชญที่ ๗) พ.ศ.๒๑๙๙ (๒ เดือน ๒๐ วัน) รัชกาลที่ ๒๙ สมเด็จพระนารายณมหาราช (สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๓) พ.ศ.๒๑๙๙ – ๒๒๓๑ (๓๒ป) • ราชวงศบานพลูหลวง รัชกาลที่ ๓๐ สมเด็จพระเพทราชา (สมเด็จพระมหาบุรุษ) พ.ศ.๒๒๓๑ – ๒๒๔๖(๑๕ ป) รัชกาลที่ ๓๑ สมเด็จพระเจาเสือ (พระสรรเพ็ชญที่ ๘) พ.ศ.๒๒๔๖ – ๒๒๕๑ (๕ ป) รัชกาลที่ ๓๒ สมเด็จพระเจาทายสระ (พระสรรเพ็ชญที่ ๙) พ.ศ.๒๒๕๑ – ๒๒๗๕ (๒๕ ป) รัชกาลที่ ๓๓ สมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ (สมเด็จพระบรมราชาที่ ๓) พ.ศ.๒๒๗๕ – ๒๓๐๑ (๒๖ ป) รัชกาลที่ ๓๔ สมเด็จพระเจาอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) พ.ศ.๒๓๐๑ (๒ เดือน) รัชกาลที่ ๓๕ สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศนอมรินทร ( พระเจาเอกทัศ ) พ.ศ.๒๓๐๑ – ๒๓๑๐ (๙ ป)

ราชวงศอูทอง รัชกาลที่ ๑ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจาอูทอง) สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เปนพระมหากษัตริยใ นราชวงศ เชียงราย ครั้นเมื่อ พ.ศ.๑๘๙๓ ไดครองราชสมบัติในเมืองเทพนคร พระองคทรงเห็นวาถาเกิดปญหากับบานเมืองก็จะมีแตอันตราย และคับแคบจนเกินไป จึงไดเล็งเห็นสถานทีบ่ ริเวณตําบลหนองโสน ดานตะวันตกของอยุธยา เหมาะสมที่จะเปนทําเลที่ตั้งเมืองหลวง เพราะมีแมนําสําคัญ ๆ หลายสาย สามารถหลบหนีขาศึกในยาม สงครามและยากที่ขาศึกจะเขามาโจมตีได พระองคทรงสถาปนา อาณาจักรอยุธยาขึ้นเปนราชธานี เมื่อวันศุกร ขึ้น ๖ คํา เดือน ๕ ปขาล พ.ศ.๑๘๙๓ แลวไดทรงสรางพระบรมมหาราชวังและสราง ที่ประทับนอยใหญอีกมากมาย

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 20

พระเจาอูทอง

6/22/2560 BE 00:40


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๒๑

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ มีพระราชโอรส คือ สมเด็จพระเจาลูกยาเธอพระราเมศวร และโปรดเกลาฯ ให พระราเมศวรไปปกครองเมืองลพบุรี และใหขุนหลวงพะงั่ว พระเชษฐาของพระมเหสีในพระองคสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ ๑ ปกครองเมืองสุพรรณบุรี พระราชกรณียกิจและเหตุการณที่สําคัญ ๑. ทรงสถาปนาอาณาจักรอยุธยาเปนราชธานี มีอิทธิพลและแผวงกวางขวาง มีอํานาจในดินแดน สุวรรณภูมิ ๒. ทําสงครามเขมรในป พ.ศ.๑๘๙๕ ทรงบัญชาใหพระราเมศวรยกทัพไปตีกรุงกัมพูชา และให พระบรมราชา (พะงั่ว) ยกทัพไปชวย จึงสามารถตีเมืองนครธมราชธานีของขอมได ทําใหขยายเขตไปทางตะวันออก อยางกวางขวาง ๓. ยึดเมืองชัยนาท ครัง้ ปลายรัชกาลพระยาเลอไทย กรุงสุโขทัยเกิดการจลาจล มีการแยงชิงราชสมบัติ กัน พระองคไดโอกาสจึงใหพระบรมราชายกทัพขึ้นไปยึดเมืองชัยนาทไวได ครั้งเหตุการณจลาจลทางกรุงสุโขทัยสงบลง พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) แตงทูตเขามาเจรจาวากลาวโดยดี สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ก็ตกลงยินยอมคืน เมืองชัยนาทให นับตั้งแตนั้นมาอํานาจการปกครองประเทศสยามก็ตกมาอยูทางกรุงศรีอยุธยา ๔. ลักษณะการปกครอง ไดนาํ เอาลักษณะการปกครองบานเมืองตามแบบอยางกรุงสุโขทัยและขอม มาใช ๔.๑ การปกครองหัวเมืองชั้นใน สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ เปนผูดูแล ไดแก เมืองหนาดานทั้ง ๔ ทิศ คือ ลพบุรี สุพรรณบุรี นครนายก และพระประแดง จัดระเบียบวาดวยเรื่องการปกครอง โดยมอบอํานาจให เสนาบดีผูใหญ ๔ ตําแหนง เรียกวา จตุสดมภ ประกอบดวย - ขุนเวียง มีหนาที่ ปกครองดูแลทองที่ ปราบปรามโจรผูราย และลงโทษผูกระทําความผิด - ขุนวัง มีหนาที่ ดูแลราชการในราชสํานักและพิพากษาอรรถคดีของพลเมือง - ขุนคลัง มีหนาที่ เก็บผลประโยชนของแผนดิน ควบคุมการเก็บภาษีอากรตาง ๆ - ขุนนา มีหนาที่ ดูแลเรือกสวนไรนาของราษฎร เก็บรักษาเสบียงอาหารสําหรับพระนคร เพื่อสะดวกไปใชในยามสงคราม ๔.๒ การปกครองหัวเมืองชั้นนอก ทรงจัดสงเจานายหรือขุนนางผูใหญไปปกครอง ไดแก โคราช นครศรีธรรมราช ไชยา พัทลุง สงขลา ทวาย ตะนาวศรี ถลาง จันทบุรี ฯลฯ ๔.๓ การปกครองประเทศราช คือ เมืองที่เจานายแตละชาติปกครองกันเอง แตเมื่อถึงกําหนดก็ สงเครื่องราชบรรณาการมายังกรุงศรีอยุธยา เพื่อแสดงความจงรักภักดี ไดแก ยะโฮว มะละกา ๕. นโยบายการตางประเทศ ทรงแตงทูตเพือ่ ไปเจริญสัมพันธไมตรีกบั จีน ทําการคากับจีน ชวา อินเดีย ๖. การตรากฎหมาย พระองคไดทรงประกาศใชกฎหมายตาง ๆ หลายฉบับ เชน - พ.ร.บ.ลักษณะพยาน พ.ศ.๑๘๙๕ - พ.ร.บ.ลักษณะอาญาหลวง พ.ศ.๑๘๙๕ - พ.ร.บ.ลักษณะรับฟอง พ.ศ.๑๘๙๙ - พ.ร.บ.ลักษณะลักพา พ.ศ.๑๘๙๙ - พ.ร.บ.ลักษณะอาญาราษฎร พ.ศ.๑๙๐๑

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 21

6/22/2560 BE 00:40


๒๒ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

- พ.ร.บ.ลักษณะเบ็ดเสร็จ วาดวยที่ดิน พ.ศ.๑๙๐๓ - พ.ร.บ.ลักษณะโจร พ.ศ.๑๙๐๓ - พ.ร.บ.ลักษณะผัวเมีย พ.ศ.๑๙๐๔ - พ.ร.บ.ลักษณะผัวเมีย (อีกตอนหนึ่ง) พ.ศ.๑๙๐๕ - พ.ร.บ.ลักษณะโจร วาดวยโจร พ.ศ.๑๙๐๙ ๗. การศาสนา วัดถือเปนสถานที่ที่เปนศูนยรวมจิตใจของคนสยาม พระองคทรงใหความสําคัญกับ พระพุทธศาสนา ทรงสรางวัดหลายแหง ไดแก ๗.๑ วัดพุทไธสวรรย สรางขึ้นในป พ.ศ.๑๘๙๖ พรอมกับพระปรางคบรรจุพระมหาธาตุ ๗.๒ วัดปาแกว ทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางขึน้ ในป พ.ศ.๑๙๐๐ เนือ่ งในโอกาสทีม่ กี ารถวายพระเพลิง พระศพเจาแกวและเจาไทย ซึ่งทิวงคตดวยอหิวาตกโรค ๗.๓ วัดพระราม ทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นในป พ.ศ.๑๙๑๒ อันเปนที่พระองคสวรรคตที่ วัดพระรามนั้น ไดสรางพระปรางคขนาดใหญ อันเปนศิลปกรรมที่จัดเปนพระปรางคแบบไทยที่สวยงามมาก รัชกาลที่ ๒ สมเด็จพระราเมศวร สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ สวรรคต พระราเมศวร พระราชโอรสเสด็จจากเมืองลพบุรีมากรุงศรีอยุธยา เมื่อทราบขาวการสวรรคตของพระราชบิดา หลังจากนั้นก็ราชาภิเษกพระองคปกครองกรุงศรีอยุธยา แตพระองคทรง อยูใ นราชสมบัตไิ ดไมถงึ ปกถ็ กู ขุนหลวงพะงัว่ ซึง่ เปนพระปตลุ า มาขอราชสมบัตแิ ลวใหพระราเมศวรไปครองเมืองลพบุรี ตามเดิม """

สมเด็จพระราเมศวร (ฉบับหนาติดตาม ราชวงศสุวรรณภูมิ)

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 22

6/22/2560 BE 00:40


แมพลอย

“…เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแตโบราณกาล จึงสมควรอยางยิ่งที่จะรักษาไว...” พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๕ ภาษาเปนวัฒนธรรมที่สําคัญของชาติเปนสื่อที่ใชในการติดตอสื่อสารเเละทําใหวัฒนธรรมอื่น ๆ เจริญขึ้น เเตละภาษามีระเบียบของตน ภาษาจึงเปนศูนยกลางของคนทั้งชาติ ดังขอความตอนหนึ่งในพระราชนิพนธในพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เรื่อง “ความเปนชาติโดยเเทจริง” ความวา “...ภาษาเปนเครื่องผูกพันมนุษยตอมนุษย เเนนเเฟนกวาสิ่งอื่น เเละไมมีสิ่งใดที่จะทําใหคนรูสึกเปนพวกเดียวกัน...”

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 23

6/22/2560 BE 00:40


ประเทศไทยมีภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติมากกวา ๗๐๐ ป เกาเเกทสี่ ดุ ในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีรากฐานมาจากออสโตรไทยโดยเริ่มตั้งแตสมัยพอขุนรามคําเเหงมหาราชทรงประดิษฐอักษรไทยขึ้นเมื่อป พ.ศ.๑๘๒๖ ซึ่งสวนใหญดัดแปลงมาจากภาษาขอมหวัด และตอมาสมัยพญาลิไทไดเปลี่ยนแปลงการเขียนอักษรและใชกันสืบมา จนทุกวันนี้ โดยมีพยัญชนะทั้งหมด ๔๔ ตัว (๒๑ เสียง) สระ ๒๑ รูป (๓๒ เสียง) วรรณยุกต ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เอก โท ตรี และจัตวา ซึ่งดัดเเปลงมาจากภาษาบาลีเเละสันสกฤต “...เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแตโบราณกาล จึงสมควรอยางยิ่งที่จะรักษาไวปญหาเฉพาะในดาน รักษาภาษาก็มีหลายประการ อยางหนึ่งตองรักษาใหบริสุทธิ์ในทางออกเสียง คือใหออกเสียงใหถูกตองชัดเจน อีกอยางหนึง่ ตองรักษาใหบริสทุ ธิใ์ นวิธใี ช หมายความวาวิธใี ชคาํ มาประกอบประโยค นับเปนปญหาทีส่ าํ คัญ ปญหา ที่สามคือความรํารวยในคําของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกวาไมรํารวยพอจึงตองมีการบัญญัติศัพทใหมมาใชสําหรับ คําใหมที่ตั้งขึ้นมีความจําเปนในทางวิชาการไมนอย แตบางคําที่งาย ๆ ก็ควรจะมี ควรจะใชคําเกา ๆ ที่เรามีอยูแลว ไมควรจะมาตั้งศัพทใหมใหยุงยาก...” จากพระราชดํารัสขางตนของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๕ ณ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พระองคทรงเสด็จเปนองคประธานและทรงรวมอภิปราย ในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทยในหัวขอ “ปญหาการใชคําไทย” ซึ่งนับวาเปนครั้งแรกและครั้งเดียว ในประวัติศาสตรของวงการภาษาไทย ที่ไดรับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณ ทําใหเห็นวา พระองคทรงแสดงความ สนพระราชหฤทัยและความหวงใยในภาษาไทย

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 24

6/22/2560 BE 00:40


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๒๕

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเสด็จเปนองคประธานและทรงรวมอภิปรายในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทยในหัวขอ “ปญหาการใชคําไทย” เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๕ ณ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

“...ในปจจุบันนี้ปรากฏวา ไดมีการใชคําออกจะฟุมเฟอย และไมตรงกับความหมายอันแทจริงอยูเนือง ๆ ทั้งออกเสียงก็ไมถูกตองตามอักขรวิธี ถาปลอยใหเปนไปดังนี้ ภาษาของเราก็มีแตจะทรุดโทรม ชาติไทยเรามีภาษา ของเราใชเองเปนสิง่ อันประเสริฐอยูแ ลว เปนมรดกอันมีคา ตกทอดมาถึงเราทุกคนจึงมีหนาทีจ่ ะตองรักษาไว ฉะนัน้ จึงขอใหบรรดานิสติ และบัณฑิต ตลอดจนครูบาอาจารยไดชว ยกันรักษาและสงเสริมภาษาไทย ซึง่ เปนอุปกรณและ หลักประกันเพื่อความเจริญวัฒนาของประเทศชาติ...” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๒ นอกจากนี้ พระองคทรงมีพระปรีชาญาณและพระอัจฉริยภาพในการใชภาษาไทย ทรงรอบรูปราดเปรื่องถึง รากศัพทของคําไทย คือ ภาษาบาลีและสันสกฤต ทรงพระวิรยิ ะอุตสาหะแปลและเรียบเรียงวรรณกรรมภาษาตางประเทศ เปนภาษาไทยที่สมบูรณดวยลักษณะวรรณศิลป มีเนื้อหาสาระที่มีคุณคา เปนคติในการเสียสละเพื่อสวนรวม และเปน แบบอยางแกประชาชนในการใชภาษาไทย ดังจะเห็นไดจากพระราชนิพนธเรื่อง พระมหาชนก และพระราชนิพนธ แปลเรื่องนายอินทรผูปดทองหลังพระ ติโต เปนตน

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 25

6/22/2560 BE 00:41


๒๖ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

คณะกรรมการรณรงคเพือ่ ภาษาไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดตระหนักถึงคุณคาและความสําคัญของภาษาไทย จึงไดเสนอใหรัฐบาลประกาศใหวันที่ ๒๙ กรกฎาคมของทุกปเปน “วันภาษาไทยแหงชาติ” ทางคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบให วันที่ ๒๙ กรกฎาคมของทุกป เปน “วันภาษาไทยแหงชาติ” โดย มีวัตถุประสงค เพื่อนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ผูทรงเปน นักปราชญและนักภาษาไทยรวมทั้งกระตุนและปลุกจิตสํานึกของคนไทยทั้งชาติใหเห็นความสําคัญของภาษาไทย ตลอดจนรวมมือรวมใจกันทํานุบํารุงสงเสริมและอนุรักษภาษาไทย ซึง่ เปนเอกลักษณและเปนสมบัติวฒ ั นธรรมอันลําคา ของชาติใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป ปจจุบันวิชาการและเทคโนโลยีตาง ๆ ไดกาวหนาไปอยางรวดเร็วเกิดเทคนิคใหม ๆ ในการติดตอสื่อสาร ที่มุงเนน ความสะดวกรวดเร็ว สงผลใหภาษาไทยซึ่งเปนสื่อกลางสําคัญในการติดตอและผูกพันตอการดํารงชีวิตประจําวันของ คนไทยไดรับผลกระทบ ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ทําใหภาษาไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางนาวิตก เปนอยางยิ่ง สภาพการณเชนนี้หากไมเรงรีบหาทางแกไขและปองกันเสียแตเนิ่น ๆ การใชภาษาไทยของเราก็จะยิ่งเสื่อมลง จะสงผลเสียหายตอเอกลักษณและคุณคาของภาษาไทยเปนทวีคูณ ภาษาไทยถือเปนเอกลักษณของชาติที่เราคนไทยควรภาคภูมิใจ เพราะบางประเทศไมมีแมกระทั่งภาษาที่ เปนของตัวเอง ดังนั้นเราควรอนุรักษภาษาไทยอันเปนมรดกลําคาที่บรรพบุรุษไดสรางไวใหคงอยูและสืบทอดตอไปให ลูกหลานไดศึกษาอยางยั่งยืนตลอดไป """ แหลงขอมูลและภาพ

- http://www.chula.ac.th - http://www.culture.go.th - http/www.eduzones.com

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 26

6/22/2560 BE 00:45


๖๘ ป

โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ นําการเปลี่ยนแปลง น.ท.สุริยา ราชขันธ อจ.กกศ.รร.สธ.ทอ.ยศ.ทอ.

“กบตมสุก” Peter M. Senge ผูเ ชี่ยวชาญในการสรางองคกรแหงการเรียนรู ไดยกตัวอยางนิยายเรื่อง “กบตม” ในหนังสือ The fifth discipline ของเขาเพื่อเปรียบเปรยใหเห็นถึงความพิการขององคกร โดยเนื้อหาเปนเรื่องของ กบที่อยูในหมอนําอุน ที่คอย ๆ รอนขึ้นทีละนิด ๆ ดวยความเปลี่ยนแปลงที่ไมมากทําใหกบนั้นไมอาจจะรูสึกถึงความ เปลี่ยนแปลง ยังคงทําตัวแบบเดิม ๆ อยางมีความสุขไปวัน ๆ แตอุณหภูมิของนํา กลับเพิม่ สูงขึน้ เรือ่ ย ๆ จนในทีส่ ดุ รางกายและขาของกบตัวนัน้ โดนความรอนทําให หมดกําลังลงไปมาก ครั้นจะกระโดดออกก็ไมมแี รงพอ จําตองโดนตมตายไปในทีส่ ดุ ซึ่งถานํานั้นเปลี่ยนอุณหภูมิเปนรอนมากแบบฉับพลัน กบตัวนั้นก็คงรูสึกไดและ กระโดดออกอยางไมรีรอ ซึ่งในกรณีหลังนี้กบก็จะรอดตาย แตอนิจจาชีวิตจริง มันเปนแบบแรก แลวใครบางในกองทัพอากาศทีต่ ระหนักและใสใจในเรือ่ งนี้ ใครบาง ที่คุยเรื่องนี้กันเปนประจํา ใครบางที่พยายามปลูกฝงเรื่องนี้ใหกับผูนําระดับกลาง ซึง่ เปนหัวหนางานที่ตองปฏิบัตงิ านจริง เรื่องเหลานี้ควรเริ่มที่โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ กบตัวนั้นอาจไมไดสังเกต วามีอะไรเปลี่ยนแปลงไปบางจึงเอาตัวไมรอด แตนกเพนกวินที่ขั้วโลกกลับมองเห็น “นกเพนกวิน” ในหนังสือ Our Iceberg is melting ของ John Kotter ในขณะที่นกเพนกวินตัวอื่น ๆ อาศัยความคุนเคยกับการเปนอยู แบบเดิม ๆ จึงไมรูสึกอะไร แตนกเพนกวิน Fred เปนผูชางสงสัย ชางสังเกต ชอบคิด ชอบบันทึก ไดสังเกตเห็นวามันมีอะไรเปลี่ยนแปลง ซึ่งก็คือ ภูเขานําแข็งมันเริ่มละลายและการละลายนั้นถึงขั้นสรางความเสียหาย รุนแรงกับทีอ่ ยูอ าศัย โดยเฉพาะอยางยิง่ ถาเหตุการณนเี้ กิดขึน้ ในหนาหนาว

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 27

6/22/2560 BE 00:45


๒๘ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

ในวันทีม่ พี ายุหนัก นกสูงวัยและนกเด็กคงตายกันไมเหลืออยางแนนอน แต Fred ไมไดเปนผูน าํ หลักของกลุม จะสัง่ ใคร ก็ไมได จะไปบอกเรื่องเหลานี้ใหกับใครฟงแลวใครจะเชื่อ ซึ่งในอดีตเคยมีนกตัวหนึ่งเห็นความผิดปกติบางอยาง แลวไป บอกกลุม ถูกกลุมมองและปฏิบัติตอเขาเสมือนเปนตัวประหลาดไปแลว Fred จะทําแบบเดิมคงไมได จึงตองมีกลยุทธ เพื่อใหสิ่งที่เขารูนําไปสูการปฏิบัติใหจงได ผูน าํ จะตองมีการประเมินสถานการณ ใหรทู นั ถึงสภาพการเปลีย่ นแปลงของสิง่ แวดลอมทีก่ าํ ลังเปลีย่ นแปลงและ คาดการณลวงหนาถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้น กลาตัดสินใจทําอะไรซักอยางเพื่อจัดการปญหาที่กําลังจะเกิดขึ้น เหมือนนกเพนกวิน ที่ออกแบบแผนการลงมือทําไดอยางชาญฉลาด เชนเดียวกับ นายทหารนักเรียน โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ ที่จะตอง ฝกประเมินสถานการณและเขียนแผนการทัง้ แบบแกปญ  หาและแผนการรบทางทหาร นอกจากกลยุทธทชี่ าญฉลาดของ นกเพนกวินแลว การดําเนินการในรายละเอียดของการเดินทางจากจุดที่เราเปนอยูไปสูที่ที่เราจะไปนั้น หานไซบีเรีย ก็มีวิธีการบริหารจัดการไดอยางยอดเยี่ยม “หานไซบีเรีย” ของ ดร.ลีโอนารด โยง กลาวถึงเหตุการณ ในฤดูหนาว ทุก ๆ ปวา หานไซบีเรียจะบินเปนกลุม มายังดินแดนทีอ่ นุ กวาเดิมไกลหลายพัน กิโลเมตร เพื่อหาอาหารและความอยูรอดของเผาพันธุ พวกมันบินไปอยาง พรอมเพรียงกันเปนรูปตัววี (V) โดยมีผูนําบินนําหนา ทําหนาที่ตานกระแสลม มากสุดและลดแรงกระแทกใหกบั หานตัวอืน่ ๆ ผูน าํ ทํางานเต็มทีเ่ ต็มพละกําลัง เมื่อออนแรงก็ สลับเปลี่ยนหานตัวอื่นขึ้นมานํา โดยทุกตัวรูหนาที่และบิน ไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อมีตัวใดปวยก็จะจัดหานจํานวนหนึ่งออกมาบิน ดูแลจนกวาจะตายจากกันไป เรื่องของการสลับกันนําและลงมือทําอยางเต็มที่ นัน้ เปนเรือ่ งทีน่ า คิดมาก การคัดเลือกคนทีด่ ที สี่ ดุ จากแตละฝายอํานวยการ มาเปนอาจารย ใชเวลาทํางานอยางเต็มที่สรางระบบเพื่อใหเกิดการถายทอดของเดิม แลวหมุนเวียนออกไปทุก ๒ ป ซึง่ การมีคนใหม ๆ เขามาเปนประจําจะไดความรูใ หม ๆ จากหนวยงานตาง ๆ มาชวยปรับเปลีย่ นองคความรูใ หทนั ตอเหตุการณ เปนวงจรการพัฒนาที่ไมสิ้นสุด ถึงกระนั้นก็ตาม การทํางานในรูปแบบเดิม ๆ ก็ไมสามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงแบบกาวกระโดด หรือการเปลี่ยนแปลงแบบมีตัวเปลี่ยนเกม ยกเลิกกฎกติกาเดิมแลวหันไปเลนเกมใหม นอกจากการชางคิด ชางสังเกต ยังไมพอในสถานการณแบบนี้ เรายังตองอาศัยคนจําพวกพิเศษแบบหนึ่ง บุคคลอยางนกนางนวล Jonathan “นกนางนวล Jonathan Livingston” เปนเรื่องราวการเดินทางของฮีโร ที่เขียนขึ้นโดย Richard Bach ตามแบบหนังสือ “The Hero with a thousand faces” ของ Joseph Campbell ในเนื้อหา นกนางนวล Jonathan ชางสังเกต ชางสงสัย จึงทดลองทําสิ่งใหม ๆ มุงมั่นฝกฝนตนเอง ซึ่งแตกตางจากนกตัวอื่น ถึงแมเขาจะถูกทัดทานและ บอกใหทาํ อะไรเหมือนนกตัวอื่น ๆ แตเขารูดีวามันไมใช มันมีอะไรมากกวานั้น วันหนึ่งเขาตองออกจากฝูงและเดินทาง ไปยังทีท่ ไี่ มคนุ เคย เขาไดคน พบอาจารย ไดฝก ฝนวิชาอันเปนประโยชน หลังจากสําเร็จวิชาแลวไดเดินทางกลับมาพัฒนา ฝูงนกนางนวลในชุมชนตนเอง ในการสรางแมแบบในโลกของการเปลี่ยนแปลง เราจําเปนตองใชคนที่สามารถมองเห็นสิ่งที่แตกตางหรือ สิ่งที่ควรมีแตขาดหายไป ในศาสตรแหงการประสบความสําเร็จโดยการถอดแบบจากความเปนเลิศหรือที่เรียกวา NLP เรียกกลุมคนประเภทนี้วา Mismatch ซึ่งกลาพอที่จะสรางการเปลี่ยนแปลงเหมือนที่ Steve Jobs เคยกลาวไววา

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 28

6/22/2560 BE 00:41


ขาวทหารอากาศ ๒๙

กรกฎาคม ๒๕๖๐

“...มีคนทีบ่ า พอทีค่ ดิ วาตนเองสามารถเปลีย่ นแปลงโลกไดเทานัน้ คือ คนทีท่ าํ ได” ผูเ ขียนเห็นวามันมีเหตุผลมาก เพราะ คนที่คิดเทานั้นถึงทํา สวนคนที่ไมคิดหรือไมเชื่อวามันเปนไปได ก็อยูเฉย ๆ ไมทําอะไร ในทุก ๆ ป ทางโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศจะคัดเลือกนักเรียนที่มีผลการเรียนดีเดนและมีความประพฤติ เหมาะสมสามารถเปนตัวอยางไดดี เดินทางไปศึกษาตอในโรงเรียนเสนาธิการตางประเทศ เพือ่ ใหซมึ ซับรับความรูส กึ วิธคี ดิ และวิธกี ารของประเทศนัน้ ๆ แลวนํากลับมาประยุกตใชเพือ่ พัฒนาโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศของเราใหมคี วามกาวหนา อยูเสมอ ๆ “เขียดในปากงู” ถึงตอนนี้ เราอาจตองยอนมาถามเรือ่ งกบกันอีกรอบ ผูเ ขียนขอใหทกุ ทานจินตนาการกบตัวเล็ก หรือทีเ่ รียกวา “เขียด” แตไมใชเขียดธรรมดาเปน “เขียดในปากงู” หากพวกเราอยูใ นสภาพนัน้ เราก็คงตองดิน้ สุดแรงเกิด เพือ่ ความอยูร อดใหจงได ลองจินตนาการวาเราอยูใ นสภาวะนัน้ แลวลงมือทําหนาทีข่ องเราเต็มกําลังความสามารถ ดูสวิ า หนวยงานเราจะกาวกระโดดขนาดไหน กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา พยายามดิน้ รนเพือ่ ความอยูร อดเหมือนกัน เขาตองตอบขอโตแยงทีว่ า กองทัพอากาศ ยังจําเปนที่จะเปนกองทัพที่แยกตัวออกไปเดี่ยว ๆ อีกตอไปไหมหรือวายุบแลวเอากําลังทางอากาศไปรวมกับทหารบก แบบเดิม ? เขาไมสามารถใชความเชีย่ วชาญทางดานอินเทอรเน็ตมาเปนจุดแข็งเพือ่ รักษาสถานภาพของตนเองได เพราะ ทุกเหลาทัพก็ลวนพัฒนาเรื่องนี้เชนกัน อีกทั้งองคกรนี้ก็มีทาทีจะพัฒนาตัวเองและแยกออกไปเปนอิสระเหมือนกับที่ กองทัพอากาศเคยทําตอกองทัพบกมากอน เพื่อความอยูรอดแลว ดังนั้น กองทัพอากาศสหรัฐฯ จึงไดเนนไปยังพื้นที่ที่ สูงขึ้นไปอีก นั่นคือ อวกาศและกําหนดเทคโนโลยีในชวง ๓๐ ปขางหนาวาจะเปนการผสมผสานของไฮเปอรโซนิคระบบ อัตโนมัติ การทํางานแบบไมใชคน ไดเร็คเท็ดเอ็นเนอรจี้ และนาโนเทคโนโลยี กองทัพอากาศไทย การกําหนดวิสัยทัศนและทิศทางที่ชัดเจนเพื่อนําองคกรไปตอใหได เปนหนาที่ของผูนําที่ตอง มีความรูความสามารถ เขาใจภาพรวม เขาใจผลกระทบเชิงระบบทั้งหมด และคาดการณอนาคตได ในกองทัพอากาศ ไทยจะมีใครที่ไหนบางที่ทําเรื่องเหลานี้หรือฝกฝนเรื่องเหลานี้ คําตอบชัดเจนอยูแลว จะเปนใครที่ไหนนอกจากอาจารย โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ หากยกระดับกรมยุทธศึกษาทหารอากาศใหมีความสําคัญเทียบเทากรมยุทธการ ทหารอากาศ โดยใชการศึกษาและฝกศึกษาเปนตัวขับเคลือ่ นกองทัพอากาศ ใหหนวยทีท่ าํ งานดานการวิจยั และวิเคราะห อนาคตมากําหนดทิศทาง ฝกกําลังพลใหไดมาตรฐานแลวสงไปปฏิบตั งิ านยังหนวยทีเ่ หมาะสม คัดเลือกคนเกงคนตนแบบ มาเติมพลังที่โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศเปนเวลาสองป ลงมือทําอยางเต็มที่กอนยายกลับหนวยเดิม ผูเขียนเชื่อวา กองทัพอากาศไทยไมเพียงจะอยูรอดแตจะเจริญรุงเรืองมากดวย ใคร ๆ ก็อยากมาเปนอาจารยที่โรงเรียนเสนาธิการ ทหารอากาศ ซึ่งไมเพียงเพื่อใหความรูนอง ๆ เทานั้นแตเปนการฝกฝนตนเองไปดวย โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศกอตั้งมาตั้งแตวันที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๒ ซึ่งปนี้ครบรอบ ๖๘ ปแลว สถานที่แหงนี้เปนแหลงสรางและฝกความรูใหกับผูนําของกองทัพอากาศตลอดมา คุณจะเขาใจภาพรวมทั้งหมด เมือ่ มาอยูท นี่ แี่ ละพัฒนาทักษะในการคาดการณอนาคตไปดวย ซึง่ เมือ่ คุณพรอมคุณสามารถทํางานในตําแหนงไหนก็ได ในกองทัพนี้ เชื่อสิ...มันเปนไปได """

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 29

6/22/2560 BE 00:41


๖๔ ป กองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช พล.อ.ต.รศ.สมโภชน ผิวเหลือง ผอ.กกศ.รร.นนก.

สานตอ เสริม สราง สูการผลิตนายทหารสัญญาบัตร ที่มีความเปนเลิศทางวิชาการ ดานการบินและเปนแหลงองคความรูดานการบินของชาติ (ตอจากฉบับที่แลว) กองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช มีภารกิจหลัก มีพันธกิจ ๔ ดาน คือ ดาน การเรียนการสอน ดานการวิจัยพัฒนา ดานการบริการทางวิชาการและสังคม และดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และแบบธรรมเนียมทหาร ในฉบับที่แลวไดกลาวถึง ภารกิจดานการเรียนการสอน ในฉบับนี้จะขอกลาวถึงพันธกิจ ดานการวิจัยพัฒนา ดานการวิจัยพัฒนา นับตัง้ แตป พ.ศ.๒๕๕๙ ถึงปจจุบนั คณาจารยกองการศึกษา ฯ ไดดาํ เนินการพัฒนางานวิจยั หลายโครงการเพือ่ ตอยอดองคความรูส าํ หรับใชในการเรียนการสอนในสาขาวิชาทีเ่ กีย่ วของแกนกั เรียนนายเรืออากาศ ผลงานวิจยั หลายชิน้ ไดดําเนินการบูรณาการศาสตรในสาขาวิชาตาง ๆ เขาไวดวยกัน เพื่อตอบสนองความตองการของกองทัพอากาศ เชน • การศึกษา Composite Materials สําหรับอากาศยานไรคนขับที่เสริมแรงดวยเสนใยเซลลูโลสและ Carbon Nanotube • การศึกษาการสังเคราะห Hybrid Composite Materials สําหรับโครงสรางอากาศยานไรคนขับ • การศึกษาการปองกันการกัดกรอนของอากาศยานดวยสารสังเคราะหนาโนซิงก • การศึกษาการสังเคราะหและทดสอบสารดูดกลืนคลื่นเรดารในยานความถี่ S band

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 30

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๓๑

• การศึกษาการสังเคราะห Nanocomposite Fix Retardant เพื่อใชผลิตผากันไฟ • การตรวจวัดไฮดราซีนดวยเกลือของโลหะวาเนเดียม • การวิจัยและพัฒนา Air Force Cloud Clients สําหรับระบบงานคอมพิวเตอรกองทัพอากาศ • การวิจัยและพัฒนาการปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลางดวยเทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด สําหรับระบบบัญชาการและควบคุมของกองทัพอากาศ • ตนแบบอุปกรณสื่อสารไรสายสําหรับการปฏิบัติการทางอากาศ • การจําลองสายอากาศเรดารดวยแบบจําลองทางคณิตศาสตรเพื่อหาประสิทธิภาพและการคลุมพื้นที่ของ สัญญาณเรดาร • แบบจําลองคณิตศาสตรของการแพรกระจายสัญญาณคลืน่ แมเหล็กไฟฟาออกจากสายอากาศเรดารดว ยวิธี Finite Difference Time Domain • การวิเคราะหอากาศพลศาสตรและออกแบบจรวดอากาศขนาดเสนผานศูนยกลาง ๒.๗๕ นิว้ ในยานความเร็ว เหนือเสียงเพื่อเพิ่มสมรรถนะในระยะยิงหวังผล • การศึกษาการพัฒนาโปรแกรมระบุพิกัดเปาหมายจากอากาศยานไรคนขับดวยระบบเห็นภาพ • การพัฒนาระบบตรวจสอบวัตถุระเบิดดวยวิธี Neutron Activation Analysis (NAA) บนอากาศยานไรคนขับ ระยะที่ ๑ : การพัฒนาอากาศยานไรคนขับที่มีขีดความสามารถในการติดตั้งนําหนักบรรทุกไดมากกวา ๒๐ กิโลกรัม • การวิจัยและพัฒนาอากาศยานไรคนขับยุทธวิธีระยะประชิด • การวิจัยและพัฒนาอากาศยานไรคนขับปกตรึงขึ้นลงทางดิ่ง เปนตน

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 31

6/22/2560 BE 17:00


๓๒ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐ TEagle Eye II Unmanned Aircraft System by Navaminda Kasatriyadhiraj Royal Air Force Acadamy

นอกจากนีย้ งั มีผลงานวิจยั ทีใ่ ชหลักบูรณาการรวมกันระหวางคณะผูว จิ ยั และผูใ ชผลงานวิจยั ใหไดรบั การพัฒนา ตอยอด ซึ่งสามารถนําไปใชปฏิบัติการในกองทัพไทยไดจริง อาทิ • โครงการระบบอากาศยานไรคนขับขนาดเล็ก (TEagle Eyes II) สําหรับการสนับสนุนงานดานตาง ๆ ใหกับ กกล.ทอ.ฉก.๙ และทาอากาศยานปตตานี • โครงการวิจยั และพัฒนาระบบวิเคราะหภาพเพือ่ ตอตานการกอการรายและรักษาความปลอดภัย มีวตั ถุประสงค เพือ่ การรักษาความปลอดภัยผูโ ดยสารพรอมทัง้ จัดเก็บขอมูลสวนบุคคลและภาพใบหนาในฐานขอมูลผูโ ดยสารอากาศยาน และจัดเก็บขอมูลพรอมภาพถายบุคคลของกลุมเปาหมาย • การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมประเมินผลการศึกษาของกองทัพอากาศ (RTAF-Educational Evaluation Program) ซึง่ อยูใ นกระบวนพัฒนาตอยอดและทดสอบการใชงาน หนวยงานดานการศึกษาทีส่ นใจสามารถขอรับโปรแกรม เพื่อนําไปติดตั้งและใชงานได

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 32

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๓๓

เพื่อเปนการเผยแพรบทความวิจัยพัฒนาของคณาจารยกองการศึกษาฯ ทางโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินท กษัตริยาธิราช ไดจัดทําวารสารทางวิชาการตามมาตรฐานศูนยดัชนีอางอิงวารสารไทย (TCI) จํานวน ๒ ประเภท คือ วารสารวิชาการ นายเรืออากาศ เพื่อเผยแพรบทความดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ วารสารมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร นายเรืออากาศ เพื่อเผยแพรบทความดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

www.nkrafa.ac.th/index

ระบบสารสนเทศและวารสารวิชาการของโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช ในป พ.ศ.๒๕๖๐ นี้ กองการศึกษา ฯ กําหนดใหมีการดําเนินการดานการวิจัยและพัฒนา ดังนี้ “มาตรการสานตอ” สงเสริมสนับสนุนใหคณาจารยกองการศึกษา ฯ ทําการวิจยั และพัฒนา เขียนบทความวิจยั และนําผลการวิจัยพัฒนามาใชในการเรียนการสอนแกนักเรียนนายเรืออากาศ “มาตรการเสริม” สงเสริมสนับสนุนใหคณาจารยกองการศึกษา ฯ ทําการวิจยั และพัฒนาดานการบิน อวกาศ และไซเบอร “มาตรการสราง” จัดการองคความรู พัฒนาทรัพยากรบุคคล และพัฒนาหองปฏิบัติการดานการบิน อวกาศ และไซเบอร นอกจากนี้ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราชจะเปนเจาภาพจัดงาน “เรืออากาศวิชาการ ๖๐” ในชวงปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เพื่อเปนเวทีเผยแพรผลงานวิจัยและผลงานวิชาการของคณาอาจารย นักเรียน นายเรืออากาศ และหนวยงานทั้งภายในและภายนอกกองทัพอากาศตอสาธารณชนเพื่อนําไปใชพัฒนาตอยอดและ ประยุกตใชตอไป ทั้งนี้กองการศึกษา ฯ ยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาดานการเรียนการสอน ดานการวิจัยพัฒนา ดานการบริการ ทางวิชาการและสังคม ดานการทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรมและแบบธรรมเนียมทหาร ดวย “มาตรการสานตอ” “มาตรการ เสริม” และ “มาตรการสราง” เพื่อผลิตนายทหารสัญญาบัตรที่มีความเปนเลิศทางวิชาการดานการบินและเปน แหลงองคความรูดานการบินของชาติ ในการนําไปสู “Leading Academy in ASEAN” และ “One of the Best Air Forces in ASEAN” """

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 33

6/22/2560 BE 00:41


ความเหมือนที่แตกตาง ของระบบการศึกษาเมืองผูดี (อังกฤษ) น.อ.เฉลิมชัย ชูชาติพงษ

“การศึกษา คือ การสรางคน คนสรางสังคม สังคมกอขึ้นมาเปนชาติ” จากขอความขางตนสอดคลองกับหนึง่ ในประเด็น ยุทธศาสตรของกองทัพอากาศ วาดวย เรือ่ งของการพัฒนา กําลังพล นัน่ ก็คอื การใหการศึกษา และหนึง่ ในภารกิจของ การใหการศึกษาก็คือ โครงการศึกษาตอตางประเทศของ นักเรียนนายเรืออากาศ โดยมีกรมกําลังพลทหารอากาศเปน ผูร บั ผิดชอบ ในทุก ๆ ป จะมีนกั เรียนนายเรืออากาศชัน้ ปที่ ๑ ที่มีผลการเรียนคะแนนสูงสุดของรุนจํานวนหนึ่ง ไดรับการ คัดเลือกใหไปศึกษาตอในตางประเทศในระดับปริญญาตรี-โท ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมัน ออสเตรเลีย เกาหลีใต ญีป่ นุ เปนตน และเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตอโครงการฯ นี้ กรมกําลังพลทหารอากาศมีความจําเปน อยางยิง่ ทีจ่ ะตองวิเคราะหความตองการสาขาและจํานวนให ถูกตอง สอดคลองกับประเด็นยุทธศาสตรของกองทัพอากาศ และทําการจัดสงนักเรียนนายเรืออากาศไปศึกษาตออยาง เหมาะสม ผูเ ขียนในฐานะทีเ่ ปนอาจารยโรงเรียนนายเรืออากาศฯ ไดมโี อกาสไปเยีย่ มชมกิจการดานการศึกษาของประเทศอังกฤษ พรอมกับคณะขาราชการของ กพ.ทอ. ซึ่งมี น.อ.พันธภักดี พัฒนกุล รอง ผอ.สนพ.กพ.ทอ. เปนหัวหนาคณะ โดยการ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 34

เดินทางในครั้งนี้ ทางคณะฯ ไดเยี่ยมชมกิจการดานการ ศึกษาใน ๓ ระดับ คือ ระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัย Bristol ระดับปริญญาโท-เอก ณ มหาวิทยาลัย Cranfield และสุดทายเยี่ยมชมดานการบินที่ Empire Test Pilot School (ETPS)

ระบบการศึกษาในประเทศอังกฤษมีความ แตกตางจากระบบการศึกษาในประเทศไทยซึง่ รับระบบ มาจากประเทศสหรัฐอเมริกาคอนขางมาก โดยระบบ การศึกษาในประเทศอังกฤษจะแบงออกเปน 4 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และ

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐ อุดมศึกษา การศึกษาภาคบังคับเริ่มตั้งแตอายุ ๕ - ๑๖ ป เด็กนักเรียนประมาณ ๙๕% จะเรียนในโรงเรียนรัฐบาลทีอ่ ยู ใกลกบั บานพักอาศัยของตนเอง โดยถือเปนสวัสดิการของ รัฐซึง่ ไมเสียคาใชจา ยใด ๆ แตสาํ หรับผูป กครองทีม่ ฐี านะดี และมีรสนิยมสูงมักสงบุตรหลานเขาเรียนในโรงเรียนเอกชน สําหรับการศึกษาระดับประถมศึกษาในประเทศ อังกฤษ นักเรียนจะมีอายุในชวง ๕ - ๑๓ ป โดยการเรียน การสอนจะเนนใหเด็กมีทกั ษะในการเขียนและทักษะดาน ตัวเลข เพื่อพัฒนาเด็กใหมีความรูความสามารถตามวัย โดยแบงเปนชวง Pre - Preparatory School อายุตั้งแต ๕ - ๗ ป และชวง Preparatory School อายุตั้งแต ๘ ๑๓ ป การศึกษาในระดับนีจ้ ะมุง เนนการเตรียมตัวเขาสอบ Common Entrance Examination (CEE) เพือ่ กาวไปสู การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอไป ซึง่ การศึกษาในระดับ นีย้ งั คอนขางคลายกับระดับประถมศึกษาในประเทศไทย นัน่ ก็คอื เมือ่ จบชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ แลวก็ตอ งสอบเขา ศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนที่มีชื่อเสียงตาง ๆ สําหรับการศึกษาระดับมัธยมศึกษาในประเทศ อังกฤษจะเริม่ แตกตางจากระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย กลาวคือ ในประเทศไทยจะแบงเปนมัธยมตนและปลาย โดยมีจาํ นวนปการศึกษา ๓ + ๓ ในขณะทีป่ ระเทศอังกฤษ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 35

ขาวทหารอากาศ ๓๕ แบงเปนมัธยมตนและปลาย โดยมีปการศึกษา ๔ + ๒ (ตน + ปลาย) และในชวงที่จบการศึกษาในระดับมัธยมตน ก็สามารถเปลีย่ นมาเรียนสายอาชีวศึกษาได อยางไรก็ตาม ในแตละชวงของระดับมัธยมศึกษาตนและปลายนั้น ทาง กระทรวงศึกษาธิการและวิทยาศาสตรของอังกฤษ ไดกาํ หนด ใหมกี ารสอบวัดผลความรู และความสามารถ การสอบจะ จัดโดยคณะกรรมาธิการอิสระซึง่ มี ๕ คณะ ซึง่ ผลการสอบ ดังกลาวสามารถนําไปใชในการสมัครเขาระดับอุดมศึกษาได โดยการสอบแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ เมื่อเรียนจบใน ระดับมัธยมตน ตองสอบ GCSE (General Certificate of Secondary Education) นักเรียนตองเลือกสอบประมาณ ๘ - ๑๒ วิชา เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ภาษาตางประเทศ ศิลปะ ฯลฯ และผลการ สอบจะแบงออกเปน ๗ ระดับ คือ Grade A, B, C, D, E, F และ G นักเรียนที่สอบได Grade C ขึ้นไปจึงจะถือวา สอบผาน นักเรียนที่สอบ GCSE จนไดวุฒิบัตร สามารถ เขาศึกษาตอในหลักสูตรสายสามัญ “A” Level ได หรือ หลักสูตรสายวิชาชีพ Advanced GNVQ อีก ๒ ป และ ในทํานองเดียวกันเมือ่ ศึกษาจบในระดับมัธยมปลาย ก็ตอ ง สอบ GCE A Level (General Certificate of Education Advanced Level) ผลของการสอบนี้จะถูกใชเปนเกณฑ

6/22/2560 BE 00:41


๓๖ ขาวทหารอากาศ ที่สถานศึกษาจะพิจารณารับนักเรียนเขาศึกษาตอระดับ อุดมศึกษา ซึ่งวิชาที่สอบมีใหเลือกกวา ๕๐ วิชา แตโดย สวนใหญแลวจะสอบเพียง ๒ - ๓ วิชา ที่มีความสัมพันธ กันเทานั้น คือ เลือกสอบทางดาน Science หรือทางดาน Humanities ผลการสอบจะแบงออกเปน ๕ ระดับ คือ A, B, C, D และ E ซึ่ง Grade ทั้ง ๕ ระดับนี้ ถือวาสอบผาน ทัง้ หมด แตมหาวิทยาลัยสวนใหญจะพิจารณารับผูท มี่ ผี ลการ สอบในระดับ C ขึ้นไป ในการสอบ GCE “A” Level นี้เอง ทีเ่ กีย่ วของกับนักเรียนนายเรืออากาศทุนกองทัพอากาศซึง่ จะ ตองสอบใหผา น เพราะตามโครงการศึกษาของ ทอ.ทีก่ าํ หนด ใหมาศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัยทีอ่ งั กฤษนี้ เงือ่ นไขหนึง่ ของการเขาศึกษามหาวิทยาลัยทีน่ กี่ ค็ อื ผลสอบ GCE “A” Level เพราะฉะนัน้ นักเรียนนายเรืออากาศทีไ่ ด รับทุน ทอ. แมจะจบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหาร ซึ่งเทียบเทากับการจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ แลวก็ตาม ยังตองลงศึกษาหลักสูตรที่เรียกวา Intensive Course เปนเวลาอีก ๑ ป โดยการเลือกศึกษาวิชาที่จะตองใชสอบ เพื่อศึกษาตอในสาขาวิชาตามที่กองทัพอากาศกําหนด แต

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 36

กรกฎาคม ๒๕๖๐ สวนใหญแลวจะลงเรียน ๓ วิชา ไดแก คณิตศาสตร ฟสกิ ส และเคมี เนือ้ หาวิชาทีเ่ รียนก็จะลึกซึง้ กวาในระดับมัธยมปลาย ของเรา โดยเนนลึกลงไปที่การทดลองเทียบเทากับใน ระดับชั้นปที่ ๑ ของมหาวิทยาลัยของประเทศไทย ดวย เหตุนเี้ องทีท่ าํ ใหระยะเวลาการศึกษาระดับปริญญาตรีใน มหาวิทยาลัยของประเทศอังกฤษนั้นใชแค ๓ ป (เพราะ เนื้อหาบางสวนไดถูกบรรจุไวในระดับมัธยมปลายแลว) และหลังจากศึกษาจบหลักสูตร Intensive Course ใน ๑ ปแลว ก็ตอ งสอบ GCE “A” Level ใหผา นโดยมีคะแนน ในระดับ A หรือ B เพือ่ ทีจ่ ะไดศกึ ษาตอในมหาวิทยาลัยที่ มีชื่อเสียง อยางไรก็ตามสําหรับขอมูลที่ผูเขียนไดรับจาก อดีตนักเรียนนายเรืออากาศที่จบจากประเทศอังกฤษ ก็คอื นักเรียนไทยคอนขางเกงคณิตศาสตร จึงไมมปี ญ  หา ในวิชานี้ แตจะมีปญหาเกี่ยวกับวิชาฟสิกสและเคมี ทั้งนี้ เพื่อเปนขอมูลใหนอง ๆ ที่ไดอานบทความนี้จะไดเตรียมตัว เรือ่ งการศึกษาใหดกี อ นทีจ่ ะมาศึกษาตอในประเทศอังกฤษ โดยเฉพาะวิชาฟสิกสและเคมี

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ลําดับตอมาผูเขียนขอกลาวถึงการศึกษาใน ระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งในระดับปริญญาตรี ผูเขียนและ คณะฯ ไดไปเยีย่ มชมกิจการทีม่ หาวิทยาลัย Bristol เมือง Bristol ซึง่ เปนเมืองทีน่ า อยู เงียบและสงบ โดยมีคาํ ขวัญ ของเมืองวา “Best city to live in the UK” และก็เปน ไปตามนั้นจริง ๆ สําหรับมหาวิทยาลัย Bristol นั้นถือ เปนมหาวิทยาลัยที่เกาแกและมีชื่อเสียงในระดับตน ๆ ของอังกฤษ ถึงขนาดมีนักศึกษาพูดวา ถาพลาดหวังจาก มหาวิทยาลัย Oxford หรือ Cambridge แลว มหาวิทยาลัย Bristol ก็คงเปนตัวเลือกแรก ๆ ในลําดับถัดมา มหาวิทยาลัย Bristol เปนมหาวิทยาลัยที่เนนงานวิจัยขนาดใหญ มีชอื่ เสียงดานแพทยศาสตรและวิทยาศาสตร ซึง่ จะเห็นได จากจํานวนสมาชิกราชบัณฑิตยสถานดานแพทยศาสตร ๒๑ คน ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสถานอังกฤษ ๑๓ คน สมาชิกราชวิทยสมาคม ๔๐ คน และมีนักวิทยาศาสตร รางวัลโนเบลหลายทาน อาทิ พอล ดิแรก ฮันส เบเทอ ฯลฯ อยางไรก็ตามสําหรับการไปเยี่ยมชมในครั้งนี้คณะฯ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 37

ขาวทหารอากาศ ๓๗

มุง ความสนใจไปทีก่ จิ กรรมดานวิศวกรรมอากาศยานและ วัสดุศาสตร ซึ่งไดรับการตอนรับและพาเขาชมหองปฏิบัติ การทดลองตาง ๆ เปนอยางดี รวมทั้งการตอบขอซักถาม และขอเสนอที่ น.อ.พันธภกั ดี ฯ หน.คณะฯ มีความตองการ ที่จะสงนักเรียนนายเรืออากาศมาศึกษาที่นี่ จากการทีผ่ เู ขียนไดเยีย่ มชมหองปฏิบตั กิ ารทดลอง ของมหาวิทยาลัย Bristol ทําใหไดรับรูถึงความเปนจริง ประการหนึง่ ทีว่ า ความมีชอื่ เสียงของมหาวิทยาลัยจะขึน้ อยู กับผลงานวิจัยที่สรางขึ้น และผลงานวิจัยที่มีคุณคาและ มีประโยชนที่สรางขึ้นมาก็ตองตอบโจทยความตองการ ของผูใ ช และทัง้ หมดทีก่ ลาวมานีก้ ม็ าจบทีง่ บประมาณหรือ ทุนวิจัยที่ไดรับและหองปฏิบัติการที่มีอยู มหาวิทยาลัย Bristol ไดรับความรวมมือและเงินทุนสนับสนุนจากบริษัท สรางเครื่องบิน Airbus บริษัทผลิตรถยนต Formula 1 นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีหองปฏิบัติการวิศวกรรม พลศาสตร มูลคา ๑๘.๕ ลานปอนด ซึง่ เปนหองปฏิบตั กิ าร ทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ ในยุโรปใชสาํ หรับศึกษาดานพลศาสตรของ

6/22/2560 BE 00:41


๓๘ ขาวทหารอากาศ

เครื่องยนต มีศูนยความเปนเลิศดานการเรียนการสอนเคมี (Centre for Excellence in Teaching & Learning (CETL) แหงเดียวในอังกฤษ มีศนู ยวิทยาศาสตรนาโนและควอนตัม สนเทศ มูลคา ๑๑ ลานปอนด ศึกษาวิจัยงานดานควอนตัม อาทิ แกวทําความสะอาดตัวเอง (self-cleaning glass) และไดชื่อวาเปนอาคารที่เงียบที่สุด แมแตหองปฏิบัติการ ทดลองทัว่ ไปทีไ่ มไดกลาวถึงขางตนของมหาวิทยาลัย Bristol ก็ดเู หมือนจะถูกสรางขึน้ เพือ่ ตอบสนองกับโจทยวจิ ยั ทีต่ อ งการ แกปญหา อาทิ เครื่องวัดรอบเครื่องยนตแบบตาง ๆ เครื่องวัด การสั่นของโรเตอรเฮลิคอปเตอร เครื่องมือสําหรับดึงและ บิดแบบสามแกนสําหรับแทงวัสดุ เปนตน ไมเพียงแตมี หองปฏิบตั กิ ารทีพ่ รอมเทานัน้ แตยงั รวมไปถึงวัสดุสนิ้ เปลือง ที่ใชสําหรับการทดลองก็เตรียมไวอยางเพียงพอ เรียกไดวา นักศึกษาหรือผูวิจยั สามารถทดลองสรางผลิตชิ้นงานขึ้นมา อยางไมจํากัด เพื่อนําไปทดลองในรูปแบบกับเครื่องวัดตาง ๆ “ขอแคคุณมีเวลาทําการทดลอง เรามีของใหคุณทดลองทํา” จากทีก่ ลาวมาทัง้ หมดเหลานีล้ ว นเอือ้ ประโยชนใหกบั นักศึกษา ที่กําลังเรียนหรือทํางานวิจัยทั้งสิ้น และสิ่งที่ตามมาก็คือ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

ผลงานและความสําเร็จของมหาวิทยาลัย การไปดูงานในครั้งนี้ทําใหผูเขียนเหมือนไป “รูเขา” เพื่อที่จะกลับมา “รูเรา” แลวหันกลับมา มองโรงเรียนนายเรืออากาศฯ ซึ่งเปนสถาบันในระดับ อุดมศึกษาเหมือนกันและมี Vision วาจะเปน Leading Academy in ASEAN ถามองเฉพาะดานวิชาการแลว เราจะเปนผูน าํ ไดกค็ งตองมุง เนนไปทีง่ านวิจยั ซึง่ สอดคลอง กับยุทธศาสตรกองทัพอากาศในปจจุบันดานการวิจัย และพัฒนา แตอะไรคือประเด็นหลักที่จะทําใหโรงเรียน นายเรืออากาศฯ กาวไปสูจุดนั้นได โจทยวิจัยที่ไดรับคือ ตัวนักเรียนนายเรืออากาศ ตัวอาจารย เวลา ทุนวิจัย วัสดุและเครื่องมือทดลอง ทุกอยางตองมาพรอมกันและ ตอเนื่อง แนนอนวาลําพังเฉพาะโรงเรียนนายเรืออากาศฯ หนวยเดียวคงไมสามารถทําใหภารกิจนี้สมบูรณได กองทัพอากาศโดยผานผูบงั คับบัญชาและสายวิทยาการ ตาง ๆ หรือแมแตบริษทั ทีเ่ ปนพันธมิตรของกองทัพอากาศ คงตองหันมารวมมือกันและใหการสนับสนุนอยาง มีแผน เปนระบบ และตอเนื่อง """

(ฉบับหนาติดตาม เยี่ยมชมมหาวิทยาลัย Cranfield) 01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 38

6/22/2560 BE 00:46


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 39

6/22/2560 BE 17:03


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 40

6/22/2560 BE 00:41


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 41

6/22/2560 BE 00:41


•

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 42

6/22/2560 BE 17:54


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 43

6/22/2560 BE 00:41


•

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 44

6/22/2560 BE 17:19


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 45

6/22/2560 BE 00:41


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 46

6/22/2560 BE 00:41


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 47

6/22/2560 BE 00:41


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 48

6/22/2560 BE 17:24


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 49

6/22/2560 BE 17:26


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 50

6/22/2560 BE 00:41


น.ท.เฉลิม มณีสถิตย “นายกตฺตํสพฺพกิจฺจสาธนํ” ภาษิตประจําสถาบัน มีความหมายวา “ความเปนผูนํายังกิจทั้งปวงใหสําเร็จ” โรงเรียนนายทหารชัน้ ผูบ งั คับฝูง กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แหงนีเ้ ปนระบบการศึกษาของทหารอาชีพ (Professional Military Education: PME) โรงเรียนแรกของนายทหารสัญญาบัตร ที่จัดการศึกษาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ใหผูเขารับ การศึกษา มีความรู ความสามารถ ในดานความเปนผูนํา การบริหาร และงานฝายอํานวยการระดับตน ซึ่งมีประวัติ อันยาวนาน เมื่อป พ.ศ.๒๔๗๒ กองทัพอากาศขณะนั้น มีฐานะเปน กรมอากาศยาน ไดพิจารณาเห็นความจําเปนวาควร จะเปดการศึกษาชั้นสูงสําหรับนายทหารนักบินขึ้น ซึ่งในขณะนั้นมีนายทหารนักบินที่สําเร็จการศึกษาจากโรงเรียนการบิน ชั้นสูง (Air Tactical School) ของประเทศสหรัฐอเมริกา จํานวน ๓ นาย กับนายทหารชั้นผูใหญอีกจํานวนหนึ่ง เพียงพอ ที่จะชวยดําเนินการนี้ใหเปนผลดี จึงไดจัดตั้ง “โรงเรียนการบินชั้นสูง” ขึ้น และไดเริ่มเปดเรียนเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๕ มี นายทหารฝกหัดราชการ จํานวน ๑๐ นาย โรงเรียนการบินชัน้ สูงนีต้ อ งประสบอุปสรรคเกีย่ วกับความผันผวนทางการเมือง ในป พ.ศ.๒๔๗๖ จึงทําใหตองหยุดดําเนินกิจการ ตอมาในป พ.ศ.๒๔๘๑ ทางราชการไดปรับปรุงหลักสูตรของโรงเรียนการบินชัน้ สูงเดิมใหเหมาะสมกับกาลสมัย และเปดการศึกษาขึ้นใหม เรียกวา “โรงเรียนเพิ่มวิชานายทหารอากาศ” มีนายทหารฝกหัดราชการ จํานวน ๑๕ นาย โรงเรียนนีเ้ ปดการสอนจนจบหลักสูตรปที่ ๑ ก็ตอ งประสบอุปสรรค ไมอาจเปดสอนปที่ ๒ ไดนบั แตนนั้ มากองทัพอากาศ มีภารกิจตองปฏิบัติราชการสนาม ทําใหไมมีนายทหารเพียงพอที่จะดําเนินกิจการของโรงเรียน จึงตองหยุดกิจการไป ในป พ.ศ.๒๔๙๐ ทางราชการไดเปด “โรงเรียนนายทหารนักบิน” ขึ้น หลักสูตร ๑ ป โดยวางความมุงหมาย ไววา นายทหารชั้นยศ ร.อ. จะตองเขาศึกษากอนเปนผูบังคับฝูงบินและเลื่อนยศเปน น.ต. โดยไดเปดการศึกษาทั้งหมด ๗ รุน มีนายทหารฝกหัดราชการ จํานวน ๑๖๕ นาย สําเร็จการศึกษา จํานวน ๑๖๒ นาย ซึง่ แตละรุน ไดปรับปรุงหลักสูตร ใหทนั สมัยอยูต ลอดเวลา โดยนายทหารทีส่ าํ เร็จการศึกษาจากตางประเทศ ทําใหมาตรฐานของผูบ งั คับฝูงบินดีขนึ้ สามารถ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 51

6/22/2560 BE 00:41


๕๒ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

ปฏิบัติงานรวมกับฝูงบินจากตางประเทศไดเปนอยางดี แตการใหการศึกษาแกนายทหารนักบินเพียงเหลาเดียว ไม อาจทําใหกองทัพอากาศเจริญกาวหนา ดังนั้น ผูบังคับบัญชาชั้นสูงจึงใหเปดโรงเรียนสําหรับนายทหารเปนสวนรวมขึ้น เมื่อป พ.ศ.๒๔๙๙ ยศ.ทอ.ไดเปด “โรงเรียน นายทหารสัญญาบัตร ร.อ. - น.ต.” ขึ้น เพื่อใหการศึกษา แกนายทหารชั้นยศ ร.อ. - น.ต. ทุกเหลา เวนเหลานักบิน นทน.เขารับการศึกษา รวมทั้งหมด ๕ รุน ตอมาเมื่อป พ.ศ.๒๕๐๓ กองทัพอากาศไดรวม โรงเรียนนายทหารนักบินและโรงเรียนนายทหารสัญญาบัตร ร.อ. - น.ต. เขาดวยกันโดยเรียกชื่อใหมวา “โรงเรียน นายทหารชัน้ ผูบ งั คับฝูง” และไดทาํ การปรับปรุงหลักสูตร ใหม เพื่อใหนายทหารทุกเหลาไดรับการฝกศึกษาเปน มาตรฐานเดียวกัน สามารถประสานงานในระดับฝูงบินหรือระดับแผนกไดเปนอยางดี ทั้งตองการใหนายทหารที่ เขารับการศึกษาไดนําพื้นความรูหรือแนวความคิดไปใชในการครองตําแหนงสูงขึ้นตามโอกาสดวย โรงเรียนนายทหาร ชั้นผูบังคับฝูงเปดการศึกษา รุนที่ ๑ เมื่อ ๑ ก.พ. - ๓๑ พ.ค.๐๓ มีนายทหารนักเรียนเขารับการศึกษา จํานวน ๔๓ นาย

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 52

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๕๓

ในป พ.ศ.๒๕๐๖ ไดมีการจัดสวนราชการในกองทัพอากาศขึ้นใหม คือ จัดตั้งโรงเรียนนายทหารอากาศ เปน หนวยขึน้ ตรงตอกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ โดยมีโรงเรียนนายทหารชัน้ ผูบ งั คับฝูงและโรงเรียนนายทหารชัน้ ผูบ งั คับหมวด เปนหนวยขึน้ ตรงตอโรงเรียนนายทหารอากาศ สวนการดําเนินการในโรงเรียนนายทหารชัน้ ผูบ งั คับฝูงไมมกี ารเปลีย่ นแปลง และดําเนินการฝกศึกษาจนถึงรุนที่ ๔๒ ครั้นตอมากองทัพอากาศไดมีคําสั่งใหจัดตั้ง สถาบันวิชาการทหารอากาศชั้นสูงขึ้นตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ) ที่ ๒๓๑/๒๒ ลง ๒๗ ก.ย.๒๓ ซึ่งเปนอัตราเฉพาะกิจเพื่อพลาง ตอมาไดมีคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ) ที่ ๖๑๗/๒๖ ลง ๒๑ ธ.ค.๒๖ เรื่องแกอัตรากองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๐๖ (ครั้งที่ ๓๙๒) ใหโรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูงเปนหนวยขึ้นตรงตอ สถาบันวิชาการทหารอากาศชั้นสูง โดยเริ่มดําเนินการฝกศึกษาแก นทน.ตั้งแตรุนที่ ๔๓ จนถึงรุนที่ ๘๖ และนับเปน พระมหากรุณาธิคุณอยางลนพนหาที่สุดมิได ในวโรกาสที่ นาวาอากาศตรีหญิง สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณ วลัยลักษณ ไดทรงเขารับการศึกษาในโรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูง รุนที่ ๕๐ (หมายเลขทะเบียน ๕๔๑๑) ซึ่ง เปดการศึกษา เมื่อ ๑๔ มิ.ย.๒๗ - ๒๗ ก.ย.๒๗

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 53

6/22/2560 BE 00:41


๕๔ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

ในป พ.ศ.๒๕๕๒ ไดมีการปรับโครงสรางใหมเมื่อวันที่ ๑ เมษายน ตามคําสั่ง ยศ.ทอ. ลับ (เฉพาะ) ที่ ๔/๕๒ ลง ๓๑ ส.ค.๕๒ ใหโรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูง เปนหนวยขึ้นตรงตอ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ (ขอมูลเพิ่มเติม เขาดูไดที่ www.sos.rtaf.mi.th) ทีผ่ า นมาโรงเรียนนายทหารชัน้ ผูบ งั คับฝูง ไดดาํ เนินการตามนโยบายของผูบ งั คับบัญชา ในการสรางความสัมพันธ อันดีระหวางมิตรประเทศ โดยการสนับสนุนโครงการความรวมมือทางการศึกษากับ ทอ.มิตรประเทศ ตัง้ แตป พ.ศ.๒๕๑๗ ไดแก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สหพันธรัฐมาเลเซีย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และ สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา จนถึง ณ ปจจุบนั เปนปที่ ๗๑ ของโรงเรียนนายทหารชัน้ ผูบ งั คับฝูง ไดมกี ารพัฒนาและปรับหลักสูตรใหสอดคลอง กับสภาวการณปจ จุบนั และเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลง โดยกําหนดปรัชญาการศึกษาไววา “สรางเสริมและพัฒนาทักษะ ความเปนผูนํา การแกปญหา และการประสานงาน เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ผูบังคับบัญชาและฝายอํานวยการระดับฝูงบิน ที่มีคุณธรรมและจรรยาบรรณของทหารอาชีพ” ซึ่งปจจุบันไดดําเนินการฝกศึกษาถึงรุนที่ ๑๓๐ จากที่กลาวไวขางตนทั้งหมดจะเห็นไดวา โรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูงมุงมั่นที่จะสรางและพัฒนากําลังพล ของกองทัพอากาศใหเปนผูนําที่มีความรู ความสามารถ และมีคุณธรรม และจะกาวตอไปอยางไมหยุดยั้งใหทันกับ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ ใหสอดคลองกับวิสัยทัศนของสถาบันที่กลาวไว คือ “เปนสถาบันที่มีความเปนเลิศในการ พัฒนาบุคลากรของกองทัพ ใหเปนผูน าํ ทีม่ เี กียรติ ศักดิศ์ รี มีความรูค คู ณ ุ ธรรม สามารถประยุกตใชปรัชญาและศาสตร ทางทหาร และกาวทันการใชเทคโนโลยีอยางมีประสิทธิภาพ และมุง มัน่ สูอ งคกรแหงการเรียนรูท ยี่ งั่ ยืน” """

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 54

6/22/2560 BE 00:41


รอบรู...อาเซียน

National Dish of Myanmar อาหารประจําชาติของเมียนมา

@Zilch

Lahpet ละแพะ

Lahpet is a national dish of the Republic of the Union of Myanmar. It is served traditionally in a shallow lacquerware dish called lahpetohk with a lid and divided into small compartments. Pickled tea is laced with sesame oil in a central compartment surrounded, in their own compartments, by other ingredients, namely, fried garlic, crispy fried butter beans, chickpeas and peanuts, roasted sesame seeds, dried shrimp, preserved shredded ginger and fried shredded coconut.

ละแพะเปนอาหารประจําชาติของสาธารณรัฐ แหงสหภาพเมียนมาจัดเสิรฟ ในภาชนะเครือ่ งเขินกนตืน้ มีฝาปด เรียกวา ละแพะโตะ (lahpetohk) ซึ่งแบงเปน ชองเล็ก ๆ หลายชองสําหรับใสอาหาร โดยนําใบชา หมักโรยนํามันงาที่จัดวางไวตรงชองกลางของภาชนะ รับประทานกับเครือ่ งเคียงทีอ่ ยูโ ดยรอบ คือ กระเทียมเจียว ถัว่ เนย ชิกพีส ถัว่ ลิสงทอดกรอบ งาคัว่ กุง แหง ขิงดอง และ มะพราวขูดฝอยคั่ว

แหลงขอมูลและภาพ - https://en.wikipedia.org/wiki/Lahpet, - https://th.wikipedia.org/wiki/ใบเมี่ยง - http://www.uasean.com/kerobow01/12 - www.mmtimes.com/index.php/special-features/168-food-and-beverage/7429-impress-your-guests-with-myanmar-salads.html - http://library.sut.ac.th/asean_data/?m=data&country id=5&category_id=12,เอกสาร:2559 ปสากลแหงเมล็ดถั่ว. เกรียงไกร นาคะเกศ. นักวิทยาศาสตรชํานาญการพิเศษ. - https://heidifly.wordpress.com/2013/12/23/myanmar-flavours-a-crash-course-into-the-cuisine-of-a-country-in-the-crossroadsof-culinary-cultures/ 01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 55

6/22/2560 BE 00:41


  

    

ของเครื่องบินขับไล่ Gripen E พ.อ.อ.จํานงค ศรีโพธิ์ กองทัพอากาศสวีเดนจะไดรับเครื่องบินขับไล Gripen E เขาประจําการ จํานวน 60 เครื่อง ในป ค.ศ.2019 2026 โดยเครื่องบินขับไลรุนใหมลาสุดนี้มีระบบอาวุธที่สําคัญ ไดแก จรวดนําวิถีอากาศ-สู-อากาศ ประเภท Beyond Visual Range (BVR) แบบ Meteor ระยะยิงไกลกวา 100 กิโลเมตร (60 ไมล) จรวดนําวิถีอากาศ-สู-อากาศ พิสัยใกล แบบ IRIST-T ระยะยิงไกลสุด 25 กิโลเมตร (16 ไมล) สวนบทบาทการโจมตีเปาหมายบนพื้นดินนั้น มีระเบิดนําวิถี ที่สามารถโจมตีเปาหมายไดจากระยะไกลถึง 100 กิโลเมตร คือ GBU-39 Small Diameter Bomb (SDB) ขนาด 250 ปอนด และระเบิดนําวิถี GBU-49 Enhanced Paveway II ขนาด 500 ปอนด ซึ่งทั้งหมดเปนอาวุธมาตรฐาน ติดตั้งกับเครื่องบินขับไลรุน Gripen C/D MS20 สําหรับการโจมตีเปาหมายภาคพื้นดินระยะไกลดวยอาวุธนําวิถี ประเภท Stand Off Weapon เครื่องบินขับไล Gripen เคยทําการทดสอบติดตั้งและใชจรวดนําวิถีอากาศ-สู-พื้น แบบ Taurus KEPD 350 (Kinetic Energy Penetration Destroyer) ขนาด 1,400 กิโลกรัม (3,100 ปอนด) บรรทุก หัวรบ MEPHISTO (Multi-Effect Penetrator, High Sophisticated and Target Optimised) ขนาด 500 กิโลกรัม (1,100 ปอนด) ซึ่งสามารถใชโจมตีเปาหมายที่อยูใตพื้นดิน เปาหมายที่แข็งแรง ที่ตั้งกองบัญชาการ เรือรบจอดในทา และสะพาน แตสวีเดนไมไดจัดซื้อมาติดตั้งกับเครื่องบินขับไล Gripen ในการปฏิบตั ภิ ารกิจตอตานเรือรบผิวนาํ เครือ่ งบินขับไล Gripen C/D ของกองทัพอากาศสวีเดน มีจรวดนําวิถี รุน RBS-15F ระยะยิงไกลกวา 70 กิโลเมตร สําหรับเครื่องบินรุน Gripen E ที่จะเขาประจําการในอีก 2 ปขางหนา จะเปลี่ยนเปนจรวดนําวิถี RBS-15F ER รุนใหมกวา ซึ่งนอกจากจะใชโจมตีเรือรบผิวนําแลว อาวุธดังกลาวยังสามารถ ยิงทําลายเปาหมายบนพื้นดินที่อยูหางออกไปไกลกวา 200 กิโลเมตร (108 ไมลทะเล) โดยเมื่อปลายเดือนมีนาคม ค.ศ.2017 ที่ผานมา Swedish Defence Materiel Administration (FMV) ไดสัญญาจางบริษัท Saab มูลคาโครงการ 358.2 ลานดอลลารสหรัฐ ใหพฒ ั นาและผลิตจรวดนําวิถตี อ ตานเรือผิวนาํ RBS-15F ER รุน ใหมทมี่ ปี ระสิทธิภาพในการ ใชงานสูงกวาและระยะยิงไกลกวาจรวดนําวิถีรุน RBS-15F รุนเกา เพื่อเปนอาวุธติดตั้งกับเครื่องบินขับไล Gripen E โดยกําหนดมีความพรอมปฏิบัติการในกลางป ค.ศ.2020

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 56

6/22/2560 BE 00:41


กกรกฎาคม รกฎาคม ๒๒๕๖๐ ๕๖๐

ขขาววทหารอากาศ ทหารอากาศ

จรวดนําวิถีโจมตีเรือรบผิวนําแบบ RBS-15 ไดรับการออกแบบสําหรับใชโจมตีเปาหมายในทะเลลึก บริเวณ แนวชายฝงและทําการโจมตีจากฐานยิงบนบก ไดรับการพัฒนาและผลิตขึ้นมาหลายรุนเพื่อใหเหมาะสมตอการ ใชงานตอภัยคุกคามทีเ่ กิดขึน้ มีทงั้ รุน ทําการยิงจากฐานยิงชายฝง (ติดตัง้ บนรถบรรทุก) เรือรบผิวนาํ และยิงจากอากาศยาน โดยไดผลิตจรวดนําวิถี RBS-15 MK.1 ออกมาเปนรุนแรก ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนตไอพนเทอรโบเจ็ต Microturbo TRI-60 ขนาดแรงขับ 3.73 kN มีระยะยิงไกลกวา 70 กิโลเมตร จรวดนําวิถี RBS-15 รุนฐานยิงบนบกและบนเรือรบบรรจุอยู ภายในทอยิง ติดตั้งเครื่องยนตจรวดขับดันและเครื่องยนตเทอรโบเจ็ต โดยเมื่อทําการยิงอาวุธจะใชเครื่องยนตจรวดขับดัน

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 57

6/22/2560 BE 17:28


ในชวงแรกเพื่อทะยานออกจากฐานยิงขึ้นสูทองฟาและเมื่อเดินทางเขาสูเปาหมายจะเปลี่ยนเปนเครื่องยนตไอพนเทอรโบเจ็ต ขับเคลือ่ น สําหรับจรวดนําวิถรี นุ ทีย่ งิ จากอากาศยานกําหนดชือ่ รุน เปน RBS-15F ติดตัง้ เฉพาะเครือ่ งยนตไอพนเทอรโบเจ็ต ตอมามีการพัฒนาสูรุน RBR-15 MK.II และจรวดนําวิถี RBS-15 MK.III เปนรุนลาสุด มีระยะยิงไกลกวา 200 กิโลเมตร เพิ่มขีดความสามารถในการใชเปนอาวุธโจมตีทําลายเปาหมายบนพื้นดิน ติดตั้งหัวรบแบบใหมที่มีขนาดใหญกวาเดิม และมีอํานาจทะลุทะลวงสูงขึ้น แตมีนําหนักเบากวา FMV ไดสั่งซื้อจรวดนําวิถีตอตานเรือผิวนํารุน RBS-15 MK3+ และ RBS-15F ER เพื่อนําไปติดตั้งกับ เรือคอรเวตชั้น Visby (เรือรบ stealth) ของกองทัพเรือและเครื่องบินขับไลรุน Gripen E ของกองทัพอากาศตามลําดับ คุณลักษณะของจรวดนําวิถี RBS-15F ER รุนใหมลาสุดไดรับการออกแบบใหมีภาคตัดขวางสะทอนสัญญาณเรดาร ตํามากรวมถึงลดการปลอยรังสีอินฟราเรด ทําใหตรวจจับดวยเรดารและอุปกรณอินฟราเรดทําไดยากขึ้น มีความยาว 4.35 เมตร (14.3 ฟุต) ขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.5 เมตร ปกกาง 1.4 เมตร (เมื่อทําการเก็บหรือบรรจุในทอยิงปกจะพับไว) นําหนักประมาณ 600 กิโลกรัม (1,320 ปอนด) บรรทุกหัวรบ pre-fragmented HE blast ขนาด 200 กิโลกรัม RBS-15F ER จัดเปนจรวดนําวิถีประเภท “fire-and-forget” ที่มีความแมนยําสูง โดยเมื่อนักบินขับไล Gripen E ยิงอาวุธออกไปแลวสามารถนําเครือ่ งผละออกจากพืน้ ทีไ่ ดเลย ซึง่ ติดตัง้ ระบบ GPS และ Inertial Measurement Unit เพือ่ ใชในการนํารองเดินทางไปยังเปาหมายทีอ่ ยูใ นระดับตาํ เรีย่ ผิวนาํ ดวยความเร็ว 0.9 มัค ทําใหเรือรบหรือเปาหมายทีจ่ ะ โจมตีทําการตรวจจับหรือทําการสกัดกั้นไดยากมากยิ่งขึ้น โดยติดตั้งระบบ Electronic–Counter Countermeasure (ECCM) เพื่อทําการตอตานเมื่อถูกดําเนินมาตรการทางสงครามอิเล็กทรอนิกส (jamming) และไมสับสนเมื่อขาศึก ใชเปาลวง (decoy) ซึ่งระบบติดตามเปาหมาย (seeker) เปนเรดารทํางานยานความถี่ Ku band โดยไมจําเปนตอง ใช data link หรือการปรับตําแหนงเปาหมายกอนเขาโจมตี เมื่อนักบินปลอยอาวุธจรวดนําวิถีสามารถทําการบินตรง ไปยังเปาหมายหรือตั้งโปรแกรมใหบินขามเกาะ หรือบินออมเกาะที่อยูในเสนทางไปยังเปาหมายไดเปนระยะทางไกล

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 58

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๕๙

กวา 200 กิโลเมตร และในขาสุดทายจรวดนําวิถสี ามารถเรงเครือ่ งยนตขบั เคลือ่ นและทําการบินดําเนินกลยุทธหลบหลีก กอนเขาโจมตีเปาหมายเพือ่ ลดโอกาสการถูกตรวจจับและทําลายจากระบบปองกันภัยทางอากาศ หรือเมือ่ ถูกยิงสกัดกัน้ ดวยระบบอาวุธระยะประชิด (Close-in Weapon System: CIWS) จรวดนําวิถียังสามารถพุงทะยานไปยังเปาหมายได หัวรบชนิดแตกเปนสะเก็ด (HE blast-fragmentation warhead) ขนาด 200 กิโลกรัม สามารถจุดระเบิดดวยการ ตัง้ ชนวนใหทาํ งานหลังจากกระทบเปาหมาย (delayed impact) หรือเฉียดเปาหมาย (proximity fuse) เพือ่ สรางความ เสียหายใหกับเปาหมายที่ทําการโจมตีใหมากที่สุด และหัวรบขนาดใหญสามารถจมเรือรบทุกชั้นจนถึงเรือขนาดใหญได

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 59

6/22/2560 BE 00:41


๖๐ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

จรวดนําวิถี RBS-15F ER รุนใหมลาสุดยังเพิ่มขีดความสามารถที่เรียกวา re-attack เพื่อเพิ่มความแมนยํา ในการใชอาวุธและเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการทําลายเปาหมายโดยใชจรวดนําวิถีจํานวนนอยลงฝายวางแผน ทําการรบสามารถตั้งโปรแกรมใชจรวดนําวิถี RBS-15MK.III จํานวน 2 นัด หรือมากกวาโจมตีเปาหมายแหงเดียวกัน จากหลาย ๆ ทิศทาง แตสามารถเขาทําการโจมตีพรอม ๆ กัน เพือ่ เพิม่ อํานาจทะลุทะลวงผานระบบปองกันภัยทางอากาศ ของเรือรบขาศึกที่เปนเปาหมาย จรวดนําวิถี RBS-15 ER ผลิตโดยบริษัท Saab รวมกับ Diehl Defence GmbH & Co. KG โดยบริษัท Saab กลาววา สามารถสงมอบจรวดนําวิถีตอตานเรือผิวนํารุนใหมใหกับ FMV ไดในป ค.ศ.2017 ไปจนถึงป ค.ศ.2026 ซึ่ง จรวดนําวิถี RBS-15F ER มีอายุการใชงานนานถึง 30 ป """ แหลงขอมูลและภาพ - Anti-ship Missiles For SwAF Gripen E Fighters - Gripen. เขาถึงในwww.gripenblogs.com - Gripen E to gain enhanced anti-ship missile. เขาถึงใน https://www.flightglobal.com - Saab Receives Order for Next Generation Anti-Ship Missiles Rb 15 Mk.เขาถึงใน - www.navyrecognition.com

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 60

6/22/2560 BE 00:41


น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต อางถึงบทความ “หวงอวกาศกับการครอบครองของ ทอ.สหรัฐฯ” ทีก่ ลาวถึงนายทหารระดับสูงของกองทัพอากาศ สหรัฐฯ หลายคนทีเ่ ห็นดวยวา หวงอวกาศเปนสิง่ ทีจ่ าํ เปนสําหรับการรบในยุคของขอมูลทีด่ แู ลวอาจกลาวไดถงึ ความสําคัญ ของอุปกรณทางทหารที่อยูในหวงอวกาศ (Space Asset) อาทิ ดาวเทียมทหาร ซึ่งถือเปนตัวที่สรางความสําเร็จแหง พลังอํานาจในการรบของ ทอ.สหรัฐฯ แทจริงแลวทุกวันนี้ อาวุธเกือบทุกอยางของ ทอ.สหรัฐฯ สามารถจะเขาสูเ ปาหมาย ไดอยางแมนยําดวยดาวเทียมทหาร GPS (GPS Satellite) ประกอบกับดาวเทียมตรวจอากาศ (Weather Satellite) และดาวเทียมเฝาตรวจ (Surveillance Satellite) นั้น ไดกลายเปนสิ่งที่จําเปนตอการปฏิบัติการทางทหารบนภาพพื้น ที่สําคัญดาวเทียมสื่อสารทหาร (Communications Satellite) ถือเปนอุปกรณที่อํานวยความสะดวกในการสื่อสารและ การนําทางใหแกกองกําลังทางทหารของสหรัฐฯ ทีป่ ระจําการอยูท วั่ โลก หลังจากการสิน้ สุดของสงครามเย็น (Cold War) หวงอวกาศไดรบั การยอมรับอยางมากวา เปนอาณาเขตทีป่ ลอดภัยหรืออาจเปนสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิแ์ หงพลังอํานาจในการ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 61

6/22/2560 BE 00:41


๖๒ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

ปฏิบัติการทางทหารที่สงผลสําเร็จในการรบของ ทอ.สหรัฐฯ ซึ่งจะขึ้นอยูกับงบประมาณที่ใชในการปองกันภัยคุกคาม ทีอ่ าจเกิดขึน้ ตออุปกรณทางทหารทีอ่ ยูใ นหวงอวกาศ ในปจจุบนั จะเห็นไดชดั วาหวงอวกาศไมไดเปนในแบบนัน้ อีกแลว วันนี้ 11 ประเทศสามารถยิงจรวดขึ้นสูหวงอวกาศไดและมากกวา 170 ประเทศสามารถเขาถึงและใชประโยชนจาก หวงอวกาศ รวมทั้งอันตรายจากการชนกันของอุปกรณที่โคจรในหวงอวกาศนั้น เริ่มมีจํานวนที่มากขึ้น ในภาพรวมได แสดงใหเห็นวา หวงอวกาศกําลังจะกลายเปนอาณาเขตที่เต็มไปดวยการแขงขัน อีกทั้งกําลังจะกลายเปนอาณาเขตที่ ไมปลอดภัย ดวยเหตุนี้จึงเปนที่มาในความตองการของ ทอ.สหรัฐฯ ที่จะตองทําการพัฒนาความสามารถของอุปกรณ ทางทหารทีอ่ ยูใ นหวงอวกาศและพัฒนาความสามารถของบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านดานอวกาศ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ เตรียมความพรอม หากจะตองทําการรบโดยบทความในฉบับมีมุมมองและรายละเอียดที่นาสนใจ ดังนี้ เตรียมความพรอมถาตองรบ ขอมูลจาก U.S. Air Force Magazine ฉบับเดือนตุลาคม ค.ศ.2016 ในบทความเรื่อง “Ready for War in Space” เขียนโดย Adam J. Hebert ที่กลาวถึงเจาหนาที่ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ตระหนักถึงปญหา ความไมปลอดภัยในหวงอวกาศและทีส่ าํ คัญเจาหนาทีห่ ลาย ๆ คนก็ไดพดู ถึงเกีย่ วกับภัยคุกคามทีอ่ าจเกิดขึน้ กับอุปกรณ ทางทหารของ ทอ.สหรัฐฯ ที่อยูในหวงอวกาศ (Space Asset) มานานหลายป ซึ่งคงจะเห็นไดจากการทดสอบอาวุธ ตอตานดาวเทียม (Anti - Satellite Test) ที่รัสเซียและจีนนั้นไดทํากันอยางตอเนื่อง ซึ่งนอกเหนือจากจีนและรัสเซีย ทีถ่ อื เปนภัยคุกคามตออุปกรณทางทหารของ ทอ.สหรัฐฯ ทีอ่ ยูใ นหวงอวกาศแลวก็ยงั มีเกาหลีเหนือซึง่ เปน 1 ใน 11 ประเทศ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 62

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๖๓

ที่สามารถยิงจรวดขึ้นสูหวงอวกาศได จากเหตุการณที่ผานมาในเดือนสิงหาคม ค.ศ.2016 เกาหลีเหนือไดยิงขีปนาวุธ หลายลูกเขาไปตกในเขตนานนําของประเทศญี่ปุนอางจากคําพูดของ Robert O. Work อดีตรองรัฐมนตรีวาการ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ไดกลาวถึงความสําคัญของอุปกรณทางทหารทีอ่ ยูใ นหวงอวกาศในการประชุมประจําปสถาบัน อวกาศสหรัฐฯ รัฐโคโลราโด เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ.2016 ที่ผานมาวา “หวงอวกาศนั้นไดกลายเปนสิ่งที่เขาไปเกี่ยวของ ใน การวางแผน การฝกอบรม และการปฏิบัติการตาง ๆ ของสหรัฐฯ อีกทั้งยังเปนศูนยกลางในการสรางความมั่นใจให แกพนั ธมิตรยับยัง้ ความขัดแยง และทีส่ าํ คัญนัน้ เปนศูนยกลางแหงพลังอํานาจในการรบของกองกําลังทางทหารสหรัฐฯ หากฝายตรงขามสามารถทีจ่ ะทําลายอุปกรณทางทหารทีอ่ ยูใ นหวงอวกาศของสหรัฐฯ ไดอยางราบคาบ ผลทีต่ ามมาทําให ความสามารถแหงพลังอํานาจในการรบของสหรัฐฯ ที่เคยทําไดในระยะที่อยูหางออกไปอีกฝงของโลกนั้นจะลดลงอยาง เห็นไดชดั ซึง่ อุปกรณทางทหารทีอ่ ยูใ นหวงอวกาศถือวามีความสําคัญเปนอยางมากตอกองกําลังทางทหารของสหรัฐฯ” ในชวงตนป ค.ศ.2016 เปนความตองการของ ทอ.สหรัฐฯ ที่ตองการจะเปลี่ยนจากคําพูดใหมาเปนการกระทํา โดย พล.อ.อ.John E. Hyten หัวหนาหนวยบัญชาการยุทธทางอวกาศ (Air Force Space Command) ที่รับผิดชอบ ในการรักษาความไดเปรียบและขยายขีดความสามารถในการใชหว งอวกาศ ไดเริม่ จัดระบบใหมในกองกําลังทางอวกาศ (Reorganizing the Space Force) ดวยความพยายามที่จะทําใหอุปกรณทางทหารที่อยูในหวงอวกาศสามารถทํางาน ไดอยางตอเนื่อง (Resilient System) และทําใหบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานอวกาศไดรับการฝกอบรมที่ดีขึ้นพรอมดวย จิตใจแหงการเปนนักรบ (Warrior Mentality) ในมุมมองที่เกี่ยวของกับอุปกรณทางทหารที่โคจรอยูในหวงอวกาศ อาทิ ดาวเทียมทหาร ดวยการออกแบบรวมทั้งการยิงขึ้นสูวงโคจรใชเวลา 10 ป หลังจากนั้นจะอยูในวงโคจรใหการบริการ ไดนานมากกวา 10 ป ที่สําคัญดาวเทียมทหารที่อยูในอวกาศของ ทอ.สหรัฐฯ นั้น ไมไดถูกออกแบบไวเพื่อตอตาน

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 63

6/22/2560 BE 00:41


๖๔ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

ภัยคุกคามและถูกสรางขึ้นมาใหสามารถทํางานไดในระยะยาวอยางมีประสิทธิภาพ ดวยในชวงเวลาที่ผานมานั้น หลักการที่ใชในการออกแบบอุปกรณทางทหารที่อยูในหวงอวกาศไมไดคํานึงถึงปญหาดานภัยคุกคาม ปจจัยหลักที่ คํานึงถึงในการออกแบบคือ คาใชจายและการใชงานไดยาวนาน ซึ่งในสถานการณปจจุบัน ทอ.สหรัฐฯ ตองเผชิญกับ ภัยคุกคามดวยการออกแบบดังที่ไดกลาวมานั้น คงจะไมเพียงพอในการนํามาใชเพื่อการออกแบบอุปกรณทางทหารที่ อยูในอวกาศ ถือเปนเรื่องที่ผูเกี่ยวของหลายคนนั้นทราบและไดดําเนินการแกไข คงเห็นไดจากดาวเทียมทหาร GPS ในรุนกอน ๆ นั้น เปนดาวเทียมที่ใชพลังงานตํา (Low - Power System) ที่คอนขางงายตอการรบกวนสัญญาณ เชน อางขอมูลจากหนวยบัญชาการยุทธทางอวกาศ (AFSPC) ในเชาวันหนึ่งของเดือนธันวาคม ค.ศ.2015 นักบินสองคน ที่มีประสบการณในการบินของ ทอ.สหรัฐฯ ไดทําการบินโดยใชระบบนําทางจากดาวเทียมทหาร GPS ระหวางทําการบิน ระบบ GPS ไดเกิดความผิดพลาดอันเปนผลมาจากการรบกวนของสัญญาณ ซึง่ หนวยบัญชาการยุทธทางอวกาศไดตระหนัก ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นและเริ่มทําการพัฒนาความสามารถของดาวเทียมทหาร GPS ในรุนที่ 3 (GPS III) ใหมีประสิทธิภาพที่ สูงขึ้น พรอมมีระบบตอตานการรบกวนสัญญาณ เพื่อแกไขในขอบกพรองของดาวเทียมทหาร GPS ในรุนกอน ๆ และ คาดวาดาวเทียมทหาร GPS III ในชุดแรกนั้น จะถูกยิงขึ้นสูวงโคจรเพื่อใหบริการชวงป ค.ศ.2018 ในสวนบุคลากรที่ ปฏิบัติงานดานอวกาศ อางขอมูลจาก U.S. Air Force Magazine ฉบับเดือนสิงหาคม ค.ศ.2016 ในบทความเรื่อง “Making Making Space More Military Military” เขยนโดย เขียนโดย Jennifer Hlad ไดกลาวถง ไดกลาวถึง พล.อ.อ. John E. Hyten หวหนาหนวย หัวหนาหนวย บัญชาการยุทธทางอวกาศ กําหนดใหบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานอวกาศจะตองปรับตัวและรับการฝกที่ดีขึ้น (Space Mission Force) โดยแบงแตละทีมของบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านดานอวกาศ ออกเปน 2 สวน กลาวคือ สวนแรกของบุคลากร

ใใหหไ ปปฏิ ปปฏบิ ตั งิ าานด นดา นนอวกาศเป อวกาศเปน เเวลา วลา 4 เเดืดอื น สสว นนทีทสี่ อองของบุ งของบคุ ลลากรถู ากรถกู สสง ไไปฝ ปฝก ออบรมการปฏิ บรมการปฏบิ ตั งิ าานด นดา นนอวกาศขั อวกาศขนั้ สสูงู ((Advanced Advanced TTraining) raining) ซซึ​ึ่งใใชชเววลา ลา 4 เเดืดือนนเช เชนกกั​ัน เเมืมื่อคครบก็ รบก็สลลั​ับหหนนาทที​ี่กันใในที นทีมขของบุ องบุคลลากรที ากรที่ปฏฏิ​ิบัติงาานด นดานนอวกาศ อวกาศ ททังั้ นีนเ้ี พืพอ่ื เตรี เตตรยี มความพร มความพรอ มหากจะต มหากจะตอ งทํ งทาํ การรบ การรบ และในเดื และในเดอื นกุ นกมุ ภาพั ภาพนั ธธ ค.ศ.2016 ค.ศ.2016 ทีทผ่ี า นมาที นมาทมี ของบุ ของบคุ ลากรที ลากรทป่ี ฏิฏบิ ตั งิ าน าน ดดา นนอวกาศที อวกาศทกี่ อองบิ งบนิ 5500 รรัฐั โโคโลราโดเป คโลราโดเปน ททีมี แแรกที รกทปี่ รระสบความสํ ะสบความสาํ เเร็รจ็ ใในการเปลี นการเปลยี่ นนแปลงไปสู แปลงไปสู SSpace pace M Mission ission FForce orce ซซึ​ึ่งนอกเหนื นอกเหนือจจากภั ากภัยคุคุกคามที คามท่ีสรรางความไม งความไมปลอดภั ลอดภัยในห ในหวงอวกาศแล งอวกาศแลว อัอันตรายจากการชนกั ตรายจากการชนกันของอุ ของอุปกรณ กรณที่โคจร คจร ใในห นหวงอ งอวกาศนั อวกกาศนั้น เร เริริ่มมมี​ีจํานนวนที วนที่มาากขึ กขึ้น ออาทิ าทิ ดดาวเที าวเทียมมทีที่โคคจรในห จรในหวงงอวกาศชนกั อวกาศชนกันเเองหรื องหรือออาจเป าจเปนดดาวเที าวเทียมมทีที่โคคจร จร ใในห นหวงงอวกาศชนกั อวกาศชนกับขขยะอวกาศ ยะอวกาศ ((Space Space DDebris) ebris) ซซึ​ึ่งเเห็ห็นไไดดจาากเหตุ กเหตุกาารณ รณในนปป คค.ศ.2007 .ศ.2007 จจี​ีนนนั​ั้นไไดดโชชววคววามสํ ามสําเเร็ร็จ ใในการยิ นการยิงออาวุ าวุธขึข้ึนไปทํ ไปทําลายดาวเที ลายดาวเทียมตรวจอากาศของตั มตรวจอากาศของตัวเอง เอง (Anti (Anti - Satellite Satellite Weapon) Weapon) รวมทั รวมท้ังเหตุ เหตุการณ ารณในป น ป

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 64

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๖๕

ค.ศ.2008 เกิดการชนกันของดาวเทียมสือ่ สารทหารรัสเซียกับดาวเทียม Iridium ของเอกชนในหวงอวกาศ แรงระเบิดจากทัง้ 2 เหตุการณ ทําใหเกิดขยะอวกาศจํานวนมากในวงโคจร ปจจุบนั ดาวเทียมทีโ่ คจรรอบโลกระดับตาํ (LEO) 300 - 700 ไมล จากผิวโลก มีแนวโนมที่จะเปนอันตรายมากขึ้น ไมเพียงแตดาวเทียมเทานั้นที่ตกอยูในอันตรายแมแตสถานีอวกาศ นานาชาติ (International Space Station) ก็ตองคอยตรวจสอบอยูเสมอ เพื่อปองกันขยะอวกาศที่อยูในวงโคจรรอบโลก ระดับตํา อาจจะพุงชนสถานีอวกาศนานาชาติเมื่อใดก็ได ที่สําคัญถาขยะอวกาศมีจํานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ผลที่ตามมา อาจสรางปญหาใหกับการปฏิบัติการในหวงอวกาศที่มีความสําคัญ (Critical Space Operation) ซึ่งหนวยบัญชาการ ยุทธทางอวกาศ มอบหมายใหศูนยปฏิบัติการหวงอวกาศรวม (JSpOC) ฐานทัพอากาศแวนเดนเบิรก รัฐแคลิฟอรเนีย เปนผูที่ทําการแจงเตือนตําแหนงของวัตถุหรืออุปกรณที่มีแนวโนมที่จะชนกันในหวงอวกาศ (Conjuncture) ในมุมที่ มองการกระทําของ พล.อ.อ. John E. Hyten หัวหนาหนวยบัญชาการยุทธทางอวกาศ ตามที่กลาวมานั้น เปาหมาย ก็เพื่อเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติงานดานอวกาศ (Increasing the Space Capability) และที่สําคัญเพื่อเตรียม ความพรอมหาก ทอ.สหรัฐฯ จะตองทําการรบ

ขอคิดที่ฝากไว กองทัพอากาศสหรัฐฯ ตระหนักดีถึงหวงอวกาศที่อยูเหนือผิวโลกนั้น เปนสวนที่มีความสําคัญตอกําลัง ทางอากาศ ปจจุบนั หวงอวกาศถือเปนสนามแขงขันทีม่ ศี กั ยภาพ การแขงขันในหวงอวกาศไมไดจาํ กัดอยูแ คสหรัฐอเมริกา รัสเซีย และจีนเทานัน้ หลาย ๆ ประเทศก็ไดพยายามพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศของตัวเองใหกา วหนา เมือ่ หันกลับมามอง ประเทศไทยดานอวกาศ ลาสุดกับโครงการเฝาระวังวัตถุใกลโลกและวัตถุอวกาศ ที่มีวัตถุประสงคหลักเพื่อเฝาติดตาม และศึกษาวงโคจรของวัตถุใกลโลกและวัตถุอวกาศ ซึ่งจะนําความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับความไมปลอดภัย ในหวงอวกาศมาสูสาธารณชน อันถือเปนจุดเริ่มตนของการเรียนรูในดานอวกาศ """

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 65

6/22/2560 BE 17:29


น.อ.ยุทธศักดิ์ พูลสุวรรณ, Ph.D (ตอจากฉบับที่แลว) ในฉบับที่แลวผูเขียนไดนําเสนอหลักการการเรียนรูที่ชวยกําหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่นําไปสู การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของผูเรียนหรือเสริมสรางผลลัพธที่พึงประสงคตามพันธกิจ ซึ่งแบงหลักการเรียนรูที่ สอดคลองกับคุณลักษณะของผูเรียนไว ๒ ประเด็น คือ ประเด็นแรก ผูเรียนของสถานศึกษาในกลุมการศึกษาประเภท In-Service เปนผูผ า นการศึกษาในสถานศึกษาตามแนวทางรับราชการ และไดประยุกตใชความรู เก็บเกีย่ วประสบการณ การปฏิบัติภารกิจ กอนเขารับการศึกษาในสถานศึกษาระดับที่สูงขึ้น ประเด็นที่สอง ผูเรียนของสถานศึกษาในกลุม การศึกษาประเภท In-Service เปนคนที่มาจากหลากหลายสาขาวิทยาการ แลวถูกจับเขามานั่งเรียนดวยกัน และใช ความสามารถของแตละคนมารวมกัน เพือ่ ปฏิบตั กิ ารใหประสบผลสําเร็จตามเปาหมายรวมกัน สําหรับในฉบับนีผ้ เู ขียน จะขอนําเสนอประเด็นสุดทาย ดังนี้ ประเด็นสุดทาย ผูเ รียนของสถานศึกษาในกลุม การศึกษาประเภท In-Service เปนผูท มี่ วี ฒ ุ ภิ าวะ ความรับผิดชอบ และมีอาวุโสในตําแหนงหนาที่การงานสูง หลักการเรียนรูจึงเปนบริบทการเรียนรูของผูใหญ ซึ่งแตกตางไปจากการเรียนรู ของเด็ก วิธีการสอนผูใหญ หรือ “Andragogy” จึงพิจารณาหลักการสําคัญ ๔ ประการ ไดแก ๑. ผูใ หญมคี วามเปนผูน าํ ตนเอง (self-directing) รูจ กั เหตุและผล ความสามารถในการตัดสินใจไดดว ยตนเอง ไมตอ งการใหถกู มองวาคอยแตรบั คําสัง่ ใหปฏิบตั ติ าม ผูใ หญตอ งการเปนตัวของตัวเองและมีอสิ ระเสรีในการดําเนินชีวติ ๒. ผูใหญมีการสั่งสมประสบการณมามากกวา และการนําประสบการณเหลานั้นมาใชในการเรียนรูจะมีสวน ชวยเสริมใหการเรียนรูทําไดอยางรวดเร็วยิ่งขึ้นเพราะเคยผานการเรียนรูมากอน ในทางกลับกันการมีประสบการณที่ ไมเหมือนกับสิ่งที่เคยเรียนรูมากอน บางครั้งเปนตัวขัดขวางทําใหการเรียนรูใหมทําไดยากยิ่งขึ้น

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 66

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๖๗

๓. ผูใหญจะมีวุฒิภาวะ และเกิดความพรอมในการเรียนรูมากกวาเด็ก และจะเรียนรูไดมากยิ่งขึ้นหากเรื่องที่ เรียนเปนเรื่องที่มีประโยชนสามารถนําไปใชกับชีวิตประจําวันได หรือมีความจําเปนตองเรียนรู ๔. ผูใหญมีวิธีการเรียนรูโดยอาศัยปญหาเปนศูนยกลาง (Problem-center) หรือเพื่อนําความรูไปใชในชีวิต ประจําวันทั้งเรื่องของงานและการใชชีวิต

องคประกอบสําคัญ ไดแก พันธกิจการจัดการศึกษาและหลักการเรียนรูท สี่ อดคลองกับบริบทดานคุณลักษณะ ของผูเรียนที่เกี่ยวกับ ๑. แนวคิดการสรางความรูที่จะชวยในการเชื่อมโยงความรูหรือสมรรถนะเดิมเขากับสมรรถนะที่ไดเรียนรูใหม ๒. แนวคิดการบูรณาการองคความรูแ ละสมรรถนะในหลากหลายสาขาใหเกิดผลในการสรางผลลัพธทแี่ ตกตาง ไปจากเดิม ๓. แนวคิดการเรียนรูของผูใหญที่สงผลตอการจัดการศึกษาตามที่นําเสนอขางตน จะถูกนํามาใชเปนฐานวิเคราะห หลักสูตรและระบบการประเมินของการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาปญญาพลโดยเฉพาะหลักสูตรที่เปรียบเปน “หัวใจ ของการศึกษา” ทั้งนี้ เพราะหลักสูตรเปนสิ่งที่ชี้ใหเห็นวา สถานศึกษามีความมุงหมายในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียน อยางไรและสามารถใหความรูสรางเสริมทักษะและเจตคติในดานใดบาง สิ่งตาง ๆ ที่ประมวลไวในหลักสูตรเปน เสมือนแนวทางทีช่ ว ยใหทราบทันทีวา การศึกษาทีจ่ ดั ใหแกผเู รียนเนนหนักไปทางดานใด เมือ่ ทราบวาเราตองการคนอยางไร มีความสามารถอะไรบาง เราก็ตองจัดการศึกษาใหเปนไปตามนั้น ซึ่งการจะใหการศึกษาไดผลอยางจริงจังนั้นอยูที่

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 67

6/22/2560 BE 00:41


๖๘ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

การกําหนดความตองการใหคอนขางจะแนนอน เพื่อจะไดดําเนินการไปโดยไมมีการเสียเปลามากนัก ถาเราไมทราบ ความตองการอยางคอนขางจะแนนอนแลว การจะวางแผนปฏิบัติใหเกิดผลยอมทําไดยาก ผูเขียนเห็นวาการจัดการ ศึกษาของสถานศึกษาในกลุมการศึกษาประเภท In-Service ควรจะตองมาจับเขาคุยกัน ทบทวนเนื้อหาสาระ ในหลักสูตรกันดูอกี ทีวา หลักสูตรการศึกษาควรมีความเชือ่ มโยงสาระการเรียนรู ระหวางหลักสูตรของสถานศึกษาตามลําดับ การกาวหนาในการรับราชการอยางไรบาง หลักสูตรมีกิจกรรมการเรียนรูที่สนับสนุนใหเกิดผสมผสานองคความรูที่ หลากหลายใหเกิดผลในการพัฒนา หรือแกปญหาของกองทัพอากาศได เชน จัดใหมีการฝกปฏิบัติ จัดการสัมมนา จัดให มีการอภิปรายแนวทางการพัฒนาหรือแกไขปญหาของกองทัพอากาศ กระตุนใหเกิดการคนควาและนําเสนอหนทาง ปฏิบตั ทิ แี่ ปลกใหม นอกเหนือจากการจัดรูปแบบกิจกรรมการเรียนรูแ บบการบรรยายแตเพียงอยางเดียว และหลักสูตร ก็ควรกําหนดรูปแบบการเรียนการสอนทีส่ อดคลองกับแนวคิดการเรียนรูข องผูใ หญ รวมทัง้ การประเมินผลแตละกิจกรรม การเรียนรูก ต็ อ งเปลีย่ นตาม ดังทีผ่ เู ขียนเคยนําเสนอไวในตอนทีแ่ ลววาการวัดและประเมินผลความเปนปญญาพล จําเปน ตองอาศัยเครื่องมือวัดคุณลักษณะ/สมรรถนะของปญญาพลแตละดานที่สอดคลองเหมาะสม เชน การสังเกตการณ การฝกปฏิบตั ิ การตอบแบบทดสอบ การพูดคุยสัมภาษณ การนําเสนอ/แถลงผลงาน การจัดทําเอกสารวิจยั การวางแผน ฝกรวม การอภิปรายผลการจัดทํายุทธศาสตรทหาร เปนตน สิ่งเหลานี้เปนการบงบอกวาหลักสูตรของสถานศึกษา จะตองไดรบั พัฒนามาจากการจัดการศึกษาทีเ่ ปนระบบ มีกลยุทธพฒ ั นาหลักสูตรทีน่ าํ ไปสูก ารพัฒนาปญญาพล เพือ่ เตรียม ความพรอมบุคลากรที่เหมาะสมตอการขับเคลื่อนการปฏิบัติใหบรรลุภารกิจของกองทัพอากาศ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 68

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๖๙

ผูเขียนขอยกตัวอยางวิธีการจัดการเรียนการสอนที่ใชปญหาหรือสถานการณมาเปนประเด็นคําถาม เปนการ สรางความสนใจ ชวนใหสงสัยหรือทาทายความคิดและความใฝรู พิจารณาปญหา รวมถึงการพิจารณาความเปนไปได ในการหาคําตอบของปญหาหรือสถานการณนั้น เปดโอกาสใหผูเรียนไดรวมกันวางแผนในการปฏิบัติกิจกรรมตามที่ กําหนด ดําเนินการแสวงหาความรูต ามแผนงานทีไ่ ดกาํ หนดไว วิเคราะหขอ มูล สรุปผล และอภิปรายผล โดยการรวบรวม ขอมูลทีไ่ ดมาวิเคราะหและสรุปผล และอภิปรายผลเพือ่ ประเมินคําตอบ และสรางประเด็นทีเ่ ปนปญหาตอยอดหรือสงสัย นําไปสูวงจรการเรียนรูในประเด็นปญหาใหมตอไป ตัวผูเรียนเองจะถูกปลูกฝงความเปนปญญาพลทั้งในดานการเปน นักวิจยั ทีใ่ ชกระบวนการวิจยั เขามาแกปญ  หา เปนนักบริหารทีว่ างแผนการดําเนินงานเพือ่ ไปสูเ ปาหมาย เปนนักการทหาร ที่เชี่ยวชาญการเตรียมและใชกําลังในการแกปญหา เปนนักยุทธศาสตรที่รอบรูและประเมินสถานการณกอนกําหนดหนทาง/ วิธีการในการแกไขปญหา เปนตน การสนับสนุนโดยรวมนโยบาย และการจัดสรรทรัพยากรอะไรบางที่จําเปนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาผลลัพธ ที่พึงประสงค ขอเสนอแนะที่มีผลตอการปรับเปลี่ยนพันธกิจ หลักในการเรียนรู หลักสูตร วิธีการสอน และการประเมิน จะเกิดขึ้นจริงไดก็ตอเมื่อมีนโยบายที่สนับสนุนการนําขอเสนอแนะดังกลาวไปปฏิบัติ

สรุปวา ผูเ ขียนไดนาํ เสนอกรอบความคิดในการออกแบบเพือ่ การจัดการเรียนการสอนทีเ่ ชือ่ มโยงองคประกอบหลัก ที่สัมพันธกัน ๕ ประการ ไดแก พันธกิจ หลักการเรียนรู หลักสูตรและระบบประเมินผล การจัดการเรียนการสอน และ ปจจัยสนับสนุนโดยรวม โดยนําสาระสําคัญในองคประกอบเหลานี้มาใชในการหาคําตอบที่มีความสําคัญในเชิงปฏิบัติ ที่วา ๑. เราจะสอดแทรกเนื้อหาสาระอะไรที่มุงสูการพัฒนาปญญาพลนี้เขาไปในหลักสูตรที่มีอยูแลว ? ๒. เราจะมีวิธีการนําหลักสูตรที่พัฒนาแลวไปใชในการจัดการเรียนการสอนอยางไร ? ๓. เราจะประเมินหลักสูตรวามีผลตอการพัฒนาปญญาพลไดอยางไร ? วาไปแลวก็ดูจริงจังเปนวิชาการเขมขนในการออกแบบเพื่อการจัดการเรียนการสอนที่ไดกลาวใน ขางตนนี้หรือไม ? โปรดติดตามตอนตอไป """

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 69

6/22/2560 BE 18:02


(ตอจากฉบับที่แลว)

น.อ.ธวัชชัย มากพานิช

ในฉบับทีแ่ ลวผูอ า นคงไดรบั ทราบวิธกี ารลงทะเบียนการยืน่ ขอรับบําเหน็จบํานาญดวยตนเองทางอิเล็กทรอนิกส (Pensions’ Electronic Filing) หรือเรียกวา ระบบ e-filing และขั้นตอนการเขาสูระบบ e-filing ไปจนจบขั้นตอนที่ ๑ การตรวจสอบขอมูลบุคคลแลว ในฉบับนี้จะกลาวถึงขั้นตอนที่เหลืออีก ๔ ขั้นตอนตามลําดับ ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๒ เลือกประเภทเงินที่ประสงคจะขอรับ ในขั้นตอนนี้จะเปนการเลือกประเภทเงินที่ประสงคจะขอรับ โดยจะเริ่มจากการรับรองสถานะการสอบสวน ทางวินยั และตองหาวากระทําผิดทางอาญาของตนเอง โดยจะมีชอ งทางใหเลือก คือ ไมเปนผูอ ยูร ะหวางสอบสวนทางวินยั หรือตองหาวากระทําความผิดอาญา

ในการเลือกประเภทเงินที่ประสงคจะขอรับนั้น ขาราชการที่ “ไมเปนสมาชิก กบข.” สามารถเลือกรับเงิน ประเภทบํานาญปกติและบําเหน็จปกติ สวนขาราขการที่ “เปนสมาชิก กบข.” สามารถเลือกรับเงินประเภท บํานาญ สมาชิก กบข. และบําเหน็จสมาชิก กบข. กรณีผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญไมอยูระหวางการสอบสวนทางวินัยและเลือกรับบํานาญปกติหรือบํานาญ สมาชิก กบข. ระบบจะเลือกขอรับบําเหน็จดํารงชีพใหโดยอัตโนมัติ แตหากผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญอยูระหวางการ สอบสวนทางวินยั และเลือกรับบํานาญปกติหรือบํานาญสมาชิก กบข. จะไมสามารถเลือกขอรับบําเหน็จดํารงชีพได และ การขอรับบํานาญก็ตองทําสัญญาคําประกันกับสวนราชการกอนที่จะเบิกเงินบํานาญดวย

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 70

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๗๑

สําหรับสวนราชการผูขอนั้นระบบจะแสดงใหโดยอัตโนมัติ ซึ่งไดตรวจสอบขอมูลจากกรมบัญชีกลาง ดาน สวนราชการผูเบิกหากเปนที่เดียวกับสวนราชการผูขอสามารถคลิกชองผูเบิกที่เดียวกับผูขอ อยางไรก็ตามทานสามารถ เลือกสวนราชการผูเบิก โดยระบุจังหวัดและหนวยงานยอยได กรณีผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญเปน “สมาชิก กบข.” ไดรับการตรวจสอบขอมูลเอกสารหลักฐานตาง ๆ อยางครบถวนถูกตอง โดยจะตองไดรบั การรับรองสถานะการสอบสวนทางวินยั และผูม อี าํ นาจของสวนราชการไดลงนาม รับรองความถูกตองในแบบคําขอรับเงินจาก กบข. แลว จึงสามารถแจงความประสงคขอรับเงิน กบข. ผานระบบโดย ไมตองกรอกแบบฟอรม กบข. รง ๐๐๘/๑/๒๕๕๕ หลังจากกรมบัญชีกลางตรวจสอบขอมูลการสั่งจายเงินบํานาญแลว จะสงขอมูลการขอเงิน กบข. ไปพรอมกัน ทั้งนี้ทานสามารถเลือกได ๓ กรณี ดังนี้ ๑. ขอรับเงินคืนทั้งจํานวน ๒. ขอโอนเงินไปยังกองทุนอื่น (กรณีนี้ใหยื่นขอรับเงิน กบข. ทางเอกสาร) ๓. ขอฝากให กบข. บริหารตอ หรือทยอยรับเงิน

สําหรับกรณีที่ ๓ ขอฝากให กบข. บริหารตอ หรือทยอยรับเงิน สามารถคลิกทางเลือกให กบข.บริหารตอได ๔ ทางเลือก คือ ๑. ขอฝากเงินใหกองทุนบริหารตอทั้งจํานวน ๒. ขอทยอยรับเงินที่มีสิทธิเปนงวด ๆ ๓. ขอรับเงินที่มีสิทธิไดรับบางสวนและที่เหลือบริหารทั้งจํานวน ๔. ขอรับเงินที่มีสิทธิไดรับบางสวนและที่เหลือทยอยรับเงินที่มีสทิ ธิเปนงวด ๆ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 71

6/22/2560 BE 00:41


๗๒ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

โดยทีท่ า นกรอกรายละเอียด เชน รับเงินบางสวน ทยอยรับเงินเปนงวด (รายเดือน/ราย ๓ เดือน/ราย ๖ เดือน/ รายป) งวดละ (ตองไมตํากวางวดละ ๓,๐๐๐ บาท) เริ่มงวดแรก และป พ.ศ. ซึ่งรายละเอียดที่กลาวมาขางตนนั้นขึ้นอยูกับ ความประสงคของตัวทานเอง ขั้นตอนที่ ๓ ตรวจสอบเงินเดือนและเวลาราชการ กรณีที่ผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญไมเปนสมาชิก กบข. โปรแกรมจะแสดงรายละเอียด ตารางขอมูลเงินเดือน และตารางเวลาราชการ เชนเดียวกันหากผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญเปนสมาชิก กบข. ระบบจะแสดงรายละเอียด ตารางขอมูล เงินเดือนเฉลี่ย ๖๐ เดือนและตารางเวลาราชการ ทั้งนี้รวมถึงบําเหน็จลูกจาง โดยระบบจะแสดงรายละเอียด ตาราง ขอมูลอัตราเงินคาจางและตารางเวลาทํางาน หากทานพบวาขอมูลของทานไมถูกตองหรือไมครบถวน ทานตองแจงรายละเอียดเพิ่มเติมใหสวนราชการ ผูขอทราบ เพื่อแกไขขอมูลใหถูกตองและครบถวนของขอมูลกอนที่จะดําเนินการในขั้นตอนตอไปของการยื่นแบบ ขอรับบําเหน็จบํานาญ ขั้นตอนที่ ๔ บันทึกคาลดหยอน ผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญกรอกขอมูลการลดหยอน เชน ลดหยอนตนเอง (ไมเกิน ๓๐,๐๐๐ บาท) ลดหยอน คูสมรส (ไมเกิน ๓๐,๐๐๐ บาท) บุตรกําลังศึกษา บุตรที่ไมศึกษา ดอกเบี้ยเงินกู (ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท) เบี้ยประกันชีวิต (ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท) คาลดหยอนบิดามารดา (ไมเกิน ๖๐,๐๐๐ บาท) ทั้งนี้ผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญสามารถแกไข ลบหรือเพิ่มขอมูล เชน จํานวนเงิน จํานวนบุตร และรายการ ลดหยอน เปนตน จากนั้นคลิกปุมบันทึกหรือตกลงแลวแตกรณี ระบบจะบันทึกขอมูลและแสดงผลยืนยัน การแกไข ขอมูลเรียบรอย หรือบันทึกขอมูลเรียบรอยแลวแตกรณี

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 72

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๗๓

ขั้นตอนที่ ๕ ยืนยันแบบและสงไปยังสวนราชการผูขอ ระบบจะคํานวณเงินบํานาญและบําเหน็จดํารงชีพ (ถามี) ของผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญโดยอัตโนมัติ และ ผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญตองยืนยันขอมูลทั้งหมดเพื่อสงสวนราชการผูขอ • สําหรับขั้นตอนนี้ใหผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญปฏิบัติดังนี้ - ทําเครื่องหมายถูกที่ชองสี่เหลี่ยม หนาขอความ “ขาพเจาไดตรวจสอบขอมูลบุคคลที่ปรากฏใน หนาจอแลว ขอรับรองวาถูกตอง” - คลิกที่ “ยื่นแบบขอรับบําเหน็จบํานาญ” ระบบจะปรากฏรูปที่เปนคําถามวา “ตองการยื่นแบบ ขอรับบําเหน็จบํานาญหรือไม” - คลิกที่ “ตกลง” ระบบจะปรากฎรูป ยื่นแบบขอรับบําเหน็จบํานาญเรียบรอย ใหคลิกที่ “ตกลง” อีกครั้ง - หากผูยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญตองการพิมพใบแบบ ๕๓๐๐ ใหคลิกที่ “พิมพแบบ ๕๓๐๐ อิเล็กทรอนิกส” เพียงเทานี้การยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญดวยตนเองทางอิเล็กทรอนิกสของทานก็เปนอันเรียบรอย ทั้งนี้ ทานสามารถดาวนโหลดคูมือการใชงานระบบ e-filing เพื่อดูรายละเอียดไดที่หนาเมนูหลักของระบบ และยังสามารถ อานขอมูลขาวสารของกรมบัญชีกลางที่ทันสมัยไดดวยเชนกัน ทายนี้ ผูเขียนตองขอขอบคุณผูอานทุกทานที่ไดติดตามบทความมาถึงฉบับนี้ หวังเปนอยางยิ่งวาบทความของ ผูเขียนทั้ง ๔ ตอน จะบังเกิดประโยชนแกทุกทานที่ไดปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการและใกลจะ ครบเกษียณอายุราชการ """ แหลงขอมูลและภาพ - คูมือการยื่นขอรับบําเหน็จบํานาญดวยตนเองทางอิเล็กทรอนิกส (Pensions’ Electronic Filing) - พระราชกฤษฎีกา การจายเงินเดือน เงินป บําเหน็จบํานาญและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ.๒๕๓๕ - พระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ.๒๕๓๙ - พระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ.๒๔๙๔ - ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอด - ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการขอรับและการจายบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ.๒๕๒๗ - ระเบียบกระทรวงการกลาโหม วาดวยการขอรับเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ และการเบิกจายเงิน พ.ศ.๒๕๔๑ และที่แกไขเพิ่มเติม - วารสารกรมบัญชีกลาง ปที่ ๕๖ ฉบับที่ ๖ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๘

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 73

6/22/2560 BE 00:41


โรคตาแดง ร.ท.ชยุตม วิมลาภิรัต กวป.พอ.

ตอเนื่องมาจากฉบับที่แลว ที่ไดนําเสนอบทความเกี่ยวกับโรคที่เกิดในฤดูฝน ซึ่งมีผูอานหลายทานบอกวา นาสนใจและอยากใหเขียนบทความในการปองกันแนวนี้อีก ฉบับนี้จึงขอเสนอเรื่อง “โรคตาแดง” โรคตาแดงมักมากับหนาฝน เปนโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ยิ่งชวงนี้ฝนตกเกือบทุกวัน จึงมีหลายพื้นที่ที่มี นําทวมขัง ทําใหโรคตาแดงระบาดหนัก โรคนี้พบไดในทุกเพศ ทุกวัย และมักเกิดในโรงเรียน ที่ทํางาน สถานเลี้ยงเด็ก และสถานที่ที่มีคนอยูรวมกันเปนจํานวนมาก รวมถึงในคายทหารดวย โดยแพรระบาดสูคนรอบขางไดงาย เพียงแค การสัมผัส การใชของใชรวมกัน หรือการไอ จาม หายใจรดกัน ผูที่เปนโรคนี้ จะมีอาการเคืองตา นําตาไหล ขี้ตามาก เปลือกตาบวม ตอมนําเหลืองหนาหูโต เยื่อตา จะคอย ๆ แดงขึ้นเรื่อย ๆ จนแดงกํา บางรายอาจพบ การบวมของเยื่อตาเปนลักษณะบวมนําใส ๆ หากพลิก ดูบริเวณเปลือกตาดานในจะพบลักษณะเปนเม็ดใส ๆ กระจายอยูท วั่ ไป มักเริม่ จากตาขางหนึง่ แลวลามไปยังตา อีกขางภายใน ๒ - ๓ วัน บางรายอาจมีการอักเสบของ กระจกตารวมดวย เนือ่ งจากเชือ้ ไวรัสลามไปทีก่ ระจกตา หรือมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซอน ผูปวยจะมีอาการ ปวดตา และสายตามัวลง หรือเห็นแสงรบกวน ในบางราย ที่โรคอาจรุนแรงจนเกิดเปนพังผืดดึงรั้งที่เยื่อตาได

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 74

6/22/2560 BE 00:41


ขาวทหารอากาศ ๗๕

กรกฎาคม ๒๕๖๐

ถึงแมวา โรคตาแดงนีเ้ ปนโรคทีห่ ายเองได โดยอาการ จะหายไปภายใน ๑ - ๓ สัปดาห โดยไมมีผลแทรกซอนใด ๆ แตเนื่องจากความรุนแรงของโรคตาแดงมีไดหลายระดับ ผูที่มีอาการทุกรายควรไดรับการตรวจตาโดยจักษุแพทย ตั้งแตเมื่อเริ่มมีอาการ หากอาการไมรุนแรงและกระจกตา ดูปกติ อาจใชเพียงการประคบเย็น รวมกับหยอดนําตาเทียม ชวยหลอลื่นในตา หากตาแดงมากหรือมีการอักเสบที่ กระจกตาจากเชื้อไวรัส แพทยอาจแนะนําใหใชหยอดยา ในความควบคุมของแพทย เพื่อลดอาการระคายเคืองตาและชวยใหอาการเยื่อบุตาอักเสบหายเร็วขึ้น อยางไรก็ตาม ไมควรซื้อยาหยอดตามาใชเอง

วิธีการงาย ๆ ในการปองกันโรคตาแดง คือ การไมจับหรือขยี้ตา ลางมือทุกครั้งกอนจับบริเวณ ตา และไมใชของใชสว นตัวรวมกับผูท เี่ ปนโรคตาแดง เพียงเทานีท้ า นก็จะปลอดภัยจากการเปนโรคตาแดง ได ขอปฏิบัติที่สําคัญสําหรับผูที่กําลังเปนโรคตาแดง คือ การปองกันไมใหโรคแพรกระจายจากตนเอง ไปสูผูอื่น โดยผูที่มีอาการควรหยุดพักเรียนหรือ พักงานอยางนอย ๑ สัปดาห ไมอยูใ นทีช่ มุ ชน ใชกระดาษ นุม ซับนาํ ตาหรือขีต้ า โดยใชแลวทิง้ ในถังขยะทีม่ ดิ ชิด ไมควรใชผา เช็ดหนาเนือ่ งจากจะเก็บสะสมเชือ้ ไวและ ติดตอไปยังผูอื่นได สิ่งที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ การหมัน่ ลางมือใหสะอาดทุกครัง้ ทีจ่ บั บริเวณใบหนา และตา เนือ่ งจากเชือ้ ไวรัสติดตอโดยการสัมผัสมากทีส่ ดุ การลางมือจะชวยตัดการกระจายเชื้อไดอยางดี

สามารถติดตามขาวสารของกองเวชศาสตรปองกันไดที่ กองเวชศาสตรปองกัน กรมแพทยทหารอากาศ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 75

6/22/2560 BE 00:41


ยา

มุมสุขภาพ

นั้น... สําคัญไฉน ??? นายหวงใย

เมื่อเกิดอาการเจ็บปวย สิ่งที่ทุกคนจะนึกถึงนอกเหนือจากการไปหาหมอ คือ การรับประทานยา และสิ่งแรก ที่ตองทํากอนรับประทานยาทุกครั้ง คือ การอานฉลากยา เพื่อใหรูวายาดังกลาวมีวิธีการรับประทานอยางไร ปญหาหลัก ของคนสวนใหญมักพบเสมอเมื่อจะรับประทานยา คือ ไมรูวาควรจะรับประทานยาเวลาไหน เชน การรับประทาน ยากอนหรือหลังอาหารทันที ซึ่งไมใชวิธีที่ถูกตอง เพราะความจริงแลวการรับประทานยาจะตองเวนระยะหางที่เหมาะสม เนื่องจากยาแตละชนิดมีกระบวนการออกฤทธิ์ที่แตกตางกัน หากจะรับประทานยาใหไดผลดีสูงสุดจึงจําเปนจะตองปฏิบัติ ตามวิธีที่เหมาะสม เพื่อใหตัวยาสามารถเขาไปรักษาอาการเจ็บปวยตาง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในรางกายของเราไดอยางถูกวิธี ปญหาที่มักพบเสมอเวลาจะรับประทานยา คือ ตองรับประทานกอน หรือหลังอาหาร และกอนอาหารนานเทาไหร หลังอาหารกี่นาที กอนนอนนานแคไหน ถาลืมแลวจะทําอยางไร บทความนี้จึงขอสรุปหลักการปฏิบัติที่ถูกตองทั่วไป ของวิธีการรับประทานยาดังนี้ z ยากอนอาหาร วิธีการรับประทานยา ควรรับประทานยากอนอาหารอยางนอย ๓๐ นาที หรือ ในชวงที่ทองวาง การรับประทานยาพรอมหรือหลังอาหารนั้น ยาอาจถูกทําลายและเสียประสิทธิภาพในการรักษา เมื่อพบกับ กรดในปริมาณมากทีก่ ระเพาะอาหารจะหลัง่ ออกมาหลังมือ้ อาหาร การรับประทานยาในชวงที่ทองวาง ทําใหยาถูกทําลาย และ ประสิทธิภาพของยาลดลง การลืมรับประทานยา เมื่อลืมรับประทานยาหรือนึกไดวาตอง รับประทานยากอนทีจ่ ะรับประทานอาหารไมถงึ ๓๐ นาที ควรขามยามื้อที่ลืมไป อาจรอใหกระเพาะอาหาร วางกอนแลวคอยรับประทานยาซึ่งก็คือ ประมาณ ๒ ชั่วโมงหลังรับประทานอาหาร

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 76

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๗๗

z ยาหลังอาหาร วิธีการรับประทานยา ควรรับประทานหลังอาหารทันที อาจทานพรอมอาหารหรือกอนรับประทานอาหารคําแรกก็ได เนื่องจากยา มีผลขางเคียงที่สําคัญ คือ ระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหาร ทําใหเกิดอาการคลื่นไสอาเจียน การรับประทานพรอม หรือหลังอาหารทันทีจะชวยลดกรดในกระเพาะอาหาร ชวยในการดูดซึมยาเขาสูรางกาย ซึ่งกรดในกระเพาะอาหาร จะหลั่งสูงสุดในระหวางที่รับประทานอาหารเทานั้น การลืมรับประทานยา สามารถรับประทานยาไดทันทีที่นึกไดและไมเกิน ๑๕ นาที แตถานึกไดหลังจากรับประทานอาหารมากกวา ๑๕ นาที ควรรอรับประทานหลังอาหารในมื้อถัดไปแทนหรืออาจรับประทานอาหารมื้อยอย แทนมื้อหลักกอนรับประทานยา ก็ได กรณีที่ยานั้นมีความสําคัญมาก z ยากอนนอน วิธีการรับประทานยา ควรรับประทานยากอนเขานอน ๑๕ - ๓๐ นาที เนือ่ งจากยามีผลขางเคียงสําคัญ คือ ทําใหงว งนอนหรือวิงเวียน ศีรษะมาก ถารับประทานกอนนอนนานเกินไป อาจสงผลตอใหผูรับประทานยาทํางานไดเต็มประสิทธิภาพกรณีที่ยัง ไมพรอมจะเขานอน ยาที่ชวยใหนอนหลับมักใชเวลาประมาณ ๑๕ - ๓๐ นาทีกอนที่จะออกฤทธิ์ ชวยใหหลับ การลืมรับประทานยา มักนึกไดเมื่อถึงเชาของวันรุงขึ้นแลว ไมควรรับประทานยานั้นอีก ควรรอใหถึงเวลากอนเขานอนในคืนถัดไป คอยรับประทานยานั้น z ยารับประทานเวลามีอาการ วิธีการรับประทานยา ควรรับประทานเมื่อมีอาการจริง ๆ ยาในกลุมนี้มักระบุในฉลากวา รับประทานทุก ๔ - ๖ ชั่วโมง ทุก ๘ ชั่วโมง หรือทุก ๑๒ ชั่วโมง เวลามีอาการสามารถรับประทานยาไดเลย ไมตองคํานึงถึงมื้ออาหารเนื่องจากไมวาจะรับประทาน อาหารหรือไม ก็ไมสงผลตอการออกฤทธิ์ของยา ถายังมีอาการอยูสามารถทานยาซําไดตามระยะเวลาที่ระบุไว ไมควร รับประทานนอยกวาเวลาที่ระบุไวบนฉลาก เมื่อหายแลวสามารถหยุดยาไดเลย หมายเหตุ z การรับประทานยาโดยทั่วไปสามารถรับประทานพรอมนําเปลา ๑ แกวก็เพียงพอ แตมียาบางกลุมที่ตอง ดื่มนํามาก ๆ เพื่อลดการตกตะกอนของยาในไต z ไมควรรับประทานยาพรอมนม นําอัดลม หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เพราะอาจทําใหยาเสื่อมฤทธิ์ ในการรักษาได z ทั้งนี้ยาบางประเภทอาจมีวิธีรับประทานยานอกเหนือไปจากยาโดยทั่ว ๆ ไปขางตน เพราะเปนยาที่มีการ ออกฤทธิพ์ ิเศษหรือมีผลขางเคียงอื่น ๆ จึงควรปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทยหรือเภสัชกรอยางเครงครัด z การรับประทานยาเปนการรักษาอาการปวยที่ตองอาศัยความรู ความเขาใจ หากคุณหันมาใสใจรายละเอียด เล็ก ๆ และรับประทานยาอยางถูกวิธี ก็จะทําใหอาการปวยที่เปนอยูนั้นหายไดเร็วขึ้น """ แหลงขอมูลและภาพ - www.pharmacy.mahidol.ac.th

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 77

6/22/2560 BE 00:41


มีรางวัล



อ.วารุณี

ขอเชิญสมาชิกลับสมอง แลวสงคําตอบโดยเขียน ยศ - ชื่อ - สกุล และหมายเลขโทรศัพทไปที่สํานักงาน หนังสือขาวทหารอากาศ ภายใน ๑๐ ส.ค.๖๐ หากมีผูตอบถูกจํานวนมาก จะใชวิธีจับฉลากรายชื่อ ๓ รางวัล ๆ ละ ๓๐๐ บาท และแจงผลการจับฉลากพรอมเฉลยในฉบับ ก.ย.๖๐

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 78

6/22/2560 BE 00:41


ขาวทหารอากาศ ๗๙

กรกฎาคม ๒๕๖๐

Across 1. Anytime the traffic light is red, there are some children with the ............... or a circle of flowers in their hands to sell in the street. 6. ............. is a plant like a small, thick tree with many low branches. 11. Captain is higher rank than .............. (an abbreviation) 12. Look at that elephant! it is using ............. trunk to spray water to the visitors as well as showing dancing. 14. ............. are the people who try to get secret information about another country. 15. See, ................., seen 17. An abbreviation used as a tille before a name of a woman, either married or unmarried. 19. We always wait for my grandson at Narathivad ................ (an abbreviation), then take him home. 20. ............. is an abbreviation for centimeter. 21. The place where somebody lives 23. My kitchen is being repaired so I don't cook ............... it. 24. Everyone wants .............. be the rich. 25. Which one do you like best : jogging .............. swimming? 26. To ................. means to go or come into a place. 28. All ................ once means suddenly.

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 79

29. To finish 31. Please don't hit him, ............ is innocent. 32. Having two parts, double 33. To take a ............ means to relax. 37. A small hotel in a country is ................. . 39. To .............. means to remove hair from the face or another part of a body. 41. ................ is a person who does not work hard and waste a lot fo time. 42. Opposite of "her" 44. ............, ate, eaten 46. To ................ means to sign your name at the back of a check. 50. If you plus or ........... 9 and 10 together, you get 19. 52. To .............. means to fasten a boat to the land. 53. An abbreviation for "company" 54. A measure of lenght; 1,000 meters or about 0.62 miles 57. We went to the temple to .............. or give some money to set free some cows from the slaughterhouse. 59. An abbreviation for "foot" 60. Her dress is made of .............. or a smooth fabic like silk. 61. To ............. means to keep or not to spend money etc.

6/22/2560 BE 00:41


๘๐ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

Down 1. ........... is a mass of ice that moves slowly across land. 2. The same as No.28 Across 3. We have .............. how to fly before going solo. 4. Showing in formation, e.g. time, by numbers alone on screen, clock, camera etc. 5. An abbreviation for "street" 7. Don't call .............. up because we will eat out this evening. 8. To .............. means to cover a surface with a soft substance. 9. Hide, ..............., hidden 10. To make something sure or certain 13. Our village is going to ask for ................. (an abbreviation) from the government to do some business that is small and medium project. 16. Let's do some business, shall ............. ? 18. To ............... means to behave or speak as if something is not good enough for you. 22. ........... is a small round mark. 23. ........... is illegal to smoke in the public place. 25. ........... ! I have to behave, don't smoke outside.

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 80

27. Opposite of "polite" 30. Manop joined the show at chanel 2 so he got a golden ........................ to wear around his neck. 34. We normally get ................. when we walk to the eight rounds. 35. We were told to beware of a snake at the ................., a room which is below ground level. 36. He likes a ............... steak or a steak that is grilled a very short time. 38. Some fishmen use unsuitable .............. to catch fish. 39. You .............. or ought to do your homework by yourself. 40. Hello 43. Labor 45. Lidea is as beautiful ................... her mother. 47. He has ............... time to clean his house so it is dirty. 48. ............ you do the dishes every day? 49. Stupid, foolish 51. He .................. on his youngest son or he love his youngest son very much. 55. Opposite of "woman" 56. Opposite of "he" 58. Sunday is a day .................. a week.

6/22/2560 BE 00:41


นวีร มีผูถามหาวรรณคดีเรื่อง หิโตปเทศ ของ เสฐียรโกเศศ และ นาคะประทีป ผูนั้นเปนนายทหารระดับผูบริหาร ผูเขียนดีใจ รีบหาใหอานทันทีดวยเห็นวาเปนหนังสือที่ชี้แนะความเปนผูนําและการปกครองคนได ในสวนของผูแ ตง นาคะประทีป คือ พระสารประเสริฐ ผูเ ขียนเคยเขียนถึงทานมาบางแลว สวนเสฐียรโกเศศ คือ พระยาอนุมานราชธน ผูเ ขียนเคยเขียนถึงบาง แตไมถงึ ขนาดเปนบทความ ในโอกาสทีท่ า นเสฐียรโกเศศถึงแกอนิจกรรม ครบ ๔๘ ป (ทานถึงแกอนิจกรรม เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๒) ผูเขียนจึงขอเขียนถึงทานผูเปนปูชนียบุคคล และเปนอาจารยของผูเขียนชวง พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๑ ขณะที่ผูเขียนยังศึกษาอยูคณะอักษรศาสตร ระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ภาพของทานขณะสอนนิสติ อยูห นาหองเรียน และภาพทีท่ า นสวมหมวก ถือไมเทา เดินจากสีลมมาสอน ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ยังติดตาตรึงใจผูเขียนอยูเสมอ นิสิตสมัยนั้นจนบัดนี้ ไมลืมอาจารยทานเจาคุณเลย พระยาอนุมานราชธน นามเดิมวา ยง เสฐียรโกเศศ เกิดเมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๓๑ จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ จากโรงเรียนอัสสัมชัญ ทํางานครัง้ แรกทีโ่ รงแรมโอเรียนเต็ลเมือ่ อายุ ๑๗ ป ตอมาเขารับราชการทีก่ รมศุลกากร ไดรบั พระราชทานบรรดาศักดิ์ เปนขุนอนุมานราชธน และไดเลื่อนเปนหลวง พระ และพระยา ในราชทินนามเดิมโดยลําดับ จนไดเลื่อนเปนอธิบดีกรมศุลกากร ครั้นมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อป พ.ศ.๒๔๗๕ ไดลาออก จากราชการ ตอมาไดกลับเขารับราชการอีกครั้งหนึ่งในตําแหนง หัวหนากองศิลปวิทยา จนไดเปนอธิบดีกรมศิลปากร เมื่อเกษียณ อายุราชการแลวก็ไดรับเชิญเปนอาจารยพิเศษในมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในฐานะผูเ ชีย่ วชาญดานอักษรศาสตรและโบราณคดี และมีงานทําใน ตําแหนงพิเศษตาง ๆ หลายตําแหนง ทีส่ าํ คัญทานเคยดํารงตําแหนง “นายกราชบัณฑิตยสถาน” ดานวรรณคดี ทานมีผลงานไมนอยกวา ๒๐๐ เรื่อง โดยใช ทั้งนามจริงและนามแฝง เชน เสฐียรโกเศศ นามานุลักษณ และมี พระยาอนุมานราชธน ผลงานรวมกับพระสารประเสริฐ โดยใชนามปากกาวา เสฐียรโกเศศ

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 81

6/22/2560 BE 00:41


๘๒ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

และนาคะประทีป หนังสือของทานนั้นมีทุกประเภทแตเปนรอยแกว สวนประเภทกาพยกลอนดูเหมือนไมไดแตงอะไรไว เลย นอกจากไดชวยพระยาอุปกิตศิลปสารแตงบทดอกสรอยเรื่อง “รําพึงในปาชา” เพียงเรื่องเดียว หนังสือที่มีชื่อเสียงรูจักกันแพรหลายที่สุด เห็นจะเปนเรื่อง กามนิตวาสิฏฐีและหิโตปเทศ ในฉบับนี้ขอเขียนถึง หิโตปเทศ หิโตปเทศ เปนวรรณคดีที่มีชื่อเสียงเรื่องหนึ่งของโลก เปนสุภาษิตของอินเดียโบราณอยูในคัมภีรคันตระ มีผูแปล เปนภาษาตาง ๆ หลายภาษา เสฐียรโกเศศและนาคะประทีปไดรวมกันแปลจากภาษาอังกฤษ และไดตรวจสอบกับ ตนฉบับภาษาสันสกฤตดวย นับเปนหนังสือเลมแรกที่ทั้งสองทานรวมมือกันแปล เพื่อหวังใหเปนตําราหรือแนวทาง แนะนําประโยชนเกื้อกูล เนื้อเรื่องกลาวถึง ทาวสุทรรศน ครองเมืองปาฏลีบุตร ไดฟงเพลงขับเกิดความสลดใจ จึงเรียกประชุมบรรดา เสนาอํามาตยเพื่อหาแนวทางสั่งสอนพระราชโอรส วิษณุศรมันราชบัณฑิตจึงกราบทูลรับอาสาสั่งสอนพระราชโอรส โดยแบงคําสอนออกเปน ๔ ตอน คือ การผูกมิตร การแตกมิตร สงคราม และสันติภาพ ผูอานจะไดทราบวิธีการศึกษา อบรมเพื่อพัฒนาภาวะผูนําของแตละบุคคล เปนการสรางผูนํารุนใหม ผูปกครองคน มีการสรางวิธีคิด หลักคิด และการใช วิจารณญาณ มิใชความจํา รูปแบบสําคัญ คือ สอนดวยกรณีตัวอยางและสถานการณตาง ๆ มีการยกนิทานและเรื่อง อุปมาอุปไมย ใหผูอานสรางบทสรุปซึ่งเปนปรัชญาณเฉพาะบุคคล ตัวอยางขอความจากเรื่องนี้ " “เพราะในยามทุกข มีใจหนักแนน ในยามสุข รูจักสงบเสงี่ยม ในยามเขาที่ประชุมองอาจ กลาวชัดถอยชัดคํา ในคราวเขารณรงคสงคราม มีใจแกลวกลา นิยม รักเกียรติ เอาใจใสในการสดับ ขอเหลานี้มีเปนสมบัติประจําอยูครบ แกผูมีอานุภาพใหญ” " “ผูใดไมละทิ้งเพื่อนในคราวราเริง กับในคราวไดทุกขรอน ในคราวกันดารอาหาร ในคราววุนวายจลาจล ติดตามไปถึงทวารพระราชวังและถึงปาชา ผูนั้นเปนเพื่อนแท” " “ในเมื่อวิบัติจะเห็นใจมิตร ในเมื่อศึกประชิดจะเห็นใจทัพ ในเวลาใหกูทรัพยจะเห็นใจผูซ่อื สะอาด ในเวลา สมบัติวินาศจะเห็นใจภรรยา ในคราวอนาถาจะเห็นใจญาติ” เมื่ออานเรื่องนี้แลว จะเห็นไดวาผูประพันธใชสํานวนภาษาอยางประณีต คมคาย ถอยคํากะทัดรัด และทําให เห็นไดวา หนังสือเรือ่ งนีม้ งุ สอนและสรางคนใหเปนผูน าํ ของสังคม มีแนวคิดกระตุน คนอานศึกษาและคนควาทําความเขาใจ อยางลึกซึ้งเพื่อนําไปใชในชีวิตจริง โดยใชขอเปรียบเทียบอันเปนประโยชนเกื้อกูลบุคคลแตละบุคคลสืบไป อนึง่ นักปราชญทางการประพันธไดกลาวถึงสํานวนภาษาของพระยาอนุมานราชธนวา ทานมีสาํ นวนทวงทํานอง เขียนอยางงาย ๆ เชน ในบทความเรื่อง “มีหนามีตา” ทานอธิบายวา “คนมีหนามีตาชื่อเสียงนี้ ถาจะเรียกใหสั้นเปนคําศัพท ไดแก คําวา มีเกียรติ” เกียรติ ก็แปลวา มีเสียงอันกึกกองนั่นเอง ถาจะแปลเปนความหมายขั้นที่สอง เกียรติ ก็คือ รูสึกภูมิใจในคุณงามความดีซึ่งมีอยูในตน อันเปนประโยชนรว มทัง้ สวนตัวและสวนรวม ก็คณ ุ งามความดีซงึ่ เปนประโยชนทดี่ ที งั้ สวนตัวและสวนรวมคืออะไร ขาพเจา ไมจําเปนกลาว เพราะทานก็รูอยูแลว เชน ถาไมมีหลักแหลงที่อยูที่ทํากินก็ไมมีเกียรติ เพราะเปนคนจรจัด ถาไมมีรายได ซึ่งไดมาโดยสุจริตพอเลี้ยงตนและครอบครัวที่สมควรก็ไมมีเกียรติ เพราะเปนคนมีจิตใจเสื่อมโทรมในคุณงามความดี เห็นแตจะได ถาไมมกี ารกินดีอยูด ี มีอนามัยดี ไมมบี า นเมืองซึง่ ไดชอื่ วาเปนของตนเองและไมมอี ะไรอืน่ ๆ ทีด่ งี ามเปนสมบัติ ของตน ก็ไมมีเกียรติเพราะเปนคนเลว ฉะนี้แล

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 82

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๘๓

นอกจากนั้น ทานยังสั่งสอนบุตรธิดาของทานดวยสํานวนงาย ๆ ดังนี้ “เงินที่เปนมรดกแกลูกแมเปนจํานวนเล็กนอย แตก็เปนเงินบริสุทธิ์ที่หามาดวยนําพักนําแรงของพอควรมี ความพอใจ ดวยเปนเงินมงคลที่พอสามารถเก็บหอมรอมริบไดเทานี้ แตมรดกอันมีคาอยางยิ่งก็คือ ชื่อเสียงเกียรติคุณ ที่พอบําเพ็ญมา เงินเปนแตปจจัยใหเกิดความสุข ไมใชตัวความสุขโดยตรง ความสุขที่แทจริง คือ ปญญา อนามัย ไมตรี สามัคคีธรรม และการงานทีเ่ ปนสัมมาชีพ และสิง่ เหลานีต้ อ งมีความประพฤติ การปฏิบตั ดิ ว ยความมานะพยายาม มีความ ขยันหมั่นเพียร ประกอบดวยจิตใจสมบูรณ” จากผลงานการประพันธและขอเขียนตาง ๆ ของทาน นับเปนประโยชนแกบคุ คลรุน หลัง และเปนผูม คี วามดีงาม ดานวัฒนธรรมทั้งดานภาษาและประเพณี ยูเนสโกจึงยกยองใหทานเปนบุคคลสําคัญ ผูมีผลงานดีเดนทางวัฒนธรรม ประจําป พ.ศ.๒๕๓๑ อนึ่ง คนสมัยนี้ซึ่งคุนกับการเลนไลนมีการสงขอความสั้น ๆ ภาษาแบบ “สมัยใหม” และภาพ รวมทั้ง สติกเกอร อาจจะเห็นวา ภาษาของทานนั้นโบราณและเยิ่นเยอ แตอยาลืมวาในโลกแหงความเปนจริงคนทุกคน ไมสามารถใชเครื่องมือหรือสื่อแบบเครื่องโทรศัพทกันทุกคน การเขียนขอความใหกระจางแจงสื่อความหมาย อยางชัดเจนยังเปนสิ่งสําคัญยิ่ง """

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 83

6/22/2560 BE 00:41


๘๔ ๘๔

ครูภาษาพาที

เศรษฐกิจอินเดียจะแซงหนาอเมริกา India’s Economy will Overtake the U.S. Christian Soldier ชวงยุคทศวรรษที่ 1970 และ 1980 เปนตนมา เราไดเห็นประเทศโลกที่สาม (third world countries) หรือ ประเทศกําลังพัฒนาเติบโตขึ้นมาอยางเดนชัดมากมายเมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาแลว หนึ่งในนั้นคือ ประเทศอินเดีย ตัวเลข GDP หรือผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศสูงขึ้นถึงหกเทาตัว ตั้งแตชวงป ค.ศ.1990 เฉลี่ยตัวเลข GDP มีอัตรา การเติบโต (growth rate) แตละปมากกวา 7% มากกวาอัตราการเติบโตเฉลี่ยทั่วโลก (global average) ถึง 2.4% และจากการศึกษาพบวา ในป ค.ศ.2050 อินเดียจะมีสวนในความมั่งคั่งของโลก (global wealth) ถึง 15% ซึ่งแซงหนา ทั้งอเมริกาและสหภาพยุโรป สาเหตุอะไรที่ทําใหเศรษฐกิจ อินเดียเติบโตเร็ว (rapid economic growth) สวนหนึ่งมาจากจํานวนแรงงาน (workforce) ของอินเดียที่มีอยูมากมาย และผลิตผล (products) ที่ไดจากแรงงาน เหลานี้ อินเดียนัน้ ไดชอื่ วาเปนประเทศทีม่ ี ประชากรวัยทํางาน (working age people) มากประเทศหนึง่ กลาวคือ มีประชากรกลุม นี้ ถึงประมาณ 1.2 พันลานคน (1.2 billion people) ซึ่งใน 65% ของจํานวนนี้เปน ประชากรที่มีอายุตํากวา 35 ป (under 35 years old) อินเดียเปนแหลงงานมากมาย สืบเนือ่ งมาจากยุคโลกาภิวตั น (globalization) บริษทั ขามชาติ (multi-national company) ไดดําเนินการจางแรงงานและทําการผลิตในอินเดีย รวมทั้งภาคการตลาด การจัดการ การบริการลูกคา บริษัทขามชาติก็มาดําเนินการในอินเดีย ทําใหอินเดียเปนตลาดแรงงานที่ใหญโต รองรับประชากรเปนจํานวนมาก ซึ่งบริษัทขามชาติเหลานี้ก็ไดประโยชนที่ลดตนทุนคาแรง (labor cost)

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 84

6/22/2560 BE 00:41


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๘๕

การเขามาดําเนินงานของบริษทั ขามชาติในอินเดียนี้ เปนสาเหตุสาํ คัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจของอินเดีย อีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเศรษฐกิจเติบโตรวดเร็วนั้น นักเศรษฐศาสตร (economists) เรียกวา “catch-up growth” คือ การที่ประเทศยากจนไดนําเทคโนโลยีตาง ๆ จากประเทศที่พัฒนาแลว (developed country) มาใช เพื่อใหตามทัน ประเทศที่พัฒนาแลวทั้งหลาย (catch up แปลวา ตามทัน) เทคโนโลยีที่อินเดียนํามาใช ไดแก รถไฟความเร็วสูง เครือ่ งจักร อินเทอรเน็ต ตัวอยางเชน รัฐบาลอินเดียไดรเิ ริม่ ใหบริการบอรดแบนดอนิ เทอรเน็ต บริการเครือขายโทรศัพท มือถือ (mobile network services) ไปยังหมูบานนับแสน ๆ หมูบานในอินเดีย อีกสาเหตุหนึ่งที่มีผลตอการเติบโตทางเศรษฐกิจ คือ มีการปฏิรูป (reform) ตลาดแบบเสรี (free market) ทําใหกฎระเบียบตาง ๆ เอื้ออํานวยตอการลงทุนจากตางชาติ (foreign investment) มากขึ้น นอกจากนี้อินเดียยังได รับประโยชนจากการที่ราคานํามันดิ่งลงทั่วโลก (global slump in oil price) เพราะวาอินเดียเปนประเทศที่นําเขา นํามันในสัดสวนถึง 2 ใน 3 ของปริมาณนํามันที่ใชในประเทศ การเติบโตที่รวดเร็วของอินเดียและประเทศกําลังพัฒนาอื่น ๆ ทําใหประธานาธิบดีโดนัลด ทรัมพ (Donald Trump) ของสหรัฐฯ กลาววา “เปนสัญลักษณ (sign) เศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่กําลังจะตามหลัง (lag behind) ประเทศ เหลานี้”

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 85

6/22/2560 BE 00:42


๘๖ ขาวทหารอากาศ

กรกฎาคม ๒๕๖๐

แตในความเปนจริงการเติบโตทางเศรษฐกิจทีร่ วดเร็วไมใชทกุ สิง่ ทุกอยาง เพราะปญหาใหญอยางหนึง่ ของอินเดีย คือ ความยากจน ปญหาความยากจนเติบโตเร็วกวาความมั่งคั่งในอินเดีย ความมั่งคั่งของอินเดียมักไปรวมตัวอยูแค กลุมเล็ก ๆ แทนที่จะกระจายอยางทั่วถึง เมื่อเปรียบเทียบระหวางอินเดียกับ สหรัฐฯ ในภาคเอกชน (private sector) ของ อินเดียมีระบบทํางาน 6 วันตอสัปดาห (six-day workweek) และไมมีการกําหนดอายุเกษียณ (retirement age) และแมวา อินเดียจะมีกฎหมาย คุม ครองแรงงานเด็กอยูม ากพอสมควร แตกฎหมาย เหลานีไ้ มคอ ยไดบงั คับใช (enforce) อยางจริงจัง เทาทีค่ วร องคกรยูนเิ ซฟ (UNICEF) เคยประเมิน (estimate) วามีแรงงานเด็ก (child labor) ใน อินเดียประมาณ 28 ลานคน ซึง่ ผลดี (advantage) คือ มีสวนสําคัญตอการเติบโตทางเศรษฐกิจของ อินเดีย แตขอเสีย (disadvantage) ที่ตามมาคือ ปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน (human right) แมวาตัวเลขทางเศรษฐกิจ (economic figure) ตาง ๆ ของอินเดียจะเติบโตและดูดีกวาของสหรัฐฯ มาก แตไมได เปนการตัดสินทุกสิ่งทุกอยาง เพราะแมวาตัวเลขจะออกมาดี แตมาตรฐานการดํารงชีวิต (standard of living) รวมทั้ง รายไดตอหัว (per capita income) ของอินเดีย ดูแลวอาจจะไมนาประทับใจเทาใดนัก ชาวอินเดียมีรายไดเฉลี่ยตอหัว 1,600 ดอลลารสหรัฐ/ป ขณะที่คนอเมริกันมีรายไดเฉลี่ยเกือบ 56,000 ดอลลารสหรัฐ/ป นอกจากนี้ ประชากรมากกวา 20% ของอินเดีย ยังมีความเปนอยูอยางยากจน แมวาอินเดียจะมีความมั่งคั่ง (wealth) ผูค นทีร่ าํ รวยก็ราํ รวยกันจริง ๆ แตในทางกลับกันชาวอินเดียทีย่ ากจน (impoverished) นัน้ ยังมีมากมายและ มีมาตรฐานการดํารงชีวติ ทีไ่ มดนี กั ซึง่ จําเปนตองไดรบั การแกไข แนนอนวาเราคงยังเห็นอินเดียมีทนุ (fund) มีความมัง่ คัง่ หลั่งไหลเขามาอยางตอเนื่อง เนื่องจากภาคแรงงานของอินเดียนั้นกําลังเติบโตขึ้นมากมาย และแรงงานมีคาแรง (wage) ทีไ่ มแพง แตปญ  หาคือ จะทําใหมาตรฐานชีวติ ของแรงงานอินเดียจํานวนมากมายเหลานีด้ ขี นึ้ ไดอยางไร เปนปญหาทีอ่ นิ เดีย ตองแกไข (solve) กันตอไป * คําศัพทเกี่ยวกับเศรษฐกิจที่ควรรู * - economy (n.) (อิคอนะมี) แปลวา เศรษฐกิจ ตัวอยางเชน India’s economy has been growing rapidly during recent decades. เศรษฐกิจของอินเดียไดเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วในชวงไมกี่ทศวรรษที่ผานมา - economic (adj.) (อีคะนอมมิค) แปลวา ทางเศรษฐกิจ เกี่ยวกับเศรษฐกิจหรือเศรษฐศาสตร ตัวอยางเชน The figure of India’s economic growth is higher than that of the U.S.A. ตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจของอินเดียสูงกวาของสหรัฐอเมริกา

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 86

6/22/2560 BE 00:42


กรกฎาคม ๒๕๖๐

ขาวทหารอากาศ ๘๗

- GDP (จีดีพี) ยอมาจาก Gross Domestic Product (กรอส โดเมสทิค พรอดัคทฺ) แปลวา ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ตัวอยางเชน The GDP of India has increased six-fold since 1990s. ตัวเลขจีดีพีของอินเดียไดเพิ่มขึ้นหกเทาตัวตั้งแตชวงทศวรรษ 1990 - income (n.) (อินคัม) แปลวา รายได - per capita income (เพอร แคพิตา อินคัม) แปลวา รายไดตอหัว ตัวอยางเชน The per capita income of the Indians is much lower than that of the Americans. รายไดตอหัวของชาวอินเดียตํากวารายไดตอหัวของชาวอเมริกันอยูมาก - wage (n.) (เวจ) แปลวา คาแรง - investment (n.) (อินเวสทฺเมนทฺ) แปลวา การลงทุน ตัวอยางเชน The wage of India’s workforce is not expensive which draws many foreign companies to come for investment. คาแรงของภาคแรงงานอินเดียไมแพง ซึ่งดึงดูดบริษัทตางชาติใหเขามาลงทุน - cost (n.) (คอสทฺ) แปลวา ตนทุน ตัวอยางเชน Foreign companies benefit from investing in India because it saves labor cost. บริษัทตางชาติไดรับผลประโยชนจากการลงทุนในอินเดียเพราะวาประหยัดตนทุนคาแรง - consumption (n.) (คอนซัมพฺชัน) แปลวา การบริโภค ตัวอยางเชน India is a country with huge oil consumption. อินเดียเปนประเทศที่มีการบริโภคนํามันสูง - standard of living (n.) (สแตนเดิรด ออฟ ลิฟวิ่ง) แปลวา มาตรฐานการดํารงชีวิต ตัวอยางเชน Many people in India still live in poverty and have low standard of living. คนจํานวนมากในอินเดียยังอยูในความยากจนและมีมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ตํา - impoverished (adj.) (อิมพาฟเวอริชทฺ) แปลวา ยากจน ตัวอยางเชน There are still many impoverished people in India which is one of the biggest problem. ยังมีคนยากจนมากมายในอินเดียซึ่งเปนหนึ่งในปญหาที่ใหญที่สุด แหลงขอมูลและภาพ - http://www.cnbc.com/2016/11/30/india-gdp-to-slow-dramatically-after-cash-crunch.html - https://www.forbes.com/sites/timworstall/2017/02/04/indias-gdp-growth-for-fiscal-2017-to-be-upwards-of7-shaktikanta-das/#229fb6e42586 - https://www.washingtonpost.com/news/wonk/wp/2016/10/21/donald-trump-says-india-and-china-arebeating-the-u-s-its-not-that-simple/?utm_term=.508239002e95 - rediff.com, thesourcingblog.com, wupr.org

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 87

6/22/2560 BE 00:42


เวลา..การตูน มิสกรีน ANDY CAPP

ภาพ ๑ - มีอะไรทานมื้อเย็นละ ? หวังวาจะไมใชถั่วบนขนมปงปงอีกนะ ภาพ ๒ - อยาเหลวไหลนะ - คุณทานมันเมื่อคืนแลวนี่ ภาพ ๓ - คืนนี้จะเปนขนมปงปงอยูใตถั่วไง beans (n.)

toast (n.) silly (adj.)

- ถั่วที่เปนเมล็ดหรือฝก ในที่นี้หมายถึง ถั่วเมล็ดสีขาว - ในซอสมะเขือเทศบรรจุกระปองขาย (baked beans) อาจใสเบคอนดวย เปนอาหารทานงาย ๆ ไดทุกมื้อของชาวตะวันตกคําอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับ beans ไดแก bean curd (เตาหู), bean sprouts (ถั่วงอก) และ jelly bean (ลูกกวาดรูปรางเหมือนถั่ว ดานนอกแข็ง ดานในนุม) เปนตน - ขนมปงปง คํานี้ออกเสียงวา “โทสท” ตัว t ทาย ตองออกเสียงดวย - เหลวไหล, ไรสาระ, โง ๆ (foolish) Ex. Her work is full of silly mistakes. (งานของเธอเต็มไปดวยขอผิดพลาดโง ๆ)

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 88

6/22/2560 BE 17:30


ขาวทหารอากาศ ๘๙

กรกฎาคม ๒๕๖๐

THE BORN LOSER

ภาพ ๑ - พยายาม ทําหนาใหแจมใสหนอยซิครับ หัวหนา ! ภาพ ๒ - ถาพวกลูกจางเห็นหัวหนายิ้มบาง พวกเขาจะไดรูสึกผอนคลายและทํางานไดดีขึ้นนะครับ ! ภาพ ๓ - ฉันก็กําลังยิ้มอยูนี่ไง ! to try

- ในที่นี้แปลวา พยายามทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง กริยาตัวนี้จะตามดวยกริยาที่มี to (infinitive with to) Ex. I try to call him but he never answers the phone. (ฉันพยายาม โทรศัพทหาเขา แตเขาไมตอบเลย) to lighten up (idm) - เปนสํานวน แปลวา ลดความเครงเครียดหรือความกังวลลง, รูสึกแจมใสขึ้น (to become less serious or worried about something) อาจจะไดยินเนื้อเพลงที่วา You lighten up my life. (คุณทําใหชีวิตของฉันสดชื่นสวางไสว) If the employees could see .............., they might relax ................ - เปนประโยคเงื่อนไข หรือ if clause แบบ present unreal คือ ผูพูดตองการ ใหเปนเชนนั้น แตก็รูวาเปนไปไมได กริยาจึงอยูในรูป past tense Ex. If Anna came, she would sing for us. (ถาแอนนามานะ เธอจะรองเพลง ใหเราฟงแน) 888888888

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 89

6/22/2560 BE 00:42


 เปนผูรูจักเขาโรงเรียนชีวิต  ผูเ ขียนตกลงกับแมทอี่ ายุมากแลว พักอยูท จี่ งั หวัด ตราด วาจะมาเยี่ยมแมทุก ๆ เดือน ตอนแรก ๆ ก็ขับรถไป เพราะถนนหนทางก็สะดวกสบาย แตระยะหลังสังเกตวา เวลาขับรถนาน ๆ แลวจะงวง เพราะอายุมากขึน้ จึงตัดสินใจ เอารถไปจอดไวที่ตางจังหวัดคันหนึ่ง เอาไวใชงานเวลา เดินทางมา สวนตัวก็ใชรถทัวร แมจะชาหนอย แตกป็ ลอดภัย และไมเหนื่อย นั่งฟงเพลง ทํางาน ดูวิว ไปไดตลอดทาง ครั้งหนึ่ง รถทัวรขึ้นไปวิ่งบนทางยกระดับ บางนา-ชลบุรี ระหวางที่นั่งชมวิวอยูเพลิน ๆ นั้น รถวิ่งผานโรงงานยอย เศษเหล็ก เห็นมีเศษเหล็กกองอยูมากมายเพื่อรอการยอย แลวนําไปหลอมใหม ผูเขียนไดมองไปเห็นซากรถคันหนึ่ง จําไดแมนยําวาเปนซากรถเบนซ 280s สองประตู รุนป ค.ศ.1960 เศษ ๆ เพราะเปนรถทีน่ กั สะสมรถเกาชอบนํามา แตงประกวดกัน ซึ่งผูเขียนก็เคยพยายามหาอยูเหมือนกัน จึงรูจักรถรุนนี้เปนอยางดี แตนี่มันโทรมมากฟนฟูไมไหว

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 90

คงถูกยอยเปนเศษเหล็กเร็ว ๆ นี้ ผูเขียนนั่งคิดไปเรื่อย ๆ วา รถคันนี้ตอนใหม ๆ เจาของคงดูแลเปนอยางดี เช็ดถูทุกวัน เวลาขับคงเท อยาบอกใครเชียว ใชไป ๆ เจาของอาจจะเบื่อ หรือดูแล ไมไหว หรืออาจจะขายมัน จนสุดทายมันคงไปจอดเปน เศษเหล็ก อยูที่ใดที่หนึ่ง จะคิดอยางไรก็แลวแต รถคันนี้ ก็เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา จนมาอยูในสภาพนี้ และ เมื่อถูกยอยแลวมันก็คงจะถูกหลอมเปนแผนเหล็กใหม เหมือนตอนแรกทีม่ นั เปน เหมือนรถทุก ๆ คันทีเ่ ปน แลว ก็เริม่ ตัดเจาะทําโครงสรางรถ และประกอบรถขึน้ มาใหม วาไปก็เหมือนผูเขียนกําลังเรียนหนังสืออยู โดยมีโรงงาน ยอยเศษเหล็กเปนโรงเรียน มีซากรถเบนซ 280s เปน ครูสอน สอนใหผูเขียนมองเห็นสัจธรรมของสิ่งทั้งหลาย ทัง้ ปวง เปนโรงเรียนชีวติ ทีเ่ รียนจากของจริง เปนคุณธรรม ที่สําคัญของคนเรา จึงเปนที่มาของบทความนี้

6/22/2560 BE 00:42


กรกฎาคม ๒๕๖๐ หากเรายอนมาดูที่ตัวเราเองกอน ผูอานหลายทาน อาจไมไดสังเกตวา ทําไมทานและคนรอบตัวทานถึง อานหนังสือออก เพราะเหมือนกับวาทานพบเจอใคร ๆ ก็อานหนังสือออกทั้งนั้น แตในโลกแหงความเปนจริง ยังมีคนไทยจํานวนมากเปนแสนเปนลานคนทีอ่ า นหนังสือ ไมออก แลวถาจะพิจารณาใหลึกซึ้งลงไปอีกหลายคนที่ อานหนังสือไมออกนั้น บานอยูใกล ๆ โรงเรียนนั่นเอง ผูเขียน ไมไดกลาวลอย ๆ เพราะแมผูเขียนเองก็เปนคนหนึ่งที่ อานหนังสือไมออก ทั้ง ๆ ที่บานอยูหางจากโรงเรียนแค สามรอยเมตร และเพื่อนรวมหมูบานของผูเขียนหลายคน ก็อา นหนังสือไมออก ทีอ่ า นไมออกเพราะเขาไมไดเขาเรียน หนังสือ ผูเขียนตองการเริ่มตรงนี้เพราะตองการชี้ใหเห็น วาไมไดมีความเกี่ยวของกันเลย ระหวางบานอยูใกล หรือไกลโรงเรียน แตมันขึ้นอยูวาใครเขาเรียนหรือเปลา ตางหาก มิใชวาเดินผานหนาโรงเรียนทุกวันแลวจะอาน หนังสือได โดยไมเขาเรียน ประเด็นตอมาทีผ่ เู ขียนอยากเลาใหฟง คือ ผูเ ขียน เรียนจบมาทางวิศวกรรมไฟฟาสือ่ สารอิเล็กทรอนิกส ตอมา เมือ่ มีเวลาก็ไดเขาไปศึกษาคณะเศรษฐศาสตร ทีม่ หาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช ระหวางศึกษามีวิชาบังคับพื้นฐาน

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 91

ขาวทหารอากาศ ๙๑ หลายวิชา และมีอยูว ชิ าหนึง่ ทีผ่ เู ขียนดูไมชอบเลยในตอนแรก คือ วิชาเกี่ยวกับศิลปะ ประเพณี และวัฒนธรรมของไทย ทีไ่ มชอบเพราะมองไมออกวาจะเรียนไปทําไม ดูไมเกีย่ วกับ เรื่องที่อยากเรียนเลย แตพอเรียนไป ๆ กลับทําใหผูเขียน เขาใจโลกดีขึ้นอีกเยอะเลย เขาเริ่มตนอธิบายวา องคความรู ที่คนในสังคมเลาเรียนกันอยูนี้มีอยูสามกลุมดวยกัน คือ กลุมแรก กลุมวิชาฟสิกส ที่เรียนเกี่ยวกับงาน วิศวกรรมตาง ๆ กลุม ทีส่ อง กลุม ไบโอโลยี เปนการศึกษาเกีย่ วกับ ปฏิกิริยาเคมีของสสารตาง ๆ ทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต กลุม ทีส่ าม เปนการศึกษาเกีย่ วกับการอยูร ว มกัน ของคนในสังคม เรือ่ งกฎหมาย เศรษฐกิจ การเงิน การธนาคาร นิเทศศาสตร สิง่ ทีท่ าํ ใหผเู ขียนเขาใจชีวติ ไดดขี นึ้ ก็คอื การที่ ผูเขียนเรียนจบมาทางวิศวกรรมนั้น หลักการคิดที่สําคัญก็คือ 1+1 จะเทากับ 2 แลว ก็พิสูจนสิ่งตาง ๆ โดยใชหลักการอยางนี้ สวนในทางวิชา เคมี เมือ่ กรดผสมกับดางก็จะไดเกลือกับนาํ และมีสตู รเคมี ตาง ๆ อีกมากมาย เปนเรื่องที่แนนอนตายตัว แตในวิชา สังคมศาสตร เมื่อเอาทรายกองหนึ่งรวมกับทรายอีก กองหนึ่ง อาจจะไดทรายกองหนึ่งที่โตขึ้น หรือไดทราย

6/22/2560 BE 00:42


๙๒ ขาวทหารอากาศ สองกองก็ได หรือ มะมวงตนหนึ่งบวกกับมะพราวตนหนึ่ง อาจจะไดตนไมสองตน หรือ ไดผลไมรวมกันได 150 ผล ประเด็นสําคัญตรงนี้ก็คือ แมคนที่เรียนจบปริญญาสูง แคไหน เขาจะเขาใจเฉพาะสิง่ ทีเ่ ขาเรียนมาเทานัน้ เขาไมเขาใจ แนวคิดของกลุมอื่น ๆ เราอาจจะถามวา แลวเมื่อไรจะได ทรายกองโตขึ้นหรือไดทรายสองกอง คงเปนการยากที่จะ บอกวาเมือ่ ไร เพราะคนแตละคนมีพนื้ ฐานคนละแบบ ผูเ ขียน ไมไดถามเพือ่ หาคําตอบ แตถามเพือ่ ใหเห็นวาคนทีม่ พี นื้ ฐาน ตางกันยอมคิดตางกัน แลวทําอยางไรเขาจะคิดไดใกลกัน คําตอบก็คือ เขาตองมีความรู มีประสบการณ และมีความคิด หลากหลายดวย กลับมาที่โรงงานยอยเศษเหล็กอีกครั้ง ผูเขียน ชอบรถเกา ศึกษาเรื่องรถเกาดวยตนเองตลอดเวลา จึงรู วารถคันนั้นคือ เบนซ 280s สปอรตสองประตู ผูเขียน เคยเขาไปเยี่ยมชมโรงงานยอยและหลอมเศษเหล็กทําเปน แผนเหล็ก ผูเ ขียนเคยฝกงานในโรงงานสรางรถยนตเปนเวลา

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 92

กรกฎาคม ๒๕๖๐ หลายเดือน ไดเห็นการทํารถยนตอยางละเอียด ตั้งแตเริ่ม ตัดแผนเหล็กจนเปนรถขับออกไปได ผูเขียนมีรถโฟลคเตา ป ค.ศ.1961 ใชงานอยูคันหนึ่ง ใชเวลานานในการทํา มันขึ้นมาใหม ดวยเหตุนี้ในชวงเวลา 10 วินาที ที่รถทัวร วิ่งผานโรงงานยอยเศษเหล็ก ความคิดดังกลาวขางตน จึงเกิดขึ้น เพราะโรงเรียน ครู และนักเรียน พรอมที่จะ ทําการเรียนการสอน เวลาเทานั้นก็เพียงพอ หากเรานํา คนสักรอยคนมายืนดูโรงงานยอยเศษเหล็กแหงนี้ คงจะ มีความคิดที่แตกตางกันเปนรอยความคิดก็ได อาจไมมี ใครสักคนสังเกตเห็นรถคันนีห้ รือมีความคิดอยางทีผ่ เู ขียน เลามาขางตน ตรงนี้นาจะเปนคําตอบวา คนที่จะตอบวา จะไดทรายกีก่ อง นาจะตองมีองคประกอบอืน่ ๆ อีกมากมาย ที่ไดสะสมมาในชวงชีวิต ซึ่งความรูนั้นไมจําเปนตองมา จากโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยเพียงอยางเดียว แตตอง รวมกับความรูท มี่ าจากโรงเรียนของธรรมชาติ คือโรงเรียน ของชีวิตอีกดวย จึงจะตอบได

6/22/2560 BE 00:42


กรกฎาคม ๒๕๖๐

โรงเรียนของชีวิตเปนโรงเรียนที่มีอยูทุกที่ เปดสอนตลอด 24 ชั่งโมง ไมวาทานจะนั่งอยูใตตนไม ริมแมนํา ขับรถอยูบนทองถนน นอนดูทีวีอยูบนโซฟา หรือวิ่งเลนอยูในสนามกีฬา ที่สําคัญโรงเรียนนี้ไมเก็บ คาเลาเรียน สวนคุณครูนั้นพรอมสอนตลอดเวลาเชนกัน ครูอาจเปนงานทีท่ าํ เพือ่ นรวมงาน เจานาย ลูกนอง ใบไม ตนไม นก หนู ปู ปลา รถมอเตอรไซค รถซาเลง หรือ ซากรถที่ผูเขียนเลามา ที่สําคัญคุณครูไมดุ ไมบน ไมกด คะแนน ไมพูดแตครูทําใหดูตามจริง ระยะเวลาการเรียนการสอน จะสัน้ จะยาวอยูท ี่ ผูเ รียน บางทีกส็ นั้ บางทีกย็ าว บางทีกเ็ รียนไมจบ บางทีก็ เขา ๆ ออก ๆ หลายรอบจึงจะผาน หรือยังไง ๆ ก็ไมผาน อยูด ี ผูเ รียนโรงเรียนของชีวติ ไมจาํ กัดผูเ รียน และไมสนใจ ความรูพื้นฐาน ทุกคนเขาเรียนไดทุกที่ ทุกเวลา การสมัครเรียน ขอเพียงทานเปดใจ เมื่อไดเห็น ไดยนิ ไดสมั ผัส กับสิง่ ตาง ๆ รอบตัว อยางมีสติ พิจารณา สิ่งนั้นอยางตั้งใจ วางใจใหเปนกลาง และสังเคราะห

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 93

ขาวทหารอากาศ ๙๓

สิ่งเหลานั้นดวยปญญา ความรู ประสบการณที่ทานมี ทานจะมองเห็นบางสิ่งบางอยาง ในเรื่องนั้นอยางเปน ธรรมชาติ อาจจะถูกหรือผิดก็ได เพราะสิ่งทั้งปวงก็เปน อนิจจังในตัวของมัน และทานก็ตอ งเขาเรียนเรือ่ งเหลานีอ้ กี เมื่อมีโอกาสและจังหวะที่เหมาะสม ขอเพียงทานเปดใจที่ จะเรียนและมองทุกอยาง “เปนครูของทาน” ปริญญา ไมไดเปนแผนกระดาษ ไมใชโลรางวัล แตคือ การมองเห็นความจริงของชีวิต ความจริงของ ธรรมชาติ ในบทเรียนนั้น ๆ กองทัพอากาศมีสถานศึกษาหลายระดับ เปดการ ศึกษาหลายหลักสูตร รวมทั้งเปดรับผูสอบเขารับราชการ ในสาขาวิชาชีพตาง ๆ มากมายทุก ๆ ป เราจึงมีขา ราชการ ทีม่ คี วามรูพ นื้ ฐานในวิชาชีพทีห่ ลากหลาย แตถา ขาราชการ เหลานีไ้ มยอมพัฒนาตนเองและไมเขาเรียนในโรงเรียนชีวติ ทีเ่ ปนการศึกษาตอเนือ่ งตลอดชีวติ ของตน ก็คงเปนเรือ่ งยาก ที่จะมีผูใตบังคับบัญชาที่ดีและเกง แตไมสําคัญเทากับวา เราอาจจะไมมผี นู าํ ทีม่ วี สิ ยั ทัศนและเขาใจชีวติ """

6/22/2560 BE 00:42


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 94

6/22/2560 BE 00:42


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 95

6/22/2560 BE 00:42


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 96

6/22/2560 BE 00:42


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 97

6/22/2560 BE 00:42


ธรรมะ

ประทีป กอศ.ยศ.ทอ.

มัททวธรรม คําวา “มัททวะ” ในอรรถกถามหาหังสชาดก ใหความหมายไววา “มุทุภาโว มทฺทวํ” แปลความวา ความเปน ผูมีอัธยาศัยออนโยน ชื่อวา “มัททวะ” โดยนัยนี้มัททวธรรมจึงไดแก ความที่บุคคลมีนิสัยออนโยน สุภาพเรียบรอย ไมเปนคนดื้อดึง ไมดอื้ รั้น หรือไมเปนคนเยอหยิ่ง เปนคนมีความนอบนอม ปราศจากความแข็งกระดาง มุงหมายใหผใู หญ บําเพ็ญตัวเปนสุภาพชน ประพฤติในทางออนนอม ถอมตัว แทนที่จะเหอเหิมในยศและอํานาจ อันวาลักษณะของบุคคลผูมีความออนนอม ถอมตัวนั้น มีคุณลักษณะที่ทานสาธุชนจะพึงกําหนดได ดังนี้ ๑. มีกิริยาออนนอม คือ ไมลดตัวจนเกินควรและไมถือตัวจนเกินงาม มีกิริยาอันเปนที่รัก ออนละมุนละไมตอ คนทั่วไป รูที่ตําที่สูง ไมตีตนเสมอทาน เรียกวา มีคุณสมบัติผูดี ๒. มีวาจาออนหวาน คือ มีคาํ พูดทีไ่ พเราะดูดดืม่ ออกมาจากใจทีใ่ สสะอาด นุม นวลไมแข็งกระดาง ไมพดู โออวด ยกตนขมทาน และกลาวโทษลบหลู เหยียดหยามทับถมผูอื่น ไมเยาะเยยถากถางผูทําผิดพลาด ๓. มีใจออนโยน คือ มีเมตตากรุณาเปนอารมณ มีใจนอบนอม ถอมตัว มีจิตใจละไมพรอมละมอมออนโยน แตมิใชออนแอ มีใจเขมแข็งแตมิใชแข็งกระดาง ไมนิยมอวดกําลังความสามารถ แตพยายามฝกตนเองใหมีความสามารถ โดยถือคติวา “จงมีแรงอยางยักษ แตอยาใชแรงอยางยักษ” ฉะนั้น ความออนโยนยอมมีอานุภาพสงเสริมสนับสนุนใหบุคคลผูมีคณ ุ ธรรมขอนี้เปนผูมนั่ คงในหนาที่และเดน เปนสงา เปนขวัญใจ เปนที่ชอบใจ ของบุคคลทั่วไปเสมอ ตางกับผูแข็งกระดางยิ่งนานวันก็จะมีแตแตกสลายหรือหักโคน เชน ตนไมตนใดที่ออนไหวลูไปตามแรงลม เชน ตนออ ตนหลิว ยามพายุพัดมาไมตานทานก็ยอมไมหักไมโคน สวนตนไม ตนใดแข็งกระดางตานทานพายุที่พัดจัด ไมชากิ่งลําตนก็โคน ลมลง คนก็เชนเดียวกัน หากออนไมเปน ก็อยูไดไมนาน ตองหักโคน เพราะความแข็งกระดางของตน เขาลักษณะคําพังเพยที่วา “ไมสูงกวาแม มักจะแพลมบน คนสูงกวาคน มักจะโคนกลางคัน” """

01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 98

6/22/2560 BE 00:48








01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 105

6/22/2560 BE 00:42


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 106

6/22/2560 BE 00:42


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 107

6/22/2560 BE 00:49


01761-4 M8_Air Force_July_9_06_60.indd 108

6/22/2560 BE 00:42


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.