หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน พฤศจิกายน 2561

Page 1

ขาวทหารอากาศ

http://www.airforcemagazine.rtaf.mi.th

ปที่ ๗๘ ฉบับที่ ๑๑ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๑

MAGAZINE

ISSN 0125 6173


วันลอยกระทง ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ถึงวันเพ็ญเดือนสิบสองสุดผ่องใส จัดกระทงคงคาลอยวารี หนึ่งเพื่อบูชาพระพุทธบาท เพื่อบูชาแม่คงคาพาชื่นบาน พระพุทธบาทริมหาดทรายความหมายล�้ำ เพราะศักดิ์สิทธิ์สมคุณค่าบารมี แม่คงคามีคุณบุญเลิศล�้ำ ได้ซักล้างหุงต้มสมสบาย ไปทางเรือเมื่อไรต้องใช้น�้ำ ทั้งเต่าปลาปูหอยพลอยนิยม ประเพณีลอยกระทงส่งผลเลิศ น�ำชาติไทยรุ่งเรืองเฟื่องทวี แม้นานาอารยะหลายประเทศ เพื่อชมงานลอยกระทงให้ตรงกัน ขออ�ำนาจแห่งคุณพระพุทธบาท ขอชาวไทยทุกต�ำบลผลเจริญ

ปวงชาวไทยโสมนัสจรัสศรี ซึ่งล้วนมีความหมายหลายประการ ที่ริมหาดนัมมทาพาสุขศานต์ ทุกประการเสริมบุญญาบารมี ควรน้อมน�ำบูชาพาสุขศรี คุ้มชีวีให้สุขล้นพันทุกข์ภัย ได้ดื่มด�่ำอาบพรมสุขสมหมาย ปลูกผักขายใช้น�้ำล�้ำพระคุณอุดม ผู้กระท�ำการประมงตรงเหมาะสม อย่างเหมาะสมแม่คงคาบารมี ควรทูนเทิดให้ประจักษ์หลักวิถี ประเพณีดีงามล�้ำอนันต์ ยังตั้งเจตน์เที่ยวไทยให้สุขสันต์ ต่างใฝ่ฝันชักพากันมาเพลิน และอ�ำนาจแม่คงคาพาสรรเสริญ ได้เพลิดเพลินกับสุขทุกเมื่อเทอญ

คณะผู้จัดท�ำหนังสือข่าว ทอ. น.อ.เกษม พงษ์พันธ์ ประพันธ์


ข่าวทหารอากาศ

มหาราชา พระบิดาแห่งฝนหลวง กองทัพอากาศกับโครงการ พระราชด�ำริฝนหลวง ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๙๘ ในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินโดยเครือ่ งบิน พระราชพาหนะของกองทัพอากาศ ไปทรงเยีย่ มราษฎร ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งก�ำลังประสบ ปัญหาภัยแล้งและนับวันยิ่งทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น โดยระหว่างประทับบนเครื่องบิน พระองค์ทรงสังเกต เห็นว่าบนท้องฟ้ามีกลุม่ เมฆปริมาณมากแต่ไม่สามารถ เกิดเป็นฝนได้ จึงทรงมีพระราชด�ำริวา่ “น่าจะมีลทู่ าง ที่จะคิดค้นหาเทคนิค หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ดัดแปรสภาพอากาศ มาช่วยให้เกิดการก่อตัวและ รวมตัวของเมฆ เพื่อให้เกิดฝนได้” อีกทั้งพระองค์ ท่านได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อนของราษฎร ที่ขาดแคลนน�้ำอุปโภค บริโภค และเพื่อท�ำการเกษตร จึงได้มีพระราชด�ำริเรื่องฝนหลวงให้กับหม่อมหลวง เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปด�ำเนินการศึกษาค้นคว้าวิจัย เกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารฝนหลวง เพือ่ ช่วยเหลือบรรเทา ความเดือดร้อนให้กบั พสกนิกรทีป่ ระสบปัญหาภัยแล้ง อันเนื่องมาจากฝนตกไม่ถูกต้องตามฤดูกาล จะเห็น ได้วา่ พระองค์ทรงมีพระราชหฤทัยห่วงใยในความทุกข์ ของราษฎรอยู่ตลอดเวลา และนับได้ว่าโครงการ พระราชด�ำริฝนหลวงได้เริ่มต้นขึ้นแล้วในตอนนั้น ต่อมาได้มกี ารศึกษาค้นคว้าการท�ำฝนหลวงอย่างจริงจัง

จนกระทั่ ง ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๒ การทดลอง ท�ำฝนหลวงจึงประสบผลส�ำเร็จเป็นครั้งแรก จึงได้ มี ก ารขยายผลการปฏิ บั ติ ไ ปช่ ว ยเหลื อ เกษตรกร ในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศโดยมีกระทรวงเกษตร และสหกรณ์เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ ได้เกิดสภาวะ แห้งแล้งเป็นบริเวณกว้าง รัฐบาลจึงได้มอบให้กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ด�ำเนินการตามแนวทางพระราชด�ำริ โดยให้กองทัพอากาศสนับสนุนเครือ่ งบินและเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมปฏิบัติการฝนหลวง เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ดังนั้น กองทัพอากาศจึงได้จัดส่งเครื่องบินล�ำเลียง แบบที่ ๒ หรือ บ.ล.๒ (C-47) จ�ำนวน ๑ เครื่อง และ เครือ่ งบินล�ำเลียงแบบที่ ๔ หรือ บ.ล.๔ (C-123) จ�ำนวน ๑ เครื่อง เข้าร่วมโครงการพระราชด�ำริฝนหลวง ซึ่งนับว่าเป็นการบินท�ำฝนหลวงครั้งแรกของกองทัพ อากาศ ต่อมากองทัพอากาศ ตระหนักถึงความส�ำคัญ ของโครงการพระราชด�ำริ จึงได้พิจารณาดัดแปลง เครื่องบินล�ำเลียงแบบที่ ๔ ก หรือ บ.ล.๔ ก (C123K)

3


4

จ�ำนวน ๓ เครื่อง และเครื่องบินล�ำเลียงแบบที่ ๙ หรือ บ.ล.๙ (NOMAD) จ�ำนวน ๓ เครื่อง เพื่อเข้าร่วม สนับสนุนโครงการพระราชด�ำริฝนหลวงและได้ร่วม โครงการวิจยั กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เกีย่ วกับ การท�ำฝนในเมฆเย็นทีร่ ะดับความสูงเกิน ๒๐,๐๐๐ ฟุต โดยได้พิจารณาน�ำเครื่องบินโจมตีแบบที่ ๖ หรือ บ.จ.๖ (A-37) เพื่อร่วมโครงการวิจัย จ�ำนวน ๒ เครื่อง ในปีพทุ ธศักราช ๒๕๓๙ เป็นปีทพี่ ระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี กองทัพอากาศ ได้จดั ท�ำโครงการเครือ่ งบินปฏิบตั ภิ ารกิจฝนหลวงถวาย เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสดังกล่าว โดยการ ปรับปรุง บ.ล.๒ (C-47) ซึง่ ปลดประจ�ำการแล้ว จ�ำนวน ๖ เครื่อง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้นและได้ก�ำหนดชื่อเรียก เครื่องบินแบบนี้ว่า เครื่องบินล�ำเลียงแบบที่ ๒ก หรือ บ.ล.๒ ก (BT-67) สามารถน�ำมาปฏิบตั ภิ ารกิจฝนหลวง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมกันนีไ้ ด้ขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตอัญเชิญ ตราสัญลักษณ์งาน ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ประดับที่บริเวณ แพนหางดิง่ ของ บ.ล.๒ ก ดังกล่าวด้วย ต่ อ มาประเทศไทยประสบภั ย แล้ ง เพิ่ ม มากขึ้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความต้องการ ขอรับการสนับสนุนเครื่องบินจากกองทัพอากาศ เพิม่ เติม กองทัพอากาศได้พจิ ารณาดัดแปลงเครือ่ งบิน โจมตีธุรการแบบที่ ๒ หรือ บ.จธ.๒ (AU-23) จ�ำนวน ๖ เครื่อง เพื่อใช้สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจฝนหลวง กองทัพอากาศ นอกจากจะมีส่วนในการสนับสนุน เครื่องบินและเจ้าหน้าที่ให้กับกระทรวงเกษตรและ บ.ล.๒ (C-47) สหกรณ์แล้ว ยังมีการวิจัยและพัฒนากระสุนซิลเวอร์ ไอโอไดด์ ซึง่ สามารถน�ำมาใช้กบั เครือ่ งบินโจมตีแบบที่ ๗ หรือ บ.จ.๗ (Alpha Jet) ส�ำหรับปฏิบัติภารกิจยับยั้ง พายุลูกเห็บ และผลิตพลุสารดูดความชื้น ทั้งสูตร แคลเซี ย มคลอไรด์ แ ละสู ต รโซเดี ย มคลอไรด์ ที่ มี ประสิทธิภาพเทียบเท่ากับของต่างประเทศ แต่มี ค่าใช้จา่ ยต�ำ่ กว่ามาก กล่าวคือการใช้พลุสารดูดความชืน้ บ.ล.๔ (C-123) เพียง ๑ กิโลกรัมจะเทียบเท่ากับการโปรยด้วยสาร


ข่าวทหารอากาศ

แบบปกติ ประมาณ ๑๕๐ กิโลกรัม ซึง่ ช่วยให้ประหยัด งบประมาณและระยะเวลาในการจัดหาสารฝนหลวง ได้เป็นอย่างดี พระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ที่ทรงมี พระราชหฤทัยห่วงใยในพสกนิกร และพระปรีชาสามารถ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงศึกษา ค้นคว้า พัฒนา และ ติดตามผลการท�ำฝนหลวงด้วยพระองค์เอง ทรงก�ำหนด ขั้นตอนกรรมวิธีการท�ำฝนหลวงให้เข้าใจได้ง่ายเป็น ๓ ขั้นตอน คือ ก่อกวน เลี้ยงให้อ้วน โจมตี และในปี พ.ศ.๒๕๔๒ พระองค์ ไ ด้ ท รงประดิ ษ ฐ์ ภ าพ ประมวลวิธีการท�ำฝนหลวงโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือ “ต�ำราฝนหลวงพระราชทาน” เพือ่ ให้หน่วยงานปฏิบตั ิ การฝนหลวงได้ใช้เป็นแนวทางในปัจจุบัน คณะรั ฐ มนตรี ใ นการประชุ ม วั น ที่ ๒๐ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๕๔๕ จึ ง มี ม ติ เ ทิ ด พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ถวายพระราชสมัญญาว่า “พระบิดา แห่งฝนหลวง” และก�ำหนดให้วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ของทุกปี เป็น “วันพระบิดาแห่งฝนหลวง” เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๑ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ผู้บัญชาการทหารอากาศ พร้อมทั้งนายทหาร ชั้นผู้ใหญ่ของกองทัพอากาศเข้าเฝ้า เพื่อน้อมเกล้า น้อมกระหม่อม ถวาย บ.จ. ๗ จ�ำนวน ๒ เครือ่ ง เป็น เครือ่ งบินปฏิบัติการฝนหลวงเฉลิมพระเกียรติ เนื่องใน โอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ณ พระที่นั่งเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ป ั จ จุ บั น ก อ ง ทั พ อ า ก า ศ ไ ด ้ ส น อ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ แห่ ง องค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในโครงการพระราชด� ำ ริ ฝ นหลวงโดยจัด เตรีย ม อากาศยานจ�ำนวน ๑๒ เครือ่ ง ประกอบด้วย บ.ล.๒ ก จ�ำนวน ๔ เครื่อง, บ.จธ.๒ จ�ำนวน ๖ เครื่อง และ

บ.ล.๔ ก (C-123K)

บ.ล.๙ (NOMAD)

บ.จ.๖ (A-37)

บ.ล.๒ ก (BT-67)

บ.จธ.๒ (AU-23)

5


6

บ.จ.๗ (Alpha Jet)

บ.จธ.๒ (AU-23)

บ.จ.๗ จ�ำนวน ๒ เครื่อง นอกจากนี้ยังสนับสนุน ฐานปฏิบัติการให้กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเตรียมความพร้อมไว้ทั่วประเทศ ทั้งหมด ๑๐ กองบิน และโรงเรียนการบิน ส�ำหรับเทีย่ วบินและพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารฝนหลวง นั้น จะขึ้นอยู่กับการร้องขอจากกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ซงึ่ มีนกั วิชาการและผูเ้ ชีย่ วชาญในการก�ำหนด พื้นที่ และปริมาณสารฝนหลวงที่ต้องใช้ ตลอดจน วิเคราะห์สภาพแวดล้อมว่าจะเอื้ออ�ำนวยในการ ท�ำฝนหลวงหรือไม่ “ทั้งนี้การบินท�ำฝนหลวงเป็น ภารกิจที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากปกติแล้ว นักบินทุกคนจะต้องฝึกและท�ำการ บินหลีกเลี่ยงจากสภาพอากาศที่แปรปรวน เพื่อลด

ความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุจากสภาพอากาศที่ ไม่เอือ้ อ�ำนวยต่อการบินแต่การบินท�ำฝนหลวงจะบิน ในลักษณะดังกล่าวไม่ได้ นักบินจ�ำเป็นต้องบิน เข้าหาเมฆ ซึ่งเป็นการบินที่มีความเสี่ยงอย่างยิ่ง ต้องเผชิญกับสภาพอากาศทีแ่ ปรปรวน หรือเข้าใกล้ พายุฝนฟ้าคะนองอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้” ดังนัน้ ในการ ขึน้ บินแต่ละเทีย่ วบิน นักบินและเจ้าหน้าที่ ต้องวางแผน เตรียมการด้วยความระมัดระวัง ละเอียดรอบคอบ อย่างทีส่ ดุ โดยใช้ความรู้ ความช�ำนาญ และประสบการณ์ ที่มีอยู่ เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจฝนหลวงประสบ ความส�ำเร็จ และปลอดภัย ผลการปฏิบัติการบินฝนหลวงของกองทัพ อากาศโดยเฉลี่ยจะท�ำการบินปีละประมาณ ๗๐๐ เที่ ย วบิ น คิ ด เป็ น เวลาบิ น เฉลี่ ย ประมาณ ๘๐๐ ชั่วโมงบิน ใช้สารฝนหลวงประมาณ ๑,๐๐๐ ตันต่อปี ใช้พลุซลิ เวอร์ไอโอไดด์ปฏิบตั ภิ ารกิจยับยัง้ พายุลกู เห็บ จ�ำนวน ๒๐๐ นัดต่อปี และพลุสารดูดความชืน้ จ�ำนวน ๑๐๐ นัดต่อปี ซึง่ ผลการปฏิบตั ภิ ารกิจดังกล่าวประสบ ผลส�ำเร็จอย่างดี เป็นผลให้ปริมาณน�้ำในเขื่อน และ ปริ ม าณน�้ ำ ฝนในพื้ น ที่ ก ารเกษตรเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น จ�ำนวนมาก สามารถบรรเทาความเดือดร้อนจาก ปัญหาภัยแล้งได้อย่างดียิ่ง กว่ า ๔ ทศวรรษที่ ก องทั พ อากาศได้ ทุ่มเทก�ำลังกาย ก�ำลังใจ และก�ำลังสติปัญญา ในการ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพระราชด�ำริฝนหลวงอัน สืบเนื่องมาจากพระอัฉริยะภาพของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร นับเป็นความภาคภูมิใจอย่างหาที่สุดมิได้


ข่าวทหารอากาศ

บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ เพื่อนข้าราชการทหารอากาศทุกท่าน ในเดือนพฤศจิกายนนี้ มีวันส�ำคัญ คือ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ของทุกปีเป็น “วันพระบิดาแห่ง ฝนหลวง” นับตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยีย่ มราษฎร ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ทรงทอดพระเนตรเห็นสภาพแห้งแล้ง เนื่องมาจากภาวะฝนทิ้งช่วง และความผันแปรของ สภาพอากาศ รวมถึงการตัดไม้ทำ� ลายป่า ซึง่ เป็นสาเหตุ ให้สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ท�ำให้ประชาชนมีความทุกข์ยากจากการประสบ ปัญหาขาดแคลนน�ำ้ เพือ่ อุปโภค บริโภค และน�ำ้ ส�ำหรับ ท�ำการเกษตร พระองค์ทรงมีพระราชด�ำรัสตอนหนึง่ ว่า “...หลักส�ำคัญต้องมีน�้ำบริโภค น�้ำใช้ น�้ำเพื่อ การเพาะปลูก เพราะว่าชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน�้ำ คนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน�้ำคนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยู่ได้ แต่ถา้ มีไฟฟ้าไม่มนี ำ�้ คนอยูไ่ ม่ได้...” จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้นำ� ความรูท้ างวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ ใช้ในการดัดแปรสภาพอากาศให้เกิดเป็นฝนตก ได้ด้วยพระอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถ อันเลิศล�้ำ ท�ำให้เทคโนโลยีปฏิบัติการฝนหลวง ประสบความส�ำเร็จอย่างดียิ่งตลอดมา นับเป็น พระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมอย่าง หาที่สุดมิได้ นอกจากนี้ ยั ง มี วั น ส� ำ คั ญ อี ก วั น หนึ่ ง คื อ “วันลอยกระทง” ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ ขึ้น ๑๕ ค�่ำ

เดือน ๑๒ และเป็นประเพณีทไี่ ด้จดั สืบต่อกันมายาวนาน ตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง เรียกประเพณีลอยกระทงนีว้ า่ “พิธจี องเปรียง” หรือ “การลอยประที ป ” เพื่ อ แสดงความขอบคุ ณ พระแม่คงคา ที่ให้ประชาชนได้มีน�้ำในการอุปโภค บริโภค รวมทั้งขอขมาที่ได้ทิ้งสิ่งปฏิกูลลงในแม่น�้ำ ล�ำคลอง คณะผู้จัดท�ำหนังสือข่าวทหารอากาศ จึงขอเชิญชวนข้าราชการกองทัพอากาศทุกท่าน และครอบครัว ร่วมกันสืบสานประเพณีวัฒนธรรม อันดีงาม ในวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน นี้ บริเวณหน้าร้านค้า สวั ส ดิ ก ารทหารอากาศ ซึ่ ง จะมี กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ที่สนุกสนานมากมาย ภาพปกเป็ น ภาพโครงการในพระราชด� ำ ริ “ฝนหลวง” ซึ่ ง มี บ ทความภายในเล่ ม ส� ำ หรั บ เรื่องเด่นในฉบับได้แก่ บทความมหาราชาพระบิดา แห่งฝนหลวง นโยบาย ผบ.ทอ.พ.ศ.๒๕๖๒ ICT เส้นทางสูก่ ารพัฒนากองทัพอากาศสหรัฐฯ อินทรีแดง แผลงฤทธิ์ Red Eagle ตอน กระโดดร่มภารกิจ เสี่ยงตายของชายชาติทหาร ๒ StromBreaker ลูก ระเบิด ร่อ นขนาดเล็ก ติด ตั้ง ระบบน�ำ วิถีค วาม แม่นย�ำสูง นอกจากนีย้ งั มีอกี หลายบทความ และคอลัมน์ ประจ�ำที่น่าสนใจ อีกมากมาย เชิญท่านพลิกอ่านได้ ตามอัธยาศัย บทบรรณาธิการ 

7


สารบัญ ๒ ๓ ๑๑ ๓๑ ๓๕ ๓๗

๔๒

๔๕ ๔๙ ๕๑

๕๙ ๖๑ ๖๓ ๖๙ ๗๑

๗๕ ๗๖

๗๙

๘๑

๘๖ ๙๑ ๙๗ ๙๙

ปี ที่ ๗๙ ฉบั บ ที่ ๑๑ เดื อ นพฤศจิ ก ายน ๒๕๖๑

กลอนวันลอยกระทง  น.อ.เกษม พงษ์พันธ์ มหาราชาพระบิดาแห่งฝนหลวง  กปส.สกป.กร.ทอ. นโยบาย ผบ.ทอ.ปี ๒๕๖๒ ภาษาไทยด้วยใจรัก   ปราชญ์ใหญ่กับคีตวรรณกรรม crossword   อ.วารุณี ICT เส้นทางสู่การพัฒนากองทัพอากาศสหรัฐฯ น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์ กระบวนการทดสอบอากาศยานไร้คนขับ  ร.ท.เจษฎา ชมดารา ระวังกลลวงออนไลน์  น.อ.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย์, Ph.D ฟลิกเกอร์บอล  พล.อ.ท.ประวิทย์ อุดมผล Red Eagle อินทรีแดงแผลงฤทธิ์ ตอน “กระโดดร่ม...ภารกิจเสี่ยงตายของชายชาติทหาร ๒” น.ต.ภฤศพงศ์ ซ้อนแก้ว StromBreaker  Rocket-7 อนาคตการแพทย์ทางไกล  ร.อ.ศุภภาณุ์ฤกษ์ ไพศาลสุทธิ ขยะเป็นเรื่องของใคร ?  R.T.A.F Eye’s View เวลาการ์ตูน  มีสกรีน การกลับคืนสู่ความเป็นประเทศชั้นน�ำในภูมิภาคอาเซียน ของฟิลิปปินส์  น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ ธรรมะ ประทีป อานิสงส์ของบุญบารมี  กอศ.ยศ.ทอ วันคล้ายวันสถาปนา กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารทหารอากาศ  น.ต.หญิง นิรมล การสมใจ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยประชาคมอาเซียน สถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชา  @zilch ครูภาษาพาที Restaurant and Michalin Star Macadamia ขอบฟ้าคุณธรรม  1261 ภาพข่าว ในรั้วสีเทา Japan Disaster Prevention Day ร.อ.หญิง วิวัสวัน เปล่งวิทยา เฉลย crossword  อ.วารุณี

๒ ๓ ๔๒ ๕๑ ๙๗


ข่าวทหารอากาศ

ข่าวทหารอากาศ คณะผูจ้ ดั ท�ำหนังสือข่าวทหารอากาศ เจ้าของ กองทัพอากาศ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พล.อ.อ.ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ พล.อ.อ.ม.ร.ว.ศิริพงษ์ ทองใหญ่ พล.อ.อ.ธนนิตย์ เนียมทันต์ พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ์ พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน

พล.อ.อ.กันต์ พิมานทิพย์ พล.อ.อ.อมร แนวมาลี พล.อ.อ.ปอง มณีศิลป์ พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง

ที่ปรึกษา พล.อ.อ.ธงชัย แฉล้มเขตร พล.อ.อ.ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ พล.อ.ต.สหัสชัย มาระเนตร

พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ผู้อ�ำนวยการ/บรรณาธิการ พล.อ.ท.พงษ์ศักดิ์ เสมาชัย

เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ รองผู้อ�ำนวยการ

พล.อ.ต.ทศวรรณ รัตนแก้วกาญจน์ พล.อ.ต.ฐานัตถ์ จันทร์อ�ำไพ น.อ.กรกฎ ทิมไสว น.อ.สมพร แต้พานิช ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้จัดการ

พล.อ.ต.ตรีพล อ่องไพฑูรย์

ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ

น.อ.ธรรมรงค์เดช เจริญสุข น.อ.นินาท มูลจนะบาตร์

น.อ.สมพร แต้พานิช น.อ.อภิรัตน์ รังสิมาการ น.ท.อิทธิพัทธ์ ภาสพันธุ

ประจ�ำบรรณาธิการ

น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง น.ท.หญิง มุตสิตา มาหะศักดิ์ น.ต.หญิง กรชิชา ด�ำเกิด พ.อ.อ.ธรรมวัฒน์ รัตนวิจารณ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์ พ.อ.อ.หญิง วาสนา รับสมบัติ น.ส.อุไรวรรณ บุญณรงค์ นางจันทร์สม ค�ำมา

น.ท.หญิง ณัฐสินี เชื้อนุ่น น.ต.หญิง รัชนก เกิดสุข ร.อ.หญิง กันตา คุ้มจั่น พ.อ.อ.พันธกานต์ พูลผล พ.อ.อ.รักษิต ทองแย้ม จ.อ.หญิง ศุภวัลย์ กระจ่างนฤมลกุล นางประไพ เอี่ยมวุฒิ น.ส.รสสุคนธ์ บุญประเทือง

กองวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์ (เพื่อพลาง) ส�ำนักกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรืิอนทหารอากาศ ส�ำนักงานชั่วคราว ห้อง ๑๐๑ อาคารหอสมุ ด กองทั พ อากาศ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ แขวงสนามบิ น เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร. ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑, ๐ ๒๕๓๔ ๔๒๔๑ แฟกซ์ ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑ ส่งบทความและภาพกิจกรรมได้ที่ e-mail: rtafmag@gmail.com

หนังสือข่าวทหารอากาศ ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของกองทัพอากาศ เริม่ ด�ำเนินการเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึน้ กับกรมข่าวทหารอากาศ โดย นาวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็นบรรณาธิการคนแรก ด�ำเนินการโดยทุนของข้าราชการทหาร อากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยูใ่ นความอ�ำนวยการของกรมยุทธ ศึกษาทหารอากาศ ตามค�ำสั่ง ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ได้เข้าอยู่ในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ ก�ำกับดูแล โดยคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์กองทัพอากาศ ตาม อนุมตั ิ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมือ่ ๒๘ ธ.ค.๒๕๕๒ ก�ำหนดให้ใช้ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ ว่าด้วยการบริหาร วารสารและสื่อสิ่งพิมพ์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ ๑ ม.ค.๒๕๖๑ ได้เข้าอยู่ในการก�ำกับดูแลของกรมกิจการพลเรือน ทหารอากาศ ตามค�ำสั่ง ทอ. (เฉพาะ) ที่ ๑๓๖/๖๐ ลง ๒๖ ก.ย.๒๕๖๐

ภารกิจ ด�ำเนินกิจการหนังสือข่าวทหารอากาศ ให้เป็นไปตามนโยบายของผูบ้ ญั ชาการ ทหารอากาศ โดยมีผู้อ�ำนวยการหนังสือข่าวทหารอากาศ (จก.กร.ทอ.) เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในกิจการทั่วไป ๒. เพือ่ แสดงความคิดเห็นด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม ๓. เพื่อเผยแพร่กิจการของกองทัพอากาศ

การด�ำเนินงาน ๑. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ในการพัฒนากองทัพอากาศและส่วนรวม ๒. เนื้อหาที่น�ำมาลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ - ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบายของผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ - ต้องไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ ส่วนรวม - ต้องได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะผู้จัดท�ำหนังสือข่าว ทหารอากาศ

ก�ำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

พิมพ์ที่ บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) ๓๐/๘๘ หมู่ 1 ถ.เจษฎาวิถี ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ๗๔๐๐๐ โทร. ๐-๒๗๘๔-๕๘๘๘ แฟกซ์ ๐-๒๗๘๔-๕๘๕๘

อ่านบทความเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th และ www.rtaf.mi.th บทความและความคิดเห็นของผู้เขียนในหนังสือฉบับนี้ ไม่มีส่วนผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด ภาพบางส่วนในหนังสือ น�ำมาจาก google.com

ออกแบบปก : พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

9


10




เจตนารมณ์

ช่วงทศวรรษที่ ผ ่ านมา กองทัพอากาศด�าเนินการพัฒนาตามทิศทาง ยุทธศาสตร์เพือ่ มุง่ สูว่ สิ ยั ทัศน์ “กองทัพอากาศชัน้ น�าในภูมภิ าค” และน�าแนวความคิด การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ กอปรกับกองทัพอากาศ ตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาทุกมิติอย่างสมดุลภายใต้การบริหารจัดการ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ความคุ ้ ม ค่ า สู ง สุ ด การพั ฒ นาดั ง กล่ า ว แสดงให้เห็นผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ของกองทัพอากาศอย่างมีนัยส�าคัญทั้งในด้านยุทโธปกรณ์ กระบวนการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของก�าลังพล ซึ่งเป็นสิ่งยืนยันถึงพลังความร่วมมือและความตั้งใจ ของก�าลังพลกองทัพอากาศทุกคน ปี พ.ศ.๒๕๖๒ กองทัพอากาศ “มุ่งมั่น” ที่จะพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน โดยสานงานเดิมอย่างต่อเนื่อง เสริมความเข้มแข็งในมิติทางอากาศเพื่อรองรับ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบ และสร้างพืน้ ฐานการพัฒนาทัง้ ในมิตทิ างไซเบอร์และมิตทิ าง อวกาศอย่างเป็นระบบ ตลอดจนส่ งเสริมให้ก�าลังพลด�ารงอยู่ในระเบียบวินัย อย่างเคร่งครัด ควบคูก่ บั การดูแลสวัสดิการของก�าลังพลและครอบครัวอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความ “มั่นคง” ในการเป็นทหารอาชีพอย่างภาคภูมิและสมเกียรติ รวมทั้งปลูกฝังให้ก�าลังพลมีจิตอาสาตั้งมั่นในการท�าความดี ทั้งนี้ก็เพื่อให้ประชาชน “มั่นใจ” ว่ากองทัพอากาศมีความพร้อมในการป้องกันราชอาณาจักร สนับสนุน การแก้ไขปัญหาส�าคัญของชาติ และอยู่เคียงข้างประชาชนสืบไป

พลอากาศเอก ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผู้บัญชาการทหารอากาศ


สถานการณ์สำาคัญ


สถานการณ์สำาคัญ เจตนารมณ์

ช่วงทศวรรษที่ ผ ่ านมา กองทั พ อากาศด� าเนิ นการพั ฒนาตามทิ ศ ทาง ยุทธศาสตร์เพือ่ มุง่ สูว่ สิ ยั ทัศน์ “กองทัพอากาศชัน้ น�าในภูมภิ าค” และน�าแนวความคิด การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ กอปรกับกองทัพอากาศ ตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาทุกมิติอย่างสมดุลภายใต้การบริหารจัดการ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ความคุ ้ ม ค่ า สู ง สุ ด การพั ฒ นาดั ง กล่ า ว แสดงให้เห็นผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ของกองทัพอากาศอย่างมีนัยส�าคัญทั้งในด้านยุทโธปกรณ์ กระบวนการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของก�าลังพล ซึ่งเป็นสิ่งยืนยันถึงพลังความร่วมมือและความตั้งใจ ของก�าลังพลกองทัพอากาศทุกคน ปี พ.ศ.๒๕๖๒ กองทัพอากาศ “มุ่งมั่น” ที่จะพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน โดยสานงานเดิมอย่างต่อเนื่อง เสริมความเข้มแข็งในมิติทางอากาศเพื่อรองรับ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบ และสร้างพืน้ ฐานการพัฒนาทัง้ ในมิตทิ างไซเบอร์และมิตทิ าง ปัจจุบันสภาพแวดล้ออวกาศอย่ มมีการเปลีา่ยงเป็ นแปลงอย่ างรวดเร็ว จึงต้งอเสริ งติมดตามและประเมิ สถานการณ์ างใกล้ นระบบ ตลอดจนส่ ให้ ก�าลั ง พลด� านรงอยู ่ ในระเบีอยย่บวิ นัย ชิด และต่อเนื่อง อีกทั้งเทคโนโลยีมอย่ ีการพั ฒงนาอย่ างก้าวกระโดด มี ประสิ ธิภาพเพิา่มลัขึงพลและครอบครั ้น มีราคาลดลง และสามารถเข้ างเคร่ ครัด ควบคู ก่ บั การดูแลสวั สดิกทารของก� วอย่างเหมาะสม าถึง ได้งา่ ย ส่งผลให้การเกิดภัยคุกคามต่ ความมั น่ คงของชาติ ซง่ึ มีความอ่อนไหวมากยิ ง่ ขึน้ พ โดยเฉพาะอย่ ง่ การก่อยการร้ เพื่ออให้ เกิดความ “มั ่นคง” ในการเป็ นทหารอาชี อย่างภาคภูามงยิ ิและสมเกี รติ าย ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ภัยคุกรวมทั คามทางไซเบอร์ กคามทางอวกาศ และการใช้ อากาศยานไร้ ขนาดเล็ก ้งปลูกฝังให้ก ภั�าลัยงคุพลมี จิตอาสาตั้งมั่นในการท�าความดี ทั้งนี้ก็เพื่อคให้นขัปบระชาชน ในการกระท�าความผิด ซึ่งเป็นภั“มัยต่​่นอใจ” ความมั ่นคงทีพ่มีผอากาศมี ลกระทบรุ นแรงในวงกว้ างและยากต่ อการรับมืกอร จึสนั งต้อบงปรั ว่ากองทั ความพร้ อมในการป้ องกันราชอาณาจั สนุนบตัว และปรับเปลี่ยนรูปแบบของการรั กษาความมั ่นคงที ิใช่เพียงการป้ องกั การแก้ ไขปัญหาส� าคัญ่มของชาติ และอยู ่เคีนยประเทศ หากแต่ งข้างประชาชนสืบรวมไปถึ ไป งการเตรียมก�าลัง เพื่อเผชิญภัยคุกคามอย่างบูรณาการเพื่อให้การแก้ปัญหาเป็นไปอย่างครอบคลุมและรอบด้าน ความท้าทายของบริบทด้านความมั่นคงที่เปลี่ยนแปลงไปยังส่งผลต่อทิศทางของความร่วมมือในประเทศ และภูมิภาค การรวมตัวเป็นหนึ ่งของภูมิภ าคอาเซียน (ASEAN Community) มี ทิศทางทีย่เป็พฤกษ์ นการพึ พลอากาศเอก ชั ดิ่งษพาและเกื ยะศริน ้อกูลกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความช่ วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและบรรเทาภั ยพิบัติ ้บ(Humanitarian Assistance And ผู ัญชาการทหารอากาศ Disaster Relief : HADR) เป็น ผลมาจากการพัฒนาความร่ ว มมื อ ที่ เ ป็ น รู ปธรรมมากขึ้ น ในห้ ว งเวลาที่ ผ ่ า นมา กองทัพอากาศสามารถต่อยอดและพัฒนาขีดความสามารถด้านการตรวจจับ การช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบตั ิ การป้องปรามด้านไซเบอร์ และการวางรากฐานความมั่นคงด้านอวกาศ ด้วยการพึ่งพาตนเองจากการวิจัยพัฒนา และต่อยอดองค์ความรู้อย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน การเตรียมก�าลังกองทัพอากาศเพื่อให้มีความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงของภัยคุกคามต่อความมั่นคง ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) เป็นความท้าทายทีต่ อ้ งตระหนัก ซึง่ กองทัพอากาศจ�าเป็น ต้ อ งเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพ การผนึ ก ก� า ลั ง ป้ อ งกั น ประเทศ พั ฒ นาโครงสร้ า งก� า ลั ง และยุ ท โธปกรณ์ ที่ เ หมาะสม แก่ ก ารป้ อ งกั น ประเทศ ด� า รงขี ด ความสามารถของก� า ลั ง ทางอากาศ พั ฒ นาขี ด ความสามารถในมิ ติ ไซเบอร์ และเพิ่มการตระหนักรู้ในห้วงอวกาศ เพื่อการมุ่งไปสู่การเป็นกองทัพอากาศชั้นน�าในภูมิภาคได้อย่างสมบูรณ์


นโยบายการปฏิบัติราชการ พระราชบัญญัติจัดระเบียบบริหารราชการ กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๒๑ ก�าหนดให้กองทัพ อากาศมีหน้าที่เตรียมก�าลังกองทัพอากาศ ป้องกันราชอาณาจักร และด�าเนินการเกี่ยวกับการใช้ก�าลังกองทัพอากาศ ตามอ�านาจหน้าทีข่ องกระทรวงกลาโหม มีผบู้ ญั ชาการทหารอากาศ เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ ดังนัน้ เพือ่ ให้สามารถบริหาร ราชการกองทัพอากาศภายใต้กรอบภารกิจตามกฎหมายเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) นโยบาย ความมั่นคงของรัฐ และนโยบายของคณะรัฐมนตรี กองทัพอากาศจึงได้ก�าหนดนโยบายการปฏิบัติราชการ เพื่อให้หน่วย มีแผนงานและเป้าหมายทีช่ ดั เจน รวมถึงมีการติดตามความส�าเร็จของส่วนต่าง ๆ ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ดังนี้ ๑. พิทกั ษ์รกั ษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยแ์ ละเผยแพร่พระเกียรติคณ ุ และพระอัจฉริยภาพ ตลอดจน ป้องกันและปราบปรามการกระท�าที่ล่วงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ ๒. ยึดถือการปฏิบัติงานตามทิศทางยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และสนับสนุน แนวคิดการปฏิรูปประเทศตามขอบเขตภารกิจของกองทัพอากาศ ๓. ด�ารงขี ด ความสามารถในการป้ อ งกั น ประเทศและการรั ก ษาความมั ่ น คงภายใน ควบคู ่ ไ ปกั บ ด� า รง ขีดความสามารถในการสนับสนุนรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ การช่วยเหลือประชาชน การด�าเนินการตามโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ และการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๔. สนับสนุนรัฐบาลในการด�าเนินการที่เกี่ยวข้องกับการเป็นประธานอาเซียน และการขับเคลื่อนประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน ตลอดจนเตรียมกองทัพอากาศให้มีความพร้อมรองรับภารกิจส�าคัญของรัฐบาล ๕. ปกครองบั ง คั บ บั ญ ชาตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล โดยผู ้ น � า หน่ ว ยต้ อ งมี ค วามสามารถในการเป็ น ผู ้ น � า การเปลี่ยนแปลง ๖. เสริมสร้างให้ก�าลังพลมีระเบียบ วินัย และจิตส�านึก เพื่อด�ารงไว้ซึ่งความเป็นทหารอาชีพ รวมทั้งปลูกฝัง ก�าลังพลให้มีจิตอาสาตั้งมั่นในการท�าความดี ๗. ด�ารงมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทางราชการอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะในสื่อสังคมออนไลน์ ต้องกวดขันและก�าหนดมาตรการเพื่อป้องกันการกระท�าความผิดอย่างจริงจัง ๘. ด�ารงมาตรการด้านนิรภัยอย่างเคร่งครัด โดยผู้บังคับบัญชาทุกระดับต้องให้ความส�าคัญกับงานนิรภัย และก�าลังพลทุกคนต้องตระหนักและมีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุ ๙. ด�าเนินการแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดภายในกองทัพอากาศและพื้นที่โดยรอบกองทัพอากาศ โดยก�าลังพลกองทัพอากาศต้องปลอดจากยาเสพติด ๑๐. บริหารก�าลังพลด้วยความโปร่งใสสอดคล้องกับการขับเคลื่อนภารกิจของกองทัพอากาศและทิศทาง การปฏิรปู ของประเทศ ตลอดจนใช้แผนปฏิบตั ริ าชการของหน่วยเป็นหลักในการปฏิบตั งิ านของหน่วยขึน้ ตรงกองทัพอากาศ ๑๑. พัฒนาการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องตามแนวทางยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ โดยใช้เครื่องมือการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (PMQA 4.0)


นโยบายทั่วไป เจตนารมณ์

ช่วงทศวรรษที่ ผ ่ านมา กองทั พ อากาศด� าเนิ นการพั ฒนาตามทิ ศ ทาง ยุทธศาสตร์เพือ่ มุง่ สูว่ สิ ยั ทัศน์ “กองทัพอากาศชัน้ น�าในภูมภิ าค” และน�าแนวความคิด การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ กอปรกับกองทัพอากาศ ตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาทุกมิติอย่างสมดุลภายใต้การบริหารจัดการ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ความคุ ้ ม ค่ า สู ง สุ ด การพั ฒ นาดั ง กล่ า ว แสดงให้เห็นผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ของกองทัพอากาศอย่างมีนัยส�าคัญทั้งในด้านยุทโธปกรณ์ กระบวนการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของก�าลังพล ซึ่งเป็นสิ่งยืนยันถึงพลังความร่วมมือและความตั้งใจ ของก�าลังพลกองทัพอากาศทุกคน ปี พ.ศ.๒๕๖๒ กองทัพอากาศ “มุ่งมั่น” ที่จะพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน โดยสานงานเดิมอย่างต่อเนื่อง เสริมความเข้มแข็งในมิติทางอากาศเพื่อรองรับ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบ และสร้างพืน้ ฐานการพัฒนาทัง้ ในมิตทิ างไซเบอร์และมิตทิ าง อวกาศอย่างเป็นระบบ ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้ ก�าลั ง พลด� ารงอยู ่ ในระเบี ย บวิ นัย อย่างเคร่งครัด ควบคูก่ บั การดูแลสวัสดิการของก�าลังพลและครอบครัวอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความ “มั่นคง” ในการเป็นทหารอาชีพอย่างภาคภูมิและสมเกียรติ ๑. ด้านกำาลังพล กฝังให้กพ�าลัอากาศ งพลมีจโดยให้ ิตอาสาตัก�า้งลัมั่นงพลประพฤติ ในการท�าความดี ็เพื่อให้ ๑.๑ เสริมสร้างค่านิยรวมทั มหลั้งกปลู ของกองทั ปฏิบ ัตทัิอ้งนีย่้กางต่ เนืป่อระชาชน งจนเกิดเป็น ว่ากองทักพรกองทั อากาศมี ความพร้อมในการป้องกันราชอาณาจักร สนับสนุน พฤติกรรมของก�าลังพล เพื่อให้เ“มั ป็น่นวัใจ” ฒนธรรมองค์ พอากาศ ขปัญาหาส� าคัญของชาติด สมรรถนะ (Competency) ให้ และอยู่เคียงข้างประชาชนสืบไป ๑.๒ พัฒนาระบบบริการแก้ หารจัดไการก� ลังพลตามแนวคิ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ กองทัพอากาศและการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ โดยใช้ประโยชน์จากผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของก�าลังพลเป็นแนวทางในการพัฒนาก�าลังพล วยงานสู พลอากาศเอก ชั ยพฤกษ์ยนรู ดิ้ ษและน� ยะศริานระบบงาน ๑.๓ ส่งเสริมการจัด การความรู ้และการขั บเคลื่อนหน่ ่องค์การแห่งการเรี นความส� ผู ้บัญชาการทหารอากาศ การจัดการความรู้กองทัพอากาศมาใช้ ตลอดจนประเมิ าเร็จที่เป็นรูปธรรม เพื ่อน�าไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ มาตรฐานงาน และทักษะก�าลังพลมุ่งสู่การเป็นกองทัพอากาศแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน ๑.๔ ก�าหนดจ�านวนก�าลังพลให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจ โครงสร้าง และยุทธศาสตร์กองทัพ อากาศ โดยการปรับปรุงกรอบการบรรจุก�าลังพล เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการก�าลังพลให้มีประสิทธิภาพ ๑.๕ พัฒนาขีดความสามารถของก�าลังพลส�ารอง เพื่อให้สามารถปฏิบัติภารกิจร่วมกับก�าลังพลประจ�าการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพร้อมปฏิบัติภารกิจในการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติในรูปแบบอื่น ๆ ๑.๖ พัฒนาและยกระดับการให้บริการของศูนย์บริการก�าลังพลแบบเบ็ดเสร็จ ทัง้ ในด้านสิทธิกา� ลังพล การเงิน สวัสดิการ และอื่น ๆ ให้แก่ข้าราชการนอกประจ�าการกองทัพอากาศและทายาท เพื่อให้ได้รับสิทธิอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ต่อเนื่อง และทันเวลา


นโยบายทั่วไป

๒. ด้านการข่าว

๒.๑ ปรับปรุงกระบวนการปฏิบตั ภิ ารกิจด้านข่าวกรอง การเฝ้ า ตรวจ และการลาดตระเวน พร้ อ มกั บ พั ฒ นา ขีดความสามารถด้านข่าวกรองทางอากาศ และก�าหนดขอบเขต การปฏิบตั งิ านของหน่วยเกีย่ วข้อง เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั งิ านได้อย่าง ประสานสอดคล้อง มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับสภาวะ แวดล้อมและการปฏิบัติการทางอากาศในอนาคต ๒.๒ พัฒนางานข่ า วกรองไซเบอร์ เ พื ่ อ สนั บ สนุ น การปฏิบัติการไซเบอร์ของกองทัพอากาศ ตลอดจนพัฒนา ขีดความสามารถด้านข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน ในมิติอวกาศ ๒.๓ กระชับความสัมพันธ์ในประชาคมข่าวกรอง เพื่อบูรณาการความร่วมมือด้านการข่าวกรองในการป้องกัน ภัยคุกคามร่วม ๒.๔ เพิ่มประสิ ท ธิ ภ าพิ ก ารปฏิ บ ั ต ิ ก ารรั ก ษา ความปลอดภั ย ของกองทั พ อากาศทั ้ ง เชิ ง รุ ก และเชิ ง รั บ ด้วยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก (Drone)

๓. ด้านยุทธการและการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง

๓.๑. ด้านยุทธการ ๓.๑.๑ ด�าเนินการและสนั บ สนุ น การแก้ ไขปั ญ หาในพื ้ น ที ่ จ ั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ พร้ อ มทั ้ ง พั ฒ นา ขีดความสามารถและเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ๓.๑.๒ เสริมสร้างความร่วมมือระยะยาวในกิจการด้านยุทธการและการฝึกกับกองทัพอากาศประเทศ สมาชิกอาเซียน ๓.๑.๓ ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการมาตรฐานความสมควรเดินอากาศด้านการปฏิบัติการบิน ของกองทัพอากาศให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ๓.๒ ด้านระบบบัญชาการและควบคุม ๓.๒.๑ พัฒนาประสิทธิภาพระบบบัญชาการและควบคุม โดยพัฒนากระบวนการและโปรแกรมประยุกต์ ที่สนับสนุนการปฏิบัติงานในระบบบัญชาการและควบคุมให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ๓.๒.๒ พัฒนาเจ้าหน้าที่สายวิทยาการของกองทัพอากาศให้มีขีดความสามารถในการใช้งาน ซ่อมบ�ารุง ปรับปรุง ตลอดจนพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบบัญชาการและควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพ


เจตนารมณ์ นโยบายทั่วไป

ช่วงทศวรรษที่ ผ ่ านมา กองทั พ อากาศด� าเนิ นการพั ฒนาตามทิ ศ ทาง ยุทธศาสตร์เพือ่ มุง่ สูว่ สิ ยั ทัศน์ “กองทัพอากาศชัน้ น�าในภูมภิ าค” และน�าแนวความคิด การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ กอปรกับกองทัพอากาศ ตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาทุกมิติอย่างสมดุลภายใต้การบริหารจัดการ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ความคุ ้ ม ค่ า สู ง สุ ด การพั ฒ นาดั ง กล่ า ว แสดงให้เห็นผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ของกองทัพอากาศอย่างมีนัยส�าคัญทั้งในด้านยุทโธปกรณ์ กระบวนการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของก�าลังพล ซึ่งเป็นสิ่งยืนยันถึงพลังความร่วมมือและความตั้งใจ ของก�าลังพลกองทัพอากาศทุกคน ปี พ.ศ.๒๕๖๒ กองทัพอากาศ “มุ่งมั่น” ที่จะพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน โดยสานงานเดิมอย่างต่อเนื่อง เสริมความเข้มแข็งในมิติทางอากาศเพื่อรองรับ กับภัยบคุกคามทุกรูปแบบ และสร้างพืน้ ฐานการพัฒนาทัง้ ในมิตทิ างไซเบอร์และมิตทิ าง ๓.๓ ด้านระบบการตรวจจั อวกาศอย่างเป็นระบบ ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้คกวามส� � าลั ง พลด� ่ ในระเบี ย บวิ นัยอม ๓.๓.๑ ด�ารงขีดความสามารถระบบตรวจจั บทั้งระบบ โดยให้ าคัญากัรงอยู บการด� ารงความพร้ อย่างเคร่งครัด ควบคูก่ บั การดูแลสวัสดิการของก�าลังพลและครอบครัวอย่างเหมาะสม ของอุปกรณ์ลาดตระเวนทางอากาศ เพื่อให้เกิดความ “มั่นคง” ในการเป็ พอย่างภาคภู มิและสมเกียรติฒ นา ๓.๓.๒ ด�ารงขีดความสามารถในการตรวจจั บของระบบป้นอทหารอาชี งกันทางอากาศ โดยก� าหนดแผนการพั ้งปลู ก�าลัทงพลมี เรดาร์ทั้งระบบให้สามารถปฏิบรวมทั ัติงานได้ อย่กาฝังมีงให้ประสิ ธิภาพจิตอาสาตั้งมั่นในการท�าความดี ทั้งนี้ก็เพื่อให้ประชาชน “มั่นใจ” ว่ากองทัพอากาศมีความพร้อมในการป้องกันราชอาณาจักร สนับสนุน ๓.๔ ด้านผูป้ ฏิบตั /ิ หน่การแก้ วยปฏิบไขปั ตั ิ ญหาส�าคัญของชาติ และอยู่เคียงข้างประชาชนสืบไป ๓.๔.๑ ประยุกต์ใช้แ นวความคิด การปฏิ บั ต ิ ก ารที ่ ใช้ เ ครื อ ข่ า ยเป็ น ศู น ย์ ก ลาง ตลอดจนประเมิ น ผล และปรับปรุงรายละเอียดการปฏิบัติให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด ยพฤกษ์ด ดิการปฏิ ษยะศริบนัติการที่ใช้ ๓.๔.๒ พัฒนาระบบการตรวจสอบและประเมิ น ค่าหน่วยก�พลอากาศเอก ชั าลังรบตามแนวความคิ ผู้บัญชาการทหารอากาศ เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง ทั้งภาคอากาศและภาคพื น้ ๓.๔.๓ พัฒนายุ ทโธปกรณ์ ระบบงาน และบุ ค ลากรด้ า นสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ ห้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางอากาศ ๓.๕ ด้านเครือข่าย ๓.๕.๑ ก�าหนดมาตรฐานด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ เพื ่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการพั ฒ นาเครื อ ข่ า ย และระบบสารสนเทศของกองทัพอากาศ ๓.๕.๒ เสริมสร้างขีดความสามารถเครือข่ายวิทยุติดต่อสื่อสารด้านยุทธการ เพื่อให้เกิดความแข็งแกร่ง สามารถรองรับการปฏิบัติภารกิจ


นโยบายทั่วไป ๓.๖ ด้านการสนับสนุนและบริการ ๓.๖.๑ วิเคราะห์ประสิทธิภาพของยุทธภัณฑ์และออกแบบระบบการสนับสนุนด้านการส่งก�าลังบ�ารุง ให้สอดคล้อง และเหมาะสม โดยการส่งก�าลังและซ่อมบ�ารุงให้เป็นไปตามมาตรฐานความสมควรเดินอากาศ ๓.๖.๒ พัฒนาระบบคลั ง พั ส ดุ ข องทุ ก หน่ ว ยให้ มี โ ครงสร้ า งการจั ด หน่ ว ย และบุ ค ลากรที่ ต อบสนอง ต่อการบริการจัดการพัสดุ ตลอดจนการบูรณาการข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศด้านการส่งบ�ารุงอย่างเหมาะสม ๓.๖.๓ พัฒนาขีดความสามารถฐานบินตามมาตรฐานของฐานบินปฏิบัติการ โดยค�านึงถึงคุณลักษณะ ของอากาศยานที่เข้าประจ�าการ ๓.๗ ด้านบุคลากรและพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ๓.๗.๑ พัฒนาก�าลังพลให้มีสมรรถนะและขีดความสามารถตรงตามความต้องการของกองทัพอากาศ ๓.๗.๒ พัฒนาก�าลังพลให้มีจิตส�านึกและตระหนักรู้ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทั้งด้านการบิน และภาคพื้น เพื่อเสริมสร้างให้กองทัพอากาศเป็นองค์การแห่งความปลอดภัย ๓.๘ ด้านไซเบอร์ ๓.๘.๑ สร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับภัยคุกคามด้านไซเบอร์ และเน้นย�้าสร้างจิตส�านึกด้านการรักษา ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ของก�าลังพลกองทัพอากาศทุกระดับ ๓.๘.๒ เสริมสร้างขีดความสามารถในการปฏิบตั กิ ารไซเบอร์ ให้มคี วามพร้อมในการปฏิบตั กิ ารทัง้ เชิงป้องกัน และเชิงป้องปราม ๓.๘.๓ พัฒนาและเพิ่มจ�านวนก�าลังพลในการปฏิบัติการไซเบอร์ โดยเน้นการพัฒนาและปรับปรุงโปรแกรม ประยุกต์เพื่อใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยและการปฏิบัติการไซเบอร์ ๓.๙ ด้านอวกาศ ๓.๙.๑ สร้างความเข้าใจแนวความคิดในการปฏิบัติภารกิจด้านอวกาศ (Space CONOPs) ตลอดจนพัฒนา ขีดความสามารถก�าลังพลด้านอวกาศ เพื่อสนับสนุนความมั่นคงด้านอวกาศ ๓.๙.๒ เสริมสร้ า งขี ด ความสามารถในการปฏิ บั ติ ก ารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ห้ ว งอวกาศ โดยให้ ค วามส� า คั ญ กับการสังเกตการณ์อวกาศ และการตรวจการณ์จากห้วงอวกาศ ควบคูไ่ ปกับการสร้างและพัฒนาก�าลังพลให้มคี วามพร้อม ส�าหรับการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับห้วงอวกาศ


เจตนารมณ์ นโยบายทั่วไป

ช่วงทศวรรษที่ ผ ่ านมา กองทั พ อากาศด� าเนิ นการพั ฒนาตามทิ ศ ทาง ยุทธศาสตร์เพือ่ มุง่ สูว่ สิ ยั ทัศน์ “กองทัพอากาศชัน้ น�าในภูมภิ าค” และน�าแนวความคิด การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ กอปรกับกองทัพอากาศ ตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาทุกมิติอย่างสมดุลภายใต้การบริหารจัดการ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ความคุ ้ ม ค่ า สู ง สุ ด การพั ฒ นาดั ง กล่ า ว แสดงให้เห็นผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ของกองทัพอากาศอย่างมีนัยส�าคัญทั้งในด้านยุทโธปกรณ์ กระบวนการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของก�าลังพล ซึ๔.่งเป็ด้านนส่ สิ่งยืงนกำยัานลัถึงงบำพลัารุงงความร่วมมือและความตั้งใจ ของก�าลังพลกองทัพอากาศทุ กคน ๔.๑ พัฒนากิ จ กรรมด้ า นส่ ง ก� า ลั ง บ� า รุ ง โดยใช้ ปี พ.ศ.๒๕๖๒ กองทัเทคโนโลยี พอากาศ “มุ ่งมั่น” ที่จะพัฒบนาเพื สร้างความยั ่งยืนพ อากาศ สารสนเทศ ในการขั เคลือ่ ่อนภารกิ จของกองทั โดยสานงานเดิมอย่างต่อเนื่อ ง เสริมความเข้ มแข็มง ก� ในมิ ๔.๒ ควบคุ ากัตบิทดูางอากาศเพื แลการจัดซื่อ้ รองรั จัดจ้าบงและการ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบ และสร้ น้ ฐานการพั ง้ ในมิตทิ างไซเบอร์ ตทิ ดางซื้อจัดจ้าง บริาหงพืารพั สดุ ให้เป็ฒนนาทั ไปตามพระราชบั ญญัแตละมิ ิการจั อวกาศอย่างเป็นระบบ ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้สกดุ� าภลัาครั ง พลด� ารงอยู ่ ในระเบี ย บวิ นัย และการบริ หารพั ฐ พ.ศ.๒๕๖๐ อย่างเคร่งครัด ควบคูก่ บั การดูแ ลสวัสดิการของก� งพลและครอบครั วอย่านงเหมาะสม ๔.๓ วิ าเ ลัคราะห์ แ ละประเมิ ความต้ อ งการ เพื่อให้เกิดความ “มั่นคง” ในการเป็ อย่างภาคภู ละสมเกี ยรติ นเวียน การใช้ไฟฟ้นาทหารอาชี และก�าลังพการผลิ ตไฟฟ้มาิแโดยพลั งงานหมุ รวมทั้งปลูกฝังให้ก�าลังพลมีจิตตลอดจนก� อาสาตั้งมั่นาในการท� าความดี ทั้งนีพ้กลั็เพืง่องานให้ ให้ประชาชน หนดแนวทางการใช้ เกิดความคุ้มค่า “มั่นใจ” ว่ากองทัพอากาศมีและเกิ ความพร้ อมในการป้ ราชอาณาจั กร สนับสนุน ดประโยชน์ สูงสุอดงกัต่อนกองทั พอากาศ การแก้ไขปัญหาส�าคัญของชาติ และอยู่เคียงข้างประชาชนสืบไป

๕. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๕.๑ พัฒนาก� า ลั ง พลกองทั พ อากาศให้ ม ี ท ั ก ษะ พลอากาศเอก ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ด้านดิจิทัล และเสริมสร้างคุณธรรม จริ ยธรรม ในการใช้ งาน ผู้บัญชาการทหารอากาศ ระบบสารสนเทศและเครือข่ายสังคมออนไลน์ ๕.๒ ส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ได้แก่ ระบบการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่​่ (Big Data) อินเทอร์เน็ต เพื่อสรรพสิ่ง (The Internet of Things) ระบบประมวลผล แบบกลุม่ เมฆ (Cloud Computing) เทคโนโลยีปญ ั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ส�าหรับการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ


นโยบายทั่วไป ๖. ด้านกิจการพลเรือนและการประชาสัมพันธ์

๖.๑ ด�าเนินมาตรการเพือ่ ส่งเสริมความจงรักภักดี และความกตัญญูต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตลอดจนการพิทักษ์ รักษา เทิดทูน และถวายพระเกียรติ ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างสูงสุด ๖.๒ ด� าเนิ น งานด้านกิจการพลเรือนและการ ประชาสัมพันธ์เชิงรุก เพือ่ ให้ประชาชนเกิดความเชือ่ มัน่ ศรัทธา พร้ อ มให้ ค วามร่ ว มมื อ และสนั บ สนุ น กองทั พ อากาศใน การปฏิบัติภารกิจทั้งในภาวะปกติและภาวะสงคราม ๖.๓ ด�ารงขี ด ความสามารถและความพร้ อ ม ในการช่วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนอย่างเต็มความสามารถ ตลอดจนการช่วยเหลือ ด้านมนุษยธรรม และบรรเทาภัยพิบตั ภิ ายในภูมภิ าคและมิตร ประเทศ

๗. ด้านการวิจัยและพัฒนา

๗.๑ ส่งเสริมการวิจัยของหน่วยงานและข้าราชการ ของกองทั พ อากาศเพื ่ อ พั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ภ ายในองค์ ก ร และเผยแพร่ไปสู่ภายนอกองค์กร โดยก�าหนดกรอบการวิจัย และพัฒนาการทหารกองทัพอากาศ ให้มคี วามสอดคล้องกับภารกิจ หลักของกองทัพอากาศ ๗.๒ ผลั ก ดั น และสนั บ สนุ น ผลงานวิ จ ั ย และการพั ฒ นาการทหารกองทั พ อากาศ ที ่ ผ ่ า นการรั บรอง มาตรฐานยุทโธปกรณ์ เพื่อพิจารณาเข้าสู่กระบวนการผลิต ใช้งานในกองทัพ และการผลิตโดยอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ๗.๓ พัฒนามาตรฐานการรับรองผลงานวิจัย และการรั บ รองมาตรฐานยุ ท โธปกรณ์ ให้ ม ี ค วามทั น สมั ย และเป็ น สากลมากยิ ่ ง ขึ ้ น รวมทั ้ ง ให้ ม ี ค วามสอดคล้ อ งกั บ การรับรองมาตรฐานกลาโหมเพือ่ การน�ายุทโธปกรณ์ทผ่ ี า่ นมาตรฐาน ไปผลิตต่อยอดในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศได้ต่อไป


นโยบายทั่วไป เจตนารมณ์ ๘. ด้านการงบประมาณ การเงิน และการตรวจสอบภายใน

๘.๑ หน่วยขึ้น ตรงกองทัพอากาศเตรียมความพร้ อ มของงบประมาณล่ ว งหน้ า ๒ ปี โดยเตรี ย มการ จัดท�าค�าของบประมาณปี ๖๔ ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ ๖๒ ๘.๒ หน่วยขึ้น ตรงกองทัพอากาศบริหารงบประมาณให้ เ ป็ น ไปตามมาตรการด้ า นการเงิ น การคลั ง ของรัฐบาล และเบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ตามเป้าหมายทีร่ ฐั บาลก�าหนด รวมทัง้ เตรียมความพร้อมงานจัดซือ้ จัดจ้าง ช่วงทศวรรษที่ ผ ่ านมา กองทั พ อากาศด� าเนิ นการพั ฒนาตามทิ ศ ทาง ปี ๖๓ ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๖๒ ยุทธศาสตร์เาพืนงบประมาณของกองทั อ่ มุง่ สูว่ สิ ยั ทัศน์ “กองทัพอากาศชั น้ น�าในภูมกภิ ารบู าค” และน� าแนวความคิ ๘.๓ พัฒนาระบบสารสนเทศด้ พอากาศ และมี รณาการข้ อมูลร่วมกัด บ การปฏิ บัติการที่ใช้เครือข่ายเป็ ลาง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกองทั พอากาศโดยเฉพาะงานจั ดซืน้อจัศูดนจ้ย์ากงได้ อย่(Network างมีประสิทธิCentric ภาพ Operations) มาประยุ ต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ กอปรกั บกองทั พอากาศ ๘.๔ ตรวจสอบภายในให้ เป็นกไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน และจริ ยธรรมการปฏิ บตั งิ านตรวจสอบ ตระหนักถึงความส�าคัญของการพั ฒนาทุ มิติอย่างสมดุ ลภายใต้การบริพหอากาศ ารจัดการ ภายในของส่วนราชการ ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการเพิ ่มประสิ ทธิภกาพของหน่ วยงานภายในกองทั ทรั พ ยากรที่ มี อ ยูา่ องานและระบบสารสนเทศด้ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ความคุ ้ มาค่นงบประมาณ การเงิ า สู ง สุ ด การพั ฒ นาดั ง กล่ าญว ชี ๘.๕ พัฒนาก�าลังพล กระบวนการท� น การบั แสดงให้ เห็นผลส�าทเร็ันจสมั อย่ยา มี งเป็ปนระสิ รูปทธรรมของการเพิ ยภาพและขี และการตรวจสอบภายในของกองทั พอากาศ ให้ ธิภาพสอดคล้อ่มงกัศับกแผนพั ฒนารัดฐความสามารถ บาลดิจิทัล ของกองทัสพารสนเทศด้ อากาศอย่างมี นัยส�าคันญ การบั ทั้งในด้ญาชีนยุ ของกองทั ทโธปกรณ์พ กระบวนการปฏิ ๘.๖ พัฒนาระบบเทคโนโลยี านการเงิ อากาศให้มีประสิบัตทิงธิาน ภาพ และสมรรถนะของก� าลังพล ซึ่งเป็นสิ่งยืนยันถึงพลังความร่วมมือและความตั้งใจ เพือ่ เพิ่มขีดความสามารถในการเบิ กจ่ายเงินงบประมาณ ของก�าลังพลกองทั พอากาศทุ ๘.๗ พัฒนาบุคลากรและการท� างาน ด้ านการเงิกนคนและการบัญชีของกองทัพอากาศ ให้ก้าวสู่องค์กร งภาครั ปี พ.ศ.๒๕๖๒ กองทั พอากาศ “มุ่งมั่น” ที่จะพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน ทีม่ คี วามเป็นเลิศด้านการเงิน การคลั ฐ โดยสานงานเดิมอย่างต่อเนื่อง เสริมความเข้มแข็งในมิติทางอากาศเพื่อรองรับ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบ และสร้างพืน้ ฐานการพัฒนาทัง้ ในมิตทิ างไซเบอร์และมิตทิ าง อวกาศอย่างเป็นระบบ ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้ ก�าลั ง พลด� ารงอยู ่ ในระเบี ย บวิ นัย อย่างเคร่งครัด ควบคูก่ บั การดูแลสวัสดิการของก�าลังพลและครอบครัวอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความ “มั่นคง” ในการเป็นทหารอาชีพอย่างภาคภูมิและสมเกียรติ รวมทั้งปลูกฝังให้ก�าลังพลมีจิตอาสาตั้งมั่นในการท�าความดี ทั้งนี้ก็เพื่อให้ประชาชน “มั่นใจ” ว่ากองทัพอากาศมีความพร้อมในการป้องกันราชอาณาจักร สนับสนุน การแก้ไขปัญหาส�าคัญของชาติ และอยู่เคียงข้างประชาชนสืบไป

พลอากาศเอก ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผู้บัญชาการทหารอากาศ


นโยบายทั่วไป ๙. ด้านสวัสดิการ

๙.๑ พัฒนาระบบสวั ส ดิ ก ารที ่ พ ั ก อาศั ย ของก� า ลั ง พล และครอบครัวให้มีความเป็นอยู่ที่ดีและเพียงพอต่อความต้องการ ตลอดจนจัดสรรทีด่ นิ พร้อมสาธารณูปโภคทีเ่ หมาะสม เพือ่ ให้กา� ลังพล และครอบครัวสามารถมีที่ดิน ที่พักอาศัยเป็นของตนเอง ๙.๒ บูรณาการระบบการจัดสวัสดิการภายในกองทัพอากาศ กั บ หน่ ว ยงานภายนอก เพื ่ อ ให้ ก � า ลั ง พลและครอบครั ว ได้ ร ั บ การสวัสดิการที่ดียิ่งขึ้น ๙.๓ เสริมสร้างความมั่นคงในการด�ารงชีวิตของก�าลังพล และครอบครัวตามแนวทางศาสตร์พระราชา เพื่อให้มีความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้น พออยู่พอกิน มุ่งไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน


เจตนารมณ์ นโยบายทั่วไป ๑๐. ด้านนิรภัย

๑๐.๑ เสริมสร้างก�าลังพลให้มีจิตส�านึกและพฤติกรรม ความปลอดภัย เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยของกองทัพ อากาศ (Safety Culture) ๑๐.๒ พัฒนามาตรฐานด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติ บ ั ต ิ งช่านให้ วงทศวรรษที ่ ผ ่ านมา กองทั พ อากาศด� าเนิ นการพั ฒนาตามทิ ศ ทาง งานให้ ท ั น สมั ย และก� า กั บ ดู แ ลการปฏิ เ ป็ น ไปตาม ยุทธศาสตร์เพือ่ มุง่ สูว่ สิ ยั ทัศน์ “กองทัพอากาศชัน้ น�าในภูมภิ าค” และน�าแนวความคิด มาตรฐานที่ก�าหนด การปฏิบัติการทีส่ใารสนเทศ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations) ๑๐.๓ ส่งเสริ ม การใช้ ร ะบบเทคโนโลยี มาประยุ กต์ดใการความเสี ช้ในการปฏิบ่ยัตง ิภารกิจของกองทัพอากาศ กอปรกับกองทัพอากาศ เครือข่ ายด้ านความปลอดภัย และหลั ก การจั ตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาทุกมิติอย่างสมดุลภายใต้การบริหารจัดการ ในการด�าเนินงานด้านนิรภัย ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ความคุ ้ ม ค่ า สู ง สุ ด การพั ฒ นาดั ง กล่ า ว แสดงให้เห็นผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ของกองทัพอากาศอย่างมีนัยส�าคัญทั้งในด้านยุทโธปกรณ์ กระบวนการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของก�าลังพล ซึ่งเป็นสิ่งยืนยันถึงพลังความร่วมมือและความตั้งใจ ของก�าลังพลกองทัพอากาศทุกคน ปี พ.ศ.๒๕๖๒ กองทัพอากาศ “มุ่งมั่น” ที่จะพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน โดยสานงานเดิมอย่างต่อเนื่อง เสริมความเข้มแข็งในมิติทางอากาศเพื่อรองรับ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบ และสร้างพืน้ ฐานการพัฒนาทัง้ ในมิตทิ างไซเบอร์และมิตทิ าง อวกาศอย่างเป็นระบบ ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้ ก�าลั ง พลด� ารงอยู ่ ในระเบี ย บวิ นัย อย่างเคร่งครัด ควบคูก่ บั การดูแลสวัสดิการของก�าลังพลและครอบครัวอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความ “มั่นคง” ในการเป็นทหารอาชีพอย่างภาคภูมิและสมเกียรติ รวมทั้งปลูกฝังให้ก�าลังพลมีจิตอาสาตั้งมั่นในการท�าความดี ทั้งนี้ก็เพื่อให้ประชาชน “มั่นใจ” ว่ากองทัพอากาศมีความพร้อมในการป้องกันราชอาณาจักร สนับสนุน การแก้ไขปัญหาส�าคัญของชาติ และอยู่เคียงข้างประชาชนสืบไป

พลอากาศเอก ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผู้บัญชาการทหารอากาศ


นโยบายทั่วไป ๑๑. ด้านการติดตามและประเมินผล

๑๑.๑ ด�าเนินการเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน ด้วยความ ยุ ต ิ ธ รรม เป็ น มาตรฐาน สอดคล้ อ งตามกฎหมายระเบี ย บ ค�าสั่ง และแบบธรรมเนียมของทางราชการ โดยให้ความส�าคัญ กั บการเปิ ด โอกาสให้ ประชาชนมี ส ่ ว นร่ ว มในการเสนอเรื ่ อ ง ร้องเรียน แสดงความคิดเห็น แจ้งเหตุ แจ้งเบาะแสผ่านระบบ เครือข่ายสารสนเทศ ๑๑.๒ ตรวจประเมิ น ความสมควรเดิ น อากาศ ด้านการปฏิบัติการบิน ตลอดจนด้านการส่งก�าลังและซ่อมบ�ารุง ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล


นโยบายเฉพาะ เจตนารมณ์

ช่วงทศวรรษที่ ผ ่ านมา กองทั พ อากาศด� าเนิ นการพั ฒนาตามทิ ศ ทาง ยุทธศาสตร์เพือ่ มุง่ สูว่ สิ ยั ทัศน์ “กองทัพอากาศชัน้ น�าในภูมภิ าค” และน�าแนวความคิด การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations) มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศ กอปรกับกองทัพอากาศ ตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาทุกมิติอย่างสมดุลภายใต้การบริหารจัดการ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ความคุ ้ ม ค่ า สู ง สุ ด การพั ฒ นาดั ง กล่ า ว แสดงให้เห็นผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรมของการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ของกองทัพอากาศอย่างมีนัยส�าคัญทั้งในด้านยุทโธปกรณ์ กระบวนการปฏิบัติงาน และสมรรถนะของก�าลังพล ซึ่งเป็นสิ่งยืนยันถึงพลังความร่วมมือและความตั้งใจ ของก�าลังพลกองทัพอากาศทุกคน ปี พ.ศ.๒๕๖๒ กองทัพอากาศ “มุ่งมั่น” ที่จะพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน โดยสานงานเดิมอย่างต่อเนื่อง เสริมความเข้มแข็งในมิติทางอากาศเพื่อรองรับ กับภัยคุกคามทุกรูปแบบ และสร้างพืน้ ฐานการพัฒนาทัง้ ในมิตทิ างไซเบอร์และมิตทิ าง อวกาศอย่างเป็นระบบ ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้ ก�าลั ง พลด� ารงอยู ่ ในระเบี ย บวิ นัย อย่างเคร่งครัด ควบคูก่ บั การดูแลสวัสดิการของก�าลังพลและครอบครัวอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความ “มั่นคง” ในการเป็นทหารอาชีพอย่างภาคภูมิและสมเกียรติ รวมทั้งปลูกฝังให้ก�าลังพลมีจิตอาสาตั้งมั่นในการท�าความดี ทั้งนี้ก็เพื่อให้ประชาชน “มั่นใจ” ว่ากองทัพอากาศมีความพร้อมในการป้องกันราชอาณาจักร สนับสนุน การแก้ไขปัญหาส�าคัญของชาติ และอยู่เคียงข้างประชาชนสืบไป ๑. พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลของระบบบัญชาการและควบคุม โดยสนธิข้อมูลจากระบบการตรวจจับ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนการตัดสินตกลงใจของผู้บังคับบัญชา พลอากาศเอก ชั ยพฤกษ์ ดิษยะศริ ๒. บูรณาการข้อมูลจากระบบตรวจจั บและฐานข้ อ มูลข่าวกรอง เพื ่อน�ามาผลิ ตข่าวกรองภู มิสนารสนเทศ องการของผู ผู แบบรวมการให้มีความถูกต้องและรวดเร็ ว ทันต่อความต้ ้ใช้งาน ้บัญชาการทหารอากาศ ๓. พิจารณาแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรห้วงอากาศ โดยบูรณาการกับทุกภาคส่วนเพื่อให้การใช้ ประโยชน์ห้วงอากาศเกิดความคุ้มค่าสูงสุด ๔. ปรับปรุงการป้องกันและรักษาความปลอดภัยฐานบินให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาวะแวดล้ อม ด้านความมั่นคงในปัจจุบัน ๕. พัฒนาขีดความสามารถและความพร้อมในการเผชิญเหตุวิกฤต และเข้าช่วยเหลือประชาชนเมื่อเกิด ภัยพิบตั ิ ได้อย่างรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ โดยระดมทรัพยากรของกองทัพอากาศบูรณาการกับทุกภาคส่วนอย่างเป็นระบบ ๖. ทบทวนและตรวจสอบการใช้ประโยชน์เครือข่ายการสื่อสารกองทัพอากาศ โดยค�านึงถึงประสิทธิภาพ ความปลอดภัย ความเชื่อถือได้และความคุ้มค่า เพื่อลดการลงทุนที่ซ�้าซ้อน


นโยบายเฉพาะ ๗. ประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการส่งก�าลังและซ่อมบ�ารุงของกองทัพอากาศและบูรณาการ เชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ให้สามารถแสดงผล เพื่อประกอบการตัดสินใจในการส่งก�าลังบ�ารุงให้เกิดความต่อเนื่องใน การปฏิบัติภารกิจ ๘. ก�าหนดแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างทั้งในส่วนของก�าลังทางอากาศ ไซเบอร์ และอวกาศ เพื่อรองรับการพัฒนาตามทิศทางยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) โดยค�านึงถึงการน�า เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาชดเชยก�าลังพลที่ลดลง ๙. เตรียมความพร้อมก�าลังพลและโครงสร้างพืน้ ฐานเพือ่ รองรับการวางรากฐานการปฏิบตั ภิ ารกิจด้านอวกาศ ในระยะยาว ตลอดจนเร่งเตรียมการทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ รองรับการส่งดาวเทียม Nano Satellite ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ๑๐. พัฒนาและสนับสนุนการด�าเนินการเกี่ยวกับอุปกรณ์ ห้องทดลอง การตรวจทดสอบต่าง ๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในตรวจทดสอบอาวุธยุทโธปกรณ์ ตลอดจนใช้สนับสนุนการด�าเนินการตรวจทดสอบต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ๑๑. บ�ารุงขวัญและก�าลังใจก�าลังพลซึ่งเป็นกลไกขับเคลื่อนกองทัพอากาศไปสู่ความยั่งยืน โดยส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา สุขภาพ โภชนาการ กีฬา และนันทนาการให้ก�าลังพลกองทัพอากาศและครอบครัว อย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความมั่นคงในการเป็นทหารอาชีพอย่างภาคภูมิและสมเกียรติ




ข่าวทหารอากาศ

ปราชญ์ใหญ่กบั คีตวรรณกรรม วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน เป็นวันส�ำคัญของไทยวันหนึ่ง คือ เป็นวันสดุดีพระมหาธีรราชเจ้า พระผูเ้ ป็นนักปราชญ์ผยู้ งิ่ ใหญ่ ซึง่ ก็คอื พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ชาวกองทัพอากาศต่างทราบว่า พระองค์มสี ว่ นส�ำคัญในการให้กำ� เนิดกองทัพอากาศ และด้วย พระอัจฉริยภาพด้านอักษรศาสตร์ของพระองค์อีกด้านหนึ่ง โดยเห็นได้จากพระราชนิพนธ์นับร้อยเรื่องของพระองค์ซึ่ง ทรงใช้พระนามแฝงหลายพระนามจึงท�ำให้นกั ปราชญ์ราชบัณฑิต เช่น พระยาอนุมานราชธน พระวรเวทย์พสิ ฐิ พระสารประเสริฐ พระยาสุนทรพิพิธ น.ท.ชอบ บุญโญปถัมภ์ ร.น. เป็นต้น ร่วมประชุมเพือ่ ขนานพระนามของพระองค์ และพระสารประเสริฐ (พระสารประเสริฐนี้คือผู้ใช้นามปากกาว่า นาคะประทีป) ได้เสนอ พระนามสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า ซึ่งผู้เข้าร่วมประชุมมีมติเห็นชอบด้วย ขอยกตัวอย่างพระนามแฝงของพระองค์ เช่น นายแก้วนายขวัญ ทรงใช้เกี่ยวกับ เรื่องนักสืบและบันเทิงคดี พันแหลม ทรงใช้เกี่ยวกับ เรื่องทหารเรือและกฎหมาย รามจิตติ ทรงใช้เกี่ยวกับ เรื่องหลักวิชา เรื่องแปลจากต่างประเทศ และเรื่องรัฐประศาสโนบาย ศรีอยุธยา ทรงใช้เกี่ยวกับ บทละครและกวีนิพนธ์ อัศวพาหุ ทรงใช้เกี่ยวกับ เรื่องการเมืองและการต่างประเทศ พระขรรค์เพชร, นายแก้ว ณ อยุธยา, ท่านราม ณ กรุงเทพ และน้อยลา ทรงใช้เกี่ยวกับบทร้อยกรองต่าง ๆ พระราชนิพนธ์ของพระองค์ มีทงั้ ร้อยแก้วและร้อยกรอง ล้วนแล้วแต่มคี วามไพเราะ บางบทก็มผี นู้ ำ� ไปเป็นคีตวรรณกรรม คือน�ำบทพระราชนิพนธ์ไปร้องเป็นเพลง เช่น บทปลุกใจสยามานุสสติ ที่ว่า หากสยามยังอยู่ยั้ง ยืนยง เราก็เหมือนอยู่คง ชีพด้วย หากสยามพินาศลง ไทยอยู่ ได้ฤๅ เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสิ้นสกุลไทย (ราม ร.๖)

31


32

โคลงภาษิตนักรบโบราณ ซึ่งพระองค์ทรงแปลจากภาษาฝรั่งเศสอันไพเราะบทนี้ มะโนมอบพระผู้ เสวยสวรรค์ แขนมอบถวายทรงธรรม์ เทอดหล้า ดวงใจมอบเมียขวัญ และแม่ เกียรติศักดิ์รักของข้า มอบไว้แก่ตัว (ราม ร.๖) Mon âme au Dieu Mon bras au roi Mon coeur aux dames L’honneur à moi บทชวนรักชาติ เป็นบทขับร้องที่ทรงแปลจากภาษาอังกฤษ Love of Race and Fatherland ก็เคยร้องเคยฟังกัน ชาติใดไร้รักสมัครสมาน จะท�ำการสิ่งใดก็ไร้ผล แม้ชาติย่อยยับอับจน บุคคลจะสุขอยู่อย่างไร So that all should’ be prepared With a nation that is without Love and Unity No work undertaken could bear and fruit And if the nation is disintegrated and ruined How may the individuals there of hope for happiness บทความสามัคคีจาก บทละครเรื่อง พระร่วง ซึ่งเป็นที่นิยมกัน ดังนี้ ไทยรวมก�ำลังตั้งมั่น จะสามารถป้องกันขันแข็ง ถึงแม้ว่าศัตรูผู้มีแรง มายุทธแย้งก็จะปลาตไป ขอแต่เพียงไทยเราอย่าผลาญญาติ ร่วมชาติร่วมจิตเปนข้อใหญ่ ไทยอย่ามุ่งร้ายท�ำลายไทย จงพร้อมใจพร้อมก�ำลังระวังเมือง ให้นานาภาษาเขานิยม ชมเกียรติยศฟูเฟื่อง ช่วยกันบ�ำรุงความรุ่งเรือง ให้ชื่อไทยกระเดื่องทั่วโลกา ช่วยกันเต็มใจใฝ่ผดุง บ�ำรุงทั้งชาติศาสนา ให้อยู่จนสิ้นดินฟ้า วัฒนาเถิดไทย ไชโย หมายเหตุ ตัวสะกดการันต์เป็นไปตามต้นฉบับเดิม

เรื่องเวนิชวานิช มีบทพระราชนิพนธ์คีตวรรณกรรม เช่น อันความกรุณาปราณี จะมีใครบังคับก็หาไม่ หลั่งมาเองเหมือนฝนอันชื่นใจ จากฟากฟ้าสุราลัยสู่แดนดิน


ข่าวทหารอากาศ

อีกบทหนึ่งซึ่งมิตรรักนักเพลงชอบกันมาก คือบทที่ขึ้นต้นว่า ชนใดไม่มีดนตรีการ ในสันดานเป็นคนชอบกลนัก อีกใครฟังดนตรีไม่เห็นเพราะ เขานั้นเหมาะคิดขบทอัปลักษณ์ ส่วนบทนี้ เป็นเพลงไพเราะแสนหวาน ประทับใจผู้ฟัง คือเพลง ความรัก ความว่า ความเอยความรัก เริ่มสมัครชั้นต้น ณ หนไหน เริ่มเพาะเหมาะกลางหว่างหัวใจ หรือเริ่มในสมองตรองจงดี แรกจะเกิดเปนไฉนใครรู้บ้าง อย่าอ�ำพรางตอบส�ำนวนให้ควรที่ ใครถนอมกล่อมเกลี้ยงเลี้ยงรตี ผู้ใดมีค�ำตอบขอบใจเอย หมายเหตุ ตัวสะกดการันต์เป็นไปตามต้นฉบับเดิม บทละครเรื่องวิวาห์พระสมุทร เป็นเรื่องสุดท้ายที่จะกล่าวถึงในวันนี้ มีบทเพลงถึง ๕๗ บทเพลง ที่ คุ้นหูกันมาก คือ เมื่อแก่เฒ่าหมายเจ้าช่วยรับใช้ เมื่อยามไข้หมายเจ้าช่วยรักษา เมื่อยามถึงวันตายวายชีวา หวังลูกช่วยปิดตาเมื่อสิ้นใจ นอกจากนี้ ก็มบี ทเพลงทีน่ ำ� มาร้องเป็นเพลงไทยเดิมและแปลงเป็นเพลงสากลด้วย เช่น ท�ำนองเพลง คลื่นกระทบฝั่ง ความตอนหนึ่งดังนี้ ถึงกลางวันสุริยันแจ่มประจักษ์ ไม่เห็นหน้านงลักษณ์ยิ่งมืดใหญ่ ถึงราตรีมีจันทร์อันอ�ำไพ ไม่เห็นโฉมประโลมใจยิ่งมืดมน ท�ำนองเพลง บังใบ ความตอนหนึ่งว่า ได้ยินค�ำส�ำเนียงเสนาะ เหมือนได้ยินเสียงหงษ์ทองที่ท้องฟ้า

แสนไพเราะรสรักเป็นหนักหนา กล่อมสุนทรวอนว่าน่ายินดี

ท�ำนองเพลง โยสลัม ความตอนหนึ่งว่า ปากเป็นเอกเลขเป็นโทโบราณว่า ถึงรู้มากไม่มีปาก ล�ำบากกาย ถึงเป็นครูรู้วิชา ปัญญามาก เหมือนเต่าฝังนั่งซื่อ ฮื้อร�ำคาญ

หนังสือตรี มีปัญญาไม่เสียหลาย มีอุบายพูดไม่เป็น เห็นป่วยการ ไม่รู้จักใช้ปากให้จัดจ้าน วิชาชาญมากเปล่า ไม่เข้าที

ท�ำนองเพลง ปี่แก้วน้อย ความตอนหนึ่งว่า โฉมเฉลาเยาวพาอย่าเฉลียว พี่เคยเที่ยวเจนจิตทุกทิศา ไม่เคยเห็นนารีที่ต้องตา จนพบแก้วกัลยาที่สร้านรัก

33


34

ท�ำนองเพลง แขกหนัง ความตอนหนึ่งว่า ผู้ใดมีอ�ำนาจวาสนา ก�ำหมัดคือยุติธรรมจงจ�ำไว้

ธรรมดาหาอะไรก็หาได้ ใครหมัดใหญ่ได้เปรียบเรียบเทียวเกลอ

ท�ำนองเพลง แขกสาหร่าย ความตอนหนึ่งว่า ถ้าแม้นพี่เลือกได้ตามใจพี่ จะไปพ้นที่นี้ก็หาไม่ จะยืนชมขวัญตาผู้ยาใจ กว่าจะได้สวมกอดแม่ยอดรัก ท�ำนองเพลง สามเส้า ความตอนหนึ่งว่า เป็นผู้หญิงแท้จริงแสนล�ำบาก หญิงต้องเจียมกายามาแต่เยาว์

เป็นผู้ชายยิ่งยากกว่าหลายเท่า ชายต้องเฝ้าวิงวอนให้หล่อนรัก

จะเห็นได้ว่า พระราชนิพนธ์ของพระองค์มีความไพเราะลึกซึ้ง ชวนให้ติดตามฟังและติดตามอ่าน แต่ละบทจะแฝงไว้ด้วยสัจธรรมและความไพเราะ จึงเป็นคีตวรรณกรรมที่น่าเพลิดเพลินยิ่ง และสังเกตได้ว่า พระองค์จะสอดแทรกคติธรรมต่าง ๆ เช่น ความกล้าหาญ ความรักสามัคคี ไว้ในบทพระราชนิพนธ์เสมอ พร้อมทั้งชี้แนะให้เห็นความส�ำคัญของภาษาไทยด้วย เช่น บทพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วที่ว่า ภาษาเป็น เครื่องผูกพันมนุษย์และไม่มีสิ่งใดที่ท�ำให้คนรูส้ ึกว่าเป็นพวกเดียวกันเท่ากับพูดภาษาเดียวกัน พระราชนิพนธ์คีตวรรณกรรมจึงเป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้ทรงเป็นปราชญ์ใหญ่ ดังพระสมัญญาภิไธย มหาธีรราชเจ้าอย่างแท้จริง


ข่าวทหารอากาศ

Crossword ประจ�ำเดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๑ อ.วารุณี

Crossword 1

2

3

4

5

6

7

10 12

13

14 16

19

20

21

24

25

28

29

23 26

27 30

36

34 37

39

40

44

41

42

45 48

46

49

51

50 52

53

54 55

18

33

38

47

17 22

32 35

43

9

11

15

31

8

56

57

35


36

1. A person who uses computers to gain unauthorized access to data. 4. ought to, had better 10. Some students are studying but _____ students are talking. 11. _____ is a spoken examination. 12. April is a month _____ a year. 14. _____ is a body organ used to listen some sound. 15. In Japan the weather is _____ but in our country it can be only cool. 17. An important official at a college or university. 19. Mr. Tim and his wife _____ or love to have Thai dishes. 20. _____ is an act of testing somebody or something. 23. The last 5 years there were many mobs at Silom _____ (an abbreviation) 24. You must not drink while driving _____ you will be fined. 25. If you want a can of coke, you should insert a coin into a _____ machine near here. 27. _____ is money you pay for professional advice or services. 28. A : _____, how have you been ? B : I am fine. 29. Slay, slain, _____ 31. Is there anything _____ that you would like me to help you ? 33. Now, she _____ a bottle of pure water, she is very thirsty. 35. The same as No. 14 Across. 36. Pranudda is very beautiful, _____ eyes are rather big. 37. My niece is going to continue the higher education that is higher than master degree, it is _____ (abbreviation) 39. Thanong stopped driving a car then he rides a bus to work in order to set aside _____ salary for the kids. 41. To _____ means to change, to become different. 43. Good, better, _____ 45. Many, _____, most 46. _____ miss a point means “don’t understand” 47. _____ means the most important male character in a book, play, movie etc. 49. Neither Samarn _____ Siri is a policeman. 51. _____ is a period of time in history (that is special for some reason) 52. _____ is dangerous to drive very fast. 53. We believe that “The sun shines during a day but at night the _____ does”, it is incorrect both of them do at the same time. 54. _____ your hands before having meals, that is the best way for your health. 55. _____, got, gotten 56. _____ contact is very important acting for a teaching career. 57. _____ is an area where skips, boats and unload goods and passengers.

1. The _____ of this newspaper is very interesting, let me take a look at it, please. 2. Opposite of “counterclockwise” 3. _____ is a trip made in a car over a long distance. 4. Look at her, _____ is an actress of Korea. 5. The person who accompanied her is her boyfriend, _____ is also actor. 6. The same as No. 24 Across 7. In some countries “ _____ “ refers to God, Christ. 8. The same as No. 37 Across 9. All most of Miss Thailand must be _____ ; their parts of bodies are attractive. 13. _____ means an enemy. 16. Autumn or _____ is her favorite season. 18. Is, am, _____ etc. 21. Do you have last _____ or copy of Air force magazine ? 22. _____ is money, etc. That someone lends you. 24. _____, I am glad that you enjoy Songkran Festival. 26. To _____ means to fasten. 30. _____ means the ability to stay calm and not get worried. 32. A day for celebrating that christ returned to be alive. 34. what type or _____ of dressing for salad do you like ? 36. “He” is subject, “_____” is an object. 38. I, _____, you, they 40. Opposite of “south” 42. Opposite of “old” 43. _____, brought, brought 44. A piece of paper 45. Slightly wet, damp 48. _____ is a measurement of one amount or of how fast or how often something is happening. 50. A number comes before five 54. The same as No. 38 Down

(เฉลยหน้า ๙๙)


ข่าวทหารอากาศ

ICT: เส้นทางสูก่ ารพัฒนากองทัพอากาศสหรัฐฯ (USAF’s Development is rely on ICT)

น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์

เมือ่ กล่าวถึงภัยคุกคามทีย่ งิ่ ใหญ่ของกองทัพ อากาศสหรัฐอเมริกา (ทอ.สหรัฐฯ) นัน้ ในมุมมองของ นายทหารระดับสูง ทอ.สหรัฐฯ ที่ได้กล่าวไว้ในการ ประชุม AFA’s 2017 Air, Space and Cyber Conference ณ รัฐแมรี่แลนด์ เมื่อปีที่ผ่านมา จัดขึ้น เป็นประจ�ำ เพื่อน�ำผลจากการประชุมฯ มาเป็น เส้นทางสู่การพัฒนาของ ทอ.สหรัฐฯ โดยสมาคม กองทัพอากาศสหรัฐฯ (Air Force Association : AFA) ซึ่งภัยคุกคามที่ยิ่งใหญ่ที่ ทอ.สหรัฐฯ ก�ำลังจะ เผชิญในอนาคตอันใกล้นี้ก็คือ แนวคิดในเรื่องของ ความเร็ว (A Concept : Speed) พล.อ.อ. John E. Hyten ผู้บัญชาการทาง ยุทธศาสตร์สหรัฐฯ และ พล.อ.อ. David L. Goldfein ผู้บัญชาการทหารอากาศสหรัฐฯ เห็นพ้องต้องกันว่า ทอ.สหรัฐฯ นั้น ต้องการความเร็วที่เพิ่มขึ้นในด้าน ต่าง ๆ เช่น ด้านการตัดสินใจในสนามรบ ด้านการ ด�ำเนินงานในอวกาศ และในด้านการด�ำเนินงานบน โลกไซเบอร์ ด้วยการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (Information and Communication

Technology : ICT) มาใช้ ถือเป็นแนวคิดที่มี ความส�ำคัญและถูกก�ำหนดไว้ส�ำหรับการท�ำสงคราม ในอนาคต ปัจจุบันความต้องการดังกล่าวนั้นก�ำลัง ถูกด�ำเนินงานโดยฝ่ายตรงกันข้ามทัง้ ในส่วน Air Space และ Cyber ซึ่ ง ได้ พัฒนาให้เร็วกว่า ทอ.สหรัฐฯ แล้วในบางส่วนอนึง่ สงครามในอนาคตจะก�ำหนดด้วย ความเร็วในการตัดสินใจความได้เปรียบจะขึ้นอยู่กับ ข้อมูลนั้น ถูกเก็บรวบรวม (Collect) เผยแพร่ (Disseminate) และถูกใช้ประโยชน์ (Exploit) ได้เร็วกว่าฝ่ายตรงกันข้ามมากขนาดไหน โดยบทความ ในฉบับมีมุมมองและรายละเอียดที่น่าสนใจดังนี้

37


38

An F-35, an F-15C, and an F-22 on the ramp at Gwangju AB, Sounth Korea, during exercise Vigilant Ace-18. Including both fourth and fifth generation aircraft in exercises enhances interoperability.

Air (ทางอากาศ)

แนวคิดในเรื่องของความเร็ว ถูกก�ำหนดไว้ ในการใช้ก�ำลังทางอากาศในอนาคต ของ ทอ.สหรัฐฯ (USAF’s Air Superiority 2030) ซึ่งในยุคของข้อมูล ความได้เปรียบในการปฏิบัติการนั้น จะขึ้นอยู่กับ การตัดสินใจในการใช้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง ได้รวดเร็วทันตาม ความต้องการในทุกสถานการณ์ โดย F-22 และ F-35 จัดเป็นเครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้า (5th Generation Fighter) ถือเป็นก�ำลังทางอากาศที่สามารถรองรับ ข้อมูลทางยุทธวิธีในปริมาณที่มาก ด้วย ทอ.สหรัฐฯ นั้นตระหนักดีว่า การครองความเหนือชัน้ ของการใช้ ก�ำลังทางอากาศ (Air Superiority) มาจากการเชือ่ มโยง ข้อมูลทางยุทธวิธี (Data Link) ระหว่างเครื่องบินขับ ไล่ซึ่งการน�ำ ICT มาใช้นั้น จะท�ำให้ระบบเชื่อมโยง ข้อมูลทางยุทธวิธี สามารถที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูล เป้าหมายของเครือ่ งบินฯ ฝ่ายตรงกันข้ามระหว่างกัน ได้อย่างรวดเร็วและทันตามความต้องการในทุก สถานการณ์ ด้วยความเร็วที่เหนือกว่าท�ำให้สามารถ เอาชนะฝ่ายตรงกันข้ามได้ เหตุนี้จึงกลายเป็นที่มา ในความต้องการทางอากาศ (Air) ของ พล.อ.อ. David L.Goldfein ผู้บัญชาการทหารอากาศสหรัฐฯ ที่จะ ท�ำให้ F-22 และ F-35 มีความสามารถในการ แลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธีระหว่างกัน รวมทั้งกับ เครื่องบินขับไล่ยุคที่สี่ (4th Generation Fighter)

ซึง่ ทอ.สหรัฐฯ มีนโยบายจะใช้อย่างต่อเนือ่ งในอนาคต เช่น F-15Cs และ F-16Cs ข้อมูลจาก U.S. Air Force Magazine ฉบับเดือนมีนาคม 2018 บทความ “5th Generation Comms” เขียนโดย Brian W. Everstine ได้น�ำเสนอหลายหนทางในการเชื่อมโยง ข้อมูลทางยุทธวิธรี ะหว่างเครือ่ งบินขับไล่ ท�ำให้นกั บิน สามารถติดต่อสือ่ สาร (Voice) และแลกเปลีย่ นข้อมูล (Data) ระหว่างกัน เพื่อสร้างความได้เปรียบในการ ปฏิบัติการร่วมกันทางอากาศ (Interoperability) ทันตามความต้องการซึ่งในมุมมองทางเทคนิค F-35 ใช้ระบบเชื่อมข้อมูลทางยุทธวิธีส�ำหรับเครื่องบิน ขับไล่ยคุ ทีห่ า้ แบบ Multifunction Advanced Data Link (MADL) ที่มีความสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ทางยุทธวิธี (Voice และ Data) ได้กับเครื่องบินขับไล่ ยุ ค ที่ สี่ ที่ ใช้ ร ะบบฯ แบบ Link-16 ส่ ว น F-22 ถูกสร้างมาก่อน F-35 ประมาณ ๑๐ ปี ใช้ระบบเชือ่ มโยง ข้อมูลทางยุทธวิธีส�ำหรับเครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้า แบบ Inter/Intra-Flight Data Link (IFDL) มีบทบาท ทีส่ ำ� คัญในปฏิบตั กิ าร Operation Inherent Resolve ช่วงพฤศจิกายนปี ค.ศ.๒๐๑๗ แต่มีข้อจ�ำกัดในการ แลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธกี บั F-35 และเครือ่ งบิน ขับไล่ยุคที่สี่เห็นควรเปลี่ยนมาใช้ MADL แทน IFDL ที่จะท�ำให้ F-22 มีความสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล ทางยุทธวิธีได้กับ F-35 และเครื่องบินขับไล่ยุคที่สี่ (F-15Cs และ F-16Cs) ซึ่ ง ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า ว


ข่าวทหารอากาศ

ได้เคยถูกน�ำเสนอต่อ ทอ.สหรัฐฯ แล้ว ในช่วงปี ค.ศ.๒๐๑๓ ในเทคนิคผลที่ได้จะตอบสนองแนวคิด ในเรื่องของความเร็วของการใช้ก�ำลังทางอากาศ ในอนาคต (USAF’s Air Superiority 2030)

Space (ในอวกาศ)

ทอ.สหรัฐฯ นัน้ ตระหนักดีถงึ ความได้เปรียบ ในการครอบครองห้วงอวกาศ (Space Dominance) มาตั้ ง แต่ ป ี ค.ศ.๑๙๘๒ และในปี ค.ศ.๒๐๐๗ สิง่ ต่าง ๆ ที่ ทอ.สหรัฐฯ เคยครอบครองในห้วงอวกาศนัน้ ได้เปลี่ยนไปอย่างถาวร เมื่อจีนสามารถพัฒนาอาวุธ ที่ท�ำลายดาวเทียมได้ในห้วงอวกาศ (Anti–Satellite Weapon) และได้โชว์ความส�ำเร็จให้เห็นด้วยการ ยิงอาวุธขึน้ ไปท�ำลายดาวเทียมตรวจอากาศของตัวเอง ผลที่ตามมาจนถึง ปัจจุบันนี้ ก่อให้เกิดภัยคุกคาม ต่ออุปกรณ์ทางทหารทีอ่ ยูใ่ นห้วงอวกาศของ ทอ.สหรัฐฯ (Space Asset) อาทิ ดาวเทียมทหาร รวมทัง้ อันตราย จากการชนกันของดาวเทียมกับขยะอวกาศ (Space Debris) ทีเ่ ริม่ มีจำ� นวนทีม่ ากขึน้ ล่องลอยอยูใ่ นวงโคจร

ซึ่ ง แนวคิ ด ในเรื่ อ งของความเร็ ว ได้ ถู ก ก� ำ หนดไว้ ส�ำหรับการด�ำเนินงานในอวกาศของ ทอ.สหรัฐฯ โดย พล.อ.อ. John W. “Jay” Raymond หัวหน้า หน่วยบัญชาการยุทธทางอวกาศที่มองห้วงอวกาศ เป็นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการรบในยุคของข้อมูล และกล่าว ในทีป่ ระชุมฯ ว่า “หน่วยบัญชาการยุทธทางอวกาศ จะต้องปรับปรุงความสามารถในการระบุและการ ประเมินภัยคุกคามบนห้วงอวกาศ ทั้งนี้เพื่อให้ได้มา ซึ่งการหยั่งรู้สถานการณ์จริงในห้วงอวกาศ (Space Situational Awareness: SSA) ผลที่ได้จะท�ำให้ ทอ.สหรัฐฯ มีวงรอบ การตัดสินใจในการด�ำเนินงาน บนห้วงอวกาศทีเ่ ร็วกว่าฝ่ายตรงข้าม” ด้วยงบประมาณ จ�ำนวน ๕,๐๐๐ ล้านเหรียญสหรัฐฯ กับการน�ำ ICT ที่ ทั น สมั ย มาใช้ เ พื่ อ การพั ฒ นา SSA จะท� ำ ให้ ทอ.สหรั ฐ ฯ สามารถติ ด ตามการกระท� ำ ของ ฝ่ายตรงกันข้าม และติดตามขยะอวกาศได้ดีขึ้น ซึ่ ง ความส� ำ คั ญ ของ SSA ถื อ เป็ น หนึ่ ง ในสิ่ ง ที่ หน่วยบัญชาการยุทธทางอวกาศให้ความส�ำคัญสูงสุด ข้อมูลจาก U.S. Air Force Magazine ฉบับเดือน

The Joint Space Operations Content at Vanderberg AFB, Calif., detects, tracks, and identifies artificial objects in Earth orbit.

39


40

สิงหาคม ๒๕๖๐ บทความ “A Closer Watch on Space” เขียนโดย Wilson Brissett เห็นได้จาก ความจ�ำเป็นในการเร่งกระบวนการจัดซือ้ (Acquisition Process) สืบเนื่องจากความต้องการใน SSA ถือว่า เหมาะสมเนื่องจากในเวลาที่ผ่านมา ความเชี่ยวชาญ ด้านอวกาศของ ทอ.สหรัฐฯ นัน้ ไม่ได้ทนั กับภัยคุกคาม ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น ดังนั้น SSA จะ มาช่วยปรับปรุงวิธี ใหม่ ๆ ในการหาข่าวกรองบนห้วงอวกาศ ที่ส�ำคัญ รั ส เซี ย และจี น ได้ ท� ำ การทดสอบอาวุ ธ ต่ อ ต้ า น ดาวเทียม (Anti-Satellite Test) ที่ซับซ้อนซึ่งท�ำกัน อย่างต่อเนื่อง จึงมีความจ�ำเป็นในเรื่องของความเร็ว ส�ำหรับการด�ำเนินงานในห้วงอวกาศที่ ทอ.สหรัฐฯ จะต้ อ งสามารถระบุ แ ละติ ด ตามการกระท� ำ ของ ฝ่ายตรงกันข้ามได้อย่างถูกต้องตามความต้องการของ พล.อ.อ.John W. “Jay” Raymond ในมุมมอง คงได้เห็นความสามารถในการใช้ SSA ของ ทอ.สหรัฐฯ นัน้ จะเติบโตขึ้นอย่างมากในห้วงอวกาศ จากเดิมเพียง แจ้ ง เตื อ นอุ บั ติ เ หตุ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากขยะอวกาศ ในวงโคจร ไปสู่แจ้งเตือนและติดตามการกระท�ำของ

ฝ่ายตรงกันข้ามบนห้วงอวกาศ อันถือเป็นภารกิจหลัก ในอนาคตของบุคลากร ทอ.สหรัฐฯ ที่ปฏิบัติงานด้าน อวกาศ (Space Mission Force) ซึ่งจะมาแทน การแจ้งเตือนอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากขยะอวกาศ

Cyber (บนโลกไซเบอร์)

แนวคิดในเรื่องของความเร็ว ก็ถูกก�ำหนดไว้ใน การด�ำเนินงานบนโลกไซเบอร์ ของ ทอ.สหรัฐฯ โดย พล.อ.อ.David L.Goldfein ผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ สหรัฐฯ ได้กล่าวไว้ในการประชุมฯ ว่า “ต้องการให้ การด�ำเนินงานบนโลกไซเบอร์ มีการพัฒนาขีดความ สามารถในรูปแบบใหม่ ๆ ซึ่งจะต้องรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพมากกว่าในรูปแบบเดิมๆ ด้วยการน�ำ ICT ทีท่ นั สมัยมาใช้” ในช่วงปีทผี่ า่ นมา ข้อมูลจากเว็บไซต์ www.airforcemag.com บทความ “Meet USAF’s Most Widely Spread Cyber Weapon System” ทีไ่ ด้เขียนโดยคุณ Gideon Grudo คงจะเห็นได้จาก การประยุกต์ใช้ปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) บนโลกไซเบอร์ของ ทอ. สหรัฐฯ ด้วยความก้าวหน้า

Cyber protection experts at scott AFB, III., run through an excercise to valisate their abilities to locate, defend, and counter attacks.


ข่าวทหารอากาศ

ด้านการเรียนรูข้ องเครือ่ ง (Machine Learning : ML) อันเป็นสาขาหนึง่ ของ AI มีบทบาท ทีส่ ำ� คัญต่อระบบ อัตโนมัติ (Automation) ซึง่ มีความสามารถทีจ่ ะติดตาม และตอบสนองต่อปฏิกริ ยิ าหรือกิจกรรมใดทีน่ า่ สงสัยได้ อย่างต่อเนือ่ งและรวดเร็ว แทนทีก่ ารท�ำงานของมนุษย์ (Labor-Intensive Activities) อย่างเช่น ระบบอัตโนมัติ แจ้งเตือนการโจมตีทางไซเบอร์ และระบบอัตโนมัติ Automated Remediation and Asset Discovery (ARAD) ของ ทอ.สหรัฐฯ ในมุมมองอนาคตของ ทอ.สหรัฐฯ จะมุง่ เน้นไปที่ AI อันเป็นความพยายามที่ จะปรับปรุงความสามารถในการรักษาความปลอดภัย บนโลกไซเบอร์ ด้วยการประยุกต์ใช้ ML และ AI บน โลกไซเบอร์ ซึ่งจะช่วยสร้างขีดความสามารถพิเศษ บนโลกไซเบอร์ และช่ ว ยลดการใช้ บุ ค ลากรที่ มี ความช�ำนาญสูงทางด้านไซเบอร์ (High-Skill Labors) แต่ในขณะเดียวกัน MLและ AI ก็ชว่ ยเพิม่ ความสามารถ พิเศษให้ฝ่ายตรงกันข้ามได้เช่นกัน

ข้อคิดที่ฝากไว้

ปัจจุบัน ทอ.สหรัฐฯ เห็นด้วยว่า ICT มีบทบาททีส่ ำ� คัญต่อการพัฒนาหน่วยงานหรือองค์กร ให้มีความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งหนึ่งในปัจจัยที่มี ความส�ำคัญในการขับเคลื่อนหน่วยงานหรือองค์กร ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนนั้น อยู่ที่ผู้บริหารระดับสูง (chief information officer : CIO) ทีม่ องเห็นประโยชน์ ที่จะได้รับจากการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารมาใช้

41


42

กระบวนการทดสอบ อากาศยานไร้คนขับก่อนท�ำการบิน

ปัจจุบนั อากาศยานไร้คนขับ เป็นอากาศยาน ที่สามารถท�ำการบินได้ด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบ การสื่อสารทั้งทางภาคพื้นและภาคอากาศ ถูกใช้งาน ในการถ่ายภาพ รักษาความปลอดภัยและอื่น ๆ อย่างแพร่หลายมากขึน้ มีการเติบโตอย่างก้าวกระโดด เพือ่ ให้รองรับกับวัตถุประสงค์การใช้งานทีห่ ลากหลาย ศูนย์วจิ ยั พัฒนาวิทยาศาสตร์การบินและอวกาศกองทัพ อากาศ ได้มีการพัฒนาวิจัยอากาศยานไร้คนขับ อย่างต่อเนือ่ ง การน�ำอากาศยานไร้คนขับทีผ่ ลิตขึน้ เอง ไปใช้งานนั้นมีขั้นตอนการวิจัยพัฒนาหลายขั้นตอน โดยเฉพาะความเสี่ยงของการบินทดสอบ ต้องมี ขัน้ ตอนการทดสอบก่อนท�ำการบินทีถ่ กู ต้องเพือ่ ความ ปลอดภัยของอากาศยาน บุคคลผู้ใช้งานอากาศยาน รวมทั้ ง บุ ค คลและทรั พ ย์ สิ น ของบุ ค คลภายนอก ทางผู้เขียนจึงมีวัตถุประสงค์ในการน�ำเสนอบทความ ในเรื่อง “กระบวนการทดสอบอากาศยานไร้คนขับ ก่อนท�ำการบิน” เพื่อเผยแพร่เป็นองค์ความรู้แก่ผู้ที่ สนใจต่อไป กระบวนการทดสอบอากาศยานไร้คนขับ ก่อนท�ำการบิน นั้นประกอบไปด้วย ๖ ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขัน้ ตอนที่ ๑ การอธิบายภาพรวมการทดสอบ ของแต่ละวัน ขั้นตอนนี้เป็นการอธิบายภาพรวมของ การทดสอบทัง้ หมดทีว่ างแผนไว้ของแต่ละวันทดสอบ ผู้เกี่ยวข้องในการทดสอบทุกคนจะต้องเข้าร่วมฟัง การอธิบาย ซึ่งจะช่วยให้ทุกคนเข้าใจเป้าหมายการ ทดสอบส�ำหรับวันนัน้ ๆ ได้ ภาพรวมของการทดสอบ

ร.อ.เจษฎา ชมดารา

จะประกอบด้วย การทบทวนผลการทดสอบวัน ก่อนหน้า การก�ำหนดเวลาส�ำหรับการทดสอบ รายงาน สภาพอากาศ และรายงานความปลอดภั ย และ ความเสี่ยง ขั้นตอนที่ ๒ การอธิบายการเตรียมการ ทดสอบ เป็นการสรุปข้อมูลก่อนการทดสอบ ประกอบ ไปด้ ว ย การอธิ บ ายรายการทดสอบโดยย่ อ และ ภาพรวมของวัตถุประสงค์และขั้นตอนการทดสอบ การทบทวนรายการตรวจก่อนการทดสอบ รายงาน สภาพอากาศ และการจัดการด้านความปลอดภัย และอธิบายให้ผู้เกี่ยวข้องทราบถึงระดับความเสี่ยง ตามตัวอย่างการจัดการความเสี่ยง รูปที่ ๑ ขัน้ ตอนที่ ๓ การจัดท�ำรายการตรวจเตรียม การทดสอบ รายการตรวจจะต้องเสร็จสมบูรณ์ก่อน เริม่ การทดสอบในแต่ละครัง้ โดยมีรายการหลัก ได้แก่ ล�ำตัวอากาศยาน เครื่องยนต์ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบควบคุมภาคพืน้ เครือ่ งมือวัดควบคุม ตามตัวอย่าง รายการตรวจเตรียมการทดสอบ รูปที่ ๒ ขัน้ ตอนที่ ๔ การอนุญาตให้ทำ� การทดสอบ การตัดสินใจอนุญาตให้ท�ำการทดสอบนั้น ขึ้นอยู่กับ ความปลอดภัยเป็นหลัก ซึ่งสามารถยุติการทดสอบ ได้ตลอดเวลาหากเกิดความกังวลด้านความปลอดภัย โดยมีเงื่อนไขที่จ�ำเป็น เช่น สภาพอากาศจะต้อง ไม่มฝี นตามการพยากรณ์อากาศทีน่ า่ เชือ่ ถือ ไม่มฟี า้ ผ่า ในรัศมี ๑๐ ไมล์ การมองเห็นมากกว่า ๓ ไมล์ รวมทั้ง ความเร็วลมและลมปะทะด้านข้าง ตามเงื่อนไข คุณลักษณะของอากาศยาน เอกสารที่เกี่ยวข้อง


ข่าวทหารอากาศ

รูปที่ ๑ ตัวอย่างการจัดการความเสี่ยง

รูปที่ ๒ ตัวอย่างรายการตรวจเตรียมการทดสอบ

43


44

รูปที่ ๓ ตัวอย่างรายการตรวจเตรียมการทดสอบ

ต้องเสร็จสมบูรณ์ เช่นแบบประเมินความเสี่ยง รายการตรวจสอบ ทั้งหมดโดยไม่มีข้อขัดข้องและสงสัย ตามตัวอย่างรายการตรวจ เพื่อเตรียมการทดสอบ รูปที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๕ การจัดท�ำรายการตรวจหลังการทดสอบ รายการตรวจหลังการทดสอบจะด�ำเนินการหลังจากเสร็จสิ้น การทดสอบแล้ว ขั้นตอนสุดท้าย การประชุมหลังการทดสอบ โดยมี หัวข้อหลักประกอบไปด้วย สถานะของระบบ ประสิทธิภาพของ ระบบ ทบทวนภาพรวมการทดสอบ ข้อควรปรับปรุงแก้ไข รายการ ที่ต้องด�ำเนินการแก้ไข และสรุปภาพรวมการทดสอบส�ำหรับ ครั้งถัดไป ทีมงานวิจัยอากาศยานไร้คนขับของศูนย์วิจัยพัฒนา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการบินและอวกาศได้ให้ความส�ำคัญกับ กระบวนการทดสอบอากาศยานไร้คนขับก่อนท�ำการบินเป็นอย่างมาก สิง่ ส�ำคัญคือการประเมินความเสีย่ งทีร่ ดั กุมและรอบคอบ จะท�ำให้ การทดสอบมีความสมบูรณ์ไม่กอ่ ให้เกิดความเสียหายต่อกองทัพอากาศ และผู้อื่น อย่างไรก็ตามกระบวนการทดสอบยังต้องมีการทบทวน แก้ไขอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความถูกต้องตามมาตรฐานสมควร เดินอากาศต่อไป เอกสารอ้างอิง ๑ ,๒, ๓ Tyler David Aarons, Development and Implementation of a Flight Test Program for a Geometrically Scaled Joined Wing Sensor Craft Remotely Piloted Vehicle, Master’s Thesis, Faculty of the Virginia Polytechnic Institute and State University, 2011, pp. 181-215


ข่าวทหารอากาศ

! ! ! ั ง ว ะ ร

์ น ล ไ น อ อ กลลวง “การโฆษณาสนิ ค้าทีร่ าคา ถูกเกนิ จรงิ ”

ปัจจุบันการเลือกซื้อสินค้าประเภทต่าง ๆ สามารถท�ำได้อย่างง่ายดายและสะดวกผ่านอุปกรณ์ สื่อสารแบบพกพาเพียงใช้ปลายนิ้ว ด้วยการเลือกชม สินค้าประเภทต่าง ๆ ที่มีการเสนอขายแบบออนไลน์ กันอย่างมากมาย พร้อมด้วยช่องทางการช�ำระเงิน ที่หลากหลาย และระบบในการจัดส่งให้ถึงมือผู้ซื้อ อย่างรวดเร็วแบบครบวงจร ภายใต้ความสะดวกและเป็นทีน่ ยิ มดังกล่าว จึงเป็น ช่อ งทางส�ำหรับ มิจฉาชีพ ในการหลอกลวง เพื่อเสนอขายสินค้าปลอมหรือสินค้าด้อยคุณภาพ โดยใช้การโฆษณาชวนเชื่อด้วยรูปภาพสินค้าที่ดูดี มีคณ ุ ภาพ พร้อมกับสนนราคาทีต่ ำ�่ กว่าราคาท้องตลาด มาก ๆ เป็นสิ่งล่อใจให้ผู้ที่สนใจ ตกเป็นเหยื่อด้วย การสัง่ ซือ้ สินค้าดังกล่าวจากผูข้ าย โดยสินค้าทีถ่ กู ส่งให้ กับผูส้ งั่ ซือ้ จะเป็นสินค้าทีไ่ ม่ตรงกับสินค้าทีป่ ระกาศขาย ในหน้าร้านค้าออนไลน์

น.อ.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย์, Ph.D.

45


46

สิ่งที่เห็นก่อนสั่ง

ตรงนี้ อาจจะมีหลายคนสงสัยว่า การสัง่ ซือ้ สินค้าแบบออนไลน์ดังกล่าว มีช่องทางในการช�ำระ ค่าสินค้าที่สั่งซื้อแบบเก็บเงินปลายทาง ท�ำให้ผู้รับ สามารถปฏิเสธสินค้าก่อนที่จะช�ำระเงินได้ ดังนั้น จึงไม่น่าจะมีโอกาสในการถูกหลอกให้สั่งซื้อสินค้าที่ ไม่ตรงกับทีโ่ ฆษณาได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ในการ จัดส่งสินค้าแบบเก็บเงินปลายทาง ผู้รับสินค้ามักจะ ช�ำระค่าสินค้าก่อนที่จะรับหีบห่อพัสดุและเปิดดู สินค้าจริง หรือผู้จัดส่งสินค้า เช่น พนักงานส่งสินค้า ของบริษัทขนส่ง K อาจจะเรียกเก็บเงินก่อนที่จะ ส่งมอบหีบห่อพัสดุให้ ท�ำให้มผี เู้ สียหายเป็นจ�ำนวนมาก ที่ตกเป็นเหยื่อการลวงในลักษณะนี้ นอกจากนี้ ยังมีหลายกรณีทผี่ สู้ งั่ ซือ้ ไม่อยูบ่ า้ น แต่มีคนอื่นในบ้านเป็นผู้รับหีบห่อพัสดุสินค้าแทน ท�ำให้ไม่สามารถทราบได้ว่าสินค้าที่ผู้ซื้อสั่งซื้อไปนั้น เป็นอะไร ใช่สินค้าที่ถูกน�ำมาส่งหรือไม่ จึงช�ำระเงิน ค่าสินค้าให้กับผู้น�ำมาส่ง แล้วส่งมอบให้กับผู้ซื้อ เมื่อกลับมาถึงบ้าน ท�ำให้การตรวจสอบสินค้าก่อน การช�ำระเงินมักทีจ่ ะไม่สามารถกระท�ำได้ในทางปฏิบตั ิ

สิ่งที่ ได้รับ

จุดส�ำคัญอย่างหนึง่ คือ เนือ่ งจากเป็นร้านค้า แบบออนไลน์ ดังนั้น ผู้สั่งซื้อสินค้าจึงไม่ทราบตัวตน หรือร้านค้า หรือแหล่งของสินค้า ท�ำให้การเคลมสินค้า รวมทัง้ การส่งคืนสินค้า ไม่สามารถกระท�ำได้ โดยเฉพาะ ร้านค้าที่ไม่มีตัวตนซึ่งตั้งขึ้นมาเพื่อการหลอกลวง โดยเฉพาะ และพบว่าส่วนใหญ่เป็นร้านค้าแบบออนไลน์ ของต่ า งประเทศ นอกจากนี้ ยั ง พบลั ก ษณะของ การปฏิเสธความรับผิดชอบของร้านค้าแบบออนไลน์ โดยอ้างว่าสินค้าทีจ่ ดั ส่งไปนัน้ ตรงกับทีเ่ สนอขายแล้ว อีกด้วย แน่นอนว่าเมือ่ เงินถูกช�ำระออกไปแล้ว อ�ำนาจ ในการต่อรองของผู้ซื้อเรียกได้ว่าไม่มีเลย สิ่งหนึ่งที่ พอจะกระท�ำได้คือการแจ้งความหรือฟ้องร้อง ซึ่งคดี ประเภทนี้มักไม่ได้รับการสนใจด�ำเนินการ เนื่องจาก เป็นการตกลงใจในการสั่งซื้อและช�ำระเงินของผู้ซื้อ ด้วยเงือ่ นไขใดก็ตาม โดยเฉพาะเมือ่ ร้านค้าแบบออนไลน์ นั้น ด�ำเนินการอยู่นอกประเทศ


ข่าวทหารอากาศ

ที่น่ากลัวไปกว่านั้นก็คือ การที่ร้านค้า แบบออนไลน์ต่าง ๆ เหล่านี้ ได้ลงทุนซื้อโฆษณาจาก ผู้ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีชื่อเสียงและ ได้รับความนิยมทั่วโลก เล่น Facebook ท�ำให้ หน้าร้านถูกโพสต์ขึ้นเป็น ร้านค้าแนะน�ำ หรือ โพสต์ ที่เสนอแนะ ในหน้าของ Facebook จึงท�ำให้มี ผู้หลงเชื่อและตกเป็นเหยื่อเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก โดยความรับผิดชอบจะตกอยู่กับผู้ซื้อที่ตัดสินใจ ช�ำระเงินเองโดยไม่มีผู้ใดบังคับ ตรงนี้ข้อสังเกตหนึ่งที่พบเห็นได้คือ มักจะ พบการเสนอขายสินค้าประเภทเดียวกันหรือลักษณะ เดียวกัน ในชื่อร้านค้าที่แตกต่างกัน ซึ่งหมายถึงว่า มีการลงทุนเปิดหน้าร้านหลอกลวงจ�ำนวนหลายแห่ง ในเวลาเดียวกัน แล้วใช้การซือ้ โฆษณาเพือ่ ให้หน้าร้าน ไปปรากฏที่หน้าเพจของผู้ใช้งาน Facebook ให้ได้ หลากหลายกลุ่มเป้าหมายมากที่สุดเท่าที่สามารถ จะท�ำได้

ส่วนใหญ่มักจะเป็นร้านค้าแบบออนไลน์ ของต่างประเทศที่มีกลุ่มคนไทยร่วมมือในการปฏิบัติ การด้วย นับว่าเป็นการหลอกลวงข้ามพรมแดน ท�ำให้ในหลายร้านค้าลงทุนเพิม่ ค�ำอธิบายเป็นภาษาไทย ซึ่งพบว่ามักใช้โปรแกรมแปลภาษาเข้ามาช่วย ท�ำให้ ภาษาที่ใช้ไม่เป็นธรรมชาติในหน้าโฆษณา เหนือไปกว่านัน้ ยังพบว่าร้านค้าแบบออนไลน์ ประเภทหลอกลวง มีการใช้เทคนิคการลงคอมเม้นต์ (Comment) กล่าวชืน่ ชมสินค้า (ปลอม) ในลักษณะ ของหน้ า ม้ า เพื่ อ เพิ่ ม ความน่ า เชื่ อ ถื อ อี ก ด้ ว ย

47


48

โดยจุดนี้สามารถสังเกตได้ง่ายจากการที่ผู้โพสต์เป็น ชื่อบัญชีชาวต่างชาติ แต่โพสต์ขอ้ ความชืน่ ชมสินค้า เป็นภาษาไทย ข้อสังเกตอืน่ ๆ ของร้านค้าแบบออนไลน์ หลอกลวง ได้แก่ เวลาทีม่ กี ารสอบถามถึงข้อมูลหรือ รายละเอี ย ดของสิ น ค้ า ที่ จ ะสั่ ง ซื้ อ พบว่ า ไม่ ว ่ า จะสอบถามอะไรไปมักจะได้รับลิงค์ส�ำหรับกดสั่งซื้อ สินค้ากลับมา (ซึง่ เป็นลิงค์ทเี่ ชือ่ มต่อไปยังต่างประเทศ) หรือตอบไม่ตรงค�ำถาม หรือตั้งค�ำตอบเป็นแบบ Auto ไว้ ตรงนีม้ ขี อ้ สังเกตว่า อาจมีบางร้านทีต่ งั้ ขึน้ มา เพียงเพื่อหลอกเก็บข้อมูลชื่อ, ที่อยู่ ตลอดจนเบอร์ โทรศัพท์ของเหยือ่ !!! ด้วยความเป็นโลกของเครือข่ายสังคม ออนไลน์ มีผถู้ กู หลอกทีเ่ สียหายมาก่อนบางคน พยายาม แจ้งเตือนผู้อื่นถึงภัยหลอกลวงที่เกิดขึ้น โดยโพสต์ คอมเม้นต์วา่ อย่าไปหลงเชือ่ ฯลฯ ลงในหน้าร้านนัน้ ๆ แต่กจ็ ะถูกลบออกโดยผูด้ แู ลร้านค้าอย่างรวดเร็ว หรือ เมื่อมีผู้มาสนใจในสินค้า (ปลอม) เป็นจ�ำนวนมาก โพสต์แจ้งเตือนดังกล่าวก็จะถูกเลื่อนขึ้นไปเรื่อย ๆ จนผู้ที่มาทีหลังไม่ทราบถึงการแจ้งเตือนนั้น ทางที่ดี เพื่อเป็นการป้องกันตัวเองไม่ให้ ตกเป็นเหยื่อและถูกหลอกโดยร้านค้าแบบออนไลน์ หลอกลวงประเภทนี้ สิ่งหนึ่งที่ต้องตระหนักเสมอคือ “ของถูกและดี ไม่มีในโลก”


ข่าวทหารอากาศ

ฟลิกเกอร์บอล

พล.อ.ท.ประวิทย์ อุดมผล

ผู ้ เขี ย นได้ เข้ า รั บ การศึ ก ษาที่ โรงเรี ย น นายทหารอากาศชั้นผู้บังคับฝูงของ ทอ.เป็นรุ่นที่ ๒๐ และส�ำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ.๒๕๑๓ และโชคดีที่ ผู้เขียนสอบได้คะแนนยอดเยี่ยม ซึ่งตามระเบียบ ทอ. ก�ำหนดว่า ผูท้ ไี่ ด้รบั การศึกษาและมีผลการเรียนศึกษา ยอดเยีย่ ม จะได้รบั การบรรจุเป็นอาจารย์ของโรงเรียน และจะได้รบั ทุนตามโครงการช่วยเหลือทางทหารของ ทอ.สหรัฐอเมริกา (Military Assistance Program : MAP) ให้ไปศึกษาต่อที่โรงเรียนนายทหารอากาศชั้น ผู้บังคับฝูง ของ ทอ.สหรัฐอเมริกา ที่ฐานทัพอากาศ Maxwell เมือง Mongomery มลรัฐ Alabama ประเทศสหรัฐอเมริกา (Air Univercity) ผู้เขียนได้ เดินทางไปประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อปลายปี พ.ศ. ๒๕๑๓ และเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายทหารอากาศ ชั้นผู้บังคับฝูงของ ทอ.สหรัฐฯ เมื่อต้นปี พ.ศ.๒๕๑๔ ในสมัยนัน้ นายทหารนักเรียนโรงเรียนนายทหารอากาศ ชัน้ ผูบ้ งั คับฝูงจะเรียนเรือ่ งวิชาการตัง้ แต่เวลา ๐๘.๐๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น ในช่วงบ่ายจะเป็นการฝึกทางทหาร สัปดาห์ละ ๑ วัน และเป็นการเล่นพลศึกษาสัปดาห์ละ ๔ วัน การเล่นพลศึกษา จะมีการสอนออกก�ำลังกาย บริหาร ส่วนใหญ่เป็นท่าราชนาวี และเล่นกีฬาซึง่ มีอยู่

๒ ชนิด คือ วอลเล่ย์บอล และฟุตบอล โดยใช้ครูสอน ซึง่ เป็นครูพลศึกษาจาก โรงเรียนจ่าอากาศ กรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เมื่อผู้เขียนเข้าศึกษาที่ รร.นายทหารชั้น ผู้บังคับฝูงของ ทอ.สหรัฐอเมริกา การเล่นพลศึกษา จะมีการออกก�ำลังกายเป็นการเล่นกายบริหารและ เล่นกีฬาอืน่ ​ๆ ซึง่ มีอยู่ ๓ ชนิด โดยผูด้ แู ลเรือ่ งพลศึกษา จะใช้อาจารย์ประจ�ำพวกแต่ละพวกเป็นผู้ฝึกสอน การออกก�ำลังกายบริหารจะมีท่าการฝึกตามที่ทาง โรงเรียนก�ำหนดโดยครั้งแรก ๆ อาจารย์ประจ�ำพวก จะเป็นผู้ฝึก หลังจากนั้นจะให้นายทหารนักเรียน ผลัดกันท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูฝ้ กึ กันเองโดยอาจารย์ประจ�ำพวก จะเป็นผูด้ แู ลควบคุม ส�ำหรับกีฬามีกำ� หนดให้เล่นกีฬา ๓ ชนิด คือ ๑.ฟุตบอล ในสมัยนั้นนายทหารอเมริกัน ยังไม่คุ้นเคยกันนักโดยจะเรียกกีฬาฟุตบอลนี้ว่า ซอกเกอร์บอล (SOCCER) ถ้าพูดกันว่าฟุตบอล จะมี ความหมายเป็น อเมริกันฟุตบอลซึ่งแตกต่างจาก ซอกเกอร์บอลมาก และส่วนใหญ่จะยังไม่รู้จักวิธีเล่น และกติกาการเล่นฟุตบอลมากนัก ผมจึงได้รบั อาสาจาก อาจารย์ประจ�ำพวกว่าจะเป็นผูฝ้ กึ สอน (COACH) ให้

49


50

ซึ่งอาจารย์ประจ�ำพวกเห็นด้วยเพราะคาดว่านักเรียน ต่ า งชาติ ห ลายชาติ จ ะรู ้ เรื่ อ งของกี ฬ าบอลดี ก ว่ า นายทหารนักเรียนที่เป็นคนอเมริกัน ๒. วอลเล่ยบ์ อล กีฬาวอลเล่ยบ์ อล เป็นกีฬาที่ คนส่วนใหญ่รู้จักกันดีและหลายคนเข้าใจการเล่นได้ดี ๓. ฟลิกเกอร์บอล (FLICKER BALL) กีฬา ชนิดนี้จะเป็นของแปลกส�ำหรับทุก ๆ คน เพราะใน สหรัฐอเมริกา จะมีเล่นกันเฉพาะทีโ่ รงเรียนนายทหาร อากาศชั้นผู้บังคับฝูงนี้เท่านั้น กีฬาชนิดนี้จะเป็นกีฬา ดั ด แปลงส่ ว นหนึ่ ง จากรั ก บี้ แ ละบาสเกตบอล มาผสมกัน คือลูกบอลจะมีลักษณะคล้ายลูกรักบี้แต่ เล็กกว่าและการท�ำคะแนนจะใช้วิธีโยนเข้ารูที่อยู่ กลางแป้นทีม่ รี ปู ร่างเหมือนกันแป้นบาสเกตบอลการน�ำ ลูกบอลไปโยนเข้ารูกลางแป้นของฝ่ายตรงข้ามจะมี การส่งลูกบอลต่อ ๆ กันคล้ายรักบี้แต่ต้องไม่ตกลงพื้น เหมือนบาสเกตบอลและผู้เล่นทั้งสองฝ่ายจะต้อง ระมัดระวังไม่ให้ถูกตัวผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามซึ่งจะท�ำให้ ถูกลงโทษ การที่สนใจเรื่องฟลิกเกอร์บอลนี้จะถาม รายละเอียดได้จากผู้ที่ส�ำเร็จจากโรงเรียนนายทหาร อากาศชั้นผู้บังคับฝูงได้เพราะผู้เขียนคิดว่ากีฬาชนิดนี้

ยั ง คงมี เ ล่ น กั น อยู ่ เ พราะผ่ า นไปทางสนามกี ฬ า จันทรุเบกษา ผูเ้ ขียนเห็นว่าสนามกีฬาฟลิกเกอร์บอลนี้ ยังมีอยู่ หลังจากทีผ่ เู้ ขียนส�ำเร็จการศึกษาและเดินทาง กลับถึงประเทศไทยแล้วได้ขอเข้าพบท่านผูอ้ ำ� นวยการ โรงเรียนนายทหารอากาศขณะนั้นคือ น.อ.สิริชัย ก�ำเนิดดิษฐ์ และได้นำ� เรียนแนวความคิดในการปรับปรุง การศึกษาของโรงเรียนนายทหารอากาศรวม ๓ เรือ่ ง คือ ๑. พลศึ ก ษา ไม่ ต ้ อ งขออาจารย์ จ าก รร.จ่าอากาศฯ โดยให้อาจารย์ประจ�ำพวกด�ำเนินกันเอง และเพิ่มชนิดกีฬาขึ้นอีกคือ ฟลิกเกอร์บอล ๒. ตามระเบียบที่ก�ำหนดให้ผู้ที่ส�ำเร็จการ ศึกษาจากต่างประเทศให้เขียนต�ำราส่งให้กองการศึกษา กรมยุทธศึกษาทางอากาศ ๑ เรื่องซึ่งผู้เขียนได้เขียน ต�ำราเรื่องการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ (COUNCELING) นั้นผู้เขียนเห็นควรให้น�ำมาเป็นวิชาที่สอนนักเรียน เพิ่มขึ้นอีก ๑ วิชา ๓. ให้ติดตั้งโทรทัศน์วงจรปิดใช้บันทึก การฝึกพูดของนายทหารนักเรียนเพือ่ น�ำมาดูและติชม ให้นักเรียนทราบและปรับปรุงตัวเอง แนวความคิดของผู้เขียน ทั้ง ๓ ข้อ นี้ได้รับ ความเห็นชอบจากผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนและมอบหมาย ให้ผู้เขียนรับผิดชอบด�ำเนินการต่อไป ส�ำหรับลูกฟลิกเกอร์บอลนั้น ผู้เขียนได้ เตรียมการมาก่อนแล้ว โดยขอให้อาจารย์ประจ�ำพวก จัดหาให้ และผูเ้ ขียนได้นำ� ติดตัวมาตัง้ แต่เดินทางกลับ มาถึงประเทศไทย แต่กม็ ลี กู บอลเพียงลูกเดียวเท่านัน้ ผู้เขียนจึงโทรศัพท์ไปหาอาจารย์ประจ�ำพวก และ เล่าให้ฟังว่าจะด�ำเนินการให้มีการเล่นฟลิกเกอร์บอล ในโรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง ของ ทอ.ไทย จึงขอความกรุณาจากอาจารย์ให้ชว่ ยส่งลูกฟลิกเกอร์บอล ส่งมาให้อีก อาจารย์ท่านก็ใจดีส่งมาให้อีก ๔ ลูก ผู้เขียนมีโอกาสได้คุยกับนายทหารหลายคนเรื่องของ ฟลิกเกอร์บอล ทุกคนต่างก็ยอมรับว่าเป็นกีฬาทีด่ มี าก และเป็นการฝึกใช้สมาธิ และความใจเย็นในการเล่น กีฬาชนิดนี้ด้วย และกีฬาชนิดนี้คงมีเพียงแห่งเดียว เท่านั้น ในประเทศไทย


Red Eagle

ข่าวทหารอากาศ

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

อินทรีแดง แผลงฤทธิ์

น.ต.ภฤศพงศ์ ช้อนแก้ว

“กระโดดร่ม...ภารกิจเสีย่ งตาย ของชายชาติทหาร ๒”

ต�ำรวจพลร่มนัน้ เป็นหน่วยต�ำรวจรบพิเศษ ที่เคลื่อนที่ได้เร็ว จึงวางจุดประสงค์ไว้สองอย่าง คือ ข้อแรก เพื่อเตรียมก�ำลังต�ำรวจ ให้พร้อม ที่จะปฏิบัติการต่อต้านหน่วยรบแบบกองโจร ข้อสอง เพื่อเตรียมก�ำลังต�ำรวจ โดยจัดให้ ฝึกอบรมต�ำรวจพลร่มไว้ให้พร้อมที่จะสนับสนุน การปฏิบัติงานของกองทัพต่าง ๆ ได้ในยามสงคราม กระทัง่ ในวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๔๙๖ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน ประกอบพิธเี ปิดค่ายนเรศวร ทอดพระเนตรการแสดง กระโดดร่ม และสาธิตการใช้อาวุธพิเศษ ในการรบด้วย ยุทธวิธี การรบแบบกองโจรของต�ำรวจพลร่ม จึงถือว่า เป็นวันคล้ายวันสถาปนาค่ายนเรศวร ปัจจุบันต�ำรวจ พลร่มนั้น สังกัดอยู่กองบัญชาการต�ำรวจตระเวน ชายแดน การฝึกพลร่มนี้จะจัดขึ้นทุก ๆ ปี โดยมีทั้ง นายต�ำรวจชั้นสัญญาบัตร และชั้นประทวนเข้ารับ การฝึก ส่วนใหญ่จะสังกัดอยู่ในส่วนป้องกันและ ปราบปราม และต�ำรวจตระเวนชายแดน จากนั้น กองทัพบกได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญและความจ�ำเป็น ของการปฏิบัติการสงครามพิเศษ จึงได้มีการจัดตั้ง “หน่วยรบพิเศษ” ขึ้นเป็นหน่วยแรก เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๔๙๗ ที่บ้านป่าหวาย ต�ำบลป่าตาล อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ลพบุ รี ใช้ ชื่ อ ว่ า “กองพั น ทหารพลร่ม” หรือที่รู้จักกันดีในนามของ “พลร่ม ป่าหวาย” ส� ำ หรั บ ในส่ ว นของกองทั พ อากาศนั้ น ประมาณปลายปี พ.ศ.๒๕๐๖ ถึงต้นปี พ.ศ.๒๕๐๗

จ่าอากาศโท สมาน อุบลบาน (ยศในขณะนั้น) และ จ่ า อากาศโท โชค พุ่มอยู่ สังกัดกองทัพอากาศ ได้ ม าท� ำ การฝึ ก กระโดดร่ ม แบบกระตุ ก เองกั บ ชมรมนักเหินเวหา กองรบพิเศษ (พลร่ม) ด้วย จนสามารถท�ำการกระโดดร่มแบบกระตุกเองได้ ในเวลาต่อมาจ่าอากาศโท สมาน อุบลบาน ซึ่งถือว่า เป็นคนแรกของกองทัพอากาศ ได้เป็นผูด้ ำ� เนินการฝึก ก�ำลังพลในส่วนของกองทัพอากาศ (เป็นครูใหญ่ของ การกระโดดร่มแบบกระตุกเองของกองทัพอากาศ) ต่ อ มาจนกระทั่ ง เกิ ด นั ก กระโดดร่ ม ในส่ ว นของ

ภาพนาวาอากาศเอก สมาน อุบลบาน (คนซ้าย) ซึ่งเป็นครูใหญ่ของนักกระโดดร่มกองทัพอากาศ

51


52

กองทัพอากาศที่มีความสามารถเป็นจ�ำนวนมาก ทั้งด้านกีฬาและทางทหารในปัจจุบันนี้ ร่มถูกแบ่งตามการท�ำงานเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ แบบ Static Line และ แบบ Skydiving ๑. ประเภทท�ำงานด้วยสายดึงประจ�ำที่ หรือ เรียกว่า “แบบ Static Line” ใช้ในยุทธวิธีขนส่ง ก�ำลังพลลงทางอากาศ เพื่อลงพื้นที่เป้าหมายอย่าง รวดเร็ว บางครั้งร่มประเภทนี้ใช้ในการทิ้งสิ่งบริภัณฑ์ ทางอากาศ ทั้งพัสดุขนาดใหญ่ ที่เรียกว่า “การทิ้ง Container Delivery System (CDS-Z)” จนไปถึง การทิ้งพัสดุขนาดเล็กที่เรียกว่า “LCLA (Low Cost Low Altitude)” และการทิ้งเรือยาง (RAM–Z) เพื่อสนับสนุนภารกิจในการค้นหาทางน�้ำ “ร่มแบบ Static Line” มีลกั ษณะเป็นทรงกลม ผูใ้ ช้รม่ ส่วนใหญ่ จะเรียกว่า “ร่มกลม” โดยคุณสมบัตขิ องร่มกลมทัว่ ไป มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๓๕ ฟุต ที่ขอบชายร่ม เส้นผ่าศูนย์กลาง ๒๔.๕ ฟุต สามารถพาผูโ้ ดดเคลือ่ นที่ ไปข้างหน้าด้วยความเร็ว ๖ - ๘ น็อทส์ (๑ น็อทส์ = ๐.๕๑ เมตร/วินาที) มีความเร็วของลมเป็นศูนย์ จะมีอัตราการตกที่ ๑๕.๓๗ - ๒๒.๗ ฟุต ต่อวินาที มีนำ�้ หนักประมาณ ๓๑ ปอนด์ สามารถแบ่งได้ ๕ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนเพดานร่มและสายร่ม ๒. ส่วนสายโยงบ่า

๓. ส่วนสายรัดตัว ๔. ส่วนแผ่นหุ้มห่อ ๕. ชุดถุงบรรจุเพดานร่ม ร่มชนิดนีใ้ ช้ในกรณีลงหาเป้าหมายในระยะ เวลาสัน้ ๆ คือ ๑๒ - ๑๕ วินาที โดยปกติรม่ ชนิดนีจ้ ะ กระโดดร่มทีค่ วามสูงประมาณ ๑,๐๐๐ - ๑,๒๕๐ ฟุต ซึ่ ง ถื อ ว่ า จะอั น ตรายกว่ า การกระโดดร่ ม แบบ Skydiving เพราะมีเวลาอยู่กลางอากาศจนถึงพื้น เพียง ๑๒ วินาที ท�ำให้เมื่อเกิดปัญหาขณะท�ำการ กระโดดร่มแล้วมีเวลาน้อยมาก ในการแก้ปัญหาร่ม แต่เนื่องจากเป็นร่มขนาดใหญ่ท�ำให้มีอัตราในการ ตกช้าเป็นผลให้ไม่เสี่ยงอันตรายเท่าใดนัก เมื่อถึง พืน้ ดิน โดยหลังจากผูท้ ำ� การกระโดดร่ม กระโดดออก จากเครื่องบินแล้ว ผู้ท�ำการกระโดดร่มจะออกเสียง นับ ๕ วินาที จากนั้นท�ำการตรวจร่มว่ากางสมบูรณ์ หรือไม่ หากกางไม่สมบูรณ์ขนั้ ตอนต่อไปคือ การดึง ห่วงดึงร่มช่วยที่อยู่บริเวณด้านหน้าท้องของตนเอง ซึ่งจะมีเวลาตัดสินใจโดยรวมประมาณ ๗ วินาที ในอากาศ เพื่อที่จะดึงร่มช่วยแล้วร่มช่วยท�ำงาน กางออกได้ทัน ทั้งนี้บางครั้งสามารถใช้ร่มประเภท แบบ Skydiving มาท�ำเป็น แบบ Static Line เพื่อช่วยในการฝึกพื้นฐานการควบคุมร่ม และท่าโดด ให้กบั ผูท้ กี่ ำ� ลังเรียนกระโดดร่มแบบกระตุกเองได้ดว้ ย เช่นกัน ในระยะ ความสูง ๔,๐๐๐ – ๕,๐๐๐ ฟุต


ข่าวทหารอากาศ

ภาพผู้ท�ำการฝึกหลักสูตรส่งทางอากาศ กองทัพอากาศ ก�ำลังกระโดดร่มออกจากเครื่องบิน C – 130

ภาพนาวาอากาศเอก สมาน อุบลบาน (คนซ้าย) ซึ่งเป็นครูใหญ่ของนักกระโดดร่มกองทัพอากาศ

53


54

ภาพผู้ท�ำการฝึกหลักสูตรส่งทางอากาศก�ำลังกระโดดร่มออก จากเครื่องบิน C – 130 ด้วยร่มแบบ Static line

หรืออีกภารกิจหนึ่งเพื่อเป็นการทดสอบการท�ำงาน ของร่มใหม่โดยใช้เจ้าหน้าที่ทดสอบร่มระดับครูฝึก เป็นผู้ทดสอบ ๒. ประเภทท�ำงานด้วยการกระตุกเอง หรือ เรียกว่า “แบบ Skydiving” หรือ “ร่ม Free Fall” หรือ เรียกว่า “การกระโดดร่มเหินเวหา” หรือ เรียกว่า “การกระโดดร่มดิ่งพสุธา” ซึ่งสามารถเรียก ได้หลายชือ่ เป็นการใช้ในยุทธวิธขี นส่งทางอากาศ เพือ่ เคลือ่ นทีจ่ ากระยะไกลมายังจุดเป้าหมาย มีลกั ษณะคือ ผูป้ ฏิบตั ติ อ้ งกระโดดออกจากตัวอากาศยาน ไปลอยตัว อยูใ่ นอากาศเป็นระยะเวลาหนึง่ จนกระทัง่ ตัวผูป้ ฏิบตั ิ ตกถึงระดับความสูงที่ต้องการ แล้วจึงท�ำการดึง ห่วงดึงเพือ่ เปิดร่มเองได้อย่างปลอดภัย การกระโดดร่ม ประเภทนี้ ส ามารถท� ำ การกระโดดร่ ม ได้ ท่ี ร ะยะ ความสูงตั้งแต่ ๕,๐๐๐ – ๓๐,๐๐๐ ฟุต หรือมากกว่า ขึ้นอยู่กับภารกิจ ส�ำหรับการฝึกกระโดดร่มแบบกระตุก เองนี้ ผู้ท�ำการกระโดดร่มจะต้องผ่านการฝึกกระโดด ร่มประเภท Static Line มาก่อน เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการกระโดดร่ ม แบบกระตุ ก เอง ทั้ ง นี้ ก าร กระโดดร่มกระตุกเองได้มีการฝึกในหน่วยรบพิเศษ หรือหน่วยส่งทางอากาศในทุก ๆ เหล่าทัพ และ

ภาพการกระโดดร่มร่มออกจาก เครื่องบิน C – 130 ด้วยร่มแบบกระตุกเอง


ข่าวทหารอากาศ

ภาพการกระโดดร่มลงน�้ำ

ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ สามารถท�ำการฝึกได้ ๒ ลักษณะ ได้แก่ การฝึกโดดแบบต่อสาย (Static Line) ซึง่ เป็นปกติในการฝึกตามหลักสูตร และ การฝึกกระโดด แบบ Accelerated Free Fall หรือการกระโดดร่ม แบบเร่งรัด ส่วนการฝึกโดดแบบ Tandem เป็นลักษณะ การให้ผทู้ ยี่ งั ไม่เคยกระโดดร่มแบบกระตุกเองมาทดสอบ สภาพอากาศ และความรูส้ กึ ในการกระโดดร่ม จนเกิด ความเข้าใจในสรีระวิทยาต่าง ๆ ของร่างกายก่อนทีจ่ ะ ไปท�ำการฝึกกระโดดจริง ซึง่ ในอดีตหลักสูตรการกระโดด ร่มแบบกระตุกเองได้เกิดขึน้ ครัง้ แรก ในปี พ.ศ.๒๕๐๔ ณ กองพันทหารพลร่ม ตั้งอยู่ ณ บ้านป่าหวาย เมื่ อ วั น ที่ ๒๓ ตุ ล าคม ๒๕๐๔ ซึ่ ง เป็ น วั น ดี “วันปิยมหาราช” ร้อย พธ.สกอ.พธ.ทบ. เปิดการฝึก การกระกระโดดร่ ม แบบกระตุ ก เองหรื อ ที่ เรี ย ก ทัว่ ๆ ไปว่า “ดิง่ พสุธา” ขึน้ เป็นครัง้ แรกในกองทัพบก และมีการฝึกกันอย่างแพร่หลายต่อเนือ่ งเรือ่ ยมาจนถึง ปัจจุบัน โดยแบ่งการกระโดดร่มกระตุกเองเป็น ๒

ลักษณะใหญ่ ๆ คือ การกระโดดร่มแบบกระตุกเอง เพือ่ การกีฬา และการกระโดดร่มแบบกระตุกเองยุทธวิธี ทางทหาร การกระโดดร่มทางยุทธวิธีแบบกระตุกเอง มีดว้ ยกัน ๒ แบบ คือ การกระโดดร่มแบบ HALO และ การกระโดดร่มแบบ HAHO ซึ่งเรียกรวมกันว่า “HALO – HAHO” โดยค�ำย่อมีที่มาจากค�ำเต็มว่า “High Altitude Low Opening / High Altitude High Opening” โดยมีรายละเอียดแต่ละแบบ คือ ๑. การกระโดดร่มแบบ HALO (High Altitude Low Opening) เป็นการกระโดดร่มสูง เปิดต�่ำ มีลักษณะการกระโดด คือ นักกระโดดร่ม จะกระโดดออกจากอากาศยาน ที่ระดับความสูง ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ฟุต จากพืน้ ดิน (อาจมากกว่าหรือ น้อยกว่านั้นก็ได้ แต่ไม่ควรต�่ำกว่า ๕,๐๐๐ ฟุต) จากนั้นนักกระโดดร่มจะท�ำการนับถ่วงเวลาขณะ ตกลงมา ระหว่างนี้สามารถดูเครื่องวัดความสูงที่เป็น

55


56

ภาพการฝึกกระโดดร่มแบบ Accelerated Free Fall

อุปกรณ์ประจ�ำตัวนักกระโดดร่มได้ด้วยเพื่อให้เกิด ความมั่นใจในการนับถ่วงเวลา โดยตัวเราจะตกตาม อัตราตกของแรงโน้มถ่วงของโลกหรือแรง G อยู่แล้ว จนกระทั่งความสูงลดลงมาที่ ประมาณ ๔,๐๐๐ – ๕,๐๐๐ ฟุต จากพืน้ ดินหรือตามทีพ่ อใจนักกระโดดร่ม จะท�ำการเปิดร่มและบังคับร่มเข้าสูท่ หี่ มาย ทัง้ นีส้ ามารถ ดึงร่มที่ ๒,๕๐๐ ฟุต ได้ แต่จะอันตรายมากหาก ร่มหลักมีปญ ั หา เนือ่ งจากระยะความสูงและเวลาทีใ่ ช้ ในการตัดสินใจแก้ปัญหาติดขัดจะน้อยลง ต้องมีเวลา พอให้ร่มช่วยท�ำงานกางสมบูรณ์ได้ด้วย โดยกรณีนี้ หากร่มช่วยกางไม่ทนั จะท�ำให้นกั กระโดดร่มมีโอกาส ตกถึงพื้นได้ก่อน ซึ่งการกระโดดร่มแบบ HALO นั้น จะเน้นความแม่นย�ำในการลงสู่ที่หมายเป็นหลัก และ หากมีความช�ำนาญมากจะสามารถทรงตัวอยูใ่ นอากาศ ได้ จ นถึ ง ขั้ น เกาะหมู ่ นั ก กระโดดร่ ม สามารถอยู ่ ในอากาศได้นานประมาณ ๓๐ วินาที การกระโดดร่ม แบบนี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ลงสูพ่ นื้ ดินและเป้าหมายให้ รวดเร็วที่สุด

๒. การกระโดดร่มแบบ HAHO (High Altitude High Opening) เป็นการกระโดดร่มสูง เปิดสูง มีลักษณะการกระโดดคือ นักกระโดดร่มจะ กระโดดออกจากอากาศยาน ทีร่ ะดับความสูงประมาณ ๑๐,๐๐๐ – ๓๐,๐๐๐ ฟุต จากพื้นดิน หรือมากกว่า (ซึ่งตามหลักการแล้ว หากต้องท�ำการกระโดดร่ม ที่ความสูงตั้งแต่ ๑๕,๐๐๐ ฟุต ขึ้นไปเกิน ๓๐ นาที ผู ้ ป ฏิ บั ติ ต ้ อ งสวมหน้ า กากออกซิ เจนส่ ว นบุ ค คล Personal Oxygen Mask ซึง่ มีอากาศเพียงพอส�ำหรับ นั ก กระโดดร่ ม ๑๐-๑๕ วิ น าที โดยประมาณ) เมื่ อ นั ก กระโดดร่ ม ออกจากเครื่ อ งบิ น ไปแล้ ว จะ ท�ำการนับถ่วงเวลาไปจนครบ ๕ วินาที จึงจะเปิดร่ม โดยสามารถบังคับร่มเพื่อแทรกซึมเข้าสู่ที่หมาย ห่างจากจุดที่กระโดดร่มออกจากเครื่องบินได้ไกลถึง ๓๐ - ๕๐ กิโลเมตร เพือ่ เข้าสูพ่ นื้ ทีเ่ ป้าหมายโดยไม่ให้ ข้าศึกรู้ตัว ปลอดภัยจากการตรวจจับจากเรดาห์ ของข้าศึกรวมถึงสามารถเดินร่มแทรกซึมเข้าไปยัง แนวหลังของข้าศึกได้เช่นกัน ซึ่งในการปฏิบัติการ


ข่าวทหารอากาศ

ภาพการกระโดดร่ม Free Fall จาก เครื่องบิน C - 130

นักกระโดดร่มจะต้องติดเครื่องช่วยหายใจลงมาด้วย พร้อมด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ เครือ่ งมือสือ่ สาร รวมทัง้ เครื่ อ งสนามสั ม ภาระส� ำ คั ญ ต่ า ง ๆ ไม่ น ้ อ ยกว่ า ๓๐ กิโลกรัม ผู้ปฏิบัติต้องฝึกฝนและเรียนรู้หลักการ เดินร่มที่ถูกต้อง มิฉะนั้นอาจมาไม่ถึงจุดที่หมาย พลัดหลง และเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ทั้งนี้บนชั้น บรรยากาศจะมีออกซิเจน (O2) ค่อนข้างเบาบาง นักกระโดดร่มจ�ำเป็นจะต้องมีการออกก�ำลังกาย เป็นประจ�ำและต้องมีร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ เรียกว่าต้องฟิต ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติภารกิจนี้ได้ส�ำเร็จ ส�ำหรับการกระโดดร่มนัน้ สามารถท�ำได้ทงั้ กลางวันและกลางคืน ซึง่ ในเวลากลางคืนถือว่ามีความ ยากและอันตรายในการปฏิบัติมาก นักกระโดดร่ม จะต้องเคยฝึกกระโดดร่มในเวลากลางวันมามากพอ จึงจะสามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างปลอดภัย ทัง้ ในเรือ่ งของ การลอยตัวในอากาศ การเคลือ่ นทีใ่ นอากาศ การบังคับ ควบคุ ม ร่ ม ในอากาศ และการบั ง คั บ ร่ ม ลงพื้ น โดยเฉพาะการแก้ปัญหาการผิดปกติของร่ม หรือ ทีเ่ รียกว่า “การแก้ปญั หา Malfunctions” ซึง่ ประกอบ

ไปด้วย การแก้ปัญหาการตกเร็ว หรือที่เรียกว่า “High Speed Malfunction” และ การแก้ปัญหา การตกช้า หรือทีเ่ รียกว่า “Low Speed Malfunction” ถือว่าเป็นหัวใจหลักส�ำคัญในการทดสอบภาคพืน้ ของ ผู้ที่เริ่มท�ำการฝึกกระโดดร่มแบบกระตุกเอง ทั้งยัง ถือว่า “เป็นจุดตายจุดส�ำคัญ” ของนักกระโดดร่ม ทุ ก คนที่ ต ้ อ งรู ้ และพึ ง ระลึ ก ทุ ก ครั้ ง ที่ ไ ด้ ท� ำ การ กระโดดร่มแม้ว่าตนเองจะกระโดดร่มมากี่ร้อยกี่พัน ครั้งก็ตาม โดยผู้ที่จะการกระโดดร่มในครั้งแรก หรือ ที่เรียกว่า “First Jump” นั้น จะต้องท�ำการทดสอบ การแก้เหตุติดขัด Malfunctions นี้ ให้ผ่านเสียก่อน จากนั้นครูฝึกจึงจะสามารถให้ผู้รับการฝึกท�ำการ กระโดดร่มจริงในภาคอากาศได้ หรือบางกรณีที่ต้อง กระโดดร่มลงน�้ำ ผู้ปฏิบัติก็ต้องมีการสวมชูชีพไว้ด้วย เพือ่ กันการจมน�ำ้ และต้องเข้าใจขัน้ ตอนวิธกี ารในการ ปลดร่มออกจากตัวเราเองด้วยเช่นกัน เพื่อมิให้ร่ม ดึงตัวเราจมน�ำ้ ไปจนเกิดเป็นอันตรายได้ในการปฏิบตั ิ การกระโดดร่มแบบกระตุกเอง หรือ Free Fall นอกจากจะเป็นยุทธวิธีการรบทางทหารแล้ว ปัจจุบันการกระโดดร่มแบบกระตุกเองได้ถูกจัดให้

57


58

ภาพนักกระโดดร่มจาก ๑๖ ประเทศทั่วโลก ร่วมกันแปรอักษรเป็นรูป ธงชาติไทย เหนืออ่าวมะนาว และ อ่าวประจวบ

เป็นกีฬาทหาร – ต�ำรวจ รวมถึงในส่วนของพลเรือน ด้วยเช่นกัน ต่างให้ความสนใจในเกมส์กฬี าชนิดนีม้ าก เพราะนอกจะสามารถชี้วัดผลแพ้ชนะในการแข่งขัน ได้แล้ว ยังสามารถสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ได้อีกด้วย เนื่องจากในการแข่งขันนั้น ผู้เข้าแข่งขัน ไม่ว่าจะอายุมากหรือน้อยห่างกันเท่าใด ก็สามารถ เล่นร่วมด้วยกันได้เป็นอย่างดี จนบางครั้งผู้ที่มี อายุมากกว่า จะมีประสบการณ์มากกว่า ท�ำให้สามารถ ท�ำคะแนนได้ดีกว่าก็เป็นได้ หรืออาจใช้กีฬาที่เล่น ในยามว่างตามล�ำพังได้สำ� หรับผูท้ มี่ กี ำ� ลังจ่ายสูง สุขภาพ ของผู้ที่ต้องท�ำการกระโดดร่มถือว่ามีส่วนส�ำคัญด้วย เช่นกัน ผู้ที่จะท�ำการกระโดดร่มแบบกระตุกเอง

อ้างอิง - www.bloggang.com/mainblog.php - www.thaiairborne.blogspot.com

จะต้องเป็นบุคคลที่สุขภาพแข็งแรง พักผ่อนเพียงพอ ต้องไม่ได้ทานยาหรือแอลกอฮอล์ก่อนกระโดดร่ม ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนดมาก่อน ซึ่งหากผู้ท�ำการ กระโดดร่ม ไม่ปฏิบตั ติ ามจะท�ำให้มโี อกาสเสีย่ งต่อการ เกิดโรค Hypoxia อันเกิดจากการทีร่ า่ งกายมีออกซิเจน ไปเลี้ยงเนื้อเยื่อในร่างกายไม่เพียงพอ อาจท�ำให้เกิด อาการอ่อนเพลีย มีอาการง่วงบ่อยครั้ง หากเป็นมาก อาจท�ำให้หมดสติ โดยเฉพาะจะอันตรายมากหากเป็น ในขณะท�ำการกระโดดร่ม ดังนั้นการเตรียมตัวที่ดี ของผูท้ ช่ี น่ื ชอบการกระโดดร่มทัง้ หลายจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ ยิง่ เพือ่ รักษาชีวติ ของเราให้ทำ� การกระโดดร่มได้อย่าง ปลอดภัยต่อไป


ข่าวทหารอากาศ

StormBreaker

ลูกระเบิดอากาศ เป็นอาวุธที่มีอ�ำนาจการ ท�ำลายล้างสูง ทั้งจากแรงระเบิด และสะเก็ดระเบิด สามารถท�ำลายก�ำลังทหาร บังเกอร์ อาคาร สิง่ ก่อสร้าง ต่าง ๆ ที่มีความส�ำคัญทางทหาร แต่สิ่งที่จะท�ำให้เกิด ผลดังกล่าวได้นั้น สิ่งส�ำคัญคือความแม่นย�ำ ในช่วง สงครามโลกครั้งที่ ๑ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นยุคเริ่มต้น ของการรบทางอากาศ การทิ้งระเบิดจากเครื่องบิน ที่ความสูงมาก รวมทั้งมีแรงลม แรงต้านอากาศ และ สภาพอากาศที่เป็นปัจจัยส�ำคัญต่อความแม่นย�ำ จึงท�ำให้เกิดความยากที่จะท�ำให้ลูกระเบิดตกลงบน เป้าหมายได้พอดี แม้ว่าจะมีการประดิษฐ์เครื่องเล็ง ส�ำหรับทิ้งระเบิดซึ่งใช้หลักการค�ำนวณทางฟิสิกส์ ช่วยด้วยก็ตาม การทิง้ ระเบิดให้แม่นย�ำในช่วงสงครามโลก ครัง้ ที่ ๑ และครัง้ ที่ ๒ จึงต้องท�ำในเวลากลางวัน ทีเ่ ห็น เป้าหมายชัดเจน รวมทัง้ ต้องทิง้ ในระดับความสูงทีต่ ำ�่ ซึ่งต้องแลกมาด้วยความเสี่ยงกับการถูกยิงด้วยอาวุธ ต่อสู้อากาศยานแบบต่าง ๆ จากฝ่ายตรงข้าม

Rocket - 7

การพั ฒ นาเทคโนโลยี เ พื่ อ ให้ ส ามารถ ทิง้ ระเบิดได้ตรงเป้าหมายนัน้ ได้มมี าอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ตอบสนองต่อผลลัพธ์ทตี่ อ้ งการจากการท�ำลายเป้าหมาย โดยเฉพาะในปัจจุบนั ทัว่ โลกได้ให้ความส�ำคัญในการ ลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งก่อสร้าง อาคาร บ้านเรือน พลเรือนที่อยู่ใกล้กับเป้าหมายที่ต้องการ ท�ำลาย จึงท�ำให้ลกู ระเบิดอากาศนัน้ นอกจากจะต้อง มีความแม่นย�ำมากขึ้นกว่าเดิมแล้ว การท�ำลายด้วย แรงระเบิด และสะเก็ดระเบิด ก็ตอ้ งถูกจ�ำกัดอยูภ่ ายใน พืน้ ทีเ่ ป้าหมายขนาดเล็กเท่านัน้ ด้วยเหตุนกี้ ารพัฒนา ลูกระเบิดขนาดเล็กทีม่ คี วามแม่นย�ำสูงของค่ายผูผ้ ลิต ต่าง ๆ จึงเกิดขึ้นอย่างมากมายหลายรุ่น ส�ำหรับ รุน่ ล่าสุดทีม่ กี ารพัฒนาอยูใ่ นปัจจุบนั ซึง่ อาจกล่าวได้วา่ อยูใ่ นแนวหน้าของโลกก็คอื StormBreaker ลูกระเบิดร่อน ขนาดเล็ก ที่ติดตั้งระบบน�ำวิถีหลายแบบ เพื่อรักษา ความแม่นย�ำในการท�ำลายเป้าหมายในทุกสภาพอากาศ ทั้งเป้าหมายที่อยู่กับที่ และเป้าหมายเคลื่อนที่ StormBreaker (เดิมใช้ชอื่ Small Diameter Bomb II) เป็นลูกระเบิดร่อนซึง่ ถูกผลิต และพัฒนา โดยบริษัท Raytheon ผู้ผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ ระดับแนวหน้าของโลก สัญชาติอเมริกัน ส�ำหรับ StormBreaker นัน้ ถูกออกแบบมาเพือ่ ใช้ในการโจมตี เป้าหมายภาคพื้น ทั้งแบบอยู่กับที่และเคลื่อนที่ เช่น บังเกอร์ ฐานบัญชาการ รถถังยานเกราะต่าง ๆ หัวใจส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดความแม่นย�ำในการพุ่งเข้า ท�ำลายเป้าหมายของ StormBreaker คือ ระบบน�ำ วิถี ซึ่งได้เพิ่มมากขึ้นจากรุ่นก่อนหน้าคือ Small Diameter Bomb โดยระบบน�ำวิถีต่าง ๆ ที่ถูกน�ำมา ติดตั้งประกอบด้วย

59


60

๑. INS/GPS ส�ำหรับ INS เป็นระบบน�ำวิถี แบบเฉือ่ ย ให้ขอ้ มูลทิศทางกับความเร็วของลูกระเบิด ในขณะนั้ น ๆ ส่ ง ให้ กั บ ระบบประมวลผลเพื่ อ ใช้เป็นข้อมูลให้กบั ส่วนบังคับทิศทางของลูกระเบิด ใน ส่วนของ GPS เป็นระบบระบุพิกัดของลูกระเบิดด้วย สัญญาณจากดาวเทียม ที่ให้ข้อมูลต�ำแหน่งปัจจุบัน ของลูกระเบิด กับระบบประมวลผล เพือ่ ค�ำนวณทิศของ ลูกระเบิดกับเป้าหมายตามพิกัดที่ตั้งไว้ ซึ่งระบบ น�ำวิถที ง้ั ๒ แบบนี้ จะท�ำงานในช่วงแรกภายหลังจากที่ ลูกระเบิดถูกปล่อยจากเครือ่ งบินรบ เพือ่ ให้ลกู ระเบิด พุ่งไปยังทิศทางที่เป้าหมายอยู่ในเบื้องต้น ๒. ระบบน� ำ วิ ถี เ มื่ อ ลู ก ระเบิ ด เข้ า ใกล้ เป้าหมาย เป็นระบบน�ำวิถีที่จะเริ่มท�ำงาน เมื่อ ลูกระเบิดร่อนเข้าใกล้เป้าหมายประกอบด้วยระบบ น�ำวิถี ๓ แบบ ส�ำหรับเป้าหมายที่แตกต่างกันได้แก่ Millimeter Wave คลื่นเรดาร์ความถี่สูง ที่จะปล่อย สัญญาณเรดาร์ เพื่อตรวจจับเป้าหมายขนาดเล็ก เคลื่อนที่เร็วเช่น รถยนต์ รถยานเกราะ รถถัง หรือ เป้าหมายที่อยู่กับที่ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ลูกระเบิด สามารถปรับทิศทางเข้าหาเป้าหมายได้ทันเวลา และ ยังช่วยให้สามารถใช้งานได้ในทุกสภาพอากาศ เนือ่ งจาก สภาพอากาศไม่มีผลต่อสัญญาณเรดาร์ Imaging Infrared: IIR เป็นระบบสร้างภาพเป้าหมาย จากรังสีความร้อนที่เป้าหมายปล่อยออกมา โดยจะ น�ำภาพที่สร้างได้ ไปเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลของ เป้าหมายในระบบเพื่อแยกแยะว่าเป็นเป้าหมายที่ ถูกก�ำหนดไว้หรือไม่ หรือเป็นเป้าลวง (เป้าลวงเป็นพลุ ความร้อนสูงที่ถูกปล่อยออกจากเป้าหมายเพื่อลวง

อาวุ ธ ที่ ใช้ ร ะบบน� ำ วิ ถี ด ้ ว ยรั ง สี อิ น ฟราเรดหรื อ คลืน่ ความร้อน) ใช้ในการจับเป้าหมายทีอ่ ยูก่ บั ที่ และ เคลื่อนที่ได้ เลเซอร์เป็นระบบน�ำวิถีที่ใช้แสงเลเซอร์ ชี้ไปยังเป้าหมาย ซึ่งล�ำแสงที่สะท้อนออกมาจาก เป้าหมายจะท�ำให้ลูกระเบิดรู้ทิศทางของเป้าหมาย ใช้ส�ำหรับเป้าหมายที่อยู่กับที่ ส�ำหรับการชี้เป้าหมาย ด้วยแสงเลเซอร์สามารถท�ำได้โดยเครื่องบินรบหรือ หน่วยก�ำลังภาคพื้นที่อยู่ใกล้เป้าหมาย นอกจากนัน้ แล้ว StormBreaker ยังถูกติดตัง้ ระบบ Data Link ที่สามารถรับข้อมูลเป้าหมายจาก เครื่องบินรบ หรือศูนย์บัญชาการภาคพื้นได้แบบ Real Time ซึง่ ท�ำให้สามารถอัพเดทข้อมูลเป้าหมายได้ StormBreaker มีน�้ำหนัก ๒๐๔ ปอนด์ ยาว ๑.๗๖ เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง (ส่วน เล็กสุด - ใหญ่สุด) ๑๕ - ๑๘ เซนติเมตร ติดตั้งปีก ช่วยในการร่อนบริเวณกลางล�ำตัวที่สามารถพับได้ เมื่อติดตั้งกับรางติดตั้งลูกระเบิดใต้ปีก หรือใต้ล�ำตัว ของเครื่ อ งบิ น รบ และจะกางออกเมื่ อ ถู ก ปล่ อ ย StormBreaker สามารถถูกปล่อยห่างจากเป้าหมาย ได้ไกลสุด ๗๐ กิโลเมตร ส�ำหรับเป้าหมายเคลื่อนที่ ส่วนเป้าหมายที่อยู่กับที่ มีระยะปล่อยไกลสุด ๑๑๐ กิโลเมตร ภายในล�ำตัวติดตั้งหัวรบหนัก ๑๐๕ ปอนด์ ซึ่งเป็นหัวรบแบบให้ผลการท�ำลายแบบผสมผสาน ทัง้ สะเก็ดระเบิดแรงระเบิด และเจาะเกราะซึง่ ช่วยให้ สามารถท�ำลายเป้าหมายได้หลายแบบนอกจากนัน้ ยัง ติดตั้งชนวนจุดระเบิด ที่สามารถเลือกได้ทั้งแบบ จุดตัวเมื่อกระทบเป้าหมาย หรือหน่วงเวลาซึ่งเหมาะ ส�ำหรับการโจมตีเป้าหมายทีอ่ ยูภ่ ายในทีก่ ำ� บัง เพือ่ ให้ ลูกระเบิดทะลุเกราะก�ำบังเข้าไปในเป้าหมายแล้วจึง ค่อยจุดระเบิด ส�ำหรับ StormBreaker ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่าง การทดสอบความพร้อมในการใช้งานจริงในขัน้ สุดท้าย โดยคาดว่าจะน�ำเข้าใช้งานกองทัพอากาศ สหรัฐฯ ราวต้นปี พ.ศ.๒๕๖๒ สามารถติดตัง้ ได้กบั เครือ่ งบินรบ ค่ายอเมริกา เช่น F/A-18 E/F, F-35, F-15

อ้างอิง - stormbreaker bomb, https://www.raytheon.com - StormBreakerBomb ,https://www.airforce-technology.com - StormBreaker enters operational test phase, www.janes.com - Raytheon’s StormBreaker bomb enters operational testing phase,https://www.reuters.com


ข่าวทหารอากาศ

ร.อ.ศุภภาณุ์ฤกษ์ ไพศาลสุทธิ

รังสีแพทย์ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช

Future ofอนาคตการแพทย์ Telemedicine ทางไกล สิ่งตอบโจทย์ในทุกปัญหาการขาดแคลน ทางการแพทย์ปัจจุบันคือการแพทย์ทางไกล เราเคย ฝันว่ามนุษย์จะได้รับบริการทางการแพทย์ในทุก หนแห่งได้ เหมือนกับอยู่ในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ แต่ทุกสิ่งที่มนุษย์จะจินตนาการได้มักจะมาเร็วกว่า ทีค่ าดไว้เสมอ วันนีก้ ารแพทย์ทางไกลถูกน�ำมาใช้อย่าง แพร่หลายในปัจจุบัน และก�ำลังก้าวสู่ยุคถัดไปของ การแพทย์ทางไกล ด้วยเทคโนโลยีคลาวด์ และ ปัญญา ประดิษฐ์ นิยามของ การแพทย์ทางไกล คือการ ให้บริการทางการแพทย์ โดยที่แพทย์หรือคนไข้ ไม่ได้อยูใ่ นพืน้ ทีใ่ ห้บริการ จุดแข็งของศาสตร์การแพทย์ ทางไกลคือ การแก้ไขปัญหาด้านการเข้าถึงผูป้ ว่ ย เช่น ระยะทางหรือภูมิประเทศที่ยากล�ำบาก และต้องเพิ่ม ประสิทธิภาพทางการรักษาให้สูงขึ้นมากกว่าก่อน การมีระบบทางไกล สาขาทางการแพทย์ที่มีการใช้ ระบบทางไกลสูงทีส่ ดุ ในโลกและสูงทีส่ ดุ ในประเทศไทย

คือ รังสีวทิ ยา (Tele-radiology) วันนีแ้ ม้แต่โรงพยาบาล ทีข่ าดแคลนรังสีแพทย์ ก็สามารถ ได้รบั บริการวินจิ ฉัย ภาพเอกซ์เรย์ ได้เหมือนมีรงั สีแพทย์ อยูท่ โี่ รงพยาบาล ชนบทด้วยการส่งข้อมูลมาให้แพทย์ และแพทย์ ก็ส่งผลการวินิจฉัยโดยดูจากภาพถ่ายกลับคืนให้ โรงพยาบาลชนบท สาขาพยาธิวทิ ยาทางไกล ( Tele-pathology) ปัจจุบันมีการใช้เครื่องตัดชิ้นเนื้อ และสแกนภาพ ชิน้ เนือ้ ทีเ่ ป็นส่วนบาง ๆ เข้าคอมพิวเตอร์และส่งสไลด์ ภาพแต่ละส่วนที่ตัดได้เข้าระบบส่งให้พยาธิแพทย์ ต่อไป แต่ปัญหาคือ ภาพที่ได้ออกมาเป็นภาพที่ใหญ่ มีเซลล์ปริมาณนับพัน แต่เราต้องการมองหาเซลล์ ที่ ผิ ด ปกติ แ ค่ ไ ม่ กี่ เซลล์ ใ นนั้ น บางครั้ ง มี ก รณี ผู้เข้าใช้บริการมาก เช่นการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก และถึงมีพยาธิแพทย์มาก ก็ยังไม่เพียงพอ ที่จะให้บริการ จึงเป็นแรงผลักดันให้พัฒนาซอฟแวร์ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน เมื่อไม่นานมานี้

61


62

ทางบริษทั เดทซิม ประเทศฝรัง่ เศส ได้พฒ ั นาซอฟแวร์ ไซโตโปรเซสเซอร์ (CytoProcessor) โดยได้พื้นฐาน ความรู้ จากการวินิจฉัยเซลล์มะเร็งของแพทย์ พัฒนา มาเป็นระบบปัญญาประดิษฐ์ ที่เข้าช่วยท�ำงานด้วย การตรวจจับเซลล์มะเร็งอัตโนมัติ และแสดงการวินจิ ฉัย เบือ้ งต้นให้แก่แพทย์ อาทิ การระบุตำ� แหน่งทีผ่ ดิ ปกติ เพื่อให้แพทย์ได้โฟกัสตรวจสอบในต�ำแหน่งทีส่ งสัย ซึ่งช่วยลดระยะเวลาการท�ำงานได้มาก นอกจากนี้ การส่ ง ต่ อ ข้ อ มู ล ที่ มี ค วามจุ ม ากด้ ว ยความเร็ ว สู ง ก็เป็นปัจจัยส�ำคัญ ซึ่งในปัจจุบันเทคโนโลยี Cloud เป็ น ที่ นิ ย มที่ สุ ด ในเรื่ อ งการเก็ บ และส่ ง ข้ อ มู ล ซึ่ ง เสมือนเซิรฟ์ เวอร์ขนาดใหญ่ การร่วมกันระหว่าง Cloud และปัญญาประดิษฐ์จึงเป็นพื้นฐานของการก้าวสู่ การแพทย์ทางไกลยุคอนาคต สาขาอืน่ มีการท�ำมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ในไทยและ ประสบความส�ำเร็จในต่างประเทศ ได้แก่ การตรวจ จอประสาทตา ด้วยเครือ่ งเก็บภาพ และส่งภาพต่อให้ จักษุแพทย์นอกโรงพยาบาล เพื่อสามารถวินิจฉัย ภาพถ่ายจากกล้องถ่ายจอประสาทตาได้ นอกจากนี้ การใช้แคปซูลเอ็นโดสโคป หรือที่เข้าใจว่าการกลืน แคปซูลถ่ายภาพในกระเพาะและล�ำไส้ ซึง่ มีจดุ ประสงค์ เพือ่ ตรวจหามะเร็งเนือ้ งอกและอืน่ ๆ ในการท�ำงานนี้ แคปซูลจะส่งภาพในล�ำไส้ปริมาณมากออกมาให้กับ เครือ่ งรับภาพทีต่ ดิ อยูก่ บั คนไข้ จากนัน้ ระบบจะอัพโหลด ภาพดังกล่าวให้อายุรแพทย์ทางเดินอาหาร เพื่อให้

การวินิจฉัยต่อไป ประโยชน์ของการกลืนแคปซูล คือ สามารถมองเห็นส่วนของล�ำไส้เล็กทีไ่ ม่อาจเห็นได้ จากการส่องกล้องทางปากร่วมกับการส่องทางทวาร แต่จดุ อ่อนทีย่ งั ไม่สามารถใช้แพร่หลายคือ กล้องแคปซูล ยังมีราคาแพง ไม่สามารถเบิกจ่ายกับ รพ.รัฐบาลใน ประเทศไทย และส่วนใหญ่ทผี่ ลิตแคปซูลออกมาก็ใช้ได้ ครั้งเดียวเท่านั้น แต่ก็นับเป็นส่วนหนึ่งของการแพทย์ ทางเดินอาหารทางไกล (Tele-gastroenterology) และยังมีความเป็นไปได้ในการลงทุนในคนไข้กลุ่ม Premiere ในพื้นที่ขาดแคลนอายุรแพทย์ทางเดิน อาหาร ถึงกระนัน้ ข้อถกเถียงของการพัฒนาปัญญา ประดิษฐ์ ยังคงเกิดขึน้ ตลอดเวลาในวงการแพทย์และ ประชาชน เนื่องจากคอมพิวเตอร์ยังขาดคุณสมบัติ หลายอย่างทีจ่ ะให้บริการทางการแพทย์ และการท�ำงาน ยังต้องมีการควบคุมตรวจสอบซ�ำ้ โดยแพทย์ทกุ ขัน้ ตอน แต่สงิ่ ทีเ่ ห็นในวันนีค้ อื การยอมรับทีม่ มี ากขึน้ เกีย่ วกับ ความสามารถของปัญญาประดิษฐ์ในทางการแพทย์ อาทิเช่น เมือ่ ไม่นานมานี้ โปรแกรมระบุตำ� แหน่งกระดูก หักจากเอกซ์เรย์ ได้รับการยอมรับโดยองค์กร FDA สหรัฐ (Food and Drug Administration) และมี แนวโน้มว่าจะมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคต ฉะนั้ น ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ จ ะเข้ า มาร่ ว มให้ บ ริ ก าร ทางการแพทย์แก่คนไข้ หรือมาทดแทนบุคลากร ทางการแพทย์บางสาขาอย่างแน่นอนในอนาคตอันใกล้


ข่าวทหารอากาศ

ขยะ เป็ น เรื อ ่ งของใคร? นโยบายจัดการพลาสติกแบบไหน

ทีป่ ระเทศอืน่ เขาท�ำกัน ทุกวันนี้ ปัญหาเรือ่ งการจัดการขยะ ถือเป็น หนึง่ ปัญหาระดับโลกเลยก็วา่ ได้ ยิง่ มนุษย์มพี ฒ ั นาการ ด้านความเจริญทางวัตถุมากขึ้น ขยะจากความเจริญ ก็ มี ม ากขึ้ น และที่ ส� ำ คั ญ ขยะที่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ สิ่งแวดล้อม ก็มีมากขึ้นเช่นกัน เรามักจะได้เห็นข่าว เกี่ยวกับปัญหาขยะต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นทาง ทะเล ต่อสัตว์นำ�้ หรือขยะอันตราย ปะปนลงสูแ่ หล่งน�ำ้ ธรรมชาติ ก่อให้เกิดผลเสียมากมาย คนจ�ำนวนมาก ทราบถึงข้อมูลเหล่านี้ แต่ในชีวิตประจ�ำวัน อาจจะ นึกไม่ถึงว่า ตัวเราคนเดียว มีผลกระทบกับปัญหานี้ อย่างไร หรือเราคนเดียวจะช่วยอะไรกับเรื่องนี้ได้บ้าง อาจเป็นเรือ่ งบังเอิญซึง่ ผูเ้ ขียนได้อา่ นข่าวเกีย่ วกับ กทม.

By R.T.A.F’s Eyes view

พิจารณาออกข้อบัญญัติ เพื่อบังคับใช้ ประกอบด้วย เนื้อหา ๒ ส่วน คือ อัตราการขึ้นค่าธรรมเนียม การจัดการมูลฝอยทัว่ ไป และการจัดการมูลฝอยติดเชือ้ โดยได้ประกาศเชิญชวนให้ประชาชนแสดงความคิด เห็น เมื่อช่วงเดือนสิงหาคม ๒๕๖๑ ที่ผ่านมา ซึ่งการ พิจารณาข้อบัญญัติดังกล่าว อาจจะต้องจ่ายค่าขน และค่าก�ำจัดขยะ สูงสุดไม่เกิน ๓๕๐ บาท ในแต่ละ ครัวเรือน และนั่นอาจท�ำให้เราหันมาใส่ใจต่อการ ลดปริมาณขยะมากยิ่งขึ้น ผู้เขียนจึงเกิดความสนใจ อยากรูม้ ากขึน้ ว่าในประเทศอืน่ ๆ เขามีนโยบายจัดการ ขยะ หรือพลาสติกแบบไหน ผู้เขียนจึงรวบรวมข้อมูล มาฝากกันค่ะ ไอร์แลนด์ เป็นประเทศ แรกของยุโรปที่บุกเบิกเก็บภาษี ถุงพลาสติก ด้วยมาตรการเก็บภาษี ถุงพลาสติกที่ถูกใช้ในไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี ค.ศ.๒๐๐๒ โดยผู้บริโภค จ�ำเป็นต้องจ่ายเงินซื้อถุงพลาสติก ผลลัพธ์จากนโยบายนี้สามารถลด การใช้ถงุ พลาสติกได้ถงึ ร้อยละ ๙๐ และยั ง ลดปริ ม าณขยะมู ล ฝอย ได้จ�ำนวนมาก

63


64

เดนมาร์ก ใช้หลากหลายวิธี การจัดการพลาสติก ประเทศเดนมาร์ก เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกทีต่ ระหนัก ถึงความส�ำคัญของการมีมาตรการ ก�ำกับดูแลการใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติก และเป็นประเทศตัวอย่างที่ประสบ ความส�ำเร็จในการลดการใช้พลาสติก อย่างเห็นผลชัดเจน โดยเดนมาร์ก มีการเก็บภาษีถงุ พลาสติกจากผูค้ า้ ปลีก ตัง้ แต่ปี ค.ศ.๒๐๐๓ เพือ่ กดดันให้รา้ น ค้าปลีกคิดค่าธรรมเนียมถุงพลาสติก กับลูกค้า และกระตุน้ ให้ผบู้ ริโภคทัว่ ไป ใช้ถุงที่สามารถน�ำกลับมาใช้ได้ใหม่ (Reusable Bags) ซึ่งจากมาตรการนี้ท�ำให้เดนมาร์กลดการใช้ถุงพลาสติกจากเดิมได้ถึงร้อยละ ๖๖ แถมเดนมาร์กยังมีระบบมัดจ�ำค่าขวดทีเ่ ก็บเงินค่าขวดพลาสติกเพิม่ จากราคาสินค้า เป็นการกระตุน้ ให้ผบู้ ริโภค น�ำขวดมาคืนเพื่อรับเงินที่มัดจ�ำไว้ ขวดพลาสติกที่รวบรวมได้จะน�ำไปรีไซเคิลต่อไป ซึ่งท�ำให้เดนมาร์กสามารถ รีไซเคิลขวดพลาสติกได้ถึงร้อยละ ๙๐ ของขวดพลาสติกที่รับคืนในระบบ เยอรมนี น�ำร่องลดขยะขวด พลาสติ ก ด้ ว ยขวดชนิ ด ที่ ใช้ ซ�้ ำ ได้ นอกจากเยอรมนีจะมีการเก็บภาษี รี ไซเคิ ล จากร้ า นค้ า ทุ ก ร้ า นที่ มี ถุ ง พลาสติกให้แก่ลูกค้าแล้ว ยังมีระบบ มัดจ�ำค่าขวดพลาสติกที่กระตุ้นให้ ผูบ้ ริโภคส่งคืนขวดเพือ่ รีไซเคิลต่อไปได้ มาตรการนีท้ ำ� ให้บริษทั เครือ่ งดืม่ เลือก ผลิตขวดที่สามารถใช้ซ�้ำออกสู่ตลาด ซึง่ ช่วยลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ได้จ�ำนวนมากเมื่อเทียบกับการผลิต ขวดใหม่ โดยในปีแรกหลั งด� ำเนิ น นโยบายนี้ขวดพลาสติกในท้องตลาด เป็ น ขวดชนิ ด ใช้ ซ�้ ำ ได้ (MultiUse Bottles) ร้อยละ ๖๔ และ ต่อมาการใช้ขวดชนิดนี้ก็ลดลงเหลือ ร้อยละ ๔๖


ข่าวทหารอากาศ

สวีเดน ระบบจัดการดีจนประเทศ ขาดแคลนขยะ สวีเดนเป็นประเทศที่ประสบ ความส�ำเร็จในการรีไซเคิลอย่างงดงาม ขยะ ในประเทศสามารถน�ำไป Reuse ได้เกือบ ทัง้ หมด มีเพียงแค่ ๔ เปอร์เซ็นต์ ทีไ่ ม่สารถมารถ น�ำกลับมาใช้ได้ และต้องน�ำไปถมทีแ่ ทน อีกทัง้ ยังมีโครงการแปรรูปขยะเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งผลิตไฟฟ้าใช้ภายในประเทศถึง ๘๑๐,๐๐๐ ครัวเรือน และโครงการนี้นี่เองที่ท�ำให้สวีเดน ขาดแคลนขยะในการน�ำไปแปรรูปเป็นพลังงาน ไฟฟ้า จนต้องรับซื้อขยะจากประเทศอื่น ๆ ในยุโรป ความส�ำเร็จนี้เกิดขึ้นได้เพราะความ ร่วมมือจากภาคประชาชนทีม่ วี นิ ยั ในการจัดเก็บ และคัดแยกขยะ สวีเดนมีระบบมัดจ�ำค่าขวดพลาสติกทีเ่ ก็บเงิน ค่าขวดจากผู้บริโภค หากไม่น�ำขวดที่ใช้เสร็จแล้วไปคืน ณ จุดรับคืน จึงท�ำให้สวีเดนมีขวดพลาสติกที่รีไซเคิล ได้ถงึ ๙๐ เปอร์เซ็นต์ ของขวดพลาสติกทัง้ หมด ปัจจุบนั สวีเดนยังให้ความสนใจกับการก�ำกับดูแลถุงพลาสติก ด้วยการก�ำหนดให้ผผู้ ลิต และผูบ้ ริโภครายงานปริมาณการผลิตและใช้ถงุ พลาสติกต่อ Swedish Environmental Protection Agency และสวีเดนก�ำลังริเริ่มระบบมัดจ�ำถุงพลาสติก ๐.๕ โครนาสวีเดน (๑.๘๖ บาท) ต่อใบ โดยเมื่อผู้บริโภคน�ำถุงมาคืนก็จะได้รับเงินคืน เพื่อป้องกันการทิ้งถุงพลาสติกไปอย่างเสียเปล่า สหรัฐอเมริกา แต่ละรัฐออกกฎควบคุม พลาสติกกันเอง ประเทศยักษ์ใหญ่ของโลกอย่าง อเมริกายังไม่ได้มีการห้ามหรือเก็บภาษีกับถุงขยะ พลาสติกทั่วประเทศ มีเพียงแค่บางรัฐเท่านั้นที่มี มาตรการนี้ ในปี ค.ศ.๒๐๐๗ ซานฟรานซิสโก เป็น เมืองแรกของอเมริกาที่มีการห้ามถุงพลาสติก เด็ดขาด ซึ่งนโยบายนี้ได้ผลักดันให้ชาวเมืองใช้ถุง ทีส่ ามารถใช้ซำ�้ ได้ (Reusable Bags) ด้วยการวางขาย ถุงกระดาษใส่ของที่ย่อยสลายได้ไว้ที่จุดแคชเชียร์ จากนโยบายนีท้ ำ� ให้มลพิษจากถุงพลาสติก ได้ถึงร้อยละ ๗๒ มาดูกันที่เมืองหลวงของอเมริกา เองอย่างวอชิงตันดีซี ก็มีการเก็บภาษีถุงพลาสติก เหมือนกัน โดยภาษีที่เก็บได้ถูกน�ำเข้ากองทุนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (The Anacostia River Clean Up and Protection Fund) ซึ่งตั้งแต่ปี ค.ศ.๒๐๐๙ นโยบายนี้ ก็สามารถลดการใช้ถุงพลาสติกได้ถึงร้อยละ ๘๕ มีระบบมัดจ�ำค่าขวดพลาสติกทีก่ ระตุน้ ให้ผบู้ ริโภคส่งคืนขวดเพือ่ รีไซเคิลต่อไปได้ มาตรการนีท้ ำ� ให้บริษทั เครือ่ ง ดื่ม เลือกผลิตขวดที่สามารถใช้ซ�้ำออกสู่ตลาด ซึ่งช่วยลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ได้จ�ำนวนมากเมื่อ เทียบกับการผลิตขวดใหม่ โดยในปีแรกหลังด�ำเนินนโยบายนี้ขวดพลาสติกในท้องตลาดเป็นขวดชนิดใช้ซ�้ำได้ (Multi-Use Bottles) ร้อยละ ๖๔ และต่อมาการใช้ขวดชนิดนี้ก็ลดลงเหลือร้อยละ ๔๖

65


66

จีน ห้ามใช้ถงุ พลาสติก เพือ่ ลดขยะมหาศาลของตัวเอง จีนเป็น ประเทศทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ ในโลก ย่อมเป็นธรรมดาที่อัตราการใช้ถุง พลาสติกจะสูงมากเป็นเงาตามตัว โดยทัว่ ทัง้ ประเทศต่อหนึง่ วันมีการใช้ ถุงพลาสติกถึงประมาณ ๓,๐๐๐ ล้านใบ และสร้างขยะสูงถึง ๓ ล้านตัน ต่อปี ซึ่งทรัพยากรน�้ำมันดิบที่จีน สูญเสียไปเพื่อการผลิตถุงพลาสติก อยู่ที่ประมาณ ๕ ล้านตันต่อปี จนเมือ่ ปี ค.ศ.๒๐๐๘ รัฐบาลจีนมีค�ำสั่ง ห้ามร้านค้า และห้างสรรพสินค้า จัดเตรียมถุงพลาสติกฟรีที่มีขนาดบางกว่า ๐.๒๕ มิลลิเมตร ให้กับลูกค้า ซึ่งมาตรการดังกล่าว ท�ำให้จีน ลดการใช้ถุงพลาสติกได้ถึง ๔๐,๐๐๐ ล้านใบ แต่ในร้านค้าปลีกเล็ก ๆ ก็ยังมีให้ถุงพลาสติกฟรีอยู่

ออสเตรเลีย ลด ๑ ใน ๓ ของถุงพลาสติกได้ และเดินหน้า ลดต่อไปให้มากขึ้น ในปี ค.ศ.๒๐๑๑ ออสเตรเลียมีการห้ามใช้ถุงพลาสติก ชนิด PE แบบใช้ครั้งเดียวทุกชนิด ที่บางกว่า ๓๕ ไมครอน โดยรัฐบาล ออสเตรเลี ย รณรงค์ ใ ห้ พ ลเมื อ ง ใช้ถุงที่สามารถน�ำกลับมาใช้ได้ใหม่ (Reusable Bags) เพือ่ ลดผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ การห้ามนีก้ ป็ ระสบ ความส�ำเร็จ เพราะสามารถก�ำจัดขยะ พลาสติกที่จะส่งไปหลุมฝังกลบได้ถึง ๑ ใน ๓ จากปริมาณเดิม ต่อจากนั้น ออสเตรเลียมีความเคลื่อนไหวเรื่อง พลาสติกอีกครั้ง ในรัฐควีนส์แลนด์ และรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย จากเดิมที่ห้ามแค่ถุงพลาสติกที่บางกว่า ๓๕ ไมครอน เป็นห้ามถุงพลาสติกชนิด ที่หนากว่าด้วย โดยการห้ามครั้งนี้เป็นความพยายามที่ต้องการลดขยะถุง พลาสติกให้มากกว่าเดิม เนื่องจากเร็วๆ นี้ปริมาณขยะถุงพลาสติกทั้งประเทศมีจ�ำนวนมากกว่า ๓.๒ พันล้าน ตันต่อปี


ข่าวทหารอากาศ

สหราชอาณาจักร เริม่ เก็บ ภาษีถุงพลาสติก และตั้งเป้าห้ามใช้ หลอดพลาสติกในอนาคตอีกประเทศ ที่ขณะนี้ตื่นตัวเรื่องการก�ำกับดูแล การใช้พลาสติกก็คอื สหราชอาณาจักร ในปี ค.ศ.๒๐๑๕ ที่ผ่านมา อังกฤษ เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติกจากผู้ บริโภคในร้านค้าใหญ่ ๆ ใบละ ๕ เพนซ์ (๒.๑๔ บาท) ซึง่ ท�ำให้สามารถ ลดการใช้ถุงพลาสติกได้มากกว่า ร้ อ ยละ ๘๐ และคาดว่ า การลด การใช้ถงุ พลาสติกในครัง้ นีม้ ปี ระโยชน์ ต่อเศรษฐกิจอย่างมาก โดยสามารถ ลดงบประมาณค่าก�ำจัดขยะมูลฝอยได้ถึง ๖๐ ล้านปอนด์ และยังลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ ๑๓ ล้านปอนด์ สหราชอาณาจักร เริ่มเก็บภาษีถุงพลาสติก และตั้งเป้าห้ามใช้หลอดพลาสติกในอนาคต โดยในอนาคตอังกฤษมีแผนที่จะน�ำระบบมัดจ�ำขวดพลาสติกมาใช้ รวมถึงในการประชุมเครือจักรภพอังกฤษ ได้เสนอให้มีการห้ามใช้หลอดดูดพลาสติก แท่งพลาสติกส�ำหรับคนกาแฟ และก้านส�ำลีแคะหูอีกด้วย ไต้หวัน ประเทศน้องใหม่ มาแรงด้านการจัดการพลาสติก เมือ่ ช่วงต้นปี ค.ศ.๒๐๑๘ ไต้หวันประกาศ ถึ ง มาตรการห้ า มใช้ ถุ ง พลาสติ ก ข้าวของที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง และ แก้ ว เครื่ อ งดื่ ม ซึ่ ง จะห้ า มอย่ า ง ครอบคลุมภายในปี ค.ศ.๒๐๓๐ โดย ในปี ค.ศ.๒๐๑๙ ร้านอาหารและ เครื่องดื่มในไต้หวันจะงดการให้ หลอดฟรี ในร้านอาหาร และในปี ค.ศ.๒๐๕๐ ชาวไต้หวันจะต้องจ่ายเงิน หากมี ก ารใช้ ห ลอดพลาสติ ก อยู ่ นโยบายนีท้ ำ� ให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ต่ อ วิ ถี ชี วิ ต ของชาวไต้ ห วั น เป็ น อย่างมาก แต่รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อม ของไต้หวัน หลี ยิ่งหยวน แสดงความมั่นใจว่า วิถีชีวิตแบบใช้พลาสติกน้อยลงนี้ ประชาชนจะได้รับประโยชน์ ที่มากกว่า ทั้งยังลดขยะที่เกลื่อนกลาด ถังขยะจ�ำนวนน้อยลง รวมถึงได้ชายหาดที่สะอาดขึ้นอีกด้วย

67


68

อาเซียน เพื่อนบ้านของ ไทยเริ่มหยุดการใช้ถุงพลาสติกแล้ว ประเทศเพือ่ นบ้านในอาเซียนของไทย มีหลายประเทศมีด�ำเนินการเพื่อลด การใช้ถุงพลาสติกแล้ว โดยปี ค.ศ. ๒๐๑๖ อินโดนีเซียใช้งบประมาณถึง ๑ พันล้าน ในการลดปริมาณขยะ พลาสติ ก โดยรั ฐ บาลอิ น โดนี เซี ย ได้ทดลองเก็บภาษีถงุ พลาสติก ถึงแม้ กระแสตอบรั บ จากประชาชนจะ เป็นลบ แต่รฐั บาลก็สามารถลดปริมาณ ถุงพลาสติกได้จำ� นวนมาก เพือ่ นบ้าน ทีพ่ รมแดนอยูต่ ดิ กับเราอย่างมาเลเซีย รั ฐ บาลก็ ไ ด้ ก ารรณรงค์ ล ดการใช้ ถุงพลาสติกเช่นกัน ส่วนเมียนมา มีมาตรการห้ามใช้ถุงพลาสติกในหลายเมือง เช่น มัณฑะเลย์ บากัน และ เนปิดอว์ นอกจากนี้ รัฐบาลเมียนมา ยังประกาศให้พื้นที่เมืองมิตจีนา และเมืองสะกายเป็นพื้นที่ปลอดถุงพลาสติกด้วย ทางด้านกัมพูชา ก็ใช้วิธี เก็บเงินค่าถุงพลาสติกจากผู้บริโภค และทางการก�ำลังพิจารณาห้ามผลิต การน�ำเข้า และการจ�ำหน่าย ถุงพลาสติกที่บางกว่า ๐.๐๓ มิลลิเมตร และมีความกว้างน้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร โดยกัมพูชาวางแผนลด การใช้ถงุ พลาสติกให้ได้ ๕๐ เปอร์เซ็นต์ ภายในปี ค.ศ.๒๐๑๙ และจะเก็บเงินค่าถุงพลาสติกเพิม่ ขึน้ ทัว่ ประเทศ ในปี ค.ศ.๒๐๒๐ ในขณะที่หลายประเทศทั่วโลกให้ความ ส�ำคัญกับการจัดการขยะพลาสติก แม้วา่ ผลลัพธ์จะยัง ไม่สมบูรณ์ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ก็มีความตื่นตัว และ ทดลองลงมือท�ำแล้ว ส่วนประเทศไทย ปัจจุบันก็ยัง ไม่มีนโยบายในการจัดการใช้พลาสติกอย่างเป็น รูปธรรม มีเพียงการขอความร่วมมือของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม แม้วา่ ปัจจุบนั เรา มองกลับมาที่ประเทศไทย ที่การจัดการขยะยังถูกท�ำ อย่างไม่เต็มประสิทธิภาพ และถึงแม้จะมีหลากหลาย โครงการดี ๆ ทีเ่ กิดขึน้ แต่กย็ งั คงไม่สามารถทีจ่ ะแก้ไข อ้างอิง - www.thematter.co/pulse/plastic-policy-in-other-country

ปัญหาได้ในวงทีก่ ว้างมากพอ แต่ผเู้ ขียนมีความเชือ่ ว่า พลังของคนเล็ก ๆ หรือประชาชนทั่วไป หากทุกคน มองมาที่จุดเริ่มต้น ที่เป็นต้นตอของปัญหา คือ “จิตส�ำนึก” ในสังคมส่วนรวม เพราะเราทุกคน คือ “ต้นเหตุ” ให้เกิดขยะ ในขณะเดียวกัน เราทุกคนก็ สามารถทีจ่ ะเป็น “ต้นเหตุ” ในการช่วยเหลือโลกและ สังคมที่เราอยู่อาศัยในการจัดการขยะ ด้วยเช่นกัน เริม่ ต้นจากการสร้างจิตส�ำนึกในครัวเรือน ส่งต่อให้เป็น ค่านิยม ของคนรุ่นต่อ ๆ ไป


ข่าวทหารอากาศ

69

มิสกรีน

ภาพที่ 1 - ฉันต้องการท�ำรายการของงานที่จะท�ำวันนี้ไปเอากระดาษมาให้เขียนหน่อยซิ - ครับผม ภาพที่ 2 - นี่ครับ

list (n.) - รายการสิ่งของ, รายชื่อ ฯลฯ ที่เขียนหรือพิมพ์ไว้ เช่น shopping list (รายการของที่จะ ไปซื้อ), name list (รายชื่อ), และ wine list (รายการชนิดของไวน์) เป็นต้น ถ้าใช้เป็น ค�ำกริยา คือ to list หรือ to make a list of sth. Ex. We were asked to list our ten favorite food. (เราถูกขอร้องให้ท�ำรายการอาหารโปรดไว้ ๑๐ อย่าง) และ She made a list of customers’ names alphabetically (เธอท�ำรายชื่อลูกค้า ไว้ตามล�ำดับอักษร) Get me some paper - เป็นประโยคค�ำสั่ง ให้ท�ำสิ่งหนึ่งสิ่งใด ผู้รับค�ำสั่ง คือ you แต่ไม่เอ่ยถึงก็เป็นที่เข้าใจได้ และไม่ได้ต้องใช้ค�ำสุภาพเหมือนประโยคขอร้อง (request) paper (n.) - ปกติ แปลว่า กระดาษทีใ่ ช้เขียนหรือวาดรูป แต่บที เทิล่ อยากจะแกล้ง เลยน�ำกระดาษช�ำระ มาให้ (toilet paper)


70

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3

- ผมไม่อยากจะเชื่อว่าคุณไม่ขายขนมสโคนส์ - เอ้อ คุณครับ คือว่า ที่นี่เป็นร้านหนังสือน่ะครับ - ไม่เป็นไร - งั้น ผมขอเบเกิลรสหัวหอม ทาด้วยหน้าพริกแดง และกาแฟลาเต้ขนาดกลางครับ - ได้เลยครับ !

scones (n.) - ขนมเค้กก้อนแบนเล็ก บางครั้งใส่ผลไม้แห้ง นิยมทานกับน�้ำชาหรือกาแฟ after all (idm) - เป็นส�ำนวน ใช้เมื่อต้องการอธิบายหรือให้เหตุผลบางอย่าง (used when explaining sth.or giving a reason) bagel (n.) - ขนมปังก้อนแข็ง ท�ำเป็นวงคล้ายโดนัท ออกเสียงว่า ‘เบ๊เกิ่ล’ pimento (n.) - พริกเม็ดเล็กสีแดง ไม่เผ็ด ออกเสียงว่า ‘เพอเม้นโถ่’ spread (n.) - ในทีน่ ี้ แปลว่า หน้าขนมปัง (a soft food that you put on bread) ได้แก่ tuna spread และ cheese spread เป็นต้น medium (adj.) - ในที่นี้ หมายถึง ขนาดของถ้วยกาแฟที่เป็นขนาดกลาง latte (n.) - กาแฟใส่นมทีป่ น่ั เป็นฟองละเอียดบนผิวหน้า ออกเสียงว่า ‘ล้าตเถ่’ ถ้าคนให้บริการกาแฟ (barista) มีความช�ำนาญ จะท�ำฟองนมเป็นรูปสวยงามต่าง ๆ เรียกว่า Latte Art (ศิลปะ บนฟองนมในถ้วยกาแฟ)


ข่าวทหารอากาศ

How Philippine can again be on top in ASEAN region การกลับคืนสูค่ วามเป็นประเทศชัน้ น�ำใน ภูมภิ าคอาเซียน ของฟิลปิ ปินส์

น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ

ในยุคปี ค.ศ.๑๙๕๐ จนถึง ๑๙๖๐ ฟิลปิ ปินส์ เป็นประเทศซึง่ เป็นทีน่ า่ อิจฉาของประเทศเพือ่ นบ้าน ในภูมิภาค อาเซียน และในเอเชีย เนื่องจากฟิลิปปินส์ เป็นประเทศหนึ่งที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ โครงสร้างพืน้ ฐาน การพัฒนาคน การศึกษา และทักษะ รวมถึงปัจจัยอื่น ๆ อีกมากมาย ท�ำให้ฟิลิปปินส์ ประสบความส� ำ เร็ จ เช่ น ในอดี ต ชาวฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ไปซื้อสินค้าจากฮ่องกงอย่างมาก และชาวไต้หวัน

ประหลาดใจเมือ่ มาฟิลปิ ปินส์พบตึกสูงและมีลฟิ ต์ และ ประเทศไทยมาเรียนการผลิตข้าวทีม่ ปี ระสิทธิภาพของ ฟิลิปปินส์ ชาวเกาหลีใต้ก็ปรารถนาว่าจะประสบ ความส�ำเร็จเช่นเดียวกับชาวฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ เคยเป็นประเทศที่ภาคภูมิใจของเอเชีย และเป็นหนึ่ง ในจุดหมายปลายทางของชาวต่างชาติ โดยเฉพาะจีน แต่ยุคทองของฟิลิปปินส์ได้ผ่านพ้นไปแล้ว ตอนนี้ เกาหลีใต้ปรารถนาให้ฟิลิปปินส์ประสบความส�ำเร็จ

71


72

เหมือนเกาหลีใต้ ฟิลปิ ปินส์ได้กลายเป็นอันดับ ๖ ของ ประชาคมอาเซียนในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จากจ�ำนวน ๑๐ ประเทศโดยเวียดนามน�ำหน้าอยู่ใน ขณะนี้ อะไรเกิดขึน้ กับฟิลปิ ปินส์ในช่วงหลายสิบปี ที่ผ่านมา? การถดถอยของฟิลิปปินส์ไม่สามารถ ย้อนกลับไปเจริญรุ่งเรืองเหมือนในอดีตได้หรือไม่? อะไรที่ควรท�ำเพื่อคืนศักดิ์ศรีที่หายไปของฟิลิปปินส์? ค�ำตอบเหล่านี้ได้รับฟังจาก นาย Jose Luis Yulo Jr. ประธานหอการค้าของฟิลิปปินส์ซึ่งเป็นองค์กรที่ เก่าแก่ที่สุดในประเทศ ได้ให้ความเห็นว่าฟิลิปปินส์ สามารถพัฒนากลับไปเจริญรุ่งเรืองได้หากฟิลิปปินส์ เปลี่ยนความคิดและมุ่งมั่นใน ๕ ประเด็นส�ำคัญคือ การศึ ก ษา โครงสร้ า งพื้ น ฐานและการคุ ้ ม ครอง สิง่ แวดล้อม การก�ำกับดูแลภาครัฐทีด่ ี การด�ำเนินธุรกิจ และการเป็นเจ้าของธุรกิจการ กระจายความหลากหลาย

ทางเศรษฐกิ จ ระบบการศึ ก ษาควรแสวงหาครู ที่ ดี ที่ สุ ด และนั ก เรี ย นที่ ดี ท่ี สุ ด ที่ จ ะพั ฒ นาให้ เ ต็ ม ศั ก ยภาพ นอกจากการแสวงหาความเป็ น เลิ ศ ด้านการศึกษาแล้ว ด้านโภชนาการที่เพียงพอจะต้อง ได้รับการจัดล�ำดับความส�ำคัญมากขึ้น เกี่ยวกับ โครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อม ต้องสร้าง รายชือ่ สิง่ ก่อสร้างทีด่ ที สี่ ดุ และสถานทีต่ า่ ง ๆ ทีพ่ ระเจ้า สร้างขึน้ และมนุษย์สร้างขึน้ สิง่ มหัศจรรย์ทางธรรมชาติ ควรได้รบั การรักษาอย่างเต็มทีใ่ นเรือ่ งความงดงามและ ความเงียบสงบ ไม่ควรมีการพัฒนามากเกินไปในพืน้ ที่ เหล่านี้และควรบังคับใช้การห้ามการก่อสร้างทั้งหมด ในบ้างพืน้ ที่ นอกจากนัน้ จะต้องจ�ำกัดจ�ำนวนผูเ้ ข้าชม สถานที่ท่องเที่ยว เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพเมื่อมี จ�ำนวนมากเกินความสามารถในการรองรับ ทั้งที่พัก อาศัย อาหาร การก�ำจัดขยะและสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ


ข่าวทหารอากาศ

นักวางผังเมืองควรได้รับแรงบันดาลใจใน การสร้างทางหลวงที่ดีที่สุด สะพาน และโครงสร้าง พืน้ ฐานอืน่ ๆ ของหลายประเทศ เพือ่ ให้เหมาะสมกับ ความต้องการของฟิลิปปินส์ ซึ่งจากที่ผ่านมาได้หยุด นิ่งไม่เกิดการพัฒนา ถนนไม่ได้ให้บริการหลักส�ำหรับ ยานพาหนะ และทางเท้าไม่ได้ใช้ส�ำหรับผู้คนในการ สัญจร รัฐบาลปัจจุบันได้มียุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศที่เรียกว่า Build, Build, Build ควรที่จะเป็น ค�ำขวัญ Best,Best,Best เกี่ยวการก�ำกับดูแลและ การให้บริการภาครัฐบาล ความพยายามควรมุ่งมั่น ที่จะบรรลุเป้าหมายโดยเฉพาะคนที่ดีและซื่อสัตย์ ควรท�ำหน้าทีใ่ นรัฐบาล เราควรเผชิญกับความจริงของ โลกาภิวัฒน์ที่ประเทศทั่วโลกอยู่ในการแข่งขันอย่าง ต่อเนื่องเพื่อความเป็นเลิศ การที่จะชนะฟิลิปปินส์ ต้องมียุทธศาสตร์ที่เหมาะสม ช่วยเป็นแรงขับให้เกิด การใช้งานอย่างเต็มขีดความสามารถ ความสามารถ พิเศษ และความสามารถทางปัญญา ด้านการศึกษาหลายประเทศที่ประสบ ความส�ำเร็จเพราะเยาวชนได้รับการพัฒนาให้เกิด

ศักยภาพสูงสุด โดยเด็กที่เก่งที่สุดได้ถูกน�ำไปเรียน ในโรงเรียนทีด่ ที สี่ ดุ ในโลกแล้วกลับมาพัฒนาบ้านเกิด ของตนเอง ซึง่ แตกต่างจากฟิลปิ ปินส์ทมี่ คี นเก่งมีความ สามารถสูงและมีความพร้อมทุกด้าน แต่ไม่เข้าร่วม งานกับภาครัฐบาลเนื่องจากเงินเดือนต�่ำ กลไกนี้ต้อง ได้รบั การปรับปรุงให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ เพือ่ ให้ได้ ในสิ่งที่ดีที่สุดและเป็นคนที่ฉลาดที่สุดส�ำหรับท�ำงาน ในภาครัฐบาล ดังนั้นอิทธิพลนักการเมือง หรือการมี ความสัมพันธ์กับนักการเมือง บุคลากรของรัฐจะต้อง หยุดพฤติกรรมดังกล่าว ด้ า นธุ ร กิ จ การด� ำ เนิ น กิ จ การอาหาร ในขณะนี้ ต่างประเทศจ�ำนวนมากได้เข้ามาขยายสาขา ในฟิลปิ ปินส์ เจ้าของกิจการควรทีจ่ ะเป็นคนฟิลปิ ปินส์ และในด้านต่าง ๆ เช่น การโฆษณา และการสื่อสาร การควบคุ ม ควรเป็ น คนฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ท ้ อ งถิ่ น เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ กิ ด อิ ท ธิ พ ลต่ อ จิ ต ส� ำ นึ ก ของคนฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ตลอดจนการอุตสาหกรรมเหมืองแร่ต้องผ่านการ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์แล้วจึงส่งออกไป ไม่ใช่ส่ง วัตถุดิบไปขาย

73


74

เศรษฐกิ จ ของฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ต ้ อ งมี ค วาม หลากหลาย ไม่ เ พี ย งแต่ ด ้ า นการเกษตรและ การท่องเทีย่ วหรือการบริการเท่านัน้ ต้องให้ความส�ำคัญ กับการผลิตเพื่อสร้างการจ้างงานมากขึ้นและเพื่อ ปรับปรุงค่าแรงขั้นต�่ำ จากข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก ของประธานพั ฒ นา เศรษฐกิจของฟิลปิ ปินส์อาจจะเป็นประโยชน์อย่างมาก ในการฟื้นฟูฟิลิปปินส์ให้อยู่ในจุดสูงสุดในภูมิภาค ของเอเชีย และน�ำมาเป็นบทเรียนให้กบั ประเทศ หรือ องค์กรอื่น ๆ ของไทย ในการพัฒนาประเทศ หรือ พัฒนาหน่วยงานให้เป็นประเทศหรือองค์กรชั้นน�ำ ในภูมิภาค อ้างอิงบทความ ATTY.JOEY D. LINA Former Senator


ข่าวทหารอากาศ

ธรรมะ ประที ป อานิสงส์ของบุญบารมี ผลของบุ ญ บารมี ที่ ห ลั่ ง ไหลไปรวมอยู ่ ที่ ผูบ้ ำ� เพ็ญ เหมือนแม่นำ�้ ใหญ่นอ้ ยทัง้ หลายไหลลงไปรวม ในมหาสมุทร เรียกว่า อานิสงส์ของบุญบารมี มีลกั ษณะ อยู่ ๔ อย่าง คือ ๑. อานุภาพ บุญฤทธิ์ที่ส่งเสริมผู้บ�ำเพ็ญ บุญบารมีให้เป็นที่นิยมนับถือของมวลชน โดยจูงใจ มวลชนเมือ่ ได้พบเห็นผูม้ บี ญ ุ บารมีให้เกิดชืน่ บานหรรษา และนิยมนับถือ เรียกว่า อานุภาพ จริงทีเดียว ผู้มีบุญ บารมีจะไปมาในถิน่ ใด ๆ บุญฤทธิย์ อ่ มบันดาลให้มวลชน ในถิน่ นัน้ ๆ ยินดีตอ้ นรับด้วยอัธยาศัยไมตรี พึงเห็นใน ค�ำพระพุทธองค์ที่ตรัสปรารภกับนายนันทิยะว่า “บุญ ย่อมยินดีรบั รองผูท้ ำ� บุญ เช่นเดียวกับญาติมติ รสหาย ยินดีรับรองญาติที่อยู่แรมนานมาแต่ไกลโดยสวัสดี” ๒. อภินิหาร อ�ำนาจของบารมี ที่เชิดชู ผูบ้ ำ� เพ็ญขึน้ เป็นอัจฉริยบุคคล บันดาลให้มผี คู้ นปรบมือ ให้หรือยกนิ้วให้ว่าเป็นคนมีน�้ำหนักน่าเคารพย�ำเกรง สมควรแก่การยกย่อง เรียกว่า อภินหิ าร อ�ำนาจของบุญ บารมีหรือบุญญาภินิหาร นับเป็นอิทธิพลจูงใจคนให้ สมัครอยู่ภายใต้ร่มเงา และโน้มน้าวให้ยินดีเต็มใจท�ำ ตามผู้มีบุญบารมีด้วยความจงรักภักดี พึงเห็นในค�ำที่ พระพุทธองค์ตรัสปรารภกับจิตตคฤหบดีว่า “บุคคลผู้ มี ศ รั ท ธา สมบู ร ณ์ ด ้ ว ยศี ล เอิ บ อิ่ ม ด้ ว ยยศและ อ้างอิงบทความ

กอศ.ยศ.ทอ.

โภคสมบัติ จะไปในถิ่นใด ๆ ย่อมมีผู้เคารพบูชาใน ถิ่นนั้น ๆ” ๓. สิรสิ มบัติ สมบัตคิ อื มิง่ ขวัญสง่าราศีดเี ด่น เป็นพิเศษที่เกิดแต่บุญบารมี เป็นเสน่ห์ดึงดูดใจคน ให้เข้าหาผูม้ บี ญ ุ เรียกว่า สิรสิ มบัติ และสิรสิ มบัตนิ คี้ อย สนับสนุนผูม้ บี ญ ุ ให้เป็นขุมทรัพย์ คือเป็นทีไ่ หลมาเทมา แห่งทรัพย์จากทางน�้ำและทางอากาศ พึงเห็นในค�ำ พระว่า “สิริคือมิ่งขวัญ เป็นที่มานอนแห่งโภคทรัพย์ ทั้งหลาย” ตรงข้ามผู้ไม่มีบุญ รวบรวมทรัพย์ไว้หรือ ได้รบั ส่วนแบ่งจากพ่อแม่หรือคนอืน่ ก็ไม่อาจรักษาทรัพย์ ไว้ได้ สิริสมบัติจะพาทรัพย์นั้นหนีจากไป รวมอยู่ที่ ผู้มีบุญ พึงเห็นในค�ำพระว่า “คนไม่มีบุญ จะมีศิลปะ หรือไม่ก็ตาม ขวนขวายรวบรวมทรัพย์ไว้มากมาย แต่ตนเองไม่ได้ใช้สอย ส่วนคนมีบญ ุ เท่านัน้ จะได้ใช้สอย ทรัพย์เหล่านัน้ โภคทรัพย์ละทิง้ คนไม่มบี ญ ุ เสีย เกิดขึน้ แก่คนมีบุญได้แม้ที่มิใช่บ่อเกิดเลย” ๔. วาสนา กิรยิ าทีจ่ ติ ใจอยูแ่ รมนานกับความดี จนคุ้นเคยติดสันดานดีสืบมา เรียกว่า บุญวาสนา คนมี บุญบารมี แม้เกิดในถิ่นที่ไม่เจริญ บุญวาสนาก็จะช่วย ส่งให้ไปอยูใ่ นถิน่ ทีเ่ จริญ เหมือนค�ำโบราณว่า “ช้างเผือก เกิดในป่า ต้องจากป่าเข้าไปเป็นราชพาหนะอยูใ่ นเมือง หลวง”

หนังสือมงคลยอดชีวิต สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร ป.ธ.๖) อดีตเจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ

75


76

วันคล้ายวันสถาปนา

กรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารทหารอากาศ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑

น.ต.หญิง นิรมล การสมใจ

เมือ่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ กองทัพอากาศ ได้จดั ตัง้ ส�ำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศทหารอากาศ (สท.ทอ.) เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติภารกิจทั้งด้านการรบ การสนับสนุนการรบ และการบริหารงานทัว่ ไป ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๕๕๒ กองทัพอากาศได้นำ� แนวคิดการปฏิบตั ิ ที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations: NCO) มาประยุกต์ใช้ในยุทธศาสตร์ การพัฒนาและการเตรียมก�ำลังกองทัพ โดยได้ปรับ โครงสร้าง สท.ทอ.เดิมให้เป็นหน่วยงานในระดับกรม ฝ่ายเสนาธิการและเพิม่ ภารกิจในด้านระบบบัญชาการ

และควบคุม การสงครามสารสนเทศการสื่อสาร อิเล็กทรอนิกส์ และสงครามอิเล็กทรอนิกส์ เรียกชื่อ ใหม่ว่า “กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทหารอากาศ (ทสส.ทอ.)” และต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๕๗ ทสส.ทอ.ได้ รั บ การปรั บ โครงสร้ า งโดยยกระดั บ หน่วยงานด้านสงครามไซเบอร์ และด้านสงคราม อิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นหน่วยงานภายใน นขต.ทสส.ทอ. รวมทั้ ง เป็ น หั ว หน้ า สายวิ ท ยาการสารสนเทศ และสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นจึงก�ำหนดให้ ๓๐ พฤศจิกายน ของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนา หน่วย


ข่าวทหารอากาศ

โดยในปี พ.ศ.๒๕๖๑ ทสส.ทอ.ได้ จั ด อบรมหลักสูตรของสายวิทยาการสารสนเทศและ สงครามอิเล็กทรอนิกส์ที่ส�ำคัญ จ�ำนวน ๔ หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตร จนท.เทคโนโลยีสารสนเทศและสงคราม อิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตรการจัดการระบบเครือข่ายและ การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน หลักสูตรจนท.ปฏิบตั กิ าร สงครามอิเล็กทรอนิกส์ และหลักสูตรนายทหารรักษา ความปลอดภัยระบบสารสนเทศ ทั้งนี้ ยังมีการส่ง บุคลากรไปศึกษาเพิม่ เติมในสถาบันทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ทัง้ ในและต่างประเทศโดย ทสส.ทอ.ยังมอบเครือ่ งหมาย แสดงความสามารถพิเศษในการท�ำหน้าทีส่ ารสนเทศ และสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ทอ.ให้กบั ข้าราชการ ทอ. ทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ตามระเบียบ ทอ. ว่าด้วย เครื่องหมายแสดงความสามารถพิเศษในการ ท�ำหน้าที่สารสนเทศและสงครามอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๖๑ งานฝ่ายอ�ำนวยการด้านการสือ่ สาร ได้จดั ท�ำ แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ แผนแม่บทโทรคมนาคม และการปรับปรุงแผนแม่บท

บริหารเคลื่อนความถี่ ทอ. รวมทั้งการจัดท�ำแนวทาง ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต ทอ. โดยท�ำให้การใช้งาน ระบบอินเทอร์เน็ตของผูใ้ ช้ในงานราชการมีความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ส�ำหรับงานด้านระบบบัญชาการและควบคุม ได้จดั ท�ำมาตรฐานโครงสร้างข้อมูลภูมสิ ารสนเทศ ทอ. (Air Force Spatial Data Infrastructure : AFSDI) เพือ่ ใช้ในงานระบบภูมสิ ารสนเทศของ ทอ. ทัง้ นีม้ กี ารน�ำ โปรแกรม NCOC Portal ทดลองใช้งานในการฝึก กฝร.๖๑ (ทอ.) เพื่อตรวจสอบและปรับปรุงโปรแกรม ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ ด�ำเนินการโครงการ พัฒนา ศปก.กองบิน เพื่อบูรณาการข้อมูลด้านระบบ บัญชาการและควบคุมของกองบินให้มีประสิทธิภาพ และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น งานด้านสงครามอิเล็กทรอนิกส์ สนับสนุน ชุดปฏิบตั กิ ารสงครามอิเล็กทรอนิกส์สำ� หรับ บ.ข.๒๐/ก เข้าร่วมการฝึกผสมทางอากาศที่ส�ำคัญ ๓ กิจกรรม ในปีพ.ศ.๒๕๖๑ ได้แก่ การฝึกผสม Cope Tiger 2018, การฝึกผสม Pitch Black 2018, และการฝึกผสม

77


78

Falcon Strike 2018 ทั้งนี้ ทสส.ทอ.ได้สนับสนุน ข้าราชการทีม่ คี วามช�ำนาญด้านสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมเป็นคณะท�ำงานในโครงการพัฒนาขีดความสามารถ ของอากาศยานรบที่ส�ำคัญ ได้แก่ F-16 MLU, F-5 MOD, T-50 และ A-JET ส�ำหรับการปฏิบัติการด้านไซเบอร์และ การรักษาความปลอดภัยระบบสารสนเทศ ได้ท�ำการ ตรวจสอบและประเมินผลให้ค�ำแนะน�ำด้านความ ปลอดภัยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร แก่ นขต.ทอ.จ�ำนวน ๒๖ หน่วย และจัดท�ำแนว ความคิด เพือ่ เป็นกรอบในการปฏิบตั กิ ารในมิตไิ ซเบอร์

(CYBER CONOPs) รวมทั้ ง การจั ด เตรี ย มคน อุปกรณ์รบั มือภัยคุกคามด้านไซเบอร์ การประชาสัมพันธ์ และสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ในการรั ก ษาความปลอดภั ย ระบบสารสนเทศให้กับข้าราชการ ทอ.เนื่องด้วย การเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เป็นไปอย่างรวดเร็ว และการเป็นหัวหน้าสายวิทยาการ ท�ำให้ ทสส.ทอ.ต้องเร่งปรับปรุง และพัฒนาหน่วยงาน ทั้งในด้านก�ำลังพล ระบบและอุปกรณ์ ตลอดจน แนวทางการปฏิบัติงานให้สามารถรองรับภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ในอนาคตต่อไป

เรียบเรียงโดย กนผ.สนผ.ทสส.ทอ. โทร.๒-๐๖๔๕ น.ต.หญิง นิรมล การสมใจ รอง หน.ผธก.ทสส.ทอ./นปส.ทสส.ทอ.โทร.๒-๐๗๒๒


ข่าวทหารอากาศ

ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยประชาคมอาเซียน

Cambodia Tourist Attraction

@Ziich

สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วของประเทศกัมพูชา

Angkor Wat is Cambodia’s largest religious monument and the most important temple where its elements are still in good conditions. Among all Khmer palaces, Angkor Wat is perceived as the most beautiful archaeological site and is considered as 1 of 7 wonders of the world. It is located in Siem Reap, part of Muang Phra Nakorn, and was built by the Khmer King Suryavarman II. What should not be missed when visiting is seeing sunrise at the west side of Angkor Wat, near the big swamp, which is on the left side of Nagas bridge by the castle entrance. This area is popular for photo taking. After the sun rises, the sun light will shine from the back of the temple with a reflection in the lake which creates beautiful scenery. While at sunset, the sun shines over the temple, turning it into gold.

นครวัด เป็นศาสนสถานที่ยิ่งใหญ่อลังการ และเป็นวัดทีม่ คี วามส�ำคัญมากทีส่ ดุ ของประเทศกัมพูชา ซึ่งยังคงมีสภาพสมบูรณ์ ถือเป็นโบราณสถานที่มีความ สวยงามมากที่สุดในบรรดาปราสาทขอม และยังได้รับ การยกย่องให้เป็น ๑ ใน ๗ สิง่ มหัศจรรย์ของโลกอีกด้วย นครวัดตั้งอยู่ในจังหวัดเสียมเรียบ (คนไทยมักเรียกว่า “เสียมราฐ”) ส่วนหนึ่งของเมืองพระนคร สร้างขึ้น ในรัชสมัยพระเจ้าสุรยิ วรมันที่ ๒ ผูค้ รองอาณาจักรขอม สิง่ ทีพ่ ลาดไม่ได้เมือ่ มาท่องเทีย่ วทีน่ ่ี คือการชมพระอาทิตย์ ขึ้นที่ฝั่งตะวันตกของนครวัด บริเวณหน้าบึงใหญ่ ด้านซ้ายของสะพานนาคข้างทางเดินเข้าสู่ปราสาท นักท่องเที่ยวนิยมมาเก็บภาพบรรยากาศบริเวณนี้ โดย หลังจากพระอาทิตย์ขนึ้ แล้ว แสงอาทิตย์จะสาดส่องขึน้ ทีด่ า้ นหลังของปราสาท พร้อมเงาสะท้อนบนผิวน�ำ้ ของ นครวัด ซึ่งเป็นภาพที่สวยงามมาก และในเวลาขณะที่ พระอาทิตย์กำ� ลังตก แสงอาทิตย์จะสาดส่องมายังปราสาท กลายเป็นนครวัดสีทองอร่ามที่สวยงามไปอีกรูปแบบ หนึ่ง

ข้อมูลและรูปจาก http://gothailandgoasean.tourismthailand.org/angkor-wat-one-tourist-attractions-asean-recorded-1-7-wonders-world/, http://gothailandgoasean.tourismthailand.org/th/“นครวัด”-แหล่งท่องเที่ยวในอาเซียน-1-ใน-7-สิ่งมหัศจรรย์ของโลก

79



ข่าวทหารอากาศ

ครูภาษาพาที Restaurant – Michelin Star

Macadamia

ปัจจุบันนี้เมื่อพูดถึงร้านอาหาร จะได้ยิน ค�ำว่า Bistro กันอย่างแพร่หลาย เราจะเห็นร้านอาหาร ในเมืองไทยหลายแห่งหันมาใช้ชื่อว่า Bar & Bistro กันมากขึน้ จากเมือ่ ก่อนนิยมตัง้ ว่า Pub & Restaurant นอกจากนี้ยังมีค�ำเรียกแปลก ๆ ที่ไม่รู้ความหมาย แต่คุ้นหูที่เจ้าของร้านน�ำมาต่อท้ายชื่อร้าน เช่น Brasserie Café หรือ Tapas Bar เป็นต้น ท�ำให้เกิด ความหลากหลายและสับสนเนื่องจากมีหลาย ๆ ร้าน ที่ลงท้ายชื่อร้านเหมือนกัน แต่รายการอาหารที่ให้ บริการการตกแต่งร้าน ตลอดจนบรรยากาศในร้าน แตกต่างกันอย่างมาก ซึ่งแน่นอนว่าการจะใช้ชื่อหรือ ตั้งชื่อต่อท้ายร้านนั้นสามารถจะตั้งแบบไหนก็ได้ แล้วแต่เจ้าของร้านอยากจะใช้ชื่อนั้น ๆ เพราะเป็น

สิทธิของเจ้าของร้าน ต่อมเอ๊ะ! จึงท�ำงานด้วยความ อยากรู้อยากเห็นทันทีว่า ลักษณะที่แท้จริงของ แต่ละค�ำทีบ่ ง่ บอกประเภทของร้านทีถ่ กู ต้องเป็นอย่างไร จึงได้สบื เสาะแสวงหาข้อมูล รวมทัง้ สอบถามกูรู (guru) หรือผู้รู้และได้ความพอสรุปได้ดังนี้ restaurant มาจากภาษาฝรัง่ เศส ซึง่ หมายถึง การให้ก�ำลังงาน (restorer of energy) โดยใช้ค�ำนี้ มาตั้งแต่ต้นศริสต์ศักราช ๑๗๐๐ (ประมาณ พ.ศ. ๒๒๔๓) เพือ่ อธิบายถึงสถานทีใ่ ห้บริการซุปและขนมปัง ในปัจจุบนั ค�ำว่า restaurant หมายถึง ภัตตาคาร หรือ ห้องอาหารซึง่ จัดเป็นร้านอาหารประเภท fine-dinning คือการรับประทานอาหารอย่างจริงจัง ตกแต่งหรูหรา มีการบริการแบบเต็มรูปแบบ วัสดุอุปกรณ์รวมทั้ง

81


82

เครือ่ งแต่งกายของพนักงานทุกคนได้รบั การออกแบบ มาอย่างดี พนักงานจะถูกฝึกให้บริการอย่างมีมาตรฐาน รวมทั้งรู้และปฏิบัติตนตามมารยาทการรับประทาน สากลอย่างเคร่งครัด การจะรับประทานอาหารในร้าน แบบนี้จะต้องปฏิบัติตนตามมารยาทสากลเช่นกัน ร้านอาหารประเภทนีส้ ว่ นใหญ่ ควรส�ำรองโต๊ะล่วงหน้า เสมอ เนื่องจากพนักงานจะแจ้งกฎระเบียบต่าง ๆ ให้ทราบขณะทีเ่ ราท�ำการส�ำรองโต๊ะ ดังนัน้ restaurant ในความหมายของชาวต่างชาติจะต้องเป็นร้านที่ เปิดให้บริการเป็นช่วงเวลาไม่ได้เปิดทัง้ วัน เช่นเปิดเฉพาะ มื้อเที่ยงหรือมื้อเย็น พนักงานได้รับการฝึกฝนมาดี แต่ ง ตั ว เนี๊ ย บตั้ ง แต่ หั ว จรดเท้ า มารยาทดี ลู ก ค้ า แต่งกายสุภาพเรียบร้อย อาหารต้องเน้นคุณภาพ และปรุงอย่างประณีตตกแต่งสวยงามเน้นหน้าตา เคียงคูไ่ ปกับรสชาติ เมนู (menu) หรือรายการอาหาร จัดท�ำเป็นรูปเล่มสีส่ งี ดงาม มีอาหารแบบ meal course หรือ set menu ซึ่งอาหารแบบเป็นชุดที่เรียบเรียง เมนูอาหารไว้เป็นคอร์ส และอาหารแบบ a la carte ซึ่งเป็นอาหารจานเดียวให้บิการด้วย บางร้านอาจจะ ให้บริการ Wine Pairing คือการจับคู่อาหารแต่ละ จานกับไวน์ที่เข้ากันให้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งร้านที่

ติดดาวมิชลิน (Michelin Star) ซึ่งมีตั้งแต่ ๑-๓ ดาว จะเสิร์ฟอาหารทั้งหมด ๗ คอร์ส และต้องใช้เวลา รับประทานอาหารราว ๔ ชั่วโมง ดังนั้นจะต้องมี การจองล่วงหน้ากันเลยทีเดียว ในบ้านเรา restaurant กลายเป็นสถานที่ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นอาหารโดยไม่ มี ข อบเขตก� ำหนด เฉพาะไม่ว่าจะเป็นร้านอาหารเล็ก ๆ จนกระทั่ง ถึงระดับภัตตาคารหรูหราใหญ่โตก็เรียกว่า restaurant กันทั้งนั้น เพราะเป็นค�ำที่เข้าใจง่าย ใครเห็นก็รู้ว่า “ที่นี่คือร้านอาหารนะเธอ.. เดินเข้ามาไม่อดตาย แน่นอน” ดาวมิชลิน หรือ Michelin Star ฟังแล้ว คุน้ หูคล้ายชือ่ ยางรถยนต์ ยีห่ อ้ หนึง่ ซึง่ มีความเกีย่ วข้อง กับดาวมิเชอลิน หรือไม่อย่างไร คุณณัฐวุฒิ แสงชูวงษ์ บรรณาธิการ GQ Thailand ได้ให้ความกระจ่างว่า เจ้าของบริษัทผลิตยางรถยนต์มิชลิน สองพี่น้อง เอดูอาด์ และ อองเดร มิชลิน (Édouard and André Michelin) เชื่อว่า “ยิ่งคนขับรถเดินทางมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งท�ำให้ต้องใช้ยางมากขึ้นเท่านั้น” จึงพยายามหา วิธีให้คนออกไปท่องเที่ยวมากขึ้น ดังนั้นทั้งสองคน มีความเห็นตรงกัน จึงได้ริเริ่มมิชลินไกด์ (Michelin


ข่าวทหารอากาศ

Guide) ขึ้นราวต้นศตวรรษ ๑๙ โดยเอดิชนั่ แรกเป็นไกด์สำ� หรับคนขี่ จักรยานยนต์ พิมพ์จำ� นวน ๓๕,๐๐๐ เล่มและแจกฟรี เนื้อหาในเล่มก็มี แผนที่ วิธีการเปลี่ยนยาง แนะน�ำ ปั๊มน�้ำมันและโรงแรมในประเทศ ฝรั่งเศส จากนั้นสี่ปีต่อมา ในปี ค.ศ. ๑๙๐๔ ก็มกี ารท�ำไกด์สำ� หรับประเทศ เบลเยี่ยมเพิ่มขึ้นมา และค่อย ๆ ไล่ ประเทศในแถบยุโรปไปเรือ่ ย ๆ เช่น ตูนิเซีย เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ เป็ น ต้ น จวบจนปี ค.ศ.๑๙๐๙ จึ ง มี มิ ช ลิ น ไกด์ ส�ำหรับประเทศฝรั่งเศสซึ่งตีพิมพ์ในภาษาอังกฤษ เป็นครั้งแรก กระทั่ ง ปี ค.ศ.๑๙๒๖ จึ ง เริ่ ม มี ก ารให้ ดาวมิชลินแก่รา้ นอาหารเป็นครัง้ แรก ในขณะนัน้ มีแค่ หนึ่งดวงเสมอกันหมด จากนั้นในปี ค.ศ.๑๙๓๑

ค่อยพัฒนาให้มี ๑ ดาว, ๒ ดาว และ ๓ ดาว เริม่ ตีพมิ พ์ลงในเล่มครัง้ แรกในปี ค.ศ. ๑๙๓๖ พร้อมใช้ สีหน้าปกมิชลินไกด์ให้เป็นสีแดง ทีเ่ น้นแค่รา้ นอาหาร เพียงอย่างเดียว โดยนิยามของระดับดาวไว้ดังนี้ ๑ ดาว คือ “เยีย่ มทีส่ ดุ ในประเภทเดียวกัน” ๒ ดาว คือ “อร่อยจนคุ้มค่าแก่การขับออก นอกเส้นทางที่จะไปเพื่อแวะชิม”

83


84

๓ ดาว คือ “อร่อยเลิศ เลอค่า แม้จะไกล แค่ไหนก็ควรดั้นด้นไปกิน” ความน่าสนใจของการให้ดาวของมิชลินไกด์ คือ นักรีวิวของมิชลินจะเข้าไปกินอาหารแต่ละร้าน โดยไม่เปิดเผยตัว ประหนึ่งว่าเป็นลูกค้าจ่ายเงินกิน ตามปกติ เพื่อต้องการที่จะได้รับการบริการเท่าเทียม กับลูกค้าคนอื่น ๆ อีกทั้งจะต้องเข้าไปร้านเดิมซ�้ำ อีกราว ๓-๔ ครัง้ ในหนึง่ ปี เพือ่ ตรวจสอบความเสมอต้น เสมอปลายของคุณภาพอาหารและการบริการ นักรีววิ ของมิชลินก็ไม่ใช่เชฟหรือผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารแต่ อย่างใด เป็นคนธรรมดาหลากหลายอาชีพที่สมัคร เขามาท�ำหน้าทีน่ ี้ ซึง่ ต้องผ่านการอบรมนานถึง ๖ เดือน และยั ง ต้ อ งถู ก บั ง คั บ ให้ เ ก็ บ ความลั บ นี้ ไว้ ห้ า ม เปิดเผยตัวกับใคร แม้กระทั่งญาติพี่น้องของตัวเอง ห้ามพูดคุยกับนักข่าวหรือเจ้าของร้านใด ๆ ทั้งสิ้น เพื่อไม่ให้เกิดการติดสินบนในการให้ดาว โดยมี หลักเกณฑ์การประเมิน ๕ ประการอันได้แก่ ๑. คุณภาพของวัตถุดิบที่ใช้ ๒. ความโดดเด่นของรสชาติและเทคนิคการ ท�ำอาหาร ๓. เอกลักษณ์เฉพาะตัวของเชฟที่สะท้อน

ออกมาในอาหารและประสบการณ์ในมือนั้น ๔. ความคุ้มค่าคุ้มราคา ๕. ความสม�ำ่ เสมอ คงเส้นคงวาของคุณภาพ และรสชาติอาหาร ดังนัน้ ดาวมิชลินทีม่ อบให้จงึ เป็นการให้แก่ “ร้านอาหาร” มิใช่ตัวเชฟผู้ท�ำอาหาร แม้กระนั้น เชฟก็สามารถอวดอ้างได้ว่าเป็นเชฟจากร้านอาหาร ระดับมิชลินสตาร์ในปีทไี่ ด้ดาว ซึง่ ควรเป็นหัวหน้าเชฟ เท่านั้น ในทางกลับกันร้านอาหารที่ได้รับดาวมิชลิน จะไม่สูญเสียดาว เมื่อหัวหน้าเชฟลาออกจากร้าน ระหว่างปีและมีเชฟใหม่เข้ามาแทนที่ อีกทัง้ ดาวมิชลิน ยังมีอายุแค่หนึ่งปี หากไม่รักษามาตรฐานของอาหาร และร้าน ก็มโี อกาสสูญเสียดาวได้ในปีตอ่ ไป เรือ่ งแปลก แต่จริงก็คือ มีร้านอาหารบางร้านปฏิเสธที่จะรับ ดาวมิ ช ลิ น เพราะไม่ ต ้ อ งการแบกรั บ แรงกดดั น พูดง่าย ๆ ก็คือ “ช้อยไม่ต้องมาชิม เชลล์ไม่ต้อง มาร�ำ ไม่ต้องมีดาวร้านฉันก็ขายดีอยู่แล้วจะบอกให้” ปัจจุบันประเทศที่มีร้านอาหารที่ได้มิชลิน สตาร์ระดับ ๓ ดาว มากทีส่ ดุ คือประเทศญีป่ นุ่ ทีไ่ ด้มาก ถึง ๓๒ ร้าน ตามด้วยประเทศฝรัง่ เศส ๒๖ ร้าน ประเทศ สหรัฐอเมริกา ๑๒ ร้าน ประเทศเยอรมนี ๑๐ ร้าน และ


ข่าวทหารอากาศ

ประเทศอิตาลี ๗ ร้าน ส�ำหรับในประเทศไทยได้มีการ ให้ดาวกับร้านอาหารในกรุงเทพฯ เริม่ ในปี ค.ศ.๒๐๑๘ นี้ เป็นปีแรกเพื่อเป็นการโปรโมทการท่องเที่ยว และ ได้ประกาศร้านที่ได้รับรางวัลมิชลิน ๑ ดาวจ�ำนวน ๑๔ ร้าน ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นเพียงแค่ร้านอาหารริมทาง (street food) ในแบบไทย ๆ คือ ร้านเจ๊ไฝ อาหาร ปรุ ง โดยเชฟเจ้ า ของร้ า นด้ ว ยเตาถ่ า นในครั ว เปิ ด ขนาดเล็กหน้าร้าน เป็นกิจการที่สืบทอดมาตั้งแต่ รุ่นพ่อเมื่อ ๗๐ ปีก่อน มีเมนูเด็ดคือ ไข่เจียวปู, ปูผัดผงกะหรี่, โจ๊กแห้ง และราดหน้า ที่นอกจากจะ

ขึน้ ชือ่ เรือ่ งรสชาติอาหารแล้ว ราคาก็ยงั แรงไม่เบาด้วย ซึ่งราคาถูกสุดประมาณ ๒๐๐ บาท ไล่ขึ้นไปจนถึง หลักหมื่นส่วนร้านที่ได้มิชลิน ๒ ดาวจ�ำนวน ๓ ร้าน ขณะที่ร้านมิชลิน ๓ ดาวนั้นยังไม่มีการมอบในปีนี้ ส่วนร้านอื่น ๆ ที่ได้รับดาว หากท่านผู้อยากไปยล ไปชม ไปชิมว่าจะอร่อยล�ำ้ เลิศมากเพียงใด ท่านสามารถ สืบเสาะแสวงหาได้ไม่อยาก ชิมแล้ว ช่วยมาแชร์ เล่าสูก่ นั ฟังและในครัง้ หน้ามาท�ำความรูจ้ กั ร้านอาหาร ประเภทอื่นกัน

อ้างอิง: 3 จุดเด่นและ ความเป็นมาของ “Fine Dining”: Water Library Hospitality Group https://discoversg.com/wp-content/uploads/sites/32/2016/07/MOBILE_stars-bib-gourmand_v2.png https://www.elitetraveler.com/features/how-the-michelin-guide-works http://thegreatgastro.com/th/type-of-restaurant/ https://priceonomics.com/why-does-a-tire-company-publish-the-michelin-guide/

85


86

... เป็นคนรูจ้ กั ฝืนธรรมชาติบา้ ง ... ผู ้ เขี ย นได้ มี โ อกาสไปพั ก ผ่ อ นที่ เขื่ อ น ศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี ซึง่ เป็นเขือ่ นแรกทีส่ ร้าง ในโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำแม่กลอง สร้างขวางทางน�้ำ แม่นำ�้ แควใหญ่ ทีบ่ ริเวณบ้านเจ้าเณร ต�ำบลท่ากระดาน อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ จึงมีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่าเขื่อนเจ้าเณร ก่อสร้างดูแลโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นเขือ่ นหินถมแกนดินเหนียว สูง ๑๔๐ เมตร ยาว ๖๑๐ เมตร ความกว้างที่สันเขื่อน ๑๕ เมตร เป็นเขื่อนที่ไม่ยาวมากนัก สั้นกว่าเขื่อนภูมิพลและ เขื่อนเจ้าพระยา แต่มีพื้นที่กักเก็บน�้ำถึง ๔๑๙ ตาราง กิโลเมตร เก็บน�ำ้ ได้เต็มที่ ๑๗,๗๔๕ ล้านลูกบาศก์เมตร มากที่สุดของเขื่อนทุก ๆ เขื่อนในประเทศไทย ก�ำลัง การผลิตกระแสไฟฟ้า ๗๒๐,๐๐๐ กิโลวัตต์ ผลิต กระแสไฟฟ้าได้ปีละ ๑,๒๕๐ ล้านกิโลวัตต์/ชั่วโมง เริม่ งานก่อสร้างเมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๑๖ และเปิดใช้งานเมือ่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๒๔ ผูเ้ ขียนอ่านข้อมูลเหล่านีท้ บี่ ริเวณพืน้ ทีใ่ กล้ สันเขื่อน พร้อมทั้งดูแผนที่อ่างเก็บน�้ำ เห็นเป็น แนวยาว ตามร่องเขากว่า ๒๐๐ กิโลเมตรไปถึงจังหวัด อุทัยธานี ลองนึกภาพดูว่า เขื่อนยาวแค่ ๖๑๐ เมตร แต่กักน�้ำได้ยาวกว่า สองร้อยกิโลเมตร เพราะสภาพ ทางธรรมชาติเอื้ออ�ำนวยให้ท�ำได้ ปัจจุบันนี้นอกจาก การผลิตกระแสไฟฟ้าแล้ว ยังมีประโยชน์ในด้าน

1261

การเพาะปลูก แหล่งประมงและมีแหล่งท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจตามริมอ่างเก็บน�ำ้ เป็นระยะ ๆ ผูเ้ ขียน พักอยูท่ นี่ สี่ องวัน ก่อนกลับก็ไปเดินเล่นทีบ่ ริเวณกลาง สันเขือ่ นอีกครัง้ มองลงไปข้างหนึง่ ของเขือ่ นเห็นแม่นำ�้ แควใหญ่อยู่ลิบ ๆ ด้านล่าง ไหลไปตามธรรมชาติ ระหว่ า งร่ อ งเขาแต่ อี ก ด้ า นหนึ่ ง เป็ น อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ขนาดใหญ่ มีน�้ำเป็นหมื่นล้านลูกบาศก์เมตร ถ้าเรา ไม่ฝืนธรรมชาติสร้างเขื่อนกั้นไว้ แม่น�้ำเขาก็ไหล คดเคีย้ วไปเรือ่ ย ๆ ตามเรือ่ งของเขา เพียงแค่กนั้ เขือ่ น ก็ได้ประโยชน์มากมาย ท�ำให้ผู้เขียนเกิดความคิดว่า บางทีการฝืนธรรมชาติบ้างก็เกิดประโยชน์เหมือนกัน แม้จะมีโทษตามมาด้วยก็เป็นสิ่งที่ต้องดูแลจัดการ กันให้เหมาะสม อย่างเขือ่ นนีส่ ร้างแล้วเราก็ได้นำ�้ แต่ตอ้ ง


ข่าวทหารอากาศ

เสียพื้นที่ป่าไม้ไปเป็นอันมาก หรือหากเขื่อนเกิดรั่ว หรือแตกขึ้นมาก็อาจเกิดอุทกภัยขึ้นได้ ของทุกอย่าง ก็มีดีมีโทษเป็นธรรมดา การรู้จักฝืนธรรมชาติบ้าง จึงเป็นเรื่องที่คุยกันในวันนี้ ในชี วิ ต จริ ง ของคนเราทุ ก วั น นี้ เราก็ ฝ ื น ธรรมชาติกนั อยูม่ ากมาย ทุกเรือ่ งทีเ่ ราเรียกว่าเทคโนโลยี ก็เป็นเรือ่ งของการศึกษาธรรมชาติ แล้วน�ำมาประยุกต์ ใช้กับชีวิตประจ�ำวัน เช่น รถยนต์ ของหนักเป็นตัน แต่วงิ่ ได้ หรือ เครือ่ งบิน เกิดจากการทีเ่ ราดูการเคลือ่ นที่ ของนกในอากาศ แล้วพยายามเลียนแบบ จนในที่สุด เราก็ ส ามารถน� ำ สิ่ ง ของที่ มี น�้ ำ หนั ก หลายร้ อ ย หลายพันตัน ขึน้ ไปรอยอยูใ่ นอากาศได้ หากเราดูสงิ่ ของ รอบ ๆ ตัวเราก็จะพบสิ่งต่าง ๆ ทั้งโทรทัศน์ ตู้เย็น โทรศัพท์ ฯลฯ หลายอย่างก็เอามาใช้ตามธรรมชาติ หลายอย่างก็ดูฝืนธรรมชาติ ส่วนใหญ่ก็เป็นเรื่อง นอกตัว แต่ที่จะกล่าวถึงในที่นี้เป็นเรื่องในตัวของ เราเอง ไม่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมอื่นใด เนื่องจากโครงสร้างของร่างกายมนุษย์ ถูกพัฒนามาตามธรรมชาติแท้ ๆ เหมือนสัตว์อื่น ๆ คือบรรพบุรุษของคนเรา อาจจะอยู่ร่วมกับไดโนเสาร์ มาก่อนก็ได้ ก็ต้องอยู่กลางป่า ไม่มีเสื้อผ้าใส่ กินของ ดิบ ๆ นอนตามตามป่าตามเขาในถ�ำ้ หรือตามซอกหิน อวัยวะต่าง ๆ ต้องแข็งแรงมากพอที่จะทนต่อสภาพ ของธรรมชาติให้ได้ หากถามว่าตอนนี้ให้คนเรา กลับไป อยู่อย่างนั้นจะไหวไหม ค�ำตอบคงเหมือน กันว่า ตายหมดแน่นอน เพราะภูมคิ มุ้ กันของคนเราลดลง ไปอย่างมากมาย แค่ให้เดินถอดรองเท้ารอบบ้าน

ก็ไม่ได้แล้ว เพราะเจ็บฝ่าเท้า ผู้เขียนจ�ำความได้ว่า ได้ใส่รองเท้าครั้งแรกเมื่อเรียนในระดับมัธยมศึกษา เพราะมีวิชาลูกเสือ ครูบอกว่าลูกเสือไม่ใส่รองเท้าดู ไม่สวยเลย ผู้เขียนจึงได้ใส่รองเท้า ก่อนนั้นเท้าเปล่า ตลอด ฝ่าเท้าจะหนามาก แทนรองเท้าได้เลย ก้อนหิน เม็ดกรวดท�ำอะไรไม่ได้ แม้แต่หนามยังแทงไม่เข้าเลย เหมือนสัตว์ต่าง ๆ ที่ไม่ได้ใส่รองเท้าสักตัว ผิวหนังคน สมัยก่อนที่ไม่มีเสื้อผ้าใส่ต้องหนาพอที่จะกันยุงกัน แมลงได้บา้ ง ส่วนอวัยวะภายในก็คงท�ำงานกับอาหาร ดิบ ๆ และเป็นพืชเป็นหลักตามโครงสร้างของฟันและ ล�ำไส้ พฤติกรรมของคนก็ คือหากินพักผ่อนและเตรียม พร้อมที่จะต่อสู้ระวังภัยเพื่อเอาชีวิตรอด แต่ปัจจุบัน นีแ้ ม้สงั คมของคนจะเปลีย่ นไปมาก แต่พฤติกรรมหลาย อย่างก็ยงั เหมือนเดิม จึงมีบางเรือ่ งทีต่ อ้ งฝืนธรรมชาติ บ้าง เช่น ๑. การฝืนธรรมชาติทางร่างกาย ดังได้กล่าว มาแล้วว่าคนในธรรมชาตินั้น ต้องต่อสู้ดิ้นรนเอาชีวิต รอดตลอดเวลา เพราะภัยจากธรรมชาติมีมากเหลือ เกิน เหมือนสัตว์อื่น ๆ ต้องเดินทาง วิ่งหนี ปีนป่าย ไปตามป่าเขา ท้องอิ่มเมื่อไรก็นอนพักเอาแรง ตื่นมา ก็หากินเติมพลังงานไว้สู้กันต่อไป แบบนั่งเป็นหลับ ขยับเป็นกิน วัน ๆ ก็วุ่นวายอยู่อย่างนี้ ดูได้จาก เครือญาติของเราคือลิงก็ได้ ในธรรมชาติอาหารก็ไม่มี

87


88

มากนัก และการต่อสู้ก็มีสูง แม้จะนั่งเป็นหลับขยับ เป็นกินก็ไม่ค่อยเห็นตัวไหนอ้วนสักตัว เพราะวิถีแห่ง ธรรมชาติมันสมดุลของมันเอง แต่ในโลกปัจจุบนั นี้ มนุษย์สร้างสังคมอย่าง มั่นคงมั่งคั่ง มีเทคโนโลยีมากมาย ทั้งสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก รถยนต์ เครื่องบิน ลิฟต์ บันไดเลื่อน จะท�ำอะไรก็มีเครื่องทุ่นแรงสารพัด ร่างกายจึงไม่ได้ ขยับเขยือ้ นเหมือนอยูใ่ นธรรมชาติ แต่มนุษย์ไม่ได้สงั เกต

คิดว่าสิง่ เหล่านีม้ นั เป็นธรรมชาติของมนุษย์และยังชอบ ท�ำตามธรรมชาติแบบเดิม ๆ คือ นั่งเป็นหลับขยับ เป็นกิน เดีย๋ วนีม้ อี าหารมากมายทีเ่ ดินไปกินไป หิว้ ไป ดืม่ ไป เราจึงพบผูค้ นทีต่ วั ใหญ่ อ้วน พุงโต แขนขาโต ดู อุ ้ ย อ้ า ยเต็ ม ไปหมด เพราะท� ำ ตามธรรมชาติ นั่งเป็นหลับขยับเป็นกินนั่นเอง แล้วก็จะมีโรคร้าย ต่าง ๆ ตามมาอีกมาก เป็นปัญหาสุขภาพของผู้คน ในโลกขณะนี้ เราจึงต้องฝืนให้ได้ ไม่ยอมท�ำตามธรรมชาติ


ข่าวทหารอากาศ

ต้องหากิจกรรมให้เกิดการวิง่ การเดิน การเคลือ่ นไหว ต่าง ๆ ให้ได้ใช้พลังงานบ้าง แม้จะมีลฟิ ต์มบี นั ไดเลือ่ น ก็เลือกเดินขึน้ ๆ ลง ๆ แทน หากต้องนัง่ ท�ำงานทัง้ วัน ก็ตอ้ งหาเวลาออกก�ำลังกายแบบเคลือ่ นไหว หรือแบบ แอโรบิคบ้าง เรือ่ งนีต้ อ้ งตัง้ ใจจริงและท�ำจริง ๆ ให้ได้ แม้จะต้องสู้กับความขี้เกียจตามธรรมชาติแค่ไหนก็ ควรท�ำ ขณะเดียวกัน ต้องเอาชนะปากให้ได้ ไม่ใช่ กินทุกอย่างทีข่ วางหน้า กินไม่เป็นเวลา ขยับเป็นกินไป ทัง้ วัน นอกจากนัน้ ก็ตอ้ งสนใจคุณภาพของอาหารด้วย ไม่อย่างนัน้ ท่านต้องเจอปัญหาสุขภาพแน่นอน ๒. ต้ อ งฝื น จิ ต ใจตั ว เองบ้ า ง ธรรมชาติ สร้างใจของเรามาไม่ให้อยู่นิ่ง ๆ ชอบฟุ้งซ่าน ชอบอยู่ ในอารมณ์โลภ โกรธ หลง เป็นประจ�ำ วันทั้งวันตื่น ก็ฟุ้งหลับก็ฝัน ไม่สงบเลย จิตใจหลายคนเหมือนรถ ที่วิ่งผ่านถนนลูกรัง แล้วเกิดฝุ่นเต็มไปหมด มองอะไร เห็นไม่ชดั สักอย่าง กระจายไปทุกทิศทุกทาง ใช้ประโยชน์ อะไรไม่ได้ จิตคนเราจับไปทุกเรือ่ งแต่ไม่ได้เรือ่ งสักเรือ่ ง ควรฝืนใจตัวเองบ้างอย่างน้อยสักสองเรื่อง ๒.๑ ควบคุมจิตใจให้มีสมาธิมีสติบ้าง จิตใจของเราจะฟุง้ ซ่านตลอดเวลา เดีย๋ วไปอยูก่ บั เรือ่ ง ราวในอดีต เดี๋ยวไปอยู่กับความนึกคิดใฝ่ฝันเรื่อง

ของอนาคต จิตโดดไปโดดมาตลอดเวลา แม้จะเป็น ธรรมชาติของจิต แต่เราต้องฝึกฝืนใจให้จิตอยู่นิ่ง ๆ บ้างแม้จะเป็นเรื่องยากมาก ๆ ไม่เชื่อท่านผู้อ่านก็ลอง ท�ำสมาธิสักห้านาทีก็ได้ จะเห็นว่าจิตเขาไม่ยอม นิง่ หรอก การฝึกฝืนใจให้เขาอยูน่ งิ่ ๆ บ้างเป็นสิง่ ทีต่ อ้ ง ฝึกเมื่อฝึกไปนาน ๆ จะสังเกตเห็นได้ว่าจิตเชื่องขึ้น ๆ การที่จิตนิ่งขึ้นเราก็เสียพลังงานน้อยลง และเมื่อ เราต้องการจะคิดจะพิจารณาอะไรทีส่ ำ� คัญ ๆ เราก็จะ มี พ ลั ง จิ ต ใจที่ เข้ ม แข็ ง อดทน นึ ก คิ ด อะไรได้ ดี ท่านจะเป็นคนที่จับงานได้เป็นเรื่องเป็นราว มีความ รับผิดชอบ เชื่อถือได้ ไว้ใจได้ แล้วสิ่งดี ๆ ก็จะตามมา ถ้าท่านฝืนจิตให้นิ่งได้ ๒.๒ ฝืนจิตใจให้ปล่อยวางบ้าง ธรรมชาติ ของจิตใจนั้น นอกจากชอบกระโดดโลดเต้น ฟุ้งซ่าน ไปตามอารมณ์แล้ว จิตใจคนเรายังชอบยึดมั่น ถือมั่น ในตัวตนของตน ในทรัพย์สมบัติของตน ในยศถา บรรดาศักดิ์ที่ตนมี แม้บางครั้งจะพอมีสติรู้ตัวบ้างว่า สิ่งเหล่านี้คือเรื่องสมมุติ เรามี เราเป็นอะไรจริง ๆ ไม่ได้สกั อย่าง เพราะแม้แต่ชวี ติ ของเรา เรายังรักษาไว้ ไม่ได้เลย ถึงเวลามันก็เป็นไปตามเหตุปัจจัยของมัน และทุกคนก็ตายเหมือนกันหมด ไม่ว่าจะยากดีมีจน

89


90

แค่ไหน แต่เพราะจิตใจตนเรามักจะถูกกิเลสเข้าควบคุม ได้โดยง่าย โดยเฉพาะความโลภ ความโกรธ ความหลง เผลอเมือ่ ไรมันก็เข้าควบคุมจิตใจ บางทีกพ็ าจิตใจกลับ ไปคิดค�ำนึงคร�ำ่ ครวญถึงเรือ่ งราวในอดีตทีผ่ า่ นมาแล้ว แก้ไขไม่ได้แล้ว บางทีก็ไปคิดกังวลเรื่องอนาคตที่ยัง มาไม่ถึง กลัวว่าจะเกิดสิ่งนั้นสิ่งนี้ กลัวว่าจะไม่ได้ อย่ า งนั้ น อย่ า งนี้ เอาเรื่ อ งราวของอนาคตมาคิ ด กังวล จิตใจต้องแบก ความมีตวั ตน ความรูส้ กึ ของอดีต อนาคต ผสมกับความคิดปรุงแต่งที่เอาข้อมูลเหล่านี้ ไปเป็นพืน้ ฐานการคิด วิตกกังวลผสมปนเปกันไปหมด ทั้งอดีตปัจจุบันอนาคต สุดท้ายก็กังวล เป็นทุกข์ ส่งเสริมการเจ็บป่วยของร่างกายอีกทางหนึ่ง หากเรา ฝืนใจปล่อยวาง ตัวตน ปล่อยวางอดีตและอนาคต เสียบ้าง จิตใจก็จะเบาสบาย หากจะดูอดีตก็ขอเพียง ใคร่ครวญเป็นบทเรียนของชีวิต เพื่อท�ำปัจจุบัน ให้ดขี นึ้ ส่วนอนาคตทีย่ งั มาไม่ถงึ จะวางแผนการใด ๆ ไว้บ้างก็ไม่เสียหาย แต่ท�ำอย่างมีสติ ไม่วิตกกังวล กับมัน ท�ำปัจจุบนั ให้ดที สี่ ดุ ท�ำอย่างมีสมาธิ มีสติ และ พละก�ำลังที่มีทั้งหมด แม้จะดูเป็นการฝืนธรรมชาติ ไปบ้ า งแต่ ก็ ค วรจะฝึ ก ควรจะท�ำ ดี ก ว่ า ปล่ อ ยใจ เป็นทาสของกิเลสไปวัน ๆ ๓. ฝื น ใจขยั น ท� ำ งาน ธรรมชาติ ข อง สิ่งมีชีวิตทุกชนิด คือ ขี้เกียจ ชอบสบาย ชอบกินอิ่ม แล้วนอน แม้คนเราก็ไม่เว้นเรื่องนี้ ยิ่งระบบราชการที่ สังคมตราหน้าว่าเป็นระบบเช้าชามเย็นชาม สิ้นเดือน ก็มีเงินเดือนแน่นอน การเจริญก้าวหน้าไปตามระบบ อาวุโส ผสมระบบอุปถัมภ์ เป็นองค์กรทีไ่ ม่กระฉับกระเฉง ขาดประสิทธิภาพ เพราะมีปัญหาทั้งโครงสร้างของ ระบบ ความเคยชินของผู้คน และความขี้เกียจตาม ธรรมชาติของคน หากเราไม่ยอมฝืนธรรมชาติบ้าง

คงเป็ น เรื่ อ งยากที่ อ งค์ ก รนี้ จ ะอยู ่ ต ่ อ ไปได้ อ ย่ า ง มีเกียรติและศักดิ์ศรี และไม่วันใดก็วันหนึ่ง ระบบนี้ ก็ ต ้ อ งถู ก สั ง คมปรั บ เปลี่ ย นไป เหมื อ นที่ ท� ำ กั น ในประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เพราะเงิ น เดื อ นของ ข้าราชการมาจากภาษีของประชาชน ใครเขาจะ อยากจ่ายเงินให้คนท�ำงานไม่คมุ้ ค่าของเงิน แต่ผเู้ ขียน ก็ยังเชื่อมั่นว่า เรายังฝืนใจช่วยกันขยันท�ำงานกันได้ หากมี ตั ว อย่ า งที่ ดี ใ นการตั้ ง ใจท� ำ งาน เสี ย สละ เอาใจใส่ ติดตามงาน ท�ำกันอย่างจริงจัง ตั้งแต่ผู้ บังคับบัญชา ลงไปถึงระดับปฏิบัติล่างสุด ท�ำงานกัน ให้คุ้มหรือเกินเงินค่าจ้างกันไปเลย เราจะไม่เห็นภาพ ข้าราชการเดินชอปปิงในเวลาราชการ การท�ำงาน แบบไม่รับผิดชอบ น�้ำ ไฟ รั่วไหลตามอาคารสถานที่ การเอาเครื่องมือเครื่องใช้ของราชการใช้ในงาน ส่วนตัว ก็คงจะลดน้อยลง ผู้เขียนทราบดีว่าเรื่องเหล่านี้ไม่ใช่เรื่อง ง่ายเลยที่คนแต่ละคน จะฝืนธรรมชาติในสามเรื่อง นี้ได้ แต่หากเรามองที่ผลประโยชน์ที่ตัวเราเองและ สังคมส่วนรวมจะได้รับจากการฝืนธรรมชาติเหล่านี้ ผู้เขียนคิดว่ามันคุ้มค่านะ เหมือนยืนอยู่บนสันเขื่อน แล้วมองเห็นข้างหนึ่งเป็นแม่น�้ำสายเล็ก ๆ กับอีก ข้างหนึ่งที่เป็นอ่างเก็บน�้ำขนาดมหึมาเป็นหมื่นล้าน ลูกบาศก์เมตร มันต่างกันมากเหลือเกิน เพียงแค่ ฝื น ธรรมชาติ ท� ำ เขื่ อ นกั้ น ยาวแค่ ๖๑๐ เมตร เท่านั้นเอง หากข้าราชการในกองทัพอากาศ ฝืน ธรรมชาติได้บ้างในสามเรื่องที่กล่าวมา ทุกคนจะมี สุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี สังคมของทหารอากาศจะ เป็นสังคมคุณภาพ กองทัพอากาศจะเป็นกองทัพ ที่มีประสิทธิภาพสูง ประเทศไทยจะน่าอยู่ขึ้นอีกมาก มันคุ้มเกินคุ้ม


ข่าวทหารอากาศ

กิจกรรมน้อมร�ำลึกเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และ คุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ. ร่วมท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์ วางพวงมาลาและกิจกรรม น้อมร�ำลึก เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ ๑๓ ต.ค.๖๑ ณ พระลานพระราชวังดุสิต และท้องสนามหลวง

พล.อ.อ.ชาญฤทธิ์ พลิ ก านนท์ รอง ผบ.ทอ.เป็ น ประธานในพิ ธี บ�ำเพ็ญกุศลและตักบาตร เพื่อถวายพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ ๑๓ ต.ค.๖๑ ณ ห้องรับรอง ทอ. บก.ทอ. ส�ำหรับพิธีดังกล่าว ประกอบด้วย พิธีบ�ำเพ็ญกุศลและพิธีตักบาตรพระสงฆ์ จ�ำนวน ๘๙ รูป โดยมี คุณระวีลักษณ์ พลิกานนท์ อุปนายกสมาคมแม่บา้ น ทอ., คณะ น.ชัน้ ผูใ้ หญ่, ก�ำลังพลของ ทอ., สมาคมแม่บ้าน ทอ.และสมาคมข้าราชการบ�ำนาญ ทอ. เข้าร่วมพิธีอย่าง พร้อมเพรียง เพือ่ แสดงออกซึง่ ความจงรักภักดีและน้อมร�ำลึก ในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

91


92

ผบ.ทอ.เยี่ยมค�ำนับ อดีต ผบ.ทอ. พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคําแนะนําในการปฏิบัติราชการ จาก พล.อ.อ. ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ พล.อ.อ. เกษตร โรจนนิล และ พล.อ.อ.มรว.ศิริพงษ์ ทองใหญ่ อดีตผบ.ทอ.เมื่อวันที่ ๑๐ ต.ค.๖๑ ณ บ้านพัก กม.๒๗ หมู่บ้านเมืองเอก

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคําแนะนําในการปฏิบัติราชการ จาก พล.อ.อ.อมร แนวมาลี และพล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข อดีตผบ.ทอ.เมื่อวันที่ ๑๒ ต.ค.๖๑ ณ บ้านพัก หมู่บ้านปัญญา และบ้านพักชินเขต


ข่าวทหารอากาศ

ผบ.ทอ.เยี่ยมค�ำนับ อดีต ผบ.ทอ.

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคํ า แนะนํ า ในการปฏิ บั ติ ร าชการจาก พล.อ.อ.กั น ต์ พิมานต์ทิพย์ อดีต ผบ.ทอ.เมื่อวันที่ ๑๘ ต.ค.๖๑ ณ หมู่บ้าน กรีนพาร์ค กรุงเทพมหานคร

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคําแนะนําในการปฏิบตั ริ าชการจาก พล.อ.อ.สนัน่ ทัว่ ทิพย์ อดีต ผบ.ทอ.และภริยา เมื่อวันที่ ๑๘ ต.ค.๖๑ ณ หมู่บ้าน เกษตรนิเวศน์ กรุงเทพมหานคร

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคาํ แนะนาํ ในการปฏิบตั ริ าชการจาก พล.อ.อ.ปอง มณีศลิ ป์ อดีต ผบ.ทอ.และภริยา เมื่อวันที่ ๑๙ ต.ค.๖๑ ณ บ้านพัก พล.อ.อ.ปอง มณีศิลป์

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคําแนะนําในการปฏิบัติราชการจาก พล.อ.อ.ธนนิตย์ เนี ย มทั น ต์ อดี ต ผบ.ทอ.และภริ ย า เมื่ อ วั น ที่ ๒๒ ต.ค.๖๑ ณ บ้านพัก พล.อ.อ.ธนนิตย์ เนียมทันต์

93


94

ผบ.ทอ.เยี่ยมค�ำนับ อดีต ผบ.ทอ.

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคําแนะนําในการปฏิบัติราชการจาก พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง องคมนตรี อดีต ผบ.ทอ.เมื่อวันที่ ๒๒ ต.ค.๖๑ ณ ส�ำนักงาน พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง ณ หอประชุม ทอ. (อาคารทองใหญ่)

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคํ า แนะนํ า ในการปฏิ บั ติ ร าชการจาก พล.อ.อ.คงศั ก ดิ์ วันทนา อดีต ผบ.ทอ.และอดีตรมว.กระทรวงมหาดไทย และภริยา เมื่อวันที่ ๒๒ ต.ค.๖๑ ณ บ้านพัก พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคําแนะนําในการปฏิบัติราชการจาก พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรีและรมว.กระทรวงยุติธรรม อดีต ผบ.ทอ. และภริยา เมื่อวันที่ ๒๒ ต.ค.๖๑ ณ กระทรวงยุติธรรม

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และคุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เยี่ยมคารวะแนะนําตนเอง และขอคาํ แนะนาํ ในการปฏิบตั ริ าชการจาก พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง อดี ต ผบ.ทอ. และภริ ย าเมื่ อ วั น ที่ ๒๔ ต.ค.๖๑ ณ บ้ า นพั ก พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง


ข่าวทหารอากาศ

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานในพิธี พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานในพิธี แสดงความยิ น ดี แ ก่ น.สั ญ ญาบั ต ร ที่ ไ ด้ รั บ การโปรดเกล้ า ฯ ส่งก�ำลังพลที่จะไปปฏิบัติหน้าที่ กกล.ทอ.ฉก.๙ เพื่อเป็นขวัญ พระราชทานยศทหารชั้นนายพลอากาศ เมื่อวันที่ ๑ ต.ค.๖๑ ฅและก� ำ ลั ง ใจให้ แ ก่ ก� ำ ลั ง พลของ ทอ.ที่ จ ะไปปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ณ ห้องรับรอง ทอ. บก.ทอ. โดยมี น.ชั้นผู้ใหญ่ของ ทอ.เข้าร่วมพิธี เมื่อวันที่ ๑ ต.ค.๖๑ ณ ทกท.๒ บน.๖ ดอนเมือง

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานเปิด พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.ให้การต้อนรับ หลักสูตรการอบรมหัวหน้าหน่วยก่อนไปด�ำรงต�ำแหน่ง ประจ�ำปี นายคิริลล์ บาร์สกี (Kirill Barsky) เอกอัครราชทูตวิสามัญ พ.ศ.๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๘ ต.ค.๖๑ ณ ห้องบรรยาย วทอ.ยศ.ทอ. ผูม้ อี ำ� นาจเต็มแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย ประจ�ำประเทศไทย เพือ่ หารือ ข้อราชการและส่งเสริมความสัมพันธ์ของทัง้ สองประเทศให้ดยี งิ่ ขึน้ เมื่อวันที่ ๙ ต.ค.๖๑ ณ ห้องรับรองพิเศษ ๑ บก.ทอ.

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานพิธีเปิด พล.อ.อ.ถาวรวัฒน์ จันทนาคม ผู้ช่วย ผบ.ทอ.(สายงาน การศึกษาหลักสูตร นอส.รุ่นที่ ๗๓ โดยมี พล.อ.ท.น้อย ภาคเพิ่ม กิจการพิเศษ) ตรวจเยี่ยม กร.ทอ.เพื่อรับทราบและมอบนโยบาย จก.ยศ.ทอ.ให้การต้อนรับ เมื่อวันที่ ๑๑ ต.ค.๖๑ ณ รร.นอส. การปฏิบตั งิ านด้านกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ตามนโยบาย ยศ.ทอ. ผบ.ทอ.โดยมี พล.อ.ท.พงษ์ศกั ดิ์ เสมาชัย จก.กร.ทอ.และ หน.นขต. กร.ทอ.ให้การต้อนรับ เมือ่ วันที่ ๙ ต.ค.๖๑ ณ ห้องประชุม ศบภ.ทอ.

95


96

รับส่งหน้าที่ นขต.ทอ.

พล.อ.อ.ปรเมศร์ เกษโกวิท รอง ปล.กห.ส่งมอบหน้าที่ พล.อ.ท.สุรศักดิ์ อินทร์จ�ำนงค์ รอง เสธ.ทอ. (สายงานส่ง การปฏิบัติราชการและการบังคับบัญชา ให้แก่ พล.อ.อ.สมศักดิ์ ก�ำลังบ�ำรุง) ส่งมอบหน้าทีก่ ารปฏิบตั ริ าชการและการบังคับบัญชา หาญวงษ์ ผบ.คปอ.ท่านใหม่ เมื่อวันที่ ๑ ต.ค.๖๑ ณ บริเวณ ให้ แ ก่ พล.อ.ท.ปราโมทย์ ศิ ริ ธ รรมกุ ล จก.กบ.ทอ.ท่ า นใหม่ ลานหน้าอนุสาวรีย์ จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร คปอ. เมื่อวันที่ ๑ ต.ค.๖๑ ณ กบ.ทอ.

พล.อ.อ.สิทธิพร เกสจินดา ปษ.พิเศษ ทอ.ส่งมอบหน้าที่ พล.อ.ท.สิทธิชยั แก้วบัวดี รอง เสธ.ทอ. (สายงานการข่าว) การปฏิบัติราชการและการบังคับบัญชา ให้แก่ พล.อ.ท.พัทธนันท์ ส่งมอบหน้าที่การปฏิบัติราชการและการบังคับบัญชา ให้แก่ นุชพงษ์ ผบ.รร.นนก.ท่านใหม่ เมื่อวันที่ ๑ ต.ค.๖๑ ณ รร.นนก. พล.อ.ท.พงษ์ ศั ก ดิ์ เสมาชั ย จก.กร.ทอ.ท่ า นใหม่ เมื่ อ วั น ที่ ๑ ต.ค.๖๑ ณ กร.ทอ.

พล.อ.ท.ธรินทร์ ปุณศรี รอง เสธ.ทอ. (สายงานยุทธการ) พล.อ.อ.จิโรจ บ�ำรุงลาภ ผทค.พิเศษ ทอ.ส่งมอบหน้าที่ ส่งมอบหน้าที่การปฏิบัติราชการและการบังคับบัญชา ให้แก่ การปฏิบัติราชการและการบังคับบัญชา ให้แก่ พล.อ.ท.ชวาลา พล.อ.ท.คงศั ก ดิ์ จั น ทรโสภา จก.ขว.ทอ.ท่ า นใหม่ เมื่ อ วั น ที่ ราชวงศ์ จก.ทสส.ทอ.ท่านใหม่ เมือ่ วันที่ ๑ ต.ค. ๒๕๖๑ ณ ทสส.ทอ. ๑ ต.ค.๖๑ ณ ขว.ทอ.


ข่าวทหารอากาศ

Japan Disaster ร.อ.หญิง วิวัสวัน เปล่งวิทยา

Prevention Day

ทุกคนคงทราบกันเป็นอย่างดีว่า ประเทศ ญี่ปุ่น คือหนึ่งในประเทศที่ต้องเผชิญกับภัยพิบัติ มาโดยตลอดและหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ การเกิดแผ่นดินไหวในภูมภิ าคดังกล่าว เนือ่ งจาก พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่น ที่ประกอบ ไปด้วยเกาะน้อยใหญ่กว่า ๓,๐๐๐ เกาะ และเกาะ ของญี่ปุ่นส่วนมากจะเป็นหมู่เกาะภูเขา ซึ่งในนั้น มีจำ� นวนหนึง่ เป็นภูเขาไฟ หลายครัง้ หลายคราทีญ ่ ปี่ นุ่ ต้องสูญเสียทรัพยากรต่าง ๆ มากมาย แต่ก็น่าสนใจ ที่เขาสามารถรับมือกับผลกระทบต่อทั้งชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนได้อย่างทันท่วงทีและมี ระบบ จากภาพข่าวต่างๆ ที่ออกมา ก็เป็นที่ประจักษ์ แก่สายตาของคนทั่วโลกถึงการจัดการของประเทศ ญี่ปุ่นต่อการบรรเทาสาธารณภัย ด้วยแนวความคิด ในการ “ลดความเสี่ยง” จากสาธารณภัยที่อาจ เกิดขึน้ ซึง่ แนวคิดนีเ้ ป็นหนึง่ ในมาตรการหลักทีร่ ฐั บาล ญี่ปุ่นให้ความส�ำคัญเป็นอันดับต้น ๆ ควบคู่กับ

การพัฒนาการท�ำงานด้านบรรเทาสาธารณภัยในรูปแบบ อืน่ ๆ อีกด้วย ย้อนไปเมือ่ วันที่ ๑ กันยายน ปี พ.ศ.๒๔๖๖ เกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวครั้ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ในภู มิ ภ าคคั น โต ซึง่ กรุงโตเกียวก็ตงั้ อยูใ่ นภูมภิ าคนีด้ ว้ ย เหตุการณ์ครัง้ นัน้ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชนและทรัพย์สิน เป็นวงกว้าง ด้วยแผ่นดินไหว ขนาด ๗.๙ ริกเตอร์ เขย่าเสียจนกรุงโตเกียวกลายเป็นเมืองซากปรักหังพัง ของเศษอิฐเศษหิน จนประชาชนต่างพยายามหนี เอาตัวรอด เกิดไฟไหม้ไปทั่วเมือง มีผู้เสียชีวิตกว่า ๑๔๐,๐๐๐ คน เพื่อระลึกและตระหนักถึงผลกระทบ ของกรณีภัยจากแผ่นดินไหวดังกล่าว รัฐบาลญี่ปุ่น จึงได้ประกาศให้วันที่ ๑ กันยายน ของทุกปีเป็น วันป้องกันภัยพิบัติแห่งชาติ ซึ่งในวันนี้ของทุก ๆ ปี จะมีการจัดการฝึกร่วมรับเหตุการณ์ภัยพิบัติจาก ธรรมชาติขึ้นทั่วประเทศพร้อม ๆ กัน นอกจากนั้น ยั ง เพื่ อ การเตรี ย มพร้ อ มรั บ มื อ เหตุ แ ผ่ น ดิ น ไหว

97


98

เมกะทรัสต์นนั ไค (Nankai megathrust earthquakes) บริเวณทางตอนใต้ของประเทศทีค่ าดว่าอาจเกิดขึน้ ได้ ในอนาคตอันใกล้ด้วย โดยในปีนผี้ เู้ ขียนมีโอกาสเข้าร่วมสังเกตการณ์ การฝึกร่วมฯ ณ เมืองคาวาซากิ จว.คานากาวา ซึง่ เป็น หนึง่ ในพืน้ ทีก่ ารฝึกทีใ่ กล้กบั กรุงโตเกียว เป็นการฝึกซ้อม ชนิดเต็มรูปแบบ ซึง่ จัดขึน้ พร้อมกันในหลายเขตปกครอง

ทั่วประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมส�ำหรับกรณี หากเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่เกิดจากรอยเลื่อน นันไกนอกชายฝัง่ มหาสมุทรแปซิฟกิ โดยมีการจ�ำลอง สถานการณ์ที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด ๙.๑ ริกเตอร์ ขึ้นไปทางใต้ของ จว.วะกะยะมะ ในเวลาประมาณ ๐๗๑๐ ผู้เขียนเคยสงสัยว่าท�ำไมถึงต้องระบุเวลา ละเอียดขนาดนั้นในการฝึกแต่ละครั้ง ก็ได้ค�ำตอบว่า ภัยที่เกิดขึ้น จะส่งผลกระทบต่างกันตามห้วงเวลา เช่น ช่วงเช้าตรู่ ตามบ้านเรือนอาจมีการใช้แก๊สหุงต้ม อยูม่ าก อาจก่อให้เกิดเพลิงไหม้ตามมาได้อกี หรือระบบ ขนส่งตอนเช้าที่คนญี่ปุ่นใช้งานจ�ำนวนมาก จะมีแผน อพยพอย่างไร เด็กๆ ก�ำลังเดินไปโรงเรียน จะช่วย ตัวเองได้อย่างไร ต้องเตรียมสิง่ ใดติดตัว หรือหลบหลีก อย่างไร ฯลฯ แผนของทางญี่ปุ่น มีความละเอียด มากถึงมากที่สุด เพราะคิดคาดการณ์ไว้ก่อนถึงขั้นว่า ช่วงเวลาใด ที่จะส่งผลกระทบสูงสุด และตัวอย่าง ภัยใดบ้าง เริ่มจากภัยที่ใกล้ตัวประชาชนก่อนเสมอ เช่น หมวกนิรภัยกันสิ่งของล่วงหล่นใส่ เด็กนักเรียน เล็ก ๆ จะต้องท�ำความคุ้นเคยกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านีอ้ ยูเ่ สมอ หรือการช่วยกันเคลือ่ นย้ายผูบ้ าดเจ็บ ด้วยอุปกรณ์ใกล้ตัว อย่างเช่น ผ้าห่มและราวตากผ้า เพื่อรอความช่วยเหลือต่อไป

(อ่านต่อฉบับหน้า)


ข่าวทหารอากาศ

เฉลย crossword ประจ�ำเดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๑

อ.วารุณี

99



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.