บทอาเศียรวาท พระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหัว ๒๘๘กรกฎาคมม๒๕๖๒ ยี่สิบแปดกรกฎาคมสมประสิทธิ์์์ ์ คลายวันราชสมภพนบฤดีี ี ี ี ี ี ี ี ี ร ร ร นบพระองคทรงยศบรมราชช ช ช ช ช ทั้งศิลปศาสตรมากมีศรีตระการรร ร ร ร ร ี ี ี พระเกียรติคุณพูนผลเปนลนเกลาาา พระปรีชาเดนรัตนจรัสทวีี ี ี ี ี ี ี ี ี น น น องคจักรีมีบุญพูนกุศลลล ล ล ล ล ล ล ทศธรรมล้ำเลิศประเสริฐจินต จ จ จ สงางามยามใดไดพบเห็นน น น น น น ที่ทุกขรอนก็ผอนลงตรงจิตใจจ จ จ จ จ จ จ ดุจโพธิสัตวล้ำเลิศประเสริฐศรีี ี ี ทรงยิ่งดวยพระเมตตาและการุณย ร ร ร แมพระสงฆทรงศีลพระชินบุตรร ร ร ยังไดรับอุปถัมภล้ำพระพรรร พระพร ร ร ร ร ร ร ร ย ย ย ยี่สิบแปดกรกฎามาบรรจบบบ บ บ บ บ นอมภักดีในองคพระทรงชัยย ย ย ย ย ย ย ย ู ู ู ขอพระพรยิ่งใหญพระไตรรัตน ทวยเทพตางอวยชัยไดเชิดชูู ู ู ู ู ู ู ู
ไทยทุกทิศเทิดองคพระทรงศรี นอมอัญชลีวันทาสาธุการ ทรงเปรื่องปราดมากมายหลายสถาน ทรงเชี่ยวชาญหลายหลากมากบารมี ชาวไทยเฝาบูชาพาสุขศรี เลิศศักดิ์ศรีรมโพธิ์ทองของแผนดิน พระจอมคนเลิศพรอมรศิลป ทั่วแผนดินรมเย็นเปนสุขใจ ดุจทรงเปนเทวาพาสุขใส ที่มีภัยผานพนลนการุณย พระบุญญาบารมีมิเสื่อมสูญ นับเปนบุญของชาติพิลาสพร พระสุทธิในธรรมคำสั่งสอน ดุจอมรเทวฤทธิ์ประสิทธิชัย ไทยตางนบพระบารมีที่สดใส ตางตั้งใจเทิดมั่นกตัญู อินทรพรหมจัดพรชัยใหเลิศหรู มิ่งขวัญคูจักรีวงศทรงพระเจริญ
ดวยเกลาดวยกระหมอมมขอเดชะ ขาพระพุทธเจาาขาราชการรลูกจางงพนักงานราชการ ทหารกองประจำการรและครอบครัวกองทัพอากาศ นนออเกษมมมพงษพันธประพันธ
บทอาเศียรวาท สมเด็จเจาฟา ฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ สี่กรกฎาคมอุดมลักษณ องคเจาฟาจุฬาภรณพรทวี พระเมตตาการุณยเปนบุญลน ทรงชวยเหลือประชาชนผลตระการ โรงพยาบาลในพระคุณบุญกุศล ผลสัมฤทธิ์ในพระคุณบุญมั่นคง ดาน พอ.สว.ละออรัตน ชวยรักษาประชาชนทุกหนไป พระเสด็จแดนใดทั่วไทยเทศ ทั้งสืบสานภารกิจวิจิตรงาม พระสุขภาพไมอำนวยยังชวยชื่น ไทยทั้งชาติชื่นฤดีมีสุขใจ สี่กรกฎาคมอุดมศรี ทรงชวยชาติชวยชนผลค้ำจุน ขอคุณพระรัตนตรัยคุณไพศาล โปรดคุมครองทูลกระหมอมจอมชีวัน
คุณประจักษทั่วสยามงามสดศรี พระบารมีแจมใสไปชั่วกาล พรมงคลจากเทวาพาสุขศานต ทุกทิวาราตรีกาลอยางมั่นคง ผูปวยไขทุกคนมุงประสงค ยอมจะสงผลทั่วหลาประชาไทย คุณจรัสทั่วโลกาจะหาไหน สืบสานในสมเด็จยาสงางาม ยอมเปนเหตุสดใสในสยาม ไดผลตามยุคลบาทพิลาสวิไล งามระรื่นพระจริยาพาสุกใส ทั่วถิ่นไทยรับพรอมรคุณ พระบารมีสดใสไมเสื่อมสูญ พระเกียรติคุณจรัสศรีทวีวรรณ ปวงเทวัญชั้นฟาสุธาสวรรค พระมิ่งขวัญขอพระองคทรงพระเจริญ
สุดแตจะโปรดเกลาโปรดกระหมอม ขาพระพุทธเจา ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ ทหารกองประจำการ และครอบครัวกองทัพอากาศ น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ
ประมวลภาพ พิธีลงนามถวายพระพรชัยมงคล ทําบญ ุ ตักบาตร และบริจาคโลหิตถวายเปนพระราชกศ ุ ลเนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินี เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๖๒
ประมวลภาพ พิธีลงนามถวายพระพรชัยมงคล ทําบญ ุ ตักบาตร และบริจาคโลหิตถวายเปนพระราชกุศลเนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินี เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๖๒
6
บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านที่เคารพทุกท่าน ในเดือนกรกฎาคมนี้นับเป็นเดือนที่มีวันส�ำคัญ หลายประการได้แก่ในวันที่ ๒๘ กรกฎาคม เป็น วั น เฉลิ ม พระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๑๐ แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นทรงราชย์ เมื่อวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๙ พระองค์ทรง เป็นกษัตริย์นักบินพระองค์แรก และทรงเปี่ยมด้วย พระปรีชาสามารถด้านการทหาร ทรงมีพระจริยวัตร งดงาม ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ซึง่ ล้วนก่อให้เกิด ประโยชน์ตอ่ ปวงชนชาวไทยมาตัง้ แต่ครัง้ ยังทรงด�ำรง พระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุ ม าร และได้ มี พ ระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคมที่ผ่านมา โดยพระองค์ทรงมี พระปฐมบรมราชโองการว่า “จะสืบสาน รักษา และ ต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์ สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป” นอกจากนี้ในด้านพระพุทธศาสนามีวันส�ำคัญ ๒ วัน คือในวันที่ ๑๖ กรกฎาคม “วันอาสาฬหบูชา” เป็ น วั น ที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงแสดงธรรมเทศนา หรือหลักธรรมทีท่ รงตรัสรูแ้ ก่ปญ ั จวัคคีย์ ธรรมเทศนา ทีท่ รงแสดงครัง้ แรกนีไ้ ด้ชอื่ ว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แปลว่า พระสูตรแห่งการหมุนวงล้อธรรม และเป็น วันทีบ่ งั เกิดมีพระสงฆ์ครบองค์พระรัตนตรัยเป็นครัง้ แรก และในวันที่ ๑๗ กรกฎาคม เป็นวัน “วันเข้าพรรษา” แปลว่ า “พั ก ฝน” พระภิ ก ษุ ส งฆ์ ต ้ อ งอยู ่ ป ระจ� ำ
ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน กิจกรรมของวันส�ำคัญ ทางพระพุทธศาสนาทั้งสองวันนี้ พุทธศาสนิกชน ควรร่วมกันน้อมร�ำลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ศึกษา พระธรรมวินัยอันเป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา ให้เข้าใจอย่างถูกต้อง ท�ำความดี ละเว้นความชั่ว ท�ำจิตใจให้ผ่องใส อันเป็นหลักเบื้องต้นเมื่อน�ำไป ปฏิ บั ติ แ ล้ ว จะเกิ ด ประโยชน์ แ ก่ ต นเอง และเป็ น ประโยชน์ต่อส่วนรวมได้เป็นอย่างดี ปกฉบั บ นี้ เ ป็ น พระบรมฉายาลั ก ษณ์ ข อง พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องเด่น ในฉบับนี้ได้แก่ ผลงาน KM เรื่อง การใช้รถพยาบาล กู้ภัยกรณีอากาศยาน เกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ, ๗๐ ปี เพื่อมันสมองน�้ำดี, Red Eagle อินทรีแดง แผลงฤทธิ์ : TCCC ยุทธวิธีรักษาพยาบาลในพื้นที่ สนามรบ, 5G Cellular Technology : Air Force Strategy and Technology Disrupt Change, ศักยภาพเหนือขอบฟ้าเครื่องบินรบยุคที่ ๕ รวมทั้ง คอลัมน์ประจ�ำที่น่าสนใจอีกมากมาย เชิญพลิกอ่าน ได้ตามอัธยาศัยครับ
ข่าวทหารอากาศ
สารบัญ
ปี ที่ ๗๙ ฉบั บ ที่ ๗ เดื อ นกรกฎาคม ๒๕๖๒
๒ บทอาเศียรวาท พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั - น.อ.เกษม พงษ์พนั ธ์ ๓ บทอาเศียรวาท สมเด็จเจ้าฟ้า ฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี - น.อ.เกษม พงษ์พนั ธ์ ๔ ประมวลภาพกิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินี ๙ เปิดปูม ๑๐๐ ปีการบินของบุพการีทหารอากาศ - พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร ๑๕ ครูภาษาพาที : พระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสนิ ทร มหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมพิ ลราชวรางกูร (๒) - มะลิลา ๒๐ KM : การใช้รถพยาบาลกูภ้ ยั กรณีอากาศยานเกิดเหตุฉกุ เฉินหรืออุบตั เิ หตุ - รพ.จันทรุเบกษา พอ. ๒๗ ศักยภาพเหนือขอบฟ้าเครื่องบินรบยุคที่ ๕ - น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ ๓๒ ๗๐ ปี เพื่อมันสมองน�้ำดี - น.ต.ธนวัฒน์ กิจเจริญศักดิ์กุล ๓๖ ไทยกับบทบาทประธานอาเซียนในการส่งเสริมเสาการเมืองและความมั่นคง - ดร.วิศรา ไกรวัฒนพงศ์ ๓๙ Red Eagle อินทรีแดงแผลงฤทธิ์ : TCCC ยุทธวิธีรักษาพยาบาลในพื้นที่ สนามรบ - น.ต.ภฤศพงศ์ ช้อนแก้ว ๔๕ สือ่ สารให้ ได้ผล - ว.วิทยา ๔๙ CROSSWORD - อ.วารุณี ๕๓ มองอุตสาหกรรมป้องกันประเทศผ่านงาน Aero India 2019 - สน.ผชท.ทอ.ไทย/นิวเดลี ๕๙ มุมท่องเที่ยว : โรงเรียนการบิน ก�ำแพงแสน - RTAF’s eyes view ๖๔ บทเรียนการช่วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัยกรณีเกิดภัยพิบัติ ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย - น.อ.ประภาส สอนใจดี ๗๐ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ประชาคมอาเซียน (+3) : ชุดประจ�ำชาติของประเทศจีน - @Zilch ๗๑ 5G Cellular Technology : Air Force Strategy and Technology Disrupt Change - น.อ.หญิง วชิราภรณ์ เชาวน์ศิริ ๗๖ ขอบฟ้าคุณธรรม : เป็นผู้รู้ว่าเวลาเหลือน้อย - 1261 ๘๐ การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม ท�ำได้อย่างไร? (ตอนที่ ๓) - พล.อ.ต.ผศ.นพ.จ�ำรูญเกียรติ ลีลเศรษฐพร ๘๔ อาวุธปล่อยความแม่นย�ำสูงชนิดแรกของโลก - น.อ.ชวินทร์ ศรีวิริยเลิศกุล ๘๗ เวลาการ์ตนู - มีสกรีน ๘๙ ธรรมประทีป : พระพุทธรูปปางไสยาสน์/ปางอุ้มบาตร - กอศ.ยศ.ทอ ๙๑ ในรั้วสีเทา ๙๘ Emergency Management Seminar 2019 - ร.อ.หญิง วิวสั วัน เปล่งวิทยา
๒๐
๒๗
๓๒
เข็มนภาธิปัตย์
๖๔
7
ข่าวทหารอากาศ
8
คณะผูจ้ ดั ท�ำหนังสือข่าวทหารอากาศ เจ้าของ กองทัพอากาศ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พล.อ.อ.ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ พล.อ.อ.ม.ร.ว.ศิริพงษ์ ทองใหญ่ พล.อ.อ.ธนนิตย์ เนียมทันต์ พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ์ พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน
พล.อ.อ.กันต์ พิมานทิพย์ พล.อ.อ.อมร แนวมาลี พล.อ.อ.ปอง มณีศิลป์ พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง
ที่ปรึกษา พล.อ.อ.ธงชัย แฉล้มเขตร พล.อ.อ.ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ พล.อ.ต.สหัสชัย มาระเนตร
พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร
ผู้อ�ำนวยการ/บรรณาธิการ พล.อ.ท.พงษ์ศักดิ์ เสมาชัย
เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ รองผู้อ�ำนวยการ
พล.อ.ต.ทศวรรณ รัตนแก้วกาญจน์ พล.อ.ต.ฐานัตถ์ จันทร์อ�ำไพ น.อ.กรกฎ ทิมไสว น.อ.สมพร แต้พานิช ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้จัดการ
พล.อ.ต.ตรีพล อ่องไพฑูรย์
ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ
น.อ.ธรรมรงค์เดช เจริญสุข น.อ.นินาท มูลจนะบาตร์
น.อ.สมพร แต้พานิช น.อ.อภิรัตน์ รังสิมาการ น.ท.สมภพ จันทร์ชูชื่น
ประจ�ำบรรณาธิการ
น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง น.ท.หญิง มุตสิตา มาหะศักดิ์ พ.อ.อ.ธรรมวัฒน์ รัตนวิจารณ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์ พ.อ.อ.หญิง วาสนา รับสมบัติ น.ส.อุไรวรรณ บุญณรงค์ นางจันทร์สม ค�ำมา น.ส.ณัฐวดี ธ�ำรงวงศ์ถาวร
น.ท.หญิง ณัฐสินี เชื้อนุ่น น.ต.หญิง รัชนก เกิดสุข พ.อ.อ.พันธกานต์ พูลผล พ.อ.อ.รักษิต ทองแย้ม จ.อ.หญิง ศุภวัลย์ กระจ่างนฤมลกุล นางประไพ เอี่ยมวุฒิ น.ส.รสสุคนธ์ บุญประเทือง
กองวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์ (เพื่อพลาง) ส�ำนักกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรืิอนทหารอากาศ ถนน พหลโยธิน แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑, ๐ ๒๕๓๔ ๔๒๔๑ โทรสาร ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑ ส่งบทความและภาพกิจกรรมได้ที่ rtafmag@gmail.com
หนังสือข่าวทหารอากาศ ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของกองทัพอากาศ เริม่ ด�ำเนินการเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึน้ กับกรมข่าวทหารอากาศ โดย นาวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็นบรรณาธิการคนแรก ด�ำเนินการโดยทุนของข้าราชการทหารอากาศ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยูใ่ นความอ�ำนวยการของกรมยุทธศึกษาทหาร อากาศ ตามค�ำสั่ง ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ได้เข้าอยู่ในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ ก�ำกับดูแล โดยคณะอนุ ก รรมการบริ ห ารวารสารและสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ก องทั พ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค. ๒๕๕๒ ก�ำหนดให้ใช้ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ ว่าด้วยการ บริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ ๑ ม.ค.๒๕๖๑ ได้เข้ามาอยู่ในการก�ำกับดูแลของกรมกิจการพลเรือนทหาร อากาศ ตามค�ำสั่ง ทอ. (เฉพาะ) ที่ ๑๓๖/๖๐ ลง ๒๖ ก.ย.๒๕๖๐
ภารกิจ ด�ำเนินกิจการหนังสือข่าวทหารอากาศ ให้เป็นไปตามนโยบายของผูบ้ ญั ชาการ ทหารอากาศ โดยมีผู้อ�ำนวยการหนังสือข่าวทหารอากาศ (จก.กร.ทอ.) เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในกิจการทั่วไป ๒. เพือ่ แสดงความคิดเห็นด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม ๓. เพื่อเผยแพร่กิจการของกองทัพอากาศ
การด�ำเนินงาน ๑. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ใน การพัฒนากองทัพอากาศและส่วนรวม ๒. เนื้อหาที่น�ำมาลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ - ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบายของผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ - ต้องไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ ส่วนรวม - ต้องได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะผู้จัดท�ำหนังสือข่าว ทหารอากาศ
ก�ำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน
พิมพ์ที่ บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) ๓๐/๘๘ หมู่ ๑ ถ.เจษฎาวิถี ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ๗๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๘๘ โทรสาร ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๕๘
อ่านบทความเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th และ www.rtaf.mi.th บทความและความคิดเห็นของผู้เขียนในหนังสือฉบับนี้ ไม่มีส่วนผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด ภาพบางส่วนในหนังสือ น�ำมาจาก www.google.com ออกแบบปก : น.ส.รสสุคนธ์ บุญประเทือง
ข่าวทหารอากาศ
9
เปิดปูม ๑๐๐ ปี การบิน ของบุพการี ทหารอากาศ (ต่อจากฉบับที่แล้ว)
พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร
บัตรประจ�ำตัวนักบินของ นายร้อยเอก ทิพย์ เกตุทัต ได้รับที่ฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๖
นาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต (ทิพย์ เกตุทัต) เกิดเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๓๑ ณ บ้านในคลองบางกอกใหญ่ ตึกหน้าวัดหงษาราม กรุงเทพฯ เป็นบุตรของพระยาเวียงในนฤบาล (เจ็ก) และคุ ณ หญิ ง เวี ย งในนฤบาล (แก้ ว ) เริ่ ม เข้ า รั บ การศึกษาทีโ่ รงเรียนอัสสัมชัญ และศึกษาต่อทีโ่ รงเรียน นายร้อยทหารบกเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๖ และเป็นอีกผู้หนึ่ง ที่ได้รับคัดเลือกให้ไปศึกษาการบินที่ประเทศฝรั่งเศส โดยขณะนั้นมียศเป็น นายร้อยโท ทิพย์ เกตุทัต นายร้อยโท ทิพย์ เกตุทตั เริม่ ฝึกบินด้วยเครือ่ งบิน นิเออปอรต์ ณ โรงเรียนการบินทีม่ รู เ์ มอลอง เลอ กรองด์ กับนายร้อยเอก หลวงอาวุธสิขิกร ระหว่างฝึกบิน นายร้อยโท ทิพย์ เกตุทตั ได้ประสบอุบตั เิ หตุเครือ่ งบิน ชนกันกลางอากาศในระยะสูง ๓๑ เมตร จนได้รับ บาดเจ็ บ สาหั ส ต้ อ งพั ก รั ก ษาตั ว ที่ โ รงพยาบาล
ณ เมืองแวร์ซายส์ เป็นเวลาถึง ๓ เดือนเศษ แต่ในทีส่ ดุ ก็ ฝ ึ ก ส� ำ เร็ จ วิ ช าการบิ น เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๕๖ ได้รบั บัตรนักบินฝรัง่ เศสหมายเลข ๑๓๒๔ กลั บ ถึ ง ประเทศไทยในวั น ที่ ๒ พฤศจิ ก ายน พ.ศ.๒๔๕๖ และเข้ารับราชการในกรมจเรทหารช่าง โดย รับผิดชอบด้านการบิน ณ สนามราชกรีฑาสโมสร (สนามม้าสระปทุม) พ.ศ.๒๔๕๗ เป็ น ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ บั ง คั บ การกองบิ น ทหารบก ร่วมกับนายพันตรี หลวงอาวุธสิขิกร ๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๘ ได้รับการยกย่อง ในประกาศกระทรวงกลาโหม จากงานประดิ ษ ฐ์ “หีบเครื่องเขียนใบแจ้งเหตุแบบเกตุทัต พ.ศ.๒๔๕๘” ส�ำหรับส่งข่าวจากเครื่องบินได้ส�ำเร็จ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๑ เป็นผูบ้ งั คับการกองบิน กรมอากาศยานทหารบก ยศนายพันตรี และเป็น ผู้บังคับการกองบินทหารบก กองทหารอาสา ในคราว ไปราชการสงครามโลกครั้งที่ ๑ ที่ประเทศฝรั่งเศส ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖ เป็นปลัดกรมอากาศยาน ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๗๒ เป็นผู้อ�ำนวยการ กองโรงงานอากาศยาน อัตรานายพันเอก ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๙ ได้รับพระราชทานยศ และบรรดาศักดิ์เป็น นายนาวาอากาศเอก พระยา ทะยานพิฆาต
10
หลั ง จากส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาแล้ ว นายทหาร ทัง้ ๓ ท่าน จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย โดยได้ไปแวะ เยีย่ มชมกิจการบินทีป่ ระเทศเยอรมนี รัสเซีย และญีป่ นุ่ แล้วจึงเดินทางกลับถึงประเทศไทย ในขณะทีเ่ ครือ่ งบิน ซึ่ ง กระทรวงกลาโหมสั่ ง ซื้ อ และเจ้ า พระยา อภัยภูเบศร์ (ชุ่ม อภัยวงศ์) ร่วมบริจาคเงินซื้อจาก ประเทศฝรั่งเศส จ�ำนวน ๘ เครื่อง ได้แก่ เครื่องบิน นิเออปอรต์ปีกชั้นเดียว จ�ำนวน ๔ เครื่อง และเครื่อง บินเบรเกต์ปีก ๒ ชั้น จ�ำนวน ๔ เครื่อง ได้จัดส่งมา ทางเรือถึงประเทศไทยในเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๖
หนังสือพระราชทานบรรดาศักดิ์จาก “พระทยานพิฆาฏ” เป็น “พระยาทะยานพิฆาต” เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๔๗๓
เครื่องบินนิเออปอรต์ ๔ (Nieuport IVG) ที่ซื้อมาจากประเทศฝรั่งเศสในครั้งแรก
บุพการีทหารอากาศทั้ง ๓ ท่าน ถ่ายภาพร่วมกับ คณะนายทหารรัสเซีย
เครื่องบินนิเออปอรต์ ๒ (Nieuport IIN) ที่ซื้อมาจาก ประเทศฝรั่งเศสในครั้งแรก
ข่าวทหารอากาศ
11
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระก�ำแพงเพชร์อัครโยธิน
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังสีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธวงศ์วรเดช
เมื่ อ พ.ศ.๒๔๕๖ กระทรวงกลาโหมได้ เริ่ ม งานกิ จ การบิ น ขึ้ น โดยให้ อ ยู ่ ใ นบั ง คั บ บั ญ ชาของ จเรทหารช่าง คือ นายพลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมหมื่นก�ำแพงเพชร์ อัครโยธิน โดยใช้พนื้ ทีส่ นามราชกรีฑาสโมสร (สนามม้า สระปทุม) เป็นสนามบินแห่งแรกของประเทศไทย และสร้ า งโรงเก็ บ เครื่ อ งบิ น ส� ำ หรั บ เครื่ อ งบิ น ทั้ง ๘ เครื่อง ที่บริเวณโรงเรียนพลตระเวน วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๖ ได้มีการบิน ทดลองท� ำ การบิ น เป็ น ครั้ ง แรกด้ ว ยนั ก บิ น ไทย และเครื่ อ งบิ น ของไทยที่ ส นามราชกรี ฑ าสโมสร
โดยมี จ อมพลสมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ เจ้ า ฟ้ า ภาณุรังสีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธวงศ์วรเดช จเรทหารบกและจเรทหารเรือ พร้อมด้วยนายพลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ เสนาธิการทหารบก เสด็ จ มาประทั บ ทอดพระเนตร โดยมี ข ้ า ราชการ ฝ่ายทหารและพลเรือนตลอดจนประชาชนคนไทย มาร่วมชมเป็นจ�ำนวนมาก การบินในวันนั้นท�ำการ ทดลองบินด้วยเครื่องบินนิเออปอรต์ ปีกชั้นเดียว จ�ำนวน ๓ เครื่อง
12
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ
ในวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๕๖ นายพลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์ ว รพิ นิ ต ได้ เ สด็ จ ขึ้ น ประทั บ เป็นผู้โดยสารเครื่องบินของไทยทั้งชนิดปีกชั้นเดียว และชนิดปีก ๒ ชั้น อยู่ในอากาศ รวมเวลาประมาณ ๕๐ นาที นับว่าเป็นครั้งแรกที่มีเจ้านายเสด็จโดยสาร เครื่องบินของไทยในประเทศไทย วันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๔๕๗ นายพันโท พระเฉลิมอากาศ (นายพันตรี หลวงศักดิ์ศัลยาวุธ ได้ รั บ พระราชทานยศและบรรดาศั ก ดิ์ สู ง ขึ้ น ) ได้ น� ำ เครื่ อ งบิ น เบรเกต์ ป ี ก ๒ ชั้ น ซึ่ ง เปลี่ ย น
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
เครื่องบินแบบเบรเกต์ ๓ (Breguet III) ที่ซื้อมาจาก ประเทศฝรั่งเศสในครั้งแรก
ข่าวทหารอากาศ
เครื่องยนต์ใหม่ขึ้นท�ำการทดลองบิน แต่เกิดอุบัติเหตุ เครื่ อ งบิ น ชนยอดไม้ ต กลงมาช� ำ รุ ด เสี ย หายมาก นายพันโท พระเฉลิมอากาศ ข้อมือซ้ายเคล็ดเล็กน้อย และได้น�ำเครื่องบินเข้าซ่อมโดยช่างที่มีอยู่ในขณะนั้น ต่อมาในวันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๗ นายพันโท พระเฉลิ ม อากาศ ได้ น� ำ เครื่ อ งบิ น ที่ ช� ำ รุ ด และ ซ่ อ มแล้ ว นั้ น ขึ้ น ทดลองบิ น ใหม่ อี ก ครั้ ง ซึ่ ง การบิ น เป็นไปด้วยความเรียบร้อย การซ่อมเครื่องบินครั้งนี้ ถือเป็นการซ่อมครั้งแรก ไม้ที่ใช้ล้วนเป็นไม้ที่มีอยู่ ในประเทศไทยทั้งสิ้น จึงเป็นที่คาดหวังว่า ไม้ซึ่งเป็น สิง่ จ�ำเป็นในการประกอบสร้างและซ่อมแซมเครือ่ งบินนัน้ จะไม่จำ� เป็นต้องสัง่ มาจากต่างประเทศ อันจะเป็นการ ประหยัดงบประมาณแผ่นดินได้ วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ.๒๔๕๗ กรมจเรการช่าง ทหารบก ออกประกาศไปยังเจ้าพนักงานกรมบัญชาการ กรมเสนาธิการทหารบก แจ้งความต้องการนายทหาร ชั้ น สั ญ ญาบั ต ร เพื่ อ เรี ย กมาฝึ ก การใช้ เ ครื่ อ งบิ น พร้อมทัง้ ก�ำหนดลักษณะของผูท้ จี่ ะเป็นนักบิน ซึง่ ถือว่า เป็นการรับสมัครนักบินเป็นครั้งแรก
13
เมื่ อ กิ จ การบิ น ของไทยได้ เ จริ ญ ยิ่ ง ขึ้ น แล้ ว การจะใช้ ส นามราชกรี ฑ าสโมสร เป็ น สนามบิ น ย่อมไม่สะดวก เพราะมีความคับแคบและเป็นที่ลุ่ม นายพันโท พระเฉลิมอากาศ ได้เป็นหัวแรงส�ำคัญ ในการเสาะหาพื้ น ที่ ที่ จ ะตั้ ง เป็ น สนามบิ น ถาวร และมาเลื อ กได้ ที่ ต� ำ บลดอนเมื อ ง ซึ่ ง เป็ น ที่ ด อน หน้าน�้ำ น�้ำไม่ท่วม ทั้งอยู่ไม่ห่างไกลพระนครมากนัก ใช้ท�ำการบินได้ตลอดปี
สนามราชกรีฑาสโมสร เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๖ เป็นสนามบินแห่งแรกของประเทศไทย
สนามราชกรีฑาสโมสร เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๖ เป็นสนามบินแห่งแรกของประเทศไทย
14
กระทรวงกลาโหมจึงมีค�ำสั่งให้ กรมเกียกกาย ทหารบก เริ่มจัดสร้างสถานที่โรงเรือนต่าง ๆ และท�ำ สนามบินขึ้นที่ต�ำบลดอนเมือง ในปลายปี พ.ศ.๒๔๕๗ การก่ อ สร้ า งเสร็ จ เรี ย บร้ อ ย มี ก ารส่ ง มอบสถานที่ ใ ห้ นายพั น โท พระเฉลิมอากาศ เมือ่ วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๕๗ จากนั้ น ในวั น ที่ ๑ มี น าคม พ.ศ.๒๔๕๗ ได้ เริ่ ม ส่งคนงานไปประจ�ำทีด่ อนเมือง แล้วจึงเริม่ เคลือ่ นย้าย สิ่งของตั้งแต่วันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๗ ต่อมา
ในวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๗ นายทหารนักบิน ทั้ง ๓ คน ได้น�ำเครื่องบินไปลงยังสนามบินดอนเมือง เป็ น ครั้ ง แรก การเคลื่ อ นย้ า ยเสร็ จ สิ้ น ลงในวั น ที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๗ และกิจการบินได้เริ่มท�ำการ ณ ที่ตั้งแห่งใหม่ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ต่อมาในวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๗ กระทรวง กลาโหมออกค�ำสั่งที่ ๒๙๑/๒๖๘๒๖ ให้ตั้ง “กองบิน ทหารบก” ขึ้น ซึ่งปัจจุบันกองทัพอากาศถือเอาวันนี้ เป็น “วันที่ระลึกกองทัพอากาศ” (อ่านต่อฉบับหน้า)
พื้นที่สนามบินดอนเมืองในสมัยเริ่มแรก
ข่าวทหารอากาศ
ครูภาษาพาที
15
มะลิลา
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร (๒) (ต่อจากฉบับที่แล้ว)
สวัสดีค่ะผู้อ่านคอลัมน์ครูภาษาพาทีทุกท่าน สืบเนื่องจากครั้งก่อน ซึ่งเป็นพระราชพิธีเบื้องต้น ในพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร ส�ำหรับฉบับนี้ ผู้เขียนจึง ขอน�ำเสนอค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษทีเ่ กีย่ วข้องกับพระราช พิธเี บื้องกลางและพระราชพิธีเบื้องปลายกันต่อ ๒. พระราชพิธีเบื้องกลาง พระราชพิธบี รมราชาภิเษก (Royal Coronation Ceremony) วันที่ ๒ - ๖ พ.ค.๖๒ May 2, 2019 His Majesty King Maha Vajiralongkorn Phra Vajiraklaochaoyuhua pays homage to the King Rama V Equestrian Monument at the Royal Plaza in the grounds of Dusit Palace, and the King Rama I Monument at Phra Buddha Yod Fa Bridge May 3, 2019 The king’s name, royal fortune and royal seal will be moved to the Baisal Daksin Throne Hall. May 4, 2019 The purification bath, the anointment rite, the granting an audience to the royal family members and high-ranking officials, and the assumption of the royal residence at Chakrapat Biman Royal Residence will be held.
พระที่นั่งภัทรบิฐ
May 5, 2019 The inauguration of the king’s official name and signature, the re-establishment of the royal family members’ ranks and a royal parade will be held in the capital. May 6, 2019 The king grants an audience to the public and foreign diplomats.
16
๒.๑ ถวายราชสักการะสมเด็จพระบรมราช บุพการี (Paying Homage to the Royal Ancestors) May 2, 2019 His Majesty King Maha Vajiralongkorn Phra Vajiraklaochaoyuhua pays homage to the King Rama V Equestrian Monument at the Royal Plaza in the grounds of Dusit Palace, and the King Rama I Monument at Phra Buddha Yod Fa Bridge วันที่ ๒ พ.ค.๖๒ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินไปถวายราชสักการะ พระบรมราชานุ ส รณ์ รั ช กาลที่ ๕ ณ พระลาน พระราชวังดุสิต จากนั้นเสด็จพระราชด�ำเนินไปถวาย ราชสักการะปฐมบรมราชานุสรณ์ ณ เชิงสะพาน พระพุทธยอดฟ้า homage/ฮอ มิ จ ชฺ / เป็ น ค� ำ นาม หมายถึ ง การเคารพ การสักการะ ใช้คกู่ บั ค�ำว่า pay เป็น pay homage มี ค วามหมายว่ า สั ก การะ เมื่ อ ใช้ กั บ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก จะหมายถึง ถวายราชสักการะ
๒.๒ การพระราชพิธีบรมราชาภิเษก (Royal Coronation Ceremony) May 3, 2019 The king’s name, royal fortune and royal seal will be moved to the Baisal Daksin Throne Hall. วันที่ ๓ พ.ค.๖๒ พิธีแห่เชิญพระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลัญจกรประจ�ำ รัชกาลจากวัดพระศรีรัตนศาสดารามไปยังพระที่นั่ง ไพศาลทักษิณ ๒.๓ บรมราชาภิ เ ษกและเฉลิ ม พระราช มณเฑียร (Royal Coronation Ceremony and Assumption of the Royal Residence)
พิธีแห่เชิญพระสุพรรณบัฏ ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาล จากธรรมาสน์ศิลา วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ไปยังพระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ข่าวทหารอากาศ
พระแท่นราชบรรจถรณ์
17
May 4, 2019 The purification bath, the anointment rite, the granting an audience to the royal family members and high-ranking officials, and the assumption of the royal residence at Chakrapat Biman Royal Residence will be held. วั น ที่ ๔ พ.ค.๖๒ ทรงสรงพระมุ ร ธาภิ เ ษก และทรงรั บ น�้ ำ อภิ เ ษก จากนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระวชิ ร เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ ออกมหาสมาคม ทรงรั บ การถวายพระพรชั ย มงคลจากพระบรม วงศานุวงศ์และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และเสด็จเถลิง พระแท่นราชบรรจถรณ์ ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน ในพระราชพิ ธี เ ฉลิ ม พระราชมณเฑี ย ร ค�ำว่า official/เออะ ฟิช เชิ่ล/ เราจะคุ้นเคยกับ ความหมายที่ว่า ที่เป็นทางการ ซึ่งเป็นค�ำคุณศัพท์ แต่ในทีน่ ี้ ค�ำว่า official เป็นค�ำนาม หมายถึง เจ้าหน้าที่ หรื อ ข้ า ราชการ ฉะนั้ น high-ranking official จึงมีความหมายว่า ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่
พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน
18
๒.๔ พระราชพิ ธี เ ฉลิ ม พระปรมาภิ ไ ธย พระนามาภิไธย สถาปนาพระฐานันดรศักดิพ์ ระบรมวงศ์ และเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวน พยุหยาตราทางสถลมารค (Best owing of the Royal Name and the New Titles of the Royal Family Members and the Royal Procession) May 5, 2019 The inauguration of the king’s official name and signature, the re-establishment of the royal family members’ ranks and a royal parade will be held in the capital. วันที่ ๕ พ.ค.๖๒ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้าอยูห่ วั เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังพระทีน่ งั่ อมรินทร วิ นิ จ ฉั ย ในการพระราชพิ ธี เ ฉลิ ม พระปรมาภิ ไ ธย พระนามาภิ ไ ธย และสถาปนาพระฐานั น ดรศั ก ดิ์ พระบรมวงศ์ และเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค
ค�ำว่า inauguration /อิ นอ เกอ เร เชิ่น/ เป็นค�ำนาม ค�ำกริยาคือ inaugurate /อิ นอ เกอ เรท/ ในที่นี้ วลี the inauguration of the king’s official name and signature หมายถึ ง พระราชพิ ธี เฉลิมพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย นั่นเอง
ข่าวทหารอากาศ
๒.๕ เสด็จออกทรงรับการถวายพระพรชัยมงคล (Granting of the Audience Ceremony) May 6, 2019 The king grants an audience to the public and foreign diplomats. วันที่ ๖ พ.ค.๖๒ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประชาชน และคณะทูตานุทูตเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล diplomat /ดิพ เพลอะ แม็ท/ เป็นค�ำนาม มีความหมายว่า ทูตหรือนักการทูต เมื่อเติม s ท�ำให้ กลายเป็นพหูพจน์ diplomats จึงหมายถึง ทูตหลายคน และมีความหมายตรงกับค�ำว่า คณะทูตานุทูต ๓. พระราชพิธีเบื้องปลาย พระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้า พระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารคไปยัง วัดอรุณราชวราราม ในช่วงปลายเดือน ต.ค.๖๒ เสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวน พยุหยาตราทางชลมารค (Royal Barge Procession to Wat Arun) Late October, 2019 These events will be followed by the Royal Barge Procession to Wat Arun Ratchawararam.
19
ปลายเดือน ต.ค.๖๒ หลั ง จากพระราชพิ ธี บรมราชาภิเษกแล้ว พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว จะเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น โดยขบวน พยุหยาตราทางชลมารคไปยังวัดอรุณราชวราราม เพื่อทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน barge /บารฺ จ ชฺ / หมายถึ ง เรื อ ท้ อ งแบน เรือบรรทุก ส่วนค�ำว่า procession /เพรอะ เซช เชิ่น/ มีความหมายว่า ขบวนแห่ และ royal /รอย เอิล/ หมายถึง เกี่ยวกับราชวงศ์ ตามที่กล่าวไปข้างต้น เมื่อน�ำทั้ง ๓ ค�ำมาเรียงต่อกัน Royal Barge Procession แปลตรงตัวว่า ขบวนเรือที่เกี่ยวกับ ราชวงศ์ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกจึงหมายถึง ขบวนพยุหยาตราทางชลมารค นั่นเอง พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นราชประเพณี คู่สังคมไทยมายาวนาน พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร จึงถือเป็น ความเป็นสวัสดิมงคลของประเทศชาติ อีกทั้งยังเป็น ที่ปลาบปลื้มปีติยินดีของพสกนิกรโดยทั่วกัน ยังมี เรือ่ งราวเกีย่ วกับพระราชพิธบี รมราชาภิเษกทีน่ า่ สนใจ อีกหลายเรือ่ ง ซึง่ ผูเ้ ขียนจะน�ำเสนอในบทความต่อ ๆ ไป พบกันใหม่ในฉบับหน้า
อ้างอิง - https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/pramuan_king.pdf - https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/final-THAI.pdf - https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/final-ENG.pdf - http://www.nationmultimedia.com/detail/big_read/30365061 - http://www.khaosodenglish.com/news/2019/02/01/full-schedule-for-royal-coronation- ceremony-unveiled/ - https://www.thairath.co.th/news/royal/1561733 - https://www.isranews.org/thaireform/thaireform-news/76086-king76086.html - https://www.prachachat.net/ - https://travel.mthai.com/blog/208897.html - https://praew.com/luxury/royal-update/247161.html
20
ผลงานกลุม่ กิจกรรมทีเ่ สริมสร้างกองทัพอากาศ ให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ประเภทเครือ่ งมือ KM
การใช้รถพยาบาลกู้ภัยกรณีอากาศยาน เกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ รางวัล Innovation Award รพ.จันทรุเบกษา พอ. ๑. ส่วนน�ำ หมวดขนส่ง แผนกบริการ กองอ�ำนวยการ รพ.จันทรุเบกษา พอ.มีหน้าที่ ควบคุม เก็บรักษา ตลอดจนบริ ก ารยานพาหนะ ซ่ อ มระดั บ หน่ ว ย และด�ำเนินการเกี่ยวกับการขนส่ง รวมทั้งพิจารณา ความต้องการในกิจการขนส่ง จากภารกิจดังกล่าว หมวดขนส่ ง ฯ ต้ อ งจั ด ยานพาหนะประเภท รถพยาบาลสนับสนุนภารกิจ รพ.จันทรุเบกษา พอ. ในการรั ก ษาพยาบาล และสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ภารกิจของ รร.การบิน ด้านยุทธการและฝึกศิษย์ การบินให้เป็นนักบินของ ทอ. ซึง่ ตอบสนองวิสยั ทัศน์ ของ รพ.จันทรุเบกษา พอ.ด้านการเป็นโรงพยาบาลทหาร จากการปฏิบัติภารกิจที่ผ่านมา พบมีข้อขัดข้อง และปัญหาทีม่ คี วามส�ำคัญต่อภารกิจ ๒ ประการ คือ ด้านบุคลากรและด้านอุปกรณ์ ด้านบุคลากร หมวดขนส่งฯ มีกำ� ลังพลทีป่ ฏิบตั ิ หน้าที่พลขับรถ จ�ำนวน ๘ คน ประสบการณ์สูงที่สุด ๑๑ ปี และน้อยที่สุด ๕ เดือน เฉลี่ยประมาณ ๖ ปี ในจ�ำนวนนี้มี ๑ คน ที่บรรจุเข้ารับราชการใหม่ ยังไม่ผ่านการอบรมหลักสูตรพลขับรถของ ขส.ทอ. ขณะที่ ภ ารกิ จ ในการใช้ ย านพาหนะประเภท รถพยาบาลในปีงบประมาณ ๖๐ สนับสนุนยุทธการ ๔๕๖ ครั้ง รับ-ส่งผู้ป่วย ๕๗๖ ครั้ง เตรียมพร้อม ภารกิจช่วยเหลือ-กู้ภัย กรณี อากาศยานอุบัติเหตุ/ ฉุกเฉิน ๓๖๕ ครัง้ รวม ๑,๓๙๗ ครัง้ ถ้ารวมการใช้
ยานพาหนะในงานธุรการอื่น ๆ อีก ๑,๐๕๖ ครั้ง รวมเป็นการใช้ยานพาหนะ ๒,๔๕๓ ครัง้ เฉลีย่ พลขับรถ ต้องเตรียมพร้อมและใช้ยานพาหนะ ๓๐๗ ครั้ง/คน ซึง่ เป็นภาระงานทีส่ งู มากพลขับรถนอกจากท�ำหน้าที่ พลขั บ รถ ต้ อ งศึ ก ษาเส้ น ทางการเดิ น รถเพื่ อ ให้ การรับ-ส่งผูป้ ว่ ยเป็นไปอย่างรวดเร็วและปลอดภัยแล้ว และต้องช่วย จนท.ทางการแพทย์ในการใช้อุปกรณ์ ประจ�ำรถพยาบาลและอืน่ ๆ ด้วย พลขับรถจ�ำเป็นต้อง มีองค์ความรูใ้ นการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นภารกิจด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการใช้ ร ถพยาบาลสนั บ สนุ น ภารกิ จ ช่วยเหลือ-กู้ภัยกรณี อากาศยานอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน ซึ่งเป็นภารกิจที่มีความเสี่ยงสูง ต้องใช้ทักษะและ องค์ความรู้ห ลายด้ า น ภารกิ จ แต่ ล ะครั้ ง ต้ อ งใช้ รถพยาบาลอย่างน้อย ๒ คัน คือ รถพยาบาลประจ�ำ สนามบิน ๑ คัน และรถพยาบาลกู้ภัยเตรียมพร้อม ที่ รพ.จันทรุเบกษา พอ. ๑ คัน ในกรณีทมี่ เี หตุการณ์ ซ�้ำซ้อนเกิดขึ้นหรือเกิดอุบัติเหตุนอกเขตสนามบิน ต้องใช้รถพยาบาลเพิ่มขึ้นจ�ำนวนพลขับรถทั้งหมด ๑๐ คน ผู้ที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงานมากกว่า ๑๐ ปี มีเพียง ๑ คน เท่านั้น จากสถิติอากาศยาน เกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ ปี ๖๐ รวม ๑๙ ครั้ง มีพลขับรถที่ประสบเหตุการณ์ฯ ๕ ครั้งขึ้นไปเพียง ๔ คน ซึง่ ไม่ถงึ ร้อยละ ๕๐ อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานได้
ข่าวทหารอากาศ
21
การประชุมกลุ่มระหว่างสมาชิกกลุ่มและผู้บริหาร
ด้านอุปกรณ์ ปัจจุบันเครื่องมือที่ส�ำคัญซึ่งควร มีใช้งาน เช่น อุปกรณ์นำ� ทางด้วยระบบก�ำหนดต�ำแหน่ง บนโลก (Global Positioning System : GPS) อุปกรณ์สอื่ สารประจ�ำตัว ไม่มใี ช้งาน และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในขณะน�ำส่งผู้ป่วย จนท.ทางการแพทย์ที่มีจ�ำนวน จ�ำกัดในรถพยาบาล อาจจะต้องช่วยเหลือผูป้ ว่ ย ท�ำให้ พลขับรถต้องท�ำหน้าที่ติดต่อสื่อสารกับหน่วยแพทย์ ต้นทางหรือหน่วยแพทย์ปลายทางในลักษณะที่ส่งต่อ ข้ อ ความ ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถบริ ห ารผู ้ ป ่ ว ยได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ การจัดการความรู้ครั้งนี้จะช่วยให้ พลขับรถ ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ และ จนท.ทางการแพทย์ สามารถใช้รถพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการ ระบุ ต� ำ แหน่ ง ที่ อ ยู ่ ข องรถพยาบาล ต� ำ แหน่ ง ที่ อ ยู ่ ของผูป้ ว่ ย เส้นทางการเดินรถ การประสานงานในการ ควบคุ ม การใช้ ร ถและการส่ ง ข้ อ มู ล ผู ้ ป ่ ว ยระหว่ า ง การน�ำส่งที่สามารถส่งได้ทั้งภาพและเสียง สามารถ ให้ค�ำแนะน�ำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีจ�ำนวนจ�ำกัด และไม่สามารถเดินทางไปกับรถพยาบาลได้ อันจะ ส่งผลให้การบริหารผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และปลอดภัย ซึ่งเป็นการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย ในการปฏิบัติภารกิจของ ทอ.ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตามนโยบาย ผบ.ทอ.และยุทธศาสตร์ ทอ.
วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้เพื่อให้ได้ แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ใี นการใช้รถพยาบาลในภารกิจช่วยเหลือ การกู้ภัย โดยมีตัวชี้วัดที่ส�ำคัญคือ ร้อยละของความ ถู ก ต้ อ งในการใช้ ร ถพยาบาล ในภารกิ จ กู ้ ภั ย กรณี อากาศเกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น หรื อ อุ บั ติ เ หตุ ที่ อ ยู ่ ใ นระดั บ ดีขึ้นไป (เป้าหมาย ร้อยละ ๑๐๐) และร้อยละความ พึ ง พอใจของผู ้ รั บ ผลงานที่ อ ยู ่ ใ นระดั บ ดี ขึ้ น ไป (เป้าหมาย ร้อยละ ๘๐) ผูร้ บั ผลงาน หมายถึง จนท.แพทย์/ พยาบาลเวชศาสตร์การบินทีเ่ ดินทางไปกับรถพยาบาล ครูการบิน/ศิษย์การบินที่ให้บริการและผู้เกี่ยวข้อง ใน รพ.จันทรุเบกษา พอ. ๒. ส่วนเนื้อหา กลุ่ม SMART AMBULANCE มว.ขส.ผรก.กอก. รพ.จันทรุเบกษา พอ. ได้ด�ำเนินการจัดการความรู้ ดังนี้ ๒.๑ ประชุมกลุ่มระดมสมองร่วมกันเพื่อระบุ ความรู ้ ที่ ต ้ อ งการ สรุ ป ประเด็ น ความรู ้ ที่ ต ้ อ งการ มี ๔ เรื่อง คือ ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการใช้ รถพยาบาลในการปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือกู้ภัยกรณี อากาศยานเกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น หรื อ อุ บั ติ เ หตุ ก ารขั บ ขี่ รถพยาบาลอย่ า งปลอดภั ย การดู แ ลบ� ำ รุ ง รั ก ษา รถพยาบาล การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร
22
๒.๒ ค้ น หาและสื บ ค้ น ความรู ้ ต ามประเด็ น ความรูท้ ตี่ อ้ งการทัง้ ๔ เรือ่ งทัง้ จากระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง คู ่ มื อ การปฏิ บั ติ ด ้ า นเทคนิ ค รวมทั้ ง ปรึ ก ษาและ ขอค�ำแนะน�ำเพิม่ เติมจากผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ ปี ระสบการณ์ จากด้านต่าง ๆ แล้วน�ำมารวบรวมความรูต้ ามประเด็น ความรู้ที่ต้องการ ออกแบบระบบสนับสนุนการปฏิบตั ิ งานตั้งชื่อว่า “CCTV Tracking System” ประกอบ ด้วยส่วนแสดงพิกัด ส่วนบันทึกภาพและส่วนเฝ้าดู ขออนุมัติงบประมาณจาก ผอ.รพ.จันทรุเบกษา พอ. จัดซื้ออุปกรณ์ที่จ�ำเป็น
แนวคิดในการออกแบบระบบ “CCTV Tracking System”
อุปกรณ์น�ำทางด้วยระบบ Global Positioning System : GPS เครือ่ ง GPS One Fashion GPS tracker เพื่ อ ติ ด ตามต� ำ แหน่ ง ยานพาหนะและ จนท.ขณะ ปฏิ บั ติ ง าน สามารถติ ด ตามการเคลื่ อ นที่ ไ ด้ จ าก ทั่ ว ทุ ก มุ ม โลก เป็ น ชุ ด แสดงพิ กั ด ของที ม แพทย์ / พยาบาลกู ้ ภั ย ท� ำ ให้ ส ามารถน� ำ รถพยาบาลไปยั ง
ที่หมายได้อย่างถูกต้อง กล้องวงจรปิด iP Camera Vstacam แบบไร้สาย (WiFi) และ Mobile Router ส่งสัญญาณอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อกับกล้อง Digital WiFi ใช้ต่อพ่วงระบบ Net Work ส่งสัญญาณผ่าน ระบบอินเตอร์เน็ตไร้สาย เป็นชุดส่งสัญญาณภาพ และเสียงจากกล้องในรถพยาบาลกู้ภัยฯ ไปยัง smart phone และเครือ่ งคอมพิวเตอร์ พร้อมระบบบันทึกภาพ สามารถพูดคุยระหว่าง จนท.ในรถพยาบาลกู้ภัยฯ กับแพทย์ที่โรงพยาบาลได้ ๒.๓ น�ำความรู้ที่รวบรวมได้จัดให้เป็นหมวดหมู่ และจั ด ท� ำ เป็ น คู ่ มื อ การใช้ ร ถพยาบาลในภารกิ จ ช่วยเหลือการกู้ภัยกรณีอากาศยานเกิดเหตุฉุกเฉิน หรื อ อุ บั ติ เ หตุ ใ นรู ป เอกสารและสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ในหัวข้อการขับรถพยาบาลในเขตสนามบินก�ำแพงแสน การขั บ รถพยาบาลในขบวน convoy การขั บ รถ พยาบาลอย่างปลอดภัย การตรวจความพร้อมใช้ ของรถพยาบาลประจ� ำ วั น และการใช้ อุ ป กรณ์ ในรถพยาบาล การอ่านแผนที่พิกัด การใช้วิทยุสื่อสาร การใช้ ง านอุ ป กรณ์ สื่ อ สารแบบไร้ ส าย จากนั้ น ให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ในแต่ละสาขาทั้งหมด ๕ ท่าน ตรวจสอบและกลั่นกรองความรู้ให้หลังจาก ปรับปรุงคู่มือฯ ได้น�ำเรียน ผอ.รพ.จันทรุเบกษา พอ. ลงนามอนุมัติ ให้น�ำไปใช้งานจริงได้ต่อไป ๒.๔ การเข้ า ถึ ง ความรู ้ โ ดยผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งและ พลขับรถ สามารถศึกษาได้ด้วยตนเองจากเอกสาร คู ่ มื อ ฯ และเอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (PDF File)
การจัดท�ำระบบ “CCTV Tracking System”
ข่าวทหารอากาศ
23
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ผขส.บน.๔ และ รพ.บน.๔
ที่สามารถเปิดอ่านได้จากโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Smart phone) ของแต่ละคนและสื่อสารผ่าน Application LINE ของกลุ่ม “มว.ขส.ผรก.รพ.” น�ำความรู้บันทึก ลงในเว็บไซต์การจัดการความรู้ http://chandruhospital.rtaf.mi.th/home/index.php/forum/index.html และน�ำข้อมูลเก็บในระบบ NAS เป็นคลังความรูต้ า่ ง ๆ ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ภายใต้มาตรการรักษาความปลอดภัยระบบ สารสนเทศ เนือ่ งจากข้อมูลความรูบ้ างอย่างทีเ่ กีย่ วกับ งานยุ ท ธการต้ อ งมี ชั้ น ความลั บ เพื่ อ ให้ ก� ำ ลั ง พล ใน รพ.จันทรุเบกษา พอ. เข้าถึงและเรียนรู้ได้ ๒.๕ การแบ่งปันแลกเปลีย่ นความรูห้ ลายวิธี เช่น อบรมหน้าแถว (Morning brief) จัดการอบรม ทบทวน และฝึกปฏิบัติฝึกอบรมภายในหน่วย โดยผู้ที่มีความรู้ ความช�ำนาญเป็นพี่เลี้ยงเดือนละ ๒ ครั้ง แบ่งปันและ แลกเปลีย่ นความรูก้ บั จนท.แพทย์/พยาบาล เวชศาสตร์ การบิน รพ.จันทรุเบกษา พอ.และห้องอุบตั เิ หตุ-ฉุกเฉิน ของ รพ.จันทรุเบกษา พอ.เนื่องจากต้องปฏิบัติงาน ร่วมกัน กลุม่ ด�ำเนินการ Knowledge Sharing ผลงาน กับ ผขส.บน.๔ และ รพ.บน.๔ เพือ่ เป็นแนวทางในการ ใช้รถพยาบาลของกองบินได้
๒.๖ การเรี ย นรู ้ ที่ ไ ด้ จ ากการจั ด การความรู ้ ครั้งนี้ คือ ๒.๖.๑ ต้องการให้เกิดการเรียนรูอ้ ย่างเป็นระบบ และเป็นส่วนหนึง่ ของงาน จึงได้บรู ณาการ การจัดการ ความรู ้ ค วบคู ่ กั บ การปฏิ บั ติ ง านจริ ง ในทุ ก ขั้ น ตอน เพื่อให้พลขับรถได้รับประสบการณ์จริงในการใช้รถ พยาบาลช่ ว ยเหลื อ กู ้ ภั ย กรณี อ ากาศยานเกิ ด เหตุ ฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุครบทุกคน
การบูรณาการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
24
๒.๖.๒ จากการทดสอบการใช้ อุปกรณ์สื่อสารไร้สายทางไกล ระหว่าง รถพยาบาลที่ เ ดิ น ทางรั บ -ส่ ง ผู้ป่วยยัง สถานที่ต่าง ๆ กับ รพ.จันทรุเบกษา พอ. ระหว่าง ม.ค. – มี.ค.๖๑ จ�ำนวน ๓๙ เที่ ย ว พบว่ า สั ญ ญาณภาพและเสี ย ง ใช้งานได้ดี โดยเฉพาะการดูภาพและ พู ด ผ่ า นเครื่ อ งโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หรื อ เครื่องคอมพิวเตอร์ ๒.๗ ผลผลิ ต จากการจั ด การ ความรู้ คือ นวัตกรรมเรือ่ ง “CCTV Tracking System” ที่สามารถใช้ในการติดต่อ การทดสอบสัญญาณภาพและเสียง การสื่อสารไร้สาย สื่ อ สารระยะไกลระหว่ า งรถพยาบาล กั บ แพทย์ ที่ อ ยู ่ ณ รพ.จั น ทรุ เ บกษา พอ.ได้ แ บบ ในรถพยาบาลทุกคัน รวมทัง้ เสนอให้ตดิ ตัง้ เป็นอุปกรณ์ Online – Realtime เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี มาตรฐานในรถพยาบาลของ ทอ.ทั้งหมดในอนาคต สารสนเทศช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ๓. ส่วนสรุป ได้อย่างเป็นรูปธรรมสอดคล้องนโยบาย ผบ.ทอ.และ ๓.๑ ด้านคุณภาพของผลงาน ยุ ท ธศาสตร์ ท อ.ตามแนวคิ ด การใช้ เ ครื อ ข่ า ย ๓.๑.๑ ด้านความถูกต้องในการใช้รถพยาบาล เป็ น ศู น ย์ ก ลาง ผลงานนี้ น� ำ มาใช้ ใ นงานยุ ท ธการ กู้ภัยฯ หลังการจัดการความรู้พลขับรถทุกคน มีผล ของ รร.การบิน และทอ.ได้ สามารถประยุกต์ใช้กับ การประเมินทีอ่ ยูใ่ นระดับดีขนึ้ ไป ร้อยละ ๑๐๐ ซึง่ เป็นไป รถพยาบาลในภารกิจอื่น ๆ และเป็นแนวทางในการ ตามเป้าหมาย แต่ยงั ต้องพัฒนาความรูใ้ นประเด็นย่อย ๆ ใช้รถพยาบาลของกองบินอื่น ๆ ได้ต่อไป ให้ดียิ่งขึ้น ๒.๘ ปัญหาและข้อขัดข้อง คือ อุปกรณ์สื่อสาร ๓.๑.๒ ด้านความพึงพอใจของผู้รับผลงาน เป็นอุปกรณ์ที่จัดหาและทดลองใช้งานโดย จนท. ที่อยู่ในระดับดีขึ้นไปหลังท�ำกิจกรรม ร้อยละ ๙๐.๙๑ ของ มว.ขส.ฯ ยังไม่เป็นมาตรฐานจึงเสนอให้จัดหา ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ร้อยละ ๘๐ อุ ป กรณ์ ที่ เ ป็ น มาตรฐานมาใช้ ง านจริ ง และติ ด ตั้ ง
การซ้อมปฏิบัติการช่วยเหลือกรณีอากาศยานเกิดอุบัติเหตุนอกเขตสนามบินก�ำแพงแสน
ข่าวทหารอากาศ
๓.๒ ด้านคุณค่าของผลงาน ๓.๒.๑ การพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบตั ิ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีเทคโนโลยีช่วยให้ เข้ า ถึ ง จุ ด เกิ ด เหตุ ที่ ร วดเร็ ว ส่ ง ผลให้ ค รู ก ารบิ น / ศิษย์การบินที่ประสบเหตุจากอากาศยาน ได้รับการ ช่วยเหลือจาก จนท.แพทย์อย่างรวดเร็ว เนื่องจาก เวลาที่เสียไปหมายถึง “นาทีแห่งชีวิต” ๓.๒.๒ ลดโอกาสการสูญเสียหรือการบาดเจ็บ ที่อาจจะรุนแรงขึ้น บุคลากรที่รอการช่วยเหลือ คือ “นักบิน” หรือ “ผู้ท�ำการในอากาศอื่น ๆ” ซึ่งเป็น บุคลากรที่ทรงคุณค่าของ ทอ.และประเทศชาติ ๓.๒.๓ เป็นการสนับสนุนภารกิจการฝึกบิน ของ รร.การบิน ที่มีประสิทธิภาพ ๓.๒.๔ การใช้เทคโนโลยีสอื่ สารช่วยให้เข้าถึง จุดเกิดเหตุที่รวดเร็ว การเชื่อมโยงข้อมูลแบบ Online Real time ช่วยให้แพทย์สั่งการรักษา/ให้ค�ำปรึกษา ได้ ร ะยะไกล เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการดู แ ลผู ้ ป ่ ว ย
25
ระหว่างน�ำส่งโรงพยาบาล สามารถบันทึกภาพเพื่อใช้ ในการศึ ก ษาเรี ย นรู ้ ภ ายหลั ง ได้ ช่ ว ยแก้ ป ั ญ หา การขาดแคลนบุคลากรที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ ๓.๒.๕ การใช้งบประมาณ กลุม่ จัดหาอุปกรณ์ ในการจัดท�ำระบบ “CCTV Tracking System” ประมาณสองหมื่นบาท แต่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ของงานได้อย่างมาก เมือ่ เปรียบเทียบกับหน่วยงานอืน่ มี ร าคาถู ก กว่ า คุ ณ ภาพของระบบขึ้ น กั บ คุ ณ ภาพ ของอุปกรณ์เช่นเดียวกัน ๓.๒.๖ ใช้เครือ่ งมือ PMQA และ KM ในการ แก้ปัญหาและพัฒนางานได้อย่างแท้จริง ด้วยการ บริหารความเสี่ยงและปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน สอดคล้องกับนโยบาย ผบ.ทอ.ปี ๖๐ – ๖๑ นโยบาย การปฏิ บั ติ ร าชการข้ อ ๙ “พั ฒ นาการปฏิ บั ติ ง าน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องตามแนวทางยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการโดยใช้เครื่องมือการบริหาร จัดการภาครัฐแนวใหม่ (PMQA)”
การซ้อมปฏิบัติการช่วยเหลือกรณีอากาศยาน เกิดอุบัติเหตุนอกเขตสนามบินก�ำแพงแสน
26
การประเมินระดับความรุนแรงของความเสี่ยงก่อนและหลังการจัดการความรู้
๓.๓ ผลกระทบที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง หลั ง ท� ำ กิ จ กรรมส่ ง ผลให้ ระดั บ ความรุ น แรง ของความเสี่ยงลดลง ใช้เครื่องมือ PMQA และการ จัดการความรู้เป็นมาตรฐานการพัฒนาของหน่วย เพิ่มช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้ในการปรับปรุง มาตรฐานการปฏิบัติงาน เป็นต้นแบบในการประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับรถพยาบาลในภารกิจอืน่ ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานได้
๓.๔ การน�ำผลงานไปใช้ในการพัฒนาเป็นแนวทาง ในการใช้รถพยาบาลของกองบินอืน่ ๆ ได้ และในอนาคต สามารถเชื่อมโยงกับเครือข่ายของศูนย์ปฏิบัติการ รร.การบิน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาได้เห็นการปฏิบัติ ในส่วนอื่น ๆ ได้แบบ Real time
SMART AMBULANCE
ข่าวทหารอากาศ
27
ศักยภาพ เหนือขอบฟ้า เครื่องบินรบ ยุคที่ ๕
น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ
การฝึก Red Flag เป็นการฝึกทดสอบก�ำลัง ทางอากาศที่มีประสิทธิภาพจัดการฝึกโดยกองทัพ อากาศสหรัฐฯ ที่ฐานทัพอากาศ Nellis รัฐเนวาดา กองทั พ อากาศที่ เ ข้ า ร่ ว มการฝึ ก ประกอบด้ ว ย กองทัพอากาศสหรัฐและมิตรประเทศสหรัฐฯ ฐานทั พ อากาศ Nellis เป็ น ฐานทั พ อากาศ ทีป่ ระจ�ำการเครือ่ งบินขับไล่ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกแห่งหนึง่ มีสนามฝึกใช้อาวุธทางอากาศที่ท�ำการทดสอบและ ส�ำหรับการฝึกใช้อาวุธ พืน้ ทีก่ ารฝึกมีขนาดห้วงอากาศ
มากกว่า ๑๕,๐๐๐ ตารางไมล์ และมีพื้นที่หวงห้าม ท�ำการบินผ่าน ๔,๗๐๐ ตารางไมล์ สนามฝึกใช้อาวุธ ทางอากาศพืน้ ทีม่ ากกว่า ๗๕ เปอร์เซ็นต์ ถูกใช้สำ� หรับ อาวุ ธ จริ ง โดยกองทั พ อากาศสหรั ฐ ฯ ใช้ ส� ำ หรั บ การปลดอาวุ ธ จริ ง ทั้ ง การทดสอบและเพื่ อ การฝึ ก ชุมชนที่อยู่ทางใต้ของเมืองเนวาดาจะเห็นและได้ยิน เสียงเครือ่ งบินตลอด ๒๔ ชม.ต่อวัน เป็นการฝึกบินรบ ขัน้ สูง การทดสอบสมรรถนะ การประเมินผล และการ พัฒนายุทธวิธี โดยที่ความสูงเหนือพื้น ๑๐๐ ฟุต
กองก�ำลัง ทอ.เข้าร่วมการฝึก Red Flag 03-1, January 2003, Nellis Air Force Base, Nevada, USA
28
เครือ่ งบินสามารถท�ำการบินได้ ๒ เท่าของความเร็วเสียง เนือ่ งจากพืน้ ทีเ่ ป็นภูเขาสูงจากระดับน�ำ้ ทะเลและไม่มี บ้านเรือนประชาชน ในสงครามเวี ย ดนามกองทั พ อากาศสหรั ฐ ฯ สู ญ เสี ย เครื่ อ งบิ น รบจ� ำ นวนมากจากจรวดน� ำ วิ ถี พื้นสู่อากาศ (SAM) และการสกัดกั้นจากเครื่องบิน ขับไล่ MIG-17 และ MIG-21 (ด้วยยุทธวิธี Hit and Run) หลังจากสงครามเวียดนาม ในปี ๑๙๗๕ ได้เกิด แนวคิดการฝึก Red Flag จากการศึกษาผลของการ สู ญ เสี ย เครื่ อ งบิ น รบของกองทั พ อากาศสหรั ฐ ฯ ในสงครามเวียดนามและสงครามเกาหลี ของกลุ่ม นายทหารที่เรียกตนเองว่า “The Original Red Flag Staff” จากฝูงบินฝึกที่ ๔๑๔ ได้ศึกษาและน�ำเสนอ ในรูปแบบรายงานชื่อ “The Red Baron Report” พวกเขาสรุปว่านักบินทีท่ ำ� ภารกิจส�ำเร็จและปลอดภัย ใน ๑๐ เทีย่ วบินแรกของการบินรบในสภาวะแวดล้อม ที่มีทั้งอาวุธต่อต้านภาคพื้นและจากเครื่องบินขับไล่ ของฝ่ายข้าศึกนั้น เป็นนักบินที่มีชั่วโมงบินสูงและ มี ป ระสบการณ์ จึ ง ได้ อ อกแบบการฝึ ก ที่ มี ส ภาวะ แวดล้อมที่มีภัยคุกคามทั้งการต่อต้านภาคพื้นและ ภาคอากาศ และมี ก ารใช้ ส งครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เพื่อเป็นการทดสอบนักบินก่อนที่จะไปท�ำการรบจริง ซึ่งพบว่าในเที่ยวบินแรก ๆ นักบินจะถูกท�ำลายด้วย จรวดน�ำวิถพี นื้ สูอ่ ากาศและการสกัดกัน้ จากเครือ่ งบิน ขับไล่ข้าศึกสมมติแต่พอ ๕ - ๗ เที่ยวบินขึ้นไปนักบิน
สามารถที่ จ ะท� ำ ภารกิ จ ได้ ส� ำ เร็ จ และปลอดภั ย จากภัยคุกคาม กองทัพอากาศส่งกองก�ำลังเข้าร่วมการฝึก Red Flag ที่ฐานทัพอากาศ Nellis จ�ำนวน ๒ ครั้ง ครั้งแรก ในสมั ย ที่ ก องทั พ อากาศจั ด ซื้ อ F-5E/F ฝู ง .๔๐๓ ก่อนที่ส่งมอบเครื่องบินมายังประเทศไทยในชุดหลัง ได้ น� ำ เข้ า ฝึ ก Red Flag 83-1 เป็ น ครั้ ง แรกในปี ค.ศ.๑๙๘๓ และครั้งที่ ๒ ใช้เครื่องบินขับไล่ F-16A/B แบบ ADF จ�ำนวน ๗ เครื่อง การฝึก Red Flag 03-1 ในครั้งนี้ ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมการฝึกด้วย โดยมี ผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศท่านปัจจุบนั เป็นผูบ้ ญ ั ชาการ กองก�ำลังการฝึก Red Flag 03-1 เมื่อปี ค.ศ.๒๐๐๓ เครื่องบินขับไล่ที่จะเข้าร่วมการฝึกจะต้องมีอาวุธ และระบบป้องกันตนเองอย่างต�่ำ ต้องมีวิทยุที่มีระบบ ป้องกันการถูกรบกวนติดตั้ง ECM pod ที่สามารถ รบกวนภัยคุกคามจากภาคพืน้ เช่น SA-6 และทีส่ ำ� คัญ ต้องมีขีดความสามารถในการใช้อาวุธระยะไกลกว่า สายตาเพราะต้ อ งเผชิ ญ กั บ เครื่ อ งบิ น ข้ า ศึ ก สมมติ ที่ มี ขี ด ความสามารถในการใช้ อ าวุ ธ ระยะไกลกว่ า สายตามองเห็น ในปั จ จุ บั น ด้ ว ยเทคโนโลยี เ ครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ ที่เข้าร่วมการฝึก Red Flag เป็นเทคโนโลยียุคที่ ๕ คือ เป็นเครื่องบินขับไล่ยุคที่ ๕ มีขีดคุณสมบัติล่องหน มาตรวจสอบกันว่าผลของเทคโนโลยีขั้นสูงจะช่วย เพิ่มขีดความสามารถต่อการปฏิบัติภารกิจได้ผลอย่างไร
F-16A/B แบบ ADF จ�ำนวน ๗ เครือ่ ง พร้อมผูบ้ งั คับบัญชา และนักบินเข้าร่วมการฝึก Red Flag 03-1, January 2003, Nellis Air Force Base, Nevada, USA
ข่าวทหารอากาศ
F-35A Lightning II
F-16 A/B กองทัพอากาศอิตาลีได้สง่ นักบินระดับครูการบิน เข้าร่วมการฝึก Red Flag เป็นการเข้าร่วมการฝึก ครั้งแรก จ�ำนวน ๓ คน เขาได้พูดถึงประสบการณ์ ในการเข้ า ฝึ ก Red Flag19-2 ท� ำ การฝึ ก จนถึ ง วันสุดท้าย ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๒ เป็นการฝึก ครัง้ ล่าสุด การฝึกครัง้ นี้ นอกจากกองทัพอากาศสหรัฐ ฯ ยังมีกองทัพอากาศซาอุดอิ าราเบีย ซึง่ ส่งเครือ่ งบินขับไล่
29
F-15SA เครือ่ งใหม่ กองทัพอากาศสิงคโปร์สง่ F-15SG และกองทัพอากาศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ส่ง F-16E Block 60 เข้าร่วมการฝึก กองทัพอากาศสหรัฐฯ ส่งฝูงบินขับไล่ที่ ๖๒ ซึ่งเป็นฝูงฝึกนักบิน F-35s เข้าร่วมการฝึกโดยมีนักบิน ฝึกเปลี่ยนแบบจากกองทัพอากาศนอร์เวย์และอิตาลี ที่มาท�ำการฝึกกับเครื่องบินพร้อมรบกับเครื่องบิน F-35s นั่ น ก็ คื อ ครู ก ารบิ น จากกองทั พ อากาศอิ ต าลี จ�ำนวน ๓ คน ทีม่ าฝึกบินกับฝูงบินขับไล่ที่ ๖๒ เข้าร่วม การฝึ ก Red Flag ในครั้ ง นี้ ซึ่ ง เป็ น ครั้ ง แรกกั บ เครื่องบิน F-35 Lightning II เครื่องบินขันไล่ยุคที่ ๕ เครื่องบินขับไล่ F-35A Lightning II จากฝูงบิน ขับไล่ที่ ๖๒ ได้ปฏิบัติภารกิจที่หลากหลาย เครื่องบิน ล่ อ งหนมี ภ ารกิ จ เป็ น เครื่ อ งบิ น คุ ้ ม กั น และมี ห น้ า ที่ ป้องกันเครือ่ งบินฝ่ายเดียวกันจากภัยคุกคามภาคพืน้ ดิน จรวดน�ำวิถีพื้นสู่อากาศ (SAM) ขณะที่ปฏิบัติภารกิจ กดดันอาวุธต่อต้านภาคพื้น (SEAD Mission) ในขณะ เดี ย วกั น นั้ น เครื่ อ งบิ น F-15C มี ห น้ า ที่ ป ้ อ งกั น เครื่องบินสกัดกั้นของข้าศึกสมมติเพื่อครองอากาศ ส�ำหรับหมูบ่ นิ ประกอบก�ำลังขนาดใหญ่ของฝ่ายเดียวกัน
F-35A Lightning IIs from the 62nd Fighter Squadron during Red Flag exercise 19-2 at Nellis Air Force Base, March 14, 2019. Italian and Norwegian F-35 instructor pilots participated in the exercise for the first time.
30
F-35A นอกจากนั้นเครื่องบิน F-35A ท�ำหน้าที่เป็นผู้จัดการ ในสนามรบ ได้ส่งข้อมูลทางยุทธวิธีให้กับเครื่องบิน ฝ่ายเดียวกับล�ำอืน่ ๆ โดยปกติ F-35A การปฏิบตั กิ ารบิน จะใช้ ๔ เครื่องต่อ ๑ หมู่บิน ท�ำหน้าที่ในการกวาดล้าง ภัยคุกคาม ในการฝึก Red Flag19-2 โดยเฉลีย่ สามารถ ท�ำลายจรวดพื้นสู่อากาศ (SAM) จ�ำนวน ๗ ระบบ และเครือ่ งบินขับไล่ขา้ ศึกสมมติ ๕ เครือ่ ง ต่อเทีย่ วบิน ด้านความพร้อมรบของเครือ่ งบิน F-35s จ�ำนวน ๕ เครื่อง ท�ำการบิน ๒-๔ เครื่องต่อ ๑ เที่ยวบิน สามารถท�ำการปฏิบัติภารกิจได้ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ คือสามารถท�ำการบินได้ทกุ เทีย่ วบินทีว่ างแผนไว้ทกุ วัน
จากการเปิ ด เผยของนั ก บิ น “การได้ ท� ำ การบิ น กั บ เครื่ อ งบิ น F-35s เครือ่ งบินยุคที่ ๕ เป็นความฝัน เขาจินตนาการว่าเป็นเครื่องจักรกล ที่มีขีดความสามารถในการรบและ ก็ เ ป็ น สิ่ ง ยื น ยั น จากเที่ ย วบิ น แรก แต่ เ ป็ น การเข้ า ร่ ว มการฝึ ก Red Flag ซึ่งเป็นการฝึกที่ดีที่สุดในโลก เป็นการยืนยันว่าเครื่องบิน F-35s มี ขี ด ความสามารถมากกว่ า ที่ ไ ด้ คาดหวั ง ไว้ ผลของความส� ำ เร็ จ ตลอด ๒ สัปดาห์ เป็นสิ่งที่เหลือเชื่อ จากสถิติที่ท�ำได้โดยไม่มีข้อเสนอ แนะใด ๆ” เครื่องบิน F-35s สามารถที่จะท�ำลายระบบ จรวดน�ำวิถีพื้นสู่อากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ยังส่งข้อมูลทีส่ ำ� คัญเพือ่ ความส�ำเร็จของภารกิจ ซึง่ เป็น ความได้เปรียบในการปฏิบัติการเนื่องจากเทคโนโลยี ยุคที่ ๕ ส�ำหรับอัตราการท�ำลายระบบจรวดน�ำวิถี พื้นสู่อากาศ (SAM) มีอัตราการท�ำลาย (Kill ratio) ใน ๑๖ ภารกิจการเป็นฝ่ายรุก (OCA Mission) สามารถท�ำลายระบบ SAM ได้มากกว่า ๑๐๐ ระบบ โดยไม่มีการสูญเสีย เครือ่ งบิน F-35s ได้แสดงให้เห็นขีดความสามารถ ในการเผชิ ญ กั บ สถาพแวดล้ อ มที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ น
F-35A
ข่าวทหารอากาศ
และเสมื อ นจริ ง ของเครื่ อ งบิ น ของข้ า ศึ ก สมมติ (Red Air) ท� ำ หน้ า ที่ บิ น เข้ า ไปในดิ น แดนข้ า ศึ ก เป็นล�ำดับแรกและจะกลับออกจากแดนข้าศึกล�ำดับ หลังสุดด้วยคุณลักษณะของเครื่องบินรบในยุคที่ ๕ ท� ำ ให้ ส ามารถที่ จ ะตรวจจั บ สั ญ ญาณ พิ สู จ น์ ที่ ตั้ ง ของจรวดน�ำวิถพี นื้ สูอ่ ากาศ (SAM) และเครือ่ งบินขับไล่ ข้าศึกสมมติ รวมทั้งสามารถท�ำลายได้อย่างรวดเร็ว ท�ำให้สามารถครองอากาศได้เร็วจึงสร้างความปลอดภัย ให้ กั บ เครื่ อ งบิ น ฝ่ า ยเดี ย วกั น ในการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในอดีตการรบทางอากาศจ�ำเป็นต้องมีจ�ำนวน เครื่องบินที่มากกว่าฝ่ายตรงข้าม และต้องมีนักบิน ที่ประสบการณ์สูง แต่ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยียุคที่ ๕ มีคุณสมบัติล่องหนยากต่อการตรวจจับด้วยเรดาร์ ความส�ำเร็จของภารกิจไม่จำ� เป็นทีจ่ ะต้องใช้เครือ่ งบิน จ�ำนวนมากและนักบินทีม่ ปี ระสบการณ์สงู นอกจากนัน้ ยังมีเวลาและการตระหนักรูไ้ ด้อย่างเท่าทันสถานการณ์ ท�ำให้สามารถทีจ่ ะจัดการควบคุมและส่งข้อมูลทีส่ ำ� คัญ ให้กับเครื่องบินฝ่ายเดียวกันเพื่อให้ภารกิจส�ำเร็จและ ปลอดภัยในสภาพแวดล้อมที่มีอาวุธต่อต้านภาคพื้น และเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ ข องฝ่ า ยตรงข้ า มที่ เข้ ม แข็ ง
31
US Air Force Capt. Kyle Benham, 62nd Fighter Squadron F-35A Lightning II pilot, taxis for take off during Red Flag 19-2 at Nellis Air Force Base, March 20, 2019. US Air Force
ในภูมิภาคอาเซียนกองทัพอากาศสิงคโปร์ได้จัดหา F-35A เข้ า ประจ� ำ การในเร็ ว ๆ นี้ เพื่ อ ทดแทน เครื่องบิน F-16s ที่จะปลดประจ�ำการ ซึ่งจะเพิ่ม ศั ก ยภาพให้ ก องทั พ อากาศสิ ง คโปร์ เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง หวังว่านักบินกองทัพอากาศในเวลาอันใกล้อาจจะมี โอกาสได้ท�ำการบินกับเครื่องบินขับไล่ยุคที่ ๕
“May the Air Force Be With You”
F-35A Lightning II
32
๗๐ ปี เพื่อมันสมองน�้ำดี น.ต.ธนวัฒน์ กิจเจริญศักดิ์กุล
“There is no such thing as bad student, only bad teacher.”
The Karate Kid (1984)
“ไม่มนี กั เรียนทีแ่ ย่ มีแต่ครูทไี่ ม่ได้เรือ่ ง” ค�ำกล่าวนี้ หลายคนอาจคุน้ หูกนั มาบ้างแล้ว และอาจตีความง่าย ๆ ได้วา่ นักเรียนจะดีไม่ดขี นึ้ อยูก่ บั ครูผสู้ อน หากนักเรียน จบออกมาแล้วท�ำงานไม่มีคุณภาพ ไม่มีคุณธรรมนั้น ก็ เ พราะความล้ ม เหลวของครู แ ละของสถาบั น ที่นักเรียนผู้นั้นส�ำเร็จมา ซึ่งอาจหมายความได้ว่า ทุกสถาบันการศึกษาและครูบาอาจารย์ทกุ ท่านมีภาระ หน้าที่และความรับผิดชอบต่อนักเรียนซึ่งเป็นผู้รับ การถ่ายทอดความรู้ และเช่นเดียวกัน โรงเรียนเสนาธิการ ทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ เป็นสถาบัน วิชาการทหารอากาศชัน้ สูงแห่งหนึง่ ของกองทัพอากาศ ที่ได้รับการสถาปนาขึ้นมา เพื่อปฏิบัติหน้าที่ภายใต้ ความรั บ ผิ ด ชอบอั น ทรงเกี ย รติ อั น เป็ น รากฐาน ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง ต่ อ อนาคตของกองทั พ อากาศและ ประเทศชาติ นัน่ ก็คอื การผลิตนายทหารฝ่ายเสนาธิการ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นมันสมองและเป็นผู้ช่วยเหลือที่ดี ของผูบ้ งั คับบัญชา แหล่งสร้างมันสมองของกองทัพอากาศ แห่งนีม้ ปี ระวัตกิ ารด�ำเนินงานมาแล้วกว่า ๗๐ ปี ตลอด ระยะเวลาที่ ผ ่ า นมามี ก ารปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลง และพัฒนาในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านบุคลากร อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และอุปกรณ์อันจ�ำเป็น ทีใ่ ช้ในการเรียนการสอน รวมถึงการพัฒนาการบริหาร จัดการด้านการศึกษาให้ตอบสนองต่อนโยบายของ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาระดั บ สู ง อยู ่ เ สมอเพื่ อ เตรี ย มพร้ อ ม ที่จะเผชิญกับความท้าทายใหม่ ๆ ในอนาคต
นายทหารฝึกหัดราชการชุดที่ ๑ จ�ำนวน ๑๖ นาย จบการศึกษาตามหลักสูตร ๑๕ นาย
โรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารอากาศได้ รั บ การ สถาปนาขึน้ เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ ๒ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๔๙๒ (ก่อนทีจ่ ะมีโรงเรียนนายเรืออากาศ ๔ ปี และหลังจากที่ จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ พระบิดา “เสนาธิการกิจ” ของกองทัพไทยได้ทรงจัดตัง้ โรงเรียน เสนาธิการทหารบกขึ้นแล้ว ๔๐ ปี) มีผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนคนแรกคือ พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ ขึน้ ตรงต่อกรมเสนาธิการทหารอากาศ ในปีการศึกษาแรก มีการคัดเลือกผูเ้ ข้ารับการศึกษาจ�ำนวน ๑๖ นาย และ เรียกเป็น “นายทหารฝึกหัดราชการ” ชุดที่ ๑ มีระยะ เวลาการศึกษา ๑ ปี ทั้งนี้ ยังไม่มีนายทหารต่างเหล่า หรื อ นายทหารจากมิ ต รประเทศมาเข้ า ร่ ว มศึ ก ษา เป็นที่น่าเสียดายว่าหลังจากจบการศึกษาในปีแรก ทางโรงเรียนต้องหยุดหลักสูตรไว้กอ่ นถึง ๔ ปี เนือ่ งด้วย ปั ญ หาการขาดแคลนบุ ค ลากรในการท� ำ งานของ กองทัพอากาศ และกลับมาเปิดหลักสูตรอีกครัง้ เมือ่ วันที่ ๒ ก.ค.๒๔๙๗ ในปีนี้โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ ได้รับการปรับเปลี่ยนให้ขึ้นตรงกับกรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ มี “นายทหารฝึกหัดราชการ” ชุดที่ ๒
ข่าวทหารอากาศ
เข้ารับการศึกษา จ�ำนวน ๒๔ นาย นับเป็นปีการศึกษาแรก ที่มีนายทหารต่างเหล่าทัพ คือนายทหารบกเข้าร่วม ศึกษาด้วย จ�ำนวน ๒ นาย หลังจากนั้นด้วยความ ไม่เอื้ออ�ำนวยทางการเมืองและเศรษฐกิจส่งผลให้ หลักสูตรต้องถูกหยุดชะงักลงเป็นช่วง ๆ อย่างไรก็ตาม โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศได้มีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาหลักสูตรไปในทางที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น ในหลักสูตรการศึกษา “นายทหารฝึกหัดราชการ” ชุดที่ ๓ นับเป็นปีแรกทีม่ นี ายทหารจากทัง้ สามเหล่าทัพ เข้าร่วมศึกษา ในหลักสูตรการศึกษา “นายทหารฝึกหัด ราชการ” ชุดที่ ๔ จนถึง ชุดที่ ๓๘ ได้เปลี่ยนมาใช้ การสอบคัดเลือกเพื่อให้ได้ผู้ที่มีพื้นความรู้เหมาะสม เข้ารับการศึกษาในหลักสูตร ซึ่งการสอบคัดเลือกนี้ ได้ถูกยกเลิกไปในปีการศึกษา ๒๕๓๘ (รุ่นที่ ๓๙) และ นับตั้งแต่ชุดที่ ๔ เป็นต้นมา โรงเรียนเสนาธิการทหาร อากาศได้เปิดการศึกษาปีละ ๑ รุ่น โดยไม่ขาดตอน ในปีการศึกษา ๒๕๒๑ (รุ่นที่ ๒๒) มีการจัดกิจกรรม การร่วมมือทางวิชาการระหว่างโรงเรียนเสนาธิการ เหล่าทัพขึ้นเป็นครั้งแรก และในปีการศึกษา ๒๕๒๔ (รุน่ ที่ ๒๕) นับเป็นปีแรกทีม่ นี ายทหารจากมิตรประเทศ (มาเลเซีย) มาร่วมศึกษา เป็นต้น โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศได้ปฏิบตั ภิ ารกิจ มาจนถึงปีนี้เป็นปีที่ ๗๐ ตรงกับหลักสูตรเสนาธิการ ทหารอากาศ รุ ่ น ที่ ๖๓ ปี ก ารศึ ก ษา ๒๕๖๒ โดยมี พลอากาศตรี วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์ เป็นผู้บัญชาการ มีนายทหารและนายต�ำรวจเข้ารับการศึกษาในปีนี้
33
รวมทั้งสิ้น ๙๑ นาย เป็นนายทหารจากมิตรประเทศ จากการขยายขนาดขึ้นอย่างต่อเนื่องของหลักสูตร และจ�ำนวนก�ำลังพลของโรงเรียนที่มีจ�ำกัด ท�ำให้การ ปฏิบตั งิ านของบุคลากรทุกคนมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ ในปั จ จุ บั น ทางโรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารอากาศ ได้ก�ำหนดค่านิยมหลักของสถาบันเพื่อเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงานของก�ำลังพลทุกคนด้วยค�ำย่อว่า “ACSC” ซึง่ เป็นอักษรย่อภาษาอังกฤษจากค�ำเต็มชือ่ ของสถาบันคือ “Air Command Staff College” โดยตัวอักษรภาษาอังกฤษแต่ละตัวนัน้ แทนความหมาย ของค่านิยมที่ก�ำหนดขึ้นได้ว่า : A : AIR ซึ่งเป็นค่านิยมหลักของกองทัพอากาศ ที่ก�ำลังพลทหารอากาศยึดถือปฏิบัติ มีความหมายว่า A : Airmanship หมายถึง ความเป็นทหาร อากาศ I : Integrity and Allegiance หมายถึง ความซื่อสัตย์และความจงรักภักดี R : Responsibility หมายถึง ความรับผิดชอบ C : Concentration หมายถึง ความมุ่งมั่น ทุ่มเทในการปฏิบัติหน้าที่ S : Smart หมายถึ ง ความสง่ า งามและมี ภูมิปัญญาภายใต้กระบวนการคิดเชิงระบบ C : Collaboration หมายถึ ง การร่ ว มมื อ อย่ า งสอดประสานงานโดยมุ ่ ง สู ่ เ ป้ า ประสงค์ ร ่ ว ม ของหน่วยงาน เพื่อสร้างคุณค่าแก่กองทัพอากาศ
งานเลี้ยงต้อนรับนายทหารจากมิตรประเทศ
34
สังเกตการณ์การฝึกทางทหาร - กองทัพเรือ
ภารกิ จ หลั ก ขององค์ ก รแห่ ง นี้ คื อ หลั ก สู ต ร เสนาธิการทหารอากาศ ซึ่งในปีนี้มีการแบ่งการเรียน การสอนออกเป็น ๖ หมวดวิชา ได้แก่ หมวดวิชาที่ ๑ ผู้น�ำและการบริหาร หมวดวิชาที่ ๒ ความมั่นคง แห่งชาติและยุทธศาสตร์ หมวดวิชาที่ ๓ การทหาร หมวดวิชาที่ ๔ เสนาธิการกิจ หมวดวิชาที่ ๕ เอกสารวิจยั และหมวดวิชาที่ ๖ กิจกรรมและวิชาเสริมหลักสูตร นอกจากนี้ ยังมีการประเมินความพร้อมเป็นผู้บังคับ บัญชาและฝ่ายเสนาธิการซึ่งคิดเป็นเวลาการศึกษา ทั้งหมด ๑,๖๐๓ ชม.(ทดสอบ ๓๙ ชม.) หรือประมาณ ๔๕ สัปดาห์ โดยระหว่างการศึกษาจะแบ่งเป็นช่วงเวลา ของการฟังบรรยายจากผูเ้ ชีย่ วชาญในแต่ละแขนงวิชา ช่วงของการสัมมนา เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและ ช่วงการฝึกปฏิบตั ิ เพือ่ ฝึกฝนและทบทวนให้เกิดความรู้ ความช�ำนาญในสิ่งที่ได้เรียนรู้มาโดยในช่วงเวลากว่า ๑,๖๐๐ ชัว่ โมงของหลักสูตรเสนาธิการทหารอากาศนี้ คิดเป็นชั่วโมงการปฏิบัติกว่า ๑,๑๐๐ ชั่วโมง ทีม่ งุ่ เน้น ไปที่ ก ารฝึ ก งานในการท� ำ หน้ า ที่ ฝ ่ า ยอ� ำ นวยการ เป็นหลัก เช่น การฝึกการวิเคราะห์ การเขียนโครงการ การเขียนแผนยุทธการเบือ้ งต้น การเขียนแผนประณีต การเขียนแผนเผชิญสถานการณ์วิกฤติ การฝึกจ�ำลอง ยุทธทางอากาศ เป็นต้น และเพื่อเพิ่มประสบการณ์
และเป็นการได้ทดลองปฏิบตั งิ านจริงจากสิง่ ทีน่ ายทหาร นักเรียนได้เรียนรู้มา ในช่วงท้ายของปีการศึกษาจะมี การฝึกร่วมระหว่างโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ กับสถาบันวิชาการทหารชั้นสูงอื่น ๆ ได้แก่ โรงเรียน เสนาธิ ก ารเหล่ า ทั พ อื่ น วิ ท ยาลั ย เสนาธิ ก ารทหาร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร และสถาบันจิตวิทยา ความมั่นคง ในระหว่างหลักสูตรจะมีการสังเกตการณ์ การฝึกทางทหาร การศึกษาดูงานหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ทั้งในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ และ การศึกษาดูงาน ณ ต่างประเทศ โดยในปีการศึกษา ๒๕๖๒ นี้ ได้จดั ให้มกี ารศึกษาดูงานทีป่ ระเทศเกาหลีใต้ และประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ ในช่วงสุดท้ายก่อนจบ หลักสูตรจะมีการสอบสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการ โรงเรียน เพื่อประเมินความรู้ของนายทหารนักเรียน ก่อนส�ำเร็จการศึกษาอีกครัง้ หนึง่
เข็มนภาธิปัตย์
ข่าวทหารอากาศ
เมื่อจบการศึกษา ผู้ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตร โรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารอากาศทุ ก คน จะได้ รั บ พระราชทาน “เข็มนภาธิปัตย์” อันเป็นเครื่องหมาย แสดงวิทยฐานะ มีลักษณะเป็นดาวโลหะสีทองรัศมี ๕ แฉก สื่อความหมายถึงภารกิจส�ำคัญของนายทหาร ฝ่ายเสนาธิการ ๕ ประการ อันได้แก่ การวางแผน การจัดการ การสั่งการ การประสานงาน และการ ควบคุ ม ซึ่ ง ผู ้ ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาทุ ก คนพึ ง ปฏิ บั ติ และประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั งิ านให้ได้อย่างหลากหลาย บนดาวโลหะสีทองมีครุฑพ่าห์ยืนอยู่บนช่อชัยพฤกษ์ หมายถึง นายทหารฝ่ายเสนาธิการทุกคนพร้อมที่จะ ปฏิบตั หิ น้าทีร่ บั ใช้องค์พระมหากษัตริยด์ ว้ ยความจงรัก ภักดีซื่อสัตย์และสุจริต นอกจากนี้ ผู้ที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ ฝ่ายเสนาธิการภายหลังจากส�ำเร็จการศึกษาแล้วจะมี สิทธิ์ประดับสายยงยศต�ำแหน่งฝ่ายเสนาธิการซึ่งเป็น เครือ่ งหมายอันเป็นทีย่ อมรับในระดับสากลอีกด้วย
หนึ่งพวกเขาเหล่านี้คือผู้น�ำหรือผู้ที่จะเป็นผู้น�ำต่อไป ในอนาคต ด้วยเหตุนี้โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ จะยังคงมุง่ มัน่ พัฒนาศักยภาพของตน เพือ่ ให้สามารถ ผลิตและสร้างเสริมให้ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาจากสถาบัน แห่งนี้มีความเป็นผู้น�ำภายใต้การเปลี่ยนแปลงและ ความท้าทายในสถานการณ์โลกอันเป็นพลวัต มีความรู้ ความสามารถพร้อมที่จะรับบทบาทของการเป็นผู้น�ำ ในภูมภิ าค สามารถแสดงออกถึงบทบาทการท�ำหน้าที่ ผู้บังคับบัญชาและท�ำหน้าที่ฝ่ายเสนาธิการในกองทัพ อากาศให้เป็นที่ยอมรับทั้งจากภายในและภายนอก กองทัพอากาศ รวมถึงบทบาทในการช่วยขับเคลื่อน และผลักดันกองทัพอากาศสูค่ วามเป็นเลิศ เป็นไปตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียนที่ว่า “เป็นสถาบันการศึกษา ทางทหารหลักของกองทัพอากาศ ที่สร้างผู้บังคับ บัญชา และฝ่ายเสนาธิการชัน้ น�ำในภูมภิ าค (To be a premier institution of Professional Military Education in the Royal Thai Air Force that cultivates leading Commanders and Staffs in ASEAN)”
สายยงยศต�ำแหน่งฝ่ายเสนาธิการ
เห็นได้ว่า ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โรงเรียน เสนาธิการทหารอากาศได้ผลิตนายทหารเสนาธิการ น�้ ำ ดี ที่ มี ค วามรู ้ แ ละคุ ณ ธรรมให้ แ ก่ ก องทั พ และ ประเทศชาติออกมาเป็นจ�ำนวนมาก ในด้านหนึง่ พวกเขา เหล่านีค้ อื ผูช้ ว่ ยเหลือทีด่ ขี องผูบ้ งั คับบัญชา ในอีกด้าน
35
การฝึกร่วม รร.สธ.เหล่าทัพ วสท. วปอ. และ สจว.
อ้างอิง - หนังสือ ๖๐ ปี โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ - หลักสูตรเสนาธิการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๖๑ - แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ (รร.สธ.ทอ.ยศ.ทอ.) ปี พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๔
36
ไทยกับบทบาทประธาน อาเซียนในการส่งเสริม เสาการเมืองและ ความมั่นคง ดร.วิศรา ไกรวัฒนพงศ์
ตลอดช่ ว งระยะเวลากว่ า ๕๐ ปี สมาคม ประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ หรื อ “อาเซียน” ได้มีพัฒนาการความร่วมมือในด้านต่าง ๆ มาเป็ น ล� ำ ดั บ ประเทศไทยมี บ ทบาทที่ ส� ำ คั ญ ต่อความร่วมมือด้านการเมืองและความมัน่ คงมาตัง้ แต่ การก่อตัง้ องค์กรในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ภายใต้ความขัดแย้ง และความตึงเครียดด้านชายแดนระหว่างประเทศ ในภู มิ ภ าคและการแข่ ง ขั น ของมหาอ� ำ นาจในช่ ว ง สงครามเย็น พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย ณ เวลานั้ น ได้ เ ดิ น ทางไปยั ง ประเทศเพื่ อ นบ้ า น เหล่ า นั้ น ในฐานะผู ้ เจรจาไกล่ เ กลี่ ย ความขั ด แย้ ง ทั้งยังได้เชิญให้รัฐมนตรีต่างประเทศของมาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ หารือร่วมกัน และน�ำไปสู่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพ ซึ่งแม้ ในปฏิญญาจะไม่ได้ระบุถึงความร่วมมือด้านการเมือง และความมั่ น คงอย่ า งชั ด เจน แต่ ก ารเกิ ด ขึ้ น ของอาเซียนมีความส�ำคัญในการสร้างความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ ระหว่ า งประเทศ ซึ่ ง น� ำ ไปสู ่ ก ารสร้ า งเสถี ย รภาพ
สั น ติ ภ าพ และการสร้ า งสภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่อการพัฒนาความร่วมมือทางด้านอื่น ๆ ในภูมิภาค ประชาคมการเมืองและความมั่นคงเป็น ๑ ใน ๓ เสาส�ำคัญ อันเป็นรากฐานของการสร้าง ประชาคมอาเซียน โดยมีการวางแผนงานเพื่อมุ่งสู่ เป้ า หมายส� ำ คั ญ คื อ ๑) เพื่ อ ให้ ป ระเทศต่ า ง ๆ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขภายใต้หลักการ การแก้ไข ปัญหาโดยสันติวิธี ๒) เพื่อให้อาเซียนสามารถเผชิญ กับภัยคุกคามความมั่นคงรูปแบบใหม่ และ ๓) เพื่อ สร้ า งประชาคมที่ มี ค ่ า นิ ย มร่ ว มกั น ในการมุ ่ ง สู ่ เป้ า หมายเหล่ า นี้ อาเซี ย นได้ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง พั ฒ นาการความร่ ว มมื อ ของอาเซี ย นที่ แ ต่ เ ดิ ม เน้นความสัมพันธ์ทางการทูตไปสูก่ ารขยายขอบเขต ความร่ ว มมื อ ในประเด็ น เพื่ อ จั ด การกั บ ปั ญ หา อาชญากรข้ า มพรมแดน และยั ง ครอบคลุ ม ถึงประเด็นความมัน่ คงของมนุษย์โดยเฉพาะประเด็น เรื่องสิทธิมนุษยชนสากลด้วย
ข่าวทหารอากาศ
จากขอบข่ า ยความร่ ว มมื อ เพื่ อ บรรลุ วัตถุประสงค์ในการมุ่งสู่ประชาคมการเมืองและ ความมั่ น คงของอาเซี ย นดั ง ที่ ไ ด้ ก ล่ า วไว้ ข ้ า งต้ น ประเด็ น ที่ เ ป็ น ความท้ า ทายส� ำ คั ญ ของอาเซี ย น ในปีที่ไทยเป็นประธานอาเซียนจึงได้แก่ การสร้าง เอกภาพระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนในการ ยกร่างข้อตกลงในทะเลจีนใต้ การส่งเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพถาวรในคาบสมุทรเกาหลี การต่อต้าน ภั ย จากกลุ ่ ม ก่ อ การร้ า ยการปราบปรามกลุ ่ ม อาชญากรข้ามชาติในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การค้ายา เสพติด การค้ามนุษย์ และอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และสถานการณ์ปัญหาสิทธิมนุษยชนในเมียนมา การประชุ ม รั ฐ มนตรี ต ่ า งประเทศอาเซี ย น อย่างไม่เป็นทางการ (ASEAN Foreign Ministers’ Retreat) ที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๑๗ – ๑๘ มกราคมที่ ผ ่ า นมา ได้ ห ารื อ ประเด็ น เหล่ า นี้
37
โดยนอกจากที่ ป ระชุ ม จะเน้ น ย�้ ำ เรื่ อ งการสร้ า ง เสถียรภาพและความสงบในภูมภิ าคผ่านกระบวนการ ทางการทูตและการไม่ใช้ก�ำลังในการจัดการความ ขัดแย้ง ที่ประชุมยังตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการ เสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐและ การประสานงานเพื่อยกระดับความมั่นคงปลอดภัย จากอาชญากรข้ า มพรมแดนในภู มิ ภ าคและความ ปลอดภั ย ทางไซเบอร์ นอกจากนี้ ที่ ป ระชุ ม ยั ง ได้ เห็นพ้องถึงความส�ำคัญของการมีท่าทีที่เป็นเอกภาพ และการด�ำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมเพือ่ แก้ไขปัญหา ในรัฐยะไข่ โดยเฉพาะในด้านมนุษยธรรม การประชุม รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้ ง นี้ เ ป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ ดี ข องไทยในฐานะประธาน อาเซียนในการมีบทบาทน�ำเพื่อสร้างความชัดเจน ตลอดจนเสริมสร้าง พัฒนา และตอบสนองความท้าทาย ด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค
38
การเป็นประธานอาเซียนของไทยในปีนี้ แม้จะมี ประเด็ น ที่ ท ้ า ทายต่ อ ความมั่ น คงในภู มิ ภ าคและ ความมัน่ คงของมนุษย์ แต่ไทยก็อยูใ่ นฐานะทีเ่ หมาะสม ในการจัดการต่อประเด็นเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นประเด็น ความมั่นคงในทะเลจีนใต้ ซึ่งไทยเองไม่ได้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ท�ำให้ไทยมีคุณสมบัติในการเป็นคนกลาง เพื่อสร้างความเป็นเอกภาพให้แก่ประเทศสมาชิก อืน่ ๆ ได้ หรือในการจัดการและการให้ความช่วยเหลือ ในประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนในเมียนมา ซึ่งไทย ในฐานะเพื่อนบ้านก็ได้ให้ความช่วยเหลือแบบทวิภาคี ในรัฐยะไข่มากกว่าประเทศอื่น ๆ อย่ า งไรก็ ต าม เสาการเมื อ งและความมั่ น คง ไม่ได้ตงั้ อยูอ่ ย่างโดดเดีย่ วหรือเป็นประเด็นความร่วมมือ ที่แยกออกจากเสาเศรษฐกิจ และเสาสังคมวัฒนธรรม การจัดการกับปัญหาความมั่นคงที่กล่าวไปข้างต้น โดยเฉพาะประเด็นความมั่นคงรูปแบบใหม่ที่เกิดจาก กลุ่มอาชญากรข้ามพรมแดนให้มีประสิทธิภาพและ ความส�ำเร็จมิได้ขึ้นอยู่กับ ความร่วมมือของภาครัฐ เท่านั้น หากแต่ประเด็นปัญหาดังกล่าวได้เข้าไปสร้าง ความไม่ปลอดภัยให้เกิดแก่ประชาชน ชุมชนและสังคม มากขึ้น
นั่นหมายความว่า ปัจจัยเพื่อให้เกิดความส�ำเร็จ ในการจัดการต่อประเด็นความท้าทายเหล่านี้ ยังขึ้น กับความสามารถของภาครัฐในการขอความช่วยเหลือ และการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับเครือข่าย ภาคประชาสังคมในพื้นที่ต่าง ๆ ในภูมิภาคด้วย การสร้ า งความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาครั ฐ กับภาคประชาชน ชุมชน ตลอดจนภาคส่วนอื่น ๆ ของสังคมจึงมีความส�ำคัญต่อการบรรลุเป้าประสงค์ ในการจัดการประเด็นเรื่องความมั่นคง และนั่นอาจ เป็ น หน้ า ที่ ข องประธานอาเซี ย นที่ จ ะต้ อ งผลั ก ดั น และเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ให้ เ กิ ด ขึ้ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาครั ฐ กั บ ภาค ประชาสั ง คม ตลอดจนความเข้ า ใจอั น ดี ร ะหว่ า ง ประชาชนที่ มี ค วามหลากหลายทางสั ง คมและ วัฒนธรรมเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่ส�ำคัญที่จะธ�ำรงไว้ ซึ่งความมั่นคง สันติภาพ และเสถียรภาพในภูมิภาค อั น เป็ น รากฐานส� ำ คั ญ ต่ อ การสร้ า งความมั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ และการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ของประชาชนอาเซียนในล�ำดับต่อไป
ข่าวทหารอากาศ
อินทรีแดงแผลงฤทธิ์
39
น.ต.ภฤศพงศ์ ช้อนแก้ว
TCCC ยุทธวิธี รักษาพยาบาล ในพื้นที่สนามรบ Tactical Combat Casualty Care : TCCC เป็นการปฐมพยาบาลฉุกเฉินหรือเวชกิจฉุกเฉินให้กับ ทหารทีบ่ าดเจ็บในพืน้ ทีก่ ารรบแนวทางการปฏิบตั กิ ารนี้ ถูกพัฒนามาจากระบบการแพทย์ฉกุ เฉิน Emergency Medical Service หรือทีเ่ รียกว่า “EMS” ของพลเรือน ทั่วไปของสหรัฐอเมริกาโดย “TCCC” ถือว่าเป็นต้น แบบยุทธวิธีการรักษาพยาบาลทหารในพืน้ ทีส่ งคราม ให้กบั แนวทางการปฏิบตั ขิ องทหารไทยได้เป็นอย่างดี โดยในปี พ.ศ.๒๕๐๓ ประเทศสหรัฐฯ ใช้อาสาสมัคร ต�ำรวจ และเจ้าหน้าทีด่ บั เพลิง ท�ำหน้าทีป่ ฐมพยาบาล ให้กับพลเรือนที่ประสบอุบัติเหตุ แต่เป็นเพียงการ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเท่านั้นเพื่อน�ำส่งโรงพยาบาล หากแต่ระหว่างเดินทางไปโรงพยาบาลกลับไม่มีการ ดู แ ลรั ก ษาใด ๆ จนกว่ า ผู ้ บ าดเจ็ บ จะเดิ น ทางถึ ง ห้องฉุกเฉิน ซึ่งในการปฏิบัติลักษณะดังกล่าวถือว่า มีโอกาสสูงที่ผู้บาดเจ็บเสียชีวิตเพราะทนพิษบาดแผล ไม่ไหวระหว่างทางได้ ท�ำให้ในปี พ.ศ.๒๕๐๗ รัฐบาล สหรัฐฯ ได้จัดตั้ง United States Department of Transportation ขึ้ น เพื่ อ จั ด การปั ญ หาอุ บั ติ เ หตุ
บนท้ อ งถนน โดยมี ห น้ า ที่ จั ด การให้ ก ารขนส่ ง เกิดความรวดเร็วและปลอดภัยทั่วทั้งสหรัฐฯ และ หลั ง จากปี พ.ศ.๒๕๑๓ บทเรี ย นจากการแพทย์ ในสงครามเวียดนามได้ส่งผลต่อการพัฒนาระบบ การแพทย์ฉกุ เฉินอย่างมาก ท�ำให้มีการฝึกเจ้าหน้าที่ การแพทย์ ฉุ ก เฉิ น ขั้ น สู ง Emergency Medical Technician Paramedic : EMT-P ขึน้ ซึง่ ต้องท�ำความ เข้าใจก่ อ นว่ า งานการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น ขั้ น สู ง เป็ น งาน เฉพาะทาง ไม่ใช่แพทย์จะปฏิบัติได้ทุกคน ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๕๑๔ United States Department of Transportation จัดพิมพ์หลักสูตรเจ้าหน้าที่กู้ชีพ ระดับประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ กฎหมายเรื่องเกี่ยวข้องกับการแพทย์ฉุกเฉิน ครัง้ แรก “Emergency Medical Act” ผ่านความเห็นชอบ ของรั ฐ บาลสหรั ฐ ฯ รั ฐ บาลจึ ง ให้ ทุ น พั ฒ นาและ ปรั บ ปรุ ง ระบบการช่ ว ยชี วิ ต ก่ อ นถึ ง โรงพยาบาล (Prehospital Trauma Life Support) ท�ำให้ระบบ การแพทย์ ฉุ ก เฉิ น เติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว และมี ก าร ให้บริการอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ
40
โดยในส่ ว นของการแพทย์ ส นามของทหาร ในกองทั พ สหรั ฐ ฯ ที่ เ ป็ น ต้ น ต� ำ รั บ ของการแพทย์ ฉุกเฉินทางพลเรือน ได้หนั มาใช้มาตรฐานของพลเรือน เป็นแนวทางปฏิบัติ ซึ่งแต่ละเหล่าทัพได้มีนโยบาย ในการสร้ า งและพั ฒ นาแนวทางระบบการแพทย์ ฉุกเฉินให้สอดคล้องกับแนวทางภารกิจของหน่วย ตนเองได้ เ ป็ น ผลส� ำ เร็ จ อาทิ เช่ น กองทั พ อากาศ ได้ตั้งหน่วยเจ้าหน้าที่พลร่มกู้ภัย หรือ Pararescue Jumper : PJ เพือ่ ช่วยชีวติ นักบินเมือ่ อากาศยานตกใน พืน้ ทีก่ ารรบ ซึง่ จะต้องฝึกขีดความสามารถให้ได้ระดับ มาตรฐานเดียวกับ Paramedic : Emergency Medical Technician Intermediate : EMT-I (โดดร่มและ ปฐมพยาบาลเวชกิ จ ฉุ ก เฉิ น ได้ ) และฝึ ก ถึ ง ระดั บ EMT- B (Emergency Medical Technician Basic) โดยเพิ่มทักษะการให้สารน�้ำทางหลอดเลือดได้ ฯลฯ นอกจากนี้ ไ ด้ มี ก ารพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ปฐมพยาบาลสนามประจ�ำตัวขึน้ ทีเ่ รียกว่า “Individual First Aids Kit : IFAK” ซึง่ ภายในจะมีอปุ กรณ์ทสี่ ามารถ ใช้งานง่ายในการปฐมพยาบาล เช่น Combat Application Tourniquet : CAT หรือ ทูนเิ ก้ (สายรัดในการห้ามเลือด แบบแถวกว้าง ๑ นิ้ว) เทปกาวส�ำหรับปิดผ้าแต่งแผล
โดยเฉพาะแผลทรวงอกทะลุ ท่ อ ส� ำ หรั บ ช่ อ งจมู ก ผงห้ามเลือด ผ้าก๊อซพันแผลส�ำลี คีมหนีบ กรรไกร อุปกรณ์ชุดเข็มใช้เจาะระบายลมในช่องอก อุปกรณ์ พลาสติกใช้ดามกระดูกแบบพกพา เจลส�ำหรับลด อาการถูกไฟลวกและการเผาไหม้ (Water Gel) เป็นต้น ทั้ ง นี้ ในทางพลเรื อ นจึ ง เริ่ ม น� ำ อุ ป กรณ์ ก ารแพทย์ ฉุ ก เฉิ น ทางทหารมาใช้ ม ากขึ้ น โดยเฉพาะห้ ว งหลั ง สงครามอิรักในปี พ.ศ.๒๕๔๖ สืบเนือ่ งจากแนวทางการสนับสนุนทางสายแพทย์ ของกองทัพสหรัฐฯ ในการเข้าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ในสมรภูมริ บต่าง ๆ เป็นไปด้วยความล�ำบาก อาจเกิดจาก สภาพแวดล้อมของภูมิประเทศหรือการถูกระดมยิง จากข้าศึกอย่างหนักหรือยาและเวชภัณฑ์ขาดแคลน ท�ำให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเป็นไปด้วยความยาก และมีข้อจ�ำกัด ดังนั้น กองทัพสหรัฐฯ จึงได้พัฒนา หลั ก การดู แ ลผู ้ บ าดเจ็ บ จากการรบ เพื่ อ น� ำ มาใช้ ในสถานการณ์การรบได้อย่างเหมาะสม นัน่ คือ หลักการ ดูแลผู้บาดเจ็บจากการรบในสถานการณ์ทางยุทธวิธี Tactical Combat Casualty Care : TCCC และ
คู่มือหลักสูตรการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึง โรงพยาบาล หลักสูตร Prehospital Trauma Life Support ของกองทัพสหรัฐฯ
ข่าวทหารอากาศ
41
แบ่งขัน้ ตอนตามลักษณะของสถานการณ์ทแี่ ตกต่างกัน ออกไปเป็น ๓ ช่วง คือ การดูแลในระหว่างการรบปะทะ (Care Under Fire) การดูแลผูบ้ าดเจ็บในพืน้ ที่ (Tactical Field Care) และการเคลื่อนย้ายและน�ำส่งผู้บาดเจ็บ (Tactical Evacuation ซึง่ ได้แก่ TACEVAC, CASEVAC และ MEDEVAC)
การฝึกการปฐมพยาบาลในพื้นที่การรบ ของทหารสหรัฐฯ ในช่วงสงครามอิรัก
การฝึกการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บในภูมิประเทศ ของเจ้าหน้าที่ PJ กองทัพอากาศไทย
เริม่ ตัง้ แต่การดูแลระหว่างรบปะทะ (Care under fire) เป็นการดูแลในขั้นตอนแรกเริ่มที่มีผู้บาดเจ็บ จากการปะทะและยังมีการยิงต่อสู้กันอยู่ในสนามรบ ทหารยังต้องท�ำการยิงสู้รบด้วยอาวุธประจ�ำกายอยู่ เพื่ อ รวมอ� ำ นาจการยิ ง ให้ เ หนื อ กว่ า ฝ่ า ยตรงข้ า ม ซึ่งสิ่งแรกที่ผู้ปฏิบัติต้องท�ำคือ ด�ำเนินการหลบเข้า ที่ ก� ำ บั ง ที่ ป ลอดภั ย เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ต นเองได้ รั บ การบาดเจ็บหรือเพื่อไม่ให้ได้รับบาดเจ็บเพิ่ม ทั้งนี้ ทหารทุ ก คนต้ อ งได้ รั บ การฝึ ก ในเรื่ อ งของการ ปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้ น เพื่ อ ให้ ส ามารถดู แ ลตนเอง และผู้อื่นมาได้แล้วในระดับหนึ่ง เมื่อเริ่มเข้าสู่ล�ำดับ ขั้นตอนการปฐมพยาบาลให้ผู้ปฏิบัติเริ่มตรวจหาว่า มีบาดแผลอยู่ตรงไหนและเลือดออกมากน้อยเพียงใด ถ้ามีให้ใช้สายรัดห้ามเลือดทันทีในรายที่เสียเลือดมาก จนช็ อ กหรื อ หมดสติ ใ ห้ ป ลดอาวุ ธ และหลบอยู ่ ในที่ปลอดภัยก่อนเมื่อสถานการณ์ปะทะสงบลงแล้ว จึงค่อยพิจารณาให้น�้ำเกลือทางเส้นเลือดเท่าที่จ�ำเป็น เป็ น ล� ำ ดั บ ต่ อ ไป กรณี ที่ ผู ้ บ าดเจ็ บ หนั ก ไม่ มี ชี พ จร
ไม่หายใจให้ถือว่าเสียชีวิตแล้ว ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำการ ปฐมพยาบาลเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ที่ เรี ย กว่ า “Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR” ในสถานการณ์นี้ เนื่องจากอาจมีอันตรายต่อผู้ปฏิบัติได้ แต่ให้ท�ำการ เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บลักษณะนี้ออกจากพื้นที่โดยเร็ว หลังจากพืน้ ทีก่ ารรบปลอดภัยดีแล้ว ส�ำหรับผูท้ อี่ าการ บาดเจ็ บ ที่ ค อเนื่ อ งจากถู ก ยิ ง หรื อ สะเก็ ด ระเบิ ด การดามกระดูกคอไม่จ�ำเป็นต้องท�ำ เนื่องจากไม่มี ประโยชน์ต่อผู้บาดเจ็บและเสียเวลาแต่ควรรีบน�ำ ออกจากพื้นที่โดยเร็วเมื่อการยิงสู้รบสิ้นสุดลงยกเว้น กรณีถ้าบาดเจ็บจากการล้มหรือตกจากที่สูงลักษณะ การปฐมพยาบาลโดยการดามกระดู ก คอหรื อ ดามกระดูกสันหลังจะยังสามารถปฏิบัติได้ตามปกติ ต่อมาเป็นการดูแลผู้บาดเจ็บในพื้นที่ (Tactical Field Care) ในขั้นตอนนี้สถานการณ์การคุกคาม จากฝ่ายตรงข้ามลดลง แต่ยังไม่ปลอดภัยเต็มที่อาจมี การปะทะอีกเมือ่ ใดก็ได้ ดังนัน้ การดูแลรักษาผูบ้ าดเจ็บ ในระยะนี้จะสามารถกระท�ำได้มากขึ้น แต่ยังเป็นการ ดูแลรักษาที่จ�ำเป็นเพื่อช่วยชีวิต ใช้เวลาสั้น ๆ เท่านั้น เช่น การเปิดทางเดินหายใจ การเจาะปอดระบายลม การใช้สายรัดห้ามเลือด การให้สารน�้ำทางเส้นเลือด การให้ยาแก้ปวด การดามกระดูก ฯลฯ ซึ่งผู้ปฏิบัติ ต้องมีทกั ษะและได้รบั การฝึกการปฐมพยาบาลมาดีแล้ว ในระดับหนึ่งโดยเฉพาะการรักษาโดยการเจาะปอด
42
การฝึกการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บออกจากพื้นที่ปะทะ ระบายลม ซึ่งมีลักษณะที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นได้ง่าย จากการถูกยิงทีห่ น้าอก รองจากการบาดเจ็บตามแขน และขา มี ลั ก ษณะคื อ แรงดั น ในช่ อ งอกจะเกิ ด ขึ้ น เมือ่ อากาศเข้าไปอยูใ่ นช่องว่างเป็นจ�ำนวนมาก และไม่ สามารถออกมาจากช่ อ งว่ า งได้ เมื่ อ อากาศที่ อ ยู ่ ข้างนอกปอดเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ปอดข้างนั้นก็จะ ยุ บ ตั ว ลง ซึ่ ง นอกจากปอดข้ า งนั้ น จะยุ บ ตั ว ลงแล้ ว แรงดันที่เพิ่มขึ้น จากการที่ อ ากาศถู ก ขั ง อยู ่ ภ ายใน ช่องอกจะดันผนังกลางช่องอก (ผนังที่กั้นระหว่าง ช่องอกสองข้าง) ซึ่งจากการเคลื่อนที่ของผนังกลาง ช่องอกนี้เอง อาจจะท�ำให้เกิดการกดทับไปที่ปอด ข้ า งที่ ไ ม่ บ าดเจ็ บ อั น รวมถึ ง หลอดเลื อ ดส� ำ คั ญ ๆ และหัวใจด้วย ดังนั้น ผู้ปฏิบัติจึงจ�ำเป็นต้องใช้เข็ม เจาะระบายอากาศออกจากช่องอกเพื่อลดแรงดัน ที่มีในช่องอกลง ซึ่งต้องใช้ผู้ปฏิบัติช่วยเหลือที่ได้รับ การฝึกฝนวิธีการนี้มาแล้วเป็นอย่างดีพอสมควร
ทัง้ นี้ การเคลือ่ นย้ายผูบ้ าดเจ็บจะต้องท�ำให้ถกู วิธี หากขาดความระมัดระวังแล้วไม่เพียงแต่จะทําให้ การบาดเจ็บหนักขึน้ เท่านัน้ แต่อาจจะทาํ ให้ผบู้ าดเจ็บ ถึ ง แก่ ชี วิ ต ได้ ฉะนั้ น ถ้ า หาสิ่ ง อํ า นวยความสะดวก ทางการแพทย์มาทําการเคลือ่ นย้ายไม่ได้แล้ว ก็ไม่ควร จะทําการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บในทันที (เว้นเสียแต่ จะมีเหตุผลทีจ่ ำ� เป็น) ควรท�ำการปฐมพยาบาลเสียก่อน จึงจะสามารเคลือ่ นย้ายผูบ้ าดเจ็บได้ เช่น กรณีกระดูกหัก ที่ แขน ขา กระดู ก สั น หลั ง หรื อ กระดู ก เชิ ง กราน แล้วห้ามมิให้เคลื่อนย้ายจนกว่าจะได้ทําการเข้าเฝือก ส่วนที่บาดเจ็บให้อยู่นิ่งเสียก่อน ส�ำหรับวิธีการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บมีด้วยกัน หลายวิธี เริ่มตั้งแต่การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บด้วย คนเดียวไปจนถึงการเคลือ่ นย้ายผูบ้ าดเจ็บโดยใช้หลายคน และสามารถใช้อปุ กรณ์จำ� พวกเปลสนามในการเคลือ่ น ย้ า ยได้ ด ้ ว ยการเคลื่ อ นย้ า ยด้ ว ยคน ๆ เดี ย ว เช่ น
ข่าวทหารอากาศ
43
การฝึกใช้เข็มเจาะเพื่อระบายอากาศออกจากช่องอก
การอุม้ เดีย่ ว การอุม้ แบก การอุม้ พยุง การอุม้ กอดหน้า การอุ้มกอดหลัง การอุ้มทาบหลัง การอุ้มลากด้วยคอ การอุม้ โดยใช้เข็มขัดปืนพก การลากด้วยเข็มขัดปืนพก การอุ้มดัดหลัง เป็นต้น การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บด้วย ผู ้ ป ฏิ บั ติ ๒ คน เช่ น การอุ ้ ม พยุ ง ด้ ว ยคน ๒ คน การอุ้มเคียง การอุ้มคู่กอดหลัง การอุ้มคู่ประสานแคร่ การอุ้มคู่จับมือ เป็นต้น การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บโดยใช้เปล SKED® ซึง่ ผลิตโดยบริษทั SKEDCO เป็นระบบอุปกรณ์ลาํ เลียง ขนาดกะทัดรัดน�้ำหนักเบาใช้สําหรับการเคลื่อนย้าย ผู้บาดเจ็บบนบก แต่ทั้งนี้ก็อาจนํามาใช้ กู ้ ชี พ ผู ้ บ าดเจ็ บ ในน�้ ำ ได้ เช่ น กั น โดยจะมี ที่ จั บ ๔ อัน และมีเชือกสําหรับลากทางด้านหัวของเปลด้วย ข้อดีในการนํามาใช้ คือสามารถเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ ได้ในเวลาที่รวดเร็ว ให้กําลังพลสามารถฝึกใช้ได้เอง เป็นการเพิม่ ขีดความสามารถในการเคลือ่ นย้ายผูบ้ าดเจ็บ ในภูมปิ ระเทศทีย่ ากลาํ บากได้เป็นอย่างดี สามารถใช้ใน การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บทางเฮลิคอปเตอร์โดยไม่ตอ้ ง เสี ย เวลาลอยตั ว รอนาน อี ก ทั้ ง คุ ณ สมบั ติ ข องเปล สามารถประคองกระดูกสันหลังและคอของผูบ้ าดเจ็บได้ จึ ง เหมาะสํ า หรั บ ใช้ ใ นการเคลื่ อ นย้ า ยผู ้ บ าดเจ็ บ ในระยะไกล เคลือ่ นย้ายทางอากาศ และการเคลือ่ นย้าย ผูบ้ าดเจ็บทีส่ งสัยว่าจะมีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง หรือกรณีการใช้เปลสนาม ซึง่ อาจไม่ได้มาตรฐานเท่าเปล SKED® แต่ มี ลั ก ษณะการใช้ ง านเหมื อ นกั น คือการเคลือ่ นย้ายผูบ้ าดเจ็บหรือผูป้ ว่ ยในระยะทางไกล
การฝึกใช้ Combat Application Tourniquet : CAT หรือทูนิเก้ในการห้ามเลือด
ด้วยก�ำลังคน โดยสามารถใช้วัตถุทหี่ าได้ในพื้นที่มาท�ำ เปลสนามหรื อ เป็ น เปลสนามส� ำ เร็ จ รู ป มาเลยก็ ไ ด้ ซึ่งเปลสนามนี้อาจสร้างจากผ้าชนิดต่าง ๆ อาทิเช่น ผ้าห่ม ผ้ากันฝน เสือ้ กันหนาว กระสอบ ฯลฯ แล้วใช้ไม้ หรือเหล็กมาท�ำเป็นคานเสาคล้องไปกับผ้าทีม่ าท�ำรองนอน เพื่อหามผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยไปที่ปลอดภัยได้ ล� ำ ดั บ ต่ อ มาเป็ น การเคลื่ อ นย้ า ยและน� ำ ส่ ง ผูบ้ าดเจ็บ (Tactical Evacuation ซึง่ ได้แก่ TACEVAC CASEVAC และ MEDEVAC) เป็นการลําเลียงผูป้ ว่ ยและ บาดเจ็บทีม่ อี าการหนักออกจากพืน้ ทีก่ ารรบและไม่ใช่ พื้นที่การรบ ค่อนข้างมีความปลอดภัยมีเวลาและ โอกาสในการปฐมพยาบาลอย่างเต็มก�ำลังโดยทีไ่ ม่ตอ้ งรีบ สามารถให้การสนับสนุนการรักษาได้อย่างต่อเนื่อง โดยหากเป็นการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยธรรมดาในพื้นที่ ไม่มกี ารรบ อากาศยานจะไม่จำ� เป็นต้องติดอาวุธ อาทิเช่น ปืนกลอากาศ กระเปาะจรวดหรือกระเปาะปืนใหญ่ อากาศขนาดต่าง ๆ เป็นต้น แต่หากเป็นพื้นที่การรบ การเคลื่อนย้ายล�ำเลียงผู้บาดเจ็บจะเป็นทางยุทธวิธี อากาศยานสามารถติดอาวุธได้ทุกรูปแบบเพื่อช่วย ในการป้องกันตนเอง
44
จะเห็นได้วา่ ยุทธวิธี Tactical Combat Casualty Care หรือ TCCC นัน้ เป็นยุทธวิธกี ารปฐมพยาบาลฉุกเฉิน หรือเวชกิจฉุกเฉินให้กบั ทหารทีบ่ าดเจ็บในพืน้ ทีส่ นามรบ ได้เป็นอย่างดี เพื่อลดความอันตรายและความสูญเสีย ชีวิตจากการบาดเจ็บของทหารลงได้ อีกทั้งเป็นการ เพิ่ ม โอกาสในการรอดชี วิ ต จากพิ ษ บาดแผลจาก การสู้รบ อาทิเช่น บาดแผลจากการถูกยิง บาดแผล จากสะเก็ดระเบิด ฯลฯ แต่หากได้รบั การรักษาทีถ่ กู วิธี ในขั้นต้นแล้ว อาจจะเป็นการยื้อชีวิตของผู้บาดเจ็บ ได้ในระยะหนึ่งก่อนที่จะเคลื่อนย้ายไปส่งถึงมือแพทย์ ที่มีขีดความสามารถในการรักษาพยาบาลได้อย่าง
ถู ก วิ ธี เ ป็ น ล� ำ ดั บ ต่ อ ไป ทั้ ง นี้ การห้ า มเลื อ ดถื อ ว่ า เป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด การเสียเลือดมากจะยิ่งเพิ่มโอกาส ในการหมดสติ ช็อก และอาจถึงแก่ชีวิตได้ในทันที นอกจากกองทัพจะยังต้องฝึกก�ำลังพลให้มีขีดความ สามารถด้านนี้อยู่อย่างต่อเนื่องแล้ว ในภาคพลเรือน ก็ถือว่าเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญเช่นกัน เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนจากอุบัติเหตุต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นแล้ว สร้างความสูญเสียแก่ชีวิตได้ หากไม่สามารถน�ำพา ผู้บาดเจ็บไปให้ถึงมือแพทย์ได้ทันเวลา ยุทธวิธี TCCC จึ ง ถื อ ว่ า เป็ น ยุ ท ธวิ ธี ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทั้ ง กั บ ทหาร และพลเรือนอย่างปฏิเสธไม่ได้
เปล SKED®
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยอากาศยาน
อ้างอิง - กรมแพทย์ทหารเรือ. (๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๔). เอกสารประกอบหลักสูตร การช่วยชีวติ เชิงยุทธวิธี (ส�ำหรับครูผสู้ อน). เข้าถึงได้จาก http://app.nmd.go.th/ - อาจารย์แพทย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ผศ.พญ.รพีพร โรจน์แสงเรือง. (ม.ป.ป.). การรักษาพยาบาลในพื้นที่รบ (Tactical EMS Medicine). เข้าถึงได้จาก วงการแพทย์ (The Medical NEWS) : http://wongkarnpat.com/
ข่าวทหารอากาศ
45
สื่อสารให้ได้ผล ว.วิทยา
“อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูมิรู้หาย” เป็ น ท่ อ นหนึ่ ง ของบทกลอนเพลงยาวถวาย โอวาทที่ประพันธ์โดยพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ ที่ทุกคนรู้จัก บทกลอนนี้เปรียบเปรยให้เราได้เห็นถึง ค� ำ พู ด ที่ จ ะอยู ่ ใ นจิ ต ใจของผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ฟั ง ไปตลอด มิ ไ ด้ จ างหายไปเหมื อ นกั บ รสหวานของอ้ อ ยหรื อ ลู ก ตาล แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ค� ำ พู ด นั้ น ส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง และยังส่งผลดีและผลร้ายต่อตัวผูพ้ ดู ได้ดงั วลีทหี่ ลายคน เคยได้ยินว่า “พูดดีก็เป็นศรีแก่ตัว พูดชั่วตัวจะมีสี” ซึ่งถ้าเราพูดดีก็จะเกิดผลดีต่อตัวเอง แต่ถ้าพูดไม่ดี ก็จะท�ำให้ตัวเองเดือนร้อนได้ นอกจากนั้นแล้วยังมี ค�ำที่มักพูดกันเมื่อเกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือ ท�ำสิ่งที่ขัดแย้งจากสิ่งที่ได้ฟังมาคือ ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียดที่ในปัจจุบันการแชร์ข้อความต่าง ๆ ในสื่อสังคมออนไลน์ สร้างความสับสนให้กับผู้รับสื่อ เป็นจ�ำนวนมากเนือ่ งจากผูท้ แี่ ชร์ขอ้ มูลไม่เข้าใจข้อมูล ทั้งหมดอย่างแท้จริงและแชร์บางส่วนที่ตัวเองเข้าใจ
ซึง่ คลาดเคลือ่ นจากความเป็นจริง น�ำมาซึง่ ความเข้าใจผิด เป็นวงกว้างของกลุ่มผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ได้รับ ข้ อ มู ล ข่ า วสารนั้ น ยกตั ว อย่ า งล่ า สุ ด ที่ มี ข ่ า ว “กรมสรรพากรจะเก็บภาษีดอกเบีย้ เงินฝาก” ซึง่ ถ้าอ่าน เพียงข้อความนีจ้ ะท�ำให้เข้าใจผิดว่าทุกคนจะถูกเก็บ ภาษีดอกเบี้ยเงินฝาก และก่อให้เกิดความตระหนก ตกใจต่อผู้ที่ออมเงินไว้ในธนาคารซึ่งปัจจุบันอัตรา ดอกเบี้ ย ที่ ไ ด้ รั บ จากการฝากเงิ น ก็ น ้ อ ยอยู ่ แ ล้ ว และยังจะถูกหักภาษีอีก แต่เมื่ออ่านให้ละเอียดแล้ว จะพบว่า เป็นการเก็บภาษีดอกเบี้ยเงินฝากเฉพาะ ผู้ที่ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากเกิน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อปี
46
ซึ่งถ้าใครที่ได้รับน้อยกว่า ๒๐,๐๐๐ บาทก็จะไม่อยู่ ในเกณฑ์ที่จะต้องถูกหักภาษี การสื่ อ สารข้ อ มู ล ข่ า วสารทั้ ง ที่ เ ป็ น ค� ำ พู ด ข้อความ รูปภาพ ฯ ล้วนมีเป้าหมายส�ำคัญคือ ให้ผรู้ บั สาร เข้าใจตามที่ผู้ให้ข้อมูลข่าวสารต้องการจะสื่อออกไป แต่ในความเป็นจริงแล้ว มีปัจจัยและกระบวนการ มากมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการสื่ อ สาร หรืออาจเรียกง่าย ๆ ว่าการสื่อสารให้คนอื่นเข้าใจนั้น มีเรือ่ งทีต่ อ้ งคิดและท�ำอยูห่ ลายอย่าง ส�ำหรับองค์ประกอบ หลัก ๆ ของกระบวนการสือ่ สารนัน้ จะประกอบไปด้วย ผู้ให้สาร การเรียบเรียงเพื่อถ่ายทอด เนื้อหาข่าวสาร การแปลสารและผูร้ บั สาร โดยทัง้ หมดเป็นองค์ประกอบ จะด� ำ เนิ น การเป็ น ล� ำ ดั บ โดยเริ่ ม ต้ น ที่ ผู ้ ใ ห้ ส าร มีข่าวสารที่ต้องการสื่อหรือเผยแพร่ และเข้าสู่การ เรียบเรียงทั้งเป็นถ้อยค�ำ รูปภาพ เสียงต่าง ๆ ส�ำหรับ
ถ่ายทอด จากนั้นจึงได้ออกมาเป็นเนื้อหาข่าวสาร ที่จะถูกสื่อไป และข่าวสารนั้นก็จะเริ่มถูกแปลสาร หรือตีความโดยผูร้ บั สาร และถูกผูร้ บั สารน�ำไปปฏิบตั ิ หรือเข้าใจตามที่ผู้ส่งข่าวสารต้องการก็เป็นอันจบ กระบวนการสื่อสารโดยปกติ แต่การจะสื่อสารให้มี ประสิทธิภาพ โดยผู้รับสารเข้าใจหรือสามารถปฏิบัติ ได้ ต ามที่ ผู ้ ใ ห้ ส ารต้ อ งการนั้ น ก็ จ ะมี สิ่ ง ที่ ต ้ อ งท� ำ ในแต่ละองค์ประกอบดังนี้ ผู้ให้สารถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการ สื่อสาร ซึ่งผู้ให้สารต้องมีความเข้าใจข่าวสารหรือสิ่งที่ ตนเองต้องการสื่ออย่างชัดเจน เพราะหากไม่เข้าใจ แล้วการสื่อสารที่ออกไปย่อมไม่บรรลุวัตถุประสงค์ และอาจสร้ า งความวุ ่ น วายสั บ สนให้ กั บ สั ง คมได้ นอกจากนั้นแล้ว ยังต้องคอยติดตามผลตอบรับจาก ผูร้ บั สารว่าเข้าใจหรือสามารถปฏิบตั ไิ ด้ตามทีผ่ ใู้ ห้สาร ต้องการหรือไม่ และถ้าหากไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ผู้ให้สารก็จ�ำเป็นที่จะต้องมาทบทวนขั้นตอนต่าง ๆ ในกระบวนการเพื่อปรับปรุงการสื่อสารให้ผู้รับสาร เข้าใจมากขึ้นกว่าเดิม การเรียบเรียงเพือ่ ถ่ายทอด เป็นขัน้ ตอนทีผ่ ใู้ ห้สาร ต้องท�ำการเรียบเรียงข่าวสารทีต่ อ้ งการสือ่ ให้กบั ผูร้ บั สาร ซึง่ เป็นกระบวนการทีม่ คี วามส�ำคัญเนือ่ งจากการเรียบเรียง ทัง้ ทีเ่ ป็นถ้อยค�ำ ข้อความ รูปภาพ ต่าง ๆ จะเป็นสิง่ ทีต่ ้องการให้ผู้รับข่าวรับรู้ โดยต้องค�ำนึงถึงผู้รับสาร ด้วยว่าจะสามารถเข้าใจสิง่ ทีต่ อ้ งการจะสือ่ ออกไปหรือไม่ เช่ น การใช้ ค� ำ ศั พ ท์ เ ทคนิ ค ที่ รู ้ เ ฉพาะผู ้ เชี่ ย วชาญ หรื อ เฉพาะกลุ ่ ม ค� ำ ย่ อ ต่ า ง ๆ อาจไม่ เ หมาะสม
ข่าวทหารอากาศ
ที่จะใช้สื่อกับผู้รับสารเนื่องจากยากต่อการท�ำความ เข้าใจและอาจก่อให้เกิดการเข้าใจผิด ดังนัน้ การเรียบ เรียงเพื่อถ่ายทอดจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงระดับหรือกลุ่ม ของผู ้ รั บ สารเป็ น ส� ำ คั ญ เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ ถ ้ อ ยค� ำ ข้อความ หรือภาพ ต่าง ๆ ได้เหมาะสมกับระดับ หรือกลุ่มของผู้รับสารยกตัวอย่างเช่น การรณรงค์ รักษาความสะอาดทิ้งขยะให้ลงถัง ถ้ากลุ่มผู้รับสาร เป็นเด็กเล็ก ๆ อาจเรียบเรียงออกมาเป็นรูปภาพ มีสีสันสวยงามแสดงการทิ้งขยะลงในถังขยะ หรือถ้า เป็นกลุ่มวัยรุ่นอาจใช้เป็นคลิปวิดีโอที่สั้น กระชับ รวดเร็ว เป็นต้น เนื้อหาข่าวสาร คือ สิ่งที่ได้จากการเรียบเรียง เพือ่ ถ่ายทอดและจะต้องพิจารณาเลือกช่องทางในการ สื่อสาร เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้รับสาร โดยอาจ ใช้ได้มากกว่า ๑ ช่องทาง ซึ่งช่องทางในการส่งเนื้อหา ข่าวสารไปยังผู้รับนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ แบ่งเป็นรูป แบบใหญ่ ๆ ได้ ๒ รูปแบบคือ แบบเป็นทางการ และ แบบไม่เป็นทางการ ส�ำหรับแบบเป็นทางการจะเป็นการ
47
สื่อสารกับผู้รับสารอย่างเป็นทางการ โดยส่วนใหญ่ จะเป็นการสือ่ สารทางเดียวโดยผูใ้ ห้สารไม่เป็นการส่วนตัว และมีผลสะท้อนกลับหรือผลการตอบรับว่าเข้าใจ หรือไม่เข้าใจข่าวสารที่สื่อไปค่อนข้างช้าเนื่องจาก เป็นการสือ่ สารอย่างเป็นทางการทีม่ กั จะสือ่ สารทางเดียว เช่น การประชุมชีแ้ จง การอบรม การสัมมนา เอกสาร ชี้แจง เว็บไซต์ เป็นต้น ในส่วนของการสื่อสารแบบ ไม่ เ ป็ น ทางการ จะมี ลั ก ษณะเด่ น ที่ ต ่ า งจากแบบ เป็นทางการ คือ เป็นส่วนตัว สือ่ สาร ๒ ทางระหว่าง ผูใ้ ห้สารและผู้รับสาร และได้ผลตอบรับเร็ว เนื่องจาก เป็นการพูดคุยสื่อสารกันระหว่างคนสองคน หรือ พูดคุยกันในกลุ่มเล็ก ๆ ส�ำหรับช่องทางการสื่อสาร แบบไม่เป็นทางการนอกจากการพูดคุยแบบส่วนตัวแล้ว ยังมีชอ่ งทางอืน่ ๆ อีกเช่น การติดป้ายประกาศ การใช้ สือ่ สังคมออนไลน์ กิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น ในการเลือกช่องทางในการสื่อสารซึ่งมีทั้งแบบ เป็ น ทางการและไม่ เ ป็ น ทางการนั้ น ทั้ ง สองแบบ ต่างมีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน ซึ่งผู้ให้สารต้องเลือก
48
ช่องทางทีเ่ หมาะสมมาใช้ในการสือ่ สาร แม้วา่ รูปแบบ การสือ่ สารแบบเป็นทางการจะไม่คอ่ ยมีความส่วนตัว เป็ น การสื่ อสารทางเดียวได้รับผลสะท้อนกลั บช้ า แต่ ก็ เ ป็ น ช่ อ งทางที่ มี เ วลาในการเตรี ย มข้ อ มู ล รายละเอี ย ดที่ จ ะเผยแพร่ มี ห ลั ก ฐานอ้ า งอิ ง ที่ ใช้ ในการเผยแพร่ และมีรปู แบบทีแ่ น่นอนสามารถน�ำไป เผยแพร่ตอ่ ได้งา่ ย ส่วนแบบไม่เป็นทางการ โดยส่วนใหญ่ จะเป็นการพูดคุยกันส่วนตัว มีข้อดีที่เป็นการสื่อสาร ๒ ทาง ได้รับผลตอบรับเร็ว แต่ก็ขาดหลักฐานในการ สื่ อ สารกั น ต้ อ งอาศั ย ทั ก ษะส่ ว นตั ว ของผู ้ ใ ห้ ส าร ทีจ่ ะสามารถสือ่ สารให้ผรู้ บั สารเข้าใจ ไม่มเี วลาเตรียมตัว มากนัก และยากต่อการเผยแพร่ต่อโดยบุคคลอื่น การแปลสารเป็นขั้นตอนที่ผู้รับสารจะท�ำความ เข้าใจข่าวสารตามทีผ่ ใู้ ช้ขา่ วสารได้สอื่ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ซึ่งความสามารถในการแปลสารนี้จะขึ้นอยู่กับระดับ หรือกลุ่มของผู้รับสารเป็นส�ำคัญ เช่น กลุ่มผู้รับสาร ที่เป็นเด็ก กลุ่มผู้รับสารที่เป็นวัยรุ่น กลุ่มผู้รับสาร ทีเ่ ป็นคนวัยท�ำงาน กลุม่ ผูร้ บั สารทีเ่ ป็นผูส้ งู อายุ ซึง่ ใน แต่ละกลุม่ จะมีอายุ ประสบการณ์การใช้ชวี ติ และการ ท�ำงานที่แตกต่างกัน จึงมีผลต่อการแปลสารหรือ ท� ำ ความเข้ า ใจต่ อ ข่ า วสารในระดั บ ที่ แ ตกต่ า งกั น
ซึ่งผู้ให้สารจ�ำเป็นต้องน�ำขั้นตอนนี้มาเป็นส่วนส�ำคัญ ในการเรียบเรียงข่าวสารเพื่อถ่ายทอดและการเลือก ช่องทางในการสื่อสาร ผู้รับสาร คือกลุ่มผู้ที่จะรับข้อมูลข่าวสารตามที่ ผู้ให้สารต้องการสื่อ แต่เนื่องจากในกลุ่มผู้รับสารจะมี ระดั บ การแปลสารที่ แ ตกต่ า งกั น ในแต่ ล ะกลุ ่ ม การสื่อสารหรือการส่งข้อมูลข่าวสารให้กับผู้รับสาร จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจ�ำกัดการรับรู้ให้เป็น เฉพาะกลุม่ หรือมุง่ เน้นทีก่ ลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ เพือ่ ป้องกัน การสับสนและเข้าใจผิดจากข้อมูลข่าวสารที่ส่งไป เนื่องจากเมื่อมีการเลือกกลุ่มผู้รับสารแล้ว ผู้ให้สาร ก็จะเรียบเรียงข่าวสารและเลือกช่องทางที่จะใช้กับ กลุม่ ผูร้ บั สารนัน้ ๆ ซึง่ จะมีความเหมาะสมและสอดคล้อง กับระดับความสามารถในการแปลสารของกลุม่ คนนัน้ ๆ การสื่ อ สารเพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ ต ามที่ ผู ้ ใ ห้ ส าร ต้องการนัน้ ต้องอาศัยการพินจิ พิเคราะห์ตามกระบวนการ สื่ อ สารที่ ป ระกอบด้ ว ย ผู ้ ใ ห้ ส าร การเรี ย บเรี ย ง เพื่อการถ่ายทอด เนือ้ หาข่าวสาร การแปลสาร และ ผูร้ บั สาร ในทุกขัน้ ตอนเพือ่ ให้สงิ่ ทีผ่ ใู้ ห้สารต้องการสือ่ ไปยังผู้รับสารนั้นถูกน�ำไปท�ำความเข้าใจหรือน�ำไป ปฏิบัติตามที่ผู้ให้สารต้องการ
ข่าวทหารอากาศ
1
2
3
4
10
5
6
7
11
8
9
12
13 14
15
17 19
20
25
16 18
26
21
22
26 29
30
31
34 37
39
38
40
41
43
52 45
46
47
42
53
54
48
58
52 54
32
35
36
51
24
27
28 33
23
44 49
50 53
55
49
50
Across
Crossword
1. Many restaurant's owners do not _____ or allow a customer to take some food and drink into their restaurants. 5. My 6 year grandson likes to draw the pictures, I think in the future. He must be a good _____. 10. Sell, _____, Sold 12. Please _____ and see me if I am older than this. 13. Time and _____ wait for no man. 16. In the past time, Thai people were tired of a _____ or fighting and noisy violent behavior by a crowd of people. 17. _____ is a small wild animal with brownish gray fur on its body, black fur around its eyes. 19. An abbreviation about rank “_____” that is higher Than Air Vice Marshal. 21. Many students like to have a _____ choice for their exam because they only select the numbers or letters. 25. This coat is made of _____ a very soft wool from a goat 27. She wants to buy 10 meter _____ a long rubber or plastic tube for getting water from one place to another. 28. is, am, _____ 29. “_____” This door to open, not push it. 30. Anytime I have an appointment with someone, I always arrive there _____ time, it means I will be there first.
31. I usually set aside or save my salary _____ least two thousand baht per month. 33. A : Please _____ me your name. B : Peter Skoven 35. _____ you know Peter Skoven before? 36. He is a _____, his job is flying an airplane. 39. Please don’t blame _____ because we tried to do our best. 40. During this month I have _____ time to play golf because I have to finish my project. 41. My husband has a tendency to _____, to talk for a long time in a confused way. 43. Mr. green often orders a _____ steak, it is grilled for a very short time. 45. By the above No. he got _____ serious sick because of the parasite. 47. Mr. Green can be an example of “you are what you eat or _____”. 49. _____ would like to be mimic Mr. Green's eating manner? Please show me your hands. 51. After I get well from cancer, I can not wear “L” size of t-shirt, it must be a bit bigger as (abbraviation) _____ . 52. The same as No. 28 Across 53. The same as No. 19 Across 54. _____ is a printed record of money paid, received, ect. 55. _____ is up or finish for the last No. of this crossword, Across, bye bye take a rest for a while.
ข่าวทหารอากาศ
Down
51
Crossword
1. Yesterday my daughter and I went to Future Park to pay one thousand bath to the very poor and handicraf family at krungthai bank because of feeling _____ on them. 2. _____ is a system that used Radio waves to find the pocition and movement of objects such as an airplane. 3. _____, am, are 4. He hopes _____ be the pilot after he graduated 5. I plan to buy a new television set, so I must look at the want _____ section. 7. The poison of a _____ or a creature that looks like a large insect that can kill many guys. 8. The same as No. 4 Down 9. To _____ means to go and live permanently in the new country. 11. An abbreviation for “Lieutenant” 14. The same as No.7 Down 15. “Bike for _____” and “Bike for Dad” are very interesting event, they made Thai’s greatful to our King and Queen. 18. _____ weapon is now banned on using in every country, it can kill many people cruelly. 19. I used to be an _____ teacher, I taught the students free of charge at that time I had just graduated. 20. Much, _____, Most
22. Opposite of “that” 23. _____ is an abbreviation used at the end of a letter to add extra information. 24. _____ is a soft heavy gray metal. 26. Jonny has a lot of debts, no one can _____ or support him because he spent money as if he were the rich man. 32. Jonny spent _____ much money that made him upset. 34. There were many people at the post office so I had to stand in _____ for 30 minutes. 37. The same as No.4 Down 38. To _____ means to break up or move soil, snow, ect. 42. To _____ means to prevent sometting unpleasant. 44. A : Do you have much money? B : No, I have _____, not a lot of. 46. It is impolite to tell someone to go _____ even though you don’t want to communicate with that guy. 47. Object of pronoun “he” is _____. 48. _____ is a useful vehicle. for carring goods or heavy thing. 50. _____ is a pork product normally it is a part of sanwitch.
52
เฉลย Crossword ประจ�ำเดือน ก.ค.๖๒ 1 P I 13 T Y
E
2 R
M
A I
D A 17 R
3
I 10 S
E A 26
4 T O 14 S
C
C
11 L T O
5 A
R
D 15 M O 21 M
6 T H A
18 N
I
I
7 8 S T 12 C O O 16 R
9 S M
E T
I
O
T
P L 19 20 22 23 24 A M O U L T I P L E 25 26 27 M O H A I R C H O S E 28 29 30 31 32 A R E P U L L I N A T 33 34 35 T E L L I E S D O 36 37 38 E P I L O T A P O 39 40 41 42 U S N N O R A M B L E 43 52 53 54 44 R A R E V O S 45 46 47 48 58 49 50 I S O H A V E W H O 51 52 53 X L U I A R E A M 54 55 S T A T E M E N T T I M E
กองสงครามไซเบอร์ ส�ำนักระบบบัญชาการและควบคุม กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทหารอากาศ
ข่าวทหารอากาศ
53
มองอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ ผ่านงาน
A
ero India 2019
กระทรวงกลาโหมสาธารณรัฐอินเดีย (กห.อินเดีย) จัดงานแสดงการบิน Aero India 2019 ณ สนามบิน Yelahanka เมืองบังคาลอร์ ระหว่าง ๒๐ – ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๒ การจัดงานครั้งนี้เป็นครั้งที่ ๑๒ ซึ่งมี พัฒนาการ จนถือว่าเป็นงานแสดงการบินที่ใหญ่ที่สุด ในเอเชีย มีบริษัทอินเดียเข้าร่วม ๔๐๓ บริษัท และ บริษัทต่างชาติเข้าร่วม ๒๐๐ บริษัทจาก ๒๒ ประเทศ บนพืน้ ที่ ๒๘,๐๐๐ ตารางเมตร มีอากาศยาน ๖๑ เครือ่ ง การสัมมนาของกระทรวงการบินพลเรือน กระทรวง พัฒนาฝีมอื แรงงาน หน่วยงานของรัฐ และอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศ กห.อินเดีย โดยมีผเู้ ข้าชมกว่า ๒ แสนคน ธีมของงาน Aero India 2019 คือ The Runway to a Billion Opportunities สื่ อ ถึ ง ศั ก ยภาพด้ า น อุตสาหกรรมการบินของบริษัทภายในอินเดีย (Make in India) และโอกาสความร่วมมือกับหุ้นส่วนธุรกิจ ที่เป็นบริษัทต่างชาติทั่วโลกอย่างใกล้ชิด ศักยภาพอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ กห.อิ น เดี ย มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการผลั ก ดั น อุตสาหกรรมป้องกันประเทศตามนโยบายพึง่ พาตนเอง กอปรกั บ อุ ต สาหกรรมภายในประเทศของอิ น เดี ย ในปัจจุบันได้พัฒนามาตรฐาน คุณภาพ ประสิทธิภาพ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการผลิตให้สามารถ แข่งขันได้ในระดับสากลบริษัทหรือหน่วยงานเหล่านี้ มีส่วนส�ำคัญในอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
สน.ผชท.ทอ.ไทย/นิวเดลี
๑. Hindustan Aeronautics Limited (HAL) เป็ น บริ ษั ท ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในอุ ต สาหกรรมการบิ น ของอินเดีย มุง่ เน้นการวิจยั และพัฒนาโดยพึง่ พาตนเอง จนมีขีดความสามารถในการออกแบบการผลิตและ การซ่อมบ�ำรุง อากาศยานทหารและพาณิชย์ อุปกรณ์ และระบบต่ า ง ๆ ของอากาศยาน รวมทั้ ง จรวด (Missile) สามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมการบินโลก ผลงานส�ำคัญที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพการแข่งขัน คือ เฮลิคอปเตอร์ (ฮ.) ขนาดเบา (Advanced Light Helicopter) ซึ่ ง ประจ� ำ การในทั้ ง สามเหล่ า ทั พ ของอินเดียและบริษัทเอกชน นอกจากนี้ บริษัทได้ ออกแบบและผลิตเครื่องบิน (บ.) โจมตีขนาดเบา (บ.Tejas) ฮ.โจมตีขนาดเบา (LCH) และ บ.ฝึกขนาดกลาง (Intermediate Jet Trainer : IJT)
54
บริษัทได้รับใบอนุญาตซ่อมบ�ำรุงระดับโรงงาน ของ บ.รบ บ.ฝึก บ.ล�ำเลียง และ ฮ. รวม ๑๒ แบบ รวมทัง้ ใบอนุญาตผลิตเครือ่ งยนต์ ๘ แบบ ระบบต่าง ๆ ของอากาศยานกว่า ๑,๐๐๐ รายการ (avionics, mechanical, electrical) ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทซ่อมบ�ำรุง บ.ระดับโรงงานมากกว่า ๓,๕๕๐ เครื่อง ซ่อม Overhaul เครื่องยนต์มากกว่า ๓,๖๕๐ เครื่องยนต์ นอกจากนี้บริษัทยังมีศักยภาพการสร้าง เครื่องยนต์ Gas Turbine ของเรือและลงทุนในธุรกิจ Software รวมทั้ ง เป็ น พั น ธมิ ต รหลั ก ในการสร้ า ง ยานอวกาศขององค์การวิจัยอวกาศแห่งอินเดีย บริษัทมีขีดความสามารถในการแข่งขันได้ทั้ง คุณภาพและราคา อยูใ่ นล�ำดับที่ ๓๔ จาก ๑๐๐ บริษทั อุตสาหกรรมการบินโลกและเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยมียอดขาย ๒.๑ พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ผลิตชิน้ ส่วน ให้กบั บริษทั ชัน้ น�ำของโลก ได้แก่ บริษทั Airbus บริษทั Boeing บริษทั IAI บริษทั Irkutsk บริษทั Honeywell และ บริษทั Ruag ทัง้ นี้ บริษทั ได้รบั การรับรองมาตรฐาน ด้านการผลิต ISO 9001-2000 และระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ISO-14001-2004 ระบบการจัดการ คุณภาพการบินและอวกาศมาตรฐาน AS 9100 และ ได้รบั การรับรองจาก NADCAP (National Aerospace Defence Contractors Accreditation Programme : USA) ๒. องค์กรวิจัยอวกาศอินเดีย (Indian Space Research Organisation : ISRO) เป็นหน่วยงานหลัก ภายใต้ ก รมอวกาศ (Department of Space) ซึง่ ก่อตัง้ ปี ๑๕ เพือ่ ส่งเสริมการพัฒนาและการประยุกต์ วิทยาศาสตร์อวกาศและเทคโนโลยีเพื่อประโยชน์ ทางเศรษฐกิจและสังคม องค์กร ISRO มีหน้าที่ด�ำเนิน โครงการอวกาศเพื่ อ การสื่ อ สาร การแพร่ ภ าพ ทางโทรทัศน์ การส�ำรวจระยะไกล และการทดลอง เพื่อสร้างดาวเทียม อินเดียประสบความส�ำเร็จด้วยการสร้างกลุ่ม ดาวเทียมการสื่อสาร เรียกว่าระบบ Indian National Satellite System : INSAT) ครอบคลุ ม พื้ น ที่
เอเชียแปซิฟกิ เพือ่ การสือ่ สาร ได้แก่ การศึกษาทางไกล การแพทย์ทางไกล ศูนย์ทรัพยากรหมู่บ้าน รวมทั้ง การโทรทัศน์ และอุตนุ ยิ ม นอกจากนี้ อินเดียสร้างกลุม่ ดาวเทียมส�ำรวจระยะไกล เรียกว่า Indian Remote Sensing : IRS ซึ่งมีความละเอียดน้อยกว่าหนึ่งเมตร เพื่อบริหารจัดการด้านการเกษตร การพัฒนาที่ดิน ว่างเปล่า แผนที่ป่าไม้ การแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ นอกจากนี้ อิ น เดี ย ได้ ส ร้ า งยานส่ ง ดาวเที ย ม ชื่อ Polar Satellite Launch Vehicle : PSLV และ Geo-synchronous Satellite Launch Vehicle : GSLV ทัง้ นี้ ยานส่ง PSLV สามารถส่งดาวเทียมน�ำ้ หนัก ๑,๕๕๐ กิโลกรัม ให้โคจรอยู่ในแนวขั้วโลก ซึ่งประสบ ความส�ำเร็จในการส่งดาวเทียมให้ลกู ค้าทัว่ โลก ๘ ดวง ส่ ว นยานส่ ง GSLV สามารถส่ ง ดาวเที ย มน�้ ำ หนั ก ๒,๒๐๐ กิโลกรัม สู่วงโคจรแบบ Geo-stationary Transfer Orbit
Polar Satellite Launch Vehicle
ข่าวทหารอากาศ
๓. องค์กรพัฒนาการวิจัยการป้องกันประเทศ (Defence Research Development Organization : DRDO) เป็นหน่วยงานใน กห.อินเดีย มีหน้าที่วิจัย และพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อการป้องกันประเทศ โดยมี ห้องทดลอง ๕๒ ห้อง ครอบคลุมในวิชาสาขาต่าง ๆ เช่น วิชาด้านการบิน วิชาด้านอาวุธ ระบบวิศวกรรม การค�ำนวณขัน้ สูงและระบบจ�ำลอง วัสดุศาสตร์ ระบบ อุทกศาสตร์ วิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต (life sciences) ยานรบ (combat vehicles) ขีปนาวุธและระบบ สารสนเทศ องค์กรฯ มีบคุ ลากรทีเ่ ป็นนักวิทยาศาสตร์ ๕,๐๐๐ คน และบุคลากรด้านเทคนิควิทยาศาสตร์ อีกประมาณ ๒๕,๐๐๐ คน โดยมีโครงการส�ำคัญ ได้แก่ การพัฒนาขีปนาวุธ ระบบอาวุธ บ.โจมตีขนาดเบา ระบบเรดาร์ ระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ อยูร่ ะหว่าง การด�ำเนินการและประสบความส�ำเร็จแล้ว ๔. บริษัท Bharat Electronics Limited (BEL) ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๙๗ โดยในระยะเริม่ ต้นร่วมมือกับ บริษัทของฝรั่งเศส (ปัจจุบันคือบริษัท Thales) บริษัท
55
ร่วมมือกับองค์กรพัฒนาการวิจัยการป้องกันประเทศ (DRDO) มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการ ระบบและบริการด้านอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการป้องกัน ประเทศ ได้แก่ ระบบเรดาร์ ระบบอาวุธ ระบบสื่อสาร โทรคมนาคม สงครามอิเล็กทรอนิกส์ Naval systems ระบบ C4I การสื่อสารเพื่อการป้องกันประเทศ และ ระบบ Electro Optics and Solar Photovoltaic บริษัทได้รับการรับรองมาตรฐานด้านโรงงาน ISO 9001/2 และ ISO 14000 บริษัทมีความเชี่ยวชาญ ในการออกแบบ ผลิตและให้บริการในลักษณะ "Build to Print" และ "Build to Spec" โดยบริษัทมีมูลค่า ๑ พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ๕. บริษัท Bharat Dynamics Limited (BDL) รัฐบาลอินเดียก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ.๒๕๑๓ มีวตั ถุประสงค์ เพื่ อ ทดลอง สร้ า งและผลิ ต อาวุ ธ น� ำ วิ ถี (Guided Weapons) แท่นยิงจรวด ระบบอาวุธใต้น�้ำ (Under Water Weapon) และเป้าลวง ส�ำหรับกองทัพอินเดีย รวมทั้งเป็นหน่วยบูรณาการโครงการพัฒนาจรวด
56
(Integrated Missile Development Programme) ของอินเดีย ในระยะเริม่ ต้น บริษทั ร่วมมือกับบริษทั Aerospatiale ฝรัง่ เศสในการผลิตจรวดต่อต้านรถถัง จากนั้นร่วมมือบริษัท KBP รัสเซีย ผลิตจรวด Konkurs ปัจจุบันบริษัท BDL เติ บ โตผลิ ต ระบบอาวุ ธ ที่ มี เทคโนโลยีหลากหลาย ร่วมมือกับ DRDO และผูผ้ ลิตจรวดชัน้ น�ำของโลก มี ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ และแข่ ง ขั น ได้ Maintenance Repair Overhaul : MRO ในระดับโลก ผลงานทีส่ ำ� คัญคือจรวด ต่อสูอ้ ากาศยานพื้นสู่อากาศ Akash ๖. บริษัท Bharat Earth Movers จ�ำกัด ๙. บริษทั BrahMos Aerospace ผลิต BrahMos(BEM Limited) รัฐบาลอินเดียก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๐๗ Ballistic Missile ระยะใกล้ (๒๙๐ กิโลเมตร) ความเร็ว มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ทดลองและผลิ ต อุ ป กรณ์ ที่ เหนือเสียง (Mach 3) สามารถติดตั้งกับ เรือ เรือด�ำน�้ำ เกี่ยวข้อง ๓ ด้าน ได้แก่ การป้องกันประเทศ การ แท่นยิงเคลื่อนที่ และ บ.Su 30 MKI โจมตีเป้าหมาย ก่อสร้างและเหมือง รวมทั้งรถไฟฟ้าและราง บริษัท บนพื้นดินและในทะเล BrahMos ประสบความส�ำเร็จ BEML เป็ น บริ ษั ท ชั้ น น� ำ ด้ า นวิ ศ วกรรม สามารถ ในการทดสอบด้ ว ยความแม่ น ย� ำ สู ง และใช้ ไ ด้ ออกแบบและผลิ ต อุ ป กรณ์ ส นั บ สนุ น การรบของ ในทุกสภาพอากาศ โดย กห.อินเดียได้จดั หาเข้าประจ�ำการ กห.อินเดีย ได้แก่ รถลากเครือ่ งบิน รถติดตั้งอาวุธวัตถุ อุ ต สาหกรรมการบิ น และอวกาศของอิ น เดี ย ระเบิ ด รถบรรทุ ก รถถั ง อุ ป กรณ์ ถ อดเปลี่ ย นยาง เติบโตอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน โดยบริษัท HAL เครื่องบินและเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า มีบทบาทน�ำและสร้างความร่วมมือกับ กห.อินเดีย ๗. โรงงานสรรพาวุธอินเดีย (India Ordnance ทั้งนี้ อินเดียมีศักยภาพและโอกาสที่จะร่วมมือหรือ Factory) มีประสบการณ์กว่า ๒๐๐ ปีในการผลิต ร่วมทุนกับบริษทั ชัน้ น�ำในโลก เพือ่ สร้างศูนย์ซอ่ มบ�ำรุง ส่งก�ำลังบ�ำรุง วิจัยและพัฒนา รวมทั้งขาย อาวุธปืน (Maintenance Repair Overhaul : MRO) ส�ำหรับ กระสุน อุปกรณ์ช่วยการมองเห็นในเวลากลางคืน อากาศยานพลเรือนและทหาร อีกทั้งรัฐบาลอินเดีย ไพโรเทคนิค ชุดเกราะ ระเบิด ร่มชูชีพ และอุปกรณ์ ต้องการผลักดันเป้าหมายของอุตสาหกรรมการบิน อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับทหาร และอวกาศในอนาคต กล่าวคืออุตสาหกรรมป้องกัน ๘. บริษัท Mishra Dhatu Nigam Limited ประเทศใน ๑๐ ปีข้างหน้า อินเดียจะผลิต บ.Tejas (MIDHANI) มีความเชี่ยวชาญในด้านโลหะ (Metals) จ�ำนวน ๑๒๓ เครื่อง และ ฮ.แบบต่าง ๆ จ�ำนวน และโลหะผสม (Alloy) ที่ทันสมัย ได้รับการรับรอง ๑,๐๐๐ เครือ่ ง รวมทัง้ ออกแบบและผลิต บ.ขับไล่โจมตี มาตรฐาน ISO 9002 ผลิ ต โลหะผสมไทเทเนี ย ม ขนาดกลาง (Advance Medium Combat Aircraft) เหล็กกล้า Electrical Resistance & Softmagnetic เจนเนอเรชั่ น ที่ ๕ และมี เ ทคโนโลยี Stealth Alloys และ Molybedenum ซึ่งน�ำมาขึ้นรูปเป็น ส่วนอุตสาหกรรมการบินพาณิชย์ในปี พ.ศ.๒๕๖๓ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใช้ ใ นอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ การลงทุนศูนย์ซ่อมบ�ำรุง MRO จ�ำนวน ๑.๕ พันล้าน และอุตสาหกรรมการบิน เหรี ย ญสหรั ฐ มี จ� ำ นวนผู ้ โ ดยสารเข้ า ออกอิ น เดี ย
ข่าวทหารอากาศ
๓๕๐ ล้านคน/ปี ตลาดการบินอินเดียใหญ่เป็นอันดับ ๓ ของโลก และอินเดียจะซือ้ บ.พาณิชย์ ๑,๖๐๐ เครือ่ ง มูลค่า ๒๒๔ พันล้านเหรียญสหรัฐ ใน ๒๐ ปีข้างหน้า บทวิเคราะห์ หากไทยต้ อ งการเสริ ม สร้ า งความร่ ว มมื อ กับอินเดียในด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ สมควร พิ จ ารณาศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ ของอินเดียให้รอบด้านแล้ว โดยตัง้ ค�ำถามส�ำคัญเพือ่ ให้ เข้าใจถึงการเติบโต ข้อจ�ำกัด และการแสวงความร่วมมือ ด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในอนาคต ๑. อุตสาหกรรมป้องกันประเทศเติบโตจนมี ศักยภาพในปัจจุบนั เกิดขึน้ ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องอย่างไร แรงผลั ก ดั น เกิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ ก ่ อ ตั้ ง ประเทศ เมื่อได้รับเอกราชจากอังกฤษ ปี พ.ศ.๒๔๙๐ พื้นที่ ตอนเหนือถูกรุกรานและยึดครองโดยประเทศเพือ่ นบ้าน ทางทิศตะวันตก และทางทิศเหนือ รวมทั้งข้อพิพาท บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือ ความขัดแย้งเหล่านีย้ งั คง ด�ำเนินอยูจ่ นถึงปัจจุบนั การปะทะกันบางครัง้ ขยายตัว จนถึงการใช้กำ� ลังทางอากาศ ทัง้ นี้ เพือ่ ปกป้องอธิปไตย อินเดียจึงเริ่มสะสมศักย์สงคราม เพื่อป้องปรามและ เตรี ย มพร้ อ มหากเกิ ด สงคราม โดยพิ จ ารณาด้ ว ย Threat Based Planning เปรียบเทียบศักย์สงคราม กับเพื่อนบ้านตอนเหนือ วิ สั ย ทั ศ น์ หลั ง จากได้ รั บ เอกราช ๑ ปี กห.อินเดียได้ตั้งหน่วยงานวิจัยและพัฒนา เพื่อผลิต อาวุธยุทโธปกรณ์ จนพัฒนามาเป็น DRDO ในปั จ จุ บั น นอกจากนี้ กห.อินเดียแสวงความร่วมมือกับ มิ ต รประเทศที่ มี ศั ก ยภาพด้ า น อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ ชั้ น น� ำ ของโลก ได้ แ ก่ รั ส เซี ย ฝรั่งเศส อังกฤษ จากความร่วมมือ ในการจั ด หาอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ โดยมีขอ้ เสนอให้ถา่ ยทอดเทคโนโลยี และผลิตในประเทศอินเดีย (Made in India) “แขกเจรจาต่อรองเก่ง”
57
อินเดียเสนอที่จะซื้อในปริมาณมาก เพื่อแลกกับการ อนุญาตผลิต (License) และร่วมมือกับบริษัทอินเดีย โดยมี บ ริ ษั ท HAL เป็ น หลั ก อี ก ทั้ ง อิ น เดี ย ยั ง ได้ รับใบอนุญาตในการปรับปรุงอาวุธยุทโธปกรณ์อกี ด้วย ทั้ ง นี้ DRDO ก� ำ หนดนโยบาย ก� ำ กั บ ดู แ ลทิ ศ ทาง ความร่วมมือ การวิจัยและพัฒนาอย่างบูรณาการ การปฏิบตั ทิ ดี่ ที ส่ี ดุ (Best Practice) การจัดหา เครือ่ งบิน Hawk Mk 132 ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ทอ.อินเดีย ท�ำสัญญากับบริษัท BAE System อังกฤษ ซึ่ง บริษัท ผลิตในอังกฤษจ�ำนวน ๒๔ เครื่อง และบริษัท BAE System จะถ่ายทอดเทคโนโลยีและอนุญาต (Work License) ให้บริษัท HAL ผลิต ๔๒ เครื่อง ระหว่างปี ๕๑ - ๕๔ หลังจากนัน้ บริษทั HAL ผลิตให้ กองทัพอากาศ อินเดียอีก ๔๐ เครือ่ ง กองทัพเรืออินเดีย ๑๗ เครือ่ ง ระหว่างปี ๕๕ – ๕๘ นอกจากนี้ตัวอย่างที่ส�ำคัญ อีกตัวอย่างคือ การจัดหา บ.Su-30 MKI ในปี พ.ศ.๒๕๔๓ ซึ่งถือเป็นเครื่องบินหลัก (Back Bone) ของกองทัพ อากาศอินเดีย โดยท�ำสัญญากับบริษทั Sukhoi รัสเซีย ให้โรงงานเครื่องบิน Irkutsk ถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตแก่บริษทั HAL ปัจจุบนั กองทัพอากาศอินเดีย บรรจุประจ�ำการ บ.Su-30 MKI รวม ๒๔๐ เครื่อง ทัง้ หมดผลิตในอินเดีย นอกจากนี้ บริษทั HAL ยังปรับปรุง ระบบ Avionic ระบบ Targeting และระบบ EW รวมกับบริษทั ของอิสราเอล อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกต ในการจั ด ซื้ อ บ.Rafale ทั้ ง นี้ ในปี พ.ศ.๒๕๕๕
58
ทอ.อินเดียเลือก บ.Rafale ต้องการจัดหาจ�ำนวน ๑๒๖ เครื่อง บริษัท Dassault ฝรั่งเศสผลิต ๑๘ เครื่อง และบริษทั HAL ผลิต ๑๐๘ เครือ่ ง แต่สดุ ท้ายข้อตกลงนี้ ล้มเลิก โดยสัญญาปัจจุบนั จัดหา บ.Rafale ๓๖ เครือ่ ง ผลิตในฝรัง่ เศสทัง้ หมด หรือค�ำพูดทีว่ า่ “แขกเจรจาต่อ รองเก่ง” อาจไม่เป็นจริงแล้ว อนาคตอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ จากอดีต อิ น เดี ย สร้ า งเสริ ม ศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศจากการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งได้รับการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีจากโครงการจัดหาที่ส�ำคัญ ๆ จนสามารถส่งผ่านองค์ความรูเ้ หล่านีส้ ภู่ าคธุรกิจ ท�ำให้ บริษทั ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องมีมาตรฐาน อุปกรณ์ สิง่ อ�ำนวย ความสะดวก รวมทั้งทรัพยากรบุคคลที่พร้อม ทั้งนี้ ในอนาคตธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมการบิ น และอวกาศ จะเป็นทีด่ งึ ดูดการลงทุนจากบริษทั การบินใหญ่ ซึง่ งาน แสดงการบิน Aero India 2019 ถือเป็นช่องทางส�ำคัญ ของอินเดีย ๒. อาวุธยุทโธปกรณ์ทผี่ ลิตในอินเดีย สามารถ แข่งขันได้หรือไม่ บ.Tejas ที่อินเดียผลิตได้อยู่ในเจนเนอเรชั่น ที่ ๔ ซึ่ง บ.กริพเพนไทยอยู่ในเจนเนอเรชั่นที่ ๔.๕ และ บ.สมัยใหม่เจนเนอเรชั่นที่ ๕ และมีเทคโนโลยี Stealth แล้ว นอกจากนี้ บ.กองทัพอากาศอินเดีย ติ ด ตั้ ง และใช้ ง านเฉพาะระบบแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ของหมู่บิน (Fighter Link) เท่านั้นและอยู่ระหว่าง พั ฒ นาไปสู ่ ร ะบบแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ทางยุ ท ธวิ ธี
(Tactical Data Link) ถือเป็นข้อด้อยของขีดความ สามารถของก�ำลังทางอากาศ อย่างไรก็ดีการพัฒนา ฮ.ขนส่งขนาดเล็ก และ ฮ.โจมตีขนาดเบา ได้พัฒนา และผลิตใช้งานอย่างแพร่หลาย อาวุธ Missile อินเดียได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งจรวดอากาศสู่อากาศ จรวดพื้นสู่อากาศ รวมทั้ง ขีปนาวุธ Battle Field Ballistic MSL และ Short Ballistic MSL ซึ่งได้ทดลองใช้งานมีความแม่นย�ำ โดยเฉพาะ BrahMos ซึ่ ง สามารถติ ด ตั้ ง กั บ บ.Su 30 MKI พิสัยยิงไกลสูงสุด ๓๐๐ กิโลเมตร ศักยภาพด้านอวกาศของอินเดียอยูใ่ นระดับโลก ทั้งในด้านการผลิตดาวเทียมเพื่อการสื่อสารและการ ส�ำรวจระยะไกล รวมทัง้ ขีดความสามารถในการปล่อย ดาวเทียมเพื่อการพาณิชย์ให้กับชาติต่าง ๆ อีกทั้ง ด้านการป้องกันประเทศ โดยสามารถใช้ Missile โจมตี ดาวเทียมได้ ถือเป็นประเทศที่ ๔ ทีม่ ขี ดี ความสามารถนี้ ต่อจากสหรัฐฯ รัสเซีย และจีน ๓. ไทยควรแสวงประโยชน์สร้างความร่วมมือ ทีเ่ กีย่ วข้องกับจรวดและขีปนาวุธ รวมทัง้ เทคโนโลยี ด้านอวกาศ เพราะถือเป็นจุดแข็งทีส่ ดุ ของอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศอินเดียโดยริเริม่ จากการอบรมหลักสูตร เพื่อสร้างองค์ความรู้ของไทย หากมีโครงการจัดหา สมควรเจรจาต่ อ รองเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง การถ่ า ยทอด เทคโนโลยี ทั้ ง การออกเบบและผลิ ต เพื่ อ ให้ ไ ทย มีศักยภาพด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ มิใช่มี องค์ความรูเ้ พือ่ เป็นแค่ผซู้ อื้ ทีฉ่ ลาดเท่านัน้ (Smart Buyer)
ข่าวทหารอากาศ
มุมท่องเทีย่ ว
59
โรงเรียนการบิน ก�ำแพงแสน
เ
RTAF’s eyes view
มื่ อ ช่ ว งต้ น ปี ๒๕๖๒ การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย (ททท.) ร่วมกับ ส�ำนักงาน ส่งเสริมการท่องเที่ยวกองทัพบก ศูนย์อ�ำนวยการ การท่องเที่ยวกองทัพเรือ กองทัพอากาศ และบริษัท การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย จ�ำกัด (มหาชน) จัดโครงการ “เมืองไทยใคร ๆ ก็เที่ยวได้” ซึ่งเปิด โอกาสให้คนไทยผู้มีรายได้น้อยและผู้ด้อยโอกาส ได้ ท ่ อ งเที่ ย วฟรี ใ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเขตทหาร ทั่วประเทศ ผู้เขียนจึงอยากแนะน�ำสถานที่ท่องเที่ยว ในเขตทหาร โดยเฉพาะกองทั พ อากาศ เพื่ อ เป็ น อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ กให้ แ ก่ ค นที่ ส นใจได้ เ ดิ น ทาง ไปท่องเที่ยวกัน หากคุ ณ เป็ น คนที่ ชื่ น ชอบการท่ อ งเที่ ย ว เชิงธรรมชาติ และศึกษาประวัติศาสตร์เครื่องบิน แบบต่าง ๆ ไม่ควรพลาดอีกหนึง่ สถานทีท่ อี่ ยากแนะน�ำ “โรงเรียนการบิน ก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม” อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ มีจุดเด่นที่น่าสนใจยังไง มาติดตามอ่านกัน
60
โรงเรียนการบินเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทหาร แห่งหนึง่ ของกองทัพอากาศ มีทตี่ งั้ อยู่ ณ ต�ำบลกระตีบ อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวดนครปฐม จัดตั้งเป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วทางทหาร แห่งที่ ๔ ของกองทัพอากาศ ตัง้ แต่ ปี พ.ศ.๒๕๔๕ ด้วยความพร้อมของพืน้ ที่ สภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติที่สมบูรณ์ สวยงาม ร่มรื่น รวมทั้ง มีกจิ กรรมนันทนาการทีห่ ลากหลาย สถานทีเ่ สริมสร้าง สุขภาพ สิง่ อานวยความสะดวกและอาคารทีพ่ กั รับรอง ใช้เวลาเดินทางจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ ๒ ชัว่ โมง จึงเป็นแหล่งท่องเทีย่ วในเขตทหารทีไ่ ด้รบั ความสนใจ จุดเด่นที่น่าสนใจไม่แพ้กับสถานที่ท่องเที่ยว อื่น ๆ คือ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและ เพื่อนันทนาการ เริ่มตั้งแต่บริเวณเส้นทางเข้าสู่แหล่ง ท่องเที่ยวภายใน มีนกป่านานาพันธุ์ที่หายาก รวมถึง นกเงือกซึ่งเป็นสัญลักษณ์การแสดงถึงระบบนิเวศน์ ที่สมบูรณ์ สวนสัตว์ขนาดเล็ก สาหรับผู้ที่ชื่นชอบ ความเป็นธรรมชาติสามารถใช้เส้นทางปั่นจักรยาน เพื่อชมทิวทัศน์ที่งดงาม ร่มรื่น รวมทั้งผู้ที่มาเยือน จะได้รบั ความอิม่ เอิบใจจากการเยีย่ มชมวิหารพระพุทธ ศรี นภาภิธ รรม ซึ่งเป็นสถานที่ประกอบพิธีส� ำคัญ ของโรงเรี ย นการบิ น และศาลเจ้ า พ่ อ เสื อ ซึ่ ง เป็ น สิ่งศักดิ์สิทธ์ที่ชาวก�ำแพงแสน เคารพบูชา ในแหล่งท่องเที่ยวมีบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ พร้อมสัตว์ป่าและสัตว์น�้ำนานาพันธุ์ที่จะสร้างความ
รู ้ สึ ก เพลิ ด เพลิ น และดื่ ม ด�่ ำ ไปกั บ ธรรมชาติ แ ก่ ผู ้ ที่ มาเยีย่ มเยือน ได้แก่เส้นทางปัน่ จักรยาน “ปัน่ เลาะรัว้ ทัวร์รอบฐานบิน” สวนน�้ำจิตตระการ สวนสัตว์ พร้อมแหล่งกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่หลากหลาย ได้แก่ สนามกอล์ฟทองใหญ่ สนามแบดมินตัน สนาม ฟุตซอล ห้องฟิตเนส และสระว่ายน�้ำโรจนนิยม นอกจากนี้ยังมีแหล่งเรียนรู้ที่จะสร้างความรู้ พื้นฐานด้านการบินและสร้างความประทับใจให้แก่ เยาวชน ได้แก่ สนามเครือ่ งบินบังคับวิทยุ ลานพิพธิ ภัณฑ์ การบินและหอกระโดดสูง การเดินทาง ท่ารถตู้โดยสาร โรงเรียนการบิน – หมอชิต ๒ : ค่าโดยสาร ๑๒๐ บาท สาย ๙๖๖ หมอชิต ๒ – บางใหญ่ – นพวงศ์ – บางเลน – ก�ำแพงแสน – ม.เกษตร –ท่ารถตู้โรงเรียน การบิน ท่ารถการบิน : ๐๘๖ – ๐๘๕ ๓๙๗๖ ท่ารถหมอชิต ๒ : ๐๘๗ – ๐๙๔ ๒๑๗๕ มอเตอร์ไซด์รับจ้าง : ปากทาง โรงเรียนการบิน ค่าบริการ ๕๐ บาท ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ เ ดิ น ทางมาโดยรถยนต์ ส ่ ว นตั ว มี ส ถานที่ จ อดรถ เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกให้ ผู ้ ม าเยี่ ย มชมได้ จ�ำ นวนประมาณ ๕๐ คั น
ข่าวทหารอากาศ
จุดสักการะ และเยีย่ มชมสันทนาการ และการ บริการที่พัก ๑. วิ ห ารพระพุ ท ธศรี น ภาภิ ธ รรม หลั ง จาก โรงเรียนการบินย้ายมาจากจังหวัดนครราชสีมา ก็ได้ สร้างวิหารขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๒ สมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี (สมเด็จย่า) ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ พระราชทานพระพุทธรูปให้เป็นพระพุทธรูป ประจ� ำ โรงเรี ย นการบิ น ใช้ เ ป็ น สถานที่ ป ระกอบ พิธีกรรมทางศาสนารวมถึงพิธีการส�ำคัญต่าง ๆ ของ โรงเรียนการบิน ๒. ศาลเจ้าพ่อเสือ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีประวัติ ความเป็นมาอันยาวนาน เกีย่ วกับอดีตแม่ทพั ของไทย ที่มีวิชาอาคมแปลงร่างเป็นเสือสมิงได้ ซึ่งได้ต่อสู้กับ พม่าจนเสียชีวิต บรรดาลูกศิษย์และผู้ที่เคารพศรัทธา ได้ตงั้ ศาลขึน้ เพือ่ สักการะ โดยก�ำหนดท�ำบุญประจ�ำปี มีพิธีไหว้ครูในวันขึ้น ๙ ค�่ำ เดือน ๖ และพิธีท�ำบุญ ตักบาตร ในวันขึ้น ๑๐ ค�่ำ เดือน ๖ ของทุกปี
61
62
จุดท่องเที่ยวหลัก - เส้นทางปั่นจักรยาน “ปั่นเลาะรั้ว ทัวร์รอบ ฐานบิ น ” ที่ จ ะท� ำ ให้ ผู ้ ป ั ่ น จั ก รยานได้ เ พลิ ด เพลิ น และดื่มด�่ำกับบรรยากาศธรรมชาติพร้อมไปกับการ เสริมสร้างสุขภาพ โดยเส้นทางดังกล่าวมีระยะทาง ประมาณ ๒๐ กิโลเมตร ผ่านป่าอันสมบูรณ์และ บรรยากาศร่มรื่น - สวนน�้ำจิตตระการ เป็นแหล่งน�้ำที่เกิดขึ้น ตามธรรมชาติ อุ ด มด้ ว ยพั น ธุ ์ ป ลานานาชนิ ด เหมาะส�ำหรับผู้ที่ชื่นชอบธรรมชาติบรรยากาศริมน�้ำ - สวนสัตว์ที่จัดสร้างขึ้นโดยรวบรวมสัตว์ที่พบ ในป่าของโรงเรียนการบิน ประกอบไปด้วยกวาง นกยูง และไก่ป่า แหล่งเรียนรู้ส�ำหรับประชาชนและเยาวชน ที่สนใจ - สนามเครื่องบินบังคับวิทยุ เป็นสนามฝึกบิน เครื่องบินเล็กขนาดยาว ๑๕๗ เมตร กว้าง ๑๐ เมตร เป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน ผู้ที่สนใจในด้านการบิน และชื่นชอบเครื่องบินเล็ก ซึ่งมีบุคลากรของชมรม เครือ่ งบินเล็กให้คำ� แนะน�ำหลักวิชาการด้านการบังคับ เครื่องบินเล็ก วันเวลาเปิด-ปิด : วันเวลาราชการ ๐๘๐๐ – ๑๔๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๑๕๕ ๗๒๒๖-๗ - ลานพิพิธภัณฑ์การบินจัดสร้างขึ้นเพื่อเป็น แหล่งเรียนรู้ด้านการบินและประวัติศาสตร์การบิน ของไทย โดยการน�ำเครื่องบินที่กองทัพอากาศเคย ใช้งานจากทั่วประเทศมาตั้งแสดง เวลาเปิด-ปิด : วันเวลาราชการ เวลา ๐๘๐๐ – ๑๖๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๑๕๕ ๗๒๒๖-๗ - แผนกฝึกการยังชีพโรงเรียนการบิน มีกระโดด หอสูง ๓๔ ฟุต และฐานทดสอบก�ำลังใจ ส�ำหรับ คณะนักเรียน นักท่องเทีย่ ว ทีจ่ ะเข้ามาเข้าค่ายเพือ่ ฝึก อบรมวิชาทางทหาร มีครูฝึกการยังชีพทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ เปิด–ปิด : วันเวลาราชการ โทรศัพท์ : ๐๒ ๑๕๕ ๗๑๒๐– ๓
ข่าวทหารอากาศ
ที่พักรับรอง ๑. บ้านพักรับรองบริเวณสนามกอล์ฟทองใหญ่ มีห้องพักรับรอง จ�ำนวน ๕ ห้อง (ห้องแอร์) พร้อมสิ่ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น ในบรรยากาศติ ด สนามกอล์ฟและสวนน�ำ้ จิตตระการ เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๗๐๐ – ๑๖๐๐ โทรศัพท์ : ๐๓๔ - ๙๙๖๔๘๔ - ๕ ต่อ ๓-๘๙๑๐, ๓-๘๙๕๐ ,๐๓๔ – ๙๙๖๔๔๓ ๒. บ้านพักรับรอง ๔ เป็นห้องพักเรือนแถว ๓ แถว แถวละ ๑๐ ห้อง พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ครบครัน (ห้องแอร์) เป็นที่พักรองรับผู้มาท่องเที่ยว เปิดให้บริการทุกวัน โทรศัพท์ : ๐ ๒๑๕๕ ๗๔๔๘-๙ ๓. อาคารอเนกประสงค์แสนเมือง สร้างขึ้น เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการให้ บ ริ ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ด้านการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวและประสาน ข้อมูลการท่องเที่ยวของกองทัพอากาศ โรงเรียน การบิน และหน่วยงานภายนอก รองรับการจัดประชุม สัมมนา จัดเลีย้ งในโอกาสต่าง ๆ พร้อมห้องพัก จ�ำนวน ๑๓ ห้อง (ห้องแอร์) และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ครบครัน เปิดบริการทุกวัน ตลอด ๒๔ ชั่วโมง โทรศัพท์ : ๐๒-๑๕๕๘๙๖๑, ๐๒ -๑๕๕๒๒๖-๗ ๔. สิ่งอ�ำนวยความสะดวก - ร้ า นค้ า สวั ส ดิ ก ารโรงเรี ย นการบิ น เปิดบริการ วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา ๐๙๐๐ – ๑๗๐๐ วันเสาร์ เวลา ๑๒๐๐ – ๑๖๐๐ วันหยุดนักขัตฤกษ์ ปิดให้บริการ - ตลาดลีลาลัย เปิดบริก ารทุก วั น - ตลาดรวม เปิดบริก ารทุก วัน
63
- ร้ า นอาหารสนามกอล์ ฟ ทองใหญ่ โรงเรียนการบิน เปิดบริการทุกวัน ๕. การติดต่อจอง สอบถามหรือศึกษาข้อมูล รายละเอียด - เบอร์โทรศัพท์ : ๐ ๒๑๕๕ ๗๒๒๖-๗ - เว็บไซต์ของหน่วย www.fts.mi.th ๖. สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง (พร้อมแผนผัง และระยะทาง) - พระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ในต�ำบล พระปฐมเจดีย์ อ�ำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากพระปฐมเจดีย์ประมาณ ๒ กิโลเมตร - องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นเจดีย์ที่ใหญ่และ สูงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทยตั้งอยู่ในวัดพระปฐม เจดีย์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ต�ำบลพระปฐมเจดีย์ อ�ำเภอ เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม - วัดทับกระดาน (หุ่นปั้นพุ่มพวง ดวงจันทร์ ราชินเี พลงลูกทุง่ ) อ�ำเภอสองพีน่ อ้ ง จังหวัดสุพรรณบุร ี - วัดไผ่โรงวัว หรือวัดโพธาราม เป็นวัดที่มี ชื่อเสียงของจังหวัดสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ในพื้นที่ต�ำบล บางตาเถร อ�ำเภอสองพี่น้อง - วั ด เจริ ญ ราษฎร์ บ� ำ รุ ง หรื อ ที่ ช าวบ้ า น มักเรียกว่า วัดหนองพงนก ตั้งอยู่ต�ำบลสระพัฒนา อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม - อุทยานแมลงเฉลิมพระเกียรติ เป็นโดม แมลงขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย อยูใ่ นความดูแล ของศูนย์วิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ฯ อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม - ตลาดบางหลวง ร.ศ.๑๒๒ ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำ ท่าจีน ต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เป็นตลาดเก่าแก่ตั้งมาตั้งแต่ปี ร.ศ.๑๒๒ สมัยนั้น การเดินทางใช้ทางเรือ การค้าขายที่ตลาดแห่งนี้จึง เจริญรุง่ เรือง กาลเวลาเปลีย่ นไปการเดินทางบกสะดวก ยิ่ ง ขึ้ น ท� ำ ให้ ก ารค้ า ขายไม่ เ หมื อ นเดิ ม แต่ วิ ถี ชี วิ ต ชาวตลาดบางหลวงยังคงรักษาความเรียบง่ายสงบ แบบฉบับชนบทไทยทั่ว ๆ ไป
64
บทเรียนการช่วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัย กรณีเกิดภัยพิบัติ ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย น.อ.ประภาส สอนใจดี
(ต่อจากฉบับที่แล้ว) ๑.๓ ผลการปฏิบัติงานที่ส�าคัญ เมื่อ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เวลาประมาณ ๑๕.๐๐ น. สน.ผชท.ทหารไทย ฯ ได้รับการประสาน มาจากญาติของนักท่องเทีย่ วว่ามีนกั ท่องเทีย่ วชาวไทย ติดค้างอยูบ่ นภูเขาไฟรินจานี รวมทัง้ สือ่ สังคมออนไลน์ แพร่ภาพเหตุการณ์แผ่นดินไหวและมีนกั ท่องเทีย่ วชาวไทย บางคนได้ร้องขอความช่วยเหลือเร่งด่วน ท�าให้เกิด ความสับสนและวิตกกังวลของญาติพี่น้องในเมืองไทย
เป็นอย่างมาก สน.ผชท.ทหารไทย ฯจึงได้ประสานงาน อย่างใกล้ชิดกับกองทัพอินโดนีเซีย ซึ่งมีความสัมพันธ์ อันดีต่อกันท�าให้สามารถประสานงานทางโทรศัพท์ แบบไม่เป็นทางการได้ในทันที เพือ่ ขอทราบการประเมิน สถานการณ์ ล ่ า สุ ด รวมทั้ ง แนวทางการช่ ว ยเหลื อ ของทางอินโดนีเซีย และท�าให้ทราบว่ากองทัพภาคที่ ๙ ประจ�าพื้นที่ Udayana ซึ่งรับผิดชอบพื้นที่เกาะบาหลี และเกาะลอมบอก ได้สนับสนุนชุดค้นหาและกู้ภัย จ�านวน ๑๐ ชุด และ เฮลิคอปเตอร์ส�าหรับส่งอาหาร
ข่าวทหารอากาศ
และของใช้จำ� เป็นเข้ำไปในพืน้ ทีแ่ ล้ว นอกจำกนีห้ น่วยรบ พิ เ ศษกองทั พ บกอิ น โดนี เ ซี ย ก็ ไ ด้ จั ด ก� ำ ลั ง พล จ� ำ นวน ๑๔๒ นำย คำดว่ ำ จะเข้ ำ พื้ น ที่ ป ระสบภั ย เพื่ อ ให้ ก ำรช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย ภำยในวั น ที่ ๓๐ กรกฎำคม ๒๕๖๑ สน.ผชท.ทหำรไทยฯ ได้พยำยำมติดต่อกลับไปทำง ผู้ประสบภัย เพื่อขอพูดคุยกับผู้ที่อยู่ในพื้นที่โดยตรง และต่ อ มำได้ รั บ หมำยเลขโทรศั พ ท์ ข องมั ค คุ เ ทศก์ น�ำเทีย่ วชำวอินโดนีเซีย ซึง่ สำมำรถติดต่อกันด้วยโทรศัพท์ ไปพูดคุยถึงสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นและมีโอกำสได้พูดคุย กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชำวไทยที่ อ ยู ่ บ ริ เ วณใกล้ ที่ เ กิ ด เหตุ มำกที่ สุ ด เป็ น ครั้ ง แรกในเวลำ ๑๕.๔๐ น. ทั้ ง นี้ ได้ ข ้ อ มู ล ขั้ น ต้ น ว่ ำ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วชำวไทยติ ด อยู ่ ประมำณ ๓๐๐ คน ซึ่งไม่สำมำรถเดินทำงออกมำได้ เนือ่ งจำกเส้นทำงเดินเขำเสียหำยจำกเหตุกำรณ์แผ่นดิน ไหว อย่ำงไรก็ตำม นักท่องเทีย่ วชำวไทยส่วนใหญ่มขี วัญ และก� ำ ลั ง ใจดี ไม่ ไ ด้ รั บ บำดเจ็ บ และเสี ย ชี วิ ต ยังพอมีอำหำร และน�้ำดื่มเพียงพอ ขณะที่โทรศัพท์ มื อ ถื อ และสั ญ ญำณอิ น เตอร์ เ น็ ต ยั ง คงใช้ ง ำนได้ แต่สัญญำณโทรศัพท์บำงพื้นที่ไม่ดีนัก เมื่ อ ช่ ว งเช้ ำ ของวั น ที่ ๓๐ กรกฎำคม ๒๕๖๑ นำยทรงพล สุ ข จั น ทร์ เอกอั ค รรำชทู ต ประจ� ำ
การประชุมหารือแนวทางการช่วยเหลือ นักท่องเที่ยวชาวไทย ณ เกาะลอมบอก อินโดนีเซีย
การปฏิบัติ ณ ศูนย์ช่วยเหลือนักท่องเที่ยวชาวไทย ณ Sembalun Lawang เมื่อ ๓๐ ก.ค.๖๑
65
กรุงจำกำร์ตำ นำวำอำกำศเอก ประภำส สอนใจดี ผูช้ ว่ ยทูต ทหำรอำกำศ/จำกำร์ตำ พันเอก ปกรณ์ สุทธิลักษณ์ ผูช้ ว่ ยทูตทหำรบก/จำกำร์ตำ นำยพีระพนธ์ ประยูรวงษ์ กงสุลกิตติมศักดิ์ ณ เมืองเดนปำซำร์ และ นำยสุรชัย สุขหุต ผูบ้ ริหำรในเครือบริษทั พลังงำนแห่งชำติ (ปตท.) อินโดนีเซีย พร้อมกับ เจ้ำหน้ำที่สถำนเอกอัครรำชทูต ณ กรุงจำกำร์ตำ ได้ออกเดินทำงจำกกรุงจำกำร์ตำไปยัง เกำะลอมบอก เพือ่ พบหำรือกับเจ้ำหน้ำทีข่ องส�ำนักงำน ท่อ งเที่ยวเกำะลอมบอกหัว หน้ำชุด ค้น หำและกู ้ ภั ย และผู้เกี่ยวข้อง ณ Sembalun Lawang ซึ่งอยู่บริเวณ แหล่งชุมชนด้ำนล่ำงของอุทยำนแห่งชำติกูนุง รินจำนี (Gunung Rinjani) เพื่อหำรือแนวทำงกำรช่วยเหลือ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชำวไทยที่ ติ ด ค้ ำ งอยู ่ บ นภู เ ขำโดยกำร ประสำนงำนในพื้นที่ดังกล่ำวได้รับกำรอ�ำนวยควำม สะดวกอย่ำงเต็มที่ จำกเจ้ำหน้ำทีข่ องบริษทั ในเครือซีพี อินโดนีเซีย ภำยหลั ง กำรประชุ ม หำรื อ สำมำรถก� ำ หนด แผนกำรปฏิ บั ติ โ ดยจ� ำ เป็ น ต้ อ งให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว เดิ น เท้ ำ ลงมำจนถึ ง ศู น ย์ อ� ำ นวยกำรช่ ว ยเหลื อ นั ก ท่องเที่ยวชำวไทย ซึ่งตั้งอยู่ที่ Sembalun Lawang จำกนั้ น ให้ เ ดิ น ทำงออกจำกพื้ น ที่ ด ้ ว ยรถยนต์ หรือรถโดยสำร เข้ำพัก ณ โรงแรม Lombok Raya โดยระหว่ำงเดินเท้ำลงมำจำกอุทยำนแห่งชำติกูนุง รินจำนี จะมีทหำรและชุดกู้ภัยอินโดนีเซียให้ควำม ช่ ว ยเหลื อ และรั ก ษำควำมปลอดภั ย ตลอดเส้ น ทำง
66
แผนการช่วยเหลือนักท่องเที่ยวชาวไทยออกจากพื้นที่ อุทยานแห่งชาติกูนุง รินจานี
เอกสารรายชื่อนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ลงทะเบียนไว้ เมื่อลงมาจากภูเขาไฟรินจานี
ซึ่ง สอท.ฯ ณ กรุงจาการ์ตา ได้เตรียม การไว้ในเวลา ๑๘.๑๐ น. โดยได้มี การเตรี ย มน�้ า ดื่ ม และอาหารให้ กั บ ผู ้ ป ระสบภั ย ด้ ว ย หลั ง จากนั้ น นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยที่ ไ ด้ รั บ การ ส่งกลับจากพืน้ ทีอ่ นั ตรายเรียบร้อยแล้ว ได้เดินทางเข้าที่พักในส่วนที่ สอท.ฯ ได้ เ ตรี ย มการไว้ ใ ห้ ภ ายในเมื อ ง Mataram ซึ่ ง เป็ น เขตชุ ม ชนเมื อ ง ของเกาะลอมบอกนับว่าการช่วยเหลือ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยครั้ ง นี้ เ ป็ น การปฏิ บั ติ ง านของที ม ไทยแลนด์ ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ภายในวั น ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ โดยได้ รั บ ความ ช่วยเหลือและสนับสนุนเป็นอย่างดี จากเจ้าหน้าทีท่ กุ ภาคส่วนของอินโดนีเซีย สรุ ป ผลปฏิ บั ติ ก ารเคลื่ อ นย้ า ย นักท่องเที่ยวชาวไทยเริ่มตั้งแต่เวลา ๐๖.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. ของวั น ที่ ๓๐ กรกฎาคม.พ.ศ.๒๕๖๑ สามารถ เคลื่ อ นย้ า ยนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทย อ อ ก จ า ก พื้ น ที่ เ สี่ ย ง ภั ย ใ ก ล ้ กั บ ทะเลสาบ Danau Segara Anak, พื้ น ที่ Sembalun Lawang และ พืน้ ที่ Senaru Village ได้ทงั้ สิน้ ๒๑๖ คน
นอกจากนี้ ได้มกี ารก�าหนดจุดพักและจุด Checkpoint รวมทัง้ จุดส่งอาหารและสิง่ อุปกรณ์ ตลอดจนจุดให้การ รักษาพยาบาล และตรวจสอบอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ ด้วย ห้วงเวลาต่อมาได้รับแจ้งว่าพบกับนักท่องเที่ยว ชาวไทยชุ ด แรกที่ เ ดิ น ลงมาถึ ง พื้ น ราบด้ ว ยความ ปลอดภัยจ�านวน ๒๙ คน โดย สน.ผชท.ทหารไทยฯ ได้เฝ้าติดตามตรวจสอบจนถึงคนไทยคนสุดท้ายที่อยู่ ระหว่างเดินทางลงมาจากยอดเขา ซึง่ ได้ตรวจสอบ และ ได้ รั บ การยื น ยั น จากที ม ค้ น หาและช่ ว ยชี วิ ต ของ อินโดนีเซียแล้วว่าไม่มีคนไทยตกค้างอีกแล้วนักท่อง การรอรับนักท่องเที่ยวชาวไทย เที่ ย วชาวไทยคนสุ ด ท้ า ยที่ เ ดิ น ทางถึ ง จุ ด ปลอดภั ย ณ บริเวณศูนย์ช่วยเหลือชาวไทย ณ Sembalun Lawang
ข่าวทหารอากาศ
การรอรับนักท่องเที่ยวชาวไทย ณ บริเวณศูนย์ชว่ ยเหลือชาวไทย ณ Sembalun Lawang
รวมทั้ ง สามารถเคลื่ อ นย้ า ยนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทย ซึ่งท่องเที่ยวอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติกูนุง รินจานี ที่ระดับความสูงไม่มากนัก และในพื้นที่อื่น ๆ ของเกาะ ลอมบอก ออกมาได้ก่อนหน้านี้อีกประมาณ ๒๓ - ๒๕ คนด้วย หลังจากนั้นได้ด�าเนินการเคลื่อนย้ายนักท่องเที่ยว ชาวไทยออกจากพื้นที่ Sembalun Lawang เข้าพักที่ โรงแรม Lombok Raya ซึ่ง สอท.ฯ ณ กรุงจาการ์ตา และสถานกงสุลไทย ณ เมืองเดนปาซาร์จัดเตรียมไว้ โดยนักท่องเที่ยวที่ท่องเที่ยวด้วยตนเอง ไม่มีบริษัท
67
น�าเที่ยวพามา หรือนักท่องเที่ยวที่ไม่มีที่พัก ซึ่งนักท่อง เที่ ย วชาวไทยกลุ ่ ม นี้ มี จ� า นวน ๑๑๙ คน ส� า หรั บ นักท่องเทีย่ วไทยทีม่ บี ริษทั น�าเทีย่ วดูแล เมือ่ ออกมาจาก พื้ น ที่ Sembalun Lawang แล้ ว ได้ เ ข้ า พั ก ณ โรงแรมที่บริษัทน�าเที่ยวจัดเตรียมไว้ การเคลื่ อ นย้ า ยนั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยกลั บ สู ่ ประเทศไทยนั้น ใช้วิธีเดินทางโดยเครื่องบินพาณิชย์ สายการบินแอร์เอเซีย โดยส่วนใหญ่จะเดินทางกลับไทย ใน ๓๑ กรกฎาคม – ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ นอกจากนี้ มี บ างส่ ว นเดิ น ทางกลั บ ใน ๒ สิ ง หาคม ๒๕๖๑ และบางส่ ว นเดิ น ทางต่ อ ไปยั ง กรุ ง จาการ์ ต า และ ประเทศอืน่ ๆ ส่วนนักท่องเทีย่ วชาวไทยทีย่ งั หาเทีย่ วบิน กลั บ ไทยยั ง ไม่ ไ ด้ สอท.ฯ จะอ� า นวยความสะดวก และช่วยประสานงานหาเที่ยวบินที่เหมาะสมให้ต่อไป ๑.๔ บทเรียนที่ได้รับ สื่ อ หลั ก ของอิ น โดนี เ ซี ย น� า เสนอข่ า วนั ก ท่ อ งเที่ ย วติ ด อยู ่ ใ นอุ ท ยานแห่ ง ชาติ กู นุ ง ริ น จานี (Gunung Rinjani) และการด�าเนินการค้นหาและกู้ภัย ของทางการอินโดนีเซียอย่างต่อเนือ่ ง โดยการปฏิบตั กิ าร ได้รับความสนใจจากประชาชนชาวอินโดนีเซียอย่าง มาก และประชาชนชาวอินโดนีเซียต่างแสดงความ ห่วงใยและต้องการให้นักท่องเที่ยวทุกคนปลอดภัย ด้านรัฐบาลอินโดนีเซีย ได้เร่งให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับ ผลกระทบจากเหตุแผ่นดินไหวและดินถล่มในเกาะลอมบอก และเขตอุ ท ยานแห่ ง ชาติ กู นุ ง ริ น จานี อย่ า งเร่ ง ด่ ว น ทั้ ง นี้ อินโดนีเซียตัง้ อยูใ่ นเขต Ring of Fire มีความเสีย่ งจากภัยธรรมชาติทงั้ จาก แผ่ น ดิ น ไหวและภู เ ขาไฟระเบิ ด ซึ่งนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ต้องการ เดินทางมาท่องเที่ยวต้องเตรียมตัว ให้พร้อมส�าหรับเหตุฉุกเฉิน และใน ระหว่างที่อยู่ในอินโดนีเซีย ควรมี การติดตามข่าวสารและด�ารงการ ติดต่อสือ่ สารกับ สอท.ฯ และ กสม.ฯ ได้อย่างต่อเนื่อง
68
ความส�าเร็จของภารกิจการช่วยเหลือนักท่องเทีย่ ว ชาวไทย ซึ่งประสบภัยแผ่นดินไหวและดินถล่มในเขต อุทยานแห่งชาติ กูนุง รินจานี (Gunung Rinjani) ในครั้งนี้ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการเสริมสร้างความ สัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาล อิ น โดนี เ ซี ย และระหว่ า งกองทั พ ไทยกั บ กองทั พ อินโดนีเซีย ตั้งแต่ในยามปกติ มีช่องทางสื่อสารกับ บุคคลส�าคัญในภาวะเร่งด่วน แบบไม่เป็นทางการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ท�าให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วย ความราบรื่นและรวดเร็ว นักท่องเทีย่ วชาวไทยมีสติสมั ปชัญญะดีมากในการ พยายามติดต่อสือ่ สารจากในพืน้ ทีป่ ระสบภัยกลับไปยัง ประเทศไทยแล้วหาช่องทางติดต่อสื่อสารกลับมาที่ สอท.ฯ และ สน.ผชท.ทหารไทยฯ ท�าให้ได้รับการช่วย เหลืออย่างรวดเร็ว เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเป็นสถานที่ท่อง เที่ยวในพื้นที่ห่างไกล ดังนั้นเมื่อเกิดเหตุการณ์แผ่นดิน ไหวแล้วประชาชนในพื้นที่อาจไม่มีความรู้หรือไม่มีการ เตรียมการในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ดังนั้น การใช้ ช่องทางสื่อสารจากสื่อสังคมออนไลน์ในทางที่ถูกต้อง จะสามารถกระจายข่าวสารให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรับ ทราบสถานการณ์ได้เร็วขึ้น ท�าให้สามารถวางแผนการ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ทันท่วงที
นักท่องเที่ยวชาวไทยเคร่งครัดในการปฏิบัติตาม ค�าแนะน�าของไกด์ท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ค้นหาและกู้ภัย อินโดนีเซียซึ่งมีความเชี่ยวชาญและช�านาญในพื้นที่ ประสบภัย จึงไม่ตกอยูใ่ นภาวะตกใจหรือกังวลมากเกินควร ท� า ให้ ส ามารถด� า เนิ น การประสานงานการส่ ง กลั บ จากพื้นที่ประสบภัยแผ่นดินไหวท�าได้อย่างรวดเร็ว และทุกคนปลอดภัย ๒. การเป็นผูป้ ระสบภัยแผ่นดินไหว ณ เมืองมาตาราม เกาะลอมบอก อินโดนีเซีย เนื่องจาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กรุ ณ าอนุ มั ติ ใ ห้ ก ระผม นาวาอากาศเอก ประภาส สอนใจดี ผู้ช่วยทหารอากาศ/จาการ์ตา เป็นผู้แทน เข้าร่วมการประชุมด้านการต่อต้านการก่อการร้าย ระดับภูมภิ าค (Sub-Regional Meeting on CounterTerrorism : SRM on CT) ระหว่างวันที่ ๕ – ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ โรงแรมโกลเด้ น พาเลซ เกาะลอมบอก จังหวัดนูซาเต็งการาตะวันตก อินโดนีเซีย โดยมีผู้แทน ประเทศทีเ่ ข้าร่วม จ�านวน ๙ ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ เมียนมาร์ และไทย ผู้เขียน จึงได้เดินทางโดยสายการบิน Batik Air ไปยั ง เกาะลอมบอก เมื่ อ วั น ที่ ๕ สิ ง หาคม ๒๕๖๑ โดยเดินทางถึงโรงแรมโกลเด้นพาเลส ทีพ่ กั และสถานที่
บริเวณเกิดแผ่นดินไหว ณ เกาะลอมบอกประเทศอินโดนีเซีย
ข่าวทหารอากาศ
จัดประชุมในเวลา ๑๔.๐๐ น. (เวลาท้องถิ่นซึ่งเร็วกว่า เวลาประเทศไทย ๑ ชม. ขณะนั้นตรงกับเวลาไทย ๑๓.๐๐ น.) และเข้าห้องพักรอเข้าร่วมงานเลีย้ งต้อนรับ อย่างเป็นทางการโดยกระผมฯ ได้เดินส�ารวจพื้นที่ บริเวณโรงแรมที่พัก ส�ารวจพื้นที่ห้องจัดเลี้ยงรับรองใน ชั้น ๑๒ และเส้นทางหนีไฟของโรงแรมอย่างละเอียด รวมทั้งพื้นที่ปลอดภัยตามแผนเผชิญเหตุของโรงแรม อันเป็นการเตรียมพร้อมทุกครั้งที่จะต้องเดินทางไป ในพื้นที่ท่ีเราไม่คุ้นเคย เพื่อให้มีความพร้อมหากเกิด เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดขึ้นได้ ๒.๑ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๑ เวลา ๑๙.๐๐ น. มีการจัดงานเลี้ยงต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม ณ ชั้น ๑๒ ของโรงแรม โดยมีผแู้ ทนจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมงาน เลี้ยงรับรองโดยมี พล.อ.วิรันโต ฯ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงประสานกิจการการเมือง กฎหมายและความ มั่นคง อินโดนีเซีย เป็นประธาน ซึ่งท่านนั่งอยู่ติดกับ กระผมฯ ห้วงระหว่างการสนทนาได้มีการซักถามว่า เหตุ ใ ดประเทศไทยจึ ง ไม่ ส ่ ง ผู ้ แ ทน รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงกลาโหม มาเข้าร่วมประชุม จึงได้ตอบไปว่า “เนื่องจาก กระทรวงกลาโหมไม่ใช่หน่วยงานหลัก ด้านการต่อต้านการก่อการร้ายของประเทศไทย และ กระทรวงกลาโหมไม่ ส ามารถด� า เนิ น การเสนอร่ า ง Joint Statement เข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ได้ทัน เวลา เนื่องจากไม่ใช่หน่วยงานรับผิดชอบหลักและมี ความเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน รวมทั้ง ครม.จะจัด ประชุมในวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ กระผมฯ ในฐานะ ผูส้ งั เกตการณ์การประชุมฯ จึงไม่สามารถให้การรับรอง ร่ า ง Joint Statement ได้ และจะได้ แจ้งผลการ ประชุมฯ และความต้องการจากที่ประชุมฯ ในครั้งนี้ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของประเทศไทยได้รับทราบ ต่อไป" (ติดตามอ่านต่อฉบับหน้า)
69
70
ASEAN Community (+3)* Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน (+3)* @Zilch
National Costume of China ชุดประจ�ำชำติของประเทศจีน
Cheongsam and Changshan
Cheongsham is the most popular traditional costume in China.lt is a body - hugging onepiece Chinese dress for women. li is also known as Qipao in Mandarin Chinese and a mandarin gown in English.As a traditional Chinese dress, Changshan is male's clothing equivalent to the women's Cheongsam. lt is also known as a Changpao. Changshanis traditionally worn in photo sessions, weddings, and other formal historically Chinese events.
ฉ่งซัม และ ฉางซัน
ฉ่ ง ซั ม เป็ น เครื่ อ งแต่ ง กายแบบดั้ ง เดิ ม ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มมากที่ สุ ด ในประเทศจี น ฉ่งซัมเป็นชุดจีนรัดรูปชิ้นเดียวส�าหรับผู้หญิง ในภาษาจี น กลางเป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ในชื่ อ กี่ เ พ้ า หรือ Mandarin gown (ชุดจีน) ในภาษาอังกฤษ ส่วนฉางซันเป็นชุดจีนแบบดั้งเดิมของผู้ชาย ทีเ่ ทียบเท่ากับฉ่งซัมของผูห้ ญิง และเป็นทีร่ จู้ กั กัน ในชื่อว่า ฉางเผา แต่เดิมนั้น ฉางซัน เป็นชุด ที่สวมใส่ในการถ่ายภาพงานแต่งงาน และงาน ที่ เ ป็ น ทางการเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ อื่ น ๆ ของจีน
ข้อมูลและรูปจาก https://asiaexplorers.weebly.com/costumes.html ข้อมูลเพิ่มเติมจาก http://thai.cri.cn/1/2007/01/17/21@89756_1.htm *ASEAN +3 คือ กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกสมาคมประชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) กับประเทศอื่นนอกกลุ่มอาเซียนอีก ๓ ได้แก่ ประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเกาหลี (http://www.เกร็ดความรู้.net/อาเซียน3/)
ข่าวทหารอากาศ
71
5G Cellular Technology : Air Force Strategy and Technology Disrupt Change
น.อ.หญิง วชิราภรณ์ เชาวน์ศิริ วทอ.
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด ในทศวรรษนี้ได้มาถึงจุดเปลี่ยนที่ยิ่งใหญ่ส่งผลกระทบ ต่อโลก ทุกองค์กร ตลอดจนรูปแบบการด�าเนินชีวติ ของเรา จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิงซึ่งเรียกกันว่าเทคโนโลยี เปลี่ยนโลก (Disruptive Technology) เป็นเทคโนโลยี ที่มีความไม่หยุดนิ่ง และมีความก้าวหน้าตลอดเวลา วิ ท ยาลั ย การทั พ อากาศได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทีท่ า� ให้โลกเปลีย่ นไปอย่างฉับพลัน ในขณะนี้ จึ ง ได้ จั ด งานเสวนาวิ ช าการ ในเรื่ อ ง 5G Cellular Technology : Air Force Strategy and Technology Disrupt Change โดยมีหวั ข้อทีเ่ ป็น ประเด็นน่าสนใจดังนี้ • วิวัฒนาการของ 5G • คุณลักษณะเด่นของ 5G • การเตรี ย มความพร้ อ มของกองทั พ อากาศ เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงจากผลกระทบของ เทคโนโลยี 5G
วิวัฒนาการของ 5G 5G คื อ มาตรฐานใหม่ ข องการเชื่ อ มต่ อ ไร้ ส าย ที่จะมาแทนที่ระบบ 4G ที่ก�าลังใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ตอนนี้อยู่ในระหว่างการพัฒนาและก�าหนดมาตรฐาน ซึ่งคาดว่าน่าจะออกมาให้เราใช้กันในเร็ว ๆ นี้ (องค์กร ที่ เ ป็ น ผู ้ ก� า หนดมาตรฐานคื อ International Telecommunications Union หรือ ITU) ค�าว่า G ใน 5G ก็คือ "Generation” หรือยุค ของเทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สาย เริ่มแรก คือ 1G เป็นยุคที่เราเพิ่งเริ่มใช้โทรศัพท์ มือถือระบบอนาล็อก ในตอนนัน้ ข้อดีของมันคือพกพาได้ แต่ก็ใช้ได้แค่การพูดคุย ถัดมา 2G ถือเป็นยุคแรกของ การเชื่อมต่อไร้สายแบบดิจิทัล เป็นยุคที่เราได้ยินค�าว่า Code division multipe access (CDMA), Global System for Mobile Communications (GSM), Time Division Multiple Access (TDMA) ซึง่ นอกจาก การโทรคุยกันแล้ว ยุคนั้นเรายังสามารถส่งข้อความ
72
MMS ถึงกันได้สว่ นยุคทีส่ ามหรือ 3G ถือเป็นจุดเปลีย่ น ส�าคัญของวงการนี้ เพราะเป็นช่วงที่เราสามารถเล่น อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือได้อย่างสมบูรณ์แบบ เนื่องจาก ความเร็วสูงขึน้ (อยูร่ ะหว่าง 220 kbps ถึง 42.2 Mbps) จนมาถึงปัจจุบนั ซึง่ เป็นยุค 4G ความเร็วได้เพิม่ ขึน้ หลาย ระดับ เช่น 4G LTE (100 Mbps), 4G LTE Cat.4 (150 Mbps), 4G LTE Advanced (1,000 Mbps)
Virtual Reality หรือ VR ก็คือ เป็นการจ�าลอง สภาพแวดล้อมจริงเข้าไปให้เสมือนจริง โดยพยายาม ท�าให้เหมือนจริงโดยผ่านการรับรู้ของเราไม่ว่าจะเป็น การมองเห็น เสียง การสัมผัส หรือแม้กระทั่งกลิ่น และ ท� า ให้ เ ราสามารถตอบสนองกั บ สิ่ ง ที่ จ� า ลองนั้ น ได้ ตัวอย่างของการใช้งาน VR ก็คือ 5G ท�าให้การเชือ่ มต่อของอุปกรณ์ไม่วา่ จะเป็น VR
ซึ่งท�าให้เราสามารถดูหนังออนไลน์ได้อย่างไม่มีสะดุด ใช้เวลาโหลดแอพพลิเคชั่นเพียงไม่กี่วินาที สตรีมมิ่ง เพลงได้อย่างลื่นไหล อย่างไรก็ตาม เราก�าลังจะก้าวเข้าสู่ยุคที่ ๕ หรือ 5G ซึ่งว่ากันว่า จะกลายเป็นจุดเปลี่ยนส�าคัญอีกครั้ง คุณลักษณะเด่นของ 5G ๑. Speed ความเร็ ว ในการส่ ง ข้ อ มู ล สู ง (5G เร็วเริ่มที่ 10 Gbps 4G เร็ว 1 Gbps) 5G เร็วกว่า 4G อย่างน้อย ๑๐ เท่า การท่องเว็บไซต์ดาวน์โหลดข้อมูล ฟังเพลง ดูหนังหรือสตรีมวิดีโอความละเอียดคมชัดสูง ระดับ 8K เล่นเกมออนไลน์ วิดีโอคอล ฯลฯ แต่การ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของวงการนี้คาดว่าจะเป็นเรื่อง ของโลกของ Augmented Reality และ Virtual Reality ในรูปแบบของ ๓ มิติ ทีจ่ ะมีความสมบูรณ์แบบ ยิ่ ง ขึ้ น ไม่ ว ่ า จะเอามาใช้ เ พื่ อ ความบั น เทิ ง หรื อ เพื่อการศึกษา Augmented Reality หรือ AR คือ การรวมสภาพ แวดล้อมจริง กับวัตถุเสมือนเข้าด้วยกันในเวลาเดียวกัน
โดยวัตถุเสมือนที่ว่านั้น อาจจะเป็น ภาพ วิดิโอ เสียง ข้อมูลต่าง ๆ ที่ประมวลผลมาจากคอมพิวเตอร์ มือถือ เทปเล็ต หรืออุปกรณ์สวมใส่ขนาดเล็กต่าง ๆ และท�าให้ เราสามารถตอบสนองกับสิง่ ทีจ่ า� ลองนัน้ ได้ตวั อย่างของ การใช้งาน AR ก็คือ
การจ�าลองการขับเครือ่ งบิน และการฝึกจูโ่ จมเสมือนจริง
การฝึกจ�าลองสถานการณ์ในสภาพแวดล้อมจริง
ข่าวทหารอากาศ
73
หรื อ AR ที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ เทคโนโลยี Cloud Computing ที่เก็บแอพหรือซอฟต์แวร์ ไว้บน Cloud แล้วมือถือเราก็ท�าหน้าที่ดึงข้อมูลมาได้ อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ความเร็วของระบบไร้ สายอย่าง 5G ท�าให้เราดึงข้อมูลได้ไวขึ้น ท�าให้ เราเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลา ไม่ต้องกลัวไฟล์ หาย และยังประหยัดพื้นที่ฮาร์ดดิสก์อีกด้วย ๒. Connection Density การเชื่อมต่อ อุปกรณ์ (ในพื้นที่ ๑ ตร.กม. 4G เชื่อมอุปกรณ์ได้ ๑๐๐,๐๐๐ ชิ้น แต่ 5G เชื่อมอุปกรณ์ได้ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ชิ้น) 5G ต่อเชื่อมอุปกรณ์มากกว่า 4G ถึง ๑๐ เท่า และประโยชน์จากความสามารถในการเชือ่ มต่ออุปกรณ์ จ�านวนมากนี้ จึงท�าให้เกิดอินเทอร์เน็ตประสานสรรพสิ่ง (The Internet of Thing : IoT) หมายถึง การที่สิ่งต่าง ๆ ถู ก เชื่ อ มโยงทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งเข้ า สู ่ โ ลกอิ น เทอร์ เ น็ ต ท�าให้มนุษย์สามารถสั่งการ ควบคุมใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การสั่งเปิด - ปิด อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า รถยนต์ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องใช้ส�านักงาน เครื่องมือทางการ เกษตร เครื่ อ งจั ก รในโรงงานอุ ต สาหกรรม อาคาร บ้านเรือนเครือ่ งใช้ในชีวติ ประจ�าวันต่าง ๆ ผ่านเครือข่าย อิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ บางแห่ ง เรี ย ก M2M ย่ อ มาจาก Machine to Machine จากการคาดการณ์ ในปี ค.ศ. ๒๐๒๐ สิ่ ง ต่ า ง ๆ กว่ า แสนล้ า นชิ้ น จะสามารถ เชื่อมต่อกันได้ด้วยระบบ IoT ซึ่งจะส่งผลให้เราจะเริ่ม คุน้ เคยกับเทคโนโลยีทที่ า� ให้สามารถควบคุมสิง่ ของต่าง ๆ ทั้งจากในบ้านและส�านักงานหรือจากที่ไหนก็ได้ทั้งนั้น
และจากจุดเด่นในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์จ�านวนมาก ได้ นี้ น� า ไปสู ่ ก ารเกิ ด เมื อ งอั จ ฉริ ย ะ (Smart Cities) และเกษตรอั จ ฉริ ย ะ (Smart Agriculture) เพราะ เนือ่ งจากสรรพสิง่ ต่าง ๆ สามารถแลกเปลีย่ นข้อมูลและ ท�างานได้อย่างอัตโนมัติ ๓. Latency เวลาหน่วงน้อย (4G หน่วง ๑๐ มิลลิ วินาที 5G หน่วง ๑ มิลลิวนิ าที นัน่ คือ ๑ ใน ๑,๐๐๐ วินาที) 5G ใช้เวลาหน่วงน้อยกว่า 4G ถึง ๑๐ เท่าความเร็ว ในการตอบสนอง หรือ Latency เวลาหน่วงน้อยนั้น นอกจากจะช่วยให้สามารถเล่นเกมได้ลื่นไหลมากขึ้น แล้ว ก็ยงั มีประโยชน์ในการใช้งานด้านอืน่ ๆ ด้วยเช่นกัน ไม่ ว ่ า จะเป็ น ยานยนต์ ไ ร้ ค นขั บ (Autonomous vehicles/Drones) เพราะด้วยค่า Latency ที่ต�่ากว่า ของระบบ 4G มาก (-๑ มิลลิวนิ าที) จะท�าให้รถสามารถ มีปฏิสมั พันธ์ทงั้ ระหว่างรถด้วยกันเอง โดยการเชือ่ มต่อ กับระบบ Cloud จะปรากฏขึ้นด้วยการแลกเปลี่ยน ข้อมูลอย่างเรียลไทม์ ท�าให้ระบบเซ็นเซอร์ทา� งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เราเรียกว่าการสือ่ สารแบบ Vehicle to anything (V-to-X) จนคาดการณ์ว่าในปี ค.ศ.๒๐๓๕
Autonomouscars
Remote/Robotic Surgery
74
ความชั ด เจนของยานยนต์ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยตั ว เอง ด้วยคุณสมบัติความสามารถของเทคโนโลยี 5G จะปรากฏเป็ น การทั่ ว ไป นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารผ่ า ตั ด ส� า หรั บ ประเทศไทยได้ มี ก ารจั ด ท� า ยุ ท ธศาสตร์ จากระยะไกล (Remote/Robotic Surgery) มีหนุ่ ยนต์ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) โดยได้ให้ความส�าคัญ ที่ช่วยในการผ่าตัดหรือแพทย์สามารถผ่าตัดทางไกลได้ กับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อให้ โดยการดู ค ลิ ป แล้ ว แนะน� า แพทย์ ใ นโรงพยาบาล เกิดนวัตกรรมสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมดิจทิ ลั ที่กันดารแบบ Real Time รวมทั้งการใช้ AR และ VR ให้ประเทศสามารถแข่งขันในประชาคมโลกได้ ด้วยเหตุ นั้นลื่นไหลมากขึ้นไม่สะดุดอีกด้วย นี้เทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สาย 5G นับได้ว่าจะเป็น นอกจากนี้แล้ว เทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สาย 5G เทคโนโลยีพื้นฐานในการพัฒนาประเทศต่อไป มี ค วามสามารถในการรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล ที่ เ สถี ย รมากขึ้ น ในส่วนของกองทัพอากาศ กองทัพแห่งเทคโนโลยี ถึงร้อยละ ๙๙.๙๙๙๙ รวมทั้งใช้พลังงานไฟฟ้าในการ ยุ ท ธศาสตร์ ทอ. ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) เชือ่ มต่อน้อยลงร้อยละ ๙๐ อีกด้วย ด้วยความละเอียดสูง ที่ได้ก�าหนดไว้ มุ่งเน้นแนวทางในการเสริมสร้างและ และมี ก ารสร้ า ง Bandwidth ขนาดใหญ่ ท� า ให้ พั ฒ นากองทั พ อากาศโดยมี ๑.เสริ ม สร้ า งขี ด ความ สามารถเผยแพร่ ข ้ อ มู ล ขนาดใหญ่ ไ ด้ อ ย่ า งรวดเร็ ว สามารถกองทัพอากาศในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั ิ เทคโนโลยีที่จะรวบรวมทุกเครือข่ายบนแพลตฟอร์ บั ต รประจ� ำมตั ว การทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลางโดยตรง พัฒนาขีดความ มีประสิทธิภาพมากขึ้นและความเร็วเพินัก่มบิขึน้นของท�านำยพั ให้เชืน่อตรี สามารถทางอากาศ (Air Domain) สงครามไซเบอร์ ดกิศ์ ลั ยำวุ ธ ได้ (Cyber Domain) และกิจการอวกาศ (Space Domain) ได้ว่า 5G จะเป็นเทคโนโลยีพนื้ ฐานทีช่ หลวงศั ่วยในการจั ดการ รั่ งเเศส และพั ฒ นาระบบงานอั ต โนมั ติ ต ่ ารังบๆที่ ฝให้ กิ ด ขึเมื ้ น ่ อ และ ๒.พัฒนากองทัพอากาศให้ทันสมัย โดยประยุกต์ พ.ศ.๒๔๕๕นผ่าน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุน อย่างเต็มรูปแบบ อาทิเช่น ธุรกรรมทางการเงิ ระบบออนไลน์ บล็อกเชน (Blockchain) หุ่นยนต์ การปฏิ บั ติ ง านในขณะที่ ก ระแสการเปลี่ ย นแปลง ที่ ท� า งานแทนคนในโรงงานอุ ต สาหกรรมปั ญ ญา ทางเทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สาย 5G ได้เริ่มเข้ามา ประดิษฐ์ (Artificial Intelligent : AI) แม้กระทั่ง เปลีย่ นแปลงโลกอย่างฉับพลัน ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ การช่ ว ยจั ด การกั บ Big Data ขององค์ ก รต่ า ง ๆ ควรจะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ทันต่อสภาวะแวดล้อม
ข่าวทหารอากาศ
ทางเทคโนโลยีทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป ทอ.ควรทีจ่ ะเตรียมการ รั บ มื อ กั บ การเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี ใ นครั้ ง นี้ ที่ก�าลังจะมาถึงอย่างแน่นอน การเตรี ย มความพร้ อ มของกองทั พ อากาศ เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงจากผลกระทบของ เทคโนโลยี 5G - เตรียมก�าลังพล ให้มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยี ด้วยการสรรหาหรือให้ความรู้ ส่งเสริมประสบการณ์ - เตรียมผูน้ า� เสริมสร้างการมีวสิ ยั ทัศน์และพร้อม ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงองค์กรให้ทันต่อเทคโนโลยี - เตรียมองค์กรปรับเปลีย่ นโครงสร้างองค์กรและ การบรรจุบุคลากรที่มีความสามารถทางเทคโนโลยี - เตรียมอาวุธยุทโธปกรณ์เลือกใช้เทคโนโลยีที่ ทันสมัยและเหมาะสม - เตรียมหลักนิยม ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณ์และแนวโน้มทีเ่ ปลีย่ นแปลงทุกหน่วย ของ ทอ.สามารถปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน การน� า เทคโนโลยี ก ารเชื่ อ มต่ อ ไร้ ส าย 5G มาใช้ในประเทศไทยนัน้ ต้องเกีย่ วข้องกับผูบ้ ริโภคซึง่ จะ ต้องซือ้ สมาร์ทโฟนทีต่ อ้ งรองรับ 5G ผูผ้ ลิตอุปกรณ์ทใี่ ช้ งาน 5G กสทช.ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ใ ห้ อ นุ ญ าตใช้ ค ลื่ น ความถี่ และผูป้ ระกอบการซึง่ เป็นผูพ้ ฒ ั นาเครือข่ายให้สามารถ ใช้งานได้ หลายประเทศมหาอ�านาจทางเศรษฐกิจได้นา� เทคโนโลยี 5G มาใช้แล้วไม่ว่าจะเป็น สหรัฐอเมริกา
75
เยอรมัน อังกฤษ ออสเตรเลีย จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ฯลฯ โดยประเทศไทยได้เห็นประโยชน์และความจ�าเป็นใน การน� า 5G มาใช้ แ ละมี แ ผนด� า เนิ น การ 5G ในปี พ.ศ.๒๕๖๓ ซึง่ ก่อนหน้านีก้ ระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม ได้จัดให้มีการทดสอบการใช้ประโยชน์จาก 5G คลื่นความถี่ที่ กสทช.จัดสรรมาใช้ใน 5G Testbed ๒ ย ่ า น ค ว า ม ถี่ คื อ 3 . 5 G H z แ ล ะ 2 6 G H z โดยใช้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา เป็นที่ตั้งโครงสร้าง 5G ซึ่งมีห้องปฏิบัติการ บุคลากร อาจารย์ นั ก วิ จั ย นั ก ศึ ก ษา และอยู ่ ใ นพื้ น ที่ EEC ที่เหมาะสมในการทดสอบเพื่อ ผลักดัน ให้เกิด ความ พร้อมส�าหรับการใช้ประโยชน์เทคโนโลยี 5G แต่ก็มี สิ่งที่ต้องค�านึงถึงหลายประการไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐานนัน้ มีคา่ ใช้จา่ ยค่อนข้างสูง อุปกรณ์เก่า จะไม่สามารถใช้งาน 5G ได้ และเทคโนโลยียังอยู่ภาย ใต้กระบวนการผลิตและพัฒนา ตลอดจนปัญหาด้าน การรักษาความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวยังไม่ได้ รับการแก้ไขเท่าที่ควร คงจะต้องเป็นหน้าที่ของรัฐบาล ในการออกกฎ ระเบียบ มาตรการต่าง ๆ ให้ครอบคลุม ชัดเจน และทุกภาคส่วนร่วมกันพิจารณาน�าเทคโนโลยี การเชือ่ มต่อไร้สาย 5G มาใช้ให้คมุ้ ค่าและเป็นประโยชน์ ต่อประเทศชาติมากที่สุด ด้วยการพัฒนาบนพื้นฐาน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามยุทธศาสตร์ชาติที่ได้ ก�าหนดไว้
ผบ.วทอ.ฯ มอบโล่ที่ระลึกให้แก่ผู้ด�าเนินรายการ และผู้ร่วมเสวนาวิชาการ
76
ขอบฟ้าคุณธรรม รู้จักพอ ซื่ อตรง รับผิดชอบ คิดบวก .. มองไปข้างหน้า .. แก้ไขที่ตัวเรา
โดย 1261
... อยา่ ท�าคนดีให้หมองมัว อยา่ ปลอ่ ยคนชัว่ ให้ลอยนวล ...
...เป็นผู้รู้ว่าเวลาเหลือน้อย ... ครั้ ง หนึ่ ง ผู ้ เ ขี ย นพาแม่ ไ ปท� า บุ ญ ที่ วั ด ใกล้ บ ้ า น เมื่อพิธีการต่าง ๆ เสร็จแล้วก็เข้าไปกราบลาหลวงพ่อ ท่ า นก็ อ วยชั ย ให้ พ รและบอกว่ า ดี แ ล้ ว ล่ ะ ที่ พ าแม่ มาท�าบุญบ่อย ๆ "เวลาเหลือน้อยแล้วนะโยม" ผู้เขียน คิดว่าท่านคงหมายถึงว่า เวลาของแม่เหลือน้อยแล้ว มาท�าบุญบ่อย ๆ ก็ดี แต่ชอบใจค�าว่าเวลาเหลือน้อยมาก ตัง้ ใจว่าจะใช้เป็นหัวข้อทีจ่ ะคุยกัน แต่เวลาผ่านไปเป็นปี เอาเรื่องนี้มาพิจารณาทีไรไม่ผ่านสักที เพราะคิดว่า จะเขี ย นได้ ไ ม่ ย าวนั ก ทุ ก คนก็ รู ้ อ ยู ่ แ ล้ ว ว่ า ผู ้ สู ง อายุ มีเวลาเหลือน้อย วั น หนึ่ ง ผู ้ เ ขี ย นเจ็ บ ตาเพราะขนคิ้ ว จิ้ ม เข้ า ไป ในลู ก ตาจนตาอั ก เสบ ไปหาหมอที่ โ รงพยาบาล เขาก็ให้ยามาหยอดและนัดมาดูผลอีกอาทิตย์ต่อมา เมื่อดูผลงานแล้วหมอก็บอกว่า หายแล้วล่ะ แต่ลุงอายุ มากแล้ว ลูกตาก็คงจะมีเจ็บมีแสบบ่อย ๆ เขาอยู่กับเรา อีกไม่นานแล้ว เวลาเขาเหลือน้อยแล้วนะ ลุงดูแลเขา ให้ดีด้วย ค�าว่าเวลาเหลือน้อย กลับมาอีกครั้ง แต่ครั้งนี้
เป็นเวลาของลูกตา ผู้เขียนนึกถึงวันที่หลวงตาบอก เอ..สงสัยจะไม่ใช่เวลาของแม่คนเดียวแล้วซิ คงหมายถึง เวลาของผู ้ เ ขี ย นด้ ว ย และคงรวมถึ ง เวลาของท่ า น ผู้อ่านด้วย ที่เหลือน้อยลงเรื่อย ๆ ใช่เลยเวลาของเรา ทุ ก คนเหลื อ น้ อ ยลง การมองเห็ น สิ่ ง นี้ อ ยู ่ เ สมอ ๆ เป็นคุณธรรมที่ส�าคัญมากข้อหนึ่ง จึงรีบเขียนเรื่องนี้ อย่างเร่งด่วน เพราะเวลาเหลือน้อยแล้ว เวลาเหลื อ น้ อ ย แปลว่ า ยั ง พอมี เ วลาอยู ่ แต่ไม่มากแล้ว ปัญหาก็คือ ไม่มีใครรู้ว่าที่เหลืออยู่นั้น เหลื อ อยู ่ เ ท่ า ไร มี ค� า กล่ า วของคนเก่ า คนแก่ บ อก เราเสมอว่ า เรื่ อ งที่ ค นทุ ก คนไม่ มี โ อกาสรู ้ ไ ด้ เ ลย คื อ ไม่ รู ้ ว ่ า จะตายที่ ไ หน จะตายเมื่ อ ไร และจะตาย ในสภาพใด เพราะพอจะรู้มันก็ตายเสียแล้ว เมื่อเป็น เช่นนี้ ทุกคนจึงไม่รู้ว่าเวลาของตนเหลือน้อยเท่าไร แต่สบายใจได้อย่างว่า ยังพอมีเวลาเหลืออยู่ เรือ่ งส�าคัญ ก็ เ ลยอยู ่ ที่ ว ่ า เราจะท� า อะไรกั บ เวลาที่ พ อมี เ หลื อ อยู่นี่แหละ
ข่าวทหารอากาศ
ก่อนที่จะมาพิจารณาเวลาของตัวเรา เรามาดูเวลา ของอวัยวะต่าง ๆ ของเราก่อนดีไหม ถ้าหมอไม่บอกว่า ดูแลดวงตาตัวเองให้ดีนะ ผู้เขียนก็ไม่เคยคิดเรื่องนี้มา ก่อนเลย คือไม่เคยคิดเลยว่าตาเรานี่ มันบอดได้นะ บอดข้างเดียวก็ได้ บอดสองข้างก็ได้ มันเป็นไปได้ทงั้ นัน้ และมั น จะบอดเมื่ อ ไรก็ ไ ด้ ด้ ว ยเหตุ ผ ลใด ๆ ก็ ไ ด้ ถ้ า ไม่ ดู แ ลเขาให้ ดี และในโลกนี้ ก็ มี ผู ้ พิ ก ารตาบอด อยู่มากมาย จริง ๆ แล้วเราไม่รู้เลยว่าเขาจะอยู่กับเรา ไปจนแก่เฒ่า ตายไปกับเราหรือเปล่า ด้วยเหตุนี้เมื่อเราตื่น นอน ลืมตาแล้วเห็นแสงสว่างได้ชัดเจน เราควรจะดีใจ และขอบคุณทีด่ วงตายังท�างานได้ดอี ยู่ รวมทัง้ อวัยวะอืน่ ๆ แขนขา หู ตา จมูก ปาก ตับไตไส้พุงทั้งหลาย ฯลฯ เมือ่ เราตืน่ นอนมาส�ารวจดูแล้วทุกส่วนยังท�างานได้ปกติ เราควรจะดีใจสุด ๆ ได้ทุก ๆ วัน และเป็นความดีใจ ความสุขทีเ่ ราหาได้จากตัวเอง ผูเ้ ขียนกล่าวอย่างนีไ้ ม่ใช่ เสียสติไปหรอก ท่านลองนึกดูซิว่าถ้าตื่นนอนมาแล้ว ดวงตามองไม่ เ ห็ น ท่ า นจะทุ ก ข์ ไ หม หรื อ แขนขา ขยับเขยื้อนไม่ได้ ปวดหัว ปวดท้อง ไม่ใช่เรื่องสนุกเลย และทุกคนก็เคยเจอเรือ่ งเหล่านีม้ าแล้วคนละหลาย ๆ ครัง้ แต่เรามักจะท�าลืม เพราะเราคิดว่าเวลาของอวัยวะ ต่ า ง ๆ มี ม าก เราจึ ง ท� า ร้ า ยเขาได้ อ ย่ า งไม่ น ่ า เชื่ อ
77
เราเล่นเฟช เล่นไลน์ เล่นเกมส์กนั วันละหลาย ๆ ชัว่ โมง โดยไม่เกรงใจ ไม่รักษาลูกตาเลย เราดื่มแอลกอฮอล์ โดยไม่ ส งสาร กระเพาะ ล� า ไส้ ตั บ ไต ของเราเลย เราสูบบุหรี่เอาควันไปรมปอดโดยไม่สนใจอะไรเลย เราใช้ยานพาหนะโดยประมาทเกิดอุบตั เิ หตุ จนแขนขาด ขาหัก พิการไปทั้งตัวโดยไม่สงสารเขาเลย เพราะเรา ไม่เคยคิดเลยว่าเวลาของเขาเหลือน้อยแล้วนะ ต้องดูแล เขาให้ดี หากท่านมีเวลาท่านลองผ่านไปที่โรงพยาบาล สั ก แห่ ง ท่ า นจะพบว่ า คนไข้ ที่ ม าที่ โ รงพยาบาลนั้ น มักมีอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งเสียหายจึงมา แล้วท่านเอา อะไรมารับรองว่า สักวันท่านจะไม่ตอ้ งมาทีน่ ี่ ด้วยเหตุนี้ ทุกเช้าเราควรจะดีใจและเป็นสุขที่ตื่นมาอย่างปกติ เพราะเราจะได้ทบทวนกับตัวเองว่า เวลาของอวัยวะ ต่าง ๆ เหลือน้อยแล้ว ใช้อย่างระมัดระวัง ดูแลรักษา เขาให้ดี แค่นี้ก็เป็นกุศลมากมายเมื่อตื่นนอน เรื่องต่อมาคือการดูแลจิตใจตัวเอง ผู้เขียนได้ฟัง พระบางรูปเทศน์ว่า คนเราในโลกนี้ มากกว่าเก้าสิบ เปอร์เซ็นต์ ไม่เคยนึกถึงการดูแลจิตใจตนเองเลย เพราะ มันมองไม่เห็น ไม่รู้ว่าเขาอยู่ตรงไหน เจ็บป่วยเลือดตก ยางออกอย่างไร มีคนน้อยมากที่จะมองเห็นจิตใจของ ตนเอง และปัญหาความวุน่ วายต่าง ๆ บนโลกใบนีเ้ กิดจาก
78
การเจ็บป่วยทางจิตใจของผู้คนทั้งนั้นเลย ผู้เขียนเคย เจอคนป่วยทีห่ อ้ งฉุกเฉินพร้อมญาติมติ ร เอะอะโวยวาย หมอทีท่ า� งานล่าช้าเพราะเขาโดนเหล็กแหลมทิม่ เป็นแผล ลึกพอสมควร แต่ใกล้ ๆ กันนั้นเอง มีคนไข้ผอมโซนั่งอยู่ ผู้เขียนถามเขาว่าลุงเป็นอะไรหรือครับ เขาบอกว่าเป็น มะเร็งหายใจไม่ค่อยออก ไม่เห็นท่านโวยวายอะไรเลย กายนัน้ เจ็บป่วยมากกว่ากันหลายเท่า แต่ใจนัน้ เข้มแข็ง ต่างกันราวฟ้ากับดิน เพราะคนเราไม่ค่อยดูแลจิตใจ กันเลย เราทุกคนควรระลึกได้แล้วว่าเวลาของจิตใจทีด่ นี นั้ แทบไม่มีเหลือแล้วนะ
เวลาที่ ส� า คั ญ มากอี ก เรื่ อ งหนึ่ ง คื อ เวลาที่ เ ราได้ พบกัน ได้เจอกัน หลายครั้งที่เราได้เจอะเจอกับใคร ก็ไม่รู้ มีคนโน้นคนนีแ้ นะน�าให้เรารูจ้ กั ท่านผูอ้ า่ นทุกท่าน คงได้เจอมาเหมือน ๆ กันคือ เจอกันครั้งเดียวแล้วไม่ เคยเจอกั น อี ก เลย เราคิ ด อย่ า งไรกั บ กรณี อ ย่ า งนี้ เราสามารถเฉย ๆ กั บ คนคนนี้ ไ ด้ เ ลยเพราะยั ง ไง ก็ ไ ม่ เ จอกั น อี ก แล้ ว หรื อ เราจะกระตื อ รื อ ร้ น พู ด คุ ย ดีอกดีใจที่ได้เจอกันรู้จักกัน ดูแลช่วยเหลือกันเต็มที่ เพราะเราจะไม่ได้เจอกันอีกแล้ว การหาค�าตอบเรื่องนี้ ไม่ง่ายเลย ถ้าอย่างนั้นผู้เขียนมีค�าถามใหม่ ถามว่าท่าน คิ ด ว่ า มี โ อกาสไหมที่ ท ่ า นจะได้ พ บกั บ สามี ภรรยา พ่อแม่ พี่น้อง บุตรหลาน คนใกล้ชิดสนิทสนมกับท่าน
ครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้าย เพราะอาจมีใครสักคนจากไป หลังจากนี้ หากค�าตอบว่าเป็นไปได้ แสดงว่าเวลาที่เรา ได้เจอกันแต่ละครัง้ นัน้ อาจเป็นครัง้ สุดท้ายได้เสมอจะเป็น คนรู้จักหรือไม่รู้จักก็เหมือนกัน เราควรจะปฏิบัติตน ต่อกันอย่างไรหากเราต้องเจอกันเป็นครัง้ สุดท้าย คราวนี้ ค�าตอบคงง่ายขึน้ ผูเ้ ขียนเล่ามายืดยาวต้องการเพียงให้ ผู้อ่านได้ระลึกอยู่เสมอว่า คนที่ท่านได้พบเจอกันหรือ ได้ทา� งานด้วยกันนัน้ อาจเป็นวันสุดท้ายแล้ว เพราะเวลา ของทุกคนเหลือน้อย แม้ไม่รู้ว่าเหลือเท่าไร แต่เราควร มอบสิ่งดี ๆ ที่เราอยากมอบให้กันทุก ๆ วัน ไม่ต้องรอ ไปให้ทวี่ ดั ก็ได้ ส่วนสิง่ ไม่ดไี ม่งามต่าง ๆ มันคงไม่หนักหนา เท่ากับเรารู้สึกว่าจะไม่ได้เจอกันอีกแล้ว อภัยให้กัน และลืมมันซะ ประโยชน์ทสี่ า� คัญหากเราระลึกได้วา่ เวลา เหลือน้อยแล้วมีดังนี้ ๑. การจัดล�าดับความส�าคัญในชีวิตจะเปลี่ยนไป ในชีวิตคนเรานั้น ทุกคนรู้อยู่แล้วว่าเรื่องใดส�าคัญมาก เรื่องใดส�าคัญน้อย แต่จะท�าเรื่องใดก่อนนั้น มันขึ้นอยู่ กับเวลา เช่น หากพรุ่งนี้เป็นวันที่ห้างสรรพสินค้าจะจัด Midnight sale ซึ่งมีวันเดียวเท่านั้น แม้ตัวเอง พ่อแม่ ลูกหรือแฟน จะขอให้ช่วยท�าธุระบางอย่างในวันพรุ่งนี้ เรามั ก จะขอผลั ด ไปท� า ให้ วั น อื่ น แต่ พ รุ ่ ง นี้ ข อไป เดินช้อปปิ้งก่อนเพราะปีหนึ่งมีครั้งเดียว ถ้าถามว่าธุระ ของคนในครอบครัวกับไปช้อปปิง้ เรือ่ งใดส�าคัญกว่า ใคร ๆ ก็ รู ้ ว ่ า ไปซื้ อ ของนั้ น ไปเมื่ อ ไรก็ ไ ด้ ไม่ จ� า เป็ น ต้ อ ง Midningh sale ไปได้ทุกวัน เพียงเราประมาทคิดว่า ทุกคนมีเวลาไม่จ�ากัด หากเราคิดว่าเวลาของทุกคน เหลือน้อย เราก็จะเลือกท�าธุระให้คนในครอบครัวหรือ ตัวเองก่อนไปซื้อของนั้นเมื่อไรก็ได้
ข่าวทหารอากาศ
๒. ความโลภ โกรธ หลง จะลดลง ดูเหมือนไม่น่า จะเกี่ ย วข้ อ งกั น เลย แต่ เ รื่ อ งจริ ง เป็ น อย่ า งนั้ น หลายท่านคงได้พบเจอกับผู้ที่ใกล้สิ้นลมหายใจมาแล้ว ไม่มีใครอยากได้อะไรทั้งนั้น จะเอาเงินเอาทองมากอง ให้เท่าไรเขาก็ไม่เอา แค่หายใจได้กพ็ อแล้ว เพราะเขารูว้ า่ เวลาเขาเหลือน้อยมากแล้ว แค่เรามีสติระลึกได้ว่า เราตายได้ทุกนาทีเท่านั้น ความโลภ โกรธ หลง จะหาย ไปจากใจของเราทันที ๓. จะมีกา� ลังใจสูช้ วี ติ ทุก ๆ วัน การมีสตินกึ ว่าเวลา เหลื อ น้ อ ยแล้ ว ในตอนแรก ๆ อาจรู ้ สึ ก หดหู ่ บ ้ า ง แต่เมื่อนึกถึงอยู่บ่อย ๆ จะท�าให้ก�าลังใจเข้มแข็งขึ้นเรื่อย ๆ ทีเ่ ราหดหูเ่ พราะเรายังมีเรือ่ งอีกมากทีอ่ ยากท�า แต่อาจ ไม่ ไ ด้ ท� า แต่ เ มื่ อ เรานึ ก อยู ่ เ สมอและท� า ทุ ก อย่ า ง ให้เรียบร้อย วันหนึง่ เราจะบอกตัวเองว่า เราพร้อมแล้ว คนทีร่ ตู้ วั เสมอว่าพร้อมตาย คือคนทีห่ มดทุกข์แล้ว ชีวติ จะมีแต่ความสุขและสนุกทุกวันทีไ่ ด้กา� ไรจากการมีชวี ติ อยู่ ๔. จะเกิ ด พรหมวิ ห ารสี่ ใ นใจ คนที่ ร ะลึ ก ได้ เสมอ ๆ ว่าเวลาเหลือน้อย จะปล่อยวางจากตัวตน ในสิ่งต่าง ๆ ได้ง่าย เกิดความเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ในใจอยูเ่ สมอ เพียงเท่านีก้ เ็ ป็นกุศลในชีวติ แล้ว
79
การมี ส ติ ร ะลึ ก นึ ก ถึ ง อยู ่ เ สมอว่ า เวลาของเรา เหลื อ น้ อ ยแล้ ว จะท� า ให้ เ ราเตรี ย มงานของชี วิ ต ได้ อ ย่ า งครบถ้ ว น พร้ อ มเสมอที่ จ ะจากไปตามกฎ ของธรรมชาติ ยังมีเรือ่ งส�าคัญสุดท้ายก็คอื ทหารอากาศ ทุ ก คนกว่ า จะมาแต่ ง เครื่ อ งแบบที่ ทุ ก คนภู มิ ใ จนี้ ไ ด้ ทุกคนผ่านโรงเรียนต่าง ๆ ที่กองทัพอากาศจัดให้ท่าน ได้ ศึ ก ษาเล่ า เรี ย น ผ่ า นกั น มาหลายหลั ก สู ต ร เป็นเดือนบ้าง เป็นปีบ้าง หรือหลาย ๆ ปีบ้าง ถูกบังคับ ให้เข้าเรียนบ้าง แย่งกันเข้าเรียนบ้าง แต่ก็ตั้งใจศึกษา เล่าเรียน สะสมความรู้มามากมาย หากท่านคิดว่า เวลาทีท่ า่ นจะได้ทา� งานให้กองทัพอากาศเหลือน้อยแล้ว ท่านคงจะท�าทุกอย่างให้เสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ในทุก ๆ วัน และหากทุกคนท�ากันอย่างนี้ งานของกองทัพอากาศ ก็ จ ะเรี ย บร้ อ ยสมบู ร ณ์ ที่ สุ ด การระลึ ก อยู ่ เ สมอว่ า เวลาเหลือน้อยแล้ว คือความไม่ประมาท หลวงพ่อ บอกว่า พาแม่มาท�าบุญบ่อย ๆ ดีแล้ว เวลาเหลือน้อย แล้วนะโยม หมอบอกว่า ลุงดูแลตาให้ดีนะ เขาอยู่กับ เราอีกไม่นานแล้ว เป็นค�าบอกกล่าวที่มีคุณค่านัก ขอทุ ก ท่ า นจงมองเห็ น ว่ า เวลาของสิ่ ง ต่ า ง ๆ และชีวิตของท่านมีเหลือน้อยแล้ว
80
การรักษาโรคข้อเข่าเสือ ่ ม ท�าได้อย่างไร ? (ตอนที่ ๓) Osteoarthritis of the knee พล.อ.ต.ผศ.นพ.จ�ำรูญเกียรติ ลีลเศรษฐพร
กำรรักษำโรคข้อเข่ำเสื่อมท�ำได้อย่ำงไร ก่อนอืน่ ต้องทราบก่อนว่าผูส้ งู อายุทกุ คนจะต้อง เผชิญกับปัญหาข้อเข่าเสือ่ มอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ และหาก เกิดภาวะข้อเข่าเสื่อมขึ้นแล้วจะไม่สามารถรักษา ให้กลับเป็นปกติเหมือนเดิมได้ ดังนัน้ การรักษาภาวะ ข้อเข่าเสือ่ มจึงมีจดุ มุง่ หมายทีจ่ ะช่วยลดความทรมาน จากอาการปวดและสามารถใช้ชีวิตประจําวันได้ดีขึ้น และหาหนทางช่วยชะลอความเสื่อมของข้อเข่า ให้ช้าที่สุด การรักษาภาวะข้อเข่าเสื่อมสามารถทําได้ หลายวิธี ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความเสื่อม ว่ามากน้อยเพียงใด แต่สามารถแบ่งแนวทางการรักษา ออกได้เป็น ๓ แนวทาง คือ การรักษาโดยไม่ตอ้ งใช้ยา การรักษาโดยการใช้ยา และการรักษาโดยการผ่าตัด กำรรักษำโดยไม่ต้องใช้ยำ โดยการรักษาจะเริม่ จากการแนะนําการปฎิบตั ติ วั ให้ถูกต้อง ได้แก่ การลดนํ้าหนักหรือหลีกเลี่ยงการยก ของหนัก การหลีกเลี่ยงการกระทําที่เป็นอันตราย ต่อข้อเข่า เช่น การนั่งพับเพียบ นั่งยอง ๆ นั่งพื้น การนั่ง สมาธิในท่าพับเข่าเป็นเวลานาน ซึง่ ล้วนแต่เป็นพฤติกรรม ทีต่ อ้ งหลีกเลีย่ งให้มากทีส่ ดุ หรือการนอนบนพืน้ เป็นประจํา พบว่าอันตรายจะเกิดขึ้นกับข้อเข่าในขณะนั่งลงและ ขณะลุกขึน้ จากพืน้ ส้วมชนิดนัง่ ยองเป็นอีกปัญหาหนึง่ ทีพ่ บได้บอ่ ย ซึง่ เป็นสิง่ ทีม่ อี นั ตรายต่อข้อเข่าอย่างมาก และผูท้ มี่ ปี ญ ั หาข้อเข่าเสือ่ มจะไม่สามารถนัง่ ยอง ๆ ได้ ดังนั้น ควรแก้ไขให้เป็นส้วมชนิดชักโครกและถ้าหาก มีทเี่ ท้าแขนหรือทีจ่ บั เพือ่ ช่วยดึงตัวขึน้ ได้ยงิ่ ดี ในกรณี ที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมควรขึ้น-ลงบันไดให้น้อยลง เท่าที่จําเป็น ถ้าห้องนอนอยู่ชั้นบนควรย้ายลงมา นอนชั้นล่างถ้าเป็นไปได้ แต่หากทําไม่ได้ควรจัดให้มี สิ่งของที่จําเป็นให้พร้อมอยู่ชั้นบน เพื่อหลีกเลี่ยงการ
ขึ้น-ลงบันไดให้เหลือน้อยลง การนั่งเก้าอี้แนะนํา ให้เลือกใช้เก้าอีท้ ไี่ ม่ตาํ่ หรือนิม่ เกินไปเช่นโซฟานิม่ ๆ เพราะจะทําให้ลุกขึน้ ได้ลําบาก และถ้าเก้าอีเ้ ป็นชนิด มีที่เท้าแขน จะช่วยให้เวลานั่งลงหรือลุกขึ้นสามารถ ใช้แขนช่วยดันให้ลกุ ขึน้ หรือขณะลงนัง่ ได้สะดวกยิง่ ขึน้ การลดนํ้าหนักตัว เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สามารถ ช่วยลดอาการปวดที่ข้อเข่าและช่วยชะลอความเสื่อมได้ ดังนัน้ ควรควบคุมนํา้ หนัก หรืออย่างน้อยก็อย่าเพิม่ ขึน้ และหลีกเลี่ยงการยกของหนักเช่นเวลาไปจ่ายตลาด ควรหาทีล่ ากหรือรถเข็นช่วยเพือ่ หลีกเลีย่ งการต้องหิว้ ของหนัก การออกกําลังกายและการบริหารกล้ามเนื้อ การบริหารกล้ามเนือ้ บริเวณข้อเข่าให้แข็งแรงสมํา่ เสมอ จะสามารถช่วยลดแรงกระแทกที่กระทําต่อข้อเข่าได้ จะช่วยให้อาการปวดลดลง นอกจากนั้นยังพบว่า การออกกําลังกายจะช่วยกระตุ้นการสร้างกระดูก ให้แข็งแรงตามธรรมชาติ การออกกําลังกายที่ดีที่สุด คือการว่ายนํ้า หรือการเดินเร็ว เป็นต้น การเต้น แอโรบิกหรือการรํามวยจีนก็เป็นสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์มาก ในผูส้ งู อายุ แต่อย่างไรก็ตามควรหลีกเลีย่ งท่าบริหาร ทีต่ อ้ งงอข้อเข่าขึน้ ลงมาก ๆ เพราะจะยิง่ กระตุน้ ให้เกิด การอักเสบของข้อเข่ามากยิ่งขึ้น การทํากายภาพบําบัด แพทย์อาจแนะนําให้ทํา กายภาพบําบัดเพือ่ ช่วยลดความเจ็บปวดบริเวณข้อเข่า ในกรณีที่ข้อเข่ามีการยึดติด หรืองอเข่าได้น้อยลง ซึ่งอาจสามารถแก้ไขได้โดยการทํากายภาพบําบัด รวมทัง้ จะมีการแนะนําท่าบริหารกล้ามเนือ้ ทีถ่ กู ต้องให้ หรืออาจแนะนําให้ใส่เครือ่ งพยุงข้อเข่า (knee support) เพื่อให้เดินได้สะดวกขึ้น
ข่าวทหารอากาศ
การรักษาโดยการใช้ยา เมื่อพยายามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิต ประจําวันแล้วอาการปวดข้อเข่ายังไม่ดีขึ้น แพทย์จะ พิจารณาใช้ยาซึ่งมีอยู่หลายวิธี คือ ๑. ยาแก้ปวด ๒. ยาลดการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ ๓. ยาลดการอักเสบชนิดสเตอรอยด์ ๔. ยาบํารุงกระดูกอ่อน ๕. นํ้าหล่อเลี้ยงข้อเทียม การทานยาแก้ปวด แม้จะสามารถลดอาการ ปวดลงได้แต่ไม่ได้ลดการอักเสบบริเวณข้อเข่า เป็นการ แก้ปญ ั หาทีป่ ลายเหตุเพือ่ ช่วยลดปวด เมือ่ หมดฤทธิย์ า ก็จะกลับมามีอาการปวดเหมือนเดิม ยาลดการอักเสบชนิดสเตอรอยด์ จัดเป็น ยาที่พบว่าสามารถลดการอักเสบได้ดีมาก มีทั้งยากิน และยาฉีดเข้าข้อซึง่ ในอดีตเป็นทีน่ ยิ มใช้รกั ษากันมาก เนื่องจากได้ผลเร็วและมีราคาถูก แต่ปัจจุบันพบว่า การใช้ยาลดการอักเสบชนิดสเตอรอยด์นนั้ มีผลข้างเคียงมาก ซึง่ เป็นอันตรายต่อผูป้ ว่ ยโดยเฉพาะการฉีดยาสเตอรอยด์ เข้าในข้อเข่า ถึงแม้จะช่วยลดอาการปวดได้แต่พบว่า จะทําให้มีการสึกหรอของกระดูกในข้อเข่าเร็วยิ่งขึ้น ปัจจุบันจึงไม่แนะนําให้ฉีดยาสเตอรอยด์เข้าข้อเข่า ยกเว้นในกรณีที่มีความจําเป็นเท่านั้น เช่น รักษา ด้วยวิธอี นื่ แล้วไม่ได้ผลหรือในกรณีทขี่ อ้ เข่าเสือ่ มมาก แต่ไม่สามารถทําการผ่าตัดได้ เนือ่ งจากพบว่าการฉีด สเตอรอยด์เข้าข้อเข่าจะทําให้ข้อเข่าเสื่อมเร็วยิ่งขึ้น และหากมีความจําเป็นต้องทําผ่าตัดในภายหลัง พบว่าผู้ป่วยที่เคยฉีดยาสเตอรอยด์เข้าในข้อเข่า จะมี โอกาสติดเชื้อหลังผ่าตัดได้สูงกว่าภาวะปกติ ส่วนยา สเตอรอยด์ชนิดทานอาจพิจารณาใช้ในรายที่เป็น
81
โรคข้ออักเสบชนิดรูมาตอยด์แต่ต้องได้รับความดูแล อย่างใกล้ชดิ โดยแพทย์ เพือ่ พิจารณาขนาดของยาและ ระยะเวลาทีจ่ าํ เป็นต้องใช้ เพือ่ ให้เกิดผลข้างเคียงของยา ให้น้อยที่สุด ยาลดการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) จัดเป็นยาที่ได้รับความนิยมใช้ในปัจจุบัน เนื่องจาก มีความปลอดภัยและสามารถช่วยลดการอักเสบของ ข้อเข่าได้ดแี ต่ในภาวะข้อเข่าเสือ่ ม ซึง่ อาจมีความจําเป็น ในการทานยาติดต่อกันเป็นเวลานาน พบว่าสามารถ ทําให้มผี ลข้างเคียงได้และทีพ่ บได้บอ่ ยคือการเกิดแผล ในกระเพาะอาหาร ดังนั้น ในปัจจุบันจึงมีการพัฒนา ปรับปรุงคุณภาพของยาชนิดใหม่ ๆ ให้มคี วามปลอดภัย มากยิ่ ง ขึ้ น โดยไม่ มี อั น ตรายต่ อ กระเพาะอาหาร สามารถทานติดต่อกันได้เป็นเวลานาน การทานยา สะดวกมากขึ้นโดยทานยาเพียงวันละครั้งเดียว แต่ปัญหาคือ ยากลุ่มใหม่นี้ยังมีราคาค่อนข้างแพง ยาบํารุงกระดูกอ่อน ได้มีการศึกษาในต่างประเทศ มาเป็นเวลานานแล้วพบว่า มีสารชนิดหนึ่งที่เรียกว่า กลูโคสามีน (glucosamine) จะสามารถช่วยกระตุ้น การสร้างกระดูกอ่อนและนํา้ หล่อเลีย้ งภายในข้อเข่าได้ ทําให้สามารถช่วยชะลอความเสื่อมของกระดูกอ่อน ภายในข้อเข่า สามารถช่วยซ่อมแซมกระดูกอ่อน ทีส่ กึ หรอ และยังพบว่าสามารถช่วยลดการอักเสบของ ข้อเข่าได้ดว้ ย ปัจจุบนั ในประเทศไทยยังไม่ได้รบั ความนิยม ใช้มากนัก เนื่องจากยาในกลุ่มนี้ เปรียบเสมือนเป็น วิตามินที่ใช้ในการบํารุงกระดูกอ่อน ซึ่งต้องทาน เป็นประจําทุกวันติดต่อกันเป็นเวลานาน จึงจะได้ผล ทําให้เห็นผลการรักษาได้ชา้ ทําให้สนิ้ เปลืองค่าใช้จา่ ยมาก และยาบางชนิดอาจต้องทานยาวันละ ๓ ครั้ง ๆ ละ ๒ เม็ด ทําให้ไม่สะดวกในการทานยาเป็นระยะเวลา นาน ๆ แต่ในบางประเทศโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ยากลุม่ นีจ้ ะมีวางขายทัว่ ไป โดยจะจัดสารกลุม่ นีอ ยูใ่ นกลุม่ อาหารเสริม ซึ่งจะมีให้เลือกมากมายหลายชนิด การใช้นํ้าหล่อเลี้ยงข้อเทียม ซึ่งถือว่าเป็นวิธี การรักษาอีกวิธีหนึ่ง ที่ได้นํามาใช้ในประเทศไทย แต่ในต่างประเทศได้มกี ารศึกษาและได้นาํ นํา้ หล่อเลีย้ ง ข้อเทียมมาใช้ในการรักษาผูป้ ว่ ยข้อเข่าเสือ่ มมาเป็นเวลา นานแล้ว เนือ่ งจากพบว่าในภาวะข้อเข่าเสือ่ ม นํา้ หล่อเลีย้ ง ภายในข้อเข่าจะสูญเสียคุณสมบัติด้านความยืดหยุ่น ทําให้ข้อเข่าเกิดการเสียดสีระหว่างการเคลื่อนไหว
82
และทําให้ผิวข้อเข่าสึกหรอเร็วยิ่งขึ้น ดังนั้น จึงมี แนวความคิดในการผลิตนํ้าหล่อเลี้ยงข้อเทียมขึ้น โดยให้มคี ณ ุ สมบัตคิ วามยืดหยุน่ เหมือนนํา้ หล่อเลีย้ งข้อ ตามธรรมชาติ การฉีดนํ้าหล่อเลี้ยงข้อเทียมเข้าไป ในข้อเข่าติดต่อกัน ๓-๕ ครัง้ ห่างกันครัง้ ละ ๑ สัปดาห์ ประโยชน์จากการรักษาโดยการใช้นาํ้ หล่อเลีย้ ง ข้อเทียมในผูป้ ว่ ยทีม่ ภี าวะข้อเข่าเสือ่ มคือ ช่วยหล่อลืน่ ผิวข้อเข่าและลดการเสียดสีในระหว่างการเคลือ่ นไหว เปรียบเสมือนนํ้ามันเครื่องรถยนต์ ซึ่งจะช่วยชะลอ ความสึกหรอของกระดูกอ่อนภายในข้อเข่าและเนือ่ งจาก นํ้าเลี้ยงข้อเทียมนั้น จะมีลักษณะข้นหนืดเมื่อฉีด เข้าไปในข้อเข่าจะเข้าไปแทรกระหว่างกระดูกภายใน ข้อเข่าซึง่ จะช่วยทําหน้าทีป่ อ้ งกันการกระแทกของผิว ข้อเข่าในขณะลงนํา้ หนัก (shock absorber) ช่วยลดแรง กระแทกภายในข้อเข่า สามารถช่วยลดอาการปวด ของข้อเข่าในระหว่างการเคลื่อนไหว ทําให้ผู้ป่วยสามารถ ดําเนินชีวติ ประจําวันได้โดยไม่ตอ้ งทานยา หรือทําให้ ทานยาน้อยลง ทําให้ช่วยลดอาการไม่พึงประสงค์
ทีเ่ ป็นผลข้างเคียงจากการทานยา โดยเฉพาะอย่างยิง่ โรคกระเพาะอาหารซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยมาก ในผูป้ ว่ ยทีม่ ภี าวะข้อเข่าเสือ่ มและรักษาโดยการทานยา เป็นเวลานาน ในรายทีข่ อ้ เข่ามีความเสือ่ มมากจนต้อง รักษาด้วยวิธที าํ การผ่าตัดแต่ไม่สามารถทําการผ่าตัดได้ เนื่องจากกลัวการผ่าตัดหรือมีข้อห้ามที่ไม่สามารถ ทําผ่าตัดได้ การใช้นาํ้ หล่อเลีย้ งข้อเทียมก็เป็นอีกวิธหี นึง่ ที่สามารถช่วยลดอาการปวดลงได้บ้าง แม้จะเป็น การชั่วคราว และได้ผลไม่ดีนักเนื่องจากข้อเข่าเสื่อม มากแล้ว แต่มสี ว่ นทีจ่ ะทําให้สามารถชะลอการผ่าตัด ไปได้ชั่วระยะเวลาหนึ่ง ข้อจํากัดในการใช้นํ้าเลี้ยงข้อเทียมคือ ในปัจจุบัน ยังมีราคาแพง และยังได้ผลดีเฉพาะในรายที่มีภาวะ ข้อเข่าเสื่อมน้อยหรือปานกลาง แต่จะได้ผลไม่ดีในราย ทีข่ อ้ เข่ามีภาวะข้อเข่าเสือ่ มมากหรือมีภาวะโก่งงอร่วมด้วย ซึ่งแพทย์มักแนะนําให้รักษาโดยการผ่าตัด ดังนั้น การรั ก ษาโดยใช้ นํ้ า เลี้ ย งข้ อ เที ย มจึ ง ไม่ ส ามารถ ทดแทนการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดได้
กระดูกอ่อนในสภาวะปกติและกระดูกอ่อนในสภาวะข้อเข่าเสื่อม
(อ่านต่อฉบับหน้า)
ข่าวทหารอากาศ
83
84
อาวุธปล่อยความแม่นย�าสูง ชนิดแรกของโลก น.อ.ชวินทร์ ศรีวิริยเลิศกุล
“อาวุธ เป็นตัวก�าหนด ยุทธวิธี” เป็นปรัชญา ในทางการทหารมาแต่โบราณ ที่สะท้อนถึงความ ก้าวหน้าของยุคสมัย และเป็นตัวก�าหนดหลักนิยม ทางการทหารในยุคนั้น ๆ ในยุคดึกด�าบรรพ์ อาวุธ ระยะไกลของมนุษย์มีระยะเพียงหลักสิบเมตร ได้แก่ การทุ่มหิน การยิงธนู การเขวี้ยงหินด้วยเชือก (Sling) ท�าให้ฝา่ ยทีม่ อี าวุธระยะใกล้ เช่น ดาบ หอก และขวาน เป็นต้น ต้องเป็นฝ่ายตัง้ รับเมือ่ ถูกฝ่ายตรงข้ามยิงโจมตี มาจากระยะไกลกว่าระยะอาวุธของตนเอง เมื่อเป็น ฝ่ายตั้งรับก็ต้องใช้วิธีการป้องกันตัววิธีต่าง ๆ เช่น โล่ประจ�าตัวหรือใช้สงิ่ แวดล้อมเป็นเครือ่ งก�าบังอย่างเช่น ต้นไม้ มาป้องกันการบาดเจ็บหรือสูญเสียของฝ่าย ตนเอง และไม่สามารถเป็นฝ่ายบุกได้ถา้ ยังไม่ถงึ ระยะ
อาวุธของตน เมือ่ วิทยาการความรูม้ กี ารพัฒนามากขึน้ ท�าให้มนุษย์ประดิษฐ์อาวุธทีม่ รี ะยะโจมตไกลมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ตัวอย่างเช่น เครือ่ งยิงหิน ปืนใหญ่ชนิดต่าง ๆ แต่อาวุธ ระยะไกลเหล่านี้ ทีม่ รี ะยะยิงไกลมากเท่าไร ความแม่นย�า ก็ยิ่งลดลงตามมาเท่านั้น และเมื่อต้องโจมตีเป้าหมาย ที่เคลื่อนที่ได้ เช่น เรือรบ หรือรถถัง ยิ่งต้องใช้จ�านวน ปืนใหญ่และกระสุนมากขึน้ ตามมาในการโจมตีเป้าหมาย ที่คอยหลบหลีกอยู่เหล่านั้น เมื่อถึงยุคสงครามโลก ครั้งที่สองจึงได้มีอาวุธความแม่นย�าสูง (Precision Guided Weapon) ก�าเนิดขึ้น ในยุคปัจจุบันอาวุธปล่อยน�าวิถีมีความแม่นย�าสูง เป็นเทคโนโลยีททหารทุกคนคงคุ้นหูเป็นอย่างดี ซึง่ มีทงั้ อาวุธปล่อยน�าวิถี (Guided Missile) ตัวอย่างเช่น
ข่าวทหารอากาศ
จรวดเอ็กโซเซ่ (Exocet) ทีม่ ฉี ายาเจ้าปลาบิน จรวดฮาร์พนู (Harpoon) และระเบิดฉลาด (Smart Bomb) เช่น ระเบิด JDAM (Joint Direct Attack Munition) เป็นต้น โดยอาวุธเหล่านี้ จะต้องมีระบบควบคุมทิศทาง หรือระบบน�าร่องเข้าหาเป้าหมายที่เที่ยงตรงและ แม่นย�า ในส่วนของจรวดจะใช้เครือ่ งยนต์จรวด (Rocket) ในการน�าอาวุธพุ่งเข้าหาเป้าหมายซึ่งค�าว่าจรวด หมายถึงระบบขับเคลื่อนอย่างหนึ่ง ที่ใช้ปฏิกิริยา สันดาปหรือการเผาไหม้ดนิ ขับหรือเชือ้ เพลิงอย่างต่อเนือ่ ง และส่งแรงดันมวลออกทางท้ายจรวดเพือ่ สร้างแรงขับเคลือ่ น ไปด้านหน้า ส่วนอาวุธชนิดที่ไม่มีแรงขับดันในตัวเอง ก็ใช้แรงโน้มถ่วงโลกน�าตัวอาวุธเข้าสูเ่ ป้าหมายโดยจะมี ระบบน�าวิถีพาตัวระเบิดเข้าสู่เป้าหมายอย่างแม่นย�า อาวุธปล่อยความแม่นย�าสูงชนิดแรกของโลก ก�าเนิดขึ้นในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองเล็กน้อย โดยในปี ค.ศ.๑๙๓๘ กองทัพอากาศเยอรมันเป็นกองทัพแรก ที่ได้พยายามพัฒนาอาวุธที่มีความแม่นย�าสูงขึ้น ซึ่งมี วัตถุประสงค์เพือ่ ใช้โจมตีเรือรบฝ่ายตรงข้ามในสงคราม กลางเมืองของสเปนโดยกองทัพเยอรมันเข้าสนับสนุน ฝ่ายชาตินยิ ม (Nationalists) พร้อมด้วยกองทัพอิตาลี ส่วนฝ่ายตรงข้ามคือฝ่ายสาธารณรัฐ (Republicans) ซึ่งมีโซเวียตกับฝรั่งเศษเข้าร่วมรบด้วยฝ่ายเยอรมัน สามารถพัฒนาระเบิดที่ทิ้งจากเครื่องบินให้สามารถ บังคับทิศทางได้ด้วยการปรับมุมของแพนหางลูกระเบิด ด้วยระบบวิทยุ (Radio-Controlled Spoilers) ได้สา� เร็จ ซึ่งระเบิดรุ่นนี้มีชื่อว่า PC 1400 และมีชื่อเล่นที่ทั้ง ฝ่ายอักษะและสัมพันธมิตรเรียกเหมือนกันว่า “Fritz X” ซึง่ น่าจะมาจากครีบข้างล�าตัวทีต่ งั้ ฉากกันเหมือนตัวอักษร “X” เจ้า Fritz X นี้เป็นระเบิดที่ออกแบบส�าหรับ การเจาะดาดฟ้าเรือรบ โดยทิ้งระเบิดลงมาจาก เครือ่ งบินทิง้ ระเบิด มีวตั ถุระเบิดภายในหัวรบน�า้ หนัก ๓๒๐ กิโลกรัม การควบคุมแพนหางของลูกระเบิด ใช้คลืน่ วิทยุทมี่ ชี อื่ ระบบว่า “Kehl-Strasbourg radio control link” ความสูงต�า่ สุดทีใ่ ช้ในการปล่อยระเบิด อยู่ที่ ๔,๐๐๐ เมตร ซึ่งจะมีระยะท�าการของระเบิดอยู่ที่ ๕,๐๐๐ เมตร หลังจากปล่อยระเบิดออกไปแล้ว เครือ่ งบิน ทิง้ ระเบิดจะบินขนานไปในทิศทางเดียวกับเป้าหมาย เพื่อเจ้าหน้าที่สรรพวุธควบคุมทิศทางของระเบิด ให้ตกลงสู่เป้าหมายอย่างแม่นย�าและปลายแพนหาง ของระเบิดจะติดพลุสอ่ งสว่างให้ผคู้ วบคุมอาวุธมองเห็น
85
ระเบิดจากระยะไกลได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งเรือรบของฝ่าย พันธมิตรที่ตกเป็นเป้าหมายของเจ้าระเบิดฉลาดนี้ แทบไม่มโี อกาสจะรอดจากการถูกโจมตีได้เลย ในช่วงที่ Fritz X ถูกน�าออกมาใช้ในปีแรก
Fritz X ระเบิดความแม่นย�าสูงชนิดแรกของโลก
อาวุธความแม่นย�าสูงอีกชนิดหนึ่งทีไ่ ด้ถูกน�า ออกมาใช้ในเวลาไล่เลี่ยกับ Fritz X ก็คือ จรวดโจมตี เรือ HenschelHs 293 ในหัวรบมีวัตถุระเบิดภายใน น�้าหนัก ๒๙๕ กิโลกรัม ที่ล�าตัวด้านบนของระเบิด ที่ มี ป ี ก เพื่ อ สร้ า งแรงยกและแพนหางเพื่ อ ควบคุ ม ทิศทางอยู่ด้านท้ายตัวลูกระเบิดถูกขับเคลื่อนด้วย เครือ่ งยนต์จรวดเชือ้ เพลิงเหลว HWK 109-507 ทีต่ ดิ อยู่ ด้านล่าง ความเร็วพุง่ เข้าสูเ้ ป้าหมายสูงสุด ๒๖๐ เมตร ต่อวินาทีในช่วงเริ่มต้นพัฒนาจรวดสามารถมีระยะ โจมตีถึง ๑๒ กิโลเมตร พร้อมติดระบบเรดาร์น�าร่อง สูเ่ ป้าหมายด้วยแม่เหล็กไฟฟ้าอัตโนมัตซิ งึ่ เป็นต้นแบบ ของจรวดอื่น ๆ ที่พัฒนาขึ้นมาภายหลัง แต่เมื่อน�ามาใช้ โจมตีเรือจะเหลือรัศมีท�าการเพียง ๕ กิโลเมตร เพราะจ�ากัดด้วยระยะทีเ่ จ้าหน้าทีส่ รรพวุธทีค่ วบคุมจรวด ด้วยสัญญาณคลืน่ วิทยุจะสามารถมองเห็นตัวเป้าหมายได้ ระบบวิทยุควบคุมเป็นรุน่ Kehl-StrassBburg FuG 203/230 อาวุธนีถ้ กู ออกแบบมาเพือ่ โจมตีเรือทีไ่ ม่ได้เสริมเกราะ ด้านข้างล�าเรือ เช่น เรือล�าเลียงพล และเรือเสบียง เป็นต้น เพราะเรือรบสมัยนัน้ จะมีการเสริมผนังด้านข้าง ของตัวเรือเป็นเกราะเหล็กหนาเพื่อให้ทนทานต่อ กระสุนปืนใหญ่และตอร์ปโิ ดทีย่ งิ โจมตีมาจากเรือข้าศึก ดังนั้นเป้าหมายของจรวด Henschel Hs293 จึงเป็น เรือสนับสนุนการรบเป็นส่วนใหญ่
86
จรวดโจมตีเรือ HenschelHs293
ในปี ค.ศ. ๑๙๔๓ ฝ่ายสัมพันธมิตรต้องสูญเสีย เรือรบและเรือสนับสนุนการรบหลายสิบล�าด้วยอาวุธฉลาด เหล่านี้ แต่หลังฝ่ายสัมพันธมิตรบุกยึดเกาะคอร์ซิการ์ ของอิตาลีได้ในปี ค.ศ.๑๙๔๔ ก็ได้คนพบระบบวิทยุ ควบคุมอาวุธทั้งสองชนิดนี้ตกค้างอยู่ด้วย ท�าให้ฝ่าย สั ม พั น ธมิ ต รสร้ า งระบบรบกวนสั ญ ญาณควบคุ ม ทิศทาง (Jamming) ของอาวุธทัง้ สองชนิดขึน้ ได้สา� เร็จ ท�าให้อตั ราการท�าลายเป้าหมายของอาวุธทัง้ สองชนิด ลดลงเป็นอย่างมาก อีกทั้งสหรัฐอเมริกาก็ได้น�าไปใช้ เป็นต้นแบบพัฒนา สร้างจรวดโจมตีของตนเองที่มี ชื่อเล่นว่า “Bat” เพื่อใช้ในสมรภูมิแปซิฟิกอีกด้วย
ภาพ อ้างอิง
ทางฝ่ายเยอรมันเมื่อพบว่าระบบควบคุมอาวุธฉลาด ด้วยวิทยุถูกรบกวนได้ส�าเร็จ จึงพัฒนาระบบควบคุม ด้วยสายเคเบิล้ ขึน้ มาใช้ทดแทน โดยติดตัง้ สายควบคุม ให้ม้วนเก็บอยู่ในบั้นท้ายของตัวระเบิดและพ่วงสาย ควบคุมตรงสูเ่ ครือ่ งบินทิง้ ระเบิด แต่กไ็ ม่ประสบความส�าเร็จ ในการทดสอบใช้งาน และในช่วงท้ายของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ครองความเหนือกว่าทางอากาศ บนน่านฟ้าของเยอรมัน อีกทั้งฝ่ายเยอรมันก็สูญเสีย เครื่องบินทิ้งระเบิดไปทั้งหมด เจ้าอาวุธฉลาดทั้งสอง จึงไม่ได้น�ามาใช้งานในช่วงปีสุดท้ายของสงคราม จากความส�าเร็จในการท�าลายเป้าหมายของ อาวุธฉลาดทีผ่ า่ นมาในอดีต ท�าให้ประเทศทีค่ รอบครอง อาวุธเหล่านี้มีศักยภาพทางการทหารสูงขึ้น ซึ่งเป็น ส่ ว นหนึ่ ง ของพลั ง อ� า นาจแห่ ง ชาติ เ พื่ อ ใช้ ใ นการ ปกป้องอธิปไตยของประเทศตน และเป็นข้อต่อรอง เพื่อความได้เปรียบในการเจรจาของเวทีการเมือง ระหว่างประเทศอีกด้วย ปัจจุบันอาวุธฉลาดที่สร้าง ความภาคภูมิใจให้กับชาวกองทัพอากาศทุกคนก็คือ จรวดโจมตีเรือ RB 15 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการ เครือ่ งบินขับไล่กริพเพน ทีค่ อยปกป้องทัง้ ท้องฟ้าและ น่านน�้าทะเลของไทยในปัจจุบันนี้
- https://www.reddit.com/r/ImaginaryWarships/comments/9effze/italian_battleship_roma_under_attack_by_german/ - https://th.wikipedia.org/wiki/ยาส_39 -
https://en.wikipedia.org/wiki/Fritz_X (สืบค้นเมื่อ ๗ เมษายน ๒๕๖๒) https://en.wikipedia.org/wiki/Henschel_Hs_293 (สืบค้นเมื่อ ๗ เมษายน ๒๕๖๒) https://en.wikipedia.org/wiki/Kehl-Strasbourg_radio_control_link (สืบค้นเมื่อ ๗ เมษายน ๒๕๖๒) http://www.dti.or.th/page_bx.php?cid=24&cno=4184 (สืบค้นเมื่อ ๗ เมษายน ๒๕๖๒) https://kapitaennem0.wordpress.com/2013/08/12/missile/ (สืบค้นเมื่อ ๗ เมษายน ๒๕๖๒)
ข่าวทหารอากาศ
87
เวลาการ์ตูน CARTOON’s TIME
มีสกรีน
BLONDIE
ภาพ ๑ - ผมไม่อยากพูดถึงการเมืองอีกแล้วนะ ภาพ ๒ - คุณพูดถูกทีเดียว ที่ไม่อยากพูดถึงมัน ! ภาพ ๓ - อะไรคือเหตุผล ที่จะโต้เถียงกัน ในเมื่อคุณรู้ว่า ผมเป็นฝ่ายถูกน่ะ! to want
anymore (adv.) darn (adv.) Sense (n.)
- อยาก, ต้องการ (to need) ถ้าจะบอกว่าต้องการท�าอะไร ต้องตามด้วยกริยาที่มี to น�าหน้า Ex. I want to take a vacation next month. (ฉันอยากไปเที่ยวพักผ่อน ในเดือนหน้า) กริยาตัวอื่นที่ใช้เหมือนกันได้แก่ need, hope, expect, plan, wish Ex. I hope to see you again. (ฉันหวังว่าจะได้พบคุณอีก) - เป็นค�าวิเศษณ์ แปลว่า ไม่อีกต่อไป (any lorger) ใช้ในประโยคปฏิเสธและค�าถาม Ex. She doesn’t live here anymore. (เธอไม่ได้อยู่ที่นี่แล้ว) และ Why don’t you speak to him anymore ? (ท�าไมเธอไม่พูดกับเขาแล้วล่ะ) - เป็นค�าสบถ แปลว่า มาก (very, extremely) อีกค�าที่ใช้คือ demn ใช้ในภาษาพูด ที่ไม่เป็นทางการ Ex. It’s darn cold tonight. (คืนนี้หนาวมาก ๆ ) - ในที่นี้ แปลว่า ความเข้าใจอย่างมีเหตุผล (good understanding based on reasons) adj คือ sensible (มีเหตุผล) Ex. I think that’s a very sensible idea. (ฉันคิดว่านั้นเป็นความคิดที่มีเหตุผลดีมาก)
88
ANDY CAPP
ภาพ ๑ - ฉันไม่เชื่อเลยว่าน�้าหนักขึ้นมา ๒ ปอนด์ อาทิตย์นี้! ภาพ ๒ - ฉันท�าแม้แต่ถอดเสื้อผ้าเหลือชุดชั้นใน ตอนชั่งน�้าหนักน่ะ ภาพ ๓ - ฉันคิดว่าบราเซียร์ของฉันมันน�้าหนักขึ้น to gain weight
even (adv.)
stripped underwear (n.) to get weighed bra (n.)
- มีน�้ำหนักขึ้น (to put on weight) ถ้ำมีน�้ำหนักลดลง คือ to lose some weight. (หมอบอกให้ฉันลดน�้ำหนักบ้ำง) และ Bill gained weight since he gave up smoking. (บิลมีนำ�้ หนักมำกขึน้ ตัง้ แต่เลิกสูบบุหรี)่ นอกจำกนัน้ คนทีต่ อ้ งระวังน�ำ้ หนัก จะพูดว่ำ Sam has a weight problem. (แซมมีบัญหำเรื่องน�้ำหนักตัว) He has to watch his weight. (เขำต้องระวังน�้ำหนักตัว) - ในทีน่ ี้ แปลว่ำ แม้กระทัง่ ใช้ยำ�้ ถึงบำงอย่ำงทีไ่ ม่ได้คำดคิดมำก่อน (used to emphasize something un expected or surprising) Ex. It was cold even in summer. (ที่นั่นอำกำศเย็น แม้กระทั่งในฤดูร้อน) และ My friend took me around the city and even treated us a wonderful dinner. (เพื่อนฉันพำเที่ยวในเมือง และยังเลี้ยงอำหำรเย็นอีกด้วย) - V. past simple tense ของ to stip (ถอดเสื้อผ้ำ to take off clothes) - ชุดชัน้ ใน อีกค�ำทีใ่ ช้คอื lingerie (แล้นเชอรี หรือ ลำนเชอเร่) มักเห็นตำมป้ำยร้ำน ที่ขำยชุดชั้นในสตรี - ชั่งน�้ำหนัก (to weigh) - เสื้อยกทรง ย่อมำจำก brassiere (เบรอเซียร์)
ข่าวทหารอากาศ
ธรรมประทีป
89
กอศ.ยศ.ทอ.
พระพุทธรูปประจ�ำวันอังคำร : ปำงไสยำสน์ ลักษณะพระพุทธรูป
พระพุทธรูปปางนี้ อยู่ในพระอิริยาบถนอนตะแคงข้างขวา พระบาทซ้ายทับพระบาทขวาเสมอกัน พระหัตถ์ซ้ายทาบทอดไปตามพระวรกาย พระกัจฉะ (รักแร้) ทับพระเขนย พระหัตถ์ยกขึ้นประคองพระเศียร ให้ตั้งขึ้น เป็นกิริยาไสยาสน์
ประวัติควำมเป็นมำ
สมัยหนึง่ พระพุทธองค์เสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหารในพระนครสาวัตถี ครัง้ นัน้ มี อสุรนิ ทราหู อุปราช (ผูส้ า� เร็จราชการ) ของท้าวเวปจิตติอสูรบดินทร์ ผูค้ รองอสูรพิภพได้สดับพระเกียรติคณ ุ ของพระพุทธเจ้า จากส�านักเทพยาดาทั้งหลาย ถึงความสมบูรณ์พร้อมของพระองค์ จึงมีความปรารถนาจะเข้าเฝ้าพระองค์ แต่ก็คิดว่าพระพุทธองค์เป็นมนุษย์ มีพระกายเล็ก คงจะต้องก้มลงมองล�าบาก และก็ไม่เคยก้มเศียรให้ใคร จึงไม่ยอมเข้าเฝ้า แต่ครั้นเห็นเหล่าเทพยดาและพรหมทั้งหลายไปเฝ้าพระพุทธองค์คราวละมาก ๆ ก็มีความ ปรารถนาจะเข้าเฝ้าจึงตัดสินพระทัยเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้ายังทีป่ ระทับ พระพุทธองค์ทรงทราบด้วยอนาคตังญาณ (การหยัง่ รูอ้ นาคต) ว่าอสุรนิ ทราหูจะเข้าเฝ้า และทรงทราบความในใจด้วยก่อนทีอ่ สูรนิ ทราหูจะเข้าเฝ้าพระองค์ ก็เสด็จประทับบรรทมบนพระแท่นทีป่ ระทับทรงท�าปาฏิหาริยเ์ นรมิตพระกายให้ใหญ่กว่าอสุรนิ ทราหูหลายเท่า ซึง่ จะปรากฏให้เห็นเฉพาะอสุรนิ ทราหูเห็นเพียงผูเ้ ดียวเท่านัน้ เมือ่ อสุรนิ ทราหูเข้าเฝ้าเห็นเข้าจึงเป็นทีอ่ ศั จรรย์ใจมาก พระพุทธองค์ทรงทรมานให้อสุรินทราหูลดทิฏฐิมานะอันกระด้างลงได้ กลับมีใจเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ขอถึงพระองค์เป็นสรณะพระพุทธจริยาตอนเสด็จบรรทมสีหไสยาสน์นี้ เป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูป ทีเ่ รียกว่า “ปางไสยาสน์” ถือเป็นพระบูชาประจ�าวันเกิดส�าหรับผู้ที่เกิดวันอังคาร
90
พระพุทธรูปประจ�ำวันพุธ : ปำงอุ้มบำตร ลักษณะพระพุทธรูป
พระพุทธรูปปางนี้ อยูใ่ นพระอิรยิ าบถยืน ส้นพระบาททัง้ สองชิดกัน พระหัตถ์ทงั้ สองยกประคองบาตร ราวสะเอว มีบาตรวางอยู่ที่ฝ่าพระหัตถ์ในท่าประคอง
ประวัติควำมเป็นมำ
เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จกลับไปยังพระนครกบิลพัสดุ์ ทรงแสดงปาฏิหาริย์เหาะขึ้นไปบนอากาศ ให้ถวายบังคมแล้วเสด็จลงมาประทับพระบวรพุทธอาสน์ ยังฝนโบกขรพรรษให้ตกลงในท่ามกลางสมาคมพระญาติ แล้วทรงประกาศ มหาเวสสันดรชาดก ยกขึ้นเทศนา เมื่อเทศนาจบ พระเจ้าสุทโธทนะพร้อมด้วยพระญาติ ก็เกิดความปิติเบิกบานแซ่ซ้องสรรเสริญจนลืมอาราธนาพระพุทธองค์ให้เสวย พระกระยาหารเช้าในวันรุ่งขึ้น ในเช้ า วั น ต่ อมาพระพุท ธองค์จึงทรงพาภิก ษุ ส งฆ์ เ สด็ จพระด� าเนิ นไปตามท้ อ งสนามหลวง ปรากฏแก่ ประชาราษฎร จึงต่างก็ได้โอกาสชมพระบารมีและมีความปิติยินดีโดยทั่วหน้ากันพระพุทธจริยาของพระองค์ ทรงอุ้มบาตร เสด็จพระพุทธลีลาศโปรดประชาชนชาวกบิลพัสดุ์ในครั้งนี้ จึงเป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูปที่เรียกว่า “ปางอุ้มบาตร” ขึ้น และนิยมสร้างเป็นพระจ�าวันเกิดส�าหรับคนที่เกิดวันพุธ
ข่าวทหารอากาศ
ศูนย์บรรเทาสาธารณภัยกองทัพอากาศ โทรศัพท์ : 0 2534 8333 และ 0 2534 2096
91
ในรั้วสีเทา
INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ 92
พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.และ พล.อ.จ.เคลวิน คอง ผบ.ทอ.สิงคโปร์ พร้อมคณะ ร่วมงานฉลองวาระครบ ๓๕ ปี การฝึกผสม ระหว่าง ทอ.และ ทอ.สิงคโปร์ (The 35th Air Combined Exercise Anniversary) ณ บน.๑ จว.นครราชสีมา เมื่อวันที่ ๔ มิ.ย.๖๒
พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานในการประชุมสัมมนาปลูกจิตส�านึกในการต่อต้านการทุจริตและสร้างจิตสาธารณะ ให้แก่ ก�าลังพล ทอ.พร้อมทั้งมีการจัดนิทรรศการแสดงผลการด�าเนินงานของศูนย์ประสานราชการใสสะอาด ทอ.และผู้ได้รับการยกย่องเป็นผู้ประพฤติ ปฏิบัติตนชอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ณ หอประชุมกานตรัตน์ เมื่อวันที่ ๕ มิ.ย.๖๒
คุณพงศ์อุมา ดิษยะศริน นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ.เป็นประธานในพิธีมอบทุนการศึกษาสมาคมแม่บ้าน ทอ.ประจ�าปี ๒๕๖๒ ให้แก่ บุตรข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ และนักเรียนที่ศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาของ ทอ. ณ ห้องชัยพฤกษ์ ๒ หอประชุม ทอ. เมื่อวันที่ ๑๑ มิ.ย.๖๒
INSIDE THE AIR FORCE
ในรั้วสีเทา
93 ขาวทหารอากาศ
พล.อ.อ.ชาญฤทธิ์ พลิกานนท์ รอง ผบ.ทอ.เป็นประธานในงานแถลงข่าวการแข่งขันฮอกกี้นานาชาติชิงถ้วยเกียรติยศ ผบ.ทอ. ณ อาคารศูนย์กีฬา สวนเฉลิมพระเกียรติฯ ทอ. เมื่อวันที่ ๑๓ มิ.ย.๖๒
พล.อ.อ.ภานุพงศ์ เสยยงคะ ประธานคณะที่ปรึกษา ทอ./ประธานกรรมการพัฒนางานด้าน สก.ทอ.พร้อมคณะ ตรวจเยี่ยมกิจการสวนปาล์มน�้ามัน วันทนา ทอ.(หัวเตย) บน.๗ โดยมี น.อ.ประเสริฐวิษณุ์ มหาขันธ์ ผบ.บน.๗ ให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุม บน.๗ จว.สุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ ๑๓ มิ.ย.๖๒
พล.อ.อ.ชาญยุทธ ศิริธรรมกุล ผช.ผบ.ทอ.เป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลกกองทัพอากาศ ประจ�าปี ๒๕๖๒ ณ อาคารศูนย์กีฬาสวนเฉลิมพระเกียรติฯ ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี เมื่อวันที่ ๕ มิ.ย.๖๒
ในรั้วสีเทา
INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ 94
พล.อ.ท.พงษ์ศักดิ์ เสมาชัย จก.กร.ทอ.พร้อมคณะ เยี่ยมชมกิจการนวัตกรรมการพิมพ์ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ของบริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จ�ากัด (มหาชน) โดยมี คุณสมคิด เวคินวัฒนเศรษฐ์ กรรมการผู้จัดการ ให้การต้อนรับ ณ บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จ�ากัด (มหาชน) จว.สมุทรสาคร เมื่อวันที่ ๔ มิ.ย.๖๒
พล.อ.ท.ภูมิใจ ชัยพันธุ์ ผบ.อย.พร้อมคณะ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ ณ บน.๒๑ โดยมี น.อ.วัชรพล นวลเป็นใย ผบ.บน.๒๑ ให้การต้อนรับ ณ บน.๒๑ จว.อุบลราชธานี เมื่อวันที่ ๑๒ มิ.ย.๖๒
พล.อ.ท.ภูมิพิชญ์ชากรณ์ จรรยาวิจักษณ์ จก.พอ.เป็นประธานในการประชุมวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ ๑ เรื่อง Humanitude care: Smart RTAF Nurse in Ageing Society ณ ห้องประชุมชั้น ๕ อาคารคุ้มเกศ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. เมื่อวันที่ ๑๓ มิ.ย.๖๒
INSIDE THE AIR FORCE
ในรั้วสีเทา
95 ขาวทหารอากาศ
พล.อ.ต.สุรสีห์ สิมะเศรษฐ์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบความพร้อมรบ และทดสอบแผนป้องกันที่ตั้งหน่วย ทอ.พร้อมคณะ ตรวจสอบ ความพร้อมรบ และทดสอบแผนป้องกันที่ตั้งหน่วย ทอ. ณ บน.๑ ประจ�าปี ๒๕๖๒ โดยมี น.อ.จักรกฤษณ์ ธรรมวิชัย ผบ.บน.๑ ให้การต้อนรับ ณ สนามฝึก พัน.อย.บน.๑ จว.นครราชสีมา เมื่อวันที่ ๑๐ มิ.ย.๖๒
พล.อ.ต.เรืองวิทย์ ศรีนวลนัด จก.ชย.ทอ.พร้อมคณะ ตรวจเยี่ยมสายงานด้าน ชย. ณ บน.๔๖ โดยมี น.อ.พนม ดอนตุ้มไพร รอง ผบ.บน.๔๖ ให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุม ๔๐๖ บน.๔๖ จว.พิษณุโลก เมื่อวันที่ ๕ มิ.ย.๖๒
พล.อ.ต.ธรรมนาย สุขแสง ผบ.ดม.เป็นประธานในการฝึกซ้อมการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยในพื้นที่ สน.ผบ.ดม.ประจ�าปี ๒๕๖๒ ณ อาคาร บก.พัน.สห.ทอ. กรม สห.ทอ.สน.ผบ.ดม. เมื่อวันที่ ๑๔ มิ.ย.๖๒
ในรั้วสีเทา
INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ 96
พล.อ.ต.สุวรรณ ข�ำทอง ผบ.รร.การบิน เป็นประธานในพิธีแสดงความรักและกตัญญูกตเวทีต่อบรรพชนไทย โดยมี ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ และสมาชิกชมรมแม่บ้าน ทอ.รร.การบิน เข้าร่วมพิธี ณ ลานพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ อ.ดอนเจดีย์ จว.สุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๙ มิ.ย.๖๒
น.อ.จักรกฤษณ์ ธรรมวิชัย ผบ.บน.๑ เป็นประธานในพิธีท�าบุญ เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาครบ ๖๖ ปี ฝูง.๑๐๒ บน.๑ โดยมี ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ ฝูง.๑๐๒ บน.๑ เข้าร่วมพิธี ณ ฝูง.๑๐๒ บน.๑ จว.นครราชสีมา เมื่อวันที่ ๑๔ มิ.ย.๖๒
น.อ.วสันต์ บัณฑิตศักดิ์สกุล ผบ.บน.๒ เป็นประธานในพิธีเนื่องในวันที่ระลึกวันคล้ายวันทิวงคต จอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ “พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ” ณ พระอนุสาวรีย์จอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ จว.ลพบุรี เมื่อวันที่ ๑๓ มิ.ย.๖๒
INSIDE THE AIR FORCE
ในรั้วสีเทา
97 ขาวทหารอากาศ
น.อ.อำนนท์ จำรุสมบัติ ผบ.บน.๔ เป็นประธานในพิธีแนะน�าตัวผู้บังคับบัญชา บน.๔ ให้แก่ทหารกองประจ�าการ รุ่นปี ๒๕๖๒ ผลัดที่ ๑ ณ ร้อย.ทย.พัน.อย.บน.๔ จว.นครสวรรค์ เมื่อวันที่ ๗ มิ.ย.๖๒
น.อ.สุนทร ผ่องอ�ำไพ ผบ.บน.๔๑ ให้การต้อนรับ Senior Colonel Nguyen Minh Tuan หัวหน้าคณะ ทอ.เวียดนาม พร้อมคณะ ตามโครงการ แลกเปลี่ยนการเยือน ทอ.กับ ทอ.เวียดนาม ณ ห้องประชุม บน.บน.๔๑ จว.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๑๓ มิ.ย.๖๒
น.อ.อติรวิชช์ ไพจิตร์ ผบ.บน.๕๖/ผอ.ศบภ.บน.๕๖ พร้อมคณะ ตรวจความพร้อมของอุปกรณ์และความพร้อมของก�าลังพล ศบภ.บน.๕๖ เพื่อเตรียมความพร้อมในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่รับผิดชอบและพื้นที่ใกล้เคียง ณ บก.บน.๕๖ จว.สงขลา เมื่อวันที่ ๑๑ มิ.ย.๖๒
98
Emergency Management Seminar 2019 ร.อ.หญิง วิวัสวัน เปล่งวิทยา สวัสดีคุณผู้อ่านทุก ๆ ท่าน กลับมาคราวนี้ ผู้เขียนมีเรื่องราวที่น่าสนใจเกี่ยวกับ Emergency Management มาน�าเสนอให้ทุกท่านได้ติดตามกัน เนือ่ งจากว่าผูเ้ ขียนได้มโี อกาสเข้าร่วมโครงการอบรมดี ๆ ทีท่ าง Australian Defence Force ได้จดั ขึน้ เป็นประจ�า เกี่ยวกับการจัดการด้านนี้โดยเฉพาะ มุ่งเน้นให้เห็น ถึงระบบการจัดการที่ภาครัฐได้จัดวางโครงสร้างไว้ และเอื้อให้พลเรือนของประเทศได้เข้ามามีส่วนร่วม อย่างจริงจังในการร่วมกันระงับเหตุฉกุ เฉินหรือวิกฤต จากภัยในรูปแบบต่าง ๆ
Australia
ออสเตรเลียเป็นประเทศทีม่ ขี นาดใหญ่มาก อาจใช้เวลามากถึง ๔ ชั่วโมงในการบินข้ามประเทศ จากตะวันออกไปตะวันตก ถ้าใครนึกไม่ออก ก็มขี นาด ที่ใหญ่กว่าทวีปยุโรปเสียอีก โดยประชากรส่วนใหญ่ จะกระจายตัวกันอยู่ตามพื้นที่ชายฝั่งของประเทศ โดยตรงกลางของประเทศเป็นพื้นที่ที่มีทั้งแห้งแล้ง และอุดมสมบูรณ์ ประมาณหนึง่ ในสามเป็นทะเลทราย (สีสม้ ในแผนที)่ โดยมีภยั ประจ�าถิน่ ทีเ่ กิดขึน้ เป็นประจ�า ก็คือ Bushfires, Storms, Heatwaves, Cyclones, Floods และ Earthquakes ซึง่ ในเหตุทเี่ กิดบ่อยมากทีส่ ดุ
คือไฟป่า โดยปีนี้มีอุณหภูมิสูงถึง ๔๔ องศาเซลเซียส ซึ่งถือว่าร้อนที่สุดในรอบ ๑๐ ปี หลังจากวัน Black Saturday เมื่อปี ค.ศ.๒๐๐๙ ที่อุณหภูมิอยู่ที่ ๔๖.๔ องศาเซลเซียส เหตุการณ์เช่นนี้อาจก่อให้เกิดเหตุ ฉุกเฉินหลากหลายเหตุการณ์ เช่น ไฟป่ากินพื้นที่ บริเวณกว้าง เผาเนินเขาและบ้านเรือนจ�านวนมาก หรือไฟฟ้าดับทั้งเมืองจากการแย่งกันใช้ไฟฟ้าในช่วง อากาศร้อนจัด โรงพยาบาลต้องการกระแสไฟในการรักษา ผู้ป่วยโดยเร่งด่วนหรือในปีที่แล้ว ออสเตรเลียเผชิญเหตุ กับพายุฝนถล่มหนักในรอบร้อยปี จนน�า้ ท่วมระบบการขนส่ง โกลาหลไปทัว่ เมือง ประชาชนได้รบั ผลกระทบจ�านวนมาก
จากเหตุการณ์ที่ยกตัวอย่างนี้ออสเตรเลีย เผชิญเหตุเหล่านีอ้ ยูต่ ลอดเวลาและเคยเกิดขึน้ ในช่วงเวลา ใกล้เคียงกันมาแล้ว ท�าให้ทางการต้องจัดการอย่างเป็นระบบ การเดินทางเข้าร่วมอบรมของผูเ้ ขียนในครัง้ นี้ ได้เรียนรู้ ครอบคลุมหลากหลายหัวข้อ อาทิ แผนเผชิญเหตุฉกุ เฉิน และแผนการฟืน้ ฟูภายหลังการเกิดเหตุ เข้าศึกษาดูงาน ณ ACT Emergency Services Agency ซึ่งเป็นศูนย์รวม ของการบัญชาการและสั่งการในเหตุการณ์ฉุกเฉิน ทัง้ หมดและมี Function ในการท�างานทีน่ า่ สนใจมาก คือ SPOT : Single Point Of Truth นอกจากนั้น ยังได้ฟัง บรรยายจาก SES : State Emergency Service ซึง่ เป็น หน่วยงานทีด่ แู ล Volunteers ทีป่ ฏิบตั งิ านด้านการจัดการ เหตุฉกุ เฉินทัง้ หมด ต้องบอกก่อนว่าคนประเทศนีเ้ ขาเสียสละ กันอย่างจริงจัง อาสาสมัครที่นี่เขาต้องผ่านการฝึก
Ă÷ŠćÜđךöךîǰÝîëċÜöćêøåćîÿćÖúìĊÖę ćĞ ĀîéĕüšǰĒúąìčÖÙî ìĞćÜćîĂćÿćÿöĆÙøîĊĒĚ ïïǰ1BSU UJNFǰĒêŠđöČĂę öĊÖćøđøĊ÷Ö đöČĂę ĕĀøŠǰóüÖđ×ćóøšĂöìĊÝę ąöćĒúąðäĉïêĆ õĉ ćøÖĉÝêćöìĊę ĕéšòÖř öćìĆîìĊǰõćÙøĆåĒúąđĂÖßîÖĘÿÜŠ đÿøĉöÖćøöĊÿüŠ îøŠüö ×ĂÜßčößîđøČęĂÜîĊĚĂ÷ŠćÜöćÖǰĒúąÝĆéĔĀšöĊÜćîǰ/BUJPOBMǰ 7PMVOUFFSǰ8FFLǰ×ċĚîđðŨîðøąÝĞćìčÖðŘǰ Ă÷ŠćÜðŘîǰĊĚ öĊÙĂîđàĘðìĊęüŠćǰĶ.BLJOHǰBǰXPSMEǰPGǰEJGGFSFODFķǰ ēé÷ìčÖÙîÝąøŠüöÖĆîĒêŠÜÖć÷ǰĀøČĂđÙøČĂę ÜðøąéĆïìĊöę ÿĊ ÿĊ öš ǰ đóČęĂĒÿéÜĂĂÖëċÜÖćøÿîĆïÿîčîÖĉÝÖøøöéĆÜÖúŠćüéšü÷ ÷ĆÜöĊÖćøĕðéĎÜćîìĊęǰ #VTIǰ'JSFǰ#SJHBEF 3VSBMǰ'JSFǰ 4FSWJDFǰ àċęÜđøćĕéšøĆïìøćïëċÜÖćøđêøĊ÷öêĆüđïČĚĂÜêšî ×ĂÜóúđöČĂÜìĊęîĊęéšü÷ÖøèĊêšĂÜđñßĉâÖĆïđĀêčÖćøèŤ ĕôðśćđߊîîĊĚǰ đ×ćÝąöĊǰ $IFDLǰMJTUǰÿĉęÜ×ĂÜ×ĂÜêîđĂÜ øüöëċÜ×ĂÜÿĆêüŤđúĊĚ÷Üéšü÷ǰ đóČęĂÝąĕéšđêøĊ÷öêĆüĕéšìĆî ĒúąßŠü÷đĀúČĂêĆüđĂÜĕéšĔîđïČĂĚ ÜêšîǰĒúąĕöŠĀúÜúČöÿĉÜę Ĕéǰ ǰ îĂÖÝćÖîĆĚî÷ĆÜĕéšđךćøĆïôŦÜïøø÷ć÷ÝćÖìĊöǰ 64"3ǰ ǰ6SCBOǰ4FBSDIǰBOEǰ3FTDVFǰöČĂĂćßĊóĂĊÖéšü÷ǰ öĊÖćø÷ÖêĆüĂ÷ŠćÜÖøèĊđĀêčÖćøèŤìĊęǰ $ISJTUDIVSDIǰ ĔĀšéĎđðŨîêĆüĂ÷ŠćÜéšü÷üŠćǰ ÖćøìĞćÜćî×ĂÜìĊöǰ 64"3ǰ ìĊöę ćøüöêĆüÖĆîÝćÖĀúć÷ðøąđìýǰđ×ćöĊöćêøåćîĂ÷ŠćÜĕø ĔîÖćøðäĉïêĆ Üĉ ćîǰàċÜę ðøąđìýĕì÷đĂÜÖĘÖćĞ úĆÜÝąđךćøĆï ÖćøìéÿĂïêćööćêøåćîĔîðŘÿĂÜðŘîĊĚĒúšüǰĒúąđøćöĊ ýĎî÷ŤòřÖìĊöǰ64"3ǰĔĀâŠöćÖǰĂ÷ĎŠìĊęÝĆÜĀüĆéÞąđßĉÜđìøć ×ĂÜĀîŠü÷ïĆâßćÖćøìĀćøóĆçîćǰÙćéüŠćÝąĕéšøïĆ Öćø ÙĆéđúČĂÖĔĀšđðŨîǰ)VCǰ×ĂÜÖĉÝÖćøéšćîÙšîĀćĒúąßŠü÷ßĊüêĉ ×ĂÜõĎöõĉ ćÙǰĒîŠîĂîüŠćñĎđš ךćøŠüöĂïøöìĆÜĚ ĀöéđðŨîìĀćø öćÝćÖǰĨǰðøąđìýǰóüÖđøćÖĘöēĊ ĂÖćÿìĊÝę ąĕéšđøĊ÷îøĎüš ćŠ ìĀćøÝąđךćĕðöĊÿŠüîøŠüöĔîđĀêčÖćøèŤÞčÖđÞĉîêøÜÝčé ĕĀîïšćÜǰĒêŠēé÷ÿŠüîĔĀâŠÖćø×ĂÙüćöߊü÷đĀúČĂÝćÖ ìćÜìĀćøÝąëČ Ă đðŨ î úĞ ć éĆ ï ìš ć ÷ÿč é đìŠ ć ìĊę Ý ąìĞ ć ĕéš ÿĞćĀøĆïìĊęîĊęǰ õć÷ĀúĆÜÝćÖîĆĚîđøćĕéšđךćĕðéĎÜćîǰ ìĊÖę øąìøüÜÖćøêŠćÜðøąđìýĒúąÖćøÙšć×ĂÜĂĂÿđêøđúĊ÷ǰ đøćĕéšìøćï×ĆîĚ êĂîìĊßę éĆ đÝîöćÖđøČĂę Üǰ$SJTJTǰ.BOBHFNFOUǰ BOEǰ$POUJOHFODZǰ1MBOOJOHǰàċÜę ìćÜĂĂÿđêøđúĊ÷öĊÖćø ĒïŠÜÖćøìĞćÜćîìĊęßĆéđÝîÿĞćĀøĆïÖøèĊìĊęđÖĉéĔîĒúą êŠ ć ÜðøąđìýÝąöĊ Ā îŠ ü ÷ÜćîìĊę éĎ Ē úéš ć îÖćøêĉ é êŠ Ă ðøąÿćîÜćîēé÷đÞóćąÿĞ ć ĀøĆ ï ìøĆ ó ÷ćÖøĒúą ïčÙúćÖøéšćîïøøđìćÿćíćøèõĆ÷ǰ ĒúąìĞćÜćîêúĂéǰ ģĥǰ ßĆęüēöÜǰ ēé÷ÝąöĊñĎšĒìî×ĂÜĀîŠü÷Ă÷ĎŠðøąÝĞć êćöðøąđìýêŠćÜǰėǰìĆęüēúÖ
ǰ ÖćøĔĀšïøĉÖćøìćÜéšćîÖćøĒóì÷ŤìĊęîĊęđ×ćÖĘöĊ ÙüćöóøšĂööćÖđߊîÖĆîǰ ēé÷ĕéšĕðéĎÜćîÖĆîìĊęǰ "$5ǰ "NCVMBODFǰ 4FSWJDFǰ ìĞćĔĀšóïüŠćøąéĆïîē÷ïć÷ đ×ćĔĀšÙüćöÿĞćÙĆâöćÖÖĆïÖćøÝĆéÖćøĔîõćüąÞčÖđÞĉîêŠćÜǰėǰ đøĉęöêĆĚÜĒêŠïčÙúćÖøĒúąĂčðÖøèŤìĊęĔßšĔîõćøÖĉÝêŠćÜǰ ėǰ êšĂÜĔßšÜćîĕéšéĒĊ úąðúĂéõĆ÷ǰđÝšćêčÖŢ êćĀöĊîĂš ÷Ĕîõćóǰ đÝšćĀîšćìĊęđĂćĕüšĔßš÷ćöìĊęöĊñĎšïćéđÝĘïđðŨîđéĘÖàċęÜđ×ćüŠć ߊü÷ĕéšöćÖĔîÖćøÿćíĉêÖćøìĞćĀĆêÖćøìćÜÖćøĒóì÷ŤêćŠ Üǰėǰ ĔĀšđéĘÖǰėǰéĎÖŠĂîǰÝąĕéšĕöŠÖúĆüǰĒîŠîĂîüŠćÖćøìĞćÜćî ĔîõćüąÞčÖđÞĉîđߊîîĊĚǰ êšĂÜóĎéëċÜđĀêčÖćøèŤÿċîćöĉ ĔîõĎöĉõćÙđøćĒîŠîĂîǰ ĒúąìĊöÜćîìĊęđðŨîñĎšëŠć÷ìĂé ĔîÙøĆÜĚ îĊÙĚ ĂČ ÖúčöŠ ÙîìĊđę ךćöćìĞćÜćîĔîđĀêčÖćøèŤîĂĊĚ ÷ĎîŠ ćî ëċÜǰ Ģĩǰ đéČĂîǰ ĒúąđךćöćêĆĚÜøąïïǰ %7*ǰ ǰ %JTBTUFSǰ 7JDUJNǰ*OWFTUJHBUJPOǰĔĀšđðŨîĕðêćöĀúĆÖÖćøðäĉïêĆ Üĉ ćî ÿćÖú×ĂÜǰ*OUFSQPMǰĒúąĀúĆÖöîčþ÷ßîĂĊÖéšü÷ǰ øć÷úąđĂĊ÷éĔîĒêŠúąÿëćîìĊę÷ĆÜöĊĂĊÖöćÖöć÷ǰ ǰǰ ĕüšÝąîĞćöćđÿîĂêĂîêŠĂĕðĔîÞïĆïĀîšć