หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน สิงหาคม 2562

Page 1

ปที่ ๗๙ ฉบับที่ ๘ เดือนสิงหาคม ๒๕๖๒

ขาวทหารอากาศ

AIR

http://www.airforcemagazine.rtaf.mi.th

FORCE

ปที่ ๗๙ ฉบับที่ ๘ เดือนสิงหาคม ๒๕๖๒


บทอาเศียรวาท สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๒ สิบสองสิงหาคมอุดมสมัย ราชสมภพพระบรมราชินี พระเกียรติคุณพูนศรีมณีไสว พระกรุณาเปนเลิศตางเทิดทูน คูบารมีพระภูมิพลมหาราช พระชนนีองคทศมินทรปนราชา พระแมเจาชาวสยามงามสงา คุณตางตางสวางไสววิไลวรรณ สิบสองสิงหาคมอุดมถึง จึงยึดถือเปนวันแมแผบุญญา ลูกทุกคนตั้งจิตสนิทมั่น ตั้งใจกราบบูชาคาดวงแด สิบสองสิงหาคมอุดมศรี แหงองคพระพันปที่ตราตรู ขอคุณพระรัตนตรัยคุณไพศาล เทพทั้งปวงโปรดคุมครองปองกันภัย

ปวงชาวไทยปรีเปรมเกษมศรี พระพันปหลวงไทยสุดไพบูลย น้ำพระทัยเปยมฤดีมิมีสูญ นับเปนบุญของชาติมิคลาดคลา งามพิลาสดวยพระคุณบุญวาสนา พระมารดาที่ประเสริฐเลิศอนันต ทุกทิศาเทิดยิ่งเปนมิ่งขวัญ ยังผูกพันในจิตเปนนิตยมา ไทยตางซึ้งถึงพระคุณบุญวาสนา ดวยคุณคาพระบารมีมิผันแปร สิบสองสิงหาสำคัญเปนวันแม พระคุณแมเทิดมั่นกตัญู เปนวันเทิดพระบารมีที่เลิศหรู ไทยทุกผูตางเทิดเกลาพระแมไทย อภิบาลพระพันปที่สดใส ทุกพรชัยคุมครององคทรงพระเจริญ

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ ขาพระพุทธเจา ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ ทหารกองประจำการ และครอบครัวกองทัพอากาศ น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ


ข่าวทหารอากาศ

พระมหากรุณาธิคุณแห่งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

เนือ่ งในโอกาสมหามงคลวันเฉลิมพระชนมพรรษา ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง เพือ่ เป็นการเทิดพระเกียรติ ทีพ่ ระองค์ทรงมีตอ่ พสกนิกรมาโดยตลอด คณะผูจ้ ดั ท�ำ หนังสือข่าวทหารอากาศจึงขอน้อมน�ำพระราชประวัติ และพระกรณียกิจของพระองค์ท่านมาน�ำเสนอให้ ท่านผู้อ่านได้ร่วมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณดังนี้ พระองค์ทรงพระราชสมภพเมือ่ วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๗๕ ทรงเป็นธิดาในหม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิตยิ ากร (ภายหลังได้รบั โปรดเกล้าตัง้ เป็น พระวรวงศ์เธอ กรมหมืน่ จันทบุรสี รุ นาถ) กับ หม่อมหลวงบัว กิตยิ ากร โดยมี เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์ สท้าน สนิทวงศ์) เป็นพระอัยกา ทรงมีพระนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ สิรกิ ติ ิ์ กิตยิ ากร ส�ำหรับพระนาม “สิรกิ ติ ”ิ์ ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว มีความหมายว่า “ผู้เป็นศรีแห่งกิติยากร” ในปี พ.ศ.๒๔๘๙ หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สงบลง พระบิดาเสด็จไปด�ำรงต�ำแหน่งอัครราชทูตผูม้ อี ำ� นาจเต็ม ประจ�ำส�ำนักเซนต์เจมส์ ประเทศอังกฤษและได้พา

3

พุทธรักษา

ครอบครัวทัง้ หมดไปพ�ำนักในต่างประเทศด้วย ในขณะนัน้ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ มีอายุได้ ๑๓ ปี และเรียนจบชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ แล้ว จึงได้ทรงศึกษาต่อทัง้ วิชาภาษา อังกฤษและฝรั่งเศส รวมทั้งวิชาเปียโนกับครูพิเศษ หลังจากนัน้ ไม่นาน พระบิดาย้ายไปประเทศเดนมาร์ก และฝรัง่ เศสตามล�ำดับ ขณะทีพ่ ระองค์กย็ งั คงเรียนเปียโน และตัง้ ใจจะศึกษาต่อในวิทยาลัยการดนตรีทมี่ ชี อื่ เสียง ของกรุงปารีสจนจบ ด้วยพระปรีชาด้านดนตรีและ โปรดการดนตรีเป็นพิเศษ ตลอดจนทรงสนใจศิลปะ เช่ น เดี ย วกั บ พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาล ที่ ๙) ท�ำให้ตอ้ งพระราชหฤทัย รวมทัง้ ยังคอยเฝ้าถวาย การดูแลเมือ่ ทรงประสบอุบตั เิ หตุทางรถยนต์ ณ ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ ขณะทรงเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล แห่งหนึง่ ทรงอภิเษกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๓ และได้รับ การสถาปนาจาก หม่อมราชวงศ์สริ กิ ติ ิ์ กิตยิ ากร ขึน้ เป็น “สมเด็จพระราชินสี ริ กิ ติ ”ิ์ นอกจากนีส้ มเด็จพระนางเจ้า สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ทรงเป็นผูส้ ำ� เร็จราชการแทนพระองค์ ขณะทีพ่ ระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๙๙ – ๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๙ พระองค์จึงทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ เมื่ อ วั น ที่


4

๕ ธั น วาคม พ.ศ.๒๔๙๙ ถื อ เป็ น สมเด็ จ พระบรม ราชินีนาถพระองค์ที่ ๒ ของกรุงรัตนโกสินทร์ต่อจาก สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ ๕ (สมเด็จพระศรีพชั รินทรา บรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปี) ขณะทรงมีพลานามัยแข็งแรง ทรงพระราชกรณียกิจ ที่เปี่ยมด้วยพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทย ดั ง พระราชเสาวนี ย ์ “...พระเจ้ า อยู ่ หั ว เป็ น น�้ ำ ฉั น จะเป็ น ป่ า ป่ า ที่ ถ วายความจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ น�้ ำ พระเจ้าอยู่หัวสร้างอ่างเก็บน�้ำ ฉันก็จะสร้างป่า…” ในขณะที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเน้น เรื่องชลประทาน การเกษตร และการพัฒนาชนบท โดยโปรดเกล้าฯ จัดหาแหล่งน�้ำให้ราษฎรได้มีนำ�้ ไว้ใช้ ในการเพาะปลูกและเลีย้ งสัตว์ เพราะทรงตระหนักดีวา่ “น�ำ้ คือต้นก�ำเนิดของชีวติ ” สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ ก็ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ที่เกื้อหนุนกัน โดยทรงเน้นเรื่องป่าและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติไว้ให้ลกู หลานไทย นอกเหนือจาก การพระราชทานอาชีพเสริมแก่ราษฎรให้สามารถ เลี้ยงตัวเองได้อย่างยั่งยืน และเสด็จทรงงานเคียงข้าง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร มาโดยตลอด โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทถิ่นทุรกันดาร ทรงตรากตร�ำ พระวรกายบุกป่าฝ่าดง ขึน้ เขาลงห้วย เพือ่ ทรงบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขแก่ราษฎร ตลอดเวลาหลายทศวรรษทีผ่ า่ นมา ทรงอุทิศพระองค์อย่างมิรู้จักเหน็ดเหนื่อย เพื่อทรง ค้นหาหนทางช่วยเหลือให้พสกนิกรของพระองค์มชี วี ติ ที่ดีขึ้น และได้พออยู่พอกิน โดยพระราชทานแนว พระราชด�ำริในการด�ำเนินโครงการต่าง ๆ ไว้หลากหลาย ด้านมากกว่า ๔,๐๐๐ โครงการ เช่น โครงการป่ารักน�ำ้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และโครงการที่มีสาขา ขยายกว้ า งขวางไปทั่ ว ประเทศโครงการหนึ่ ง ก็ คื อ โครงการส่งเสริมศิลปาชีพ ภายหลังทรงพระกรุณา

โปรดเกล้าฯ ให้กอ่ ตัง้ เป็นมูลนิธสิ ง่ เสริมศิลปาชีพพิเศษ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ถือเป็นแหล่งเรียนรู้และสร้าง อาชีพทีย่ งั่ ยืนให้กบั ราษฎรทีส่ ำ� คัญ โดยมุง่ ฝึกอาชีพงาน ศิลปหัตถกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ จากเส้นใยพืช การแกะสลักการจักสาน การท�ำตุ๊กตา การท�ำดอกไม้ประดิษฐ์ การท�ำเครื่องเรือน การทอผ้า ผลิตภัณฑ์จากผ้า การย้อมสี ช่างเชื่อม และเครื่อง เคลือบดินเผา เพื่อสร้างงาน สร้างอาชีพให้ประชาชน และสร้างความมัน่ คงให้ประเทศชาติ โดยทรงมีปรัชญา การทรงงานคือ ทรงท�ำตามและยึดแนวพระราชด�ำริ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นหลัก โดยตั้ง อยู่บนพื้นฐานส�ำคัญ ๕ ประการ คือ ทรงให้ความ ส�ำคัญกับการแก้ปัญหาในระดับพื้นฐานของประเทศ อันได้แก่ ชนบท และเกษตรกร ซึง่ เป็นแหล่งผลิตอาหาร ของประเทศ ทรงเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่มีคนเป็นศูนย์กลาง ทรงให้ความ ส�ำคัญกับโอกาสของราษฎรที่จะได้รับการพัฒนาและ มีส่วนร่วม โดยทรงมั่นพระทัยว่า ราษฎรนั้นมีความรู้ ความสามารถอยู่แล้ว เพียงแต่ให้โอกาสพวกเขาได้ แสดงออก ทรงเน้นการพัฒนาด้านจิตใจของคนในชาติ เพื่อปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม น�ำไปสู่การพัฒนา อย่างยัง่ ยืน และทรงให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมงาน พั ฒ นาหลั ก ของรั ฐ บาลเพื่ อ สร้ า งประโยชน์ สุ ข แก่ ประชาชนอย่างยั่งยืน

อ้างอิง - https://th.wikipedia.org./สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง - https://www.dmcr.go.th/detailAll/17410/pc/23


กจิ กรรมเฉลมิ พระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นทรมหาวชราลงกรณ พระวชรเกลาเจาอยหู วั เนอื่ งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒


กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒


ข่าวทหารอากาศ

7

บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน เนือ่ งในโอกาสมหามงคลวันเฉลิพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๒ สิงหาคม ของทุ ก ปี คณะผู ้ จั ด ท� ำ หนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระพรชัยมงคล ด้ ว ยความจงรั ก ภั ก ดี และน้ อ มส� ำ นึ ก ในพระมหา กรุณาธิคณ ุ ทีพ่ ระองค์ทรงพระราชกรณียกิจล้วนเปีย่ ม ด้วยพระเมตตาดุจพระมารดาแห่งอาณาประชาราษฎร์ ชาวไทยทัง้ ปวง ดังพระราชเสาวนีย์ “...พระเจ้าอยูห่ วั เป็นน�ำ้ ฉันจะเป็นป่า ป่าทีถ่ วายความจงรักภักดีตอ่ น�ำ้ พระเจ้าอยู่หัวสร้างอ่างเก็บน�้ำ ฉันก็จะสร้างป่า…" รั ฐ บาลไทยจึ ง ได้ ป ระกาศให้ วั น ที่ ๑๒ สิ ง หาคม ของทุกปีเป็น “วันแม่แห่งชาติ” พร้อมกันนี้ได้ขอ อัญเชิญพระฉายาลักษณ์ของ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ขึ้นเป็นภาพปกในฉบับนี้ด้วย นอกจากนี้ คณะผู้จัดท�ำหนังสือข่าวทหาร อากาศขอฝากความห่ ว งใยมายั ง ท่ า นผู ้ อ ่ า นที่ รั ก ทุกท่าน เนือ่ งจากขณะนีอ้ ยูใ่ นช่วงฤดูฝนขอให้ทกุ ท่าน ดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวให้ปราศจาก โรคภัยไข้เจ็บทีม่ ากับฤดูฝน ตลอดจนขับรถด้วยความ ระมัดระวังเพื่อความปลอดภัยในการเดินทางทุกครั้ง

เรื่ อ งเด่ น ในฉบั บ ได้ แ ก่ การเสริ ม สร้ า ง ขีดความสามารถของกองทัพอากาศในการสนับสนุน ความมั่นคงแห่งชาติด้านอวกาศ “RTAF space capability building to support the National Space Security”, ผลงาน KM การรวบรวม ประวั ติ ก องทั พ อากาศอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ : กลุม่ The Muse สบ.ทอ., EA-18G Growler “บ.โจมตี ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ” , บทเรี ย นการช่ ว ยเหลื อ แ ล ะ บ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภั ย ก ร ณี เ กิ ด ภั ย พิ บั ติ ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย, ระฆัง “อุโฆษบุญเบิกฟ้า” และ “กึ ก ก้ อ งนภาบู ช าธรรม” นอกจากนี้ ยั ง มี คอลัมน์ประจ�ำทีน่ า่ สนใจอีกมากมาย เชิญพลิกอ่านได้ ตามอัธยาศัยครับ 


8

สารบัญ

ปี ที่ ๗๙ ฉบั บ ที่ ๘ เดื อ นสิ ง หาคม ๒๕๖๒

๒ บทอาเศียรวาท สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง - น.อ.เกษม พงษ์พันธ์ ๓ พระมหากรุณาธิคุณแห่งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง - พุทธรักษา ๕ กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรามาธิบดี ศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ๑๐ การเสริมสร้างขีดความสามารถของกองทัพอากาศในการสนับสนุน ความมั่นคงแห่งชาติด้านอวกาศ “RTAF space capability building to support the National Space Security” - น.อ.สุรพงษ์ ศรีวนิชย์ ๑๕ เปิดปูม ๑๐๐ ปีการบินของบุพการีทหารอากาศ - พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร ๒๓ KM : การรวบรวมประวัติกองทัพอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ - สบ.ทอ. ๓๐ ครูภาษาพาที : สถานที่ส�ำคัญในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก - มะลิลา ๓๕ การรักษาข้อเข่าเสื่อมโดยการผ่าตัด - พล.อ.ต.ผศ.นพ.จ�ำรูญเกียรติ ลีลเศรษฐพร ๔๐ Red Eagle อินทรีแดงแผลงฤทธิ์ : การลงเชือกโรยตัว (RAPPELLING) - น.ต.ภฤศพงศ์ ช้อนแก้ว ๔๗ EA-18G Growler “บ.โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์” - น.ท.วัชรพงษ์ กลีบม่วง ๕๒ มุมต่างแดน : ชมกิจการและศึกษาภูมิประเทศ ณ ประเทศญี่ปุ่น - น.ท.บัณฑิต บุรุษานนท์ ๕๗ เวลาการ์ตูน - มีสกรีน ๕๙ บทเรียนการช่วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัยกรณีเกิดภัยพิบัติ ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย - น.อ.ประภาส สอนใจดี ๖๕ ธรรมะประทีป : พระพุทธรูปประจ�ำวันพุธ (กลางคืน) : ปางป่าเลไลยก์/ พระพุทธรูปประจ�ำวันวันพฤหัสบดี : ปางสมาธิ - กอศ.ยศ.ทอ ๖๗ ในรั้วสีเทา ในใจเราสีเขียว - ร.อ.หญิง นภธิดา หันหาบุญ ๗๑ “แม่” ของฉัน - R.T.A.F's Eyes view ๗๕ ระฆัง “อุโฆษบุญเบิกฟ้า” และ “กึกก้องนภาบูชาธรรม” - พล.อ.ต.คติพันธุ์ บุญยะโพธิ์ ๘๑ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย ประชาคมอาเซียน : ชุดประจ�ำชาติของประเทศกัมพูชา - @Zilch ๘๓ เตือนเครือข่ายสังคมออนไลน์..มีช่องโหว่ให้แฮกเกอร์ - น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์ ๘๗ ขอบฟ้าคุณธรรม : เป็นคนมองเห็นสิ่งต่าง ๆ หลายมุม - 1261 ๙๒ กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาท�ำความสะอาด เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ๙๔ ในรัว้ สีเทา ๙๘ Emergency and Crisis Management Cycle - ร.อ.หญิง วิวสั วัน เปล่งวิทยา

๑๐

๒๓

๔๗

๕๙

๗๕


ข่าวทหารอากาศ

ข่าวทหารอากาศ คณะผูจ้ ดั ท�ำหนังสือข่าวทหารอากาศ เจ้าของ กองทัพอากาศ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พล.อ.อ.ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ พล.อ.อ.ม.ร.ว.ศิริพงษ์ ทองใหญ่ พล.อ.อ.ธนนิตย์ เนียมทันต์ พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ์ พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน

พล.อ.อ.กันต์ พิมานทิพย์ พล.อ.อ.อมร แนวมาลี พล.อ.อ.ปอง มณีศิลป์ พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง

ที่ปรึกษา พล.อ.อ.ธงชัย แฉล้มเขตร พล.อ.อ.ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ พล.อ.ต.สหัสชัย มาระเนตร

พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ผู้อ�ำนวยการ/บรรณาธิการ พล.อ.ท.พงษ์ศักดิ์ เสมาชัย

เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ รองผู้อำ� นวยการ

พล.อ.ต.ทศวรรณ รัตนแก้วกาญจน์ พล.อ.ต.ฐานัตถ์ จันทร์อ�ำไพ น.อ.กรกฎ ทิมไสว น.อ.สมพร แต้พานิช ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้จัดการ

พล.อ.ต.ตรีพล อ่องไพฑูรย์

ผู้ช่วยผู้อำ� นวยการ

น.อ.ธรรมรงค์เดช เจริญสุข น.อ.นินาท มูลจนะบาตร์

น.อ.สมพร แต้พานิช น.อ.อภิรัตน์ รังสิมาการ น.ท.สมภพ จันทร์ชูชื่น

ประจ�ำบรรณาธิการ

น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง น.ท.หญิง มุตสิตา มาหะศักดิ ์ พ.อ.อ.ธรรมวัฒน์ รัตนวิจารณ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์ พ.อ.อ.หญิง วาสนา รับสมบัติ น.ส.อุไรวรรณ บุญณรงค์ นางจันทร์สม ค�ำมา น.ส.ณัฐวดี ธ�ำรงวงศ์ถาวร

น.ท.หญิง ณัฐสินี เชื้อนุ่น น.ต.หญิง รัชนก เกิดสุข พ.อ.อ.พันธกานต์ พูลผล พ.อ.อ.รักษิต ทองแย้ม จ.อ.หญิง ศุภวัลย์ กระจ่างนฤมลกุล นางประไพ เอี่ยมวุฒิ น.ส.รสสุคนธ์ บุญประเทือง

กองวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์ (เพื่อพลาง) ส�ำนักกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรืิอนทหารอากาศ ถนน พหลโยธิน แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑, ๐ ๒๕๓๔ ๔๒๔๑ โทรสาร ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑ ส่งบทความและภาพกิจกรรมได้ที่ rtafmag@gmail.com

หนังสือข่าวทหารอากาศ ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของกองทัพ อากาศ เริม่ ด�ำเนินการเมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึน้ กับกรมข่าวทหารอากาศ โดย นาวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็นบรรณาธิการคนแรก ด�ำเนินการโดยทุนของข้าราชการทหารอากาศ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยูใ่ นความอ�ำนวยการของกรมยุทธศึกษาทหาร อากาศ ตามค�ำสั่ง ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ได้เข้าอยู่ในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ ก�ำกับดูแล โดยคณะอนุ ก รรมการบริ ห ารวารสารและสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ก องทั พ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค. ๒๕๕๒ ก�ำหนดให้ใช้ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ ว่าด้วยการ บริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ ๑ ม.ค.๒๕๖๑ ได้เข้ามาอยู่ในการก�ำกับดูแลของกรมกิจการพลเรือนทหาร อากาศ ตามค�ำสั่ง ทอ. (เฉพาะ) ที่ ๑๓๖/๖๐ ลง ๒๖ ก.ย.๒๕๖๐

ภารกิจ ด�ำเนินกิจการหนังสือข่าวทหารอากาศ ให้เป็นไปตามนโยบายของผูบ้ ญั ชาการ ทหารอากาศ โดยมีผู้อ�ำนวยการหนังสือข่าวทหารอากาศ (จก.กร.ทอ.) เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในกิจการทั่วไป ๒. เพือ่ แสดงความคิดเห็นด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม ๓. เพื่อเผยแพร่กิจการของกองทัพอากาศ

การด�ำเนินงาน ๑. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ใน การพัฒนากองทัพอากาศและส่วนรวม ๒. เนื้อหาที่น�ำมาลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ - ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบายของผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ - ต้องไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ ส่วนรวม - ต้องได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะผู้จัดท�ำหนังสือข่าว ทหารอากาศ

ก�ำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

พิมพ์ที่ บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) ๓๐/๘๘ หมู่ ๑ ถ.เจษฎาวิถี ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ๗๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๘๘ โทรสาร ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๕๘

อ่านบทความเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th และ www.rtaf.mi.th บทความและความคิดเห็นของผู้เขียนในหนังสือฉบับนี้ ไม่มีส่วนผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด ภาพบางส่วนในหนังสือ น�ำมาจาก www.google.com ออกแบบปก : น.ส.รสสุคนธ์ บุญประเทือง

9


10

การเสริมสร้างขีดความสามารถของกองทัพอากาศ ในการสนับสนุนความมั่นคงแห่งชาติด้านอวกาศ “RTAF space capability building to support the National Space Security”

วิทยาลัยการทัพอากาศตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการสนับสนุนการ พั ฒ นากองทั พ อากาศมุ ่ ง สู ่ วิ สั ย ทั ศ น์ “กองทัพอากาศชัน้ น�ำในภูมภิ าค หรือ One of the Best Air Forces in ASEAN” ซึ่งที่ผ่านมากองทัพอากาศ ด�ำรงการพัฒนาก�ำลังรบทั้งมวลอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม ด้ า นความมั่ น คง เทคโนโลยี และ ภั ย คุ ก คามที่ มี แ นวโน้ ม เกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ในปัจจุบันและในอนาคต อนึ่ง ยุทธศาสตร์กองทัพ อากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ไม่เพียงแต่ มุง่ เน้นการปฏิบตั กิ ารในมิตทิ างอากาศ (Air Domain) บนพื้ น ฐานของการปฏิ บั ติ ก ารที่ ใช้ เ ครื อ ข่ า ยเป็ น ศูนย์กลาง (Network Centric Operations : NCO) เท่ า นั้ น หากแต่ ค รอบคลุ ม ถึ ง การตอบสนอง ต่อพัฒนาการของภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่มีความ หลากหลาย ยากทีจ่ ะท�ำนาย และเพิม่ จ�ำนวนขึน้ อย่าง รวดเร็วในมิตอิ นื่ ๆ ได้แก่ มิตไิ ซเบอร์ (Cyber Domain) และมิติอวกาศ (Space Domain) ดังนั้น กองทัพ อากาศจึงมีความจ�ำเป็นต้องพัฒนาขีดความสามารถ ในทั้ง ๒ มิติดังกล่าวเพิ่มเติม ส�ำหรับมิติไซเบอร์นั้น กองทัพอากาศได้ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาขีดความ สามารถในมิติไซเบอร์ให้มีความพร้อมในการเผชิญ

น.อ.สุรพงษ์ ศรีวนิชย์

กับภัยคุกคามด้านไซเบอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยปัจจุบันมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม มิติอวกาศเป็นมิติซึ่งกองทัพอากาศต้องเร่งเสริมสร้าง ขีดความสามารถให้สามารถสนับสนุนความมั่นคง แห่งชาติด้านอวกาศได้อย่างยั่งยืน เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาวิทยาลัยการทัพ อากาศครบ ๕๒ ปี วิทยาลัยการทัพอากาศจึงจัดให้ มีเสวนาทางวิชาการเรื่อง “การเสริมสร้างขีดความ สามารถของกองทัพอากาศในการสนับสนุนความ มัน่ คงแห่งชาติดา้ นอวกาศ หรือ RTAF space capability building to support the National Space Security” ซึ่ ง สอดรั บ กั บ ทิ ศ ทางการพั ฒ นามิ ติ อ วกาศซึ่ ง มี วัตถุประสงค์เพื่อริเริ่มและวางรากฐานการปฏิบัติการ ด้านกิจการอวกาศในการสังเกตการณ์ห้วงอวกาศ


ข่าวทหารอากาศ

(Space Observation) การตรวจการณ์จากอวกาศ (Space Surveillance) การป้ อ งกั น ทางอวกาศ (Space Defense) และการสื่อสารและโทรคมนาคม ด้วยระบบดาวเทียมในอวกาศสนับสนุนการปฏิบัติ ภารกิ จ เพื่ อ พิ ทั ก ษ์ รั ก ษาผลประโยชน์ ข องชาติ ในอวกาศ ตลอดจนการร่วมเป็นเครือข่ายสังเกตการณ์ อวกาศกั บ นานาชาติ เพื่ อ ยกระดั บ ศั ก ยภาพด้ า น อวกาศของประเทศ การเสวนาในครั้งนี้มุ่งหวังสื่อสาร และสร้างการรับรู้ให้กับข้าราชการกองทัพอากาศ และผู้สนใจ ในประเด็นส�ำคัญ ดังนี ้ ๑. ความมั่ น คงแห่ ง ชาติ ด ้ า นอวกาศและ ภัยคุกคามทางอวกาศของประเทศ ๒. การพั ฒ นาขี ด ความสามารถด้ า นอวกาศ ของประเทศที่มีศักยภาพ ๓. การพั ฒ นาขี ด ความสามารถด้ า นอวกาศ ของกองทัพอากาศ ความมั่นคงแห่งชาติด้านอวกาศ (National Space Security) ปัจจุบันห้วงอวกาศเต็มไปด้วยการแข่งขันและ การถูกครอบครองจากประเทศทีม่ ศี กั ยภาพ ซึง่ ได้รเิ ริม่ และเสริมสร้างขีดความสามารถด้านอวกาศมาอย่าง ยาวนาน โดยการพัฒนาดาวเทียม สถานีปฏิบัติการ ทางอวกาศ หรื อ แม้ แ ต่ ก ารพั ฒ นาสถานี อ วกาศ เพื่อแสวงหาความได้เปรียบในด้านต่าง ๆ รวมถึงการ สร้างความได้เปรียบทางการทหารของประเทศที่มี ศั ก ยภาพ เช่ น สหรั ฐ อเมริ ก า สหพั น ธรั ฐ รั ส เซี ย สาธารณรัฐประชาชนจีน หรือสาธารณรัฐอินเดีย เป็นต้น อย่างไรก็ตามการปฏิบัติการดาวเทียมของประเทศ อาจมีความเสีย่ งต่อการถูกชนโดยขยะอวกาศ (Space Junk) ที่อยู่ในวงโคจร เนื่องจากภายหลังจากการ ใช้งานดาวเทียมจะมีดาวเทียมจ�ำนวนมากที่หมดอายุ และต้องปลดประจ�ำการ ดาวเทียมที่ปลดประจ�ำการ และขยะอวกาศเหล่านี้สามารถก่อให้เกิดอันตราย อันเกิดจากการชนกัน อันตรายอันเกิดจากการรบกวน คลื่น และอันตรายอันเกิดจากการก่อให้เกิดมลพิษ ในห้วงอวกาศและบนพื้นผิวโลก

11

ปัญหาการสะสมขยะอวกาศจึงเป็นเรื่องที่มิได้ กระทบต่ อ รั ฐ ใดรั ฐ หนึ่ ง แต่ ก ระทบต่ อ ประชาคม ระหว่ า งประเทศเพราะไม่ มี ค วามแน่ น อนว่ า ขยะ อวกาศจะตกสู่พื้นผิวโลก ณ ที่ใด หรือขยะอวกาศ จะรบกวนสัญญาณทีเ่ ผยแพร่จากดาวเทียมดวงใดบ้าง ดังนั้น จึงมีความจ�ำเป็นต้องเฝ้าระวังและแจ้งเตือน กรณีที่ขยะอวกาศจะเข้าใกล้และมีแนวโน้มจะเข้าชน กับดาวเทียมของไทย รวมทัง้ การเฝ้าระวังและแจ้งเตือน วั ต ถุ อ วกาศที่ ห ล่ น เข้ า สู ่ ชั้ น บรรยากาศโลกซึ่ ง วั ต ถุ อวกาศเหล่ า นี้ อ าจตกลงสู ่ พื้ น ที่ ป ระเทศไทยและ สามารถสร้ า งความเสี ย หายทั้ ง ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ในขณะเดียวกัน ต�ำแหน่งดาวเทียมในวงโคจรค้างฟ้า หรือวงโคจรสถิต (Geostationary) ถือว่าเป็นสมบัติ ของชาติในอวกาศที่ต้องดูแลรักษา ซึ่งสหประชาชาติ โดย International Telecommunication Union : ITU ก�ำหนดสิทธิพื้นที่วงโคจรของแต่ละประเทศ ปัจจุบัน ประเทศไทยมีการจองต�ำแหน่งวงโคจรดาวเทียมกับ ITU จ�ำนวน ๗ ต�ำแหน่ง จึงมีความจ�ำเป็นต้องเฝ้าระวัง มิให้ดาวเทียมซึง่ มิได้ลงทะเบียนหรือดาวเทียมจารกรรม เข้ามาใช้วงโคจรของไทย ตลอดจนติดตามการย้าย ต�ำแหน่งของดาวเทียมออกจากวงโคจรเมื่อหมดอายุ การใช้งานหรือหมดสัมปทาน ประเทศไทยยังไม่มีนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านอวกาศที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงอย่างชัดเจน ยังไม่มีหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ด้านความมั่นคงแห่งชาติ ด้านอวกาศ (Space Security Agencies) รวมทั้ง ยังไม่มกี ฎหมายความมัน่ คงด้านอวกาศเป็นการเฉพาะ ส่งผลให้การพัฒนาด้านอวกาศมีขดี จ�ำกัด อีกทัง้ การที่ ไม่มกี ฎหมายความมัน่ คงด้านอวกาศ ท�ำให้การปฏิบตั ิ การทางอวกาศเพื่อความมั่นคงไม่สามารถท�ำได้อย่าง เป็นระบบ ที่ผ่านมาได้มีการจัดท�ำร่างยุทธศาสตร์ อวกาศแห่งชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ซึ่งก�ำหนดยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนากิจการอวกาศ เพื่อความมั่นคงมีเป้าหมายส�ำคัญ ได้แก่ การรักษา ผลประโยชน์ของชาติให้มีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สนิ จากการใช้เทคโนโลยีอวกาศเพือ่ ความมัน่ คง


12

ของประเทศชาติ การให้อวกาศเป็นพื้นที่ปฏิบัติการ ด้านความมัน่ คง เพือ่ พิทกั ษ์รกั ษาผลประโยชน์ของชาติ การบู ร ณาการและประยุ ก ต์ ใช้ เ ทคโนโลยี อ วกาศ เพื่อความมั่นคงในภาวะวิกฤตของประเทศ เป็นต้น อย่างไรก็ตามร่างยุทธศาสตร์อวกาศฯ ดังกล่าว ยังมิได้ มีผลบังคับใช้เป็นรูปธรรม การพัฒนาขีดความสามารถด้านอวกาศของ ประเทศที่มีศักยภาพ ประเทศที่ มี ศั ก ยภาพหลายประเทศให้ ค วาม ส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง กั บ การปฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศ เพื่อผลประโยชน์แห่งชาติในทุกด้าน ส�ำหรับงานด้าน ความมั่ น คงและงานด้ า นการป้ อ งกั น ประเทศนั้ น ต้องการสร้าง “ความได้เปรียบทางอวกาศ (Space Superiority)” หมายถึง ความสามารถในการควบคุม ห้วงอวกาศ และยอมให้ผู้หนึ่งผู้ใดสามารถปฏิบัติการ ทางอวกาศได้ตามเวลาและพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบ จากการปฏิบัติการครองอวกาศ โดยปราศจากการ ก่อกวนจากภาคพื้นหรือการก่อกวนจากภัยคุกคาม ในอวกาศ รวมไปถึ ง “การครองอวกาศ (Space Supremacy)” หมายถึง ความสามารถในการควบคุม ห้วงอวกาศ และยอมให้ผู้หนึ่งผู้ใดสามารถปฏิบัติการ ทางอวกาศได้ ต ามเวลาและสถานที่ ที่ เราก� ำ หนด โดยปราศจากการแทรกแซงใด ๆ ของฝ่ายตรงข้าม ประเทศที่มีศักยภาพมีการพัฒนาขีดความสามารถ ด้านอวกาศ ซึ่งมีสาระส�ำคัญ ดังนี้ กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ก�ำหนดภารกิจ ในการปฏิบัติการทางอวกาศ เพื่อเสริมสร้างขีดความ สามารถให้กองทัพอากาศสหรัฐฯ สามารถปฏิบัติการ ร่วมได้ทั่วทุกภูมิภาคของโลกโดยไม่มีข้อจ�ำกัดใด ๆ และได้ก�ำหนดหลักนิยมการปฏิบัติการต่อต้านทาง อวกาศ (Counterspace Operations) โดยพัฒนา ขีดความสามารถส�ำคัญ ได้แก่ การสร้างความตระหนักรู้ สถานการณ์ทางอวกาศ (Space Situational Awareness : SSA) การต่ อ ต้ า นการปฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศ (Counterspace Operations) การสนับสนุนทาง

อวกาศเพื่อการปฏิบัติการ (Space Support to Operations) และการให้บริการทางอวกาศ (Space Service Support) กองทั พ สหราชอาณาจั ก ร ก� ำ หนดให้ ก� ำ ลั ง ทางอวกาศเป็นก�ำลังรบใหม่ที่เพิ่มขึ้น เพื่อเสริมกับ ก�ำลังทางบก ก�ำลังทางเรือ ก�ำลังทางอากาศ และก�ำลัง ทางไซเบอร์ ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือทางทหารของ ก�ำลังอ�ำนาจแห่งชาติ (Military Instrument of National Power) โดยก�ำลังทางอวกาศเป็นส่วน ส�ำคัญในการสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารของก�ำลังอ�ำนาจ ด้านอื่น ๆ ให้บรรลุเป้าหมาย ทั้งนี้ กองทัพสหราช อาณาจั ก ร ก� ำ หนดหลั ก นิ ย มการปฏิ บั ติ ก ารร่ ว ม โดยพัฒนาขีดความสามารถส�ำคัญ ได้แก่ การสร้าง ความตระหนั ก รู ้ ส ถานการณ์ ท างอวกาศ (SSA) การควบคุมทางอวกาศ (Space Control) การสนับสนุน ทางอวกาศเพื่อการปฏิบัติการ (Space Support to Operations) การให้บริการทางอวกาศ (Space Service Support) กองทัพอากาศเครือรัฐออสเตรเลีย ระบุว่า ก�ำลังทางอวกาศ (Australian Air Force. (2014). The Air Power Manual. Air Power Development Centre. 123.) คือ การรวมศักยภาพและขีดความ สามารถของประเทศในการควบคุ ม การปฏิ บั ติ ทางอวกาศ ซึ่ ง มิ ติ อ วกาศจะให้ มุ ม มองของสภาพ แวดล้อมในการปฏิบัติการได้มากกว่าการปฏิบัติการ ทางอากาศ ทางบก และทางเรือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศมี จุ ด แข็ ง ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ มุมมองที่กว้างกว่า มีความเร็วสูงมาก เข้าถึงได้จาก ทุกหนทุกแห่ง และความต่อเนือ่ งในการปฏิบตั มิ ากกว่า ปกติ ทั้งนี้ การปฏิบัติการโดยใช้ดาวเทียมหรือระบบ ต่าง ๆ ในอวกาศจะมีความเสี่ยงสูงที่จะถูกแทรกแซง หรือขัดขวางการปฏิบัติ ดังนั้น การปฏิบัติการทาง ทหารจึงต้องระมัดระวังและตรวจสอบความเป็นไปได้ ที่การปฏิบัติการทางอวกาศจะถูกก่อกวนทั้งในช่วง การวางแผนและการปฏิบัติการรบ


ข่าวทหารอากาศ

การพัฒนาขีดความสามารถด้านอวกาศของ กองทัพอากาศ (RTAF Space Capability Building) การพั ฒ นาขี ด ความสามารถด้ า นอวกาศตาม ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี [กองทัพอากาศ. (๒๕๖๐). ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) (ฉบับเผยแพร่), ๓๗.] มีความ สอดคล้องกับร่างยุทธศาสตร์อวกาศแห่งชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) อนึ่ง กองทัพอากาศ ต้องมีขีดความสามารถรองรับภัยคุกคามทางอวกาศ

13

ซึ่งมีแนวโน้มเป็นภัยต่อประเทศ โดยเฉพาะดาวเทียม หรื อ ขยะอวกาศที่ มี แ นวโน้ ม เข้ า ใกล้ ห รื อ อาจชน ดาวเที ย มของไทย และวั ต ถุ อ วกาศที่ เ ข้ า สู ่ ชั้ น บรรยากาศโลกและตกลงในพื้นที่ประเทศไทยอาจ ส่ ง ผลต่ อ ความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของ ประชาชน เป็นต้น ปัจจุบัน กองทัพอากาศก�ำหนด กลยุทธ์ที่ ๒.๘ ก�ำหนดการพัฒนาขีดความสามารถ ด้านกิจการอวกาศ ซึ่งสามารถวิเคราะห์และจ�ำแนก ตามหัวข้อส�ำคัญ ดังนี้


14

บทสรุป กองทัพอากาศสมควรเร่งเสริมสร้างขีดความ สามารถด้านอวกาศของกองทัพอากาศในการติดตาม และเฝ้าระวังทางอวกาศเพื่อการด�ำรงการสร้างความ ตระหนักรูส้ ถานการณ์ทางอวกาศ (SSA) ของประเทศ โดยต้องมีการพัฒนาขีดความสามารถที่ส�ำคัญ ดังนี้ ๑. การตรวจสอบ/ติดตามต�ำแหน่งดาวเทียม อันเป็นสมบัติของชาติ เพื่อให้อยู่ในต�ำแหน่งวงโคจร ที่เหมาะสม และติดตามการย้ายต�ำแหน่งดาวเทียม ออกจากต�ำแหน่งเมื่อหมดสัมปทาน ๒. การตรวจสอบและวิเคราะห์ดาวเทียมซึง่ มิได้ ลงทะเบี ย น เข้ า มาใช้ สิ ท ธิ์ ว งโคจรดาวเที ย มของ ประเทศไทย ตลอดจนการก�ำกับและควบคุมทะเบียน ดาวเทียมสัญชาติไทย

๓. การเฝ้าระวังดาวเทียมหรือขยะอวกาศ ที่มี แนวโน้ ม เข้ า ใกล้ ห รื อ อาจชนดาวเที ย มของไทย ซึ่งจะเกิดความเสียหายต่อสมบัติของชาติ ตลอดจน เพือ่ มิให้กระทบต่อการปฏิบตั ภิ ารกิจ ในขณะเดียวกัน จะเป็นข้อมูลในการแจ้งเตือนประเทศผู้ครอบครอง ดาวเทียมหรือวัตถุอวกาศดังกล่าว ๔. การเฝ้ า ระวั ง ติ ด ตาม และคาดการณ์ ต�ำแหน่งตกของวัตถุอวกาศที่เข้าสู่ชั้นบรรยากาศโลก เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ให้ กั บ หน่ ว ยงานของรั ฐ ในการ ออกประกาศแจ้งเตือนประชาชนในพื้นที่ที่อาจได้รับ ผลกระทบจากวัตถุอวกาศนั้น ๕. การป้ อ งกั น ภั ย คุ ก คามทางอวกาศซึ่ ง มี แนวโน้ ม เป็ น ภั ย ต่ อ ประเทศหรื อ ภั ย ต่ อ ทรั พ ยากร ของชาติในอวกาศ

พล.อ.ต.เสน่ห์ บัวชื่น ผบ.วทอ.ยศ.ทอ.มอบโล่ที่ระลึกให้แก่ผู้ร่วมเสวนาวิชาการและผู้ดำ� เนินรายการ


ข่าวทหารอากาศ

15

เปิดปูม ๑๐๐ ปี การบิน ของบุพการี กองทัพอากาศ (ต่อจากฉบับที่แล้ว)

พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร

ในปี พ.ศ.๒๔๕๘ หลังจากที่มีการจัดตั้งกองบิน ทหารบกเรียบร้อยแล้ว จึงได้มีการคัดเลือกนายทหาร ในกรมทหารต่าง ๆ ที่สมัครเข้าศึกษาในวิชาการบิน เข้าเป็นศิษย์การบินชั้นปฐม เพื่อฝึกหัดใช้เครื่องบิน ไปพลางก่อน จนกว่าจะมีความรู้ความสามารถที่จะ ท�ำหน้าที่นักบินได้ โดยศิษย์การบินชั้นปฐมชุดแรก มี ๘ นาย ได้แก่ ๑. นายร้อยโท เจริญ ๒. นายร้อยตรี เหม ยศธร ๓. นายร้อยตรี นพ เพ็ญกูล ๔. นายร้อยตรี ปลื้ม สุคนธสาร ๕. นายร้อยตรี สวาสดิ ์ ๖. นายร้อยตรี หนอม ๗. นายร้อยตรี ปิ่น มหาสมิต ิ ๘. นายร้อยตรี จ่าง นิตินันท์ ในการนี้ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ มี พ ระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้รับ หุ้มแพร นายสนิท (พราว บุญยรัตพันธ์)

นายร้อยตรี นพ เพ็ญกูล

นายร้อยตรี เหม ยศธร

ข้าราชการฝ่ายพลเรือนเข้าศึกษาวิชาการบินด้วย ทั้งนี้มีผู้สำ� เร็จเป็นนักบินรวม ๕ คน ในขณะเดี ย วกั น ได้ มี ก ารบรรจุ ช ่ า งกลเข้ า มา ประจ�ำการเป็นครัง้ แรก โดยได้ขอพลทหารจากกองพล ทหารบกที่ ๑ และที่ ๒ มาฝึกหัดการในหน้าที่นี้ รวม ๖๒ คน

นายร้อยโท ปลื้ม สุคนธสาร

นายร้อยตรี ปิ่น มหาสมิติ

นายร้อยตรี จ่าง นิตินันท์


16

บุพการีทหารอากาศทัง้ ๓ ท่าน กับศิษย์การบินรุน่ แรก ๆ

นายพันเอก พระยาเฉลิมอากาศ

วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๘ กระทรวงกลาโหม ออกประกาศชมเชย จ่านายสิบ และ ช้างศร ซึง่ สามารถ ประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น น�้ ำ ประสานที่ ใช้ เชื่ อ มอลู มิ เ นี ย ม ส� ำ หรั บ ประกอบในการสร้ า งเครื่ อ งบิ น ได้ ส� ำ เร็ จ โดยได้รับรางวัล ๒๐๐ บาท วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๕๘ นายพันโท พระเฉลิ ม อากาศ ได้ ท ดลองบิ น เครื่ อ งบิ น เบรเกต์ ปีก ๒ ชั้น ที่สร้างขึ้นเองโดยใช้วัสดุภายในประเทศ (ยกเว้นเครื่องยนต์) ในการนี้เครื่องบินได้บินไปมา ในระยะสู ง จากพื้ น ดิ น ๑๐๐ เมตร และได้ แ สดง ให้ ป รากฏว่ า เลี้ ย วไปเลี้ ย วมาได้ อ ย่ า งคล่ อ งแคล่ ว และใช้การได้เรียบร้อยดีจริง มีสมรรถนะเทียบเท่า เครือ่ งบินทีซ่ อื้ จากต่างประเทศ เป็นอันว่าการประกอบ สร้างล�ำตัว ปีก หาง ทั้งใบพัดของเครื่องบินด้วย พันธุ์ไม้ต่าง ๆ ในประเทศไทยและด้วยฝีมือคนไทย ได้ บ รรลุ ถึ ง ผลส� ำ เร็ จ อย่ า งเรี ย บร้ อ ยและสมบู ร ณ์ สมดังปณิธานของ นายพันโท พระเฉลิมอากาศ ที่ว่า “เราต้องสร้างเครื่องบินของเราขึ้นใช้เองให้ได้”


ข่าวทหารอากาศ

วันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๘ กระทรวง กลาโหมได้ออกแจ้งความประกาศยกย่อง นายร้อยเอก หลวงทยานพิฆาฏ (นายร้อยเอก ทิพย์ เกตุทตั ) ในการ ที่ ไ ด้ พ ยายามคิ ด สร้ า งหี บ เครื่ อ งเขี ย นพร้ อ มแบบ ใบแจ้งเหตุและวิธีทิ้งส�ำหรับการส่งข่าวจากเครื่องบิน ขึ้นส�ำเร็จ และใช้เป็นประโยชน์ในราชการได้ดีมาก และเพือ่ เป็นเกียรติแก่ผอู้ อกความคิด ได้ให้ขนานนาม หีบเครือ่ งเขียนนีว้ า่ “หีบเครือ่ งเขียนใบแจ้งเหตุเกตุทตั พ.ศ.๒๔๕๘”

เป็นพาหนะอันวิเศษส�ำหรับเป็นรั้วป้องกันประเทศ ได้อย่างแท้จริง จึงให้คิดหาวิธีที่จะเป็นเครื่องส่งเสริม เพิ่มพูนกองบินให้มีความก้าวหน้าไปสู่ความเจริญ โดยล� ำ ดั บ กระทรวงกลาโหมจึ ง ได้ ผ ่ อ นผั น ขยาย การบรรจุบุคคลเข้าศึกษาวิชาการบินให้กว้างขวาง ออกไป คือนอกจากยังคงคัดเลือกนายทหารชัน้ สัญญาบัตร เข้าศึกษาวิชาการบินแล้ว ให้คดั เลือกนายสิบ พลทหาร ช่างเครื่องยนต์บางคนที่มีคุณสมบัติและคุณลักษณะ สมควรจะเป็ น นั ก บิ น เข้ า บรรจุ ไ ด้ อี ก จ� ำ นวนหนึ่ ง ในการนี้ ไ ด้ คั ด เลื อ กให้ น ายทหารประทวน อาทิ นายสิ บ โท โทน ใยบั ว เทศ (ต่ อ มาผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา ได้เปลี่ยนนามสกุลให้เป็น “บินดี” และภายหลังได้รับ พระราชทานบรรดาศักดิเ์ ป็น “นายร้อยเอก หลวงสันทัด ยนตรกรรม” เข้าศึกษาวิชาการบิน นับเป็นศิษย์การบิน ชั้ น ป ฐ ม ใ น ชุ ด แร ก ที่ มิ ไ ด ้ ม า จ า ก น า ย ท ห า ร ชั้นสัญญาบัตร

นายร้อยเอก หลวงทยานพิฆาฏ

ในวันที่ ๑๖ – ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๘ กองบิน ทหารบกได้ เข้ า ร่ ว มการประลองยุ ท ธกั บ ทหารบก ด้ ว ยกั น เป็ น ครั้ ง แรก โดยได้ จั ด เครื่ อ งบิ น นั ก บิ น ผูต้ รวจการณ์ และช่างเครือ่ ง เข้าร่วมการประลองยุทธ โดยใช้พนื้ ทีใ่ นจังหวัดลพบุรี สระบุรี และพระนครศรีอยุธยา ในปี พ.ศ.๒๔๕๙ กระทรวงกลาโหมมีนโยบาย ทีจ่ ะพัฒนาก�ำลังทางอากาศ ด้วยเหตุวา่ กองบินจะต้อง มีก�ำลังทางอากาศอย่างจริงจัง สามารถใช้เครื่องบิน

17

นายสิบโท โทน บินดี ต่อมาได้รบั พระราชทาน บรรดาศักดิเ์ ป็น นายร้อยเอก หลวงสันทัดยนตรกรรม


18

กองบินทหารบกจารึกชือ่ “มณฑลภูเก็จ ๑” (เขียนตาม ตัวสะกดเดิม) ไว้ทขี่ า้ งล�ำตัวเครือ่ งบิน เพือ่ เป็นการ ขอบคุณคณะข้าราชการและพ่อค้ามณฑลภูเก็ต

วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๙ คณะข้าราชการ และพ่อค้าจากมณฑลภูเก็ต เดินทางมาเยี่ยมกองบิน ทหารบก โดยได้ชมเครื่องบิน โรงงาน และโรงเรียน การบิน บางท่านได้ขนึ้ โดยสารบนเครือ่ งบิน เมือ่ เสร็จสิน้ การเยีย่ มชมแล้ว คณะได้บริจาคเงินเพือ่ เป็นรางวัลแก่ นักบิน นายสิบ พลทหาร รวมทั้งเพื่อบ�ำรุงกิจการ ของกองบิ น ทหารบก โดยได้ เ งิ น บริ จ าคทั้ ง สิ้ น ๙๔๕ บาท ซึ่งกระทรวงกลาโหมได้น�ำไปเก็บรักษา เพื่อเป็นทุนครั้งแรกส�ำหรับที่จะได้รวบรวมเพื่อซื้อ และสร้างเครื่องบินไว้ใช้ในราชการต่อไป วันที่ ๒ มกราคม พ.ศ.๒๔๕๙ กองบินทหารบก ได้มอบหมายให้ นายร้อยตรี ปิ่น มหาสมิติ และ นายร้อยตรี จ่าง นิตินันท์ น�ำหนังสือและพวงมาลัย ในนามของคณะนักบิน เดินทางโดยเครื่องบินไปยัง จังหวัดปราจีนบุรี เพือ่ ไปบรรณาการแด่เจ้าพระยาอภัย ภูเบศร์ ผู้มีบุญคุณแก่กองบิน นับเป็นครั้งแรกที่เริ่มใช้ เครื่องบินน�ำหนังสือและสิ่งของจากต�ำบลหนึ่งไปยัง อีกต�ำบลหนึ่ง

เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์

กองบินทหารบกจารึกชือ่ “เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์” ไว้ทขี่ า้ งล�ำตัวเครือ่ งบิน


ข่าวทหารอากาศ

19

เครือ่ งบินของกองบินทหารบกทีเ่ ข้าร่วมการประลองยุทธทีจ่ งั หวัดราชบุรี

วันที่ ๘ – ๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๙ กองบิน ทหารบกจั ด เครื่ อ งบิ น เข้ า ร่ ว มการประลองยุ ท ธ ที่บ้านโคกหม้อ จังหวัดราชบุรี ซึ่งมีทหารเข้าร่วม ประลองยุทธ ๑๕ กรม (๔๔ กองพัน) เพื่อเข้าร่วม การฝึกกับทหารปืนใหญ่ในการใช้เครือ่ งบินตรวจต�ำบล กระสุนตก นับเป็นครั้งแรกที่ใช้เครื่องบินตรวจต�ำบล กระสุนตก กองบินทหารบกจัดเครื่องบินเข้าร่วม ๒ ฝ่าย ๆ ละ ๑ ฝูง ในขณะเดียวกัน นายพันตรี หลวงทยานพิฆาฏ ได้เรียบเรียงต�ำรา “เครื่องบินนิเออปอรต์แบบเก่า” ขึ้นใช้ในราชการกองบินทหารบกอีก ๑ เครื่อง วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๐ นายพันโท หลวง อาวุธสิขิกร ได้เรียบเรียงหนังสือ “วิชาอากาศยาน อย่างเก่า” ขึ้นใช้ในราชการกองบินทหารบก ๑ เรื่อง ขณะเดี ย วกั น ได้ มี ก ารคั ด เลื อ กบุ ค คลเข้ า ศึ ก ษา วิชาการบิน โดยนอกจากจะรับนายทหารสัญญาบัตร ในกรมของกองทั พ บก และทหารช่ า งเครื่ อ งของ กองบินแล้ว ยังได้รับนายสิบตามกองทั่วไปอีกด้วย วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๐ ประเทศไทย ได้ประกาศสงครามกับประเทศเยอรมนี และออสเตรียฮังการี นับเป็นการเข้าสูส่ งครามโลกครัง้ ที่ ๑ กระทรวง กลาโหมจึงได้ออกค�ำสั่ง เรื่องจะส่งกองทหารไปใน งานพระราชสงคราม ณ ทวีปยุโรป เพือ่ ให้ความร่วมมือ กับฝ่ายสัมพันธมิตร โดยทหารที่จะออกไปราชการ ครั้ ง นี้ จะได้ จั ด เป็ น กองบิ น ทหารบก มี นั ก บิ น ช่ า งเครื่ อ งยนต์ และเจ้ า หน้ า ที่ พ ยาบาลพร้ อ มมู ล

นายพันโท หลวงอาวุธสิขกิ ร

โดยให้ ท หารแสดงน�้ ำ ใจอาสาไปราชการและ เปิ ด โอกาสให้ พ ลเรื อ นที่ มิ ไ ด้ รั บ ราชการทหาร กองประจ�ำการอยู่ในขณะนั้น ได้แสดงน�้ำใจรับอาสา ไปราชการด้วย ในส่วนของทหารประจ�ำการได้กำ� หนดคุณลักษณะ โดยรวมดังนี้ ๑. มีประกาศนียบัตรเป็นนักบิน หรือแม้ไม่มีก็ดี แต่มีความเต็มใจที่จะรับการฝึกหัดเป็นนักบิน ๒. มีความรูแ้ ละความสามารถในการใช้เครือ่ งยนต์ ๓. มีความรูแ้ ละความสามารถในทางแพทย์ หรือ มีความช�ำนาญในการพยาบาล


20

ทหารในกองบินทหารบกที่เตรียมตัวจะไปราชการสงคราม ณ ทวีปยุโรป

วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๖๐ นายร้อยตรี สงวน ทันด่วน ศิษย์การบินชั้นปฐม ได้ท�ำการฝึกบิน ที่สนามบินดอนเมือง ในขณะที่บินเลี้ยวท�ำวงแคบ เกินไปจนเครือ่ งไม่มกี ำ� ลังฉุดพอ ได้เกิดอุบตั เิ หตุเครือ่ งบิน แฉลบตกลงพื้นดิน เป็นเหตุให้เสียชีวิตทันที นับเป็น นั ก บิ น คนแรกที่ เ สี ย ชี วิ ต จากอากาศยานอุ บั ติ เ หตุ และทางราชการได้ มี ป ระกาศยกย่ อ งสรรเสริ ญ เพราะถือว่าเป็นการเสียชีวิตในขณะที่ปฏิบัติราชการ ด้วยความกล้าหาญและเสียสละ วันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๑ จอมพล เจ้าพระยา บดินทรเดชานุชิต เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ได้มี ประกาศชมเชยเรื่ อ งท� ำ ใบพั ด ส� ำ หรั บ เครื่ อ งบิ น ความว่า “ด้วยโรงงานในกองบินทหารบก ได้กระท�ำใบพัด ส�ำหรับเครื่องบินขึ้น ได้ทดลองประกอบกับเครื่องบิน และขึ้นบินจริงแล้ว ใช้ได้ดีทีเดียว นับว่าเราสามารถ

ท�ำใบพัดได้เอง ใช้ของในพื้นเมืองทั้งสิ้น ท�ำให้เป็น ทางประหยัดพระราชทรัพย์ได้อย่างดีอีกส่วนหนึ่ง ที่ โรงงานในกองบิ น ทหารบกได้ ก ระท� ำ การ เป็นผลส�ำเร็จดีเช่นนี้ ก็ด้วยอาศัยความมานะอุตสาหะ พยายามของ นายพันโท หลวงอาวุธสิขกิ ร ผูอ้ ำ� นวยการ โรงงานนัน้ เพราะฉะนัน้ ขอประกาศแสดงความชมเชย เป็นพิเศษ”

การท�ำใบพัดเครื่องบินของกองบินทหารบก


ข่าวทหารอากาศ

วันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๑ กองทหารอาสา ซึ่งประกอบด้วยกองบินทหารบก และกองทหารบก รถยนต์ ได้ออกเดินทางจากท่าราชวรดิษฐ์ เพื่อไป ราชการสงคราม ณ ทวีปยุโรป โดยมี นายพันเอก พระยาเฉลิมอากาศ เป็นผู้บังคับการกองทหารอาสา และนายพันตรี หลวงทยานพิฆาฏ เป็นผูบ้ งั คับกองบิน มีก�ำลังพลเฉพาะกองบินทหารบกประมาณ ๔๐๐ คนเศษ การปฏิบตั กิ ารและเกียรติภมู ขิ องกองบินทหารบก ในมหาสงครามโลกครั้งที่ ๑ ได้ปรากฏแก่สายตา ชาวโลกเป็นอย่างดี และก่อให้เกิดผลดีแก่ประเทศไทย ในขณะนั้น และในภายหลังต่อมาเป็นอย่างมาก การส่งกองทหารอาสาไปราชการสงครามครัง้ นัน้ นอกจากจะมีความมุ่งหมายทางการเมืองระหว่าง ประเทศแล้ ว ยั ง มุ ่ ง หมายที่ จ ะส่ ง คนไปฝึ ก ศึ ก ษา วิ ช าการบิ น และการช่ า งอากาศ เมื่ อ กลั บ มาแล้ ว จะได้เป็นประโยชน์แก่กิจการบินของประเทศ ซึ่งจะ เห็นได้ว่าเมื่อสงครามสงบแล้ว ทหารไทยยังคงฝึก และศึกษาต่อไป และกองบินทหารบก ได้เดินทางกลับ ถึงประเทศไทยในรุ่นสุดท้าย เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๒ ผู้ที่อาสาไปราชการสงครามครั้งนั้น มีที่ส�ำเร็จ ได้เป็นนักบิน จ�ำนวน ๙๕ คน ช่างเครื่อง จ�ำนวน ๒๒๕ คน เมื่อเดินทางกลับมาถึงประเทศไทยแล้ว ได้เป็นก�ำลังอันส�ำคัญของกิจการบินของประเทศไทย ในเวลาต่อมา แม้กองบินทหารบกจะไม่ทนั เข้าสูส่ มรภูมิ เพราะ สงครามสงบลง แต่ก็ได้รับเหรียญ “ครัวซ์ เดอ แกร์” ประดับที่ธงชัยเฉลิมพลด้วย

กองทหารอาสาออกเดินทางไปราชการสงคราม ณ ทวีปยุโรป

กองบินทหารบกลงรถไฟที่สถานีเมืองอิสตรส์

21


22

นักบินไทยฝึกหัดยิงปืนในอากาศ ที่ต�ำบลบิสการ์รอส

นายร้อยโท เจียม โกมลมิศร์ ฝึกหัดทิ้งระเบิดที่ทะเล ใกล้เมืองแซงต์ ราฟาเอล

นักบินไทยฝึกบินเดินทางกับนักบินฝรั่งเศส ที่เมืองโป

การฝึกบินที่ประเทศฝรั่งเศสของนายทหารไทย

นักบินไทยหน้าเครื่องบินฝึกนิเออปอรต์ ๔

ทหารไทยฝึกอบรมวิชาช่างในประเทศฝรั่งเศส

นายทหารไทยกับฝรั่งเศสถ่ายรูปร่วมกันเป็นที่ระลึก ณ เมืองดูร์ดอง

นายทหารไทยกับฝรั่งเศสถ่ายรูปร่วมกันเป็นที่ระลึก ณ เมืองแวร์ซายส์ ก่อนเข้าสู่ยุทธบริเวณ (อ่านต่อฉบับหน้า)


ข่าวทหารอากาศ

23

ผลงานกลุม่ กิจกรรมทีเ่ สริมสร้างกองทัพอากาศ ให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ประเภทเครือ่ งมือ KM

การรวบรวมประวัติ กองทัพอากาศ อย่างมีประสิทธิภาพ กองทัพอากาศ เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจเตรียม ก� ำ ลั ง กองทั พ อากาศ การป้ อ งกั น ราชอาณาจั ก ร และด� ำ เนิ น การเกี่ ย วกั บ การใช้ ก� ำ ลั ง ทางอากาศ ตามอ�ำนาจหน้าทีข่ องกระทรวงกลาโหม และปฏิบตั งิ าน ตามนโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ หน่วยขึ้นตรง กองทัพอากาศมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบแตกต่างกันไป ตามภารกิจของหน่วยงานนัน้ ๆ ซึง่ รายละเอียดของงาน ล้วนเป็นข้อมูลที่ส�ำคัญและมีคุณค่า ก่อให้เกิดความ ภาคภู มิ ใ จ และสามารถเผยแพร่ เ กี ย รติ ป ระวั ติ ของหน่วยงานให้บุคคลภายนอกได้รับทราบเพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นในการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ

รางวัล Innovation Award กลุ่ม The Muse (สบ.ทอ.)

นโยบายของผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ ให้พฒ ั นา งานด้านประวัตศิ าสตร์ เพือ่ ก้าวสูก่ ารเป็นหอจดหมายเหตุ กองทั พ อากาศเป็ น แหล่ ง รวบรวมองค์ ค วามรู ้ ประวัติศาสตร์ด้านการบินและอวกาศ ซึ่งได้ปฏิบัติ มาอย่างต่อเนื่อง โดยกรมสารบรรณทหารอากาศ ได้ดำ� เนินการด้านประวัตศิ าสตร์ จดหมายเหตุกองทัพ อากาศ และการจั ด แสดง เพื่ อ เผยแพร่ ค วามรู ้ แก่ผู้ที่สนใจ รวมถึงรวบรวมความรู้จากแหล่งข้อมูล ต่าง ๆ เช่น หน่วยขึน้ ตรงกองทัพอากาศ สือ่ ต่าง ๆ หรือ จากการเก็ บ ข้ อ มู ล ภาคสนาม ซึ่ ง ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ คื อ คลังความรู้ เพื่อใช้ในการต่อยอดในงานอื่น ๆ ส�ำหรับ เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ข องชาติ ด ้ า นการบิ น และเป็ น หอจดหมายเหตุกองทัพอากาศได้ต่อไป


24

จากองค์ความรู้ที่รวบรวมนั้น นับเป็นฐานข้อมูล ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นางาน ท� ำ ให้ รู ้ ว ่ า หน่ ว ยขึ้ น ตรง กองทัพอากาศ ได้ปฏิบัติงานตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ ของกองทัพอากาศอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ลดข้อผิดพลาดที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ตลอดจนพัฒนา กองทัพอากาศให้ก้าวหน้าต่อไปในอนาคต ซึ่งในอดีต ที่ผ่านมา การเก็บรวบรวมข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ ของกองทัพอากาศ ที่เกี่ยวข้องกับวีรชน บุคคลส�ำคัญ ตลอดจนอากาศยานทีใ่ ช้ในภารกิจของกองทัพอากาศ ข้ อ มู ล ของวั ต ถุ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ค่ า ในอดี ต มี ก าร สูญหายของฐานข้อมูลส�ำคัญ จึงเป็นการลดคุณค่า ในการเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์ด้านการบิน อีกทั้ง การรวบรวมข้อมูลหากหน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ ไม่ ด� ำ เนิ น การรวบรวมจั ด ส่ ง ให้ กั บ กรมสารบรรณ ทหารอากาศ หรือจัดส่งแล้ว แต่ขาดรายละเอียด

ของข้อมูล เมื่อเวลาผ่านไป ข้อมูลที่ส�ำคัญเหล่านี้ ก็จะสูญหายไปตามกาลเวลา อนุมัติของผู้บัญชาการทหารอากาศ ได้ก�ำหนด ให้หน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ ให้ความส�ำคัญกับ การรวบรวมเอกสาร หลักฐานของหน่วย และจัดส่ง ให้กรมสารบรรณทหารอากาศทุกรอบ ๓ เดือน ซึง่ จาก การด�ำเนินการที่ผ่านมา พบว่ายังมีอีกหลายหน่วย ทีย่ งั ไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างสมบูรณ์ กรมสารบรรณ ทหารอากาศ จึงมีแนวคิดจัดตั้งกลุ่ม The Muse เพื่อด�ำเนินการรวบรวมประวัติศาสตร์กองทัพอากาศ ให้มีประสิทธิภาพ ประกอบไปด้วยสมาชิกที่มีความรู้ เฉพาะด้าน และมีทปี่ รึกษาทีม่ ปี ระสบการณ์ให้คำ� แนะน�ำ และมีผเู้ ชีย่ วชาญในสาขาอาชีพทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ภายใน และภายนอกกองทัพอากาศได้ให้ค�ำแนะน�ำเพิ่มเติม


ข่าวทหารอากาศ

จากการวิเคราะห์พบว่าสาเหตุที่ส�ำคัญ เกิดจาก ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านไม่ ท ราบหน้ า ที่ ไม่ เข้ า ใจความส� ำ คั ญ ของการปฏิ บั ติ ง าน รวมถึ ง ไม่ เข้ า ใจกระบวนการ ด�ำเนินงาน กลุ่ม The Muse จึงตั้งเป้าหมายในการ ด�ำเนินการเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ทั้งในเชิงปริมาณ และเชิ ง คุ ณ ภาพ เพื่ อ ให้ ผ ลจากการแก้ ไขปั ญ หา มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น และเริ่ม ด�ำเนินการตามแผนงาน ตั้งแต่ เดือนตุลาคม ๒๕๕๙ธันวาคม ๒๕๖๐ โดยใช้ ๗ ขัน้ ตอน ส�ำหรับกระบวนการ จัดการความรู้ดังนี้ วิธีการด�ำเนินงานของกลุ่ม The Muse เริ่มต้น ด้ ว ยการรวบรวมข้ อ มู ล ในการปฏิ บั ติ ง านจาก ผูเ้ กีย่ วข้อง ทัง้ จากการพูดคุยสอบถามจากผูป้ ฏิบตั งิ าน และการตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ โดยน�ำข้อมูลที่ได้ มาวิ เ คราะห์ ร ่ ว มกั บ ขั้ น ตอนการรวบรวมประวั ติ

25

หน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ เพื่อให้ทราบถึงปัญหา และผลกระทบรวมถึงหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น โดยใช้หลักการ 4M ได้แก่ Man Method Material และ Money


26

ขั้นตอนที่ ๑ การบ่งชี้ความรู้ จัดการประชุม เพือ่ ทบทวนภารกิจ และได้สำ� รวจ ปั ญ หา ข้ อ บกพร่ อ งของกระบวนการปฏิ บั ติ ง าน ที่ผ่านมารวมถึงการก�ำหนดหัวข้อองค์ความรู้ จ�ำนวน ๙ หัวข้อ

ขั้นตอนที่ ๓ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ ในกลุม่ ได้จดั การประชุม เพือ่ เลือกวิธกี ารด�ำเนินการ จัดการองค์ความรู้ พร้อมกับคัดกรองและจัดกลุ่ม ขององค์ ค วามรู ้ ที่ ไ ด้ น� ำ มาเขี ย นเป็ น แผนงาน และแนวทางในการแก้ปัญหา ซึ่งมีทั้งหมด ๕ วิธีการ ได้แก่ การอบรม การฝึกปฏิบัติ การสร้างคู่มือการ ปฏิบตั งิ าน การตรวจเยีย่ มสายวิทยาการ และการตรวจ ติดตามงานซึ่งวิธีการแก้ปัญหาจะน�ำมาใช้แก้ปัญหา แต่ละด้านที่ได้จากการวิเคราะห์โดยใช้หลัก 4M

ขั้นตอนที่ ๒ การสร้างและแสวงหาความรู้ สมาชิ ก ในกลุ ่ ม ได้ แ บ่ ง หั ว ข้ อ เพื่ อ ไปศึ ก ษา หาความรู้เพิ่มเติม ทั้งจากแหล่งความรู้ที่ฝังในตัวคน (Tacit Knowledge) และความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explacit Knowledge) จากเอกสาร และเว็บไซต์


ข่าวทหารอากาศ

27

ขั้นตอนที่ ๔ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ได้มีการน�ำแผนงาน และแนวทางการแก้ปัญหา ต่าง ๆ ขอค�ำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบ และปรับปรุงเพื่อให้ได้กระบวนการรวบรวมประวัติ หน่วยที่สมบูรณ์

ขั้นตอนที่ ๕ การเข้าถึงความรู้ เป็นการน�ำแผนงาน และแนวทางการแก้ปัญหา ต่ า ง ๆ ที่ ไ ด้ จ ากการแนะน� ำ และปรั บ ปรุ ง จาก ผูเ้ ชีย่ วชาญ ไปทดลองใช้เพือ่ แก้ปญ ั หา ได้แก่ การมอบ คู่มือการรวบรวมประวัติหน่วย ให้กับ กองบิน ๔๑ และ กองบิน ๔๖ ทดลองใช้ พร้อมกับแบบประเมิน การจัดการอบรมและการฝึกปฏิบัติให้กับผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน การจัดท�ำแบบฟอร์ม และเนื้อหาในการตรวจเยี่ยม สายวิทยาการ และการติดตามการส่งประวัติหน่วย ตามกระบวนการที่ ก� ำ หนด โดยเจ้ า หน้ า ที่ ข อง กรมสารบรรณทหารอากาศ

จากการทดลองแก้ปัญหาตามวิธีการดังกล่าว พบว่า ผลที่ได้รับเป็นที่น่าพึงพอใจ หน่วยขึ้นตรง กองทัพอากาศเข้าใจการด�ำเนินงาน และให้ความส�ำคัญ กับการเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยมากขึ้น


28

ขั้นตอนที่ ๖ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลั ง จากที่ ผ ลการทดลองปฏิ บั ติ ต ามวิ ธี ก าร แก้ปัญหาเป็นที่น่าพึงพอใจ จึงเกิดการไปปฏิบัติจริง ผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ การน�ำคู่มือลงในเว็บไซต์ กรมสารบรรณทหารอากาศ การจัดท�ำ QR Code การจัดบรรยายเพือ่ ให้เห็นความส�ำคัญของการรวบรวม ประวัติหน่วยให้กับผู้แทนของหน่วยขึ้นตรงกองทัพ อากาศ และการแลกเปลีย่ นเรียนรูผ้ า่ นสือ่ โซเชียลต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังได้มีการแนะแนวทางในการรวบรวม ประวั ติ ห น่ ว ยให้ กั บ หน่ ว ยขึ้ น ตรงกองทั พ อากาศ ซึ่งเป็นการสร้างความเข้าใจถึงภารกิจได้ตั้งแต่ระดับ ผู้บังคับบัญชาระดับผู้รับผิดชอบ และระดับปฏิบัติ ขั้นตอนที่ ๗ การเรียนรู้ กลุ่ม The Muse ได้น�ำความรู้ที่ได้จากการแก้ไข ปัญหา น�ำมาแลกเปลีย่ นผ่านช่องทาง ชุมชนนักปฏิบตั ิ (CoP) เพื่ อ ให้ ผู ้ ที่ ป ฏิ บั ติ ง านแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล หรือปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน

หรื อ เปิ ด โอกาสให้ บุ ค คลภายในกองทั พ อากาศ ทีม่ ปี ระสบการณ์และความรูใ้ นการรวบรวมประวัตหิ น่วย ให้ ข ้ อ เสนอแนะเพื่ อ การพั ฒ นาต่ อ ไป นอกจากนี้ ได้จัดวาระเพื่อพูดคุยเกี่ยวกับแนวทางการรวบรวม การบันทึกข้อมูล และการจัดเก็บเอกสาร/ข้อมูลส�ำคัญ ทางประวัตศิ าสตร์กบั กองทัพเรือ รวมไปถึงการเรียนรู้ จากบุ ค คลภายนอกกองทั พ อากาศ ผ่ า นช่ อ งทาง โซเชียลอื่น ๆ


ข่าวทหารอากาศ

ผลที่ได้รับจากการจัดการความรู้ เชิงปริมาณ : การรวบรวมและจัดส่งประวัติ ของหน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ และหน่วยขึ้นตรง กองบัญชาการกองทัพอากาศรวม ๔๖ หน่วย มีจำ� นวน เพิ่มมากขึ้น โดยเฉลี่ย ๓๘ หน่วย/ไตรมาส จากเดิม ทีจ่ ดั ส่งเพียง ๒๓ หน่วย/ไตรมาส เชิงคุณภาพ : เอกสาร และหลักฐานในการจัดส่ง มีรายละเอียดของเหตุการณ์ ต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ๑. เป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐาน ที่สามารถน�ำไปใช้ ในการวิเคราะห์สถานการณ์ในอนาคต เพื่อก�ำหนด เป็นนโยบาย หรือยุทธศาสตร์ของกองทัพอากาศต่อไป

29

๒. มี ห ลั ก ฐานในการศึ ก ษาค้ น คว้ า /อ้ า งอิ ง และน�ำไปเผยแพร่ได้ ๓. ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจกระบวนการด�ำเนินงาน อย่างถูกต้องส�ำหรับแนวทางในการพัฒนาในอนาคต จะน�ำระบบอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้พัฒนาองค์ความรู้ การรวบรวมประวั ติ ห น่ ว ยขึ้ น ตรงกองทั พ อากาศ เพือ่ ลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดกับเอกสารต้นฉบับ สะดวก ในการจัดเก็บ และส่งข้อมูล ช่วยลดงบประมาณ การใช้กระดาษ ท�ำให้กรมสารบรรณทหารอากาศ ได้รับข้อมูลอย่างทันเวลาและสะดวกต่อการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ หรือให้บริการให้กับผู้ที่สนใจต่อไป

ตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ได้รับภายหลังการจัดการองค์ความรู้


30

ครูภาษาพาที มะลิลา

สถานที่ส�ำคัญในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก (ต่อจากฉบับที่แล้ว)

สวัสดีผอู้ า่ นคอลัมน์ครูภาษาพาทีทกุ ท่าน ในฉบับนี้ เรื่องราวจะสืบเนื่องต่อจากบทความที่แล้วซึ่ง ผู้เขียน ได้ น� ำ เสนอค� ำ ศั พ ท์ ภ าษาอั ง กฤษที่ น ่ า รู ้ เกี่ ย วกั บ พระราชพิธบี รมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพล ราชวรางกูร ในครั้ ง นี้ ผู ้ เขี ย นจะขอน� ำ เสนอสถานที่ แ ละ พระทีน่ งั่ ต่าง ๆ ซึง่ มีความส�ำคัญและใช้ในการพระราชพิธี บรมราชาภิเษก จ�ำนวน ๓ แห่ง ได้แก่ ๑. Temple of the Emerald Buddha (วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) The temple is located in the northeast direction of the Grand Palace, following the ancient plan of the royal palaces. It houses the only monastic section that is used in important ceremonies of the country. It also is the site enshrining the sacred Emerald Buddha. The temple is generally known as Wat Phra Kaeo or the Temple of the Emerald Buddha. It was built at the same time as the Grand Palace in 1783. It is surrounded by a parapet wall. Inside the temple, there are important religious buildings, such as the ubosot, Phra Raja Bongsanusara Hall and Phra Sri Ratana Chedi.

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วัดนี้ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือภายใน เขตพระบรมมหาราชวั ง ตามแบบแผนการสร้ า ง พระบรมมหาราชวั ง แต่ ค รั้ ง โบราณ มี เ ฉพาะเขต พุทธาวาสซึ่งเป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีส�ำคัญ ของบ้ า นเมื อ ง อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น สถานที่ ป ระดิ ษ ฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแก้วมรกต วัดนี้เรียกโดยทั่วไปว่า วัดพระแก้ว สร้างขึ้นพร้อม พระบรมมหาราชวังในปี พ.ศ.๒๓๒๖ มีก�ำแพงแก้ว ล้อมรอบ ภายในพื้นที่ของพระอารามประกอบด้วย ศาสนสถานและศาสนวัตถุส�ำคัญ เช่น พระอุโบสถ หอพระราชพงศานุสร พระศรีรัตนเจดีย์ เป็นต้น ค�ำว่า emerald เป็นได้ทงั้ ค�ำนามและค�ำคุณศัพท์ อ่านว่า /เอ็ม เมอะ เริลดฺ/ หมายถึง มรกต หรือ สีเขียว มรกต เนื่ อ งจากพระพุ ท ธมหามณี รั ต นปฏิ ม ากร หรือพระแก้วมรกต มีสีเขียวมรกต ในภาษาอังกฤษ จึงเรียกว่า Emerald Buddha ซึง่ หมายถึง พระพุทธรูป สีเขียวมรกต


ข่าวทหารอากาศ

31

ตัวอย่าง She wears an emerald necklace. In the former times, the Maha Monthira หล่อนสวมสร้อยคอที่ท�ำจากมรกต หรือ หล่อนสวม Group was regarded as the most important สร้อยคอที่มีสีเขียวมรกต place because it was the residence of the King, the place where the King gave audience to officials when performing administrative work. Furthermore, it was the place where the ceremonies for the Coronation and the Assumption of the Royal Residence took place from the time of King Rama II to King Rama X. หมูพ่ ระมหามณเฑียรตัง้ อยูท่ างด้านทิศตะวันออก หมู่พระมหามณเฑียร ของพระราชฐานชัน้ กลาง พระมหามณเฑียรนีส้ ร้างเมือ่ ๒. Phra Maha Monthira Group (หมู่พระ พ.ศ.๒๓๒๘ หลังจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ทรงประกอบพระราชพิธปี ราบดาภิเษก มหามณเฑียร) The Maha Monthira Group is located in หมู่พระมหามณเฑียรประกอบด้วยพระที่นั่ง ๓ องค์ the eastern direction of the central area of พระปรัศว์ซา้ ย พระปรัศว์ขวา และหอ ๒ หอ คือ หอพระเจ้า the palace compound. The halls and pavilions และหอพระธาตุมณเฑียร เดิมพระทีน่ งั่ ทัง้ ๓ องค์มนี าม of Phra Maha Monthira Group were built in รวมกันว่า พระทีน่ งั่ จักรพรรดิพมิ าน ต่อมารัชกาลที่ ๓ 1785, after the Enthronement Ceremony of โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามแยกแต่ละองค์ ได้แก่ King Rama I. The group is composed of three พระทีน่ งั่ จักรพรรดิพมิ าน พระทีน่ งั่ ไพศาลทักษิณ และ main throne halls, two adjoining buildings, พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน และรัชกาล and two chambers : the Chamber for Buddha ที่ ๖ พระราชทานนามพระปรัศว์ขวา และพระปรัศว์ Images, Ho Phra Chao and Phra Dhat Monthira ซ้ายว่า “พระที่นั่งเทพสถานพิลาส” และ “พระที่นั่ง Reliquary Hall. Originally, these three halls เทพอาสน์พิไล” ตามล�ำดับ ส่วนหอพระเจ้า ภายหลัง together were called Chakrapat Biman Royal เปลี่ยนชื่อเป็นหอพระสุลาลัยพิมาน Residence. But later, in the reign of King Rama III, ในอดีตหมู่พระมหามณเฑียรนี้มีความส�ำคัญยิ่ง His Majesty renamed the three throne hall เพราะเป็นพระวิมานที่บรรทมของพระบาทสมเด็จ buildings individually, as the Chakrapat Biman พระเจ้าอยู่หัว เป็นที่เสด็จออกขุนนางเพื่อการบริหาร Royal Residence, the Baisal Daksin Throne Hall ราชการแผ่นดิน และเป็นมณฑลพิธปี ระกอบพระราชพิธี and the Amarindra Vinijaya Mahaisuraya Biman บรมราชาภิเษกและเฉลิมพระราชมณเฑียรตั้งแต่สมัย Throne Hall. The two adjoining buildings were รัชกาลที่ ๒ จนถึงรัชกาลปัจจุบัน renamed in the reign of King Rama VI. The ค�ำว่า enthronement เป็นค�ำนาม อ่านว่า /อิน Phra Bharasr Khwa was called the Debbha โธรน เมินทฺ/ หมายถึง การขึ้นครองบัลลังก์ มาจาก Sathan Bilas Pavilion and the Phra Bharasr Sai ค�ำว่า enthrone /อิน โธรน/ เป็นค�ำกริยา แปลว่า ขึน้ was called the Debbha-At Bilai Pavilion, while นัง่ บนบัลลังก์ ในบริบทนี้ Enthronement Ceremony the Chamber for the Buddha Images was จึงแปลได้ว่า พระราชพิธีปราบดาภิเษก ซึ่งหมายถึง พระราชพิธีขึ้นเสวยราชสมบัติ named, Sulalai Biman Chapel.


32

ส่วนค�ำว่า residence เป็นค�ำนาม อ่านว่า /เรส เซอะ เดินสฺ/ หมายถึง ที่อยู่อาศัย เมื่อเป็นค�ำกริยา จะใช้คำ� ว่า reside /ริ ไซดฺ/ แปลว่า อยูอ่ าศัย พักอาศัย จากบริบท the residence of the King จึงหมายถึง สถานที่อยู่อาศัยของกษัตริย์ เมื่อแปลให้สละสลวย จึ ง ใช้ ว ่ า พระวิ ม านที่ บ รรทมของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว หมู่พระมหามณเฑียรประกอบด้วย พระที่นั่ง ๓ องค์ ได้แก่ ๒.๑. Chakrapat Biman Royal Residence (พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน) The building is the main hall of the whole Phra Maha Monthira Group. It is the residential hall where the King resides. It is the official site where the rite for the Assumption of the Royal Residence takes place as one part of the Coronation Ceremony. The large rectangular hall is situated on an elevated base and is surrounded by a large roofed verandah; the roof is supported by wooden columns on all four sides. At present, it is being used as the place where the Royal Regalia and important Royal Swords are kept. พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานเป็นพระที่นั่งประธาน ในหมู่พระมหามณเฑียร เป็นพระวิมานที่บรรทมของ พระมหากษัตริย์ และเป็นมณฑลพระราชพิธีเฉลิม พระราชมณเฑียรในพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก

พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานมีลักษณะสี่เหลี่ยมผืนผ้า ยกพื้นสูง มีเฉลียงรอบและมีเสานางเรียงรับชายคา โดยรอบทัง้ ๔ ด้าน ปัจจุบนั เป็นทีป่ ระดิษฐานเครือ่ งราช กกุธภัณฑ์และพระแสงส�ำคัญ ค�ำที่น่าสนใจ คือ royal regalia /รอย เอิล ริ เก เลีย/ เป็นค�ำนาม ค�ำว่า royal ในที่นี้เป็นค�ำคุณศัพท์ แปลว่า เกี่ยวกับราชวงศ์ ส่วนค�ำว่า regalia หมายถึง เครื่องหมาย หรือเสื้อผ้าแสดงต�ำแหน่งยศหรือขั้น เมื่อรวมกันเป็น royal regalia แปลตรงตัวได้ว่า เครื่องหมาย หรือเสื้อผ้าแสดงต�ำแหน่งยศเกี่ยวกับ ราชวงศ์ ซึ่งในบริบทของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก จะหมายถึง เครื่องราชกกุธภัณฑ์ ตัวอย่าง The offering of the Royal Regalia to the King is a traditional practice from Brahmanism. การถวายเครื่ อ งราชกกุ ธ ภั ณ ฑ์ เป็นประเพณีสืบเนื่องมาจากลัทธิพราหมณ์ ๒.๒. Baisal Daksin Throne Hall (พระทีน่ งั่ ไพศาลทักษิณ) The hall is located between the front audience hall of Chakrapat Biman Royal Residence and the Amarindra Vinijaya Throne Hall. The building has the structure of a long, open elevated room, facing east and west. It is where Phra Siam Deva Dhiraj is enshrined.

พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน

พระที่นั่งไพศาลทักษิณ


ข่าวทหารอากาศ

พระที่นั่งไพศาลทักษิณตั้งอยู่ตรงกลาง ระหว่าง ท้ อ งพระโรงหน้ า ของพระที่ นั่ ง จั ก รพรรดิ พิ ม าน กับพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย มีลักษณะเป็นพระที่นั่ง โถงยาว ยกพื้นสูง ทอดยาวไปตามทิศตะวันออก ตะวันตก เป็นสถานทีป่ ระดิษฐานพระสยามเทวาธิราช ค�ำว่า enshrine /อิน ไชฺรนฺ/ เป็นค�ำกริยา มีความหมายว่า วางไว้บนแท่นบูชา หรือ หากใช้กับ พระพุทธรูปหรือเทวรูป จะแปลว่า ประดิษฐาน ในที่นี้ enshrined เป็นค�ำกริยารูป past participle เพื่อท�ำให้เป็นรูปถูกกระท�ำ (passive voice) มีความหมายว่า ถูกประดิษฐาน แต่เมื่ออยู่ใน โครงสร้างประโยคภาษาไทย มักจะไม่ใช้คำ� กริยาในรูป ถูกกระท�ำ จากประโยค “It is where Phra Siam Deva Dhiraj is enshrined.” แทนที่จะแปลว่า “เป็นสถานที่พระสยามเทวาธิราชถูกประดิษฐาน” จึงแปลว่า “เป็นสถานที่ประดิษฐาน พระสยามเทวา ธิราช” ซึ่งมีความสละสลวยกว่า ๒.๓. Amarindra Vinijaya Mahaisuraya Biman Throne Hall (พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย มไหสูรยพิมาน) This throne hall is to the north of the Baisal Daksin Hall. It is considered as the important Hall to be used by Kings in the Chakri Dynasty for various important national activities. These activities include the granting of an audience to high officials, governmental

พระทีน่ งั่ อมรินทรวินจิ ฉัยมไหสูรยพิมาน

33

and royal household, general audience during the Coronation Ceremony, the ceremony on anniversary of the Royal Birthday and for an audience with diplomatic corps. The Hall has been in use since the early period of Rattanakosin. พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน ตั้งอยู่ ทางด้ า นทิ ศ เหนื อ ของพระที่ นั่ ง ไพศาลทั ก ษิ ณ เป็นท้องพระโรงส�ำคัญ ทีพ่ ระมหากษัตริยแ์ ห่งพระบรม ราชจักรีวงศ์ ทรงใช้เป็นที่ประกอบพระราช กรณียกิจ ส�ำคัญของบ้านเมือง เช่น เสด็จออกขุนนาง ทีเ่ สด็จออก มหาสมาคมในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา ตลอดจนเสด็จ ออกรั บ คณะทู ต านุ ทู ต ต่ า งประเทศที่ เข้ า มาเจริ ญ พระราชไมตรีตั้งแต่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ ค�ำว่า dynasty เป็นค�ำนาม อ่านว่า /ได เนิส ถิ/ แปลว่า ราชวงศ์ ค�ำนี้สามารถใช้ต่อท้ายชื่อราชวงศ์ ที่จะกล่าวถึง เช่น Phra Ruang Dynasty หมายถึง ราชวงศ์พระร่วง Sukhothai Dynasty คือ ราชวงศ์ สุโขทัย และ Chakri Dynasty คือ ราชวงศ์จกั รี เป็นต้น ๓. Dusit Maha Prasad Throne Hall (พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท) The Dusit Maha Prasad Throne Hall is located in the western side of the central royal court compound in the Grand Palace. King Rama I had this hall built for administra-

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท


34

tive functions. However, at some period, there was a death in the high-ranking royal family, His Majesty permitted the deceased to be placed there for the religious ceremony. Later, when His Majesty passed away, his body was lying in state in the Dusit Maha Prasad Throne Hall. Thus, it became the tradition to place the body of deceased Kings, and in later periods, deceased Queens and some royal family of highest rank, in this hall. The hall structure made of brick is paved over with cement mortar. The roof finial is in the shape of the prasat or tiered spire. There are 4 layers of redented porticos on the four sides. At the front portico, another covered portico projects into the open space. The Busabok Mala Throne is placed in the middle of this portico, to be used for the occasion of granting audiences to the general public for paying homage. พระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหาปราสาทตั้ ง อยู ่ ใ นเขต พระราชฐานชั้ น กลาง ทางฝั ่ ง ตะวั น ตกในบริ เวณ พระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช โปรดให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่เสด็จ ออกว่าราชการ ต่อมาเมื่อพระบรมวงศ์ฝ่ายในชั้นสูง สิ้นพระชนม์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้น�ำ พระศพมาตั้ ง ประดิ ษ ฐานไว้ บ นพระที่ นั่ ง ดุ สิ ต มหา ปราสาทเพื่อบ�ำเพ็ญพระราชกุศล ครัน้ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชเสด็ จ สวรรคต ได้ เ ชิ ญ พระบรมศพ มาประดิษฐานบนพระมหาปราสาทแห่งนี้ ภายหลัง จึ ง เป็ น ธรรมเนี ย มในการประดิ ษ ฐานพระบรมศพ

พระมหากษัตริย์รัชกาลต่อมา รวมทั้งพระอัครมเหสี และพระศพพระบรมวงศ์ ชั้ น สู ง บางพระองค์ ด ้ ว ย พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเป็นพระที่นั่งก่ออิฐ ถือปูน ยกพื้นสูงรูปจัตุรมุข หลังคาทรงปราสาท มีมุข ลดหลั่น ๔ ชัน้ ทัง้ ๔ ด้าน มุขเสด็จด้านหน้าพระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาทเป็นมุขโถง มีพระที่นั่งบุษบกมาลาตั้งอยู่ กลางมุขเป็นทีส่ ำ� หรับเสด็จออกมหาสมาคม หรือเสด็จ ออกให้ประชาชนเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ค�ำว่า deceased เป็นค�ำคุณศัพท์ อ่านว่า /ดิ ซีสทฺ/ แปลว่า ซึ่งตายแล้ว ซึ่งไร้ชีวิต เมื่อเติม the หน้าค�ำว่า deceased เป็น the deceased จะตรงตามโครงสร้าง the + adj. (ค�ำคุณศัพท์) ซึ่งจะเปลี่ยนค�ำคุณศัพท์ บางกลุ ่ ม ให้ เ ป็ น ค� ำ นาม ใช้ เ มื่ อ ต้ อ งการพู ด ถึ ง คน ที่ มี ลั ก ษณะใดลั ก ษณะหนึ่ ง เช่ น คนรวย คนจน คนขีข้ ลาด โดยไม่ตอ้ งมี man หรือ people มาต่อท้าย เช่น the rich (คนรวย) the poor (คนจน) the coward (คนขี้ขลาด) ดังนั้น the deceased จึงท�ำหน้าที่เป็น ค�ำนามและมีความหมายว่า ผู้เสียชีวิต ตัวอย่าง He got the kidney from the deceased donor. เขาได้รบั ไตจากผูบ้ ริจาคทีเ่ สียชีวติ แล้ว The deceased was eighty years old. ผู้เสียชีวิต มีอายุ ๘๐ ปี อีกค�ำที่น่าสนใจไม่แพ้กัน คือ ค�ำว่า tiered เป็นค�ำคุณศัพท์ อ่านว่า /เทียรฺด/ มีความหมายว่า เป็นชัน้ มักใช้คู่กับค�ำแสดงจ�ำนวน เช่น two-tiered หมายถึง สองชัน้ four-tiered หมายถึง สีช่ นั้ และ seven-tiered หมายถึง เจ็ดชั้น เป็นต้น ตัวอย่าง They made a three-tiered wedding cake. พวกเขาท�ำเค้กแต่งงานแบบสามชั้น คิดว่าผู้อ่านคงได้เรียนรู้ค�ำศัพท์เพิ่มเติมบ้าง ไม่มากก็น้อย ไว้พบกันใหม่ในบทความหน้า

อ้างอิง - https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/pramuan_king.pdf - https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/final-THAI.pdf


การรักษาข้อเข่าเสื่อมโดยการผ่าตัด (ตอนที่ ๔) Osteoarthritis of the knee

ข่าวทหารอากาศ

35

พล.อ.ต.ผศ.นพ.จ�ำรูญเกียรติ ลีลเศรษฐพร

การรักษาข้อเข่าเสื่อมโดยการผ่าตัด ปัจจุบนั การรักษาโดยการผ่าตัดได้รบั การยอมรับ มากขึ้นเนื่องจากผลการผ่าตัดดียิ่งขึ้นและปลอดภัย กว่าในอดีตมาก แต่อย่างไรก็ตาม ในการผ่าตัดทุกอย่าง มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ดังนั้น แพทย์จึงมัก พิจารณาในกรณีทไี่ ด้พยายามให้การรักษาโดยการใช้ยา และวิ ธี อื่ น แล้ ว ยั ง ไม่ ไ ด้ ผ ลจึ ง พิ จ ารณารั ก ษาด้ ว ย วิธีผ่าตัด การรักษาโดยการผ่าตัดมีหลายวิธีขึ้นกับ ความรุนแรงของความเสื่อมของข้อเข่า ได้แก่

กระดูกอ่อนปกติ

กระดูกอ่อนที่เสื่อม

การผ่าตัดส่องกล้องข้อเข่า (Arthroscope) เป็นการผ่าตัดโดยการใช้กล้องส่องเข้าไปในข้อเข่า โดยที่มีแผลขนาดเล็กมาก ทําให้เป็นการผ่าตัด ที่มีความปลอดภัยมาก และมีอาการปวดข้อเข่า หลังผ่าตัดน้อย สามารถเดินได้ทันทีหลังผ่าตัด แพทย์มักแนะนําในรายที่มีภาวะข้อเสื่อมเรื้อรัง แต่เอ็กซ์เรย์พบว่าข้อเข่าเสื่อมอยู่ในขั้นปานกลาง ไม่รนุ แรงโดยประโยชน์ทไี่ ด้จากการส่องกล้องข้อเข่า ได้ แ ก่ เพื่ อ ช่ ว ยการวิ นิ จ ฉั ย สภาพความรุ น แรง ของการเสื่อมภายในข้อเข่า และเพื่อหาสาเหตุอื่น ทีอ่ าจเป็นสาเหตุของการปวดเข่าได้ทาํ ความสะอาด เอาสิง่ สกปรกทีเ่ กิดจากการสึกหรอภายในข้อเข่าออก สามารถช่วยลดอาการปวดข้อเข่าลงได้ และช่วย ชะลอความเสื่ อ มให้ ช ้ า ลงเปรี ย บเสมื อ นการ ทําความสะอาดเครื่องรถยนต์หรือการเปลี่ยนถ่าย น�้ำมันเครื่องซึ่งจะช่วยให้การท�ำงานดีขึ้น ข้อจํากัดของการผ่าตัดโดยการใช้กล้องส่อง เข้าไปในข้อเข่าคือเป็นการผ่าตัดทีช่ ว่ ยรักษาอาการ ชั่ ว คราว โดยไม่ ส ามารถแก้ ไขส่ ว นที่ เ สื่ อ มแล้ ว ให้ ก ลั บ เป็ น ปกติ ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ แ นะนํ า ในกรณี ที่ข้อเข่าเสื่อมมาก


36

การผ่าตัดแก้ความโก่งงอข้อเข่า (High Tibial Osteotomy) เป็นการผ่าตัดแก้ไขความโก่งงอของ ข้อเข่าโดยการตัดกระดูกบริเวณใต้ขอ้ เข่าเสมือนทําให้ กระดูกหักแล้วจัดกระดูกใหม่ให้อยู่ในแนวตรงเพื่อให้ น�้ำหนักตัวย้ายไปกระทํากับผิวข้อเข่าบริเวณที่ยังมี สภาพดีเหลืออยู่ทําให้อาการปวดดีขึ้น ขาโก่งน้อยลง การรักษาโดยการผ่าตัดวิธนี เี้ ป็นวิธที มี่ ที าํ กันมานานแล้ว และได้รบั ความนิยมในอดีต และค่าใช้จา่ ยในการรักษา ไม่ แ พง แต่ ป ั จ จุ บั น ได้ รั บ ความนิ ย มน้ อ ยลงมาก เนื่องจากเป็นการผ่าตัดที่ทําให้เกิดกระดูกหัก ซึ่งต้อง ใช้เวลาในการติดของกระดูกนานอย่างน้อย ๒-๓ เดือน หรืออาจนานกว่านั้น ถ้ามีปัญหาการติดของกระดูก หรือมีภาวะติดเชื้อหลังผ่าตัด ทําให้หลังผ่าตัดผู้ป่วย จะไม่สามารถเดินลงน�้ำหนักได้ จึงไม่เหมาะในผู้ป่วย สูงอายุ โดยเฉพาะในรายทีม่ ปี ญ ั หาปวดข้อเข่าทัง้ ๒ ข้าง เพราะจะทําให้เกิดความลําบากอย่างมากหลังผ่าตัด ไม่ได้แก้ไขความเสือ่ มภายในข้อเข่า ดังนัน้ ผิวเข่าทีเ่ สียไป ก็ยังคงเหมือนเดิม จึงไม่สามารถใช้การรักษาวิธีนี้ ในรายที่มีภาวะความเสื่อมของข้อเข่าอยู่ในขั้นรุนแรง หลังจากได้รับการผ่าตัดด้วยวิธีน้ีแล้ว พบว่า เมื่อข้อเข่ามีความเสื่อมที่เพิ่มขึ้น หากจําเป็นต้อง ทํ า การผ่ า ตั ด แก้ ไขอี ก ครั้ ง จะทํา ได้ ลํ า บากมากขึ้ น เนื่ อ งจากเป็ น การแก้ ไขความโก่ ง งอของข้ อ เข่ า โดยไม่ได้แก้ไขความเสื่อมในข้อเข่า ทําให้ไม่สามารถ แก้ไขอาการปวดได้เต็มที่เพียงแต่อาการปวดทุเลาลง เท่ า นั้ น ทํ า ให้ ลั ก ษณะการเดิ น อาจผิ ด ปกติ ไ ด้ แต่อย่างไรก็ตาม การรักษาโดยการผ่าตัดวิธีนี้ยังมี

ประโยชน์อย่างมากสําหรับประเทศไทยเนื่องจาก ค่าใช้จา่ ยในการผ่าตัดน้อย ราคาถูก แต่ควรเลือกใช้วธิ ี ผ่าตัดชนิดนี้ในผู้ป่วยที่มีสภาพข้อเข่าเสื่อมและเสียไป เพี ย งครึ่ ง เดี ย ว เพื่ อ แก้ ไขความโก่ ง งอของข้ อ เข่ า โดยเฉพาะผู้ป่วยที่อายุน้อยกว่า ๕๐ ปี การผ่าตัดข้อเข่าเทียม (Total Knee Arthroplasty) การผ่ า ตั ด ข้ อ เข่ า เที ย มคื อ การผ่ า ตั ด สร้ า งผิ ว ข้อเข่าเทียม และเสริมกระดูกอ่อนเทียมเพื่อทดแทน ผิ ว ข้ อ เข่ า ที่ เ สื่ อ มสภาพไป โดยกระดู ก ข้ อ เข่ า และ ลูกสะบ้ายังอยูเ่ หมือนเดิม ดังนัน้ ถ้าจะเรียกให้ถกู ต้อง ควรเรียกการผ่าตัดชนิดนี้ว่าเป็นการผ่าตัดผิวข้อเข่า เที ย มการผ่ า ตั ด วิ ธี นี้ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งมาก ในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น ในสหรัฐอเมริกา มีการ ทําผ่าตัดผิวข้อเข่าเทียมปีละ ๒๕๐,๐๐๐-๓๐๐,๐๐๐ ราย ส่วนในประเทศญี่ปุ่นมีการผ่าตัดประมาณปีละ ๒๕,๐๐๐-๓๐,๐๐๐ ราย ประเทศไทยในปัจจุบัน มีการผ่าตัดปีละประมาณเพียง ๑๐,๐๐๐ ราย แต่พบว่า มีเพิม่ ขึน้ ทุกปี เนือ่ งมาจากผลการผ่าตัดได้ผลดีมากขึน้ ทาํ ให้ผปู้ ว่ ยทีต่ อ้ งทนทุกข์ทรมานจากภาวะข้อเข่าเสือ่ ม กล้าทําการผ่าตัดมากขึ้น สาเหตุที่ทําให้ผลการผ่าตัด


ข่าวทหารอากาศ

37

ประโยชน์ที่ได้จากการผ่าตัดผิวข้อเข่า เทียม คือ เป็นการรักษาที่แก้ไขที่ปัญหา ความเสื่อมภายในข้อเข่าโดยตรง เพื่อลด ความเจ็ บ ปวดข้ อ เข่ า แก้ ไขความโก่ ง งอ ข้ อ เข่ า ให้ ก ลั บ มาตรงเหมื อ นเดิ ม ทํ า ให้ สามารถกลับมาเดินได้ด้วยตัวเองอีกครั้ง ผู้ป่วยจะสามารถลงน�้ำหนักเดินได้ ๒-๓ วัน การทํา High tibial osteotomy การทาํ Total knee arthroplasty หลั ง การผ่ า ตั ด การที่ ผู ้ ป ่ ว ยสามารถ ช่วยตัวเองได้ เดินไปไหนมาไหนโดยไม่ต้อง ผิ ว ข้ อ เข่ า เที ย มในปั จ จุ บั น ดี ก ว่ า ในอดี ต อย่ า งมาก ทนทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวด แม้จะอายุมากแล้ว เนื่องจากมีการพัฒนาการออกแบบผิวข้อเข่าเทียม สามารถช่วยเพิ่มคุณภาพของชีวิตที่เหลืออยู่ทั้งทาง ให้ใกล้เคียงธรรมชาติมากขึ้น เพื่อให้สามารถใช้งาน ร่างกายและจิตใจ ได้ใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สุด และมีอายุการใช้งาน อย่างไรก็ตามการผ่าตัดทุกชนิดมีโอกาสเกิดภาวะ ได้นานยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ปัจจุบนั มีศลั ยแพทย์ออร์โธฯ แทรกซ้อนอันไม่พงึ ประสงค์ขนึ้ ได้ โดยเฉพาะการติดเชือ้ ที่เชี่ยวชาญด้านการผ่าตัดผิวข้อเข่าเทียมโดยเฉพาะ ซึง่ แม้วา่ ในปัจจุบนั จะพบน้อยลงมาก คือพบประมาณ ทําให้ผลการผ่าตัดดีขึ้นอย่างมาก ร้อยละ ๑-๓ แต่ถือเป็นภาวะที่อันตรายมากในการ ผ่าตัดผิวข้อเข่าเทียม ดังนั้น ก่อนการผ่าตัดแพทย์ จะทําการตรวจเช็คร่างกายอย่างละเอียด เพื่อให้เกิด ความปลอดภั ย มากที่ สุ ด นอกจากนั้ น ค่ า ใช้ จ ่ า ย ในการผ่าตัดยังมีราคาแพง คือประมาณ ๑๗๐,๐๐๐๑๘๐,๐๐๐ บาทต่อข้าง ดังนั้น แพทย์จะแนะนําให้ รักษาภาวะข้อเข่าเสื่อมด้วยวิธีอื่นก่อน หากไม่ได้ผล ร่ ว มกั บ ได้ รั บ การตรวจเอ็ ก ซ์ เรย์ ข ้ อ เข่ า แล้ ว พบว่ า มีการเสื่อมสภาพของผิวข้อเข่าในขั้นรุนแรง จึงจะ พิจารณาแนะนําให้ทําการผ่าตัดผิวข้อเข่าเทียมซึ่งมัก ก่อนผ่าตัด แนะนําทําการผ่าตัดผิวข้อเทียมเฉพาะในผู้สูงอายุ ตั้งแต่ ๖๐ ปีขึ้นไป เนื่องจากผู้ป่วยที่ทําการผ่าตัด ผิวข้อเข่าเทียมมีความคาดหวังอายุใช้งาน ๑๕-๒๐ ปี ดังนั้น หากอายุน้อยกว่า ๕๐ ปี ควรพิจารณารักษา ด้วยวิธีอื่นก่อน เพราะมีโอกาสต้องมาผ่าตัดแก้ไข ในอนาคตซึ่งทําได้ยากขึ้นและมีราคาแพง ส่วนผู้ป่วย ที่อายุอยู่ระหว่าง ๕๐-๖๐ ปี แพทย์จะพิจารณาความ เหมาะสมเป็นราย ๆ ไป หลังผ่าตัด


38

การผ่ า ตั ด ผิ ว ข้ อ เข่ า เที ย มชนิ ด ครึ่ ง เดี ย ว (Unicompartment Arthroplasty) สํ า หรั บ ประเทศไทยการผ่ า ตั ด ชนิ ด นี้ ถื อ เป็ น การผ่ า ตั ด ชนิ ด ใหม่ ล ่ า สุ ด พึ่ ง มี โ อกาสได้ ใช้ แต่ ใ น ต่างประเทศมีการทําผ่าตัดด้วยวิธนี มี้ านานกว่า ๑๐ ปี และได้ผลดีมาก การผ่าตัดผิวข้อเข่าเทียมชนิดใหม่นี้ ทําในกรณีที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมเพียงบางส่วน ดังนั้น จึงทําการเสริมผิวข้อเข่าเทียมและกระดูกอ่อนเทียม เฉพาะผิวข้อส่วนที่เสียไป และมีการพัฒนาเทคนิค การผ่าตัดให้มีบาดแผลผ่าตัดเล็กลงกว่าการผ่าตัด ผิวข้อเข่าเทียมตามปกติมาก ซึ่งเรียกวิธีผ่าตัดด้วย เทคนิคใหม่นี้ว่า เป็นการผ่าตัดประเภท Minimal Invasive Surgery ทําให้หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะสามารถ ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว เดินได้เร็วมากเพียง ๑-๒ วันหลัง ผ่าตัด ทําให้การผ่าตัดมีความปลอดภัยมากขึ้นภาวะ แทรกซ้อนน้อยลง และอยู่โรงพยาบาลเพียง ๓-๔ วัน ในต่างประเทศบางแห่ง ผู้ป่วยจะอยู่ภายใน โรงพยาบาลเพี ย งวั น เดี ย วค่ า ใช้ จ ่ า ยในการผ่ า ตั ด ถูกลงมาก คือ ประมาณ ๔๐,๐๐๐-๕๐,๐๐๐ บาทต่อข้าง ผู้ป่วยจะสามารถงอข้อเข่าได้เร็วขึ้นและใกล้เคียง ปกติ อ ย่ า งมากเหมาะสํ า หรั บ คนไทยซึ่ ง ชอบอยู ่ ใ น ท่างอข้อเข่า ปัจจุบันการผ่าตัดชนิดนี้ในต่างประเทศ

ก่อนผ่าตัด

จึงได้รับความนิยมมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการผ่าตัด ทุกครั้งพึงระลึกเสมอว่ามีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน ขึ้นได้ จึงควรพยายามรักษาด้วยวิธีอื่นอย่างเต็มที่ ก่อนที่จะพิจารณาทําการผ่าตัด และเนื่องจากการ ผ่ า ตั ด ผิ ว ข้ อ เข่ า เที ย มมี อ ายุ ก ารใช้ ง านซึ่ ง ปั จ จุ บั น พบว่าการผ่าตัดชนิดนี้ หากได้รับการผ่าตัดอย่าง ถู ก ต้ อ งจะมี อ ายุ ก ารใช้ ง านได้ น านกว่ า ๑๐ ปี ถึงประมาณร้อยละ ๙๐-๙๕ ดังนั้น จึงควรพิจารณา ทําผ่าตัดในผู้ป่วยที่อายุมากกว่า ๕๕-๖๐ ปีขึ้นไป การป้องกันข้อเข่าเสื่อม แม้ภาวะข้อเข่าเสือ่ มจะเป็นสิง่ ทีท่ กุ คนไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้เมื่ออายุมากขึ้น แต่เราสามารถป้องกัน ภาวะข้อเข่าเสื่อมให้เกิดขึ้นช้าที่สุด วิธีที่สามารถช่วย ชะลอความเสื่ อ มข้ อ เข่ า ได้ คื อ การปรั บ พฤติ ก รรม การใช้ข้อเข่า ด้วยการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมในชีวิต ประจาํ วันทีเ่ ป็นอันตรายต่อข้อเข่า ได้แก่ การนัง่ ยอง ๆ พับเพียบ คุกเข่า หรืออยู่ในท่างอข้อเข่าเป็นเวลานาน การขึ้น-ลงบันไดบ่อย ๆ และการใช้ส้วมนั่งยอง ๆ ซึ่งพบว่าจะเป็นอันตรายต่อข้อเข่าอย่างมาก แนะนํา ให้เปลี่ยนเป็นชนิดชักโครก การลดน�้ำหนักซึ่งมีความ สํ า คั ญ อย่ า งมากในการลดอาการปวดและชะลอ ความเสือ่ มข้อเข่าได้ แต่บอ่ ยครัง้ พบว่าการลดน�ำ้ หนัก

หลังผ่าตัด


ข่าวทหารอากาศ

ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่อย่างน้อยก็อย่าให้น�้ำหนักมากขึ้น และหลีกเลี่ยงการยกของหนัก การออกกําลังกาย อย่างเหมาะสม โดยทาํ อย่างสม�ำ่ เสมอ การออกกาํ ลังกาย ทีด่ ที สี่ ดุ คือการว่ายน�ำ้ รองลงมาคือการบริหารกล้ามเนือ้ บริ เวณข้ อ เข่ า การเดิ น ออกกํา ลั ง กายจั ด เป็ น การ ออกกําลังกายทีเ่ หมาะสมในผูส้ งู อายุ การวิง่ ออกกําลังกาย อาจไม่เหมาะสมในกรณีที่มีข้อเข่าเสื่อม เพราะจะมี แรงกระแทกกระทําต่อข้อเข่าอย่างมาก การเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แรงของกระดู ก โดยปัญหาหนึง่ ทีม่ กั จะพบได้เสมอในผูส้ งู อายุ คือภาวะ กระดูกพรุนโดยเฉพาะในผู้หญิงซึ่งพบได้บ่อย ทําให้ กระดูกอ่อนแอลง ทําให้เกิดการเสื่อมได้เร็วยิ่งขึ้น ดั ง นั้ น จึ ง ควรทานอาหารที่ มี แ คลเซี่ ย มที่ เ พี ย งพอ เนื่องจากในผู้สูงอายุพบว่าจะมีการดูดซึมแคลเซียม ได้น้อยลง ในกรณีที่มีภาวะกระดูกพรุนแล้ว เช่นใน เพศหญิงหลังวัยหมดประจําเดือนอาจขอคําปรึกษา จากคลี นิ ก วั ย ทองซึ่ ง จะมี แ พทย์ ผู ้ เชี่ ย วชาญทาง สูต-ิ นรีเวช เพือ่ พิจารณาการให้ฮอร์โมนเพศเอสโตรเจน ซึ่งแม้จะพบว่ามีโอกาสทําให้พบอุบัติการณ์ ก ารเกิ ด ของมะเร็ ง เต้ า นม และมะเร็ ง ปากมดลู ก ได้ สู ง ขึ้ น แต่หากใช้ในขนาดของฮอร์โมนที่เหมาะสมและได้รับ การดู แ ลจากแพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทางสู ติ - นรี เ วช อย่างใกล้ชดิ ก็สามารถใช้ฮอร์โมนทางเพศในการรักษา และป้องกันภาวะกระดูกพรุนได้อย่างปลอดภัยและ มีราคาถูกหรืออาจขอคําปรึกษาจากศัลยแพทย์ออร์โธฯ เพือ่ พิจารณาการใช้ยาหรือฮอร์โมนทางกระดูก ทีส่ ามารถ กระตุน้ การสร้างกระดูก เพือ่ เสริมสร้างกระดูกให้มคี วาม แข็ ง แรงมากขึ้ น เหมื อ นตอนวั ย หนุ ่ ม วั ย สาวอี ก ครั้ ง ยาและฮอร์โมนทางกระดูกปัจจุบันได้มีการพัฒนา ประสิทธิภาพในการรักษาภาวะกระดูกพรุนได้ดีมาก และมีความปลอดภัยสูงแต่ส่วนใหญ่ยังมีราคาแพง สรุป แม้ ภ าวะข้ อ เข่ า เสื่ อ มจะเป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ ส ามารถ หลีกเลีย่ งได้ แต่การรักษาข้อเข่าเสือ่ มในปัจจุบนั มีการ พัฒนาวิธกี ารรักษาให้ดขี ึ้นกว่าในอดีตอย่างมากทําให้

39

ก่อนผ่าตัด

หลังผ่าตัด

ผู ้ สู ง อายุ ที่ ต ้ อ งทนทุ ก ข์ ท รมานจากความเจ็ บ ปวด ที่ เ กิ ด จากข้ อ เข่ า เสื่ อ มมี ห นทางรั ก ษาให้ ก ลั บ มา สามารถดาํ เนินชีวติ เป็นปกติได้ ช่วยให้คณ ุ ภาพในการ ดําเนินชีวิตดียิ่งขึ้นทั้งทางร่างกายและจิตใจ ส่วนการ จะเลือกรักษาด้วยวิธไี หนนัน้ ขึน้ กับสภาพความรุนแรง ของความเสื่ อ มภายในข้ อ เข่ า สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ สุ ด คื อ การศึ ก ษาเรี ย นรู ้ วิ ธี ที่ จ ะป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ข ้ อ เข่ า เสื่ อ ม เร็วกว่าวัยอันควร


40

อินทรีแดงแผลงฤทธิ์

น.ต.ภฤศพงศ์ ช้อนแก้ว

การลงเชือกโรยตัว (RAPPELLING) ก่อนหน้านี้ระยะนึงแล้วผู้เขียนได้เคยน�ำเสนอ การส่ ง ก� ำ ลั ง ทหารลงพื้ น ดิ น ด้ ว ยการลงเชื อ ก Fast Rope จากอากาศปีกหมุนซึ่งเป็นการน�ำก�ำลัง เข้าสู่พื้นที่ปฏิบัติการรูปแบบหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติต้องใช้ ทักษะและความตัง้ ใจในการปฏิบตั ิ เพือ่ สามารถท�ำการ ลงเชือกได้อย่างปลอดภัย และสามารถปฏิบัติการ ต่อเป้าหมายต่อได้ในทันที ซึง่ การลงเชือก Fast Rope เป็ น วิ ธี ก ารเข้ า ถึ ง เป้ า วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ ก องทั พ สหรั ฐ ฯ นิยมใช้มากที่สุด ส�ำหรับครั้งนี้ผู้เขียนมีความยินดี ที่ จ ะน� ำ เสนออี ก วิ ธี ก ารหนึ่ ง ในการลงเชื อ กจาก อากาศยานปีกหมุน ซึ่งกองทัพสหรัฐฯ มักใช้ในการ ปฏิบัติการทางทหารด้วยเช่นกัน แต่อาจจะมีความ ยุ ่ ง ยากในการตระเตรี ย มอุ ป กรณ์ ใ นการลงเชื อ ก ที่มากกว่า โดยวิธีการดังกล่าวมีชื่อเรียกว่า “การลง ด้วยเชือกโรยตัว” หรือ “Rappelling” “Rappelling” แปลเป็นไทยง่ายว่า “การโรยตัว” ซึง่ ก็เป็นความท้าทายอีกแบบหนึง่ ของผูท้ ไี่ ด้รบั การฝึก แต่ก็แฝงไว้ด้วยความอันตรายด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ผู้ที่ น� ำ ไปใช้ ง านนั้ น ก็ ต ้ อ งฝึ ก หั ด ปฏิ บั ติ ใ นขั้ น ตอน ที่ เรี ย กว่ า “การเข้ า เชื อ ก” ซึ่ ง ต้ อ งท� ำ ด้ ว ยความ

ระมัดระวังและปลอดภัยจนเกิดความช�ำนาญเพือ่ มิให้ เกิดความผิดพลาดขึ้นได้และการฝึกเข้าเชือกนี้ถือว่า เป็นการเริ่มต้นขั้นพื้นฐานของการฝึกลงเชือกโรยตัว โดยผู ้ รั บ การฝึ ก ใหม่ ๆ จะเริ่ ม ท� ำ การฝึ ก เรี ย นรู ้ การผูกมัดเชือกเบื้องต้นด้วยเชือกมะนิลาที่สามารถ หาซื้อได้ตามท้องตลาดทั่วไปซึ่งจะมีความยาวมาก หากซื้อมาใหม่ ดังนั้น จึงควรน�ำมาตัดให้พอดีกับผู้รับ การฝึกความยาวประมาณ ๑๒ – ๑๔ ฟุต หรือมากกว่านัน้ ตามขนาดความใหญ่ของร่างกายผูร้ บั การฝึก เชือกมะนิลา ที่น�ำมาท�ำนี้จะเรียกว่า “เชือกบุคคล”


ข่าวทหารอากาศ

“เชือกบุคคล” นี้เราจะน�ำมาท�ำเป็นอานรองนั่ง เพือ่ ใช้ในการฝึกการลงเชือกซึง่ การลงเชือกจะมีทา่ หลัก ในการลงอยูด่ ว้ ยกัน ๒ ท่า ได้แก่ การลงเชือกแบบเบรก สะโพกหรือการหงายหลังลง และการลงเชือกแบบ เบรกหน้าอกหรือการคว�่ำหน้าลง การลงเชือกแบบ เบรกสะโพกหรือการหงายหลังลง จะเริ่มต้นโดยการ ใช้เชือกมะนิลาผูกมัดไว้ที่เอวด้านหน้าประมาณ ๒ เกลียว และจัดเชือกให้ปลายข้างที่ไม่ถนัดสั้นกว่า ประมาณ ๑ ฟุต (ถนัดขวาข้างซ้ายจะสั้นกว่า) จากนั้น น� ำ ปลายทั้ ง สองข้ า งลอดผ่ า นใต้ ห ว่ า งขาพาดผ่ า น บริเวณก้นของผูร้ บั การฝึกทัง้ สองปลายเชือก น�ำปลาย เชื อ กทั้ ง สองข้ า งม้ ว นมั ด หนึ่ ง ทบกั บ เชื อ กที่ บั้ น เอว บริเวณด้านหลังไว้ แล้วน�ำปลายเชือกมาผูกปมไว้ทเี่ อว ด้านข้างที่ไม่ถนัด (ถ้าผู้รับการฝึกถนัดด้านขวาจะผูก ปลายเชือกไว้ที่เอวด้านซ้าย) เชือกที่ผูกลักษณะนี้จะ เรียกว่า “อานรองนั่ง” เพื่อให้รับน�้ำหนักช่วงเอวและ บั้ น ท้ า ยของผู ้ รั บ การฝึ ก ในขณะลงเชื อ ก จากนั้ น

41

น�ำ carabiners (คาราบิเนอร์) หรือห่วงเกี่ยวนิรภัย หรือบางคนอาจเรียกว่า “Snap Link” มาคล้องเข้า กั บ มั ด เชื อ กที่ เ อวบริ เ วณด้ า นหน้ า ท้ อ ง เพื่ อ ใช้ รั บ น�้ ำ หนั ก เชื อ กโรยตั ว โดย “เชื อ กโรยตั ว ” จะมี คุณสมบัติของโครงสร้างเชือกที่ท�ำจากเส้นใยไนล่อน และโพลี เ อสเตอร์ ป้ อ งกั น รั ง สี อุ ล ตร้ า ไวโอเลต ไม่ดูดซับน�้ำ ทนแรงดึงได้ถึง ๙,๖๖๗ ปอนด์ (ในกรณี เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๒.๕ มิลลิเมตร) ทั้งนี้ ความยาว ของเชือกโรยตัวจะมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ ภารกิ จ และความสู ง ของหลั ก ยึ ด จากระดั บ พื้ น ดิ น น�ำมาคล้องผ่านห่วงนิรภัยโดยปลายเชือกจะพาด ผ่านไปทางด้านข้างที่ถนัดของผู้รับการฝึกโดยใช้มือ ก�ำเชือกยึดไว้บริเวณสะโพกด้านหลัง และทิง้ ให้ปลาย เชือกลงไปด้านล่าง เรียกว่า “ปลายเป็น” มีลักษณะ เป็นอิสระจากการยึดติด ทั้งนี้ด้าน “ปลายตาย” คือ ปลายเชือกส่วนที่ผูกติดยึดอยู่กับที่ จะผูกติดกับเสา หรือคานทีม่ คี วามแข็งแรงคงทนสามารถรับน�ำ้ หนักได้

ลักษณะการเข้าเชือกแบบเบรกสะโพก


42

(ส�ำหรับการฝึก) ส่วนมือข้างไม่ถนัดให้จับประคอง เชือกส่วนที่ปลายตายเอาไว้ เมื่อผู้ปฏิบัติจะท�ำการ เลื่อนตัวลงก็ให้กางแขนที่จับเชือกอยู่ออกไปด้านข้าง ล�ำตัวประมาณ ๔๕ องศา พร้อมคลายมือที่จับเชือกไว้ จนตั ว ผู ้ ป ฏิ บั ติ จ ะไหลลงมา กรณี ถ ้ า ต้ อ งการให้ ลอยหยุ ด อยู ่ กั บ ที่ ก็ ใ ห้ ท� ำ การก� ำ เชื อ กให้ แ น่ น แล้ ว น�ำมากดไว้บริเวณสะโพกด้านหลังตามเดิม ซึ่งการลง แบบเบรกสะโพกนี้ ส ่ ว นใหญ่ จ ะนิ ย มปฏิ บั ติ ม าก

การลงเชือกแบบเบรกสะโพก

เนื่องจากสามารถรับน�้ำหนักกรณีที่ต้องแบกสัมภาระ ไว้ด้านหลังรวมทั้งอาวุธปืนประจ�ำกาย และน�ำลงไป ด้วยได้ดี ซึ่งจะสังเกตได้จากรูปภาพ ทั้งนี้ มือของ ผู้ปฏิบัติจะต้องสวมถุงมือกันความร้อนที่มีความหนา เพื่อกันไม่ให้เชือกบาดมือเวลาเลื่อนลงมา นอกจากนี้ หากผู้ปฏิบัติเป็นผู้ที่ยังไม่เคยฝึกปฏิบัติการลงเชือก มาเลย ครูฝกึ จะน�ำอุปกรณ์หว่ งรับน�ำ้ หนักหมายเลข ๘ (Figure 8) มาสวมใส่ร่วมกับห่วงเกี่ยวนิรภัยก่อน แล้วจึงร้อยเชือกโรยตัวผ่านห่วงรับน�ำ้ หนักหมายเลข ๘ เพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม แรงเสี ย ดทานในการลงเชื อ กของ ผูร้ บั การฝึกใหม่ ท�ำให้การลงช้าลงซึง่ จะเป็นการช่วยเพิม่ ความปลอดภัยกับผู้ฝึก และเมื่อผู้รับการฝึกเกิดความ ช�ำนาญแล้วจึงไม่ต้องใช้ห่วงรับน�้ำหนักหมายเลข ๘ ก็ได้ ซึง่ ในรายละเอียดการฝึกท่านผูอ้ า่ นสามารถศึกษา ได้จากคู่มือการฝึกลงเชือกของกรมปฏิบัติการพิเศษ หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน ต่อมาเป็นการลงเชือกแบบเบรกหน้าอกจะใช้วธิ ี การผูกเชือกบุคคลท�ำอานรองนั่งเหมือนกับการลง เชือกแบบเบรกสะโพก แต่จะกลับกันคืออานรองนั่ง จะรับน�้ำหนักบริเวณเอวและช่วงด้านหน้าตรงเป้า กางเกง แล้วน�ำปลายเชือกมาผูกมัดปมไว้ทเี่ อวด้านข้าง ไม่ถนัดเหมือนกันกับการเบรกสะโพก จากนั้นน�ำห่วง เกี่ ย วนิ ร ภั ย มาคล้ อ งเข้ า กั บ มั ด เชื อ กที่ เ อวบริ เวณ

การลงเชือกแบบเบรกหน้าอก


ข่าวทหารอากาศ

43

ลักษณะการเข้าเชือกแบบเบรกหน้าอก

ด้านหลัง ในกรณีผู้รับการฝึกใหม่อาจต้องใช้ห่วงรับ น�้ำหนักร่วมด้วยคล้ายกับวิธีการเบรกสะโพก น�ำเชือก โรยตัวด้านปลายเป็นหรือปลายเชือกอิสระมาร้อย ผ่านห่วงรับน�ำ้ หนักหมายเลข ๘ (ส�ำหรับผูร้ บั การฝึกใหม่) หรื อ ร้ อ ยผ่ า นห่ ว งเกี่ ย วนิ ร ภั ย ได้ เ ลย ส� ำ หรั บ กรณี ที่ไม่ได้ใช้ห่วงรับน�้ำหนักหมายเลข ๘ จากด้านหลัง ของผูป้ ฏิบตั โิ ดยเป็นวิธกี ารเข้าเชือกแบบเบรกหน้าอก (ทั้งนี้ด้านปลายตายของเชือกคือเชือกส่วนที่ผูกติด ยึดอยู่กับที่เช่นเดียวกับการเบรกสะโพก) โดยผู้ปฏิบัติ จะใช้มือข้างถนัดจับเชือกมาก�ำไว้หน้าอกส่วนแขน ข้ า งไม่ ถ นั ด จะกางออกคล้ า ยกั บ ท่ า พื้ น ฐานการ กระโดดร่มแบบกระตุกเอง (กรณีมอี าวุธปืนจะสามารถ ถือในมือข้างไม่ถนัดได้โดยให้ปลายกระบอกปืนชี้ไป ในทิ ศ ทางลงด้ า นล่ า งหรื อ ชี้ ไ ปยั ง ต� ำ แหน่ ง ข้ า ศึ ก ) จากนั้นผู้ปฏิบัติจะค่อย ๆ คลายเชือกที่ก�ำอยู่ออก

เวลาจะให้ตวั เลือ่ นลงก็ให้กางแขนทีจ่ บั เชือกอยูอ่ อกไป ด้านข้างล�ำตัวขนานกับพื้นดินท�ำมุมแขนเกือบ ๙๐ องศากับล�ำตัว พร้อมคลายมือทีจ่ บั เชือกไว้ ซึง่ จะท�ำให้ ตัวผู้ปฏิบัติค่อย ๆ ไหลลงมาในท่าคว�่ำหน้าล�ำตัวขนาน กับพื้น หากต้องการให้ลอยหยุดอยู่กับที่ก็ให้ท�ำการ ก�ำเชือกให้แน่น แล้วน�ำมากดไว้บริเวณหน้าอกด้านหน้า พร้อมกับแดะตัวเพื่อช่วยพยุงตัวไว้ ท่านี้จะเหมาะ กับการลงเชือกในลักษณะพร้อมจู่โจมหรือปฏิบัติการ โดยทันที หลังจากผู้ฝึกปฏิบัติเกิดความเข้าใจและมีทักษะ ในการลงเชือกแล้ว ในระดับต่อไปผู้รับการฝึกจะเริ่ม ท�ำการฝึกกับชุดอุปกรณ์ Harness หรือชุดสายรัดตัว กูภ้ ยั เพือ่ ให้เกิดความคุน้ เคยกับอุปกรณ์ทจี่ ะใช้ในการ ปฏิบตั งิ านจริง ผูป้ ฏิบตั จิ ะสวมใส่ชดุ Harness เหมือน ใส่กางเกงซึ่งจะเป็นตัวรับน�ำ้ หนักเราไว้ ชุดนี้สามารถ


44

ปรับเปลี่ยนใช้ได้ทั้งการลงเชือกแบบเบรกสะโพกและ แบบเบรกหน้าอก มีความสะดวกคล่องตัวและมีความ ปลอดภัยสูงในการปฏิบัติภารกิจ โดยผู้รับการฝึก จะเริ่มท�ำการฝึกกับหอสูง ๓๔ ฟุต บริเวณหน้าผา จ�ำลองเพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจในอุปกรณ์ จากนัน้ จึงเริม่ ลงพร้อมอุปกรณ์และอาวุธยุทโธปกรณ์ที่เพิ่มภาระ มากขึ้นตามล�ำดับ และเมื่อผู้รับการฝึกมีความมั่นใจ เต็ ม ที่ แ ล้ ว ผู ้ รั บ การฝึ ก จะได้ ท� ำ การฝึ ก ร่ ว มกั บ อากาศยานปีกหมุนเป็นล�ำดับขั้นการฝึกต่อไป การฝึ ก กั บ อากาศยานปี ก หมุ น นั้ น ในส่ ว น ของกองทัพอากาศผู้รับการฝึกจะท�ำการฝึกลงเชือก กับเครื่องเฮลิคอปเตอร์ ฮ.๖ ข (Bell 412) และ ฮ.๖ (UH-1H Huey) เป็นหลัก ซึ่งจะมีอันตรายเพิ่ม มากขึ้นส�ำหรับผู้รับการฝึกใหม่ ผู้รับการฝึกจะต้อง ทบทวนขั้นตอนการปฏิบัติให้ดี ๆ โดยล�ำดับขั้นการฝึก จะค่อย ๆ เริ่มจากการลงเชือกตัวเปล่าก่อน เพื่อสร้าง ความคุ้นเคยที่ระยะความสูง ๔๐ – ๕๐ ฟุต ประมาณ ๒ – ๓ เที่ยว จากนั้นจึงเริ่มลงพร้อมยุทโธปกรณ์และ เพิ่ ม ความสู ง ในการลงด้ ว ยเช่ น กั น ซึ่ ง สามารถ ลงได้ถึงที่ความสูง ๙๐ ฟุต จากระดับพื้นดิน

การฝึกลงเชือกด้วยชุด Harness ของเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการพิเศษซึ่งเป็นการท�ำการฝึกกับ หอสูง ๓๔ ฟุต บริเวณหน้าผาจ�ำลอง

อุปกรณ์หลักที่ใช้ในการลงเชือก ได้แก่ เชือกโรยตัว, ห่วงรับน�้ำหนักหมายเลข ๘, ห่วงเกี่ยวนิรภัย, ถุงมือกันความร้อน และเชือกมะนิลา


ข่าวทหารอากาศ

การฝึกลงเชือกโรยตัวจากเครื่อง ฮ.๖ (UH-1H Huey) ของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการพิเศษ

ปัจจุบนั ส�ำหรับเจ้าหน้าทีค่ น้ หาช่วยชีวติ ทีป่ ฏิบตั ิ งานจริงนั้น นอกจากมีการฝึกและปฏิบัติงานร่วมกับ เครื่อง ฮ.๖ ข (Bell 412) และ ฮ.๖ (UH-1H Huey) แล้วยังมีการฝึกและปฏิบัติงานร่วมกับเครื่อง ฮ.๑๑ (EC-725) ซึ่ ง จะเป็ น อากาศยานปี ก หมุ น เพื่ อ ใช้ ในภารกิจค้นหาและช่วยชีวิตต่อไปในอนาคตทดแทน เครือ่ ง ฮ.๖ (UH-1H Huey) ทีก่ ำ� ลังจะปลดประจ�ำการ ไปทั้งหมดในอีกไม่นาน ส�ำหรับภารกิจที่ต้องใช้ในการลงเชือกโรยตัวนี้ มี ห ลายลั ก ษณะ เช่ น การค้ น หาและช่ ว ยชี วิ ต การช่วยเหลือตัวประกัน การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยลงจาก ทีส่ งู การเคลือ่ นย้ายก�ำลัง เป็นต้น ทัง้ นี้ ในกลุม่ พลเรือน มีการน�ำวิธีการลงเชือกโรยตัวไปใช้ในการเล่นกีฬา ประเภทการไต่หน้าผาจ�ำลอง การเล่นปีนหน้าผา หรือการโรยตัวเพือ่ เข้าช่วยเหลือผูป้ ว่ ยของหน่วยกูภ้ ยั ต่ า ง ๆ นั บ ได้ ว ่ า เป็ น เทคนิ ค ทางทหารที่ ส ามารถ ใช้ประโยชน์ได้หลายรูปแบบ

การฝึกเข้าทางหน้าต่างเพื่อช่วยเหลือตัวประกัน โดยใช้การโรยตัวเข้า

อ้างอิง - กรมปฏิบัติการพิเศษ. (๒๕๖๐) การฝึกลงเชือกโรยตัว คู่มือการฝึกการปฏิบัติการพิเศษ - Headquarters Department of the Army. Rappelling. 10 September 1997. Washington

45


46


ข่าวทหารอากาศ

EA-18G Growler

47

“บ.โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์”

ภั ย คุ ก คามส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ เครื่ อ งบิ น รบในการ เข้าโจมตีเป้าหมายของฝ่ายข้าศึก นอกจากเครือ่ งบินรบ ฝ่ายข้าศึกแล้ว ยังมีระบบป้องกันภัยทางอากาศ โดยเฉพาะ เป้าหมายทางยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญมักมีการวางระบบ ป้องกันภัยทางอากาศ เช่น อาวุธน�ำวิถีพื้นสู่อากาศ ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานไว้อย่างหนาแน่น โดยระบบ อาวุธเหล่านี้จะใช้เรดาร์ในการตรวจจับเครื่องบิน ฝ่ า ยข้ า ศึ ก ติ ด ตามและน� ำ วิ ถี ใ ห้ กั บ อาวุ ธ ดั ง นั้ น หากท�ำลายขีดความสามารถการตรวจจับของเรดาร์ได้ ระบบป้องกันภัยทางอากาศก็จะเหมือนอยู่ในสภาพ ตาบอดมองไม่ เ ห็ น เป้ า หมาย เป็ น การเพิ่ ม โอกาส ความส�ำเร็จในการโจมตีเป้าหมายและกลับฐานที่ตั้ง ได้อย่างปลอดภัย ส�ำหรับการท�ำลายขีดความสามารถ เรดาร์นั้น นอกจากการใช้อาวุธเช่น ลูกระเบิดน�ำวิถี การวางระเบิดเพื่อท�ำลายตัวรับส่งสัญญาณเรดาร์ โดยตรงแล้ ว ยั ง สามารถใช้ ก ารรบกวนสั ญ ญาณ ของเรดาร์หรือ Jamming ซึง่ เป็นกระบวนการต่อต้าน ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการ ทางสงครามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Warfare) ได้อีกด้วย ส� ำหรับเครื่องบินรบที่ถูกพัฒนาเพื่อใช้ เป็นเครื่องบินรบโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์โดยตรงนั้น มีเพียงไม่กี่รุ่นคือ EA-6B Prowler (ปลดประจ�ำการ

น.ท.วัชรพงษ์ กลีบม่วง

เมื่อมีนาคม พ.ศ.๒๕๖๒) และรุ่นล่าสุดคือ EA-18G “Growler” ประจ�ำการในกองทัพเรือสหรัฐฯ และ กองทัพอากาศออสเตรเลียเมือ่ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๒ บริษัท Boeing และกองทัพเรือสหรัฐฯ ได้รับอนุมัติ จากกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ให้เสนอขาย EA-18G ให้ กั บ ฟิ น แลนด์ ซึ่ ง ถู ก ดั ด แปลงมาจาก บ.FA-18 เพื่อปฏิบัติภารกิจสงครามอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะ

EA-18G Growler บ.โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ บ. A-6 Intruder ประจ�ำการใน ทร.สหรัฐฯ ปลดประจ�ำการเมื่อ มี.ค๖๒


48

บ.โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ ถูกออกแบบ เพื่อใช้ในการท�ำลายหรือริดรอนขีดความ สามารถของเรดาร์ ร ะบบป้ อ งกั น ภั ย ทางอากาศฝ่ า ยข้ า ศึ ก ด้ ว ยการรบกวน สัญญาณเรดาร์ หรือการโจมตีด้วยอาวุธ น�ำวิถตี อ่ ต้านเรดาร์ เพือ่ เปิดทางให้ บ.โจมตี เข้าโจมตีเป้าหมายของฝ่ายข้าศึกที่อยู่ใน สภาพไร้การป้องกันได้ EA-18G “Glower” ถูกพัฒนาโดยบริษัท Boeing เพื่อทดแทน บ.โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ EA-6B “Plower” ซึง่ ประจ�ำการในกองทัพเรือ และนาวิกโยธิน สหรัฐฯ มาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๔ ส�ำหรับ การน�ำ F/A-18 Super Hornet มาเป็น EA-18G Growler บ.โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาจาก บ. FA-18 ต้ น แบบในการพั ฒ นาเป็ น EA-18G นั้ น เพื่อตอบโจทย์ของ ทร.สหรัฐฯ ในการหา บ.รบโจมตี EA-18G ใช้โครงสร้างหลักของ F/A-18F ที่เป็น ทางอิเล็กทรอนิกส์ทสี่ ามารถประจ�ำการบนเรือบรรทุก เครื่อง ๒ ที่นั่ง มีความยาว ๑๘.๓๑ เมตร ระยะปีก เครือ่ งบินได้ ซึง่ EA-18G ยังคงโครงสร้างโดยส่วนใหญ่ กางสุด ๑๓.๖๒ เมตร สูง ๔.๘๘ เมตร น�้ำหนัก ของ F/A-18 ไว้ มีเพียงบางส่วนที่ถูกปรับปรุงเพื่อใช้ เครื่องเปล่า ๒๑,๗๗๒ กิโลกรัม น�้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด ส� ำ หรั บ ติ ด ตั้ ง ระบบสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เช่ น ๒๙,๙๖๔ กิ โ ลกรั ม ในส่ ว นของเครื่ อ งยนต์ ยั ง คง ถอดปืนใหญ่อากาศขนาด ๒๐ มิลลิเมตร ภายใน เป็นแบบเดิมที่ใช้ใน F/A-18 คือ General Electric ล�ำตัวออก และเปลีย่ นปลายปีกทีใ่ ช้สำ� หรับติดตัง้ อาวุธ F414-GE-400 เทอร์โบแฟน จ�ำนวน ๒ เครื่องยนต์ น�ำวิถีอากาศสู่อากาศ ระยะสั้น AIM-9 มาติดตั้ง แรงขับ ๑๔,๐๐๐ ปอนด์ต่อเครื่อง แรงขับเมื่อใช้ อุปกรณ์ส�ำหรับการโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ สันดาปท้าย ๒๐,๐๐๐ ปอนด์ต่อเครื่อง ด้วยโครงสร้างและเครื่องยนต์ยังคงใช้แบบเดียว กั บ F/A-18 จึ ง ท� ำ ให้ ขี ด สมรรถนะของ EA-18G แทบจะไม่แตกต่างจากต้นแบบ โดยมีความเร็วสูงสุด ๑.๘ มัค (เมื่อบินที่ความสูง ๔๐,๐๐๐ ฟุต) รัศมีปฏิบัติ การไกลสุด ๗๒๒ กิโลเมตร เพดานบินสูงสุด มากกว่า ๕๐,๐๐๐ ฟุต EA-18G Growler วิง่ ขึน้ จากเรือบรรทุกเครือ่ งบิน


ข่าวทหารอากาศ

ส�ำหรับเรดาร์ควบคุมการยิงยังคงใช้รุ่นเดียวกับ F/A-18 คือ AN/APG-79 (Active Electronically Scanned Array : AESA) เป็ น เรดาร์ ที่ ค วบคุ ม ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถสร้างคลื่นความถี่ หลาย ๆ ความถี่ได้พร้อมกัน และสามารถส่งสัญญาณ เรดาร์ไปในทิศทางต่าง ๆ ได้พร้อมกันโดยไม่ต้อง หั น จานเรดาร์ เ หมื อ นกั บ เรดาร์ แ บบดั้ ง เดิ ม ที่ ต ้ อ ง หันจานเรดาร์ไปในทิศทางที่จะปล่อยสัญญาณเรดาร์ ยากต่อการถูกรบกวนสัญญาณ ใช้ในการน�ำวิถีให้กับ อาวุธน�ำวิถอี ากาศสูอ่ ากาศ ระยะพ้นสายตา AIM-120 AMRAAM ซึ่ง EA-18G สามารถติดตั้ง AMRAAM ไว้ใต้ลำ� ตัว จ�ำนวน ๒ นัด เพื่อใช้ในการป้องกันตัวเอง ระบบสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ส� ำ คั ญ ของ EA-18G ประกอบด้วย AN/ALQ-99 High and Low Band Tactical Jamming Pods หรือกระเปาะรบกวน สัญญาณย่านความถี่สูงและต�่ำ และ AN/ALQ-218 Wideband Receivers หรือระบบรับสัญญาณเรดาร์ ย่านความถีก่ ว้างส�ำหรับ AN/ALQ-99 นัน้ ถูกใช้ในการ รบกวนสัญญาณเรดาร์ของฝ่ายตรงข้าม โดยจะน�ำ ข้ อ มู ล คลื่ น สั ญ ญาณเรดาร์ จ ากส่ ว นรั บ สั ญ ญาณ มาประมวลผลและท�ำการปล่อยคลื่นความถี่ออกไป

49

เพื่อรบกวนสัญญาณเรดาร์นั้น ๆ ถูกใช้งานมาตั้งแต่ ช่วงสงครามเวียดนามจนถึงปฏิบัติการ Operation Odyssey Dawn ปี พ.ศ.๒๕๕๔ ทีล่ เิ บียจากการถูกใช้งาน มาอย่างยาวนาน ท�ำให้พบข้อขัดข้องของ AN/ALQ-99 ที่ส่งผลต่อภารกิจค่อนข้างมาก ทั้งระบบขัดข้องขณะ ปฏิบัติภารกิจ และขณะที่ท�ำการรบกวนสัญญาณ ฝ่ายตรงข้ามก็จะมีผลกระทบต่อสัญญาณเรดาร์สำ� หรับ ควบคุมการยิงของตัวเองด้วย รวมทั้งท�ำให้ความเร็ว ของอากาศยานลดลง ด้วยข้อขัดข้องต่าง ๆ เหล่านี้ ที่ ล ดประสิ ท ธิ ภ าพในการโจมตี ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทาง ทร.สหรัฐฯ จึงได้มีนโยบายในการพัฒนาระบบ รุ่นใหม่ขึ้นมา โดยล่าสุดเมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ได้มีการประกาศการพัฒนา Next Generation Jammer Low Band System หรือระบบ AGM-88 HARM อาวุธน�ำวิถีต่อต้านเรดาร์ AGM-88 HARM อาวุธน�ำวิถีต่อต้านเรดาร์ AIM-120 อาวุธน�ำวิถีอากาศ สู่อากาศระยะพ้นสายตา

AN/ALQ-218 ชุดรับสัญญาณเรดาร์ความถี่กว้าง

AN/ALQ-99 กระเปาะรบกวนสัญญาณความถี่สูง

AN/ALQ-99 กระเปาะรบกวนสัญญาณความถี่ตำ�่ AN/ALQ-99 กระเปาะรบกวนสัญญาณความถี่สูง

AN/ALQ-218 ชุดรับสัญญาณเรดาร์ความถี่กว้าง


50

รบกวนสัญญาณย่านความถี่ต�่ำรุ่นใหม่ เพื่อติดตั้ง กับ EA-18G แทน AN/ALQ-99 โดยในรุ่นใหม่นี้ ได้ ถู ก พั ฒ นาเพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ ร บกวนสั ญ ญาณ ได้ทั้งจากระยะไกล และระยะใกล้ ในย่านความถี่สูง กลาง และต�ำ่ ครอบคลุมระบบป้องกันภัยทางอากาศ เกือบทั้งหมด ตอบสนองต่อภารกิจได้หลากหลาย เช่น การสนับสนุนทางอากาศอย่างใกล้ชิด การโจมตี ทางอากาศ การรบทางทะเล ฯ ในส่ ว นของ AN/ALQ-218 ซึ่ ง ถู ก ติ ด ตั้ ง ไว้ ที่ปลายปีกทั้งสองข้าง (แต่เดิมเป็นต�ำแหน่งส�ำหรับ

ติดตั้งอาวุธน�ำวิถีอากาศสู่อากาศ ระยะสั้น AIM-9) เป็นระบบที่คอยดักรับสัญญาณเรดาร์ของฝ่ายข้าศึก ทีป่ ล่อยออกมาและจะท�ำการประมวลผลเพือ่ ระบุพกิ ดั ที่แน่นอนของเรดาร์ที่ตรวจจับได้ และใช้เป็นข้อมูล พิ กั ด เป้ า หมายให้ กั บ อาวุ ธ น� ำ วิ ถี ต ่ อ ต้ า นเรดาร์ โดยระบบนี้ ส ามารถตรวจจั บ สั ญ ญาณเรดาร์ ไ ด้ แม้ ใ นขณะที่ ก� ำ ลั ง ท� ำ การรบกวนสั ญ ญาณของ ฝ่ายข้าศึกได้อีกด้วย


ข่าวทหารอากาศ

51

EA-18G “Growler” เป็น เครือ่ งบิน โจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มีขีดความ สามารถในการโจมตี ร ะบบเรดาร์ ป้องกันภัยทางอากาศของฝ่ายข้าศึก ทั้ ง แบบใช้ สั ญ ญาณรบกวนและ ใช้อาวุธน�ำวิถีต่อต้านเรดาร์ในการ ท�ำลาย รวมทั้งยังสามารถระบุพิกัด ของเป้ า หมายจากสั ญ ญาณเรดาร์ ที่ปล่อยออกมา และโจมตีเป้าหมาย แบบ Time Sensitive ได้อีกด้วย EA-6B Prowler(ล่าง) บินคู่กับ EA-18G Growler(บน) ซึ่ ง ขี ด ความสามารถเหล่ า นี้ ท� ำ ให้ แนวคิ ด การใช้ เ ครื่ อ งบิ น รบส� ำ หรั บ โจมตี ท าง Growler เป็นเครื่องบินรบโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ทนี่ อกจากจะใช้ในการรบกวนสัญญาณ ที่ เ ป็ น ภั ย คุ ก คามส� ำ คั ญ ของระบบป้ อ งกั น ภั ย เรดาร์ของฝ่ายข้าศึกแล้ว ยังสามารถใช้ในการระบุ ทางอากาศของฝ่ายข้าศึก ซึ่งสัญญาณเรดาร์ที่ปล่อย ต� ำ แหน่ ง ของแหล่ ง ที่ ส ่ ง สั ญ ญาณเรดาร์ อ อกมาได้ ออกไปเพือ่ ตรวจจับศัตรูนนั้ กลับกลายเป็นป้ายบอกทาง อีกด้วย โดยใช้ EA-18E จ�ำนวน ๓ เครือ่ ง ใช้ AN/ALQ-218 ให้กบั Growler ในการเข้าโจมตีโดยทีฝ่ า่ ยตัง้ รับไม่อาจ ในการรั บ ข้ อ มู ล สั ญ ญาณเรดาร์ ที่ แ พร่ อ อกมาจาก จะตัง้ ตัวได้ทนั แม้วา่ Growler จะมีประจ�ำการในกองทัพ ฝ่ายตรงข้ามในช่วงเสีย้ วเวลาหนึง่ และน�ำมาประมวลผล เรือสหรัฐฯ และกองทัพอากาศออสเตรเลียเพียงเท่านัน้ เพื่ อ ระบุ ต� ำ แหน่ ง ที่ ตั้ ง และจ� ำ นวนของเป้ า หมาย ในปัจจุบัน แต่ในด้านของการพัฒนาแล้วถือว่าเป็น ที่ตรวจจับได้ ซึ่งการด�ำเนินการตามกระบวนการนี้ ตัวอย่างที่น่าสนใจในการน�ำเครื่องบินรบมาพัฒนา จ�ำเป็นต้องมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง EA-18G ให้เป็นเครือ่ งบินรบโจมตีทางอิเล็กทรอนิกส์โดยเฉพาะ ทั้ง ๓ เครื่อง ที่รวดเร็ว ซึ่ง Wideband Rockwell ซึ่งไม่ต้องด�ำเนินการวิจัยและสร้างอาวุธรุ่นใหม่ที่ต้อง Collins Tactical Targeting Network Technology ลงทุนทั้งงบประมาณและเวลาเป็นจ�ำนวนมากและ : TTNT เป็ น ระบบเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ล่ า สุ ด ที่ ถู ก น� ำ ในด้ า นการพั ฒ นาศั ก ยภาพของก� ำ ลั ง ทางอากาศ มาติดตั้งให้กับ EA-18G ส�ำหรับการปฏิบัติภารกิจนี้ ถื อ ว่ า เป็ น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถทางสงคราม อิเล็กทรอนิกส์ให้กับก�ำลังทางอากาศได้อย่างรวดเร็ว อีกด้วย

อ้างอิง - F-35,www.f35.com - EA-18G Growler | U.S. Navy Aircraft, www.military.com - US approves release Boeing EA-18G Growler to Finland,https://ukdefencejournal.org.uk - EA-18G Growler, www.airforce.gov.au - Australia’s EA-18G electronic attack capability achieves IOC,www.janes.com - EA-18G GROWLER, www.boeing.com - USN launches Next-Gen Jammer Low-Band integration on Growler, www.janes.com - US Navy fighter develops passive target ID for ships,www.flightglobal.com


52

ชมกิจการและศึกษา ภูมิประเทศ ณ ประเทศญี่ปุ่น น.ท.บัณฑิต บุรุษานนท์

เมื่อประมาณ ๑๕ ปีที่แล้ว ผู้เขียนได้มีโอกาสไปที่ ประเทศญีป่ นุ่ ครัง้ แรก ซึง่ ในขณะนัน้ ญีป่ นุ่ เป็นประเทศ ทีม่ ขี นาดเศรษฐกิจเป็นอันดับ ๒ ของโลก มีวฒ ั นธรรม ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ และมีความเป็นชาตินยิ มสูง นักท่องเทีย่ ว นักธุรกิจ และแรงงานจากต่างประเทศ สามารถพบเห็นได้ ตามเมืองใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันนี้ถ้าไปญี่ปุ่นจะเห็นได้ว่า ไม่มีที่ไหนที่รอดพ้นคนต่างชาติไปได้อีกแล้ว ไม่เว้น แม้แต่ต่างจังหวัดในแถบที่ไม่ใช่ถิ่นท่องเที่ยวก็ยังเห็น คนต่ า งชาติ ทุ ก หนแห่ ง ขึ้ น รถไฟก็ ไ ด้ ยิ น แต่ ภ าษา หลากหลาย เจอแต่ป้ายบอกทางที่มีทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาเกาหลี ไปร้านอาหารก็เจอเมนู อาหารที่มีหลายภาษาอยู่ในเล่มเดียว นับเป็นความ เปลี่ยนแปลงอย่างมากจากในอดีตเมื่อไม่นานมานี้เอง เดิมทีเป็นประเทศมีความเข้มข้นของวัฒนธรรม ในวิถีชีวิตอย่างมาก ทั้งชีวิตของคนญี่ปุ่นส่วนใหญ่จะ พบปะกับคนญี่ปุ่นเหมือนกัน นาน ๆ ทีถึงจะเจอ คนต่างชาติสักครั้ง ซึ่งไม่มีความจ�ำเป็นที่ต้องท�ำอะไร ที่ต่างจากเดิมเพื่อรองรับคนชาติอื่น เช่น แผนที่รถไฟ ก็มีแต่ภาษาญี่ปุ่น และคนญี่ปุ่นก็ไม่ได้เดือดร้อนอะไร ที่ตนพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ แต่ปัจจุบันนี้ราวกับว่าญีป่ นุ่ กลายเป็นประเทศที่รวมผู้คนหลากเชื้อชาติวัฒนธรรม และภาษาเข้าไว้ด้วยกัน จากเดิมที่เคยเป็นประเทศ ที่ครองโดยคนเพียงเผ่าพันธุ์เดียว ความเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วเช่นนีไ้ ด้เปลีย่ นภาพลักษณ์เดิม ๆ ของญีป่ นุ่ ไปเสียสิน้ ภายในชัว่ เวลาไม่กสี่ บิ ปี ซึง่ ก่อนหน้านัน้ ญีป่ นุ่ เองก็รตู้ วั ดีวา่ ไม่สามารถต้านทานกระแสโลกาภิวตั น์ได้ และหาทางรับมือเพื่อให้อยู่กับกระแสโลกได้ ซึง่ อาจ

เรี ย กได้ ว ่ า ญี่ ปุ ่ น ถู ก กลื น เข้ า กั บ กระแสโลกาภิ วั ต น์ ไปเสียแล้ว โดยเห็นได้จาก ด้านสภาพสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การบริหารจัดการ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปั ญ หาสั ง คม ที่ เ ป็ น ผลกระทบที่ ต ามมาจากการ เปลี่ยนแปลงนั่นเอง โดยประเทศไทยกั บ ประเทศญี่ ปุ ่ น มั ก จะถู ก เปรี ย บเที ย บกั น ว่ า เป็ น ๒ ประเทศซึ่ ง มี ห ลายสิ่ ง หลายอย่างคล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าสู่ ความเป็นประเทศสมัยใหม่ซงึ่ ตรงกับในช่วงรัชกาลที่ ๕ ของไทยและตรงกับรัชสมัยเมจิของญีป่ นุ่ หากศึกษากัน ลึกลงไปแล้วจะพบว่า ประเทศไทยและญี่ปุ่นมีความ สัมพันธ์กันมาอย่างยาวนาน และต่างก็พัฒนาความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่ผ่านมาทั้ง ๒ ประเทศด�ำเนินความสัมพันธ์ ทางการทูตอย่างเป็นทางการครบ ๑๓๐ ปี ซึ่งในปัจจุบัน มี ค วามต้ อ งการที่ จ ะกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ท� ำ ให้ ญี่ ปุ ่ น เปิดประเทศมากขึ้น เห็นได้จากการยกเลิกวีซ่าในการ เดินทางเข้าประเทศญีป่ นุ่ ของคนไทย จนท�ำให้ประเทศ ญี่ ปุ ่ น เป็ น อี ก ประเทศหนึ่ ง ที่ ช าวไทยนิ ย มเดิ น ทาง ไปท่องเที่ยวมากที่สุด ซึ่งต่างจากครั้งที่ผู้เขียนเคย เดินทางไปในครั้งแรกที่การขอวีซ่าเข้าประเทศญี่ปุ่น ยังมีความจ�ำเป็นและด�ำเนินการได้ยากแต่จากการ


ข่าวทหารอากาศ

ที่ญี่ปุ่นเปิดรับคนต่างชาติมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เป็นการสร้างให้คนไทยเข้าใจคนญีป่ นุ่ มากขึน้ จากการ ทีท่ งั้ ๒ ประเทศมีสภาพภูมริ ฐั ศาสตร์พนื้ ฐานทีแ่ ตกต่าง กั น อย่ า งสิ้ น เชิ ง โดยประเทศญี่ ปุ ่ น มี ภั ย พิ บั ติ ท าง ธรรมชาติมากมาย อีกทั้งญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มี ๔ ฤดู ท�ำให้คนญีป่ นุ่ ต้องมีการวางแผนอย่างรัดกุมในการใช้ชวี ติ ต่างจากประเทศไทยที่มีความสุขสบายอุดมสมบูรณ์ สิ่งเหล่านี้ท�ำให้พนื้ ฐานทางความคิดแตกต่างกัน ๑๘๐ องศา โดยเฉพาะการบริหารจัดการในด้านต่าง ๆ เช่น สิ่งอ�ำนวยความสะดวก สภาพการท�ำงาน รวมถึง โครงสร้างพื้นฐานการวางแผนในการด�ำเนินกิจการ ในภาคธุรกิจของคนญี่ปุ่น จากการเข้าฟังบรรยายทีส่ ถานเอกอัครราชทูตไทย ประจ�ำกรุงโตเกียวในการศึกษาดูงานในครัง้ นีไ้ ด้ทราบว่า บริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทยเป็นส่วนผลักดันเศรษฐกิจ ของประเทศไทยให้สามารถเชิดหน้าชูตา มีตัวตนได้ ในเวทีโลกและเป็นหนึ่งในฐานการผลิตที่ส�ำคัญที่สุด ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยถือได้ว่าเป็น ประเทศที่ เข้ า มาลงทุ น ในประเทศไทยมากที่ สุ ด ปัจจุบนั มีบริษทั ญีป่ นุ่ ในประเทศไทยกว่า ๕,๕๐๐ บริษทั มีคนญี่ปุ่นอาศัยอยู่ในประเทศไทยกว่า ๗๐,๐๐๐ คน ตามข้อมูลที่ลงทะเบียนไว้กับสถานเอกอัครราชทูต ญี่ปุ่นประจ�ำประเทศไทย แต่ประมาณการว่าถ้ารวม คนญี่ ปุ ่ น ที่ ไ ม่ ล งทะเบี ย นไว้ ด ้ ว ยน่ า จะมี ม ากกว่ า ๑๐๐,๐๐๐ คน ซึง่ กลุม่ คนญีป่ นุ่ มีสงั คมและชุมชนคนญีป่ นุ่ ในประเทศไทย ธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นในประเทศไทย เติบโตและมีอทิ ธิพลไปสูผ่ บู้ ริโภคชาวไทยด้วย จะเห็น ได้ ว ่ า จากการเผยแพร่ วั ฒ นธรรมของญี่ ปุ ่ น ไปยั ง ประเทศไทยไม่วา่ จะผ่านไปทางไหนก็ตาม ส่งผลให้คนไทย หรือแม้แต่ตวั ผูเ้ ขียนเองทีม่ โี อกาสได้เดินทางไปทีญ ่ ปี่ นุ่ มีความคุ้นเคยกับวัฒนธรรม อาหารการกิน หรือการ เข้าสังคมของคนญี่ปุ่นมากขึ้น จากการทีส่ มั ผัสวัฒนธรรมการท�ำงานของบริษทั ญี่ปุ่นในประเทศไทย จะพบว่าปัญหาที่กำ� ลังเผชิญอยู่ ในปัจจุบนั นี้ ก็คอื แนวคิดระบบของญีป่ นุ่ ในการดูเรือ่ ง

53

การเลื่อนต�ำแหน่งจากประสบการณ์หรืออายุงาน มากกว่าความสามารถ ท�ำให้คนที่มีความสามารถ ไม่อยากอยู่ในองค์กรญี่ปุ่นโดยเมือ่ มีโอกาสได้มาพูดคุย และสัมผัสกับเพือ่ นชาวญีป่ นุ่ ของผู้เขียนที่ย้ายกลับมา ท�ำงานในประเทศตัวเอง ซึ่งในความเห็นของเพื่อน ผู้เขียนนั้นได้แสดงถึงปัญหาเช่นเดียวกันกับบริษัท ญี่ปุ่นในไทย คือ คนรุ่นใหม่สนใจออกมาท�ำงานแบบ ฟรีแลนซ์มากกว่าท�ำงานในองค์กรหรือบริษทั เนือ่ งจาก ไม่ตอ้ งการยึดติดกับการเลือ่ นต�ำแหน่งและต้องการความ เป็นอิสระในการท�ำงานมากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ค นทั่ ว โลกส่ ว นใหญ่ ย อมรั บ คนญี่ ปุ ่ น ได้ ก็ คื อ ลั ก ษณะนิ สั ย ในการท� ำ งานที่ มี ค วามตั้ ง ใจ มีระเบียบวินัย รวมทั้งมีความคิดที่ละเอียดอ่อนและ สร้างสรรค์ ดังจะเห็นได้จากผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของญี่ปุ่น ที่ท�ำออกมานั้นล้วนเต็มไปด้วยแนวคิดและเรื่องเล่า ซึ่ ง ทั้ ง หมดนั้ น ก็ ม าจากระบบการศึ ก ษา และการ เสริมสร้างประสบการณ์นอกห้องเรียนตั้งแต่ยังเด็ก ของญี่ปุ่นนั่นเอง เรื่องการศึกษาเป็นประเด็นที่พูดกันไม่จบมา เนิน่ นานในประเทศไทย ดูเหมือนเรายังหาตัวเองไม่เจอ ว่าการศึกษาของคนไทยควรจะเดินไปทางไหนเพื่อให้ ทันโลก และพอพูดเรื่องนี้ทีไร ญี่ปุ่นก็มักถูกหยิบยก มาอ้างอิงบ่อย ๆ เพราะมองกันว่าประชากรคุณภาพสูง ของญีป่ นุ่ คือผลผลิตของระบบการศึกษาทีด่ ี ซึง่ ก็มสี ว่ น ถูกอยู่มากแม้ไม่ใช่ทั้งหมดก็ตาม กล่าวคือ นอกจาก การศึกษาในสถาบันแล้ว สังคมญีป่ นุ่ ยังมีมติ อิ นื่ ทีท่ ำ� ให้ คนญี่ปุ่นดูเป็นทรัพยากรบุคคลคุณภาพสูงอยู่ด้วย เพียงแต่คนภายนอกมักมองภาพรวมโดยมุง่ ไปทีร่ ะบบ การศึกษาเป็นหลัก มิติที่ว่านี้คือทัศนะของสังคมและ ภาคธุรกิจต่อศักยภาพของผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับ อุดมศึกษา นั่นแสดงให้เห็นว่า ค่านิยมด้านการศึกษา ของคนญี่ ปุ ่ น กั บ คนไทยมี ทั้ ง ส่ ว นที่ เ หมื อ นกั น และ ต่างกันอยู่ หากจะหาค�ำตอบว่าท�ำไมเราพัฒนาคน ไม่ได้อย่างญีป่ นุ่ ทัง้ ๆ ทีก่ รอบการศึกษาก็เหมือนกันคือ ประถม ๖ ปี มัธยมต้น/ปลาย รวม ๖ ปี และมหาวิทยาลัย


54

ส่วนใหญ่คอื ๔ ปี ซึง่ ค�ำตอบไม่ได้อยูภ่ ายในรัว้ โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัยอย่างเดียว แต่อยูน่ อกรัว้ ด้วย เมือ่ ยกเรือ่ ง การศึกษาของญี่ปุ่นขึ้นมาเปรียบเทียบเมื่อไร เราควร มองมิติแวดล้อมทั้งในและนอกรั้วการศึกษาส่วนนั้น เพิม่ เข้าไป ซึง่ ส่วนทีเ่ หมือนกันระหว่างญีป่ นุ่ กับไทยคือ ทัง้ ๒ สังคมให้ความส�ำคัญแก่การศึกษามาก เพราะมองว่า การศึกษาคือเครือ่ งมือท�ำมาหากิน ประมาณว่าเรียนอะไรมา ก็ออกไปท�ำอย่างนัน้ ซึง่ จริง ๆ ก็ไม่ใช่เรือ่ งผิด แต่เป็นการ มองแค่ด้านเดียวแต่ส�ำหรับคนญี่ปุ่น ถ้าการศึกษาสูง จบมาจากสถาบันเด่นดัง ก็จะหางานง่ายกว่าเหมือนกับ ประเทศไทยแต่สิ่งผู้เขียนสังเกตเห็นได้จากการศึกษา ดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น ในด้านการเสริมประสบการณ์ นอกรัว้ โรงเรียนนัน้ เป็นสิง่ หนึง่ ทีส่ งั คมญีป่ นุ่ ปลูกฝังไว้ ให้เยาวชนตั้งแต่ยังเป็นเด็ก ซึ่งจะพัฒนาเป็นก�ำลัง ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาประเทศในภายภาคหน้ า ก็ คื อ ทุกครั้งที่การดูงานได้ไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ จะสังเกต เห็นว่า จะมีกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ เริ่มตั้งแต่เด็กเล็ก ที่มาเป็นคณะพร้อมกลุ่มของโรงเรียน ไปจนถึงพ่อแม่ ครอบครัว ได้พาบุตรหลานเข้าชมพิพธิ ภัณฑ์ อย่างต่อเนือ่ ง ส่วนหนึง่ ก็เพือ่ ปลูกฝังความคิดหรือความริเริม่ สร้างสรรค์ ตัง้ แต่ยงั เด็ก ซึง่ สิง่ นีเ้ ป็นสิง่ ทีด่ ที คี่ วรจะน�ำมาประยุกต์ ใช้ส�ำหรับสังคมไทยเป็นอย่างมาก แต่ด้านการศึกษาในไทยนั้นมีนัยมากกว่าการที่ จะน�ำไปใช้เป็นเครือ่ งมือในการท�ำงานกล่าวคือ นอกจาก เป็นเครือ่ งมือในการท�ำกินแล้ว ยังเป็นเครือ่ งเชิดชูเกียรติ เป็นแรงส่งส�ำหรับการเปลีย่ นสถานะทางสังคมให้สงู ขึน้

เพราะคนไทยมีแนวโน้มมองคนที่ระดับการศึกษา ไม่ได้มองที่ปริมาณของความรู้ความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์ ที่ น อกเหนื อ จากการศึ ก ษาภายใน ห้องเรียน ซึ่งตรงนี้เป็นค่านิยมที่ต่างจากคนญี่ปุ่น หรืออาจจะกล่าวได้ว่า คนไทยมีแนวโน้มดูถูกกัน ด้วยระดับการศึกษา และใช้การศึกษาวัดคุณภาพคน เกือบทุกด้านผ่านผลการเรียน แทนที่เกรดจะเป็นแค่ เกณฑ์ประเมิน แต่กลายเป็นกฎตัดสินคุณค่าของคน ๆ นั้นไป ซึ่งจุดประสงค์ของคนญี่ปุ่นในการเรียนสูงเกิน ระดับมัธยมปลาย โดยหลักการคือเพือ่ เรียนวิชาเฉพาะ สาขาก็จริง แต่ในทางพฤตินัยคือฝึกความเป็นผู้ใหญ่ ในสถานที่ที่สอนให้รู้จักขบคิดอย่างลึกซึ้งและคุ้นชิน กับกระบวนการทีซ่ บั ซ้อนยิง่ ขึน้ ซึง่ หมายถึงมหาวิทยาลัย หรือสถาบันเฉพาะทางอืน่ ๆ เมือ่ จบออกมาแล้วนายจ้าง จะให้คณ ุ ค่าแก่พฒ ั นาการทางภูมริ ู้ ทีค่ อ่ ย ๆ เจริญขึน้ มา เพราะการศึกษา โดยพร้อมจะจ่ายค่าจ้างให้สูงกว่า คนที่ จ บมั ธ ยมปลายเมื่ อ จะรั บ พนั ก งานใหม่ ซึ่ ง มี ลักษณะคล้ายกันกับประเทศไทย แต่ในประเทศไทย จะมองว่าการจบแค่ปริญญาตรีในปัจจุบันไม่เพียงพอ


ข่าวทหารอากาศ

ต่อการทีจ่ ะได้งานทีด่ ี จึงท�ำให้ตอ้ งศึกษาเพิม่ เติมในระดับ ที่ สู ง ขึ้ น เพื่ อ ที่ จ ะสามารถเลื อ กงานที่ ไ ด้ เ งิ น เดื อ น ในระดับทีพ่ อใจและสามารถด�ำรงชีวติ อยูไ่ ด้ในปัจจุบนั เมือ่ หันมามองทางด้านเศรษฐกิจ ญีป่ นุ่ จากทีเ่ คย อยูใ่ นอันดับที่ ๒ ของโลก กลับกลายเป็นจีนทีพ่ ฒ ั นาขึน้ อย่างรวดเร็วจนแซงหน้าญี่ปุ่นไปในด้านเศรษฐกิจ ซึง่ การเดินทางไปศึกษาดูงานในครัง้ นี้ พบว่าญีป่ นุ่ จาก เคยเป็นประเทศทีก่ ารท�ำวีซา่ เข้าประเทศเป็นสิง่ ทีย่ าก ส�ำหรับชาวต่างชาติจากประเทศที่ไม่ได้รับการยกเว้น วีซา่ แต่จากการทีเ่ ศรษฐกิจโลก มีความชะลอตัวท�ำให้ ญีป่ นุ่ มีนโยบายในการเริม่ ยกเว้นวีซา่ ให้กบั บางประเทศ เพื่ อ เป็ น การกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ภายในประเทศ และนโยบายนี้ก็ส�ำเร็จไปด้วยดีจะเห็นได้จากการที่มี นักท่องเทีย่ วหลัง่ ไหลเข้าไปมากขึน้ อย่างเห็นได้ชดั จาก เมื่อ ๑๕ ปีที่แล้ว ร้านค้าต่าง ๆ ในเมืองใหญ่ ๆ หรือ ตามแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญจะพบว่า ผู้ประกอบการ มีการติดป้ายในภาษาต่าง ๆ มากขึน้ การสนทนาจาก เมื่อ ๑๕ ปีก่อน ซึ่งการสื่อสารกันด้วยภาษาอังกฤษ ส�ำหรับคนญี่ปุ่นเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยาก แต่ในปัจจุบัน ผูป้ ระกอบการบางที่ สามารถพูดภาษาต่าง ๆ ได้มากกว่า ภาษาอังกฤษ ยกตัวอย่างเช่น ภาษาไทย หรือแม้แต่ มีลูกจ้างภายในร้านที่เป็นคนไทย หรือคนจีน ซึ่งนั่น แสดงให้เห็นว่าไทย เป็นอีกหนึง่ ประเทศทีเ่ ป็นมหาอ�ำนาจ ในการจั บ จ่ า ยและซื้ อ สิ น ค้ า อี ก ชาติ ห นึ่ ง ของโลก ซึ่งข้อมูลจากสถานเอกอัครราชทูตไทยประจ�ำญี่ปุ่น ได้แสดงให้ถึงผลจากการยกเลิกวีซ่าให้คนไทย ท�ำให้ คนไทยเดินทางเข้าประเทศญี่ปุ่นเป็นจ�ำนวนมากขึ้น

55

และก็เป็นประเทศในอันดับที่ ๒ ในการที่ถูกปฏิเสธ ในการเข้าประเทศด้วยเช่นกัน นอกจากนั้นในการ พั ฒ นาธุ ร กิ จ การท่ อ งเที่ ย วของญี่ ปุ ่ น ยั ง เป็ น สิ่ ง ที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ผู้เขียนมีโอกาสได้เดินทางไป เยี่ยมชมตลาดซึ่งเมื่อก่อนเป็นตลาดท้องถิ่นธรรมดา แต่ยังสามารถน�ำจุดเด่นของย่านนั้นมาพัฒนาต่อยอด เป็นจุดขายได้อย่างน่ารัก ซึง่ ส่งผลให้พนื้ ทีบ่ ริเวณตลาดนัน้ มีนักท่องเที่ยวเข้าไปเยี่ยมชมจับจ่ายซื้อของมากขึ้น อย่างมาก ซึ่งสิ่งนี้ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ประเทศไทยที่มี อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว น่าจะด�ำเนินการในลักษณะนี้ มาพัฒนาเมืองรองให้เป็นเมืองทีน่ กั ท่องเทีย่ วอยากไป เยี่ยมชมมากขึ้น ๆ ในมุ ม ด้ า นการบริ ห ารจั ด การตั้ ง แต่ ก ้ า วแรก ที่เดินทางถึงญี่ปุ่น ป้ายสัญลักษณ์ต่าง ๆ ท�ำให้การ ด�ำเนินการเป็นไปด้วยความสะดวก มีการจัดแบ่ง ที่ชัดเจน และที่แปลกตาไปจากเมื่อ ๑๕ ปีที่แล้ว ก็คือ การที่ป้ายบอกทางมีภาษาต่างชาติมากขึ้น นอกจาก ภาษาอังกฤษยังมีป้ายภาษาต่าง ๆ เพิ่มขึ้นมากมาย ในทุก ๆ สถานทีท่ มี่ ผี คู้ นจากหลายชาติ เข้าไปอยูร่ วมกัน เช่น สนามบิน สถานีรถไฟ รวมถึงแหล่งเศรษฐกิจ ทีจ่ บั จ่ายใช้สอยในย่านเมืองใหญ่ ยังไม่รวมถึงการบริหาร จัดการด้านการขนส่งมวลชน ที่ในเมืองใหญ่ ๆ มีการ บริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นอย่างยิ่ง โดยการขนส่งมวลชนของประเทศญีป่ นุ่ ได้ชอื่ ว่าเป็นหนึง่ ในประเทศที่มีระบบการขนส่งมวลชนที่ดีที่สุดในโลก ตลอดจนการบริหารอาคารร้านค้า และที่อยู่อาศัยก็มี กฎหมายต่าง ๆ ขึ้นมารองรับให้สอดคล้องกับสภาพ ภูมิศาสตร์ของประเทศซึ่งตั้งอยู่ในเขต Ring of Fire ที่ส่งผลให้เกิดภัยพิบัติในประเทศอยู่บ่อยครั้ง แต่สิ่งที่ ผูเ้ ขียนคิดว่าเป็นสิง่ ทีน่ า่ สนใจมากในการบริหารจัดการ และแปลกตาไปจากเมือ่ หลายปีกอ่ นก็คอื การคัดแยก คนทีส่ บู บุหรีอ่ อกจากกลุม่ คนทีไ่ ม่สบู บุหรี่ โดยประเทศ ญีป่ นุ่ มักถูกเรียกว่าเป็นสวรรค์ของผูช้ นื่ ชอบการสูบบุหรี่ อย่างแท้จริง แต่อกี ความหมายนัยหนึง่ คือ เป็นประเทศ ที่มีความเสี่ยงในการเป็นโรคเกี่ยวกับบุหรี่มากที่สุด


56

ในโลกเช่นกัน นั่นเป็นเพราะญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ไม่มี กฎหมายออกมาควบคุมในด้านนี้ตั้งแต่เมื่อสมัยก่อน แม้ แ ต่ ต อนนี้ เ องก็ ยั ง ไม่ มี ก ฎหมายบั ง คั บ ควบคุ ม การสูบบุหรี่อย่างจริงจัง ดังนั้นแล้ว ประเทศญี่ปุ่น จึงถูกจัดอยู่ในกลุ่มของประเทศที่มีการป้องกันเรื่อง การสู บ บุ ห รี่ น ้ อ ยที่ สุ ด ซึ่ ง ถู ก จั ด อั น ดั บ โดยองค์ ก าร อนามัยโลก จนเมือ่ ไม่นานมานี้ ได้มเี สียงเรียกร้องมาจาก เจ้ า หน้ า ที่ ข องฝ่ า ยองค์ ก ารโอลิ ม ปิ ก นานาชาติ ถึงประเทศญี่ปุ่นที่เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกที่กรุงโตเกียว ในปี ค.ศ.๒๐๒๐ โดยอยากจะให้ญี่ปุ่นออกมาตรการ กฎหมายการควบคุ ม การสู บ บุ ห รี่ อ ย่ า งจริ ง จั ง เพือ่ เป็นการรณรงค์ปอ้ งกันสุขภาพล่วงหน้าของบรรดา ผูค้ นจ�ำนวนมากทีจ่ ะหลัง่ ไหลเข้ามากรุงโตเกียวในช่วง กีฬาโอลิมปิกหลังจากมีการเรียกร้องไม่นาน ค�ำขอนี้ ก็ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ และได้ ล งข้ อ ความบั ญ ญั ติ ทางกฎหมายอย่ า งเป็ น ทางการในปี ค.ศ.๒๐๑๘ โดยกฎหมายฉบับนีจ้ ะถูกใช้งานไปจนถึงเดือนเมษายน ปีค.ศ.๒๐๒๐ จนกว่าจะพ้นโอลิมปิกที่กรุงโตเกียว ซึ่ ง กฎหมายฉบั บ นี้ ก� ำ หนดไว้ ว ่ า ห้ า มสู บ บุ ห รี่ ในที่สาธารณะ ที่โรงเรียน โรงพยาบาล และส�ำนักงาน ของรัฐบาลต่าง ๆ แต่ยังอนุญาตให้สูบบุหรี่ได้เฉพาะ ที่ร้านอาหารขนาดเล็กที่มีพื้นที่ใช้สอยไม่ถึง ๑๐๐ ตารางเมตร ซึง่ นัน่ หมายถึงสถานประกอบการในญีป่ นุ่ ที่มีมากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ และถ้าหากเป็น ร้านอาหารขนาดใหญ่ตอ้ งจ�ำกัดการสูบบุหรีไ่ ปยังห้อง หรือพืน้ ทีท่ กี่ ำ� หนดไว้เท่านัน้ ซึง่ การคัดแยกผูส้ บู บุหรีน่ ี้ ท�ำให้ญี่ปุ่นดูแปลกตาจนเห็นได้ชัดเจนตัวอย่างเช่น การจัดโซนให้สูบบุหรี่โดยที่การสูบบุหรี่ในเมืองใหญ่ อย่างโตเกียวนัน้ ไม่สามารถท�ำในที่สาธารณะได้อย่าง อิสระอีกต่อไป ต้องสูบในที่ ๆ จัดไว้ให้เท่านั้นและอาจ จะส่งผลถึงการลดงบประมาณในการดูแลผู้ป่วยจาก โรคต่าง ๆ ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ รวมถึงการลดอัตรา

การเสียชีวิตได้อีกด้วย นี่เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการ จัดการอย่างจริงจังในแบบฉบับของญี่ปุ่นซึ่งน่าจะ เป็นต้นแบบที่ดีในการน�ำไปประยุกต์ในบ้านเราได้ ส่ ว นสุ ด ท้ า ยที่ ผู ้ เขี ย นอยากจะกล่ า วถึ ง ก็ คื อ การใช้ชวี ติ ในสังคมทีม่ กี ารแข่งขันสูงของประเทศญีป่ นุ่ ซึ่งในระหว่างการศึกษาดูงานตามโปรแกรม และการ ปล่อยให้นายทหารนักเรียนออกไปศึกษาภูมิประเทศ ด้วยตนเองนัน้ ท�ำให้เห็นลักษณะการใช้ชวี ติ ของคนญีป่ นุ่ ซึ่ ง จากการที่ ญี่ ปุ ่ น เป็ น ประเทศที่ ค ่ า ครองชี พ สู ง ติดอันดับโลกท�ำให้คนในประเทศต้องมีระเบียบวินัย ทัง้ ในการท�ำงาน รวมถึงการใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน โดยสภาวะ สังคมแบบนัน้ ท�ำให้คนญีป่ นุ่ หลายคนเกิดภาวะเครียดสูง จากการท�ำงานหนัก จนเป็นเหตุให้เกิดการฆ่าตัวตายทีส่ งู แต่อย่างไรก็ตาม จากสิ่งที่ได้กล่าวมาข้างต้น จากการ ศึกษาดูงาน ณ ต่างประเทศ ในระยะเวลา ๑๐ วัน นับเป็นประสบการณ์ที่ล�้ำค่า ท�ำให้ผู้เขียนได้เห็นถึง สิ่ ง ที่ เ ปลี่ ย นแปลงในประเทศที่ มี ก ารพั ฒ นาอย่ า ง รวดเร็ว สามารถน�ำประสบการณ์และบทเรียนที่มี ประโยชน์น�ำมาพัฒนาทั้งตนเองและหน่วยงานของ ผู้เขียนได้ โดยสามารถน�ำสิ่งที่ได้เรียนรู้จากประเทศ ที่พัฒนาแล้วอย่างประเทศญี่ปุ่น รวมถึงแนวทางการ ใช้ชวี ติ มาสร้างแนวทางการด�ำเนินชีวติ ของผูเ้ ขียน เช่น การใช้ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น อย่ า งมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ซึ่ ง เป็ น รากฐานที่ส�ำคัญในการพัฒนาประเทศของคนญี่ปุ่น รวมถึงการน�ำระเบียบวินัยไปประยุกต์ใช้ในสถานที่ ท�ำงานซึ่งจะส่งผลให้เกิดการท�ำงานที่มีคุณภาพของ หน่วยงาน นอกจากนี้ยังสามารถน�ำปัญหาทางสังคม ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น และอาจจะเกิดขึ้น ในสังคมไทยต่อไปในอนาคตมาเป็นบทเรียน และน�ำ ไปเป็นแนวทางในการป้องกันไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การ พัฒนาของตัวเองรวมทั้งหน่วยงาน และประเทศชาติ ได้พฒั นาอย่างมีคณ ุ ภาพต่อไป

อ้างอิง - https://meeit.biz/th/article/with-01-th/ - https://mgronline.com/japan/detail/9610000014498 - http://www.wesleynet.com/thailand/japancompany.php?list=A


ข่าวทหารอากาศ

BLONDIE

ภาพที่ ๑ ภาพที่ ๓ -

แด๊ก ถ้าได้น�้ำหวานเย็นเป็นวุ้นตอนนี้ ฟังดูเป็นอย่างไรบ้าง ? ฟังแล้วเยี่ยมน่ะสิ! ผมคิดว่าคุณจะสั่งน�้ำหวานเย็นเจี๊ยบมาดื่มกันน่ะ ก็แค่เสนอความคิดให้ยังไม่พอเหรอ ?

soda (n.) - ในทีน่ หี้ มายถึง น�ำ้ หวานทีใ่ ส่สารคาร์บอเนต ท�ำให้ซา่ ด้วยฟองอากาศ (sweet drinks with bubbles) ค�ำเต็มคือ soda pop (โซ้เด่อะพ็อพ) ส่วนน�ำ้ โซดาทีผ่ สมเหล้า จะเรียกว่า soda water (โซ้เด่อะว้อเท่อร์) ภาษาพูดมักใช้สนั้ เฉพาะ soda จึงต้องเข้าใจบริบทขณะนัน้ frosty cold (adj.) - เย็นมากจนเป็นเกล็ดน�้ำแข็ง (extremely cold) ซึ่งเรามักพูดว่า เย็นเป็นวุ้น frost (n.) คือเกล็ดน�้ำแข็งที่เกิดขึ้นบนผิวน�้ำหรือ ผิวดิน เมื่ออุณหภูมิลดต�่ำลงกว่า 0 °C perfect (adj.) - สมบูรณ์แบบ, ดีเยีย่ ม (complete, the best of its kind, excellent) to come up with sth. (idiom) - เป็นส�ำนวนแปลว่า ค้นพบ, คิดค�ำตอบได้ (to find or produce ananswer) Ex. She come up with a new idea for increasing sales. (เธอมีความคิดใหม่ในการเพิม่ ยอดการขาย)

57


58

ANDY CAPP

ภาพ ๑ - ขออนุญาตแนะน�ำไวน์แมร์โลยอดเยี่ยมของร้านเรา เพื่อดื่มกับอาหารครับ คุณผู้หญิง คุณผู้ชาย ภาพ ๒ - มันมีรสชาติผลไม้นุ่มนวล เจือด้วยเครื่องเทศอ่อน ๆ ครับ ภาพ ๓ - เอาเบียร์น�้ำตาล ๒ ขวด ส�ำหรับโต๊ะ ๑๒ (พยายามแนะน�ำไวน์แต่ไม่ได้ผล) May I (We) + V1 …..? Splendid (adj.) Merlot (แมร์โล) Fruity flavour hint (n.) delicate (adj.) spicrs (n.) ale (n.)

เป็ น ประโยคที่ ใช้ ข ออนุ ญ าตแบบสุ ภ าพมากโดยขึ้ น ต้ น ด้ ว ยกริ ย าช่ ว ย (Model V.) May Ex. May I talk to you for a minute ? (ผมขอ อนุญาตพูดด้วยสัก ๑ นาที ครับ) ซึง่ อาจใช้ could หรือ can แทนทีไ่ ด้ แต่สุภาพน้อยกว่า จึงขึ้นอยู่กับผู้ที่เราพูดด้วย ยอดเยี่ยม (great , excellent) ในที่นี้ หมายถึง เหล้าไวน์ชนิดหนึ่ง ถ้ามีเสิร์ฟในบางภัตตาคาร จะเรียก house merlot รสชาติผลไม้ หรือ house wine ซึ่งไม่เจาะจงชนิด ในทีน่ ี้ หมายถึง บางสิง่ ทีม่ อี ยูน่ อ้ ย (a small a mount of something) ในทีน่ แี้ ปลว่า อ่อน, จาง, บาง (light and pleasant) ใช้กบั กลิน่ (smells), รสชาติ (flavour) และสี (color) ที่ไม่เข้มและให้ความพอใจ เครื่องเทศ เบียร์ชนิดหนึ่ง ออกเสียง ‘เอล ’ ส�ำหรับ ginger ale เป็นเครื่องดื่มที่ไม่ใช่ เบียร์ แต่เป็นเครื่องดื่มที่มีรสชาติคล้ายขิง ใสซ่า และไม่มีแอลกอฮอล์


ข่าวทหารอากาศ

บทเรียนการช่วยเหลือ และบรรเทาสาธารณภัย กรณีเกิดภัยพิบัติ ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย น.อ.ประภาส สอนใจดี (ต่อจากฉบับที่แล้ว)

เวลาประมาณ ๑๙.๔๕ น.(เวลาท้องถิ่น) ขณะที่ งานเลี้ ย งดั ง กล่ า วก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น งานอยู ่ ได้ เ กิ ด เหตุ แผ่นดินไหวขนาด ๗.๐ แมกนิจดู บริเวณพืน้ ดินบนเกาะ ลอมบอกไปทางทิศเหนือ ท�ำให้โรงแรมดังกล่าวสัน่ ไหว ขนาดที่คนไม่สามารถยืนทรงตัวได้ ประมาณ ๑ นาที จึงเริม่ หยุดสัน่ ไหว ซึง่ การสัน่ ไหวครัง้ นีเ้ ปรียบได้เหมือน เราอยูบ่ นยอดต้นไม้และมีคนมาเขย่าหรือโยกทีโ่ คนต้นไม้ ผูเ้ ขียนและผูเ้ ข้าร่วมประชุม (รวมทัง้ ผูท้ พี่ กั อยูใ่ นโรงแรม ดังกล่าว) ต่างวิ่งหนีออกจากโรงแรมทางบันไดหนีไฟ โดยทั้งหมดสามารถออกมาได้อย่างปลอดภัย ซึ่งหาก การสั่นไหวครั้งแรกนานกว่านี้ เชื่อว่าโรงแรมจะต้อง พังถล่มลงมาอย่างแน่นอน ผูเ้ ขียนทราบในภายหลังว่า โรงแรมแห่งนี้ก่อสร้างไว้ส�ำหรับป้องกันแผ่นดินไหว ในแนวข้างได้ที่ ๗.๕ แมกนิจูด เวลาประมาณ ๒๐.๐๐ น. เมือ่ ผูเ้ ขียนวิง่ หนีลงมาถึง บริเวณหน้าโรงแรมทีพ่ กั พบว่ามีการเกิดอาฟเตอร์ชอ๊ ก ตามมาอีกหลายระลอก ขณะที่ยนื อยูบ่ นถนนลาดยาง หน้าโรงแรม ได้เกิดอาฟเตอร์ช๊อก ประมาณ ๕.๖ แมกนิจดู พบว่าพืน้ ถนนมีอาการสัน่ ไหวเปรียบเหมือนว่า เรายืนอยู่บนเรือที่มีคลื่นมากระทบแล้วเกิดอาการ โคลงเคลงไปมาท�ำให้ตอ้ งรีบหลบไปอยูใ่ นพืน้ ทีโ่ ล่งแจ้ง และมีความสูงเพียงพอในการป้องกันอันตรายจาก อาคารสูงทีอ่ าจพังลงมา รวมทัง้ มีการแจ้งเตือนการเกิด สึนามิด้วย

ขณะเกิดแผ่นดินไหว ผูเ้ ข้าร่วมงานเลีย้ งรับรองต่างล้มลง กับพืน้ ชัน้ ๑๒ ของโรงแรมโกลเด้นพาเลส ก่อนทีแ่ ผ่นดินไหว จะเริม่ สงบและพากันวิง่ ออกจากโรงแรมทางบันไดหนีไฟ

59


60

สภาพความเสียหายของโรงแรมโกลเด้นพาเลส ตามภาพซึ่ ง ถ่ า ยภาพขณะที่ ผู้เขียนได้ รั บ อนุ ญ าต ให้ยอ้ นกลับขึน้ ไปขนสัมภาระทีห่ อ้ งพักชัน้ ๕ ของโรงแรม ในเวลาประมาณ ๐๐.๓๐ น. ในวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ตามเวลาท้องถิน่ โดยมีเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยรักษาความปลอดภัย ของโรงแรมคอยก� ำ กั บ ดู แ ลให้ เ ก็ บ ของใช้ ส ่ ว นตั ว อย่างเร่งรีบ เนื่องจากเกรงว่าโรงแรมอาจจะถล่มได้ หากเกิดอาฟเตอร์ช็อกระดับสูงในห้วงเวลานั้น

รอยร้าวบริเวณบันไดหนีไฟหลังจาก เกิดแผ่นดินไหว ณ โรงแรมโกลเด้นพาเลส

สภาพภายในห้องพักชั้น ๕ ซึ่งเหตุแผ่นดินไหว ท�ำให้ผนังกระเบื้องเสียหาย

๒.๒ การด�ำเนินงานของผู้เกี่ยวข้อง หลั ง เกิ ด เหตุ แ ผ่ น ดิ น ไหว ทางเจ้ า ภาพ อินโดนีเซียและออสเตรเลีย ต้องแจ้งยกเลิกการประชุม ที่จะเริ่มในวันรุ่งขึ้นไปโดยปริยาย โดยภารกิจเร่งด่วน นอกจากช่วยเหลือประชาชนแล้ว คือการอพยพผูแ้ ทน ต่างประเทศที่ไปร่วมประชุม SRM on CT และ MCM ซึง่ มีจำ� นวนทัง้ สิน้ ๑๐๘ คน เป็นบุคคลระดับวีไอพี อาทิ รมว.มท.อต., รมว.มท.สป., รมว.ยธ.นซ., รมว.กห.บน., และ ออท.มม./อซ. ออกจากพื้นที่โดยเร่งด่วน ผู้ร่วมประชุมทั้งหมดถูกอพยพไปยังพื้นที่ หลบภัยชั่วคราวกลางสนามฟุตบอลภายในพื้นที่ของ หน่วยทหารในเกาะลอมบอก ก่อนจะให้อพยพอีกครั้ง เพื่อเข้าที่พัก (อาคารชั้นเดียว) ภายในเขตชุมชนของ เกาะลอมบอก ห้วงคืนนัน้ ต้องวิง่ ออกจากทีพ่ กั อาคาร ชั้นเดียวเป็นระยะ เนื่องจากยังคงเกิดอาฟเตอร์ช็อก ตามมาอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ประชาชนชาวเกาะ ลอมบอกต่างพากันออกมาหลับนอนในพื้นที่สนาม กีฬากลางเมืองมาตาราม ๒.๓ ผลการปฏิบัติงานที่ส�ำคัญ จนกระทัง่ รุง่ เช้าวันต่อมา (๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑) ผู ้ แ ทนการประชุ ม ทั้ ง หมด จึ ง ได้ รั บ การ เคลื่อนย้ายไปยังสนามบินลอมบอก และได้รับการ อ�ำนวยความสะดวกให้เดินทางออกจากเกาะลอมบอก ไปยังกรุงจาการ์ตา โดยเครื่องบินทหารของกองทัพ อากาศอินโดนีเซีย (ทอ.อซ.) (C-130) ซึ่งผู้เขียนได้ เดินทางกลับโดยเครือ่ งบิน ทอ.อซ.พร้อมกับ รมว.กห.บน. คณะผู้แทน บน.คณะผู้แทน ฟป.และคณะผู้แทน มม.น� ำ โดย ออท.มม./อซ.การด� ำ เนิ น การอพยพ ผู้เข้าร่วมประชุมฯ ครั้งนี้ มี พล.อ.วิรันโตฯ ซึ่งอยู่ใน เหตุ ก ารณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหวและยั ง คงติ ด อยู ่ ที่ เ กาะ ลอมบอกด้วย เป็นผูส้ งั่ การหน่วยงานต่าง ๆ ของอินโดนีเซีย ทั้งหมด ให้ช่วยเหลือผู้แทนการประชุมจนสามารถ น� ำ ผู ้ แ ทนต่ า งประเทศทุ ก คนออกจากพื้ น ที่ เ สี่ ย ง ได้อย่างปลอดภัย


ข่าวทหารอากาศ

๒.๔ บทเรียนที่ได้รับ อิ น โดนี เซี ย ได้ เ ตรี ย มการประชุ ม ครั้ ง นี้ มาตั้งแต่ต้นเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ถึงแม้ว่า ได้เกิดแผ่นดินไหวที่เกาะลอมบอกเป็นการแจ้งเตือน ล่วงหน้าแล้วเมือ่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ระยะเวลา ห่างกันเพียง ๘ วัน แต่อนิ โดนีเซียก็ยงั คงเดินหน้าจัด การประชุมต่อไป นับได้ว่าเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ เกิดขึน้ ครัง้ นี้ จัดว่าเป็นภัยพิบตั ทิ ไี่ ม่สามารถคาดการณ์ ได้ล่วงหน้า เป็นเหตุสุดวิสัย นับว่าโชคดีที่ไม่มีผู้แทน ต่างประเทศได้รบั บาดเจ็บหรือเสียชีวติ ท�ำให้การประชุม ดังกล่าวต้องยกเลิก ทั้งนี้ อินโดนีเซียยังไม่ได้แจ้งว่า จะจัดการประชุม SRM on CT อีกครัง้ เมือ่ ใด และทีใ่ ด การเรียนรูเ้ มือ่ เผชิญเหตุการณ์แผ่นดินไหว เป็นสิง่ ส�ำคัญส�ำหรับทุกคน ซึง่ แผ่นดินไหวเป็นภัยพิบตั ิ ที่เกิดขึ้นได้ทุกขณะ ดังนั้นไม่ว่าจะอยู่ที่ใดเราจ�ำเป็น ต้องทราบแนวทางการปฏิบัติเพื่อเอาตัวรอดในยาม ที่เกิดแผ่นดินไหว ด้วยการไม่ตื่นตระหนกและมีสติ ตลอดเวลา โดยยึดหลักการซ้อมหลบภัย คือ "หมอบ ป้ อ ง เกาะ" กรณี ที่ อ ยู ่ ภ ายในตั ว อาคารขณะเกิ ด แผ่นดินไหว ควร "หมอบ" ลงกับพื้นแล้วใช้มือ "ป้อง" ศีรษะและคอ เพื่อป้องกันสิ่งของหรือเศษวัสดุที่อาจ ตกใส่ หรือหาที่ก�ำบังแข็งแรง เช่น โต๊ะ ยึด "เกาะ" ไว้ให้แน่นจนกว่าแรงสัน่ สะเทือนจะหยุดลงแล้วจึงออก ไปยังสถานที่ปลอดภัยหากเป็นกรณีที่อยู่กลางแจ้ง ควรอยู่ให้ห่างจากตัวอาคาร ต้นไม้ใหญ่ ป้ายโฆษณา เสา และสายไฟฟ้ า แต่ ห ากเกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวขณะ ที่ขับรถอยู่ ให้หาที่จอดรถทันที และอยู่ภายในรถ จนกว่าสถานการณ์จะปลอดภัย

61

การเดินทางไปท่องเทีย่ วหรือไปร่วมประชุม ยังต่างประเทศ ก่อนเดินทางต้องเน้นย�้ำให้ตรวจสอบ และติ ด ตามข่ า วสารจากประเทศที่ จ ะเดิ น ทางไป ให้ครอบคลุมทุกด้าน เมื่อเข้าโรงแรมที่พักให้ส�ำรวจ เส้นทางหนีไฟในกรณีฉุกเฉินด้วย รวมทั้งให้ปฏิบัติตน ตามค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่หรือไกด์ท้องถิ่นอย่าง เคร่งครัด ตลอดจนจดบันทึกช่องทางการสื่อสารกับ สอท.ฯ, สน.ผชท.ทหารไทย ฯ หรือ กสม.ฯ ในประเทศ นั้นด้วย ๓. การช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวและ สึนามิ ณ เมืองปาลู เกาะสุราเวสี อินโดนีเซีย สถานการณ์ภยั พิบตั ิ เมือ่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เวลาประมาณ ๑๗.๐๒ น. ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหว ขนาด ๗.๕ แมกนิ จู ด ความลึ ก ๑๐ กิ โ ลเมตร มี จุ ด ศู น ย์ ก ลางอยู ่ บ ริ เ วณคาบสมุ ท รมิ น าฮั ส ซา (Minahassa Peninsula) รัฐสุลาเวสี (Sulawesi) อินโดนีเซีย ท�ำให้เกิดสึนามิขนาดกลาง ความสูงคลื่น ๑ – ๒ เมตร ซัดเข้าชายฝั่งของเมืองปาลู (Palu) และ เกิดเหตุแผ่นดินไหวตามมา (Aftershock) ขนาด ๕ – ๖ แมกนิจดู อีกจ�ำนวนกว่า ๑๖ ครัง้ โดยส�ำนักงาน บรรเทาภัยพิบตั แิ ห่งชาติอนิ โดนีเซีย (Badan Nasional PenanggulanganBencana : BNPB) รายงานเมื่อ วันที่ ๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๑ เวลา ๑๓.๐๐ น. ว่าเหตุการณ์ ดังกล่าวท�ำให้มีผู้เสียชีวิต ๘๓๒ คน ผู้ได้รับบาดเจ็บ ๕๘๔ คน ผู้สูญหาย ๒๙ คน มีผู้พลัดถิ่น ๑๖,๗๓๒ คน และประชาชนได้รบั ผลกระทบจ�ำนวน ๑,๕๓๖,๓๖๗ คน

บริเวณคาบสมุทรมินาฮัสซา (Minahassa Peninsula) รัฐสุลาเวสี (Sulawesi) อินโดนีเซีย


62

๓.๑ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อได้รับรายงานว่าเกิดเหตุแผ่นดินไหว สอท.ฯ ณ กรุงจาการ์ตา, สน.ผชท.ทหารไทย ฯ และ กสม.ฯ ณ เมืองเดนปาซาร์ (บาหลี) ร่วมกับเจ้าหน้าที่ บริษัทซีพีอินโดนีเซีย ณ เมืองมากัสซาร์ ได้ร่วมกัน ประเมินสถานการณ์ความเป็นอยู่ และความปลอดภัย ของคนไทยในพืน้ ทีป่ ระสบภัย ตลอดจนความเป็นไปได้ ในการใช้ เ ส้ น ทางรถยนต์ ที่ จ ะสามารถใช้ อ พยพ ผูป้ ระสบภัยให้เดินทางออกจากพืน้ ทีท่ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ ได้อย่างปลอดภัย เพื่อประกอบการพิจารณาก�ำหนด แผนปฏิบตั กิ ารช่วยเหลือคนไทยออกจากพืน้ ทีใ่ นกรณี จ�ำเป็นได้ในล�ำดับต่อไป เมื่อประเมินสถานการณ์แล้ว พบว่าปัญหา ที่ประสบในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ถนนและสนามบิน ในเมืองปาลูได้รบั ผลกระทบ และการขาดแคลนเชือ้ เพลิง เนือ่ งจากอาคารเก็บเชือ้ เพลิงในเขตดองกาลา (Donggala Fuel Terminal) ได้รบั ความเสียหายจากแผ่นดินไหว และสึนามิ ประกอบกับถนนในการขนส่งถูกตัดขาด ท�ำให้ไม่มเี ชือ้ เพลิงส�ำหรับเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า เครือ่ งปัม๊ น�ำ้ และยานพาหนะ รวมทั้งประชาชนในพื้นที่ขาดแคลน สิ่งของอุปโภค บริโภค ท�ำให้เกิดการโจรกรรมในพื้นที่ อินโดนีเซีย โดยที่ประชุมคณะประสานงาน เพื่อการพิจารณาการช่วยเหลือจากนานาชาติได้ระบุ ความต้ อ งการการสนั บ สนุ น ในพื้ น ที่ ป ระสบภั ย เพี ย ง ๕ รายการนีเ้ ท่านั้น ประกอบด้วย ๑. การขนส่งทางอากาศ โดยก�ำหนดเครือ่ งบิน แบบ C-130 หรือใกล้เคียง ๒. เต็นท์ครอบครัวขนาดใหญ่ (Large Family Tents) ๓. เครือ่ งผลิตน�ำ้ สะอาด (Water Treatment) ๔. เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า (Generators) ๕. เงินบริจาค ทัง้ นี้ รัฐบาลอินโดนีเซีย ได้เน้น

ย�้ ำ ว่ า ประเทศหรื อ หน่ ว ยงานที่ ต ้ อ งการเสนอ ความช่วยเหลือจะต้องส่งหนังสือเสนอความช่วยเหลือ อย่างเป็นทางการพร้อมแจ้งความประสงค์และรายการ สิ่งของ รวมถึงศักยภาพที่ต้องการให้ความช่วยเหลือ ไปยังรัฐบาลอินโดนีเซียล่วงหน้า เพื่อพิจารณาให้เป็น ไปตามความต้องการของสถานการณ์ในพืน้ ทีป่ ระสบภัย ก่อนจะอนุญาตให้เดินทางเข้าไปช่วยเหลือได้ สน.ผชท.ทหารไทยฯ ได้ติดตามสถานการณ์ อย่างใกล้ชดิ พบว่าท่าอากาศยาน Mutiara Sis Al Jufri เมืองปาลู ได้ประกาศจะกลับมาเปิดให้บริการเทีย่ วบิน พาณิชย์ตามปกติ ในวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เวลา ๐๘.๐๐ น. เนื่องจากได้รับความเสียหายจากเหตุ แผ่ น ดิ น ไหวเมื่ อ วั น ที่ ๒๘ กั น ยายน พ.ศ.๒๕๖๑ อันส่งผลให้ระบบไฟฟ้าขัดข้องและมีปญ ั หาการติดต่อ สื่อสารทางโทรศัพท์ สอท.ฯ ณ กรุงจาการ์ตา จึงได้ ประกาศให้คนไทยในพื้นที่ที่ประสงค์จะได้รับความ ช่วยเหลือในเบือ้ งต้น ทัง้ ด้านอาหาร น�ำ้ ดืม่ และทีพ่ กั พิง ฉุกเฉิน สามารถเดินทางไปทีส่ ำ� นักงานบริษทั ซีพี เมืองปาลู


ข่าวทหารอากาศ

(ทีอ่ ยู่ PT. BSB PALU Jl. Gn. Loli, Lolu Utara, Palu Sel., Kota Palu Sulawesi Tengah 94111) เพื่ อ จะได้ ป ระเมิ น สถานการณ์ แ ละพิ จ ารณาเลื อ ก หนทางปฏิบตั ใิ นการอพยพผูป้ ระสบภัยออกจากพืน้ ที่ เมืองปาลูโดยรถยนต์หรือโดยเครื่องบินต่อไป ๓.๒ การด�ำเนินงานของผู้เกี่ยวข้อง นายโจโก วิโดโด ประธานาธิบดีอนิ โดนีเซีย ได้ส่งสารแสดงความเสียใจต่อครอบครัวผู้เสียชีวิต และสั่ ง การให้ ท างการอิ น โดนี เซี ย เร่ ง ช่ ว ยเหลื อ ผู้ประสบภัย โดยท่านมีก�ำหนดการลงพื้นที่ให้ก�ำลังใจ ผู้ประสบภัยและผู้ปฏิบัติงานค้นหาและกู้ภัย ณ เมือง ปาลูและเมืองดองกาลา (Donggala) ในวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๑ อินโดนีเซียได้ส่งเครื่องบินทหาร C-130 จ�ำนวน ๓ ล�ำ จากเมืองมากัสซาร์ (Makassar) และ เมืองมาลัง บินไปยังเมืองปาลู เพื่อน�ำหน่วยทหาร ทีมค้นหาและกูภ้ ยั ลงพืน้ ที่ และจะใช้เครือ่ งบินนีอ้ พยพ ผู้บาดเจ็บ เด็ก และสตรีออกจากพื้นที่

63

AHA Centre เตรียมพร้อมส่งชุดประเมิน และตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินของอาเซียน และจะ เดินทางเข้าสู่พื้นที่ประสบภัยเมื่อรัฐบาลอินโดนีเซีย ให้ความเห็นชอบ ทั้งนี้ ได้ออกรายงานสถานการณ์ ล่าสุดอย่างต่อเนื่อง และได้เสนอส่งสิ่งของช่วยเหลือ จากคลังเก็บสิง่ ของช่วยเหลือของอาเซียน ณ เมืองซูบงั ประเทศมาเลเซี ย นอกจากนี้ ยั ง ได้ ส ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ประสานงานข้อมูลเข้าร่วมปฏิบตั งิ านร่วมกับส�ำนักงาน บรรเทาภัยพิบัติแห่งชาติของอินโดนีเซียด้วย สอท.ฯ ได้ประสานงานไปยังคนไทยในพืน้ ที่ ซึ่งได้ทราบว่าเป็นนักศึกษาไทยที่ศึกษาอยู่ที่เมืองปาลู ๒๘ คน (UniversitasTadulako และ IAIN Palu) และ พนักงานบริษัท ๓ คน อยู่ในพื้นที่ปลอดภัยแล้ว แต่ยัง ประสบปัญหาในการติดต่อสือ่ สารเป็นระยะ ๆ เนือ่ งจาก บริเวณดังกล่าวประสบปัญหาทางสัญญาณโทรคมนาคม ขัดข้อง สน.ผชท.ทหารไทย ฯ ได้ประสานตรงกับ กองทัพอินโดนีเซีย โดยประสานตรงอย่างไม่เป็น ทางการด้วยช่องทางพิเศษกับฝ่ายเสนาธิการของ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และประสานโดยตรงกับ ผู้บัญชาการทหารอากาศอินโดนีเซียเพื่อขอโดยสาร เครื่ อ งบิ น C-130 ของ ทอ.อซ.เข้ า ไปในพื้ น ที่ และขอให้ ก องทั พ อิ น โดนี เซี ย สนั บ สนุ น เครื่ อ งบิ น C-130 ช่วยอพยพคนไทยออกมาจากท่าอากาศยาน Mutiara Sis Al Jufri เมืองปาลู โดย ผชท.ทหารไทยฯ ได้ประสานงานขอรับการสนับสนุนอย่างไม่เป็นทางการ ล่วงหน้า และได้รับการอนุมัติด้วยวาจาแล้ว ทั้งนี้ เนื่องจากเป็นการอพยพพลเรือนชาวไทยจะต้องให้ สอท.ฯ ส่งหนังสือขอรับการสนับสนุนเครือ่ งบิน C-130 ด้ ว ย เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บของทางกองทั พ อินโดนีเซีย


64

แผนการช่วยเหลือผู้ประสบภัยออกจากเมืองปาลู อินโดนีเซีย

เมื่อ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๑ สอท.ฯ ได้สง่ หนังสือถึงทางการอินโดนีเซียขอให้อพยพคนไทย ๓๒ คน ออกมาในโอกาสแรกเนือ่ งจากสภาพความเป็นอยู่ ไม่ ป ลอดภั ย ขาดน�้ ำ และอาหารในการด� ำ รงชี พ โดยได้แจ้งรายชื่อคนไทยทั้ง ๓๒ คน เพื่อขออพยพ ออกมาโดยเครือ่ งบิน C-130 รวมทัง้ ได้ประสานโดยตรง กับรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงการท่องเทีย่ วอินโดนีเซีย เพื่อขอให้ด�ำเนินการช่วยเหลือคนไทยโดยเร่งด่วน อีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งได้แจ้งข่าวสารต่อไปยังรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวอินโดนีเซียและแจ้ง ข่าวสารไปยังหน่วยทหารอากาศที่รับผิดชอบในพื้นที่ ณ สนามบินมากัสซาร์ด้วย

สอท.ฯ ได้ประกาศขอให้นักศึกษาและคน ไทยเดินทางไปรวมตัวกันทีท่ า่ อากาศยาน Mutiara Sis Al Jufri เมืองปาลู เพื่อรอขึ้นเครื่องบินทหาร C-130 แล้ ว โดยเอกอั ค รราชทู ต ฯ เจ้ า หน้ า ที่ ส ถาน เอกอั ค รราชทู ต และผู ้ ช ่ ว ยทู ต ทหารไทยประจ� ำ อินโดนีเซีย และ กสม.ฯ ประจ�ำเดนปาซาร์ได้เดินทาง จากกรุงจาการ์ตาไปถึงเมืองมากัสซาร์ ในวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๑ เพื่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ ทหารอากาศอินโดนีเซีย และเจ้าหน้าที่บริษัทซีพี ณ เมืองมากัสซาร์ เพื่อด�ำเนินการช่วยเหลือและดูแล คนไทยที่อพยพออกมาจากเมืองปาลูต่อไป (อ่านต่อฉบับหน้า)


ข่าวทหารอากาศ

ธรรมประทีป ประวัติควำมเป็นมำพระพุทธรูปปำงต่ำง ๆ

พระพุทธรูปประจ�ำวันพุธ กลำงคืน : ปำงป่ำเลไลยก์ ลักษณะพระพุทธรูป พระพุทธรูปปางนี้ อยู่ในพระอิริยาบถประทับนั่ง บนก้อนศิลา ห้อยพระบาททัง้ สองข้างลง ทอดพระบาท เล็ ก น้ อ ย พระหั ต ถ์ ซ ้ า ยคว�่ า วางบนพระชานุ ซ ้ า ย พระหัตถ์ขวาวางบนพระชานุขวา เป็นกิริยาทรงรับ มีชา้ งหมอบถือหม้อน�า้ ยืน่ ถวาย และมีลงิ หมอบถือรังผึง้ ถวายอยู่เบื้องหน้า

65

ประวัติควำมเป็นมำ สมัยหนึ่งเมื่อพระพุทธองค์มีพระประสงค์ท่ีจะ หลี ก ไปอยู ่ ต ามล� า พั ง พระองค์ เ พื่ อ หลี ก หนี จ าก พระภิกษุทเี่ กิดความบาดหมางกัน แตกความสามัคคี ถึ ง แม้ พ ระองค์ จ ะทรงสั่ ง สอนก็ ต าม จึ ง เสด็ จ ไป ประทับอยู่อย่างสงบภายใต้ร่มไม้ภัทรสาละพฤกษ์ ในราวไพรรักขิตวันโดยผาสุกวิหารพระพุทธองค์ ประทับด้วยความสงบสุข โดยอาศัยช้างปาลิไลยก์ บ�ารุงรักษา ซึ่งช้างเชือกนี้เกิดความเบื่อหน่ายความ วุ่นวายของบริวารเช่นกัน จึงปลีกตัวออกมาตาม ล�าพัง ครั้นมาพบพระพุทธองค์ทรงเลื่อมใสจึงถวาย ตัวอุปัฏฐากคอยหาน�้าและภัตตาหารมาถวาย และ คอยพิทกั ษ์ความปลอดภัยของพระองค์ วันหนึง่ พญาลิง ตัวหนึ่ง เที่ยวมาตามยอดไม้เห็นพญาช้างปรนนิบัติ พระพุทธองค์ดว้ ยความเคารพก็เกิดอกุศลจิต คิดทีจ่ ะ เข้าไปปรนนิบัติพระพุทธเจ้าบ้าง จึงน�าเอารวงผึ้ง น้อมเข้าไปถวายพระพุทธเจ้าด้วยศรัทธา เมือ่ พญาลิง เห็ น พระพุ ท ธองค์ ท รงเสวยก็ เ กิ ด ความปี ติ ยิ น ดี เป็นอย่างยิ่ง ช้างและพญาลิงจึงอุปัฏฐากพระพุทธ องค์ร่วมกันฝ่ายพระภิกษุสงฆ์เมื่อเห็นพระพุทธองค์ หายไป และถูกชาวเมืองโกสัมพีต่อว่าจึงส�านึกผิด และขอเข้าเฝ้าพระพุทธองค์เพื่อขอให้พระพุทธองค์ อภัยโทษทีป่ า่ รักขิตวัน พระพุทธองค์ทรงยกโทษให้ และ ทรงแสดงถึงโทษของความแตกสามัคคี และอานิสงส์ ของความสามัคคีแล้วส่งพระภิกษุเหล่านัน้ กลับเมืองโกสัมพี พระพุทธจริยาตอนช้างและลิงบ�ารุงอุปัฏฐากพระพุทธ องค์เช่นนี้ จึงเป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูป ที่เรียกว่า “ปางป่าเลไลยก์” ขึน้ เป็นการสร้างพระพุทธรูปประจ�าวันเกิด ส�าหรับผู้ที่เกิดวันพุธตอนกลางคืน


66

พระพุทธรูปปางวันพฤหัสบดี : ปางสมาธิ ลักษณะพระพุทธรูป พระพุ ท ธรู ป ปางนี้ อยู ่ ใ นพระอิ ริ ย าบถนั่ ง ขัดสมาธิราบ พระหัตถ์ทั้งสองหงายวางซ้อนกันบน พระเพลา คือ พระหัตถ์ขวาทับพระหัตถ์ซ้าย พระชงฆ์ ขวาทับพระชงฆ์ซ้าย ประวัติความเป็นมา เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะทรงก�าจัดพญามารพ่ายแพ้ ไปด้วยพระบารมี จึงได้เริ่มบ�าเพ็ญความเพียรต่อไป และก็ได้บรรลุญาณทั้ง ๓ ตามล�าดับ คือ ๑. ปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาณ

คือความหยั่งรู้ในชาติภพก่อน คือ ทรงระลึกชาติได้ ๒. มั ช ฌิ ม ยาม ทรงบรรลุ จุ ตู ป ปาตญาณ หรื อ ทิพยจักขุญาณ สามารถเรียนรูก้ ารเกิด การตายและการ เวียนว่ายตายเกิด ๓. ปั จ ฉิ ม ญาณ ทรงบรรลุ อ าสวั ก ขยญาณ คือ ญาณเป็นเหตุท�าให้อาสวกิเลสให้หมดสิ้นไป โดยได้ ตรั ส รู ้ อ ริ ย สั จ คื อ ทุ ก ข์ สมุ ทั ย นิ โ รธ และมรรค พุ ท ธจริ ย าที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงนั่ ง สมาธิ จ นบรรลุ พระสัมมาสัมโพธิญาณนี้ จึงเป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูป ทีเ่ รียกว่า “ปางสมาธิ”และสร้างพระพุทธรูปบูชาประจ�า วันเกิด ส�าหรับผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดี


ข่าวทหารอากาศ

67

ในรั้วสีเทา ใน เราสีเขียว

ร.อ.หญิง นภธิดา หันหาบุญ

ทุ ก วั น นี้ ช าวรั้ ว สี เ ทาคงเริ่ ม คุ ้ น กั บ ค� ำ ว่ า “สิ่งแวดล้อมกองทัพอากาศ” ขึ้นบ้าง แต่จะมีใคร สักกีค่ นทีอ่ นิ กับความหมายและวัตถุประสงค์ทแี่ ท้จริง หรือจะเพียงนึกถึง ถังขยะ ๔ สี และถุงผ้าหลากหลาย ที่ เราไม่ ค ่ อ ยพกติดมือไปใช้ใส่ของเวลาจ่า ยตลาด สักเท่าไหร่ เมื่อประมาณ ๒๐ ปีก่อน กระแสภาวะโลกร้อน เอลนีโญ่ ลานีญา ท�ำให้ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ตืน่ ตระหนกพอสมควร บริเวณทีเ่ คยฝนตกชุกจะกลับ แห้งแล้ง บริเวณที่แห้งแล้งกลับฝนตกชุกกว่าปกติ มีภาพยนตร์เกีย่ วกับวันสิน้ โลกออกฉายมากมาย แต่ก่อนหน้านั้นอีกกว่า ๒๐ ปี คือ ในปี ค.ศ.๑๙๗๔ (พ.ศ.๒๕๑๗) ภายหลังประชุมสหประชาชาติเรื่อง “สิ่งแวดล้อมของมนุษย์” หรือ “UN Conference on the Human Environment” ซึ่งมีผู้เข้าร่วม ประชุมกว่า ๑,๓๐๐ คน จาก ๑๑๓ ประเทศ รวมถึง มีผู้สังเกตการณ์อีกกว่า ๑,๕๐๐ คน จากหน่วยงาน ของรั ฐ องค์ ก ารสหประชาชาติ และสื่ อ มวลชน แขนงต่ า ง ๆ เพื่ อ ร่ ว มกั น หาหนทางแก้ ไขปั ญ หา สิ่งแวดล้อมที่ประเทศต่าง ๆ ก�ำลังเผชิญอยู่ ซึ่งผล จากการประชุมครัง้ นัน้ ได้มขี อ้ ตกลงร่วมกันหลายอย่าง เช่น การจัดตัง้ โครงการสิง่ แวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP : United Nations Environment Programme) มี ส� ำ นั ก งานใหญ่ อ ยู ่ ที่ ก รุ ง ไนโรบี ประเทศเคนยา และรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ก็ได้รับข้อตกลงจากการ ประชุมในคราวนัน้ ไปจัดตัง้ หน่วยงานด้านสิง่ แวดล้อม

ขึ้ น ในประเทศของตน และเพื่ อ เป็ น การระลึ ก ถึ ง จุดเริม่ ต้นของการร่วมมือดังกล่าว องค์การสหประชาชาติ จึงได้ประกาศ ให้วันที่ ๕ มิถุนายน ของทุกปี เป็นวัน สิ่งแวดล้อมโลก

คณก.สิ่ ง แวดล้ อ ม ทอ.จั ด กิ จ กรรมเนื่ อ งใน วั น สิ่ ง แวดล้ อ มโลก ๕ มิ ถุ น ายน พ.ศ.๒๕๖๒ โดยมี พล.อ.อ.ชาญยุทธ ศิริธรรมกุล ผช.ผบ.ทอ.เป็นประธาน เปิดกิจกรรมฯ

จากสถานการณ์ระดับโลก สูน่ โยบายระดับประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทของหน่วยงานที่ดูแล ด้านสิ่งแวดล้อมมากมาย กองทัพอากาศได้ให้ความ ส�ำคัญกับสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยวิสัยทัศน์ ของผู้บัญชาการทหารอากาศ ที่ต้องการให้ทุกหน่วย ในกองทัพอากาศมีสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม สวยงาม ปราศจากมลพิษ มีสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดีและ เป็นสากล เอื้อต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ


68

คณก.สิง่ แวดล้อม ทอ.โดย พล.อ.อ.ศิรพิ ล ศิรทิ รัพย์ ประธานกรรมการฯ น�ำคณะฯ ตรวจเยี่ยมการด�ำเนินการ ด้านสิ่งแวดล้อมของกองบินต่าง ๆ

ข้าราชการและครอบครัวมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิต ที่สมบูรณ์ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม กองทัพอากาศขึ้นเพื่อวางแผนประสาน และด�ำเนิน การด้านสิ่งแวดล้อมของกองทัพอากาศให้เกิดเป็น รูปธรรม รวมทั้งอนุมัติให้ใช้ยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อม กองทัพอากาศ ๒๐ ปี พ.ศ.๒๕๖๒-๒๕๘๑ เป็นแนวทาง ในการบริ ห ารจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มกองทั พ อากาศ ในระยะยาวอย่างยั่งยืน การด�ำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมกองทัพอากาศ ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากทุ ก หน่ ว ยอย่ า งดี ยิ่ ง เช่ น ส� ำ นั ก งานเขตในพื้ น ที่ ข ้ า งเคี ย ง ทอ.ดอนเมื อ ง สถานศึกษาในพืน้ ทีข่ า้ งเคียง ทอ.ดอนเมือง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมมลพิษ และกรม ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลาดยิ่งเจริญ และบริษัท เอกชนที่ด�ำเนินธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม มีพันธมิตร เครือข่ายหัวใจสีเขียว หรือ Green@Heart หลายครัง้ ที่มีการประชุม การสัมมนา การจัดกิจกรรม และการ พู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ด ้ า นการจั ด การ สิ่งแวดล้อม ซึ่งแม้จะเป็นหัวข้อเดิม ๆ แต่ก็ได้ความรู้ และแนวทางการจัดการใหม่ ๆ อยู่เสมอ ข้าราชการ และครอบครัวเริ่มคุ้นชินกับการปฏิบัติในการรักษา

สิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านพักมีการรวมกลุ่มเพื่อผลิต และจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ คณะกรรมการสิง่ แวดล้อม กองทัพอากาศ โดย พล.อ.อ.ศิริพล ศิริทรัพย์ หัวหน้า คณะ ฝสธ.ประจ�ำ ผบช./ประธานสิ่งแวดล้อมกองทัพ อากาศ โดยความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยเกี่ ย วข้ อ ง ทัง้ ภายใน ทอ.และภายนอก ทอ.ดังกล่าวได้ดำ� เนินการ ด้านสิ่งแวดล้อมตามนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์ สิ่ ง แวดล้ อ มกองทั พ อากาศ ครอบคลุ ม ในทุ ก ด้ า น คือ น�้ำ ฟ้า และฝั่ง เพื่อความมุ่งหมาย กองทัพอากาศ สีเขียว เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Green Air Force ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาและทดลองการใช้จุลินทรีย์ เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพน�้ำของแหล่งน�้ำใน ทอ. การเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบสถานการณ์ คุณภาพอากาศ โดยเฉพาะค่าฝุ่นละออง PM2.5 ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา และการด�ำเนินการตามมติ คณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๒ โครงการท� ำ ความดี ด ้ ว ยหั ว ใจ ลดภั ย สิ่ ง แวดล้ อ ม ทีใ่ ห้หน่วยงานภาครัฐด�ำเนินโครงการลด และคัดแยก ขยะมู ล ฝอยในหน่ ว ยงานภาครั ฐ ซึ่ ง ในขณะนี้ หน่ ว ยขึ้ น ตรงกองทั พ อากาศ โดยคณะกรรมการ สิ่ ง แวดล้ อ มของหน่ ว ยได้ จั ด ตั้ ง คณะเจ้ า หน้ า ที่ งานลดและคัดแยกขยะมูลฝอยเป็นของหน่วยเอง มีการเก็บข้อมูลและรายงานผลการปฏิบัติกลับมาที่ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมกองทัพอากาศเพื่อน�ำไป วิ เ คราะห์ แ ละวางแผนในด้ า นที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ ไป นอกจากนี้ยังมีการตรวจเยี่ยมการด�ำเนินการด้าน สิ่ ง แวดล้ อ มของกองบิ น ต่ า ง ๆ การจั ด กิ จ กรรม วันสิ่งแวดล้อมโลก ประจ�ำปี ๒๕๖๒ และการน�ำ


ข่าวทหารอากาศ

ข้ า ราชการเดิ น ทางศึ ก ษาดู ง านการจั ด การขยะ แบบครบวงจรเพื่ อ น� ำ ความรู ้ แ ละประสบการณ์ ที่ได้จากแต่ละกิจกรรมมาปรับใช้ให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในอดี ต คนไทยที่ ช อบพู ด ถึ ง เรื่ อ งการรั ก ษา สิ่ ง แวดล้ อ มมั ก ถู ก มองว่ า เป็ น พวกโลกสวย พวกหั ว นอกท� ำ ตามฝรั่ ง หรื อ พวกคิ ด เกิ น กว่ า เหตุ แต่ส�ำหรับปัจจุบันคงไม่ได้เป็นเช่นนั้นอีกต่อไป ปีนี้

69

ฟ้ า ฝนรุ น แรงกว่ า ปี ก ่ อ น ปี นี้ แ ดดแรงอากาศร้ อ น แทบละลาย ปี นี้ ก องขยะสู ง กว่ า คอนโดบางแห่ ง ปี นี้ เราต้ อ งใส่ ห น้ า กากกั น ฝุ ่ น เดิ น ออกจากบ้ า น นั บ เป็ น เรื่ อ งดี ที่ ก องทั พ อากาศให้ ค วามส� ำ คั ญ กับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและพร้อมสนับสนุน ในทุกมิติที่เกี่ยวข้อง เดินมาถูกทางและมียุทธศาสตร์ ที่ชัดเจน อุปสรรคที่ส�ำคัญที่สุดคือใจของเราเองว่า พร้อมที่จะก้าวออกจากความคิดเก่า ๆ และทลาย ความรู้สึกเขินอายที่จะท�ำในสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือยัง หากไม่เริ่มท�ำวันนี้ วันข้างหน้าเราจะเป็นอย่างไร อย่าให้ลูกหลานมาย้อนถามเราว่า ในยุคสมัยของเรา มัวแต่ทำ� อะไรกันอยู่ จนปล่อยให้มนั เลวร้ายและส่งผล ต่อพวกเขาอย่างนี้

การจัดการขยะในพื้นที่ ทอ.ดอนเมือง โดย ชย.ทอ. การจัดท�ำซุ้มคัดแยกขยะ การจัดการขยะอินทรีย์ และการ รับซื้อขยะรีไซเคิล

คณก.สิ่งแวดล้อม ทอ., พอ., และ ชย.ทอ. ร่วมกันติดตาม ตรวจสอบคุณภาพน�้ำ และทดลองการใช้จุลินทรีย์จากภาคเอกชน ในการปรับปรุงคุณภาพบ่อน�้ำบริเวณข้างโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย


70

กรมควบคุมมลพิษ เข้าติดตั้งหน่วยตรวจวัด คุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบเคลื่อนที่ ติดตาม สถานการณ์ฝุ่นละออง ระหว่าง ๑๘ มกราคม - ๓๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๒ เพื่อติดตามเฝ้าระวัง ติดตาม และป้ อ งกั น ปั ญ หาต่ อ สุ ข ภาพของข้ า ราชการ ใน ทอ.ดอนเมือง โดยเฉพาะผู้ท�ำการในอากาศ

คณก.สิ่งแวดล้อม ทอ.โดย พล.อ.อ.ศิริพล ศิริทรัพย์ ประธานกรรมการฯ น�ำคณะฯ เดินทางไปศึกษาดูงาน การจัดการขยะแบบครบวงจร ณ บ.อีสเทิร์น เอเนอร์จี้ พลัส จ�ำกัด จว.สมุทรปราการ เมื่อ ๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๒


ข่าวทหารอากาศ

71

“ของฉั แม่น” BY R.T.A.F’s Eyes view

คุณยังจ�ำได้หรือเปล่ำ ในตอนเด็ก ๆ พอถึง ช่วงก่อนวันแม่แห่งชำติคุณครูวิชำภำษำไทยก็มักจะ มอบหมำยกำรบ้ำนให้กลับไปนั่งเขียนเรียงควำม วันแม่ทกุ ครัง้ และเชือ่ ว่ำยังมีอกี หลำยคนทีค่ ดิ เท่ำไร ก็คิดไม่ออกสักที ว่ำจะเริ่มลงมือเขียนเรียงควำม วันแม่อย่ำงไร แล้วคุณจดจ�ำค�ำพูดหรือเรือ่ งรำวตอนนัน้ ว่ำคุณเขียนอะไร วันนีก้ บั วันนัน้ ควำมส�ำคัญในเรียงควำม ยังมีควำมหมำยลึกซึ้งกับคุณแค่ไหน ในเดือนแห่ง วันแม่นี้ ผู้เขียนขอน�ำเรื่องรำวในนิยำมของค�ำว่ำ “แม่” มำให้ระลึกถึงควำมส�ำคัญในเรียงควำมที่คุณ เคยเขียน มำติดตำมอ่ำนกัน ค�ำว่ำ “แม่” คือ ผู้หญิงคนหนึ่งที่ยอมเสียสละ ทุก ๆ อย่ำง มือของหญิงที่คอยปกป้องอันตรำยจำก สิ่งต่ำง ๆ ยำมเห็นลูกต้องร้องไห้เสียใจ ใจของแม่นี้ แทบจะสลำย พร�ำ่ ร้อง พร�ำ่ ปลอบโยนลูกน้อย เพือ่ ให้ เด็กตัวเล็ก ๆ คนหนึ่งเข้มแข็ง และเจริญเติบโตขึ้นมำ เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภำพ ควำมรักที่ผู้เป็นแม่ถ่ำยทอด ผ่ำนควำมรูส้ กึ ต่ำง ๆ เข้ำมำนัน้ มันท�ำให้ฉนั รูส้ กึ ได้วำ่ แม่คือคนที่คอยอยู่ข้ำง ๆ ฉันทุกเวลำ แม่คือธนำคำร

ที่เปิดตลอด ๒๔ ชั่วโมง แม่คือร้ำนสะดวกซื้อที่มีของ ทุก ๆ อย่ำงครบครัน แม่คือร้ำนอำหำรตำมสั่งที่ไม่ใช่ มีเพียงไข่ดำว แม่คือทุก ๆ อย่ำงในชีวิตของฉัน ทุก ๆ ย่ำงก้ำวทีฝ่ ำ่ เท้ำฉันย�ำ่ แตะลงบนพืน้ ฉันจะรูส้ กึ ได้วำ่ มีรอยเท้ำอีกคูห่ นึง่ เดินประกบ และคอยประคับ ประคองฉันอยู่ตลอดเวลำหำกเปรียบเทียนที่จุดขึ้น เหมือนกับชีวิตแม่ของเรำ เทียนเล่มนี้มันส่องแสงให้ มำกเท่ำใด ล�ำเทียนเองก็จะสั้นลงๆ คล้ำยดังชีวิตแม่ ที่ให้ลูก อำยุของแม่ก็จะสั้นลง ๆ อำยุที่ได้มำก็คือเวลำ ทีเ่ สียไป ยิง่ ลูกมีควำมเจริญรุง่ โรจน์มำกขึน้ เท่ำใด ชีวติ แม่ ก็ยิ่งแก่ลงและหดหำยลงไปเท่ำนั้น เรำได้เกิดมำครั้งหนึ่งในชีวิต เรำเคยท�ำให้แม่ มีควำมสุขบ้ำงหรือยัง ส�ำหรับลูกบำงคนเขำไม่มโี อกำส ทีจ่ ะตอบแทนพระคุณแม่ ส�ำหรับลูกทีม่ โี อกำส ควรรีบ ทดแทนพระคุณของแม่เมือ่ ตอนทีย่ งั มีชวี ติ อยูเ่ พรำะแม่ เป็นต้นฉบับทางกาย หมำยถึง กำรอบรมเลีย้ งดู สัง่ สอน ให้กระท�ำสิง่ ทีด่ ี เป็นต้นแบบทางใจ ให้ควำมอุปกำระ เลีย้ งดู ฟูมฟัก ทะนุถนอม ปลูกฝังกิรยิ ำมำรยำทให้แก่ลกู ด้วยเหตุผล เรียกได้วำ่ ให้ควำมรูท้ งั้ ทำงโลกและทำงธรรม


72

หากมองย้อนอายุของเราถอยกลับไปที่จุด เริ่มต้น แล้วกลับมามองใบหน้าของแม่ ณ ปัจจุบัน เราจะสังเกตเห็นริว้ รอยบาง ๆ ทีป่ รากฏเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ เส้นริ้วรอยเหล่านี้บ่งบอกถึงอายุที่เพิ่มขึ้น สุขภาพที่ ถดถอยลงไป ก้าวย่างทีเ่ ริม่ ช้าลง แต่มสี งิ่ หนึง่ ทีเ่ พิม่ ขึน้ พร้อมกับริ้วรอยบนใบหน้าของแม่ คือความรัก ความห่วงใยของแม่ที่มีให้กับลูก เพิ่มแบบไม่มีวัน ถดถอยน้อยลง แล้วรักของลูก ๆ ที่มีต่อแม่มากมาย และยัง่ ยืนดังเช่นความรักของแม่หรือเปล่า เราได้ดแู ล ท่านดีเหมือนกับที่ท่านดูแลเราหรือยัง หากยัง เรามาดู วิธีดูแลแม่ให้ท่านมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาพ จิตแจ่มใสกัน - เป็นคนดี ให้แม่ภูมิใจเมื่อครั้งเป็นเด็ก แม่ก็ได้พร�่าสอนให้ลูกเป็นเด็กดี ว่านอนสอนง่าย เชื่อฟัง ผู้ใหญ่ ตั้งใจเรียน ขวนขวายหาความรู้ ครั้นเมื่อลูก เติบโตเป็นผู้ใหญ่ คนเป็นแม่ก็ย่อมต้องการให้ลูกเป็น คนดี เป็นผูใ้ หญ่ทดี่ ขี องสังคม ท�ามาหากินอย่างสุจริต ไม่ลักขโมยหรือคดโกงใคร ไม่มีอะไรที่แม่จะภูมิใจ มากไปกว่าการได้เห็นลูกเป็นคนดี มีความสุข ความเจริญ ในหน้าทีก่ ารงาน เพียงเท่านีก้ ส็ ามารถท�าให้แม่หมดห่วง และมีความสุขแล้ว

- เลีย้ งดูแม่ให้กนิ ดี มีสขุ พูดคุยกับแม่ทกุ วัน ด้วยถ้อยค�าดี ๆ อย่ามัวแต่ท�างานหาเงิน แล้วให้แต่เงิน เมื่อเรายังเป็นเด็กเราอยากคุย เล่าเรื่องราวต่าง ๆ ให้แม่ฟงั มากแค่ไหน แม่กต็ อ้ งการสิง่ นีจ้ ากเราเช่นกัน หาเวลาอยูก่ บั ท่าน ชวนท่านพูดคุย ยิม้ หัวเราะกับแม่ เท่านี้ แม่ก็ชื่นใจแล้ว - พาแม่ไปเที่ยวอย่างน้อยปีละ ๓ - ๔ ครั้ง การได้เปลี่ยนบรรยากาศ จะท�าให้ร่างกายสดชื่น จิตใจ แจ่มใส อายุของแม่จะได้ยืนยาวเพิ่มขึ้นได้อีกหลายปี - พาแม่เข้าวัด คือ การพาแม่เดินในเส้นทาง ธรรม ไม่ตอ้ งรอให้ถงึ เทศกาลส�าคัญทางศาสนา ก็สามารถ ชวนแม่ทา� บุญตักบาตร เข้าวัดฟังธรรมปฏิบตั วิ ปิ สั สนา กรรมฐาน จิตใจเบิกบาน เพียงเท่านี้ แม่ก็มีความสุข ทัง้ กายและใจ ส่งผลให้มสี ขุ ภาพแข็งแรง อยูเ่ ป็นร่มโพธิ์ ร่มไทรให้กับพวกเราไปได้อีกนาน ในทางกลับกัน เราก็มีวิธีหลีกเลี่ยงหรือสิ่งที่ ไม่ควรกระท�ากล่าวโทษท่าน - ไม่โทษแม่วา่ ไร้ความสามารถไม่มใี ครทีเ่ ก่ง ไปทุกเรื่อง และไม่มีใครที่ท�าทุกเรื่องได้สมบูรณ์ ไม่เปรียบเทียบว่า“สูแ้ ม่ของคนอืน่ ก็ไม่ได้” ค�าพูดนี้ เมือ่ พูด ออกไป มันจะกลายเป็นตราบาปในจิตใจเราไปทัง้ ชีวติ


ข่าวทหารอากาศ

- ไม่โทษแม่ว่าจู้จี้จุกจิกแม่เกิดมาก่อนเรา มีประสบการณ์มากกว่าอย่าตะคอกท่าน เมือ่ ท่านจ�า้ จี้ จ�า้ ไชให้กนิ ข้าว ให้ใส่เสือ้ ผ้าหนา ๆ ให้ใส่หมวกกันน็อก ให้กลับบ้านเร็ว ๆ ให้เก็บห้องให้สะอาด ฯลฯ เพราะ คนทีร่ กั เราจริงเท่านัน้ ทีจ่ ะจูจ้ ใี้ นเรือ่ งนีก้ บั เรา หรือคุณ ว่าไม่จริง! - ไม่โทษแม่ว่าชักช้ายามเมื่อแม่แก่ชรา อย่าต่อว่าท่านท�าอะไรชักช้า เราไม่มีทางรู้เลยว่า คนเป็นแม่ต้องใช้ความรักความอดทนมากเพียงใด ในการสอนให้เราเดิน สอนให้เรากิน สอนให้เราอาบน�า้ สอนให้เราท�าอะไรอีกหลายสิ่งหลายอย่าง ฯลฯ มาบัดนี้ร่างกายจึงทรุดโทรม เราควรจะช่วยประคับ ประคองดูแลท่านให้ดที สี่ ดุ เหมือนตอนทีท่ า่ นดูแลเรา - ไม่โทษแม่ยามท่านไม่สบาย ไม่ว่าแม่จะยุ่ง แค่ไหน จะดึกดื่นเพียงใด จะฝนตกหรือแดดออก พอเราเจ็บไข้ทา่ นจะละทิง้ การงานในทันที ท่านจะพาเรา ไปหาหมอในทันที ท่านจะหาวิธีเยียวยารักษาเรา ในทันที ยามทีท่ า่ นป่วยไข้ เราท�าเหมือนทีท่ า่ นท�าให้เรา เพียงเท่านี้เราก็ท�าให้ท่านมีความสุขได้แล้ว อ่านบทความนี้จบแล้ว กลับไปกราบตักท่าน อย่าให้ความส�าคัญกับแม่ผมู้ พี ระคุณเฉพาะวันแม่เท่านัน้ แต่จงท�าทุกวันให้เป็นวันแม่ เหมือนกับความรักที่แม่ มีให้ลกู ทุก ๆ วันตัง้ แต่เราเกิดมา หมัน่ ดูแลรักษาจิตใจ ของท่านให้ดี เพราะเราสามารถมีแม่ได้เพียงคนเดียว เท่านั้นบนโลกนี้ กราฟิกส์เวกเตอร์และภาพประกอบบทความ น�ามาจาก www.freepik.com

73


74


ข่าวทหารอากาศ

75

ระฆัง “อุโฆษบุญเบิกฟ้า” และ “กึกก้องนภาบูชาธรรม”

โดย พล.อ.ต.คติพันธุ์ บุญยะโพธิ์

ประกอบพิธกี รรมทางศาสนาของกองทัพอากาศ และ เป็ น ที่ สั ก การะบู ช าตามจิ ต ศรั ท ธาของข้ า ราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ และครอบครัว ตลอดจน ประชาชนทั่วไป ตั้งแต่ต้นปี ๒๕๕๙ นั้น ต่อมา เมือ่ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผู้บัญชาการทหารอากาศ ได้มีด�าริให้ คณะอนุกรรมการสวนสุขภาพ กองทัพอากาศ และ หน่วยเกีย่ วข้อง สร้างสิง่ ทีต่ ดี งั เช่น กลอง ฆ้อง หรือระฆัง ไว้ส�าหรับผู้ที่ไปกราบไหว้สักการะได้ตี เพื่อความเป็น สิรมิ งคลตามความเชือ่ ซึง่ คณะอนุกรรมการฯ ได้พจิ ารณา พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน เห็นสมควรเป็นระฆัง เนือ่ งจากมีเสียงไพเราะ ดังกังวาน ผู้บัญชาการทหารอากาศ และมีให้เห็นตามพุทธสถานทั่วไป ซึ่งผู้บัญชาการ ตามที่ ก องทัพอากาศได้สร้างพระพุทธเมตตา ทหารอากาศได้ให้ขอ้ พิจารณาว่า ต้องการให้มลี กั ษณะ นภากาศประทานพร และหอพระ ภายในสวนสุขภาพ เป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร มีชอื่ ระฆังติดอยูด่ า้ นหน้า กองทัพอากาศ (ชาวฟ้า ท่าดินแดง) เพื่อใช้เป็นสถานที่ ให้เห็นเด่นชัด ตีแล้วต้องมีเสียงดังกังวานไกล


76

คณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณาออกแบบระฆัง โดยได้พิจารณาถึงรูปแบบของหอพระที่มีลักษณะ เป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ และมีปนู ปัน้ ช้าง ครึง่ ตัวล้อมรอบหอพระ เพือ่ น�าไปก�าหนดรูปแบบของระฆัง ที่เหมาะสมและเป็นไปตามนโยบายรวมถึงจะต้องมี การสร้ า งซุ ้ ม ระฆั ง เพื่ อ กั น แดดและฝนซึ่ ง จะช่ ว ย ป้องกันมิให้ระฆังเกิดสนิมเขียวเร็วเกินไป

คณะอนุกรรมการฯ จึงได้ศึกษาและส�ารวจ บริเวณหอพระ เพือ่ ดูตา� แหน่งวางระฆัง และขนาดระฆัง ทีเ่ หมาะสมกับหอพระโดยลงความเห็นว่า ควรวางระฆัง ไว้ทดี่ า้ นหน้าหอพระทัง้ สองข้างเพือ่ ความสมดุล และ ระฆังควรเลือกสร้างมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๖ นิ้ว สูง ๘๐ ซม. หรือขนาด ๕.๕ ก�า (หน่วยวัดขนาดโบราณ) คณะอนุกรรมการฯ ได้ดา� เนินการส�ารวจและ ได้รวบรวมข้อมูลจากร้านจ�าหน่ายระฆังและโรงงาน ผลิตระฆังจากแหล่งต่าง ๆ ได้แก่ โรงหล่อที่ จว.อยุธยา จว.พิษณุโลก และ จว.อุบลราชธานี และได้ไปดูทโี่ รงหล่อ จว.อยุธยา หลังจากรวบรวมข้อมูลแล้วท�าให้ทราบว่า ระฆังที่มีวางจ�าหน่ายตามท้องตลาดทั่วไป ทั้งหมดมี ๓ ชนิด ได้แก่ ๑. ระฆังทองเหลือง ๒. ระฆังลงหิน ซึ่งมี ส่วนผสมของทองเหลืองและดีบกุ ทัง้ ๒ ชนิดจะเกิดเป็น สนิมง่าย ราคาถูก ผลิตเป็นจ�านวนมาก ลวดลาย ไม่เด่นชัด เวลาตีเสียงจะไม่ดังกังวาน เนื่องจากเป็น ทองเหลืองหรือหากเป็นระฆังลงหินก็จะมีส่วนผสม ที่ไม่แน่นอน ไม่เหมือนระฆังชนิดที่ ๓ คือ ระฆังส�าริด ที่มีส่วนประกอบของโลหะ ๓ ชนิดเท่านั้น เรียงตาม คุณค่า คือ เงิน ดีบกุ และทองแดง และจะต้องมีสว่ นผสม


ข่าวทหารอากาศ

ที่มีสัดส่วนลงตัวโดยเฉพาะ ดังนั้นระฆังที่จะสร้าง ให้ได้คณ ุ สมบัตติ ามนโยบาย จ�าเป็นต้องสัง่ ท�าเป็นพิเศษ เพือ่ ให้ได้ระฆังทีม่ ลี วดลาย คมชัด สวยงาม เป็นเอกลักษณ์ และมีคุณภาพเสียงที่ดังไพเราะและกังวานไกล

คณะอนุกรรมการฯ ได้รวบรวมข้อมูลทั้งหมด พบว่า ส่วนใหญ่เป็นระฆังทองเหลืองและระฆังลงหิน หรือหากร้านทีบ่ อกว่าเนือ้ เป็นส�าริดก็ไม่ยนื ยันส่วนผสม ที่ชัดเจนว่าเป็นเนื้อส�าริดแท้ ท�าให้เกิดความไม่มั่นใจ แต่จากการทีค่ ณะอนุกรรมการฯ มีความตัง้ ใจทีจ่ ะต้องการ ระฆังคุณภาพทีด่ ที สี่ ดุ มีเสียงไพเราะดังกังวานไกล จึงได้ พยายามหาข้อมูลจนได้ข้อสรุปที่ชัดเจน และมีค�าตอบ เป็นเสียงเดียวกันจากโรงงานผลิตระฆังชื่อดังต่าง ๆ แนะน�าว่า ให้ตดิ ต่อโรงหล่อชูชาติ ต.บ้านถวาย อ.หางดง จว.เชียงใหม่ ซึง่ โรงหล่อชือ่ ดังแห่งหนึง่ กล่าวว่า “ถ้าจะให้ เสียงกังวานขนาดนัน้ ต้องทีโ่ รงหล่อชูชาติเลย ทีเ่ ชียงใหม่ รับรองไม่มีใครเทียบ ถ้าสู้ราคาไหว แต่เขารับท�าตาม ออเดอร์เท่านัน้ นัน่ แหละเป็นส�าริดแท้แน่นอน” โรงหล่อ อีกแห่งหนึ่งก็ให้ค�าแนะน�าเกี่ยวกับโรงหล่อชูชาติ ว่า “อ๋อ อันนัน้ ชัวร์ แล้วพีจ่ ะสบายใจเลย ถ้าต้องการเสียง แบบนั้น ไปหาพี่ชาติเลยค่ะ” เมื่อได้รับค�ายืนยันจากโรงหล่อที่มีชื่อเสียง หลายแห่ง แนะน�าว่าโรงหล่อระฆังชูชาติ จว.เชียงใหม่ เป็นโรงหล่อทีม่ ผี ลงานสร้างระฆังส�าริดทีเ่ ป็นเนือ้ ส�าริดแท้ มีคณ ุ ภาพ เสียงดังกังวานทีส่ ดุ จึงได้โทรศัพท์สอบถาม รายละเอียด และติดตามผลงานทางเว็บไซต์ของโรงหล่อ แล้วเดินทางไปที่โรงงานผลิต ณ บ้านถวาย อ.หางดง และหลังจากพูดคุยในรายละเอียดต่าง ๆ แล้ว พบว่า

77

ทางโรงหล่อสามารถสร้างระฆังส�าริดให้ได้ตามความ ต้องการ อีกทัง้ งบประมาณในการสร้างมีราคาต�า่ กว่า อีกหลายโรงงานที่ได้ส�ารวจ จึงเกิดความมั่นใจและ ตัดสินใจให้โรงหล่อระฆังชูชาติสร้างระฆังส�าริดให้กบั หอพระ

คุณลักษณะระฆัง พล.อ.อ.จิโรจ บ�ารุงลาภ ประธานอนุกรรมการฯ และ พล.อ.ต.คติพนั ธุ์ บุญยะโพธิ์ รองประธานอนุกรรมการฯ ได้ร่วมกันพิจารณาออกแบบระฆังเพื่อให้ได้ลักษณะ ที่เหมาะสม ตามด�าริของผู้บัญชาการทหารอากาศ สอดรับกับสถาปัตยกรรมของหอพระ โดยรูปแบบระฆัง ส�าริดทีผ่ บู้ ญ ั ชาการทหารอากาศได้พจิ ารณาปรับแก้ไข และอนุมัติให้ด�าเนินการ มีลักษณะ คือ

ระฆังใบที่ ๑

ระฆังใบที่ ๒

ด้านหลัง

๑. รูปทรงระฆังเป็นแบบรัตนโกสินทร์ประยุกต์ โดยเปลีย่ นยอดระฆังเป็นแบบศรีวชิ ยั ซึง่ เป็นแบบระฆัง ทีม่ สี องหู และรูปร่างเป็นหัวช้าง เพือ่ ให้เข้ากับหอพระ ทีเ่ ป็นแบบไทยประยุกต์และมีปนู ปัน้ ช้างครึง่ ตัวล้อมรอบ หอพระ ๒. มีสญั ลักษณ์ตราปีกกองทัพอากาศ ทัง้ ด้านหน้า และด้านหลังของระฆัง โดยด้านหน้าตราปีกกองทัพ อากาศจะอยูต่ รงกลางระหว่างข้อความ “กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒” และมีชื่อของระฆังอยู่ใต้ตราปีก


78

๓. ส่วนบนโดยรอบระฆังได้พจิ ารณา เป็นลวดลาย ไทยแบบกนกลายดาว ซึ่งเป็นลวดลายที่นิยมใช้ตกแต่ง ส่วนบนของเพดานมณฑปและเพดานโบสถ์ เพราะเป็น ลวดลายทีเ่ ปรียบเสมือนท้องฟ้า ดวงดาว และสรวงสวรรค์ ซึ่งมีความหมายสอดคล้องกับชาวฟ้าทหารอากาศ

๔. นอกจากการก�าหนดรูปแบบระฆังให้เป็น เอกลักษณ์ทงั้ ในเรือ่ งของรูปทรงระฆัง ตราปีกกองทัพ อากาศ และชื่อระฆังแล้ว ผู้บัญชาการทหารอากาศ ยังได้กรุณาอนุมตั ติ ามที่ พล.อ.ท.คงศักดิ์ จันทรโสภา เจ้ากรมข่าวทหารอากาศ เสนอให้นา� ปลอกกระสุนปืน ประจ�าอากาศยานมาผสมในเนื้อระฆัง เพื่อน�าพลัง อ�านาจของกองทัพอากาศ มาบรรจุในระฆัง โดยได้ รวบรวมปลอกกระสุนปืน ขนาด ๒๐ มม. และ ๒๓ มม. จากทุกฝูงบินของกองทัพอากาศ ฝูงบินละ ๑ ปลอก มาหลอมรวมเป็ น เนื้ อ เดี ย วกั น แล้ ว เลื อ กใช้ เ ป็ น มวลสารตัวแทนเพียงเล็กน้อยผสมไว้ในส่วนยอดของระฆัง ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสัดส่วนและส่วนผสมของระฆัง

ระฆังทัง้ ๒ ใบ คณะอนุกรรมการฯ และโรงหล่อ ระฆังชูชาติ ได้ตกลงกันด้วยวาจาในการด�าเนินการ จัดสร้างตั้งแต่วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๒ ถึงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ รวมทั้งสิ้น ๔๑ วัน ระหว่าง การจัดสร้าง ได้ก�าหนดวันเทเนื้อทองส�าริดลงเบ้า หลอมในเวลา ๐๖.๐๙ น. ของวันศีล (วันพระ) ขึน้ ๘ ค�า่ เดือน ๕ ปีกลุ ซึง่ เป็นทัง้ วันธงชัย และวันอธิบดี (วันศุกร์ที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๒) ตามปฏิทินนักษัตรไทย เมือ่ ระฆังได้สร้างเสร็จเรียบร้อย นาวาอากาศเอก สุนทร ผ่องอ�าไพ ผู้บังคับการกองบิน ๔๑ สนับสนุน การขนย้ายจากโรงหล่อมาขึน้ เครือ่ งบินสูท่ า่ อากาศยาน ทหารดอนเมือง ในวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ซึ่ง นาวาอากาศเอก จิรภัทร ปี่ทอง ผู้บังคับการกองบิน ๖ ได้เตรียมเครื่องบินแอร์บัส เอ ๓๔๐ รอสนับสนุน ไว้ลว่ งหน้า โดยใช้ภารกิจฝึกนักบิน และเมือ่ ถึงก�าหนดเวลา ปรากฏว่า ภารกิจล�าเลียงทางอากาศในวันนั้นมีเป็น จ�านวนมาก เครือ่ งทุกเครือ่ งติดภารกิจทัง้ หมด แต่ปรากฏว่า มีเครื่องบินแอร์บัส เอ ๓๔๐ เท่านั้นที่ไม่ติดภารกิจ ส�าคัญเพียงเครื่องเดียว ท�าให้ระฆังได้รับการขนย้าย โดยเครือ่ งบินล�าเลียงขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ของกองทัพอากาศ ในวันจันทร์ที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ถึงท่าอากาศยาน ทหาร ๒ ดอนเมือง ในเวลา ๑๓.๔๕ น.


ข่าวทหารอากาศ

ระฆังอุโฆษบุญเบิกฟ้า

ชื่อระฆัง

เมือ่ ระฆังผ่านการหล่อเสร็จแล้วจะต้องถ่วงเสียง โดยการเพิ่มหรือลดเนื้อทองส�าริดภายในตัวระฆัง แล้วเทียบเสียงกับการเคาะส้อมเสียงเพื่อให้ได้เสียง ที่ต้องการ ซึ่งระฆังทั้ง ๒ ใบ ช่างได้ตั้งใจออกแบบให้มี การส่งคลืน่ เสียงทีแ่ ตกต่างกันส�าหรับชือ่ ระฆังทัง้ ๒ ใบ ได้รับความกรุณาจาก พล.อ.ต.สุรินทร์ คุ้มจั่น อดีต อนุศาสนาจารย์กองทัพอากาศ ได้เสนอชือ่ ระฆัง และ ความหมาย โดยผู้บัญชาการทหารอากาศ ได้กรุณา ปรับแก้ไข ดังนี้ ระฆังใบที่ ๑ ชือ่ “อุโฆษบุญเบิกฟ้า” มี ความหมายว่า ตีมีเสียงดังก่อให้เกิดบุญกุศลสู่สวรรค์ นิพพาน ช่างได้ตงั้ ใจสร้างระฆังใบนีใ้ ห้เสียงออกมาแล้ว มีความหมายสอดคล้องกับชื่อระฆัง เนื้อส�าริดจะมี ความหนาพอประมาณ เมื่อตีแล้วเสียงที่เกิดขึ้นจะดัง เป็นระลอก ๆ เป็นเสียงคลืน่ เหมือนคลืน่ ทะเลทีซ่ ดั น�า้ เข้าฝัง่ เปรียบดัง่ บุญย่อมส่งบุคคลผูท้ า� ความดีสสู่ วรรค์ นิพพาน คลื่น ก็คือ บุญกุศล น�้า ก็คือ ผู้ท�าความดี ส่วน ฝั่ง ก็คือ สวรรค์นิพพาน ระฆังใบที่ ๒ ชื่อ “กึกก้องนภาบูชาธรรม” ซึ่งมีความหมายว่า เกิดเสียงดังกึกก้องไปทั่วท้องฟ้า และนภากาศ เป็นพุทธบูชา ช่างได้ตงั้ ใจสร้างระฆังใบนี้ เมื่ อ ตี แ ล้ ว เสี ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น จะแหลมถี่ กั ง วานไกล เหมือนชือ่ ระฆัง ฟังแล้วมีความหนักแน่น และทรงพลัง เปรียบดั่งพลังศรัทธาบูชาธรรมด้วยกุศลจิตที่ได้สร้าง บุญบารมี

79

ระฆังกึกก้องนภาบูชาธรรม

ไม้ตีระฆัง ไม้ตีระฆังท�าด้วยไม้ประดู่ ซึ่งเป็นไม้ที่มีคุณค่า เป็นไม้เนื้อแข็ง เนื้อละเอียดปลวกไม่ท�าลาย สีสวย มีลวดลายสวยงาม ตกแต่งขัดเงาได้ดี และมีคณ ุ สมบัติ ทนน�า้ เค็ม นอกจากนี้ ไม้ตรี ะฆังคูน่ ชี้ า่ งได้เลือกเนือ้ ไม้ ประดู่ ส่วนที่เป็นตาแข็งของไม้ประดู่ หรือที่เรียกว่า “ปุม่ ประดู”่ มากลึง จึงได้ไม้ตที มี่ เี นือ้ แข็ง คุณภาพสูง งดงาม และคงทนถาวร ซึง่ มีราคาแพงมาก และหาได้ยาก ส�าหรับไม้ตีระฆังทั้ง ๒ อัน มีขนาดเท่ากัน โดยส่วน หัวตีมเี ส้นผ่าศูนย์กลาง ๘.๕ ซม. ยาว ๑๖.๔ ซม. ส่วนด้าม มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒.๕ ซม. ยาว ๒๒.๒ ซม. แต่ละอัน มีน�้าหนักรวม ๑.๔ กิโลกรัม


80

ซุ้มระฆัง ส�ำหรับซุ้มระฆังทั้ง ๒ ซุ้ม สถำปนิกผู้ออกแบบ ได้แก่ น.ต.พิทักพงษ์ ยิ้มนรินทร์ ออกแบบให้สอดรับ กับสถำปัตยกรรมของหอพระพุทธเมตตำนภำกำศ ประทำนพร โดยจ�ำลองทรงหลังคำท�ำด้วยโครงสร้ำงไม้ จ�ำลองกระเบื้องหลังคำด้วยไม้พลำสวูด ด้ำนหน้ำซุ้ม ระฆังทั้ง ๒ ซุ้ม ประดับตรำสัญลักษณ์กองทัพอำกำศ ท�ำด้วยไฟเบอร์กลำสหล่อสีทอง หลังคำซุ้มมีขนำด หน้ำกว้ำง ๘๗.๕ ซม. ด้ำนข้ำง ๘๐ ซม. สูง ๑๐๑ ซม. เสำโครงสร้ำงท�ำจำกเหล็กท่อกลมขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง ๓ นิว้ สูง ๑๖๑ ซม. ฐำนซุม้ ระฆังมีขนำดด้ำนหน้ำกว้ำง ๑๓๐.๕ ซม. ด้ำนข้ำง ๗๖ ซม. สูง ๒๖ ซม. ด�ำเนินกำร สร้ำงโดยกรมช่ำงโยธำทหำรอำกำศ ส�ำหรับงบประมำณที่ใช้ด�ำเนินกำร เป็นค่ำ สร้ำงระฆัง จ�ำนวน ๒ ใบ รำคำรวม ๙๐,๐๐๐ บำท และงบประมำณที่ใช้สร้ำงซุ้มระฆัง ๒ ซุ้ม เป็นเงิน ๓๑,๗๐๐ บำท ซึ่งผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ ได้มีด�ำริ ให้ขำ้ รำชกำร ลูกจ้ำง พนักงำนรำชกำร ได้รว่ มบริจำค ตำมจิตศรัทธำ เพื่อให้มีส่วนร่วมในกำรสร้ำงระฆังและ ซุม้ ระฆัง บังเกิดควำมเป็นสิรมิ งคล และสร้ำงบุญบำรมี แก่ตนเอง


ข่าวทหารอากาศ

81

ASEAN Community (+3)* Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดนอยประชาคมอาเซียน (+3)* @Zilch

National Costume of Cambodia ชุดประจ�ำชำติของประเทศกัมพูชำ

Cambodia's national costume is Sampot. It is a woman’s long skirt with a fold or pleat in the front, but some Sampot styles actually look more like trousers.It is hand-woven and its fabric is often made of silk or cotton or a combination of both. Sampot for women is similar to Panung of Laos and Thailand.It also varies in patterns according to the social class of the Cambodian. On a daily basis, it is made from inexpensive materials shipped from Japan and famous for its horizontal motifs. For the luxurious one, it is woven with silver and gold thread. Cambodian men typically wear silk or cotton shirts with short or long sleeves. They wear cotton trousers as well.

ชุดประจ�าชาติของกัมพูชาคือ ซัมปอต ซึ่งมี ลักษณะเป็นผ้าถุงยาวส�าหรับผู้หญิง มีการจับจีบ ด้านหน้าแต่บางแบบก็จะมีลกั ษณะคล้ายกับกางเกง ทอด้วยมือ ผ้าที่ใช้มักท�าจากไหมหรือฝ้าย หรือใช้ วั ส ดุ ทั้ง สองชนิ ด ผสมกั น ซั ม ปอตส� าหรั บ ผู ้ ห ญิง มีความคล้ายคลึงกับผ้านุ่งของประเทศลาวและ ประเทศไทยทั้งนี้ซัมปอตยังมีหลายรูปแบบซึ่งจะ แตกต่างกันไปตามชนชัน้ ทางสังคม ของชาวกัมพูชา หากใช้ในชีวิตประจ�าวัน ซัมปอตจะใช้วัสดุราคา ไม่สูง ซึ่งวัสดุดังกล่าวจะส่งมาจากประเทศญี่ปุ่น ที่มีชื่อเสียง ในการท�าลวดลายตามขวาง ถ้าเป็น ซัมปอตแบบหรูหราจะทอด้วยด้ายเงินและด้ายทอง ส�าหรับผูช้ ายนัน้ มักสวมใส่เสือ้ ทีท่ า� จาก ผ้าไหมหรือ ผ้าฝ้ายซึ่งมีทั้งแบบแขนสั้นและแขนยาว พร้อมกับ สวมกางเกงขายาวที่ท�าจากผ้าฝ้าย

ข้อมูลจาก http://www.engtest.net/forum/detail.php?type_id=03-12&&topic_id=3488, http://wwwaseanthai.net/mobile_detail.php?cid=58&nid=4074 http://www.pinterest.com/pin/305892999670762139/, http://cambodianclothes.blogspot.com/2013/


82

การฝึกการป้องกันและการบรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ ประจ�าปี ๒๕๖๒ (Integrate Disaster Management Exercise 2019 : IDMEx 2019) เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ ท่าเรือน�้าลึกภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต


ข่าวทหารอากาศ

83

เตือนเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีช่องโหว่ให้แฮกเกอร์ (Social Networks are Vulnerable to Hackers)

น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์

โลกในปัจจุบันสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) อย่างเช่น Facebook Twitter Instagram และบริการอืน่ ๆ ได้กลายเป็นสิง่ ส�าคัญในสังคมของเรา อีกทั้งยังเป็นรูปแบบการสื่อสารที่ส�าคัญของพวกเรา เป็นส่วนใหญ่ การเจาะ (Hack) สื่อสังคมออนไลน์ กลายเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อการเมืองในระดับ ประเทศ คงจ�ากันได้การโจมตีบนโลกไซเบอร์ของรัสเซีย ในการเลือกตัง้ ล่าสุด อันท�าให้สอื่ ต่าง ๆ ของสหรัฐอเมริกา ตืน่ ตัวกันมาก เจ้าหน้าทีข่ องกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ กังวลว่าแฮกเกอร์ทรี่ ฐั บาลหนุนหลังก�าลังมุง่ ใช้สอื่ สังคม ออนไลน์อย่าง Twitter และ Facebook เพือ่ ท�าการเจาะ เข้าสูเ่ ครือข่ายคอมพิวเตอร์ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ (United States Department of Defense: DoD) นอกจากนีข้ อ้ ผิดพลาดของมนุษย์ ทีท่ า� ให้ผใู้ ช้คลิกลิงค์ บนสื่อสังคมออนไลน์ซึ่งถูกส่งมาให้พวกเขามีจ�านวน

ทีเ่ พิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ เพราะผูใ้ ช้สว่ นมากมักจะคิดว่า ตัวเองนั้นเป็นเพื่อน สิ่งเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การเมืองหรือเรือ่ งส่วนตัว ได้โผล่มามากขึน้ ความกังวล ด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวกับแฮกเกอร์ขโมยข้อมูล ส่วนบุคคลของผู้ใช้ผ่านเว็บไซต์บนสื่อสังคมออนไลน์ ก�าลังท�าให้ผู้คนหวาดระแวงในการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Social Networks) หากพวกเราไม่ทา� อะไร เพื่อให้เกิดในความปลอดภัย ผลที่ตามมาอาจน�าไปสู่ ความสูญเสียทีม่ ากกว่านี้ โดยบทความในฉบับมีมมุ มอง และรายละเอียดที่น่าสนใจดังนี้ ผลที่ตามมาจากข้อผิดพลาดของมนุษย์ หากคุณถามคนรุน่ ใหม่ ถ้าพวกเขาจ�าได้วา่ ได้ยินเรื่องการถูกเจาะข้อมูล ตอนเป็นเด็ก ๆ พวกเขา คงบอกว่าได้รับค�าเตือนมาจากพ่อแม่ ครูที่โรงเรียน หรือรายการทางทีวีปัจจุบัน ในขณะที่ผู้คนส่วนมาก


84

ยังคงระวังอยู่ แต่ในทางปฏิบัตินั้นการระมัดระวัง จะผ่อนลงไปในเรือ่ งภัยคุกคามทีเ่ กิดจากการถูกเจาะ ข้อมูลส่วนบุคคล เมื่อตราบใดที่พวกเขามีไฟร์วอลล์ มี อ ะไรที่ ต ้ อ งกั ง วล จึ ง ขอเตื อ นอย่ า ได้ ห ลงเชื่ อ ใน ทัศนคติแบบนี้ ซึ่งมันอาจจะท�าให้คุณเดือดร้อนจาก การถูกเจาะข้อมูลจากการศึกษาก็ไม่ได้ใช้เวลามาก ส�าหรับ Bot (บอท) ทีส่ ร้างขึน้ อย่างดีเพือ่ ค้นหาข้อมูล ส่วนบุคคลของผูใ้ ช้บนสือ่ สังคมออนไลน์ทหี่ ลากหลาย (Bot ก็คือโปรแกรมอัตโนมัติส�าหรับการท�าหน้าที่ อย่างใดอย่างหนึง่ บนอินเทอร์เน็ต) สือ่ สังคมออนไลน์ ในปัจจุบันนี้ มีผลที่ได้จากการศึกษาโดย University of British Columbia ซึง่ การศึกษาครัง้ นีท้ มี นักศึกษา ได้สร้าง “SocialBot” เพือ่ ดูวา่ บอท นัน้ สามารถเจาะ กลุ่มผู้ใช้บน Facebook แบบสุ่มได้รวดเร็วเพียงใด และเก็บข้อมูลที่ละเอียดอ่อนได้อย่างไร ผลที่ได้ใน ๘ สัปดาห์ก็คือ “SocialBot” สร้างเครือข่ายสังคมที่ ขยายออกไปหนึ่งล้านคนประสบความส�าเร็จในการ เป็นเพื่อนกับบุคคล ๓,๐๕๕ คนจากการเชิญชวน ทัง้ หมด ๘,๕๗๐ คนเมือ่ “SocialBot” ได้สร้างเพือ่ นแล้ว มันก็จะก�าหนดเป้าหมายต่อไปที่เพื่อนของเพื่อน เมือ่ เครือข่ายของบอทโตขึน้ อัตราการตอบรับของเพือ่ น ก็โตเช่นกันที่ส�าคัญ “SocialBot” ได้รวบรวมข้อมูล ส่วนบุคคล ๒๕๐ GB ซึง่ ๓๕% เป็นจ�านวนจากทัง้ หมด ของข้อมูลที่บ่งบอกความเป็นตัวตน (PII) อย่างเช่น ข้อมูลทางการแพทย์ หรือข้อมูลบัตรเครดิตพบในเพจ ของเพื่อน และ ๒๔% เป็นจ�านวนจากเครือข่าย


ข่าวทหารอากาศ

ของเพือ่ นทีเ่ ป็นเพือ่ น จึงกล่าวได้วา่ สิง่ เหล่านีเ้ หลือเชือ่ ส่งผลต่อการยอมรับของผู้ใช้บนสื่อสังคมออนไลน์ ตัวอย่างข้างบนชีใ้ ห้เห็นว่า คุณไม่ควรคลิกลิงก์ทน่ี า่ สงสัย และไม่ควรยอมรับค�าขอเป็นเพือ่ นจากคนทีค่ ณ ุ ไม่รจู้ กั ปัจจุบันมีแฮกเกอร์ที่ก�าลังท�าทุกวิธีเพื่อก้าวผ่าน แนวป้องกันของเรา อย่างไรก็ตามเรานั้นต้องมีความ รับผิดชอบทีม่ ากขึน้ ด้วยการป้องกันทีด่ ซี งึ่ เริม่ ได้จาก ตัวของเราเอง ในมุมมองการตระหนักถึงความไม่รเู้ ท่าทัน ของตัวเองนั้น ถือเป็นขั้นตอนแรกของการลดโอกาส ในการถูกเจาะข้อมูล คุณสามารถท�าอะไรเพื่อให้ตัวเองปลอดภัย ด้วยการเกิดขึ้นในเวลาที่ใกล้เคียงกันของอินเทอร์เน็ต และอุปกรณ์พกพาที่เราใช้กันในทุกที่ที่เราไปอย่าง ตลอดเวลา ข้อมูลจึงมีอยูอ่ ย่างกว้างขวางและมีมากกว่า ในอดีต โดยเฉพาะด้านการตลาด (Marketing) ดังนัน้ สิ่งนี้จึงท�าให้แฮกเกอร์นั้นมีช่องทางในการเข้าถึง ข้อมูลที่มากขึ้น แม้แต่การใช้เครือข่ายที่ไม่ปลอดภัย อย่างในร้านกาแฟก็อาจท�าให้คุณเปิดตัวที่กว้างขึ้น ต่อภัยคุกคามทางไซเบอร์ สิ่งนี้ถูกกล่าวเป็นสิ่งส�าคัญ ที่ ท� า ให้ เ รานั้ น ได้ เ ข้ า ใจว่ า มี ห ลายวิ ธี ที่ แ ฮกเกอร์ สามารถบุกรุกพืน้ ทีด่ จิ ทิ ลั ของเราได้ ประกอบกับผูใ้ ช้ อินเทอร์เน็ตได้ใช้มาตรการรักษาความปลอดภัย ขั้นพื้นฐานทางไซเบอร์อย่างซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัส และไฟร์วอลล์มาเป็นเวลานาน อย่างไรก็ตามเมือ่ ยุคของ สื่อสังคมออนไลน์มาถึงการใช้มาตรการรักษาความ ปลอดภัยนั้น คงต้องมีอะไรที่ดีกว่า ที่ส�าคัญคุณต้อง

???

85


86

ตัง้ ค่ามาตรการรักษาความปลอดภัยส�าหรับแต่ละแบบ ของสื่อสังคมออนไลน์ที่คุณใช้ เพื่อป้องกันการแพร่ กระจายมัลแวร์ และการขโมยข้อมูลส่วนบุคคล ด้วยสิ่งที่มีทั้งหมดบนบัญชีเครือข่ายสังคมออนไลน์ มันถึงเวลาที่คุณควรน�าการตรวจสอบสิทธิ์การเข้าถึง แบบสองขัน้ ตอนมาใช้ (Two-Factor Authentication: 2FA) อย่างบน Facebook ได้กา� หนดต้องพิสจู น์ตวั ตน โดยใช้ทั้งรหัสผ่านและปัจจัยภายนอก อย่างข้อความ (SMS) ที่ ส ่ ง ไปยั ง สมาร์ ท โฟนของคุ ณ อั น ถื อ เป็ น มาตรการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ เหมือนเป็นประตู ชั้นที่สองของการเข้าถึงบัญชี แม้คนอื่นจะมีชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่านของคุณก็คงไม่สามารถที่จะเข้าใช้บัญชี ของคุ ณ ได้ ณ ปั จ จุ บั น เกื อ บทุ ก เครื อ ข่ า ยสั ง คม ออนไลน์ที่อยู่ในระดับแนวหน้า มีวิธีให้คุณได้ตั้งค่า ดังกล่าว อีกสิ่งหนึ่งที่ส�าคัญก็คือ คุณจะต้องปรับเพจ บนสื่อสังคมออนไลน์ ถ้าคุณต้องการน�าไปใช้ในการ สมัครงาน ซึง่ ในการท�าประวัตยิ อ่ บนสือ่ สังคมออนไลน์ ของคุณให้สมบูรณ์และดูเป็นมืออาชีพนั้น จะต้องมี การเชือ่ มโยงไปยังเว็บไซต์ของคุณ และในสิง่ ทีค่ ณ ุ ชอบ ในมุมมอง อย่าปล่อยให้ที่อยู่อีเมลหรือหมายเลข โทรศัพท์ของคุณสามารถเข้าถึงได้โดยบุคคลทั่วไป เพราะสิง่ เหล่านีส้ ามารถใช้ในการรับข้อมูลทางการเงิน ของคุณได้ นอกจากนี้อีเมลและหมายเลขโทรศัพท์ ยังสามารถเข้าถึงได้ โดยนักหลอกลวง (Scammers) ที่วางแผนจะติดต่อเพื่อหลอกให้คุณได้เปิดเผยและ มอบข้อมูลที่บ่งบอกความเป็นตัวตนให้ (Personally Identifiable Information: PII) ข้อคิดที่ฝากไว้ ปัจจุบันสื่อสังคมออนไลน์ ได้กลายเป็นแหล่ง รวมตัวของการเจาะข้อมูล (Hacking) ตอนนี้เรารู้ว่า ภัยคุกคามมีอยูแ่ ละเกิดขึน้ ได้อย่างไร เราสามารถเริม่ การป้องกันตัวเองได้ การคลิกลิงก์ที่น่าสงสัยและ เพิม่ เพือ่ นทีเ่ ราไม่รจู้ กั ถือเป็นสิง่ ทีอ่ นั ตรายอันรวมถึงข้อมูล ที่เรามักจะทิ้งไว้ในที่เปิดเผย ก็อาจเป็นอันตรายได้ เช่นกัน ทีส่ า� คัญความปลอดภัยจะต้องเริม่ ต้นด้วยการ ตระหนักรูแ้ ละสามารถพัฒนาได้ดว้ ยความระมัดระวัง เท่านั้น ซึ่งข้อดีของการใช้เครื่องมือแบบใหม่อย่าง “การยืนยันแบบสองปัจจัย (2FA)” จะท�าให้แฮกเกอร์ นั้นเข้าถึงบัญชีของผู้ใช้ได้ยากมากขึ้น


ข่าวทหารอากาศ

ขอบฟ้าคุณธรรม รู้จักพอ ซื่ อตรง รับผิดชอบ คิดบวก .. มองไปข้างหน้า .. แก้ไขที่ตัวเรา

87

โดย 1261

... อยา่ ท�าคนดีให้หมองมัว อยา่ ปลอ่ ยคนชัว่ ให้ลอยนวล ...

เป็นคนมองเห็นสิ่งต่าง ๆ หลายมุม ...

ผู ้ เ ขี ย นไปออกก� ำ ลั ง กำยที่ ส วนสุ ข ภำพ ทอ. ด้ำนหลังโรงพยำบำลภูมิพลอดุลยเดช อยู่เป็นประจ�ำ ช่วงเวลำหนึง่ มีกำรขุดลอกแหล่งน�ำ้ ทัง้ หมด โดยมีรถเข้ำ มำขนดินออกไปด้ำนข้ำงโรงประปำของโรงพยำบำลฯ ทำงเดินออกก�ำลังกำยจึงเลอะเทอะมำก ผู้เขียนก็หลบ มำทำงด้ำนสโมสรนำยทหำรประทวน ปรำกฏว่ำสะดวก สบำยอยู่พักเดียว มีกำรซ่อมสะพำนทำงด้ำนนี้ด้วยแต่ ก็ไม่เกะกะนัก ผู้เขียนเดินผ่ำนหลำย ๆ วันก็เลยหยุด อ่ำนป้ำยที่เขำชี้แจงจึงรู้ว่ำ กรมสวัสดิกำรทหำรอำกำศ เป็นผู้ดูแลสวนสุขภำพนี้เขำเป็นผู้ริเริ่มและให้ กรมช่ำง โยธำทหำรอำกำศ เป็นผู้จ้ำงด�ำเนินกำร ใช้เวลำสร้ำง ๔ เดือน จะแล้วเสร็จ พอรูเ้ วลำว่ำสะพำน จะเสร็จเมือ่ ไร จึงอยำกจะรูว้ ำ่ แล้วกำรขุดลอกแหล่งน�ำ้ จะเสร็จเมือ่ ไร เช่นกัน ผู้เขียนจึงเดินไปดูป้ำยของโครงกำรก่อสร้ำงฯ ซึ่งระบุว่ำ กรมแพทย์ทหำรอำกำศเป็นหน่วยว่ำจ้ำงขุด ลอกแหล่งน�้ำบ่อบ�ำบัดน�้ำเสียนี้ จะแล้วเสร็จในเวลำ ๓ เดือน ก็คงจะเสร็จใกล้ ๆ กัน แต่ผู้เขียนติดใจตรงชื่อ

โครงกำรของ ทัง้ สองโครงกำรนี้ ชือ่ หนึง่ คือ สวนสุขภำพ ทอ. อีกชื่อหนึ่งคือ บ่อบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยำบำลภูมิพล อดุลยเดช มองไปมองมำแล้วก็ที่เดียวกัน ในทำงกำร บริหำรนั้นเข้ำใจได้ เพรำะหน่วยที่รับผิดชอบต่ำงกัน และวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ำรใช้ ง ำนก็ ต ่ ำ งกั น แม้ จ ะเป็ น ที่ เดียวกันแต่มันมีควำมรู้สึกที่ต่ำงกันมำกส�ำหรับผู้มำใช้ บริกำร ถ้ำมีใครมำชวนท่ำนไปออกก�ำลังกำยทีบ่ อ่ บ�ำบัด น�้ำเสียกับไปออกก�ำลังกำยที่สวนสุขภำพ ท่ำนจะเลือก อย่ำงไหน ผูเ้ ขียนนัน้ ชอบนัง่ หำยใจลึก ๆ ตรงริมสระน�ำ้ เพรำะอำกำศสดชื่นดี พอรู้ว่ำมันคือบ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย เท่ำนั้นแหละ หำยใจติดขัดขึ้นมำเลย เพรำะเคยคิดอยู่ เสมอว่ ำ มั น คื อ สวนสุ ข ภำพ จะว่ ำ ไปชื่ อ นั้ น ก็ ส� ำ คั ญ เหมือนกัน แต่ถ้ำมองอีกมุมหนึ่ง สถำนที่นี้เขำก็อยู่และ เป็นของเขำอย่ำงนี้ มันขึน้ อยูก่ บั เรำคนมองมำกกว่ำ ว่ำ จะมองว่ำเขำเป็นอะไร เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งส�ำคัญมำก อย่ำง น้อยสถำนทีน่ กี้ ม็ องได้สองอย่ำงดังได้กล่ำวมำ แต่จริง ๆ แล้วมันยังมีมมุ ทีส่ ำม ทีท่ ำ่ นผูอ้ ำ่ นอำจเกิดไม่ทนั หรือลืม ไปแล้ว ตรงนีเ้ คยเป็นบ้ำนพักส�ำหรับนำย ทหำรอำกำศ ชัน้ ยศเรืออำกำศตรีถงึ นำวำ อำกำศโท สมัยอยูโ่ รงเรียนนำยเรืออำกำศ วั น เสำร์ อ ำทิ ต ย์ ผู ้ เ ขี ย นก็ ม ำนอนบ้ ำ น เพือ่ นทีอ่ ยูต่ รงนีแ้ หละ วิง่ เล่น ถีบจักรยำน หำของกินอยูแ่ ถวนี้ มำออกก�ำลังกำยก็ยงั นึกถึงบ่อย ๆ กำรมองสิ่งใดสิ่งหนึ่งใน หลำย ๆ มุ ม มองนั้ น ส� ำ คั ญ มำก เป็ น คุณธรรมที่ ทุกท่ำนควรมีติดไว้ในใจ จะ ได้ไม่เป็นคนด่วนสรุป


88

มุมมอง คืออะไร เราทุกคนคงเคยใช้วงเวียนท�า วงกลมมาแล้ว เมื่อปักจุดศูนย์กลางได้ ก็วาดเส้นรอบ วงได้ ก ลม ถ้ า เราเดิ น รอบเส้ น รอบวงแล้ ว มองไปที่ จุดศูนย์กลาง ก็จะเกิดมุมทีเ่ ราอยู่กบั จุดเริม่ ต้นเดินเป็น มุมเปลี่ยนไป เรื่อย ๆ เดินครบรอบ ก็จะได้สามร้อยหก สิบองศาพอดี แล้วเราจะได้อะไร ? ถ้ามันเป็นจุดก็คงไม่ ได้อะไร แต่ถ้าเอาสิ่งของ เช่น รูปปั้นช้างสักตัวหนึ่ง ไปตั้ ง คราวนี้ เ วลาเราเดิ น ไปก็ จ ะเห็ น ด้ า นหั ว บ้ า ง ด้ า นข้ า งบ้ า ง ด้ า นหลั ง บ้ า ง ด้ า นซ้ า ยบ้ า งขวาบ้ า ง เดินครบรอบก็เห็นทั้งตัว คราวนี้เอาใหม่แทนที่เราจะ เดินรอบวงกลม เราให้คน ๔ คนมายืนคนละข้างของ วงกลม แล้วมองไปที่ช้าง แล้วให้ทั้ง ๔ คนมาบอก ลักษณะของช้างทีละคน หากเขาไม่รู้จักช้างมาก่อน เขาต้องบอกลักษณะของช้างแตกต่างกันไป คนที่ยืน ด้านหัวคงเล่าถึงงาช้าง งวงช้างได้ถูกต้อง แต่เขาไม่เห็น ด้านหลังมันเขาจึงต้องจินตนาการเอาเอง และแน่นอน เขาคงจะเดาว่าตัวใหญ่ขนาดนีห้ างต้องเป็นพวงสวยงาม เหมือนหางม้าแน่นอน ส่วนคนที่อยู่ด้านหางก็ไม่เห็น หัวมันเขาก็ตอ้ งจินตนาการเอาเอง เขาอาจจะเดาว่า หาง มันคล้าย ๆ หางหมู หัวมันก็น่าจะคล้าย ๆ หัวหมูก็ได้ ท่านผู้อ่านคงได้ยินเรื่องตาบอดคล�าช้างมาแล้วทุกคน

ลักษณะก็เช่นเดียวกัน หากเรายืนอยูท่ มี่ มุ ใดมุมหนึง่ ของ เหตุการณ์เราไม่ได้เห็นทัง้ หมด เราจึงต้องใช้จนิ ตนาการ ของเราเข้าช่วย ปัญหามันอยู่ตรงที่ว่า จินตนาการของ แต่ละคนไม่เหมือนกัน ช้างจึงอาจกลายเป็นหมูไปได้ ค�าว่ามุมมอง ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องอะไรกับมุมเลยล่ะ แต่มุมมองคือ ข้อคิดเห็น แง่คิด ทัศนคติ ที่บุคคลมีต่อ สิ่งต่าง ๆ ที่แตกต่างกันออกไป ตามจินตนาการและ ประสบการณ์ของแต่ละคน มีนทิ านทีแ่ สดงให้เห็นถึงมุม มองที่ต่าง ๆ กันอยู่เรื่องหนึ่งมีครอบครัวหนึ่ง พ่อ แม่ ลูกวัย แปดขวบ ตกลงกันว่าจะเดินทางไปเยีย่ ม ตา ยาย ของลูกที่ต ่างจังหวัด แต่บ้านตา ยาย อยู่ใ นชนบท นอกเมือง ต้องไปต่อรถระหว่างทาง ซึ่งมีจุดที่จะต่อรถ ได้อยู่สองจุด เมื่อหารือกันแล้วก็ตกลงกันว่า จะลงต่อ รถที่จุดแรกเลย ซึ่งทุกอย่างก็เป็นไปตามแผนที่วางไว้ เช้าวันรุ่งขึ้นที่บ้านตา ยาย ขณะที่ทานอาหารเช้าอยู่ ก็มีข่าวในทีวีว่า รถโดยสารคันที่ครอบครัวนี้นั่งมานั้น เมื่ อ วิ่ ง ไปได้ อี ก ๓ กิ โ ลเมตร ผ่ า นช่ อ งเขาแคบ ๆ ปรากฏว่า มีหินถล่มลงมาทับรถโดยสาร ทุกคนตายหมด ครอบครัวนี้ตกใจมาก แม่ : เราโชคดีสุด ๆ เลยเนอะที่ลงรถก่อนไม่กี่ นาทีเอง


ข่าวทหารอากาศ

พ่อ : ใช่เลยเราเลยต่อรถมาถึงบ้าน ตา ยาย ได้ก่อนค�่า ตา : มันรถคันเดียวกันหรือเปล่า ยาย : คนขับรถเนีย่ ลูกชายเพือ่ นยายเอง แม่เขาคง เสียใจมาก ลูก : เราไม่ควรลงรถเลยน่าจะนัง่ รถโดยสารไปด้วย แม่ : เราก็ตายกันหมดสิลูก ลูก : ไม่ตายหรอกครับและก็จะไม่มีคนตายด้วย เพราะถ้ารถไม่จอดให้เราลง ก็จะไม่เสียเวลา มันจะวิ่ง ผ่านช่องเขาไปก่อนทีห่ นิ จะถล่มลงมา มันก็ไม่ทบั รถนะ ครับแม่

๑. มุมมองนั้นไม่มีถูกไม่มีผิด มีแต่เหมาะสมกับ สถานการณ์หรือความจ�าเป็นขณะนัน้ หรือไม่ เพราะคน มองเขายืนอยู่ในจุดของเขา ด้วยความคิดความเข้าใจ ของเขาแบบนัน้ เช่นตัวอย่างความคิดของผูเ้ ป็นพ่อทีฟ่ งั แล้วดูไม่เข้ากับข่าวเลยแต่ไปเข้ากับความเห็นของแม่ ที่ท�าให้มีเวลาต่อรถไปบ้านตายายได้ทันกาล ๒. ทุกคนควรเปิดใจเพือ่ รับฟังมุมมองของคนอืน่ ๆ อย่างบริสุทธิ์ใจ อย่ามีอคติใด ๆ อยู่เบื้องหลัง อย่างที่ แม่ ถ ามลู ก ว่ า เราก็ ต ายกั น หมดสิ เพราะคิ ด ไปเอง และตัดสินไปเรียบร้อย น่าจะถามว่าเพราะอะไรหรือ ก็จะได้ค�าตอบที่ต้องการ ๓. อาจต้องอาศัยหลาย ๆ มุมมองที่เปิดกว้างและไม่มีผล ประโยชน์แอบแฝงประกอบกัน เพื่ อ หาข้ อ สรุ ป ที่ เ หมาะสม เหมือนค�าตอบของเด็กน้อย ๔. มุ ม ม อ ง ที่ ผู ้ เ ส น อ ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจหรือมอง เห็ น คนอื่ น อาจจะเห็ น ไปได้ หลายมุมมอง หรือคนอื่นอาจ จะเห็นในมุมที่ผู้เสนอไม่เห็น ก็ได้ จะเห็นว่าคุณยายนั้นไป ไกลกว่าคนอื่น ๆ ๕. มุมมองเชิงบวกท�าให้เกิดก�าลังใจมากกว่ามุม มองด้ า นลบ แต่ มุ ม มองด้ า นลบท� า ให้ ก ารตั ด สิ น ใจ รอบคอบกว่ามุมมองเชิงบวก เหมือนค�าถามคุณตา ๖. พยายามอย่าสรุปว่าเราเข้าใจมุมมองของผู้อื่น ดีแล้ว หากเราไม่ได้ไปยืนที่จุดยืนของเขา ตามตัวอย่าง ในนิทานเรื่องนี้ ๗. การประชุมกรรมการ หรือ คณะกรรมการต่าง ๆ ในที่ท�างานของเราคือเวทีของการเสนอมุมมองของ แต่ละคนในปัญหาหนึง่ ๆ เพือ่ หาข้อสรุปทีด่ ที สี่ ดุ ในการ แก้ ป ั ญ หานั้ น จะเห็ น ว่ า การประชุ ม ต้ อ งมี ว าระ การประชุม เพือ่ ก�าหนดหัวข้อทีส่ มาชิกทีเ่ ข้าประชุมจะ ได้เสนอมุมมองของเขา ตรงนี้ส�าคัญมาก ถ้าสมาชิกที่ เข้าประชุมไม่เสนอมุมมองในสายวิทยาการของตนใน

รุ่นบุกเบิก

จะเห็นว่าข่าวเดียวกัน เรื่องราวเดียวกัน แต่ละคน คิดไม่เหมือนกัน หรือมีมุมมองไม่เหมือนกัน แม่นั้นมี สัญชาตญาณแม่อยู่เต็มตัว เป็นห่วงทุก ๆ คน จึงดีใจที่ ทุกคนปลอดภัย พ่อนั้นเป็นหัวหน้าครอบครัว เป็นผู้น�า รั บ ผิ ด ชอบการเดิ น ทางไปให้ ถึ ง จุ ด หมายปลายทาง จึงพอใจที่มาถึงบ้านตายายได้ตามที่วางแผนไว้ ตานั้น มีอายุมากแล้วรอบคอบไม่ตกใจอะไร จึงมีสติดีกว่าใคร ส่วนยายนั่นรู้จักคนเยอะก็ห่วงเพื่อนเก่า แต่เด็กน้อย ไม่มีอะไรต้องห่วงกังวล จิตใจบริสุทธิ์ จึงคิดหาวิธีว่าท�า อย่างไรทุกคนจึงจะปลอดภัย และเขาก็คิดออกได้ง่าย ๆ จะพบว่ามุมมองของแต่ละคนนัน้ ยากเหลือเกินทีใ่ ครจะ เดาใจใครได้ถกู ผูเ้ ขียนจึงขอยกประเด็น ทีน่ า่ สนใจของ เรื่องนี้มาสนทนากันพอสังเขป ดังนี้

89


90

วาระนั้น ๆ แสดงว่า เขาไม่ได้อา่ นวาระการ ประชุมมาก่อน หรือ เขาไม่ รู ้ เ รื่ อ งเลยว่ า ปัญหานี้เกี่ยวข้องกับ เขาตรงไหน จะเป็ น ความเศร้ า มากเมื่ อ ประธานการประชุ ม ถามว่าใครมีความคิด เห็ น อะไรไหม แล้ ว ที่ ประชุ ม เงี ย บ ความ เศร้านี้มีมากพอ ๆ กับ การที่ ป ระธานการ ประชุมสรุปว่า ปัญหา นี้ไม่มีใครมีความเห็น เป็นอย่างอื่นจากที่เลขาฯ สรุปแล้ว ทั้ง ๆ ที่ยังไม่มีใคร แสดงความคิดเห็นสักคน ผูเ้ ขียนเป็นคนทีจ่ ริงจังในเรือ่ ง นี้มาก ทุกการประชุมที่ผู้เขียนเข้าร่วมประชุม ในวาระ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานในหน้าทีข่ องผูเ้ ขียน ผูเ้ ขียนจะเตรียม การมาอย่างดี และผู้เขียนจะพยายามเสนอมุมมองของ ผูเ้ ขียนต่อทีป่ ระชุมเสมอ แม้วฒ ั นธรรมองค์กรของทหาร เราควรจะมองตาประธานก่อนพูด ผู้เขียนก็พยายาม เสนอเพราะมันเป็นหน้าที่ และเมื่อผู้เขียนเป็นประธาน การประชุมผู้เขียนจะพยายามถามผู้รับผิดชอบว่ามีมุม มองอย่างไรในเรื่องนี้ ถ้าไม่มีใครพูดผู้เขียนจะไม่ยอม สรุป แต่ให้ประชุมใหม่ เพราะผูเ้ ข้าร่วมประชุมไม่ทา� การ

บ้านมา เพราะเป็นไป ไม่ได้ที่ผู้มีหน้าที่รับผิด ชอบจะไม่ มี มุ ม มอง อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง ใน ปัญหานั้น ๆ สั ง คมที่ เ จริ ญ นั้ น มั ก มี ก ารระดมสมอง เพื่ อ รั บ ฟั ง มุ ม มองที่ แตกต่าง ของผูค้ นทีย่ นื อยู ่ ใ นจุ ด ต่ า ง ๆ ของ สังคม เพื่อหาข้อสรุปที่ ดีที่สุด ปัญหาที่มีก็คือ สังคมของเรา แต่ละคน สรุ ป ให้ ตั ว เองว่ า มุ ม มองของตนถูกต้องแล้ว ไม่เปิดใจรับฟังมุมมองของคนอื่น จึงท�าให้เกิดอารมณ์ ตามมาได้ ทีด่ นู า่ อันตรายส�าหรับข้าราชการของเรา ตรง ที่เรามี ยศ มีต�าแหน่งหน้าที่พ่วงเข้าไปอีก หากไม่มีสติ ดีพอก็จะท�าให้การยึดมั่นถือมั่นและอัตตาตัวตนมันโต ใหญ่ตามไปด้วย ขอจงระลึกอยู่เสมอว่าสิ่งต่าง ๆ นั้น เป็นไปตามเหตุปัจจัย มันเป็นไปได้หลายมุมมองเสมอ บางครั้งความคิดของเด็กน้อย ๆ ข้าราชการระดับล่าง ๆ ก็อาจเหมาะสมในการแก้ปญ ั หาได้เช่นกันเพราะเขาไม่มี ผลประโยชน์แอบแฝงอะไร นอกจากประโยชน์ทกี่ องทัพ อากาศจะได้รับ ขอให้ทุก ๆ คนจงเป็นคนที่มีและรับได้ ในหลาย ๆ มุมมอง


ข่าวทหารอากาศ

91

กิจกรรมวิง่ การกุศลเฉลิมพระเกียี รติกษัตริยน์ กั บิน เนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โรงเรียนการบิน จังหวัดนครปฐม


กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาทําความสะอาด เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนทรมหาวชราลงกรณ พระวชรเกลาเจาอยูหัว ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ พิพิธภัณฑ ทอ.และการบินแหงชาติ


กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปลูกตนไม เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนทรมหาวชราลงกรณ พระวชรเกลาเจาอยูหัว ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ พิพิธภัณฑ ทอ.และการบินแหงชาติ


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ 94

พล.อ.พรพิพัฒน์ เบญญศรี ผบ.ทสส.เป็นประธานการประชุมผู้บัญชาการเหล่าทัพ ครั้งที่ ๕ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ โดยมี พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เข้าร่วมประชุม ณ ห้องศรียานนท์ ชั้น ๒ อาคาร ๑ สํานักงานตํารวจแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๘ ก.ค.๖๒

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมสัมมนาการสื่อสารยุทธศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ทอ. ณ หัองบรรยาย บก.ทอ. เมื่อวันที่ ๑๙ ก.ค.๖๒

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานมอบโล่รางวัลชนะเลิศการตรวจสอบและประเมินผลการแข่งขันกองทหารเกียรติยศ และการแข่งขันการแสดงทางทหารประกอบดนตรี “ราชวัลลภเริงระบํา” Hop to the bodies slams ของ ทอ.ประจําปี ๒๕๖๒ ณ ห้องประชุม ทอ. เมื่อวันที่ ๓๐ ก.ค.๖๒


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

95 ขาวทหารอากาศ

พล.อ.อ.ชาญฤทธิ์ พลิกานนท์ รอง ผบ.ทอ.เป็นประธานในพิธเี ปิดกิจกรรมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติกษัตริยน์ กั บิน ณ พิพธิ ภัณฑ์กองทัพอากาศ และการบินแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๒๕ ก.ค.๖๒

พล.อ.อ.ถาวรวัฒน์ จันทนาคม ผช.ผบ.ทอ.พร้อมคณะ ตรวจเยี่ยม ศวอ.ทอ.โดยมี พล.อ.ท.ยุทธชัย วัชรสิงห์ ผอ.ศวอ.ทอ.ให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุม ศวอ.ทอ. เมื่อวันที่ ๒๖ ก.ค.๖๒

พล.อ.อ.มานัต วงษ์วาทย์ เสธ.ทอ.เป็นประธานในการแข่งขันกองทหารเกียรติยศ ประจําปี ๒๕๖๒ โดยมี พล.อ.ท.ภูมิใจ ชัยพันธุ์ ผบ.อย. พร้อมด้วย พล.ร.ต.วิจติ ร ตันประภา รอง จก.กพ.ทหาร และ หน.นขต.ทอ.ร่วมชมการแข่งขันฯ ณ ท่าอากาศยานทหาร บก.ทอ. เมือ่ วันที่ ๑๙ ก.ค.๖๒


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ 96

พล.อ.ท.สุวัฒน์ สุวโรพร จก.สอ.ทอ.เป็นประธานในพิธีปิดการฝึกอบรมโครงการนายทหารชั้นประทวนสายสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ณ ห้องประชุม สอ.๓ เมื่อวันที่ ๒๔ ก.ค.๖๒

พล.อ.ท.นฤพล จักรกลม จก.กพ.ทอ.เป็นประธานในพิธีเปิด-ปิด การเรียกพลเพื่อตรวจสอบของ ทอ.ประจ�าปี ๒๕๖๒ ประเภทนายทหาร สัญญาบัตรกองหนุน จ�านวน ๕๐ คน โดยมีผู้แทนจาก กกส.กห. กพ.ทหาร นรด. กพ.ทร. หน.นขต.สนพ. กพ.ทอ.และ หน.นขต.สปพ.กพ.ทอ. เข้าร่วมพิธีฯ ณ หอประชุมกานตรัตน์ เมื่อวันที่ ๒๓ ก.ค.๖๒

พล.อ.ท.น้อย ภาคเพิ่ม จก.ยศ.ทอ.เป็นประธานในพิธีปิดการศึกษาหลักสูตรครูทหารชั้นประทวน รุ่นที่ ๔๐ ณ ห้องกิจกรรม รร.คท.ยศ.ทอ. เมื่อวันที่ ๒๕ ก.ค.๖๒


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

97 ขาวทหารอากาศ

พล.อ.ต.ประสิทธิ์ ยิ้มเจริญ จก.สก.ทอ./ผู้แทน ทอ.ลงนามบันทึกความเข้าใจ การจัดตั้งสถานีบริการน�้ามันเชื้อเพลิงเพื่อสวัสดิการ ระหว่าง ทอ. กับ บริษัท ปตท.น�้ามันและการค้าปลีก จ�ากัด (มหาชน) (PTTOR) พร้อมด้วย หน.นขต.ทอ.และผู้แทน คณอก.สถานีบริการน�้ามันเชื้อเพลิง เพื่อสวัสดิการ ทอ. ณ ห้องประชุม สก.ทอ. เมื่อวันที่ ๒๖ ก.ค.๖๒

พล.อ.ต.ศิริพงษ์ ศรีเกิน ผอ.สนภ.ทอ.เป็นประธานในพิธีเปิดการศึกษาหลักสูตรนายทหารนิรภัยภาคพื้น รุ่นที่ ๓๘ ณ ห้องประชุมรณนภากาศ สนภ.ทอ.(ชั้น ๔) เมื่อวันที่ ๑๘ ก.ค.๖๒

พล.อ.ต.ธรรมนาย สุขแสง ผบ.ดม.เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการฝึกอบรมเทคนิคการต่อสู้ป้องกันตัว ส�าหรับข้าราชการในสายวิทยาการ ทหารสารวัตร ณ กวก.สน.ผบ.ดม. เมื่อวันที่ ๒๓ ก.ค.๖๒


98

Emergency and Crisis Management Cycle ร.อ.หญิง วิสวัน เปล่งวิทยา จากบทความตอนที่แล้ว ซึ่งผู้เขียนได้เกริ่นไว้ เรื่องการอบรมเกี่ยวกับการจัดการในภาวะฉุกเฉิน ฉบับนี้มาติดตามตอน Emergency and Crisis Management Cycle ท�าไมสาธารณภัยในรูปแบบต่าง ๆ ถึงเป็น Everybody’s Business เราลองนึกดูกันในการเกิด ภัยพิบัติต่างๆแต่ละครั้งมักตามมาด้วยผลกระทบ เป็นวงกว้าง ทุกคนและทุกภาคส่วนเร่งเข้าช่วยดูแล ครอบครัวกีค่ รอบครัวทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ เช่น น�า้ ท่วมใหญ่ นอกจากผู้คนทั่วไปที่ได้รับผลกระทบแล้ว คนป่วย ในโรงพยาบาลต้องการการผ่าตัดฉุกเฉินแต่ไฟดับ รถพยาบาลออกไปรับผูป้ ว่ ยฉุกเฉินไม่ได้ หรือแม้กระทัง่ การเกิดอุบัติเหตุใหญ่แต่ละครั้งเช่น กรณีอากาศยาน เกิดอุบตั เิ หตุ ผูโ้ ดยสารบนเครือ่ งล�านัน้ มาจากกีป่ ระเทศ นั่นหมายถึงรัฐบาลของประเทศเหล่านั้นก็จะเข้ามา มีสว่ นเกีย่ วข้องกับการจัดการในภาวะฉุกเฉินเช่นนีด้ ว้ ย จะเห็นได้ว่าการจัดการในภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ แค่การ ประสานงานก็เรื่องใหญ่แล้ว ผนวกกับข้อมูลสถิติ คาดการณ์ว่าแนวโน้มการเกิดสาธารณภัยของโลก จะทวีความรุนแรงมากขึน้ และอาจท�าให้เกิดความเสียหาย มากขึ้นตามไปด้วย ดังนัน้ แล้วประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก จึงได้หนั หน้าเข้ามาคุยกันและได้แนวทางหลัก ๆ ร่วมกัน ในการท�างานในภาวะดังกล่าวและให้ความส�าคัญ ในการด�าเนินการลดความเสี่ยงและลดผลกระทบ จากสาธารณภัย โดยมีกรอบด�าเนินการหลัก คือ The Sendai Framework (UN) for Disaster Risk Reduction 2015-2030 หรือ กรอบการด�าเนินงานเซนได

เพือ่ การลดความเสีย่ งจากภัยพิบตั ิ พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๗๓ เพื่อลดความเสี่ยง ลดการสูญเสียอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีเป้าหมายหลัก ๆ คือ ป้องกันไม่ให้เกิดความเสีย่ งใหม่ พร้อมทั้งลดความเสี่ยงที่มีอยู่เดิม ตามมาตรการ ทางเศรษฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม การศึกษา สภาพแวดล้อมเทคโนโลยี การเมือง และ มาตรการเชิงสถาบัน (Institutional) ทีม่ กี ารบูรณาการ และลดความเหลือ่ มล�า้ ในการป้องกัน รวมถึงการท�าให้ ความล่อแหลมและความเปราะบางต่อสาธารณภัย ลดลงด้วย ตลอดจนการเพิม่ ให้มกี ารเตรียมความพร้อม มากขึน้ เพือ่ การเผชิญเหตุและฟืน้ ฟูอนั น�าไปสูค่ วามสามารถ ทีจ่ ะรับมือและฟืน้ คืนกลับ (Resilience) ได้ในระยะเวลา ที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


ข่าวทหารอากาศ

กรอบการจัดการในภาวะฉุกเฉินที่ใช้กันทั่วโลก คือ Prevention and Mitigation, Preparedness, Response, Recovery ซึ่งการจัดการต่าง ๆ เหล่านี้ ทุกคนสามารถปรับและน�ามาปฏิบัติได้ • Prevention and Mitigation การป้องกัน และบรรเทา เช่น การสร้างมาตรการ ระเบียบป้องกัน ต่าง ๆ ก่อน เช่น การสร้างตึกรามบ้านช่องต่าง ๆ ควรมี มาตรการรองรับที่ชัดเจน ทั้งเรื่องโครงสร้างและ ความปลอดภัยต้องได้มาตรฐาน การสร้างถนน ไม่ควร กีดขวางทางน�า้ การแบ่งโซนในพืน้ ทีเ่ ขตเมืองให้ชดั เจน หรือการวางผังเมืองนั่นเอง แม้กระทั่งเรื่องง่าย ๆ อย่างการรักษาความสะอาดทัง้ ในบ้านเรือนและพืน้ ที่ สาธารณะ และทีส่ า� คัญคือ การให้ความรูเ้ รือ่ งการป้องกัน สาธารณภัยต่าง ๆ หรือกระทัง้ การจัดการในภาวะฉุกเฉิน แก่ผคู้ นทัว่ ไป โดยเริม่ ตัง้ แต่เด็ก ๆ ในโรงเรียน ก็ถอื เป็น มาตรการส�าคัญในช่วงของการป้องกันและบรรเทา • Preparedness การเตรียมการล่วงหน้า เช่น การวางแผนล่วงหน้า การประชาสัมพันธ์ข้อมูล ทีเ่ ป็นประโยชน์ให้ประชาชนได้รบั ทราบ อาทิสถานที่ รวมพลหรือหลักการการปฏิบตั วิ า่ ต้องปฏิบตั ติ วั อย่างไร หากเกิดภัยในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการฝึกซ้อม อย่างสม�่าเสมอด้วย ในระดับที่สูงขึ้นอาจจะมีการดู ในเรื่องของระบบการเตือนภัยการอบรมเจ้าหน้าที่ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือแม้กระทั่งการเตรียมสิ่งของ ไว้ในคลังและการงบประมาณไว้เผื่อกรณีฉุกเฉิน • Response การเผชิญเหตุ ในขั้นนี้ เราควร ด�าเนินการตามมาตรการทีเ่ คยได้ซกั ซ้อมหรือเตรียมการไว้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการค้นหาและกู้ภัย ด้านการอพยพ การจัดการเคลื่อนย้ายซากอาคารต่าง ๆ การขนส่ง ด้านการสื่อสาร การเตือนภัยยามฉุกเฉิน การระดม ทรัพยากรต่าง ๆ ทัง้ สิง่ ของและชุดปฏิบตั กิ ารเฉพาะกิจ ฉุกเฉิน การให้บริการทางการแพทย์ต่าง ๆ รวมถึง การเริม่ การดูแลเรือ่ งสวัสดิการต่าง ๆ ด้วย และทีส่ า� คัญ การรักษาหลักฐานต่าง ๆ เพราะจะมีผลต่อทัง้ ประกัน รวมถึงส�าคัญสุดคือการพิสูจน์ตัวบุคคลกรณีพบเจอ ผู้เสียชีวิต ไว้โอกาสหน้าจะมาเล่าให้ฟังนะคะ • Recovery การฟื้นฟู เมื่อสถานการณ์ฉุกเฉิน ได้เกิดขึ้น การระดมทุน การระดมความช่วยเหลือ เพือ่ ฟืน้ ฟูตา่ ง ๆ ควรเริม่ ต้นตัง้ แต่เหตุการณ์บดั นัน้ เลย โดยท�าตามมาตรการทีไ่ ด้จดั ท�าไว้ตงั้ แต่ขนั้ เตรียมการ

99

ล่วงหน้า ซึ่งใน ๒ ขั้นนี้ คือ ขั้นเผชิญเหตุและฟื้นฟู ปัญหาทีพ่ บบ่อยทีส่ ดุ ได้แก่ ผูน้ า� ทีไ่ ม่ชดั เจน ท�าให้เกิด การทับซ้อนของหน่วยงานต่าง ๆ มากมาย รวมถึง หน่วยงานทีเ่ ข้ามามีสว่ นร่วมในการระงับเหตุตา่ ง ๆ ด้วย เพราะนอกจากหน่วยงานภาครัฐแล้ว ยังมีหน่วยงานอืน่ ๆ หรือ NGO ที่เข้ามาอยู่ร่วมกันอีกมากมาย ฉะนั้นแล้ว การจัดระเบียบ การมีโครงสร้างทีช่ ดั เจน เพือ่ ให้ทกุ หน่วย ท�างานร่วมกันเป็นหนึง่ เดียวนัน้ เป็นเรือ่ งทีส่ า� คัญอย่างมาก ขัน้ ตอนการประเมินหลังเกิดเหตุกค็ อื สิง่ ทีส่ า� คัญไม่แพ้กนั เพราะต้องส�ารวจทัง้ ผลกระทบ และความต้องการต่าง ๆ เพื่อใช้ทั้งการฟื้นฟูและการเตรียมการส�าหรับเหตุ ที่อาจเกิดขึ้นในครั้งต่อไปนอกจากนั้นยังมีทั้งการ จัดการข้อมูล ทีค่ วรเป็นหนึง่ เดียว การฟืน้ ฟูดา้ นเศรษฐกิจ ในพื้นที่อีกด้วย ยังมีข้อมูลที่น่าสนใจอีกมาก โปรดติดตามอ่าน ฉบับต่อไป

ใบระบุหน้าที่ของผู้แทนจากแต่ละหน่วยงาน ที่เข้ามานั่งท�างาน อยู่ในศูนย์ควบคุม ACT Emergency Service Agencies ว่าเมื่อคนเหล่านั้นเข้ามาแล้ว เขาต้องปฏิบัติหน้าที่ใดบ้าง



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.