หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน ตุลาคม 2562

Page 1

ปที่ ๗๙ ฉบับที่ ๑๐ เดือนตุลาคม ๒๕๖๒

พล.อ.อ.มานัต วงษ วาทย ผู บัญชาการทหารอากาศ ขาวทหารอากาศ

AIR

http://www.airforcemagazine.rtaf.mi.th

FORCE

ปที่ ๗๙ ฉบับที่ ๑๐ เดือนตุลาคม ๒๕๖๒


2

บทอาเศียรวาท สมเด็จพระปยมหาราช ๒๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ โอ้องค์พระปยมหาราช ทรงยิ่งด้วยพระบุญญาบารมี พระบารมีเกริกไกรไปทั่วหล้า ทรงเปี่ยมล้นพระเมตตาประชาไทย ทรงวางรากฝังลึกผนึกสยาม เลิกทาสเลิศวิไลในสากล ตั้งกระทรวงตั้งกรมสมประสิทธิ์ การศึกษาทรงวางหลักประจักษ์พร พระวิเทโศบายหมายประโยชน์ ประพาสต้นผลงานติดตามมา ปโยรสในพระองค์ทรงคุณค่า แม้แต่กองทัพอากาศชาติเมธี ต่างเชื่อว่าพระสยามเทวาธิราช ศักดิ์สิทธิ์ฤทธิรงค์มั่นคงจริง ยี่สิบสามตุลาคมสมสมัย อัญเชิญคุณพระไตรรัตนา

เรืองอ�านาจเรืองฤทธิ์ประสิทธิ์ศรี ทรงศักดิ์ศรีแห่งชาติพิลาสชัย พระปรีชาเกินค�าน�าขานไข พระวิสัยทัศน์ยิ่งมิ่งมงคล งดงามพระทศธรรมล�้ากุศล สุดวิมลการศาสนาสถาพร แสนวิจิตรการรถไฟมิถ่ายถอน เป็นขั้นตอนสมประสิทธิ์วิทยา เกิดผลโภชแก่ชาติศาสนา ชาติก้าวหน้ารุ่งเรืองเฟื่องทวี พระคุณพาชาติสยามงามสดศรี บังเกิดเพราะพระบารมีที่แท้จริง คือพระองค์แม้นมาตย์คุณใหญ่ยิ่ง คุณใหญ่ยิ่งสมบรมมหาราชา ประชาไทยต่างจงรักเป็นนักหนา เทพทั่วฟ้าเชิดชูองค์จงนิรันดร์

ปวงข้าพระพุทธเจ้าขอน้อมส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ทหารกองประจ�าการ และครอบครัวกองทัพอากาศ น.อ.เกษม พงษ์พันธ์ ประพันธ์


ข าวทหารอากาศ

3

๒๓ หลักการทรงงาน : รากแหงการพัฒนาอยางยั่งยืน

ลวัตพัฒนาการกระทั่งปัจจุบันตามยุทธศาสตร์ หลักของประเทศไทยคือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ซึง่ ก�าหนดเป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) โดยวิสัยทัศน์ของ บทความนี้ประสงค์จะฉายภาพความส�าเร็จของการ พัฒนาที่ยั่งยืนจากการเชื่อมโยงสู่ความเป็นสากล ตามหลักการจัดอันดับความก้าวหน้าในเป้าหมาย การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนขององค์การสหประชาชาติ (SDGs) ด้ ว ยรากแห่ ง การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น คื อ หลั ก การ ทรงงาน ๒๓ ประการ ของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

พล.อ.ต.หญิง ดร.จิราภรณ ศรีศิล

รัชกาลที่ ๙ ซึ่งเป็นหลักการที่พระองค์ท่านทรงเคย ปฏิบัติเป็นประจ�า อีกทั้งยังสืบเนื่องพระราชปณิธาน มาจนปัจจุบันในรัชกาลที่ ๑๐ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การด�าเนินโครงการในพระราชด�าริตา่ ง ๆ ทัง้ นี้ ผูเ้ ขียน จะขอน้อมน�ามาเพือ่ วิเคราะห์แนวทางให้ทา่ นได้นา� ไป ประยุกต์ใช้ในการบริหารงานให้ประสบความส�าเร็จ ตามบริบทของแต่ละท่าน เหนื อ สิ่ ง อื่ น ใดขอน้ อ มน� า หลั ก การทรงงาน ๒๓ ประการ ที่ผู้เขียนภูมิใจกลั่นกรองสรุปน�าเสนอ ท่านด้วย หลักการทรงงานข้อที ่ ๒ “ระเบิดจากข้างใน” และ ข้อที ่ ๙ “ท�าให้งา่ ย” ด้วยกลอนสุภาพทีเ่ ราชาวไทย คุน้ เคยดังตารางต่อไปนี้


4

จากการวิเคราะห์หลักการทรงงาน รากแห่งการ พัฒนาอย่างยั่งยืนดังได้กล่าวแล้ว สามารถพิจารณา ความสัมพันธ์ตามหลักการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนความว่า เป็นการพัฒนาโดยใช้ประโยชน์จากทรัพยากรต่าง ๆ พร้อมร่วมสร้างจิตส�านึก งดใช้ทรัพยากรอย่างสิน้ เปลือง เน้นการใช้ทรัพยากรในเชิงอนุรักษ์และพัฒนาให้ เต็มศักยภาพอยู่ตลอดเวลาเพื่อความคุ้มค่าสถาพร ให้มากที่สุด ซึ่งนิยามเหล่านี้สังเคราะห์เข้าได้กับ หลักการทรงงานข้อที่ ๕.ภูมิสังคม ๘.ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ๑๐.การมีส่วนร่วม ๑๑.ประโยชน์ ส ่ ว นรวม ๑๓.ทรงใช้ ธ รรมชาติ ช่วยธรรมชาติ และ ๑๕.ปลูกปาในใจคน

ส�าหรับคุณลักษณะของ “การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ต้ อ งมี ลั ก ษณะเป็ น การบู ร ณาการ (Integrated) โดยท�าให้เกิดเป็นองค์รวม (Holistic) อย่างมีดลุ ยภาพ (Balance) หรื อ กล่ า วอี ก นั ย หนึ่ ง คื อ การท� า ให้ กิ จ กรรมของมนุ ษ ย์ ส อดคล้ อ งกั บ กฎเกณฑ์ ข อง ธรรมชาติ ” อี ก ทั้ ง บริ บ ทของการพั ฒ นาประเทศ ประสิ ท ธิ ผ ลของการพั ฒ นาโครงการตามแนว พระราชด� า ริ ไ ด้ ก� า หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องทุ ก ๆ โครงการ ล้วนแล้วแต่มีเจตนารมณ์เพื่อการแก้ไข ปัญหาของประชาชนชาวไทย ให้อยู่ดี กินดี ซึ่งมีหลัก ส�าคัญคือการก่อให้เกิดความพอเพียง เพื่อประโยชน์ คื อ ความสุ ข ที่ เ กิ ด จากการปฏิ บั ติ ด ้ ว ยการยึ ด หลั ก


ข าวทหารอากาศ

พอเพียง กินอยู่อย่างพอดี สร้างพื้นฐานครอบครัว ให้มั่นคง แล้วขยายสู่ชุมชนให้เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ โดยมุ ่ ง เน้ น การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ภายในชุ ม ชน ใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ที่ มี อ ยู ่ เ พื่ อ ประโยชน์ ต่อส่วนรวม ทั้งนี้ เมื่อพิเคราะห์นัยยะนี้แล้วสามารถ สังเคราะห์เข้าได้กับ หลักการทรงงานข้อที่ ๑.ศึกษา ข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น ระบบ ๓.แก้ ป  ญ หาที่ จุ ด เล็ ก ๔.ท� า ตามล� า ดั บ ขั้ น ๖.องค์ ร วม ๗.ไม่ ติ ด ต� า รา ๑๒.บริการรวมทีจ่ ดุ เดียว ๑๔.ใช้อธรรมปราบอธรรม ๑๖.ขาดทุนคือก�าไร ๑๗.การพึ่งตนเอง ๑๘.พออยู่ พอกิน ๑๙.เศรษฐกิจพอเพียง ๒๐.ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน ๒๑.ท�างานอย่างมีความสุข และ ๒๒.ความเพียร ส�าคัญยิ่งจากปรากฏการณ์ในการพัฒนาสังคม ไทยเราซึ่ ง เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งผู ้ เ ขี ย น ขออนุญาตมีส่วนร่วมฝากแนวคิด ร่วมพัฒนาตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน จากการศึกษาวิจัย ผลการน้ อ มน� า หลั ก การทรงงาน ๒๓ ประการ โดยสมควรจัดให้มีระบบกลไกก�ากับในการติดตาม ประเมินผลการพัฒนา ดังนี้ ๑) ภาครัฐควรร่วมมือ กับภาคเอกชนเพื่อด�าเนินการก�าหนดนโยบายหลัก ขององค์กรโดยน�า SDGs ให้เป็นส่วนหนึ่งในการ ก� า หนดกลยุ ท ธ์ แ ละเป้ า หมายเพื่ อ ความยั่ ง ยื น ๒) ภาครัฐและภาคเอกชนร่วมกันขับเคลื่อนกลยุทธ์ การพัฒนาที่สอดคล้องกับกิจกรรมหลักในภารกิจ อ้างอิง - http://www.thaihealth.or.th - http://lofficielthailand.com/2017/10/

5

ขององค์ ก ร หรื อ ความพยายามในการส่ ง เสริ ม นวัตกรรมอันผสานมาจากภูมิสังคม ที่จะสามารถ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของสั ง คมได้ ม ากขึ้ น ๓) ภาครั ฐ และภาคเอกชนร่ ว มจั ด ตั้ ง ศู น ย์ พิ ทั ก ษ์ ความยั่งยืน เป็นองค์กรอิสระทางวิชาการเพื่อวิจัย และพั ฒ นา ติ ด ตามประเมิ น ผลและรายงาน ความก้ า วหน้ า SDGs อย่ า งครบวงจรและยั่ ง ยื น ซึ่งกล่าวสรุปได้ว่าเพื่อเป้าหมายสุดท้ายที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นในอัตลักษณ์ไทย คือความพอเพียง การพึ่ง ตนเอง ดึ ง ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น เน้ น การมี ส ่ ว นร่ ว ม ของประชาชน การไม่ยึดติดต�ารา ไม่คิดเรื่องคุ้มทุน แต่เน้นความคุ้มค่า พัฒนาคนให้มีคุณธรรมน�าความรู้ เกิ ด ภู มิ คุ ้ ม กั น การเสริ ม สร้ า งสุ ข ภาวะคนไทย ให้ มี สุ ข ภาพแข็ ง แรงทั้ ง กายและใจ ให้ ชุ ม ชน พร้อมเผชิญการเปลีย่ นแปลงไปพร้อม ๆ กับการสร้าง ความมั่นคงของเศรษฐกิจ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน แก่ ค นไทยให้ อ ยู ่ ร ่ ว มกั น ในสั ง คมได้ อ ย่ า งสั น ติ สุ ข เพื่ อ สนองพระราชด� า ริ ต ามหลั ก การทรงงาน ข้อสุดท้ายของพระองค์ท่าน ข้อที่ ๒๓ “รู้ รัก สามัคคี” - รู้ คือ รู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหานั้น - รั ก คื อ เมื่ อ เรารู ้ ถึ ง ปั ญ หาและวิ ธี แ ก้ แ ล้ ว เราต้องมีความรัก ทีจ่ ะลงมือท�า ลงมือแก้ไขปัญหานัน้ - สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ไม่สามารถ ลงมือท�าคนเดียวได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจกัน


6

รวบรวมโดย พุทธรักษา

เนือ่ งในวันที่ ๑๓ ตุลาคม เป็นวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ขอรวบรวมบันทึกทีต่ ราตรึงในดวงใจจากผูท้ ถี่ วายงานใกล้ชดิ พระองค์ทา่ น เพื่อน้อมร�ำลึกส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทย ดังนี้ “…ผมเคยอยู่มาแล้วหลายแผ่นดิน แต่ก็ไม่เคยเห็นว่าพระเจ้าอยู่หัวแผ่นดินใดที่คนทั้งเมืองเขา เป็นเจ้าข้าวเจ้าของ ให้ความเคารพบูชาอย่างสนิทสนมอย่างทุกวันนี้…พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลก่อน ๆ ทรงครองแผ่นดิน แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลนี้ทรง “ครองใจคน”...” หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช

“เดิมพันของเรานั้นสูง” ครั้งหนึ่ง เมื่อหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช กราบบังคมทูลถามพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร ว่ า “เคยทรงเหนื่ อ ย ทรงท้ อ บ้ า งหรื อ ไม่ ” ครั้ ง นั้ น พระองค์ท่านมีพระราชกระแสตอบว่า “ความจริงมันน่าท้อถอยหรอก บางเรื่องมันน่าท้อถอย แต่ว่า ฉันท้อไม่ได้ เพราะเดิมพันของเรานั้นสูงเหลือเกิน เดิมพันของเรานั้นคือบ้านคือเมือง คือความสุข ของคนไทยทั่วประเทศ” ข้อมูลจาก ไทยรัฐ ฉบับ ๕ ธ.ค.๓๒


ข่าวทหารอากาศ

7

“ราษฎรยังอยู่ได้” ปีพทุ ธศักราช ๒๕๑๓ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร มีพระราชประสงค์ที่จะเสด็จพระราชด�ำเนินไปเยี่ยมราษฎรในต�ำบลหนึ่งของอ�ำเภอเมืองพัทลุง อันเป็นแหล่งทีผ่ กู้ ่อการร้ายคอมมิวนิสต์ปฏิบตั กิ ารรุนแรงทีส่ ดุ ในภาคใต้เวลานัน้ ด้วยความห่วงใยอย่างยิ่งล้น ทางกระทรวงมหาดไทยได้กราบบังคมทูลขอให้ทรงรอให้สถานการณ์ดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่เสียก่อน แต่ค�ำตอบ ที่ทางกระทรวงมหาดไทยได้รับก็คือ “ราษฎรเขาเสี่ยงภัยยิ่งกว่าเราหลายเท่า เพราะเขาต้องกินอยู่ที่นั่น เขายังอยู่ได้ แล้วเราจะขลาดแม้แต่จะไปเยี่ยมเยียนทุกข์สุขของเขาเชียวหรือ… คนเราจะอยู่สุขสบาย แต่คนเดียวไม่ได้ ถ้าคนที่อยู่ล้อมรอบมีความทุกข์ยาก ควรต้องแบ่งเบาความทุกข์ยากของเขาบ้าง ตามก�ำลังและความสามารถเท่าที่จะท�ำได้!” ข้อมูลจากค�ำอภิปรายเรือ่ ง “พระบิดาประชาชน”

“ดอกไม้จากหัวใจ” ทีน่ ครพนม บนเส้นทางรับเสด็จตรงสามแยกชยางกูร-เรณูนคร บ่ายวันที่ ๑๓ พ.ย.๒๔๘๙ อาณัติ บุนนาค หัวหน้าส่วนช่างภาพประจ�ำพระองค์ ได้บันทึกภาพในวินาทีส�ำคัญที่กลายเป็นภาพประวัติศาสตร์ภาพหนึ่ง ของประเทศ ภาพที่พูดได้มากกว่าค�ำพูดหนึ่งล้านค�ำ วันนั้น หลังจากทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศล ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหารเสร็จสิ้นในช่วงเช้าแล้ว ทั้ง ๒ พระองค์ได้เสด็จฯ โดยรถยนต์พระที่นั่งกลับไปประทับแรม ณ จวนผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม ราษฎร ทีร่ ขู้ า่ วก็พากันอุม้ ลูก จูงหลานหอบกันมารับเสด็จทีร่ มิ ถนนอย่างเนืองแน่น ดังเช่นครอบครัว จันทนิตย์ ทีล่ กู หลาน ช่วยกันน�ำ แม่ตุ้ม จันทนิตย์ วัย ๑๐๒ ปี ไปรอรับเสด็จ ณ จุดรับเสด็จห่างจากบ้าน ๗๐๐ เมตร โดยลูกหลาน ได้จัดหาดอกบัวสายสีชมพูให้แม่เฒ่า จ�ำนวน ๓ ดอก และพาออกไปรอที่แถวหน้าสุดเพื่อให้ใกล้ชิด เบื้องพระยุคลบาทที่สุด


8

เปลวแดดร้อนแรงตัง้ แต่เช้าจนสาย เทีย่ งจนบ่าย แผดเผาจนดอกบัวสายในมือเหีย่ วโรย แต่หวั ใจรัก ภักดีของหญิงชรายังเบิกบาน เมือ่ เสด็จฯ มาถึงตรงหน้า แม่เฒ่าได้ยกดอกบัวสายโรยราสามดอกนัน้ ขึน้ จบ เหนือศีรษะแสดงความจงรักภักดี อย่างสุดซึง้ พระเจ้าแผ่นดินทรงโน้มพระองค์อย่างต�ำ่ ทีส่ ดุ จนพระพักตร์ แนบชิดกับศีรษะของแม่เฒ่า ทรงแย้มพระสรวลอย่างเอ็นดู พระหัตถ์แตะมือกร้านคล�้ำของเกษตรกรชรา ชาวอีสานอย่างอ่อนโยน เป็นค�ำบรรยายเหมือนไม่จ�ำเป็น ส�ำหรับภาพที่ไม่จ�ำเป็นต้องบรรยาย ไม่มีใครรู้ว่า ทรงกระซิบค�ำใดกับแม่เฒ่า แต่แน่นอนว่าแม่เฒ่าไม่มีวันลืม เช่นเดียวกับที่ในหลวงไม่ทรงลืมราษฎรคนส�ำคัญที่ทรงพบริมถนนวันนั้น หลานและเหลนของแม่เฒ่า เล่าว่า “หลังจากเสด็จพระราชด�ำเนินกลับกรุงเทพฯ แล้ว ทางส�ำนักพระราชวังได้ส่งภาพรับเสด็จของ แม่เฒ่าตุ้มพร้อมทั้งพระบรมรูปหล่อด้วยปูนพลาสเตอร์พระองค์ท่าน พระราชทานผ่านมาทางอ�ำเภอ พระธาตุพนมให้แม่เฒ่าตุ้มไว้เป็นที่ระลึก” พระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้นี้ อาจมีส่วนชุบชูชีวิต ให้แม่เฒ่ายืนยาวขึน้ อีกด้วยความสุขต่อมาอีกถึงสามปีเต็ม ๆ แม่เฒ่าตุม้ จันทนิตย์ ราษฎรผูโ้ ชคดีทสี่ ดุ คนหนึง่ ในรัชกาลที่ ๙ สิ้นอายุขัยอย่างสงบด้วยโรคชราเมื่ออายุได้ ๑๐๕ ปี ข้อมูลจาก “แม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์” ภาคพิเศษโดย คุณหญิง ศรีนาถ สุริยะ วารสารไทย “เขาเดินมาเป็นวัน ๆ” … มีอยูค่ รัง้ นึง ข้าพเจ้าอายุ ๑๘ ปี ได้ตามเสด็จ…ตอนนัน้ เป็นช่วงหลังพระราชพิธบี รมราชาภิเษก เสด็จฯ เยี่ยมราษฎรทุกจังหวัดและอ�ำเภอใหญ่ ๆ ก็เสด็จฯ ประมาณ ๙ โมงเช้า เสด็จออกทรงเยี่ยมราษฎรมาเรื่อย ๆ ที่นี้ข้าพเจ้าก็รู้สึกว่า แหมนานเหลือเกิน ตอนนั้นยังไม่กางร่ม ตอนนั้นยังไม่ค่อยกลัวแดด ไม่ใส่หมวก ก็รู้สึก แดดเปรี้ยง หนังเท้านี้รู้สึกไหม้เชียว ก็เดินเข้าไปกระซิบท่านว่า พอหรือยัง ก็โดนกริ้ว นี่เห็นไหมราษฎรเขาเดินมาเป็นวัน ๆ เพื่อมาดูเราแม้แต่นิดเดียว แต่นี่เรายืนอยู่ไม่เท่าไรล่ะ ตอนนี้ ทนไม่ไหวเสียแล้ว พระราชด�ำรัส สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง วันที่ ๑๑ ส.ค.๒๕๓๔ “ต่อไปจะมีน�้ำ” บทความ “น�ำ้ ทิพย์สาดเป็นสายพรายพลิว้ ทิวงาม ทัว่ เขตคามชืน่ ธารา” เขียนโดย มนูญ มุกข์ประดิษฐ์ ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับวันที่ ๕ ธ.ค.๒๕๒๘ ได้เล่าให้ผู้อ่านชาวไทยได้ประจักษ์ถึงเรื่องอัศจรรย์ ของ “ในหลวง” กับ “น�้ำ” ที่เกิดขึ้นในค�่ำวันหนึ่งของเดือน ก.พ.๒๕๒๘ ด้วยความทุกข์ที่เปี่ยมล้นใจอันเนื่องมาจากต้องเผชิญความแห้งแล้งอย่างหนัก หญิงชราคนหนึ่ง ที่มาเข้าเฝ้าฯ รับเสด็จได้คลานเข้ามากอดพระบาทของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กราบบังคมทูลด้วยน�้ำตาอาบแก้ม ขอพระราชทานน�ำ้ พระองค์ทา่ น มีพระราชด�ำรัสตอบว่า “ยายไม่ตอ้ งห่วงแล้วนะต่อไปนี้จะมีน�้ำ เราเอาน�้ำมาให้” แล้วพระองค์ท่านก็ทรง พระราชด�ำเนินกลับไปยังรถพระที่นั่งซึ่งจอดห่างออกไปราว ๕ เมตร ปรากฏว่าท่ามกลางอากาศที่ร้อนแล้ง จู่ ๆ ก็เกิดฝนตกลงมาเป็นครั้งแรกในรอบปี ท�ำให้ผู้ตามเสด็จและราษฎรในที่นั้นถึงกับงุนงงไปตาม ๆ กัน (อ่านต่อฉบับหน้า)


ข าวทหารอากาศ

พิธีรับ-ส งหน าที่ ผู บัญชาการทหารอากาศและมอบการบังคับบัญชา

พิธีรับ-ส่งหน้าที่ ผบ.ทอ.

9


ผบ.ทอ.

พล.อ.อ.มานัต วงษวาทย ผูบัญชาการทหารอากาศ ประวัติรับราชการ

วัน เดือน ปีเกิด ๑๕ ก.ค.๒๕๐๓ วุฒิการศึกษา โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๒๐ โรงเรียนนายเรืออากาศ รุ่นที่ ๒๗ โรงเรียนนายเรืออากาศเยอรมัน เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๕ วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ ๔๔ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๗ MASTER OF ENGINEERING มหาวิทยาลัยทหารมิวนิค สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๙ ต�าแหน่ง ผบ.บน.๗ เมื่อ ๑ เม.ย.๒๕๕๒ ผู้ช่วยทูตฝายทหารอากาศเบอร์ลิน และ รรก.ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารอากาศปารีส และ รรก.ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารอากาศโรม เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๕๓ จก.ยก.ทอ. เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๕๙ รอง เสธ.ทอ. เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๖๐ เสธ.ทอ. เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๖๑


รอง ผบ.ทอ.

พล.อ.อ.วีรพงษ นิลจินดา รองผูบัญชาการทหารอากาศ ประวัติรับราชการ วัน เดือน ปีเกิด ๑๗ ก.พ.๒๕๐๓ วุฒิการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ รุ่นที่ ๒๖ โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ ๖๗ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุ่นที่ ๓๗ วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ ๔๑ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ ๕๖ ต�าแหน่ง จก.กพ.ทหาร เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๕๙ ผทค.พิเศษ ทอ. เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๖๑


พล.อ.อ.ธรินทร ปุณศรี ผูชวยผูบัญชาการทหารอากาศ ประวัติรับราชการ

วัน เดือน ปีเกิด ๖ มิ.ย.๒๕๐๔ วุฒิการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ต�าแหน่ง รอง จก.ขว.ทอ. จก.ขว.ทอ. รอง เสธ.ทอ.

รุ่นที่ ๒๗ รุ่นที่ ๗๑ รุ่นที่ ๓๘ รุ่นที่ ๕๗ เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๕๙ เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕'๖๐ เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๖๑


พล.อ.อ.สิทธิชัย แกวบัวดี ผูชวยผูบัญชาการทหารอากาศ ประวัติรับราชการ

วัน เดือน ปีเกิด ๑๐ มี.ค.๒๕๐๓ วุฒิการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ รุ่นที่ ๒๖ โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ ๖๗ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุ่นที่ ๓๗ วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ ๔๒ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ ๒๖ ต�าแหน่ง จก.กร.ทอ. เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๖๐ รอง เสธ.ทอ. เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๖๑


พล.อ.อ.สุทธิพันธุ ตายทอง เสนาธิการทหารอากาศ ประวัติรับราชการ

วัน เดือน ปีเกิด ๗ ม.ค.๒๕๐๕ วุฒิการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ วิทยาลัยการทัพอากาศ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ต�าแหน่ง จก.กพ.ทอ. รอง เสธ.ทอ.

รุ่นที่ ๒๘ รุ่นที่ ๗๐ รุ่นที่ ๓๘ รุ่นที่ ๔๓ รุ่นที่ ๕๘ เมื่อ ๑ เม.ย.๒๕๖๐ เมื่อ ๑ ต.ค.๒๕๖๑


บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน ช่วงทีผ่ า่ นมาประเทศไทยของเราได้รบั ผลกระทบ จากพายุโซนร้อน “โพดุล” และ “คาจิก”ิ ซึง่ ก่อให้เกิด น�้ า ท่ ว มบ้ า นเรื อ นและไร่ น าของประชาชน ถนน หลายสายถูกตัดขาด ประชาชนได้รับความเดือดร้อน ในหลายจังหวัดทางภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ในโอกาสนีก้ องทัพอากาศได้รว่ มด�าเนินการ ช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที จนสามารถบรรเทา ความเดือดร้อนได้ในเวลาอันรวดเร็ว ตามเจตจ�านงค์ ที่ว่า กองทัพอากาศเคียงข้างประชาชน ในห้วงเดือนตุลาคมนี้เป็นเดือนที่มีวันส�าคัญ หลายวันดังนี้คือ ในวันที่ ๒๓ ตุลาคม ของทุกปีเป็น “วันปยมหาราช” ซึง่ เป็นวันทีป่ วงชนชาวไทยน้อมร�าลึก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ แห่ ง พระบาทสมเด็ จ พระ ปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ ทีพ่ ระองค์ได้ทรงบ�าเพ็ญพระราชกรณียกิจ และพระราชจริยาวัตรอย่างทรงคุณค่าสูงส่งยิ่ง เช่น ทรงวางรากฐานการศึกษา การคมนาคม การไปรษณีย์ โทรเลข เป็นต้น จนท�าให้ประเทศชาติเจริญรุดหน้า อย่างรวดเร็วทัดเทียมนานาอารยประเทศ จึงทรงได้รบั การถวายพระราชสมัญญานามว่า“สมเด็จพระปย มหาราช” ซึ่งมีความหมายว่า “พระราชาผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ทรงเป็นที่รักของปวงชน” หน่วยงานภาครัฐและ เอกชน รวมถึงประชาชนชาวไทยทุกคนต่างพร้อมใจกัน จัดพิธีวางพวงมาลาถวายเป็นราชสักการะและร่วม บ�าเพ็ญกุศลอุทิศถวาย ณ พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบรมรูปทรงม้า

ข าวทหารอากาศ

15

วั น ที่ ๑๓ ตุ ล าคม ของทุ ก ปี เป็ น วั น คล้ า ย วั นสวรรคตและวั นหยุ ดราชการเพื่ อ ให้ ประชาชน น้ อ มร� า ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร พระองค์ทรงเปี่ยมด้วย พระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทยตลอด ๗๐ ปี ที่ ท รงครองราชย์ ทรงปฏิ บั ติ พ ระราชกรณี ย กิ จ ล้วนเพื่อประโยชน์สุขของปวงชน จนเป็นที่รักและ เทิดทูนของประชาชนชาวไทย รวมทัง้ ประเทศเพือ่ นบ้าน จนทรงได้รบั การเทิดพระเกียรติให้เป็น “King of King” จากผูน้ า� ของประเทศต่าง ๆ และในปีนวี้ นั ที่ ๑๓ ตุลาคม ยังตรงกับวันออกพรรษา (ขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๑๑) เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า “วันมหาปวารณา” เป็นวันส�าคัญ ทางพุทธศาสนาวันหนึ่ง เนื่องจากเป็นวันสิ้นสุดเวลา จ�าพรรษา ๓ เดือนของพระสงฆ์ ในวันนีพ้ ทุ ธศาสนิกชน พร้อมใจกันร่วมท�าบุญตักบาตรเทโว ฟังธรรมเทศนา และรักษาศีลโดยถ้วนหน้ากัน ฉบับนี้ คณะผู้จัดท�าหนังสือข่าวทหารอากาศ ขอน�าเสนอประวัติพอสังเขปของท่าน พลอากาศเอก มานัต วงษ์วาทย์ ผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ ท่านที่ ๒๖ อีกทั้งขอน�าภาพของท่านเป็นภาพปกในฉบับนี้ด้วย และขอแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับการเลื่อนต�าแหน่ง สู ง ขึ้ น พร้ อ มกั บ เป็ น ก� า ลั ง ใจให้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อย่ า งเต็ ม ก� า ลั ง ความรู ้ ความสามารถเพื่ อ พั ฒ นา กองทัพอากาศให้เป็น One of the Best Air Forces in ASEAN ต่อไป เรื่องเด่นในฉบับ ได้แก่ นโยบายผู้บัญชาการ ทหารอากาศ ประจ� า ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๓, BrahMos-A เขี้ยวเล็บใหม่ของ บ.Su-30MKI อินเดีย, หัวใจเฉียบพลัน...รู้ทันไม่สาย, แท็กซี่ปฏิเสธไม่ไป ท�าไงดี นอกจากนี้ ยังมีคอลัมน์ประจ�าที่น่าสนใจ ในฉบับ เชิญท่านพลิกอ่านได้ตามอัธยาศัยครับ 


16

สารบัญ

ป ที่ ๗๙ ฉบั บ ที่ ๑๐ เดื อ นตุ ล าคม ๒๕๖๒

๒ บทอาเศียรวาท สมเด็จพระป ยมหาราช - น.อ.เกษม พงษ พันธ ๓ ๒๓ หลักการทรงงาน : รากแห งการพัฒนาอย างยั่งยืน - พล.อ.ต.หญิง ดร.จิราภรณ ศรีศลิ ๖ "ครองใจคน" หลากหลายเหตุผลที่คนไทย "รักในหลวง" - พุทธรักษา ๙ พิธีรับ-ส งหน าที่ ผู บัญชาการทหารอากาศและมอบการบังคับบัญชา ๑๘ นโยบายผู บัญชาการทหารอากาศ ประจําป พุทธศักราช ๒๕๖๓ ๓๙ เป ดปูม ๑๐๐ ป การบิน ของบุพการีกองทัพอากาศ - พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร ๔๕ ครูภาษาพาที : การเตรียมนํา้ สรงพระมุรธาภิเษกและนํา้ อภิเษก (๑) - มะลิลา ๕๑ วันคล ายวันสถาปนาสํานักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศ ครบ ๓๓ ป ๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ - ร.อ.หญิง ฉัตระวี พวงผกา ๕๕ ๔๐ ป โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ กับการพัฒนาที่ยั่งยืน - น.อ.หญิง สุขจิต ศิลาเขตต ๕๙ เวลาการ ตูน - มีสกรีน ๖๑ Red Eagle : การลาดตระเวนทางเท าเพื่อปฏิบัติภารกิจในพื้นที่การรบ - น.ต.ภฤศพงศ ช อนแก ว ๖๗ BrahMos-A เขี้ยวเล็บใหม ของ บ.Su-30 MKI อินเดีย - Rocket-7 ๗๑ หัวใจเฉียบพลัน…รู ทันไม สาย - พล.อ.ต.วรงค ลาภานันต ๗๔ แท็กซี่ปฏิเสธไม ไปทําไงดี - R.T.A.F's Eyes view ๗๘ บทเรียนการช วยเหลือและบรรเทาสาธารณภัยกรณีเกิดภัยพิบัติ ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย - น.อ.ประภาส สอนใจดี ๘๓ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ กับคําแนะนําในการก าวไปสู 5G - น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ๘๗ ขอบฟ าคุณธรรม : …พยายามรู จักคนไทยให ดี… - 1261 ๙๐ ธรรมประทีป : เทศกาล "ทอดกฐิน" - กอศ.ยศ.ทอ. ๙๑ เกร็ดเล็กเกร็ดน อย ประชาคมอาเซียน : Vietnam Festival Guide - @Zilch ๙๒ ในรั้วสีเทา ๙๘ กองทัพอากาศอาเซียน ๑๐ ชาติ จับมือยกระดับสร างความเป นป กแผ น ของอาเซียนกับ FTX ในไทย ป ค.ศ.๒๐๒๑ - ร.อ.หญิง วิวสั วัน เปล งวิทยา

๑๘

๖๑

๖๗


ข าวทหารอากาศ

ข าวทหารอากาศ คณะผูจ้ ดั ท�าหนังสือข่าวทหารอากาศ เจ้าของ กองทัพอากาศ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พล.อ.อ.ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ พล.อ.อ.ม.ร.ว.ศิริพงษ์ ทองใหญ่ พล.อ.อ.ธนนิตย์ เนียมทันต์ พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ์ พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน

พล.อ.อ.กันต์ พิมานทิพย์ พล.อ.อ.อมร แนวมาลี พล.อ.อ.ปอง มณีศิลป พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง พล.อ.อ.มานัต วงษ์วาทย์

พล.อ.ท.ตรีพล อ่องไพฑูรย์ เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ

น.อ.นิโรจน์ จําปาแดง น.อ.ขจรฤทธิ์ แก้วอําไพ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้จัดการ

พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ผู้อํานวยการ/บรรณาธิการ

พล.อ.ต.ฐานัตถ์ จันทร์อําไพ พล.อ.ต.สมพร แต้พานิช

รองผู้อํานวยการ

พล.อ.ต.ธรรมรงค์เดช เจริญสุข

ผู้ช่วยผู้อํานวยการ

น.อ.นินาท มูลจนะบาตร์ น.อ.สมพร ร่มพยอม

น.อ.นิโรจน์ จําปาแดง น.อ.อภิรัตน์ รังสิมาการ น.ท.สมภพ จันทร์ชูชื่น

ประจําบรรณาธิการ

น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง น.ท.หญิง มุตสิตา มาหะศักดิ์ พ.อ.อ.ธรรมวัฒน์ รัตนวิจารณ์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์ จ.อ.หญิง ศุภวัลย์ กระจ่างนฤมลกุล นางจันทร์สม คํามา น.ส.ณัฐวดี ธํารงวงศ์ถาวร

หนังสือข่าวทหารอากาศ ความเปนมา

ที่ปรึกษา พล.อ.อ.ธงชัย แฉล้มเขตร พล.อ.อ.ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ พล.อ.ต.สหัสชัย มาระเนตร

น.ท.หญิง ณัฐสินี เชื้อนุ่น น.ต.หญิง รัชนก เกิดสุข พ.อ.อ.พันธกานต์ พูลผล พ.อ.อ.หญิง วาสนา รับสมบัติ น.ส.อุไรวรรณ บุญณรงค์ น.ส.รสสุคนธ์ บุญประเทือง

กองวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์ (เพื่อพลาง) สํานักกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรืิอนทหารอากาศ ถนน พหลโยธิน แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑, ๐ ๒๕๓๔ ๔๒๔๑ โทรสาร ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑ ส่งบทความและภาพกิจกรรมได้ที่ rtafmag@gmail.com

หนังสือข่าวทหารอากาศ เปนนิตยสารรายเดือนของกองทัพอากาศ เริม่ ดําเนินการเมือ่ ป พ.ศ.๒๔๘๓ ขึน้ กับกรมข่าวทหารอากาศ โดย นาวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เปนบรรณาธิการคนแรก ดําเนินการโดยทุนของข้าราชการทหารอากาศ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยูใ่ นความอํานวยการของกรมยุทธศึกษาทหาร อากาศ ตามคําสั่ง ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ได้เข้าอยู่ในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กํากับดูแล โดยคณะอนุ ก รรมการบริ ห ารวารสารและสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ก องทั พ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค. ๒๕๕๒ กําหนดให้ใช้ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ ว่าด้วยการ บริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ ๑ ม.ค.๒๕๖๑ ได้เข้ามาอยู่ในการกํากับดูแลของกรมกิจการพลเรือนทหาร อากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ) ที่ ๑๓๖/๖๐ ลง ๒๖ ก.ย.๒๕๖๐

ภารกิจ ดําเนินกิจการหนังสือข่าวทหารอากาศ ให้เปนไปตามนโยบายของผูบ้ ญั ชาการ ทหารอากาศ โดยมีผู้อํานวยการหนังสือข่าวทหารอากาศ (จก.กร.ทอ.) เปนผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในกิจการทั่วไป ๒. เพือ่ แสดงความคิดเห็นด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม อันจะเปนประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม ๓. เพื่อเผยแพร่กิจการของกองทัพอากาศ

การด�าเนินงาน ๑. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นที่เปนประโยชน์ใน การพัฒนากองทัพอากาศและส่วนรวม ๒. เนื้อหาที่นํามาลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ - ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบายของผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ - ต้องไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ ส่วนรวม - ต้องได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะผู้จัดทําหนังสือข่าว ทหารอากาศ

ก�าหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

พิมพ์ที่ บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ๓๐/๘๘ หมู ่ ๑ ถ.เจษฎาวิถ ี ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ๗๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๘๘ โทรสาร ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๕๘

อ่านบทความเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th และ www.rtaf.mi.th บทความและความคิดเห็นของผู้เขียนในหนังสือฉบับนี้ ไม่มีส่วนผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด ภาพบางส่วนในหนังสือ นํามาจาก www.google.com ออกแบบปก : น.ส.รสสุคนธ์ บุญประเทือง

17


18


ข่าวทหารอากาศ

19


20

เจตนารมณ์

กองทัพอากาศเตรียมและใช้กา� ลังกองทัพอากาศตามบทบัญญัตทิ กี่ ฎหมายก�าหนด โดยทุกหน่วยงานภายในกองทัพอากาศต้องยึดถือการปฏิบัติภารกิจและการพัฒนาหน่วย ให้เป็นไปตามหลักนิยมกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ แผนการทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์ กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนการพัฒนาทีเ่ กีย่ วข้อง กองทัพอากาศด�ารงวิสัยทัศน์ “กองทัพอากาศชั้นน�าในภูมิภาค” โดยการพัฒนา ขีดความสามารถทัง้ ๓ มิต ิ ได้แก่ มิตทิ างอากาศ (Air Domain) มิตไิ ซเบอร์ (Cyber Domain) และมิตอิ วกาศ (Space Domain) บนพืน้ ฐานของความสมดุลและยัง่ ยืน เพือ่ ให้กองทัพอากาศ สามารถปฏิบตั ภิ ารกิจหลักด้านความมัน่ คงได้อย่างสมบูรณ์ ได้แก่ การพิทกั ษ์รกั ษาและเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย ์ การป้องกันประเทศ การรักษาความมัน่ คงของรัฐ และการรักษาผลประโยชน์ แห่งชาติ ตลอดจนการสนับสนุนภารกิจอืน่ ๆ เพือ่ การพัฒนาประเทศ การช่วยเหลือประชาชน และการแก้ไขปัญหาส�าคัญของชาติตามทีไ่ ด้รบั มอบจากรัฐบาล ทัง้ นีก้ องทัพอากาศต้องปลูกฝัง ให้ก�าลังพลและครอบครัวมีจิตอาสาตั้งมั่นในการท�าความดีด้วยหัวใจ ตลอดจนขยายผล ไปสู่ประชาชนทุกหมูเ่ หล่า ปี พ .ศ.๒๕๖๓ ก องทั พ อากาศเน้ น วางรากฐานการพั ฒ นาทุ ก ด้ า นอย่ า งสมดุ ล เพื่อเป็นกองทัพอากาศที่ปฏิบัติภารกิจได้อย่างชาญฉลาดและมีความยั่งยืน (Sustainable Smart Air Force) โดยให้ความส�าคัญกับการปรับปรุงโครงสร้างกองทัพอากาศ กฎระเบียบ และข้อบังคับให้สอดคล้องกับสถานการณ์ การพัฒนาหน่วยงานภายในกองทัพอากาศให้เกิด การขับเคลือ่ นโดยใช้ความรูแ้ ละมีมาตรฐานก�ากับทีเ่ หมาะสม ตลอดจนการสร้างความร่วมมือ กั บ สรรพก� า ลั ง ของชาติ ทุ ก ภาคส่ ว นในการพั ฒ นาก� า ลั ง กองทั พ อากาศและการพั ฒ นา อุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ (Defense Industry) ตามทิ ศ ทางยุ ท ธศาสตร์ ช าติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) อันจะน�าไปสู่ความยั่งยืนที่เป็นรูปธรรมต่อไป

พลอากาศเอก มานัต วงษ์วาทย์ ผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ

www.rtaf.mi.th


ข่าวทหารอากาศ

สถานการณ์สำาคัญ กองทัพอากาศด�ารงวิสัยทัศน์การพัฒนาสู่ “กองทัพอากาศชั้นน�าในภูมิภาค (One of The Best Air Forces in ASEAN)” สอดคล้องตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างการเสริมสร้าง ขีดความสามารถของกองทัพอากาศ เพือ่ พัฒนาสูก่ ารปฏิบตั กิ ารทีใ่ ช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง ตลอดจนการเสริมสร้าง ขีดความสามารถในมิติอื่น ๆ ให้สอดคล้องกับสภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลง สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการเมืองระหว่างประเทศ การวางท่าทีและถ่วงดุลอ�านาจของประเทศมหาอ�านาจ ความขัดแย้งในภูมภิ าค การก้าวสูส่ งั คมผูส้ งู อายุ การเข้าถึง ข้อมูลผ่านสื่อได้อย่างรวดเร็ว การพัฒนาเทคโนโลยีอย่างมีนัยส�าคัญต่อการด�ารงชีวิต โดยเฉพาะ Disruptive Technology ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการด�ารงชีวิต และการเปลี่ยนแปลงภัยคุกคามไปสู่รูปแบบที่ไม่เคย เกิดขึน้ มาก่อน ซึง่ จะมีความรุนแรงและมีความถีเ่ พิม่ ขึน้ ตลอดจนสงครามลูกผสม (Hybrid Warfare) การก่อการร้าย ภั ย คุ ก คามทางไซเบอร์ ไ ด้ ท วี ค วามรุ น แรงและซั บ ซ้ อ นมากขึ ้ น ภั ย คุ ก คามทางอวกาศท� า ให้ น านาประเทศ ล้วนให้ความส�าคัญ การพบการใช้อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก (Drone) ในการกระท�าความผิดโจมตีเป้าหมายทางทหาร และพลเรือน หรือกระท�าผิดกฎหมาย ในขณะเดียวกัน ภัยพิบัติทางธรรมชาติมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอันน�าไปสู่ ความสูญเสียทัง้ ชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน ซึง่ กองทัพอากาศต้องปรับตัวให้สอดรับกับความท้าทายดังกล่าว

ความท้าทายของบริบทความมั่นคงที่เปลี่ยนแปลงไปยังส่งผลต่อทิศทางของความร่วมมือในประเทศ และภูมิภาค มีทิศทางที่เป็นการพึ่งพาและเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบรรเทาภัยพิบัติ (Humanitarian Assistance And Disaster Relief : HADR) และได้รเิ ริม่ จัดท�าเป็นแผนประชาคมอาเซียนเพือ่ พัฒนาความร่วมมือ ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น ตลอดจนศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาพื้นที่การฝึกของกองทัพอากาศให้เป็น ศูนย์กลางในการฝึก เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และกระชับความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกอาเซียน ในขณะเดียวกัน ความล่าช้าของงบประมาณรายจ่ายประจ�าปี พ.ศ.๒๕๖๓ ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการงประมาณในการพัฒนา กองทัพอากาศ ซึ่งเป็นความท้าทายอย่างยิ่ง

RTAF 2020 : AIR, CYBER and SPACE

21


22

สถานการณ์สำาคัญ

การเตรียมกำาลังกองทัพอากาศ ในมิติทางอากาศ (Air Domain) มิติไซเบอร์ (Cyber Domain) และมิติอวกาศ (Space Domain) เพื่อพัฒนาศักยภาพในการป้องกันประเทศ และการพัฒนาอุตสาหกรรม ด้านความมั่นคงของประเทศ เป็นความท้าทายอย่างยิ่ง เนื่องจากเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซับซ้อน จึงต้องการก�าลังพลทีม่ สี มรรถนะ ยุทโธปกรณ์ทเ่ี หมาะสมกับสถานการณ์ ยุทธวิธแี ละทักษะในการใช้งาน การส่งก�าลัง และซ่อมบ�ารุงทีท่ นั เวลา และระบบสนับสนุนทีพ่ ร้อมสรรพ เพือ่ พัฒนาสูก่ องทัพอากาศ ทีป่ ฏิบตั ภิ ารกิจได้อย่างชาญฉลาด และมีความยั่งยืน (Sustainable Smart Air Force) จะท�าให้เป็นกองทัพอากาศชั้นน�าในภูมิภาคได้อย่างสมบูรณ์

www.rtaf.mi.th


ข่าวทหารอากาศ

นโยบายการปฏิบัติราชการ

กองทัพอากาศมีหน้าทีเ่ ตรียมก�าลังกองทัพอากาศ ป้องกันราชอาณาจักร และด�าเนินการเกีย่ วกับการใช้กา� ลัง กองทัพอากาศตามอ�านาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหม มีผู้บัญชาการทหารอากาศ เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ เพือ่ ให้สามารถบริหารราชการกองทัพอากาศภายใต้กรอบภารกิจตามกฎหมาย และสอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) นโยบายและแผนระดับชาติ ระดับกลาโหม และระดับกองทัพไทย กองทัพอากาศ จึงได้กา� หนดนโยบายการปฏิบตั ริ าชการ เพือ่ ระบุให้หน่วยมีแผนงานและเป้าหมายทีช่ ดั เจน รวมถึงสามารถติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ดังนี้ ๑. พิทกั ษ์รกั ษาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ์ ตลอดจนด�าเนินกิจกรรมเพือ่ เผยแพร่พระเกียรติคณ ุ และพระอัจฉริยภาพ ส่งเสริมความจงรักภักดีและความกตัญญูตอ่ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ์ ตลอดจน ป้องกันและปราบปรามการกระท�าที่ล่วงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ ๒. ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมทีด่ ใี ห้แก่กา� ลังพลของกองทัพอากาศ เพือ่ เสริมสร้างระเบียบ วินยั และ จิตส�านึกในการเป็นทหารอาชีพ การยึดมั่นในสถาบันหลัก ความรักและความภูมิใจในชาติ อีกทั้งการส่งเสริม ให้มีจิตใจเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน สอดคล้องตามหลัก “จิตอาสา” ๓. ยึดถือการปฏิบัติภารกิจและการพัฒนาหน่วยให้เป็นไปตามหลักนิยมกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ แผนการทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ ยุทธศาสตร์กองทัพอากาศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนการพัฒนา ที่เกี่ยวข้อง ๔. สนับสนุนการด�าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนปฏิรูปประเทศตามขอบเขตภารกิจของกองทัพอากาศ ๕. ปกครองบังคับบัญชาตามหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ได้แก่ หลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า ๖. ด�ารงมาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทางราชการอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะในสือ่ สังคมออนไลน์ ต้องกวดขันและก�ากับดูแลก�าลังพล เพื่อป้องกันการกระท�าความผิดอย่างจริงจัง ๗. ด�ารงมาตรการด้านนิรภัยอย่างเคร่งครัด โดยผูบ้ งั คับบัญชาทุกระดับและก�าลังพลทุกคนต้องตระหนัก ถึงความส�าคัญของงานนิรภัย และมีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุ ๘. ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภายในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบและพืน้ ทีโ่ ดยรอบกองทัพอากาศ โดยก�าลังพล และครอบครัวของกองทัพอากาศต้องปลอดจากยาเสพติด ๙. พัฒนาการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องตามแนวยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ โดยใช้เครือ่ งมือการบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (PMQA 4.0) รวมทัง้ ใช้แผนปฏิบตั ริ าชการของหน่วยเป็นหลัก ในการปฏิบัติงานของหน่วยขึ้นตรงกองทัพอากาศ

RTAF 2020 : AIR, CYBER and SPACE

23


24

นโยบายเร่งด่วน ๑. ทบทวนและปรับปรุงโครงสร้างการจัดและอัตราของกองทัพอากาศให้มีประสิทธิภาพและมีขนาด ที่เหมาะสม โดยค�านึงถึงความสอดคล้องกับสถานการณ์และพัฒนาการของเทคโนโลยีที่สร้างความพลิกผัน (Disruptive Technology) ซึ่งส่งผลต่อการปฏิบัติงานของกองทัพอากาศ ๒. สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนากองทัพอากาศในทุกมิติให้กับประชาชน และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน เพื่อสร้างการรับรู้ถึงหลักการและขอบเขตการพัฒนากองทัพอากาศ และเพื่อให้เกิดการ มีส่วนร่วมในการพัฒนากองทัพอากาศบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน โดยให้ความส�าคัญกับ การระดมสรรพก�าลังของชาติทุกภาคส่วนเป็นล�าดับแรก ๓. สร้างความเข้าใจเกีย่ วกับแนวความคิดในการจัดหาพร้อมการพัฒนา (Purchase and Development : P&D) เพื่อให้ทุกหน่วยตระหนักถึงการพัฒนากองทัพอากาศบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน ด้วยการ ระดมสรรพก�าลังและความร่วมมือกับทุกภาคส่วนของชาติ ๔. ก�าหนดแนวทางและกลไกในการระดมก�าลังพลกองทัพอากาศที่มีความรู้ ความสามารถ หรือ ความเชีย่ วชาญเป็นทีย่ อมรับ เพือ่ ร่วมพัฒนาและขับเคลือ่ นกองทัพอากาศให้สามารถปฏิบตั ภิ ารกิจได้อย่างชาญฉลาด และมีความยั่งยืน ๕. ศึกษาและก�าหนดแนวทางในการสร้างความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ (Defense Industry) เพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืน ทัง้ นี ้ ต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) และแผนระดับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๖. ศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาพื้นที่การฝึกของกองทัพอากาศให้เป็นศูนย์กลางในการฝึก ในภูมิภาคอาเซียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และกระชับความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกอาเซียนและมิตรประเทศ ๗. ทบทวนและปรับปรุงการจัดการงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีของกองทัพอากาศให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ส�าคัญตามยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) นโยบายและแผนระดับชาติ ระดับกลาโหม และ ระดับกองทัพไทย ๘. ก�าหนดแนวทาง สร้างความเข้าใจ และให้ค�าแนะน�าทุกหน่วยงานในการวางแผนและด�าเนินการ ใช้จา่ ยงบประมาณไปพลางก่อน โดยจัดให้มสี ายด่วนทีส่ า� นักงานปลัดบัญชีทหารอากาศ เพือ่ ให้คา� แนะน�าอย่างต่อเนือ่ ง ๙. พัฒนาระบบการจัดสวัสดิการภายในกองทัพอากาศให้เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยสามารถตรวจสอบ และใช้งานระบบออนไลน์ เพือ่ ให้กา� ลังพลและครอบครัวสามารถเข้าถึงสวัสดิการได้อย่างเท่าเทียมและอย่างทัว่ ถึง

www.rtaf.mi.th


ข่าวทหารอากาศ

นโยบายเฉพาะ ๑. ด้านกำาลังพล

๑.๑ บริหารก�าลังพลของกองทัพอากาศ เพื่อรองรับการปฏิบัติในมิติทางไซเบอร์และมิติทางอวกาศ รวมทั้งโครงการจัดหาพร้อมการพัฒนา (P&D) ของกองทัพอากาศ ทั้งในปัจจุบันและรองรับภารกิจในอนาคต เพื่อให้มีก�าลังพลที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ๑.๒ พัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานตามแนวคิดสมรรถนะที่ทันสมัย ด้วยการน�าเครื่องมือ Quick Response (QR) โปรแกรมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารผลการปฏิบัติงานของก�าลังพลกองทัพอากาศ ได้อย่างเป็นรูปธรรม ๑.๓ พัฒนาก�าลังพลด้านกฎหมายคุ้มครองการปฏิบัติการทางทหาร กฎหมายไซเบอร์ กฎหมายอากาศ และอวกาศ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ

RTAF 2020 : AIR, CYBER and SPACE

25


26

นโยบายเฉพาะ

๒. ด้านการพัฒนาระบบงาน

๒.๑ จัดท�าระบบบริหารจัดการด้านเอกสารอิเล็กทรอนิกส์กองทัพอากาศ (Air Force E-Publishing) เพื่อรวบรวมค�าสั่ง ระเบียบ คู่มือ และเอกสารที่จ�าเป็นในการปฏิบัติงาน จัดเก็บในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน และ จัดท�าคู่มือกองทัพอากาศ (Air Force Manual) ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมทุกด้านในการรับราชการของก�าลังพล กองทัพอากาศ ๒.๒ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการจัดเก็บและประมวลผล (Big Data Platform ด้านความมั่นคง) ตามยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความมัน่ คง (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เพือ่ ให้การจัดเก็บข้อมูลด้านความมัน่ คงเป็นมาตรฐาน สอดรับกับมาตรฐานและสถาปัตยกรรมการจัดเก็บข้อมูลของรัฐบาล (Government Cloud) เทคโนโลยี Artificial Intelligence และ Machine Learning ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ๒.๓ จัดท�าค�าสั่งทางปกครองให้สอดรับกับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.๒๕๖๒ พร้อม ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานในกองทัพอากาศทราบเกี่ยวกับการเก็บรวมรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ตลอดจนการร้องเรียนและบทก�าหนดโทษตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ๒.๔ ก�ากับดูแลให้ทุกหน่วยงานด�าเนินการเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน ด้วยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม โดยเคร่งครัด สอดคล้องตามกฎหมาย ค�าสัง่ ทางปกครอง ระเบียบและแบบธรรมเนียมทางราชการ โดยให้ความส�าคัญ กับการเปิดโอกาสให้กับประชาชน มีส่วนร่วมในการเสนอเรื่องร้องเรียน แสดงความคิดเห็น แจ้งเหตุ แจ้งเบาะแส ผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศ www.rtaf.mi.th


ข่าวทหารอากาศ

27

นโยบายเฉพาะ

๓. ด้านกำาลังรบ

๓.๑ ปรับโครงสร้างก�าลังรบให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเทคโนโลยีก�าลังรบ โดยค�านึงถึงอากาศยาน ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะใกล้เคียงกัน (Commonality) ซึง่ ต้องปรับจ�านวนแบบและอัตราอากาศยานให้เหมาะสม สอดคล้อง กับสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงและงบประมาณที่กองทัพอากาศได้รับในปัจจุบัน ๓.๒ ทบทวนอัตราสะสมอาวุธ กระสุนและวัตถุระเบิด ส�ารองสงครามภาคอากาศและภาคพืน้ ให้สอดคล้อง กับเทคโนโลยีและงบประมาณ ๓.๓ พัฒนาระบบแจ้งเตือนเรดาร์ภัยคุกคาม (Radar Warning Receiver : RWR) เพื่อให้ผู้ปฏิบัติ/ หน่วยปฏิบตั ใิ ช้งานเป็นมาตฐานเดียวกันในการปฏิบตั กิ ารสงครามอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารทางอากาศ ๓.๔ ส่งเสริมและประสานเพื่อให้เกิดแนวทางหรือแผนบริหารจัดการทรัพยากรห้วงอากาศในระยะยาว ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยก�าหนดให้มีห้วงอากาศส�าหรับอากาศยานไร้คนขับ และอากาศยานไร้คนขับ ระดับยุทธศาสตร์ ๓.๕ ก�าหนดแผนการพัฒนายุทโธปกรณ์ในระบบป้องกันทางอากาศทีส่ า� คัญ ได้แก่ เรดาร์ตรวจจับเป้าหมาย ระยะไกล เรดาร์เสริมอุดช่องว่าง เรดาร์ยุทธวิธี และเครื่องบินควบคุมและแจ้งเตือนอากาศยานที่เป็นภัยคุกคาม โดยต้องสามารถตรวจจับเป้าหมาย ครอบคลุมทุกพื้นที่และทุกระยะสูงในการปฏิบัติการบินของประเทศไทย ๓.๖ ก�าหนดแนวความคิดในการปฏิบัติของระบบป้องกันภัยทางอากาศภาคพื้น เพื่อป้องกันฐานที่ตั้ง ทางทหารของกองทัพอากาศ ให้สอดคล้องกับภัยคุกคามในปัจจุบัน ๓.๗ พัฒนาระบบเชือ่ มโยงข้อมูลทางยุทธวิธ ี (Tactical Data Link : TDL) บนพืน้ ฐานของการพึง่ พาตนเอง โดยกองทัพอากาศถือกรรมสิทธิ์อย่างสมบูรณ์ และต้องมีความปลอดภัยภายใต้เครือข่ายหลักของกองทัพอากาศ ๓.๘ พัฒนาระบบบัญชาการและควบคุมให้สามารถรองรับการบัญชาการและควบคุมทั้งมิติทางอากาศ มิติทางไซเบอร์ และมิติทางอวกาศ โดยต้องมีความพร้อมปฏิบัติการตลอดเวลา ๓.๙ ประสานหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการบริหารจัดการคลืน่ ความถีภ่ าคพืน้ ภาคอากาศ และภาคอวกาศ ของกองทัพอากาศ เพือ่ ให้กองทัพอากาศสามารถใช้ความถีเ่ พือ่ การปฏิบตั ภิ ารกิจทัง้ ในภาวะปกติและภาวะไม่ปกติ ๓.๑๐ เสริมสร้างขีดความสามารถการปฏิบตั กิ ารไซเบอร์ ในการควบคุมและสัง่ การ การปฏิบตั กิ ารเฝ้าระวัง และตรวจจับภัยคุกคามทางไซเบอร์ การปฏิบัติการเชิงป้องกันและเชิงป้องปราม และการป้องกันภัยคุกคาม ทางไซเบอร์ในระบบเครือข่ายเพือ่ การยุทธ และเครือข่ายเพือ่ การสนับสนุน ให้มคี วามมัน่ คงปลอดภัย และพร้อมใช้งาน ครอบคลุมทุกพื้นที่ปฏิบัติการทุกมิติ

RTAF 2020 : AIR, CYBER and SPACE


28

นโยบายเฉพาะ

www.rtaf.mi.th


ข่าวทหารอากาศ

นโยบายเฉพาะ ๔. ด้านการฝึก

๔.๑ ทบทวนและปรับปรุงแนวทางการฝึกบินและการบริหารจัดการชั่วโมงการฝึกบิน ให้สอดคล้องกับ เทคโนโลยีการบิน เทคโนโลยีการจ�าลองยุทธ และขีดความสามารถของอากาศยาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการฝึก (Training Efficiency) โดยค�านึงถึงความต้องการทางยุทธการและความสมดุลกับทรัพยากรของกองทัพอากาศ ๔.๒ ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้ง Fighter Weapon School เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนา แนวความคิดในการใช้กา� ลังและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการฝึกนักบินขับไล่/โจมตี ตลอดจนพัฒนายุทธวิธกี ารรบทางอากาศ ๔.๓ พัฒนาระบบการฝึกในการปฏิบตั กิ ารด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิ ตลอดจนการสนับสนุน ภารกิจการรักษาความมั่นคงของรัฐ ๔.๔ ยกระดับความร่วมมือด้านไซเบอร์ในภูมภิ าคอาเซียน และระดับนานาชาติ เช่น การประชุมแลกเปลีย่ น ความรู้ระดับผู้เชี่ยวชาญด้านไซเบอร์ (Cyber Subject Matter Expert Exchange : Cyber SMEE) การฝึกร่วม /ผสมด้านไซเบอร์ ทั้งทวิภาคี (Bilateral Exercise) และพหุภาคี (Multi-Lateral Exercise) ๔.๕ ด�าเนินการปรับปรุงมาตรฐานผู้ตรวจสอบมาตรฐานการบินให้เป็นไปตามหลักสากล ตลอดจน พั ฒ นาการตรวจสอบมาตรฐานการบิ น และประเมิ น ค่ า นั ก บิ น ให้ ค รอบคลุ ม การตรวจสอบภาคการบิ น ด้วยเครื่องช่วยฝึกจ�าลอง

๑๐

RTAF 2020 : AIR, CYBER and SPACE

29


30

นโยบายเฉพาะ

www.rtaf.mi.th

๑๑


ข่าวทหารอากาศ

นโยบายเฉพาะ ๕. ด้านส่งกำาลังบำารุง

๕.๑ ก�ากับและด�าเนินการเกีย่ วกับการส่งก�าลังและซ่อมบ�ารุง เพือ่ ให้กองทัพอากาศมีสภาพความพร้อม ปฏิบัติการของอากาศยาน (Full Mission Capability) ตามที่ก�าหนด ๕.๒ ปรับปรุงระบบสารสนเทศด้านการส่งก�าลังบ�ารุงของกองทัพอากาศ (LMIS) ให้สามารถเชื่อมโยง ข้อมูลการส่งก�าลังบ�ารุง การซ่อมบ�ารุง และฐานข้อมูลในการบริหารจัดการควบคุมพัสดุของทุกสายงาน โดยกรมในส่วนส่งก�าลังบ�ารุงต้องมีฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์รองรับอย่างครบถ้วน เพื่อให้สามารถติดตามและ รายงานผลได้ทันตามความต้องการ ๕.๓ ก�าหนดรูปแบบการบูรณาการ และด�าเนินการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศด้านการส่งก�าลังบ�ารุง ของกองทัพอากาศ (LMIS) กับระบบส่งก�าลังบ�ารุงรูปแบบใหม่ของอากาศยานที่เข้าประจ�าการใหม่ ๕.๔ ด�าเนินการส�ารวจอาคาร โครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอ�านวยความสะดวกฐานบินปฏิบัติการของ กองทัพอากาศ และจัดเก็บข้อมูลในโปรแกรมบริหารจัดการฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านกิจการ อสังหาริมทรัพย์ (E-Building) พร้อมจัดท�าแผนแม่บทในการพัฒนา ๕.๕ ก�าหนดมาตรการระยะสั้นและระยะยาวในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุ อย่างเป็นรูปธรรม ๕.๖ จั ด ท� า คู ่ ม ื อ และขั ้ น ตอนมาตรฐานการจั ด ซื ้ อ จั ด จ้ า งและการบริ ห ารพั ส ดุ ข องกองทั พ อากาศ ให้เป็นไปตามนัยยะของ พ.ร.บ.การจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนสร้างความเข้าใจให้กบั ผูเ้ กีย่ วข้อง โดยจัดให้มสี ายด่วนทีก่ รมส่งก�าลังบ�ารุงทหารอากาศสนับสนุนการแก้ไขปัญหา ในทุกขั้นตอน

๑๒

RTAF 2020 : AIR, CYBER and SPACE

31


32

นโยบายเฉพาะ

๖. ด้านการศึกษา

๖.๑ ปลูกฝังอุดมการณ์ความรักชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ตลอดจนให้ความรู้เกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์การรบและความเป็นเอกราชของชาติในสถานศึกษา และหลักสูตรทางทหาร ๖.๒ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช โรงเรียนจ่าอากาศ และโรงเรียนสายวิทยาการ ทีเ่ กีย่ วข้อง ทบทวนและปรับปรุงหลักสูตร โดยมีเป้าหมายให้ผสู้ า� เร็จการศึกษามีความพร้อมปฏิบตั งิ านในมิตทิ างอากาศ มิติทางไซเบอร์ และมิติทางอวกาศ ตลอดจนตรงความต้องการของสายวิทยาการ ๖.๓ ทบทวนและปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รทางทหารให้ ม ี ค ุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาที ่ เ ที ย บเคี ย ง ได้ในระดับสากล และสอดรับกับภารกิจของกองทัพอากาศ ๖.๔ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียน การสอน การจัดเก็บเอกสาร และการประเมินผล การศึกษาในสถานศึกษา ตลอดจนพิจารณาการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเครื่องช่วยฝึกจ�าลอง เพื่อพัฒนาระบบ การฝึกอบรมเสมือนจริง (Virtual Training) www.rtaf.mi.th

๑๓


ข่าวทหารอากาศ

นโยบายเฉพาะ

๗. ด้านการวิทยาการกองทัพอากาศ

๗.๑ เสริมสร้างความรูด้ า้ นเทคนิคของแต่ละสายวิทยาการ เช่น ด้านการบิน ด้านวิศวกรรม ด้านไซเบอร์ และด้านอวกาศ เพื่อให้ก�าลังพลสามารถปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานสากล ๗.๒ จัดท�าระบบการรับรองมาตรฐานการฝึกอบรม (Certification System) ที่เทียบเคียงได้ตาม มาตรฐานสากล เพื่อพัฒนาก�าลังพลสายช่างอากาศ สายสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ และสายสรรพาวุธ ๗.๓ พั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถของสายวิ ท ยาการในการตรวจสอบ ทดสอบ และ รับรองมาตรฐาน ทัง้ ในด้านห้องตรวจทดลอง เครือ่ งมือ อุปกรณ์ และเจ้าหน้าที ่ โดยต้องสอดคล้องกับขีดความสามารถ ในการซ่อมบ�ารุงของแต่ละสายวิทยาการ ๗.๔ ก�าหนดมาตรฐานการเชื่อมต่อยุทโธปกรณ์ (Interface Connection Description : ICD) กับ ระบบบัญชาการและควบคุมทางอากาศ (Air Command and Control System : ACCS) เช่น ระบบเชื่อมโยง ข้อมูลทางยุทธวิธ ี มาตรฐานการเชือ่ มต่อกล้องของอากาศยาน ระบบป้องกันภัยทางอากาศภาคพืน้ ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ เป็นต้น ๗.๕ ก�าหนดมาตรฐานการตรวจด้านจิตเวชให้กับก�าลังพลที่ต้องปฏิบัติงานด้านไซเบอร์และด้านอวกาศ เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล

๑๔

RTAF 2020 : AIR, CYBER and SPACE

33


34

นโยบายเฉพาะ ๘. ด้านการวิจัย พัฒนา และอุตสาหกรรมป้องประเทศ

๘.๑ ส่งเสริมการวิจยั และพัฒนาต่อยอดจากโครงการเสริมสร้างก�าลังกองทัพซึง่ เจ้าหน้าทีก่ องทัพอากาศ ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อให้กองทัพอากาศสามารถพัฒนาขีดความสามารถได้เองในอนาคต ๘.๒ ด�าเนินการวิจัย พัฒนา และปรับปรุงซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการของกองทัพอากาศ โดยเน้นการพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบบัญชาการและควบคุม ระบบปฏิบัติการบิน (OFP) ระบบเชื่อมโยงข้อมูล ทางยุทธวิธ ี (TDL) และระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารงานด้านต่าง ๆ ตลอดจนวิจยั และพัฒนาอากาศยานไร้คนขับ ขนาดเล็กติดอาวุธ ๘.๓ ก�าหนดมาตรฐานการรับรองผลงานวิจยั ยุทโธปกรณ์กองทัพอากาศโดยเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล และพิจารณาจัดตั้งหน่วยงานมาตรฐานความสมควรเดินอากาศทางทหาร (Military Airworthiness Authority) ๘.๔ พิจารณาการน�าผลงานวิจัยและการพัฒนาการทหารกองทัพอากาศที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน ยุทโธปกรณ์และตรงตามความต้องการของกองทัพอากาศเข้าสู่กระบวนการผลิต โดยพิจารณารูปแบบการผลิต ที่ค�านึงถึงความร่วมมือกับอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ และการบริหารจัดการลิขสิทธิ์อย่างเหมาะสม

www.rtaf.mi.th

๑๕


ข่าวทหารอากาศ

นโยบายเฉพาะ ๙. ด้านสวัสดิการ

๙.๑ เสริมสร้างความมั่นคงในการด�ารงชีวิตของก�าลังพลและครอบครัว ตามแนวทางศาสตร์พระราชา และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนส่งเสริมและสร้างโอกาสในการหารายได้เสริมให้กับครอบครัว ข้าราชการ ๙.๒ สร้างขวัญและก�าลังใจของก�าลังพลกองทัพอากาศให้ได้รบั สวัสดิการอย่างเพียงพอตามสิทธิ รวมทัง้ ปรับปรุงค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ตามหลักสมรรถนะและลักษณะงานให้มีความเหมาะสม ๙.๓ ก�าหนดแนวทางและวิธกี ารในการดูแลสวัสดิการการรักษาพยาบาลข้าราชการทีเ่ กษียณอายุราชการ โดยพิจารณาระบบการจองออนไลน์หรือรูปแบบพิเศษ เพื่ออ�านวยความสะดวกให้ข้าราชการได้รับตามสิทธิ ตลอดจนก�าหนดมาตรการเชิงรุกในการป้องกันการเจ็บป่วยของข้าราชการดังกล่าว

๑๖

RTAF 2020 : AIR, CYBER and SPACE

35


36


ข่าวทหารอากาศ

37


38


ข าวทหารอากาศ

39

เปดปูม ๑๐๐ ป การบิน ของบุพการี กองทัพอากาศ พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

ในปี พ.ศ.๒๔๖๔ มีการพัฒนาการสร้างสนามบิน ในต่างจังหวัดขึ้นอีกหลายแห่งโดยเป็นความร่วมมือ ระหว่างกระทรวงกลาโหม กับ กระทรวงมหาดไทย อาทิ สนามบินจังหวัดอุบลราชธานี สนามบินจังหวัด ในปีเดียวกันได้เกิดไข้ทรพิษและอหิวาตกโรค ร้ อ ยเอ็ ด สนามบิ น จั ง หวั ด ขอนแก่ น และจากนั้ น ระบาดที่อ�าเภอวารินช�าราบ จังหวัดอุบลราชธานี ก็เริ่มมีการสร้างสนามบินในจังหวัดต่าง ๆ ในทุกภาค ซึ่งเป็นภัยร้ายแรงแก่ประชาชน จ�าเป็นต้องส่งแพทย์ ของประเทศไทย และเวชภัณฑ์เข้าไปช่วยเหลือโดยด่วน กรมสาธารณสุข จึงขอให้ กระทรวงกลาโหมช่วยเหลือในการส่งแพทย์ และเวชภัณฑ์โดยทางเครือ่ งบิน กรมอากาศยานทหารบก จึงจัดเครือ่ งบินน�าแพทย์ ๑ คน และเวชภัณฑ์นา�้ หนัก ๑๒๐ กิโลกรัม ออกเดินทางจากสนามบินหนองบัว จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๔ ไปช่วยบรรเทาทุกข์ได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้ เวลาบิน ๓ ชัว่ โมง ๘ นาที ซึง่ เมือ่ เทียบกับการเดินทาง ทางอื่นในเวลานั้นต้องใช้เวลาถึง ๒ สัปดาห์

การใช้เครื่องบินเพื่อช่วยเหลือประชาชนในยุคแรก


40

วันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๔ กรมอากาศยาน ทหารบก ส่งเครื่องบินเบรเกต์ ๒ เครื่อง เดินทางไป พระตะบอง เพื่อรับเครื่องบินของฝรั่งเศส ๓ เครื่อง ที่จะบินจากไซ่ง่อนมายังกรุงเทพมหานคร เพื่อน�า พวงมาลามาร่วมเคารพอัฐิทหารอาสา ในวันที่ระลึก สงครามโลกครั้งที่ ๑ (วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ของทุกปี) นับเป็นการบินเดินทางไปต่างประเทศเป็นครั้งแรก วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๔ กระทรวงกลาโหม มีค�าสั่งให้แก้ค�าเรียก “กรมอากาศยานทหารบก” เป็น “กรมอากาศยาน” โดยมีข้อพิจารณาว่า ก�าลัง ทางอากาศหาใช่เป็นก�าลังเฉพาะส�าหรับป้องกันศัตรู หมู ่ ร ้ า ยแต่ อ ย่ า งเดี ย วไม่ หากยั ง มี ป ระโยชน์ ต ่ อ พาณิ ช ยกรรมและการคมนาคมอี ก อเนกประการ ฉะนั้ น การที่ เ รี ย กว่ า กรมอากาศยานทหารบก จึงไม่เป็นการเหมาะแก่กาลเทศะและความมุ่งหมาย ที่ ไ ด้ จั ด ตั้ ง ขึ้ น จึ ง ได้ แ ก้ ห นั ง สื อ ราชการทุ ก ฉบั บ ที่ มี ศั พ ท์ ว ่ า “กรมอากาศยานทหารบก” เป็ น “กรมอากาศยาน” และค�าว่า “กองบินใหญ่ทหารบก” เป็น “กองบินใหญ่”

ค�าสั่งส�าหรับทหารบกที่ ๑๓๙/๑๗๘๙๑ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม พระพุทธศักราช ๒๔๖๔


ข าวทหารอากาศ

ในปี พ.ศ.๒๔๖๔ กองโรงงานอากาศยานประสบ ความส� า เร็ จ ในการสร้ า งและดั ด แปลง เครื่ อ งบิ น นิเออปอรต์ขึ้นใช้ในราชการหลายรุ่น อาทิ เครื่องบิน นิ เ ออปอรต์ ๒๓ ตารางเมตร ๑๘ ตารางเมตร และ ๑๕ ตารางเมตร รวมแล้วกว่า ๑๐ เครื่อง

การสร้างเครื่องบินขึ้นใช้ในราชการของกรมอากาศยาน

41


42

จากความส�าเร็จในการทดลอง การคมนาคม ทางอากาศ เมือ่ พ.ศ.๒๔๖๒ และ พ.ศ.๒๔๖๓ จากนัน้ ในวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๕ กรมอากาศยาน จึงได้ขยายกิจการเป็นท�าการบินเพื่อรับส่งผู้โดยสาร พัสดุ และไปรษณียภัณฑ์ขึ้นเป็นครั้งแรกในเส้นทาง จังหวัดนครราชสีมา – ร้อยเอ็ด – อุบลราชธานี และได้ ออกพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ.๒๔๖๕ ขึ้น

การใช้เครื่องบินส่งพัสดุและและไปรษณียภัณฑ

เครื่องบินเบรเกต ท�าการบินโดยสารและไปรษณียอากาศ


ข าวทหารอากาศ

วันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๕ กรมอากาศยาน ส่งเครื่องบินเบรเกต์ ๔ เครื่อง น�าโดย นายพันตรี หลวงเหีย้ มใจหาญ (เหม ยศธร) เดินทางไปกรุงฮานอย เพื่ อ ร่ ว มวางพวงมาลาและเคารพศพทหารอาสา

43

ฝรัง่ เศสทีไ่ ด้เสียชีวติ ในระหว่างสงครามทีเ่ มืองไฮฟอง และเพื่ อ เป็ น การแสดงการตอบแทนที่ ฝ รั่ ง เศส ส่ ง เครื่ อ งบิ น มาเยื อ นไทยเมื่ อ เดื อ นกรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๔

การเดินทางไปกรุงฮานอย เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๕


44

ในปี พ.ศ.๒๔๖๕ ด�าเนินการสร้างเครื่องบิน ขับไล่แบบที่ ๑ (บ.ข.๑ หรือนิเออปอรต์ ๑๓ ตารางเมตร) ขึ้นใช้ในราชการ เดือนเมษายน พ.ศ.๒๔๖๖ กรมอากาศยาน สั่ ง ซื้ อ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ แ บบนิ เ ออปอรต์ เดอลาจ จากประเทศฝรั่ ง เศสเข้ า ประจ� า การ ๑๒ เครื่ อ ง เรียกชือ่ ย่อว่า น.ล. หรือเครือ่ งบินแบบ ๑๙ ชือ่ ปัจจุบนั คื อ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ แ บบที่ ๔ (บ.ข.๔) และกรม อากาศยานได้วางแผนทีจ่ ะจ�าลองแบบเครือ่ งบินรุน่ นี้ เพื่อสร้างเองต่อไป ในปีเดียวกันได้ด�าเนินการสร้างเครื่องบินขับไล่ แบบที่ ๓ (บ.ข.๓ ) ขึ้นใช้ราชการเอง วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๖ เสนาธิการ ทหารบก ออกแจ้ ง ความชมเชยผู ้ ที่ คิ ด ส่ ว นผสม ยางน�า้ ส�าหรับปะยางล้อเครือ่ งบิน มีใจความส�าคัญว่า “ด้ ว ยพลทหารพริ้ ง ทั บ น�้ า เจ้ า หน้ า ที่ ป ะยาง กองโรงงานอากาศยาน ได้คิดผสมยางน�้าชนิดดิบ ส�าหรับปะยางล้อเครือ่ งบินขึน้ ใช้ในราชการ โดยใช้ เศษแผ่นยางปะชนิดดิบที่ใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้ แล้วมาละลายขึ้น ยางน�้าที่ผสมนี้ได้ใช้แทนยางน�้า ชนิดทีซ่ อื้ มาจากต่างประเทศในราคาแพง ซึง่ ทดลอง แล้วใช้ได้ผลดีเช่นเดียวกัน นับว่าเป็นการประหยัด

เครื่องบินขับไล่แบบที่ ๑ (Nieuport 11 Bebe)

เครื่องบินขับไล่แบบที่ ๓ (Spad VII/XIII)

พระราชทรัพย์ส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ ในทางราชการยิ่งนัก กรมอากาศยานจึงมอบเงิน เป็นรางวัล จ�านวน ๑๐๐ บาท และชมเชยในความ อุตสาหะ พยายาม เพื่อให้ปรากฏเป็นตัวอย่างอันดี สืบไป”

เครื่องบินขับไล่แบบที่ ๔ (Nieuport Delage 29C-1) (อ่านต่อฉบับหน้า)


ข าวทหารอากาศ

ครูภาษาพาที

45

มะลิลา

การเตรียมนํ้าสรงพระมุรธาภิเษกและนํ้าอภิเษก (๑) สวั ส ดี ผู ้ อ ่ า นคอลั ม น์ ค รู ภ าษาพาที ทุ ก ท่ า น ในฉบับนี้เรื่องราวจะยังคงสืบเนื่องต่อจากบทความ ก่อน ซึ่งได้น�าเสนอภาษาอังกฤษเกี่ยวกับพระราชพิธี บรมราชาภิเษก ในครั้งนี้ ผู้เขียนจะขอน�าเสนอเรื่อง การเตรี ย มน�้ า สรงพระมุ ร ธาภิ เ ษกและน�้ า อภิ เ ษก ซึ่ ง ในตอนแรกนี้ จ ะเริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ารเตรี ย มน�้ า สรง พระมุรธาภิเษกและน�้าอภิเษก ในสมัยอยุธยาจนถึง สมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงรัชกาลที่ ๑ - ๕ The earliest process in the preparation of the Royal Coronation Ceremony is to collect water from different important sources in the Kingdom. These are combined and blessed to be used as sacred water for ablution of the king in the Purification Ceremony and again in the Anointment Ceremony during

the Royal Coronation Ceremony. According to the ancient Brahmanism textbook, the water for the Anointment Ceremony must come from the five main streams in South Asia, or in the country of India to be specific. These main streams are the Ganges, the Mahi, the Yamuna, the Aciravati and the Sarabhu. In the Brahmanism-Hinduism religion, these five main streams flow down from Mount Kailasa, the abode of Isvara. Therefore, the water becomes sacred and divine to be used in Royal Ceremonies of the Purification Ceremony and the Anointment Ceremony. ขั้ น ตอนการเตรี ย มพิ ธี จ ะต้ อ งมี ก ารตั ก น�้ า จากแหล่งส�าคัญ ๆ เพื่อน�ามาเป็นน�้าสรงพระมุรธา ภิเษก และเพื่อท�าน�้าอภิเษกก่อนที่จะน�าไปประกอบ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามต�าราโบราณของ พราหมณ์ น�า้ อภิเษกจะต้องเป็นน�า้ จาก “ปัญจมหานที”


46

คือ แม่น�้าใหญ่ทั้ง ๕ สายในชมพูทวีป หรือประเทศ อินเดีย ได้แก่ แม่นา�้ คงคา แม่นา�้ มหิ แม่นา�้ ยมนา แม่นา�้ อจิรวดี และแม่น�้าสรภู ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเชื่อ ว่าแม่น�้าทั้ง ๕ สายนี้ไหลมาจากเขาไกรลาส ซึ่งเป็นที่ สถิตของพระอิศวรจึงถือว่าเป็นน�้าศักดิ์สิทธิ์น�ามาใช้ ในการพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น น�้าสรงพระมุรธาภิเษก และน�้าอภิเษก ค� า แรกที่ น ่ า สนใจจากย่ อ หน้ า นี้ คื อ ค� า ว่ า preparation อ่านว่า /เพรฺพ เพอะ เร เชิน่ / ท�าหน้าที่ เป็นค�านาม มีความหมายว่า การตระเตรียม การ เตรียมการ หรือการเตรียมพร้อม ผู้อ่านน่าจะคุ้นเคย กับค�านี้ในรูปของค�ากริยา นั่นคือค�าว่า prepare /พริ แพรฺ/ แปลว่า จัดเตรียม ตระเตรียม หรือเตรียม พร้ อ ม ส� า หรั บ สองค� า นี้ ผู ้ เ ขี ย นอยากเน้ น ย�้ า ถึ ง การออกเสี ยง ถึงแม้ว่าจะขึ้นต้นด้วยตัวสะกด pre เหมือนกัน แต่การออกเสียงในพยางค์แรกนั้น แตกต่างกัน ลองทบทวนดูที่ค�าอ่านอีกครั้ง ค�าต่อมาคือ blessed อ่านว่า /เบลฺสทฺ/ เป็นค�า กริยารูป past participle เพือ่ ท�าให้เป็นรูปถูกกระท�า (passive voice) มีความหมายว่า ท�าให้เกิดความ ศักดิส์ ทิ ธิ์ หรืออีกความหมายคือ อวยพร การอวยพร ในภาษาอังกฤษจึงมักมีคา� ว่า bless อยูด่ ว้ ย เช่น God bless you! หมายถึง ขอให้พระเจ้าอวยพร หรือ

ขอให้พระเจ้าคุ้มครอง เจ้าของภาษาใช้ส�านวน God bless you! กั น อย่ า งแพร่ ห ลาย สามารถใช้ พู ด เมื่อบุคคลอื่นจาม โดยส�านวน God bless you! นี้ มาจากเหตุการณ์โรคระบาดครั้งใหญ่ราว ค.ศ.๖๐๐ ที่เมื่อใดมีคนติดเชื้อจะมีอาการจาม ซึ่งผู้คนในยุคนั้น กลัวการจามมากเพราะมันสือ่ ถึงความตาย นอกจากนี้ คนในสมั ย นั้ น มี ค วามเชื่ อ เรื่ อ งภู ติ ผี ป ี ศ าจกั น มาก เชื่อว่า เมื่อจามแล้ววิญญาณจะตกใจและหลุดลอย ออกจากร่าง สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ ๑ จึงคิดหาวิธีไม่ให้เกิดความตื่นกลัวหรือตื่นตระหนก มากกว่านี้ โดยเมือ่ ใดทีม่ ใี ครจาม ให้พดู ว่า God bless you! เท่านี้ คน ๆ นั้นก็จะปลอดภัย จากนั้นจึงกลาย เป็นธรรมเนียมปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน ส�านวน God bless you! หรือย่อให้สั้นลงว่า Bless you! เมือ่ ใช้พดู หลังจากทีผ่ อู้ นื่ จาม จึงสือ่ ความหมายถึง การอวยพรให้คนที่จามนั้นหายไว ๆ นอกจากนี้ ยังใช้ ส�าหรับการบอกลา เพื่อสื่อความหมายว่า ขอให้โชคดี ตัวอย่าง Good night and God bless you. ราตรีสวัสดิ์ ขอให้โชคดี (ขอให้พระเจ้าคุ้มครอง) ค�าสุดท้ายคือค�าว่า stream /สตฺรีม/ แปลว่า ล�าธาร ธารน�้า หรือกระแสน�้า ท�าหน้าที่เป็นค�านาม โดยปกติค�าว่า stream จะใช้กับลักษณะทางน�้า ซึ่งมีขนาดเล็กและตื้นเขินกว่า ค�าว่า river /ริ เวอรฺ/ (แม่นา�้ ) แต่ในบางครัง้ ก็สามารถน�ามาใช้ในความหมาย ของแม่น�้าได้เช่นกัน อย่างในบริบทนี้ five main streams จึงหมายถึงแม่น�้าสายหลักทั้ง ๕ สายของ ประเทศอินเดีย Dating from the days of the Sukhothai and Ayutthaya periods, there are no records that mention the bringing of sacred water from the five main streams of India to use in the Royal Coronation Ceremony. However, in the Ayutthaya period, the record shows that the water for Ablution used in the Royal Purification Ceremony of the Ayutthaya


ข่าวทหารอากาศ

47

period was taken from four ponds or Sa in สระคา สระยมนา แขวงเมืองสุพรรณบุรี ในสมัย Thai: Sa Ket, Sa Kaeo, Sa Kha and Sa Yamuna รัตนโกสินทร์ ช่วงรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๔ ใช้น�้ำ from Suphanburi Province. In Rattanakosin ในแม่ น�้ ำ ส� ำ คั ญ ของประเทศเพิ่ ม เติ ม อี ก ๕ สาย period, during the reigns from King Rama I to King Rama IV, water from another five important rivers of Thailand were the addition of sacred water. These five main rivers are called “Bencha Suttha Khongkha” or the Five Pure Streams of Ganges, so as to follow the belief in the use of the sacred water from the five main streams from South Asia or Chomphu Thawip in Thailand. The five specific sources of water are from : the Bang Pakong River, taken from the Phra Achan Pond in Nakhon Nayok Precinct, the Pasak River, taken from the Tharap Subdistrict of Mueang District in Saraburi Precinct; the Chao Phraya River, taken from the Bang Kaeo District of Angthong Precinct; the Ratchaburi River taken from Daowadueng Subdistrict of Samut Songkhram Precinct and the Phetchaburi River, taken from Thachai Subdistrict of Phetchaburi Precinct. ในสมัยสุโขทัยและอยุธยาไม่ปรากฏหลักฐานว่า มีการน�ำน�้ำจากปัญจมหานทีมาใช้ในการพระราชพิธี บรมราชาภิเษก แต่ปรากฏหลักฐานว่า น�้ำสรงพระ มุรธาภิเษกในสมัยอยุธยาใช้น�้ำจากสระเกษ สระแก้ว


48

แม่น�้าบางปะกง

แม่น�้าปาสัก

แม่น�้าราชบุรี

แม่น�้าเจ้าพระยา

เรียกว่า “เบญจสุทธคงคา” โดยอนุโลมตามปัญจม หานทีในชมพูทวีป คือ แม่น�้าบางปะกง ตักจากบึง พระอาจารย์ แขวงเมื อ งนครนายก แม่ น�้ า ป่ า สั ก ตั ก จากต� า บลท่ า ราบ แขวงเมื อ งสระบุ รี แม่ น�้ า เจ้าพระยา ตักจากต�าบลบางแก้ว แขวงเมืองอ่างทอง แม่ น�้ า ราชบุ รี ตั ก จากต� า บลดาวดึ ง ส์ แขวงเมื อ ง สมุทรสงคราม และแม่น�้าเพชรบุรี ตักจากต�าบล ท่าไชย แขวงเมืองเพชรบุรี ค�าว่า pure อ่านว่า /เพียว เออรฺ/ เป็นค�า คุณศัพท์ หมายถึง บริสุทธิ์ หรือไร้มลทิน หากเป็น ค�านามจะใช้ค�าว่า purity /เพียว เรอะ ถิ/ แปลว่า ความบริสทุ ธิ์ และหากเป็นค�ากริยาจะใช้คา� ว่า purify /เพียว เรอะ ฟาย/ ซึ่งหมายถึง ท�าให้บริสุทธิ์ หรือ ท�าให้ปราศจากมลทิน ค�าต่อมาคือค�าว่า source อ่านว่า /ซอรฺส/ เป็น ค�านาม มีความหมายว่า แหล่งที่มา แหล่งก�าเนิด หรือแหล่งข้อมูล ค� า สุ ดท้ า ยของย่ อ หน้ า นี้ คือ ค� า ว่ า precinct อ่านว่า /พรี ซิงทฺ/ แปลว่า ขอบเขต เขตปกครอง หรือ ปริมณฑล ค�าว่า precinct หมายถึงเขตการปกครอง ที่มีขนาดใกล้เคียงกับ เขต (district /ดิส ตริกทฺ/) ในปัจจุบัน ซึ่งจะมีขนาดเล็กกว่าเมือง (city /ซิ ถิ/) หรือ จังหวัด (province /โพร วินสฺ/) The water samples were then sanctified in a ceremony at the significant chedi of each subdistrict from which the water originated, before being transferred to be consecrated in Bangkok again. In the reign of King Rama IV, a Buddhist Religious Ceremony was added to

แม่น�้าเพชรบุรี


ข าวทหารอากาศ

the procedure. This Buddhist Ceremony is to have four Provosts of the Thai Phra Paritra chant and consecrate the Buddhist holy water, which was also used in the Royal Purification Ceremony. เมือ่ รวบรวมน�า้ มาแล้ว จะตัง้ พิธเี สก ณ เจดียส์ ถาน ส�าคัญแห่งแขวงนั้น ๆ แล้วจึงจัดส่งเข้ามาท�าพิธี ทีก่ รุงเทพมหานคร ในรัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้เพิม่ เติมพิธีทางพระพุทธศาสนาด้วย โดยให้พระสงฆ์ ซึ่ ง เป็ น พระครู พ ระปริ ต รไทย ๔ รู ป สวดท� า น�้ า พระพุ ท ธมนต์ ใ นพิ ธี ส รงพระมุ ร ธาภิ เ ษก จึ ง มี น�้าพระพุทธมนต์เพิ่มขึ้นอีกอย่างหนึ่ง ค�าแรกในย่อหน้านีท้ จี่ ะน�าเสนอ คือ significant อ่านว่า /สิก นิ เฟอะ เคิน่ ทฺ/ ท�าหน้าทีเ่ ป็นค�าคุณศัพท์ มีความหมายว่า ส�าคัญ หรือ มีความหมาย หากเป็น ค�านามจะใช้ค�าว่า significance /สิก นิ เฟอะ เคิ่นสฺ/ แปลว่า ความส�าคัญ หรือประเด็นส�าคัญ ค�าว่า originate /เออะ ริจ เจอะ เนท/ ท�าหน้าที่ เป็นค�ากริยา หมายถึง เริม่ ต้นขึน้ ก�าเนิด หรือ มาจาก ค� า นี้ มี ร ากศั พ ท์ เ ดี ย วกั บ ค� า ศั พ ท์ ค� า หนึ่ ง ที่ ผู ้ อ ่ า น หลายท่านน่าจะคุ้นเคยกัน นั่นคือค�าว่า original /เออะ ริ จ เจอะ เนิ ล / เป็ น ได้ ทั้ ง ค� า นามและ ค� า คุ ณ ศั พ ท์ หากเป็ น ค� า นามจะมี ค วามหมายว่ า ต้นฉบับหรือต้นก�าเนิด ถ้าเป็นค�าคุณศัพท์จะหมายถึง ดัง้ เดิม แรกเริม่ หรือ เป็นแบบฉบับ ส่วนค�าว่า provost อ่านว่า /โพร เวิสทฺ/ ท�าหน้าที่เป็นค�านาม แปลว่า ผู้เป็นประธาน หรือหัวหน้าพระสงฆ์ ในที่นี้หมายถึง พระครูพระปริตรไทย ซึง่ มีหน้าทีเ่ ข้าไปสวดพระปริตร ท� า น�้ า พระพุ ท ธมนต์ ใ นพระบรมมหาราชวั ง ที่ ห อ ศาสตราคม ปัจจุบนั พระครูพระปริตรไทยประจ�าอยูท่ ี่ วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร In 1868, when the first Royal Coronation Ceremony of His Majesty King Chulalongkorn (Rama V) took place, the holy water for the Royal Purification or the Phra Muratha Bhisek

49

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

Ceremony was comprised of a portion of the waters from “Bencha Suttha Khongkha” or the Five Pure Streams of Ganges and a portion from the four symbolic ponds in Suphanburi, which was of the same proportion as the previous reigns in the dynasty. In the year of 1872, when His Majesty King Rama V visited India, he brought back with him to Thailand, the symbolic waters from the five main streams of Chomphu Thawip, as prescribed by the Brahmanism Textbook. Therefore, when the second Royal Coronation Ceremony was conducted in 1873, the actual sacred water from the original five rivers of India was added in with the water from the Five Pure Streams of Ganges and the four sacred ponds of Suphanburi in Thailand.


50

ต่อมาในพระราชพิธบี รมราชาภิเษกพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว น�้าสรงพระมุรธา ภิเษก ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรก เมื่ อ พ.ศ. ๒๔๑๑ ได้ ใ ช้ น�้ า เบญจสุ ท ธคงคาและ น�า้ จากสระ ๔ สระ แขวงเมืองสุพรรณบุรเี ช่นเดียวกับ รัชกาลก่อน ๆ จนกระทัง่ พ.ศ.๒๔๑๕ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชด�าเนิน ไปยังประเทศอินเดีย ทรงน�าน�้าจากปัญจมหานที ตามต� า ราพราหมณ์ ก ลั บ มาด้ ว ย ดั ง นั้ น น�้ า สรง พระมุรธาภิเษกในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ครั้ ง ที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๔๑๖ จึ ง มี น�้ า ปั ญ จมหานที เจือลงในน�้าเบญจสุทธคงคาและน�้าจากสระ ๔ สระ แขวงเมืองสุพรรณบุรีด้วย ค�าว่า comprise ท�าหน้าทีเ่ ป็นค�ากริยา อ่านว่า /เคิ ม ไพรซฺ / มี ค วามหมายว่ า ประกอบด้ ว ย หรือ รวมถึง สามารถใช้เป็นรูปถูกกระท�า (passive voice) ในโครงสร้ า ง to be comprised of ตัวอย่าง The USA comprises 50 states. สหรัฐอเมริกาประกอบด้วยรัฐ ๕๐ รัฐ The USA is comprised of 50 states. สหรัฐอเมริกาประกอบด้วยรัฐ ๕๐ รัฐ นอกจากค� า ว่ า comprise ยั ง สามารถใช้ ค� า ว่ า consist และ compose ได้ เ ช่ น กั น

ค�าว่า consist จะใช้คู่กับ of เป็น consist of ส่วน ค�าว่า compose จะใช้ในรูปถูกกระท�าโดยอยู่ใน โครงสร้าง to be composed of ตัวอย่าง The USA consists of 50 states. สหรัฐอเมริกาประกอบด้วยรัฐ ๕๐ รัฐ The USA is composed of 50 states. สหรัฐอเมริกาประกอบด้วยรัฐ ๕๐ รัฐ ต่อมาค�าว่า proportion /เพรฺอะ พอรฺ เชิ่น/ หมายถึ ง สั ด ส่ ว น หรื อ อั ต ราส่ ว น ท� า หน้ า ที่ เป็นค�านาม ส่วนค�าว่า symbolic อ่านออกเสียงว่า /ซิม บอล ลิก/ ท�าหน้าที่เป็นค�าคุณศัพท์ แปลว่า ที่/ ซึ่ ง เป็ น เครื่ อ งหมาย หรื อ ที่ / ซึ่ ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ หากเป็นค�านามจะใช้ค�าว่า symbol /ซิม เบิล/ หมายถึง สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย ในครั้งนี้เป็นการเตรียมน�้าสรงพระมุรธาภิเษก และน�้าอภิเษกตอนที่ ๑ ซึ่งเริ่มตั้งแต่ครั้งสมัยอยุธยา จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ในรัชกาลที่ ๑ - ๕ คิดว่า ผู้อ่านคงได้เรียนรู้ค�าศัพท์และเกร็ดความรู้เพิ่มเติม กั น พอสมควร ในฉบั บ หน้ า จะเป็ น การเตรี ย ม น�้ า สรงพระมุ ร ธาภิ เ ษกและน�้ า อภิ เ ษก ตอนที่ ๒ ซึง่ อยูใ่ นสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๖ - ๑๐ ไว้พบกัน ใหม่ในฉบับหน้า

อ้างอิง - https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/pramuan_king.pdf - https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/final-THAI.pdf - https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/final-ENG.pdf - http://www.nationmultimedia.com/detail/big_read/30365061 - https://www.nationmultimedia.com/detail/national/30367265 - http://www.nationmultimedia.com/special-edition/royal-coronation - https://palungjit.org/threads/ - https://www.southernliving.com/news/why-we-say-bless-you-after-a-sneeze - https://www.historychannel.com.au/articles/god-bless-you-is-born/


ข าวทหารอากาศ

51

วันคล ายวันสถาปนา สํานักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศ ครบ ๓๓ ป ๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ ร.อ.หญิง ฉัตระวี พวงผกา

การตรวจสอบภายในถื อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ของ ผู ้ บ ริ ห าร โดยการให้บริก ารข้อมูลแก่ฝ่ายบริ ห าร และเป็นหลักประกันขององค์กรในด้านการประเมิน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของระบบการควบคุม ภายในทีเ่ หมาะสม ทัง้ ในด้านการเงินและการบริหารงาน เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายขององค์กร โดยการเสนอรายงานเกี่ยวกับ กิจกรรมการเพิ่มมูลค่าขององค์กร รวมทั้งการเป็น ผูใ้ ห้คา� ปรึกษากับฝ่ายบริหารในการปรับปรุงประสิทธิภาพ การท�างานเพื่อเพิ่มประสิทธิผลและดูแลให้มีการใช้ ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า การจัดแบ่งประเภทงาน “การตรวจสอบภายใน”

การตรวจสอบภายในมี ๒ ลักษณะ คือ งานบริการ ให้ความเชือ่ มัน่ และงานบริการให้คา� ปรึกษา งานบริการให้ความเชื่อมั่น เช่น การตรวจสอบ ด้ า นบั ญ ชี ก ารเงิ น การตรวจสอบเงิ น สดและเงิ น ทดรองจ่าย การตรวจสอบการเบิกจ่าย การตรวจสอบ กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ตั้งแต่งบประมาณการ จั ด ซื้ อ การตรวจรั บ การเบิ ก จ่ า ย การเก็ บรั ก ษา การตรวจสอบสินทรัพย์ถาวร การตรวจสอบวัสดุ คงคลัง การตรวจสอบการบริหารกิจการสวัสดิการ การตรวจสอบการบริหารโครงการ การตรวจสอบ การปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และการตรวจสอบ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น


52

ส� า หรั บ งานบริ ก ารให้ ค� า ปรึ ก ษา เป็ น การ ให้ ค� า ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งในลั ก ษณะเดี ย วกั น กับงานบริการให้ความเชื่อมั่น แต่จะมุ่งเน้นการให้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงประสิทธิภาพการท�างาน และการบริหารทรัพยากรให้คุ้มค่า รวมถึงการให้ทาง เลือกที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร การตรวจสอบภายใน ร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ผลักดันความส�าเร็จในหน่วยงาน ๑. ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการก�ากับดูแลที่ดี (Good Governance) และความโปร่งใสในการปฏิบตั ิ งาน (Transparency) ป้องกันการประพฤติมิชอบ หรื อ การทุ จ ริ ต และเป็ น การลดความเสี่ ย งที่ อ าจ เกิดขึ้นจนท�าให้การด�าเนินงานไม่บรรลุวัตถุประสงค์

๒. ส่งเสริมให้เกิดการบันทึกบัญชีและรายงาน ตามหน้าที่ความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) ท�าให้องค์กรได้ข้อมูลหรือรายงาน ตามหน้ า ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบและเป็ น พื้ น ฐานของหลั ก ความโปร่งใส (Transparency) และความสามารถ ตรวจสอบได้ (Accountability) ๓. ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการปฏิบัติงาน (Efficiency and Effectiveness of Performance) ขององค์กร เนือ่ งจากการตรวจสอบ ภายในเป็ น การประเมิ น วิ เ คราะห์ เปรี ย บเที ย บ ข้อมูลทุกด้านในการปฏิบัติงาน จึงเป็นข้อมูลส�าคัญ ทีช่ ว่ ยปรับปรุงระบบงานให้สะดวก รัดกุม ลดขัน้ ตอน ทีซ่ า�้ ซ้อน และให้เหมาะสมกับสถานการณ์ตลอดเวลา


ข าวทหารอากาศ

ช่วยลดเวลา และค่าใช้จ่าย เป็นสื่อกลางระหว่าง ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในการประสานงาน ๔. เป็นมาตรการถ่วงดุลแห่งอ�านาจ (Check and Balance) ส่งเสริมให้การจัดสรรการใช้ทรัพยากร ขององค์กรเป็นไปอย่างเหมาะสมตามล�าดับความส�าคัญ เพื่อให้ได้ผลงานที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ๕. ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า (Warning Signals) ของการประพฤติ มิ ช อบหรื อ การทุ จ ริ ต ในองค์กร ลดโอกาสความร้ายแรงและความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งเพื่อเพิ่มโอกาสของความส�าเร็จ ของงานการตรวจสอบภายใน ในรอบปีที่ผ่านมา ส� า นั ก งานตรวจสอบภายในทหารอากาศ

53

ได้ด�าเนินการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติ งานของหน่วยรับตรวจต่าง ๆ ตามแผนการตรวจสอบ ภายในประจ�าปี มีข้อสังเกตและข้อเสนอแนะเป็นไป อย่างสร้างสรรค์ เพือ่ ให้หน่วยรับตรวจพัฒนาให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ กรณีการโอนเงินเหมาจ่ายรายหัวผูป้ ว่ ยนอกและ เงินเสริมสร้างสุขภาพป้องกันโรคของทหารกองประจ�าการ ที่ ไ ม่ มี ภ าระผู ก พั น ต้ อ งช� า ระหนี้ ค่ารักษาพยาบาล เข้าเป็นเงินรายรับของสถานพยาบาลกรณีการขอเพิ่ม วงเงินฝากของเงินรายรับของสถานพยาบาล เพื่อให้ สอดคล้ อ งกั บ การด� า เนิ น การตามภาวะเศรษฐกิ จ ที่เปลี่ยนแปลงไป และกรณีการใช้ประโยชน์จากการ ควบคุมพัสดุในระบบการบริหารและควบคุมพัสดุ โดยใช้ โ ปรแกรม INVS ผู ้ ต รวจสอบภายในได้ ใ ห้ ข้ อ เสนอแนะการปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขในระยะสั้ น และ ระยะยาว เพื่อให้การปรับปรุงแก้ไขมีการบูรณาการ ร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ส�านักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศ ได้เข้า ร่วมการประเมินการประกันคุณภาพงานตรวจสอบ ภายในภาครัฐในทุก ๆ ๕ ปี และได้รับรางวัลการ ประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ในระดับ “เป็นไปตามมาตรฐานระดับดี” จากอธิบดีกรมบัญชีกลาง เมือ่ วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๘ จึงเป็นการรับรองความ มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และส่งผลให้มีคุณสมบัติในการเข้าร่วมการประเมิน รางวัลประกาศเกียรติคุณด้านการตรวจสอบภายใน ภาครัฐ ในระหว่างปีงบประมาณ ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒ ปั จ จุ บั น ส� า นั ก งานตรวจสอบภายในทหารอากาศ อยูร่ ะหว่างการเตรียมเข้าร่วมการประเมินการประกัน คุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ และรางวัลทีน่ บั เป็นอีกหนึง่ ความภาคภูมใิ จของ ส�านักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศ คือ รางวัล ประกาศเกียรติคุณด้านการตรวจสอบภายในภาครัฐ ในพิ ธี ม อบรางวั ล องค์ ก รที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ ในการ


54

บริหารจัดการด้านการเงินการคลังภาครัฐ ซึ่งผลการ ประเมิ น กองทั พ อากาศโดยส� า นั ก งานตรวจสอบ ภายในทหารอากาศ เป็นเพียงหน่วยงานเดียวจากส่วน ราชการทั่ ว ประเทศที่ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ ใ ห้ ไ ด้ รั บ รางวั ล ประกาศเกียรติคุณด้านการตรวจสอบภายในภาครัฐ ระดับดีเลิศต่อเนื่องเป็นปีที่ ๔ จากนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๒ รางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ ท� า ให้ ก องทั พ อากาศ โดย ส� า นั ก งานตรวจสอบภายในทหารอากาศได้ รั บ การยอมรับให้เป็นหน่วยงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ชั้นแนวหน้า และมีส่วนราชการต่าง ๆ ขอเข้าศึกษา ดูงานอย่างต่อเนื่อง เช่น กรมอนามัยและหน่วยงาน ในสั ง กั ด กระทรวงสาธารณสุ ข ส� า นั ก งานบริ ห าร หนี้ ส าธารณะ ส� า นั ก งานคณะกรรมการนโยบาย รั ฐ วิ ส าหกิ จ ส� า นั ก งบประมาณ ส� า นั ก งานปลั ด กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง ฯลฯ นอกจากนี้ ส�านักงานตรวจสอบภายในทหาร อากาศ ยังได้รับรางวัลการันตีความมุ่งมั่นให้การ ปฏิบัติงานมีมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ รางวัล องค์กรที่มีความเป็นเลิศด้านบัญชี ระดับ “ดีเลิศ”

จากการทีเ่ ป็นหน่วยศูนย์ตน้ ทุนส่วนกลางทีผ่ า่ นเกณฑ์ การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชี ซึ่งจัดโดย กรมการเงินทหารอากาศ และระดับรางวัล Value Award ประเภท KM จากงานมหกรรมการจัดการ ความรู้ นวัตกรรมและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ กองทัพ อากาศ ครั้งที่ ๓๖ ประจ�าปี ๒๕๖๒ ส�านักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศ ต้องขอ ขอบคุณผู้รับการตรวจและผู้บริหารทุกท่านในความ ร่วมมือและให้การสนับสนุนข้อมูลในการปฏิบัติงาน เป็นอย่างดี ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความร่วมมือร่วมใจ ช่วยกันพัฒนาให้กองทัพอากาศมีการปฏิบัติงานที่มี ประสิทธิผลและเกิดประสิทธิภาพ ในวาระวันคล้ายวันสถาปนาส�านักงานตรวจสอบ ภายในทหารอากาศครบ ๓๓ ปี วันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ นี้ ส�านักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศ ยังคงมุ่งมั่นต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความซือ่ สัตย์สจุ ริตและด�ารงไว้ ซึง่ มาตรฐานการตรวจ สอบภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ พร้อมใช้เทคโนโลยีดา้ น การตรวจสอบมาสู่กองทัพอากาศในยุคที่ใช้เครือข่าย เป็ น ศู น ย์ ก ลาง ตามวิ สั ย ทั ศ น์ ข องหน่ ว ยที่ ว ่ า “ส� า นั ก งานตรวจสอบภายในทหารอากาศ เป็นหน่วยงานหลักของกองทัพอากาศ ทีด่ า� เนินการ ตรวจสอบภายในแบบมืออาชีพ ตามมาตรฐาน สากล ที่สร้างความพึงพอใจให้กับผู้บังคับบัญชา และผู ้ รั บ การตรวจเพื่ อ เพิ่ ม ผลสั ม ฤทธิ์ ภ ารกิ จ ของกองทัพอากาศ”


ข าวทหารอากาศ

55

น.อ.หญิง สุขจิต ศิลาเขตต

ย้อนหลังไป ๔๐ ปี โรงเรียนนายทหารอากาศ อาวุ โ ส กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ได้ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๒ โดยมีวัตถุประสงค์ เริม่ แรกเพือ่ แก้ปญั หานายทหารสัญญาบัตรทีไ่ ม่สามารถ เข้ารับการศึกษาหลักสูตรในโรงเรียนเสนาธิการทหาร อากาศ และได้เปดการศึกษาในรุ่นที่ ๑ เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ต่อมาได้ถือเอาวันที่ ๑๗ ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนาโรงเรียนนายทหาร อากาศอาวุโส ฯ โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ เป็นสถาบัน การศึกษาทางทหาร มีภารกิจให้การฝึกศึกษาและ ฝึกอบรมนายทหารสัญญาบัตรของกองทัพอากาศ ในด้ า นการอ� า นวยการและบริ ห ารจั ด การส� า หรั บ การปฏิบัติงาน โดยมีผู้อ�านวยการโรงเรียนนายทหาร อากาศอาวุโส ฯ เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ มุ่งมั่นที่จะ จัดการและให้การศึกษาทางทหารทีส่ ามารถสร้างเสริม และพัฒนาศักยภาพพร้อมเป็นผู้บังคับบัญชาของ หน่วยในระดับยุทธการของกองทัพอากาศ จึงจ�าเป็น ต้องมีการพัฒนาด้านต่าง ๆ ดังนี้ การพัฒนาด้านการจัดการเรียนการสอน - การพัฒนาฐานข้อมูลประวัติผู้บรรยาย น�าลงระบบ e-Learning ของโรงเรียนนายทหาร อากาศอาวุโส ฯ เป็นต้น - พั ฒ นาการประเมิ น ในระบบการเรี ย น การสอนโดยผ่าน QR CODE - พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง แบบฝึ ก หั ด และ ใบแบบประเมินการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียน นายทหารอากาศอาวุโส ฯ ให้ความส�าคัญเป็นอย่างยิง่ กับการพัฒนาบุคลากร โดยได้จัดท�าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สามารถ ปรับปรุง พัฒนา และด�ารงคุณภาพ การศึกษาให้ได้มาตรฐานดังนี้ - โครงการประกวดการเขียน Flow Chart และ Mind Map การปฏิบัติงานของข้าราชการ ชั้นประทวน ลูกจ้าง และพนักงานราชการ โรงเรียน นายทหารอากาศอาวุโส กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ประจ�าปี ๖๒ เพื่อส่งเสริมให้ข้าราชการ ฯ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถเขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน น.อ.เสฏฐกร ชาตวัฒนานนท์ ผอ.รร.นอส.ยศ.ทอ. ของตนเองได้ ซึง่ จะเป็นสิง่ ทีส่ ามารถสร้างความมัน่ ใจ มอบรางวัลชนะเลิศการประกวดเขียน Flow chart และ ให้กบั ผูบ้ งั คับบัญชาได้วา่ การปฏิบตั งิ านของหน่วยนัน้ Mind Map ของข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ มีความเป็นมืออาชีพ มีคู่มืออ้างอิงในการปฏิบัติงาน โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ


56

- โครงการทบทวนความรู้พื้นฐานการใช้งาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ e-Learning ส�าหรับ บุคลากร โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ - โครงการสร้างจิตส�านึก ตระหนักรู้ด้านความ ปลอดภัยจราจร และการป้องกันอัคคีภยั ของก�าลังพล โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ - โครงการอบรมทบทวนความรู้อาจารย์ประจ�า สัมมนา อาจารย์ผู้ควบคุมการสัมมนาและการปฏิบัติ (Refresh Directing Staff ) - โครงการอบรมผู้ควบคุมการฝึกวางแผนเผชิญ สถานการณ์วิกฤต - โครงการอบรมความรู้เรื่องการเก็บเอกสาร ให้ถูกต้องตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา สถานศึกษา กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๖๑ - โครงการบริ ห ารจั ด การการเรี ย นการสอน ด้วยระบบ e-Learning ส�าหรับอาจารย์ในสถานศึกษา ของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ - การชี้แจงเรื่องค�าแนะน�าแนวทางการปฏิบัติ งาน (Director Guidance) ของ น.อ.เสฏฐกรณ์ ชาตวัฒนานนท์ ผูอ้ า� นวยการโรงเรียนนายทหารอากาศ อาวุโส ฯ สรุปได้ดังนี้

๑) ให้ สื บ สานแนวทางการท� า งานเดิ ม และ พัฒนา โดยใช้ยุทธศาสตร์ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” คือให้ปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางการท�างานเดิม ทีม่ ขี นั้ ตอนการปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ตาม Flow Chart ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว และ ถ้าปฏิบตั งิ านด้วยความเข้าใจจะท�าให้สามารถเห็นถึง ข้อควรปรับปรุง และน�าไปสู่การหาแนวทางพัฒนา ระบบการท�างานให้ดียิ่งขึ้นต่อไป ๒) ให้ ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามค่ า นิ ย มหลั ก ทอ.และ โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ “Values Practice” ค่านิยมหลักของ ทอ.คือ AIR ประกอบด้วย A (airmanship) ความเป็ น ทหารอากาศ หมายถึง การแสดงออกถึงความเป็นทหารอากาศ ทีม่ รี ะเบียบวินยั มีความเชีย่ วชาญในงานทีร่ บั ผิดชอบ และมีความตระหนักรู้ในตนเอง I (integrity and allegiance) ความซื่อสัตย์ และจงรั ก ภั ก ดี หมายถึ ง มี ค วามยึ ด มั่ น ในระบบ เกียรติศักดิ์ มีความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ R (responsibility) ความรับผิดชอบ หมายถึง ความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์กร สังคม และประเทศชาติ


ข าวทหารอากาศ

จากค่านิยมหลักของ ทอ.ได้น�ามาเป็นแนวทาง ในการก�าหนดค่านิยมหลักของโรงเรียนนายทหาร อากาศอาวุโส ฯ เพื่อให้เป็นไปอย่างสอดคล้องกับ ค่านิยมหลักของ ทอ.โดยค่านิยมหลักของโรงเรียน นายทหารอากาศอาวุโส ฯ มีทั้งหมด ๖ ข้อด้วยกัน ดังนี้ Service before self อุทิศตนและเสียสละ เพื่อผลสัมฤทธิ์ของงาน Collaboration ร่วมแรงร่วมใจกันท�างาน โดยมีเป้าหมายร่วมกัน Leadership by examples ความเป็นผู้น�า ตามตัวอย่าง Open-minded เปดใจรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่นโดยปราศจากอคติ intelligence ความเฉลียวฉลาด innovation แนวทางการปฏิบัติงานที่แปลก ไปจากเดิม ๓) ให้ท�างานเป็นทีม รู้รักสามัคคี ตระหนักรู้ ตลอดเวลาในภารกิจของหน่วย “SAOC Team Spirit” คือ การร่วมใจกันปฏิบัติงาน โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือความส�าเร็จของภารกิจหน่วย ๔) ให้ทา� งานเป็นระบบ ด้วยความถูกต้องรวดเร็ว “SAOC System” คือการท�างานอย่างมีแบบแผนขัน้ ตอน โดยมีคา� จ�ากัดความทีว่ า่ “We set the SAOC System, l

l

l

l

l l

57

run it, check it and improve it” คือระบบการ ท�างานของโรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ เริม่ งาน ขั้นด�าเนินงาน จากนั้นมีการตรวจสอบ และมีการ ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นา ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ทฤษฎี PDCA ย่อมาจาก plan-do-check-act นั่นเอง ๕) ให้ ค วบคุ ม บั ง คั บ บั ญ ชาตามสายงาน “C2 delegate” ยกตัวอย่างเช่น ถ้าท�างานในกองการ ศึกษาโรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ ผูบ้ งั คับบัญชา โดยตรงก็คอื หัวหน้ากองการศึกษา โรงเรียนนายทหาร อากาศอาวุโส ฯ การน�าเรียนเรือ่ งใด ๆ ก็ตามให้นา� เรียน ตามล�าดับชั้นเป็นต้น นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้อาจารย์ที่มีองค์ความรู้ มีประสบการณ์และความสามารถในการถ่ายทอด ไปบรรยายให้ความรู้ในสถาบันการศึกษาทางทหาร ในหลักสูตรต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกกองทัพ อากาศ ตามทีม่ กี ารร้องขอ ทัง้ นี้ เพือ่ เป็นการสร้างเสริม ประสบการณ์และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ อีกด้วย การพัฒนากระบวนการคุณภาพ มีการพัฒนา การจั ด การความรู ้ ข องโรงเรี ย นนายทหารอากาศ อาวุโส ฯ มีผลการด�าเนินการดังนี้ - อบรม เรื่องความรู้ในการใช้งานระบบจัดการ ความรู้ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ - จั ด ประชุ ม หารื อ เรื่ อ งแนวทางการเข้ า ถึ ง ความรู้ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้


58

- โครงการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อให้ ก� า ลั ง พลสามารถน� า องค์ ค วามรู ้ ท่ี ไ ด้ จั ด ท� า ขึ้ น มาจัดเก็บลงในระบบการจัดเก็บความรู้ของกองทัพ อากาศ เพื่อสร้างระบบการจัดเก็บ ส่งผลต่อการ ใช้ระบบ ง่ายต่อการใช้งาน และการเข้าถึง - โครงการปรับปรุงหน้าเว็บไซต์การจัดการ ความรู้ในปี พ.ศ.๒๕๖๒ การพั ฒ นาด้ า นสารสนเทศ มี ก ารพั ฒ นา ให้ทันสมัยเพียงพอและได้มาตรฐาน เช่น - พัฒนาเว็บไซต์ให้ขอ้ มูลทันสมัยตามสถานการณ์ - จัดท�าเว็บไซต์ ในรูปแบบมาตรฐานภาครัฐ ๔.๐ - อบรมการใช้ระบบ e-Learning ของโรงเรียน นายทหารอากาศอาวุโส ฯ ส�าหรับอาจารย์ประจ�า หมวดวิชาและเจ้าหน้าที่ - อบรมการใช้งานระบบจัดเก็บองค์ความรู้ KMS ของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ให้กา� ลังพล โรงเรียน นายทหารอากาศอาวุโส ฯ - จัดท�าสื่อวิดีโอสถานการณ์ข่าวประจ�าเดือน และข่าวสารต่าง ๆ

- จัดท�า Banner ประชาสัมพันธ์งานต่าง ๆ บนเว็บไซต์ - สนับสนุน ตรวจสอบ พัฒนา การแก้ไขปัญหา งานด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟท์แวร์ ของโรงเรียน นายทหารอากาศอาวุโส ฯ การพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น เวลา ๔๐ ปี ของโรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส ฯ ได้สร้างเสริม ผลผลิตที่มีคุณภาพและคุณธรรมให้เป็นที่ประจักษ์ จนถึ ง ปั จ จุ บั น บุ ค ลากรของสถาบั น ได้ ทุ ่ ม เท ทั้ ง ก� า ลั ง ใจและก� า ลั ง กาย เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นสถาบั น การศึ ก ษาให้ มี ค วามยั่ ง ยื น ก้ า วหน้ า ไปพร้ อ มกั บ เทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย และเป็ น มาตรฐาน สามารถ ตอบสนองภารกิจของกองทัพอากาศ ภายใต้วสิ ยั ทัศน์ บริหารการศึกษาด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพั ฒ นาก� า ลั ง พลของกองทั พ อากาศให้ มี ขี ด สมรรถนะสู ง ในด้ า นการบริ ห ารจั ด การและ ฝ่ายอ�านวยการ

ปฺญาคุณธมฺโม พาหุสจจ� ปริหารพล� ความรู้ คุณธรรม และประสบการณ์ เป็นพลังในการบริหาร


ข าวทหารอากาศ

59

มีสกรีน BEETLE BAILEY

ภาพ ๑ - ดูเจ้าแหยนั่นสิ ฉันตัวใหญ่กว่า เร็วกว่า ฉันสามารถชนะเขาวันไหนก็ได้ ภาพ ๒ - ชกมวยหรอ? - แข่งขันกินฮ็อทด็อกน่ะ - กินเร็วสิ ไอ้โง่ ! Wimp (n.) could (modal) To beat hot dog eating go ! jerk (n.)

- คนอ่อนแอ ไม่กล้าหาญ ไม่มั่นใจ (a person who is not strong brave or confident) ค�าคุณศัพท์ (adj.) คือ wimpish หรือ wimpy Ex. We notice his wimpish behavior. (เราสังเกตพฤติกรรมทีอ่ อ่ นแอของเขาได้) - ในที่นี้ เป็นกริยาช่วย ที่แปลว่า “สามารถ” โดยแสดงความเป็นไปได้ (possibility) จึงใช้ในรูป past tense - could ทั้ง ๆ ที่พูดอยู่ ณ ปัจจุบัน - ชนะคน (to beat someone) แต่ to win ใช้กบั ชนะเกม (to win the game) - การแข่งขันกินฮ็อทด็อกหรืออาหารอื่น ๆ เป็นกิจกรรมสนุกสนานที่จัด ในบางงาน การแข่งขันเพื่อให้ได้ผู้ชนะที่เก่งที่สุด คือ competition - ไป แต่ในที่นี้ แปลว่า ให้เริ่มกิจกรรม (to start an activity) ความหมาย ในการ์ตูนคือ จ่าเชียร์ให้คนแข่งขัน รีบกินฮ็อทด็อกเร็ว ๆ - คนโง่ (a person who is stupid) เป็นค�าที่ใช้ในภาษาพูดที่ไม่เป็นทางการ


60

THE BORN LOSER

ภาพ ๑ - ผมคิดถึงความหลังดี ๆ ที่คุณแม่ท�าอาหารให้ผมทาน - แม่คุณ ท�าอาหารเก่งหรือครับ ? ภาพ ๒ - ก็ไม่เป็นพิเศษหรอกครับ - แล้วท�าไม คุณคิดถึงอาหารของแม่คุณล่ะ ? ภาพ ๓ - ก็มันฟรีน่ะสิ to miss

- ในที่นี้ แปลว่า คิดถึง (to think about someone or something) to miss ยังมีความหมายอื่น ๆ ได้แก่ พลาด ดังนี้ ๑. พลาดรถ (I missed the bus this morning - ฉันพลาดรถเมื่อเช้านี้) ๒. พลาดเป้า (the bullet missed him by about six inches - กระสุนพลาดเขาไปประมาณ ๖ นิ้ว) ๓. ไม่เข้าใจ (you’re missing the point of what I’m saying - คุณไม่เข้าใจสิ่งที่ฉันก�าลังพูด) เป็นต้น old days - อดีตความหลัง (the past) meals (n.) - อาหาร (food) หรือมื้ออาหาร (an occasion of eating) particularly (adv.) - เป็นพิเศษ (especially) free (adj.) - ในที่นี้ แปลว่า ไม่เสียค่าใช้จ่าย (costing noting) ภาษาไทยน�ามาใช้ทั่วไป Ex. Admission to the stadium is free. (การผ่านเข้าไปในสนามกีฬาไม่ต้อง เสียเงิน) และ Free drinks are available at the main gate (เครื่องดื่มฟรี มีไว้บริการที่ประตูใหญ่)


ข าวทหารอากาศ

RED

61

EAGLE

อินทรีแดง แผลงฤทธิ์

น.ต.ภฤศพงศ ช้อนแก้ว

การลาดตระเวนทางเท าเพื่อปฏิบัติภารกิจในพื้นที่การรบ (ต่อจากฉบับที่แล้ว)

การด�าเนินการจัดเตรียมก�าลังหน่วยลาดตระเวน ทางเท้า อันดับแรกผูบ้ งั คับหน่วยหลังจากได้รบั ภารกิจ จากหน่วยเหนือมาแล้ว ผู้บังคับหน่วยจะต้องเข้าใจ วัตถุประสงค์ของผู้บังคับบัญชาก่อนว่า มีเป้าหมาย ในการท�าการลาดตระเวนครั้งนั้นเพื่ออะไร โดยมอง เจตนารมณ์และนโยบายแนวทางในการปฏิบัติก่อน แล้วจึงน�าข้อมูลจากผูบ้ งั คับบัญชามาท�าการพิจารณา แนวทางการปฏิบตั เิ พือ่ ออกค�าสัง่ เตรียมเตือนล่วงหน้า แก่หน่วยรอง ถึงการปฏิบัติที่จะต้องท�าต่อไป จะต้อง มีเวลาเพียงพอส�าหรับหน่วยรองในการเตรียมการ ค�าสั่งจะต้องสั้นแต่สมบูรณ์ โดยผู้บังคับหน่วยไม่ควร ใช้เวลาเกินกว่าหนึ่งในสามของเวลาที่มีอยู่ ส�าหรับ การวางแผนในส่วนของตนเองและในการออกค�าสั่ง ยุทธการ ส่วนที่เหลืออีก ๒ ใน ๓ เป็นเวลาส�าหรับ หน่ ว ยรองในการวางแผนและเตรี ย มการปฏิ บั ติ ทัง้ นี้ การวางแผนใช้เวลาส�าหรับด�าเนินการเรือ่ งต่าง ๆ ในการเตรียมการนั้น ควรวางแผนย้อนหลังตั้งแต่เริ่ม โจมตีต่อเป้าหมายย้อนกลับมาถึงเวลาเริ่มออกเดิน ผู ้ บั ง คั บ หน่ ว ย จะต้ อ งท� า การวิ เ คราะห์ ป ระมาณ สถานการณ์ วิเคราะห์ภารกิจ METT-T (M : Mission ภารกิจ, E : Enemy ข้าศึก T : Terrain ภูมิประเทศ T : Troops ก�าลังและยุทโธปกรณ์ของฝ่ายเรา T : Time เวลาที่มีอยู่) และวางแผนการใช้เวลา มีหัวข้อในการ ออกค�าสั่งเตรียมจากผู้บังคับหน่วย ได้แก่

สถานการณ์ ผู ้ บั ง คั บ หน่ ว ยจะอธิ บ ายถึ ง รายละเอียดเพียงสั้น ๆ เช่น ข้าศึกก�าลังตั้งรับกองพัน ของเราที่รุกลงไปทางใต้ หน่วยสมทบหน่วยแยก ของหมวดหมู่มีอะไรบ้าง โดยมีทั้งสถานการณ์ทั่วไป และสถานการณ์เฉพาะ เพื่อให้ก�าลังพลเห็นภาพรวม และเป้าประสงค์ในการปฏิบัติ ภารกิจ เป็นการกล่าวภารกิจซ�้าหรือภารกิจ แถลงใหม่ของหน่วยเราเอง เช่น หน่วยเหนือมีค�าสั่ง ให้หน่วยเราเข้าโจมตีโฉบฉวยและท�าลายให้สิ้นซาก ต่อพิกัดให้เสร็จสิ้นก่อนเวลา ค�าแนะน�าทัว่ ไป เป็นการชีแ้ จงการจัดก�าลังและ การเตรี ย มการของหน่ ว ยรอง ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ด


62

ทั้ ง ในเรื่ อ งของการแต่ ง กาย อาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ ที่จะน�ำไป มาตรการพิสูจน์ทราบ การพราง กระสุน ยุ ท โธปกรณ์ พิ เ ศษ ค� ำ แนะน� ำ ในการเบิ ก รั บ สป. พร้อมชี้แจงสายการบังคับบัญชา ตารางเวลาให้รู้ ว่าใคร ต้องท�ำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ เวลาตรวจ เวลา ซั ก ซ้ อ มการปฏิ บั ติ ตั้ ง แต่ ก ารเริ่ ม ออกเดิ น ทาง จนเดินทางกลับ รวมถึงค�ำแนะน�ำเพิ่มเติมที่ต้องการ หรือตามระเบียบปฏิบัติประจ�ำวันของผู้บังคับหน่วย จะต้องชี้แจงอย่างชัดเจนเพื่อให้ก�ำลังพลไม่สับสน ในการเตรียมการ ค�ำแนะน�ำพิเศษ ในส่วนนี้จะชี้แจงต่อผู้บังคับ หน่วยรอง เช่น รองหมวด ผูบ้ งั คับหมู่ ผูต้ รวจการณ์หน้า ส่วนสมทบ หรือชีแ้ จงส�ำหรับชุดปฏิบตั กิ ารพิเศษและ ผูท้ มี่ หี น้าทีพ่ เิ ศษ หรือชีแ้ จงผูท้ จี่ ะช่วยในการเตรียมการ เรื่องค�ำสั่งยุทธการ หรือเรื่องอื่น ๆ ตามต้องการหรือ ตามระเบียบปฏิบัติประจ�ำวัน (รปจ.) หลังจากทีผ่ บู้ งั คับหน่วยท�ำการออกค�ำสัง่ เตรียม แก่ ห น่ ว ยรองและก� ำ ลั ง พลแล้ ว ขั้ น ตอนระเบี ย บ การน�ำหน่วยต่อไป คือการท�ำแผนสมบูรณ์ ซึ่งจะได้ จากการวางแผนขัน้ ต้น จากการประมาณสถานการณ์ หนทางปฏิบตั ฝิ า่ ยเราและฝ่ายข้าศึก วิเคราะห์หนทาง ปฏิบัติ เปรียบเทียบหนทางปฏิบัติ ท�ำข้อตกลงใจ

จากนัน้ ท�ำการประสานการปฏิบตั กิ บั หน่วยข้างเคียง หน่วยแนวหน้า หน่วยสนับสนุนการยิง แล้วจึงไป ท�ำการลาดตระเวนภูมิประเทศ ซึ่งสามารถท�ำการ ลาดตระเวนได้ทั้งในภูมิประเทศจริง หรือในแผนที่ ทางทหารได้เช่นกัน เพื่อส�ำรวจพื้นที่การยิง แนวทาง การเดินตามหลัก OCOKA (O : Observation การ ตรวจการณ์ C : Concealment การก�ำบังและ ซ่อนพราง O : Obstacle เครื่องกีดขวาง K : Key and Divisive Terrain ภูมปิ ระเทศส�ำคัญ A : Avenue of Approaching แนวทางการเคลือ่ นที่ แล้วน�ำข้อมูล ทั้งหมดกลับมาท�ำแผนสมบูรณ์เป็นล�ำดับต่อไป ทั้งนี้ ในการส�ำรวจภูมิประเทศจริง ผู้บังคับหน่วยอาจใช้ กล้องก�ำลังขยายหรือกล้องส่องทางไกลเพือ่ ช่วยในการ ส� ำ รวจภู มิ ป ระเทศในระยะไกลได้ ระหว่ า งนั้ น รองผู้บังคับหน่วย จะคอยควบคุมก�ำลังพลที่เหลือ ในการตระเตรี ย มอุ ป กรณ์ ต ่ า ง ๆ ทั้ ง อาวุ ธ และ ยุทโธปกรณ์ การเบิกจ่ายอาหารน�้ำและกระสุนวัตถุ ระเบิด รวมถึงการท�ำโต๊ะทราย (การท�ำแผนทีเ่ สมือนจริง ด้ ว ยวั ต ถุ ท างธรรมชาติ เช่ น ดิ น ทราย ใบไม้ หิ น เป็ น ต้ น ) เพื่ อ ใช้ในการอธิบายแผนการเดิ น ลาดตระเวนส�ำหรับผู้บังคับหน่วย

การฝึกออกค�ำสั่งลาดตระเวนโดยผู้บังคับหน่วย


ข่าวทหารอากาศ

เมื่อถึงเวลาชี้แจงแผนการลาดตระเวน ผู้บังคับ หน่วยจะรวมก�ำลังพลอีกครั้ง โดยรองผู้บังคับหน่วย เป็นผูต้ รวจสอบยอดเพือ่ รับฟังการออกค�ำสัง่ ลาดตระเวน ซึง่ จะยึดหลักการออกค�ำสัง่ ยุทธการ (Operation Order) ได้แก่ สถานการณ์ ภารกิจ การปฏิบตั ิ การส่งก�ำลังบ�ำรุง การบังคับบัญชาและติดต่อสือ่ สาร หัวข้อเหล่านีถ้ อื ว่า มีความส�ำคัญมากในการชีน้ ำ� ให้กำ� ลังพลเข้าใจแนวทาง การปฏิบัติที่ตรงกัน และไม่เกิดข้อผิดพลาดในการ ท�ำงาน มีรายละเอียดชี้แจงดังนี้ สถานการณ์ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง หน่ ว ยก� ำ ลั ง ข้ า ศึ ก SALUTE (S : Size ขนาดหน่วย A : Activity พฤติการณ์ L : Location ที่ตั้ง U : Unite ประเภทหน่วย เครื่องแต่งกายแสดงหน่วย T : Time เวลาที่ตรวจพบ E : Equipment ยุทโธปกรณ์ทงั้ หมด) ทีม่ กี ารประกอบ ก�ำลังและพฤติกรรมของข้าศึก รวมถึงสภาพภูมปิ ระเทศ (OCOKA) ภูมอิ ากาศ ทัง้ ข้อมูลแสงทางทหาร หนทาง ปฏิบัติที่น่าจะเป็นไปได้ อีกด้านหนึ่งก�ำลังฝ่ายเรา ข่าวสารที่เกี่ยวข้อง ภารกิจ แนวความคิดของหน่วย เหนือขึ้นไป ๑ ระดับ เจตนารมณ์ผู้บังคับหน่วยเหนือ ที่ ตั้ ง ของหน่ ว ยข้ า งเคี ย ง หน่ ว ยสมทบ หน่ ว ยยิ ง สนับสนุนทั้งจากปืนใหญ่ ปืนเรือ และการสนับสนุน ทางอากาศโดยใกล้ชิด (CAS : Close Air Support) เครื่ อ งมื อ ร้ อ งขอการยิ ง สนั บ สนุ น ที่ ตั้ ง หน่ ว ยที่ รู ้ รวมทั้งเวลาที่มีผลต่อการปฏิบัติต่าง ๆ ภารกิจ ภารกิจของหน่วยต้องชัดเจน กล่าวถึง การปฏิบัติอย่างย่อ เพื่อให้ก�ำลังพลสามารถปฏิบัติ ได้อย่างสมบูรณ์สมความมุ่งหมาย โดยจะวิเคราะห์ ภารกิจจากการประมาณสถานการณ์ภารกิจและต้อง กล่าวย�ำ้ ๒ ครัง้ เพือ่ ให้กำ� ลังพลระลึกถึงวัตถุประสงค์หลัก ของการปฏิบัติเสมอ และต้องไม่อ้างถึงเอกสารใด ๆ ยกเว้นแผนที่ การปฏิบัติ ในหัวข้อนี้ค่อนข้างมีความละเอียด มีหัวข้อส�ำคัญ ได้แก่ - แนวความคิ ด ในการปฏิ บั ติ อ ธิ บ าย เรื่องทั่ว ๆ ไปว่าหน่วยจะบรรลุภารกิจได้อย่างไร

63

ตัง้ แต่เริม่ ต้นจนถึงจุดสิน้ สุดภารกิจ เน้นการปฏิบตั ถิ งึ ยุทธวิธีที่จะเอาชนะข้าศึก การปฏิบัติ ณ ที่หมาย เน้นส่วนไหนส�ำคัญในการปฏิบัติ เน้นย�้ำเจตนารมณ์ ของผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา กล่ า วถึ ง รายละเอี ย ดกลไก การปฏิบัติตามแนวคิดผู้บังคับหน่วยหลัก หน่วยรอง ในการปฏิบัติ อธิบายแนวทางการยิง ล�ำดับความ เร่งด่วนในการยิงสนับสนุน การจัดความเร่งด่วน ให้กับหน่วยที่ปะทะและของแต่ละที่หมาย กล่าวถึง มาตรการควบคุมทีจ่ ำ� กัดในการยิง บัญชีเป้าหมายและ แผ่นบริวารเป้าหมาย โดยเฉพาะจะต้องกล่าวถึง และชี้ให้ดูบนภูมิประเทศจ�ำลองหรือโต๊ะทราย - ชี้แจงภารกิจที่มอบให้หน่วยด�ำเนินการ ระบุ งานและความมุ่งหมาย เช่น ผู้บังคับหมวด มอบให้ แต่ละหมู่ และหมู่มอบให้ชุดปฏิบัติแต่ละชุด เช่น ชุ ด กวาดล้ า งและชุ ด ระเบิ ด ท� ำ ลาย ชุ ด ตรวจค้ น ชุดพยาบาล ส่วนสนับสนุน ส่วนโจมตี เป็นต้น รวมถึง ค�ำแนะน�ำพิเศษอาจมอบให้กบั รองผูบ้ งั คับหมวดวิทยุ พลวิทยุ พลนับก้าว เป็นต้น - ภารกิจของหน่วยสนับสนุนการรบ เช่น หน่วยปืนใหญ่ หน่วยทหารช่าง เป็นต้น ซึง่ มาขึน้ สมทบ หรือขึ้นการควบคุมการยุทธการกับหน่วยของเรา - ค� ำ แนะน� ำ ในการประสาน จะกล่ า ว ในรายละเอี ย ดของการประสานงานและควบคุ ม ที่ ใ ช้ ป ระสานการปฏิ บั ติ ตั้ ง แต่ ๒ หน่ ว ยขึ้ น ไป รายละเอี ย ดอาจมอบหมายโดยหน่ ว ยเหนื อ หรื อ จากการพั ฒ นาแนวทางโดยผู ้ บั ง คั บ หน่ ว ย ซึ่ ง จะ แนะน� ำ ต่ อ หน่ ว ยรองในการประสานการปฏิ บั ติ มีหัวข้อดังนี้ เวลาไป – กลับ การปฏิบัติเมื่อหยุดหน่วย (ระยะสั้น/ ระยะเวลา) เส้นทางหลักรอง การเดิ นทางออกและกลั บเข้ า สู ่ แ นว ทหารฝ่ายเดียวกัน รูปขบวนการเคลื่อนที่ (ในที่โล่งป่าทึบ) l l

l l

l


64

การปฏิบัติเมื่อผ่านพื้นที่อันตราย (ถนน สะพาน พื้นที่โล่ง พื้นที่วางทุ่นระเบิด) การปฏิบตั เิ มือ่ ปะทะข้าศึก ทัง้ โดยบังเอิญ การถูกซุ่มโจมตีระยะใกล้และระยะไกล การถอนตัว การถูกโจมตีทางอากาศ) การปฏิบัติ ณ จุดนัดพบ จุดรวมก�ำลัง จุดผ่านถนน จุดนัดพบ ณ ทีห่ มาย จุดวิง่ ขึ้น-ลง ของอากาศยาน จุดนัดพบอื่น ๆ รวมถึงพิกัดในภูมิประเทศ การปฏิบัติ ณ ที่หมาย การยิงสนับสนุน มาตรการแบ่งเขตการยิง การแบ่งเขต การยิงเป็นจุดหรือพื้นที่ มาตรการการควบคุมการยิง แผ่นจดระยะ ทัศนะเสียงสัญญาณ การปรับผังการเสริมความมัน่ คงนอกเหนือ จาก รปจ. การป้องกันไอพิษ ความต้องการข่าวเร่งด่วน การรายงานผลการลาดตระเวน กฎการใช้ก�ำลัง (ROE) กิจเฉพาะอื่น ๆ เช่น การข้ามล�ำน�้ำ การใช้ เรือยาง การไต่หน้าผา การปฏิบตั กิ ารร่วม กับอากาศยาน การตรวจและการซักซ้อม การส่งก�ำลังบ�ำรุง การให้ข้อมูลข่าวสาร ด้ า นการส่ ง ก� ำลังบ�ำรุงของหน่วย ค�ำแนะน�ำ ด้ า น การบริการ ช่วงเวลา หรือการเตรียมการปฏิบตั ติ า่ ง ๆ - การสนับสนุนด้านอาหาร น�้ำ อาวุธ และ กระสุน ตาม รปจ. หรือชี้ให้เห็นถึงการเตรียมการ ด้าน สป. จุดซุกซ่อนเสบียง รวมถึงการดูแลผูบ้ าดเจ็บ และการบ�ำรุงรักษายุทโธปกรณ์ที่เสียหาย - การบริการทางวัตถุ ได้แก่ การแจกจ่าย เสบียงอาหาร อาวุธวัตถุระเบิด การขนส่ง การบริการ ด้านต่าง ๆ ทางธุรการ และการซ่อมบ�ำรุง l

l

l

l l

l

l

l l l l l

l

- การส่ ง กลั บ สายแพทย์ ชี้ แ จงแนวทาง การส่งกลับผู้บาดเจ็บและผู้ป่วย - การปฏิบตั ติ อ่ เชลยศึก จุดรวบรวมเชลยศึก - อื่ น ๆ ได้ แ ก่ ยุ ท โธปกรณ์ พิ เ ศษ หรื อ ยุทโธปกรณ์ที่ยึดได้ การบังคับบัญชาและการติดต่อสือ่ สาร กล่าวถึง การขึน้ การบังคับบัญชาและการติดต่อสือ่ สาร สถานที่ บังคับบัญชาควบคุมในห้วงเวลาต่าง ๆ - การบังคับบัญชา ได้แก่ ที่อยู่ของผู้บังคับ หน่วยเหนือ ผู้บังคับหมวด รองผู้บังคับหมวด และ ที่ตั้งบังคับการในห้วงปฏิบัติภารกิจทั้งขณะเคลื่อนที่ หรือ ณ พื้นที่อันตราย หรือ ณ ที่หมาย - การสืบทอดสายการบังคับบัญชาในกรณี ที่ผู้บังคับหน่วยไม่สามารถปฏิบัติภารกิจ ณ ที่นั้นได้ - การติดต่อสือ่ สารทัศนะสัญญาณ ประมวลลับ สัญญาณถามตอบ หรือสัญญาณอื่น ๆ พร้อมกับ ค�ำแนะน�ำพิเศษ สุดท้าย เป็นการออกภาคผนวกต่าง ๆ ก�ำหนด เวลาเผด็จศึก และการตอบข้อสงสัย หลังจากทีผ่ บู้ งั คับหน่วยออกค�ำสัง่ ลาดตระเวนแล้ว ในขั้นตอนต่อไปจะเป็นการซักซ้อมการปฏิบัติตงั้ แต่ เริ่มต้นออกจากพื้นที่ทหารฝ่ายเดียวหรือออกจาก ทีต่ งั้ การจัดรูปขบวนการเดิน การใช้ทศั นะสัญญาณมือ การผ่านพื้นที่อันตราย การเข้าจุดนัดพบระหว่างทาง การเข้าจุดนัดพบ ณ ที่หมาย การปฏิบัติต่อเป้าหมาย การรายงาน เป็ น ต้ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ในยามค�่ ำ คื น คื อ การให้รหัสผ่านถามตอบในแต่ละวัน ซึ่งโดยปกติจะมี การเปลี่ยนทุกวัน ผู้บังคับหน่วยลาดตะเวนสามารถ ควบคุมการซักซ้อม การปฏิบตั นิ นั้ สามารถลดขัน้ ตอน ลงได้หากพิจารณาแล้วว่าเหลือเวลาในการลาดตระเวน น้อยลง โดยสามารถเลื อ กท� ำ การซั ก ซ้ อ มเฉพาะ ขัน้ ตอนทีจ่ ำ� เป็นได้ ทัง้ นี้ การซักซ้อมขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ ณ ที่หมายถือว่าเป็นขั้นตอนส�ำคัญที่ผู้บังคับหน่วย จะต้องท�ำการซักซ้อมให้ส�ำเร็จในทุก ๆ ครั้ง


ข่าวทหารอากาศ

65

การฝึกลาดตระเวนค้นหาและช่วยชีวิต

หลั ก การจั ด ก� ำ ลั ง ลาดตระเวนเริ่ ม จากการ จัดก�ำลังชุดลาดตระเวนขนาดเล็กเรียกว่า “หมูป่ นื เล็ก” แต่ละหมูจ่ ะมีกำ� ลัง ๑๑ นาย ประกอบด้วย ผูบ้ งั คับหมู่ และ ๒ ชุดยิง คือ ชุดยิง ก. และชุดยิง ข. ก�ำลังชุดยิง ชุดละ ๕ นาย ใน ๑ ชุด ประกอบด้วย หัวหน้าชุดยิง พลปืนเล็ก ๒ นาย พลปืนเล็กอัตโนมัติ (ประกอบ ขาทราย) ๑ นาย พลยิงเครือ่ งลูกระเบิดขนาด ๔๐ มม. (M203) ๑ นาย การประกอบก�ำลังชุดลาดตระเวน สามารถประกอบก�ำลังมากกว่า ๑ หมู่ สามารถท�ำได้ โดยหมู ่ อื่ น ๆ จะใช้ ลั ก ษณะการจั ด ก� ำ ลั ง พลและ ยุทโธปกรณ์เหมือนกัน ซึ่งสามารถประกอบก�ำลัง ขึน้ ได้ถงึ ระดับหมวด ระดับกองร้อย และระดับกองพัน ทั้งนี้ การจัดก�ำลังสามารถลดหย่อนหรือเพิ่มก�ำลังพล ภายในหมู่ได้ ตามลักษณะภารกิจหรือความจ�ำเป็น ก็ได้ เช่น ก�ำลังพล ๙ นาย ก�ำลังพล ๑๒ นาย เป็นต้น กรณีการลาดตระเวนรบ ใน ๑ หมู่ จะมีการ แบ่งมอบหน้าที่ ได้แก่ ส่วนโจมตี ส่วนระวังป้องกัน และส่วนสนับสนุน ซึง่ แต่ละส่วนจะแบ่งชุดย่อยลงไปอีก

ได้แก่ ชุดโจมตี ก. ชุดโจมตี ข. ชุดระวังป้องกัน ก. ชุดระวังป้องกัน ข. ชุดสนับสนุน ก.และชุดสนับสนุน ข. จากนัน้ จะเป็นการจัดหน้าทีพ่ เิ ศษให้แต่ละบุคคล ได้แก่ พลน�ำทาง พลแผนทีเ่ ข็มทิศ พลนับก้าว พลพยาบาล ทั้งนี้ จะต้องจัดกิจเฉพาะให้กับก�ำลังพลด้วย เช่น ชุดตรวจค้น ชุดท�ำลายและระเบิด ชุดจับกุมเชลย ชุดข้ามล�ำน�้ำ ชุดไต่หน้าผา เป็นต้น ซึ่งในการจัด ชุดลาดตระเวนรบ ก�ำลังพลจะต้องมากกว่าฝ่ายตัง้ รับ ถึง ๓ เท่า เนื่องจากฝ่ายตั้งรับมักมีข้อได้เปรียบ ทางภูมิประเทศมากกว่ามีการเตรียมพร้อมอยู่ตลอด ท�ำให้ฝ่ายบุกต้องระดมสรรพก�ำลังเข้าสู้รบที่มากกว่า กรณีการลาดตระเวนหาข่าวจะมีการจัดก�ำลังพล ทั่ ว ไปเหมือนกับการลาดตระเวนรบ แต่เนื่องจาก ด้วยภารกิจ คื อ การลาดตระเวนแทรกซึ ม ในพื้ น ที่ เพือ่ หาข้อมูลข่าวสารอันเป็นประโยชน์ตอ่ หน่วยเหนือ ทั้งในพื้นที่ดินแดนฝั่งเราเองหรือพื้นที่ข้าศึก ดังนั้น สิง่ ส�ำคัญของภารกิจนีจ้ ำ� เป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องหลีกเลีย่ ง การปะทะเนื่ อ งจากจะต้ อ งใช้ ก� ำ ลั ง พลในจ� ำ นวน


66

ที่จ�ำกัดและน้อยลง เพื่อให้เกิดความคล่องตัวของชุด ปฏิ บั ติ ห าข่ า ว ซึ่ ง ชุ ด ลาดตระเวนเพี ย งหมู ่ เ ดี ย ว ก็สามารถท�ำได้ จึงท�ำให้ไม่จำ� เป็นต้องจัดส่วนก�ำลังพล และยุ ท โธปกรณ์ เ พื่ อ ใช้ ใ นการรบถึ ง ขั้ น แตกหั ก คงมีเพียงแค่กำ� ลังพลพร้อมอาวุธประจ�ำกายทีส่ ามารถ เอาตัวรอดหนีออกมาจากพื้นที่ได้เมื่อถึงคราวจ�ำเป็น ฉะนั้นการแบ่งมอบหน้าที่ของก�ำลังพลจึงเป็นเพียง แค่ชุดหาข่าวเท่านั้น หากกล่าวถึง วิชาการลาดตระเวนแล้ว สิ่งที่ ต่างกันจริง ๆ ก็คอื การปฏิบตั ิ ณ ทีห่ มาย ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ว่า การท�ำภารกิจในที่หมายครั้งนั้นจะต้องไปท�ำอะไร โดยที่ ก ารปฏิ บั ติ โ ดยทั่ ว ไปจะยั ง คงเหมื อ นเดิ ม โดยสามารถศึ ก ษาได้ จ าก วิ ช าบุ ค คลท� ำ การรบ ที่ ว ่ า กั น ด้ ว ยเรื่ อ งของการปฏิ บั ติ ใ นสนามรบ เช่ น การเคลื่ อนย้ า ยผู้ป่วยในพื้นที่ก ารรบ การตั้ง ฐาน

ลาดตระเวน การซ่อนพราง การแทรกซึม การเล็ดรอด หลบหนีและเชลยศึก การเคลื่อนที่ในเวลากลางคืน การยังชีพในป่า การข้ามล�ำน�้ำด้วยเชือก Ranger Rope วิชาเงื่อนเชือก และการฝึกประสาทสัมผัส ในเวลากลางคืน ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส เป็นต้น ทั้งนี้ เรื่องส�ำคัญของการลาดตระเวน คือ การอ่ า นแผนที่ เ ข็ ม ทิ ศ ที่ แ ม่ น ย� ำ ซึ่ ง ถื อ เป็ น หั ว ข้ อ การฝึกหลักที่ผู้ปฏิบัติต้องเรียนรู้และเข้าใจในการ ใช้งาน เพราะถ้าไม่เข้าแล้วผู้ปฏิบัติจะไม่สามารถ เดินทางไปถึงจุดหมายได้ส�ำเร็จแน่นอน จากที่กล่าว มาทั้ ง หมดล้ ว นเป็ น เรื่ อ งรายละเอี ย ดปลี ก ย่ อ ย ที่ผ้ปู ฏิบัติต้องเรียนรู้และฝึกปฏิบัติให้เกิดความเข้าใจ ให้ได้ก่อนที่จะท�ำการลาดตระเวนไปในพื้นที่ต่าง ๆ จนเกิดความช�ำนาญ

อ้างอิง - ศูนย์การทหารอากาศโยธิน หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน. (๒๕๖๐). การฝึกการลาดตระเวน. คู่มือการฝึก การปฏิบัติการพิเศษ. - แผนกวิชาการจู่โจมและส่งทางอากาศ กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ ศูนย์การทหารราบ. (๒๕๕๖). คู่มือครูฝึก หลักสูตรการรบแบบจู่โจม. ประจวบคีรีขันธ์. - พ.ท.ประพาศ ซื่อตรง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จากการลาดตระเวน PATROLLING : http://www.crma.ac.th/ms dept/prakunmsdept/paper/book202b3.pdf - พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๔). LONGDO DICT. เข้าถึงได้จาก https://dict.longdo.com/search/


ข าวทหารอากาศ

BrahMos-A

ง อ ข ม ห ใ บ ็ ล เ ว ย ้ ี เข

67

บ.Su-30 MKI อนิ เดยี Rocket-7

ภายหลั ง การเป ด ฉากสงครามทางอากาศ ของ ๒ ประเทศทีม่ อี าวุธนิวเคลียร์ครอบครอง ระหว่าง อินเดียกับปากีสถานช่วงสัน้ ๆ เมือ่ ต้นปี ๖๒ ทีผ่ า่ นมา ท�าให้ทั่วโลกได้เห็นถึงขีดความสามารถของก�าลังรบ ทางอากาศของอินเดียและปากีสถาน แต่ในขณะ เดียวกันก็ตอ้ งประเมินว่าข่าวสารต่าง ๆ ทีอ่ อกมาจาก ทั้งสองฝ่ายนั้น มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด ทั้ ง การใช้ ลู ก ระเบิ ด น� า วิ ถี ใ นการโจมตี เ ป้ า หมาย ของอินเดียที่รายงานว่าสามารถท�าลายเป้าหมาย ได้อย่างราบคาบ ในขณะที่ปากีสถานออกข่าวว่า ลู ก ระเบิ ด พลาดเป้ า โดยสิ้ น เชิ ง หรื อ การรายงาน ของปากีสถานทีบ่ อกว่า JF-17 ยิง MiG-21 ของอินเดียตก ในขณะทีอ่ นิ เดียสวนกลับว่า MiG-21 ของตนถูกยิงตก ด้วยอาวุธน�าวิถีระยะพ้นสายตา AIM-120 ซึ่งติดตั้ง กับเครื่องบิน F-16 ของปากีสถาน แม้ว่าในปัจจุบัน ยังไม่สามารถฟันธงลงไปได้ว่าฝ่ายใดถูกฝ่ายใดผิด ข่าวใดจริงไม่จริง แต่การพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์

BrahMos-A BrahMos-A ติดตั้งกับ Su-30 MKI เพื่อยิงทดสอบ

ของทัง้ สองฝ่ายก็ยงั คงด�าเนินการต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะ ฝั่งอินเดียที่ล่าสุดได้มีการรายงานความส�าเร็จในการ พัฒนาจรวดร่อนความเร็วสูงในระดับ Super Sonic ส�าหรับใช้กับเครื่องบินรบสมรรถนะสูง Su-30 MKI ของกองทัพอากาศอินเดีย ซึง่ เป็นเครือ่ งบินโจมตีหลัก ในสงครามทางอากาศย่อม ๆ ระหว่างปากีสถาน กับอินเดียทีผ่ า่ นมาและจรวดร่อนรุน่ ใหม่ความเร็วสูงนี้ คือ BrahMos-A BrahMos-A เป็นจรวดร่อนที่พัฒนาขึ้นส�าหรับ ใช้ ติ ด ตั้ ง กั บ เครื่ อ งบิ น รบ โดยบริ ษั ท BrahMos Aerospace ที่ถูกก่อตั้งขึ้นจากความร่วมมือระหว่าง อินเดีย และรัสเซีย โดยจุดเริ่มต้นของการพัฒนานั้น เริม่ จาก BrahMos รุน่ ใช้ยงิ จากฐานยิงบนพืน้ สามารถ ท�าความเร็วสูงสุดได้ถงึ ๗ มัค ซึง่ เป็นความเร็วในระดับ Hypersonic ถูกออกแบบเพือ่ ใช้ในการท�าลายเป้าหมาย ที่เป็นเรือรบและเป้าหมายตามแนวชายฝั่ง โดยหลัง จากนั้นได้มีการพัฒนาต่อมาอีกหลายรุ่น เช่น รุ่น Block II ถูกออกแบบเพื่อใช้ส�าหรับโจมตีเป้าหมาย ในทะเลทรายรุ่น Bolck III ส�าหรับโจมตีเป้าหมาย ในภูเขา จนกระทั่งปี พ.ศ.๒๕๕๖ ได้เริ่มด�าเนินการ พัฒนารุน่ ทีใ่ ช้กบั เครื่องบินรบ


68

ในรุ ่ น ที่ ติ ด ตั้ ง กั บ เครื่ อ งบิ น รบ ได้ มี ก าร ปรับปรุงในส่วนของเชือ้ เพลิง ทีใ่ ช้ในการขับเคลือ่ นแบบ สองขั้นคือเชื้อเพลิงแข็ง และเชื้อเพลิงเหลวส�าหรับ เครื่องยนต์แบบ Ramjet ที่อาศัยแรงอัดอากาศจาก ภายนอกขณะที่จรวดร่อนอยู่ในอากาศมาช่วยในการ เผาไหม้เชื้อเพลิง ท�าให้สามารถรักษาความเร็วสูงสุด ได้ตลอดระยะทางจนถึงเป้าหมาย รวมทัง้ สามารถเพิม่ ระยะในการยิง ซึ่งจะแตกต่างจากอาวุธที่ใช้ส่วนขับ เคลื่อน(Rocket Motor) ทีใ่ ช้กบั อาวุธน�าวิถโี ดยทัว่ ไปที่ ความเร็วจะค่ อ ย ๆ ลดลงเมื่ อ ถึ ง ระยะยิ ง ไกลสุ ด นอกจากนั้นแล้วยังมีการเพิ่มส่วนหางส�าหรับรักษา สมดุลขณะร่อนหลังปล่อยจากเครื่องบิน เนื่ อ งจาก BrahMos-A เป็ น รุ ่ น ที่ ติ ด ตั้ ง กับเครื่องบินรบ ในการออกแบบจึงถูกลดน�้าหนัก ลงเหลือเพียง ๒.๕๕ ตัน (รุ่นยิงจากพื้นมีน�้าหนักรวม ๓ ตัน) โดยหัวรบมีนา�้ หนัก ๓๐๐ กิโลกรัม ล�าตัวจรวด มีความยาว ๘.๕๕ เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง ๐.๖๔๘ เมตร ระยะปีกกางสุด ๑.๗ เมตร มีระยะยิงไกลสุด ราว ๓๐๐ กิโลเมตร ความเร็วสูงสุด ๒.๘ มัค ในส่วนของระบบน�าวิถีแบ่งเป็นสองส่วนคือ ส่วนที่ท�าหน้าที่ในการน�าวิถีขณะร่อน และเมื่อใกล้ ถึงเป้าหมาย ซึง่ BrahMos-A ใช้ระบบน�าวิถแี บบเฉือ่ ย (INS เป็นระบบน�าวิถที จี่ ะให้ขอ้ มูลทิศทาง และความเร็ว กับระบบอาวุธ เพื่อใช้ในการประมวลผลต�าแหน่ง และทิศทางของตัวเอง) ในขณะร่อน และเมื่อใกล้

ถึ ง เป้ า หมาย จะเปลี่ ย นมาใช้ เ รดาร์ ใ นการน� า วิ ถี เพื่อหาต�าแหน่งเป้าหมาย ควบคู่กับการใช้ระบบ ระบุ พิ กั ด ด้ ว ยดาวเที ย มเพื่ อ เพิ่ ม ความแม่ น ย� า ในการโจมตีเป้าหมายอีกด้วย ด้ ว ยการโจมตี เ ป้ า หมายที่ ค วามเร็ ว ในระดั บ Supersonic ท�าให้ BrahMos-A มีพลังงานจลน์ ทีส่ งู มากเมือ่ กระทบหรือชนกับเป้าหมายแล้วจะท�าให้ เกิดผลในการทะลุทะลวงเป้าหมายที่มีเกราะป้องกัน สามารถทะลุเข้าไประเบิดภายในเป้าหมายได้ เช่น การระเบิดภายในล�าตัวของเรือรบและการเข้าโจมตี ด้วยความเร็วที่สูงมาก ท�าให้ฝ่ายตรงข้ามยากต่อการ ใช้อาวุธป้องกัน เช่น การใช้อาวุธน�าวิถพี นื้ สูอ่ ากาศยิงขึน้ มาต่อต้านก็จะไม่สามารถเข้าท�าลาย BrahMos-A ได้เนือ่ งจากความเร็วไม่มากพอทีไ่ ล่ตาม BrahMos-A เปรียบเหมือนการขับรถยนต์ธรรมดาไล่ตามรถแข่ง ฟอร์มูลาวัน BrahMos-A ได้ มี ก ารทดสอบยิ ง ครั้ ง ล่ า สุ ด เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ โดยยิงจาก เครื่องบิน Su-30 MKI ซึ่ง BrahMos-A สามารถ เข้าโจมตีเป้าหมายบนพื้นซึ่งอยู่ห่าง ๓๐๐ กิโลเมตร ได้อย่างแม่นย�า และก่อนหน้าที่ได้มีการทดสอบกับ เป้าหมายเรือในทะเลเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐ BrahMos-A สามารถถูกยิงจากระดับความสูง


ข าวทหารอากาศ

69

การทดสอบยิง BrahMos-A จาก Su-30 MKI

๕๐๐ - ๑๔,๐๐๐ เมตรและจะเริ่มจุดส่วนขับเคลื่อน เมื่ อ ตกห่ า งจากเครื่ อ งบิ น ประมาณ ๑๕๐ เมตร จากนัน้ จะบินรักษาระดับทีค่ วามสูงประมาณ ๑๔-๑๕ กิ โ ลเมตร และเมื่ อ ใกล้ ถึ ง เป้ า หมายจะลดระดั บ มาบินเหนือพื้น ๑๐-๑๕ เมตร ก่อนพุ่งชนเป้าหมาย ซึง่ รูปแบบการร่อนและโจมตีเป้าหมายนีถ้ กู ออกแบบ มาเพือ่ ใช้โจมตีเรือรบ โดย BrahMos-A จะร่อนขนาน กับผิวทะเลก่อนเข้าชนด้านข้างของเรือ นอกจากนั้น แล้วยังมีการพัฒนาเพื่อให้ BrahMos-A สามารถ บิ น สู ง ขึ้ น ก่ อ นถึ ง เป้ า หมายเพื่ อ ปั ก หั ว ลงโจมตี เป้าหมายจากด้านบน ส�าหรับ บ.Su-30 MKI ทีใ่ ช้ตดิ ตัง้ BrahMos-A นัน้ เป็นเครือ่ งบินโจมตีหลักของ ทอ.อินเดีย ด้วยน�า้ หนัก บรรทุกสูงสุด ๒๖,๐๙๐ กิโลกรัม ที่สามารถรับได้ จึงติดตั้ง BrahMos-A ได้ ๑ นัด บริเวณตรงกลาง ล�าตัว มีระยะบินไกลสุด ๓,๐๐๐ กิโลเมตร รัศมีปฏิบตั ิ การ ๑,๓๐๐ กิโลเมตร ความเร็วสูงสุด ๒ มัค และ เพดานบินสูงสุด ๑๗ กิโลเมตร BrahMos นับว่าเป็นจรวดร่อนที่มีความเร็วสูง ทีส่ ดุ ในปัจจุบนั (ในรุน่ ยิงจากพืน้ ความเร็วสูงสุด ๗ มัค

หรือ ๗ เท่าของความเร็วเสียง) ซึง่ มูลเหตุการออกแบบ อาวุธความเร็วสูงนั้นหากย้อนไปในอดีตเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ที่ กองทัพเรือสหรัฐฯ ใช้อาวุธน�าวิถี Tomahawk โจมตีเป้าหมายที่เป็นค่ายฝึกของกลุ่ม Al Qaeda ที่อยู่ห่างออกไปราว ๑,๗๖๐ กิโลเมตร โดยมีผู้น�า ทีส่ า� คัญคือ นายโอซามะ บินลาดิน อยูด่ ว้ ยในเวลานัน้ แต่กว่าอาวุธจะไปถึงเป้าหมายซี่งใช้เวลาถึง ๒ ชั่วโมง นายบินลาดิน ก็ได้เผ่นหนีออกจากค่ายฝึกดังกล่าว ไปแล้ว ดังนั้น การพัฒนา BrahMos ให้มีความเร็ว สูงมากก็จะเป็นการเพิ่มโอกาสส�าเร็จในการโจมตี เป้าหมายส�าคัญ ทีอ่ าจเปดช่องให้โจมตีในเวลาไม่นาน มากนัก อีกทั้งยังมีความเร็วสูงมากฝ่ายตรงข้ามก็ยาก ที่จะใช้อาวุธยิงป้องกัน ซึ่งใช้หลักการเดียวกับขีปนาวุธ ข้ามทวีป ที่ จ ะยิ ง ในมุ ม สู ง เพื่ อ ส่ ง ให้ ขี ป นาวุ ธ ขึ้ น ไป ในอวกาศ ก่อนจะปล่อยให้หัวรบตกลงมาแบบอิสระ

BrahMos รุ่นติดตั้งกับฐานยิง บนรถบรรทุกส�าหรับยิงจากพื้น


70

จากระดับความสูงทีส่ งู มาก ซึง่ ยิง่ ตกลงมาใกล้พนื้ โลกมากเท่าไหร่ความเร็วก็จะเพิม่ ขึน้ เป็นทวีคณ ู ดังนัน้ การใช้อาวุธยิงป้องกันหรือท�าลายขีปนาวุธจากพืน้ ดิน จึงท�าได้ยากเนื่องจากอาวุธไล่ตามไม่ทัน การพัฒนาอาวุธสมรรถนะสูงอย่าง BrahMos ทีส่ ามารถใช้งานได้กบั เครือ่ งบินรบ เรือรบ ฐานยิงภาคพืน้ แม้กระทั่งเรือด�าน�้า แสดงให้เห็นถึงขีดความสามารถ ของอินเดียในด้านอุตสาหกรรมทางทหารที่มีความ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วภายใต้ความร่วมมือกับรัสเซีย ยืนยันถึงจุดยืนของอินเดียที่เน้นการพึ่งพาตนเอง ด้วยการผลิตและพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์เพื่อใช้เอง และขยายไปสูก่ ารขายให้กบั มิตรประเทศ ซึง่ BrahMos-A เป็นผลลัพธ์ทชี่ ดั เจนของแนวความคิดนี้ อินเดียเตรียม น�าเข้าประจ�าการในกองทัพอากาศของตนและมีแผน ที่จะปรับปรุงให้สามารถติดตั้งกับเครื่องบินล�าเลียง ของกองทัพเรืออินเดีย รวมทั้งการเสนอขายให้กับ ประเทศต่ า ง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่มีเ ครื่อ งบิ น Su-30 ประจ�าการซึ่งสิ่งที่น่าคิดคือประเทศรอบบ้าน ของเราโดยส่วนใหญ่ต่างก็มี Su-30 ประจ�าการด้วย เช่นกัน

การทดสอบยิง BrahMos จาก เรือรบ ประเทศกลุ่มอาเซียนที่มเี ครื่องบิน Su-30 ประจ�าการ SU-30 SME SU-30 MK/MK2V SU-30 MKM SU-30 MKK/MK2

อ้างอิง - BrahMos Hypersonic Cruise Missile, www.brahmos.com - BrahMos, https//missilethreat.com - India-Pakistan air strikes, www.bbc.com - Indian Air Force test fires BrahMos-A from Su-30 MKI, www.janes.com - India Test fires BrahMos Supersonic Cruise Missile, https://thediplomat.com


ข าวทหารอากาศ

71

หัวใจเฉียบพลัน... รู้ทันไม่สาย พล.อ.ต.วรงค์ ลาภานันต์ อายุรแพทย์โรคหัวใจ สถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศ อายุยืนและสุขภาพดี เป็นสิ่งพึงปรารถนา แต่บอ่ ยครัง้ ทีเ่ ราได้ทราบข่าว การเสียชีวติ อย่างกะทันหัน ของบุคคลที่มีช่ือเสียง ซึ่งส่วนใหญ่ก็มักเป็น จาก “เส้นเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลัน”

แต่ละชัว่ โมงมีคนไทยราว ๕ รายต้องเสียชีวติ ด้วยโรคหัวใจเฉียบพลัน รวมแล้วถึงปีละกว่า ๔๓,๐๐๐ ราย ซึง่ เป็นสาเหตุของการเสียชีวติ อันดับต้น ๆ ของประเทศ โรคหัวเฉียบพลัน...เกิดได้อย่างไร ? กล้ามเนื้อหัวใจมีหลอดเลือดโคโรนารี ขนาด ๓ มิลลิเมตรไหลจาก “ขั้วหัวใจ” น�าส่งสารอาหาร และออกซิเจน ผนังด้านในของหลอดเลือดบุดว้ ยเซลล์ ขนาดจิว๋ นับล้าน ท�าหน้าทีห่ ลัง่ สารเคมีพเิ ศษเคลือบผนัง ช่วยท�าให้หลอดเลือดขยายตัว และยังช่วยป้องกัน การอุดตันจากไขมันแต่ถา้ หากมีปจั จัยเสีย่ งเช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง บุหรี่ หรือมลภาวะ เซลล์เยือ่ บุ

เหล่านีจ้ ะเสือ่ มสภาพก่อนก�าหนดท�าให้ไขมันในเลือด สะสมที่ ผ นั ง หลอดเลื อ ดกลายเป็ น “คราบไขมั น (Plaque)” ในระยะเริ่มแรกมักไม่แสดงอาการ และ ยากที่จะตรวจพบการตรวจคลื่นหัวใจ และการเดิน สายพานตรวจหัวใจมักจะปกติ หากไขมันที่สะสม ในหลอดเลือดเพิ่มมากขึ้นเกินกว่า ๗๐ เปอร์เซ็นต์ ท�าให้เลือดไปเลีย้ งหัวใจไม่เพียงพอ อาการจึงจะปรากฏ อาการจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ อาการจากโรคเส้นเลือดหัวใจตีบและหัวใจ ขาดเลือด ดังแสดงในรูป ประกอบด้วย (๑) (๒) (๓) (๔)

จุกแน่นหน้าอก อึดอัด มึนงง คลื่นไส้อาเจียน ปวดบริเวณกราม ล�าคอ ปวดบ่าหรือแขน มักเป็น ด้านซ้าย (๕) หายใจขัดหอบเหนื่อย

ถ้ามีอาการดังกล่าวโดยเฉพาะขณะออก ก�าลังกายไม่ควรชะล่าใจ ควรรีบปรึกษาแพทย์ เพื่อวินิจฉัยและรักษาแต่เนิ่น ๆ ในรายที่อาการ และผลการตรวจบ่งชี้ แพทย์จะแนะน�าให้ทา� การตรวจ เส้นเลือดหัวใจด้วยการฉีดสีหากพบความผิดปกติ ก็จะได้รบั การรักษาด้วยการท�าบอลลูนและใส่ขดลวด (Stent) หรือการผ่าตัดต่อเส้นเลือดหัวใจ (Bypass) ต่อไป


72

อาการหัวใจเฉียบพลัน ส�ำหรับผู้ที่มีอำกำรรุนแรงถึงขั้นวิกฤตจะเกิด อำกำรแน่นหน้ำอกอย่ำงรุนแรง เหมือนถูกของหนักทับ เหงือ่ แตก หน้ำซีด ตัวเย็น อำกำรอำจเกิดขึน้ ในขณะพัก หรือเพียงออกก�ำลังกำยเบำ ๆ สำเหตุเกิดเพรำะครำบ ไขมันทีผ่ นังเส้นเลือดหัวใจดังทีก่ ล่ำวข้ำงต้นเกิดปริแตก (A) โดยเกร็ดเลือดจะมำเกำะกลุ่มที่บริเวณปริแตก และมีกำรกระตุน้ ให้เกิดลิม่ เลือด จนท�ำให้หลอดเลือด อุดตัน (B) และ (C) เกิดภำวะกล้ำมเนือ้ หัวใจขำดเลือด เฉียบพลัน

A

B

สมองทนขาดเลือดได้นานเพียงใด ? เมือ่ หัวใจหยุดเต้นจะหมดสติ และหยุดหำยใจ ออกซิเจนในเลือดจะลดลงอย่ำงรวดเร็ว ภำยใน ๕ นำที จะเกิ ด ภำวะสมองตำยอย่ ำ งถำวร จนกลำยเป็ น “เจ้ำชำย/เจ้ำหญิงนิทรำ” ในที่สุด กำรช่วยเหลือคือกำรกดหน้ำอก “โดยไม่ลงั เล” เพื่อคงกำรไหลเวียนเลือดไปยังสมอง ตำมด้วยกำร หยุดภำวะไฟฟ้ำหัวใจ “สั่นพลิ้ว” ด้วยเครื่องกระตุก หัวใจไฟฟ้ำชนิดอัตโนมัติ (AED) อย่ำงทันเวลำ เมื่อพบคนหมดสติ ... จะท�าอย่างไร !? ๑. ก่อนกำรช่วยชีวติ ให้สำ� รวจควำมปลอดภัย เช่น ไฟฟ้ำน�้ำ ควัน อันตรำยต่ำง ๆ ต้องย้ำยผู้หมดสติ มำยังที่ปลอดภัยก่อนเสมอ

C

ท�าไม...หัวใจจึงหยุดเต้น ? ในบำงรำยภำวะหัวใจขำดเลือดดังกล่ำวจะส่งผล ให้ไฟฟ้ำหัวใจห้องล่ำงเต้นผิดจังหวะอย่ำงรุนแรงชนิด “สั่นพลิ้ว” (Ventricular Fibrillation) หัวใจจะหยุด กำรบีบตัว ไม่มีกำรไหลเวียนเลือดเป็นผลให้สมอง ๒. เรียกดัง ๆ ตบไหล่แรง ๆ “คุณ คุณ คุณ” ขำดเลือดไปเลี้ยงผู้นั้นจะหมดสติ ล้มทั้งยืนในเวลำ หำกไม่ตอบสนอง ไม่หำยใจหรือหำยใจเฮือกให้ตะโกน เพียง ๓ วินำที ขอควำมช่วยเหลือ“ช่วยด้วย ๆ มีคนหมดสติ!” เรียกหำ เครื่อง AED “ช่วยเอา AED มาด้วย!”


ข่าวทหารอากาศ

73

๓. โทรเบอร์ ๑๖๖๙ เล่าอาการ และบอก ที่เกิดเหตุ “มีคนหมดสติ ไม่หายใจ เหตุเกิดที่....”

๖. หากมี เครือ่ ง AED มีวธิ ใี ช้โดย เปิดเครือ่ ง แปะแผ่น ฟังวิเคราะห์ หากเครือ่ งสัง่ Shock ให้ถอยห่าง *ห้ามแตะตัวผู้ที่หมดสติ* ๗. หลัง Shock ให้กดหน้าอกต่อทันที ๑๐๐ - ๑๒๐ ครั้ง/นาที (๓๐ ครั้ง ๕ รอบ) แล้วฟัง เครือ่ ง AED วิเคราะห์ และท�าตามจนกว่าความช่วยเหลือ มาถึง ๘. หากผู้หมดสติมีการตอบสนอง ให้จัด “ท่าพักฟื้น” เพื่อป้องกันการส�าลัก โดยตะแคงตัว ใบหน้าและล�าตัว ใช้หลังมือด้านบนรองใบหน้าฝ่ามือ ราบกับพื้นดังรูป ๔. เริ่มการกดหน้าอก คุกเข่าชิด ประสาน มือล็อก และกระดกข้อมือ “ส้นมือ” แนบกลางอก ระหว่างราวนมแขนเหยียดตึง ใช้สะโพกเป็นจุดหมุน

CPR ไม่เน้นการเป่าปาก ท�าโดยการ “กดหน้าอกเพียงอย่างเดียว” ๕. กดหน้าอกลึกประมาณ ๒ นิว้ และปล่อย ให้สดุ อัตรา ๑๐๐ – ๑๒๐ ครัง้ ต่อนาที โดยนับ ๑ ถึง ๓๐ วนซ�้าจนครบ ๕ รอบ (๒ นาที) ให้เปลี่ยนผู้กดหน้าอก แล้วท�าซ�้าเช่นเดิม

ท่านสามารถดูวิธีการท�า CPR จากวีดิทัศน์ตาม QR code นี้

อ้างอิง จริยา สันตติอนันต์, รัชนี แซ่ล,ี้ พลิตา เหลืองชูเกียรติ. ๒๕๖๑. คูม่ อื การช่วยชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน ส�าหรับบุคลากรทางการแพทย์ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑.


74

แท็กซี่ ปฏิเสธไม่ไป ท�ำไงดี

ไม่ ไปครับ แก๊สหมด.. ส่งรถ..

BY R.T.A.F’s Eyes view

เห็นค�ำว่ำ “ว่ำง” มำแต่ไกล ก็โบกมือไป อย่ำงเต็มที่ รถแท็กซีค่ นั นัน้ ก็จอด ผูเ้ ขียนบอกสถานที่ เรียบร้อย สิ่งที่ได้ยินจากคนขับแท็กซี่ “ไม่ไปครับ” แล้วก็ขับรถจากไป มันจะเป็นเรื่องเล่าที่น่าตลกหรือ เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งท�าให้หงุดหงิด โมโห หากเกิดขึน้ กับคุณ คุณมีวธิ กี ารตัง้ รับอย่างไร ในวันนัน้ เป็นวันทีผ่ เู้ ขียนจ�าเป็น ต้องใช้บริการรถแท็กซี่ ฝนก็ตก ของก็พะรุงพะรังเต็มมือ นับระยะทางจากจุดยืนรอ ไปถึงปลายทางก็ไม่ไกลมาก ซึ่งก็คิดในใจว่า วันนี้จะเจอเหตุการณ์แท็กซี่ไม่รับ อีกมั้ยนะ อ้าว! ลองเสี่ยงดู ข�า ๆ ชีวิตเรานอกจาก เสีย่ งกับความไม่ปลอดภัยทีต่ อ้ งอาศัยไปกับคนแปลกหน้า อยูแ่ ล้ว แต่นตี่ อ้ งเสีย่ งโชคโบกแท็กซี่ จะรับหรือไม่รบั อีก ผู้เขียน : ยื่นมือไปโบกรถ คนขับแท็กซี่ : ไปไหนครับ ผู้เขียน : ไปออเงิน แท็กซี่ : ชักสีหน้า ไม่ไปครับ กดเลื่อนกระจกรถขึ้น แล้วขับรถออกไปเลย ผู้เขียน : ยืนมึน งง แถมอายคน ด้านหลัง เมื่อตั้งสติได้ จึงหยิบโทรศัพท์มือถือขึ้นมา ถ่ายป้ายทะเบียนรถแท็กซีส่ เี ขียวเหลืองด้วยความโกรธ ทีถ่ กู ปฏิเสธ จากนัน้ นึกขึน้ ว่า เราไม่ควรปล่อยเหตุการณ์นี้

ผ่านไป คนขับแท็กซีค่ นนีค้ วรมีสว่ นรับผิดชอบ ซึง่ ผูเ้ ขียน จ�าได้วา่ มีกฎหมายหรืออะไรสักอย่างทีเ่ คยอ่านและดู ข่าวสารว่าสามารถร้องเรียนการกระท�าของแท็กซี่ได้ จึงพิมพ์หาข้อมูลใน Google ว่า “ร้องเรียนแท็กซี่” โทร.๑๕๘๔ กรมการขนส่งทางบก ให้บริการรับเรื่อง ร้องเรียนจากการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ โดยรับเรือ่ งร้องเรียนรถตาม พ.ร.บ.รถยนต์ พ.ศ.๒๕๒๒ และตาม พ.ร.บ.การขนส่งทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ตลอดจน สามารถตรวจสอบผลการด�าเนินการได้ โดยการกรอก หมายเลขบัตรประชาชน ๑๓ หลัก เพือ่ ด�าเนินการค้นหา

ภายหลังจากการโทรรอสายไม่น่าจะเกิน ๒๐ วินาที มีเสียงปลายทางเป็นเจ้าหน้าที่ผู้ชาย รับสายแล้ว สอบถามว่า ต้องการสอบถามหรือทราบ เรื่องอะไรครับ ทางผู้เขียนไม่รอช้า รีบตอบกลับว่า ขอร้องเรียนคนขับแท็กซีป่ ฏิเสธไม่รบั ซึง่ ถึงตรงนีเ้ ราจะต้อง มีข้อมูลที่จะต้องบอกทางศูนย์รับเรื่องเพื่อสามารถ


ข่าวทหารอากาศ

ด�ำเนินกำรและติดตำมต่อไปได้ ซึ่งเจ้ำหน้ำที่จะมี ค� ำ ถำมที่ เ รำต้ อ งเตรี ย มตอบว่ ำ ทะเบี ย นแท็ ก ซี่ หมำยเลขอะไร รถแท็กซีค่ นั นัน้ สีอะไร และจุดทีเ่ กิดเหตุ บริ เ วณไหน เวลำอะไร ขอทรำบชื่ อ นำมสกุ ล หมำยเลขบัตรประชำชน เบอร์โทรศัพท์ของผู้แจ้ง ตรงส่วนนี้ เรำจะต้องมีข้อมูลครบถ้วน ซึ่งผู้เขียน ได้ถ่ำยรูปไว้จึงสำมำรถตอบค�ำถำมทุกข้อได้ทั้งหมด จำกนั้นได้สอบถำมกลับเจ้ำหน้ำที่ต่อไปว่ำ จะทรำบ ผลกำรร้องเรียนได้อย่ำงไร คิดในใจว่ำเรำจะเสียเงิน ค่ำโทรฟรี สุดท้ำยก็คงไม่มอี ะไรเกิดขึน้ แต่ไม่ใช่แบบนัน้ ทำงเจ้ำหน้ำทีอ่ ธิบำยต่อว่ำ ทำงศูนย์ได้รบั เรือ่ งร้องเรียน ไว้เรียบร้อยแล้ว ภำยหลังวำงสำยจะมีขอ้ ควำมแจ้งเข้ำ ทำงหมำยเลขโทรศัพท์ว่ำ

ข้อความตอบรับเรื่องร้องเรียนทางโทรศัพท์มือถือผู้เขียน

จะเรียกได้ว่ำเป็นอีกครั้งที่ตัดสินใจไม่นิ่งเฉย ต่อกำรกระท�ำที่ไม่ถูกต้องของคนขับแท็กซี่ ไม่ว่ำ ผลจะเป็นอย่ำงไร แต่อย่ำงน้อย สถิติคนที่โทรเข้ำไป ร้องเรียนก็สำมำรถท�ำให้เกิดกำรเปลีย่ นแปลงต่อสังคมได้

75

ผู้เขียนจึงได้น�ำข้อมูลสถิติกำรร้องเรียน “แท็กซี่” พบว่ำสูงกว่ำปีที่แล้ว ในเรื่องกำร “ปฏิเสธผู้โดยสำร” เป็นอันดับหนึ่ง จำกสถิติกำรร้องเรียนรถแท็กซี่ผ่ำนทำง สำยด่วน ๑๕๘๔ กระทรวงคมนำคม ระหว่ำงวันที่ ๑ ต.ค.๒๕๖๐ – ๓๐ ก.ย.๒๕๖๑ มีเรื่องร้องเรียน ถึง ๔๘,๒๒๓ เรือ่ ง ซึง่ สูงกว่ำปีกอ่ นหน้ำ โดยเรือ่ งร้องเรียน ๕ อันดับแรก คือ กำรปฏิเสธไม่รบั ผูโ้ ดยสำร แสดงกิรยิ ำ ไม่สภุ ำพ ขับรถประมำทหวำดเสียว ไม่กดมิเตอร์ และ ไม่ส่งผู้โดยสำรตำมที่ตกลง ซึ่งในประเด็นทั้งหลำย เหล่ำนี้จะประกอบกำรพิจำรณำว่ำสมควรจะปรับขึ้น ค่ำโดยสำรหรือไม่ เนื่องจำกก่อนหน้ำนี้ก็เคยมีกำร พิจำรณำปรับขึน้ ค่ำโดยสำรระยะที่ ๒ อีก ๕ เปอร์เซ็นต์ หลังจำกก่อนหน้ำนี้ได้ปรับไป ๘ เปอร์เซ็นต์แล้ว แต่ เมือ่ มีกำรพิจำรณำเรือ่ งร้องเรียนของประชำชนทีย่ งั มี อยูจ่ ำ� นวนมำก จึงได้ระงับกำรปรับค่ำโดยสำรมำจนถึง ปัจจุบัน จำกข้อมูลสถิติกำรร้องเรียนที่ผู้เขียนได้น�ำ มำให้อ่ำน เมื่อเกิดเหตุกำรณ์แบบเดียวกันนี้ หำกเรำ ไม่นิ่งเฉย คุณจะเป็นอีกคนที่สำมำรถแจ้งหน่วยงำน ที่เกี่ยวข้องเหล่ำนี้สำมำรถบังคับใช้ได้อย่ำงจริงจัง หรือพิจำรณำไม่ปรับค่ำโดยสำร ซึง่ นีจ่ ะเป็นบทลงโทษ แก่กำรกระท�ำของแท็กซีบ่ ำงคน บำงกลุม่ และทีส่ ำ� คัญ มีกำรเพิม่ โทษกำรปฏิเสธผูโ้ ดยสำร โดย นำยธำนี สืบฤกษ์ รองอธิบดีกรมกำรขนส่งทำงบก (ขบ.) ได้กล่ำวว่ำ ปัจจุบนั กำรแก้ปญ ั หำแท็กซีส่ ำธำรณะ มีกำรยกระดับ

ข้อมูลจาก PPTV Online เมื่อวันที่ ๓๐ ต.ค. พ.ศ.๒๕๖๑


76

การให้บริการเรือ่ งปฏิเสธผูโ้ ดยสาร ก�าหนดบทลงโทษ ตามกฎหมายขนส่ง หากแท็กซี่ที่ปฏิเสธผู้โดยสาร พนักงานขับรถโทษปรับสูงสุด ๕,๐๐๐ บาท และ ผูป้ ระกอบการปรับไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท เพือ่ ให้เป็น บทลงโทษมาตรฐานเดียวกันกับรถโดยสารสาธารณะ ประเภทอื่น เช่น รถทัวร์ และรถตู้ เพราะปัจจุบัน รถแท็กซีม่ บี ทลงโทษต�า่ ทัง้ ทีเ่ ป็นรถสาธารณะเหมือนกัน โดยขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างขัน้ ตอนการเสนอร่างกฎหมาย ในส่วนความคิดเห็นของผูเ้ ขียน อยากสะท้อน เรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ ให้แก่ผอู้ า่ นทีอ่ าจเจอเหตุการณ์แบบนี้ ขึ้นกับตัวท่าน สิ่งที่อยากเห็นมากที่สุดคือ เกิดการ เปลี่ยนแปลง โดยอยากฝากข้อความให้คนขับแท็กซี่ สร้างจิตส�านึกทีด่ ใี นการให้บริการ อย่าปฏิเสธผูโ้ ดยสาร ถ้าไม่ตดิ ธุระอะไรจริง ๆ มีใจบริการรับผูโ้ ดยสารทุกคน อย่างเท่าเทียมกัน ไม่ท�าท่าทางหรือกิริยาส่อไปทาง อนาจาร ร่างกายและจิตใจต้องพร้อมต่อการท�าหน้าที่ เพือ่ ความปลอดภัย ไม่ดมื่ สุรา พูดคุยด้วยความจริงใจ และยิ้มแย้ม ช่วยเหลือผู้โดยสารยกของถ้ามีสัมภาระ มาก ๆ หรือหนักเกินไป ไม่ขับอ้อมหรือโกงมิเตอร์ ไม่เปิดวิทยุเสียงดัง หรือท�าเสียงดังให้ผโู้ ดยสารร�าคาญ มีมารยาท ใส่ใจรักในงานบริการ เพียงเท่านีค้ ณ ุ จะเป็น แท็กซี่ที่ดีได้แน่นอน และที่ส�าคัญต้องอยู่บนพื้นฐาน ให้เกียรติซึ่งกันและกัน ร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งให้สังคม น่าอยู่ และเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข


ข าวทหารอากาศ

77


78

บทเรียนการช่วยเหลือ และบรรเทาสาธารณภัย กรณีเกิดภัยพิบัติ ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย น.อ.ประภาส สอนใจดี

(ต่อจากฉบับที่แล้ว) ๓.๔ บทเรียนที่ได้รับ การพัฒนาสัมพันธ์กับทุกภาคส่วนเป็นหัวใจ ส�าคัญในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นต่างประเทศ แต่ละภาคส่วน มีความเชีย่ วชาญและความคุน้ เคยในพืน้ ทีท่ หี่ น่วยงาน ของตนตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีน่ นั้ โดยเฉพาะบริษทั ภาคเอกชน ในอินโดนีเซีย มีส่วนช่วยในการประสานงาน อ�านวย ความสะดวกในพืน้ ทีป่ ระสบภัยอย่างดียงิ่ ซึง่ ในภาวะปกติ สน.ผชท.ทหารไทย ฯ ได้พฒ ั นาสัมพันธ์ทกุ รูปแบบกับ ผู้บริหารทั้งภาครัฐและภาคเอกชนด้วยความจริงใจ สร้างความเชือ่ มัน่ ศรัทธา ให้เกิดการรับรูว้ า่ “กองทัพไทย เป็นของคนไทยทุกคน” ท�าให้สามารถประสานงานกัน อย่างไม่เป็นทางการได้ตลอดเวลา และขอรับการ สนับสนุนทรัพยากรที่หน่วยงานของตนมีสนับสนุน กิจกรรมช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาสัมพันธ์และประสานงานกันอย่าง ใกล้ชดิ กับกองทัพอินโดนีเซีย ท�าให้เกิดการแลกเปลีย่ น การเรียนรูแ้ ละประสบการณ์การปฏิบตั งิ านให้สอดคล้อง กับวัฒนธรรมพี่น้องชาวมุสลิม ด้วยการปฏิบัติตนให้ เหมาะสมกับกาลเทศะและสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของกองทัพอินโดนีเซียอย่างเต็มที่ เช่น เมื่อเดือน พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ กองทัพอากาศได้ปฏิบัติ ตามการร้องขอของกองทัพอากาศอินโดนีเซีย ขอให้ ถ่ายทอดบทเรียนเกี่ยวกับการพัฒนากองทัพอากาศ ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ที่ก�าหนด ให้กับเจ้าหน้าที่ ของกองทัพอากาศอินโดนีเซีย ด้วยความจริงใจ ท�าให้

เกิดการเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ นประสบการณ์การพัฒนา สู่กองทัพอากาศที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง เป็นต้น จึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ท�าให้กองทัพอากาศอินโดนีเซีย ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยชาวไทยอย่างเต็มที่ เป็นล�าดับแรก การปฏิบัติงานในนามของทีมประเทศไทย ในต่างประเทศ จะต้องพัฒนาสัมพันธ์กนั อย่างต่อเนือ่ ง และจัดท�าแผนเผชิญเหตุทสี่ ามารถสือ่ สาร แลกเปลีย่ น ประสบการณ์กนั ได้อย่างเต็มทีต่ ลอดเวลา รวมทัง้ ต้องจัด ให้ มี ก ารซั ก ซ้ อ มการปฏิ บั ติ ต ามแผนที่ ก� า หนดไว้ ตั้งแต่ในภาวะปกติ จะท�าให้ทุกภาคส่วนมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง อันจะเป็น การช่วยกันพิจารณาตัดสินใจเลือกหนทางปฏิบัติ ในการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย ได้ อ ย่ า งเหมาะสม รวดเร็ว และใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด โดยยึดเป้าหมาย เดียวกันในการปฏิบัติงานในต่างประเทศ คือ “ความ ปลอดภัยของพี่น้องประชาชนชาวไทย” หน่วยงานทหารไทยได้จัดการเรียนการสอน และสัง่ สมประสบการณ์ในการช่วยเหลือและบรรเทา สาธารณภัย ดังนัน้ ผูท้ จี่ ะต้องไปปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นต่างประเทศ จะต้องตระหนักและเตรียมความพร้อมเผชิญสถานการณ์ ภัยพิบตั ใิ นทุกรูปแบบ รวมทัง้ มีความเป็นมืออาชีพในการ ประยุกต์ใช้ขดี ความสามารถของตนเองในการเป็นผูน้ า� การประสานงาน การเจรจาต่อรองและการควบคุมฝูงชน ที่ประสบภัยไม่ให้เกิดความวิตกกังวล และสามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ข าวทหารอากาศ

บทสรุปและข้อเสนอแนะ อินโดนีเซียตั้งอยู่ในเขต Ring of Fire มีความเสีย่ งจากภัยธรรมชาติทงั้ จากแผ่นดินไหวและ ภูเขาไฟระเบิด ซึง่ นักท่องเทีย่ วชาวไทยทีต่ อ้ งการเดินทาง มาท่องเทีย่ วต้องเตรียมตัวให้พร้อมส�าหรับเหตุฉกุ เฉิน เนื่องจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว จัดว่าเป็นภัยพิบัติ ที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า เป็นเหตุสุดวิสัย จึงจ�าเป็นต้องเรียนรูแ้ นวทางการปฏิบตั เิ พือ่ เอาตัวรอด ในยามที่เกิดแผ่นดินไหว ด้วยการไม่ตื่นตระหนก และมีสติตลอดเวลา โดยยึดหลักการซ้อมหลบภัย คือ “หมอบ ป้อง เกาะ” การเรียนรู้จากบทเรียนการเกิดภัยพิบัติ ในอินโดนีเซียทัง้ ๓ เหตุการณ์ คือเมือ่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหวระดับ ๖.๔ แมกนิจดู ทีบ่ ริเวณตอนเหนือของเกาะลอมบอก ถัดมาอีกเพียง ๘ วัน เมือ่ วันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เกิดแผ่นดินไหว ระดับ ๗.๐ แมกนิจดู อีกครัง้ ทีเ่ กาะลอมบอก ซึง่ ผูเ้ ขียน เป็นผู้ประสบภัยเองโดยตรง หลังจากนั้นอีก ๕๕ วัน เมือ่ วันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๑ ก็เกิดเหตุแผ่นดินไหว ขนาด ๕.๙ และ ๗.๔ แมกนิจูด ห่างจากชายฝั่งเมือง ดองกาลา (Donggala) บนเกาะสุลาเวสี (Sulawesi) ทางภาคกลางของอินโดนีเซีย ส่งผลให้เกิดคลืน่ สึนามิ บริเวณชายฝั่งด้วย

79


80

กล่าวได้ว่าจากลักษณะพิเศษของภัยพิบัติ ข้างต้น ท�าให้นกั บริหารจัดการภัยพิบตั ิ ต้องหันกลับมา ให้ความส�าคัญกับหน่วยงานในต่างประเทศในที่นี้คือ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ของไทย ภาคเอกชนของไทย ประชาชนชาวไทยในประเทศนั้น และภาคส่วน ทีเ่ กีย่ วข้องของอินโดนีเซีย ในการเป็นหน่วยปฏิบตั หิ ลัก ในการบริหารจัดการภัยพิบตั ทิ กุ ขัน้ ตอน ด้วยลักษณะ การเกิ ด ภั ย พิ บั ติ แ ละผลกระทบนั้ น ต้ อ งอาศั ย ศักยภาพในด้านต่าง ๆ ทั้งความรู้พื้นที่ ทักษะความ ช�านาญ ความเข้าใจสถานการณ์ ก�าลังคนและความ ร่วมมือ ตลอดจนการติดตามประเมินผลมาตรการ รับมือต่าง ๆ จากทุกภาคส่วนซึ่งสามารถอธิบายได้ ด้วยกระบวนการของการจัดการภัยพิบตั ทิ งั้ ๓ ขัน้ ตอน ที่จะต้องมีการเตรียมพร้อม การตอบสนอง และการ พัฒนาแนวทางการปฏิบัติที่จ�าเป็นดังนี้ ๑. การด�าเนินการก่อนเกิดภัยพิบัติ เพื่อป้องกัน และลดผลกระทบจากภัยพิบัติ ได้แก่ การให้ความรู้ เรือ่ งภัยพิบตั แิ ละแนวทางการปฏิบตั ติ นเบือ้ งต้นทีอ่ าจ จะเกิดขึน้ ในอินโดนีเซียกับชาวไทยทีจ่ ะเดินทางไปยัง ประเทศอินโดนีเซีย การให้ค�าแนะน�าการปฏิบัติตน กับภาครัฐและภาคเอกชนในอินโดนีเซีย ด้วยการฝึก อบรมและการใช้สอ่ื ชนิดต่าง ๆ การวิเคราะห์ความเสีย่ ง ของแต่ละภัยพิบตั ิ และแต่ละพืน้ ที่ การเตรียมกระเป๋า ในยามฉุกเฉิน การจัดท�าแบบจ�าลองสถานการณ์ การจัดท�าแผนทีอ่ พยพ การระบุพนื้ ทีป่ ลอดภัยการจัดท�า แผนการบรรเทาสาธารณภัยของคนไทยในอินโดนีเซีย ท�าเนียบการติดต่อสือ่ สารของคนไทยทุกคน การฝึกซ้อม รูปแบบต่าง ๆ ในการอพยพ การเตือนภัย และ การอพยพก่อนการเกิดภัยพิบัติ


ข่าวทหารอากาศ

๒. การด�าเนินการระหว่างเกิดภัยพิบตั ิ เป็นการ ด�าเนินการในสถานการณ์ฉกุ เฉินต่าง ๆ โดยการระดม ทรัพยากรทีม่ อี ยูเ่ ข้าช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบตั โิ ดยการ ทบทวนแผนบรรเทาสาธารณภัยให้สอดคล้องกับการ ประเมินสถานการณ์ลา่ สุดในพืน้ ทีเ่ กิดภัยพิบตั ิ การระบุ หน่วยงานหลักและหน่วยประสานงานการส�ารวจ จ� า นวนคนไทยที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ การรายงาน สถานการณ์ประจ�าวัน การขอรับการสนับสนุนจาก ประเทศไทย การประสานขอรับการสนับสนุนจาก หน่วยงานในพื้นที่ กองทัพอินโดนีเซีย และรัฐบาล อินโดนีเซีย การรวบรวมรายชือ่ และการติดต่อสือ่ สาร กับผู้ประสบภัยชาวไทย การจัดตั้งศูนย์ประสานงาน ส่วนหลัง ณ สอท.ฯ การใช้ระบบการติดต่อสื่อสาร เพือ่ การบัญชาการและควบคุม การอพยพผูป้ ระสบภัย เมื่อจ�าเป็น การเคลื่อนย้ายทรัพยากร การเตรียม อาหารและเครื่องดื่ม การเตรียมที่พัก การจัดรถยนต์ เคลื่อนย้ายผู้อพยพ การจัดการจราจร การจัดทีม การให้ความช่วยเหลือ การจัดชุดแพทย์ปฐมพยาบาล ขั้นต้น การจัดการในพื้นที่หลบภัย และการส่งกลับ ประเทศไทย ๓. การด�าเนินการหลังจากภัยพิบตั ผิ า่ นพ้นไป เป็นการฟืน้ ฟูกจิ กรรมต่าง ๆ ของชุมชนของผูป้ ระสบภัย

81

และของรัฐบาลอินโดนีเซีย ให้กลับคืนสู่ภาวะปกติ ได้แก่ การฟืน้ ฟูบรู ณะทางกายภาพและจิตใจ การติดตาม ประเมินความเสียหาย การจัดการเรื่องของบริจาค การวางแผนการฟืน้ ฟู การประเมินความเสีย่ งต่อเนือ่ ง และการสร้างชุมชนให้สามารถฟืน้ คืนสูป่ กติ ซึง่ ภาครัฐ และภาคเอกชนของไทยในอิ น โดนี เ ซี ย ต้ อ งแสดง ความจริงใจในการสนับสนุนสิ่งของหรือเงินบริจาค ส�าหรับช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างเต็มที ่ เพื่อให้เกิด ความรูส้ กึ เป็นมิตรทีด่ ตี อ่ กันเมือ่ ชาวอินโดนีเซียได้รบั ความเดือดร้อนจากภัยพิบัติ กล่าวโดยสรุป แม้ว่าภัยพิบัติจะน�าพาความ เสียหายและการสูญเสียมาสูม่ นุษย์กต็ าม แต่นนั่ ก็ถอื เป็น การทดสอบอย่างหนึง่ ทีท่ า� ให้เราได้เรียนรูถ้ งึ ขีดความ สามารถของตนเอง และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในระหว่างเพื่อนมนุษย์ สิ่งส�าคัญที่ต้องเตรียมพร้อม อยูเ่ สมอ คงไม่ใช่แค่การมีเทคโนโลยีทที่ นั สมัย เพือ่ รูเ้ ท่าทัน การเปลีย่ นแปลงของภัยธรรมชาติทอี่ าจจะเกิดขึน้ แต่คอื การเตรียมตัว การเตรียมความพร้อมทุกด้าน ทั้งการ หาข้อมูล และซักซ้อมจ�าลองเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ทีอ่ าจจะ เกิดขึน้ รวมถึงการเตรียมใจไมให้ตนื่ ตระหนกจนเกินไป ใจเย็น มีสติพร้อมทีจ่ ะเผชิญกับทุกเหตุการณ์ทอี่ าจจะ เกิดขึ้น ไม่ว่าเราจะตกอยู่ในสภาวการณ์เช่นใดก็ตาม


82

าก ม น แก ยิ่งส ิมาก ธ ท ิ ีส ยิ่งม

airforcemagazine.rtaf.mi.th/questionnaire/2562

แบบสอบถามความพึงพอใจ ที่มีต่อหนังสือข่าวทหารอากาศ กติกา: สแกน QR Code และร่วมตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีสิทธิรับรางวัล จ�านวน 5 รางวัล รางวัลละ 1,000 บาท โดยวิธีจับสลาก หมดเขต 25 ตุลาคม 2562 จับรางวัลและประกาศรายชื่อผู้โชคดี ในวันที่ 28 ตุลาคม 2562 ทางข่าวประจ�าวันกองทัพอากาศ ในวันที่ 29 ตุลาคม 2562 ตรวจสอบรายชื่อผู้รับรางวัลได้ที่ http://www.airforcemagazine.rtaf.mi.th กองวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์ (เพื่อพลาง) ส�านักกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ ถนนพหลโยธิน แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์: 0 2534 4471, 0 2534 4241


ข าวทหารอากาศ

กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ กับค�าแนะน�าในการก้าวไปสู่ 5G

83

(DIB issued suggestions to DoD for moving forward on 5G) น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์

บางครั้งทรัพย์สินทางทหารที่มีค่ามากที่สุด คือ สิ่งที่คุณไม่สามารถมองเห็นและเป็นไปได้ ในกรณี ของเครือข่ายไร้สายความเร็วสูง 5G บนคลื่นความถี่ ต�่ากว่า 6 GHz ที่ผู้ให้บริการเครือข่ายเชิงพาณิชย์ อย่างบริษัท Verizon และ AT&T ของสหรัฐอเมริกา ก�าลังน�าไปติดตัง้ ในฐานทัพอากาศสหรัฐฯ (Air Force Bases) ท�าให้กองทัพอากาศสหรัฐฯ นั้น สามารถ เชือ่ มต่อระหว่างกันและรับ - ส่งข้อมูลได้อย่างปลอดภัย ในอัตราที่สูงถึง 10 Gbps เร็วกว่า 4G LTE ที่เร็ว มากสุดในปัจจุบันถึง ๒๐ เท่า ซึ่งในประเทศสหรัฐฯ เทคโนโลยี 5G เชิงพาณิชย์ ถูกจ�ากัดให้ใช้บนแถบคลืน่ ความถีม่ ลิ ลิเมตร (Millimeter-Wave Band) จะท�างาน ได้ดีในพื้นที่เขตนอกเมือง พื้นที่ภายในอาคารและ

ในระยะทางสัน้ ๆ การใช้งานเครือข่ายไร้สาย 5G อย่างมี ประสิทธิภาพนัน้ ต้องใช้แถบคลืน่ ความถีต่ า�่ กว่า 6 GHz (Sub-6) เป็นย่านความถี่ท่ีถูกใช้และควบคุมโดย กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ (Department of Defense : DoD) การน�ามาใช้เชิงพาณิชย์ถือเป็นส่วนส�าคัญ ของการโต้เถียงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สหรัฐฯ กับบริษทั หัวเว่ย (Huawei) ของจีน ซึง่ ปัจจุบนั เป็นบริษัทฯ ผู้น�าทางด้านเทคโนโลยี 5G ถึงอย่างไร ก็ ต ามคณะกรรมการนวั ต กรรมด้ า นการป้ อ งกั น (Defense Innovation Board : DIB) ได้ให้คา� แนะน�า รวมทั้งข้อเสนอแนะแก่ DoD ในการก้าวไปสู่ 5G โดยบทความในฉบับมีมมุ มองและรายละเอียดทีน่ า่ สนใจ ดังนี้


84

ความส�าคัญ 5G บนคลื่นความถี่ต�่ากว่า 6 GHz การสื่อสารไร้สายส่วนใหญ่ในปัจจุบัน เกิดขึ้น ที่แถบคลื่นความถี่ต�่ากว่า 3 GHz ตามข้อมูลผู้ผลิต ชิปมือถือ (Chipmaker) อย่าง Qualcomm แต่เครือข่าย ไร้สาย 5G ในประเทศสหรัฐอเมริกา จะท�างานในแถบ คลืน่ มิลลิเมตรระหว่าง 30 GHz และ 300 GHz อันเป็น ส่วนหนึง่ ของคลืน่ ความถีท่ ไี่ ด้กา� หนดไว้สา� หรับการใช้งาน ในประเทศนี้ ด้วยแถบคลืน่ มิลลิเมตร (Millimeter-Wave) สัญญาณไม่สามารถแพร่กระจายได้ดใี นระยะทางไกล ก่อให้เกิดปัญหา แต่ยอมรับได้ส�าหรับการใช้ในพื้นที่ หนาแน่นเขตนอกเมือง และพืน้ ทีห่ นาแน่นภายในอาคาร ด้วยการวางต�าแหน่งของเสาอากาศเพิ่มเติม ซึ่งคลื่น ความถี่ที่สูงขึ้นนั้นคงไม่เหมาะส�าหรับพื้นที่ที่เปิดโล่ง และการวางเสาอากาศเพิม่ บ่อยครัง้ คงเป็นสิง่ ทีไ่ ม่สามารถ ท�าได้ ดังนั้น การใช้แถบคลื่นความถี่ต�่ากว่า 6 GHz (Sub-6) จะให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่า สิ่งนี้เป็นหัวใจ ของการต่อสูใ้ นปัจจุบนั ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีน ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี 5G รวมทั้งบทบาทของบริษัท จากจีนผูใ้ ห้บริการทางด้านโทรคมนาคมอย่าง “หัวเว่ย” ประกอบกับคลืน่ ความถีต่ า�่ กว่า 6 GHz นัน้ ไม่สามารถ ใช้ได้ในสหรัฐอเมริกาส�าหรับการน�ามาใช้เชิงพาณิชย์


ข่าวทหารอากาศ

ทัว่ ไป ซึง่ ได้สงวนไว้ให้สำ� หรับกระทรวงกลำโหมสหรัฐฯ (DoD) อำทิ เครือข่ำยไร้สำยควำมเร็วสูง 5G บนคลื่น ควำมถี่ต�่ำกว่ำ 6 GHz ที่ก�ำลังน�ำไปติดตั้งในฐำนทัพ อำกำศสหรัฐฯ ถ้ำจะน�ำมำให้ผู้ใช้เชิงพำณิชย์ DoD ต้องก�ำหนดว่ำใช้รว่ มกันอย่ำงไร สหรัฐฯ นัน้ อำจเลือกเดิน 5G ตำมเส้นทำงของแถบคลื่นมิลลิเมตร แต่ส่วนมำก ของโลกก�ำลังมุ่งเน้นไปที่กำรสร้ำงโครงสร้ำงพื้นฐำน 5G บนคลื่นควำมถี่ต�่ำกว่ำ 6 GHz โดยมีจีนเป็นผู้น�ำ แม้ ว ่ ำ โดยทั่ ว ไปแล้ ว ส่ ว นประกอบของแถบคลื่ น มิลลิเมตรจะมีขนำดที่เล็กกว่ำชิ้นส่วนของแถบคลื่น ควำมถี่ต�่ำกว่ำ 6 GHz แต่คลื่นมิลลิเมตรนั้นต้องกำร สถำนีฐำนจ�ำนวนมำกทีอ่ ยูใ่ กล้กนั เพือ่ รักษำกำรเชือ่ มต่อ นอกจำกนี้ยังมีควำมเสี่ยงที่สัญญำณถูกรบกวน เช่น จำกวัตถุเคลื่อนที่อยู่ด้ำนหน้ำของสถำนีฐำนหรือจำก สภำพของอำกำศ บำงคนได้แนะน�ำว่ำ ทหำรควรมุ่ง ควำมสนใจไปที่แถบคลืน่ ควำมถีท่ ี่สูงกว่ำ 6 GHz กำร เข้ำถึง 5G ช่วงควำมถี่ของคลื่นมิลลิเมตร จะมีควำม ส�ำคัญต่อกำรด�ำเนินงำนในโดเมนของกำรสู้รบ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งด้ำนกำรบัญชำกำรและควบคุม ในอวกำศ (Space C2) แต่อย่ำงไรก็ตำมคณะกรรมกำร นวัตกรรมด้ำนกำรป้องกัน (DIB) ได้กล่ำวในกำรประชุม

85


86

ณ Defense Innovation Unit Experimental รัฐแคลิฟอร์เนีย เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ค.ศ.๒๐๑๙ ว่า การมุ่งเน้น 5G บนแถบคลื่นมิลลิเมตร “มีข้อ บกพร่องพื้นฐาน” และ “คงไม่สามารถน�ามาใช้ได้” DIB ได้ให้คา� แนะน�ารวมทัง้ ข้อเสนอแนะแก่กระทรวง กลาโหมสหรัฐฯ (DoD) ส�าหรับการก้าวไปข้างหน้า ด้วยเทคโนโลยี 5G อันประกอบด้วย ในขั้นแรก ให้ DoD วางแผนการใช้ร่วมกัน ในส่วนต่าง ๆ ของคลื่นความถี่ต�่ากว่า 6 GHz วางข้อ ก�าหนดไว้ใช้แบนด์วธิ เท่าไร แบนด์วธิ ไหนทีใ่ ช้รว่ มกัน และเมื่อใด ที่ส�าคัญในลักษณะใดที่ส่งผลกระทบ ต่อระบบของ DoD โดยหยุดให้ความสนใจไปที่ 5G บนแถบคลืน่ มิลลิเมตร ซึง่ มีขอ้ จ�ากัด และควรคิดเกีย่ วกับ วิธกี ารน�าเครือข่าย 5G ทีเ่ อกชนใช้นนั้ มาใช้ในทางทหาร โดยจัดล�าดับความส�าคัญในการก้าวไปยังคลืน่ ความถี่ ที่พัฒนามากสุด เพื่อให้การน�ามาใช้ในทางทหาร สามารถด�าเนินงานได้อย่างรวดเร็ว ในขัน้ ต่อไป จากรายงานคาดว่า สหรัฐฯ น่าจะ สูญเสียการครอบครองเครือข่ายไร้สาย ซึ่ง DoD ควรระดมทุนวิจยั รวมทัง้ หาเงินทุนเพือ่ ความปลอดภัย

และความยืดหยุน่ ของระบบทีม่ อี ยู่ รวมถึงการทดสอบ และการทดลองเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่มีมาก่อน 5G ทีส่ า� คัญเป็นไปได้วา่ โครงสร้างพืน้ ฐานบนเครือข่ายทัง้ หมด อาจถูกโจมตีได้ทางไซเบอร์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเข้าสู่ เทคโนโลยี 5G สามารถเพิ่มโอกาสการปฏิบัติการ ทางไซเบอร์เชิงรุก ผลที่ตามมาท�าให้การปฏิบัติการ ทางไซเบอร์เชิงรับเป็นสิ่งที่ท�าได้ยากขึ้น ข้อคิดที่ฝากไว้ จะพร้อมหรือไม่นั้น 5G ก�าลังจะมา และ ที่ปรึกษาทางนวัตกรรมด้านการป้องกัน (DIB) ของ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ (DoD) คงไม่ได้มองโลก ในแง่ดีเกือบทั้งหมด โดยเตือนว่า “การได้เปรียบ ในการแข่งขันเหนือประเทศจีนบนแถบคลื่นความถี่ ต�า่ กว่า 6 GHz DoD คงต้องต่อสูแ้ ละด�าเนินการด้วยความ พยายามในแบบที่ไม่เคยเห็นมาก่อน ด้วยเหตุนี้จึงมี ความเป็นไปได้ทวี่ า่ จะมีหลายประเทศในโลกทีใ่ ช้ 5G บนแถบคลื่นความถี่ต�่ากว่า 6 GHz ผลนั้นจะน�า ประเทศสหรัฐอเมริกาไปสู่การใช้งาน 5G ตามหลัง ประเทศต่าง ๆ ในแถบตะวันตก”


ข่าวทหารอากาศ

ขอบฟ้าคุณธรรม รู้จักพอ ซื่ อตรง รับผิดชอบ คิดบวก .. มองไปข้างหน้า .. แก้ไขที่ตัวเรา

โดย 1261

... อยา่ ท�า... คนดี ให้หมองมั้จว ักอยคนไทยให้ า่ ปลอ่ ยคนชัดว่ ี ให พยายามรู ... ้ลอยนวล ... วันหนึ่งผู้เขียนได้อ่านบทความเรื่อง "ฝรั่งมองไทย อย่างไร" ซึง่ เรือ่ งลักษณะนีม้ ใี ห้อา่ นอยูเ่ สมอ ๆ บางเรือ่ ง ก็จริง บางเรื่องก็เป็นความเข้าใจของเขา อาจจะไม่ตรง กับเจตนาของคนไทยเราก็ได้ อ่านแล้วมีข้อสรุปได้ดังนี้ ๑. ข้อดีของคนไทย ยิ้ ม ง่ า ย รู ้ จั ก เกรงใจ มี น�้ า ใจ รั ก เพื่ อ นฝู ง รักอิสระ มีความยืดหยุ่นสูง ไม่เครียด รู้จักให้อภัยกัน ๒. ข้อเสียของคนไทย ขี้อาย สอดรู้สอดเห็น ไม่ชอบท�างานเป็นทีม ไม่ตรงเวลา คิดเล็กคิดน้อย งมงาย ชอบประจบ ไม่ซอื่ สัตย์ ไม่ตรงไปตรงมา ชอบแก้ตัว ขาดวินัย รักสบาย พูดมาก กว่าท�า ฟุ่มเฟือย ชอบอาศัยบารมีผู้ใหญ่ ชอบเส้นสาย ผู้เขียนก็ไม่ได้จริงจังอะไรกับบทความนี้นัก เพราะ

87

บางทีฝรั่งเขาก็อาจไม่เข้าใจวัฒนธรรมของคนไทยดี ในระหว่างนั้นก็เอารูปเก่า ๆ ในมือถือมาดู ก็ไปพบกับ รูปทีถ่ า่ ยไว้เมือ่ วันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐ ท่านผูอ้ า่ น ยังพอจ�าได้ไหมว่าวันนั้นเป็นวันออกพระเมรุของในหลวง รัชกาลที่ ๙ วันนัน้ ผูเ้ ขียนดูการถ่ายทอดสดตัง้ แต่เช้าจาก พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ดูขบวนเคลื่อนพระโกศไป ยังพระเมรุมาศที่ท้องสนามหลวง ช่วงพักผู้เขียนจึงไป วางดอกไม้จันทน์ที่พระเมรุมาศจ�าลอง ที่สนามกีฬา กองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย)์ แล้วก็กลับมาดูการถ่ายทอด สดทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจต่อไป เห็นประชาชน มากมายเหลือเกิน ไปร่วมงานกันในวันนั้น เท่าที่จ�าได้ ประชาชนที่มารอส่งเสด็จที่ท้องสนามหลวงนั้นมาจาก ต่างจังหวัดเป็นจ�านวนมาก มาก่อนวันพิธีถึง ๒ - ๓ วัน


88

มานอนจองพื้นที่ที่มีจ�ากัดกันเลย ส่วนที่สนามกีฬา กองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย)์ นัน้ แถวยาวรอบสนามกีฬา จนหางแถวออกไปนอกถนนยาวเป็นกิโลเมตร ในทุก จังหวัดก็มีพระเมรุมาศจ�าลอง สรุปจากข่าวว่ามีคนมา ร่วมส่งเสด็จราว ๒๐ ล้านคน ผู้เขียนนึกถึงบทความ ฝรัง่ มองไทยอย่างไร อีกครัง้ แล้วนึกในใจว่า ฝรัง่ จะมอง ไทยอย่ า งไรก็ ช ่ า งเขา อะไรที่ เ ราควรแก้ ไ ขก็ น� า มา ปรับปรุงให้ดีขึ้น แต่ส�าหรับคนไทยแล้ว มีคนคนหนึ่ง ทีเ่ ข้าใจคนไทยอย่างลึกซึง้ และทรงพระเมตตามีกระแส รับสั่งมากมาย เป็นค�าแนะน�า ค�าสอน เป็นแนวทาง ให้คนไทยอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข และคนไทยก็รดู้ วี า่ พระองค์ทา่ นรักคนไทย และทรงมีพระเมตตากับคนไทย ทุกคน เหตุการณ์เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐ จึงเกิดขึ้น การจะเป็นผู้น�าที่ดีนั้นจะต้องรู้จักผู้ใต้บังคับ บั ญ ชาและบุ ค คลรอบข้ า งเป็ น อย่ า งดี เมื่ อ ที่ นี่ คื อ ประเทศไทยการรู้จักคนไทยให้ดี จึงเป็นเรื่องที่ตั้งใจ คุยกันวันนี้ หากตั้ ง ค� า ถามว่ า เพราะเหตุ ใ ดพระองค์ ท ่ า น จึงเข้าใจคนไทยได้ลึกซึ้งอย่างนี้ หากนึกย้อนหลังไป เมือ่ สีห่ า้ สิบปีกอ่ น ท่านผูอ้ า่ นหลายท่านอาจจะยังไม่เกิด หลายท่านอาจจะยังอยูใ่ นวัยเยาว์เกินไป แต่ถา้ มีโอกาส ได้ดจู ากรูป หรือ วิดโี อ จะพบว่าในปีหนึง่ ๆ นัน้ พระองค์ แทบไม่ได้อยูท่ สี่ วนจิตรลดาเลย แต่เสด็จพระราชด�าเนิน ไปทั่วประเทศ ไม่ได้ไปผ่าน ๆ แต่ไปนั่งทรงงาน ไปคุย กับชาวบ้าน ไปกินข้าวกินน�้ากับชาวบ้าน ร่วมท�างาน กับชาวบ้าน ไปร่วมกิจกรรมตามประเพณี พืน้ เมืองของคนไทยทัว่ ประเทศ ตัง้ แต่เหนือ จรดใต้ ตะวันออกจรดตะวันตก ไม่มีพื้นดิน แห่งไหนในราชอาณาจักรไทยที่พระองค์ ไม่เสด็จไป พระองค์ได้เห็น ได้ฟงั ได้สมั ผัสกับ คนไทยทั้งประเทศ พระองค์จึงรู้จักคนไทย ได้ดี ที่ส�าคัญพระองค์เคยอยู่ เคยเติบโต มาในสั ง คมฝรั่ ง พระองค์ จึ ง รู ้ จั ก ฝรั่ ง ดี เมื่อเทียบกับประชากรของพระองค์แล้ว พระองค์ จึ ง รั ก และเมตตาคนไทยทุ ก คน ความเมตตานั้นเป็นหัวใจส�าคัญ เพราะมี

คนไทยอีกจ�านวนหนึ่งรวมทั้งฝรั่งบางกลุ่มด้วยที่ศึกษา วิจัยคนไทยมาอย่างดี รู้จุดอ่อนจุดแข็งของคนไทย และอาศั ย ความรู ้ ค วามเข้ า ใจนี้ เอาเปรี ย บคนไทย คนไทยจึงโต้ตอบในเรื่องต่าง ๆ ด้วยวิธีการแบบไทย ๆ ทีเ่ ขาไม่ชอบ ไม่ถกู ใจ และมองว่าเป็นข้อเสียของคนไทย ดังที่เห็น แล้วคนไทยเป็นยังไงกันแน่ ผู้เขียนเป็นคนโบราณ เกิดและโตที่บ้านนอก ไม่เคยมีไฟฟ้าและประปาใช้ มาเจอครั้งแรกที่โรงเรียนเตรียมทหาร และได้มีโอกาส เดินทางไปโน่นมานี่แทบทั่วโลก ผู้เขียนรักและยกย่อง คนไทยมากที่สุด ทั้ง ๆ ที่ในสังคมของเรามีเรื่องแปลก ๆ มากมาย และเป็นจริงอย่างที่ฝรั่งเขาว่า แต่ทั้งหมดนั้น มันมีเหตุและผลของมัน เริ่มแรกเลยเราต้องดูที่ก�าเนิด ของคนไทยส่วนใหญ่ก่อน ครอบครัวคนไทยแต่โบราณ มาเป็นครอบครัวขยาย อยู่ร่วมกันหลาย ๆ รุ่นตั้งแต่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ลุง ป้า น้า อา ลูก หลาน เหลน บางทีก็ขยายบ้านออกไปเรื่อย ๆ หรือไม่ก็ปลูกบ้านอยู่ ในบริ เ วณเดี ย วกั น นั่ น แหละ เจอหน้ า เจอตากั น ก็เรียกกันตามเครือญาติ เป็นพ่อ เป็นแม่ เป็นพี่ เป็นน้อง เป็นลุง เป็นป้า เป็นปู่ เป็นตา เป็นย่า เป็นยาย เรานับถือ กันอย่างนี้เป็นปกติ แม้ปัจจุบันนี้เราก็เรียกกันอย่างนี้ ทั่วไป เราจึงเชื่อฟังผู้ใหญ่ มีอะไรเราก็ชี้แจงแก้ต่าง แก้ ตั ว ไปตามอั ธ ยาศั ย ผู ้ ใ หญ่ ก็ สั่ ง สอนให้ อ ภั ย ไป เกือบทุก ๆ เรือ่ ง ดูไม่มกี ฎมีเกณฑ์อะไรเลย มีเรือ่ งมีราว อะไรก็ ย กขบวนกั น มาทั้ ง ครอบครั ว พรรคพวกตน


ข่าวทหารอากาศ

ต้องถูกเสมอ เหมือนกฎหมูอ่ ยูเ่ หนือกฎหมาย คนไทยก็เลย ไม่ค่อยมีวินัย ไม่ตรงเวลา ดูไม่ซื่อสัตย์ แต่ในความ เป็นจริงแล้วผู้หลักผู้ใหญ่ในสังคมไทยเขามีวิธีการจัดการ ปัญหาเหล่านี้ ในหมู่บ้าน ต�าบลต่าง ๆ เขาจะคัดสรร คนดี ๆ มาดูแลกันได้อย่างนุม่ นวลและเนียนทีส่ ดุ โดยอาศัย ความเกรงอกเกรงใจกันนีแ่ หละ เขาท�ากันแบบบัวไม่ชา�้ น�้าไม่ขุ่น ปัจจุบันไปเอาระบบฝรั่งมาใช้ แล้วเป็นยังไง เละเทะไปทุ ก หมู ่ บ ้ า น เวลาใครไปไหนมาไหนก็ จ ะมี ขนมนมเนย เสื้อผ้าของฝาก ให้ปู่ ย่า ตา ยาย ลูกหลาน มันเป็นเรื่องปกติ คนไทยจึงมองเรื่องการให้สินบน การคอรั ป ชั่ น ในสั ง คมปั จ จุ บั น อย่ า งงงงั น ของฝาก ของขวัญที่เราเคยท�าไฉนกลายเป็นสินบนกลายเป็น คอรัปชั่นไปได้ (จริง ๆ แล้วมันเป็นหรือไม่เป็นมันขึ้น อยูก่ บั เจตนา) พอมีการพัฒนาบ้านเมืองจนมีสงั คมเมือง เกิ ด ขึ้ น มาอี ก สั ง คมหนึ่ ง คราวนี้ ก็ เ กิ ด คนไทยแบบ ทวิลักษณ์ขึ้นมาอีกกลุ่มหนึ่ง คืออยู่ในครอบครัวขยาย โตขึ้ น ไปท� า งานในเมื อ ง หลายคนเอาความเคยชิ น จากครอบครั ว ขยายไปใช้ ใ นที่ ท� า งาน หลายแห่ ง เป็นบริษทั ฝรัง่ ทีจ่ อ้ งเอาประโยชน์จากจุดอ่อนของคนไทย ที่โอบอ้อมอารี มีเมตตา แต่คนไทยเป็นคนฉลาด เขาไม่พูด แต่เขาเบี้ยวแบบดื้อตาใสก็มีให้เห็นกันบ่อย ๆ ฝรั่งก็ว่า คนไทยมีข้อเสียหลายอย่างดังที่กล่าวข้างต้น นอกจากนี้

ก็มคี นไทยทีเ่ ห็นว่าการท�างานแบบฝรัง่ มีจดุ แข็งหลายอย่าง ก็ น� า เอาไปใช้ ใ นชุ ม ชนของตน กลายเป็ น คนไทย เอาเปรียบกันเอง หลอกกันเอง และด่ากันเอง ผู้เขียนไม่ได้ บอกว่ า เรื่ อ งนี้ ดี ห รื อ ไม่ ดี แต่ ก� า ลั ง บอกว่ า คนไทย เป็นอย่างนี้ คือเป็นแบบที่ฝรั่งเขาเขียนไว้นั่นแหละ แต่เวลาอ่านเอาข้อดีและข้อเสียของคนไทยออกเสียก่อน ทัง้ หมดนัน่ แหละคือคนไทย เพราะคนไทยเป็นคนแท้ ๆ ไม่ ใ ช่ หุ ่ น ยนต์ คนไทยส่ ว นใหญ่ ช ่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้ หรือมีญาติพี่น้องที่พึ่งพาได้ คนไทยจึงเป็นคนมีศักดิ์ศรี มีเมตตา ต้องการความจริงใจและให้เกียรติกนั มากกว่า อย่างอื่น ฝรั่งจึงว่าคนไทย หน้าใหญ่ใจโต เพราะเขา ไม่เข้าใจคนไทย การมีความจริงใจ ให้เกียรติกันอย่างมี เมตตานั้น คนไทยเขาเรียกว่า บารมี หากใครมีสิ่งนี้ คนไทยจะมีคา� ว่า เกรงใจ เป็นสิง่ ตอบแทน แต่หากใครไม่มี และมายุง่ กับคนไทย เขาจะมีสงิ่ ทีเ่ รียกว่า หมัน่ ไส้ คืนไปให้ ทั้งสามค�านี้ยังไม่มีในภาษาฝรั่ง ฝรั่งจึงไม่เข้าใจ หากท่านผูอ้ า่ นต้องการความเกรงใจจากคนรอบตัว ไม่วา่ ท่านจะอยูใ่ นฐานะใด ประกอบอาชีพอะไรก็แล้วแต่ ขอท่านได้โปรดศึกษาและอ่านกระแสพระราชด�ารัส ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ ในวโรกาสต่าง ๆ ให้ถ่องแท้ และปฏิบัติตามให้ได้มากที่สุด ท่านจะเป็นคนที่ คนรอบข้าง เกรงใจ แม้จะมีบางคนหมั่นไส้บ้างก็เป็นธรรมดาโลก

89


90

ธรรมประทีป

เทศกาล “ทอดกฐิน”

นั บ เป็ น ประเพณี ที่ สื บ ทอดมากว่ า ๒,๕๐๐ ปี นับตั้งแต่ครั้งที่พระพุทธองค์ยังคงมีพระชนม์ชีพอยู่ จวบจนถึงปัจจุบัน ถือเป็นประเพณีที่พุทธศาสนิกชน ทั้งหลาย ทุกยุคทุกสมัยมีความศรัทธาเลื่อมใสว่าเป็น “ยอดของมหากุศล” จะเป็นเหตุน�าให้ผู้ที่ได้มีส่วน ในการทอดกฐินนั้น ได้อานิสงส์อันยิ่งใหญ่สุดประมาณ ด้ ว ยเหตุ นี้ การท� า บุ ญ ทอดกฐิ น จึ ง เป็ น งานบุ ญ ที่ ตั้ ง อยู ่ บ นรากฐานศรั ท ธาของพุ ท ธศาสนิ ก ชนโดย มีวตั ถุประสงค์ คือ ท�าบุญอย่างผูเ้ ข้าใจคุณค่าและความ หมายของบุญ เพื่อสร้างความเลื่อมใสศรัทธาให้อิ่มเอิบ ในจิ ต ใจพุ ท ธศาสนิ ก ชนทุ ก คนที่ ไ ด้ พ บเห็ น อย่ า งไม่ เสื่อมคลาย ดังนั้น จึงควรอย่างยิ่งที่เราจะได้ศึกษา ความเป็นมาและความส�าคัญของประเพณีทอดกฐิน มีเรื่องราวดังต่อไปนี้ควรจ�าไว้และเข้าใจให้ถูกต้อง ๑. กฐินเป็นกาลทาน คือทานที่จ�ากัดด้วยระยะ เวลา จะทอดกฐินได้ตั้งแต่แรมค�่า ๑ เดือน ๑๑ ถึงขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๑๒ เท่านั้น ไม่ใช่ทอดกฐินกันได้ทั้งปี เหมือนทอดผ้าป่า ๒. วัดแต่ละวัด จะรับกฐินได้เพียงปีละครั้งเดียว โดยมีเจ้าภาพรายเดียวเท่านัน้ จะมีเจ้าภาพมาถวายเป็น รายที่ ๒ ที่ ๓ ไม่ได้ท้ังนั้น ถ้าจะมีเจ้าภาพหลายราย ก็ต้องรวมกันให้เป็นรายเดียว มีผ้ากฐินไตรเดียวหรือ ผืนเดียว ที่เรียกว่า กฐินสามัคคี ๓. พระสงฆ์ที่จะรับกฐินได้ ต้องจ�าพรรษาอยู่ใน วัดเดียวกันโดย ไม่ขาดพรรษา และมีจา� นวนไม่นอ้ ยกว่า

กอศ.ยศ.ทอ.

๕ รูป วัดที่มีพระจ�าพรรษาน้อยกว่า ๕ รูป รับกฐิน ไม่ได้ จะนิมนต์จากวัดอื่นมาให้ครบ ๕ รูปก็ใช้ไม่ได้ ๔. การถวายและการรับกฐินจะท�า ณ สถานที่ใด ๆ ก็ได้ แต่เวลาการท�าสังฆกรรมยกผ้ากฐินให้แก่ภิกษุ รูปใดรูปหนึ่งเพื่ออนุโมทนา ต้องท�าในเขตพัทธสีมา หรือจ�าง่าย ๆ ว่า "ต้องท�าในโบสถ์" เท่านั้น ๕. การกรานกฐิ น คื อ เมื่ อ รั บ ผ้ า มาแล้ ว น� า ไป ท�าตามกรรมวิธที กี่ า� หนดไว้ในพระวินยั จนส�าเร็จเป็นจีวร ผืนหนึ่ง แล้วน�ามาเข้าที่ประชุมสงฆ์เพื่ออนุโมทนา ต้องท�าให้เสร็จสิ้นภายในวันที่รับกฐิน คือก่อนรุ่งอรุณ ของวันใหม่ ๖. สิ่งที่ท�าให้ส�าเร็จเป็นกฐิน ก็คือ ผ้าผืนเดียว ซึ่งพอที่จะตัดเย็บเป็นสบง จีวร สังฆาฏิ อย่างใดอย่าง หนึ่ง ผ้าดังกล่าวนี้จะเป็นผ้าขาวก็ได้ ของอื่น ๆ ทั้งหมด ไม่วา่ จะเป็นผ้าไตรอีกกีส่ บิ กีร่ อ้ ยไตร แม้แต่เงิน ไม่วา่ จะ กี่ แ สนกี่ ล ้ า น ก็ มี ฐ านะเป็ น เพี ย งบริ ว ารกฐิ น เท่ า นั้ น การให้ความส�าคัญแก่บริวารกฐินมากกว่าผ้ากฐินถือว่า เป็นการบิดเบือนเบี่ยงเบนพุทธบัญญัติ ๗. การรับกฐิน ก็ท�านองเดียวกับการรับนิมนต์ เมื่ อ บอกรั บ แก่ เ จ้ า ภาพรายใดแล้ ว ก็ ย ่ อ มเป็ น สิ ท ธิ์ แก่เจ้าภาพรายนัน้ และเป็นหน้าทีข่ องสงฆ์จะต้องฉลอง ศรัทธาเจ้าภาพรายนั้น การบอกคืนเจ้าภาพรายเดิม เพื่อไปรับกฐินของเจ้าภาพรายใหม่ที่บอกว่าจะถวาย เงินมากกว่า เป็นการกระท�าที่น่ารังเกียจ อ้างอิง นาวาเอก ทองย้อย แสงสินชัย. ทอดกฐินให้ถูกวิธี. ๒๕๕๕


ข าวทหารอากาศ

91

ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยประชาคมอาเซียน @Zilch

Vietnam Festival Guide Tet Trubng Thu, Mid-Autumn Festival "เต๊ดจุงทู" เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง หรือเทศกาลไหว้พระจันทร์

เทศกาลนี้ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๘ ตามปฏิทินจันทรคติ (อยู่ในช่วงปลายเดือนกันยายน หรือต้นเดือน ตุลาคม) เป็นช่วงเวลาที่สมาชิกในครอบครัวมารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรื่องราวต่าง ๆ ในปีที่ผ่านมาเทศกาลนี้ โคมไฟ รูปดาว รูปดอกไม้ และอื่น ๆ อีกมากมายจะถูกจัดเตรียมไว้ให้เด็ก ๆ สิ่งส�าคัญของเทศกาลนี้คือ ขณะที่ พระจันทร์กา� ลังขึน้ เด็ก ๆ จะถือโคมไฟรูปร่างต่าง ๆ หรือใส่หน้ากากตัวตลก ร่วมขบวนแห่เชิดสิงโตและร้องเพลง พื้นบ้านร่วมกันในบริเวณลานบ้านหรือบนท้องถนน นอกจากนี้ ยังมีการประกวด “ขนมบั๊นจุงทู” (bánh trung thu) หรือขนมเปี๊ยะไหว้พระจันทร์ ซึ่งเป็นขนมรูปร่างกลม ลวดลายสวยงาม ใส่ไส้ถั่ว ผลไม้ และไข่แดงเค็ม อยู่ตรงกลาง อันเป็นสัญลักษณ์ของพระจันทร์เต็มดวง ขนมไหว้พระจันทร์เป็นขนมพิเศษที่ท�าขึ้นส�าหรับเทศกาลนี้ เท่านั้น เป็นสัญลักษณ์ของความโชคดี ความสุข สุขภาพ และความมั่งคั่งในวันกลางฤดูใบไม้ร่วง The festival is held on the 15th day on the 8th lunar month (often in late September or early October). The Mid-Autumn celebration is an opportunity for family members to reunite and share everything together in their year. In this festival, the children are provided with many nice lanterns - star lanterns, flower lanterns. The main point of the Mid-Autumn is that children use the beautiful lanterns, wear funny masks, perform fantastic lion dances, and sing folklore songs in the house grounds or in the streets when the moon is rising. Moreover, people hold the competition showcased moon cakes (known as bánh trung thu). Typical moon cakes are round pastries with a beautiful imprint on top, enveloping sweet, dense fillings such as bean paste and fruits, and may contain one or more whole salted egg yolks in their center as the symbol of the full moon. Moon cakes are the specific cakes and are only on this festival. They symbolize luck, happiness, health and wealth on the Mid-Autumn day. แหล่งข้อมูลและภาพ : http://www.accent.ac.nz/elto/articles/mid-autumn-festival


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ 92

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานในพิธีรับมอบสิ่งของบริจาคช่วยเหลือพี่น้องประชาชนที่ประสบอุทุกภัยจากพายุ “โพดุล” ณ ห้องรับรองกองทัพอากาศ บก.ทอ. เมื่อวันที่ ๒๓ ก.ย.๖๒

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยะศริน ผบ.ทอ.เป็นประธานพิธีประดับเครื่องหมายความสามารถในการบิน ทอ.และมอบประกาศนียบัตรนักบิน ประจ�ากอง แก่ศษิ ย์การบิน น.สัญญาบัตร รุน่ ๑๔๒-๖๑-๑ ทีส่ า� เร็จการฝึกอบรมตามหลักสูตรการฝึกศิษย์การบิน ทอ. ณ ลานจอดอากาศยาน รร.การบิน จว.นครปฐม เมื่อวันที่ ๒๕ ก.ย.๖๒

แพทย์หญิงวิไลภรณ์ วงษ์วาทย์ รับมอบการบังคับบัญชาจาก คุณ พงศ์อุมา ดิษยะศริน ในพิธีรับ - ส่งหน้าที่ นายกสมาคมแม่บ้าน ทอ. โดยมีสมาชิกสมาคมแม่บ้าน ทอ.ร่วมพิธี ณ ห้องประชุมสมาคมแม่บ้าน ทอ. เมื่อวันที่ ๓๐ ก.ย.๖๒


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

93 ขาวทหารอากาศ

พล.อ.อ.ชาญฤทธิ์ พลิกานนท์ รอง ผบ.ทอ.รับมอบเงินบริจาคจาก รศ.ดร.พิชนี โพธารามิก พร้อมคณะเพื่อนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ จํานวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อสมทบทุนให้แก่มูลนิธิ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.และ รพ.ทหารอากาศ (สีกัน) พอ. ณ ห้องรับรองพิเศษ ๑ บก.ทอ. เมื่อวันที่ ๑๘ ก.ย.๖๒

พล.อ.อ.ถาวรวัฒน์ จันทนาคม ผช.ผบ.ทอ./รอง ผบ.ศบภ.ทอ.พร้อมด้วยหน่วยงานภาคเอกชน เดินทางลงพื้นที่เพื่อช่วยเหลือฟื้นฟู และให้กําลังใจพี่น้องประชาชนผู้ประสบอุทกภัย ณ วัดชลธาร ต.ท่าเมือง อ.ดอนมดแดง จว.อุบลราชธานี เมื่อวันที่ ๒๔ ก.ย.๖๒

พล.อ.อ.มานัต วงษ์วาทย์ เสธ.ทอ.พร้อมคณะ ตรวจเยี่ยมโครงการปรับปรุงขีดความสามารถเครื่องบินขับไล่ แบบที่ ๑๘ ข/ค (F-5E/F) โดยมี น.อ.พฐา แก่นทับทิม รอง.ผบ.บน.๒๑ ให้การต้อนรับ ณ บน.๒๑ จว.อุบลราชธานี เมื่อวันที่ ๒๔ ก.ย.๖๒


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ 94

พล.อ.ท.พงษ์ศักดิ์ เสมาชัย จก.กร.ทอ.เป็นประธานในพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และท�าบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา กร.ทอ.ครบ ๑๖ ปี (ก้าวสู่ปีที่ ๑๗) โดยมี พระครูปลัดอิทธิพล ปธานิโก (อาจารย์อ๊อด) เจ้าอาวาสวัดสายไหม เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ณ กร.ทอ. จว.กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๖ ก.ย.๖๒

พล.อ.ท.ภูมใิ จ ชัยพันธุ์ ผบ.อย.เป็นประธานในพิธมี อบเครือ่ งหมายแสดงความสามารถนักเหินเวหาของ ทอ.เป็นกิตติมศักดิ์ ให้แก่คณะบุคคล ผู้ท�าคุณประโยชน์ให้กับ ทอ. ณ ห้องประชุมหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน (๒) เมื่อวันที่ ๒๐ ก.ย.๖๒

พล.อ.ท.ภูมิพิชญ์ชากรณ์ จรรยาวิจักษณ์ จก.พอ.เป็นประธานในพิธีมอบหมวกพยาบาล นพอ.รุ่นที่ ๖๑ ประจ�าปีการศึกษา ๒๕๖๒ ให้แก่ นพอ.ชั้นปีที่ ๒ จ�านวน ๕๖ คน ณ ห้องประชุมชั้น ๔ อาคารส�านักงาน วพอ.พอ. เมื่อวันที่ ๒๔ ก.ย.๖๒


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

95 ขาวทหารอากาศ

พล.อ.ท.น้อย ภาคเพิ่ม จก.ยศ.ทอ.เป็นประธานในพิธีเกษียณอายุราชการและมอบของที่ระลึกให้แก่ผู้เกษียณอายุราชการ ยศ.ทอ.ประจ�าปี ๒๕๖๒ ณ ห้องบรรยาย รร.นม.ยศ.ทอ. เมื่อวันที่ ๒๕ ก.ย.๖๒

พล.อ.ต.ประสิทธิ์ ยิ้มเจริญ จก.สก.ทอ.เป็นประธานในพิธีเกษียณอายุราชการและมอบของที่ระลึกให้แก่ผู้เกษียณอายุราชการ สก.ทอ.ประจ�าปี ๒๕๖๒ ณ อาคารศูนย์กีฬา - สวนเฉลิมพระเกียรติ เมื่อวันที่ ๒๕ ก.ย.๖๒

พล.อ.ต.ศิริพงษ์ ศรีเกิน ผอ.สนภ.ทอ.เป็นประธานในพิธีปิดการศึกษาหลักสูตรนายทหารนิรภัยภาคพื้น รุ่นที่ ๓๘ ณ ห้องประชุมรณนภากาศ สนภ.ทอ. เมื่อวันที่ ๒๔ ก.ย.๖๒


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ 96

พล.อ.ต.สุวรรณ ข�ำทอง ผบ.รร.การบิน เป็นประธานพิธีประดับเครื่องหมายแสดงความสามารถในการบินชั้นมัธยม ของศิษย์การบิน รุ่น น. ๑๔๔ – ๖๒ – ๑ จ�านวน ๒๙ คน ณ ห้องประชุม บก.รร.การบิน จว.นครปฐม เมื่อวันที่ ๑๙ ก.ย.๖๒

น.อ.จักรกฤษณ์ ธรรมวิชัย ผบ.บน.๑ เป็นประธานในพิธีเกษียณอายุราชการและมอบของที่ระลึกให้แก่ผู้เกษียณอายุราชการ บน.๑ ประจ�าปี ๒๕๖๒ ณ ห้อง BLUE SKY อาคารธูปะเตมีย์ บน.๑ จว.นครราชสีมา เมื่อวันที่ ๒๖ ก.ย.๖๒

น.อ.วสันต์ บัณฑิตศักดิ์สกุล ผบ.บน.๒ เป็นประธานในพิธีมอบประกาศนียบัตรและแสดงความยินดีกับนักบินพร้อมรบ ที่ท�าการบินกับ เฮลิคอปเตอร์แบบที่ ๖ แบบที่ ๑๐ แบบที่ ๑๑ ของ ฝูง.๒๐๑ และ ฝูง.๒๐๓ บน.๒ ณ ฝูง.๒๐๑ บน.๒ จว.ลพบุรี เมื่อวันที่ ๒๔ ก.ย.๖๒


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

97 ขาวทหารอากาศ

น.อ.ชนาวีร์ กลิ่นมาลี ผบ.บน.๒๓ เป็นประธานในพิธีผลัดเปลี่ยนก�าลังพลเพื่อปฏิบัติหน้าที่ราชการสนาม ฝูง.๒๓๖ จว.สกลนคร, ฝูง.๒๓๗ น�้าพอง จว.ขอนแก่น, ฝูง.๒๓๘ จว.นครพนม และสถานีรายงานภูเขียว จว.สกลนคร ณ ลานจอดอากาศยาน บก.บน.๒๓ จว.อุดรธานี เมื่อวันที่ ๒๖ ก.ย.๖๒

น.อ.กฤษณ์ เกตุรักษ์ ผบ.บน.๔๖ เป็นประธานพิธีมอบเครื่องหมายความสามารถกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ ทอ.ให้แก่บุคคล ที่ท�าคุณประโยชน์แก่ ทอ.จ�านวน ๕๖ คน ณ ห้องประชุมเฉลิมอากาศ ท่าอากาศยานทหาร บน.๔๖ จว.พิษณุโลก เมื่อวันที่ ๒๔ ก.ย.๖๒

น.อ.อติรวิชช์ ไพจิตร์ ผบ.บน.๕๖ น�าข้าราชการ บน.๕๖ มอบหน้ากากอนามัยให้แก่ครูและนักเรียน รร.หาดใหญ่รฐั ประชาสรรค์ เพือ่ ใส่ปอ้ งกัน จากปัญหาสถานการณ์หมอกควันทีเ่ กิดจากไฟไหม้ปา่ บนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ทีป่ กคลุมพืน้ ทีภ่ าคใต้ ณ รร.หาดใหญ่รฐั ประชาสรรค์ ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ จว.สงขลา เมื่อวันที่ ๒๓ ก.ย.๖๒


98

กองทัพอากาศอาเซียน ๑๐ ชาติ จับมือยกระดับสร้างความเป็นปึกแผ่น ของอาเซียนกับ FTX ในไทยปี ค.ศ.๒๐๒๑ ร.อ.หญิง วิวัสวัน เปล่งวิทยา ในแต่ละปีงานประชุมทีส่ า� คัญเกิดขึน้ มากมาย ในกองทัพอากาศของเรา แต่หากจะพูดถึงการประชุม ระดับกองทัพอากาศทัง้ ๑๐ ประเทศอาเซียนแล้วนั้ น คงจะมีเพียง ๒ การประชุมทีส่ า� คัญ นัน่ ก็คอื การประชุม ผู้บัญชาการทหารอากาศอาเซียน ซึ่งในปีนี้ถือเป็น ครั้งที่ ๑๖ (16th ASEAN Air Chiefs Conference: 16th AACC) จัดขึ้นในระหว่างวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๓ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๒ และการประชุมคณะกรรมการ ด้านการฝึกศึกษาของกองทัพอากาศอาเซียน ครัง้ ที่ ๖ (6th ASEAN Air Force Education and Training Working Group : 6th AAFET-WG) ซึ่งจัดขึ้นเร็วกว่า การประชุมแรกเล็กน้อยคือระหว่างวันที่ ๑๙ - ๒๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ซึ่งทั้ง ๒ งานนี้ได้ถูกจัดขึ้น ณ ประเทศบรูไนดารุสซาลาม ปีนผี้ เู้ ขียนได้มโี อกาสติดตามคณะผูแ้ ทนถาวร จากกองทัพอากาศ เพือ่ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ ด้านการฝึกศึกษาของกองทัพอากาศอาเซียน ครัง้ ที่ ๖ หรือทีเ่ ราจะได้ยนิ เขาเรียกกันอย่างติดปากว่า เอ-เฟท (AAFET) ตามอักษรย่อการประชุม ซึง่ เป็นการประชุม

คณะท�างานก่อนการประชุมผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ ทัง้ ๑๐ ชาติ จากประสบการณ์ตรงทีผ่ เู้ ขียนได้ไปเห็นมา งานนีเ้ ป็นเสมือนการมารวมตัวกันของเพือ่ นในสายอาชีพ เดียวกันเสียมากกว่าการประชุม เพราะทุก ๆ การพัก ระหว่างการประชุมจะถือเป็นช่วงเวลาคุยกันอย่าง ออกรสชาติและถือเป็นทีส่ รุปของเนือ้ หาในห้องประชุม ทัง้ หมด จนได้ยนิ มาว่า การคุยกันระหว่างพักนัน้ ถือเป็น ธรรมเนียมการปฏิบัติของกองทัพอากาศทั้ง ๑๐ ชาติ ไปเสียแล้ว ด้วยบรรยากาศง่าย ๆ ผ่อนคลาย มีความสบาย หลุดออกจากเก้าอีท้ มี่ พี นื้ ทีห่ า่ งระหว่างกัน มายืนจับไหล่ กอดคอกัน แลกเปลี่ยนความคิด ตกลงกันถึงประเด็น ส�าคัญหลาย ๆ อย่าง ซึ่งเป็นภาพที่น่าชื่นชมอย่างยิ่ง ผูแ้ ทนแต่ละประเทศเองก็ให้ความส�าคัญและเปิดกว้างมาก ส�าหรับการมาพบปะกัน ถือเป็นสิ่งที่หาได้ยาก ในบรรยากาศการประชุมทีจ่ ะเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะ และความเป็นกันเองเช่นนี้ ที่มาของการประชุมในครั้งนี้เกิดจากการ เห็นชอบของผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศทัง้ ๑๐ ประเทศ ในการประชุมเมือ่ ครัง้ ที่ ๑๑ ณ กรุงเนปิดอว์ ประเทศเมียนมา


ข าวทหารอากาศ

ปี ค.ศ.๒๐๑๔ ทีอ่ ยากจะให้มกี ารเริม่ ความร่วมมือของ คณะท�างานระดับภูมภิ าคของทหารอากาศ ๑๐ ประเทศ โดยมีมติให้ไปร่วมกันจัดท�า ASEAN Air Forces HADR SOP ขึน้ ซึง่ กองทัพอากาศได้อาสาจัด workshop เพือ่ ร่างเอกสารตัวนีข้ นึ้ เป็นประเทศแรกและหลังจากนัน้ ได้ผ่านการกลั่นกรองจากคณะท�างานจนเป็นรูปเล่ม ในการประชุมทีป่ ระเทศอินโดนีเซีย และได้พฒ ั นาการฝึก Table Top Exercise ที่สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ และ Command Post Exercise ทีป่ ระเทศสิงคโปร์เมือ่ ปี ค.ศ.๒๐๑๘ ที่ผ่านมา ส�าหรับการประชุมในครั้งนี้กองทัพอากาศ บรูไนเป็นเจ้าภาพ ภายใต้หวั ข้อ “การยกระดับความเป็น หนึง่ เดียวกันของอาเซียนผ่านความร่วมมือทีเ่ ป็นรูปธรรม” ( Elevating ASEAN Solidarity through Practical Cooperation) โดยมีการฝึกการแก้ปัญหาบนโต๊ะ Simulation Assisted Table Top Exercise (SATTX) ที่ได้มีจัดสาธิตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ในพื้นที่จ�าลอง ด้วยเฮลิคอปเตอร์จากกองทัพอากาศ บรูไน และอากาศยานจากกองทัพอากาศสิงคโปร์ ร่วมล�าเลียงสิง่ ของบรรเทาทุกข์ดว้ ย รวมถึงมีการปรับแก้ SOP และในครัง้ นีก้ องทัพอากาศได้เสนอ “ก้าวส�าคัญ” ต่อไปคือ การยกระดับการทดสอบ HADR SOP ตัวนี้ ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้นโดยเสนอให้มี “การฝึกผสม ขึน้ ทีป่ ระเทศไทยปี ค.ศ.๒๐๒๑” เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้กับผู้ปฏิบัติ ตลอดจนความมั่นใจของประชาชน ในภูมิภาคและมิตรประเทศเพื่อหาหนทางน�าไปสู่ ความมัน่ คง และความเข้มแข็งในภูมภิ าคอย่างแท้จริง ซึง่ ผลของการประชุม AAFET นีก้ จ็ ะถูกน�าเสนอ ในที่ประชุมของผู้บัญชาการทหารอากาศอาเซียน ทัง้ ๑๐ ชาติในห้วงสัปดาห์ตน้ เดือนกันยายนทีผ่ า่ นมา ส�าหรับฉบับหน้าเรามาติดตามผลการประชุมผูบ้ ญั ชาการ ทหารอากาศอาเซี ย นกั น ดู ว่ า จะมี ม ติ ที่ น ่ า สนใจ ระหว่างกองทัพอากาศทั้ง ๑๐ ชาติกันอย่างไร

99


กองทัพอากาศ เคียงข้างประชาชน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.