หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน มกราคม 2563

Page 1

ขาวทหารอากาศ ISSN 0125 6173 ปที่ ๘๐ ฉบับที่ ๑ เดือนมกราคม ๒๕๖๓

ขาวทหารอากาศ

ปที่ ๘๐ ฉบับที่ ๑ เดือนมกราคม ๒๕๖๓

http://www.airforcemagazine.rtaf.mi.th

ISSN 0125 6173


2


ข าวทหารอากาศ

การเสด็จพระราชดําเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๑๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๒

3


4


ข าวทหารอากาศ

5


6


ข าวทหารอากาศ

7

AIR FORCE สวั ส ดี ป ใ หม ๒๕๖๓ สวัสดีปใหม่ใจสุขศรี คุณธรรมมากมีที่ด�ารง ประสบสุขสดศรีมีพรเลิศ เศรษฐกิจก้าวหน้าอย่างถาวร ให้ยศศักดิ์ต�าแหน่งทุกแห่งหน ขออินทร์พรหมสมประสิทธิ์ฤทธิรงค์ ขออัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั่วทิศา จงรวมกันอ�านวยและอวยชัย ขอบารมีพระปิยมหาราช มหาราชภูมิพลดลนภา ขอบารมีพระทศมินทร์ปินกษัตริย์ อ�านวยสุขพรชัยให้มั่นคง ขึ้นปใหม่หกสามงดงามผล ให้มั่งมีศรีสุขทุกเวลา ขออ�านาจพระไตรรัตน์ชัชวาล ให้พบสุขสดใสไปทั้งเมือง

ให้พบแต่ความดีที่ประสงค์ ให้มั่นคงก้าวหน้าสถาพร ทูนเทิดศีลธรรมค�าพระสอน ดุจรับพรจากสวรรค์อย่างมั่นคง จงช่วยดลบารมีที่ประสงค์ อย่างมั่นคงจงสฤษฎิ์สมจิตใจ ปวงเทวาทั้งหมดสุดสดใส ให้จงได้ความส�าเร็จสมเจตนา และอ�านาจบารมีที่ปรารถนา ให้ก้าวหน้าสดใสไร้กังวล แจ่มจรัสทั่วโลกามหาผล จงด�ารงสุขสวัสดิ์วัฒนา ให้หลั่งล้นกล้าแกร่งแรงวาสนา สมคุณค่าปใหม่ไทยรุ่งเรือง โปรดประทานพรชัยให้ลือเลื่อง ให้ฟูเฟองก้าวหน้าถาวรเทอญ

ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ทหารกองประจ�าการ และครอบครัวกองทัพอากาศ น.อ.เกษม พงษ์พันธ์ ประพันธ์

2020


8

บทบรรณาธิการ สวัสดีครับ ท่ำนผู้อ่ำนที่รักทุกท่ำน ในศุ ภ วำระดิ ถี ขึ้ น ปี ใ หม่ ๒๕๖๓ สมเด็ จ พระสั ง ฆรำชและพระบำทสมเด็ จ พระวชิ ร เกล้ ำ เจ้ำอยูห่ วั ได้พระรำชทำนพรปีใหม่ แด่ปวงชนชำวไทย ดั ง นั้ น พวกเรำชำวกองทั พ อำกำศ ควรน้ อ มน� ำ มำเป็นแนวทำงในกำรด�ำเนินชีวิตต่อไป เนือ่ งในโอกำสวันขึน้ ปีใหม่ ๒๕๖๓ คณะผูจ้ ดั ท�ำ หนังสือข่ำวทหำรอำกำศ ขออำรำธนำคุณพระรัตนตรัย และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลำยในสำกลโลก โปรดประทำนพร ให้ทำ่ นและครอบครัว ประสบแต่ควำมสุข ควำมเจริญ รุ ่ ง เรื อ งด้ ว ยจตุ ร พิ ธ พรชั ย สั ม ฤทธิ์ ผ ลในสิ่ ง อั น พึ ง ปรำรถนำทุกประกำร ในห้วงเดือนธันวำคมที่ผ่ำนมำ มีพระรำชพิธี ที่ ส� ำ คั ญ ยิ่ ง อั น เป็ น พระรำชพิ ธี สื บ เนื่ อ งจำกพิ ธี บรมรำชำภิเษกคือ พระรำชพิธีเสด็จเลียบพระนคร โดยขบวนพยุ ห ยำตรำทำงชลมำรค ซึ่ ง นั บ เป็ น พิ ธี ต ำมโบรำณรำชประเพณี ที่ ง ดงำมตระกำรตำ และแสดงให้ น ำนำชำติ ไ ด้ ต ระหนั ก ถึ ง วั ฒ นธรรม

อันทรงคุณค่ำ สืบทอดมำยำวนำน จึงควรจำรึกไว้ เป็นหน้ำหนึ่งของประวัติศำสตร์ชำติไทย ในปี พ.ศ.๒๕๖๓ เป็นปีทหี่ นังสือข่ำวทหำรอำกำศ ก้ำวเข้ำสูป่ ที ี่ ๘๐ คณะผูจ้ ดั ท�ำหนังสือข่ำวทหำรอำกำศ ขอให้คำ� มัน่ ว่ำจะพัฒนำปรับปรุงหนังสือข่ำวทหำรอำกำศ ให้มคี ณ ุ ภำพ มีควำมทันสมัย ทันต่อสถำนกำรณ์ สือ่ ถึง ควำมเป็นเอกลักษณ์ของสื่อสิ่งพิมพ์กองทัพอำกำศ อย่ำงภำคภูมิใจต่อไป ภำพปก คณะผู้จัดท�ำขอน�ำเสนอ มิติอวกำศ ซึง่ เป็น Domain หลักอีกมิตหิ นึง่ ทีจ่ ะน�ำกองทัพอำกำศ ให้เป็น One of the Best Air Forecs in ASEAN ส� ำ หรั บ เรื่ อ งเด่ น ในฉบั บ ได้ แ ก่ ผลงำน KM Alert Rescue (รร.กำรบิน) แนวโน้มกำรเปลีย่ นแปลง ทำงดิ จิ ทั ล ๒๐๒๐ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ำรทำงอวกำศ กองทั พ อำกำศ และอำกำศยำนโจมตี ไ ร้ ค นขั บ นอกจำกนี ้ ยังมีคอลัมน์ประจ�ำทีน่ ำ่ สนใจอีกหลำยเรือ่ ง เชิญพลิกอ่ำนตำมอัธยำศัยครับ




ข าวทหารอากาศ

สารบัญ

ป ที่ ๘๐ ฉบั บ ที่ ๑ เดื อ นมกราคม ๒๕๖๓

๒ พรป ใหม สมเด็จพระสังฆราช ๓ การเสด็จพระราชดําเนินเลียบพระนคร โดยขบวนพยุหยาตรา ทางชลมารค เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ๖ สาร ผู บัญชาการทหารอากาศ เนื่องในวันป ใหม ๒๕๖๓ ๗ บทกลอนสวัสดีป ใหม ๒๕๖๓ ๑๑ KM : บูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สู แนวปฏิบัติที่ดีในการดับเพลิ​ิง อาคาร : กลุ ม Alert Rescuse Team (รร.การบิน) ๑๗ เป ดปูม ๑๐๐ ป การบินของบุพการี กองทัพอากาศ - พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร ๒๓ ตําราพิชยั สงคราม SUNTZU ๑๓ บทไม ตาย - พล.อ.อ.จอม รุง สว าง ๒๙ มุมกฎหมาย : การรับมรดกทีด่ นิ - ร.อ.ชานุวฒ ั น แสงสุวรรณ ๓๑ 2020 แนวโน มการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล - น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ๓๕ เวลาการ ตูน - มีสกรีน ๓๗ ครูภาษาพาที : คนละเรื่องเดียวกัน - Water Lily ๔๒ ธรรมประทีป : ธรรมะ นําใจ ป ใหม ๒๕๖๓ - กอศ.ยศ.ทอ. ๔๓ ศูนย ปฏิบตั กิ ารทางอวกาศ กองทัพอากาศ - RIDER ๔๘ อากาศยานโจมตี ไร คนขับ - น.อ.หญิง ชมพูนุท พูลสนอง ๕๔ มุมท องเที่ยว : สามร อยรอด - กันตา ๕๙ Red Eagle อินทรีแดงแผลงฤทธิ์ : การป ดล อมตรวจค น ยุทธวิธเี พือ่ ป องกัน และปราบปรามการก อความไม สงบ ในพืน้ ที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต - น.ต.ภฤศพงศ ช อนแก ว ๖๕ จับจิตจับใจ กับ อ.หนู : มนุษยสัมพันธ ว าด วยเรื่อง (คิดว า) รู เขา รู เรา - อ.หนู ๗๐ โรคซึมเศร า และอารมณ เศร า - น.อ.หญิง บุษกร ภมร ๗๕ CROSSWORD - อ.วารุณี ๗๙ เกร็ดเล็กเกร็ดน อย ประชาคมอาเซียน : สัตว ประจําชาติของประเทศไทย - @Zilch ๘๐ Shake for Safe กับรถสาธิตแผ นดินไหว - ร.อ.หญิง วิวสั วัน เปล งวิทยา ๘๓ ภาษาไทย ด วยใจรัก - นวีร ๘๗ ขอบฟ าคุณธรรม : …เป นผูร ว ู า จิตของตนผ องใสได เสมอ… - 1261 ๙๒ ในรัว้ สีเทา ๙๘ กองทัพอากาศจัดสร างพระพุทธรูปแห งพุทธศตวรรษที่ ๒๖

๒๓

๓๑

๔๘

9


ข าวทหารอากาศ

10

คณะผูจ้ ดั ทําหนังสือข่าวทหารอากาศ เจ้าของ กองทัพอากาศ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ พล.อ.อ.ประพันธ ธูปะเตมีย พล.อ.อ.อมร แนวมาลี พล.อ.อ.ปอง มณีศิลป พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง พล.อ.อ.มานัต วงษวาทย

พล.อ.อ.ม.ร.ว.ศิริพงษ ทองใหญ่ พล.อ.อ.ธนนิตย เนียมทันต พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ พล.อ.อ.ตรีทศ สนแจ้ง พล.อ.อ.ชัยพฤกษ ดิษยะศริน

ที่ปรึกษา พล.อ.อ.ธงชัย แฉล้มเขตร พล.อ.อ.ศักดิ์พินิต พร้อมเทพ พล.อ.ต.สหัสชัย มาระเนตร

พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบุตร

ผู้อํานวยการ/บรรณาธิการ

พล.อ.ท.ตรีพล อ่องไพฑูรย เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ

รองผู้อํานวยการ

พล.อ.ต.ฐานัตถ จันทรอําไพ พล.อ.ต.สมพร แต้พานิช

พล.อ.ต.ธรรมรงคเดช เจริญสุข

ผู้ช่วยผู้อํานวยการ

น.อ.นิโรจน จําปาแดง น.อ.ขจรฤทธิ์ แก้วอําไพ ผู้ช่วยบรรณาธิการ ผู้จัดการ

น.อ.นินาท มูลจนะบาตร น.อ.สมพร ร่มพยอม

น.อ.นิโรจน จําปาแดง น.อ.อภิรัตน รังสิมาการ น.อ.ปยะ พลนาวี

ประจําบรรณาธิการ

น.ท.หญิง สุภาวดี โคตรเวียง น.ท.หญิง รัชนก เกิดสุข พ.อ.อ.พันธกานต พูลผล พ.อ.อ.หญิง วาสนา รับสมบัติ น.ส.อุไรวรรณ บุญณรงค น.ส.รสสุคนธ บุญประเทือง

น.ท.หญิง มุตสิตา มาหะศักดิ์ พ.อ.อ.ธรรมวัฒน รัตนวิจารณ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห จ.อ.หญิง ศุภวัลย กระจ่างนฤมลกุล นางจันทรสม คํามา น.ส.ณัฐวดี ธํารงวงศถาวร

กองวารสารและสื่อสิ่งพิมพ (เพื่อพลาง) สํานักกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ กรมกิจการพลเรืิอนทหารอากาศ ถนน พหลโยธิน แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑, ๐ ๒๕๓๔ ๔๒๔๑ โทรสาร ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑ ส่งบทความและภาพกิจกรรมได้ที่ rtafmag@gmail.com

หนังสือข่าวทหารอากาศ ความเปนมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เปนนิตยสารรายเดือนของกองทัพอากาศ เริม่ ดําเนินการเมือ่ ป พ.ศ.๒๔๘๓ ขึน้ กับกรมข่าวทหารอากาศ โดย นาวาอากาศเอก สกล รสานนท เปนบรรณาธิการคนแรก ดําเนินการโดยทุนของข้าราชการทหารอากาศ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยูใ่ นความอํานวยการของกรมยุทธศึกษาทหาร อากาศ ตามคําสั่ง ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ ๑ ม.ค.๒๕๕๓ ได้เข้าอยู่ในกิจการสวัสดิการกองทัพอากาศ กํากับดูแล โดยคณะอนุ ก รรมการบริ ห ารวารสารและสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ก องทั พ อากาศ ตามอนุมัติ ผบ.ทอ./ประธานกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ เมื่อ ๒๘ ธ.ค. ๒๕๕๒ กําหนดให้ใช้ระเบียบคณะกรรมการสวัสดิการกองทัพอากาศ ว่าด้วยการ บริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ ๑ ม.ค.๒๕๖๑ ได้เข้ามาอยู่ในการกํากับดูแลของกรมกิจการพลเรือนทหาร อากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (เฉพาะ) ที่ ๑๓๖/๖๐ ลง ๒๖ ก.ย.๒๕๖๐

ภารกิจ ดําเนินกิจการหนังสือข่าวทหารอากาศ ให้เปนไปตามนโยบายของผูบ้ ญั ชาการ ทหารอากาศ โดยมีผู้อํานวยการหนังสือข่าวทหารอากาศ (จก.กร.ทอ.) เปนผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ

วัตถุประสงค ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในกิจการทั่วไป ๒. เพือ่ แสดงความคิดเห็นด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม อันจะเปนประโยชนตอ่ ส่วนรวม ๓. เพื่อเผยแพร่กิจการของกองทัพอากาศ

การดําเนินงาน ๑. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นที่เปนประโยชนใน การพัฒนากองทัพอากาศและส่วนรวม ๒. เนื้อหาที่นํามาลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ - ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค/นโยบายของผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ - ต้องไม่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ บุคคล หรือ ส่วนรวม - ต้องได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะผู้จัดทําหนังสือข่าว ทหารอากาศ

กําหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

พิมพที่ บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) ๓๐/๘๘ หมู่ ๑ ถ.เจษฎาวิถี ต.โคกขาม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ๗๔๐๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๘๘ โทรสาร ๐ ๒๗๘๔ ๕๘๕๘

อ่านบทความเอกสารอิเล็กทรอนิกสได้ที่ www.airforcemagazine.rtaf.mi.th และ www.rtaf.mi.th บทความและความคิดเห็นของผู้เขียนในหนังสือฉบับนี้ ไม่มีส่วนผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด ภาพบางส่วนในหนังสือ นํามาจาก www.google.com ออกแบบปก : พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห


ผลงานกลุ่มกิจกรรมเสริมสร้างกองทัพอากาศ ข าวทหารอากาศ ให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ประจ�าป ๒๕๖๒ ประเภทเครื่องมือ KM กลุ่ม Alert RescueTeam (รร.การบิน) รางวัล Excellent Award

11

บูรณาการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สู แนวปฏิบัติที่ดีในการดับเพลิงอาคาร เหตุผลและความส�าคัญ จำกปัญหำเจ้ำหน้ำทีด่ บั เพลิง และกูภ้ ยั ไม่มคี วำม ช�ำนำญเกีย่ วกับต�ำแหน่งบ้ำนพักอำศัย และท่อประปำ ดับเพลิงในเขตพื้นที่โรงเรียนกำรบิน อำจส่งผลให้ กำรเดินทำงไปยังจุดเกิดเหตุล่ำช้ำ ส่งผลกระทบ อำจท�ำให้ชวี ติ และทรัพย์สนิ ของทำงรำชกำรเสียหำยได้ และเพือ่ เป็นกำรตอบสนองยุทธศำสตร์กองทัพอำกำศที ่ ๒ หัวข้อเสริมสร้ำงสมรรถนะและควำมพร้อมในกำร ป้องกันประเทศ และยุทธศำสตร์กองทัพอำกำศ ที่ ๔ รักษำผลประโยชน์แห่งชำติ จำกระดับควำมส�ำคัญ ของปัญหำเจ้ำหน้ำที่ดับเพลิงและกู้ภัย ไม่มีควำม ช�ำนำญเกีย่ วกับต�ำแหน่งบ้ำนพักอำศัยและท่อประปำ ดับเพลิงในเขตพืน้ ทีโ่ รงเรียนกำรบิน เพือ่ ให้กำรเข้ำไป ดับเพลิงในเขตพื้นที่โรงเรียนกำรบิน มีควำมรวดเร็ว และปลอดภัย จึงจ�ำเป็นต้องจัดท�ำฐำนข้อมูลเกีย่ วกับ บ้ ำนพั ก อำศัยและท่อประปำดับเพลิงในเขตพื้ นที่ โรงเรียนกำรบิน ฝ่ำยดับเพลิงและกูภ้ ยั แผนกช่ำงโยธำ กองบริกำร โรงเรียนกำรบิน ซึ่งมีหน้ำที่ดับเพลิงอำคำรสถำนที่ ในเขตพื้ น ที่ โ รงเรี ย นกำรบิ น เพื่ อ พิ ทั ก ษ์ ชี วิ ต และ ทรัพย์สินของทำงรำชกำร จึงจ�ำเป็นต้องให้ควำมรู้ เรื่องต�ำแหน่งบ้ำนพักอำศัยและท่อประปำดับเพลิง ในเขตพื้นที่โรงเรียนกำรบิน ให้กับเจ้ำหน้ำที่ดับเพลิง และกู้ภัยทุกคน เพื่อให้สำมำรถเข้ำไปดับเพลิงได้ อย่ำงรวดเร็ว ถูกต้อง และปลอดภัย ตำมระเบียบ/ค�ำสัง่ ที่เกี่ยวข้องกับกำรดับเพลิงและกู้ภัย เพื่อใช้เวลำเกิด เพลิงไหม้ในเขตพื้นที่โรงเรียนกำรบิน

อีกทั้ง กลุ่มได้น�ำปัจจัยเสี่ยงที่ได้จำกกำรด�ำเนิน กิจกรรมกำรพัฒนำคุณภำพกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ แนวใหม่ (PMQA) ชื่อ กำรปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย ในเขตพืน้ ทีโ่ รงเรียนกำรบิน โดยน�ำปัจจัยเสีย่ งทีเ่ กิดจำก เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำนขำดควำมรู้และควำมเข้ำใจ ในขั้นตอนและกระบวนกำรในกำรปฏิบัติงำนในกำร เข้ำไปดับเพลิงในเขตพื้นที่โรงเรียนกำรบิน โดยใช้ กระบวนกำรจัดกำรควำมรู้ (KM) เพื่อสร้ำงเครื่องมือ และกำรเข้ำถึงองค์ควำมรูต้ ำ่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ขจัด ปัจจัยเสี่ยงในกำรปฏิบัติงำนด้ำนกำรดับเพลิงในเขต พื้นที่โรงเรียนกำรบินให้หมดไป แนวคิดในการจัดการความรู้ ดังนี้ ๑. กำรจั ด ท� ำ Application Fire Braker ของฝ่ำยดับเพลิงและกูภ้ ยั แผนกช่ำงโยธำกองบริกำร โรงเรียนกำรบิน ๒. จัดท�ำระบบฐำนข้อมูลบ้ำนพักอำศัยและ ท่อประปำดับเพลิงในเขตพืน้ ทีโ่ รงเรียนกำรบิน โดยใช้ Web Application เพื่อกำรเข้ำไปดับเพลิงในเขต พื้นที่โรงเรียนกำรบิน


12

กำรจัดกิจกรรมจัดกำรควำมรู ้ จะส่งผลให้กำ� ลังพล กองทั พ อำกำศ มี ค วำมรู ้ ควำมเข้ ำ ใจ ขั้ น ตอน กำรปฏิบัติงำนในกำรดับเพลิงบ้ำนพักอำศัย ในเขต พื้นที่โรงเรียนกำรบินได้อย่ำงถูกต้อง และสำมำรถ ทบทวนควำมรู้ได้ตลอดเวลำ เกิดองค์กำรแห่งกำร เรียนรูข้ นึ้ ภำยในหน่วยงำน และก�ำลังพลกองทัพอำกำศ สำมำรถท�ำงำนในกำรดับเพลิงบ้ำนพักอำศัย ในเขตพืน้ ที่ โรงเรียนกำรบินได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ส่งผลให้ภำรกิจ ฝ่ำยดับเพลิงและกู้ภัย แผนกช่ำงโยธำ กองบริกำร โรงเรียนกำรบิน เป็นไปตำมแผนทีย่ ทุ ธกำรก�ำหนดได้ ด้วยควำมเรียบร้อย เป็นกำรน�ำเทคโนโลยีเข้ำมำช่วย สนับสนุนในกำรปฏิบัติภำรกิจของกองทัพอำกำศ ให้มีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น ตำมนโยบำยผู้บัญชำกำร ทหำรอำกำศและยุทธศำสตร์กองทัพอำกำศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ยุทธศำสตร์ที่ ๒ เสริมสร้ำง สมรรถนะและควำมพร้อมในกำรป้องกันประเทศ และยุทธศำสตร์ที่ ๔ รักษำผลประโยชน์แห่งชำติ และตำมนโยบำยกำรปฏิบัติรำชกำรข้อ ๑๑ พัฒนำ กำรปฏิบตั งิ ำนอย่ำงเป็นระบบและต่อเนือ่ งตำมแนวทำง ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำระบบรำชกำรโดยใช้เครื่องมือ

กำรบริหำรจัดกำรภำครัฐแนวใหม่ (PMQA 4.0) รวมทัง้ นโยบำยทัว่ ไป ข้อ ๕ ด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ และกำรสือ่ สำร ข้อ ๕.๑ พัฒนำก�ำลังพลกองทัพอำกำศ ให้มที กั ษะด้ำนดิจทิ ลั และเสริมสร้ำงคุณธรรม จริยธรรม ในกำรใช้งำนระบบสำรสนเทศ และเครือข่ำยสังคม ออนไลน์ ข้อ ๕.๒ ส่งเสริมกำรเรียนรูเ้ ทคโนโลยีสมัยใหม่ ได้แก่ ระบบกำรจัดกำรข้อมูลขนำดใหญ่​่ (Big Data) อินเทอร์เน็ตเพื่อสรรพสิ่ง (The Internet of Things) ระบบประมวลผลแบบกลุม่ เมฆ (Cloud Computing) ตลอดจน เทคโนโลยีปัญญำประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และเทคโนโลยี ส ำรสนเทศอื่ น ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ส�ำหรับกำรปฏิบัติภำรกิจของกองทัพ อำกำศ ๑. วิธีด�าเนินการ ๑.๑ กำรคัดเลือกกิจกรรมในปี ๖๐ และ ๖๑ กลุม่ ได้จดั ท�ำ กำรจัดกำรควำมรู ้ ด้ำนอำกำศยำนปี ๖๒ กลุม่ จึงท�ำเรือ่ ง กำรดับเพลิงอำคำรซึง่ เป็นภำรกิจหลัก ของหน่วย สถิตกิ ำรแจ้งเหตุเพลิงไหม้ในโรงเรียนกำรบิน ปี ๕๙ ถึงปี ๖๒ ค่อนข้ำงสูง ถือเป็นภำรกิจส�ำคัญ ที่ต้องด�ำเนินกำร มีขั้นตอนกำรปฏิบัติ ๗ ขั้นตอน คือ


ข าวทหารอากาศ

รับแจ้งและกระจำยข่ำวเหตุเพลิงไหม้ กำรเข้ำถึง พื้ น ที่ เ กิ ด เหตุ ท� ำ กำรควบคุ ม เพลิ ง และดั บ เพลิ ง ช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย น� ำ ส่ ง เจ้ ำ หน้ ำ ที่ แ พทย์ ตรวจสอบอุปกรณ์หลังกำรใช้งำน รำยงำนผลกำร ปฏิบัติ ๑.๒ ก�ำหนดวัตถุประสงค์ในกำรท�ำกิจกรรม “เพื่อบูรณาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุน การดั บ เพลิ ง อาคารของโรงเรี ย นการบิ น และ กองทัพอากาศ” ๑.๓ ตัวชี้วัด เพื่อประเมินควำมส�ำเร็จ ตัวชี้วัดที่ ๑ ร้อยละของควำมถูกต้อง ครบถ้ ว นของข้ อ มู ล กำรแจ้ ง ข่ ำ วเหตุ เ พลิ ง ไหม้ ในโรงเรียนกำรบินเป้ำหมำย ร้อยละ ๙๐ ตัวชี้วัดที่ ๒ ระยะเวลำเฉลี่ยในกำร เดินทำงไปยังจุดเกิดเหตุเป้ำหมำย ไม่เกิน ๑๐ นำที ตัวชี้วัดที่ ๓ ร้อยละของผู้ประสบภัย ที่ ไ ด้ รั บ กำรช่ ว ยเหลื อ อย่ ำ งปลอดภั ย ขณะท� ำ กำร ดับเพลิงอำคำรเป้ำหมำย ร้อยละ ๑๐๐ ๒. การด�าเนินการจัดการความรู้ ๗ ขั้นตอน เริ่มตั้งแต่ ๑ ต.ค.๖๑ ถึง ๓๑ มี.ค.๖๒

13

๒.๑ การบ่งชี้ความรู้สรุปประเด็นควำมรู้ ที่ต้องกำร คือ ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องควำมรู้ เกี่ยวกับอำคำรบ้ำนพักอำศัย และส�ำนักงำนในเขต พืน้ ทีโ่ รงเรียนกำรบิน ควำมรูเ้ กีย่ วกับท่อประปำดับเพลิง (Fire Hydrant) ในเขตพื้นที่โรงเรียนกำรบิน แผนผัง กำรดับเพลิงในเขตพื้นที่โรงเรียนกำรบิน กำรเขียน โปรแกรมประยุกต์ ๒.๒ การสร้างและแสวงหาความรู้ • ศึกษำระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องท�ำให้ สำมำรถน�ำไปเป็นแนวทำงกำรปฏิบัติได้อย่ำงถูกต้อง ขั้ น ตอนกำรปฏิ บั ติ มี ด ้ ว ยกั น ๗ ขั้ น ตอน และขอ ค�ำแนะน�ำของผู้เชี่ยวชำญใช้ในกำรก�ำหนดแนวทำง ปฏิบัติให้ถูกต้องตำมขั้นตอนของระเบียบฯ • ควำมรู ้ เ กี่ ย วกั บ อำคำรบ้ ำ นพั ก อำศั ย และส�ำนักงำนในเขตพื้นที่โรงเรียนกำรบิน ท�ำให้รู้ โครงสร้ ำ งบ้ ำ นพั ก อำศั ย และอำคำรส� ำ นั ก งำน สำมำรถน�ำไปเขียนแผนผังกำรดับเพลิง ทิศทำงกำร จอดรถได้อย่ำงถูกต้อง ตำมค�ำแนะน�ำของผูเ้ ชีย่ วชำญ แบ่งพื้นที่โรงเรียนกำรบิน ออกเป็น ๓ เขต คือ - เขตที่ ๑ เขตแนวบิน - เขตที่ ๒ เขตส�ำนักงำน - เขตที่ ๓ เขตบ้ำนพักอำศัย • ควำมรู้เกี่ยวกับท่อประปำดับเพลิง (Fire Hydrant) ในเขตพื้ น ที่ โ รงเรี ย นกำรบิ น กำรวำง ท่อประปำดับเพลิง และต�ำแหน่งทีต่ งั้ ท่อประปำดับเพลิง โรงเรียนกำรบิน ท�ำให้สำมำรถก�ำหนดจุดจอดรถ ระหว่ำงอำคำรเกิดเพลิงไหม้ และท่อประปำดับเพลิง ได้อย่ำงถูกต้องควำมเห็นของผู้เชี่ยวชำญ ควรจัดเก็บ ข้อมูลท่อประปำดับเพลิงเป็น ๓ เขต คือ - เขตที่ ๑ เขตแนวบิน - เขตที่ ๒ เขตส�ำนักงำน - เขตที่ ๓ เขตบ้ำนพักอำศัย • ด้ำนแผนผังกำรดับเพลิง เดิมแผนกำร ดับเพลิงในโรงเรียนกำรบินทั้งหมดเป็นแบบกระดำษ จึงได้ทำ� แผนกำรดับเพลิงขึน้ มำใหม่ โดยใช้ Google Map


14

เข้ำมำช่วยจัดกำรจัดท�ำให้อยู่ในรูปแบบไฟล์ดิจิทัล ควำมเห็นของผู้เชี่ยวชำญ ท�ำแผนผังกำรดับเพลิง โดยใช้ Google Map ใส่รำยละเอียดรูปภำพกำร จอดรถดั บ เพลิ ง และท่ อ ประปำดั บ เพลิ ง รวมทั้ ง รำยละเอียดที่ส�ำคัญของตัวอำคำร • ด้ำนกำรเขียนโปรแกรมประยุกต์ กำรเขียน โปรแกรมประยุ ก ต์ เ กี่ ย วกั บ รั บ แจ้ ง เหตุ เ พลิ ง ไหม้ ให้ เ หมำะสมกั บ กำรใช้ ง ำนในโรงเรี ย นกำรบิ น ผู ้ เ ชี่ ย วชำญแนะน� ำ กำรเขี ย นโปรแกรมประยุ ก ต์ บนเว็บไซต์ หรือ Web Application ๒.๓ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ ๒.๓.๑ กลุม่ ได้นำ� ข้อมูลทีไ่ ด้มำจัดท�ำเป็นคูม่ อื กำรใช้งำน Application Fire Braker ขั้นตอนกำร ด�ำเนินกำร ท�ำกำรก�ำหนดพิกัดอำคำรส�ำนักงำนบ้ำน พักอำศัย และจุดท่อประปำดับเพลิง โดยใช้ Application แปลงพิกัด GPS Co-ordinates รำยละเอียดข้อมูล อำคำร สถำนที ่ ประกอบด้วย ชือ่ อำคำร ประเภทอำคำร ละติจูด ลองติจูด รถที่ออกปฏิบัติงำน รำยละเอียด ข้อมูล Fire Hydrant ประกอบด้วย หมำยเลขอุปกรณ์ ถนน ชือ่ หน่วยงำนละติจดู ลองติจดู สถำนะภำพก�ำหนด รำยละเอียดแผนผังกำรดับเพลิง ทิศทำงกำรจอดรถ ดับเพลิง รถกู้ภัย และรถล�ำเลียงน�้ำ จัดเก็บข้อมูล ไว้ใน Server กรมสือ่ สำรอิเล็กทรอนิกส์ทหำรอำกำศ และจ�ำกัดกำรเข้ำถึงโดยผู้ดูแลระบบ ๒.๓.๒ กำรใช้งำน Wep Application เข้ำใช้ งำนผ่ำน firebraker.rtaf.mi.th และก�ำหนดสิทธิ์ ผู้ใช้งำน บันทึกข้อมูลลงใน DATA BASE ข้อมูล แสดงผล และแสดงผลข้ อ มู ล ผ่ ำ นคอมพิ ว เตอร์ และระบบโทรศัพท์มือถือ ๒.๓.๓ กำรแจ้ง - รับแจ้งเหตุ ผ่ำน Web Application Fire Braker • กำรแจ้งเหตุ กดที่ Icon Fire Braker เพื่อเปิด Application เมื่อพบเห็นเหตุกำรณ์ ให้กด แจ้ ง เตื อ นที่ ปุ ่ ม กระดิ่ ง ขวำบนหน้ ำ จอ หรื อ กด ที่ไอคอน แจ้งเหตุถ่ำยรูปเหตุกำรณ์ใส่รำยละเอียด

เหตุกำรณ์ ชื่อ - สกุล เบอร์โทรศัพท์ผู้แจ้ง เสร็จแล้ว กดปุ่ม Request • กำรรับแจ้งเหตุ Application Fire Braker มี ๒ ระบบ คือ ๑. แจ้งผ่ำนระบบ SMS และ ๒. แจ้งผ่ำน ระบบ Wep Application แจ้งผ่ำน SMS เจ้ำหน้ำที่ ดับเพลิงจะได้รับ SMS แจ้งข่ำว มีข้อมูลรำยละเอียด เหตุกำรณ์ ชื่อผู้แจ้ง เบอร์โทรศัพท์ผู้แจ้ง พิกัดอำคำร สถำนที ่ ข้อมูลอำคำรทีเ่ กิดเหตุ เครือ่ งดับเพลิงประจ�ำ อำคำร สำรไวไฟในอำคำร สำรเคมีในอำคำร และชุด ทีใ่ ช้ปฏิบตั งิ ำน แจ้งผ่ำน Wep Application เจ้ำหน้ำที่ ศูนย์รวมข่ำวกดยืนยันเหตุกำรณ์ • เจ้ำหน้ำที่ดับเพลิงและกู้ภัยเดินทำงไป ยังพื้นที่เกิดเหตุโดยพิกัด GPS จำกลิ้งค์ใน SMS • เจ้ำหน้ำที่ศูนย์รวมข่ำวท�ำกำรบันทึก ข้อมูลเมื่อเสร็จสิ้นภำรกิจ ๒.๔ กำรประมวลและกลั่นกรองควำมรู้ ๒.๔.๑ น�ำเอกสำรคูม่ อื ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ ให้ผเู้ ชีย่ วชำญ พิจำรณำกลั่นกรอง มีข้อเสนอแนะให้ปรับตัวอักษร ให้ชดั เจน มีภำพประกอบควรบันทึกภำพเพือ่ ใช้ในกำร ทบทวนบทเรียนย้อนหลัง ระบบกำรยืนยันเหตุกำรณ์ ควรจะยื น ยั น ครั้ ง เดี ย ว เพื่ อ ควำมรวดเร็ ว ในกำร


ข าวทหารอากาศ

รั บ แจ้ ง เหตุ ห ลั ง จำกผู ้ เ ชี่ ย วชำญตรวจสอบแล้ ว กลุ่มได้น�ำเรียนผู้บัญชำกำรโรงเรียนกำรบิน ลงนำม ก่อนใช้งำน รวมทัง้ กำรจัดท�ำเป็นเอกสำรอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เข้ำถึงได้ง่ำยท�ำกำรซ้อมแผนกำรปฏิบัติงำน โดยใช้ Application FireBraker ๒.๔.๒ กำรรับรองผลงำนในกองทัพอำกำศ รับรองกำรใช้ Application ทีจ่ ดั ท�ำขึน้ โดยกองดับเพลิง และกูภ้ ยั กรมช่ำงโยธำทหำรอำกำศ และกรมเทคโนโลยี สำรสนเทศเพื่อกำรสื่อสำรทหำรอำกำศ ๒.๕ การเข้าถึงความรู้ น�ำสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ลงในเว็บไซต์ KM ของโรงเรียนกำรบิน เข้ำใช้งำน Application ผ่ำนหน้ำจอคอมพิวเตอร์ เข้ำใช้งำน ได้ทันทีผ่ำนเว็บแอปพลิเคชั่น ติดตั้งบนหน้ำจอหลัก โทรศัพท์มือถือ ๒.๖ การแบ่งปนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กำรใช้ IT ช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำรสื่อสำร กำรฝึกอบรม Morning Brief ชุมชนนักปฏิบัติ ปรึกษำผู้เชี่ยวชำญ เพือ่ หำโอกำสพัฒนำ แนะน�ำกำรใช้งำน Application Fire Braker ให้กบั หมวดดับเพลิงและกูภ้ ยั กองบิน ๑ ศูนย์บรรเทำสำธำรณภัย จังหวัดกำญจนบุร ี ประชำสัมพันธ์ กำรใช้ Application Fire Braker ให้กับองค์กำร บริหำรส่วนต�ำบลกระตีบ ข้ำรำชกำรและผู้พักอำศัย

15

ในโรงเรียนกำรบิน บุคลำกรในโรงพยำบำลจันทรุเบกษำ กรมแพทย์ทหำรอำกำศ และประชำชนที่พักอำศัย ในพื้นที่รอบโรงเรียนกำรบิน ๒.๗ การเรียนรู้ กำรน�ำควำมรู้ไปใช้บูรณำกำร ให้เป็นส่วนหนึ่งของงำน เพื่อน�ำปัญหำข้อขัดข้อง มำปรับปรุงเกิดกำรเรียนรู้ และประสบกำรณ์ใหม่ หมุนเวียนต่อไปอย่ำงต่อเนือ่ ง เรียนรูก้ ำรส�ำรวจอำคำร ส�ำนักงำน บ้ำนพักอำศัย และท่อประปำดับเพลิง ทุก ๖ เดือน เรียนรู้ในฐำนะผู้ดูแลระบบ ขำดข้อมูล สำรไวไฟ วัตถุอนั ตรำยในทีเ่ กิดเหตุ จึงพัฒนำเพิม่ เติม เรียนรูผ้ ำ่ นระบบโทรศัพท์มอื ถือ ต้องสำธิตกำรใช้งำน ให้กับผู้พักอำศัยในโรงเรียนกำรบิน ในกำรใช้งำน Application FireBraker ส่วนสรุป ๑. คุณภาพของงาน ๑.๑ ร้อยละของควำมถูกต้องครบถ้วนของ ข้อมูลกำรแจ้งข่ำวเหตุเพลิงไหม้ในโรงเรียนกำรบิน สำมำรถปฏิบตั กิ ำรรับแจ้งข่ำวเหตุเพลิงไหม้ได้รอ้ ยละ ๑๐๐ จำกเป้ำหมำย ร้อยละ ๙๐ ๑.๒ ระยะเวลำเฉลี่ยในกำรเดินทำงไปยัง จุดเกิดเหตุ หลังท�ำกิจกรรมสำมำรถลดเวลำ เดินทำง เฉลี่ย ๗.๗๕ นำที


16

๑.๓ กำรช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยในกำรดับเพลิง อำคำรในช่วงปี ๖๑ และปี ๖๒ รวม ๒๘ ครั้ง ไม่มี ผู้ประสบภัยที่ได้รับอันตรำย ๒. ด้านคุณค่าของผลงาน สำมำรถเข้ ำ ถึ ง ที่ เ กิ ด เหตุ ไ ด้ อ ย่ ำ งรวดเร็ ว เป็นกำรพิทักษ์ชีวิตและทรัพย์สินของทำงรำชกำร ลดโอกำสกำรสูญเสียหรือกำรบำดเจ็บทีอ่ ำจรุนแรงขึน้ ในผู้ประสบภัยจำกเพลิงไหม้ มีข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับกำรดับเพลิงในพื้นที่ครบถ้วน ช่วยให้ประเมิน สถำนกำรณ์ให้มีควำมปลอดภัยทั้งเจ้ำหน้ำที่ดับเพลิง และผู ้ ป ระสบภั ย กำรใช้ เ ทคโนโลยี ก ำรสื่ อ สำร ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชำสำมำรถทรำบสถำนะเหตุ ก ำรณ์ เกิดเพลิงได้แบบ Real time แก้ปญ ั หำกำรขำดแคลน จ�ำนวนบุคลำกรทีม่ คี วำมช�ำนำญ ด้วยกำรใช้เทคโนโลยี กำรสื่อสำรที่สำมำรถให้ค�ำแนะน�ำกำรปฏิบัติให้มี ควำมปลอดภัยสนับสนุนภำรกิจฝึกบินกรณีอำกำศยำน ประสบอุบัติเหตุใช้เครื่องมือ PMQA ๔.๐ และ KM ในกำรแก้ ป ั ญ หำและพั ฒ นำงำนได้ อ ย่ ำ งแท้ จ ริ ง ตำมนโยบำยผู้บัญชำกำรทหำรอำกำศ ๓. ผลกระทบที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง หลั ง ท� ำ กิ จ กรรม โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ PMQA ส่งผลให้สำมำรถลดระดับควำมรุนแรงของควำมเสีย่ ง ลงได้ มีช่องทำงกำรส่งข่ำวสำรของผู้ประสบเหตุ

ในโรงเรี ย นกำรบิ น ได้ อ ย่ ำ งรวดเร็ ว และยั่ ง ยื น คู ่ ข นำนกั บ ระบบแจ้ ง ข่ ำ วระบบเดิ ม ที่ ใ ช้ อ ยู ่ แ ล้ ว ข้ำรำชกำร และครอบครัวในโรงเรียนกำรบิน มีควำม ตระหนั ก รู ้ พ บเห็ น สิ่ ง ปกติ สำมำรถส่ ง ข้ อ มู ล ผ่ ำ น Application Fire Braker ทั้งกรณีเหตุเพลิงไหม้ หรือเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ บูรณำกำรร่วมกับโรงพยำบำล จันทรุเบกษำ กรมแพทย์ทหำรอำกำศ กับฝ่ำยดับเพลิง และกู้ภัย ของโรงเรียนกำรบิน เมื่อมีเหตุเพลิงไหม้ และมีผู้ได้รับบำดเจ็บ สำมำรถส่งรถพยำบำลไปยัง ที่เกิดเหตุได้อย่ำงถูกต้องและรวดเร็ว ข้ำรำชกำร ผูพ้ กั อำศัยในโรงเรียนกำรบิน หน่วยรำชกำรใกล้เคียง และประชำชนที่ พั ก อำศั ย รอบโรงเรี ย นกำรบิ น ใช้ Application Fire Braker ในกำรแจ้ ง เหตุ เพลิงไหม้ ท�ำให้เจ้ำหน้ำที่ดับเพลิงและกู้ภัย เข้ำถึง ที่ เ กิ ด เหตุ ไ ด้ อ ย่ ำ งรวดเร็ ว เป็ น กำรพิ ทั ก ษ์ ชี วิ ต และทรัพย์สินของทำงรำชกำร และประชำชนที่อยู่ ในพื้นที่ใกล้เคียงและมีนวัตกรรมในกำรปฏิบัติงำน ของเจ้ำหน้ำทีด่ บั เพลิงและกูภ้ ยั ทีส่ ำมำรถเป็นแบบอย่ำง ของหน่วยงำนอื่นได้ ๔. การพัฒนาในระยะยาว เชื่อมต่อ CCTV Online ใช้ในกำรสังเกตกำรณ์ ควำมเสี่ยงต่อกำรเกิดเหตุเพลิงไหม้


ข าวทหารอากาศ

17

เปดปูม ๑๐๐ ป การบิน ของบุพการี กองทัพอากาศ พล.อ.อ.มณฑล สัชฌุกร

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนำยน พ.ศ.๒๔๗๒ กองโรงงำน กรมอำกำศยำน ได้ ส ร้ ำ งเครื่ อ งบิ น นิ เ ออปอรต์ แบบใหม่ โดยเป็นเครื่องเปลี่ยนแปลงทดลองพิเศษ ขนำด ๒๐ ตำรำงเมตร ซึ่งดัดแปลงมำจำกขนำด ๑๘ ตำรำงเมตร ขณะเดียวกันในปี พ.ศ.๒๔๗๒ ได้มีกำรจัดซื้อ เครื่องบินพร้อมซื้อสิทธิบัตรในกำรสร้ำง เข้ำมำไว้ ใช้ในรำชกำร ได้แก่ วันที่ ๑ กรกฎำคม พ.ศ.๒๔๗๒ จัดซื้อเครื่องบิน ขับไล่แบบที่ ๖ (บ.ข.๖) จำกประเทศอังกฤษ วันที่ ๓ ตุลำคม พ.ศ.๒๔๗๒ จัดซื้อเครื่องบินฝึก แบบที่ ๔ (บ.ฝ.๔) จำกประเทศอังกฤษ วันที่ ๑๖ ตุลำคม พ.ศ.๒๔๗๒ จัดซื้อเครื่องบิน ขั บ ไล่ แ บบที่ ๘ (บ.ข.๘) จำกประเทศเยอรมนี และเครื่ อ งยนต์ บ ริ ส ตอลจู ป ิ เ ตอร์ จำกประเทศ อังกฤษ

เครื่องบินขับไล่แบบที่ ๖ (Bristol Bulldog)

วันที ่ ๑๒ กุมภำพันธ์ พ.ศ.๒๔๗๒ กรมอำกำศยำน ออกค�ำสัง่ ให้กองบินต่ำง ๆ จัดกำรแก้ไขทีน่ งั่ เครือ่ งบิน ทุกแบบทุกชนิด ให้ใช้ร่มชูชีพได้ทุกเครื่อง เว้นไว้แต่ เครื่องบินนิเออปอรต์ ๒๓ ตำรำงเมตร

เครื่องบินฝึกแบบที่ ๔ (Avro 504N)

เครื่องบินขับไล่แบบที่ ๘ (HeinkelHD43)


18

ในปี พ.ศ.๒๔๗๒ กรมอำกำศยำน มีควำมต้องกำร คั ด เลื อ กนั ก เรี ย นที่ ส อบไล่ ไ ด้ ค ะแนนดี ในหมู ่ ผู ้ ที่ สอบไล่ได้ชั้นมัธยมปีที่ ๘ บริบูรณ์ เพื่อส่งไปเรียนเป็น นำยทหำรนักบินในต่ำงประเทศ จ�ำนวน ๒ นำย แต่ต้องมีอำยุไม่เกิน ๑๘ ปีบริบูรณ์ ในขณะเดียวกัน ก็ได้ออกหลักเกณฑ์กำรคัดเลือกนักเรียนทีก่ ำ� ลังศึกษำ ในชัน้ มัธยมปีท ี่ ๖ ทีป่ ระสงค์จะสมัครเข้ำมำเป็นนักบิน ให้ได้ทรำบถึงหลักเกณฑ์กำรสมัครเข้ำเป็นนักบิน ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นที่ ส อบไล่ ชั้ น มั ธ ยมปี ที่ ๘ ที่กรมอำกำศยำนคัดเลือกได้ ๒ คน คือ นำยสกล รสำนนท์ (ต่อมำคือ นำวำอำกำศเอก สกล รสำนนท์) และนำยแอ๊ด สุจริตกุล (ต่อมำได้รับพระรำชทำนยศ นำยร้อยตรีและถึงแก่กรรมด้วยอุบตั เิ หตุเครือ่ งบินตก ขณะศึกษำวิชำกำรบินทีป่ ระเทศอังกฤษ) โดยได้ศกึ ษำ วิชำทหำรและกำรบินที่ประเทศอังกฤษ นอกจำกนั้น ยังส่งนักเรียนนำยร้อยไปศึกษำวิชำทหำรและกำรบิน อีก ๒ คน คือ นักเรียนนำยร้อย จี๊ด เฮงกุล ไปศึกษำ ที่ประเทศฝรั่งเศส และนักเรียนนำยร้อย ประสิทธิ์ ไชยโย ไปศึกษำที่ประเทศเยอรมนี ในเดือน พฤศจิกำยน พ.ศ.๒๔๗๒ กระทรวง กลำโหม ได้ส่ง นำยพันโท พระเวชยันตรังสฤษฏ์ หัวหน้ำกองเทคนิค กรมอำกำศยำน ไปศึกษำวิธีกำร จัดกำรบินพำณิชย์ที่ประเทศสหรัฐอเมริกำ อังกฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ สวีเดน และเดนมำร์ก รวม ๗ ประเทศ

นาวาอากาศเอก สกล รสานนท

นายพันโท พระเวชยันตรังสฤษฏ ที่โรงงาน Pratt & Whitney เมือง Hartford มลรัฐ Connecticut ระหว่างดูงานในสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๒ และประเทศอื่นๆ


ข าวทหารอากาศ

นายพันโท หลวงเนรมิตไพชยนต

เครื่องบินประชาธิปก (Prajadhipok)

19

ในปี พ.ศ.๒๔๗๒ นำยพั น โท หลวงเนรมิ ต ไพชยนต์ (เซี้ยง ศุษิลวรณ์) ออกแบบเครื่องบินขับไล่ ให้กองโรงงำนจัดสร้ำงขึ้น ได้รับพระรำชทำนชื่อว่ำ “ประชำธิปก” นับเป็นเครื่องบินแบบที่สอง และเป็น เครื่องบินขับไล่แบบแรกที่ออกแบบและสร้ำงโดย คนไทย มีชื่อเรียกตำมระบบปัจจุบนั ว่ำ เครือ่ งบินขับ ไล่แบบที ่ ๕ (บ.ข.๕) วั น ที่ ๒๒ ธั น วำคม พ.ศ.๒๔๗๒ กระทรวง กลำโหม มอบหมำยให้กรมอำกำศยำน ส่งเครื่องบิน บริพัตร ๓ เครื่อง เดินทำงไปเยือนประเทศอินเดีย ตำมค�ำเชิญของรัฐบำลอินเดีย แต่เครื่องบิน ๑ เครื่อง ประสบอุบตั เิ หตุระหว่ำงทำงในประเทศไทย เป็นเหตุให้ นำยพั น โท หลวงเนรมิ ต ไพชยนต์ ผู ้ อ� ำ นวยกำร เดินทำงถึงแก่กรรม เครื่องบินที่เหลือจึงต้องบินกลับ เพื่อมำส่งข่ำว จำกนั้ น ในวั น ที่ ๒๔ ธั น วำคม พ.ศ.๒๔๗๒ จึงได้สง่ เครือ่ งบินบริพตั ร ๒ เครือ่ ง น�ำโดย นำยพันเอก พระยำเวหำสยำนศิลปสิทธิ ์ เป็นผูอ้ ำ� นวยกำรเดินทำง แต่ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ร ะหว่ ำ งทำงขณะอยู ่ ใ นเส้ น ทำง อัลลำฮำบัด - นิวเดลลี จึงเหลือเพียงเครื่องเดียว ที่มี นำยร้อยเอก กฤษณ์ บูรณสัมฤทธิ (หลวงอัมพร ไพศำล) เป็นนักบินเดินทำงถึงกรุงนิวเดลี และอยู่ ปฏิ บั ติ ภ ำรกิ จ จนเสร็ จ สิ้ น จึ ง เดิ น ทำงกลั บ ถึ ง ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๓ มกรำคม พ.ศ.๒๔๗๒ (ขณะนั้นกำรนับวันขึ้นปีใหม่คือวันที่ ๑ เมษำยน)


20

การบินเดินทางไปเยือนประเทศอินเดีย เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๒

เครื่องบินบริพัตรกลับถึงประเทศไทยหลังจากเสร็จภารกิจการเยือนประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๔๗๒


ข าวทหารอากาศ

นายร้อยโท นาม พันธุนักรบ

เมื่ อ วั น ที่ ๑๕ พฤศจิ ก ำยน พ.ศ.๒๔๗๒ นำยร้อยโท นำม พันธุ์นักรบ ผู้ช่วยผู้บังคับฝูงบินที่ ๔ ต� ำ บลโคกกะเที ย ม จั ง หวั ด ลพบุ รี น� ำ เครื่ อ งบิ น นิเออปอรต์ เดอลำจ ท�ำกำรบินผำดแผลงในระยะ สูงประมำณ ๑,๐๐๐ เมตร เครื่องบินเกิดไฟไหม้

21

นักบินถูกไฟลวกและไม่สำมำรถบังคับเครื่องบินได้ จึงตัดสินใจโดดร่มชูชีพออกจำกเครื่องและปลอดภัย นับเป็นครั้งแรกที่มีนักบินโดดร่มออกจำกเครื่องบิน ในปี พ.ศ.๒๔๗๒ เริ่ ม มี ค วำมคิ ด ที่ จ ะจั ด ตั้ ง กำรบิ น พลเรื อ น โดยใช้ ส นำมบิ น ดอนเมื อ งเป็ น สนำมบินพลเรือนด้วย ดังนั้นจึงมีกำรก่อสร้ำงโรงเก็บ เครื่องบินให้มีขนำดใหญ่ขึ้น รวมถึงกำรสร้ำงเส้นทำง สนำมบินเพิ่มเติม ในปี พ.ศ.๒๔๗๓ กรมอำกำศยำน ได้ขยำยงำน กิจกำรของกองบินต่ำง ๆ มำกมำย โดยได้มีกำรจัดตั้ง กองบินใหญ่ที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๓ รวมถึงกำรเตรียมกำร จั ด ตั้ ง โรงเรี ย นกำรบิ น ชั้ น สู ง ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ จ ะเป็ น ผู้บังคับฝูง จำกกำรที่ มี เ ครื่ อ งบิ น ของประเทศต่ ำ ง ๆ ได้แวะมำลงที่สนำมบินดอนเมืองมีจ�ำนวนมำกขึ้น ในเดื อ นธั น วำคม พ.ศ.๒๔๗๓ กรมอำกำศยำน จึ ง ออกค� ำ ชี้ แ จงเรื่ อ งเครื่ อ งบิ น ต่ ำ งประเทศบิ น ลง ในรำชอำณำจักร โดยแบ่งสนำมบินออกเป็น ๒ ประเภท คือ สนำมบินทหำร และสนำมบินพลเรือน พร้อมทั้ง ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ ข องเครื่ อ งบิ น ต่ ำ งประเทศ ที่ ม ำลงที่ ส นำมบิ น ดอนเมื อ งซึ่ ง ถื อ เป็ น สนำมบิ น สำกลเพียงแห่งเดียว

สนามบินดอนเมือง เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๓


22

วั น ที่ ๓๑ ธั น วำคม พ.ศ.๒๔๗๓ รั ฐ บำล โดยกระทรวงกลำโหม มอบหมำยให้ กรมอำกำศยำน ส่งเครื่องบินบริพัตร ๓ เครื่อง บินไปเยี่ยมรัฐบำล อินโดจีนฝรัง่ เศส ณ กรุงฮำนอย เพือ่ เชือ่ มสัมพันธไมตรี โดยมี นำยพลตรี พระยำเฉลิ ม อำกำศ เจ้ ำ กรม

อำกำศยำน เป็นหัวหน้ำคณะ กำรเดินทำงเป็นไป โดยสวัสดิภำพ และคณะเดินทำงกลับถึงประเทศไทย เมื่อวันที่ ๖ มกรำคม พ.ศ.๒๔๗๓ (ขณะนั้นกำรนับ วันขึ้นปีใหม่คือวันที่ ๑ เมษำยน)

(จากซ้ายไปขวา) นายพลตรี พระยาเฉลิมอากาศ นายร้อยเอก หลวงแสนพลเทพ นายพันตรี หลวงภาษาศรีรัตน นายร้อยเอก หลวงอัมพรไพศาล เปนผู้แทนรัฐบาลไทยไปเยือนรัฐบาลอินโดจีนฝรั่งเศส ณ กรุงฮานอย

ใน พ.ศ.๒๔๗๓ จัดสร้างเครื่องบินฝึกแบบที่ ๔ ขึ้นใช้ในราชการ

(อ่านต่อฉบับหน้า)


ข่าวทหารอากาศ

23

ต�ำราพิชัยสงคราม SUNTZU ๑๓ บทไม้ตาย

พล.อ.อ.จอม รุ่งสว่าง


24

ค�ำน�ำของผู้แปล SUNTZU เป็ น ชื่ อ ต� ำ รา พิชัยสงคราม ๑๓ บท ไม้ตาย ที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด ๑ ในหนั ง สื อ ว่าด้วยการทหารของจีนโบราณ ๗ เล่ม เสียงที่ชาวไทยอ่านว่า “ซุ น ซู ๊ ” เป็ น เสี ย งอ่ า นตามที่ ชาวตะวันตกอ่าน มิใช่เ สี ย งที ่ ชาวจี น อ่ า นออกเสี ย ง คาดว่ า ไม่ซนุ วู (๕๑๔–๔๙๗ ปีกอ่ น ค.ศ.) หรือไม่ก็ ซุนปิง (๓๔๐ ปีกอ่ น ค.ศ.) เป็นผูป้ ระพันธ์ขนึ้ โดยใช้สำ� นวน จี น ที่ ค มคาย เข้ า ใจง่ า ย ประกอบกั บ ใช้ แ นวคิ ด ของชาวตะวั น ออกล้ ว น ๆ และเป็ น แม่ บ ททาง ความคิ ด ของทั้ ง ลั ท ธิ เ ต๋ า และลั ท ธิ ข งจื๊ อ อี ก ด้ ว ย อย่างไรก็ตามหากถอดความตรงตัวแล้ว อาจแปล ได้ว่า “ปราชญ์แซ่ซุน” มีการอ้างถึง SUNTZU บ่อยครั้งในระหว่าง การเรียนการสอนเกี่ยวกับการสงครามของสถาบัน การศึ ก ษาวิ ช าชี พ ทางทหาร แต่ ค วามจริ ง แล้ ว ทหารไทยน้อยคนนัก ทีเ่ คยได้อา่ นฉบับจริงจนจบเล่ม หรื อ ไม่ ก็ เ พี ย งเคยได้ อ ่ า นจากเอกสารเรื่ อ งอื่ น ๆ ทีย่ งั ขาดความสมบูรณ์ เนือ่ งจาก SUNTZU ทีถ่ อดความ วางขายในตลาดหนั ง สื อ ทั่ ว ไป มี ก ารสอดแทรก ความเห็นส่วนตัวที่ไม่ถูกต้องไว้มาก กับบางส่วน ถูกถอดความจากเอกสารภาษาอังกฤษ ซึ่งมีผู้แปล ไว้กอ่ นเป็นชาวตะวันตก จึงไม่สามารถท�ำความเข้าใจ กับทัศนะของชาวตะวันออกได้ ท�ำให้เกิดอุปสรรค ในการค้นคว้า และอ่านไม่รู้เรื่อง เอกสารฉบับนี้ ถอดความอย่างตรงไปตรงมา มิได้สอดแทรกความเห็นส่วนตัวใด ๆ จากอักษร จีนโบราณ อักษรญี่ปุ่นโบราณ และการถอดความ เป็นภาษาญี่ปุ่นปัจจุบันของหนังสือชื่อ SUNTZU

ของนาย KANETANI ซึ่งจัดพิมพ์ และแก้ไขครั้งล่าสุด เมื่อปี ค.ศ.๑๙๘๐ โดยใช้เป็นต�ำราเรียนของนักเรียน นายร้อยรวมประเทศญี่ปุ่น ชั้นปีที่ ๒ ที่ซึ่งผู้แปล พลอากาศเอก จอม รุ ่ ง สว่ า ง ได้ มี โ อกาสศึ ก ษา อย่างจริงจังเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว เหตุผลประการหนึ่ง ที่ ส ถาบั น ทหารของญี่ปุ่นให้ความส�ำคัญกับเรื่องนี้ อย่างมาก เนือ่ งเพราะ พวกเขาถือว่าเป็นความรูพ้ นื้ ฐาน ทางทหารทีต่ อ้ งศึกษาตัง้ แต่วยั เยาว์ ดังนัน้ ทหารญีป่ นุ่ จะมีต�ำรานี้ครอบครองเป็นส่วนตัวทุกคน ในขณะที่ ทหารไทยมองว่ า SUNTZU เป็ น เรื่ อ งในระดั บ ยุทธศาสตร์ทจี่ ำ� เป็นต้องรูเ้ พียงเฉพาะผูบ้ ริหารระดับสูง เท่านั้น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างกันในเรื่อง แนวคิ ด ด้ า นการศึ ก ษาระหว่ า งประเทศญี่ ปุ ่ น กับประเทศไทยได้อย่างชัดเจน


ข่าวทหารอากาศ

อย่างไรก็ตาม SUNTZU เป็นต�ำราพิชยั สงคราม ที่ ส ะท้ อ นปรั ช ญาจิ ต นิ ย มสุ ด ขั้ ว และอธิ บ ายด้ ว ย ส�ำนวนจีนที่กระทัดรัด คมคาย ใช้ตรรกะบวกลบ เชิงเส้นแบบธรรมดา ๆ ท�ำให้อา่ น และท�ำความเข้าใจ ได้ง่าย ผู้แปลหวังอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์แก่ ผูท้ รี่ กั การอ่านทุกท่าน เพราะนอกจาก มันจะสามารถ ประยุกต์ใช้ในชีวิต และการท�ำงานประจ�ำวันแล้ว เนื้อหาสาระของ SUNTZU ยังได้รับการยอมรับ อย่างกว้างขวางว่าอัดแน่นไปด้วย “FUNDAMENTAL DOCTRINE” ทีจ่ ะท�ำให้ผทู้ อี่ า่ นได้แตกฉาน สามารถ ท� ำ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ธรรมชาติ ข องสงครามได้ เป็นอย่างดี พลอากาศเอก จอม รุง่ สว่าง ผูแ้ ปล

25

ต�ำราพิชัยสงคราม SUNTZU ๑๓ บทไม้ตาย บทที่ ๑ แผนศึก บทที่ ๒ เตรียมศึก บทที่ ๓ นโยบายศึก บทที่ ๔ ศักย์สงคราม บทที่ ๕ จลน์สงคราม บทที่ ๖ หลอกล่อ บทที่ ๗ การแข่งขัน บทที่ ๘ เก้าเหตุการณ์ บทที่ ๙ เคลื่อนก�ำลัง บทที่ ๑๐ ภูมิประเทศ บทที่ ๑๑ เก้าสนามรบ บทที่ ๑๒ ไฟ บทที่ ๑๓ สายลับ


26

บทที่

แผนศึก

๑. SUNTZU กล่าวไว้ การสงครามเป็นงานยิง่ ใหญ่ มีความส�ำคัญต่อชาติใหญ่หลวง ชี้ขาดความเป็นตาย คนในชาติเกี่ยวข้องกับความอยู่รอดของชาติ จึงต้อง คิดอ่านพิจารณาด้วยความรอบคอบอย่างถึงที่สุด ฉะนั้ น จะต้ อ งคิ ด ค� ำ นึ ง ถึ ง เรื่ อ งส� ำ คั ญ ๕ ประการ และพิจารณาเปรียบเทียบ ๗ ประการ เพื่อเข้าใจ สถานการณ์ได้ถ่องแท้ ๕ ประการดังกล่าว ได้แก่ • หนทาง ความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ของคนแต่ละชั้นว่าสามารถอยู่ร่วมกัน ตายร่วมกัน ได้เพียงใด ( การเมืองภายใน ) • สภาพแวดล้อม เงื่อนไขเอื้ออ�ำนวยของ จังหวะเวลา และภูมิอากาศ • สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ • แม่ทัพนายกอง ลักษณะคน • กฎ ระเบียบ วินัย ปกติการคิดค�ำนึง และศึกษาเรือ่ งราว ๕ ประการ แม่ทัพนายกองทุกคนเข้าใจดีอยู่แล้ว แต่ผู้เข้าใจ ลึกซึ้งกว่าเป็นผู้ชนะ ผู้เข้าใจลึกซึ้งน้อยกว่าเป็นผู้ ไม่อาจชนะ ฉะนั้น เพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งกว่าจ�ำเป็นต้อง มีการพิจารณาเปรียบเทียบอีก ๗ ประการ ดังนี้

• ผู ้ น�ำ ประเทศฝ่ า ยใดก� ำ จิ ตใจคนในชาติ มากกว่ากัน • แม่ ทั พ นายกองฝ่ า ยใดมี ค วามสามารถ มากกว่ากัน • เงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ฝ่ายใดได้เปรียบ • ฝ่ายใดรักษากฎ ระเบียบ วินัย เคร่งครัด กว่ากัน • กองทัพฝ่ายใดเข้มแข็งกว่ากัน • ทหารหาญฝ่ายใดได้รบั การฝึกมามากกว่ากัน • การให้รางวัล และการลงโทษ ฝ่ายใดมี ความยุติธรรมกว่ากัน ส�ำหรับ SUNTZU แล้ว จากที่กล่าวมา แม้ยัง มิได้รบก็รู้แพ้ชนะกระจ่างแจ้งแล้ว ๒. ในกรณีแม่ทัพนายกองปฏิบัติตามการคิด ค�ำนวณ ๕ ประการ และเปรียบเทียบ ๗ ประการ ของข้าพเจ้า ถ้าเอาคนนี้มาใช้งานจะได้รับชัยชนะ แน่นอน ต้องเอาคนคนนี้มาใช้งาน ในกรณี แ ม่ ทั พ นายกองมิ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ต ามการ คิดค�ำนวณ ๕ ประการ และเปรียบเทียบ ๗ ประการ ของข้ า พเจ้ า ถ้ า เอาคนนี้ ม าใช้ ง านจะประสบ ความพ่ายแพ้แน่นอน ต้องปลดคนคนนี้ทิ้งเสีย ถ้ า ปฏิ บั ติ ต าม และเข้ า ใจความคิ ด อ่ า นนี้ การเตรียมการก่อนออกศึกจะเกิด “พลังอ�ำนาจ” ซึง่ จะช่วยกองทัพในการศึก พลังอ�ำนาจทีก่ ล่าวช่วยให้


ข่าวทหารอากาศ

ฝ่ายเราสามารถใช้ความอ่อนตัวบังคับสถานการณ์ ได้เปรียบให้ตกอยู่กับฝ่ายเรานั่นเอง (พลังอ�ำนาจ... ศักย์สงคราม) ๓. การศึกนัน้ เป็นการเคลือ่ นไหวด้วยเล่หเ์ หลีย่ ม หมายถึ ง การกระท� ำ ที่ ก ลั บ กั น กั บ การกระท� ำ ปกติ ฉะนั้น เมื่อเข้มแข็งต้องให้เห็นว่าอ่อนแอ เมื่อกล้า ต้องให้เห็นว่ากลัว เมื่อใกล้ให้ดูไกล เมื่อไกลให้ดูใกล้ เมื่อข้าศึกต้องการประโยชน์เอาประโยชน์เข้าล่อ เมือ่ ข้าศึกวุน่ วายสับสนให้ฉวยโอกาส ข้าศึกเหนียวแน่น ให้ป้องกัน ข้าศึกเข้มแข็งให้ถอยออกมา เมื่อข้าศึก โกรธให้ยั่วยุ ข้าศึกสบายท�ำให้พวกเขาเหนื่อยล้า เมื่ อ ข้ า ศึ ก กลมเกลี ย วท� ำ ให้ แ ตกแยก โจมตี ข ้ า ศึ ก ในทีซ่ งึ่ ไม่มกี ารป้องกัน รุกเข้าไปในทีซ่ งึ่ ข้าศึกไม่คาดคิด เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ข้าศึก ก่อนรบไม่มีผู้ใด ล่วงรู้ได้ว่าจะเผชิญหน้ากับสถานการณ์เช่นไร

บทที่

เตรียมศึก

๔. ปกติการคิดอ่านก่อนออกศึก แล้วชนะ หมายถึงผลจากการคิด ค�ำนวณ ๕ ประการ เปรียบเทียบ ๗ ประการ แล้วมีทางชนะมากกว่า ทางแพ้นั่นเอง แต่หากคิดอ่านก่อน ออกศึกแล้วไม่อาจชนะ ก็หมายถึง ผลจากการคิดค�ำนวณ ๕ ประการ เปรียบเทียบ ๗ ประการแล้วมีทาง ชนะน้อยนั่นเอง ดังนั้น จากการคิด ค�ำนวณก่อนออกศึก ถ้ามีทางชนะ มากจะชนะ ถ้ามีทางชนะน้อยกว่า ก็ จ ะมิ อ าจชนะ ส� ำ หรั บ ข้ า พเจ้ า เพี ย งสั ง เกตดั ง กล่ า ว ก็ รู ้ แ พ้ ช นะ ชัดเจนแล้ว

27


28

๑. SUNTZU กล่าวไว้ กฎของสงครามนั้น การทหารเป็นความสิ้นเปลืองอย่างใหญ่หลวง กว่าจะสามารถใช้ก�ำลังเคลื่อนก�ำลังทหารได้นั้น แม้เพียงวันเดียวก็ยังต้องใช้ทรัพย์สินมหาศาล การท�ำสงครามยืดเยือ้ ทหารจะอ่อนล้า ความห้าวหาญ จะลดลง การเข้ า ตี ป ้ อ มปราการที่ มั่ น ข้ า ศึ ก เป็นเวลานานก�ำลังรบจะหมดไป เพราะฉะนัน้ การใช้ ก� ำ ลั ง ทหารเป็ น เวลานานเศรษฐกิ จ ของชาติ จะย่อยยับ ถ้าทหารหาญของชาติเหนื่อยอ่อน ขาดความ ห้ า วหาญ และถ้ า เศรษฐกิ จ ของชาติ ย ่ อ ยยั บ แล้ ว ต่างชาติจะยกทัพมารบกับเราแน่นอน ซึ่งแม้จะมี ผู ้ มี ค วามสามารถสู ง เพี ย งไรก็ ย ากที่ จ ะต่ อ ต้ านกั บ ทัพต่างชาติทยี่ กเข้ามาได้ดงั นัน้ “การสงครามจะต้อง รวดเร็ ว และเฉี ย บพลั น ” ตั ว อย่ า งของสงคราม ยืดเยือ้ ในประวัตศิ าสตร์ไม่มปี ระเทศใดเคยได้ประโยชน์ จากสงครามยืดเยื้อไม่เคยปรากฏ ดั่งที่เคยกล่าวแล้ว ผู ้ ที่ ไ ม่ เ ข้ า ใจความสู ญ เสี ย ของสงครามอย่ า ง เพียงพอย่อมไม่สามารถเข้าใจผลประโยชน์ท่ีได้รับ จากสงครามอย่างเพียงพอเช่นกัน ๒. นักรบที่ช�ำนาญศึกจะไม่เกณฑ์ประชาชน มารบหลายครั้ง จะไม่ขนเสบียงอาหารจากชาติตน หลายครั้ง แม้ใช้อาวุธจากชาติตน แต่เสบียงอาหาร เอาจากดินแดนข้าศึก

การที่ประเทศชาติต้องยากจนลงเพราะกองทัพ ก็เนื่องจากการขนส่งเสบียงอาหารเป็นระยะทางไกล เพราะถ้ า กองทั พ ต้ อ งขนเสบี ย งอาหารเป็ น ระยะ ทางไกล ประชาชนจะยากจนลง ราคาสินค้าบริเวณ สนามรบจะสูงขึ้น เมื่อสินค้าราคาสูงขึ้น ทรัพย์สิน ของประชาชาก็ยงิ่ หมดลง เมือ่ ทรัพย์สนิ ของประชาชน หมดลง การจะระดมเสบี ย งอาหารมาให้ ท หาร ก็จะท�ำได้ยากล�ำบาก ก�ำลังรบของกองทัพก็จะค่อย ๆ หมดลง ทรัพย์สินของประชาชนจาก ๑๐ จะเหลือ ๗ ข้ า วของของรั ฐ ที่ เ สี ย หายไปกั บ สงครามจาก ๑๐ จะเหลือ ๖ เพราะฉะนั้น แม่ทัพที่มีความสามารถ จะแย่งเสบียงอาหาร และข้าวของของข้าศึกมาใช้ การใช้ข้าวของของข้าศึก ๑ ส่วน ได้ประโยชน์เหมือน ใช้ของของเรา ๒๐ ส่วน ๓. การทีท่ หารฝ่ายเราสังหารทหารฝ่ายข้าศึกได้ ก็ เ นื่ อ งจากก� ำ ลั ง ใจของทหาร การยึ ด เอาสิ่ ง ของ ของข้าศึกมา ก็เนื่องจากผลประโยชน์นั่นเอง ฉะนั้น การให้รางวัลแก่ทหารที่ยึดเอาสิ่งของจากข้าศึกได้ และลงโทษทหารที่ถูกข้าศึกยึดสิ่งของไป เป็นการ สร้างความเข้มแข็งขึ้นในกองทัพ ๔. ดังกล่าวข้างต้น การสงครามนั้นชัยชนะ เป็นอันดับหนึ่ง จะยืดเยื้อไม่ได้ แม่ทัพที่ระมัดระวัง ผลได้เสียของสงครามรอบคอบ คือผู้ก�ำชะตากรรม ของประชาชนไว้ เป็ น อุ ป ราชชี้ ข าดความอยู ่ ร อด ของประเทศชาติ (อ่านต่อฉบับหน้า)


ข าวทหารอากาศ

29

การรับมรดกที่ดิน ร.อ.ชำนุวัฒน์ แสงสุวรรณ รรก.นำยทหำรพระธรรมนูญ บน.๑

เมื่อเจ้ำของที่ดินหรือผู้มีชื่อในเอกสำรเกี่ยวกับ ที่ดิน เช่น โฉนดที่ดิน หรือ น.ส.๓ หรือ น.ส.๓ ก. หรือ น.ส.๓ ข.ตำยลงไป เป็นมรดกซึ่งจะตกทอด แก่ ท ำยำทของผู ้ ต ำย โดยสิ ท ธิ ต ำมกฎหมำยหรื อ โดยพิ นั ย กรรมที่ เ จ้ ำ มรดกท� ำ ไว้ ทำยำทที่ มี สิ ท ธิ ตำมกฎหมำยหรื อ ทำยำทโดยธรรมมี ๖ ล� ำ ดั บ แต่ละล�ำดับมีสิทธิได้รับมรดกก่อนหลัง ดังต่อไปนี้ ๑. ผู้สืบสันดำน (บุตร หลำน เหลน ลื้อ) ๒. บิดำ มำรดำ ๓. พี่น้องร่วมบิดำมำรดำเดียวกัน ๔. พี่น้องร่วมบิดำ หรือร่วมมำรดำเดียวกัน ๕. ปู่ ย่ำ ตำ ยำย และ ๖. ลุง ป้ำ น้ำ อำ ส�ำหรับคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ ถื อ เป็ น ทำยำทโดยธรรม มี สิ ท ธิ รั บ มรดกร่ ว มกั บ ทำยำทโดยธรรมทั้ง ๖ ล�ำดับ

โดยผู ้ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ มรดกที่ ดิ น จะต้ อ งไปขอ จดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินนั้นที่ส�ำนักงำนที่ดิน จังหวัด หรือส�ำนักงำนที่ดินจังหวัดสำขำ ในกรณี มีเอกสำรเป็นโฉนดที่ดิน น.ส.๓ ข. และส�ำนักงำน ที่ดินอ�ำเภอ ในกรณีมีเอกสำรเป็น น.ส.๓ น.ส.๓ ก. ถ้ำท้องที่ใดที่ได้มีประกำศกระทรวงมหำดไทยยกเลิก อ�ำนำจหน้ำที่ของนำยอ�ำเภอเกี่ยวกับกำรปฏิบัติกำร ตำมกฎหมำยที่ดินแล้ว ไม่ว่ำที่ดินจะเป็นโฉนดที่ดิน น.ส.๓ หรือ น.ส.๓ ก. น.ส.๓ ข. จะต้องไปขอจดทะเบียน ที่ส�ำนักงำนที่ดินจังหวัด หรือส�ำนักงำนที่ดินจังหวัด สำขำที่ที่ดินตั้งอยู่ ส�ำหรับหลักฐำนที่ต้องน�ำไปประกอบกำรขอรับ มรดก คือ ๑. โฉนดที่ ดิ น หรื อ หนั ง สื อ รั บ รองกำรท� ำ ประโยชน์ (น.ส.๓ น.ส.๓ ก. น.ส.๓ ข.)


30

๒. บัตรประจ�ำตัวประชาชน ๓. ทะเบียนบ้าน ๔. หลักฐานการตายของเจ้ามรดก เช่น มรณบัตร ๕. พินัยกรรม (ถ้ามี) ๖. ถ้ า ผู ้ ข อ ขอรับมรดกในฐานะเป็นคู่ส มรส ต้องมีหลักการการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย ๗. ถ้าผู้ขอรับมรดกเป็นบิดาเจ้ามรดก ต้องมี ทะเบียนสมรสกับมารดาของเจ้ามรดกหรือหลักฐาน การรับรองบุตร ๘. กรณีบตุ รบุญธรรมเป็นผูข้ อรับมรดก ต้องแสดง หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม ๙. ถ้ามีกรณีพพิ าทเกีย่ วกับมรดก ต้องน�ำสัญญา ประนีประนอมยอมความหรือค�ำพิพากษาอันถึงที่สุด ไปแสดง ๑๐. ถ้ามีผมู้ สี ทิ ธิรบั มรดกร่วมกันหลายคน บางคน ได้ตายไปแล้ว ต้องมีหลักฐานการตายของทายาท นั้น ๆ

ส� ำ หรั บ ในกรณี ที่ มี ผู ้ จั ด การมรดก หลั ก ฐาน ที่ต้องน�ำไป คือ ๑. ค� ำ สั่ ง ศาลหรื อ ค� ำ พิ พ ากษาของศาล หรื อ พินัยกรรม ซึ่งตั้งให้ผู้ขอเป็นผู้จัดการมรดก ๒. หลักฐานการตายของเจ้ามรดก ๓. ทะเบียนบ้าน และบัตรประจ�ำตัวประชาชน ของผู้จัดการมรดก ๔. โฉนดที่ ดิ น หรื อ หนั ง สื อ รั บ รองการท� ำ ประโยชน์ (น.ส.๓ น.ส.๓ ก. น.ส.๓ ข.) ส�ำหรับ ค่ า ธรรมเนี ย มการจดทะเบี ย น ได้ แ ก่ ค่ า ค� ำ ขอ แปลงละ ๕ บาท ค่าประกาศมรดก แปลงละ ๑๐ บาท ค่าจดทะเบียนผู้จัดการมรดก แปลงละ ๕๐ บาท ค่าจดทะเบียนโอนมรดก ร้อยละ ๒ ตามราคาประเมิน ทุนทรัพย์ และในกรณีโอนมรดกระหว่างผู้บุพการี กับผู้สืบสันดาน หรือระหว่างคู่สมรส เรียกตามราคา ประเมินทุนทรัพย์ ร้อยละ ๐.๕


ข าวทหารอากาศ

31

2020

แนวโน มการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล (Digital Transformation Trends for 2020)

น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต

ในเวลำผ่ำนมำมีกำรกล่ำวถึงเทคโนโลยีของ ปี ค.ศ.๒๐๒๐ ทีถ่ อื เป็นแนวโน้มของกำรเปลีย่ นแปลง ทำงดิ จิ ทั ล ก่ อ นนั้ น เรำเห็ น เทคโนโลยี ซ�้ ำ ๆ กั น อย่ำง Cloud, IoT และ VR เปรียบเหมือนเก้ำอีต้ วั เก่ำ แต่ถูกจัดเรียงใหม่ในห้องเดิม และปี ค.ศ.๒๐๒๐ เรำจะก้ำวออกจำกจุดนั้น ประกอบกับเทคโนโลยี ที่ เ ป็ น ตั ว หลั ก มำก่ อ นตั ว เดี ย วกั บ สิ่ ง ที่ เ รำพู ด ถึ ง จะยังคงอยู่เพื่อเป็นพื้นฐำนให้กับเรำ ในกำรก้ำวเดินไปสู่องค์กรดิจิทัล โดยรวมแล้ว ในปี ค.ศ.๒๐๒๐ จะถูกก�ำหนดด้วยเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่พร้อมจะก้ำวไปสู่กำรเป็นเทคโนโลยีทำงเลือกหลัก ประกอบด้วย 5G, AI : Artificial Intelligence (ปัญญำ

ประดิษฐ์), ML : Machine Learning (กำรเรียนรู้ ของเครื่อง) ที่ถือเป็นตัวช่วยในกำรวิเครำะห์ข้อมูล (Data Analytics) และสิง่ ทีเ่ ป็นอิสระ (Autonomous Things) เช่ น รถยนต์ ไ ร้ ค นขั บ ในควำมสำมำรถ ของบำงเทคโนโลยีจะช่วยให้องค์กรสำมำรถแข่งขัน สร้ำงควำมแตกต่ำง อีกทัง้ มีประสิทธิภำพทีเ่ หนือกว่ำ เพื่อไม่เป็นกำรเสียเวลำสิ่งต่อไปนี้จัดเป็นแนวโน้ม ของกำรเปลี่ยนแปลงทำงดิจิทัลที่ผู้เขียน Daniel Newman นัน้ เชือ่ ว่ำจะกลำยเป็นส่วนทีม่ คี วำมส�ำคัญ ส�ำหรับเทคโนโลยีในปี ค.ศ.๒๐๒๐ โดยบทควำม ในฉบับมีมุมมองและรำยละเอียดที่น่ำสนใจดังนี้


32

5G และ WiFi 6 ส�าหรับโลกที่เร็วขึ้น ในปี ค.ศ.๒๐๒๐ จะเป็นปีของ 5G ด้วยบริษัท ยั ก ษ์ ใ หญ่ ใ นด้ ำ นกำรสื่ อ สำรโทรคมนำคม เช่ น Qualcomm, AT&T, Verizon, Nokia, Ericsson และ Huawei ท�ำให้เรำแน่ใจได้ว่ำกำรติดตั้ง 5G เพื่อกำรใช้งำนทั่วโลกยังคงด�ำเนินต่อไป ที่ส�ำคัญ ผู้ผลิตสมำร์ทโฟน Android ที่ดีที่สุดในโลกได้น�ำ สมำร์ทโฟน 5G ออกสู่ตลำดผู้ใช้แล้วแน่นอน 5G จะพร้อมใช้งำนได้ในปี ค.ศ.๒๐๒๐ ซึ่งควำมสำมำรถ ที่มีนอกเหนือจำกควำมเร็วของกำรรับ - ส่ง ข้อมูล ได้อย่ำงปลอดภัยในอัตรำที่สูงถึง 10 Gbps เร็วกว่ำ 4G LTE (Long Term Evolution) ซึง่ เร็วสุดในปัจจุบนั ถึง ๒๐ เท่ำ อันท�ำให้เครือข่ำยสมำร์ทโฟนนั้นเชื่อถือ ได้มำกขึ้น อีกทั้งกำรน�ำมำใช้อย่ำงกว้ำงขวำงของ 5G จะช่วยเร่งควำมก้ำวหน้ำของเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities) รถยนต์ไร้คนขับ และทีส่ ำ� คัญเพือ่ รองรับควำม ต้ อ งกำรในกำรเชื่ อ มต่ อ ของอุ ป กรณ์ และสิ่ ง ของ ในส่วน IoT (Internet of Things) ได้อย่ำงสมบูรณ์ อำจกล่ำวได้ว่ำประสิทธิภำพที่แท้จริงของ 5G จะไม่ ถูกจ�ำกัดไว้แค่สมำร์ทโฟนเท่ำนัน้ ทุกอย่ำงทีเ่ รำสัมผัส ในกำรใช้ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น จะถู ก เปลี่ ย นให้ ดี ขึ้ น และ

สะดวกสบำยขึ้น ด้วยควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยี กำรสื่อสำรไร้สำยในยุคที่ ๕ (5G) และในบทควำมนี้ ขอพูดถึง WiFi 6 สั้น ๆ เพื่อไม่ให้สับสนกับ 5G อนึ่ง WiFi 6 เป็นรุ่นต่อไปของกำรเชื่อมต่อแบบ WiFi หมำยถึงกำรเชือ่ มต่อ และกำรประมวลผลทีร่ วดเร็วขึน้ ทั้งในที่ท�ำงำน และที่บ้ำน คำดว่ำควำมเร็วในกำร ดำวน์โหลดสูงเป็น ๓ เท่ำ ของ WiFi 5 ที่ส�ำคัญ คือ รองรับจ�ำนวนอุปกรณ์และปริมำณของข้อมูลที่เชื่อม ต่อบนเครือข่ำย WiFi ได้เพิ่มขึ้น ซึ่ง WiFi 5 นั้น ไม่ ส ำมำรถรองรั บ ได้ แ ม้ ว ่ ำ WiFi 6 และ 5G เป็นเทคโนโลยีที่แตกต่ำงกัน แต่ท้ังคู่จะน�ำเรำไปสู่ กำรประมวลผลทีเ่ ร็วขึน้ และควำมเร็วในกำรเชือ่ มต่อ ไร้สำยด้วยทัง้ คูจ่ ะเกิดขึน้ ในปี ค.ศ.๒๐๒๐ และนัน่ คือ ภำพรวมที่ท�ำให้เรำเข้ำใจได้มำกขึ้น


ข าวทหารอากาศ

AI และ ML เพิม่ ความสามารถในการวิเคราะห์ ข้อมูล หำกคุ ณ ก� ำ ลั ง จะลงทุ น ในกำรวิ เ ครำะห์ ต้ อ งลงทุ น ในเทคโนโลยี AI และกำรเรี ย นรู ้ ข อง เครื่อง (ML) อันถือเป็นตัวช่วยในกำรค้นหำข้อมูล ที่ต้องกำร และข้อมูลที่เรำมุ่งหวังจะน�ำมำใช้ให้เกิด ประโยชน์ ข้อดีของ AI และ ML นั้นก็เพื่อช่วยในกำร วิเครำะห์ข้อมูล สำมำรถแยกได้ ๓ ข้อคือ ควำมเร็ว (Speed) ขนำด (Scale) และควำมสะดวกสบำย (Convenience) ในด้ำนควำมเร็วและขนำด กล่ำวถึง ข้อดีของกำรวิเครำะห์ชุดข้อมูลขนำดใหญ่ ที่สำมำรถ ท�ำได้โดยอัตโนมัติ ต้องขอขอบคุณ AI และ ML ตอนนีช้ ดุ ข้อมูลทีซ่ บั ซ้อนสำมำรถวิเครำะห์ได้ในเวลำ ไม่กี่วินำที ก่อนหน้ำนั้น ใช้คนที่เป็นนักวิเครำะห์ ข้อมูลจะใช้เวลำทีม่ ำกกว่ำคงไม่ใช่เพรำะควำมสำมำรถ ของคอมพิวเตอร์ทเี่ ร็วขึน้ หรือดีขนึ้ แต่เนือ่ งมำจำก AI และ ML มี ก ำรวิ เ ครำะห์ ข ้ อ มู ล ที่ ดี ขึ้ น อี ก ทั้ ง กำรวิเครำะห์นั้นสำมำรถปรับขนำดได้อย่ำงง่ำยดำย

33

บนระบบคลำวด์ ในด้ ำ นควำมสะดวกกำรน� ำ AI และกำรเรียนรู้ของเครื่อง (ML) มำใช้บนเครื่องมือ วิเครำะห์นนั้ ท�ำให้ผใู้ ช้ ใช้งำนได้งำ่ ยขึน้ และเชือ่ ถือได้ มำกขึ้ น ดี เ ท่ ำ ที่ ผู ้ ใ ช้ ไ ด้ รั บ ในปั จ จุ บั น ซึ่ ง แตกต่ ำ ง จำกเครือ่ งมือวิเครำะห์ขอ้ มูลในสมัยก่อน ๆ ท้ำยทีส่ ดุ ในส่วนของควำมเร็วและควำมแม่นย�ำนั้น คำดว่ำจะ ถูกพัฒนำให้ดีขึ้นในปี ค.ศ.๒๐๒๐


34

ข้อคิดที่ฝากไว้ แนวโน้ ม กำรเปลี่ ย นแปลงทำงดิ จิ ทั ล ในปี ค.ศ.๒๐๒๐ นั้น สำมำรถท�ำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง ได้หรือไม่? ได้อย่ำงแน่นอน โดยเฉพำะกำรก้ำวไปสู่ องค์ ก รดิ จิ ทั ล และในที่ สุ ด เรำจะได้ เ ห็ น คุ ณ ค่ ำ ของเทคโนโลยีที่เป็นตัวหลักมำก่อน ซึ่งในช่วงเวลำ ที่ผ่ำนมำไม่สำมำรถท�ำงำนได้อย่ำงเต็มที่ อำทิ IoT ท้ำยสุด รู้สึกตื่นเต้นที่จะได้เห็นกำรท�ำงำนร่วมกัน ของเทคโนโลยี ต ่ ำ ง ๆ อย่ ำ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพในปี ค.ศ.๒๐๒๐ อ้ำงอิง - www.forbes.com/sites/danielnewman/


ข าวทหารอากาศ

35

มีสกรีน BLONDIE

ภาพที่ ๑ - เฮ้ นั่นดูเหมือนนาฬิกาเต่าสุดเจงที่ผมให้เฮิร์บเมื่อคริสต์มาสเปะเลยละ ! ภาพที่ ๒ - ขอโทษครับ คุณไปได้นาฬิกาเต่านี่มาจากที่ไหนครับ? - ออ เพื่อนบ้านเราคนหนึ่งบริจาคมาให้ขายที่ตลาดนัดค่ะ ภาพที่ ๓ - คุณก�าลังท�าอะไรอยู่คะที่รัก? - ผมก�าลังห่อของขวัญวันเกิดให้เฮิร์บน่ะ ! exactly (adv.) excuse me. neighbors (n.) to donate yard sale present (n.)

- ถูกต้องในรำยละเอียด (correct in every detail/precisely) Ex. She said exactly the same sentence you did (เธอพู ด ประโยคเดี ย วกั น เป ะ กั บ ที่ คุ ณ พู ด ) - เป็นค�ำขอโทษ ที่ใช้ในกำรขัดจังหวะ เมื่อจะพูดกับผู้อื่น ออกเสียงว่ำ ‘อิ่กสคิ้กส มี’ - เพือ่ นบ้ำน แต่คำ� นำม neighborhood หมำยถึง บริเวณใกล้เคียง (in the near area) - บริจำคเงินหรือสิ่งของเพื่อกำรกุศล (to give money,bood,things for a charity) ออกเสียงว่ำ ‘โด๊เนท’ - เป็นตลำดนัดเล็ก ๆ จัดที่สนำมหน้ำบ้ำน เพื่อขำยของเก่ำที่ไม่ใช้แล้ว อำจเป็น ของเจ้ำของบ้ำนเองหรือหลำย ๆ บ้ำนมำรวมกันเพื่อกำรกุศล บำงบ้ำนอำจจัดใน โรงรถ จะเรียกว่ำ garage sale (เกอะร้ำจ เซล) - ของขวัญ ออกเสียงว่ำ ‘เพร็สเซ่นท’ อีกค�ำคือ gift


36

THE BORN LOSER

ภาพที่ ๑ ภาพที่ ๒ -

คุณได้ลองโลชั่นชลอวัยที่ผมสั่งให้หรือยังครับ? ลองแล้วค่ะ มันท�าให้ผิวของคุณดูอ่อนเยาว์ขึ้นไหมครับ? ฉันคิดว่า คุณพูดได้เลยว่าฉันมีสิวขึ้นน่ะ!

to try - ในที่นี้ แปลว่ำ ทดลองใช้ ท�ำ หรือ ทดสอบบำงสิ่งเพื่อให้รู้ว่ำสิ่งนั้นดี หรือเหมำะสม หรือไม่ (to use, do or test something to see if it is good or suitable) Ex.Would you like to try some raw fish? (คุณต้องกำรจะทดลองชิมปลำดิบมัย้ ) lotion (n.) - ออกเสียงว่ำ ‘โล้เชิ่น’ to prescribe - ในที่นี้แปลว่ำ สั่งยำโดยแพทย์ เพื่อให้คนไข้ทำนหรือรับกำรรักษำ ออกเสียงว่ำ ‘พรีสคร้ำยบ’ (to tell someone to take a particular medicine or have a particular treatment) (ใบสั่งยำ/กำรสั่งยำ ออกสียง ‘พริ่สคริพเซิ่น’) youthful (adj.) - อ่อนเยำว์ หรือดูเหมือนอ่อนเยำว์กว่ำที่เป็นจริง appearance (n.) - รูปร่ำงหน้ำตำ หรือสิ่งที่ปรำกฏให้เห็น (looks) acne (n.) - สิว (ออกเสียงว่ำ ‘แอ็คนี่’ /pimples) Rejuvenating (adj.) - ท�ำให้ดหู รือรูส้ กึ อ่อนเยำว์กระฉับกระเฉงขึน้ ออกเสียงว่ำ ‘รีจเู วอเน้ทงิ่ ’ค�ำกริยำ คือ to rejuvenate ‘รีจู๊เวอเนท’


ข าวทหารอากาศ

37

ครูภาษาพาที Water Lily

¤¹ÅÐàÃ×èͧà´ÕÂǡѹ

เป็นทีท่ รำบกันดีในหมูผ่ เู้ รียนภำษำอังกฤษ ว่ำควำมท้ำทำยอย่ำงหนึง่ ในกำรพูดภำษำอังกฤษ คือ กำรออกเสียง มีผู้ใช้ภำษำอังกฤษในฐำนะ เจ้ ำ ของภำษำอยู ่ ห ลำยร้ อ ยล้ ำ นคนทั่ ว โลก แต่ผู้ใช้เหล่ำนี้ก็มีลักษณะกำรออกเสียงภำษำ อั งกฤษแตกต่ำงกันไปตำมภูมิภำค ส่ วนผู ้ ใช้ ที่ไม่ใช่เจ้ำของภำษำก็มีลักษณะกำรออกเสียง ทีแ่ ตกต่ำงออกไปอีกเนือ่ งจำกอิทธิพลของภำษำแม่ หลำยครั้งที่ควำมแตกต่ำงเหล่ำนี้เป็นสำเหตุ ท�ำให้เกิดควำมเข้ำใจที่ไม่ตรงกันของคู่สนทนำ ซึ่งส่งผลให้กำรสื่อสำรไม่ประสบควำมส�ำเร็จ เมือ่ กล่ำวถึงกำรออกเสียงแล้ว คนจ�ำนวนมำก มักนึกถึงส�ำเนียงและเข้ำใจว่ำเป็นสิ่งเดียวกัน อั น ที่ จ ริ ง แล้ ว ส� ำ เนี ย งเป็ น องค์ ป ระกอบย่ อ ย อย่ำงหนึง่ ของกำรออกเสียง หำกจะเปรียบเทียบ ให้เห็นภำพแล้วขอให้ผู้อ่ำนนึกถึงต้นไม้หนึ่งต้น

ต้นไม้ คือกำรออกเสียงที่มีกิ่งก้ำนต่ำง ๆ เช่น กำรเน้นเสียงหนักเบำ ท่วงท�ำนองของประโยค แบบต่ำง ๆ กำรเชือ่ มเสียง และส�ำเนียง เพรำะฉะนัน้ กำรออกเสียงทีถ่ กู ต้องชัดเจนจึงไม่ได้จำ� กัดอยูท่ ี่ กำรมี ส� ำ เนี ย งตำมแบบเจ้ ำ ของภำษำเท่ ำ นั้ น แต่ ห มำยถึ ง กำรออกเสี ย งได้ อ ย่ ำ งถู ก ต้ อ ง ตำมรู ป แบบมำตรฐำน เช่ น กำรเน้ น เสี ย ง หนักเบำ ท่วงท�ำนองของประโยคแบบต่ำง ๆ เพื่อให้คู่สนทนำเข้ำใจตรงกับสิ่งที่ผู้พูดต้องกำร สื่อได้ (แม้ว่ำจะมีส�ำเนียงต่ำงกัน) ในฉบับนี้ครูภำษำพำที จึงขอพูดถึงควำม ส� ำ คั ญ ข อ ง ก ำ ร อ อ ก เ สี ย ง ภ ำ ษ ำ อั ง ก ฤ ษ ให้ ถู ก ต้ อ งชั ด เจนตำมแบบเจ้ ำ ของภำษำ ผ่ ำ นตั ว อย่ ำ งจำกประสบกำรณ์ ทั้ ง ทำงตรง และทำงอ้อมของผู้เขียนเองค่ะ


38

mate – Might

Today - To Die ? ตัวอย่างคลาสสิกของการออกเสียงภาษาอังกฤษ ทีท่ ำ� ให้เกิดความสับสนคือการออกเสียงค�ำว่า “today” ในภาษาอังกฤษส�ำเนียงออสเตรเลีย เนื่องจากชาว ออสเตรเลียมักออกเสียงสระเอ (เอ+อิ) เป็นเสียงสระ ไอ (อา+อิ) ครูชาวออสเตรเลียของผู้เขียนเล่าว่า ชาวต่างชาติคนหนึง่ หมดสติจงึ ถูกน�ำตัวส่งโรงพยาบาล เมื่อฟื้นขึ้นมา เขาถามคุณหมอว่า "Doctor, was I brought here to die?" (หมอ ผมถูกส่งตัวมาที่นี่ เพื่ อ รอความตายใช่ ไ หมครั บ ) คุ ณ หมอตอบว่ า "No, you were brought here yester-die" (ไม่ครับ คุณถูกส่งตัวมาเมื่อวานครับ) ไม่นานมานี ้ ผู ้ เ ขี ย นได้ เ ห็ น ภาพประกอบที่ ท� ำ ขึ้ น เพื่อล้อเลียน ส� ำ เนี ย งการพู ด ค� ำ ว่ า day ของชาวออสเตรเลี ย ซึ่งใกล้เคียงกับเรื่องเล่าในโรงพยาบาลมาก

ตัวอย่างต่อไปเป็นเหตุการณ์ทผี่ เู้ ขียนประสบมา ด้วยตนเอง วันแรกทีเ่ ดินทางไปถึงประเทศออสเตรเลีย เพือ่ เข้ารับการอบรมหลักสูตรวิธกี ารสอนภาษาอังกฤษ มีครูภาษาเหล่าทัพจากหลายประเทศเข้าร่วม ผูเ้ ขียน ได้พบกับนายทหารจากประเทศลาว ชื่อ “สี” ซึ่งได้ ศึกษาอยู่ที่นั่นมาเป็นเวลา ๕ เดือนแล้ว ระหว่างที่สี พาผู้เขียนไปสโมสรนายทหาร มีทหารออสเตรเลีย สองคนเดินสวนทางมา สีทักทายทหารออสเตรเลีย โดยกล่าวว่า “Hi” ผู้เขียนได้ยินทหารออสเตรเลีย ทักทายกลับว่า “G’day, Might” (Good day, Might) ผู้เขียนนึกแปลกใจว่าท�ำไมทหารออสเตรเลียจึงเรียก สีว่า Might ไม่เรียกว่า สี หรือว่าสีเห็นว่าเราเป็น คนไทยบ้านใกล้เรือนเคียงก็เลยบอกชื่อจริง แต่เมื่อ ครั้งที่แนะน�ำตัวกับชาวออสเตรเลีย เขาบอกว่าชื่อ Might ก่อนทีจ่ นิ ตนาการของผูเ้ ขียนจะต่อยอดไปไกล กว่านี้ ผู้เขียนถามสีว่ารู้จักกันหรือ สีตอบว่า “บ่ แค่ ทักทาย” ผู้เขียนจึงได้เข้าใจ (ถูก) เสียทีว่าที่จริงแล้ว ทหารออสเตรเลียพูดว่า “Good day, mate” แต่การ ออกเสียงค�ำว่า mate ของเขา ฟังแล้วเหมือน Might มากกว่ า ตอนนั้ น ผู ้ เ ขี ย นรู ้ สึ ก ผิ ด อยู ่ ใ นใจที่ คิ ด ว่ า สีเปลีย่ นชือ่ เวลาคุยกับฝรัง่ ทีไ่ หนได้ เราฟังไม่ออกเอง


ข่าวทหารอากาศ

39

fought off : /ฟอทฺ-อ็อฟฺ/, /ฟอทท็อฟฺ/ ต่อมาเป็นตัวอย่างจากการออกเสียงโดยเจ้าของ ภาษาชาวอเมริกนั ทีค่ นไทยฟังไม่ออก ในแบบทดสอบ การฟังฉบับหนึง่ มีขอ้ ความ “The guard fought off the attack.” ผู้ฟังคนหนึ่งได้ยินค�ำศัพท์ที่เป็นโจทย์ fought off ว่า /ฟอทท็อฟ/ ซึ่งเป็นการออกเสียง ค� ำ กริ ย าวลี โดยมี ก ารเชื่ อ มเสี ย งพยั ญ ชนะท้ า ย ของค�ำแรก /t/ กับ เสียงพยัญชนะต้นของค�ำที่สอง ซึ่งในที่นี้เป็นเสียงสระ /ɔ/ ดังนั้น เมื่อออกเสียง เชื่อมกันระหว่าง fought /ฟอทฺ/ และ off /อ็อฟฺ/ จึงกลายเป็น /ฟอทท็อฟฺ/ มนี กั เรียนไทยเป็นจ�ำนวนมาก ที่ไม่คุ้นกับปรากฏการณ์ดังกล่าวเนื่องจากลักษณะ การออกเสียงพยัญชนะท้ายและการเชื่อมเสียงขณะ สนทนาเช่นนี้ไม่มีในภาษาไทย ผู้ฟังแบบทดสอบ ก็เป็นหนึ่งในนั้น เขาจึงคาดไม่ถึงว่าค�ำที่ได้ยิน คือ fought off ค�ำกริยาช่องที่ ๒ ของ fight off ซึ่งเป็น weight area–white area ค�ำศัพท์พื้นฐาน ๒ ค�ำประกอบเข้าด้วยกัน แต่ผู้ฟัง เรือ่ งต่อไปมาจากประสบการณ์ของเพือ่ นรุน่ น้อง เข้าใจว่าเป็นค�ำศัพท์ใหม่ที่ตนไม่เคยรู้จักมาก่อน คนหนึ่ ง ที่ ต ้ อ งท� ำ แบบทดสอบการฟั ง เกี่ ย วกั บ การแนะน�ำสถานที่และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในโรงยิม โดยผูพ้ ดู ใช้ภาษาอังกฤษส�ำเนียงออสเตรเลีย อธิบายว่าบริเวณสุดท้ายเป็นพืน้ ทีส่ ำ� หรับการยกน�ำ้ หนัก (weight area) ค�ำถามในแบบทดสอบมีอยูว่ า ่ บริเวณ สุดท้ายทีผ่ นู้ ำ� ชมสถานทีก่ ล่าวถึงคือทีไ่ หน เพือ่ นรุน่ น้อง ของผู้เขียนตอบว่า พื้นที่สีขาว (white area) ซึ่งเป็น ค�ำตอบที่ผิดจึงไม่ได้คะแนนในข้อนี้ไป จากตั ว อย่ า งทั้ ง สามเรื่ อ งที่ ย กมานี้ น� ำ มาสู ่ ข้อสังเกตทีว่ า ่ ค�ำในภาษาอังกฤษทีโ่ ดยทัว่ ไปเป็นเสียง สระเอ (เอ+อิ) เช่น day, mate, weight ผู้พูด ทีม่ สี ำ� เนียงออสเตรเลียจะออกเสียงทีฟ่ งั แล้วคล้ายกับ เสียงสระไอ (อา+อิ) ฟังแล้วใกล้เคียงกับ die, Might, white ดังที่ผู้เขียนได้เกริ่นไว้ข้างต้น


40

นอกจากตั ว อย่ า งความสั บ สนที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก การฟังการออกเสียงของเจ้าของภาษาแล้ว ผู้เขียน ยังมีตัวอย่างความสับสนที่เกิดจากผู้ใช้ภาษาอังกฤษ ในฐานะภาษาต่างประเทศหรือภาษากลางทีค่ สู่ นทนา dozen - doesn’t จากคนละประเทศใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร กันอีกด้วย ครั้งหนึ่ง นายทหารนักเรียนชาวสิงคโปร์ที่ก�ำลัง ศึกษาหลักสูตรภาษาไทยส�ำหรับนายทหารต่างประเทศ ที่ ศู น ย์ ภ าษาถามผู ้ เ ขี ย นว่ า เหตุ ใ ดคนไทยจึ ง พู ด “ห้าโหล” เมือ่ กล่าวทักทายในการสนทนาทางโทรศัพท์ ผูเ้ ขียนย้อนกลับไปว่า “Five dozen?”/ไฟฟฺโดเซิน้ /? นักเรียนถามย้อนกลับมาโดยขึน้ เสียงสูงทีพ่ ยางค์ทา้ ย เพื่อสื่อถึงการถามว่า /ด้ะเซิ้น?/ ผู้เขียนเข้าใจผิดว่า นักเรียนหมายถึง doesn’t จึงพูดย้อนกันไปมาอยู ่ ๒ - ๓ ครั้ง และจ�ำเป็นต้องยุติการสนทนาทั้งที่ยัง ไม่เข้าใจตรงกันเนือ่ งจากต้องรีบแยกย้ายกันไปปฏิบตั ิ more foot?- more food? ภารกิจของแต่ละคน ผู้เขียนสงสัยถึงสาเหตุที่ท�ำให้ ในงานเลีย้ งฉลองส�ำเร็จการศึกษา เพือ่ นชาวต่างชาติ การสนทนาครั้งนี้ล้มเหลวทั้งที่นักเรียนชาวสิงคโปร์ จากอาเซียน ผู้รับผิดชอบด้านอาหารถามผู้เขียน ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการแต่กลับไม่เข้าใจ และเพื่ อ นนายทหารนั ก เรี ย นไทยคนอื่ น ๆ ว่ า สิง่ ทีผ่ เู้ ขียนพูด และนึกเอะใจว่าหรือทีจ่ ริงแล้วผูเ้ ขียน /ดู - ยู - ว้ อ น-มอ-ฟุ ้ ด ?/นั ก เรี ย นไทยตอบทั น ที ว ่ า ออกเสียงไม่ถูกต้อง ดังนั้น หลังจากปฏิบัติภารกิจ /โน แต๊งคสฺ/ เมื่อผู้ถามเดินออกไปแล้ว นักเรียนไทย ในหน้าที่เสร็จสิ้นแล้ว ผู้เขียนจึงรีบสืบค้นค�ำอ่าน ก็หวั เราะกันเสียงดัง เพือ่ นต่างชาติคนนัน้ ถามพวกเรา ของค�ำว่า dozen และพบว่าตนเองออกเสียงค�ำนี้ผิด ว่า “ต้องการอาหารเพิ่มไหม” แต่เนื่องจากในภาษา มาโดยตลอด ผู้เขียนออกเสียงว่า /โดเซิ่น/ แต่การ ประจ�ำชาติของเขา ไม่มีการแยกสระเสียงสั้น-ยาว ออกเสียงที่ถูกต้องคือ /ด้ะเซิ่น/ /ฟู ด /,/ฟุ ท /อี ก ทั้ ง ความแตกต่ า งระหว่ า งเสี ย ง หมายเหตุ เมื่อค�ำว่า dozen อยู่ในประโยค พยัญชนะท้าย /-ด/, /-ท/ ก็ไม่ชัดเจน การออกเสียง บอกเล่า ออกเสียงว่า /ด้ะเซิน่ / แต่เมือ่ อยูท่ า้ ยประโยค ค�ำว่า food ของเขาจึงฟังแล้วเหมือนค�ำว่า foot ค�ำถามแบบให้เลือกตอบ ใช่ หรือ ไม่ใช่ (Yes - No ท�ำให้อดคิดไม่ได้ว่าเขาถามพวกเราว่า “ต้องการเท้า question) หรือใช้คำ� นัน้ ๆ ในรูปค�ำถามย่อ จะออกเสียง เพิ่มไหม” เราก็เลยตอบกลับอย่างรวดเร็วว่า “ไม่ล่ะ พยางค์ท้ายสูงขึ้นจึงกลายเป็น /ด้ะเซิ้น?/ เพื่อสื่อถึง การถามว่า ใช่ค�ำนี้หรือไม่ ขอบคุณนะ”


ข่าวทหารอากาศ

เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งไม่ ใ ห้ ผู ้ อ ่ า นต้ อ งพบเจอกั บ เหตุ ก ารณ์ เ หล่ า นี้ ผู ้ เ ขี ย นขอแนะน� ำ ว่ า ผู ้ ที่ ส นใจ การเรี ย นรู ้ ภ าษาอั ง กฤษควรให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การศึกษารูปแบบและวิธีการออกเสียงภาษาอังกฤษ ที่เป็นมาตรฐาน ปัจจุบันมีสื่อการเรียนรู้มากมาย ที่สามารถเข้าถึงได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว เช่น เว็บไซต์และแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ภาษาอั ง กฤษ ทั้ ง นี้ ผู ้ เ รี ย นควรเลื อ กใช้ สื่ อ ที่ ผ ลิ ต โดยใช้เสียงของเจ้าของภาษาและหาความรู้เพิ่มเติม เกี่ ย วกั บ สั ญ ลั ก ษณ์ ก ารออกเสี ย งเนื่ อ งจากเสี ย ง ในแต่ละภาษามีความแตกต่างกันไป และไม่สามารถ ใช้อกั ษรภาษาหนึง่ ทีจ่ ะถ่ายทอดเสียงของอีกภาษาหนึง่ ได้อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน ด้านบนเป็นภาพตัวอย่างในการใช้พจนานุกรม ภาษาอั ง กฤษแบบออนไลน์ ซึ่ ง สามารถพิ ม พ์ ค� ำ ที่ต้องการเพื่อทราบความหมายหรือวิธีการออกเสียง ในช่อง Search English ในตัวอย่างนี้ ผู้เขียนพิมพ์ ค�ำว่า pronunciation แล้วคลิกที่แว่นขยายเพื่อให้ ระบบท�ำการสืบค้นรายละเอียดต่าง ๆ กล่าวคือ

41

ชนิดของค�ำ วิธีการออกเสียงทั้งแบบอเมริกัน (US) และแบบอังกฤษ (UK) เมือ่ คลิกทีไ่ อคอนรูปล�ำโพงเล็ก ๆ ก็จะมีไฟล์เสียงให้ฟงั ได้ พร้อมสัญลักษณ์การออกเสียง ความหมาย และตัวอย่างการใช้ เหตุ ก ารณ์ ทั้ ง หมดที่ ย กมาแบ่ ง ปั น ผู ้ อ ่ า นนี ้ เกิดจากการที่ผู้พูดและผู้ฟังมีการรับรู้และวิธีการ ออกเสียงค�ำที่ต่างกัน เมื่อผู้ฟังไม่คุ้นเคยกับส�ำเนียง หรือลักษณะการออกเสียงของผู้พูด ก็จะส่งผลให้ รับสารได้ไม่ตรงกับสิง่ ทีผ่ พู้ ดู ต้องการสือ่ เกิดความสับสน และความเข้าใจทีค่ ลาดเคลือ่ นไม่ตรงกันระหว่างสองฝ่าย บางครั้งอาจกลายเป็นเรื่องข�ำขันสร้างเสียงหัวเราะ บางครัง้ ก็อาจท�ำให้หงุดหงิดร�ำคาญใจ หรืออาจน�ำไปสู่ สถานการณ์ ตึ ง เครี ย ดเมื่ อ การสื่ อ สารนั้ น ล้ ม เหลว ไม่เป็นไปตามความมุ่งหมายที่ตั้งไว้ ดังนั้นการเรียนรู้ และการฝึกฝนโดยใช้สอื่ ทีเ่ ป็นมาตรฐานสากลจะช่วย ลดโอกาสในการเกิ ด ความผิ ด พลาดคลาดเคลื่ อ น ในการสือ่ สารภาษาอังกฤษระหว่างคูส่ นทนาทีม่ าจาก คนละประเทศ เพือ่ ไม่ให้เกิดเหตุการณ์พดู ไปคนละเรือ่ ง เดียวกันอย่างที่ผู้เขียนได้ประสบมา

อ้างอิง - https://ballmemes.com/ - https://www.teepublic.com/sticker/2646598-gday-mate - http://uifc.net/gallery/odessa-dumbbells-in-free-weight-area/ - https://www.fotolia.com/id/122179498


42

ธรรมประทีป ธรรมะ น�ำใจ ปีใหม่ ๒๕๖๓

ในช่วงวันหยุดปีใหม่ ธรรมะ และการปฏิบัติธรรม อยูใ่ นความสนใจของประชาชนสวนมากเช่นกัน จะเห็น ได้จากการพร้อมใจกันสวดมนต์ข้ามปีในพุทธสถาน หรือวัดวาอารามต่าง ๆ หรือสวดมนต์ปฏิบตั ธิ รรมอยูท่ บี่ า้ น ซึง่ เป็นการแสดงออกทีบ่ ง่ บอกว่าในช่วงปีใหม่ ต้องเป็น กิจกรรมที่ต่อเนื่องกับสิ่งที่ดีงาม ความเจริญหรือเป็น กิจกรรมที่มีส�านึกดีงามก�ากับอยู่ แนวโน้มความสนใจ ดังกล่าวจึงเป็นเรื่องที่น่ายินดี เพราะการเฉลิมฉลอง เพือ่ เริม่ ต้นปีใหม่แต่ละครัง้ นัน้ แม้จะมีความสนุกสนาน เพลิดเพลินเป็นแกนน�า แต่ก็ควรถือเป็นโอกาสที่แต่ละคน จะได้หยุดคิด เพื่อส�ารวจตรวจสอบ หรือทบทวนการด�าเนินกิจกรรม ของชีวติ ในรอบปีทผี่ า่ นมาว่ามีขอ้ บกพร่องใดบ้างทีค่ วร แก้ไข มีสงิ่ ใดบ้างทีท่ า� ดีแล้ว และควรท�าให้ดยี งิ่ ๆ ขึน้ ไป หรือหน้าที่การงานที่ก�าลังด�าเนินอยู่นั้น ได้น�าพาชีวิต ให้พัฒนาก้าวหน้าไปสู่เป้าหมายของชีวิตที่ตั้งเอาไว้ หรือไม่ หากเป้าหมายของชีวิตนั้น เป็นเป้าหมายที่เป็น ประโยชน์ต่อชีวิตของตนและผู้อื่นอย่างแท้จริง ก็ควร ภาคภูมิใจและทุ่มเทความใส่ใจ ให้กับเป้าหมายนั้น

กอศ.ยศ.ทอ.

หากเป้าหมายนั้น เป็นเป้าหมายที่พ่วงทุกข์มาด้วย ก็ควรทบทวนหรือปรับเป้าหมายนั้นให้อยู่ในร่องรอย ที่ถูกต้อง ค�าตอบเหล่านี้อยู่ที่ ธรรมะ ซึ่งเป็นหลักที่แสดงจุด หมายที่ดีงามของชีวิต และเป็นหลักปฏิบัติ ที่ช่วยน�าพาชีวิตให้พัฒนาไปตามล�าดับ เพื่อให้เข้า ถึงจุดหมายนั้น ธรรมะ เป็นสิ่งที่ควรน�ามาก�ากับการใช้ ชีวติ อยูท่ กุ ห้วงเวลา เพราะในระหว่างทีย่ งั เดินทางไปไม่ ถึงจุดหมายนั้น ธรรมะจะเป็นเครื่องประคองชีวิตให้อยู่ ในร่องรอยและอยู่ในลู่ทางที่ถูกที่ควรมากที่สุด ทั้งเป็น เกราะป้องกันชีวิต จากปัญหาและความทุกข์ได้มาก ทีส่ ดุ ในวาระโอกาสขึน้ ปีใหม่นี้ ควรถือเป็นโอกาสพิเศษ ส�าหรับการเริม่ ใส่ใจใช้ชวี ติ อย่างมีธรรมะก�ากับมากยิง่ ขึน้ ในช่วงเทศกาลวันหยุดปีใหม่นี้ หากใครได้เริ่มต้นแล้ว ไม่ว่าจะด้วยใช้เวลาเพื่อปฏิบัติธรรมในส�านักปฏิบัติ หรือศึกษาปฏิบัติธรรมะด้วยตนเอง หรือแม้แต่เริ่ม ท�าความดีอื่น ๆ ซึ่งอยู่ในขอบเขตแห่งการปฏิบัติธรรม เช่นกัน ก็นับเป็นนิมิตหมายแห่งการเริ่มต้นปีใหม่ด้วย ความสวัสดีอย่างแท้จริง


ข าวทหารอากาศ

43

Èٹ »¯ÔºÑµÔ¡Ò÷ҧÍÇ¡ÒÈ ¡Í§·Ñ¾ÍÒ¡ÒÈ RIDER

กิจกำรอวกำศเพื่อควำมมั่นคง ได้รับกำรพัฒนำ อย่ำงต่อเนือ่ งจำกอดีตสูป่ จั จุบนั และมีแนวโน้มพัฒนำ อย่ำงต่อเนื่องในอนำคต เนื่องจำกเทคโนโลยีอวกำศ มีศักยภำพสูงในกำรตอบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลง ของสภำวะแวดล้อมด้ำนควำมมั่นคง ซึ่งศักยภำพ ดังกล่ำวสำมำรถน�ำมำสนับสนุนกำรปฏิบัติภำรกิจ ด้ำนควำมมั่นคงของประเทศได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ประเทศทีม่ เี ทคโนโลยีและศักยภำพทำงด้ำนอวกำศสูง จะสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลที่ส�ำคัญและเป็นประโยชน์ ต่อกำรปฏิบัติกำรเพื่อควำมมั่นคงที่กำรปฏิบัติกำร ในมิติอื่น ๆ ไม่สำมำรถกระท�ำได้ พื้นที่ห้วงอวกำศ ถื อ เป็ น ทรั พ ยำกรทำงธรรมชำติ ที่ มี ค วำมส� ำ คั ญ เป็นอย่ำงยิ่ง ซึ่งจะต้องได้รับกำรปกป้องดูแล เช่น วงโคจร คลื่นควำมถี่ ดำวเทียม พลังงำน รวมถึง ควำมปลอดภัยและควำมมั่นคงในอวกำศด้ำนอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อควำมมั่นคงของประเทศ กองทั พ อำกำศมี ค วำมจ� ำ เป็ น ต้ อ งพั ฒ นำ ขีดควำมสำมำรถกำรปฏิบัติกำรทำงอวกำศ เพื่อให้ ตอบรั บ กั บ สถำนกำรณ์ ภั ย คุ ก คำม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ง ให้สอดคล้องกับเป้ำหมำยในกำรพัฒนำกิจกำรอวกำศ

ของประเทศ และของกระทรวงกลำโหม ยุทธศำสตร์ กองทั พ อำกำศ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ได้ก�ำหนดให้มิติอวกำศ (Space Domain) เป็นหนึ่ง ในมิ ติ ห ลั ก ที่ ก องทั พ อำกำศให้ ค วำมส� ำ คั ญ ในกำร พั ฒ นำศั ก ยภำพ นอกเหนื อ จำก มิ ติ ท ำงอำกำศ (Air Domain) และมิติไซเบอร์ (Cyber Domain) ส�ำหรับกำรปฏิบตั กิ ำรทำงอวกำศ มีวตั ถุประสงค์หลัก เพือ่ ตอบสนองงำนควำมมัน่ คงของชำติได้ในทุก ๆ มิติ ของกำรปฏิบัติกำร คือ


44

๑. การสนั บ สนุ น ด้ า นความมั่ น คงของชาติ ในภาพรวม ได้แก่ การสร้างความมั่นคงของชาติ ศาสนา การปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยที่ มี พระมหากษั ต ริ ย ์ เ ป็ น ประมุ ข สร้ า งศั ก ยภาพ การป้ อ งกั น ประเทศ และการรั ก ษาความมั่ น คง ของฐานทรัพยากร ๒. การสนับสนุนการปฏิบัติการร่วม เป็นการ ใช้ ขี ด ความสามารถการปฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศ เพื่อสนับสนุนกองทัพไทย และเหล่าทัพอื่น โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถ การปฏิบตั กิ ารร่วมในภาพรวมของประเทศ ให้ครอบคลุม ในทุกมิติของการปฏิบัติการทางทหาร ทั้ง ทางบก ทางทะเล ทางอากาศ และทางอวกาศ ๓. การสนับสนุนก�ำลังทางอากาศ เป็นการใช้ ขี ด ความสามารถการปฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศเพื่ อ สนับสนุนการปฏิบัติการกองทัพอากาศโดยตรงทั้ง ภารกิจปฏิบตั กิ ารรบ และการปฏิบตั กิ ารทีม่ ใิ ช่การรบ

กองทั พ อากาศได้ ก� ำ หนดขอบเขตภารกิ จ การปฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศของกองทั พ อากาศ ออกเป็น ๒ ส่วนหลัก คือ • การปฏิบตั กิ ารทางอวกาศเชิงรับ (Defensive Space) ซึ่งประกอบไปด้วย ภารกิจการเฝ้าระวัง ทางอวกาศ (Space Situational Awareness Mission) ภารกิ จ การเสริ ม ขี ด ความสามารถ ทางอวกาศ (Space Force Enhancement Mission)


ข่าวทหารอากาศ

และภารกิ จ การสนั บ สนุ น ทางอวกาศ (Space Support Mission) • การปฏิบัติการทางอวกาศเชิงรุก (Offensive Space) ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ย ภารกิ จ การควบคุ ม ทางอวกาศ (Space Control Mission) และภารกิจ การประยุ ก ต์ ก� ำ ลั ง ทางอวกาศ (Space Force Application Mission) ทั้งนี้ ในระยะเริ่มต้น กองทัพอากาศมุ่งเน้น พัฒนาขีดความสามารถการปฏิบัติการทางอวกาศ เชิงรับ (Defensive Space) เป็นล�ำดับแรก ได้แก่ การเฝ้ า ระวั ง ทางอวกาศ (Space Situational Awareness) การข่าวกรองการเฝ้าตรวจ และการ ลาดตระเวนทางอวกาศ (Space Intelligence Surveillance and Reconnaissance) และการ สื่ อ สารและโทรคมนาคมทางอวกาศ (Space Communication) ส่วนการพัฒนากิจการอวกาศ ด้ า นอื่ น ๆ ตามขอบเขตภารกิ จ การปฏิ บั ติ ก าร ทางอวกาศกองทั พ อากาศจะด� ำ เนิ น การพั ฒ นา ขีดความสามารถในทุก ๆ ด้านอย่างต่อเนือ่ งตามแผน การพั ฒ นากิ จ การอวกาศของกองทั พ อากาศ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ในปี ง บประมาณ ๒๕๖๒ กองทั พ อากาศ ได้ จั ด ตั้ ง หน่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบการปฏิ บั ติ ก าร ทางอวกาศ คือศูนย์ปฏิบัติการทางอวกาศกองทัพ อากาศ เป็นอัตราเพื่อพลาง ตามค�ำสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ลับ ที่ ๔/๖๒ เพื่อทดลองการปฏิบัติงาน ตั้ ง แต่ ๑ กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.๒๕๖๒ และมี ค� ำ สั่ ง กองทัพอากาศ (เฉพาะ) ลับ ที่ ๓๒/๖๒ ให้เจ้าหน้าที่ ปฏิ บั ติ ร าชการในอั ต ราเพื่ อ พลางดั ง กล่ า ว โดยมี ข้าราชการบรรจุ ดังนี้ ๑. พลอากาศตรี สุพิจจารณ ธรรมวาทะเสรี ผู ้ บั ญ ชาการศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศ กองทัพอากาศ ๒. นาวาอากาศเอก ฐากูร เกิดแกว รองผู้บัญชาการศูนย์ปฏิบัติการทางอวกาศ กองทัพอากาศ

45


46

๓. นาวาอากาศเอก ศุภกร จิตตรีขันธ เสนาธิ ก าร ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศ กองทัพอากาศ ๔. นาวาอากาศเอก รัชตภาคย ธรรมธีรศรี ผู้อ�ำนวยการกอง กองปฏิบัติการทางอวกาศ ศูนย์ปฏิบัติการทางอวกาศ กองทัพอากาศ ๕. นาวาอากาศเอก รณชิต วิจิตร ผู้อ�ำนวยการกอง กองเฝ้าระวังทางอวกาศ ศูนย์ปฏิบัติการทางอวกาศ กองทัพอากาศ ๖. นาวาอากาศเอก พนม อินทรัศมี ผู้อ�ำนวยการกอง กองลาดตระเวน และเฝ้า ตรวจทางอวกาศ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารทางอวกาศ กองทัพอากาศ และได้ มี ค� ำ สั่ ง กองทั พ อากาศ (เฉพาะ) ลั บ ที่ ๖๖/๖๒ ให้เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั ริ าชการในอัตราเพือ่ พลาง ดั ง กล่ า วเพิ่ ม เติ ม อี ก จ� ำ นวน ๓๓ คน ทดลอง การปฏิบัติงาน และวางรากฐานงานการปฏิบัติการ ทางอวกาศของกองทัพอากาศ ในการนี้ พล.อ.อ.ชัยพฤกษ์ ดิษยศริน ผูบ้ ญั ชาการทหารอากาศในขณะนัน้ ได้กระท�ำ พิ ธี เ ปิ ด ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศกองทั พ อากาศ

เมื่อ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ก่อนที่ศูนย์ปฏิบัติการ ทางอวกาศกองทัพอากาศ จะปรับเปลีย่ นเป็นอัตราปกติ เมื่ อ ๑ ตุ ล าคม พ.ศ.๒๕๖๒ ที่ ผ ่ า นมา โดยเป็ น ส่ ว นราชการขึ้ น ตรงกองทั พ อากาศ (จั ด เป็ น ส่ ว น ก�ำลังรบ) มีหน้าที่ วางแผน เตรียมการ ประสานงาน ควบคุม ก�ำกับการ พัฒนา และด�ำเนินการเกี่ยวกับ การปฏิบัติการทางอวกาศของกองทัพอากาศ อีกทั้ง มีหน้าที่ด�ำเนินการรวบรวมองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง กับกิจการอวกาศ รวมทัง้ การวิจยั และพัฒนาก�ำลังรบ ทางอวกาศ


ข่าวทหารอากาศ

จากการทีศ่ นู ย์ปฏิบตั กิ ารทางอวกาศกองทัพอากาศ มีภารกิจดังที่กล่าวมา จึงได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “เป็นหน่วยงานหลักในการเฝ้าระวัง ปกป้อง และรั ก ษาความมั่ น คงทางอวกาศ ตลอดจน เสริมสร้างความเป็นเลิศด้านองค์ความรู้เกี่ยวกับ การปฏิบัติการทางอวกาศของกองทัพอากาศ” ในอนาคต ศูนย์ปฏิบตั กิ ารทางอวกาศกองทัพอากาศ ต้องสามารถปฏิบตั กิ ารทางอวกาศบนพืน้ ฐานของการ พึ่งพาตัวเองได้ นอกจากนี้ ยังต้องมุ่งเน้นการพัฒนา และเสริมสร้างขีดความสามารถบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ าน ด้ า นอวกาศในศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศกองทั พ อากาศ เพือ่ ท�ำหน้าทีป่ ฏิบตั งิ านกับระบบหรืออุปกรณ์ ทางอวกาศ รวมทัง้ การบริหารจัดการขีดความสามารถ การปฏิ บั ติ ก ารทางอวกาศของกองทั พ อากาศที่ มี ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด เพื่ อ ให้ ป ระเทศสามารถ ใช้ประโยชน์จากห้วงอวกาศในกิจการด้านความมัน่ คง เพือ่ ปกป้องผลประโยชน์แห่งชาติ ทัง้ ในระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ และยุทธวิธี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

47


48

อากาศยานโจมตี น.อ.หญิง ชมพูนุท พูลสนอง (สพ.ทอ.)

Predator C Avenger Unmanned Aircraft System (UAS)

MQ-9B Sky Guardian Military DRONE

อำกำศยำนไร้คนขับ หรือยูเอวี (UAV : Unmanned Air Vehicles) หมำยถึง อำกำศยำนทีบ่ นิ ได้โดยไม่ตอ้ ง ใช้นกั บินมีขนำดรูปร่ำงและรูปแบบต่ำง ๆ เป็นอำกำศยำน ที่ควบคุมจำกระยะไกลด้วยคลื่นวิทยุ หรือใช้ระบบ กำรบินอัตโนมัติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้ง ไว้ในอำกำศยำน เรียกอีกอย่ำงหนึง่ ว่ำ โดรน (Drone) โดยทั่วไปจะติดตั้งกล้องถ่ำยภำพในเวลำกลำงวัน (Electro Optical) และกล้องอินฟรำเรดซึ่งสำมำรถ บั น ทึ ก และส่ ง ภำพมำยั ง จอภำพที่ ส ถำนี ภ ำคพื้ น ในเวลำจริงน�ำมำใช้งำนในด้ำนต่ำง ๆ ทัง้ ทำงพลเรือน และทำงทหำร เช่น กำรขนส่ง กำรวิจยั กำรลำดตระเวน กำรค้นหำเป้ำหมำย และกำรโจมตี เนือ่ งจำกกำรพัฒนำ เทคโนโลยี ด ้ ำ นคอมพิ ว เตอร์ เ ซ็ น เซอร์ วั ส ดุ ผ สม เป็นไปอย่ำงรวดเร็ว ท�ำให้ประเทศต่ำง ๆ วิจยั และพัฒนำ UAV มำกกว่ำ ๖๐ ประเทศ และบำงประเทศสำมำรถ ผลิต UAV แบบติดอำวุธเพื่อใช้ในกำรโจมตี หรือ UCAV (Unmanned Combat Air Vehicles) ที่มี ขนำดเล็ก ตรวจจับได้ยำก รำคำไม่แพง และใช้ได้ หลำยภำรกิจข้อมูลทำงเทคนิคดังตำรำง


ข าวทหารอากาศ

No

UCAV

1.

5. 6.

Predator C Avenger Heron TP MQ-9BSky Guardian MQ-9 Reaper (Predator B) CH-5 YabhonUnited

7.

40 MQ-1 C Gray

2. 3. 4.

Tecnhical Data at 10 Combat Drones Wing Max Max Length Max Payload Span Endurance Altitude (m) Weight (kg) (m) (h) (ft)

49

Country

20

13

2,948

18

50,000

USA

26 24

14 11.7

2,700 2,177

>30 40

>45,000 >40,000

Israel USA

20

11

1,729

27

50,000

USA

21 20

11.2 11

1,000 1,000

60 120

29,528 23,000

China UnitedArab

25

Eagle 8. Wing Loong II 20.5 9. MQ-5B 10.5 Hunter 10. TAI Anka 17.3

9

488

25

29,000

Emirates USA

11 6.9

480 227

20 21

30,000 20,000

China USA

8

200

24

30,000

Turkey

A satellite antenna, electro-optical/infrared and ocean color sensors (front) were among payloads installed on the Altair for the NOAA-NASA flight demonstration

Heron TP UAV Spike anti-tank missile


50

กลยุทธ์การใช้อากาศยานโจมตีไร้คนขับในการ ต่อสูช้ ว่ ยลดความเสีย่ งอันตราย การสูญเสียนักบินและ งบประมาณซึ่งในบทความนี้จะกล่าวถึง อากาศยาน โจมตีไร้คนขับทีใ่ ช้ในประเทศสหรัฐอเมริกา อิสราเอล และสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้แก่ MQ–1C Gray Eagle หรือนกอินทรีสีเทา เป็นอากาศยานไร้คนขับระดับความสูงปานกลาง ใช้สำ� หรับการลาดตระเวน การเฝ้าระวัง และการโจมตี เป้าหมาย พัฒนาโดย GA-ASI (General Atomics Aeronautical System) ใช้ในกองทัพบกสหรัฐอเมริกา สามารถติดตัง้ อุปกรณ์ EO/IR Sensors, SAR (Synthetic Aperture Radar) อุปกรณ์สญ ั ญาณสือ่ สาร และอาวุธ น�ำวิถีเฮลไฟร์ (AGM–114 Hellfire) จ�ำนวน ๔ นัด ขับเคลือ่ นด้วยเครือ่ งยนต์ Thielert 165HP มีระบบ วิ่ ง ขึ้ น และลงจอดอั ต โนมั ติ (ATLS) สื่ อ สารผ่ า น ดาวเทียม Common Data Link (CDL) Line of Sight (LOS) และการส่งผ่านข้อมูลทางอากาศควบคุม โดยสถานีภาคพื้นดิน ซึ่งสามารถขนส่งโดยเครื่องบิน C-130 การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ทหารใช้เครื่องฝึกบิน จ�ำลอง MQ-1C (Training Simulator) ปฏิบัติการ โดยเจ้าหน้าที่ ๓ คน คือ นักวิเคราะห์ภาพ นักบิน และผูบ้ งั คับการต่าง ๆ ซึง่ ฝึกการใช้คำ� สัง่ ของ MQ-1C เสมือนในสภาพแวดล้อมการต่อสู้ นักบินจะรับผิดชอบ ในการบินและระบบอาวุธ การบินขึ้นและลงจอด สะดวกเพี ย งกดปุ ่ ม นั ก บิ น ต้ อ งตั้ ง ค่ า แผนที่

ที่จุดบนจอภาพหรือเส้นทางการบิน และแจ้งยูเอวี ให้ ติ ด ตามจุ ด บนแผนที่ แ ละฝึ ก การยิ ง เป้ า หมาย นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์อาปาเช่ AH-64E ได้ใช้ เทคโนโลยี MUM-T เพื่อให้นักบินสามารถควบคุม การใช้เซ็นเซอร์และอาวุธของ MQ-1C จากระยะไกล ได้ไม่เกิน ๗๐ ไมล์

MQ–1C Gray Eagle หรือนกอินทรีสีเทา

UAV Simulator

Sensor Payload


ข่าวทหารอากาศ

MQ-5B Hunter UAV

MQ 5BHunter เป็นอากาศยานไร้คนขับแบบยุทธวิธี สามารถ ลาดตระเวนเฝ้าตรวจ และครอบครองเป้ า หมาย (RSTA) ออกแบบและพัฒนาโดย Northrop Grumman ตามมาตรฐานทีก่ ำ� หนด โดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ใช้ในกองทัพสหรัฐฯ ท�ำด้วยวัสดุคอมโพสิตสามารถ บรรทุกอุปกรณ์ส่งสัญญาณหลายชนิด เช่น EO/IR Sensors, SAR Communication relay sensors และ Viper Strike laser-guided munition จ�ำนวน ๒ นัด ใช้ระบบน�ำทาง LN-251 และ GPS ขับเคลื่อน ด้วยเครื่องยนต์ ๒ เครื่องยนต์ มีระบบวิ่งขึ้นและ ลงจอดอัตโนมัติ (ATOL) สามารถถ่ายทอดการสือ่ สาร กั บ อากาศยานอื่ น ในพื้ น ที่ เช่ น เฮลิ ค อปเตอร์ อาปาเช่ ยูเอวี (AAI’s Shadow) และกองก�ำลัง ภาคพืน้ ระบบยูเอวีฮนั เตอร์ใช้สถานีควบคุมภาคพืน้ ดิน “One System” ของกองทัพสหรัฐและสถานีวิดีโอ ระยะไกล

A dissembled Predator loaded into a "coffin" for transport

Predator UAV remote pilot station

51


52

MQ-9 Reaper (Predator B) เป็นอากาศยานไร้คนขับระยะไกลเพดานบินสูง พั ฒ นาโดย GA-ASI ออกแบบให้ ส อดคล้ อ งกั บ มาตรฐานนาโต้ (STANAG 4671 Nato standards) ใช้ ง านในกองทั พ อากาศสหรั ฐ ฯ องค์ ก ารนาซ่ า กองทัพอากาศอิตาลี ฝรั่งเศส และสเปน สามารถ ปฏิ บั ติ ก ารได้ ห ลายรู ป แบบ เช่ น การตรวจตรา การลาดตระเวน สอดแนม และการโจมตีด้วยอาวุธ น�ำวิถจี ากอากาศสูภ่ าคพืน้ ดิน และจากอากาศสูอ่ ากาศ และการทิง้ ระเบิดน�ำวิถดี ว้ ยเลเซอร์ มีจดุ ติดตัง้ Pylon จ�ำนวน ๖ ต�ำแหน่ง บริเวณปีกด้านละ ๓ ต�ำแหน่ง สามารถบรรทุกอุปกรณ์ได้หลายภารกิจ เช่น ระบบ EO/IR, Lynx multi-mode radar เรดาร์ตรวจการณ์ ทางทะเล ESM, SAR, Laser designators และบรรทุก อาวุธหลายชนิด ได้แก่ อาวุธน�ำวิถี AGM-114 Hellfire ลูกระเบิดน�ำวิถีด้วยเลเซอร์ GBU-12 Paveway II bombs และ GBU-JDAM kit ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย เครื่องยนต์เทอร์โบ Honeywell TPE 331-10 UAV Predator เป็นอากาศยานปีกชั้นเดียว อยูก่ ลางล�ำตัว โครงสร้างล�ำตัวผลิตจากคาร์บอน/ใยแก้ว และอลูมิเนียม ใช้ส�ำหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ และ บรรทุกเชื้อเพลิง ส่วนหางเป็นรูปตัววีคว�่ำ แต่ละล�ำ สามารถถอดแยกชิ้นส่วนเพื่อขนส่งเป็น ๖ ส่วน คือ ล�ำตัวปีกส่วนหาง ล้อระบบขับเคลื่อน และน�้ำหนัก

บรรทุก (Two payload/avionics bays) โดยบรรทุก ใส่กล่องทีเ่ รียกว่า “Coffin” สถานีควบคุมภาคพืน้ ดิน (Ground Control Station) ออกแบบให้ขนส่งและ เคลื่อนย้ายได้โดยเครื่องบิน C-130 ส�ำหรับ Predator B รุน่ Altair ออกแบบส�ำหรับ องค์การนาซ่า มีปกี กว้าง ๒๖ เมตร และปรับปรุงระบบ Avionics เพื่อปฏิบัติภารกิจทางวิทยาศาสตร์ และ การวิจัยบรรยากาศ Heron TP Heron TP รูจ้ กั กันในนาม Eitan เป็นอากาศยาน ไร้คนขับระดับปานกลาง (Medium Altitude Long Endurance UAV) ออกแบบและพัฒนาโดย IAI (Israel Aerospace Industries) ใช้งานในกองทัพอิสราเอล ใช้ได้ทุกสภาพอากาศ น�ำทางด้วย GPS และโปรไฟล์ การบินที่ตั้งโปรแกรมไว้ล่วงหน้า สามารถบรรทุก เซ็นเซอร์หลายชนิด เช่น EO/IR, SAR, EW laser, designator, GMTI (ติดตามเป้าหมายภาคพื้นดิน ที่เคลื่อนที่) เรดาร์เอนกประสงค์ และบรรทุกอาวุธ น�ำวิถีต่อสู้รถถัง (Rafael Spike anti-tank missiles) หรืออาวุธอื่น ๆ ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ Pratt และ Whitney PT-6A มีระบบวิ่งขึ้นและลงจอดอัตโนมัติ (ATOL) Wing Long II ออกแบบและพัฒนาโดยบริษทั อุตสาหกรรมการบิน

Wing Long II UAV


ข่าวทหารอากาศ

53

China’s CH-5 UAV Conducts Live-fire Trial With New Precision Weapon

ของจีน (AVIC) ใช้สำ� หรับการเฝ้าระวัง การลาดตระเวน และการโจมตีทางอากาศ สามารถบรรทุกอาวุธน�ำวิถี หรือลูกระเบิดน�ำวิถีด้วยเลเซอร์ จ�ำนวน ๑๒ ลูก เพื่อโจมตีเป้าหมายทางอากาศหรือภาคพื้นดิน เช่น ลูกระเบิดขนาด 50 kg. FT–9/50 ขนาด 250 kg.GB-3 และ TL–10 missiles เสาอากาศสือ่ สารผ่านดาวเทียม ติดตั้งอยู่ที่ส่วนนูนผิวด้านบนของล�ำตัว ช่วยในการ รับ-ส่งข้อมูลระหว่าง UAV และสถานีควบคุมภาคพืน้ ดิน ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์เทอร์โบชาร์จ 100 hp CH–5 ออกแบบและพั ฒ นาโดย CASC (China Aerospace Science and Technology Corporation) รู้จักกันในนาม Rainbow UAV ซึ่งคล้ายคลึงกับ MQ-9 Reaper สามารถปฏิบัติภารกิจการเฝ้าระวัง อ้างอิง - http://en.wikipedia.org - www.army-technology.com - www.airforce-technology.com - www.defense-update.com - www.ga-asi.com - www.neutron.mutphysics.com

การลาดตระเวน และชี้เป้าหมาย แต่ละปีกสามารถ ติดตั้งอาวุธน�ำวิถีต่อต้านยานเกราะ (quad pack of AR-2 SAL) และ two twin packs of AR-1 SAL missiles ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์เดียว 330 hp ปั จ จุ บั น การใช้ ง านอากาศยานไร้ ค นขั บ เป็ น ที่ ต ้ อ งการอย่ า งมาก และบางรุ ่ น ได้ พั ฒ นา โครงสร้างยูเอวีเป็นแบบ Stealth ปรับปรุงระบบ เซ็ น เซอร์ ภ าพเคลื่ อ นไหวที่ มี ค วามละเอี ย ดสู ง การเชือ่ มต่อข้อมูลทีป่ ลอดภัย รวมทัง้ บูรณาการอาวุธ เข้ากับอากาศยานไร้คนขับ การบ�ำรุงรักษาเอกสาร และการฝึกอบรมทีเ่ กีย่ วข้องอากาศยานโจมตีไร้คนขับ จึ ง เป็ น ยุ ท ธศาสตร์ ก ารป้ อ งกั น ประเทศด้ า นหนึ่ ง นับเป็นยุทโธปกรณ์ที่จ�ำเป็นต่อกองทัพในอนาคต


54

มุมท องเที่ยว

กันตา

สวัสดีทำ่ นผูอ้ ำ่ นทุกท่ำน ผูเ้ ขียนหำยหน้ำหำยตำ จำกกำรเขียนมุมท่องเที่ยวไปเสียนำน วันนี้ ได้โอกำส กลับมำหำท่ำนผูอ้ ำ่ น กับสถำนทีท่ อ่ งเทีย่ วทีพ่ งึ่ จะได้รบั ควำมนิยมมำเมื่อไม่นำนนี้ อย่ำคิดว่ำผู้เขียนสะกดผิด “สามร้อยรอด” คือ ชือ่ เดิมของสถำนทีท่ อ่ งเทีย่ วแห่งนี้ นัน่ คือ “อ�าเภอ สามร้อยยอด” จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ นั่นเอง แต่เดิมที่เรียกว่ำ สำมร้อยรอดนั้น เนื่องจำก มี ต� ำ นำนเล่ ำ ว่ ำ เมื่ อ ครั้ ง ก่ อ นเคยมี เ รื อ ส� ำ เภำจี น ล่องเรือมำจำกทำงเหนือ เพื่อจะน�ำสินค้ำไปขำย ยังหัวเมืองปักษ์ใต้ผ่ำนย่ำนนี้ ปรำกฏว่ำมีพำยุลมแรง กระหน�่ำเรือส�ำเภำอย่ำงหนัก ท�ำให้ลูกเรือที่อำศัยมำ กับเรือส�ำเภำดังกล่ำว แตกกระสำนซ่ำนเซ็นกันไป คนละทิศละทำง ดูแล้วว่ำจะหำทำงรอดชีวิตได้ยำก แต่ปรำกฏว่ำ ทุกชีวิตนั้นสำมำรถรอดตำยมำได้อย่ำง น่ำอัศจรรย์ ท�ำให้เรียกแนวเทือกเขำที่ทอดตัวยำว ริ ม ชำยฝั ่ ง อ่ ำ วไทยในย่ ำ นนี้ ว ่ ำ “สามร้ อ ยรอด” ตำมต�ำนำนที่เกิดขึ้น ต่อมำ เวลำผ่ำนไปจึงออกเสียง เพี้ยนเป็น “สามร้อยยอด” อุทยำนแห่งชำติเขำสำมร้อยยอด ตั้งอยู่อ�ำเภอ กุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้รับกำรประกำศ


ข่าวทหารอากาศ

ให้เป็นอุทยานแห่งชาติล�ำดับที่ ๔ ของประเทศไทย และเป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเลแห่งแรกในเมืองไทย ในปี พ.ศ.๒๕๐๙ สามร้อยยอดอยูไ่ ม่หา่ งจากกรุงเทพฯ มากนัก หากโดยสารรถยนต์ใช้เวลาประมาณ ๓ ชัว่ โมง โดยมี สถานที่ท ่องเที่ยวทางธรรมชาติห ลากหลาย วันนี้ ผู้เขียนจะพาทุกท่านไปในสถานที่แรกนั่นคือ ถ�้ำพระยานคร ถ�ำ้ พระยานคร ตัง้ อยูไ่ ม่ไกลจากหาดแหลมศาลา แต่ต้องใช้ความระมัดระวังในการเดิน เพราะเส้นทาง ทีต่ อ้ งไต่เขาสูงชันขึน้ ไปถึงปากถ�ำ้ จากนัน้ จึงจะมีทาง ลงไปยังโถงถ�ำ้ ใหญ่ แต่ความสวยงามทีอ่ ยูต่ รงหน้านัน้ อาจสะกดคุณให้ลืมความเหนื่อยไปเลยภายในถ�้ำ นอกจากจะมีความงดงามของหินงอก หินย้อยแล้ว ตามประวัติเล่าว่าในสมัยรัชกาลที่ ๑ เจ้าพระยานคร ผู ้ ค รองเมื องนครศรีธรรมราชได้แล่นเรือ ผ่ า นทาง เขาสามร้อยยอด และเกิดพายุใหญ่ไม่สามารถเดินทาง ต่อไปได้ จึงจอดพักเรือหลบพายุที่ชายหาดแห่งนี ้ เป็ น เวลาหลายวั น และได้ ส ร้ า งบ่ อ น�้ ำ เพื่ อ ใช้ ดื่ ม ถ�ำ้ พระยานคร เป็นถ�ำ้ ขนาดใหญ่ บนเพดานถ�ำ้ มีปล่อง ให้ แ สงสว่ า งลอดเข้ า มาได้ จุ ด เด่ น ของถ�้ ำ แห่ ง นี ้ คือ พระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ เป็นพลับพลาแบบจตุรมุข

55

สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๕ คราวเสด็จประพาสเมื่อวันที่ ๒๐ มิ ถุ น ายน พ.ศ.๒๔๓๓ เป็ น ฝี พ ระหั ต ถ์ ข อง พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าขจรจรัสวงศ์ ทรงสร้างขึ้น ในกรุงเทพฯ แล้วส่งมาประกอบทีหลังโดยให้พระยา ชลยุทธโยธินเป็นนายงานก่อสร้าง พระบาทสมเด็จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั วเสด็ จมายกช่ อ ฟ้ า ด้ ว ย พระองค์เอง ทีก่ ำ� แพงหินด้านขวามีพระปรมาภิไธยย่อ ในรัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๗ เป็นตัวหนังสือใหญ่ สีขาวสะดุดตา พระที่นั่งคูหาคฤหาสน์นับเป็นจุดเด่น ของถ�้ ำ พระยานคร และเป็ น ตราประจ� ำ จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ในปัจจุบัน


56

หากคุณชอบการเดินเท้า เราขอแนะน�ำให้คุณ เดินเท้าจากหาดบางปูไปสู่หาดแหลมศาลา เส้นทาง เรี ย กเหงื่ อ ของคนที่ อ ยากไปเห็ น ถ�้ ำ พระยานคร ไฮไลค์ของทีน่ กี่ ค็ อื จุดชมวิวมุมสูง ทีค่ ณ ุ สามารมองเห็น วิวของหาดบางปูได้ไกลสุดลูกตา เมื่อหันมาอีกฝั่ง ก็พบกับวิวหาดแหลมศาลา ทีม่ ชี ายหาดสีขาวทอดยาว ไปพร้อม ๆ กับทิวสน มีเรือโดยสารพื้นบ้านจอดอยู่ ริมหาด มองจากจุดนี้ เหมือนเราก�ำลังเห็นเมืองของเล่น ก่อนทีจ่ ะพาไปเทีย่ วในสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�ำหรับ สายชิลล์ ขอพาทุกท่านไปพบกับอีกสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว หนึง่ ในสามร้อยยอดทีน่ า่ จถูกใจสายลุยนัน่ คือ จุดชมวิว เขาแดง ตั้งอยู่บ้านเขาแดง บนยอดเขาแดง เป็นภูเขา หินปูนที่มียอดสลับซับซ้อน เป็นจุดชมวิวที่สามารถ มองเห็นทิวทัศน์ของ อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด ได้รอบด้าน โดยเฉพาะวิวพระอาทิตย์ขนึ้ ทีม่ คี วามสวยงาม แห่งหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เวลาที่เหมาะ แก่การขึ้นชมวิวคือ ๐๕.๓๐ - ๐๗.๐๐ น. เนื่องจาก


ข่าวทหารอากาศ

สามารถชมพระอาทิตย์ขนึ้ และทัศนียภาพโดยรอบ ๆ ได้อย่างสวยงาม ไม่ว่าจะเป็นวิวเขาสามร้อยยอด ชายหาดสามพระยา บ้านเรือนต่าง ๆ เชิงเขาแดง มีศูนย์บริการนักท่องเที่ยว การเดินทาง ต้องเดินเท้า จากทีท่ ำ� การอุทยานฯ ประมาณ ๕๐๐ เมตร หรือขับรถ ไปหมู่บ้านเขาแดงจะมีทางแยกด้านซ้ายมือ จอดรถ แล้วเดินเท้าขึน้ เขาไปอีกประมาณ ๗๒๕ เมตร ใช้เวลา ประมาณ ๑ ชั่วโมง นอกจากจะได้เห็นพระอาทิตย์ ทีค่ อ่ ย ๆ โผล่ขนึ้ มาจากท้องทะเลอ่าวไทยแล้ว จากจุด ชมวิวเขาแดง คุณจะสามารถมองเห็นทิวทัศน์ของ ต�ำบลเขาแดง ไม่ว่าจะเป็นชายหาดที่ยาวสุดลูกตา บ้ า นเรื อ น ชุ ม ชน ถนนหนทาง และบ่ อ เลี้ ย งกุ ้ ง สองทีแ่ รกว่าเหนือ่ ยแล้ว ทีน่ เี้ ราต้องขึน้ ไปจนถึงยอดเขา ซึง่ ทางนัน้ ค่อนข้างจะชันมาก นักท่องเทีย่ วควรเตรียม รองเท้าและร่างกายไปให้พร้อม ที่ส�ำคัญถ้าขึ้นไป ช่วงกลางวันต้องเตรียมอุปกรณ์กันแสงแดดไปด้วย แต่รับรองได้ว่าขึ้นไปหายเหนื่อยแน่นอนอีกสถานที่ หนึ่งค่ะ

57


58

เขาสามร้อยยอด ถือว่าเป็นอุทยานแห่งชาติที่มี ความหลากหลายของสภาพทางภูมศิ าสตร์ เพราะมีทงั้ พื้นที่ที่เป็นทะเล หาดทราย ป่าเขาหินปูน ป่าชายเลน ป่าพรุนำ�้ จืด ทุ่งหญ้า และพืน้ ที่ชมุ่ น�ำ้ หลากธรรมชาติ แบบนี้ จึงท�ำให้ เขาสามร้อยยอด เป็นแหล่งรวม สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วอั น หลากหลาย เลื อ กได้ ต าม ความพิ ศ มั ย ไม่ ว ่ า จะเป็ น นอนผึ่ ง แดดริ ม หาด พายเรื อ คายั ก ท่ อ งป่ า ชายเลน ขึ้ น เขาชม พระอาทิ ต ย์ ขึ้ น ยื น ริ ม บึ ง ชมนาบั ว และบึ ง บั ว เป็ น จุ ด เด่ น ในเขาสามร้ อ ยยอด ที่ เ ราอยากให้ ลองไปสั ม ผั ส ที่ สุ ด บึ ง บั ว แห่ ง ทุ ่ ง สามร้ อ ยยอด

เรียงสลับซับซ้อนทับลอนทอด ดั่งปราการด่านทะเลว้าเหว่มา ยามแสงทองส่องทอหยอกล้อเห็น เทาอมฟ้าท้าเหลืองเรืองร�ำไร บังปกป้องท้องทุ่งรุ่งรังสรรค์ ล้วนอ้อแขมแซมกกขึ้นรกตา

มีบัวสายพันธุ์ต่าง ๆ ขึ้นอยู่ในพื้นที่กว่า ๕๐๐ ไร่ ไม่ว่าจะเป็นบัวหลวง บัวเผื่อน บัวผัน บัวสาย รวมถึง พื ช น�้ ำ นานาพั น ธุ ์ อย่ า ง กก อ้ อ ธู ป ฤาษี ถ้ า ไป จังหวะเหมาะ น่าจะช่วงปลายฤดูหนาว จะได้เห็นภาพ บั ว บานสะพรั่ ง ผลิ ด อกพร้ อ มกั น ละลานเต็ ม บึ ง เกิดเป็นทัศนียภาพอันสวยสดงดงามอย่างมาก สามร้ อ ยยอดเป็ น อี ก สถานที่ ห นึ่ ง ที่ ห ากท่ า น ผูอ้ า่ นมีเวลาควรหาโอกาสมาเทีย่ วสักครัง้ เพราะนอกจาก จะได้สัมผัสทัศนียภาพของธรรมชาติที่หลากหลาย รูปแบบแล้ว ยังเป็นสถานที่ส�ำคัญเชิงประวัติศาสตร์ ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์อีกด้วย สามร้อยยอดยืนทะมึนยื่นเหลี่ยมผา สูงค�้ำฟ้าคร่อมฝั่งสะพรั่งไพร เขาสูงเด่นดูตระหง่านทุกด้านไหน หินปูนไล้เลื่อมแดดเผาแผดทา มีน�้ำขังอยู่ค้างแอ่งกว้างหนา สลับหญ้าทุกย่านยามผ่านมอง


ข าวทหารอากาศ

RED

59

EAGLE

อินทรีแดง แผลงฤทธิ์ การป ดล อมตรวจค น ยุทธวิธีเพื่อป องกัน และปราบปรามการก อความไม สงบ ในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต

การปิดล้อมตรวจค้น เป็นยุทธวิธสี ำ� คัญทีถ่ กู น�ำมำ ใช้ในพื้นที่ ๓ จังหวัดชำยแดนภำคใต้ เพื่อติดตำม จับกุมผู้ก่อเหตุรุนแรง โดยเป็นกำรปฏิบัติภำยใต้ กฎหมำยพิเศษเพื่อให้อ�ำนำจเจ้ำหน้ำที่รัฐ “เปนกรณี พิ เ ศษ” ในกำรล่ ว งล�้ ำ สิ ท ธิ ข อง “ปั จ เจกบุ ค คล” มำกกว่ำปกติ ด้วยหวังรักษำสิทธิและควำมปลอดภัยของ “สาธารณะ” ฉะนัน้ ประชำชนจึงควรเรียนรูแ้ ละเข้ำใจ กฎหมำยพิเศษ ตลอดจนประกำศ ระเบียบ ค�ำสัง่ ต่ำง ๆ เพือ่ ป้องกันกำรใช้อำ� นำจโดยมิชอบหรือเกินกว่ำกฎหมำย ก� ำ หนดของเจ้ ำ หน้ ำ ที่ รั ฐ บำงรำย ซึ่ ง นอกจำกนี้ เจ้ ำ หน้ ำ ที่ ท หำรต� ำ รวจยั ง ใช้ ยุ ท ธวิ ธี ก ำรปิ ด ล้ อ ม ตรวจค้นในกำรจับกุมผู้กระท�ำควำมผิดอื่น ๆ ได้แก่

น.ต.ภฤศพงศ ช้อนแก้ว

กำรค้ ำ ยำเสพติ ด กำรค้ ำ ไม้ เ ถื่ อ น กำรลั ก ลอบ ค้ำน�้ำมันเถื่อน ฯลฯ ซึ่งจะเป็นยุทธวิธีเดียวกันกับ กำรปฏิ บั ติ ง ำนของเจ้ ำ หน้ ำ ที่ ต� ำ รวจที่ เ ข้ ำ จั บ กุ ม ผู้กระท�ำควำมผิดต่ำง ๆ ในพื้นที่อื่นนอก ๓ จังหวัด ชำยแดนภำคใต้ กำรปฏิบตั กิ ำรทหำรในตะวันออกกลำง ของสหรัฐอเมริกำถือว่ำมีควำมจ�ำเป็นมำกที่ต้องใช้ มำตรกำรกำรปิดล้อมตรวจค้น โดยรูปแบบกำรปฏิบตั ิ นั้ น เป็ น กำรปิ ด ล้ อ มพื้ น ที่ ตั้ ง จุ ด สกั ด กั้ น ท� ำ กำร ลำดตระเวนทั้งทำงอำกำศ และทำงบก พร้อมทั้ง ปฏิบัติกำรทำงจิตวิทยำ เพื่อให้ประชำชนในพื้นที่ ให้ควำมร่วมมือและให้เบำะแสของผู้ก่อเหตุ ส�ำหรับ กำรตรวจค้นในช่วงแรก ๆ


60

ทหารสหรัฐฯ ใช้ยุทธวิธีการตรวจค้นในรูปแบบ การรบประชิด (CQB : Close Quarter Battle) แต่พบว่าการปฏิบตั ดิ งั กล่าวท�ำให้ตอ้ งสูญเสียก�ำลังพล เป็นจ�ำนวนมาก เนือ่ งจากหลักการรบประชิดมีลกั ษณะ การปฏิบัติที่ต้องใช้ความรวดเร็ว รุนแรง เด็ดขาด กระท�ำด้วยความรุกรบ เป็นทีม และลื่นไหล อันเป็น รูปแบบที่ใช้ในการเข้าช่วยเหลือประชาชนเมื่อต้อง ตกเป็นตัวประกัน แต่กับในพื้นที่ที่ผู้ก่อเหตุมีการ เตรียมพร้อมเป็นอย่างดี และเป็นพืน้ ทีช่ มุ ชนทีผ่ กู้ อ่ เหตุ มีความช�ำนาญในพื้นที่ ท�ำให้เจ้าหน้าที่ทหารต้องถูก ซุ่มยิงในบ้าน หรืออาจถูกลอบวางระเบิดในบ้านขณะ ท�ำการเข้าตรวจค้นจนเกิดการสูญเสียก�ำลังทหาร ไปเป็นจ�ำนวนมากในการเข้าตรวจค้นบ้านต้องสงสัย แต่ละครั้ง ท�ำให้กองทัพสหรัฐฯ ต้องคิดค้นรูปแบบ เข้าตรวจค้นขึ้นใหม่ โดยใช้การปฏิบัติที่รอบคอบ ประณีตมากที่สุด ลดการปฏิบัติที่กระท�ำด้วยความ ประมาท อาทิ เ ช่ น ท� ำ การตรวจพื้ น ที่ ร อบบ้ า น และทางเข้าก่อนเข้าตรวจค้นโดยการค้นหาสารวัตถุ เคมีที่ใช้ประกอบระเบิด สอบถามประชาชนในพื้นที่ ถึงพฤติกรรม และจ�ำนวนของสมาชิกในบ้านเป้าหมาย สร้างความร่วมมือของประชาชนในพื้นที่เพื่อให้ง่าย ในการเข้าตรวจค้น หรือเพิม่ การเฝ้าระวังในการสังเกต สิ่งผิดปกติโดยรอบ หรือใช้การปฏิบัติการตรวจค้น อย่างประณีตระวัง และไม่รกุ รบจนเกินไป ซึง่ จะท�ำให้ ทีมปฏิบตั เิ กิดความปลอดภัยเพิม่ มากขึน้ ทัง้ นี้ ในการ ปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ทหารต�ำรวจของประเทศไทย ได้ใช้รปู เเบบการปิดล้อมตรวจค้นทีม่ ลี กั ษณะประณีต และระมัดระวัง ซึ่งการปฏิบัติในลักษณะดังกล่าว ได้เกิดขึน้ หลังจากทีไ่ ด้รบั บทเรียนของการเข้าตรวจค้น แบบรวดเร็วรุนแรงเด็ดขาดตามรูปแบบการรบประชิด (CQB) แล้วท�ำให้เกิดการสูญเสียของเจ้าหน้าที่เป็น จ�ำนวนมากจากการที่ผู้ปฏิบัติไม่ได้ทันระวัง ผู้ก่อเหตุ รุนแรงได้แอบซุ่มยิงอยู่ในบ้านซึ่งไม่ต่างจากกรณี ของทหารสหรัฐฯ ทีไ่ ด้รบั รูปแบบการตรวจค้นทีเ่ ป็นไป อย่างช้า ๆ และระมัดระวังจึงได้ถูกน�ำมาใช้เป็น

การวางแผนและประสานการปฏิบัติกันระหว่างเจ้าหน้าที่ ต่างหน่วยก่อนเริ่มปฏิบัติการตรวจค้นเป้าหมาย

รูปแบบการตรวจค้นที่มีมาตรฐาน และเพิ่มความ ปลอดภัยในการปฏิบัติในเวลาต่อมา กล่าวโดยทั่วไป “การปิดล้อมตรวจค้น” นั้น เรียกอีกลักษณะหนึง่ ว่า “การป้องกันและปราบปราม การก่อความไม่สงบ” หรือ “Counter Insurgency” ประกอบไปด้วย มาตรการหลัก ๓ เสริม ๒ ได้แก่ การพิ ทั ก ษ์ ป ระชาชน และทรั พ ยากร การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและช่วยเหลือประชาชน การปราบกองโจร การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา และการ ปฏิบัติงานข่าวกรอง โดยเป็นเทคนิคหนึ่งที่น�ำมาใช้โดยเจ้าหน้าที่ ทหารและต� ำ รวจในสภาพแวดล้ อ มในเมื อ ง และเขตชนบทหมู ่ บ ้ า น เพื่ อ ด� ำ เนิ น การตรวจค้ น และจับกุมผูต้ อ้ งสงสัยในหมูบ่ า้ นหรือชุมชนขนาดเล็ก จนถึงขนาดใหญ่ บางครั้งอาจรวมอยู่ในการปฏิบัติ ภารกิจที่เรียกว่า “MOUT” (Military Operations


ข่าวทหารอากาศ

Urban Terrain) : การปฏิบตั กิ ารทางทหารในภูมปิ ระเทศ ที่มีลักษณะเป็นเมืองหรือหมู่บ้านซึ่งสามารถให้ค�ำ นิยามของการปิดล้อมตรวจค้นได้ดังนี้ ๑. การปิดล้อม คือ การจ�ำกัดการเคลื่อนย้าย ของบุ ค คล สิ่ ง ของ ด้ ว ยการตรวจสอบ ปิ ด กั้ น หรือกักกัน ๒. การตรวจค้น ปฏิบัติเพื่อ ค้นหา บุคคล หรือ สิง่ ของทีต่ อ้ งการโดยลักษณะการปิดล้อมตรวจค้นนัน้ จะเป็นการปฏิบัติที่อาจส่งผลกระทบต่อประชาชน ในพื้ น ที่ เ ป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งจากเป็ น การจ� ำ กั ด และสูญเสียความเป็นส่วนตัวของประชาชนในพื้นที่ นั้ น ๆ สิ่ ง ที่ จ ะลดความไม่ พึ ง พอใจได้ คื อ การใช้ การประชาสัมพันธ์ท�ำความเข้าใจและการปฏิบัติการ ทางจิตวิทยาเข้าเสริมในการปฏิบตั ิ เช่น การประชาสัมพันธ์ ชีแ้ จงการปฏิบตั เิ มือ่ ผ่านจุดตรวจ เพือ่ ลดความเข้าใจผิด ลดการปฏิบัติที่อาจจะท�ำให้ประชาชนตกใจจากการ ถูกตรวจค้น ฯลฯ ระดับความเข้มงวดของการปิดล้อม ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ท�ำให้มีรายละเอียด ที่แตกต่างกันออกไปซึ่งจะมีการจัดก�ำลังออกเป็นชุด ต่าง ๆ ดังนี้ ชุดจุดตรวจ ( Check point/Road block Team) มีหน้าที่ควบคุมการเข้าออกของประชาชนในพื้นที ่ โดยใช้ก�ำลังพลชุดปฏิบัติขนาดเล็กและสามารถใช้ได้ หลายชุดเพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ภิ ารกิจได้อย่างกว้างขวาง

61

ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายภายใต้ระยะเวลาที่ตั้งจุด ตรวจไม่เกิน ๘ ชัว่ โมง หากแต่ระยะเวลาในการปิดล้อม นานมากก�ำลังชุดจุดตรวจก็จะต้องมีมากขึ้น เพื่อให้ สามารถผลัดเปลี่ยนก�ำลังพลกันได้โดยไม่เกิดความ เหนื่อยล้าในการปฏิบัติ ชุดเฝ้าตรวจ (Surveillance, Aerial Surveillance team) มีหน้าที่ในการเฝ้าตรวจ ค้นหาสิ่งผิดปกติ หรื อ สิ่ ง บอกเหตุ ที่ จ ะน� ำ มาซึ่ ง ความไม่ ป ลอดภั ย ยังหน่วยทหาร ต�ำรวจ เพื่อส่งข้อมูลพื้นที่เป้าหมาย หรือพืน้ ทีส่ ำ� คัญ เช่น จุดตรวจเส้นทางหลัก และเส้นทางรอง ทั้งก่อนและระหว่างการปิดล้อมตรวจค้น เพื่อท�ำให้ ผูบ้ งั คับหน่วย สามารถทราบถึงสถานการณ์ ณ ปัจจุบนั สามารถตัดสินใจในการสั่งการได้ถูกต้อง ทั้งนี้ หากมี ชุ ด เฝ้ า ตรวจทางอากาศที่ ส ามารถส่ ง ผ่ า นข้ อ มู ล ตามเวลาจริ ง ทั้ ง กลางวั น กลางคื น ไม่ ว ่ า จะเป็ น ภาพ VDO จากอากาศยานไร้คนขับ UAV, Drone หรือ ภาพจากระบบ FLIR ทีถ่ กู ถ่ายทอดจากเครือ่ งบินโจมตี ธุรการแบบที่ ๒ (บ.จธ.๒) (AU-23A Peacemaker) และจากเครื่องบินตรวจการณ์และฝึกแบบที่ ๒๐ (บ.ตฝ.๒๐) (Diamond DA42MPP) โดยระบบ VIDEO DOWN LINK ซึง่ จะท�ำให้ ผบ.หน่วย สามารถวางแผน และสั่งการใช้ก�ำลังได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ชุดลาดตระเวน (Patrols Team) มีหน้าที่ ท�ำการลาดตระเวนโดยรอบพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย หรือแบ่งส่วน

การฝึกการรบในสิ่งปลูกสร้าง “MOUT” (Military Operations Urban Terrain)


62

ตามจ�ำนวนชุดเพือ่ ป้องกันการเข้าออกจากพืน้ ทีป่ ดิ ล้อม โดยไม่ผ่านจุดตรวจ มุ่งเน้นไปยังพื้นที่ท่ีเป็นช่องว่าง ระหว่ า งจุ ด ตรวจหรื อ จุ ด สกั ด ค้ น หาสิ่ ง ผิ ด ปกติ หรื อ สิ่ ง บอกเหตุ ที่ จ ะน� ำ มาซึ่ ง ความไม่ ป ลอดภั ย ยังหน่วยทหารต�ำรวจ ควรเป็นชุดที่มีความคล่องตัว ในการเคลือ่ นที่ เช่น มียานพาหนะทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ที่ ปฏิบัติการที่ใช้ก�ำลังพลไม่มากต่อชุด เพื่อให้ง่าย ต่อการปฏิบตั ิ เป็นต้น ทัง้ นี้ ส่วนหนึง่ ของชุดลาดตระเวน จะท�ำการเฝ้าตรวจหมูบ่ า้ นต่อไป ในขณะทีอ่ กี ส่วนหนึง่ กลับมาให้ข้อมูลข่าวสารต่อหน่วยเหนือ ซึ่งชุดที่ด�ำรง การเฝ้าตรวจอยู่นั้น อาจตรวจพบบางสิ่งบางอย่าง ทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงการปฏิบตั ใิ นโอกาสต่อไป ก่อนทีส่ ว่ นระวังป้องกันจะเข้าวางตัว ข่าวสารทีม่ คี ณ ุ ค่า ส�ำหรับผู้บังคับหน่วย ได้แก่ เป้าหมายหรือผู้ก่อเหตุ รุนแรง ขนาด และที่ตั้งที่แน่นอน บ้านเป้าหมาย สิง่ กีดขวางต่าง ๆ ทีจ่ ะเป็นอุปสรรคต่อการเข้าปิดล้อม จ�ำนวนประชากรทีอ่ าศัยอยูภ่ ายในหมูบ่ า้ น และความ ร่วมมือของประชาชนในพื้นที่ที่มีผลต่อการท�ำงาน ของเจ้าหน้าที่ บริเวณหรือที่พักอาศัยของผู้ก่อเหตุ รุนแรงทีจ่ ะสามารถหลบซ่อนอยูใ่ นป่าในเวลากลางคืน และเข้ามาพักอาศัยในหมู่บ้านในช่วงเวลากลางวัน หรืออาจจะอาศัยอยู่ในหมู่บ้าน ทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืนโดยอยูใ่ นบ้านหลังเดียวหรือหลายหลังก็ได้ ชุดระวังป้องกัน หรือ ชุดปิดล้อม หรือ ชุดสกัดกัน้ (Blocking Team) มีหน้าทีท่ ำ� การสกัดกัน้ การเข้าออก โดยสิ้นเชิง อาจจะใช้อุปกรณ์หรือเครื่องกีดขวาง ในการสกัดกั้นหรือใช้ในรูปแบบการประกอบก�ำลัง อีกทั้ง มีวงรอบการระวังป้องกัน ตั้งแต่การสกัดกั้น เส้นทางผ่านเข้าออกในพืน้ ทีห่ มูบ่ า้ น การท�ำการระวัง ป้องกันให้กบั ชุดอืน่ ๆ ได้แก่ ท�ำการระวังป้องกันปิดล้อม ให้กับชุดตรวจค้น ระวังป้องกันการเล็ดลอดหลบหนี และเสริมก�ำลังของผูก้ อ่ เหตุรนุ แรง ระวังป้องกันให้กบั ชุดเก็บกู้วัตถุระเบิดหากต้องท�ำการตรวจค้นพิสูจน์ ทราบวัตถุตอ้ งสงสัยหรือขณะท�ำการเก็บกู้ ระวังป้องกัน ให้กับชุดปฏิบัติการจิตวิทยาในขณะเจรจาต่อรอง

กับชาวบ้าน ระวังป้องกันให้กับชุดนิติเวชที่ก�ำลัง ท�ำการตรวจสอบเก็บหลักฐานจากที่เกิดเหตุ เป็นต้น ทั้งนี้ ในการปิดล้อมพื้นที่เป้าหมายในระหว่าง เวลาค�่ำมืด ก�ำลังทหารจะเคลื่อนที่เข้าไปอย่างเงียบ ที่สุด โดยใช้เส้นทางหลายเส้นทางเท่าที่จะท�ำได้ เมือ่ เริม่ แสงสว่าง พืน้ ทีจ่ ะต้องถูกยึดครองโดยใช้ระบบ ของยามคอยเหตุเฝ้าตรวจที่เชื่อมต่อกันด้วยสายตา ในลักษณะวงรอบ ซึง่ ช่องว่างทีม่ อี ยูจ่ ะถูกควบคุมด้วย การลาดตระเวนเฝ้าตรวจตามปกติ แต่พื้นที่ที่มีขนาด กว้ า งใหญ่ จ ะไม่ ถู ก ปิ ด ล้ อ มไว้ ไ ด้ ด ้ ว ยก� ำ ลั ง ทหาร เป็นเวลานาน ๆ เนื่องจากจ�ำเป็นต้องใช้ก�ำลังทหาร จ�ำนวนมาก หากมีความจ�ำเป็นแล้วทหารจะใช้การ ขุดหลุม และใช้ประโยชน์จากที่ก�ำบังตามธรรมชาติ รวมทั้ ง ใช้ ล วดหนามเพื่ อ ช่ ว ยในการปิ ด ล้ อ มพื้ น ที่ ส่วนกองหนุนในกรณีหากเกิดก�ำลังของฝ่ายตรงข้าม (กลุ ่ ม ผู ้ ก ่ อ เหตุ รุ น แรงอื่ น ๆ ที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ) จากภายนอกพื้นที่จะเข้าแทรกแซง ฝ่ายเราจะต้องใช้ มาตรการเพื่อป้องกันการรวมตัวของฝ่ายตรงข้าม ที่อยู่ภายนอก และส่วนที่ถูกปิดล้อมอยู่ภายในพื้นที่ อาจใช้ ก ารตรวจการณ์ ท างอากาศเพื่ อ ช่ วยค้ นหา และแจ้งเตือนแต่เนิ่นถึงการเคลื่อนไหวของก�ำลัง ฝ่ายตรงข้ามที่มีจ�ำนวนมาก ที่จะเคลื่อนตัวเข้ามายัง พื้นที่ปฏิบัติการ ชุดทหารช่าง มีหน้าทีช่ ว่ ยในการสร้างเครือ่ งปิดกัน้ ทั้งยานพาหนะ และบุคคล หรือรื้อถอนเครื่องปิดกั้น ต่าง ๆ ทีไ่ ด้วางเอาไว้ คอยสนับสนุนในด้านสิง่ อุปกรณ์ ก่อสร้างเพื่อช่วยในการปฏิบัติงานของชุดจุดตรวจ และชุดสกัดกั้น เช่น กระสอบทราย ลวดหีบเพลง จ�ำหล่อ และเครื่องกีดขวางอื่น ๆ ชุดเก็บกู้วัตถุระเบิด มีหน้าที่ตรวจค้นพิสูจน์ ทราบวัตถุต้องสงสัย เก็บกู้ และถอดแยกวัตถุระเบิด เพื่อท�ำให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน สามารถท�ำลายวัตถุระเบิดและท�ำลายอาวุธ กระสุน โดยใช้เครือ่ งมือทางเทคนิคในการค้นหา เก็บกู้ และท�ำลาย ชุดปฏิบตั กิ ารจิตวิทยา มีหน้าทีใ่ นการปฏิบตั กิ าร


ข่าวทหารอากาศ

63

การปฏิบัติงานของชุดเจ้าหน้าที่ปิดล้อมตรวจค้น

จิตวิทยาและสนับสนุนการปิดล้อมตรวจค้น เช่น การสร้างความร่วมมือของประชาชนในการปฏิบัติ ตามค�ำแนะน�ำของเจ้าหน้าที่ การสร้างความเข้าใจ กับประชาชนในพื้นที่ ในภารกิจหน้าที่ของก�ำลังที่ ปิดล้อม ลดความไม่พึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ โดยใช้สื่อชนิดต่าง ๆ ชุดนี้จ�ำเป็นต้องมีการพิจารณา ในการปฏิบัติอย่างระมัดระวังโดยเฉพาะการรักษา ความปลอดภัยด้านการข่าว ชุดกิจการพลเรือน มีหน้าทีใ่ นการประสานงาน และขอรับการสนับสนุนกับพลเรือน เจ้าหน้าทีป่ กครอง องค์กรเอกชน หรือองค์การระหว่างประเทศ ที่อยู่ ในพื้นที่ เช่น การขอรับการสนับสนุนอุปกรณ์ในการ ปิดกั้นการจราจร สถานที่พักจุดตรวจ ฯลฯ ซึ่งจ�ำเป็น ต้ อ งมี ก ารพิ จ ารณาการใช้ ง านอย่ า งระมั ด ระวั ง โดยเฉพาะการรั ก ษาความปลอดภั ย ด้ า นการข่ า ว ทั้งนี้ ขึ้นกับปัจจัยด้านภูมิประเทศและวัฒนธรรม ธรรมเนี ย มของพลเรื อ นในพื้ น ที่ ( ในกรณี ภ ารกิ จ ปิดล้อมตรวจค้น) ชุดนิติวิทยาศาสตร์ มีหน้าที่ในการแกะรอย หาร่องรอย ตรวจพิสจู น์ และเก็บพยานหลักฐานต่าง ๆ อันเป็นวัตถุพยานในที่เกิดเหตุ ด้วยเทคโนโลยีด้าน การแพทย์และนิติวิทยาศาสตร์ เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ เอกสารส�ำคัญ สารพันธุกรรม (DNA) ฯลฯ เพื่อน�ำมา เป็นหลักฐานในการสร้างความยุตธิ รรมให้แก่ผเู้ สียหาย

ทัง้ ในส่วนของเจ้าหน้าทีท่ หารต�ำรวจ และผูต้ อ้ งสงสัย ชุดตรวจค้น (Search And Check Team) มีหน้าที่ท�ำการเข้าตรวจค้นบ้านเป้าหมายเพื่อหา สิ่งผิดปกติ และจับกุมผู้ก่อเหตุรุนแรง โดยมีการ ประกอบก�ำลังเป็นลักษณะชุดโจมตี ตัง้ แต่ชดุ ละ ๕ - ๗ คน หรืออาจมากกว่า หากพบว่าพืน้ ทีเ่ ป้าหมายมีขนาดใหญ่ หรือกว้าง อาทิ การปิดล้อมตรวจค้นเป็นหมู่บ้าน ซึ่ ง มี ข นาดพื้ น ที่ แ ละจ� ำ นวนบ้ า นในการตรวจมาก จึงจ�ำเป็นต้องใช้ชุดตรวจค้นหลายชุดเพื่อช่วยในการ แบ่งเบาภาระของเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจค้น โดยเป็นไป ในลักษณะการปูพรมตรวจ ซึ่งต้องก�ำหนดทิศทาง แนวยิงให้เด่นชัดหากต้องมีการปะทะกับผูก้ อ่ เหตุรนุ แรง ในขณะที่ยังมีชุดตรวจค้นอื่น ๆ ยังปฏิบัติงานอยู ่ ทั้ ง นี้ ลั ก ษณะการปฏิ บั ติ ใ นอดี ต ช่ ว งแรกที่ ผ ่ า นมา การตรวจค้นนั้นค่อนข้างเป็นไปด้วยความไม่พอใจ ของประชาชนในพืน้ ที่ โดยมีวธิ กี ารปฏิบตั หิ ลายลักษณะ ดังนี้ หากใช้ วิ ธี ร วมประชาชนไว้ ใ นพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น ศูนย์กลาง (หากมีการส่อว่าจะเป็นฝ่ายตรงข้าม) วิธกี ารนีจ้ ะให้การควบคุมได้สงู สุด ซึง่ จะอ�ำนวยความ สะดวกให้ ส ามารถตรวจค้ น ได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง ท� ำ ให้ ผู้ก่อเหตุรุนแรงไม่มีโอกาสที่จะซุกซ่อนสิ่งของให้พ้น จากการตรวจค้น และเอื้ออ�ำนวยให้ใช้การซักถาม ได้อย่างละเอียด ข้อเสียอยู่บางประการ คือการน�ำ


64

เจ้ า ของบ้ า น และลู ก บ้ า นออกมาจากที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของตนนั้น ท�ำให้มีโอกาสที่จะกล่าวหาเจ้าหน้าที่ ส่วนตรวจค้นว่า ไปหยิบฉวยหรือลักขโมยของออกมา จากบ้าน หากใช้วธิ จี ำ� กัดประชาชนให้อยูแ่ ต่ในบ้านของตน วิธกี ารนีจ้ ะห้ามการเคลือ่ นไหวของประชาชน เพราะต้อง อยู่ในบ้านของตน ท�ำให้ไม่มีโอกาสที่จะกล่าวหา ในเรื่องการลักขโมย ข้อเสีย คือ ท�ำให้ยากต่อการ ควบคุมและการซักถาม นอกจากนี้ ยังอาจปล่อย โอกาสให้ ผู ้ ก ่ อ เหตุ รุ น แรงที่ อ ยู ่ ใ นบ้ า นได้ มี โ อกาส ซุกซ่อนของที่ไม่ต้องการให้ตรวจค้นพบได้ หากใช้วธิ คี วบคุมหัวหน้าชุมชนหรือเจ้าของบ้าน โดยบอกให้ เ จ้ า ของบ้ า นยั ง คงยื น รออยู ่ ห น้ า บ้ า น ในขณะที่ลูกบ้านคนอื่น ๆ ถูกน�ำมารวมกันที่พื้นที่ ศูนย์กลางในระหว่างการตรวจค้น ส่วนหัวหน้าชุมชน หรือเจ้าของบ้านแต่ละบ้าน หรือหัวหน้าบ้านให้ร่วม เข้าไปกับชุดตรวจค้นในบ้านของตนเอง ปัญหาเรื่อง การหยิบฉวยลักขโมยก็จะลดน้อยลง และหัวหน้า ชุมชนหรือเจ้าของบ้านแต่ละบ้าน หรือหัวหน้าบ้าน ก็ จ ะได้ มี โ อกาสมองเห็ น การตรวจค้ น ว่ า ไม่ มี ก าร หยิบฉวยลักขโมย วิธีการนี้เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุด ในการควบคุมชาวบ้าน ชุดตรวจค้นต้องท�ำการตรวจค้นอย่างละเอียด โดยตลอด เพื่อค้นหาผู้ก่อเหตุรุนแรงซึ่งส่วนใหญ่ จะเป็นผู้ต้องหาในคดี ป.วิอาญา (ประมวลกฎหมาย วิ ธี พิ จ ารณาความอาญา) ด� ำ เนิ น การตรวจค้ น หา ในอุโมงค์หลบหนี หรือที่ซ่อนสิ่งของผิดกฎหมาย จ�ำพวกอาวุธ วัตถุระเบิด หรือสารเคมีที่ใช้ในการ ประกอบระเบิด การค้นหานั้น นอกจะต้องค้นหา ภายในบ้านแล้วแต่พื้นที่อื่น ๆ ก็จ�ำเป็นต้องตรวจ ค้นหาด้วย เช่น บริเวณใต้ถุนบ้าน บริเวณรอบบ้าน

คอกปศุสัตว์ บ่อน�้ำ กองฟาง สวน แนวรั้ว และสุสาน ฯลฯ หรือที่ใดก็ตามทีค่ าดว่ามีโอกาสทีจ่ ะใช้เป็นทีเ่ ก็บ ซ่อนของผิดกฎหมายได้จะต้องถูกตรวจสอบซึง่ ชุดตรวจ ค้นจะต้องระมัดระวังตลอดเวลาในเรื่องกับระเบิด นอกจากนี้ หากภายหลังจากที่ได้ตรวจค้นบ้าน เสร็จเรียบร้อยแล้ว บริเวณโดยรอบและพืน้ ทีร่ ะหว่าง ส่วนระวังป้องกันและหมู่บ้านจะถูกตรวจค้น โดยให้ ส่วนระวังป้องกันอาจจัดก�ำลังออกเป็นตอน ๆ แต่ละตอน จะตรวจค้นส่วนต่าง ๆ ของพืน้ ทีโ่ ดยรอบ หากผูก้ อ่ เหตุ รุนแรง หลบหนีออกมาจากพื้นที่ส่วนใด ซึ่งอาจเป็น ป่าทึบหรืออุโมงค์หลบหนี ส่วนระวังป้องกันที่เหลือ จะจับกุมหรือท�ำการยิงสกัดเพื่อมิให้ผู้ก่อเหตุรุนแรง เล็ดลอดหลบหนีไปได้ และหากส่วนระวังป้องกัน ได้ ค ้ น พบสิ่ ง ของหรื อ อุ ป กรณ์ ที่ ผิ ด กฎหมายแล้ ว ก�ำลังส่วนนีก้ จ็ ะท�ำการตรวจค้นพืน้ ทีน่ นั้ อย่างละเอียด ซึง่ อาจต้องสูญเสียก�ำลังส่วนหนึง่ ในการเฝ้าระวังพืน้ ที่ ฉะนั้น ผู้ควบคุมส่วนระวังป้องกัน ณ ที่ตรวจพบนั้น จะต้องจัดก�ำลังเฝ้าระวังป้องกัน และส่วนตรวจค้น บริเวณโดยรอบบ้านตามความเหมาะสม ทัง้ นี้ หากใน พื้นที่ที่มีการรายงานการตรวจพบอุโมงค์หรือทางลับ ให้หน่วยตรวจค้นจัดชุดลาดตระเวนตรวจค้นในอุโมงค์ ขึน้ มาสมทบ ซึง่ จะเป็นก�ำลังพลอาสาสมัครทีไ่ ด้รบั การฝึก ปฏิ บั ติ ก ารลั ก ษณะนี้ ม าโดยเฉพาะ และจะต้ อ งมี ยุทโธปกรณ์พิเศษตลอดจนขีดความสามารถพิเศษ เช่น ไฟฉาย หมวกทีใ่ ช้ในเหมืองแร่ หน้ากากป้องกันฝุน่ และระบบติดต่อสื่อสารกับหน่วยที่อยู่บนพื้นดินที่ดี ฯลฯ ก�ำลังพลในชุดควรจะมีความสามารถในการ เขียนภาพระบบอุโมงค์ และควรจะสามารถเก็บกู้ สิง่ ของต่าง ๆ ภายในอุโมงค์ทคี่ าดว่าจะใช้เป็นแหล่งข่าว ขึ้นมาได้ด้วย


ข่าวทหารอากาศ

จับจิต จับใจ ¡Ñº Í.˹Ù

มนุษยสัมพันธ์ว่าด้วยเรื่อง (คิดว่า) รู ้เขา รู ้เรา “หัวหนาคนใหมทาทางดุ” หรือ “เด็กคนนี้ ทาทางจะเกเร” หลายครั้งที่เราสังเกตและคิดวา ตนเองรับรูเ กีย่ วกับบุคคลนัน้ ๆ ถูกตองครอบคลุมแลว ซึ่งบางครั้งการรับรูดังกลาวอาจนํามาสูการตัดสินใจ ที่ผิดพลาดหากไมไดระมัดระวังในการรับรูเกี่ยวกับ บุคคลอยางถี่ถวนเพียงพอ ซึ่งในทางจิตวิทยานั้น การรับรู (perception) หมายถึง การนําความรู หรือขอมูลขาวสารเขาสูสมอง โดยผานอวัยวะสัมผัส ไปยังสมองเพือ่ เก็บรวบรวมและจดจําเกีย่ วกับสิง่ ตาง ๆ เหลานัน้ ไวเปนประสบการณ นําไปสูอ งคประกอบสําคัญ ทีท่ าํ ใหเกิดมโนภาพหรือความคิดรวบยอด (concept) และทัศนคติ (attitude) ในการเปรียบเทียบหรือเชือ่ มโยง ความหมายกับสิ่งเราใหมที่จะรับรูตอ ๆ ไป (บัลเลอร จิลเลียน, ๒๐๑๕ : ๓๖-๔๘) กระบวนการรับรู กระบวนการของการรับรู (Process of perception) เปนกระบวนการทีค่ าบเกีย่ วกันระหวาง เรื่องความเขาใจ การคิด การรูสึก ความจํา การเรียนรู การตัดสินใจ (decision making) จากตัวอยางกระบวนการรับรูของบุคคล เมื่อเจอสิ่งเราคือ หัวหนาที่พูดเสียงดัง ทําใหนึกถึง ประสบการณเดิมที่ตนเอง เคยถูกครูดุเสียงดังเวลา ตอบคําถามผิด ทําใหเกิดมโนภาพ (concept) วาหัวหนาเสียงดังก็นาจะเปนคนดุดวยเชนกัน ทําให ตัดสินใจแสดงออกวา กลัวหัวหนา ไมกลาแสดง ความคิดเห็นอะไรเมือ่ ถูกซักถาม เพราะกลัววาจะโดน ตําหนิ เปนตน

การรูสึก • หัวหนาพูดเสียงดัง

ความจํา • ครูชอบดุเสียงดัง

การเรียนรู • เคยถูกครูดุเสียงดัง เวลาตอบผิด

การตัดสินใจ • หัวหนาเปนคนดุ ทําใหกลัว ไมกลาแสดงความคิดเห็น ตัวอยางกระบวนการของการรับรู

65


66

โดยล�ำดับขั้นของกระบวนกำรรับรู้จะเกิดขึ้นได้ ต้องเป็นไปตำมขัน้ ตอนของกระบวนกำรดังนี้ (Rathus, 2012: 136-137) ขั้นที่ ๑ สิ่ ง เร้ ำ มำกระทบอวั ย วะสั ม ผั ส (ตำ หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง) ของบุคคล ขั้นที่ ๒ กระแสประสำทสัมผัสวิ่งไปยังระบบ ประสำทส่วนกลำง มีศูนย์กลำงอยู่ที่สมองเพื่อสั่งกำร ตรงส่วนนี้จะเกิดกำรรับรู้ (sensation) ขั้นที่ ๓ สมองแปลควำมหมำยออกมำเป็น ควำมรูค้ วำมเข้ำใจ โดยอำศัยควำมรูเ้ ดิม ประสบกำรณ์เดิม ควำมจ�ำ เจตคติ ควำมต้องกำร บุคลิกภำพ เชำวน์ปญั ญำ ท�ำให้เกิดกำรตอบสนองอย่ำงใดอย่ำงหนึง่ ซึง่ ขัน้ ตอน ที่ ๓ นี่เองที่เรียกว่ำ กำรรับรู้ (perception) การรับรู้บุคคล (person perception): รู้เขา ยกตัวอย่ำงเช่น พระเอกในละคร เมื่อตกเป็น ข่ำวว่ำ ขี้โมโห ไม่น่ำรัก หรือใจดีเหมือนบทบำท ในละครทีแ่ สดงเลย ซึง่ กำรรับรูเ้ กีย่ วกับพระเอกคนนี้ เกิดจำกกำรรับทรำบข้อมูลจำกบทบำทในละคร เพียงด้ำนเดียว แล้วท�ำให้อำจจะลืมคิดไปว่ำพระเอก ในละคร เมื่ออยู่นอกบทบำทก็เป็นเพียงคนปกติ เช่นเดียวกับพวกเรำ โดยกำรรับรู้บุคคลในทำงจิตวิทยำหมำยถึง กำรประเมินหรือตัดสินบุคคลอื่นว่ำเป็นคนอย่ำงไร

โดยทัว่ ไปกำรรับรูบ้ คุ คลอืน่ จะใช้ลกั ษณะทำงกำยภำพ ของบุคคลนัน้ เช่น หน้ำตำ ผิวพรรณ รูปร่ำง หล่อ สวย ขำวสะอำดสะอ้ำน ผิวคล�้ำมอมแมมหรือพิจำรณำ บุคลิกภำพ เช่น เงียบขรึม ช่ำงคุย ดุ ใจดี ใจร้ำย พูดไพเรำะ พูดหยำบคำย มีน�้ำใจ เอำแต่ใจ ฯลฯ หรือพิจำรณำจำกบทบำทหรือสถำนะ เช่น คนเป็นพี่ ต้องเสียสละให้น้อง น้องต้องยอมตำมพี่ แต่กำร รับรู้บุคคลจะถูกต้องแม่นย�ำ จ�ำเป็นต้องพิจำรณำ รำยละเอียดอืน่ ๆ ประกอบด้วย เพรำะมนุษย์มอี ำรมณ์ มีแรงจูงใจ และทัศนคติที่แตกต่ำงกัน อันเป็นผลของ กำรเรียนรูแ้ ละวัฒนธรรมทีม่ คี วำมหลำกหลำย ปัจจัย เหล่ำนี้อำจมีผลท�ำให้กำรรับรู้บุคคลอื่นผิดพลำดได้ เช่น อคติ (prejudice) เป็นกำรสรุปหรือตัดสินบุคคลอืน่ โดยที่มีข้อมูลสนับสนุนไม่เพียงพอ ท�ำให้เกิดกำรรับรู้ บุคคลในลักษณะทำงลบ กำรเกิดอคติอำจเกิดขึน้ เป็นกำร ส่วนตัวเพรำะมีผลกระทบกับตนเองโดยตรง หรือเกิดอคติ ตำมสังคม เนือ่ งจำกกำรยึดมัน่ ในบรรทัดฐำน (norms) บำงอย่ำง เช่น คนไทยที่มีลักษณะอนุรักษ์นิยมมักจะมี อคติกบั พฤติกรรมของชำวตะวันตกได้งำ่ ย หำกปรำศจำก กำรพิจำรณำข้อมูลอย่ำงอื่นร่วมด้วยเช่น พฤติกรรม กำรใช้เท้ำของชำวต่ำงชำติ พฤติกรรมกำรทักทำย ด้วยกำรกอดหรือกำรสัมผัสมือ เป็นต้น ดังนัน้ จึงไม่ควร รีบด่วนตัดสินบุคคลโดยปรำศจำกกำรไตร่ตรองทีด่ ี


ข่าวทหารอากาศ

สิ่งที่ควรระมัดระวังส�ำหรับกำรรับรู้เกี่ยวกับบุคคล ประการแรกคื อ ภาพพจน์ โ ดยทั่ ว ไป (stereotype) หรือการเหมารวม โดยบุคคลจะจัด คนทีเ่ ขารูจ้ กั ให้เป็นกลุม่ เพือ่ ให้เข้าใจง่าย จดจ�าได้ และลด ความสับสน เนือ่ งจากบุคคลไม่สามารถรูจ้ กั และจดจ�า บุคคลทุกคนที่ผ่านเข้ามาในชีวิตได้ ภาพพจน์จึงเป็น วิธีลัดที่จะจัดกลุ่มการรับรู้บุคคลแบบย่นย่อลักษณะ ต่าง ๆ หรือคุณสมบัติบางประการที่มีร่วมกันให้เป็น พวกเดียวกัน ภาพพจน์มไี ด้หลายอย่าง เช่น ภาพพจน์ ทางด้านเชือ้ ชาติ ภาพพจน์ทางอาชีพ ภาพพจน์ทางเพศ ภาพพจน์ทางศาสนา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ภาพพจน์ เป็นการจัดบุคคลเข้าเป็นพวกเดียวกับพวกที่เรามี ประสบการณ์มาก่อนโดยใช้ลักษณะร่วมเป็นเกณฑ์ ซึ่งอาจถูกต้องหรือไม่ก็ได้ เพราะเป็นการสรุปแบบ เหมารวมโดยไม่ได้พจิ ารณารายละเอียดในความแตกต่าง ของคนเหล่านัน้ เลย ภาพพจน์แบ่งเป็น ๒ ประการ ดังนี้ ๑. ภาพพจน์ทางสังคม (public stereotype หรือ social stereotype) เป็นการสรุปเหมารวม คนในสังคมที่มีลักษณะร่วมกันบางอย่างเป็นพวก เดียวกัน เช่น มีภาพพจน์ทางเชื้อชาติว่า คนไทยใจดี คนญี่ ปุ ่ น รั ก ชาติ คนจี น ค้ า ขายเก่ ง ฯลฯ หรื อ มี ภาพพจน์ทางอาชีพว่า หมอต้องเก่งและฉลาด เป็นทหาร ต้องอดทน เป็นนักบัญชีตอ้ งเป็นคนละเอียด ฯลฯ

67

๒. ภาพพจน์สว่ นบุคคล (private stereotype) เป็นการสรุปคนแต่ละคนว่า ถ้ามีลกั ษณะอย่างหนึง่ แล้ว น่าจะมีลกั ษณะอย่างอืน่ ร่วมอยูด่ ว้ ย เช่น คนเปิดเผยจะเป็น คนร่าเริงสนุกสนาน คนเรียบร้อยจะเป็นคนทีอ่ อ่ นน้อม ถ่อมตนและขีอ้ าย คนโกรธง่ายมักจะหายโกรธเร็ว คนที่ เป็นลูกคนเดียวมักจะเอาแต่ใจ คนหน้าตาดีมกั จะเจ้าชู้ ฯลฯ ประการที่ ๒ การรับรูบ้ คุ คลในด้านเดียวอาจเกิด ได้จากอคติหรือการใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล ท�าให้ สรุปหรือตัดสินผูอ้ นื่ โดยไม่พจิ ารณาข้อมูลให้เพียงพอ หรือที่เรียกว่าล�าเอียง โดยแบ่งได้เป็น ๒ แบบ ได้แก่ แบบที่ ๑ การล�าเอียงด้านดี (halo effect) เป็นการรับรู้บุคลในด้านดีเพียงด้านเดียว เกิดจาก ความถูกใจในบุคคลจึงเกิดการรับรู้ด้านอื่น ๆ ของ บุคคลนั้นดีไปด้วย เช่น คนหน้าตาดีมักจะนิสัยดี คนรวยไม่น่าจะเห็นแก่ตัว คนแต่งตัวดีไม่น่าจะเป็น มิจฉาชีพ เด็กชายต้นลูกของ ด๊อกเตอร์ตอ้ ม น่าจะฉลาด คนที่มีการศึกษาสูงไม่น่าจะท�าผิดกฎหมาย เป็นต้น แบบที่ ๒ การล�าเอียงด้านไม่ดี (horns effect) เป็นการรับรูบ้ คุ คลในด้านไม่ดเี พียงด้านเดียวเกิดจาก ความไม่ ชื่ นชอบ ไม่ ถู ก ใจในบุ ค คล จึ ง มี แ นวโน้ ม ที่จะรับรู้ด้านอื่น ๆ ของบุคคลนั้นไม่ดีไปหมด เช่น คนจนมักจะไม่ฉลาดและหยาบคาย คนหน้าตาไม่ดี มักจะนิสัยไม่ดี คนที่มีประวัติติดคุกเป็นคนไม่ดี ฯลฯ


68

โดยการรั บ รู ้ บุ ค คลในด้ า นใดด้ า นหนึ่ ง เพียงอย่างเดียวนัน้ ส่วนใหญ่เกีย่ วข้องกับความประทับใจ ครัง้ แรก โดยเฉพาะการรับรูค้ รัง้ แรก (primacy effect หรือ first impression) ของบุคคล ถ้าก่อให้เกิดความ รูส้ กึ ทางบวก ข้อมูลทีต่ ามมาในช่วงหลังมีแนวโน้มจะ เป็นบวกหมด แต่ถ้าการเริ่มต้นเป็นลบ บุคคลจะไม่ สนใจและละเลยข้อมูลช่วงหลัง ๆ ซึง่ มักก่อให้เกิดการ รับรู้ที่คลาดเคลื่อนและอาจน�าไปสู่การตัดสินใจ ที่ ผิ ด พลาดได้ ดั ง นั้ น หากได้ มี โ อกาสในการสร้ า ง สัมพันธภาพกับผู้อื่นในครั้งแรกที่พบกัน การสร้าง ความประทับใจระหว่างกันจึงเป็นสิ่งส�าคัญ ส�าหรับ ผู้ที่ต้องท�างานร่วมกัน หรืออยู่ร่วมกันในสังคม ประการที่ ๓ การหลงเผ่าพันธุ์ (ethnocentrism) เป็นการยึดมัน่ ในชาติพนั ธุ์ ชนชัน้ หรือเผ่าพันธุ์ ของตนว่าดีกว่าบุคคลอื่น ความรู้สึกเช่นนี้ท�าให้การ รับรู้บุคคลอื่นผิดพลาดมากเพราะจะรับรู้ภาพพจน์ ของกลุ่มตน (auto stereotype) ไปในทางบวก เป็นส่วนมากจนเกิดการบิดเบือนข้อมูลไปจากความ เป็นจริง และน�าไปสูค่ วามรูส้ กึ ว่าผูท้ ไี่ ม่ใช่กลุม่ ของตน มีความต้อยต�า่ กว่า จนเกิดเป็นปัญหาในการอยูร่ ว่ มกัน

คนอื่นรู้

คนอื่นไม่รู้

ตัวอย่างเช่น กลุ่มนาซีของเยอรมัน กลุ่มคอมมิวนิสต์ ในเขมรแดง การแบ่ ง วรรณะจั ณ ฑาลในอิ น เดี ย เป็นต้น การรับรู้บุคคล (person perception): รู้เรา โดยความเป็ น จริ ง การจะรั บ รู ้ ผู ้ อื่ น ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ย่อมต้องรับรูแ้ ละเข้าใจเกีย่ วกับ ตนเองก่อน และทฤษฎีทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับ การท�าความรู้จักตัวเองที่หลายคนน่าจะคุ้นเคย คงหนีไม่พ้นทฤษฎีหน้าต่างของโจฮารี (Johari’s Window) ของ Joseph Luft และ Harry Ingham ซึง่ ค�าว่า Johari มีทมี่ าจากชือ่ ต้นของทัง้ คู่ ซึง่ ได้นา� เสนอ ทฤษฎีโดยใช้ชื่อว่า หน้าต่างโจฮารี: ภาพรูปแบบ ของการรับรูแ้ บบรูต้ วั เกีย่ วกับสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (The Johari-Window: Graphic Model of Awareness in Interpersonal Relation) เพื่อใช้ อธิบายพฤติกรรมของบุคคลเมื่ออยู่ร่วมกันในสังคม และท�าความเข้าใจการติดต่อสือ่ สารหรือสัมพันธภาพ ที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลในลักษณะที่รู้ตัวโดยทฤษฎี หน้าต่างของโจฮารีได้แบ่งการรับรู้เกี่ยวกับตนเองไว้ ๔ ส่วนด้วยกัน

ตนเองรู้

ตนเองไม่รู้

Open Area

Blind Area

Hidden Area

Unknown Area

ภาพแสดงพื้นที่ของหน้าต่าง ๔ บาน


ข่าวทหารอากาศ

๑. พื้นที่เปิดเผย (open area) หมายถึง บริเวณทีบ่ คุ คลแสดงพฤติกรรมภายนอกอย่างเปิดเผย รู้ตัวว่าตนเองแสดงพฤติกรรมอะไร มีจุดมุ่งหมาย อย่างไรเพือ่ ให้บคุ คลอืน่ รับรูพ้ ฤติกรรมและเจตนาของ ตนเอง เช่น นักเรียนตั้งใจเรียน ชายหนุ่มแสดงความ เอาใจใส่ต่อคู่รัก หากบุคคลที่ปฏิสัมพันธ์ด้วยมีความ สนิทสนมกันมากขึ้น พื้นที่ส่วนนี้จะขยายมากขึ้น แสดงว่าบุคคลมีสมั พันธภาพในลักษณะเปิดเผยจริงใจ ต่อกันมากขึ้น ๒. พื้นที่จุดบอด (blind area) หมายถึง บริเวณที่บุคคลแสดงพฤติกรรมออกไปโดยไม่รู้ตัว ไม่ ไ ด้ มี จุ ด มุ ่ ง หมายหรื อ เจตนาที่ จ ะแสดงออกไป โดยบางคนอาจจะพูดหรือแสดงการกระท�าบางอย่าง โดยไม่รู้ตัวท�าให้เสียสัมพันธภาพ เสียบุคลิกภาพ เช่น เวลาหัวหน้าพูดในเรื่องที่เราไม่เห็นด้วยในที่ประชุม เราก็อาจแสดงปฎิกิริยาส่ายศีรษะหรือถอนหายใจ โดยไม่รู้ตัว เป็นต้น ๓. พืน้ ทีซ่ อ่ นเร้น (hidden area) หมายถึง บริเวณทีบ่ คุ คลพยายามเก็บซ่อนพฤติกรรมบางอย่างไว้ ไม่ต้องการเปิดเผยให้ผู้อื่นรู้ แต่ตนเองเองรู้ หรือบ้าง ก็อาจกล่าวได้วา่ พืน้ ทีน่ เี้ ป็นบริเวณทีบ่ คุ คลรูจ้ กั จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพฤติกรรมภายใน ได้แก่ การรับรู้ ความคิด เช่น ความรูส้ กึ ทีไ่ ม่ดตี อ่ คนอืน่ อิจฉา น้อยใจ ไม่พึงพอใจ โดยส่วนใหญ่บุคคลจะไม่ แสดงพฤติกรรมดังกล่าวออกมาเพราะรับรูว้ า่ เป็นสิง่ ที่ ไม่ดี หรือไม่เหมาะสม แต่อาจจะแสดงออกในรูปของ พฤติกรรมอย่างอื่นเพื่อกลบเกลือ่ น ซึ่งผู้อนื่ อาจจะรับรู้ ได้ว่า บุคคลนั้นก�าลังระวังตัว หรือมีสัมพันธภาพที่ไม่ เปิดเผยนัก ซึ่งบางทีการปกปิดไว้ หรืออาจเนื่องจาก บุคคลไม่ทราบวิธจี ะจัดการอย่างไรกับพฤติกรรมดังกล่าว ซึง่ ถ้าไม่แก้ไขในบางครัง้ ก็อาจจะท�าให้มชี อ่ งว่างระหว่าง สัมพันธภาพของตนเองกับบุคคลอื่นได้ อ้างอิง

69

๔. พื้ น ที่ ที่ ไ ม่ มี ใ ครรู ้ (unknown area) หมายถึง บริเวณที่บุคคลแสดงพฤติกรรมบางอย่าง ออกมาโดยไม่รตู้ วั และบุคคลอืน่ ก็ไม่เคยรูห้ รือคาดคิด ว่าคุณจะมีพฤติกรรมดังกล่าวมาก่อน ส่วนใหญ่พนื้ ทีน่ ี้ จะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีเหตุการณ์บางอย่างเข้ามากระทบ เช่น บางคนทีป่ กติเป็นคนเรียบร้อย มีนา�้ ใจ แต่ผดิ หวัง จากต�าแหน่งทีต่ นเองคาดหวังไว้ กลับแสดงพฤติกรรม ในลักษณะเอาแต่ใจตนเองอย่างไม่มเี หตุผลกับคนใกล้ชดิ ทั้งที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ฯลฯ จากทฤษฎีหน้าต่างของโจฮารี การใช้ประโยชน์ จากทฤษฎีนใี้ นการสร้างสัมพันธภาพกับผูอ้ นื่ ได้มากทีส่ ดุ คือการท�าให้พนื้ ทีเ่ ปิดเผยมีสดั ส่วนทีก่ ว้างขึน้ ซึง่ จะเกิด ได้ก็ต่อเมื่อมีการสร้างสัมพันธภาพที่จริงใจต่อกัน ยอมรับค�าวิจารณ์ของผู้อื่นเพื่อน�าไปพัฒนาตนเอง และรูจ้ กั ทีจ่ ะสังเกตและให้คา� แนะน�าทีเ่ หมาะสมแก่ผอู้ นื่ ด้วยเจตนาที่ดีต่อกัน โดยเมื่อพื้นที่เปิดเผยเพิ่มขึ้น พื้นที่ในส่วนอื่น ๆ ก็จะลดลง ท�าให้บุคคลสามารถ สร้างสัมพันธภาพทีด่ กี บั ผูอ้ นื่ ได้ เกิดเป็นความไว้วางใจ ซึ่งกันและกัน อย่างไรก็ตาม แม้ว่ามนุษย์มีอวัยวะรับสัมผัส ถึง ๕ ประเภท แต่เราก็ยังมีโอกาสรับรู้ผิดพลาดได้ จากหลาย ๆ สาเหตุเช่น จากการรับฟังค�าบอกเล่า ท�าให้เรื่องบิดเบือนไป การมีประสบการณ์ ความเชื่อ และค่านิยมทีแ่ ตกต่างกัน ดังนัน้ การรับรูจ้ ะถูกต้องนัน้ ต้องรับรูผ้ า่ นประสาทสัมผัสหลายทางและผ่านกระบวนการ คิดไตร่ตรองอย่างถี่ถ้วนจึงจะท�าให้สามารถตัดสิน ตกลงใจได้อย่างเหมาะสม สามารถสร้างสัมพันธภาพ หรือความรูส้ กึ ไว้วางใจให้กบั ผูอ้ นื่ และทีส่ า� คัญอย่าลืม รับรู้และเข้าใจตนเองให้ถูกต้องเพื่อวางแผนพัฒนา ศักยภาพของตนร่วมด้วย

จิราภรณ์ ตั้งกิตติภาภรณ์. จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: ส�านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,๒๕๕๗. นพมาศ อุ้งพระ. จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพมหานคร: ส�านักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,๒๕๕๕. บัลเลอร์จิลเลียน. จิตวิทยา: ความรู้ฉบับพกพา. กรุงเทพมหานคร: โอเพ่นเวิลด์สพับลิซซิ่ง เฮาส์, Rathus, S. A. Psychology. 10th ed. Canada: Thomson Wadsworth, 2012. Richard West, Lynn H. Turner. (2009). Understanding Interpersonal Communication: Making Choices in Changing Times. 2nd. USA : Nelson Education, Ltd. - นพมาศ อุ้งพระ,๒๕๕๕: ๒๗๓; จิราภรณ์ ตั้งกิตติภาภรณ์, ๒๕๕๗: ๘๙ -


70

âä«ÖÁàÈÃŒÒ

áÅÐÍÒÃÁ³ àÈÃŒÒ น.อ.หญิง บุษกร ภมร

อารมณคือความรูสึกที่เกิดจากการไดรับ การกระทบจากสิ่ ง เร า อารมณ มี ไ ด ทั้ ง ทางบวก และทางลบ เปนไดทั้งความพึงพอใจและความรูสึก ไมสมปรารถนา อารมณเศรา (Sadness) เปนหนึ่ง ในอารมณพื้นฐานทั้ง ๘ ชนิด ไดแก กลัว (Fear) ประหลาดใจ (Surprise) เศราเสียใจ (Sadness) รังเกียจ (Disgust) โกรธ (Anger) คาดหวัง (Anticipation) รื่นเริง (Joy) ยอมรับ (Acceptance) โรคซึมเศรา (Depressive Disorder) กับ อารมณเศรา (Sadness) แตกตางกัน อารมณเศรา เปนอารมณที่มีอยูในมนุษยทุกคน และในแตละวัน ระดับอารมณกม็ กี ารแปรเปลีย่ นไปตามระดับความเขม ของอารมณ ตามสิ่งเราที่เขามากระทบและการรับรู ของแตละคน อารมณเศราเปนเรือ่ งของอารมณความรูส กึ ที่เกิดจากความผิดหวัง หรือการสูญเสียเปนอารมณ ความรูสึกตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นไดกับทุกคนในชีวิต ประจําวัน โดยมักเกิดจากการมีเหตุกระตุนทําใหมี อารมณเศรา เชน การสูญเสียของรัก เปนตน อารมณเศรา ที่ปกติจะสามารถหายไปไดเมื่อรางกายปรับตัวกับ เหตุการณทมี่ ากระตุน นัน้ ได แตถา อารมณเศราทีเ่ กิด ขึ้นนั้น เปนอยูนานโดยไมมีทีทาวาจะดีขึ้น หรือมี

อารมณเศรารุนแรงมากขึน้ รวมทัง้ มีอาการอืน่ ๆ เกิดขึน้ รวมดวย เชน นอนหลับ ๆ ตื่น ๆ เบื่ออาหาร นํ้าหนัก ลดลงมาก หมดความสนใจตอโลกภายนอก เบื่อชีวิต ไมอยากจะมีชวี ติ อยูต อ ไป การทํางานหรือการประกอบ กิ จ วั ต รประจํ า วั น ก็ แ ย ล งด ว ย คนที่ เ ป น แม บ  า น ก็ ทํ า งานบ า นน อ ยลงหรื อ มี ง านบ า นคั่ ง ค า ง คนที่ ทํางานนอกบานก็อาจขาดงานบอย ๆ จนถูกเพงเล็ง เรียกวาตัวโรคทําใหการประกอบกิจวัตรประจําวันตาง ๆ บกพรองลง หากจะเปรียบกับโรคทางรางกายก็คง คลาย ๆ กัน เชน ในโรคหัวใจ ผูท เี่ ปนก็จะมีอาการตาง ๆ รวมกับการทําอะไรตาง ๆ ไดนอยหรือไมดีเทาเดิม ดังนัน้ การเปนโรคซึมเศราไมไดหมายความวา ผูท เี่ ปน โรคนี้ออนแอ คิดมาก หรือเปนคนไมสูปญหา เอาแต ทอแท ซึมเศรา แตทเี่ ขาเปนนัน้ เปนเพราะตัวโรค กลาวไดวา ถาไดรบั การรักษาทีถ่ กู ตองเหมาะสม โรคก็จะทุเลาลง เขาก็จะกลับมาเปนผูที่จิตใจแจมใส พรอมจะทํา กิจวัตรตาง ๆ ดังเดิม ผูที่ปวยเปนโรคซึมเศราจะมี การเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมคอนขางมาก การเปลีย่ นแปลง หลั ก ๆ จะเป น ในด า นอารมณ ความรู  สึ ก นึ ก คิ ด พฤติกรรม รวมกับอาการทางรางกายตาง ๆ เกิดขึ้น อยางตอเนื่องนานกวา ๒ สัปดาหขึ้นไป


ข่าวทหารอากาศ

โรคซึมเศราและการยอมรับในสังคม ในช ว งเวลาที่ ผ  า นมาสั ง คมมี ภ าพพจน ในแงลบ รับรูภาพคนปวยดวยโรคซึมเศราวาเปนคน ออนแอ ขี้เกียจ ไมสูชีวิต ซึ่งเปนตราบาป (stigma) ภาพพจนของสังคมในแงลบตอผูปวยโรคซึมเศรา เหลานี้ สงผลกระทบตอการชวยเหลือที่เหมาะสม แกผูปวย เชน ทัศนคติที่คิดวา การไปพบจิตแพทย แสดงถึ ง ความออนแอและไมอดทน ทําให ผู ป วย ไมไดมาพบแพทยตงั้ แตเริม่ มีอาการ ซึง่ ถามาพบแพทย ตั้งแตระยะแรก ๆ แพทยจะสืบคนหาสาเหตุตาง ๆ เนื่องจากกลุมอาการซึมเศรา อาจมีสาเหตุมาจาก โรคอื่น ๆ เชน โรคทางตอมไรทอ โรคมะเร็งในสมอง เปนตน และใหการรักษาอยางเหมาะสม ผลการรักษา จะดี ตอบสนองตอการรักษาไว และอาจหายขาดได แตหากทิ้งไวนานพยาธิสภาพของโรคจะรุนแรงขึ้น ตอบสนองตอการรักษาชา และอาจเปนเรื้อรัง ผลกระทบของโรคซึมเศรา โรคซึมเศราเปนปญหาสาธารณสุขที่สําคัญ ทั้ ง ในป จ จุ บั น และจากการคาดการณ ใ นอนาคต ซึ่งเปนโรคที่มีจํานวนผูปวยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และกอใหเกิดความสูญเสียที่รุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ จากการศึกษารวมกันระหวางองคการอนามัยโลก Harvard School of Public Health และธนาคารโลก เพื่อคาดการณภาระของโรค (burden of disease) ที่มีตอประชากรในทุกภูมิภาคของโลก โดยวัดความ สู ญ เสี ย เป น จํ า นวนป ที่ ดํ า รงชี วิ ต อย า งมี สุ ข ภาพดี ปรากฏวา โรคซึมเศราไดเปลี่ยนแปลงอันดับของโรค ที่เปนภาระจากอันดับที่ ๔ ในป ค.ศ.๑๙๙๐ มาเปน อันดับที่ ๒ รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด ในป ค.ศ.๒๐๒๐ สําหรับประเทศไทยพบวา ในหญิงไทย โรคซึมเศราจะกอความสูญเสียปสขุ ภาวะ (Disability Adjusted Life Years, DALYs) เป น อั น ดั บ ๔ และเปนอันดับ ๑๐ ในผูช ายไทย แตมผี ปู ว ยโรคซึมเศรา ที่เขาถึงบริการเพียง รอยละ ๓.๗ เทานั้น ซึ่งหมายถึง ผูปวยก็ตองทนอยูกับอาการเจ็บปวยเปนเวลานาน กวาโรคอื่น ๆ สงผลกระทบตอสังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งถาหากผูปวยโรคซึมเศราไมไดรับการชวยเหลือ ที่ถูกตอง จะมีการเกิดซํ้าและเปนเรื้อรัง อาจนําไปสู การฆาตัวตายและกอใหเกิดความสูญเสียดานสุขภาพ อยางมาก

71

ความชุกของโรคซึมเศรา โรคซึ ม เศร า ในสั ง คมเป น ป ญ หาสํ า คั ญ ทางสุ ข ภาพ และเป น โรคใกล ตั ว ที่ ส ามารถรั ก ษา ใหหายขาดได หากไมไดรบั การรักษาอาจรุนแรงจนนํา ไปสูก ารฆาตัวตายได องคการอนามัยโลกไดประมาณการ ประชากรมากกวา ๓๒๒ ลานคน หรือรอยละ ๔.๔ ของประชากรโลกปวยเปนโรคซึมเศราและเสีย่ งฆาตัวตาย สูงถึงรอยละ ๒๐.๔ และในประเทศไทย มีขอ มูลการสํารวจ ความชุกของโรคซึมเศรา พ.ศ.๒๕๕๑ พบวา มีคนไทย ปวยซึมเศรา ๑.๕ ลานคน หากพิจารณาตามเพศ และอายุของผูป ว ยโรคซึมเศรา พบวา ผูห ญิงเสีย่ งปวย มากกวาผูชาย ๑.๗ เทา โดยผูปวยสวนใหญอยูใน วัยทํางานอายุ ๒๕-๕๙ ป รอยละ ๖๒ รองลงมาเปน วัยสูงอายุ ๖๐ ปขนึ้ ไป รอยละ ๒๖.๕ และเปนเยาวชน อายุ ๑๕-๒๔ ป รอยละ ๑๑.๕ โรคซึมเศรา “ซึมเศรา” ทางการแพทย หรือ Clinical depression หมายถึง ภาวะซึมเศราที่มีมากกวา อารมณเศรา และเปนพยาธิสภาพแบบหนึ่งที่พบได ในหลาย ๆ โรคทางจิตเวช โดยเฉพาะโรคทางอารมณ คือ โรคซึมเศรา (Major depressive disorder หรือ Depressive episode) และ โรคไบโพลาร (Bipolar disorder) โรคทางอายุรกรรมบางโรค สารยาบางชนิด สามารถทําใหเกิดอาการซึมเศราที่รุนแรงได โรคซึมเศราถือเปนโรคทางดานจิตเวชทีพ่ บมาก เปนอันดับตน ๆ ของเมืองไทย เกิดจาก ๒ สาเหตุหลัก คือ ปจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรมและปจจัยดานจิตใจ หรือสิ่งแวดลอม ปจจัยทางชีวภาพหรือพันธุกรรม - กรรมพันธุม สี ว นเกีย่ วของสูงในโรคซึมเศรา โดยเฉพาะในกรณีของผูท มี่ อี าการเปนซํา้ หลาย ๆ ครัง้ - ระบบสารเคมีในสมองของผูป ว ยโรคซึมเศรา มีการเปลีย่ นแปลงไปจากปกติอยางชัดเจน โดยมีสาร ทีส่ าํ คัญไดแก ซีโรโทนิน (serotonin) และนอรเอพิเนฟริน (norepinephrine) ลดตํา่ ลง รวมทัง้ อาจมีความผิดปกติ ของตัวรับสื่อเคมีเหลานี้ ปจจุบันเชื่อวาเปนความ บกพรองในการควบคุมประสานงานรวมกัน มากกวา เปนความผิดปกติทรี่ ะบบใดระบบหนึง่ ยาแกโรคซึมเศรา ที่ ใ ช กั น นั้ น ก็ อ อกฤทธิ์ โ ดยการไปปรั บ สมดุ ล ย ข อง ระบบสารเคมี


72

แผนภูมิแสดงผลกระทบของความเครียดเรื้อรังกับสมอง

ปัจจัยด้านจิตใจหรือสิ่งแวดล้อม เป็นผล มาจากสถานการณ์ความตึงเครียดทางอารมณ์ เช่น หากเป็นภาวะซึมเศร้าในวัยเด็กอาจมีสาเหตุจากความ ตึงเครียดในครอบครัว เหตุการณ์สะเทือนใจอย่าง รุนแรง ภาวะซึมเศร้าซึ่งอาจพบร่องรอยว่าถูกบีบคั้น อย่างมากในวัยเด็ก แล้วปะทุออกมาในช่วงชีวติ ภายหลัง ภาวะซึมเศร้าเพราะความชราเกิดเพราะความสามารถ ในการปรับตัวลดน้อยลง มีชีวิตโดดเดี่ยว ปัญหา ช่องว่างระหว่างวัย ภาวะซึมเศร้าจากปฏิกริ ยิ าทางใจ เช่น อาการซึมเศร้าหลังจากคูแ่ ต่งงานเสียชีวติ ตกงาน หย่าร้าง ภาวะซึมเศร้าเพราะสภาพจิตใจอ่อนล้า เป็นการตอบสนองทางใจต่อสภาวะความเครียดเรือ้ รัง เช่น ชีวิตสมรสมีปัญหาขัดแย้งไม่รู้จบ ความกดดัน จากงานที่ต้องรับผิดชอบ การเปลี่ยนงาน ภาระมาก เกินไป ภาวะซึมเศร้าชนิดนี้มักเกิดในหญิงซึ่งต้องรับ ภาระทัง้ ในครอบครัวและท�างานนอกบ้าน และในชาย ที่ อ ยู ่ ใ นช่ ว งอายุ ๕๐-๖๐ ปี ซึ่งถูก กดดันจากการ ไม่ อ าจขึ้ น สู ่ จุ ด สู ง สุ ด ในอาชี พ การงานของตนได้ หรือปัญหาที่เรียกกันว่าภาวะสะเทือนใจหลังเกษียณ (สูญเสียคุณค่าในตน ไม่มงี าน มีความรูส้ กึ ว่าไร้สมรรถภาพ) ความเครียดส่งผลกระทบต่อการท�างานของสมอง ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ความเครียดเรื้อรังจะท�าให้ร่างกายหลั่งสาร คอร์ตซิ อลจ�านวนมาก ระดับสารคอร์ตซิ อลทีส่ งู จะส่งผล

ต่อการท�างานของสมองในหลายด้าน เช่น ท�าให้ เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงของการควบคุ ม จุ ด เชื่ อ ม สัญญาณประสาท (Disrupt synapse regulation) ท�าอันตรายต่อเซลล์สมองโดยเฉพาะสมองส่วนหน้า (prefrontal cortex) ที่ท�าหน้าที่เกี่ยวกับความจ�า และการเรียนรู้ ท�าให้ขนาดของสมองลดลง โรคซึมเศร้านัน้ ไม่ได้มสี าเหตุมาจากปัจจัยใด ปัจจัยหนึ่งเท่านั้น เหมือนกับการป่วยเป็นไข้หวัด ก็มักเป็นจากร่างกายอ่อนแอ จากการพักผ่อนน้อย ไม่ได้ออกก�าลังกาย ขาดสารอาหาร เปียกฝน อากาศเย็น ร่วมกับการได้รับเชื้อไวรัสที่ท�าให้เกิดไข้หวัด ถ้าเรา แข็งแรงดี แม้จะได้รบั เชือ้ หวัดก็ไม่เป็นอะไร ในท�านอง เดียวกัน ถ้าร่างกายเราอ่อนแอ แต่ไม่ได้รับเชื้อหวัด ก็ไม่เกิดอาการ การเริม่ เกิดอาการของโรคซึมเศร้านัน้ มักมีปัจจัยกระตุ้น มากบ้างน้อยบ้าง บางครั้งอาจ ไม่มีก็ได้ซึ่งพบได้น้อย อย่างไรก็ตาม การมีสาเหตุ ที่เห็นชัดว่าเป็นมาจากความกดดันด้านจิตใจนี้ มิได้ หมายความว่าสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเป็นเรื่องปกติธรรมดา ของคนเราไม่ว่าจะรุนแรงแค่ไหน การพิจารณาว่า การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ผิดปกติหรือไม่ เราดูจาก การมีอาการต่าง ๆ และความรุนแรงของอาการ เป็ น หลั ก ผู ้ ที่ มี อ าการเข้ า กั บ เกณฑ์ ก ารวิ นิ จ ฉั ย โรคซึมเศร้านัน้ บ่งถึงภาวะของความผิดปกติทจี่ า� ต้อง ได้รับการช่วยเหลือ


ข่าวทหารอากาศ

อาการของโรคซึมเศร้า เมื่ อ คนในครอบครั ว หรื อ ใกล้ ชิ ด เข้ า ข่ า ย ซึมเศร้า หลักการสังเกตง่าย ๆ ควรสังเกตพฤติกรรม ดังต่อไปนี้ ๑. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทางความคิด คือมักมีความคิดไปในทาง Negative Thinking หรือความคิดที่เป็นด้านลบตลอดเวลา มักรู้สึกสิ้นหวัง มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกผิด รู้สึกตัวเอง ไร้ค่าไม่มีความหมาย และคิดว่าไม่มีทางเยียวยาได้ ในที่สุดก็จะคิดท�าร้ายตัวเอง คิดถึงแต่เรื่องความตาย และพยายามที่จะฆ่าตัวตาย ๒. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทางการเรียนรู้หรือการท�างาน ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความสนุก งานอดิเรก หรือกิจกรรมที่เพิ่มความสนุก รวมทั้งกิจกรรมทางเพศ รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีพลัง ท�างานช้าลง การงานแย่ลง ไม่มีสมาธิ ความจ�าเสื่อม การตัดสินใจแย่ลง ๓. พฤติกรรมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทางอารมณ์ คื อ มั ก มี ค วามรู ้ สึ ก ซึ ม เศร้ า กั ง วล อยูต่ ลอดเวลา มักหงุดหงิดฉุนเฉียว โกรธง่าย อยูไ่ ม่สขุ กระวนกระวาย เป็นต้น ๔. พฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอย่างเด่นชัด เช่น นอนไม่หลับ ตืน่ เร็ว หรือบางรายหลับมากเกินไป บางคนเบือ่ อาหารท�าให้นา�้ หนักลด บางคนรับประทาน อาหารมากท�าให้น�้าหนักเพิ่ม มีอาการทางกายรักษา ด้วยยาธรรมดาไม่หาย เช่น อาการปวดศีรษะ แน่นท้อง ปวดเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นแย่ลง

คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี เปิดให้ประชาชน คนทั่วไปได้ โดย scan QR code แล้วตอบแบบสอบถาม เพื่อทดสอบภาวะ ซึ ม เศร้ า โดยแบบประเมิ น ดั ง กล่ า วนั้ น พั ฒ นามาจาก แบบสอบถามสุขภาพผูป้ ว่ ย (Patient Health Questionnaire: PHQ-9)

การประเมินนี้เป็นการประเมินระดับภาวะ ซึมเศร้าในขั้นต้น ส่วนการวินิจฉัยนั้นจ�าเป็นต้องพบ แพทย์เพื่อซักประวัติ ตรวจร่างกาย รวมถึงส่งตรวจ เพิม่ เติมทีจ่ า� เป็น เพือ่ ยืนยันการวินจิ ฉัยทีแ่ น่นอน รวมถึง เพื่อแยกโรคหรือภาวะอื่น ๆ เนื่องจากภาวะซึมเศร้า เป็นจากสาเหตุตา่ ง ๆ ได้มากมาย เช่น โรคทางจิตเวชอืน่ ที่ มี อ าการซึ ม เศร้ า ร่ วมด้ วย โรคทางร่ า งกาย เช่ น โรคไทรอยด์ โรคแพ้ ภู มิ ตั ว เอง หรื อ เป็ น จากยา หรือสารต่าง ๆ ดังตารางด้านล่างผลการประเมิน และค�าแนะน�าที่ได้รับจากโปรแกรมนี้จึงไม่สามารถ ใช้แทนการตัดสินใจของแพทย์ได้ การตรวจรักษา เพิม่ เติมหรือการให้ยารักษาขึน้ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ของแพทย์ และการปรึกษากันระหว่างแพทย์และตัวผูป้ ว่ ย/ญาติ

ตารางที่ ๑ โรคหรือยาที่อาจท�าให้เกิดอาการคล้ายคลึงกับโรคซึมเศร้า โรค

73

ยา

๑. โรคสมองอักเสบ โรคตับอักเสบ

๑. ยาลดความดั น เลื อ ด (เช่ น alphamethyldopa, clonidine, propanolol)

๒. โรคระบบประสาท เนื้องอกในสมอง

๒. ยารักษาโรคพาร์กนิ สัน (เช่น levodopa, amantadine)

๓. โรคเอส แอล อี (SLE) วัณโรค โรคเอดส์

๓. ยากลุม่ สเตียรอยด์และฮอร์โมน (เช่น ยาคุมเพรดนิโซโลน)

๔. โรคฮอร์โมนไทรอยด์ต�่า โรคคุชชิ่ง

๔. ยารักษามะเร็ง (vincristine, vinblastine)

๕. โรคขาดไวตามิน (เช่น เพเลกรา เบอริเบอรี่)

๕. ยาอื่น ๆ เช่น ไซเมทิดีน cyproheptadine


74

การรักษาโรคซึมเศร้า โรคซึ ม เศร้ า เป็ น โรคทางสมองชนิ ด หนึ่ ง ไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริงของผู้ป่วย โรคนี้จะสร้างความ ไม่ ส บาย ความทุ ก ข์ ใ ห้ กั บ ผู ้ ที่ ต ้ อ งเผชิ ญ กั บ โรคนี้ เป็นอย่างมาก แต่การได้รบั การดูแลรักษาอย่างถูกต้อง และจริงจัง จะสามารถท�าให้โรคหายไปและกลับไป มีความสามารถได้ดังเดิม การรักษาโรคซึมเศร้า สามารถรักษาโดยการ ปรึกษาจิตแพทย์ การท�าจิตบ�าบัด รวมถึงการใช้ยา ตามกลุ่มต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น ๑. Tricyclics group ได้แก่ Amitriptyline Imipramine NortriptylineAnafranil และ Sinequan เป็นต้น อาการข้างเคียง คือ คอแห้ง ปากแห้ง ท้องผูก มึนงง ตาพร่า หน้ามืดเวลาเปลี่ยนท่า หัวใจเต้นเร็ว หรือเต้นผิดจังหวะ ง่วงนอน ๒. Tetracyclics group ได้แก่ Mirtazapine อาการข้างเคียง คือ ปากแห้ง ง่วงนอนมาก ๓. Triazolopyridines group ได้ แ ก่ Trazodone อาการข้างเคียง คือ ง่วงนอนมาก มึนงง ความดันต�่าขณะเปลี่ยนท่าท�างาน ปวดหัว ๔. SSRI group ได้ แ ก่ Sertraline Escitalopram Fluoxetine Fluvoxamine Paroxetine เป็นต้น ยากลุ่ม SSRI เป็นยากลุ่มที่ใช้ กันมากในปัจจุบันคือซึ่งกลไกส�าคัญคือจะไปยับยั้ง การดูดซึมซีโรโตนินกลับเข้าเซลล์ (Selective Serotonin Reuptake inhibitor: SSRI) ท�าให้ซีโรโตนินเพิ่มขึ้น บริเวณส่วนต่อระหว่างเซลล์ประสาท อาการข้างเคียง คือ คลืน่ ไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ท้องเสีย อาจมีอาการ นอนไม่หลับและความต้องการทางเพศลดลง ๕. SNRI (serotonin Norepinephrinereuptake inhibitor: SNRI) Group ได้แก่ Venlafaxine Duloxetine, Des-venlafaxine

อาการข้างเคียง คือ ปากแห้ง คอแห้ง คลืน่ ไส้ อาเจียน นอนไม่หลับ และความต้องการทางเพศลดลง ขัน้ ตอนการรักษาทัง้ หมดจะมีจติ แพทย์เป็นผู้ ประเมินอาการ เพื่อพิจารณายาที่จะใช้ในการรักษา โดยเริม่ ในขนาดยาทีต่ า�่ ก่อน แล้วนัดติดตามผลการรักษา ก่อนปรับขนาดยาขึ้นทุก ๆ ๑-๒ สัปดาห์ จนเห็นผล การรักษาทีด่ กี ารกินยาไม่ใช่จะดีขนึ้ ทันทีทกี่ นิ แต่ตอ้ ง มาพบจิตแพทย์เพื่อประเมินผลการรักษา เมื่อผู้ป่วย อาการดีขึ้น อาจต้องกินยาต่อเนื่องอีก ๔-๖ เดือน แล้วจึงค่อยลดขนาดยาลงจนหยุดยาได้ เพื่อป้องกัน การกลับมาเป็นซ�้าอีกครั้ง แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะซึมเศร้า และการฆ่าตัวตาย ภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายสามารถ ป้องกันได้ โดยใช้หลัก ๓ ส. คือ - สอดส่องมองหา - ใส่ใจรับฟัง - ส่งต่อเชื่อมโยง ตัวอย่างเช่น นักเรียนนักศึกษาทีม่ คี วามเครียด วิ ต กกั ง วลกั บ ปั ญ หาที่ เ ผชิ ญ อยู ่ จะมี ผ ลต่ อ สมาธิ และความสามารถในการเรียน ซึง่ คนรอบข้างสามารถ สังเกตอาการและพฤติกรรมที่ผิดปกติ ได้แก่ อาการ เหม่อลอย ไม่รา่ เริงแจ่มใส มาเข้าเรียนสายหรือไม่เข้าเรียน เรียนไม่ทันเพื่อน หลับในห้องเรียน เมื่อพบเห็นภาวะ ดังกล่าว คนรอบข้างไม่วา่ จะเป็นเพือ่ น อาจารย์ทปี่ รึกษา คนใกล้ชดิ รวมทัง้ ครอบครัว ต้องรีบเข้าไปพูดคุยร่วมกัน หาสาเหตุ รับฟังปัญหาอย่างเข้าใจและใส่ใจ ให้การ ช่วยเหลือ ให้ค�าปรึกษา หรือส่งต่อแพทย์ได้อย่าง ทันท่วงที เพื่อเข้ารับการดูแลและรักษาอย่างถูกวิธี จะท�าให้อาการดีขนึ้ และหายขาดได้ หรือสามารถโทร ปรึ ก ษาปั ญ หาได้ ที่ ส ายด่ ว นสุ ข ภาพจิ ต ๑๓๒๓ ของกรมสุขภาพจิต ตลอด ๒๔ ชั่วโมง

อ้างอิง - Murray JL, &Lopez AD eds (1996). The global burden of disease and injury series,volume1:a comprehensive Assessment of mortality and disability from disease, injuries and risk factors in 1990 and projected to2020,Havard University press - The Thai working group on burden of disease and injuries(๒๐๐๒).Burden of disease and injuries in Thailand: Bureau of health policy and planning,Ministry of public health - มาโนช หล่อตระกูล.โรคซึมเศร้า:การวินิจฉัยและการรักษาต�าราจิตเวชศาสตร์รามาธิบดีฉบับเรียบเรียงครั้งที่ ๔ - มาโนช หล่อตระกูล(๒๕๕๔)การฆ่าตัวตาย:การรักษาและการป้องกัน - โดย โรเบิร์ต พลูทชิค (๑๙๘๐)


ข่าวทหารอากาศ

ม 2563

ประจ�ำเดือน มกรำค

1

2

3

4 15

14

16 19

21

25

24

26

28

29

30 36

32

31

33

35

34

38

37

39

40

41

42

44

43

47

46

45 48 51

20

22 23

27

12

18

17

8

7 11

10

9 13

6

5

49

50

52

53 54

55

75


76

Across

Crossword

1. _______ is a small colored rubber bag that you blow air or gas into and used as a toy. 7. These days the economic is terrible, so we often ride a _______ to work instead of driving a car. 9. Thai coins are made of _______, a soft white colored metal that is often mixed with other metals. 10. This kind of fruit is _______, it is not harmful, so you can have it. 13. Air Vice Marshal is lower than _______ (anabbreviation). 15. An object of pronoun “we”. 16. _______ you a pilot? 17. _______ is an abbreviation for “chief officer”. 18. _______ is an animal such as a snake and crocodile. 19. _______ is an abbreviation of “October”. 21. We often go jogging about one _______ (anabbreviation for kilometer). 22. _______ is hot liquid rock that comes out of a volcano. 23. _______ means you do or talk in a way to show that you do not like the influence of somebody or something. 25. That made works very hard ; cleaning, cooking, ironing, _______ (an abbreviation for “and so on”). 27. A : How ______ students are there in this class? B : Forty. 29. Joe is as smart _______ Peter.

31. _______ is a round flat object that stores information for using by computer. 35. A, _______, the. 36. I lost one of my diamond earrings last week but I_______ it by chance so i’m very happy now. 38. Are you sleepy _______ tired? 39. The rich often stay in a _______ hotel or impressive big hotel. 40. _______ means not doing anything, not being used. 41. Don’t take an _______ or weapon to the public. 43. Some bakeries have the promotion to reduceprices 10-20% on _______ (an abbreviation for Wednesday). 44. _______ is an abbreviation for Organization Development. 45. Run, _______, run. 47. It’s very dangerous to sell something in the_______ (an abbreviation) even the traffic light is red. 48. The same as No.35 Across. 49. The amount of food or drink that you can put in your mouth. 51. I dropped a _______ on a floor while I sewed the curtain so you must be careful. 53. An abbreviation for “The United States of America”. 54. A : Please _______ a word “multiply”. B : m-u-l-t-i-p-l-y. 55. _______ multiply means to increase a number by the number of times mentioned.


ข่าวทหารอากาศ

Down

77

Crossword

1. When I was young, I watched only white and_______ TV. 2. “Captain rank” is higher than _______ (an abbreviation). 3. Samai is a learned student, he often goes to a_______, where there are many kinds of books are kept. 4. _______ the other hand Samai ignores the physical exercises then he is often sick. 5. “Home” is the important thing for human beings as well as a _______ for the birds. 6. My car _______ or stops suddenly then I often call a car mechanic to help me. 7. Is she going to _______ Miss Universe? 8. Send, _______, sent. 11. The same as No.16 Across. 12. The same as No. 7 Down. 14. Mother. 15. Opposite of “down”. 19. Summer season will be _______ or end soon. 20. A dog and a _______ are the domestic animals. 22. _______ means close to the ground or to bottom of something. 24. _______ is a person who helps a golf player in a game by carrying an equipment.

26. He is able to or _______ sing very well. 27. A food looks like butter, made by vegetable fats. 28. The same as No.29 Across. 30. All at once, immediately. 32. _______ means alone, by yourself. 33. You will have lots of dept if you have a _______card or plastic card. 34. Calm and quiet. 35. Purpose, goal. 36. A young deer. 37. “To be Number _______ project” is very useful to the drug addicts, everybody likes this one. 42. _______, sat, sat. 46. _______ is a small green plant with no

flowers.

47. _______ is one of the long narrows pieces of wood, metal or plastic in a cupboard door. 48. _______ is an abbreviation for “advertisement”. 50. The same as No.15 Across. 52. ______ is an abbreviation for “former of an earlier time”.


78

เฉลย Crossword ประจ�ำเดือน ม.ค.๖๓


ข าวทหารอากาศ

ASEAN Community Little Tidbits เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยประชาคมอาเซียน @Zilch

National Animal of Thailand สัตว์ประจ�าชาติของประเทศไทย

Elephant

Thailand’s national animal is elephant. In those old days, there were around 100,000 elephants in Thailand. Most of them were engaged mainly in war. Later, they were replaced by new advanced weapons. Instead, they became labors in pulling logs from the woods. Nowadays, elephants are considered as vulnerable species. Though, elephants work in shows to promote tourism. In the past, on the Thai national flag, there was a picture of a white elephant. The flag was called “the white elephant flag”. It was long used until 1917, which was the beginning year of the use of the Thai Tricolor Flag (Thong Trai Rong).

ช้าง

สัตว์ประจ�าชาติของประเทศไทย คือ ช้าง ในสมัยโบราณ ประเทศไทยมีช้างอยู่ มากมายนับแสนตัว ช้างส่วนมากจะถูกใช้ ในการสงครามเป็นหลัก ต่อมาเมื่อมีอาวุธ สมัยใหม่เข้ามาแทนที่ ช้างจึงถูกน�าไปใช้ แรงงานจ�าพวกชักลากซุงในป่า ในปัจจุบัน ช้างเป็นสัตว์อนุรักษ์ที่ถูกใช้ในงานแสดง และการท่องเทีย่ วในอดีต ประเทศไทยเคย ใช้ภาพช้างสีขาวเป็นส่วนหนึ่งของธงชาติ เรียกว่า “ธงช้างเผือก” ก่อนจะถูกเปลี่ยน มาใช้ ธ งไตรรงค์ อ ย่ า งในปั จ จุ บั น เมื่ อ ปี พ.ศ.๒๔๖๐

ข้อมูลจาก : http://www.thachang.go.th/gallery/detail/14611 รูปจาก : http://www.thachang.go.th/gallery.detail/14611, https://th.wikipedia.org/wili/ธงชาติไทย http://www.flagvictory.com/thai_flag3.html, http://www.thaigoodview.com/node/205285

79


80

Shake for Safe ¡ÑºÃ¶ÊҸԵἋ¹´Ô¹äËÇ ร.อ.หญิง วิวัสวัน เปลงวิทยา

หากพูดถึงภัยประจําถิน่ ในประเทศไทย คําวา รอน แลง ฝน และนํ้าทวม คงเปนคําที่นึกขึ้นมาได อันดับตน ๆ แตวันนี้ผูเขียนมีโอกาสไดทําความรูจัก กับอีกหนึ่งภัยที่เริ่มมีผลกระทบมากขึ้นกับบานเรา ในชวงที่ผานมา นั่นก็คือ ภัยจากแผนดินไหวนั่นเอง เอาเขาจริง ๆ แลว เรายังรูสึกวาหางไกลเหลือเกิน กับเหตุการณแผนดินไหวเพราะไมเคยมีประสบการณ ไมเคยสัมผัสกับความรุนแรงของภัยชนิดนี้มากอน ซึ่ ง อาจทํ า ให ค นส ว นใหญ ล ะเลยและไม ท ราบถึ ง ขอควรปฏิบตั หิ ากตกอยูใ นสถานการณดงั กลาว สวนคน ที่เคยอยูในพื้นที่แผนดินไหวก็ไมสามารถอธิบายได ดวยคําพูด ภาพที่เห็นในหนาขาวก็ดูไมออกวารุนแรง ขนาดไหน วันนี้เรามีอีกหนึ่งนวัตกรรมลดความเสี่ยง ดานบรรเทาสาธารณภัย ไดแก “รถสาธิตแผนดินไหว” จากกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย มาแนะนํากัน


ข่าวทหารอากาศ

ส�ำหรับรถสำธิตแผ่นดินไหวนี้ก็จะมีหน้ำที่ จ� ำ ลองสถำนกำรณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหวในระดั บ ต่ ำ ง ๆ และก่อนที่พวกเรำจะได้เข้ำไปสัมผัสถึงควำมแรง ของแผ่นดินไหว ก็จะมีเจ้ำหน้ำที่และทีมวิทยำกร ที่ ค อยแนะน� ำ ข้ อ ควรปฏิ บั ติ ใ ห้ พ วกเรำรั บ ทรำบ มี ก ำรใส่ ห มวกนิ ร ภั ย กั น ก่ อ นให้ พ วกเรำเข้ ำ ไปนั่ ง ในห้องจ�ำลองสถำนกำรณ์ได้ ภำยในห้ อ งจ� ำ ลองก็ จ ะมี โ ต๊ ะ (ที่ ข ำโต๊ ะ ทั้ ง สี่ ข ำได้ มี ก ำรยึ ด กั บ พื้ น ไว้ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว แล้ ว ) และเก้ำอี้ที่วำงลอยตัวไว้ท้ังหมด ๔ ตัว ถัดจำกนั้น ผู ้ ท ดลองทุ ก ท่ ำ นก็ จ ะได้ เ ข้ ำ ไปนั่ ง ทดลองกั น เลย เมื่ อ เจ้ ำ หน้ ำ ที่ เ ริ่ ม เปิ ด เครื่ อ งท� ำ แรงสั่ น สะเทื อ น เจ้ำหน้ำที่ก็จะตะโกนบอกว่ำตอนนี้อยู่ที่ควำมรุนแรง ระดั บ ที่ เ ท่ ำ ไหร่ แ ล้ ว “เสี ย งตึ้ ง ตั้ ง ๆ” ก็ เ ริ่ ม ดั ง ขึ้ น ตัวโครงสร้ำงห้องจ�ำลองก็เริ่มโยกไปมำ ซ้ำยขวำ สลับกำรกระแทกลงตำมควำมรุนแรง เจ้ำหน้ำที่ก็จะ บอกให้คนทีท่ ดลองหลบเข้ำใต้โต๊ะ และจับขำโต๊ะให้มนั่ เพรำะเหตุกำรณ์เริม่ รุนแรงขึน้ ขนำดผูเ้ ขียนเป็นคนดูอยู่ ด้ ำนล่ ำงยั ง รู้สึก ได้ถึงภำวะไร้สมดุลใด ๆ ในกรณี ที่ เ กิ ด กั บ อำคำรสู ง หรื อ อำคำรบ้ ำ นเรื อ นทั่ ว ไป ภำพกล้องวงจรปิดที่ถ่ำยในส�ำนักงำนในตึกสูงต่ำง ๆ ที่ ป ระเทศญี่ ปุ ่ น ในช่ ว งที่ ต ้ อ งเจอกั บ แผ่ น ดิ น ไหว ครัง้ ก่อน ๆ ทีเ่ รำเห็นกันในทีวกี ว็ งิ่ เข้ำหัวมำอย่ำงอัตโนมัติ ในโลกแห่งควำมเป็นจริง ขำโต๊ะไม่มีกำรยึดกับสิ่งใด สิง่ ของ ตูเ้ อกสำร และสิง่ ของทีว่ ำงอยูบ่ นทีส่ งู ก็มโี อกำส หล่นร่วงมำท�ำอันตรำยสูต่ วั เรำได้ ไหนจะระบบไฟฟ้ำ ระบบแก๊ส ระบบน�ำ้ ทีพ่ ร้อมจะขัดข้องตำมเหตุกำรณ์ เหล่ำนี้อีก น่ำกลัวจริง ๆ ถ้ำเรำไม่รู้วิธีปฏิบัติทั้งก่อน ระหว่ำง และหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว ผู้เขียนคิดว่ำ ควำมตื่นตระหนกจะยิ่งท�ำให้สถำนกำรณ์จะยิ่งแย่ ลงไปอีกอย่ำงแน่นอน

81


82

ในปนเี้ องทีก่ รมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ไดเริ่มนํา “รถสาธิตแผนดินไหว” ออกใหความรู และมอบประสบการณจริงใหแกประชาชนทัว่ ประเทศ ไมวา จะโรงเรียน หนวยงานหรือองคกรตาง ๆ ก็สามารถ ขอสนับสนุนรถสาธิตดังกลาวได โดยในป พ.ศ.๒๕๖๓ กองทัพอากาศโดยศูนยบรรเทาสาธารณภัยกองทัพอากาศ ไดขอสนับสนุนรถสาธิตแผนดินไหวพรอมทีมวิทยากร มามอบความรูใ หกบั ขาราชการกองทัพอากาศทีเ่ ขารวม โครงการอบรมเจ า หน า ที่ ป ฏิ บั ติ ง านด า น HADR และประชาสั ม พั น ธ ก ารตระหนั ก รู  ข องกํ า ลั ง พล กองทัพอากาศ ประจําป พ.ศ.๒๕๖๓ ในชวงเดือน มกราคมและกรกฎาคม หากหนวยงานหรือกองบินใด ของกองทัพอากาศอยากทดสอบรถสาธิตแผนดินไหว สามารถทําหนังสือขอรับการสนับสนุนไดโดยตรง ทีก่ รมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ซึง่ รถสาธิตแผนดินไหวนีม้ กี ระจายอยู ณ ศูนยปอ งกัน และบรรเทาสาธารณภัย ประจําเขตตาง ๆ ทัว่ ประเทศ นอกจากนั้ น ก็ ยั ง มี คู  มื อ และใบคํ า แนะนํ า ขั้ น ตอน การปฏิบัติไวสําหรับแจกจายใหแกบุคลากรอีกดวย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ


ภาษาไทย

ข่าวทหารอากาศ

83

ด้วยใจรัก

นวีร

“ภาษาไทยเปนเครื่องมืออยางหนึ่งของชาติ

ภาษาทั้งหลายเปนเครื่องมืออยางหนึ่งของมนุษยชนิดหนึ่ง คือเปนทางสาหรับแสดงความคิดเห็นอยางหนึ่ง เปนสงสวยงามอยางหนึ่ง เชนในทางวรรณคดี เปนตน” พระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร สําหรับคอลัมน ภาษาไทยดวยใจรัก ในฉบับนี้ ขอนําเสนอศัพทอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเชียน ณ อาคารอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม - ๔ พฤศจิกายน ไดเสร็จสิ้น ลงแลวอยางสําเร็จ และสมบูรณ โดยมีประมุข ผูนํา หรือหัวหนารัฐบาล ของประเทศ “ประชาคมอาเซียน” ซึง่ มี ๑๐ ประเทศ คือ กัมพูชา ไทย บรูไนดารุสซาลาม พมา ฟลิปปนส มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร และอินโดนีเซีย ทัง้ นี้ ประเทศไทยในฐานะ “ประธาน ประชาคมอาเซียน” เปนเจาภาพจัดงานประชุม อยางสมเกียรติและดียิ่ง การประชุมครั้งนี้ ไมเพียงแตมีประมุข ผูนํา หรือหวหนารัฐบาลของประเทศ “ประชาคมอาเซียน” เทานัน้ ทีเ่ ขาประชุม แตยงั มีประมุข ผูน าํ หรือหัวหนา รัฐบาลประเทศคูเจรจาของประเทศ “ประชาคม อาเซียน” อีก ๘ คู เขารวมประชุมดวย ประเทศเหลานี้ ลวนเปนประเทศที่เห็นความสําคัญและเคยติดตอ คบหากับประเทศ “ประชาคมอาเซียน” จึงมาขอเจรจา นอกรอบ เพื่อความสะดวกและประหยัดเวลา และเหตุ ผ ลอื่ น ๆ ประเทศเหล า นี้ คื อ ประเทศ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุน เกาหลีใต นิวซีแลนด

รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา อีกทั้งมีผูแทนจากองคการ สหประชาชาติเขารวมประชุมดวย “ประชาคมอาเซียน” นี้ สืบจาก “สมาคม อาเซียน” ที่ลมลุกคลุกคลานมาหลายป จนในที่สุด เมื่อ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ จึงรวมตัวเปน “ประชาคม อาเซียน” โดยมีกฎบัตรอาเซียนเปนกรอบหลัก และมีแนวทางการดําเนินงานแบงเปน ๓ เสาหลัก คือ ๑. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ๒. ประชาคมเศรษกิจอาเซียน ๓. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยมีคําขวัญวา “หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งอัตลักษณ หนึง่ ชุมชน” ซึง่ กลาวโดยสรุปวา ประเทศ “ประชาคม อาเซียน” ทั้ง ๑๐ ประเทศนั้น จะตองเปนชุมชน เดียวกัน มีวิสัยทัศนและอัตลักษณเดียวกัน การประชุม “ประชาคมอาเซียน” มีหลายระดับ เมือ่ แรกเริม่ กอตัง้ สวนใหญจะเปนการประชุมระหวาง เจาหนาที่ผูปฏิบัติหนาที่ และนํานโยบายจากผูนํา หรือผูบ ริหารไปประชุมและปฏิบตั ิ ตอมาอีกหลายสิบป จึงมีการประชุมระดับประมุข ผูน าํ หรือหัวหนารัฐบาล เรียกวา “การประชุมสุดยอดอาเซียน” คํานีจ้ งึ ถือเปน “ศัพทบญั ญัต”ิ ของ ASEAN Summit (อาเซียน ซัมมิท)


84

“ศัพท์บัญญัติ” คือ ค�ำที่ก�ำหนดขึ้นไว้ให้มี ควำมหมำยเฉพำะเป็นเรื่อง ๆ ไป ในบทควำมนี้ มิได้มุ่งเสนอผลกำรประชุม แต่มงุ่ เสนอศัพท์บญ ั ญัตภิ ำษำไทย ซึง่ สำมำรถใช้แทน ค�ำภำษำอังกฤษ (บำงค�ำ) ได้อย่ำงถูกต้อง นุ่มนวล และเหมำะสม ดังจะยกตัวอย่ำง ต่อไปนี้ ๑. กำรประชุมสุดยอดอำเซียน : ASEAN Summit อำเซียน ซัมมิท ๒. กฎบัตรอำเซียน : ASEAN Charter ๓. ประชำคมอำเซียน : ASEAN Community ๔. สมำคมอำเซียน : Association of South East Asian Nation Community ๕. ค�ำขวัญ : Motto ๖. วิสัยทัศน์ : Vision ๗. อัตลักษณ์ : Identity

๘. ชุนชน : Community ๙. ประชำคมกำรเมืองและควำมมั่นคง อำเซียน: ASEAN Political-Security Community ๑๐. ประชำคมสังคมและวัฒนธรรมอำเซียน : ASEAN Socio CulturalCommunity: ASCC. ๑๑. ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน : ASEAN Economic Community (AEC) ในข้อ ๑๑ ประชำคม เศรษฐกิจอำเซียน คือแนวทำงส�ำคัญของกำรประชุม แต่มีค�ำศัพท์ส�ำคัญอีกค�ำหนึ่งค�ำในเรื่องนี้ คือ RCEP ๑๒. แผนกำรตกลงเกี่ยวกับกำรค้ำ อำเซียน +๖ : RCEP ซึง่ ย่อมำจำก Regional Comprehensive Partnership คือแผนกำรตกลงเกียวกับกำรค้ำเสรี ระหว่ำง ชำติ ๑๐ ชำติของประชำคมอำเซียน กับ ๖ ชำติ คูเ่ จรจำ คือ จีน ญีป่ นุ เกำหลีใตั อินเดีย ทัง้ นี้ เป็นไปตำม ข้อตกลงพันธมิตรของกำรค้ำระดับภูมิภำค


ข่าวทหารอากาศ

85

พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ

กรอบความร่วมมือ ๖ ประเทศภูมิภาคมีวางไว้ เเน่ชัด เนื่องจากการประชุมครั้งนี้มีเป้าหมายหลัก อยูท่ หี่ นุ้ ส่วนของภูมภิ าค คือเป็นไปตามแผนตกลงของ RCEP เป็นการรวมกลุม่ การค้าเสรีระหว่าง ๑๐ ประเทศ อาเซียน +๖ ชาติ คู่เจรจา การรวมกลุ่มเศรษฐกิจที่เรียกชื่อว่า กลุ่ม RCEP จึงเป็นชี่อใหม่ที่หลายคนอาจไม่คุ้น แต่หากบอกว่า เป็นการรวมกลุ่มเศรษฐกิจที่เรียกว่า อาเซียน +๖ หรือ ASEAN +6 น่าจะคุน้ กว่า เดิมผูเ้ ขียนไม่คอ่ ยเข้าใจ เรื่องการประชุมสุดยอดอาเซียนนี้นัก ต่อเมื่อทราบ ค�าอาเซียนเป็นภาษาไทยบ้าง จึงพอเข้าใจดีขึ้น การคิดค�าศัพท์อาเซียนเป็นศัพท์ไทยคงคิด ท�าตามแบบที่ราชบัณฑิตยสถานวางแนวทางไว้ ทั้งนี้ ด้วยพระปรีชาญานของ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ ที่ได้ทรงวาง แนวทางไว้ก่อนนั้น กล่าวคือ มีการพิจารณาศัพท์ ต่างประเทศนัน้ ว่ามีความหมายดัง้ เดิมอย่างไร ควรเรียก เป็นค�าไทยอย่างไร ทั้งนี้ จะแบ่งเป็น ๓ ขั้นตอน คือ ๑. คิดค�าไทยก่อน แต่ต้องให้เหมาะสม อย่าใช้เป็นศัพท์สามัญที่ใช้กันโดยทั่วไป ฉะนั้น เราจึงมี

ค�าว่า ข้อคิด (thougt) สงบ (calm) ผันผวน (turmoil) สุดยอด (SUMMIT) เป็นต้น ๒. ถ้าหาค�าไทยไม่ได้ ก็ให้หาจากค�าบาลี สันสกฤต ซึ่งเป็นค�าที่ใช้อยู่บ้างแล้วในภาษาไทย เพือ่ จะได้เข้าใจ อีกทัง้ ออกเสียงได้งา่ ย ถ้าได้คา� สละสลวย ด้วยยิ่งดี ภาษาไทยจึงมีค�าว่า กัมมันตภาพรังสี (radio activity) โทรทัศน์ (television) องค์การ (organization) สือ่ มวลชน (mass media) รัฐธรรมนูญ (constitution) ประชาคม (community) กฎบัตร (charter) ๓. ถ้าคิดอย่างข้อ ๑ และข้อ ๒ ไม่ได้ ก็ใช้ ของเดิมทับศัพท์ไปก่อน จนกว่าจะหาค�าอืน่ ได้เหมาะสม เช่น summit เราใช้ทั้ง สุดยอด และซัมมิต ทั้งนี้ ต้องเขียนให้เป็นไปตามระบบของภาษาไทย ซึง่ ไม่จา� เป็น ต้องพ้องกับภาษาเดิมเสมอไป เช่น ค�าว่า pipe จากภาษาอังกฤษ ภาษาไทยใช้ว่า แป๊ป ค�าว่าไวทย์ จากภาษาสันสกฤต ภาษาไทยใช้ว่า แพทย์ เป็นต้น เมื่อได้เรียนรู้ศัพท์อาเซียนเป็นภาษาไทย บ้างแล้ว เรือ่ งของอาเซียนจะเข้าใจง่าย และสนุกสนาน ขึ้นอีก การประชุมเกี่ยวกับอาเซียนครั้งต่อ ๆ ไป ก็จะบรรลุผลโดยเร็วขึ้นด้วย


86

ล�ำดับขั้นของกำรประชุม “ประชำคมอำเซียน” ตามที่ทราบแล้วว่าการประชุมของ “ประชาคม อาเซียน” นัน้ มีหลายระดับ ส�าหรับล�าดับขัน้ ของการ ประชุม “ประชาคมอาเซียน” มีดังนี้ - ล�าดับที่ ๑ ASEAN Summit (อาเซียน ซัมมิท) คือ ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน หรือที่ประชุม ของประมุข หรือหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิก อาเซียน - ล�าดับที่ ๒ ASEAN Ministerial Meeting คือ ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ - ล�าดับที่ ๓ ASEAN Economic Ministers’ Meeting คือ ที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน - ล�าดับที่ ๔ คือ ที่ประชุมระดับรัฐมนตรี ด้านอื่น ๆ - ล�าดับที่ ๕ Senior Officials’ Meeting (SOM) คือ ทีป่ ระชุมระดับเจ้าหน้าทีอ่ าวุโส หรือระดับ อ้ำงอิง

ปลัดกระทรวง ท�าหน้าที่ก�าหนดนโยบาย และเร่งรัด การด�าเนินการตามนโยบายของที่ประชุมระดับผู้น�า และระดับรัฐมนตรี - ล�าดับที่ ๖ ASEAN Standings Committee (ASC) คือ ที่ประชุมคณะกรรมการประจ�าอาเซียน ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยอธิ บ ดี ก รมอาเซี ย นของประเทศ สมาชิก จะท�าหน้าที่ก�าหนดแนวทาง และเร่งรัด การด�าเนินการตามมติที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ทั้งนี้ การประชุมทุกระดับของอาเซียน การจะตัดสินเรื่องใด เรื่องหนึ่งต้องใช้การลงคะแนน เสียงโดยใช้หลักฉันทานุมัติ (Consensus) หมำยเหตุ : ค�าว่า “ล�าดับ” เป็นค�านาม หมายถึง อันดับ, การเรียงกันไว้ให้เป็นระเบียบตาม ต�าแหน่ง เช่น นั่งตามล�าดับ เข้าแถวตามล�าดับไหล่ เรียงตามล�าดับอักษร

ข้อมูล : เรียบเรียงจากกรมอาเซียนและกรมประชาสัมพันธ์ ข้อมูล : ราชบัณฑิตฯ ๔ พ.ย.๖๒ อนุญาตเผยแพร่ได้ “เรียนรู้ภาษาไทยจากสื่อมวลชน” นายธีระพงษ์ โสดาศรี อดีตอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์


ข าวทหารอากาศ

... เป็นผู้รู้ว่าจิตของตนผ่องใสได้เสมอ ...

วั น หนึ่ ง ขณะที่ ผู ้ เ ขี ย นก� า ลั ง ดู รู ป เก่ า ๆ สมั ย ที่ ไปเรียนหนังสือทีต่ า่ งประเทศ เห็นมีภาพตัวเองถ่ายคูก่ บั รูปแกะสลักของเทพเดวิดที่ประเทศอิตาลี ท�าให้นึกถึง ความหลังเก่า ๆ ว่าช่วงปิดเทอมได้ขับรถจากเยอรมนี ผ่ า นสวิ ส เซอร์ แ ลนด์ เข้ า ไปอิ ต าลี ท างตอนเหนื อ ผ่านเมืองมิลาน ลงไปยังเมืองฟลอเรนซ์ทซี่ งึ่ ได้เกิดภาพนี้ ขึน้ มา แล้วเลยไป เมืองปิซา และไปกรุงโรม ขับรถเทีย่ ว ก็เป็นความสนุกไปอีกแบบหนึง่ ถ้าท�าได้ ทีอ่ ติ าลีนผี่ เู้ ขียน ชอบรูปแกะสลักมาก เพราะฝีมอื เขาดีจริง ๆ อย่างทีเ่ คย บอกแล้วว่าผู้เขียนเป็นคนไม่มีหัวทางศิลปะ เลยวาด ไส้เดือนเท่านัน้ ทีด่ แู ล้วใกล้เคียงทีส่ ดุ เมือ่ เห็นงานศิลปะ ที่ไหน จะชอบดูมาก ดูและชื่นชมคนที่เขาท�าได้พร้อม กับคิดในใจว่า เขาท�าได้ยงั ไงหนอ ท�าไมเราถึงท�าไม่เป็น อย่างประเทศของเราก็มี อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัตน์ ทีท่ า� งานพุทธศิลป์ได้อย่างงดงามไม่แพ้ใคร และทีส่ า� คัญ ที่อิตาลีนั้นมีหินอ่อนมากมาย จึงมีนักแกะสลักหินอ่อน

อยู่ทั่วไป ที่อ�าเภอปักธงชัย มีคนแกะหินทรายเป็นรูป ต่ า ง ๆ เยอะแยะ กลั บ มาที่ รู ป แกะสลั ก เทพเดวิ ด ที่ผู้เขียนชอบมาก ๆ เพราะเขาแกะได้ละเอียดสวยงาม จริง ๆ ชัดเจนทุกส่วนของร่างกาย ทั้งที่มีขนาดใหญ่สูง มากกว่า ๑๔ ฟุต คนที่แกะรูปนี้ คือ ไมเคิลแองเจโล เขาแกะรูปนี้เมื่อปี ค.ศ.๑๕๐๑ ใช้เวลาแกะสี ๔ ปีเศษ เป็นผลงานที่ท�าชื่อเสียงให้ไมเคิลแองเจโล จนมีคนรู้จัก ไปทั่วโลก มีเกล็ดเรื่องราวที่น่าสนใจว่า ในวัยชราของ ไมเคิลแองเจโลนั้น เขามีชื่อเสียงจากผลงานมากมาย แต่ผคู้ นก็มกั จะถามเขาแต่ผลงานรูปแกะสลักเทพเดวิด ครัง้ หนึง่ มีนกั เขียนไปสัมภาษณ์และถามว่า อะไรคือแรง บันดาลใจทีท่ า� ให้ทา่ นแกะสลักเทพเดวิดได้งดงามอย่างนี้ ค�าตอบของเขาคือ "ผมไม่รู้เลยจริง ๆ ผมเดินผ่านหิน ก้อนนี้ทุก ๆ วัน ก่อนเข้าที่ท�างานของผม แล้ววันหนึ่ง ผมก็คิดอยากแกะสลักรูปของเทพเดวิด ที่กล่าวถึงใน พระคัมภีร์ ผมไม่รู้จะไปหาหินที่ไหนจึงเข้าไปดูหินก้อนนี้

87


88

เมื่อท�ำควำมสะอำดแล้วก็พบว่ำ เป็นหินอ่อนที่เนื้อดีมำก เมื่อขนย้ำยมำติดตั้งเตรียมแกะสลัก ผมก็พบว่ำผมเห็น เทพเดวิดยืนสง่ำอยู่ภำยในหินก้อนนี้แล้ว ผมเพียงแต่ แกะหินที่ไม่ใช่ส่วนของเทพเดวิดออกเท่ำนั้นเอง ก็ได้ เทพเดวิดอย่ำงที่เห็นนี่แหละ" ผู้เขียนชอบค�ำตอบของ ไมเคิลแองเจโลมำก เพรำะเขำไม่รจู้ ะบอกคนทัว่ ๆ ไปว่ำ เขำแกะสลักรูปเทพเดวิดได้ยังไง เพรำะมันเป็นงำน ฝีมือแท้ ๆ แกะสลักไป ๆ มันก็ออกมำสวยงำมอย่ำงนี้ ค�ำตอบเขำท�ำให้คนฟังชัดเจนได้วำ่ ควำมงดงำมเหล่ำนี้ มันมีอยูใ่ นใจของคนแกะสลัก เพียงแกะสลักให้ได้อย่ำงใจ เท่ำนั้นเองก็จะได้ผลงำนอย่ำงนี้ ท�ำให้ผู้เขียนนึกถึง ค�ำกล่ำวของพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำทีก่ ล่ำวว่ำ จิตคนเรำนัน้ ประภัสสรอยู่แล้ว แต่ที่เศร้ำหมองไปเพรำะมีกิเลสมำ ปิดบังไว้ เพียงเอำกิเลสออกไป จิตคนทุกคนก็ประภัสสร เหมือนเดิม ผู้เขียนจึงรู้สึกเสียดำยนักหำกไม่ได้บอกกับ ท่ำนผูอ้ ำ่ นว่ำ ท่ำนมีจติ ทีผ่ อ่ งใสอยูแ่ ล้วในตัวท่ำน บำงครัง้ อำจขุ่นมัวไปบ้ำง เพียงแค่ท่ำนเอำส่วนที่มำปกปิดออก ไปเสีย เท่ำนั้นเองจิตใจของท่ำนก็ผ่องใสได้เหมือนเดิม จึงเป็นเรื่องที่จะคุยกันวันนี้ จิตทีป่ ระภัสสร คือ สภำพจิตทีผ่ อ่ งใส เป็นประกำย ว่ำงจำกอำรมณ์ตำ่ ง ๆ ไม่มคี วำมยึดมัน่ ถือมัน่ ในเรือ่ งใด ๆ เมื่อจิตอยู่ในสภำพนี้ จะเกิดควำมสุข ควำมสบำยใจ สดชืน่ แจ่มใส เป็นทีต่ อ้ งกำรของทุก ๆ คน ถ้ำเปรียบกับ แว่นตำ อำจกล่ำวได้วำ่ แว่นตำไม่วำ่ จะส�ำหรับสำยตำสัน้

หรื อ สำยตำยำวหรื อ แว่ น กั น แดด ปกติ ข องแว่ น คื อ มีเลนส์ มีควำมใสของเนือ้ เลนส์ในระดับทีต่ ง้ั ใจท�ำขึน้ มำ หำกแว่นอยูใ่ นสภำพปกติ เวลำสวมใส่กจ็ ะรูส้ กึ สบำยตำ แต่ถ้ำแว่นนั้นสกปรก เลอะเทอะ เวลำสวมใส่ก็จะรู้สึก ร�ำคำญลูกตำ ต้องน�ำมำท�ำควำมสะอำด เช็ดถู แว่นก็ จะสะอำดเหมือนเดิม ใส่ใหม่ก็สบำยลูกตำ จิตของคน เรำก็เช่นกัน จะมีสภำพปกติทปี่ ระภัสสร แต่หำกมีควำม สกปรกเลอะเทอะเกิดขึน้ ควำมผ่องใสเป็นประกำยก็จะ ถูกบดบังไป ควำมสดชื่นแจ่มใสก็หำยไป กลับมีควำม ขุ่นมัวขึ้นมำแทน เรำต้องท�ำควำมสะอำดจิตใจของเรำ ให้ดี จิตก็จะกลับมำประภัสสรอีก ประเด็นทีน่ ำ่ สนใจคือ จิตสกปรกเลอะเทอะจำกอะไร และจะท�ำให้จิตสะอำด ผ่องใสเหมือนเดิมได้อย่ำงไร มีพุทธวจนะกล่ำวถึงจิตใจของคนเรำไว้ว่ำ มีควำม ประภัสสรเป็นปกติแต่ขุ่นมัวไปเพรำะมีอุปกิเลสจร เข้ ำ มำในจิ ต ท� ำ ให้ จิ ต ขุ ่ น มั ว เมื่ อ อุ ป กิ เ ลสจำกไป จิตก็ประภัสสรเหมือนเดิม และมีกำรกล่ำวถึงที่ส�ำคัญ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ในวั น มำฆบู ช ำขึ้ น ๑๕ ค�่ ำ เดื อ น ๓ คื อ โอวำทปำติโมกข์ หลักส�ำคัญคือ ละชัว่ ท�ำดี ท�ำจิตใจให้ ผ่ อ งใส ทั้ ง ๒ เรื่ อ งนี้ เ ป็ น แก่ น แท้ ข องศำสนำพุ ท ธ มีข้อเขียนที่เป็นภำษำบำลีอยู่มำกมำยสำมำรถค้นหำ อ่ำนได้ ผู้เขียนสรุปพอเข้ำใจง่ำย ๆ ตำมที่กล่ำวมำ เพรำะเนื้อหำที่ต้องกำรคือต้องกำรควำมเข้ำใจที่ว่ำ จิตของเรำทุกคนนัน้ ผ่องใสเป็นปกติ กำรทีจ่ ติ ขุน่ มัวนัน้ คือควำมไม่ปกติ และเรำสำมำรถ ท�ำให้จิตผ่องใสได้เสมอ ๆ เหมือน เช็ดแว่นตำ เพรำะควำมเข้ำใจ เช่นนี้จะท�ำให้เรำมีก�ำลังใจที่จะ เช็ดแว่นใจอยู่เสมอ ๆ กำรที่จิตผ่องใสนั้น ไม่ได้มี ควำมสำมำรถพิเศษพิสดำร ที่จะ ท�ำให้เกิดสิ่งใด ๆ ขึ้นมำ เหมือน แว่นตำแม้จะดีเพียงใด คนที่อ่ำน หนั ง สื อ ไม่ อ อก ใส่ แ ล้ ว คงอ่ ำ น หนังสือไม่ออกเหมือนเดิม หรือ คนที่อ่ำนเนื้อหำในหนังสือแล้ว รูปแกะสลักเทพเดวิด ผลงานของ ไมเคิล แองเจโล


ข่าวทหารอากาศ

ไม่เข้าใจ ก็ไม่เข้าใจ แว่นช่วยอะไรไม่ได้ แต่ส�าหรับคน ที่สายตาไม่ปกติ ไม่ใส่แว่นท�าอะไรไม่ได้ จิตใจก็เช่นกัน หากเศร้าหมองขุ่นมัว จะท�าการงานอะไรก็ติดขัดไป หมด หากจิตผ่องใสการงานก็อาจจะไปได้ด้วยดี แต่จิต ไม่ได้ไปช่วยท�างาน การท�างานเป็นเรื่องของความรู้ ความสามารถของแต่ละคน แต่คนเราจะท�างานได้ไม่ดี ถ้าจิตขุ่นมัว จากพุทธวจนะที่กล่าวว่า จิตเศร้าหมองเพราะ อุปกิเลสจรเข้ามา แสดงว่ากิเลสไม่ได้มาอยูป่ ระจ�า เพียงแต่ มาเป็ น ครั้ ง คราวแล้ ว ก็ จ ากไป สาเหตุ ห ลั ก ที่ เ รา ไม่สามารถห้ามกิเลสจรเข้ามาในจิตของเราได้เพราะเรา ไม่เห็นแจ้งในอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของสิง่ ทัง้ หลายนัน่ เอง พูดง่าย ๆ ก็คอื เรายังมีอวิชชาอยู่ และก็คงเป็นเรือ่ งยาก เกิ น ก� า ลั ง ที่ เ ราจะก� า จั ด อวิ ช ชาออกไปได้ในเวลาอัน รวดเร็ว ยังโชคดีที่กิเลสมาแล้วบางส่วนก็ออกไปได้เอง ตามธรรมชาติ จิตเราจึงมีเวลาประภัสสรได้เป็นช่วง ๆ แต่เราก็ไม่ควรประมาท อย่างน้อยก็ควรเข้าใจสาเหตุ ง่าย ๆ ที่ท�าให้กิเลสเข้ามาในจิตเราได้ เพื่อที่เราจะได้ ป้องกันได้บ้าง และมีจิตที่ประภัสสรมากขึ้น นานขึ้น สิ่งที่ท�ำให้จิตใจไม่ผ่องใส ๑. ความเชื่อที่ผิด เรื่องนี้ส�าคัญมากและผู้เขียน

จะไม่ยกตัวอย่างอะไรเลย เพราะจะเป็นการเถียงกัน ในประเด็นความเชื่อ ซึ่งเป็นเรื่องที่คงไม่มีใครยอมใคร เพราะเป็นความเชือ่ ของแต่ละคน ผูเ้ ขียนเพียงอยากให้ สติ ว ่ า เพราะความเชื่ อ ของแต่ ล ะคนที่ แ ตกต่ า งกั น นีแ่ หละ ทีเ่ ป็นปัญหาส�าคัญทีท่ า� ให้จติ ใจผูค้ นขุน่ มัวไปทัง้ บ้านทัง้ เมือง เมือ่ มีประเด็นหนึง่ ๆ เกิดขึน้ ไม่วา่ ประเด็น การเมือง ประเด็นลัทธิศาสนา ประเด็นความดีความชัว่ หรือประเด็นสิทธิหน้าทีพ่ ลเมือง ฯลฯ ทีเ่ ป็นเรือ่ งขุน่ มัว ในจิตใจของผู้คน เพราะทุกคนคิดว่าสิ่งที่ตนเชื่อนั้นคือ สิ่งที่ถูกต้อง และคนอื่นที่ไม่เห็นด้วยนั้น ไม่เห็นด้วยกับ ตนหรื อ ความคิ ด ของตน ซึ่ ง จริ ง ๆ แล้ ว ไม่ ใ ช่ เ ลย ทุกคนมีความเชือ่ ของตนเองและยังไม่เชือ่ แบบอย่างอืน่ หรือคนอื่น แต่ไม่ได้เห็นว่านาย ก นาย ข ผิดหรือถูก ทั้งหมดไม่ได้มีตัวตนของใครมาเกี่ยวข้องเลย และที่ น่าสนใจคือ ถ้าเรามองโลกทัง้ ใบว่ามีผคู้ นอยูเ่ กือบ ๘,๐๐๐ ล้านคน มีประเทศต่าง ๆ เกือบ ๓๐๐ ประเทศ มีชุมชน อยู่เป็นล้านชุมชน มีศาสนาใหญ่ ๆ เกือบ ๑๐ ศาสนา ถ้าเราจะสรุปความน่าจะเป็นของความเชื่อที่เราคิดว่า ดีงามถูกต้องนัน้ ถ้าคิดเป็นเปอร์เซ็นต์กบั พลเมืองโลกแล้ว ความถูกต้องดีงามที่เราเข้าใจนั้นมันเป็นเปอร์เซ็นต์ ที่น้อยมาก เช่น ถ้าดูกันคร่าว ๆ ว่า คนในโลกนี้เขามี

89


90

ความเชือ่ กันอย่างไรในเรือ่ งศาสนา ในโลกนีม้ คี นทีน่ บั ถือ ศาสนาคริสต์ ๒.๑ พันล้านคน ที่นับถือศาสนาอิสลาม ๑.๕ พันล้านคน ที่นับถือศาสนาฮินดู ๑ พันล้านคน คนไม่มีศาสนา ๑ พันล้านคน คนที่นับถือพุทธศาสนา ๘๐๐ ล้านคน ที่เหลือเป็นลัทธิอื่น ๆ หากคนที่นับถือ พุทธศาสนาจะเถียงกันในความเชือ่ อะไร ก็แล้วแต่ของตน โอกาสทีค่ วามคิดของท่านเหล่านัน้ จะถูกต้อง ในมุมมอง ของคนทั้งโลกนั้นมีไม่ถึงสิบเปอร์เซ็นต์ เพราะคนอื่น ๆ อีก ๗ พันล้านคน เขาไม่สนใจเรื่องที่พวกท่านเถียงกัน เลย เพราะเขาเชือ่ อย่างอืน่ และทีส่ า� คัญอีกประการหนึง่ ซึ่งเป็นเรื่องส่วนตัว การที่คนเราเชื่อว่า สิ่งโน้นสิ่งนี้ต้อง เป็นอย่างนั้นต้องท�าอย่างนี้ จะท�าให้ตนเองนั่นแหละ วุน่ วายอยูก่ บั ความเชือ่ ของตนเอง ด้วยเหตุนเี้ รือ่ งความ เชื่อนั้นถ้ามองกว้าง ๆ แล้ว ไม่ควรท�าให้ใจขุ่นมัวได้เลย ยกเว้นว่าท่านไม่ยอมเปิดใจมองเลย ๒. ความกลั ว เพราะสิ่ ง มี ชี วิ ต ทุ ก ชนิ ด รวมทั้ ง มนุษย์ดว้ ยหวงแหนชีวติ ตนเอง ไม่อยากตายจึงพยายาม ท�าทุกสิ่งทุกอย่างให้ชีวิตอยู่รอด เวลาหิวเราจึงต้อง หาอะไรกินให้ได้ หายังไม่ได้จิตก็วุ่นวาย วิตกกังวล ไปสารพัดเรื่อง เวลาเจ็บป่วย มีบาดแผลตามร่างกาย ก็กลัวติดเชื้อ กลัวจะไม่หาย หมอนัดไปฟังผลตรวจ สุขภาพก็กงั วล กลัวเจอโน้นเจอนี่ รวมไปถึงกลัวสูญเสีย พ่อ แม่ พี่น้อง คนใกล้ชิด ยามที่เขาเจ็บไข้ นอกจากนี้ เรายั ง มี ค วามกลั ว การสู ญ เสี ย ในสิ่ ง ที่ ไ ม่ มี ชี วิ ต อีกมากมาย กลัวรถจะเสีย กลัวของจะหาย กลัวคนอื่น นินทาว่าร้ายเรา กลัวแม้กระทั่งจะสูญเสียต�าแหน่ง หน้ า ที่ ก ารงานที่ เ ป็ น สิ่ ง สมมุ ติ และยั ง มี ค วามกลั ว อีกสารพัดเรือ่ งทีม่ อี ยูใ่ นใจของผูค้ น สาเหตุเพราะเราไป ยึดมัน่ ว่าสิง่ เหล่านัน้ เป็นของเรา เป็นตัวเรา หรือเป็นตัว ตนของเรา ที่เรียกว่า อุปกิเลส ทั้ง ๆ ที่จริง ๆ แล้วสิ่ง เหล่านั้นเป็นของธรรมชาติ หรือ เป็นของสมมุติ แม้เรา จะยังท�าใจไม่ได้แต่ก็ควรจะมีสติไม่ยอมต้อนรับแขก เหล่านีเ้ ข้ามาในจิตใจของเรา หรือถ้าเผลอปล่อยเข้ามา แล้วก็ไล่ออกไปได้ไม่มีใครว่า ๓. ความอยากหรือ ความไม่อยาก ใจของผู้ค น บนโลกใบนี้ เลอะเทอะเปรอะเปื้อนอยู่ด้วยความอยาก

หรือไม่อยากนี้ทั้งวันทั้งคืน บางครั้งเป็นเดือนเป็นปี ก็ยงั เอาไม่ออก เพราะความอยากหรือไม่อยากเป็นกิเลส ที่ละเอียด ลึกซึ้ง สลับซับซ้อน ซ่อนตัวอยู่ในเรื่องราวต่าง ๆ มากมาย เช่น เราอยากได้ ยศ สูงขึ้น โดยธรรมชาติแล้ว ยศจะสู ง ขึ้ น ต� า แหน่ ง ต้ อ งสู ง ขึ้ น งานต้ อ งมากขึ้ น เงิน เพิ่ม ขึ้น เพราะอะไรกัน แน่ คนเราอยากได้งาน เพิ่มขึ้นจริง ๆ หรือเปล่า การได้เงินเพิ่มขึ้น หากให้ ๒ ขั้นโดยยศไม่เพิ่มจะเอาไหม ความอยากได้ยศสูงขึ้น อาจเป็นเรื่องทางสังคมก็ได้ จะท�าให้ตัวเองจะรู้สึกดีขึ้น ครอบครัวมีหน้ามีตามากขึ้น ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับงาน หรื อ เงิ น เลย ฯลฯ จะเห็ น ว่ า ค� า ตอบเรื่ อ งนี้ ไ ม่ ค ่ อ ย ตรงประเด็นนัก แต่ใคร ๆ ก็อยากได้ ยศสูงขึน้ ท่านผูอ้ า่ น ลองยกตั ว อย่ า งที่ มี ใ นใจของท่ า นมาสั ก เรื่ อ งหนึ่ ง แล้วลองถามหาเหตุผลจริง ๆ จะพบว่าหาเหตุผลไม่ค่อย ได้รู้แต่ว่ามันอยากได้ อยากเป็น อยากมี หรือไม่อยาก ให้ ไม่อยากผิดหวัง ไม่อยากเสียชื่อ ฯลฯ ความอยาก เป็นอุปกิเลสที่ละเอียดมากค่อย ๆ ปลิวมาเกาะจิตใจ ของเราจนขุ่นมัวและเช็ดถูออกได้ยากมาก ท่านต้อง ฝึ ก สมาธิ ใ ห้ ดี จ ริ ง ๆ ถึ ง จะมี พ ลั ง ล้ า งความอยาก หรือไม่อยาก ออกไปได้ ทั้ง ๓ ข้อนี้คือ อุปกิเลส ที่จรเข้ามาในจิตใจของ คนเรามากทีส่ ดุ ท่านต้องฝึกสมาธิให้ดี ตัง้ สติให้ได้ ค่อย ๆ แกะสลักเอาอุปกิเลสเหล่านี้ออกไปจากจิตใจของท่าน ให้จิตใจกลับมาประภัสสรเหมือนเดิม เหมือน ไมเคิล แองเจโล แกะหินอ่อนทีไ่ ม่ใช่เทพเดวิดออกไป จนเหลือ แต่เทพเดวิดที่งดงาม


ข่าวทหารอากาศ

91


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ ๙๒

พล.อ.อ.มานัต วงษวาทย ผบ.ทอ.พรอมดวย พญ.วิไลภรณ วงษวาทย นายกสมาคมแมบาน ทอ.เปนประธานในพิธีบําเพ็ญกุศลเพื่อถวาย เปนพระราชกุศลแด พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ประจําป ๒๕๖๒ พรอมทั้ง จัดใหมีการมอบทุนการศึกษา และมอบผาหมกันหนาวจาก ศบภ.ทอ. ณ พระมหาธาตุนภเมทนีดล นภพลภูมิสิริ ดอยอินทนนท จว.เชียงใหม เมื่อวันที่ ๑๔ ธ.ค.๖๒

พล.อ.อ.มานัต วงษวาทย ผบ.ทอ.เปนประธานในพิธีปลอยขบวนรถชวยเหลือพี่นองประชาชนที่ประสบภัยหนาว ภายหลังจากพิธีรับมอบ ผาหมจากธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) โดยมี พญ.วิไลภรณ วงษวาทย นายกสมาคมแมบาน ทอ. นายทหารชั้นผูใหญของ ทอ. คณะสมาคมแมบาน ทอ. และคณะผูบริหารของธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) รวมในพิธี ณ บก.ทอ. เมื่อวันที่ ๑๓ ธ.ค.๖๒

พล.อ.อ.มานัต วงษวาทย ผบ.ทอ.พรอมดวย พญ.วิไลภรณ วงษวาทย นายกสมาคมแมบาน ทอ.วางพวงมาลา “สดุดีวีรชน ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔” ณ อนุสาวรีย “วีรชน ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔” บน.๕ จว.ประจวบคีรีขันธ เมื่อวันที่ ๘ ธ.ค.๖๒


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

๙๓ ขาวทหารอากาศ

พล.อ.อ.วีรพงษ นิลจินดา รอง ผบ.ทอ./ผูแทน ผบ.ทอ.พรอมคณะ มอบของขวัญปใหมและอวยพรเนื่องในวันขึ้นปใหม ๒๕๖๓ ใหแก กําลังพลของ ทอ.ที่ปฏิบัติราชการในหนวยสนาม และชายแดน ประจําป ๒๕๖๓ ณ บน.๔๖ โดยมี น.อ.ภาณุวัตร เรืองประยูร ผบ.บน.๔๖ ใหการตอนรับ ณ กองบิน ๔๖ จว.พิษณุโลก เมื่อวันที่ ๑๗ ธ.ค.๖๒

พล.อ.อ.เสนาะ พรรณพิกุล ปธ.คปษ.ทอ.พรอมดวย พล.อ.ต.เคลวิน คอง บุน เหลียง (Major General Kelvin Khong Boon Leong) ผบ.ทอ.สาธารณรัฐสิงคโปร พล.อ.ต.เดวิด เบอรคี่ (Major General David B. Bergy) ผช.ผบ.Air National Guard เปนประธานรวมในพิธเี ปด การฝกผสมโคปไทเกอร ๒๐๒๐ ณ ฐานทัพอากาศ Paya Lebar สาธารณรัฐสิงคโปร เมื่อวันที่ ๑๒ ธ.ค.๖๒

พล.อ.อ.สิทธิชัย แกวบัวดี ผช.ผบ.ทอ.พรอมดวยนาย นายธีรพันธ นันทกิจ รอง ผวจ.ประจวบคีรีขันธ เปนประธานในพิธีเปดงานสดุดีวีรชน ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ ประจําป ๒๕๖๒ โดยมี น.อ.ชยศว สวรรคสรรค ผบ.บน.๕ ใหการตอนรับ ณ บริเวณอุทยานประวัติศาสตร บน.๕ จว.ประจวบคีรีขันธ เมื่อวันที่ ๗ ธ.ค.๖๒


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ ๙๔

พล.อ.ท.ตรีพล อองไพฑูรย จก.กร.ทอ.เปนผูแทน ทอ.เขารวมกิจกรรม “หนาวนี้ทําดีเพื่อพอ ๒๕๖๓” รวมกับสํานักงานบรรเทาทุกข และประชานามัยพิทักษ สภากาชาดไทย และภาคีเครือขาย ณ รร.เชียงคาน อ.เชียงคาน จว.เลย เมื่อวันที่ ๑๗ ธ.ค.๖๒

พล.อ.ท.ภาณุวัชร เปยมศรี จก.ชอ.และคณะ DAE Mobile Training Team จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สายวิทยาการ ชอ.โดยมี น.อ.ทรงศักดิ์ ธรรมสาร รอง ผบ.บน.๔ ใหการตอนรับ ณ หองประชุม ผชอ.กทน.บน.๔ จว.นครสวรรค เมื่อวันที่ ๒๐ ธ.ค.๖๒

พล.อ.ท.สุรสีห สิมะเศรษฐ ผบ.อย.เปนประธานในพิธีตอนรับทหารกองประจําการที่เขารับราชการใหม รุนป ๒๕๖๒ ผลัดที่ ๒ ณ ลานอเนกประสงค ตอ.รอ.อย. เมื่อวันที่ ๑๑ ธ.ค.๖๒


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

๙๕ ขาวทหารอากาศ

พล.อ.ต.ภูวเดช สวางแสง จก.จร.ทอ.พรอมคณะ ตรวจการปฏิบัติราชการ บน.๔๑ ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๓ โดยมี น.อ.ธรรมศักดิ์ มั่นทน รอง.ผบ.บน.๔๑ ใหการตอนรับ ณ บน.๔๑ จว.เชียงใหม เมื่อวันที่ ๑๖ ธ.ค.๖๒

พล.อ.ต.เรืองวิทย ศรีนวลนัด จก.ชย.ทอ.นําขาราชการ ลูกจาง และพนักงานราชการ ชย.ทอ.ฟงธรรม ศึกษาพระธรรม จากพระครูพงศจนั ทร กันตธัมโม ประธานสงฆศูนยปฏิบัติธรรมพุทธประทีปศรีประจันต จว.สุพรรณบุรี ณ หองประชุม ชย.ทอ.๒ เมื่อวันที่ ๑๙ ธ.ค.๖๒

พล.อ.ต.ศิริพงษ ศรีเกิน ผอ.สนภ.ทอ.พรอมคณะ ตรวจเยี่ยมพรอมรับฟงการบรรยายสรุปการดําเนินงานดานนิรภัย บน.๕ โดยมี น.อ.ชยศว สวรรคสรรค ผบ.บน.๕ ใหการตอนรับ ณ อาคารบรรยายสรุป ฝูง.๕๐๑ บน.๕ จว.ประจวบคีรีขันธ ระหวางวันที่ ๑๘-๒๐ ธ.ค.๖๒


ในรั้วสีเทา

INSIDE THE AIR FORCE ขาวทหารอากาศ ๙๖

พล.อ.ต.ไวพจน เกิงฝาก ผบ.รร.การบิน เปนประธานในพิธีเปดการฝกภาคสนามของนักศึกษาวิชาทหารในสวนของ ทอ.ชั้นปที่ ๑ ประจําป การศึกษา ๒๕๖๒ ณ สนามฝก พัน.อย.รร.การบิน เมื่อวันที่ ๑๖ ธ.ค.๖๒

น.อ.จักรกฤษณ ธรรมวิชัย ผบ.บน.๑ จัดแถลงขาวการจัดงานวันเด็กแหงชาติ และประชาสัมพันธกิจกรรมของ บน.๑ ประจําป ๒๕๖๓ ณ อาคารแผนกสนับสนุนการบิน และบริเวณหนาหอบังคับการบิน บน.๑ จว.นครราชสีมา เมื่อวันที่ ๒๐ ธ.ค.๖๒

น.อ.จิตติวุฒิ วันทนา ผบ.บน.๔ นําขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ ทหารกองประจําการ และชมรมแมบาน ทอ.บน.๔ รวมกับ บริษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) กซอ.๑ ชอ. บริษทั อุตสาหกรรมการบิน จํากัด และโรงงานชลประทานซีเมนต จํากัด ออกหนวยมิตรประชา ชวยเหลือประชาชน และนักเรียน รร.วัดโรงวัว ต.เสือโฮก จว.ชัยนาท เมื่อวันที่ ๑๙ ธ.ค.๖๒


INSIDE THE AIR FORCE

ในรั้วสีเทา

๙๗ ขาวทหารอากาศ

น.อ.แมนสรวง สุวรรณ ผบ.บน.๗ นําหนวยมิตรประชา บน.๗ ออกเยีย่ มเยียนและใหบริการประชาชน ณ รร.บานคลองวัว ต.ทาเคย อ.ทาฉาง จว.สุราษฎรธานี เมื่อวันที่ ๑๗ ธ.ค.๖๒

น.อ.ชนาวีร กลิ่นมาลี ผบ.บน.๒๓/ผอ.ศบภ.บน.๒๓ พรอมดวย จนท.ศบภ.ทอ.บน.๒๓ มอบผาหมกันหนาวใหแกประชาชน ต.กุดหมากไฟ ณ หอประชุม รร.ชุมชนกุดหมากไฟ ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ จว.อุดรธานี เมื่อวันที่ ๑๓ ธ.ค.๖๒

น.อ.สุทธิพงษ วงษสวัสดิ์ ผบ.บน.๕๖ เปนประธานในพิธีตอนรับทหารใหม ใหแกทหารกองประจําการ รุน ๒๕๖๒ ผลัดที่ ๒ ณ สนามฝก พัน.อย.บน.๕๖ จว.สงขลา เมื่อวันที่ ๒๐ ธ.ค.๖๒


98

กองทัพอากาศจัดสร้างพระพุทธรูปแห่งพุทธศตวรรษที่ ๒๖ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งการทิวงคต พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ ศักดิ์สิทธิ์ สูงสุด สู่ศรัทธา ๐๒๐๒ ๒๐๒๐ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี แห่งการ ทิวงคต จอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า จักรพงษ์ภูวนารถกรมหลวงพิศณุโลกประชานารถ (๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๖๓) ซึง่ กองทัพอากาศ เทิดพระเกียรติ พระองค์ เ ป็ น “พระบิ ด าแห่ ง กองทั พ อากาศ” พลอากาศเอก มานัต วงษ์วาทย์ ผูบ้ ญั ชาการทหารอากาศ ได้ พิ จ ารณาจั ด สร้ า งพระพุ ท ธรู ป บู ช าศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ประดิ ษ ฐาน ณ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ด อยอิ น ทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ เพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชาและถวายเป็น พระกุศล แด่พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ นับเป็น พระกรุ ณ าธิ คุ ณ แก่ ก องทั พ อากาศที่ เจ้ า พระคุ ณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ประทานนามแด่พระพุทธรูป ที่ ก องทั พ อากาศจั ด สร้ า งว่ า “พระพุ ท ธศาสดา ประชานาถ” อันหมายถึง “พระพุทธเจ้าทรงเป็น พระศาสดา ผูเ้ ป็นทีพ่ งึ่ ของประชาชน” อีกทัง้ ประทาน แผ่นอักขระทอง เงิน นาก เพือ่ การจัดสร้างพระพุทธรูป พร้ อ มด้ ว ยประทานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ บ รรจุ ใ น พระเกตุ ม าลาองค์ พ ระประธานพระพุ ท ธศาสดา ประชานาถ


ข่าวทหารอากาศ

“พระพุ ท ธศาสดาประชานาถ” เป็ น พระพุทธรูปปางสมาธิเพชร เปี่ยมไปด้วยพุทธศิลป์ และพุทธลักษณะ หลอมรวมศิลปะถึง ๔ ยุค ได้แก่ สมั ย เชี ย งแสน สมั ย สุ โ ขทั ย สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา และสมัยรัตนโกสินทร์ องค์พระประธานเป็นเนือ้ ทศโลหะ (โลหะ ๑๐ ชนิด) ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่มีการสร้าง พระพุทธรูปจากเนือ้ นวโลหะ (โลหะ ๙ ชนิด) หลอมรวม กับไทเทเนียม ซึง่ เป็นโลหะทีม่ คี วามแข็งแรงทนทานสูง น�้าหนักเบา และเป็นโลหะที่นิยมใช้กับโครงสร้าง อากาศยาน นอกจากนี้ การจัดสร้างพระพุทธศาสดา ประชานาถ ทั้งองค์พระประธาน และองค์จ�าลอง ทั้งหมด จะประกอบด้วยเนื้อทองเหลืองจากปลอก กระสุนปืนอากาศ ทีต่ ดิ ตัง้ ปฏิบตั ภิ ารกิจ ผ่านความเร็ว เหนื อ เสี ย งกั บ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล่ สมรรถนะสู ง ของ กองทัพอากาศมาแล้วทั้งสิ้น จึงนับเป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ส�าคัญองค์หนึ่ง แห่งพุทธศตวรรษที่ ๒๖

แบบเหรียญที่ระลึก ๑๐๐ ปี พระบิดากองทัพอากาศ

99

กองทัพอากาศ ก�าหนดจัดสร้างพระพุทธ ศาสดาประชานารถ รวมถึงเหรียญที่ระลึก ๑๐๐ ปี พระบิดาแห่งกองทัพอากาศ ประกอบด้วย พระพุทธ ศาสดาประชานาถ องค์พระประธาน เนื้อทศโลหะ ๑ องค์ พระพุทธศาสดาประชานาถ ส�าหรับบูชา เนือ้ ทองเหลือง ๒,๐๒๐ องค์ เหรียญทีร่ ะลึก ฯ ส�าหรับ บูชา ๔๐,๐๐๐ เหรียญ ก�าหนดการ และการประกอบพิธีส�าคัญ ดังนี้ - สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ฯ ประทาน แผ่ น อั ก ขระและพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ในวั น ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๒ - พิธเี ททองหล่อ ณ โรงเรียนนายเรืออากาศ นวมินทกษัตริยาธิราช ในวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๖๒ - พิธีมหาพุทธาภิเษก ณ จุดสูงสุด อุทยาน แห่งชาติดอยอินทนนท์ ในวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ (วันที่แบบตัวเลขสะท้อนกลับ ๐๒๐๒ ๒๐๒๐) ด้ ว ยผลบุ ญ แห่ ง การสร้ า งพระพุ ท ธรู ป เป็นอานิสงส์สูงสุด กองทัพอากาศ จึงขอเชิญชวน ก� า ลั ง พล ครอบครั ว ตลอดจนพี่ น ้ อ งประชาชน ร่ ว มจิ ต อธิ ษ ฐาน และร่ ว มบู ช าจั ด สร้ า งพระพุ ท ธ ศาสดาประชานาถ พระพุทธรูปแห่งพุทธศตวรรษที่ ๒๖ ให้ มี ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ประดิ ษ ฐานไว้ ณ จุ ด สู ง สุ ด ของประเทศไทย เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ร วมแห่ ง ศรั ท ธา เกิดสิริมงคลแด่ประเทศชาติ และปวงชนชาวไทย เป็ น สะพานบุ ญ ให้ ผู ้ ก ระท� า ประสบความส� า เร็ จ อันสูงสุดในชีวิตสืบไป



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.