หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน สิงหาคม 2554

Page 1



“...ไม ว า ประเทศของเราจะเผชิ ญ ภาวะเศรษฐกิ จ อย า งไร หรื อ ต อ งเผชิ ญ อุปสรรคหนักหนาสาหัสสากรรจ เพียงไหน ขอใหคนไทยรวมกําลังใจที่จะชวยกัน ฝ า ฟ น เพื่ อ ความมั่ น คงของแผ น ดิ น ไทย เพื่ อ ความผาสุ ก ของราษฎรไทยด ว ยกั น คนไทยดวยกัน และก็ชาติเดียวกัน เปรียบเสมือนอยูในเรือลําเดียวกัน ถาตางคน ตางพายไปคนละทาง เรือก็ไมไปถึงไหน เรือชาติอื่นก็แซงหนาเราไป แตถาเราชวยกัน พายไปในทิศทางเดียวกัน เรือของประเทศไทยก็จะแลนฉิว เพราะฝมือของคนไทย ไมเปนรองใครเลย...” พระราชดํารัสสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ


เอกนารีศรีสวัสดิ์จรัสฟ้า พระคงมาจากฟ้าวิลาวัณย์ วางพระองค์ตรงงามความสามารถ ผลกระทบใหญ่น้อยคอยเมตตา เช่นน้ําท่วมครั้งใดไทยวิกฤต ด้วยทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ทรงการุณย์ เมื่อเกิดภัยที่ใดเสี่ยงเพียงทราบข่าว ด้วยเงินทองของเป็นคุณบุญทวี ศิลปาชีพทั้งหมดกําหนดขึ้น ไหมมัดหมี่แพรวาพาจํารูญ ปะการังคู่ทะเลเสน่ห์เหลือ โปรดรักษาเสน่ห์ทะเลไทย พระพุทธศาสน์สว่างไสวในวันนี้ ยิ่งทรงนําปฏิบัติจรัสคุณ อีกนานาพระคุณเป็นบุญเลิศ ทรงห่วงใยพสกนิกรเป็นพรจริง ลุสมัยคล้ายวันราชสมภพ ขอพระแม่เจ้าทรงรับมงคล ขออาราธน์พระไตรรัตน์จรัสฟ้า องค์มิ่งขวัญแม่เจ้าของชาวไทย

คู่ราชาพระคุณยิ่งเป็นมิ่งขวัญ จึงสร้างสรรค์แต่สุขไทยทุกครา ทรงช่วยชาติพ้นภัยไร้ปัญหา ในทุกคราผ่านพ้นผลพระคุณ พร้อมทรงฤทธิ์พระเมตตาพาเกื้อหนุน แผ่พระคุณช่วยมาเป็นตาปี โปรดให้เข้าช่วยพลันสรรพ์วิถี พระบารมีมากมายจึงไพบูลย์ ยังราบรื่นสดใสไม่เสื่อมสูญ ยิ่งเพิ่มพูนงานฝีมือระบือไกล พระคุณเพื่อชีวภาพกับน้ําใส ส่งผลให้ทะเลสวยด้วยการุณย์ เพราะมีพระองค์รับสนับสนุน แผ่ผลบุญถึงชาติพิลาสจริง สุดประเสริฐทศธรรมล้ําคุณยิง่ สมเป็นมิ่งแม่หลวงของปวงชน มาบรรจบอีกวารมั่นกุศล ทั่วสากลโสมนัสสะพัดไกล เทพเทวาทุกทิศประสิทธิ์ให้ ดํารงในมไหศวรรย์นิรันดร์เทอญ

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ ขาพระพุทธเจา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)


1

ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำหนังสือข่าวทหารอากาศ

หนังสือข่าวทหารอากาศ

เจ้าของ กองทัพอากาศ

ทีป่ รึกษา พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบตุ ร

ผูอ้ ำนวยการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของ กองทัพอากาศ เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรม ข่ า วทหารอากาศ มี น าวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็ น บรรณาธิ ก ารคนแรก ดำเนิ น การโดยทุ น ของข้ า ราชการ ทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยู่ในความ อำนวยการของกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ตามคำสั ่ ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ มีเจ้ากรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เป็นผูอ้ ำนวยการ ตามคำสัง่ ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๙๙ ลง ๗ ม.ค.๒๔๙๙ ภารกิจ

รองผู้อำนวยการ

ดำเนิ น กิ จ การหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ให้ เ ป็ น ไป ตามนโยบายของกองทั พ อากาศ มี ผ ู ้ อ ำนวยการหนั ง สื อ ข่ า ว ทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ต.ยงยุทธ หาบุบผา เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.ประเสริฐ ช่างประเสริฐ รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ

วัตถุประสงค์/นโยบายกองทัพ ๑. เพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ นกิจการทัว่ ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อันจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ๓. เพือ่ เผยแพร่กจิ การกองทัพอากาศ

น.อ.สหัสชัย มาระเนตร น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง พัชรา ภัทรสุวรรณ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง

ประจำกองบรรณาธิการ น.ท.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ น.ท.หญิง วรรณิภา ยีป่ ระชา น.ต.สินธพ ประดับญาติ

น.ท.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ท.หญิง อนงค์นาถ บุญจฑิตย์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

กองจัดการ น.ท.พินจิ นุชน้อมบุญ

น.ท.สมพร สิงห์โห ร.อ.หญิง สุมาลี สายะนันท์ พ.อ.อ.ประจวบ วีระชนม์ จ.อ.หญิง เศาวณี พ่านเผือก นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์ สำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

นโยบายการดำเนินงานในปัจจุบัน ๑. เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น แสดงความคิดเห็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรือ่ งทีน่ ำลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ * ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ ทีก่ ำหนด * ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อความมัน่ คงของชาติ บุคคล หรือส่วนรวม * ความยาวของเรือ่ งไม่ควรเกิน ๕ ตอน แต่ละตอน ไม่ควรเกิน ๕ หน้า * ต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ กรรมการพิจารณาเรือ่ งของสำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์กองทัพอากาศ ดอนเมือง แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร.๐-๒๕๓๔-๒๙๔๓ , ๐-๒๕๓๔-๕๑๔๘

ค่าสมาชิกภายนอก ปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สัง่ จ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในหนังสือฉบับนีไ้ ม่มส ี ว่ นผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด

ออกแบบปก : น.ต.สินธพ ประดับญาติ

http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com


1

ปีท่ี ๗๑ ฉบับที่ ๘ เดือน สิงหาคม ๒๕๕๔

สารบัญ บทบรรณาธิการ

๔๙ แรงงานประมงต่างด้าวในทะเล

๗ ธ สถิตในใจประชา : นักกีฬาทีมชาติไทย ๑๐ ๑๔ ๑๙ ๒๕ ๒๗ ๓๔ ๓๙ ๔๑

๔๘

...ตามรอย ปฏิบตั กิ ารของทหารไทยในงานพระราชสงคราม ณ ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ.๒๔๖๑ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร การฝึกผสม Air Thamal ๒๑/๒๐๑๑ สู่กองทัพอากาศดิจิตอล ...ร.ท.หญิง ธนวรรณ อำนรรฆสรเดช ระบบเทคนิคของเครือ่ งบิน C-130 ...Skypig การฝึกแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายสากล ภายใต้รหัสฝึก “ดอนเมือง ๕๔” ...ปชส.สวบ.ทอ. Tablet : อุปกรณ์ไฮเทคพกพา ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์ อุโมงค์ลม ...ร.อ.เอกประสิทธิ์ พรมทัณ วัตถุมงคล ของชาว ทอ. “โรงเรียนจ่าอากาศ” ...น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒) บทบาทของกองทัพไทยในการรองรับ การเปลี่ยนแปลงไปสู่ประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน ๒๐๑๕ ...นทน.รร.สธ.ทอ.ฯ รุน่ ที่ ๕๕ มูลค่าทีแ่ ท้จริงของ iPhone 4 ...พล.อ.ท.ยุทธพร ภู่ไพบูลย์

๑๐๐

๕๕ ๕๗ ๖๔ ๖๙ ๗๓ ๗๙ ๘๒ ๘๔ ๙๐ ๙๖ ๙๗ ๙๙ ๑๐๒ ๑๐๕

ต่อความมั่นคงของชาติ ...พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข ปริศนาอักษรไขว้ ...มีน ๑๑ ปี กับการประกันคุณภาพการศึกษา ของกองทัพ ...น.ท.วิพล สุขวิลยั พูดจาประสาหมอพัตร “สนุกกับคอมิกสตริปส์” ...หมอพัตร ภาษาไทยด้วยใจรัก “สำนวนไทยเกีย่ วกับมะพร้าว” ...นวีร์ ครูภาษาพาที : ภาษาอังกฤษสำหรับคนเดินถนน ...ครูภาษา Test Tip Part 13 ...Runy เวลาการ์ตนู ...มิสกรีน มุมกฎหมาย “พืน้ ทีใ่ ช้กฎอัยการศึก” ...น.อ.วันชัย ม้าสุวรรณ ทัศนศึกษากับนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ...นกกระจิบ นานา น่ารู้ : การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย ...บางแค มุมสุขภาพ : กินยา ก่อน-หลัง อาหารนั้น สำคัญไฉน ...Healthy พระคุณของแม่ ...น.อ.เกษม พงษ์พนั ธ์ ขอบฟ้าคุณธรรม : ความซือ่ ตรง ...1261 ในรัว้ สีเทา


สวัสดี สมาชิกข่าวทหารอากาศทุกท่าน เอกนารีศรีสวัสดิ์จรัสฟา พระคงมาจากฟาวิลาวัณย

คูราชาพระคุณยิ่งเปนมิ่งขวัญ จึงสรางสรรคแตสุขไทยทุกครา

เป็นช่วงหนึ่งของบทอาเศียรวาทบรมราชินีนาถสดุดี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องใน อภิลักขิตสมัย เฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ (โปรดอ่านความเต็มที่หน้า ๒) เนื้อความสดุดีเฉลิมพระเกียรติ ตรงใจเหล่าข้าราชการกองทัพอากาศ ผู้จงรักภักดีและสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ได้ประจักษ์แล้วว่า ตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมา พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงพระวิริยอุตสาหะทุ่มเทอุทิศกําลังพระราชทรัพย์ กําลังพระวรกาย กําลังพระราชหฤทัย และกําลังพระปัญญา เพื่อประโยชน์สุขแก่ปวงชนชาวไทย ทรงเป็นดวงประทีปและพลังแห่งแผ่นดินไทย เหล่าข้าราชการ กองทัพอากาศ ขอถวายพระพรชัยมงคล ขอจงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ทรงพระเกษมสําราญ เป็นมิ่งขวัญร่มเกล้า เหล่าข้าพระพุทธเจ้า ตราบจิรัฐิติกาลเทอญ “วันแม่” ประเทศไทยเคยจัดงานครั้งแรก เมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๓ ในรัฐบาลจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ต่อมาได้ถูกยกเลิกไป จนกระทั่งวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๙ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถัม ภ์ โดยการริ เ ริ่ม ของคณะกรรมการส่ ง เสริม ศี ล ธรรมและจิ ต ใจ ได้ จั ด งานวั นแม่ ขึ้ น ใหม่ เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ และยึ ด ถื อ วั น ที่ ๑๒ สิ ง หาคม อั น เป็ น วั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา ให้เป็น “วันแม่แห่งชาติ” เป็นประจําตลอดมาทุกปีจนถึงปัจจุบัน ภาพจากปกฉบับนี้ อ่านรายละเอียดได้จากเรื่อง...ระบบเทคนิคของเครื่องบิน C-130 โดยเสนอรายละเอียด อย่างรอบด้าน จึงทําให้ทราบว่า C-130 อาจดูล้าสมัยเมื่อเทียบกับปัจจุบัน แต่ด้วยเพราะความน่าเชื่อถือของมัน ทําให้ หลายประเทศไว้วางใจ C-130 ในการใช้เป็นเครื่องมือสําคัญฟันฝ่าวิกฤตต่างๆ ......เรื่อง Tablet : อุปกรณ์ไฮเทคพกพา สะท้อนให้เห็นถึงจุดแข็งของ Tablet แต่ละแบบ ซึ่งจะเป็นข้อมูลในการตัดสินใจอย่างคุ้มค่ากับเงินที่คุณจ่ายไปกับ อุปกรณ์ไฮเทคพกพา : Tablet นั้น นอกจากนี้ยังมีเรื่องประจําฉบับอีกหลากหลายเรื่องที่น่าสนใจ เชิญพลิกอ่าน บรรณาธิการ


ตามรอย บุคคลแรกที่นักกีฬาไทยแทบทุกคนนึกถึงเมื่อ สามารถคว า ชั ย ชนะสู ง สุ ด ให ป ระเทศชาติ ไ ด คื อ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทั้ ง นี้ มิ ใ ช เ พี ย งเพราะพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว คื อ หลั ก แห ง ประเทศเท า นั้ น แต ใ น ดวงใจของพวกเขา พระองคคือพระประมุขที่ทรงให การสนับสนุนดานการกีฬาอยางมากมาย และที่เหนือ ไปกวานั้น พระองคเองก็ยังทรงเปนนักกีฬาเหรียญทอง ระดับชาติอีกดวย ปรากฏการณที่จารึกไวในวงการกีฬาระดับนานาชาติครั้งหนึ่ง คือ การที่พระมหากษัตริยไทยทรง เขารวมแขงขันกีฬาแหลมทองในฐานะนักกีฬาทีมชาติไทย และทรงสามารถพิชิตเหรียญทองใหประเทศได ในการแขงขันเรือใบประเภท โอ.เค. ระดับนานาชาติ สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาอุบลรัตนราชกัญญา ทรง ทําคะแนนเสมอกันกับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และคณะกรรมการตัดสินใหรับเหรียญทองทั้งสอง พระองค เมื่อป พ.ศ.๒๕๑๐


ดวยความสนพระทัยในการกีฬา โดยเฉพาะกีฬาประเภทเรือใบ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรง ขวนขวายหาหนังสือที่เกี่ยวกับเรือใบมาทรงศึกษา และทรงใชหลักการและทฤษฎีตางๆ จากหนังสือเหลานั้น เปนประดุจเข็มทิศนําทางในกีฬาประเภทนี้ เริ่มตนดวยการทรงทดลองตอเรือดวยฝพระหัตถ เริ่มตนดวยเรือใบประเภท National Enterprise พระราชทานชื่อวา ราชปะแตน ตอมาดวย AG และ วัชระเภตรา ที่พระราชทานสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟา อุบ ลรั ต น ร าชกั ญ ญา และสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช เจ า ฟ า มหาวชิ ร าลงกรณ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ตามลําดับ

จากนั้นไดทรงทดลองตอเรือใบประเภท โอ.เค. ขึ้นอีกสามลํา คือ เรือใบพระที่นั่ง เวคาหนึ่ง สองและ สาม ซึ่งเวคาหนึ่งและสองคือเรือใบที่ทรงใชแขงในกีฬาแหลมทองครั้งที่ ๔ ระหวางวันที่ ๑๐ – ๑๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๐


ทีมเรือใบนานาชาติที่เขาแขงขันในครั้งนี้มี ๓ ทีมดวยกัน คือ พมา มาเลเซีย และไทย พระบาทสมเด็ จพระเจา อยู หั วและสมเด็จพระเจา ลูกเธอ เจา ฟา อุบลรัตนราชกั ญญา ทรงเปน นักกีฬาทีมชาติไทย เขาแขงขันในประเภท โอ.เค. และทรงไดเหรียญทองทั้งสองพระองค เนื่องจากทรง ทําคะแนนเทากัน นอกเหนื อจากกี ฬาเรือใบที่ทรงนําชัยชนะมาใหประเทศดวยพระองคเองแลว พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวยังทรงใหความสนพระทัยกับการกีฬาทุกประเภท โดยเฉพาะเมื่อนักกีฬาจะตองไปแขงขันกับ ตางประเทศ พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแตละครั้ง จะตักเตือนใหนักกีฬาแขงขันดวยน้ําใจเปนนักกีฬา ครั้งหนึ่งไดเคยพระราชทานพระราชดํารัสในพิธีเปดงานแขงขันกรีฑานักเรียนป ๒๕๑๑ เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๑ ตอนหนึ่งมีใจความวา.... “...การกีฬามีคุณอยางยิ่ง และเปนสิ่งจําเปนสําหรับชีวิต เพราะกีฬาชวยเสริมสรางสุขภาพ ทั้งทางรางกายและจิตใจ การเลนกีฬาทําใหเกิดความแข็งแรงและคลองแคลว กระฉับกระเฉง ทําให มีความองอาจไมเกอเขิน มีความหนักแนน รูจักรักษาระเบียบ รูจักเคารพสิทธิของผูอื่น รูจักแพชนะ และรูจักสมานสามัคคี รูจักรักษาระเบียบ กลาวโดยยอ คือ ทําใหคนเปนคนดี เหมาะจะอยูในสังคม...” (ขอมูล : สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี)


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม

“เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

(ตอจากฉบับที่แลว) การลําเลียงของกองรถยนตรสยาม ประจําเดือนมีนาคม,พ.ศ.2461 สิ่งของทีบ่ รรทุกขึ้น กระสุนปนใหญ

เขาเปลือก แปง สัมภาระของกองบิน เสบียง สัมภาระและคน

ขนมปง

ตําบลลําเลียงขึ้น

ตําบลลําเลียงลง

ลันเดา, วักเคนไฮม, อิมสไวเลอร (Imsweiler), กอลลไฮม(Goll-hiem), ไคเซอรเลาแตรน,คัตซไวเลอร (Katzweiler). สถานีสินคาเมืองนอยชตัดต สถานีลันเดา นอยชตัดต, แกรแมรสไฮม(Gemersheim). สถานีลันเดา ฮุตเชนเฮาเซน(Hutschenhausen), โอเบอร-มีเซา (Ober-Miesau), กองบัญชาการฐานทัพเดอซ-ปองต (Deux-Pont) สถานีลันเดา

คลังกระสุนเมืองลันเดา ฟรีเดลสไฮม.

คลังเก็บหญาเมืองนอยชตัดต เมืองลันเดา สนามบินลักเคน, แกรแมรสไฮม. เมืองลันเดา ฮากาเนา (Hagenau)

เมืองลันเดา


เตรียมรับธงชัยเฉลิมพล

เมื่ อ วั น ที่ 17 มี น าคม, นายพลตรี พระยาพิชัยชาญฤทธิ์ ไดนําธงชัยเฉลิมพลมาพระราชทาน แกกองรถยนตร; ครั้นแลวนายพลโท มอรเดอราล (General de Division Morderal) ผูบัญชาการกองทัพ ยึดดินแดนเมืองนอยชตัดตไดนํา ตราครั ว เดอะแกร ม าประดั บ ใหกับธงชัยเฉลิมพล, เปนความ ชอบพิ เ ศษสํ า หรั บ กองรถยนตร สยาม ดังมีใจความแจงในคําแปล ใบประกาศนิยบัตรตอไปนี้ :-

สําเนาคําแปล กองทัพเหนือและตวันออกเฉียงเหนือ,ที่วาการกรมบัญชาการกองทัพ, กรมบัญชาการกรมเสนาธิการ กองทัพ, วันที่ 22 มกราคม,พ.ศ.2461, กรมบัญชาการทหารบกรถยนตรของฐานทัพ. ที่ 7234/c คําสั่งที่ 2092 ผูบัญชาการทหารบกรถยนตรของกองทัพ ขอประกาศความชอบในคําสั่งสําหรับทหารบกรถยนตรทั่วไป, ดังมีขอความตอไปนี้:กองทหารบกรถยนตรสยาม ในบังคับนายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค เปนกองใหญซึ่งสมควรไดรับความยกยองในความวิริยะอุสาหะ และความซื่อตรงตอนาที่ราชการของ ทหารไทยในกองนี้ทุกคน; นับจําเดิมแตเมื่อไดเขากระทําการรวมอยูในกองทัพสนาม ก็ไดมีแตความมุงมั่นอยู อยางเดียวที่จะชวยกองทัพฝรั่งเศสอยางจริงใจ, ในระหวางเวลาตั้งแตวันที่ 26 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม,พ.ศ. 2461 ไดรับ มอบนาที่ทําการสําคัญอันเต็มไปดวยความยากลําบาก, ก็ไดกระทําเปนผลสําเร็จอยางดียิ่ง, ไดลําเลียงกําลังทหาร และกระสุนปนใหญเปนจํานวนมากมาย เขาไปสงในยานกระสุนปนขาศึกหลายหนหลายครั้ง (ลงนาม) ดูมังซ ผูบัญชาการรถยนตรของกองทัพฝรั่งเศส ------------------------------

ครั้นแลวไดมีการสวนสนามตามระเบียบ.


ในเวลากลางคืนมีการเลี้ยงอาหารเย็น. เมื่อรับประทานอาหารแลว นายพลโท มอรเดอราลไดจัดแห, มีแตรวงทหารมาและแตรวงทหารราบกับทหารถือคบเดินตามถนน, พอถึงนาโฮเตลที่เลี้ยงทหารกระบวน แห หยุด แตรวงไดบรรเลงเพลงขึ้น, เปนการใหเกียรติแกธงชัย, หัวนาทูตทหารและกองทหารไทย. นับวาเสร็จการพิธี. ปฏิบัติการในเดือนนี้คงดําเนินไปโดยเรียบรอย. ปพระพุทธศักราช 2462 1. ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน ถึงวันที่ 10 กรกฎาคม, กองทหารบกรถยนตยังคงปฏิบัตินาที่ราชการขึ้นอยู ในกองทัพยึดดินแดนในประเทศเยอรมัน. 2. วันที่ 11 กรกฎาคม ถึง 18 สิงหาคม, กลับไปอยูประเทศฝรั่งเศส ในการสวนสนามมหาชัยและ เตรียมตัวกลับประเทศสยาม. 3. วันที่ 19 สิงหาคม ถึง 20 กันยายน, เดินทางกลับประเทศสยาม. 4. วันที่ 21 กันยายน ถึง 24 กันยายน, งานสมโภชพระราชอาณาจักรซึ่งพนแลวจากสภาพแหงสงคราม. การลําเลียงของกองรถยนตรสยาม ประจําเดือนเมษายน,พ.ศ.2462 สิ่งของทีบ่ รรทุกขึ้น

ตําบลลําเลียงขึ้น

เสบียงตางๆ ทหารอิตาเลียน กระสุนปนใหญ

สถานีลันเดา แบรกซาแบรน(Bergzabern) สถานีลันเดา, ฟรีเดลสไฮม,

สัมภาระตางๆ

สถานีนอยชตัดต, ลันเดา.

ตําบลลําเลียงลง คลังเมืองลันเดา ลันเดา, ไซด(Schaid), วินเดน (Winden) เมืองลันเดา, แกรแมรสไฮม, วักเคนไฮม เมืองลันเดา, สไปร (Speyer)

การสงกําลังในเดือนเมษายนนี้ไดดําเนินไปโดยเรียบรอย, อากาศก็อบอุนขึ้นบางแลว. เมื่อวันที่ 1 เมษายน, เปนวันขึ้นปใหมของชาวสยาม, ตามธรรมดาถาอยูในประเทศของเราในวันงาน พิธีตรุสสงกรานต ยอมไดหยุดพักราชการหลายวัน, แตทหารในกองทหารบกรถยนตไดหยุดเพียง 1 วันเทานั้น; ถึงเชนนั้นก็ดี, ทั้งนายและพลทหารรูสึกยินดีกันมาก เพราะตั้งแตเขาทําการในยุทธบริเวณ วันที่ 1 เมษายน, พ.ศ. 2462 นี้เปนวันแรกไดหยุดราชการ, แมแตวันเฉลิมพระชนมพรรษาของเรา ซึ่งตรงกับวันขึ้นปใหมของ ฝรั่งเศสก็ตองทําการแรมคืน. สําหรับการฉลองปใหมไดมีการเลี้ยงอาหารที่เมืองนอยชตัดต, ตําบลไกนสไฮม กับ ฮอคสไปร (Hochspeyer). เวลากลางวันไดมีการเลี้ยงอาหารสําหรับทหารทุกๆ กองยอย; เวลาค่ําตามสโมสรทั้ง 3 ตําบล ไดมีการ เลี้ยงอาหารทั้งนายสิบฝรั่งเศสและไทย.


นอกจากการเลี้ยงอาหารนี้แลว,อรรคราชทูตสยามประจํากรุงปารีสยังไดสงหอของแจกซึ่งจัดหาโดย ทุนแหงเงินชวยราชการสงคราม, ไปแจกแกนายสิบพลทหารทุกคน ทหารคน 1 ไดรับแจกสิ่งของดังนี้ :ปลาซาดีน 1 กระปอง,สบูถูตัว 1 กอน, หวีกับกระจก, ถุงเทาสักหลาด 1 คู, หนังผูกรองเทา 1 คู, แปรงสีฟน 1 แปรง, ยาสีฟน 1 อับ, ดินสอดํา 1 แทง, ซองกับกระดาษเขียนจดหมาย, กระเปาหนังสําหรับใสเงิน 1 กระเปา. นอกจากสิ่งเหลานี้ผาหอของนั้นใชเปนผาเช็ดมือไดดวย สวนนายทหารสัญญาบัตรในกองทหารบกรถยนตร.(ทั้งฝรั่งเศสและไทย) ไดมีการประชุมเลี้ยง อาหารในโฮเตล เลอเวน (Lowen) ในเมืองนอยชตัดต; นายทหารซึ่งไดรับเชิญมาเลี้ยงในคืนนี้มีจํานวน 42 นาย, การเลี้ยงไดดําเนินไปอยางรื่นเริงและเรียบรอย. เมื่อไดกลาวชื่อถึงโฮเตลเลอเวนแลว, มีขอที่สมควรจะยกชึ้นมากลาวสูกันฟงอยูบาง. โฮเตลนี้ ตลอดเวลาสงครามกอนนาสงบศึก, เปนที่ประชุมของนายทหารเยอรมันๆไดเคยมาเตนรํา และกระทําการ ฉลองชัยชนะแหงการรบหลายตําบลในปหนึ่งหลายๆ ครั้ง. ชาวเมืองนอยชตัดตคงไมมีผูใดเลยจะไดเคยนึก เคยฝนวานายทหารไทยจะมากระทําการฉลองการรับธงชัย และเลี้ยงสําหรับปใหมในสถานที่อันนี้. นอกจากนาที่ราชการซึ่งกองทหารบกรถยนตรไดปฏิบัติตามคําสั่งแลว, ในเดือนนี้ยังไดมีโอกาศ แสดงศิลปของไทยเราอีก, กลาวคือ, การตอยมวยและการดนตรี, ซึ่งนับวาทหารในกองทหารบกรถยนต ชุดแรกของชาวสยาม ไดไปตอยมวยอวดในทวีปยุโรปก็วาได. การตอยมวยไดดําเนินไปอยางไรนั้น, ขอนํา คําแปลขาวซึ่งนักกิฬาฝรั่งเศสผู 1 ไดกลาวในหนังสือพิมพ เลอ สปอรต ลอรแรง ( Le Sport Lorrain ), ลงวันที่ 16 เมษายน,พ.ศ. 2462 ดังตอไปนี้, การนัดตอยมวยและปล้าํ อยางไทย ที่เมืองนอยชตัดต, เมื่อวันอาทิตยที่แลวมา (วันที่ 14 เมษายน,พ.ศ.2462) เราไดอยูดูการนัดตอยมวย อยางแปลกประหลาดมาก 2 อยาง, ภายหลังการตอสูกันดวยมวยตอยอยางอังกฤษ, และการทดลองกําลังกันอยางงดงามมากดวยการ ปล้ํา (ทหารฝรั่งเศสแสดง), เราไดดูสิ่งที่ควรรู.ควรเห็นอยางยิ่งสิ่ง 1 คือ, กองทหารไทยในบังคับบัญชานายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค ซึ่งไดรับมอบนาที่ใหตั้งประจําอยูในบริเวณของมณฑลในบาวาเรีย (Bavaria) สวน 1 นั้น, ไดแสดงตอยมวยและปล้ําใหเราดูชุด 1. พระเฉลิมอากาศ หนังสือพิมพ เลอ สปอรต ลอรแรง ฉบับวันที่ 16 เมษายน,พ.ศ.2462, ไดกลาวถึงการแสดงตอยมวย และปล้ําอยางไทยตอไปวา :“นาดูแทๆ,คนไทยรูปรางเล็ก,ประเปรียว,เนื้อตัวออน,ไวอยางที่สุด; เขาจึ่งมีทาทางดีอยางหาไดยาก ในการปล้ํา. “การที่เขาไดแสดง มิไดมีแตสิ่งที่นารูนาเห็นแปลกประหลาดอยางเดียวเทานั้น ยังเปนสิ่งที่ควรดูเพือ่ ความรูสําหรับเราดวย.” (อานตอฉบับหนา)


ร.ท.หญิง ธนวรรณ อํานรรฆสรเดช

กองทั พ อากาศ มี ภ ารกิ จ ในการป อ งกั น ประเทศ และเตรี ยมกํา ลั งทางอากาศ ในแตล ะป กองทั พ อากาศจะจั ด ให มี ก ารฝ ก ต า งๆ มากมาย เพื่อเตรียมกําลังทางอากาศใหพรอมปฏิบัติหนาที่ เสมอ ทั้งที่เปนการฝกภายในกองทัพอากาศ และ การฝกกับตางเหลาทัพ รวมทั้งการฝกกับเหลามิตร ประเทศ ซึ่งนอกจากจะเปนการเตรียมความพรอม ของกําลังทางอากาศแลว ยังสงผลใหกําลังพลได ฝก ความชํา นาญกั บอุป กรณ เ ทคโนโลยี สมั ย ใหม จากกองทัพมิตรประเทศที่เขารวมการฝก ๑ในการฝก กับมิตรประเทศ ก็คือ การฝกผสม AIR THAMAL Â ประวัติการฝกผสม AIR THAMAL นับตั้งแตรัฐบาลไทย และรัฐบาลสหพันธรัฐ มาเลเซีย ไดทําความตกลงเกี่ยวกับปญหาชายแดน และร ว มลงนามในหนั ง สื อ ความตกลงว า ด ว ย ความรวมมือชายแดน โดย รมว.กต.ทั้งสองฝาย เมื่อ ๔ มี.ค.๒๐ จากนั้นไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการ ชายแดนทั่วไป ไทย–มาเลเซีย (กชท.) ซึ่งมี รมว.กห. ของทั้ ง สองประเทศ เป น ประธานร ว ม (ระดั บ รัฐบาล) และคณะกรรมการชายแดนสวนภูมิภาค

(กชภ.) ซึ่ ง มี มทภ.๔ ของไทยและ มทน.ภาค ๑ ของสหพันธรัฐมาเลเซีย เปนประธานรวม (ระดับ ภูมิภาค) จากการประชุม กชท.ครั้งที่ ๒๔ ที่กรุงเทพ ฯ เมื่อ ๕ เม.ย.๒๒ ไดกําหนดให กชภ.ดําเนินการฝก ปญหาที่บังคับการรวมอากาศ–พื้นดิน โดยมีกําลัง ทอ.ไทย, ทอ.มาเลเซีย และกองกําลังผสม (เฉพาะกิจ) ทั้งสองฝ าย โดยใช ชื่อว า “การฝ กป ญหาที่ บังคั บการ รวม อากาศ–พื้นดิน ทามาล ๑” (COMBINE AIR GROUND COMMAND POST EXERCISE THAMAL I) ตั้ ง บก.ฝ ก ผสมที่ ค า ยเสนาณรงค อ.หาดใหญ จ.สงขลา ระหวาง ๒๐-๒๕ ก.ย.๒๒ ผลของการฝก เปนที่นาพอใจของทั้งสองฝาย ดังนั้นในการประชุม กชท.ครั้งที่ ๒๖ ที่กรุงเทพ ฯ จึงไดกําหนดให กชภ. ดํ า เ นิ น ก า ร ฝ ก ผ ส ม ท า ง อ า ก า ศ ขึ้ น มี ชื่ อ ว า “EXERCISE AIR THAMAL I”ระหวาง ๘-๑๕ มี.ค.๒๕ ผลของการฝกเปนไปตามความมุงหมายทุกประการ ทอ. และ ทอ.มาเลเซีย ไดดําเนินการฝกผสมการ ปฏิ บั ติ ก ารทางอากาศยุ ท ธวิ ธี ตามบริ เ วณแนว ชายแดนไทย และมาเลเซี ย โดยใช ชื่ อ การฝ ก ว า “AIR THAMAL” ตั้งแตป ๒๕ ปละ ๑ ครั้ง โดย ทอ. และ ทอ.มาเลเซีย ผลัดกันเปนเจาภาพ ตอมาในป ๓๗


จึงเปลี่ยนเปนฝกปเวนป และป ๔๐ ไดเปลี่ยนเปน ฝกปเวนสองป ตามสถานภาพทางเศรษฐกิจของทั้ง สองประเทศ สํ า หรั บ การฝ ก ครั้ ง ที่ ๑๗ ได มี ก าร ปรับเปลี่ยนความถี่และรูปแบบของการฝกเพื่อใหมี ความเหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป อีกครั้งหนึ่ง โดยเพิ่มความถี่ในการฝกจากเดิมปเวน สองป เปนปเวนป และนํา บ.ขับไลสมรรถนะสูงของ ทั้งสองประเทศ เชน F-16 A/B, MIG-29N และ F/A-18D เขารวมการฝก นอกจากนั้น ยังอนุมัติให ใช พื้ น ที่ ก ารฝ ก อื่ น นอกเหนื อ จากพื้ น ที่ ต ามแนว ชายแดนข า งละ ๑๕ ไมล ท ะเล ที่ ใ ช อ ยู เ ดิ ม ด ว ย เนื่ อ งจากการฝ ก ยุ ท ธวิ ธี ก ารรบระหว า ง บ.ขั บ ไล สมรรถนะสูงตางแบบ จําเปนตองใชพื้ นที่การฝก ขนาดใหญ ทั้งยังอนุมัติใหวางกําลัง ณ สนามบิน อื่นๆ เพิ่มจาก บน.๕๖ หาดใหญ และฐานทัพอากาศ บัตเตอรเวิรธ เพื่อใหสอดคลองกับการเลือกใชพื้นที่ การฝกอีกดวย การฝกผสม ทอ.และ ทอ.มซ.ครั้งที่ ๑๘ “EX AIR THAMAL 18/2007” วางกําลังทางอากาศ ของทั้งสองประเทศ ณ บน.๑ จากการประชุมคณะทํางานระดับผูบริหาร ระหว า ง ทอ.-ทอ.มาเลเซี ย ครั้ ง ที่ ๗๓ ระหว า ง ๑๙–๒๓ ส.ค.๕๐ ณ ประเทศมาเลเซีย ไดมีความ เห็นรวมกันใหจัดการฝกปญหาที่บังคับการ (CPX) ของ การฝกผสม ทอ.–ทอ.มาเลเซีย โดยจะดําเนินการใน หวงระยะเวลาสั้นๆ กอนการฝกภาคสนาม (FTX) โดยจัดการฝกปญหาที่บังคับการ (CPX) ของการ ฝกผสม ทอ.–ทอ.มาเลเซียในป ๕๑ ณ ประเทศไทย โดยใช ชื่ อ การฝ ก ว า การฝ ก ป ญ หาที่ บั ง คั บ การ (CPX) ของการฝกผสม AIR THAMAL 19/2008

การฝกผสม ทอ.และ ทอ.มาเลเซีย ครั้งที่ ๑๙ “EX AIR THAMAL 19/2009” ไดจัดตั้งกองอํานวยการ ฝ ก ผสม ฯ และวางกํ า ลั ง ทางอากาศของทั้ ง สอง ประเทศ ที่ฐานทัพอากาศลาบวน ประเทศมาเลเซีย ระหวาง ๘ – ๑๙ มิ.ย.๕๒ Â การฝกผสม AIR THAMAL ๒๑/๒๐๑๑ จนถึ ง ป จ จุ บั น นี้ เป น การฝ ก ผสม AIR THAMAL ครั้งที่ ๒๑ ประจําป ๒๐๑๑ ไดมีการฝกใน ระหวางวันที่ ๘-๒๑ พ.ค.๕๔ ณ บน ๑ จ.นครราชสีมา โดยใช ชื่ อ การฝ ก ว า การฝ ก ป ญ หาที่ บั ง คั บ การ (CPX) ซึ่งเปนการฝกผสม ทอ.–ทอ.มาเลเซีย ภายใตรหัสการฝก AIR THAMAL ๒๑/๒๐๑๑ กอนที่จะเขาสูการฝกภาคสนาม (FTX) ในป ๒๐๑๒ ตอไป สําหรับการฝกผสม AIR THAMAL ๒๑/๒๐๑๑ มี น.อ.สุทธิพงษ อินทรียงค รองเจากรมยุทธการ ทหารอากาศในฐานะผูอํานวยการกองอํานวยการ ฝกผสม AIR THAMAL 21 / 2011 ในสวนกองทัพอากาศ และ Col Suri Din Mohd Daud ผูอํานวยการกอง อํานวยการฝกผสม AIR THAMAL 21/2011ในสวน กองทัพอากาศมาเลเซีย โดยทําการฝก ณ กองบิน ๑ จังหวัดนครราชสีมา กําหนดการฝกผสมฯ ประกอบดวย ประชุมวางแผนขั้นตน IPC ระหวางวันที่ ๑๗-๒๑ มกราคม ๒๕๕๔ ณ Awana Hotel Genting Highland ประเทศมาเลเชีย ประชุมวางแผนการฝกขั้นปลาย (FPC) ระหวางวันที่ ๗ -๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ บน.๑ จ.นครราชสีมา ซึ่งการประชุมวางแผนการฝกขั้นปลาย (FPC ) ของการฝกผสม AIR THAMAL ๒๑ /๒๐๑๑ มี น.อ.สุ ท ธิ พ งษ อิ น ทรี ย งค รอง จก.ยก.ทอ./


ผอ.กอฝ.ผสม และ Col Suri Din Mohd Daud ผอ.กอฝ.ผสมฯ ทอ.มาเลเซี ย ร ว มเป น ประธานฯ จัดการประชุม ณ.ร.ร.สีมาธานี จ.นครราชสีมา โดย มี กํ า ลั ง พลเข า ร ว มประชุ ม ฯ ประกอบด ว ย ทอ. จํานวน ๑๒ คน และ ทอ.มาเลเซีย จํานวน ๑๐ คน เขารวมประชุม และกําหนดการฝกปญหาที่บังคับการ ในระหวางวันที่ ๘-๒๑ พ.ค.๕๔ ณ บน.๑ จ.นครราชสีมา โดยมีพิธีเปด ๑๙ พ.ค.๕๔

รู ป แบบการฝ ก ป ญ หาที่ บั ง คั บ การ AIR THAMAL ๒๑/๒๐๑๑ ครั้งนี้ เปนการฝกปญหาที่ บังคับการแบบฝายเดียว (Single Sided CPX) โดย ใช ร ะบบเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ข อง ทอ. ในการ สั่งการและควบคุมและใช Simulation System ของ ทอ.มาเลเซี ย ประกอบการวางแผน โดยมี ส ว น ควบคุมการฝกฯ ทําหนาที่เปนหนวยเหนือ หนวยรอง และหนวยขางเคียง และกําหนดสถานการณการฝกฯ พั ฒ นาเหตุ ก ารณ แ ละแผนที่ ส ถานการณ ขึ้ น ใหม เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายที่กํา หนดใหการฝก ปญหาที่บังคับการ (CPX ) สามารถเชื่อมโยงไปสู การฝกภาคสนาม (FTX) ในป ๒๕๕๕ ณ ประเทศ ไทย

สิ่งที่นาสนใจในการฝกครั้งนี้ ไดปรับเปลี่ยน สถานการณการฝกจากเดิม โดยปรับใหสอดคลอง ตามนโยบายของการประชุม Air Working Group ครั้งที่ ๗๙ โดยมี ผช.เสธ.ทอ.ฝยก. เปนหัวหนาคณะ ซึ่งตองการใหปรับการฝก CPX ใหสามารถตอเนื่อง สูการฝก FTX ในป ๒๕๕๕ โดยกําหนดจัดการฝก ณ ประเทศไทย นอกจากการปรับสถานการณการ ฝ ก แล ว การฝ ก ครั้ ง นี้ ยั ง ได รั บ การสนั บ สนุ น Simulation System จาก ทอ.มาเลเซีย ซึ่งชวยให การฝกและการประเมินผลทําไดอยางมีประสิทธิภาพ มากขึ้น กํ า ลั ง พลที่ เ ข า ร ว มการฝ ก ประกอบด ว ย จนท.ทอ.และ จนท.ทอ.มาเลเซีย ในสวนควบคุม การฝ กฯ (ECC) และส วนผู เขารั บการฝ กฯ (Players) ประเทศละ ๒๙ คน, จนท.ทอ.และ จนท.ทอ.มาเลเซีย ในส ว นอื่ น ๆ โดย ทอ.จั ด กํ า ลั ง พลจาก นขต.ทอ. จํานวน ๖๐ คน เขารวมการฝก โดยแบงเปนสวน กองอํ า นวยการฝ ก และส ว นสนั บ สนุ น จํ า นวน ๓๑ คน จัดกําลังพลจาก ยก.ทอ., กบ.ทอ., ขส.ทอ., สอ.ทอ. และ บน.๑และสวนผูรวมการฝก จํานวน ๒๙ คน จัดกําลังพลจาก คปอ., รร.สธ.ทอ, .ขว.ทอ., บน.๒๑ และ บน.๒๓ โดย สอ.ทอ.สนับสนุนโปรแกรม ค ว บ คุ ม แ ล ะ สั่ ง ก า รที่ ใ ช ใ น ก า รฝ ก ร ว ม กั บ Simulation System ซึ่งไดรับการสนับสนุนใหรวม การฝกเปนครั้งแรกจาก ทอ.มาเลเซีย ทานผูอานอาจสงสัยวา การฝกครั้งนี้เปน การฝกสวนสั่งการโดยเนนหนักการใชยุทโธปกรณ เทคโนโลยี ไมมีการนําอากาศยานเขารวมการฝก เหตุ ใ ดจึ ง เป น การฝ ก ทางด า นกํ า ลั ง ทางอากาศ


เนื่องจากตองการใหฝกแตละสวนไดเรียนรูอยาง เต็มที่และเชื่อมโยงไปสูการฝกภาคสนาม ถึงตรงนี้ ทานผูอานอาจมีคําถามในใจวาทําไมจึงมีเทคโนโลยี มาเกี่ยวของเปนหัวใจสําคัญของการฝกการรบครั้งนี้ คําตอบคือการปฏิบัติภารกิจในแตละครั้งจะสําเร็จได

ทุ ก ส ว นมี บ ทบาทสํ า คั ญ ทั้ ง ส ว นบั ญ ชาการ ส ว น อํานวยการ สวนกําลังทางอากาศ สวนสนับสนุน จึ ง ต อ งประสานสอดคล อ งเป น ทิ ศ ทางเดี ย วกั น และในปจจุบันกองทัพอากาศตองเผชิญภัยคุกคาม หลายรูปแบบใหม จึง ต อ งเสริ มสรา งนภานุภ าพที่ สมดุลสอดคลองกับสภาวะแวดลอมและภัยคุกคาม ที่มีเทคโนโลยีเขามามีบทบาทไดตลอดเวลา โดย กองทัพจึงตองเตรียมกําลังทางอากาศบนพื้นฐาน ปฏิ บั ติ ก ารที่ ใ ช เ ครื อ ข า ยเป น ศู น ย ก ลางเพื่ อ ให ขีดความสามารถพรอมปฏิบัติการรบ และพัฒนา ยุท โธปกรณในระบบบั ญชาการและควบคุ มให มี ขี ด ความสามารถเทคโนโลยี ดิจิ ต อล และพั ฒ นา ระบบเชื่ อ มโยงข อ มู ล ทางยุ ท ธวิ ธี เพื่ อ เป น ป จ จั ย ทวีกําลังเพิ่มศักยภาพกําลังทางอากาศที่เหมาะสม สถานการณ ซึ่ ง เน น ระบบสารสนเทศของระบบ

บั ญ ชาการและควบคุ ม ตอบสนองภั ย คุ ก คาม ทุ ก รู ป แบบอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตามนโยบาย ผูบัญชาการทหารอากาศ ที่มุงมั่นใหกองทัพอากาศ กา วไปสู ก ารเป น กองทั พ อากาศชั้ น นํ า ในภู มิ ภ าค (One of The Best Air Forces In Asean) Â ประโยชนของการฝกผสม AIR THAMAL มาเจาะลึกลงไปวาการฝกผสมครั้งนี้ กําลังพล ประชาชน ประเทศชาติ จะไดรับประโยชนอยางไรบาง ประโยชนที่ไดรับนั้นก็คือ เพิ่มพูนความเขาใจขั้นตอน การฝก การปฏิบัติการทางอากาศผสมระหวาง ทอ. และ ทอ.มาเลเซีย - พัฒนาขั้นตอนการฝกและปรับปรุง ขอขัดของในการปฏิบัติการทางอากาศผสมระหวาง ทอ.และ ทอ.มาเลเซี ย เพื่ อ เป น แนวทางในการ ปฏิบัติการทางอากาศผสมของ ทอ.ทั้งสองประเทศ ในอนาคต - กระชับความสัมพันธในทุกระดับระหวาง ทอ.ทั้ง ๒ ประเทศ - พัฒนาขั้นตอนการปฏิบัติของการฝก ปญหาที่บังคับการ (CPX) และสายการบังคับบัญชา ภายใน กอฝ.ทอ.ผสม ใหเปนไปในแนวทางการปฏิบัติ เดียวกัน Â ความสัมพันธระหวาง ทอ.กับ ทอ.มาเลเซีย มีความสัมพันธที่ดีในทุกระดับ โดยตางมี การเยือนของนายทหารระหวางกันและกัน (Officer Exchange Visit) มีการใหการสนับสนุนทุนการศึกษา หลักสูตรตางๆ เชน รร.นฝ. และ รร.สธ.ทอ. นอกจากนั้น


ทอ.มาเลเซีย ยังเสนอการฝก GFET ใหแก ทอ. อีกดวย สรุปโดยรวมการฝกผสม AIR THAMAL ๒๑/ ๒๐๑๑ เปนการฝกเพื่อเพิ่มพูนความเขาใจในขั้นตอน การปฏิบัติการทางอากาศทั้งสองประเทศ โดยใช เครือขายสื่อสารดวยระบบคอมพิวเตอร ที่มีโปรแกรม การสั่งการและควบคุมที่ทันสมัย สงผลใหสายการ บั ง คั บ บั ญ ชารวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด และเสริ ม สร า งสั ม พั น ธ ไ มตรี กั บ มิ ต รประเทศให ธรรมชาติ

ทอ.ไทย กับ ทอ.มาเลเซีย รวมกันเปนกองทัพอากาศ ที่มีศักยภาพในภูมิภาคเอเชียในอนาคต โดยการฝกผสม AIR THAMAL ๒๑/๒๐๑๑ ปนี้เปนการฝกปญหาที่บังคับการ (CPX) ในระหวาง วันที่ ๘-๒๑ พ.ค.๕๔ ณ บน.๑ เพื่อเตรียมพรอมไปสู การฝกภาคสนาม (FTX) ในป ๒๕๕๕ ณ ประเทศไทย เพราะฉะนั้นปหนา การฝกผสม AIR THAMAL คงมี บทบาทนาสนใจ ตองรอติดตาม......


SKYPIG

กองทัพอากาศสหรัฐฯ ตั้งชื่อมันอยางเปน ทางการวา C-130 (อักษร C หมายถึง เครื่องบินเพื่อ การบรรทุก) กองทัพเรือสหรัฐฯ เคยตั้งชื่อมันอยางเปน ทางการวา GV-1 ดวยสมรรถนะของมัน ทหารอเมริกันทุก เหลาทัพเรียกมันวา Hercules ยักษใหญผูทรงพลัง และหาวหาญ ดวยรูปรางของมัน ทหารอิสราเอลกลับเรียก มันวา เจาแรด Karnaf ทหารไทยเรี ย กมั น ติ ด ปากว า “ซี -ร อ ยสาม-สิบ” กองทัพอากาศไทย นิยามมันอยางเปนทางการ วา เครื่องบินลําเลียงแบบที่แปด (บ.ล.๘ ) ข อ มู ล ทางเทคนิ ค ของเครื่ อ งบิ น C-130 ในบทนี้ไดนําเอาขอมูลที่มีพื้นฐานมาจากเครื่องบิน

“C-130-H” ซึ่งมีใชในประจําการของกองทัพอากาศ ไทย และใชงานแพรหลายอยูทั่วโลก Ú ลักษณะภายนอก Ú


เครื่องบิน C-130 มีรูปรางลักษณะเฉพาะ ที่จดจําไดงาย เปนการดีไมนอยที่ควรจะจดจํารูปราง ภายนอกของเครื่องบินลํานี้ไว เพราะหากวันหนึ่ง ตกกระไดพลอยโจน อยูทามกลางวิกฤต การปรากฏ กายของมัน อาจสรางความหวังกําลังใจใหเกิดขึ้นได ลําตัวของมันยาวเหมือนกระบอกขาวหลาม สวนทาย ลําตัวถูกปาดขึ้น ไปบรรจบกับสวนหางซึ่งตั้งตรง สู ง ขึ้ น ไป มี ป ก ติ ด ตั้ ง วางขวางตั้ ง ฉากอยู ด า นบน ลําตัว รูปทรงเครื่องบินเชนนี้เหมาะกับการปฏิบัติการ ทางทหารอยางมาก เพราะสวนทายของลําตัวออกแบบ ใหเปด-ปดไดอยางกวางโลง ลําตัวและปกไมเปน อุ ป สรรคในการขนถ า ยสั ม ภาระ มั น ได รั บ มรดก มาจากเครื่องบิน C-123 ที่ออกแบบมาตั้งแตปลาย สงครามโลกครั้งที่สอง รูปทรงเชนนี้แมแตเครื่องบิน

ทางทหารรุนใหมอยาง C-17 และ A-400M ที่สราง ขึ้ น มาภายหลั ง เกื อบหา สิ บป ยัง คงเอกลั ก ษณ ไ ว เชนเดียวกัน

เครื่องบิน C-130 มีลักษณะพึงประสงคใน การเปนเครื่องบินลําเลียงทางทหารหลายประการ มันสามารถตอบสนองตอการบังคับควบคุมไดอยาง ฉับไว และยังคงมีเสถียรภาพการบินไดอยางมั่นคง ทั้งในย านความเร็ว ต่ํา และปานกลาง รูปทรงทาง อากาศพลศาสตร ทางเทคนิคหมายถึงปกบน (Hi Wing) ปกติดตั้งเหนือลําตัว และปกทํามุมตั้งฉาก กั บลํา ตั ว (ไม จํา เปน ตอ งออกแบบใหมี มุม ลูห ลัง ) เพราะต อ งการให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ในการบิ น ยานความเร็วต่ํา และยังทําใหเครื่องบินมีความแข็งแรง ทนทาน ความคลองตัว และการตอบสนองตอการ บังคับควบคุมในยานความเร็วต่ํา ไดจากพื้นบังคับ (Flight control surface) ที่ออกแบบใหมีขนาดใหญ เผื่อไว เพื่อใชในภารกิจการ ทิ้งรม การขึ้นลงในสนามบิน ที่ มี ค วามยาวจํ า กั ด หรื อ สนามบิ น ที่ มี สิ่ ง กี ด ขวาง โดยรอบ ถึ ง กระนั้ น ก็ ต าม มันยังคงทําความเร็วสูงสุด ได 570 กม./ชม. ระยะทาง จากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม ในเวลา 1:15 ชั่วโมง และที่ ระดับความสูง 22,000 ฟุต มีความเร็วเทากับ ครึ่งหนึ่ง ของความเร็ ว เสี ย ง มั่ น ใจ ไดเลยวา มันสามารถลําเลียงทหารพรอมยุทโธปกรณ หนัก 20 ตัน ไปถึงทุกขอบชายแดนไทยไดในเวลา เพียงสองชั่วโมง


Ú ภายในหองนักบิน Ú เมื่อกาวผานประตูบันได(Crew Entrance Door) ดานหนาสามขั้น จะถึงพื้นระวางบรรทุกกอน ตรงหนาคือ แผงกั้นลําตัวหมายเลข FS245 ซึ่งแบง

C-130 ออกเปนสองสวน คือ สวนที่เปนหองนักบิน และสวนระวางบรรทุก หากเลี้ยวขวาจะเขาสูหอง ระวางบรรทุ ก แต ห ากเลี้ ย วซา ยแล ว ป น บั นไดอี ก สามขั้ น จะมาถึ ง ห อ งนั ก บิ น ซึ่ ง จะอยู สู ง กว า พื้ น ระวางบรรทุก มันเปนหองนักบินที่ใหญที่สุด เทาที่ ผูเ ขีย นเคยสั ม ผั สมา แม แต เครื่ อ งบิ น B747-400 ที่มีน้ําหนักมากกวาถึงหกเทา ก็ไมกวางใหญขนาดนี้ ภายในหองนักบิน มีเกาอี้ 4 ตัว ซึ่งเปนของนักบิน 2 นาย ชางอากาศ และตนหน พรอมแครนอนสองชั้น วางขวางอยูทางดานหลัง เกาอี้นักบินทั้งสองตั้งอยู ด า นหน า สุ ด เก า อี้ ช า งอากาศอยู ร ะหว า งนั ก บิ น ทั้งสองแตคลอยมาทางดานหลัง สวนเกาอี้ตนหน จะรนถอยหลังออกมาระยะหนึ่ง เพื่อใหมีชองวาง พอที่นักบินผูชวยเดินผานไปได เกาอี้ตนหนสามารถ หมุนได 180 องศา ขณะทํางานจะหมุนหันหนาเขา

แผงเครื่องวัดของตน แตเปนการหันขางใหนักบิน เฉพาะในระหว า งเครื่ อ งกํ า ลั ง วิ่ ง ขึ้ น หรื อ ร อ นลง นายทหารตนหนตองหมุนเกาอี้กลับไปทางเดียวกับ นั ก บิ น ภายในห อ งนั ก บิ น ยั ง มี แ คร น อนสองชั้ น วางขวางลํ า ตั ว ชั้ น บน ใช น อนได อ ย า งเดี ย ว ชั้นลางพอนั่งไดสองคน อย า งสบาย คั น บั ง คั บ เปนแบบ Control Column สองอันครอมอยูหวางขา ของนั ก บิ น ทั้ ง สอง มี พวงมาลัย เล็ก ๆ ติดตั้ง ไวทางดานซายของที่นั่ง ซ า ย(ด า นกั ป ตั น ) เพื่ อ ใชบังคับลอหนาใหเลี้ยวขณะอยูบนพื้น บนเพดาน ห อ งนั ก บิ น มี ช อ งทางออกฉุ ก เฉิ น เป น ฝากลมๆ สามารถถอดออกได และที่จุดนี้เองที่สามารถติดตั้ง “ครอบแกว” (Bumble) ไวเพื่อใหลูกเรือมองไปทาง ดานหลังของเครื่องบินไดขณะอยูในอากาศ


โดยปกติ แ ล ว ภายในห อ งนั ก บิ น จํ า กั ด ใหทํางานไดเพียง 6 คน (ตามชองเสียบออกซิเจน ที่สํารองเผื่อไว) แตในชวง สุ ด ท า ย ข อ ง ส ง ค ร า ม เวี ย ดนามใกล จ บ เมื อ ง ไซงอน(โฮจิมินหซิตี้) กําลัง จะแตก ชาวเวียดนามพากัน หนี ต าย มาขึ้ น เครื่ อ งบิ น C-130 จํ า นวน 472 คน ในจํ า นวนนั้น มีถึ ง 32 คน ขึ้ น มาเบี ย ดเสี ย ดในห อ ง นั ก บิ น โดยมี นั ก บิ น ชาว เวี ย ดนามเพี ย งคนเดี ย ว แอบบินเลาะชายฝงเกือบ สามชั่ ว โมง มาลงที่ ส นามบิ น อู ต ะเภา ได อ ย า ง มหัศจรรย แผงหนาปด มาตรวัด เรือนไมล ไฟแจงเตือน ของ C-130 อาจทํ า ให ทุ ก คนต อ งตะลึ ง เพราะ มันละลานตา เต็มพรืดไปหมด มาตรวัดทรงกลม หลายขนาด เล็กบางใหญบาง ทุกเรือนมีเข็มชี้หมุนวน ไปบนตัวเลข เข็มสั้นซอน-ซอนอยูในเรือนเดียวกับ เข็มยาว มันถูกออกแบบไวกอนป ค.ศ.1960 ซึ่งเปน ชวงกลางของยุค Analog มีทั้งที่ติดตั้งอยูดานหนา นั ก บิ น ทั้ง สอง และติ ดตั้ ง ไวที่ บ นเพดาน เอี้ย วตั ว ไปดานขางยังมีแผงฟวส(Circuit Brakers) หลาย รอยอัน รายลอมไปหมด มีคันเรงเครื่องยนต 4 คัน และคั น ปรั บ สภาพเครื่ อ งยนต / ใบพั ด อี ก 4 อั น (Engine Condition Lever) ซึ่งมีหมายเลขเครื่องยนต 1 2 3 และ 4 กํ า กั บ อยู ตั้ ง ตรงกลางอยู ร ะหว า ง

นักบินทั้งสอง แตคอนไปทางดานซาย ทําใหนักบิน ที่สอง ตองเอื้อมมือไปจับคัน เรง ลํา บากสักหน อย

มาตรวัดและอุปกรณควบคุมระบบตางๆ มากมาย เชนนี้ ลําพังเพียงนักบินทั้งสองไมสามารถที่จะควบคุม และตรวจตราได ทั น จึ ง จํ า เป น ต อ งมี ช า งอากาศ (Flight Engineer) รับผิดชอบภาระควบคุมการทํางาน ของระบบต า งๆ ทั้ง ในยามปกติและภาวะฉุก เฉิ น เกาอี้นั่งของชางอากาศหมุนไดรอบตัว ภาระสําคัญ ของการบินอีกประการหนึ่งคือ การเดินอากาศ เปน หนาที่ของนายทหารตนหน(Navigator) มีโตะทํางาน และแผงหนาปดแยกไวตางหาก หองนักบินของ C-130 นอกจากจะมีขนาด ใหญแลว ยังมีทัศนวิสัยอันโปรงโลง มีกระจกทั้งหมด 23 บาน จึงสามารถมองไปทางดานหนา ดานขาง และกมมองลงบนพื้นดานลางไดอยางสบาย เพราะ ออกแบบใหทํางานรวมกับกําลังทหารที่อยูภาคพื้น ไมเกี่ยงวาจะเปนทหารบกหรือทหารเรือ หนวยรบพิเศษ


หรือทหารราบทั่วไป หนาตางกระจกในหองนักบินมี สองบานที่สามารถเปดปดได เปนแบบบานพับเปดเขา ดานใน ความหนาของกระจกไดพิสูจนจากสนามรบ แลววา สามารถที่จะกันกระสุนปนขนาดเล็กไดอยางดี Ú ภายในระวางบรรทุกหรือหองโดยสาร Ú เดิน ลงจากหองนัก บิน ผานแผงกั้นลําตัว หมายเลข FS245 มายังสวนระวางบรรทุก ทั้งผูโดยสาร และสัมภาระจะรวมกันอยูในหองระวางบรรทุกดวยกัน ในขณะที่ยังไมไดติดตั้งเกาอี้ หองระวางบรรทุกจะ แลดูโลงยาวตลอด ไมตางอะไรกับรถสิบลอ เงยหนา มองขึ้นไปยังเพดาน สามารถเห็นผิวบุลําตัว สายไฟ ทอ ทาง ระบบกลไก ระโยงระยางเปน แนว อยา ง เปลือยเปลา หากเปนรุนลําตัวยาวสวนระวางบรรทุก จะยาวกวา 4.5 เมตร สวนที่ตอยืดขยายลําตัว ออกไป มีสองสวน สวนแรกตอออกจากดานหลังหองนักบิน ความยาว 2.54 เมตร ส ว นที่ ส องต อ ออกไปจาก สวนทายของลําตัว ความยาว 2.03 เมตร ความสะดวกสบายในหองโดยสาร ความที่ มันเปนเครื่องบินทหาร หองน้ําหองสวม ออกแบบไว เ พื่ อ ความสะดวกของ ทหารชาย เป นหลั ก เครื่ องบิ น C-130 รุนเกา เมื่อถึงคราวจําเปนตองปวดเบา ทหารหนุ ม สามารถยื น ปลดปล อ ย ไดอยางทระนง ของเหลวที่ถายออกมาจะ ถูกขับออกรวมกับเมฆในทองฟาทันที แต หากเป นทหารหญิ งหรื อปวดหนั ก ยั ง มี สวมนั่ง สวมหลุมลอยฟา มีถังรองรับไว แตตองออกแรงนําถังมาเททิ้งอีกตอหนึ่ง

เมื่ อ ลงถึ ง พื้ น สํ า หรั บ เครื่ อ งบิ น C-130 รุ น ใหม ไมเกี่ยงวาจะปวดหนักหรือเบา ถายแลวพอจะลืมได (Fire & Forget) เพราะมีระบบดูดสวมอัตโนมัติ ต อ เข า กั บ รถสุ ข า เมื่ อ ถั ง เต็ ม แต ทั้ ง สองรุ น ยั ง คง เหมื อนกั น คื อ ตอ งใช ม า นคลุ ม ระหว า งปฏิบั ติ กิ จ เหมื อนกั น แต เ รื่ องนี้ ไม พน ฝมื อช า งอากาศไทย สามารถดั ด แปลงห อ งน้ํ า ให เป นส วนตั้ วส วนตั ว จนผูโดยสารที่เปนสตรีหลายทาน สามารถบินไกลๆ ไดนานกวาหกชั่วโมง ไดอยางไมอัดอั้น Úชองทางเขาออก Ú เครื่องบิน C-130 มีชองทางเขา ชองทางออก (ที่ ไ ม เ ขี ย นช อ งทางเข า -ออกติ ด กั น เพราะว า บางกรณีเตรียมไวเปนชองทางออกเพียงอยางเดียว) ชอ งทางที่ ใชในการทํา งานปกติ ทั่ วไป 2 ทาง คื อ ประตูหนาทางดานซาย (Crew Entrance Door) และทางดานทายคือ Cargo Ramp เมื่อเปดออกจะ ลาดเอี ย งลงเพื่ อ ให ขั บ รถยนต ห รื อ ลากล อ เลื่ อ น เขาไปได แตเมื่อเปดในอากาศพื้น Cargo Ramp


จะเปนระดับเดียวกับหองโดยสาร สวน Cargo Door ซึ่งอยูเหนือ Cargo Ramp เปนอีกชองทางหนึ่ง ขณะเปด จะถูกยกขึ้นดานบน เพื่อใหมีความสูงเพียงพอในการขนถายสัมภาระ ทางดานทายยังมีประตูอีกสองขาง(Paratroop Doors) ไวสําหรับทหารพลรมกระโดดออกจาก เครื่องในอากาศ ประตูนี้ไมมีในเครื่องบิน C-130 รุน L-100 ที่ใชงานทางพลเรือน ดานขางลําตัว มีหนาตางสี่เหลี่ยมบานเล็กติดตั้งเผื่อไวอีก หากชองทางหลักเสียหาย เปดไมได เพดานดานบน เครื่องบินยังมีชองทางออกฉุกเฉินอีก 3 ชอง เปนแผนอะลูมิเนียมวงกลม มีเผื่อไว สําหรับหนีออก ขณะเครื่องบินลอยอยูในน้ํา ติดตั้งไวในหองนักบินหนึ่งชอง กลางลําตัว และสวนทาย อีกหนึ่งชอง ข้อแตกต่างบางประการของเครื่องบิน C-130 ลําตัวสัน้ และลําตัวยาว ลําตัวสั้น C-130H

ลําตัวยาว C-130H-30

หมายเหตุ

ความยาวลําตัว

29.79

34.25

ยาวกว่า 4.5 เมตร

จํานวนผู้โดยสาร

92

128

จํานวนทหารพลร่ม

64

92

จํานวนผู้ป่วย

74

97

จํานวนแผ่นบรรทุก

5

7

ข้อมูล

pallet 436l

พื้นระวางบรรทุกเมื่อจอดอยูสูงจากพื้นลางราว 70 เซนติเมตร และสามารถปรับต่ําลงไดอีก เพื่อ ความสะดวกในการขึ้นลงหรือขนถายสัมภาระ โดยไมตองอาศัยเครื่องมือพิเศษใดๆ หองระวางบรรทุก สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการบรรทุก หรือการติดตั้งเกาอี้โดยสารไดหลายรูปแบบ ที่พื้นระวางบรรทุกทั้ง สองฝงขนาบขางดวยรางยึดแผนพาเล็ท (Pallet แผนรองรับสัมภาระ) เพื่อยึดตรึงสัมภาระไวไมใหเคลื่อน ไปจากตําแหนงเดิมทั้งในแนวนอนและแนวตั้ง แตสามารถปลดใหแผน pallet เลื่อนออกไปทางดานทาย เพื่อลําเลียงสัมภาระน้ําหนัก 20 ตัน ออกจากเครื่องบินไดในเสี้ยววินาที ไดดวยยุทธวิธีแบบ ERO HE หรือ LAPE ระวางบรรทุกมีความกวางและยาว พอที่จะขับรถตูตามกันขึ้นไปได 2 คันหรือ 3 คันหากเปน ลําตัวยาว การเคลื่อนยายผูปวย อาศัยผนังดานขางลําตัวทั้งสองฝงสามารถติดตั้งเปลสนามได 2 ชั้น รวมกับ แนวกลางลําตัวอีก สามารถขนยายผูปวยนอนไดตามขอมูลในตารางประกอบ O (อานตอฉบับหนา)


ปชส.สวบ.ทอ.

ศูนยปฏิบัติการตอตานการกอการรายสากล จัดการฝกแกไขปญหาการกอการรายสากลภายใต รหัสฝก “ดอนเมือง ๕๔” เพื่อทดสอบความพรอม ในการตอบโต ส ถานการณ ก ารก อ การร า ยสากล ณ พื้ น ที่ ท า อากาศยานดอนเมื อ ง ระหว า งวั น ที่ ๙ - ๑๑ มี .ค.๕๔ โดยมี วั ตถุป ระสงคก ารฝก เพื่ อ ฝกซอมการแกไขปญหาการกอการรายสากลเปน การฝกรวมระหวางหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน จํานวน ๔๐ หนวยงาน โดยมีผูเขารับการฝกรวมทั้ง สิ้น ๑,๐๔๒ นาย ในสวนของ สถาบันเวชศาสตร การบินกองทัพอากาศ จัดเปนชุดสงกลับทางอากาศ มีแพทย และพยาบาลเวชศาสตรการบิน จํานวน ๑๒ คน จัดเปนชุดสงกลับทางอากาศ ๒ ชุดๆละ ๖ คน ปฏิบัติงานรวมกับทีมแพทยจาก พอ. พบ.และทีมแพทย จากวชิ ร พยาบาล โดยมี แ พทย จ ากกรมแพทย

ทหารอากาศเป น หั ว หน า ชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารด า น การแพทย

การฝกปฏิบัติ จัดใหมีสถานการณจําลอง การเกิ ด เหตุ ก ารณ โดยสมมติ ใ ห ป ระเทศไทย เป น เจ า ภาพจั ด งานแสดงสิ น ค า และวั ฒ นธรรม


นานาชาติ ระหว า ง วันที่ ๙–๒๑ มี.ค.๕๔ ณ ศูนยแสดงสินคา แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม แหงใหมในสนามบิน ดอนเมื อ ง มี รมต. จากประเทศ ลาว เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส เมียนมาร เกาหลี ใ ต และไทย เขารวมพิ ธีเ ป ดงาน ในวั น ที่ ๙ มี .ค.๕๔ เวลา ๑๓๓๐ รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานเปดงาน เวลา ๑๔๐๐ เกิดเหตุผูกอการรายชิงตัว รมต.ตปท. เปนตัวประกันและเกิดเหตุจี้ยึดเครื่องบินโดยสาร พลเรื อ น จากนั้ น เป น การฝ ก บริ ห ารเหตุ ก ารณ การจัดกองอํ านวยการฝ ก งานการขา ว การซอม ธรรม

ชวยเหลือตัวประกัน การเจรจาตอรอง การบริหาร จัดการกับผูบาดเจ็บ การเคลื่อนยายผูบาดเจ็บใน พื้นที่ดวยรถพยาบาลและการฝกการลําเลียงผูปวย ทางอากาศดวยเฮลิคอปเตอรแบบ Black Hawk ๒ เที่ยวบิน รับสงผูบาดเจ็บ ๒ ราย

Healthy

คนไทยนิยมนําดอกแคมาทําแกงส้ม และต้มสุกกินกับน้ําพริก ? สารอาหารที่สําคัญ ยอดแคมีเบต้าแคโรทีนและวิตามินเอมาก ดอกแคสด มีวิตามินซีสูง ? สรรพคุณ ช่วยบํารุงสายตา ป้องกันการเป็นโรคมะเร็ง ป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟัน ป้องกันหวัด คัดจมูก และยังช่วย สร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกายปลอดจากโรคต่างๆ ได้อีกด้วย


Sansiri_2@yahoo.com www.facebook.com/sansiri.s

น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต

หลายคนคงได พ บกั บ ผลิ ต ภั ณฑ ไ ฮเทคพกพาแบบใหม ที่ มี ลั ก ษณะเป น คอมพิว เตอร จ อแบน (Tablet computer) พกพางาย มีชื่อเรียกวา iPad 1 ขนาดนั้นใหญกวา iPhone แตเล็กกวา Notebook โดย Apple ไดนําออกสูตลาดเมื่อตนป 2010 ที่ผานมา (iPad 2 ออกมาแลว) ตามขอมูล iPad 1 สามารถ นํามาทองเว็บ, อานหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-book), เลนเกม และดูทีวี ทั้งหมดนี้ผานเครือขายแบบไรสาย (3G หรือ Wi-Fi) ในเวลาที่ผานมานอกจาก Apple ที่ไดนํา iPad 1 ออกสูตลาดไอทีแลว ยังมี Galaxy Tab จาก Samsung และ Blackberry Playbook จาก Blackberry โดย Gartner คาดวาในชวงที่ 3 ของป 2011 จะเปนปของคอมพิวเตอรจอแบน ยอดขายจะแซงหนาคอมพิวเตอร Notebook และ Netbook เนื่องจาก ตอบสนองความตองการของผูใชไดดีกวา เราลองมาดูการเปรียบเทียบคุณสมบัติของ iPad 1 กับ Galaxy Tab และ iPad 1กับ Blackberry Playbook ผลที่ไดอาจเปนขอมูลใหกับผูอาน ที่กําลังตัดสินใจที่จะซื้อ อุปกรณดังกลาวมาใช เริ่มดวยขอมูลที่นาสนใจของ iPad 1 รายละเอียดมีดังนี้


CPU ถูกขับเคลื่อนโดยพลังของ Apple A4 ซึ่งเปนชิปแบบ SoC (System on Chip) มีความเร็ว 1 GHz ตัวเดียวครบเครื่อง มาพรอมกับ Wi-Fi และรองรับ 3G เทคโนโลยี ระบบปฏิบัติการ ใชระบบปฏิบัติการเดียวกันกับ iPhone แนนอนวาขอดีของ การใชระบบปฏิบัติการเดียวกับไอโฟน หมายความวาโปรแกรมตางๆ ของไอโฟนหรือไอพอดทัช จะสามารถนํามาใชงานกับ iPad 1 ไดดวย Multitasking ในการออกแบบครั้งแรก iPad 1 ไมรองรับ multitasking เปน หนึ่งในขอสังเกตเกี่ยวกับ iPad 1 ซึ่งก็เปนผลมาจากการใชระบบ ปฏิบัติการเดียวกับ iPhone นั่นเอง เพราะอุปกรณที่กลาวมา ก็ไมได รองรับ multitasking แตในที่สุดปลายป 2010 Apple ไดนําระบบปฏิบัติการตัวใหม iOS4.2 โดยผูใช สามารถ UPDATE ได ผลที่ตามมาทําให iPad 1 นั้น ทํางานในลักษณะ Multitasking ได จอภาพสัมผัส ใชจอแบบ IPS (In-Plane Switching) สําหรับโลกแหง LCD แลว จอแบบ IPS เปนจอที่มีขอไดเปรียบ กวาจอชนิดอื่นๆ มาก เนื่องดวยเหตุผลเรื่องความคมชัดของภาพ การแสดงสีที่ทําไดมากกวาสีอื่นๆ และ ที่สําคัญที่สุดคือองศาการมอง ที่ทําไดดีในทุกๆ มุมมองทั้งแนวตั้งและแนวนอน (จอ LCD ปจจุบันสวนมาก มักจะมองไดดีเพียงแคแนวเดียว เมื่อมองจากดานบน หรือพลิกจอแลว องศาการมองจะทําไดไมคอยดีนัก) แบตเตอรี่ สามารถทํางานไดนานถึง 10 ชั่วโมง ตามที่ Apple ไดพูดไวในการเปดตัว กลาววา iPad 1สามารถ ทํางานไดนานถึงสิบชั่วโมงในการใชงานตามปกติ สําหรับการใชงานหากเทียบกับคอมพิวเตอรโนตบุค หรือ เน็ตบุคแลว ถือวาเยอะมากทีเดียว การทํางาน Flash ไมรองรับ Flash นี่คือสิ่งที่ยังเปนขอดอยของอุปกรณ iPad 1 ขณะนี้ แตคาดวาในอนาคตคง จะใชงาน Flash ไดเพราะจอใหญตีตลาดอุปกรณไฮเทคพกพาขนาดนี้ หากเลนแฟลชไมได ถือวาขาดอะไรบางอยางไป


อาน e-book iPad 1 มาพรอมกับ iBook Store ที่ทาง Apple หวังวาจะตีตลาดนี้อยางจริงจังเพื่อแขงกับ Kindle จากทาง Amazon โดยการดาวนโหลดก็จะสามารถดาวนโหลดผานระบบ Wi-Fi หรือ 3G ไดเลยทันที

เปรียบเทียบระหวาง iPad 1 กับ Galaxy Tab

iPad 1

Galaxy Tab

ขนาด iPad 1 มีขนาด 242.8 x 189.7 x 13.4mm และน้ําหนัก 680g สวน Samsung Galaxy tab มีขนาด 190.09 x 120.45 x 11.98mm และน้ําหนัก 380g จะเห็นวา Galaxy tab มีขนาดเล็กและมีน้ําหนักเบากวา เหมาะสําหรับการอาน e - books และหนังสือพิมพ CPU การทํางานเครื่องทั้งสองใชความเร็ว 1GHz เทากัน โดย Galaxy Tab ใช ARM Cortex A8-based 'Hummingbird' processor สวน iPad 1 จะใช A4 chip เรื่องความเร็วดูแลวไมแตกตางกันมาก แตเรื่อง ของระบบปฏิ บั ติ ก ารของเครื่ อ งทั้ ง สองนั้ น ใช กั น คนละแบบทํ า ให ก ารเปรี ย บเที ย บทํ า ได ย าก เพราะ Samsung Galaxy Tab ใช Andriod เวอรชั่น 2.2 สวน iPad 1 เองก็ประกาศมาแลววาใหอัพเกรดเปน iOS4.2 ซึ่งมาพรอมกับลูกเลนใหมๆ เชน AirPrint, AirPlay และ Multitasking


จอภาพสัมผัส iPad 1 ใชจอแบบ touch-sensitive IPS display ขนาดหนาจอที่ 9.7 นิ้ว 768 x 1,024 pixels. สวน Galaxy Tab ใชจอขนาด 7 นิ้ว 600 x 1,024 pixels จะเห็นวาขนาดจอภาพสัมผัสของ Galaxy Tab มี ขนาดที่เล็กกวา การทํางาน Flash สิ่งที่สําคัญที่ทําใหหลายๆคนตอง เทใจใหกับ Galaxy Tab ก็คือเรื่องของการรองรับการทํางานของ Flash เพราะมันรองรับ Flash 10.1 ซึ่งแมวา Apple จะออกมายืนยันแลววาการทํางานของ Flash มัน กินทรัพยากรเครื่องมาก Apple เลยไมตัดสินใจให iPad 1หรือ iPhone รองรับการทํางานของ Flash แตหาก ดูการใชงานจริงจะพบวา เนื้อหาบนเว็บไซดตางๆในปจจุบันใช Flash กันทั้งนั้น ซึ่งเปนที่อึดอัดมากสําหรับ คนที่ใช iPad 1 หรือ iPhone เวลาเขาไปใชบริการในเว็บที่ใช Flash ในการนําเสนอ โดยเฉพาะการสตรีมมิ่ง ตางๆ และเนื้อหาสําคัญๆ กลอง อยางที่บอกไปวา iPad 1 ไมมีกลองเรื่องนี้คงสู Galaxy Tab ไมได เพราะ Galaxy Tab ใหกลองมา 3 Megapixel พรอมกับ LED flash แถมดวยกลองดานหนา 1.3MP QVGA video calling ซึ่งหากจะบอก วากลองไมจําเปน คิดวาคงไมจริง มันเปนสิ่งที่คอนขางจําเปนสําหรับการใชงานในบางอยาง นอกเหนือการ ถายรูป เชน การใชงาน Video Call หรือการ Chat ที่สมบูรณแบบ หรือแมแตจะถายรูปแลวอัพโหลดลง Facebook


หนวยความจํา เรื่องนี้ iPad 1 คงแพไปกอน ที่แพไมใชเรื่องความจุ แตเปนเรื่องของ Slot Memory ภายนอก เพราะวา iPad 1 ไมสามารถใส Memory เพิ่มเติมได จริงๆ แลวสามารถใสได แตก็ลําบากหนอย โดยใช Camera Kit มาตอเสียบตรงดานลางเพื่อเอาภาพถายจากลองดิจิตอลมาถายโอนเขาไป ในเครื่อง สวน Galaxy Tab นั่นสมบูรณแบบมากกวา เพราะมันรองรับขอมูลทั้งหมดใน Card แบตเตอรี่ สิ่งที่ผูใช iPad 1 ตองชมกันทุกคนก็คือความสามารถของแบตเตอรี่เครื่อง iPad 1 แมเปด Wi-Fi หลายๆ ชั่วโมงแตก็กินไฟไมมาก โดย Apple เองเคยอางวาเครื่อง iPad 1 นั้นสามารถใชงานตอเนื่องไดนาน ถึง 10 ชั่วโมง สวน Galaxy Tab ออกมายืนยันตอวา Galaxy Tab นั้นสามารถใชไดนานถึง 7 ชั่วโมง เรื่องนี้ iPad 1 ชนะขาดเพราะหนาจอใหญกวากินไฟมากกวา แตประหยัดกวา ในความรูสึกยังเชื่อวา iPad 1 เรื่อง ประหยัดไฟนาจะดีกวา

เปรียบเทียบระหวาง iPad 1 กับ BlackBerry PlayBook หนาจอสัมผัส ขนาด 7 นิ้ ว มาพร อ มกั บ ความละเอี ย ด 1024 x 600 จุด และมีน้ําหนักเพียง 400g เทานั้น นั่นก็แปลวาเจา PlayBook ทั้งเล็กกวา บางกวา และเบากวา iPad 1 อยางมาก แถมยังมีความ ละเอี ย ดหน า จอที่ สู ง กว า ด ว ย แต ต รงจุ ด นี้ ก็ ดู จ ะ ไมเชิงเปนขอดีเลยทีเดียว เพราะหลายคนอาจจะ ตองการหนาจอที่มีขนาดใหญถึง 9 นิ้ว ที่มีใน iPad 1 เพื่อความสะดวกในการอานก็เปนได

BlackBerry PlayBook

ระบบปฏิบัติการ ใหมถอดดามอยาง BlackBerry Tablet OS และก็เปนไปตามขาวลือที่วา BlackBerry PlayBook ตัวนี้ จะไมไดทํางานภายใตระบบ OS 6 ที่มีอยูตาม BB รุนใหมๆ ในตอนนี้ แตจะใชเทคโนโลยีของทาง QNX เปนบริษัทซอฟตแวรที่ RIM ซื้อมาเมื่อเดือนเมษายนที่ผานมา โดยมาพรอมกับการสนับสนุนแพลตฟอรม


มาตรฐานและเทคโนโลยีตางๆไมวาจะเปน POSIX OS, SMP, Open GL, BlackBerry 6, WebKit, Java, Adobe Flash และ Adobe Air อีกดวย CPU ถึงแมความเร็วของ iPad 1 จะมีอยูเทากันที่ 1Ghz ก็จริง แตจะมีเพียง PlayBook ตัวเดียวเทานั้น ที่มีใหถึงสอง Core ดวยกัน และแนนอนวามันจะสงผลดีตอระบบ Multitask อยางมาก บวกกับ RAM ทีม่ ใี ห ถึง 1GB ซึ่งมากที่สุดในทองตลาดตอนนี้ จะเปนสวนชวยที่สําคัญอยางยิ่งในการเปดโปรแกรมหลายๆ ตัว หรือหนาจอเว็บเบราเซอร ไปหลายๆ จอพรอมๆ กัน เพราะในขณะที่เจาของ iPad 1 สวนใหญที่ยังไมได UPDATE iOS4.2 ตางรูกันดีวา การเปดโปรแกรมเว็บเบราเซอร Safari หลายๆ หนาพรอมกันนั้น จะมีความ เสี่ยงทําใหเกิดการ out of memory ได Mutitasking PlayBook คือการมาถึงของระบบ Mutitasking อยางแทจริง เราอาจจะพูดไดวา PlayBook นั้นคือ การใชงานในระบบ Multitasking อยางเต็มตัว เนื่องจากทาง RIM มองเห็นจุดออนที่ใหญที่สุดของ iPad 1 ซึ่งก็คือการทํางานที่มีขอจํากัดในดานที่ Application ตางๆ นั้นไมสามารถทํางานอยูเบื้องหลังกันและกัน เพื่อที่จะใชงานโปรแกรมพรอมกันไปหลายๆ ตัวในเวลาเดียว เหมือนที่มีอยู ในรูปแบบคอมพิวเตอรทั่วๆ ไปได การทํางาน Flash Adobe Flash 10.1 และ Adobe AIR ที่มาพรอมกันเปนอีกจุดหนึ่ง ที่เปนการตอกย้ําทาง iPad 1 โดยตรงที่ไมสามารถแสดงผลทุกๆ อยาง ที่ออกมาในรูปแบบของ Flash ได จึงทําใหมุมมองของเว็บตางๆ นั้น ดูขาดความสวยงามไปไมมากก็นอย แตในทางกลับกัน PlayBook นั้นสามารถใชงานไดอยางสมบูรณ แบบ จึงทําใหผูใชไมรูสึกถึงความแตกตาง จากที่เคยใชงานในคอมพิวเตอรทั่วๆ ไป กลอง PlayBook มาพรอมกับการสนทนาดวยภาพและการรองรับรูปแบบไฟลตางๆ นี่คือความครบครัน ที่มี มาใหในหนึ่งเดียว โดยกลองตัวแรกที่อยูดานหนาที่มาพรอมกับความละเอียดถึง 3 ลานพิกเซล ที่มีไวเพื่อใช ในการสนทนาดวยภาพ บวกกับกลองตัวหลังที่มีสามารถในการถายวิดีโอไดคมชัดในระดับความละเอียดสูง ถึง 1080p และนอกจากนี้ยังมีการสนับสนุนไฟลวิดีโอในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปน H.264, WMV, DivX และ MPEG ซึ่งเปนที่นิยมกันในปจจุบัน


อาน e-book เนื่องจาก PlayBook นั้นมีขนาดของหนาจอที่มีความใกลเคียงกันกับเครื่อง Kindle อยูแลว ซึ่งเปน ที่แนนอนวาภาพที่แสดงผลออกมา จะมีความใกลเคียงกันมากกวาของ iPad 1 บวกกับตอนนี้ ที่ทาง Amazon ไดมีการออกมายืนยันเกี่ยวกับ Application Kindle ที่จะมีใน PlayBook นี้เปนที่แนนอนแลว เชื่อมตอโทรศัพท BlackBerry PlayBook นั้นสามารถจับคูกับโทรศัพท BlackBerry เพื่อการเชื่อมตอที่จะทําใหสามารถเขาใชงาน ในสวนไหนก็ไดจากตัวโทรศัพท เชน ปฏิทิน, E-Mail, BBM, Social Network, บันทึกสิ่งที่ตองทํา และไฟล ภาพและเสียง โดยไมตองมาทําทั้งสองอยางซ้ําๆ กันอีก เชน ไมจําเปนตองตอบขอความ BBM ที่เขามา พรอมๆ กัน ทั้งใน BB และ PlayBook เพราะไดมีการเชื่อมโยงขอมูลกันเปนที่เรียบรอยแลว

ขอคิดที่ฝากไว การตัดสินใจที่จะเลือกใช Tablet : อุปกรณไฮเทคพกพานั้น ไมควรมาจากการใหคะแนนใน ความสามารถแตละขอขางบนแลวนํามารวมกัน แตควรมาจากการที่คุณไดรูถึงจุดแข็งและขอไดเปรียบของ Tablet แตละแบบ โดยนําสิ่งนั้นไปเปรียบเทียบกับความตองการหลักในการใชของคุณ ทายสุดกอนที่คณ ุ จะ ตัดสินใจซื้อไมวาจะเปน Apple iPad 1, Samsung Galaxy Tab หรือ BlackBerry PlayBook ทางที่ดีควร หาโอกาสทดลองใชอุปกรณฯ ดังกลาว กอนที่คุณจะตัดสินใจซื้อมาใช ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงความผิดพลาดที่ อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ และที่สําคัญเพื่อใหเกิดความคุมคากับเงินที่คุณไดจายไป…"""


ร.อ.เอกประสิทธิ์ พรมทัณ เนื่องจากอากาศเปนอนุภาคที่มีมวลแตมองดวยตาเปลาไมเห็น เมื่อมวลอากาศเคลื่อนที่ผานผิวโคง หรือปะทะกับผิวของวัตถุที่กีดขวางจะเกิดการเปลี่ยนแปลงโมเมนตตัม ทําใหเกิดแรงขึ้นนักวิทยาศาสตร และวิศวกรดานอากาศพลศาสตร จึงไดคิดประดิษฐอุปกรณเพื่อวัดแรงทางอากาศพลศาสตรที่เกิดขึ้นนี้ โดย เรียกอุปกรณนี้วา “อุโมงคลม” อุโมงคลม เปนอุปกรณที่ใชศึกษาการไหลของอากาศผานวัตถุแข็ง โดยอากาศจะถูกเปา หรือสูบ ผานทอนําลมที่มีวัตถุภายใตการทดสอบอยู และมีชองสําหรับสังเกตุการณ หรือมีอุปกรณวัดคาแรงและ โมเมนตที่เกิดขึ้นจากกระแสอากาศติดตั้งอยู O ประวัติความเปนมา Benjamin Robins (1707–1751), วิศวกรทางทหารและนักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ ไดคิดคน อุโ มงค ล มและทํ า การทดสอบหลัก การหาแรงทางอากาศพลศาสตร ขึ้น เปน คนแรกโดยเรี ย กอุ ปกรณ ที่ ประดิษฐขึ้นวา แขนกลหมุน (Whirling arm) ดังแสดงในภาพประกอบที่ 1

ภาพประกอบที่ 1 แขนกลหมุน (Whirling arm)


ตอมา Sir George Cayley (1773-1857), บิดาแหงอากาศพลศาสตรไดใชแขนกลหมุนนี้ ทดสอบ หาคาแรงยก และแรงตาน กับแพนอากาศ (Airfoil) หลายประเภท โดยแขนกลหมุนที่ประดิษฐขึ้นมีความยาว 5 เมตร และทําความเร็วลมได 10 – 20 เมตร/วินาที ตอมาในป ค.ศ.1871 Francis Herbert Wenham ไดประดิษฐอุโมงคลมความเร็วต่ําแบบปด (Enclosed wind tunnel) ขึ้นเปนคนแรก จากนั้นในป ค.ศ.1901 สองพี่นองตระกูลไรท (Wright brothers) ไดใชอุโมงคลมทดสอบแพนอากาศและนําผลการทดสอบที่ไดมาคิดประดิษฐเปนเครื่องบินขึ้น O หลักการทํางานของอุโมงคลม หลังจากที่ไดกลาวถึงความเปนมาของอุโมงคลมมาพอสังเขปแลว ตอไปจะไดกลาวถึงหลักการ ทํางานของอุโมงคโดยทั่วไปดังนี้ ¾ อุโมงคลมมีสวนประกอบหลักคือ พัดลมดูดหรือเปาอากาศ (Actuator fan) เพื่อเพิ่มความเร็ว ใหกับอากาศที่อยูภายในอุโมงคลม, ชองสังเกตการณและทดสอบชิ้นงาน (Test Section) และอุปกรณวัดคา แรงทางอากาศพลศาสตร (Sting Balance) ที่ถูกติดตั้งไวกับชิ้นงานทดสอบ ¾ การทํางานของอุโมงคลม เริ่มจากการเพิ่มความเร็วใหกับอากาศภายในอุโมงคลม โดยอากาศ จะเคลื่อนที่ไปตามอุโมงค ผานชอง สังเกตการณ ที่มีชิ้นงานที่ตองการ ทดสอบติ ด ตั้ ง อยู กั บ อุ ป กรณ รับแรง ¾ เมื่ อ อากาศไหลผ า น หรือปะทะกับชิ้นงานทดสอบ จะ เกิ ด แรงทางอากาศพลศาสตร และโมเมนตขึ้น โดยผลที่ไดจะถูก สงไปเก็บไวในเครื่องคอมพิวเตอร ที่หองควบคุม (Control Room) จากนั้นจะถูกนําไปวิเคราะหและ ภาพประกอบที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงยก และมุมปะทะของแพนอากาศ ใชงานตอไป ¾ ผลการทดสอบที่ไดโดยทั่วไปสามารถนํามาเขียนเปนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางแรงยก หรือโมเมนตกับมุมปะทะ ภาพประกอบที่ 2 เปนกราฟที่ไดจากความสัมพันธของแรงยกกับมุมปะทะของ แพนอากาศชนิดหนึ่ง


O การสังเกตการไหลของกระแสอากาศ เนื่ อ งจากอากาศเป น อนุภาคที่ม องดว ยตาเปลาไม เ ห็ น นัก วิ จั ย หรือผูทํ า การทดสอบ สามารถ มองเห็นทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสอากาศผานชิ้นงานทดสอบไดโดยติดตั้งอุปกรณปลอยควันหรือ สเปรยสีที่มีอนุภาคเล็กและเบาที่สามารถเคลื่อนที่ไปกับอนุภาคของอากาศได อุปกรณดังกลาวจะไมทําให เกิดความเสียหายแกชิ้นงานและอุโมงคลม โดยจะถูกติดตั้งไวในหองสังเกตการณทดสอบกอนถึงชิ้นงาน ทดสอบเล็กนอย O ประเภทของอุโมงคลม อุโมงคลมสามารถจําแนกประเภทตามความเร็วของกระแสอากาศที่ไหลภายในอุโมงคลม ไดดังนี้ Â อุโมงคลมความเร็วต่าํ (Subsonic wind tunnel) อุโมงคลมประเภทนี้สามารถทําความเร็วลมไดไมเกิน 0.3M (0.3 เทาของความเร็วเสียงใน อากาศ) หรือประมาณ 100 เมตร/วินาที มีทั้งชนิดอุโมงคปด (Closed wind tunnel) และอุโมงคเปด (Open wind tunnel) ซึ่งแตละแบบมีลักษณะที่แตกตางกัน ดังแสดงในภาพประกอบที่ 3 และ 4 ตามลําดับ

ภาพประกอบที่ 3 อุโมงค์ลมความเร็วต่ําแบบเปิด

ภาพประกอบที่ 4 อุโมงค์ลมความเร็วต่ําแบบปิด


 อุโมงคลมความเร็วสูงและความเร็วยานเสียง (High Speed subsonic wind tunnel and Transonic wind tunnel) อุโมงคลมความเร็วสูงสามารถทําความเร็วลมไดระหวาง 0.4 < M < 0.75 หรือประมาณ 132 - 250 เมตร/วินาที และอุโมงคลมความเร็วยานเสียง (0.75 < M < 1.2) หรือประมาณ 250 – 400 เมตร/วินาที จะใช หลักการออกแบบคลายกัน และจะประสบปญหาคลาย ๆ กันดวย กลาวคือ เมื่อความเร็วของกระแสอากาศ มีคาใกลเคียงความเร็วเสียง (ประมาณ 340 เมตร/วินาที) จะเกิดการสะทอนกลับของมานกําแพงเสียง (Shock Wave) จากผนังอุโมงคลมมากระทบกับชิ้นงานทดสอบ ทําใหผลการทดสอบที่ไดมีขอผิดพลาด (แสดงในภาพประกอบที่ 5) ซึ่งปญหานี้สามารถแกไขไดโดยทําใหผนังของอุโมงคลมมีลักษณะเปนรูพรุน หรือชองแคบยาว เพื่อดูดกลืนและลดการสะทอนกลับของมานกําแพงเสียง

ภาพประกอบที่ 5 การสะท้อนกลับของม่านกําแพงเสียงจากผนังอุโมงค์ลม

 อุโมงคลมความเร็วเหนือเสียง (Supersonic wind tunnel) อุโมงคลมความเร็วเหนือเสียงสามารถทําความเร็วลมไดระหวาง 1.2 < M < 5 หรือประมาณ 400 – 1,650 เมตร/วินาที อุโมงคลมประเภทนี้จะมีหลักการออกแบบแตกตางไปจากสองประเภทแรก โดย อากาศที่ไหลผานชองทดสอบจะถูกปลอยออกมาจากถังเก็บอากาศความดันสูง และถูกปลอยออกมาให ไหลผานทอรีดอัดอากาศ (Convergent duct) เพื่อเพิ่มความเร็วใหกับอากาศกอนเขาชองทดสอบ และเมื่อ อากาศไหลผานชองทดสอบไปแลว จะถูกปลอยออกสูสภาพอากาศภายนอก โดยสวนประกอบและลักษณะ การทํางานของอุโมงคลมความเร็วเหนือเสียง แสดงดังจากภาพประกอบที่ 6 อุโมงคลมประเภทนี้สามารถทําการทดสอบไดเพียงชวงเวลาสั้นๆ ไมกี่วินาที เนื่องจากตอง ควบคุมความดันของอากาศใหคงที่ขณะทําการทดสอบและ สิ้นเปลืองพลังงานมากในการทดสอบแตละครั้ง


ภาพประกอบที่ 6 ส่วนประกอบของอุโมงค์ลมความเร็วเหนือเสียง

 อุโมงคลมความเร็วเหนือเสียงยิ่ง (Hypersonic wind tunnel) อุโมงคลมความเร็วเหนือเสียงประเภทความเร็วสูงนี้ สามารถทําความเร็วลมไดระหวาง 5 < M < 15 หรือประมาณ 1,650 – 5,000 เมตร/วินาที อุโมงคลมประเภทนี้จะมีหลักการออกแบบคลายกับอุโมงคลม ความเร็วเหนือเสียง แตตองมีการติดตั้งอุปกรณพิเศษเพิ่มเติมคือ เครื่องอุนอากาศ เนื่องจากอากาศที่ถูกบีบ อัดใหมีความหนาแนนเพื่อใหมีความเร็วสูงมากๆ จะรวมตัวกันและอัดแนน จนกลายเปนของเหลว โดย ลักษณะของถังเก็บความดันสูง แสดงในภาพประกอบที่ 7

ภาพประกอบที่ 7 ถังเก็บอากาศ ความดันสูงของอุโมงค์ลม ความเร็วเหนือเสียงยิ่ง, NASA Langley's Hypersonic Facilities Complex, Virginia, USA.

ปญหาที่พบในอุโมงคลมประเภทนี้คือ สามารถทําการทดสอบไดเพียงระยะเวลาสั้นๆ ไมถึง 1 วินาที และยากตอการรักษาสภาพสมดุลของสภาวะแรงดันและความเร็วของอากาศขณะทําการทดสอบ (ฉบับหนาพบกับอุโมงคความเร็วเหนือเสียงแบบกระสุนยิง)


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒)

รุนที่ ๑๙ “พระหลวงพอมงคลนิมิตร” รุน “โรงเรียนจาอากาศ ครบรอบ ๕๖ ป” สรางในสมัย น.อ.พีระยุทธ แกวไสย (ยศในขณะนั้น) ดํารงตําแหนง ผบ.โรงเรียนจาอากาศ วัตถุมงคลรุนนี้ไดสรางเปน ๒ แบบ คือ แบบที่ ๑. องคจําลองหลวงพอมงคลนิมิตร ขนาดหนาตัก ๙ นิ้ว สรางเปนเนื้อโลหะ(มีสวนผสม ของปลอกกระสุนปน ปตอ. .๕๐ นิ้ว อยูถึง ๘๐%) จํานวน ๓ องค ซึ่งองคแรกไดนําไปประดิษฐานไวในวิหาร หลวงพอมงคลนิมิตร องคที่สอง ไวที่หอง ผบ.รร.จอ. และ องคที่สาม สําหรับไวประกอบพิธีตางๆ ของ รร.จอ.

แบบที่ ๒. พระกริ่งหลวงพอมงคลนิมิตร สรางเปนเนื้อนวโลหะ จํานวน ๙,๙๙๙ องค ลักษณะ ขององคพระ ดานหนาขางลางของฐานมีตัวหนังสือ “หลวงพอมงคลนิมิตร” สวนดานหลังขางลางมี ตัวหนังสือ “โรงเรียนจาอากาศ”


สําหรับรายนามพระคณาจารยผูลงอักขระและอธิษฐานจิต แผนทอง เงิน นาก เพื่อนํามาเปน สวนผสมในการหลอพระพลวงพอมงคลนิมิตร มีดังนี้ ๑. สมเด็จพระพุฒาจารย(สมเด็จเกี่ยว) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร กทม. ๒. พระธรรมเจติยาจารย วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร เขตบางเขน กทม. ๓. พระราชวิสุทธิมงคล(หลวงปูแคลว) วัดดอนเมือง กทม. ๔. พระปลัดอิทธิพล(อาจารยออด) วัดสายไหม อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี รายนามพระเกจิอาจารยผูนั่งปรกในพิธีพุทธาภิเษก ณ พระอุโบสถวัดดอนเมือง กทม. (ปลุกเสกในพิธี เดียวกันกับพระหลวงพอสารวัตร ของ สน.ผบ.ดม.) เมื่อวันเสารที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๕๒ ๑. หลวงพอแคลว วัดดอนเมือง กทม. ๒. หลวงพอเอื้อน วัดวังแดงใต อ.ทาเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา ๓. หลวงพอพูน วัดบานแพน อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา ๔. หลวงพอเพิ่ม วัดปอมแกว อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา ๕. หลวงพอเอียด วัดไผลอม อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา ๖. หลวงพอสวัสดิ์ วัดศาลาปูน อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา ๗. หลวงพอแมน วัดหนาตางนอก อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา ๘. หลวงพอรวย วัดตะโก อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา ๙. พระอาจารยออด วัดสายไหม อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี หมายเหตุ ผูอานทานใดมีขอมูลเกี่ยวกับวัตถุมงคลของชาว ทอ. เพิ่มเติม หรือเห็นวาขอเขียนของ ผูเขียนไมถูกตอง โปรดกรุณาแจงไดที่ - e-mail : apichai_sak@rtaf.mi.th หรือ - at16102499@hotmail.com


นทน.รร.สธ.ทอ.ฯ รุ่นที่ ๕๕ น.ท.ณัฐวุฒิ สามไพบูลย และ น.ท.เอกกมล ชวลิกุล นทน.รร.สธ.ทอ.ยศ.ทอ. รุนที่ ๕๕ ไดสรุป ขอมูลจากการประชุมวิ ชาการ เรื่อง บทบาทของ กองทั พ ไทยในการรองรั บ การเปลี่ ย นแปลงไปสู ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ๒๐๑๕ เมื่อวันที่ ๗ ก.พ.๕๔ ณ หอประชุมกองทัพอากาศ โดยมี พล.อ.ภานุ มาต สี วะรา, นายอาชวิ น วิ ชั ยดิ ษฐ และ น.พ.ยงยุทธ มัยลาภ เปนวิทยากร โดยสรุปสาระ ดังนี้ สมาคมประชาชาติแห ง เอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใตหรืออาเซียน (ASEAN) เริ่ม กอตั้งขึ้ น ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๐ โดยมีประเทศสมาชิกรวม ก อตั้ ง จํา นวน ๕ ประเทศ ได แก ไทย อิ น โดนีเ ซี ย มาเลเซีย ฟลิปปนส และสิงคโปร มีวัตถุประสงค เพื่อความรวมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทาง เศรษฐกิจ การพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมในกลุม ประเทศสมาชิก การธํารงรักษาสันติภาพและความ มั่นคงในภูมิภาค และเปดโอกาสใหคลายขอพิพาท

ระหวา งประเทศสมาชิกอยา งสัน ติ หลังจากนั้น มี จํานวนประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นอีก ๕ ประเทศ ไดแก บรู ไ น ลาว เวี ย ดนาม พม า และกั ม พู ช าทํ า ให ใ น ป จ จุ บั น อาเซี ย นมี จํ า นวนประเทศสมาชิ ก ทั้ ง สิ้ น ๑๐ ประเทศ อาเซี ย นเป น ภู มิ ภ าคที่ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โต ทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และเปนตัวอยางของ การรวมตั ว ของกลุ ม ประเทศที่ มี ค วามแตกต า ง ทั้งทางดานระบบการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ตลอดจนสังคมและจิตวิทยา ใหเกิดเปน กลุมประชาชาติที่มีพลังตอรองในเรื่องการเมืองและ เศรษฐกิ จ ในเวที โ ลก ดั ง นั้ น จึ ง มี ก ลุ ม ประเทศอื่ น อาทิ ติ ม อร ต ะวั น ออก ซึ่ ง เคยเป น ส ว นหนึ่ ง ของ ประเทศอินโดนีเซีย และ ประเทศปาปวนิวกินี ซึ่ง เขามารวมสังเกตการณตั้งแตป ค.ศ.๑๙๘๖ พยายาม ที่จะขอเขามารวมเปนประเทศสมาชิกกับอาเซียน ดวย


จํานวนประเทศสมาชิก ๑๐ ประเทศ ซึ่งถือ เปนฐานเสียงของอาเซียนนั้นถือวามีจํานวนนอย เมื่อเทียบกับกลุมประชาชาติอื่นๆ ที่มีขนาดใหญ หรือ ในเวทีการประชุม นานาชาติข นาดใหญ เชน การประชุม ASEAN Regional Forum ซึ่งมีประเทศ ที่เขารวมประชุมทั้งสิ้นถึง ๒๗ ประเทศ แตฐานเสียง ของอาเซียนมีเพียงแค ๑๐ เสียงเทานั้น การประชุม East Asia Summit ซึ่งมีประเทศมหาอํานาจเชน จีน รัสเซีย และสหรัฐอเมริกาเขารวมดวย เปนตน ดัง นั้ น การเพิ่ม จํ า นวนประเทศสมาชิก ให ม ากขึ้ น เพื่อเปนการเพิ่มฐานเสียงประกอบการตอรองใน เวทีโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งการมีประเทศสมาชิก ที่เปนสมาชิกของสมาคมประชาติอื่นเขารวมดวย จึงเปนอีกหนึ่งประเด็นที่ควรนํามาพิจารณา ทั้งนี้ การเพิ่มจํานวนประเทศสมาชิกใหมีความหลากหลาย ขึ้น จะชวยเปดทางใหอาเซียนสามารถหาจุดรวม ในประเด็นที่อยูในระดับ Global Issue ตางๆ ได อีกดวย เชน เรื่องภาวะโลกรอน และ เรื่อง South China Sea เปนตน อยางไรก็ตาม ในการพิจารณา เพิ่มจํานวนประเทศสมาชิก โดยเฉพาะประเทศที่ เปนมหาอํานาจนั้น จําเปนที่จะตองกําหนดกฎเกณฑ กติกาตางๆ ใหรัดกุมกอนเสมอ มิเชนนั้นอาจจะเสี่ยง ตอการถูกชี้นําจากประเทศมหาอํานาจตางๆ ได ตัวอยางที่เดนชัดที่สุดของอาเซียนในการ พยายามที่จะขยายฐานจํานวนประเทศสมาชิกหรือ หาเครือขายรวม อื่นๆ ไดแก ASEAN+3 ซึ่งประกอบ ไปดวย กลุมประเทศสมาชิกอาเซียน ๑๐ ประเทศ กั บ ประเทศจี น ญี่ ปุ น และเกาหลี โดยอาเซี ย น พยายามที่จะใชชื่อ ASEAN+3 ดังกลาว แทนการ

ใชชื่อ ASEAN + จีน ญี่ปุน และเกาหลี เพื่อเปนการ ป อ งกั น ความสนใจของประชาคมโลกไม ใ ห ไ ปที่ สามประเทศดังกลาว เนื่องจากถือเปนสามประเทศ มหาอํานาจทางเศรษฐกิจ

อาเซียนมีมติที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน ขึ้น โดยประกอบไปดวย ๓ เสาหลัก ไดแก ๑) ประชาคมการเมื อ งและความมั่ น คง อาเซียน (ASEAN Political Security Community: APSC) ๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ๓) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) โดยมีกําหนดใหจัดตั้งใหแลวเสร็จภายใน ป ค.ศ.๒๐๑๕ (พ.ศ.๒๕๕๘) ซึ่งในการเปลี่ยนแปลง ไปสูประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนนั้น “กองทัพไทย” ในฐานะผูรับผิดชอบดูแลดานความ มั่นคงของประเทศ จําเปนที่จะตองมีการเตรียมตัว และเตรียมการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว สรุปได ดังนี้


การพัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษ: เนื่ อ งจากประเทศสมาชิ ก อาเซีย นหลายประเทศ ใชภาษาประจําชาติของตนเปนภาษากลาง ดังนั้น ในการที่จะติดตอสื่อสารกับประเทศตางๆ เหลานั้น มีความจําเปนที่จะตองใชภาษาอังกฤษเปนสื่อกลาง ในการติดตอสื่อสาร ซึ่งในปจจุบันการแปลความ จากภาษาอั ง กฤษในเอกสารราชการต า งๆ หรื อ ในการประชุ ม ต า งๆ ของประเทศไทยยั ง มี ค วาม คลาดเคลื่อนและไมตรงกัน ดังนั้น การฝกอบรมเพือ่ พั ฒ นาทั ก ษะการใช ภ าษาอั ง กฤษอย า งถู ก ต อ ง จึ ง เป น สิ่ ง ที่ มี ค วามจํ า เป น อย า งยิ่ ง ในการเตรี ย ม กาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน การวางแผนรวม: ในการฝกรบรวม/ผสม ตางๆ ระหวางกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน ยังขาด การวางแผนรวมที่มีประสิทธิภาพ ทําใหสงผลกระทบ ตอการปฏิบัติการตางๆ ใหเปนไปตามแผนที่ไดวาง เอาไว โดยหนึ่งในวิธีที่สามารถชวยในเรื่องของการ วางแผนรวมใหสามารถปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ ได คื อ การแลกเปลี่ ย นอาจารย และนั ก เรี ย นใน หลักสูตรทางการทหารตางๆ ระหวางกัน โดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง การแลกเปลี่ ย นอาจารย จ ะช ว ยทํ า ให เกิดผลในเชิง One-to-Many ได เนื่องจากอาจารย จะมีป ฏิสั ม พั น ธ กั บ กลุม ของนั ก เรี ย นซึ่ ง มี จํ า นวน มากในครั้งเดียว อยางไรก็ตาม ในการแลกเปลี่ยน ทั้ ง อาจารย แ ละนั ก เรี ย นนั้ น อาจจะนํ า มาซึ่ ง การ เสี่ยงตอการที่ตางชาติจะรับรูในจุดออนหรือสวนที่มี ความบกพรองและไมพรอมตางๆ ของฝายเราได ดังนั้น หากเรามีการตระหนักถึงความเสี่ยงในสวนนี้ และมีการปองกันไวกอนลวงหนา ก็จะเปนการชวย

ลดความเสี่ ย งจากผลกระทบในเชิ ง ลบจากการ แลกเปลี่ยนดังกลาวลงได การสร า งความเข า ใจให เ กิ ด ขึ้ น กั บ ภาคเอกชนและประชาชน: ปจจุบัน ภาคเอกชน และประชาชนได เ ข า มามี ส ว นเกี่ ย วข อ งในกลไก ระหว า งประเทศมากขึ้ น เช น ในภาคธุ ร กิ จ ต า งๆ ดั ง นั้ น การสร า งความเข า ใจที่ ถู ก ต อ งเกี่ ย วกั บ บทบาทหรื อ การรวมตั ว กั น ของอาเซี ย น ให กั บ ภาคเอกชนและภาคประชาชน จึงเปนสิ่งที่สําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งสวนที่ประเทศจะไดรับประโยชน และสวนที่ประเทศอาจจะตองเสียประโยชน ทั้งนี้ ในการรวมตั ว กั น ของหลากประเทศเป น สมาคม ประชาชาตินั้น ทุกประเทศสมาชิกจะตองมีทั้งสิ่งที่ ไดรับประโยชนและเสียประโยชนควบคูกันไปเสมอ ซึ่ ง ในการรวมตั ว กั น เป น อาเซี ย นนั้ น สิ่ ง ที่ ป ระเทศ สมาชิกจะไดคือ อํานาจการตอรองในเวทีโลก แตสิ่ง ที่จะตองสูญเสีย ไดแก ความมีเอกลักษณบางสวน และความมีอธิปไตยบางสวนของประเทศ เชน การ สั่งกองกําลังทหาร หากเปนกองกําลังของประเทศจะ มีสิทธิ์ในการสั่งการเต็มที่ ในขณะที่หากเปนในสวน ของกองกําลังรวมจะตองมีระเบียบและขั้นตอนอื่นๆ เขามาเกี่ยวของดวย เปนตน ดังนั้น การสรางความ เขาใจในเรื่องของอาเซียนและเรื่องการเปลี่ยนแปลง ไปสู ป ระชาคมอาเซี ย นให กั บ ภาคเอกชนและ ภาคประชาชนจึงเปนสิ่งสําคัญ การใชเวทีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม อาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting: ADMM) ในการเจรจาพูดคุยเรื่องความรวมมือ: กองทัพไทยสามารถใชประโยชนจากเวทีการประชุม


ADMM ในการเจรจาพูดคุยเรื่องความรวมมือทางดาน การฝ ก ศึ ก ษาและความร ว มมื อ ในการร ว มกั น บรรเทาภัยพิบัติตางๆ อันอาจจะเกิดขึ้นในภูมิภาค ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เป น การสร า งความเข า ใจอั น ดี ท างด า น การทหารให เ กิ ด ขึ้ น ในกลุ ม ประเทศสมาชิ ก ด ว ย อยางไรก็ตาม เนื่องจากรัฐมนตรีกลาโหมไมใชผูบริหาร ที่มีอํานาจการตัดสินใจสูงสุดของประเทศ ดังนั้น หั ว ข อ ในการเจรจาพู ด คุ ย จึ ง จะต อ งจํ า กั ด อยู ใ น ขอบขายทั่วไปซึ่งกองทัพจะตัดสินใจไดเทานั้น

ศึ ก ษาเรื่ อ งการจั ด การกั บ ภั ย คุ ก คาม รูปแบบใหมตางๆ เพื่อตกลงเรื่องความรวมมือ ในอนาคต: กองทัพไทยควรจะตองศึกษาเรื่องการ จั ดการกั บภั ย คุก คามในรู ปแบบตา งๆ อัน อาจจะ เกิดขึ้นไดในอนาคต โดยเฉพาะ ๑) การใหความชวยเหลือในกรณีเผชิญภัย คุกคามที่เปนภัยพิบัติทางธรรมชาติตางๆ ๒) การปองกันและปราบปรามภัยคุกคาม เกี่ยวกับโจรสลัด ๓) การปองกันและปราบปรามภัยคุกคาม จากการกอการราย ๔) การแพทยทางการทหาร ๕) การปฏิบัติภารกิจเพื่อรักษาสันติภาพ (Peace Keeping Operations)

ทั้ ง นี้ ใ นการศึ ก ษาเรื่ อ งการจั ด การกั บ ภั ย คุกคามดังกลาวขางตน จะตองอยูบนพื้นฐานของ การรักษาไวซึ่งผลประโยชนของชาติตนเอง ในขณะ ที่มีการใหความรวมมือในเรื่องดังกลาวกับสวนรวม ดวย อาเซียนมีบทบาทอยางไรในการแกปญหา ความขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชา โดยหลั ก การแล ว อาเซี ย นจะไม เ ข า ไป แก ป ญ หาหรื อ เกี่ ย วข อ งกั บ ความขั ด แย ง ระดั บ ทวิภาคี แตในกรณีระหวางไทยกับกัมพูชานั้นถือวา เปนบททดสอบความเขม แข็ง ขององคกรอาเซีย น ที่ จ ะสามารถแสดงให เ ห็ น ได จ ากความสามารถ ในการแกปญหาความขัดแยง ซึ่งอาเซียนไมคอยมี ประสบการณในดานนี้ ตางกับประเทศในกลุมยุโรป ผูนําประเทศคูขัดแยงนั้นมีกลไกที่จะเจรจาโดยตรง ซึ่ ง จะทํ า ให ข อ ขั ด แย ง ไม บ านปลาย ถึ ง แม ว า ใน กฎบัตรอาเซียนจะกําหนดถึงองคกรที่ทําหนาที่ใน การแกปญหาขอขัดแยงระหวางสมาชิกของอาเซียน ที่เรียกวา High Council เองก็ตาม แตก็ไมเคยมีการ ใหองคกรนี้ทําหนาที่ในการแกปญหาความขัดแยง อยางเปนรูปธรรม ยกตัวอยางเชน กรณีขอพิพาท ระหวางมาเลเซียกับอินโดนีเซีย หรือระหวางมาเลเซีย กั บ สิ ง คโปร ก็ ไ ม เ คยมี ค วามพยายามจะยกเรื่ อ ง ขัดแยงดังกลาวเขาสู High Council แตกลับสงเรื่อง เขาไปสูศาลโลกแทน อยางไรก็ตาม ก็มีความพยายาม ที่จ ะแกปญ หาข อขั ดแยง ระหว า งประเทศสมาชิ ก ของอาเซียนโดยใชกลไกของอาเซียนเอง อยางเชน ในกรณี ข อ พิ พ าทระหว า งไทยกั บ กั ม พู ช านั้ น อินโดนีเซียซึ่งเปนเลขาธิการอาเซียนมีความพยายาม


เข า มาเป น คนกลางในการจั ด การเจรจาเพื่ อ ยุ ติ ปญหาดังกลาวอยางสันติวิธี ในอี ก มุ ม มองหนึ่ ง ป ญ หาความขั ด แย ง เรื่ อ งเส น เขตแดนระหว า งไทยกั บ กัม พู ช านั้ น เป น ปญหาที่ทั้งสองประเทศไมไดพิจารณาแกปญหา โดยใชเหตุผลหลักการที่ถูกตอง แตกลับไปพิจารณา แก ป ญ หาตามกระแสเพื่ อ รั ก ษาความนิ ย มของ ประชาชนต อรั ฐ บาลของแต ล ะประเทศ ในการที่ ประธานอาเซียนเขามาไกลเกลี่ยนั้นคงทําไดแคเพียง ใหหยุดยิงปะทะตามแนวชายแดน แลวกลับเขามา เจรจากัน แตไมสามารถที่จะตัดสินหรือโอนเอียง เขาฝายหนึ่งฝายใด เพราะถาเปนเชนนั้นก็จะเกิด การประท ว งและความไม พ อใจจากประเทศที่ เสียผลประโยชน ซึ่งที่อาเซียนตองสรางใหเกิดขึ้น กอน เพื่อที่จะเกิดประชาคมความรวมมืออาเซียน อยางมั่นคงคือความเปนภูมิภาคนิยม อาเซียนเปน การรวมกลุมเพื่อรักษาผลประโยชนของกลุม ที่จะ ทําใหมีอํานาจในการตอรองมากขึ้นกับภูมิภาคอื่น เมื่อพิจารณาจากบทบาทของอาเซียนแลว อาเซี ย นจะต อ งเข า มามี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการ แกปญหาขอพิพาทระหวางไทยกับกัมพูชา และตอง ประสบความสําเร็จในการแกปญหานี้ดวย เพราะเปน เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ความน า เชื่ อ ถื อ ขององค ก ร อาเซียนเอง แตอยางไรก็ตามปญหาระหวางไทยกับ กัมพูชานั้นเปนมากกวาเรื่องปญหาเขตแดน มีปญหา เรื่องการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของปราสาทพระวิหาร อี ก ด ว ย โดยรั ฐ บาลกั ม พู ช าได เ สนอเรื่ อ งไปกั บ คณะกรรมการมรดกโลกพิจารณา ซึ่งรัฐบาลกัมพูชา มี ค วามสามารถในการชี้ นํ า ให ค ณะกรรมการฯ

เห็นดวย และก็กลายเปนความขัดแยงขึ้นมามีการ ปะทะกันโดยกําลังทหารของทั้งสองฝาย ซึ่งอาจจะ มองได ว า การปะทะที่ เ กิ ด ขึ้ น นั้ น ฝ า ยไทยจะได ประโยชน ใ นการอ า งเหตุ ข องการปะทะกั น ทํ า ให กัมพูชาไมสามารถขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารได แตอยางไรก็ตามความขัดแยงดังกลาวจะถูกพิจารณา แกไขโดยความรวมมือกันภายในอาเซียนเอง บทบาทของทหารตอปญหาความขัดแยง ระหวางไทยกับกัมพูชา เคยมีการพิจารณาที่จะใหกองกําลังรักษา สันติภาพของอาเซียนเขามามีบทบาทในการรักษา สันติภาพในบริเวณพื้นที่ที่มีความขัดแยง แตในทาง ปฏิบัติไมสามารถเปนไปได เนื่องจากไมมีประเทศใด จะยอมใหกําลังทหารติดอาวุธเขามาในประเทศของ ตนเอง ซึ่งก็ตองระวังไมใหขอพิพาทในระดับทวิภาคนี้ ถูกยกขึ้นสูนานาชาติเพราะประเทศไทยจะเปนฝาย ที่เสียเปรียบทันที เนื่องจากเปนประเทศที่ใหญกวา ไปรุกรานประเทศที่มีศักยภาพที่ต่ํากวา นอกจากนี้ แลว ความถูกตองชอบธรรมในการปฏิบัตินั้นขึ้นอยู กับความเห็นของประเทศมหาอํานาจ ไมวาประเทศ ไทย จะมีเหตุ ผลหรื อใชก องกํา ลังเข ายึดปราสาท เขาพระวิ ห ารหรื อ พื้ น ที่ ทั บ ซ อ นคื น ได ก็ ต ามก็ จ ะ ไมเกิดประโยชนอันใดขึ้นเลย ถาประเทศมหาอํานาจ ไมเห็นดวย นอกจากนี้ แ ล ว ประเด็ น ที่ ว า คณะทํ า งาน ดานเกี่ยวกับปราสาทพระวิหารของกัมพูชามีการ ทํางานที่ตอเนื่อง ทําใหประเทศกัมพูชาไดเปรียบ ซึง่ แตกตางจากคณะทํางานของไทยมีการเปลี่ยนแปลง


คอนขางบอย ทําใหการแกปญหาไมตอเนื่องและ ถูกจุด นอกจากนั้นแลวการที่สื่อมวลชนเสนอขาว เกี่ยวกับขอพิพาทนี้มาก ทําใหเกิดเปนกระแสคานิยม ที่ไมยอมเจรจา เนื่องจากรัฐบาลเกรงจะเสียคะแนน นิยมไป ทําใหการแกปญหายิ่งซับซอนขึ้นไปอีก ก า ร ที่ อ า เ ซี ย น จ ะ เ ป น ป ร ะ ช า ค ม ความมั่ น คงร ว มกั น นั้ น ต อ งมี ค า นิ ย มร ว ม วัฒนธรรม ระดับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ที่ใกลเคียงกัน แตเมื่ อพิจารณากลุมประเทศ สมาชิ ก ของอาเซี ย นนั้ น มี ค วามแตกต า งกั น ค อ นข า งมาก ความแตกต า งดั ง กล า วจะมี ผลกระทบอยางไร? แนวโนมที่จะมีกฎหมาย ร ว มกั น ในภายในอาเซี ย นมี ค วามเป น ไปได อยางไร? การรวมตัวกันเพื่อเปนประชาคมอาเซียน นั้น มี ค วามจํ า เป น เพื่ อ ความอยู ร อดในสั ง คมโลก ธรรมชาติ

เพื่อสรางอํานาจตอรอง เมื่อเขาใจถึงความจําเปน ดั ง กล า วนั้ น จะทํ า เกิ ด การรวมตั ว กั น ขึ้ น เป น ประชาคมเอง ซึ่งจะมีความพยายามรางกฎหมาย ร ว มที่ จ ะใช ขึ้ น ในกลุ ม ประเทศสมาชิ ก แต ต อ งมี พื้ น ฐานมาจากเหตุ แ ละผล ซึ่ ง การรวมตั ว เป น ประชาคมอาเซียนนั้นคอนขางยากเพราะเปนดินแดน ที่ มีค วามแตกตา งกัน ในทุก ด า นค อ นขา งมาก แต เปนความจําเปนที่ตองรวมตัวกัน ประเทศที่รวมเปนอาเซียนนั้นมักจะไมยอม เสียสละบางอยางเพื่อใหเกิดความเปนไปไดในการ รวมตัวกัน และในการเขาเปนสมาชิกของประชาคม อาเซี ย นนั้ น ไม ไ ด พิ จ ารณาถึ ง ความเป น กลุ ม หรื อ ค า นิ ย มร ว มของอาเซี ย น อาเซี ย นไม มี ค วามรู สึ ก รวมกัน ในการรวมกันเปนอาเซียน ดังนั้นเปนไปได ยาก ที่จะสรางกฎหมายขึ้นมาใชรวมกัน ดังนั้นในป ค.ศ.๒๐๑๕ จึง น าจะเป นเพียงจุ ดเริ่มต น ของการ ธรรมชาติ


รวมมือกันอยางจริงจังและตองรีบสรางความรูสึก รวมเปนอาเซียนใหมากขึ้น การรวมกันของประชาคมความมั่นคงของ อาเซียนนั้นจะมีลักษณะเปนแบบคอยเปนคอยไป ดานใดสามารถที่จะปรับปรุงพัฒนาไดกอนก็จะทํา ก อ น เรื่ อ งใดที่ ทํ า ได ง า ยก็ จ ะทํ า ก อ นแล ว ค อ ย พั ฒ นาไปสู เ รื่ อ งที่ ย ากขึ้ น มา ส ว นในด า นความ แตกตางกันนั้น ภายในอาเซียนตองสรางคานิยมรวม ใหไดเสียกอน และตองใหความชวยเหลือซึ่งกันและ กัน เพื่อสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน และตอง วางกลไก กฎกติกาใหสามารถปฏิบัติได และกลไก ธรรม

ที่เปนที่ยอมรับกับของประเทศสมาชิก ความหลากหลายในทางวั ฒ นธรรม ซึ่ ง ก็เปนทั้งปญหาและเปนสิ่งที่ดึงดูดคนใหมาทองเที่ยว ในเขตภู มิ ภ าคอาเซี ย น แต ใ นความหลากหลาย นาจะสามารถหาจุดยืนรวมกันได สงเสริมการสราง รายไดขึ้นภายในภูมิภาค การสาธารณสุขรวมกัน และต อ งพยายามมองข า มสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในอดี ต ประวัติศาสตรที่เคยเกิดขึ้น ตองสรางความไวเนื้อ เชื่อใจกันใหเ กิดขึ้น ได กอน จึง จะชวยทําใหความ แตกตางมีผลกระทบนอยลง

A closed mind is like a closed book No more than a block of wood

ใจที่ปิด ไม่ยอมรับฟัง เหมือนหนังสือที่ปิดสนิท ไม่ดีไปกว่าท่อนไม้ ขอขอบคุณ ดร.วิพรรธ์ เริงพิทยา


พล.อ.ท.ยุทธพร ภูไพบูลย หลังจากที่รอคอยกันมาเปนเวลานาน จนเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๔ บริษัท APPLE ซึ่งเปนผูนํา ในผลิตภัณฑ SMART PHONE ระดับโลกของอเมริกา โดย STEVE JOBS ผูบริหารสูงสุดของบริษัท ไดเปดตัว iPhone 4 สีขาว ออกจําหนายอยางเปนทางการ โดยตั้งราคาขายภายในประเทศสหรัฐอเมริกา ไวที่ ๕๐๐ ดอลลารสหรัฐฯ ซึ่งไดกอใหเกิดกระแส iPhone fever ไปทั่วโลก ผูคนโดยทั่วไป โดยเฉพาะคนรุนใหม ตางปรารถนาและพยายามที่จะหาโอกาสที่จะไดครอบครองเปนเจาของ iPhone 4 นี้ไว โดยเร็ววัน ผลจากการคิดคนสิ่งประดิษฐ และนวัตกรรมใหมๆ ของคนอเมริกันเชนนี้ กอใหเกิดผลดีตอภาวะ เศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกาเปนอยางมาก โดยเฉพาะในกรณีของ iphone 4 นี้ คิดคนโดยคนอเมริกัน ใชชิ้นสวนจากประเทศตางๆ ทั่วโลก แลวนําไปประกอบที่ประเทศจีน แลวจึงนํากลับไปจําหนายในประเทศ สหรัฐอเมริกา และทั่วโลก และนี่คือตัวเลขของมูลคาที่แทจริงของ iPhone 4 ในสวนประกอบตางๆ คือ - ชิ้นสวนและผลิตภัณฑตางๆ จากประเทศญี่ปุน รวมมูลคา ๖๑ ดอลลารสหรัฐฯ - ชิ้นสวนและผลิตภัณฑตางๆ จากประเทศเยอรมนี รวมมูลคา ๓๐ ดอลลารสหรัฐฯ - ชิ้นสวนและผลิตภัณฑตางๆ จากประเทศเกาหลีใต รวมมูลคา ๒๓ ดอลลารสหรัฐฯ - ชิ้นสวนและผลิตภัณฑตางๆ จากประเทศสหรัฐอเมริกา รวมมูลคา ๑๑ ดอลลารสหรัฐฯ - ชิ้นสวนผลิตภัณฑ และการประกอบจากประเทศจีน รวมมูลคา ๗ ดอลลารสหรัฐฯ ๔๘ ดอลลารสหรัฐฯ - สวนประกอบอื่นๆ อีก รวมมูลคา รวมตนทุน ๑๘๐ ดอลลารสหรัฐฯ ราคาจําหนาย ๕๐๐ ดอลลารสหรัฐฯ กําไร ๓๒๐ ดอลลารสหรัฐฯ 2


พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข

อุตสาหกรรมประมงนับเปนหนึ่งใน สิ น ค า ประมง ซึ่ ง เป น ส ว นหนึ่ ง ของอุ ต สาหกรรม อุ ต สาหกรรมหลั ก สํ า คั ญ ที่ ส ร า งรายได ใ ห กั บ ประเทศไทยนับแสนลานบาทตอป และอุตสาหกรรมนี้ นับไดวามีผลตอระบบเศรษฐกิจมหภาคของประเทศ อยางมีนัยสําคัญ เนื่องจากไดสรางงานและรายได ใหกับประชาชนเปนจํานวนมาก นอกจากนี้อุตสาหกรรม ประมงยังมีความเชื่อมโยงและสรางมูลคาเพิ่มกับ อุตสาหกรรมอื่นๆ อีกหลายกลุม อาทิเชน อุตสาหกรรม แปรรูปสัตวน้ําเพื่อการสงออก อุตสาหกรรมการตอเรือ อุ ต สาหกรรมห อ งเย็ น อุ ต สาหกรรมอาหารทะเล แช แ ข็ ง และอุ ต สาหกรรมอาหารทะเลกระป อ ง เปนตน ปจ จุ บั น อาจกลา วได ว า ประเทศไทยเป น ประเทศหนึ่งที่เปนผูนําในการจับสัตวน้ําและการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ส ง ออกสิ น ค า ประมงของโลก ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากข อ ได เ ปรี ย บในความอุ ด มสมบู ร ณ ข อง ทรัพยากรสัตวน้ํ าในอาณาเขตทางทะเลของไทย คาจางแรงงานราคาต่ํา รวมถึงความชํานาญและ เทคโนโลยีการผลิตหรือการแปรรูปที่ทันสมัย เปนที่ ยอมรั บจากตลาดโลก อย า งไรก็ ตามการส ง ออก

ประมงของไทย กําลังประสบปญหาหลายดาน ไดแก ปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบในประเทศ เพราะการ ลดลงของปริมาณสัตวน้ําที่จับได เนื่องจากสภาวะ การเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอมทางทะเล จนตอง อาศัยพื้นที่ทางทะเลของประเทศเพื่อนบานในการ แสวงหาทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลที่อุดมสมบูรณ มากกวาปญหาการนําเขาวัตถุดิบประมงที่ใชสําหรับ อุตสาหกรรมสงออก ปญหาการเผชิญกับมาตรการ กีดกันทางการคาที่มิใชภาษีจากประเทศคูคา เปนตน สําหรับปญหาที่นับวามีความสําคัญที่สุดปญหาหนึ่ง ที่รัฐบาลทุกสมัยรวมถึงองคกรสําคัญระดับชาติให ความสนใจและพยายามแกไขมาอยางตอเนื่อง คือ ปญหาแรงงานประมงในทะเล ซึ่งเปนปญหาที่มี ความสลั บ ซั บ ซ อ นและแก ไ ขได ย าก ป ญ หานี้ ไ ม เพี ย งแต จ ะส ง ผลกระทบต อ ภาคธุ ร กิ จ ประมง ของประเทศโดยตรงแลว ยังสงผลกระทบอยาง กวางขวางตอปญหาความมั่นคงของชาติในดาน ตางๆ ดวยการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องของ กิจการประมงทะเลของประเทศไทยในรอบหลายป


ที่ผานมา ไดสงผลใหความตองการแรงงานประมง ในทะเลหรือในเรื อประมงเพิ่ ม มากขึ้นตามลํา ดับ อยางไรก็ตามแรงงานประมงสัญชาติไทยกลับมิได เพิ่มขึ้นตามสัดสวนของการขยายตัวของอุตสาหกรรม ประมง ทั้งนี้เนื่องจากงานประมงในทะเลไมเปนที่ นิ ย มของคนไทย เพราะเป น ลั ก ษณะงาน 3D กลาวคือ

¾ ประการแรก สกปรก (Dirty) หมายถึง งานในลักษณะที่ตองอยูในที่ที่สกปรก มีกลิ่นเหม็น ซึ่ ง ในกิ จ การประมงเป น งานที่ ต อ งทํ า งานใน เรื อ ประมงที่ ส กปรกมี ก ลิ่ น คาวและชื้ น แฉะเป น เวลานาน ¾ ประการที่สอง อันตราย (Dangerous) หมายถึง งานในลักษณะที่มีอันตราย เชน การออก เรื อ ประมง ซึ่ ง เป น งานที่ เ สี่ ย งกั บ สภาพอากาศที่ ไมเ อื้ออํา นวย และต องอยู ใ นทะเลเปน เวลานาน สําหรับการออกเรือประมงชายฝงแตละครั้งใชเวลา ประมาณ ๑-๒ เดือน เปนอยางนอย หากเปนการ ออกเรือนอกนานน้ําแตละครั้งใชเวลา ๓-๕ ป ¾ ประการที่สาม ยากลําบาก (Difficult) หมายถึง งานในลักษณะที่ยากลําบากเพราะงาน

ในทะเลนั้น ตองใชแรงงานคนมากกวาเครื่องจักร และทํางานอยางตอเนื่อง ดวยสาเหตุดังกลาวนี้ ทําใหคนไทยไมนิยม ประกอบอาชี พ ลู ก เรื อ ประมงซึ่ ง ส ง ผลให แ รงงาน ตางดาวจํานวนมากหลั่งไหลเขามาในกิจการประมง ในทะเลของไทยอย า งต อ เนื่ อ ง ส ว นนายทุ น ซึ่ ง ส ว นใหญ เ ป น คนไทยนั้ น ก็ ใ ห ก ารสนั บ สนุ น การ นํา เขา แรงงานต า งด า ว ทั้ ง แบบถูก กฎหมายและ แบบผิดกฎหมาย เพราะแรงงานตางดาวนอกจาก จะมีคาแรงราคาถูก มีอํานาจการตอรองนอยแลว ยังสามารถทํางานประเภท 3D ที่แรงงานไทยสวนใหญ ปฏิเสธ โดยในป จ จุ บั น กิ จ การประมงต อ งอาศั ย แรงงานตางดาวประมาณรอยละ ๘๐ ของแรงงาน ทั้งหมด อยางไรก็ตาม ถามองในภาพรวม จํานวน ของแรงงานต า งด า วที่ อ พยพเข า มาทํ า งานใน ประเทศไทยนั้น มีแนวโนมในการเพิ่มจํานวนขึ้นอยาง มี นั ย สํ า คั ญ อนึ่ ง จากรายงานสถานการณ ด า น แรงงานตางดาวโดยกระทรวงแรงงาน เมื่อป ๒๕๕๓ ได มี ก ารประมาณการจํ า นวนแรงงานต า งด า ว สรุ ป ได ว า แรงงานต า งด า วที่ จ ดทะเบี ย นอย า ง ถูกตอง ในป ๒๕๕๓ มีเพียง ๗ แสนคนเศษ ขณะที่ ตั ว เลขประมาณการล า สุ ด เมื่ อ ปลายป ๒๕๕๓ ปรากฏวามีแรงงานนอกระบบหรือมิไดจดทะเบียน อยางถูกตองอยูถึงประมาณ ๑,๕๐๐,๐๐๐ คน และ แรงงานสวนใหญในจํานวนนี้เปนแรงงานตางดาว จากประเทศเพื่อนบาน ๓ สัญชาติ ไดแก พมา ลาว และกั ม พู ช า ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากความแตกต า งของ ความเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ระหว า งไทยกั บ


ประเทศเพื่อนบาน มีผลทําใหเกิดการยายถิ่นฐาน ของประชาชนจากทั้ ง ๓ ประเทศ ซึ่ ง มี อั ตราการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ต่ํามายังประเทศไทยที่มี อั ต ราการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ สู ง หรื อ มี ส ภาพ เศรษฐกิจที่ ดีกว ามาก และดวยสาเหตุดังกล าวนี้ จึ ง ส ง ผลให ป ญ หาแรงงานต า งด า วโดยเฉพาะ ปญ หาแรงงานประมงต า งด า วในทะเล ทวีค วาม รุนแรงมากขึ้นตามลําดับ แรงงานตางดาวในสวนที่ เขามาโดยถูกกฎหมาย อาจมองวาเปนความจําเปน ตามสภาพเศรษฐกิ จ และสั ง คม ซึ่ ง ต อ งอาศั ย มาตรการทางเศรษฐกิจและสังคมจิตวิทยาในการ แก ไ ข แต ใ นส ว นที่ เ ป น แรงงานแบบผิ ด กฎหมาย ทั้งในลักษณะการลักลอบเขาเมืองและการลักลอบ ทําประมง เปนปญหาที่สําคัญและกระทบตอความ มั่นคงของชาติ ทั้งเฉพาะหนาและระยะยาว ทั้งนี้ เพราะรัฐไมสามารถเขาไปควบคุมกํากับดูแลการ จัดระเบียบ ทั้งในเรื่องของจํานวนและสัดสวนของ แรงงานไทย เพื่อรักษาดุลความมั่นคงของศักยภาพ ทางดานการประมงของไทย อันเปนปจจัยหนึ่งของ เศรษฐกิ จ โดยรวม และเกี่ ย วโยงกั บ พลั ง อํ า นาจ ทางทะเลของชาติ (Sea Power) ปญหาจํานวนแรงงานประมงตางดาวใน ทะเล ไดสงผลกระทบโดยตรงตอความมั่นคงของ ชาติ ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สัง คม การเมือง และ ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งประเทศ ซึ่ ง รั ฐ บาลก็ ไ ด ดําเนินการในการแกไขปญหานี้มาอยางตอเนื่อง โดยลําดับ ตั้งแตในระดับการกําหนดนโยบายความ มั่ น คงแห ง ชาติ ท างทะเล การจั ด ทํ า ยุ ท ธศาสตร ในการแกไขปญหา การมอบหมายใหหนวยงานที่มี

สวนเกี่ยวของดําเนินการ วางแผนและปฏิบัติการ ในการแกไขปญหา แตเนื่องจากสาเหตุแหงปญหานี้ มี ค วามสลั บ ซั บ ซ อ น รวมถึ ง กฎหมาย ระเบี ย บ ขอปฏิบัติ ขอบเขตอํานาจของหนวยงานที่รับผิดชอบ ในการแกไขปญหาเองก็มีขอจํากัดอยูมาก สภาความมั่นคงแหงชาติ เปนองคกรหลัก ที่ ทํ า หน า ที่ ใ นการนํ า เสนอนโยบายในการแก ไ ข ปญหาแรงงานตางดาวใหกับรัฐบาล ซึ่งหมายรวม ถึงนโยบายเกี่ยวกับปญหาแรงงานประมงตางดาว ในทะเล สวนคณะกรรมการบริหารแรงงานตางดาว ลั ก ลอบเข า เมื อ ง หรื อ กบร. ที่ ถู ก จั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.๒๕๔๕ เปนองคกรที่รับผิดชอบบริหารจัดการ แกไขปญหาแรงงานตางดาวทั้งระบบ คณะกรรมการ ชุดนี้ถือไดวา เปนองคกรหลักของรัฐบาล ที่มีหนวยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวของจํานวนมากเขารวมในการแกไข ป ญ หา โดยในส ว นการสกั ด กั้ น แรงงานต า งด า ว ลักลอบเขามาทํางานทางทะเลนั้น มีคณะอนุกรรมการ สกั ด กั้ น แรงงานต า งด า วลั ก ลอบเข า มาทํ า งาน ทางทะเลเป น ผู รั บ ผิ ด ชอบ โดยมี บุ ค ลากรจาก กองทัพเรือเปนกําลังหลักในการดําเนินการ ในระดับ กระทรวงนั้นตามปกติปญหาแรงงานตางดาว เปน ความรับผิดชอบหลักของกระทรวงแรงงานอยูแลว สวนของกระทรวงการตางประเทศ มีหนาที่ในการ กําหนดนโยบายและการดําเนินการชวยเหลือ ในกรณี ที่ปญ หาแรงงานตา งด า วนั้น มีค วามเกี่ย วขอ งกั บ การดําเนินการดานการตางประเทศ เชน การเจรจา ส ง ตั ว กลั บ ประเทศ เป น ต น ในส ว นระดั บ หน ว ย ปฏิ บั ติ อื่ น ๆ ได แ ก กองตํ า รวจน้ํ า กรมศุ ล กากร กรมขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี กรมประมง ก็เปน


หน ว ยที่ ไ ด รั บ มอบอํ า นาจหรื อ มี อํ า นาจโดยตรง ในการดําเนินการในเรื่องแรงงานตางดาว โดยเฉพาะ แรงงานประมงตางดาวในทะเลเชนกัน

อนึ่ง ในสวนของศูนยประสานการปฏิบัติ ในการรั ก ษาผลประโยชน ข องชาติ ท างทะเลหรื อ ศรชล. ที่ไดจัดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐบาลเมื่อ มกราคม ๒๕๔๑ มีจุดมุงหมายเพื่อเปนศูนยกลาง ในการประสานงานตางๆ เกี่ยวกับกิจการทางทะเล ในทุกๆ ดาน เพื่อใหการปฏิบัติเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ไมเกิดความซ้ําซอนในการปฏิบัตินั้น ยังคงมีการ ปฏิบัติอยูและยังคงเปนองคกรหนึ่งที่มีความสําคัญ อยางยิ่งตอการแกไขปญหาแรงงานประมงตางดาว ในทะเล จากอัตราการเพิ่มขึ้นของปญหาดานความ มั่นคงในดานตางๆ โดยเฉพาะดานสังคมที่มีตัวเลข

สถิติที่เพิ่มขึ้นของอาชญากรรม การแพรระบาดของ ยาเสพติด โรคติดตอ หรือปญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมประมง เชน ทาเรือ ชุมชนชายฝงทะเล โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาที่เกิดขึ้น ในเรือประมงสัญชาติไทย เปนหลักฐานที่ชี้วาการ แกปญหาแรงงานตางดาวในทะเลโดยภาพรวมยัง ไมไดบรรลุผลสําเร็จเทาที่ควร ทั้งในระดับนโยบาย และในระดับการปฏิบัติ โดยเฉพาะในสวนของแรงงาน ประมงตา งดา วลักลอบเข าเมื องโดยผิดกฎหมาย และลักลอบทํางานประมงโดยขาดการควบคุมของ รัฐ เปนปญหาที่ยังไมสามารถควบคุมได และหาก เพิ ก เฉยปล อ ยให ก ารแก ไ ขป ญ หาขาดเอกภาพ การรวมศูนยทั้งในระดับนโยบาย และหนวยปฏิบัติ จะส ง ผลกระทบรุ น แรง และบั่ น ทอนพลั ง อํ า นาจ ของชาติ ปญหาแรงงานตางดาวในทะเล ป ญ หาแรงงานต า งด า วในทะเลได ส ง ผล กระทบตอความมั่นคงของไทย ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความสัมพันธระหวางประเทศ ผลกระทบทางเศรษฐกิจนั้น เกิดขึ้นเพราะการใช แรงงานตางดาวอยางผิดกฎหมาย การกดขี่ ขูดรีด เอารัดเอาเปรียบแรงงานจากการจางงานในราคาต่ํา ซึ่งเหตุการณเหลานี้อาจเปนสาเหตุสําคัญที่ทําให ประเทศคูแขงทางการคาใชเปนขออางในเรื่องการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน และถือโอกาสในการกีดกัน การนําเขาสินคาของไทย ซึ่งผลกระทบนี้ นอกจาก จะสงผลในระดับเศรษฐกิจมหภาค คือ ทําใหอัตรา การสงออกลดลง รัฐเก็บภาษีไดลดลงแลว ยังอาจ


ทํ า ให อั ต ราการจ า งงานในประเทศลดลงด ว ย สุ ด ท า ยก็ จ ะส ง ผลทํ า ให อั ต ราการขยายตั ว ของ เศรษฐกิจลดลง และการเขามาของแรงงานตางดาวนี้ ย อ มทํ า ให โ อกาสในการทํ า งานของแรงงานไทย ลดลง แม จ ะมี ข อ สรุ ป จากข อ มู ล วิ จั ย ว า คนไทย ไมนิยมประกอบอาชีพแรงงานประมงบนเรือ เปนเหตุ ใหแรงงานตางดาวหลั่งไหลเขามาทํางานแทน แต ถ า วิ เ คราะห อี ก แง มุ ม หนึ่ ง พบว า การจ า ยค า แรง ราคาถูกใหแรงงานตางดาวนั้น (เปนอัตราที่แรงงาน ต า งด า วพอใจเพราะเป น อั ต ราที่ สู ง กว า ได รั บ ใน ประเทศตน) เป น เหตุ จู ง ใจที่ ใ ห น ายจ า งคนไทย พอใจที่ จ ะจ า งแรงงานต า งด า ว มากกว า จะจ า ง แรงงานคนไทยเพราะตองจายคาแรงที่สูงกวามาก หรืออาจกลาวในอีกแงมุ มไดวา แรงงานตางดา ว เป น สาเหตุห ลั ก ในการลดโอกาสการทํ า งานของ คนไทยในกิจการตางๆ โดยเฉพาะกิจการประมง ฯลฯ

นอกจากนี้ การพึ่งแรงงานราคาถูก เพื่อการ ไดเปรียบในการแขงขันนั้น มีผลทําใหผูประกอบการ ไมสนใจและละเลยต อการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต หรือการฝกทักษะเพื่อ เพิ่มขีดความสามารถของแรงงาน ซึ่งจะกอใหเกิด

ผลเสียตอการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศใน ระยะยาว และทําใหโครงสรางการผลิตในประเทศ ลาหลังเปนอุปสรรคในการพัฒนาอุตสาหกรรมการ ผลิตสินคาคุณภาพที่ตองการทักษะในอนาคต ผลกระทบดานความมั่นคงและความสัมพันธ ระหวางประเทศ : การเดินทางเขามาหางานทําใน ประเทศไทยของแรงงานต า งด า วอาจมี นั ย ทาง การเมื อ งหรื อ การทหารแอบแฝงอยู กล า วคื อ บางรายอาจเดินทางเขามาลี้ภัยทางการเมือง หรือ รอเดิ น ทางไปสู ป ระเทศที่ ส าม ขณะเดี ย วกั น บางกลุ ม เป น ชนกลุ ม น อ ยที่ มี ท า ที ต รงข า มกั บ รัฐบาลของตนเอง ไดลักลอบเขามาเพื่อรวมตัวกัน และหาแหลงสนับสนุนทางการเงินความชวยเหลือ จากกลุ ม ก อ การร า ยต า งๆ แล ว กลั บ ไปสู ร บกั บ รั ฐ บาลของตนเพื่ อ แย ง อํ า นาจคื น หรื อ สนั บ สนุ น กลุมกําลังนอกกฎหมาย และแมวาการดําเนินการ จั ด เก็ บ ข อ มู ล จะดํ า เนิ น ไปอย า งถู ก ต อ ง ทั น สมั ย ก็คงจะเปนการยากมากที่จะพิสูจนทราบวา บุคคล นั้ น มี วั ต ถุ ป ระสงค ที่ แ ท จ ริ ง อย า งไร และไม มี เครื่ อ งมื อ ใดที่ จ ะพิ สู จ น ไ ด และการดํ า เนิ น การที่ เข ม ข น ของหน ว ยงานภาครั ฐ ต อ การเข า มาของ แรงงานตางดาวก็อาจสงผลกระทบตอความสัมพันธ ระหวางประเทศได ผลกระทบทางสังคม : เปนปญหาที่สงผล ทางจิตวิท ยาตอ คนไทย อยา งเปน รูปธรรม ไดแก ปญหาอาชญากรรมโดยเฉพาะตามพื้นที่หัวเมือง ชายฝ ง ทะเล ท า เรื อ และในเรื อ ประมงของไทย ที่ ก อ ให เ กิ ด ความไม มั่ น คงต อ ชี วิ ต และทรั พ ย สิ น ผลกระทบเหล า นี้ ส ว นใหญ ล ว นมี ส าเหตุ สํ า คั ญ


มาจากแรงงานตางดาวที่ทํางานในภาคอุตสาหกรรม ประมงทะเล บทสรุป จากสถิติของการกระทําผิด พบวา แนวโนม ความรุนแรงไดเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญในหลายป ที่ผานมา และการดําเนินคดี เชน การติดตามตัว ผู ก ระทํ า ผิ ด ที่ เ ป น แรงงานต า งด า วมาดํ า เนิ น คดี ก็ ก ระทํ า ได ย ากลํ า บาก ในหลายคดี ที่ ผู ต อ งหา หลบหนี ก ลั บ ประเทศตนหลั ง จากก อ เหตุ ส ว น โรคระบาดร า ยแรง ป ญ หาการแพร ร ะบาดของ ยาเสพติดนั้นก็ทวีความรุนแรงขึ้นมาก โรคติดตอ รายแรงที่เคยควบคุมไดและหมดไปจากเมืองไทย แลว เชน โรคไขมาเลเรีย และโรคเทาชาง ก็กลับเขามา แพรระบาด และสรางความหวาดกลัวใหกับคนไทย อี ก ครั้ ง และก็ ที่ มี ห ลั ก ฐานชั ด เจนยื น ยั น ได ว า โรคเหล า นี้ มี แ รงงานต า งด า วเป น พาหะนํ า โรค โรคติดตอที่รายแรงอีกโรคหนึ่ง คือ โรคเอดส ที่มี การระบาดอยางหนักตามพื้นที่ชายแดน หรือในเขต ทาเรือ หรือแหลงชุมชนประมง ก็เปนผลมาจากการ ย า ยถิ่ น ฐานเข า มาแสวงหาโอกาสของแรงงาน ต า งด า วเช น กั น ภาระทางสั ง คมที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก แรงงานตางดาว จึงเปนภาระทําใหรัฐบาลตองเสีย งบประมาณจํานวนมหาศาลในการจัดการกับปญหา ธรรมชาติ อ้างอิง/ข้อมูลจาก

เหลานี้ จึงอาจกลาวไดวาผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสั ง คมที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ เป น ผลลั พ ธ สุ ด ท า ย ที่ อ าจ เกิ ด ขึ้ น จากกระบวนการจั ด การและการควบคุ ม แรงงานตางดาวของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ถึงเวลาแลวหรือยังที่การแกไขปญหาแรงงาน ตางดาวในทะเลที่เกี่ยวของกับองคกรหลายองคกร ในการปฏิ บั ติ ง านในทะเลนั้ น ควรจะต อ งมี ก าร พั ฒ นาระบบติ ด ตาม ควบคุ ม และเฝ า ระวั ง ที่ มี ประสิทธิภาพโดยรวมถึงการติดตั้งระบบติดตามเรือ การปรั บ ปรุง ระบบการจัด เก็ บ ฐานข อมู ล แรงงาน ตางดาวในทะเล ใหมีความทันสมัย ถูกตอง รวมถึง การใชเทคโนโลยีในการเชื่อมโยงขอมูลสําหรับการ แลกเปลี่ ย นข อ มู ล และการข า วระหว า งเรื อ และ อากาศยานในทะเล โดยใหกรมการปกครองเป น หนวยจัดทําบัตรควบคุมระบบอิเล็กทรอนิกส เพื่อ ทําใหหนวยปฏิบัติในการควบคุมแรงงานตางดาว ในทะเล สามารถตรวจสอบความถู ก ต อ งของ ขอมูลแรงงานตางดาวในทะเลไดอยางรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสงผลตอการควบคุมจํานวน แรงงานตา งด า วที่ทํ า งานในเรื อ ประมงทะเลหรื อ ในอุตสาหกรรมประมงอื่นๆ ใหเหมาะสม ไมมาก จนเกิ น ไป อั น จะมี ผ ลกระทบทางความมั่ น คงต อ อาชีพประมงที่อยูคูกับสังคมไทยมาเปนเวลานาน…

- วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร. “แรงงานต่างด้าวกับปัญหาความมั่นคงของชาติในอนาคต”. สรุปผลการประชุมสนทนาปัญหา ยุทธศาสตร์ วปอ. ครั้งที่ ๑/๕๑, มกราคม ๒๕๕๑. - กองบัญชาการทหารสูงสุด. “การสกัดกั้นแรงงานต่างด้าวลักลอบเข้ามาทํางาน”. เอกสารประชาสัมพันธ์กองทัพไทย. กันยายน ๒๕๔๙. - เอกสารวิจัยเรื่อง การแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวในทะเล. พล.ร.ต.วัลลภ หังสนันท์ ร.น., วปอ.๒๕๕๑.


มีน

๑. ให้หาคํามาเติมในช่องว่างทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยดูจากความหมายที่ให้มา ๒. แต่ ล ะช่ อ งเติ ม ได้ ๑ ตั ว อั ก ษร สระบน สระล่ า ง และวรรณยุ ก ต์ ให้ เ ติ ม ไว้ กั บ ตัวอักษรช่องเดียวกัน ส่วนสระหน้าและสระหลัง ให้แยกช่องต่างหาก

ขอให้สมาชิกทายปริศนาอักษรไขว้ แล้วส่งคําตอบไปที่สํานักงานหนังสือข่าว ทอ. พร้อมเขียน ยศ – ชื่อ – สกุล หน่วยงาน และหมายเลขโทรศัพท์ ภายในวันที่ ๒๐ ก.ย.๕๔ ถ้ามีผู้ตอบถูกจํานวนมาก จะใช้ วิธีจับฉลากรายชื่อ ๓ รางวัล และแจ้งผลการจับฉลากพร้อมเฉลยในฉบับเดือน พ.ย.๕๔


¿ แนวตั้ง À

¾ แนวนอน ½

๑. ทําดีแต่กลับได้ชั่ว ๒. เต่า ๓. สายรัดเอว ๔. มัว คอย เฝ้า (คําโบราณ) ๕. ที่ชุมนุมชน ๖. พระอาทิตย์ ๗. เสือ ๘. คนพูดบ่นเพ้อต่างๆ คนพูดด้วยความอยากได้ ๑๑. เกเร ๑๔. มากมาย ๑๖. สัตว์จําพวกเนื้อชนิดหนึ่ง ๑๗. นานมาแล้ว ๑๙. เอามีดเฉือนหนังทั้งแผ่นให้เป็นเส้น เพื่อทําเชือก หนัง ๒๒. ไหว สั่น ๒๓. ดิบๆ และยังมีคาว อย่างปลาสดหรือเนื้อสด ๒๕. กริยาที่สัตว์บางชนิดเอาคราบออก ๒๗. เคียงกัน ๒๘. ลูกของเหลน ๓๐. ป่าดง ๓๔. ทองคํา ๓๗. ฟ้า ๓๘. ชื่อสัตว์น้ําเลือดเย็นมีกระดูกสันหลัง ร่างกาย แบ่งเป็นส่วนหัว ส่วนตัว และหาง ส่วนใหญ่หายใจ ทางปอด ๓๙. เจ็บอยู่ภายในเรื่อยไป ๔๑. ฐานั น ดรที่ พ ระมหากษั ต ริ ย์ โ ปรดเกล้ า ฯ พระราชทานแก่ บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง มี สู ง ต่ํ า เป็ น ลําดับ ๔๔. ผม

๑. หุบผาลึกชันและแคบมาก มีหน้าผา ๒ ข้าง มีลําธาร อยู่เบื้องล่าง ๗. มักกลัว ไม่กล้า ๙. สิ่งหรือถ้อยคําที่ผูกเป็นเงื่อนงํา เพื่อให้แก้ให้ทาย ๑๐. การทา การลูบไล้ ๑๒. เอาเนื้ อ สดหรื อ ปลาสด เป็ น ต้ น ที่ หั่ น เป็ น ชิ้ น แล้วคั่วพอให้สุก เพื่อเก็บไว้แกง ๑๓. เท ราด สาด ฉีด หรือโปรยน้ําหรือของเหลวไปยัง สิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เปียก ๑๕. ผงของกะรุ น (แร่ชนิ ดหนึ่ง ประกอบด้วยธาตุ อะลูมิเนียมกับออกซิเจน) ที่เอามาผสมครั่งขัดของแข็ง ๑๘. ของที่พระสงฆ์เก็บไว้ฉันได้ ตามเวลาที่กําหนดให้ ๒๐. ประดังห้อมล้อมกันเข้ามา ๒๑. ความจริง ความจริงใจ ๒๓. ทําใจให้แน่วแน่ ๒๔. ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่างๆ ซึ่งมิได้อยู่ประจํา จัดให้มีขึ้นเฉพาะวันที่กําหนดให้เท่านั้น ๒๕. ใช้ เ รี ย กการจบหรื อ สิ้ น สุ ด ลงของระยะหนึ่ ง ๆ ของพิธีบางอย่าง ๒๖. ผิดจากความเป็นจริง ๒๙. เรือพายม้า ซึ่งเป็นเรือขุดชนิดหนึ่ง หัวและท้าย เรือ เรียวขึ้นพองาม มีไม้หูกระต่ายติดอยู่ทั้งหัวและ ท้ายเรือ ตรงกลางป่องออก ๓๑. ทําให้เข้าใจผิด สําคัญผิด ๓๒. เย็บเป็นฝีเข็ม ขึ้นทีลงที ๓๓. คําเติมท้ายคําอื่นที่เป็นคํานาม หมายความว่า มี เป็น ๓๔. กร่อนเข้าไป สึกเข้าไป ๓๕. เรื่อง ๓๖. น้ําสําหรับดื่ม ๓๘. ชื่อกระโถนชนิดหนึ่ง ปากบานอย่างดอกลําโพง ๔๐. ความกลัว ของที่น่ากลัว ๔๒. น้อยลง ต่ําลง ๔๓. กิน ๔๕. ไม่มี ๔๖. ลมที่พัดจากฝั่งไปสู่ทะเลในเวลากลางคืน


น.ท.วิพล สุขวิลัย

....การจั ด ระบบการประกั น คุ ณ ภาพการศึ กษา ทั้ ง นี้ ก็เ พื่ อ ป อ งกั น มิ ใ ห ม าตรฐาน การศึกษาในสถาบันการศึกษาทางทหารดอยกวาสถาบันการศึกษาของพลเรือนในระดับ เดียวกัน... จากพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๗ กําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ทุกระดับ ประกอบดวยการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก มาตรา ๔๘ ใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถือ ว า การประกั น คุ ณ ภาพภายในเป น ส ว นหนึ่ ง ของ กระบวนการบริ ห ารการศึ ก ษาที่ ต อ งดํ า เนิ น การ อย า งต อ เนื่ อ งนั้ น พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษา แห ง ชาติ ฯ เป น กฎหมายการศึ ก ษาของประเทศ จําเปนที่สถาบันการศึกษาตางๆ จะตองปฏิบัติตาม ใหเปนไปตามมาตราดังกลาว สาระสําคัญของพระราชบัญญัติการศึกษา แห ง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ กองทัพ มี ค วามตระหนัก ที่

จะต อ งดํ า เนิ น การให เ กิ ด ผลทางการปฏิ บั ติ ใ ห เปนรูปธรรม ผู บัญชาการทหารสูงสุดไดอนุ มัติให กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหาร (ในสมั ย นั้ น ) จั ด ประชุ ม สั ม มนาทางวิ ช าการเรื่ อ ง “แนวโน ม การพั ฒ นา การศึ ก ษากํ า ลั ง พลของกองทั พ ไทยในอนาคต” เมื่อวัน ที่ ๑๕–๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ณ สถาบั น วิชาการปองกันประเทศ โดยกําหนดหัวขอสําคัญที่ สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฯ ๓ ประการ คือ ๑) การศึกษาผลกระทบของพระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ ฯ ที่มีตอกองทัพไทยในมาตราที่ ๙,๑๐,๑๕,๒๑ และ ๒๒ ๒) ศึกษาความเหมาะสมของระบบการศึกษา ตามแนวทางรับราชการและการศึกษาของกําลังพล ของกองทัพไทยทั้งนายทหารสัญญาบัตร นายทหาร ประทวน และพลทหาร ในดานเปาหมายของการศึกษา ระบบการเรียนการสอน การประเมินผลประสิทธิภาพ


ของระบบการศึกษาและมาตรการในการพั ฒ นา ระบบการศึกษา ๓) ศึ ก ษาและเสนอแนะการจั ด ระบบ การศึกษาของโรงเรียนเตรียมทหาร และโรงเรียน ทหารของกองทั พ ไทยในด า นการจั ด การศึ ก ษา ดานการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน และดาน การพัฒนาครู-อาจารย ซึ่งผลจากการสัมมนาฯ ดังกลาว ผูบัญชาการ ทหารสู ง สุ ด ได อ นุ มั ติ ใ ห ก รมยุ ท ธศึ ก ษาทหาร พิจารณาหนทางปฏิบัติในการพัฒนาและประกัน คุณภาพ ครู อาจารย และบุคลากรดานการศึกษา ในสถาบันการศึกษาของกองทัพ การประเมินผล การศึกษา และการจัดระบบการประกันคุณภาพ การศึ ก ษา ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ป องกั น มิ ใ ห ม าตรฐาน การศึกษาในสถาบันการศึกษาทางทหารดอยกวา สถาบัน การศึกษาของพลเรือนในระดับเดียวกัน ซึ่ ง นั บ เป น จุ ด เริ่ ม ต น ของการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาของกองทัพ จาก พ.ศ.๒๕๔๒–๒๕๕๓ รวม ๑๑ ป กั บ การดํ าเนิ นงานที่ ผ านมา ได พบกั บ ปญหาและอุปสรรคมากมาย เนื่องจากการประกัน คุ ณ ภาพนั้ น เป น งานที่ ต อ งรั บ ผิ ด ชอบเพิ่ ม ขึ้ น นอกเหนือจากภารกิ จหลักทั้ง ในสวนของกองทั พ และสถาบัน การศึกษาของกองทัพ ผูบังคับบัญชา ผูบริหาร และบุคลากรของสถาบันการศึกษาตางๆ ก็ยังไมเขาใจหรือใหความ สําคัญมากนักในชวงแรก แต เ นื่ อ งจากการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาเป น กฎหมายที่ตองปฏิบัติตามจึงหลีกเลี่ยงการปฏิบัติ ไมได กอปรกับผูบังคับบัญชา ผูบริหาร และบุคลากร ในภาคส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งเริ่ ม เห็ น ความสํ า คั ญ และ

มีความเขาใจทางการปฏิบัติมากขึ้น จึงทําใหการ ประกันคุณภาพการศึกษาในสถาบันการศึกษาของ กองทัพมีความเจริญกาวหนามาถึงทุกวันนี้ไมแพ สถาบันการศึกษาอื่นๆ ภายนอกกองทัพ ซึ่งก็ไดรับ การส ง เสริม สนั บ สนุ น จากผู บัง คั บ บัญ ชาที่ มี ส ว น รับผิดชอบในแตละยุคแตละสมัยมาจนถึงปจจุบัน ดังที่ปรากฏผลในเวลานี้ ชวงเวลาที่ผานมากองทัพ ได ดํ า เนิ น การประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ใหกับสถาบันการศึกษาของกองทัพครบทุกสถาบัน และในขณะเดียวกันสถาบันการศึกษาของกองทัพ ก็ไดผานการประเมินภายนอกและรับรองคุณภาพ ครบทั้ง ๑๙ สถาบัน ไมมีสถาบันการศึกษาใดของ กองทัพที่ไมผานการรับรองคุณภาพ ผลการประเมิน ในภาพรวมอยูในระดับดี–ดีมาก เพื่อเปนการระลึก ถึงความทรงจําในชวงเวลาที่ผานมา ซึ่งไดรวบรวม จากหลั ก ฐานที่ ป รากฏ จึ ง ขอนํ า การปฏิ บั ติ ที่ ไ ด ดําเนินการมาในแตละปมาบันทึกไวเปนกรณีศึกษา เพื่อการศึกษาคนควาตอไปในอนาคต พอเปนสังเขป ดังนี้ พ.ศ.๒๕๔๓ ผูบัญชาการทหารสูงสุ ด อนุมัติใหกรมยุทธศึกษาทหารจัดประชุมทางวิชาการ เมื่อวันที่ ๑๐–๑๑ เมษายน ๒๕๔๓ และจัดสัมมนา ทางวิชาการ เมื่อวันที่ ๑๓–๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๓ ณ สถาบันวิชาการปองกันประเทศ เพื่อรวมกันระดม ความคิดเห็นจากผูแทนสวนราชการที่เกี่ยวของกับ การจัดการศึก ษาทางทหาร ผลลัพ ธที่ไดจ ากการ ประชุมและสัมมนาทางวิชาการ คือ ใหมีการจัดทํา เอกสารทางวิชาการ ๓ เลม ไดแก คูมือครู/อาจารย สถาบันการศึกษาของกองทัพ พ.ศ.๒๕๔๓ แนวทาง


การประกันคุณภาพการศึ ก ษาสถาบันการศึก ษา ของกองทัพ และแนวทางการตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาสถาบันการศึกษาของกองทัพ ซึ่งผูบัญชาการ ทหารสูงสุด ไดอนุมัติใหใชเอกสารทั้ง ๓ เลม เปน แนวทางในการดํ า เนิ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานการศึกษาสถาบันการศึกษาของกองทัพ ในชวงแรก เมื่อวันที่ ๕ กันยายน ๒๕๔๓ และในป เดี ยวกั น กรมยุ ทธศึกษาทหารมีภารกิ จเร ง ดว นที่ ตอ งดํ า เนิ น การให ส อดคล องกั บ พระราชบั ญ ญั ติ การศึกษาแหงชาติ ฯ อีก ๓ ประการ คือ ๑. ร า งนโนยายการพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานการศึกษาสถาบันการศึกษาของกระทรวง กลาโหม ๒.จั ด ทํ า ระบบและกลไกการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของกองทั พ เพื่ อ สร า งความ ุ ภาพ มั่นใจวาสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดคณ ตามมาตรฐานที่กําหนดไว ทําใหผูสําเร็จการศึกษา มีความรู ความสามารถ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค ตามที่ ก องทั พ ต อ งการ และกํ า หนดกระบวนการ ประกันคุณภาพ ประกอบดวย ๓ กลุมงาน คือ การ ควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ การประเมิน และรั บรองคุ ณ ภาพ โดยกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารได แนะนํ า ระบบ Input–Process–Output–Outcome (IPOO) บรรจุไวในคูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ของกองทัพที่จัดทําขึ้น กับกําหนดกลไกการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอีกสวนหนึ่ง ๓. กองทัพจะตองมีหนวยงานหรือองคกร ดํ า เนิ น การตรวจสอบคุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน สถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ ก อ นที่ จ ะให

หน ว ยงานภายนอกมาทํ า การตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษา

พ.ศ.๒๕๔๔ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหาร ไดยกรางคําสั่งคณะกรรมการศึกษากองบัญชาการ ทหารสูงสุด (เฉพาะ) ที่ ๑/๔๔ เรื่อง แตงตั้งคณะทํางาน พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาสํ า หรั บ สถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ขึ้นไปกับคําสั่งคณะกรรมการศึกษากองบัญชาการ ทหารสูงสุด (เฉพาะ) ที่ ๒/๔๔ เรื่อง แตงตั้งคณะทํางาน พั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาสํ า หรั บ สถาบันการศึกษาของกองทัพระดับต่ํากวาปริญญาตรี โดยกรมยุทธศึกษาทหารเปนหนวยหลักดําเนินงาน และรับผิดชอบรวมกับสถาบันการศึกษาของกองทัพ เพื่อใหเกิดระบบและกลไกการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของกองทัพ มีความสมบูรณ และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รองเสนาธิการทหาร ซึ่ง เปนประธานคณะกรรมการศึกษากองบัญชาการ ทหารสูงสุด ไดลงนามแตงตั้งคณะทํางานฯ ดังกลาว ทั้ง ๒ คณะ เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๔๔ และการ ปฏิ บั ติ อี ก ส ว นหนึ่ ง ที่ มี ค วามสํ า คั ญ มาจนถึ ง วั น นี้ ก็คือการที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ลงนาม


ในคําสั่งกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๓๖/๔๔ ลง ๒๐ มีนาคม ๒๕๔๔ เรื่อง นโยบายการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึ ก ษาสถาบั น การศึ ก ษาของ กระทรวงกลาโหม ซึ่ ง เป น ผลงานต อ เนื่ อ งจากป พ.ศ.๒๕๔๓ ในการกํ า หนดนโยบายการพั ฒ นา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาสถาบันการศึกษา ของกระทรวงกลาโหม โดยมีเปาหมายเพื่อใหสถาบัน การศึ ก ษาของกระทรวงกลาโหม และผู สํ า เร็ จ การศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาตามที่ กระทรวงกลาโหมต อ งการ และสอดคล อ งกั บ พระราชบัญ ญัติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ จึงไดกําหนดนโยบายดานการศึกษาของกระทรวง กลาโหมไว ๘ ประการ ดังนี้ ๑. เร ง รั ด ให มี ร ะบบการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาสถาบันการศึกษาของกระทรวงกลาโหม เพื่อเปนเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพและรักษา มาตรฐานการศึกษาสถาบันการศึกษาของกระทรวง กลาโหมอยางตอเนื่อง โดยใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการ ขึ้น เพื่อบริหารและกํากับดูแลงานดานมาตรฐาน การศึกษา ๒. สงเสริมใหสถาบันการศึกษาของกระทรวง กลาโหมสามารถสรา งกลไกการประกั น คุณภาพ การศึ ก ษา โดยจั ด ให มี ร ะบบการตรวจสอบและ ประเมินผลการดําเนินการขึ้นเปนการภายใน ๓. ใหสถาบันการศึกษาของกระทรวงกลาโหม นํ า รู ป แบบและวิ ธี ก ารในการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาตามที่กระทรวงกลาโหมกําหนดขึ้นเปน แนวทางในการดําเนินการ โดยปรับปรุงหรือพัฒนา ไดตามความเหมาะสม

๔. ดําเนินการใหแตละสถาบันการศึกษา ของกระทรวงกลาโหมกําหนดแผนการดําเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการ ดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของกระทรวง กลาโหมใหเปนรูปธรรม ๕. ใหสวนราชการของกองบัญชาการทหาร สูงสุดและเหลาทัพ ที่ มีหนา ที่เกี่ยวของกับการจัด การศึกษาของกําลังพล แตงตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อ ตรวจสอบและประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานการ ประกันคุณภาพภายในของแตละสถาบันการศึกษา ๖. ใหมีการรายงานผลการดําเนินงานการ ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของแต ล ะสถาบั น การศึกษา ไปตามลําดับชั้นจนถึงรัฐมนตรีวาการ กระทรวงกลาโหม ทุกสิ้นปงบประมาณ ๗. ส ง เสริ ม ให มี ค วามร ว มมื อ และการมี สวนรวมกับหนวยงานสถาบันการศึกษาในกระทรวง กลาโหม และหน ว ยงานนอกกระทรวงกลาโหม ในกิ จ กรรมการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาอั น จะ นํ า มาซึ่ ง การพั ฒ นาระบบการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาของกระทรวงกลาโหมใหมีความทันสมัย เหมาะสมกับสถานการณโดยทั่วไป และพรอมรับ การตรวจประเมินคุณภาพจากภายนอก ๘. สงเสริมการเผยแพรขอมูลและกิจกรรม ประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษาใน กระทรวงกลาโหมตอสาธารณชน จากนโยบายการพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานการศึกษาฯ ดังกลาว นับเปนจุดเริ่มตนอีก สวนหนึ่ง ที่สงผลใหการดําเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาของกระทรวง กลาโหม กาวมาถึงทุกวันนี้


การศึกษาของกองทัพนั่นเองซึ่งดําเนินการระหวาง วันที่ ๒๙ กรกฎาคม–๖ สิงหาคม ๒๕๔๕

พ.ศ. ๒๕๔๕ คําสั่งกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๒๒๐/๔๕ ลง ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๕ กําหนดนโยบายดานการศึกษากระทรวงกลาโหม ในเรื่องของการบริหารการศึกษา ขอ ๒.๔.๑ จัดให มี ห น ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบงานของสภาการศึ ก ษา วิ ช าการทหารกระทรวงกลาโหม เพื่ อ ทํ า หน า ที่ ควบคุม กํากับ ดูแลการปฏิบัติตามนโยบายการศึกษา กระทรวงกลาโหม วิ เ คราะห วิจั ยและรับผิดชอบ งานการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา การศึ ก ษา เฉพาะทาง การเที ย บโอนหน ว ยกิ ต การศึ ก ษา การดํ า เนิ น งานเกี่ ย วกั บ ใบประกอบวิ ช าชี พ ครู อาจารยของกองทัพ รวมทั้งการติดตามประเมินผล ผูสําเร็จการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ ในป เ ดี ย วกั น ผู บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด อนุ มั ติ ใ ห ก รมยุ ท ธศึ ก ษาทหาร จั ด สั ม มนาเชิ ง ปฏิบัติการ ผูตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการศึกษาของกองทัพ รุน ๑ ขึ้นทั้งนี้ก็เพื่อ ที่จะผลิตผูตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของกองทัพ ไปทําหนาที่ในการตรวจประเมินคุณภาพในสถาบัน

ไปทําหนาที่ในการตรวจประเมินคุณภาพในสถาบัน การศึกษาของกองทัพนั่นเองซึ่งดําเนินการระหวาง วั น ที่ ๒๙ กรกฎาคม–๖ สิ ง หาคม ๒๕๔๕ ณ กรมยุทธศึกษาทหาร และฝกการปฏิบัติที่วิทยาลัย พยาบาลทหารอากาศ มีจํานวนผูเขารับการฝกอบรม รวม ๔๐ คน เปน นายทหารสัง กัด กองบัญ ชาการ ทหารสู ง สุด และเหลา ทัพ ชั้น ยศ พัน ตรี/ นาวาตรี/ นาวาอากาศตรี–พันเอก/นาวาเอก/นาวาอากาศเอก ปญหาในการดําเนินงานการประกันคุณภาพ การศึ ก ษาในช ว งแรกๆ นี้ นอกจากจะขาดแคลน บุคลากรที่จะมารับผิดชอบการปฏิบัติแลว อีกสวนหนึ่ง ก็คือยังไมมีสํานักงานเพื่อรองรับการดําเนินงานเปน การเฉพาะ วันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๔๕ ไดรับอนุมัติให จัดตั้งสํานักงานประกันคุณภาพการศึกษา ตามคําสั่ง กรมยุทธศึกษาทหาร (เฉพาะ) ที่ ๑๒๒/๔๕ ประกอบ ดวยกลุมงาน ๓ ฝาย คือ ฝายธุรการ ฝายรวบรวม และจัดทําขอมูล ฝายติดตามและรายงาน พ.ศ.๒๕๔๖ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหาร ไดรับมอบหมายใหดําเนินการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของกองทัพไทย จํานวน ๔ งาน คือ


๑. การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “การปฏิรูป การเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาของกองทัพ” เพื่อใหครู/อาจารย ในสถาบันการศึกษาของกองทัพ มีความรู ความเขาใจ กระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่ เ น น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ ระหว า งวั น ที่ ๒๐–๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ผูเขารวมสัมมนาประกอบดวย ผูเกี่ยวของทางดานการศึกษาในสถาบันการศึกษา ของกองทัพ จํานวน ๑๒๑ คน ๒. ขออนุ มั ติ จั ด ตั้ ง สํ า นั ก งานเลขาธิ ก าร สภาการศึ ก ษาวิ ช าการทหาร เพื่ อ ดํ า เนิ น งานให สอดคล อ งกั บ การประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ตามคําสั่งกระทรวงกลาโหม (เฉพาะ) ที่ ๒๒๐/๔๕ ขอ ๒.๔.๑ และรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ไดลงนามในคําสั่งกระทรวงกลาโหมที่ ๓๔๖/๔๖ ลงวั น ที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ให มี ก ารจั ด ตั้ ง สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาวิชาการทหาร ขึ้ น มารองรั บ การดํ า เนิ น งานดั ง กล า ว โดย มอบหมายให “เจ า กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหาร เป น เลขาธิการสภาการศึกษาวิชาการทหาร และกรม ยุ ท ธศึ ก ษาทหาร ทํ า หน า ที่ เ ป น สํ า นั ก งาน เลขาธิการสภาการศึกษาวิชาการทหาร” ๓. จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการผูตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาภายในสถาบันการศึกษาของ กองทัพ รุนที่ ๒ จํานวน ๔๐ คน ระหวางวันที่ ๘–๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๖ ณ กรมยุทธศึกษาทหาร และฝก การปฏิบัติที่วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ ๔. การประชุมและสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง กําหนดมาตรฐานการศึกษาสถาบันการศึกษาของ กองทั พ โดยประชุ ม คณะทํ า งานพัฒ นาคุ ณ ภาพ

และมาตรฐานการศึ ก ษาสถาบั น การศึ ก ษาของ กองทั พ ระดั บปริญ ญาตรี ขึ้น ไป กับ ระดับ ต่ํ า กว า ปริ ญ ญาตรี เมื่ อ วั น ที่ ๑๔–๑๕ สิ ง หาคม ๒๕๔๖ และจั ด สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เมื่ อ วั น ที่ ๒๕–๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๖ ณ กรมยุทธศึกษาทหาร มีผูเขารวม ประชุมและสังเกตการณรวม ๑๑๐ คน โดยผลจาก การสัมมนา ๔.๑ ผูบัญชาการทหารสูงสุด อนุมัติให กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารใช ม าตรฐานการศึ ก ษาของ กองทัพระดับปริญญาตรีขึ้น ไป และระดับต่ํากวา ปริญญาตรี (เพื่อพลาง) และใชเกณฑการประเมิน คุณภาพการศึกษาดังนี้ ๔.๑.๑ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (สวนบัณฑิตศึกษา) โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา โรงเรียนนายเรือ และโรงเรียนนายเรืออากาศ ใชกรอบ ๑๐ มาตรฐาน ๖๔ ตัวบงชี้ ๔.๑.๒ วิ ท ยาลั ย แพทยศาสตร พระมงกุฎเกลา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิทยาลัย พยาบาลกองทั พ เรื อ และวิ ท ยาลั ย พยาบาล ทหารอากาศ ใชกรอบ ๙ มาตรฐาน ๗๔ ตัวบงชี้ ๔.๑.๓ โรงเรี ย นเตรี ย มทหาร ใช กรอบ ๙ มาตรฐาน ๕๙ ตัวบงชี้ ๔.๑.๔ โรงเรียนดุริยางคทหารบก โรงเรี ย นดุริ ย างค ท หารเรือ และโรงเรีย นดุ ริย างค ทหารอากาศ ใชกรอบ ๙ มาตรฐาน ๖๐ ตัวบงชี้ ๔.๑.๕ เกณฑการประเมินคุณภาพ การศึกษา ใชแบบเดียวกับสํานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) คือ ความ ตระหนัก ความพยายาม และการบรรลุผลสัมฤทธิ์


๔.๒ การบริหารจัดการระบบตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ไดกําหนด ใหสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาวิชาการทหาร เปนหนวยงานหลักของกระทรวงกลาโหม รับผิดชอบ งานประกันคุณภาพการศึกษา และกํากับดูแลงาน ประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของกองบั ญ ชาการ ทหารสูงสุด และเหลาทัพ ๔. ๓ ก า ร พั ฒ น า ผู ต รวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษาสถาบันการศึกษาของ กองทัพ ดําเนินการไดใน ๓ ลักษณะ คือ จัดสัมมนา จั ดนิ เทศทํ า ความเข า ใจวั ต ถุ ป ระสงค ข องการไป ตรวจสอบและประเมิ น คุณ ภาพ หรื อจั ด ให มีก าร ธรรมชาติ

ดูง านสถาบัน การศึกษาอื่น ๆ ภายนอกกระทรวง กลาโหม หลั ง จากได ดํ า เนิ น การประกั น คุ ณ ภาพ มาชวงเวลาหนึ่งแลว กรมยุทธศึกษาทหาร มีคําสั่ง (เฉพาะ) ที่ ๕๖/๔๖ ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ใหมีการปรับปรุงกลุมงานในสํานักงานประกันคุณภาพ การศึกษาใหมจากเดิม ๓ กลุมงานเหลือ ๒ กลุมงาน คือกลุมงานประกันคุณภาพการศึกษา และกลุมงาน พั ฒ นาหลั ก สู ต รและวิ ช าการ ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ให ก าร ดําเนินงานมีความคลองตัวและสอดคลองการปฏิบัติ ยิ่งขึ้น """

โปรดติดตามต่อ ๑๑ ปี กับ “การประกันคุณภาพการศึกษาของกองทัพ” ตอนที่ ๒


หมอพัตร เวลาผูเขียนหยิบหนังสือขาวทหารอากาศ ขึ้ น มา เรื่ อ งแรกๆ ที่ พ ลิก อ า นคื อ “เวลาการ ตูน ” โดย มิส กรี น ที่ ช อบเรื่ อ งนี้ ก็ เ พราะอา นแลว ไดทั้ ง ความสําราญ สาระ สอนสํานวนภาษาอังกฤษงายๆ ที่ มี มุ ข ขํ า ๆ แทรกอยู แถมด ว ยการ ตู น ที่ เ รี ย กว า Comic Strips ความยาว ๑–๕ ชอง เนื้อหามี ๒ ชนิด คือที่จบในตัว(แบบที่มิสกรีนนําเสนอ) หักมุมดวย มุขในชองสุดทาย เชน ที่ปรากฏในการตูนชุด บีเติ้ล ไบเลย, บลอนดี้ เปนตน สวนอีกชนิดหนึ่งติดตอกัน หลายวันหรืออาจหลายเดือนกวาจะจบตอน คอมิก หรือการตูนพวกนี้ หลายเรื่องดังระเบิดระเบอลงติดตอ เปนปๆ เชน ซุปเปอรแมน, แบทแมน, วันเดอรวูแมน แมกระทั่งทารซานก็มาจากการตูนสตริป หรือ คอมิก เชนกัน วั น นี้ ข อคุ ย เรื่ อ งคอมิ ก ที่ มิ ส กรี น นํ า ลงใน “เวลาการตูน” บอยๆ คือ BEETLE BAILEY จะอานวา บีเติ้ล ไบเลย หรือ เบลีย ก็สุดแตใจทาน บีเติ้ล ไบเลย (หรือเรียกวา บี เติ้ล เฉยๆ ก็ได ) เป นชุดคอมิกสที่ ประกอบดวยตัวละครหลายตัว แตละตัวมีบุคลิก เฉพาะ ถาไมเคยอานมากอนตองใชเวลาศึกษาและ

เขาใจถึงบุคลิกของแตละตัว จึงจะไดอรรถรสและ ความสนุกสนาน บี เ ติ้ ล ไบเล ย ปรากฏตั ว ขึ้ น ในจั ก รวรรดิ การตูน สตริป มานานกวา ๖๐ ปแลว เห็นไดวาอยูยง คงกระพันแคไหน ถาไมแนจริงคงทําไมไดถึงขนาดนี้ หรอก ลงพิมพไดไมนานการตูนสตริปอันนี้ก็มัดใจ นักนิยมคอมิก ที่ติดอกติดใจในวิธีการเลี่ยงงานได อยางไรเทียมทานและนาหัวรอของบีเติ้ล เวลา ๖๐ กวาปที่ผานไป โลกอาจเปลี่ยนแปลง ไปบาง แตบีเติ้ลไมเคยเปลี่ยน ยังคงสวมหมวกแกป กระบัง ออนลงมาปดตา ยังคงเกียจครานถูกผูห มู สนอรเกลลงไมลงมือสั่งสอนที่หนีงานไปแอบนอน ซึ่งเปนสิ่งที่เขาชอบปฏิบัติทุกครั้งที่โอกาสอํานวย ผูสรางสรรคบีเติ้ล ไบเลย คือนักวาดการตูน ชื่อ มอรต วอลกเกอร เขากลาววาเสนหอยางหนึ่ง ของบีเติ้ลคือ การขาดความทะเยอทะยานในการงาน ใครต อ ใครที่ คิ ด ว า บี เ ติ้ ล ขี้ เ กี ย จและซื่ อ บื้ อ นั้ น ผิ ด แท จ ริ ง บี เ ติ้ ล เป น พลทหารที่ ส มาร ท ที่ สุ ด คนหนึ่ ง ใน ทบ.(อเมริกัน) ฉลาดหลักแหลมพอที่จะเลี่ยงกฎ ขอบังคับของกองทัพไดอยางสบายๆ


คอมิกสตริปเรื่องบีเติ้ล ไบเลย ถูกนําเสนอ ครั้งแรกเมื่อ ๔ กันยายน ๑๙๕๐ (กวา ๖๐ ปมาแลว) แรกทีเดียวใชชื่อวา SPIDER (แมงมุม) ไดลงตีพิมพ ในหนังสือพิมพเพียง ๑๒ ฉบับ แรกๆ ไมสูจะไดรับ ความนิ ย มนั ก ตั ว เอกคื อ บี เ ติ้ ล เป น นั ก ศึ ก ษาใน มหาวิทยาลัย, ๖ เดือนตอมา ผูเขียนจึงเปลี่ยนแนว ใหบีเติ้ลสมัครเขาเปนพลทหาร ขณะนั้นตรงกับการ เริ่มตนของสงครามเกาหลี ทําใหเรตติ้งของบีเติ้ล ไบเลย พุงขึ้นราวกับติดจรวด ในคอมิกเรื่องนี้ นอกจากบีเติ้ล ยังมีตัวประกอบ อีกหลายตัว ตั้งแตนายพล ยันพลทหาร ที่มาบอย ได แ ก นายสิ บ สนอร เ กล, นายพลฮาล ฟ แทรค, พลทหารซีโร, มิสบั๊กสลี สาวสวย ฯลฯ ซึ่งจะกลาวถึง เทาที่โอกาสอํานวย

ตัวประกอบเหลานี้ วอลกเกอรผูเขียนภาพ บอกวา สวนใหญลอกแบบมาจากคนที่มีตัวตนจริงๆ ยกตัวอยางเชน บีเติ้ล, วอลกเกอร ลอกแบบมาจาก เพื่อนคนหนึ่งสมัยเรียนที่อยูมัธยมปลาย เพื่อนคนนี้ ขี้เกียจขนาดหนัก ถึง ขนาดที่ว อลกเกอรตองออก แรงยกที่นอนตะแคงขึ้นเพื่อปลุกใหตื่น

ตัว เอกคู กัดตลอดกาลของบี เ ติ้ ลคื อ ผู ห มู ออร วิ ล พี . สนอร เ กล รู ป ร า งสู ง ล่ํ า ท ว ม ต น แบบ วอลกเกอรลอกมาจากผูหมูทั้งหลายของเขาตอนที่ เขาอยูในกองทัพเกือบ ๔ ป สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ผูหมูสนอรเกลคอนขางโหด เป นที่หวาดเกรงของ ลูกนอง ซึ่งถาเห็นหมูสนอรเกลใกลเขามา หากทําได ก็รีบหนี หมูสนอรเกลเปนไมเบื่อไมเมากับบีเติ้ล ชอบ จัดเวรทํางานที่บีเติ้ลไมชอบใหทํา เชน ลางสุขา เก็บขยะ ชวยพอครัวปอกมันฝรั่งกองสูงเปนภูเขา ถาขัดขืนก็ ใชไมห นั ก ซ อมเอาแรงๆ แตบีเ ติ้ลก็ มีทีเ ด็ดซึ่ง หมู สนอรเกลเกรงใจ คือมารดาของบีเติ้ลที่ตางจังหวัด สงเคกบาง คุกกี้บาง มาใหบีเติ้ลเสมอ บีเติ้ลก็แบง ใหสนอรเกลบาง สนอรเกลซึ่งเปนจอมสวาปามจึง เกรงใจอยู บ า ง กลั ว ไม ไ ด กิ น ขนมเค ก ของบี เ ติ้ ล หมูสนอรเกลมีแฟนคนหนึ่งในกองทัพ รูปรางทวม ไมคอยสวย สนอรเกลไมคอยชอบและพยายามเลี่ยง หนีไมยอมไปไหนมาไหนดวย สิ่งที่สนอรเกลรักมาก คือหมาบูลด็อกชื่อ ออตโต แสนรู สนอรเกลใหนอน ขางเตียง และตัดเครื่องแบบนายสิบใหดวย ตั ว ประกอบที่ เ ป น สี สั น ของเรื่ อ ง ได แ ก มิ ส บั๊ ก ส ลี ย เลขานุ ก ารสาวสวยของท า นนายพล ฮาลฟแทรค วอลกเกอรลอกแบบจากมาริลีน มอนโร ดาราสาวยั่วสวาทแหงฮอลลีวูด มิสบั๊กสลียแตงชุด รั ด รู ป สีเ ขม (ถ า เปน คอมิ ก สอดสี ใ นวั น อาทิ ตย จ ะ เปนสีแดง) สเกิรตสั้นไมถึงเขา หนาตานารัก เปนที่ ปรารถนาของบรรดาทหารทั้ ง ค า ย(ยกเว น หมู สนอรเกล)อยากออกเดทกับเธอยกเวนทานนายพล ไมกลาทํา แมจะชอบเลนหูเลนตา เพราะทานเปน คนกลัวภริยาขนาดหนัก


เวลายิ่งนานเขา คอมิกสตริปบีเติ้ล ไบเลย ก็ยิ่งไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น จนกระทั่งบัดนี้ ไดลง ตี พิ ม พ ใ นหนั ง สื อ พิ ม พ ถึ ง ๑,๘๐๐ ฉบั บ (รวมถึ ง ประเทศไทยดวย) ประมาณวามีแฟนติดตามอาน กวา ๒๐๐ ลานคนทุกวัน ในจําพวกคอมิกสตริปที่ ลงพิมพเปนรายวัน บีเติ้ล ไบเลย ติดอันดับไดรับ ความนิยมเปนอันดับ ๓ รองจาก BLONDIE ซึ่งเปน อันดับที่หนึ่ง และ HAGAR THE HORRIBLE ซึ่งเปน เรื่องตลกไวกิ้ง เปนอันดับที่ ๒ เฉือนบีเติ้ล ไบเลย ไปอยางเฉียดฉิว สําหรับ BLONDIE มิสกรีนก็นําเสนอ ในเวลาการตูน อยูบอยๆ วอลกเกอรกลาววาเขาพยายามอยางที่สุด ที่จ ะหลี ก เลี่ ย งเรื่ อ งที่ อ าจก อ ให เ กิ ด ความขั ด แย ง หรือ ข อ งเกี่ ย วกั บ การเมื อง แม ก ระนั้ น ก็ ยัง มีเ รื่ อ ง หลายครั้งจนบีเติ้ ล ไบเลย ถู กตั ดออกจาก นสพ. สตารส แอนด สไตรพส ซึ่งเปน นสพ.ของวงการทหาร ถึง ๒ ครั้ง เมื่อตนทศวรรษที่ ๑๙๕๐ เมื่อทางการตําหนิ ว า คอมิ ก สตริ ป เรื่ อ งนี้ สง เสริ ม ให ท หารขาดความ เคารพตอผูบังคับบัญชา แตผลที่ออกมาคือทําใหมี ผูสนใจอานมากขึ้น และมี นสพ.ขอทําสัญญานํา คอมิกเรื่องนี้ไปลงเปนประจําอีกวา ๑๐๐ ฉบับ ในป ๑๙๗๐ วอลกเกอรเพิ่มตัวประกอบที่ เป น คนผิ ว ดํ า คนแรก ชื่ อ ร อ ยโท แจ ก แฟลป ยังความแคนเคืองใหแกหลายวงการ นสพ.สตารส แอนด สไตรพส กั บ นสพ.ภาคใต ที่ เ หยี ย ดผิ ว หลายฉบั บ บอกเลิ ก สั ญ ญา แต มี อี ก ๑๐๐ ฉบั บ เขามาแทนที่ เหตุ ก ารณ ก ระทบกระทั่ ง เกิ ด ขึ้ น อี ก เมื่ อ ประธานาธิบดี บิล คลินตัน เขารับตําแหนงไมนาน

วอล ก เกอร ก็ ว าดการ ตู น ให น ายพลฮาล ฟ แทรค เสนอใหมีการยกรางเกณฑทหารยอนหลัง และสง คลินตันไปรบเวียดนาม ผลที่ตามมาเปนลบ วอลกเกอรไดจดหมาย แสดงความโกรธแคนนับไดรอยฉบับจากผูสนับสนุน คลินตัน นับเปนเวลาหลายปที่กลุมสตรีหลายกลุม ประทวงเรื่องของการเอาเปรียบทางเพศ อางวามี ภาพนายพลฮาลฟแทรค เหลมองมิสบั๊กสลียในเชิง กรุ ม กริ่ ม บ อ ยๆ ทางธิน ดิเคท ที่เ ป น ผูจัดจํา หนา ย คอมิ ก สตริ ป จึ ง ต อ งการให ว อล ก เกอร ตั ด นายพล ฮอล ฟ แทรคออก แต ว อล ก เกอร อะลุ ม อล ว ย โดย เขียนใหเพนตากอนออกคําสั่งใหนายพลฮาลฟแทรค ถูกสงไปเขาหลักสูตรอบรมเรื่องความออนไหวดาน การประพฤติในป ๑๙๙๗ แตจนทุกวันนี้ทานนายพล ก็ยังปรากฏกายในคอมิกสตริปเชนเดิม

ทา นนายพลยัง มีนิ สัย ไมดีอีก หลายอย า ง เชน ชอบโกงเวลาเลนกอลฟ มักถือโอกาสไปเลน กอลฟ กลัวเมีย, แตทานก็สามารถหาทางออกได ทุกครั้ง แมบางครั้งจะเปนการโกงซึ่งหนา ตั ว ประกอบอื่ น ๆ ที่ แ ฟนนิ ย มมี ห ลายตั ว สวนมากมักทําเรื่องเปนๆ ชวนหัวเราะ ในจํานวนนี้ ต อ งยกให พ ลทหารซี โ รเป น ยอดเป น ซี โ รเป น คน


นาสงสาร ฟนเขยิน ทั้งเซอะและซื่อบื้ออยางนารัก ขอเลาเรื่องของซีโรสัก ๒ เรื่อง คราวหนึ่งซีโรเอาเสื้อผาไปซักที่เครื่องซักอัตโนมัติในคาย เหนือเครื่องซักผามีคําแนะนําติดอยูวา “เมื่อกริ่งดังขึ้น ใหเอาเสื้อผาทั้งหมดออก” ซีโรนั่งรอเครื่องทํางาน พอครบเวลากริ่งดังขึ้น ซีโรรีบลุกขึ้นแลว ถอดเสื้อผาที่สวมใสอยูออก อีกครั้งหนึ่ง ซีโรออกเดทกับมิสบั๊กสลีย ไมทราบวาไปนัดออกเดทไดยังไง ซื่อบื้อปานนั้น รุงขึ้นตอนเชา เมื่อมาทํางาน เพื่อนสาวของมิสบั๊กสลียถามวาเปนอยางไรบาง มิสบั๊กสลียยกไหล ตอบวา “ดินเนอรแลวเรา ไปดูหนังกัน พอหนังฉายซีโรก็ตั้งหนาตั้งตากินขาวโพดคั่วกับรูทเบียร(อยางที่เด็กฝรั่งทํากัน) กินเอาๆ พอ ขาวโพดหมดถุงก็ชวนกลับ ไมยักชวนไปที่อื่นตอ” นายทหารหนุมในคายอีกคนหนึ่ง คือ รอยโทฟุส เปนคนประเภทนาเบื่อ พวกโงแลวขยัน เวลาประชุม หนวยถาไดพูดแลวมักเมาน้ําลายไมยอมหยุด ไมไดเรื่องไดราว ทานนายพลแสนเบื่อ เวลาผูหมวดฟุสขอเขาพบ เพื่อเสนอโครงการอะไร ทานนายพลมักพยายามเลี่ยง อางวาไมวางบาง ติดประชุมบาง บางครั้งถึงขนาด หลบซอนอยูใตโตะทํางาน ผูหมวดฟุสเปนไมเบื่อไมเมากับหมูสนอรเกล เพราะเกาอี้ของสนอรเกลเวลาขยับตัวจะลั่นดัง ออดแอด ทําใหผูหมวดฟุสรําคาญจนเถียงกันบอยๆ ยังไมทันกลาวถึงประวัติของมอรต วอลกเกอร เรื่องก็ชักยาวแลว ขอยกไปเลมหนาละกัน ขอตบทายดวยคอมิกสตริป บีเติ้ล ไบเลย สักสามสี่สตริป คุณอาจติดใจจนตองไปหาอานทุกวันก็ได

ภาพที่ ๑ ภาพที่ ๒

หมูสนอรเกล “เมื่อเชารถจิ๊บนี่มีเสียงแปลกๆ” ชาง “ชวยเคลื่อนเขาไปในอูซิ” ชาง “อือม, คงจะเปนเรื่องไมมาก” หมูสนอรเกล “ออ, งั้นเรอะ, แกเคยพยายามปลุกบีเติ้ลมั้ย?”


ภาพที่ ๑ ภาพที่ ๒

มิสบิ๊กสลีย “แยจริง, คอมพฉันโดนไวรัส” “เธอชวยซอมทีไดไหม, ซีโร” ซีโร “พูด อาห ซิ”

ภาพที่ ๑

บีเติ้ล “ซีโร, นั่นแกจะไปไหน?” ซีโร “ถึงเวลารีดนมแมโคแลว” บีเติ้ล “ตื่นซะที, แกไมไดอยูในฟารมของแกแลว, แกอยูในกองทัพ” ซีโร “หมายความวาแมโคของฉันเขามาอยูในกองทัพหรือ?”

ภาพที่ ๒

ภาพที่ ๑ ภาพที่ ๒

บีเติ้ล “อันสุดทายนั่นเอาไวเพื่ออะไร?” กุก “เพื่อกรณีที่ฉันปรุงอาหารไดยิ่งใหญไง”


นวีร “อะไรเอย ขางในน้าํ ใส ออนใน แข็งนอก” เสี ย งหลานชายของผู เ ขี ย นถามเสี ย งดั ง ขณะที่ ผู เ ขี ย นพาเพื่ อ นต า งชาติ นั่ ง รั บ ประทาน เนื้อมะพราวของโปรดของเขา หลังจากดื่มน้ํามะพราว แลวอยูใตตนมะพราว ในบริเวณบานของผูเขียน “ก็ ผ ลมะพร า วน ะ สิ ” ผู เ ขี ย นตอบขํ า ๆ เพราะปริ ศ นาเช น นี้ คนวั ย ๕๐ ป ขึ้ น ไปคุ น เคยดี และก็ทําใหคิดไดวา ควรเขียนถึงสํานวนเกี่ยวกับ มะพราวบาง เพราะมะพราวเปนพืชวัฒนธรรมไทย อย า งแท จ ริ ง สามารถนํ า แทบทุ ก ส ว นของต น มา ใชประโยชนในวิถีชีวิตไทยไดตั้งแตเกิดจนตาย เปน ไมมงคลของไทย ใชทายปริศนา และใชเปนคําใน สํานวนไทยไดหลายสํานวน แมสํานวนบางสํานวน จะไม มี คํ า ว า มะพร า ว แต ก็ มี คํ า ที่ เ ป น ส ว นของ มะพราว ดังนี้ มะพราวตื่นดก หมายความวา เหอ หรือ ตื่ น เต น ในสิ่ ง ที่ ต นไม เ คยได ไ ม เ คยมี จนเกิ ด ผลดี มักพูดเขาคูกับยาจกตื่ นมี เป น มะพราวตื่นดก ยาจกตื่นมี อธิบายเพิ่มเติมไดวา ฟุงซานในยศศักดิ์ หรือความมั่งมี เนื่องจากไมเคยไดพบหรือไมเคยมี

มากอน แลวมาพบมามีขึ้น ก็ลืมตัวตื่นตัวเอง แสดง อะไรต อ มิ อ ะไรออกมาเป น การโอ อ วดให ค นเห็ น สํานวนนี้เอามะพราวมาเปรียบ คือมะพราวเมื่อเริ่ม ออกผลเปนครั้งแรก มักจะมีผลสะพรั่งเต็มตน ในบทความของอัศวพาหุ มีกลาวถึงสํานวนนี้ วา “มะพราวตื่นดก เปนคําที่โบราณทานเปรียบขี้ขา ที่ ไ ด ดี ขึ้ น แล ว กํ า เริ บ จนเกิ น เหตุ ” และในเรื่ อ ง ปลอยแก บทละครพูดพระราชนิพนธรัชกาลที่ ๖ ก็มีความวา “สัญชาติอายขี้ขา พอเอ็นดูเขาหนอยละ กําเริบ ไมรูที่สูงที่ต่ํา พอแมไมสั่งสอน อายมะพราว ตื่นดก ยาจกตื่นมี” สวนในโคลงกระทูสุภาษิต กลาวถึงสํานวนนี้ ดังนี้ มะพราว หมากชุมชื้น นองชล ตื่นดก ดอกออกผล เพียบพื้น ยาจก ที่แสนจน รับแจก ทานแฮ ตื่นมี ดีใจลื้น โลดเตนตามกัน อนึ่ ง หลายๆ ชาติ มี สํ า นวนทํ า นองนี้ เหมือนกัน เชน รัสเซียวา ขึ้นไปนั่งบนหลังมาแลว ไมรูจักพอของตัวเอง ฮอลันดาวา ใหยาจกขี่มา


จะห อตะบึง ฝรั่ งเศสว า ไมมีอะไรหยิ่ ง เหมือ น ยาจกมั่ ง มี อิ ต าลี ว า ยาจกมี ว าสนาขึ้ น แล ว ไมรูจักญาติพี่นอง สเปนวา ชาวบานนอกขึ้นไป นั่งบนหลังลา แลวก็ลืมโลกหรือพระเจา อังกฤษวา ใหยาจกขี่มาแลวจะหอทันที เยอรมันวา ใหยาจก ขี่มาควบเปนบาเปนหลัง แอฟริกาวา ทาสเปน อิสระขึ้นเมื่อไร จะคิดวาตัวเปนผูดี แขกมัวรวา คนจนมั่งมีขึ้น จะเห็นดาวเวลาเที่ยง เปนตน เอามะพราวหาวไปขายสวน(มะพราวหาว ขายสวน) หมายความวา แสดงความรูหรืออวดรูกับ ผูที่รูเรื่องดีกวา หรือเอาสิ่งของหรืออะไรก็ตามมา แสดงตอผูที่มีความรูความชํานาญในสิ่งนั้น หรือมี สิ่งนั้นเปนที่ลือชาปรากฏอยูแลว เปนการกระทําที่ โงเขลาเบาปญญา เซอเซอะไมรูจักอะไรทํานองนั้น เพราะธรรมดาสวนก็ตองมีมะพราวอยูแลว ยังจะ เอามะพราวไปขายสวน ชาวสวนย อมไมย อมซื้อ สํานวนนี้มีพูดติดตอกันอีกคือ เอามะพราวหาวไป ขายสวน เอาแปงนวลไปขายชาววัง เอานาฬิเก ไปขายเกาะลังกา(นาฬิเก คือชื่อมะพราวพันธุหนึ่ง ผลเล็ก สีเหลืองหรือสม น้ําหอมหวาน) ในสุภาษิต สอนเด็กมีกลาววา อยาเอาภัยในพนมขมราชสีห เอาวารีขูใหมังกรหยอน เอามะพราวไปขายสวนไมควรจร เอาบทกลอนอวดกวีเปนที่อาย สวนในโคลงกระทูสุภาษิตเกา มีกลาววา พราวหาว ชาวอื่นได ใจเบา ขายสวน ชาวสวนเขา บซื้อ แปงนวล พวกนอกเอา อวดวา เอกเอย ขายวัง วังมีอื้อ จักซื้อฤาพอ

อนึ่ ง หลายๆ ชาติ ก็ มี สํ า นวนทํ า นองนี้ เหมื อ นกั น เช น อั ง กฤษว า เอาถ า นหิ น ไปขาย เมื อ งนิ ว คาสเซิ ล (เมื อ งนิ ว คาสเซิ ล ในอั ง กฤษ เปนเมืองถานหิน) แขกวา เอาดาบไปขายเมือง ดามัสคัส(เมืองดามัสคัสเปนเมืองดาบยอดเยี่ยม ที่สุด) มะพร าวห าวยั ดปาก หมายความถึ งการ ลงโทษตอผูกาวราวลวงเกิน หมิ่นประมาทผูอื่น ผูใด ที่พูดกาวราวลวงเกินหมิ่นประมาทผูอื่น จึงอาจเปน ภัยแกตนเองได โดย “โดนมะพราวหาวยัดปาก” ในกฎหมายลั ก ษณะอาญาหลวงแผน ดิน พระเจา อูทอง ปรากฏมาตราหนึ่ง ดังนี้ “มาตราหนึ่ง ผูใด ใจโลภนั ก มั ก ใหญ ใ ฝ สู ง ให เ กิ น ศั ก ดิ์. ..แลถอ ยคํ า มิควรเจรจา เอามาเจรจาเขาในระวางราชาศัพท... ท า นว า ผู นั้น ทนงองอาจ ท า นใหล งโทษ ๘ สฐาน สฐานหนึ่ ง ให ฟ น คอริ บ เรื อ น สฐานหนึ่ ง ให เ อา มะพราวหาวยัดปาก...” โทษมะพราวหาวยัดปาก คือนํามะพราวหาว มาปอกเปลือกใหเกลี้ยงเกลา ใหกลม แลวจึงยัดเขาไปในปาก (ขอความในคําพูด เขียนตามอักขรวิธีเดิม) กรวดน้ําคว่ํากะลา หมายความวา ตัดขาด ไมคบหาสมาคม สํานวนนี้มาจากกะลาซึ่งถือเปน ของต่ํา เมื่อเกิดความไมพอใจ จึงนํากะลามาใชพูด เปรียบ อาจมีการพูดเพี้ยนเปน ตรวจน้ําคว่ํากะลา หรือตรวจน้ําคว่ํากะโหลก กรวดน้ําคว่ําขัน หรือ กรวดน้ําคว่ําคะนน(คะนน คือหมอดินขนาดใหญ มีขีดเปนรอยโดยรอบ สําหรับใสน้ํา) ในบทละครเรื่องขุนชางขุนแผน ฉบับกรม พระราชวังบวร มีวา


“จึงวาแกสายทองจองจาน ลางตะพานบานเรือนเอาตีนสี ไดตรวจน้ําคว่ํากะลากันวันนี้ อันจะกลับคืนดีอยาสงกา” อันที่จริง กรวดน้ํา หรือตรวจน้ํา หมายถึง วิธีแผสวนกุศล ซึ่งเราเขาใจกันดี แตกรวดน้ํา ตาม สํานวนนี้มิไดหมายความเชนนั้น หากเปนวิธีปฏิบัติ อยางหนึ่ง คือรินน้ําจากภาชนะลงไปที่ใดที่หนึ่งดวย ความตั้งใจอยางใดอยางหนึ่ง ใหเห็นประจักษวา เปน การทํา อยา งตั้ ง ใจจริง ๆ ส ว นคว่ํา กะลา เปน สํ า นวนที่ มี ค วามหมายเดี ย วกั บ คว่ํ า บาตร คื อ ไม ค บหาสมาคมด ว ย คํ า ว า คว่ํ า นั้ น หมายถึ ง อาการที่ แ สดงออกมาด ว ยความไม พ อใจ เช น หนาคว่ํา ถาพระสงฆคว่ําบาตรไมรับของที่ใสบาตร ก็เทากับผูที่จะใสบาตรนั้นไมไดบุญรวมดวย คําวา คว่ํากะลา นั้น มุง ถึง กะลาอัน เป นภาชนะที่ใชใส กรวดน้ํา นอกจากเปนของต่ําแลวยังคว่ําเสียดวย เป น การแสดงว า เป น เด็ ด ขาดจากกั น ในเชิ ง ดู ถู ก ดูห มิ่น อยา งมาก สํ า นวนกรวดน้ําคว่ํากะลา จึง เปนสํานวนที่หมายถึง การตัดขาด ไมคบหาสมาคม แฝงไวดวยความรังเกียจและดูหมิ่น คางคกใต ก ะลาครอบ หมายความว า คนที่ ไ ม มี ค วามรู อ ะไรเลย หรื อ รู เ ล็ ก ๆ น อ ยๆ แต แสดงภูมิวามีความรูมาก เปรียบเหมือนคางคกที่อยู ใตกะลาครอบ ก็รูเห็นเพียงในวงกะลาครอบเทานั้น ไมรูวาขางนอกกะลาออกไปเปนอยางไรบาง เนน ความหมายวา โงดักดาน อัศวพาหุ ทรงพระราชนิพนธ เปนความเกี่ยวกับเรื่องนี้วา “ขาพเจาไมยอมแปลง ความเห็ น ของข า พเจ า มากลั บ ติ ด ตามคางคกใน ใตกะลาครอบนั้นไดเลย”

ปจจุบัน สํานวนนี้เราไมคุน จะคุนกับสํานวน กบในกะลาครอบ หรือกบในกะลา มากกวา สํานวน นี้ มีความหมายเดียวกับ คางคกใต กะลาครอบ ในโคลงโลกนิ ติ ฉ บั บ สมเด็ จ พระเจ า บรมวงศ เ ธอ กรมพระยาเดชาดิศร มีกลาวไววา รูนอยวามากรู เริงใจ กลกบเกิดอยูใน สระจอย ไปเปนชเลไกล กลางสมุทร ชมวาน้ําบอนอย มากล้ําลึกเหลือ เมื่อมีรายการโทรทัศน กบนอกกะลา ทาง สถานีโทรทัศนโมเดิรนไนน ผูที่เขาใจสํานวน กบใน กะลา จึงเขาใจความหมายของกบนอกกะลาไดดี เคาะกะลามาเกิ ด หมายถึ ง เลวทราม ต่ําชา สํานวนนี้มาจากการที่คนโบราณเรียกหมา มากินอาหาร โดยเคาะกะลาเปนสัญญาณใหหมารู และก็ใสอาหารไวในกะลาใหหมากิน การเคาะกะลา เรียกหมาแลวหมามา จึงเอามาเปรียบกับสิ่งมีชีวิตที่ เลวทรามต่ําชามาเกิด จึงเกิดเปนสํานวนวา เคาะ กะลามาเกิด ซึ่งแปลตรงๆ วา หมามาเกิด นั่นเอง อนึ่ง มีสํานวนทํานองนี้อีกสํานวนหนึ่ง คือ เคาะกะลาใหหมาดีใ จ หมายถึง ทําท าวาจะให สิ่ ง หนึ่ ง สิ่ ง ใดแก ผู ใ ดแล ว ไม ใ ห เปรี ย บเหมื อ น เคาะกะลาใหสัญญาณแกหมาใหรูวาถึงเวลาที่จะ ไดกินอาหารแลว หมาดีใจวาจะไดกินอาหารแน แต พอมาถึงกลับเห็นแตกะลาเปลา จึงดีใจเกอ ตักน้ําใสกะโหลกชะโงกดูเงา หมายความวา ให รู จั ก ฐานะของตนและเจี ย มตั ว ไม ใ ห มุ ง หมาย ในสิ่งที่เกินตน สํานวนนี้ บางทีมีคําวา ไม นําหนา หมายความวา ไมดูตัวของตัวเอง คือไมเจียมตัว


ลิ้นกะลาวน หมายความวา พูดโกหก ตอแหล กลั บ กลอก วกวนเป น ชั้ น เชิ ง ไปมา พู ด ยอกย อ น อยางนั้น อยางนี้ จั บไมได ไล ไมทันสักที สํา นวนนี้ มาจากกะลาซึ่ ง เมื่ อ ผ า ส ว นแข็ ง ที่ หุ ม มะพร า ว ออกเปนสองซีก ซีกที่มีตาเรียกกะลาตัวผู สวนซีก ที่ตันเรียกวากะลาตัวเมีย กะลาตัวเมียนี้จะใชทํา ภาชนะต า งๆ ได โดยขั ด ด ว ยกระดาษทรายให เกลี้ยงเปนมัน สวนกนกะลาจะโคงมน หมุนไปได จึงเรียกวากะลาวน สํานวนนี้บางทีก็เติมคําวา รอย เขาไป เปน รอยลิ้นกะลาวน ในวรรณกรรมคําสอน เรื่องศรีสวัสดิวัตร มีกลาวถึงสํานวนลิ้นกะลาวน ไววา “แมวาปญญาดี รูวิธีในโรงศาล คิดแตวิสัยพาล เปนมารยาพิรากล เบียดเบียนลูกความกิน พูดปลอก ปลิ้นลิ้นกะลาวน ลอนลอนพอเลี้ยงตน เห็นแตผล ปจจุบัน” นอกจากนี้ ยังมีสํานวนอีกสํานวนหนึ่ง ซึ่ง แมวาไมมีคําวามะพราว หรือกะโหลก หรือกะลา แตที่มาของสํานวนนั้นมีมะพราวเกี่ยวของอยูดวย คื อ สํ า นวนว า ฝ ง รกฝ ง ราก ซึ่ ง หมายความว า ธรรมชาติ

ตั้งหลักแหลงอยูที่ใดที่หนึ่งเปนการถาวร สํานวนนี้ มาจากพิธีฝงรกที่ตัดออกจากสายสะดือของทารก ในสมัยโบราณ คือเมื่อทารกคลอดแลว บิดามารดา จะเอารกของทารกนั้นใสหมอตาลไว เอาเกลือโรย ปดหน า ไว ๓ วั น ก็ทํา พิธีฝง รวมกับของที่ จะรว ม เขาพิธีฝง มีมะพราวงอก ๒ ผล นําไปฝง ณ บริเวณ บาน ที่ดินที่ฝงรกกับมะพราวนั้น เปนที่ที่บิดามารดา กะไวจะใหเปนของบุตรสืบไป หรือเมื่อบุตรจะแตงงาน ก็ใชเปนที่ปลูกเรือนหอก็ได ตรงที่ฝงรกมีตนมะพราว ขึ้นนั้น ก็ไดเปนที่ตั้งตัวเปนหลักแหลงสืบไป ฝงรก ก็ คื อ ฝ ง รกตรงๆ ฝ ง ราก คื อ ฝ ง หรื อ ปลู ก มะพร า ว งอกแทงหนองอกรากติดดินเปนที่ยึดมั่น นั่นเอง สั ง เ ก ตไ ด ว า สํ า น ว น ไท ย ดั ง ก ล า ว ที่ บรรพบุ รุ ษ ไทยคิ ด ขึ้ น มานั้ น ล ว นมี ค วามหมาย นาสนใจ พูดนอยไดความมาก เขาใจงาย และรับรู ไดทั่วไป แสดงใหเห็นวามะพราวมีความสําคัญและ สัมพันธกับสังคมและวัฒนธรรมไทยมาชานาน จึงมี อยูในสํานวนไทยและสํานวนดังกลาวแลว

เก็ บ ความจากหนั ง สื อ สํ า นวนไทย ของขุ น วิ จิ ต รมาตรา(สง่ า กาญจนาคพั น ธุ์ ) และ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒


ครูภาษา สวัสดีคะ วันนี้คนควาขอมูลจากอินเทอรเน็ตและพบเรื่อง “ภาษาอังกฤษสําหรับคนเดินถนน” เห็นวานาจะเปนประโยชนสําหรับทานผูอานขาวทหารอากาศ อานสนุกแลวไดความรูดวย ลองอานดูนะคะ กรุงเทพฯ เปนเมืองที่มีการจราจรคับคั่งมากที่สุดแหงหนึ่งในโลก หากจะเดินทางไปไหนมาไหน ถาไมไกลนัก การเดินเทาก็ดูจะเหมาะที่สุด ซึ่งถาเราตองเดินเทาเมื่อไหร ก็ขอแนะนําใหลองฝกภาษาอังกฤษ จากสิ่งที่อยูรอบๆ ตัวเรากันดู ก็จะเปนอีกหนทางหนึ่งที่จะชวยเพิ่มพูนคําศัพทภาษาอังกฤษนั้นใหแกเรา ไดเชนกัน กอนอื่น เราจะตองรูคําศัพทที่เกี่ยวของกับตัวเรากอน เริ่มจากคําวา - คนเดินถนน หรือ คนเดินเทา ภาษาอังกฤษใชคําวา “Pedestrian” - ถาเห็นปายเขียนบอกวา “No Pedestrian Access” หมายถึง หามคนเดินเทาผาน - ถาปายเขียนวา “No Pedestrian Crossing” หมายถึง หามเดินขามถนน ณ จุดนั้น - ทางขามถนน หรือทางมาลาย ภาษาอังกฤษใชคําวา Crosswalk เวลาใครเห็นชาวตางชาติกําลัง จะขามถนนในที่ที่ไมควรขามในบานเรา ก็อาจไปเตือนเขาได โดยบอกวา “Excuse me, there is no crossing here. Please use the crosswalk.” นอกจากการเดิ น ข า มถนนโดยใช ท างข า มถนนหรื อ ทางม า ลายแล ว ยั ง มี ก ารใช ส ะพานลอย ในการขามถนนอีกดวย ซึ่งภาษาอังกฤษจะใชคําวา “Overpass” แตในประเทศอังกฤษ หรือในประเทศ สหรัฐอเมริกาจะไมคอยเห็นสะพานลอยมากนัก แตจะเปนทางเดินลอดใตถนนมากกวา เรียกวา “Subway” (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน หมายถึง รถไฟใตดิน และภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ รถไฟใตดิน ใช underground


หรือ tube) สวนทางเทาริมถนน ภาษาอังกฤษเรียกวา Footpath ซึ่งภาษาไทยเรา ก็ทับศัพทเปนฟุตปาท หรือเรียกวา Pavement ก็ไดเชนกัน การบอกทางในบานเราเปนภาษาอังกฤษ คอนขางยาก เพราะการวางผังเมือง (City plan) ของ บานเราแตกตางจากผังเมืองในประเทศเจาของภาษา การจะบอกทางใหกับชาวตางชาติวา walk for two blocks (เดินไปสองชวงตึก) ในบานเรา ตางจากการพูดอยางเดียวกันในภาษาอังกฤษ เพราะในประเทศ อังกฤษชวงตึกของประเทศเขาเปน block เทาๆ กัน สวนในบานเราชวงตึกจะเห็นไมชัดเจน ดังนั้นจึงเขาใจยาก หากจะใชชวงตึกเปนเกณฑในการบอกทาง สิ่งที่ดูจะมีระยะพอๆ กันในบานเรา ดูเหมือนจะเปนปายรถเมล (Bus stop) ดังนั้น walk for two bus stops (เดินไปอีกสองปาย) นาจะเขาใจไดงายกวา ชื่อถนนเมื่ออาน จากปายชื่อถนนที่เขียนเปนภาษาอังกฤษในกรุงเทพฯ มีใชอยูสองคํา คือ street กับ road ซึ่งในภาษา อังกฤษ มีความหมายแตกตางกัน ดังนี้ คือ - Street หมายถึง ถนนในเมือง หรือ ในหมูบาน มักจะมีแยกมากมาย แยกออกเปนซอย และมักมี รานคาอยูทั้งสองฝง - Road โดยปกติ หมายถึง ทางที่ออกไปนอกเมือง (ชนบท) หรือ ออกจากหมูบานไปสูที่อื่นๆ หรือ จากเมืองหนึ่งไปอีกเมืองหนึ่ง (เชื่อมระหวางเมือง) แตบานเราก็ใช street กับ road ปนกัน - Avenue ก็หมายถึง ถนน เชนเดียวกันแตเปนถนนใหญและกวาง ในประเทศไทยใช avenue กับ ถนนราชดําเนิน (Ratchadamnoen Avenue) เทานั้น บานเราก็จะใชคําวา Road มากกวา เชน Sukhumvit Road , Silom Road เปนตน ถนนเล็กๆ ก็มีเรียกกัน อีกหลายคําเชนกัน เชน ตรอก เรียกวา Alley ซึ่งบานเรามักจะใชคําวา Soi และฝรั่งก็เขาใจดี คิดวาอีกไมนาน คํานี้คงจะถูกบรรจุใน dictionary 8 เรามาเริ่มกันที่คําที่ใชในการบอกทางกันเลยนะคะ โดยเริ่มจาก - Walk straight. (เดินตรงไป) - Turn left. (เลี้ยวซาย) - Turn right. (เลี้ยวขวา) - Walk till the end of this road. (เดินไปจนสุดถนนสายนี้) - Walk back on the same route. (เดินกลับไปทางเดิม) - Walk on the left. (เดินชิดซาย) - Walk on the right. (เดินชิดขวา) - Walk fast. (เดินเร็ว ๆ) - Walk slowly (เดินชา ๆ)


- เดินแบบออยอิ่งมาก ในภาษาอังกฤษใชคําวา Stroll เชน stroll along the road (เดินทอดนองไป ตามถนน) Stroll along the beach (เดินทอดนองไปตามชายหาด) 8 สิ่ ง ที่จ ะช ว ยใหเ ราเรี ย นหรื อ ทบทวนภาษาอั ง กฤษไดอีก อย า งหนึ่ง ก็คื อ บรรดาป า ยจราจร (Traffic Signs) ที่มีอยูตามทองถนน เชน - ปายรถเมล (Bus stop) - ที่จอดรถแท็กซี่ (Taxi stand) - ปายใหทาง เรียกอยางตรงตัวเลยวา Give way - ปายหามจอด (No Parking) ในประเทศอังกฤษและประเทศออสเตรเลียใช No Standing - สัญญาณไฟจราจร (Traffic light) - ปายหามรถบรรทุก (No truck allowed) นอกจากปายจราจรแลว ยังมีบรรดาปายโฆษณา (Billboard) ตางๆ ที่เราสามารถใชเปนสื่อในการ เรียนรูภาษาอังกฤษระหวางเดินทางบนทองถนนไดอีกดวย หากใครเจอขอความหรือคําศัพทดีๆ ก็อาจจําไว ใชในโอกาสตอไปไดดวย การเรียนรูสามารถทําไดทุกที่และทุกเวลา ขึ้นอยูกับวาเราจะใสใจมากนอยเพียงใด ใครมีโอกาสเดินทางไปที่ใดๆ ก็ตาม อยาลืมเรียนรูภาษาอังกฤษจากสิ่ง รอบๆ ตัวเรานะคะ ขอนําปา ย สัญลักษณจราจรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (Traffic signs) ใหไวศึกษา เผื่อทานผูอานมีโอกาสเดินทาง ไปสถานที่ตางๆ จะไดเขาใจสัญลักษณและความหมายที่ใช ซึ่งสัญลักษณปายเหลานี้ไมวาทานจะเดินทาง ไปที่ใดๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศก็มีใชโดยทั่วไป ปายสัญลักษณจราจรภาษาไทย ปายสัญลักษณจราจรภาษาอังกฤษ Traffic signs

Air port สนามบิน

Bar เครื่องดื่ม

Caution Cliff Ahead ระวังหน้าผาข้างหน้า

Caution Deer Crossing ระวัง (กวาง) เดินข้ามถนน

Bike Lane ทางรถจักรยาน

Caution Poison ระวังสารพิษ

Car Rental รถเช่า

Caution Radiation Area ระวังสารกัมมันตรังสี


Coffee Shop ร้านกาแฟ

Danger High Voltage ระวังไฟฟ้าแรงสูง

Dangerous Bend อันตรายทางโค้งหักศอก

Dual Carriage Way End สิ้นสุดทางคู่

Dual Carriage Way Ahead เริ่มต้นทางคู่

End of Restriction สุดเขตจํากัดความเร็ว

End of Road สุดทาง

Food Services ภัตตาคาร/ร้านอาหาร

Junction Ahead ทางแยกข้างหน้า

Junction Ahead ทางแยกข้างหน้า

Lanes Merging Left ทางร่วมข้างหน้า (ด้านซ้าย)

Left Turn Split ทางแยกด้านซ้ายข้างหน้า

Left Winding Road ทางคดด้านซ้าย

Narrow Bridge สะพานแคบ

Narrow Road ทาง / ถนนแคบลง

Motorcycles & Autos Prohibited ห้ามรถมอเตอร์ไซค์ และ รถยนต์ผ่าน

Turn Left ให้เลี้ยวซ้าย

Turn Right ให้เลี้ยวขวา

Two Way Traffic เดินรถสวนทางกัน

Weight Limitation จํากัดน้ําหนักบรรทุก


No Audible ห้ามใช้เสียง / กดแตร

No Bikes ห้ามรถจักรยาน

No Passing ห้ามแซง

No Pedestrians ห้ามเดินข้าม

No Turn Right ห้ามเลี้ยวขวา

No U – Turn ห้ามกลับรถ

One Way Traffic เดินรถทางเดียว

One Way ให้เดินรถทางเดียว

Pedestrian Crossing ทางคนเดินข้าม

Railway Crossing Without Gate ทางรถไฟข้างหน้า (ไม่มีเครื่องกั้น)

Right Turn Split ทางแยกด้านขวาข้างหน้า

Right Winding Road ทางคดทางขวา

Speed Limited (90km/ h) จํากัดความเร็ว ไม่เกิน 90 กม./ ชม.

Steep Hill Ascent ทางขึ้นลาดชัน

Signal Ahead สัญญาณไฟข้างหน้า

Slippery Road ระวังถนนลื่น

No Entry ห้ามเข้า

No Standing and Parking ห้ามหยุดและห้ามจอด

No Parking ห้ามจอดรถ

No Turn Left ห้ามเลี้ยวซ้าย


Steep Hill Descent ทางลงลาดชัน

Trucks Prohibited ห้ามรถบรรทุกเข้า

Stop ให้หยุดรถ

Telephone โทรศัพท์

Roundabout Ahead วงเวียนข้างหน้า

Services Station สถานีบริการน้ํามัน

Taxi / Bus แท๊กซี่ / รถเมล์

Width Limitation จํากัดความกว้าง

อ้างอิงจาก : - http://www.adecco.co.th/employers/adecco-leisure-article-detail - http://www.ielts.in.th/Articles - http://www.9bkk.com/traffic_signs.html ÌÌÌÌÌÌÌÌÌÌÌÌÌ

พบเห็นเจ้าหน้าที่ของ ทอ. ทุจริต หรือ ประพฤติมิชอบ แจ้งเรา

เว็บไซต์ “รับเรือ่ งร้องทุกข์/ร้องเรียน กองทัพอากาศ” (www.comm.rtaf.mi.th/complaint) หรือทางไปรษณีย์ สํานักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศ (ผอ.กตส.๒ สตน.ทอ.) แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐


Runy ขอแก้ไขข้อความผิดพลาด ขอแก้ไข “Test Tip 11 ฉบับเดือนมิถุนายน ๒๕๕๔ หน้า ๘๒” Her little daughter has been playing since noon. (ลูกสาวของเธอเล่นมาตั้งแต่เที่ยง) ประโยคนี้เรียกว่า Present Perfect Continuous Tense หรือ Present Perfect Progressive Tense มีโครงสร้าง ดังนี้ ประธาน + have / has + been + Verb 3 (past participle) แก้ไขเป็น ประธาน + have / has + been + Verb ing ศูนย์ภาษาฯ ขออภัยในข้อผิดพลาดมา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ” สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านข่าวทหารอากาศทุกท่าน ต่อไปนี้ เราจะมาพบกันทุกเดือนนะคะ เพื่ อเป็นการ แบ่งปันความรู้ภาษาอังกฤษให้กับข้าราชการกองทัพอากาศ และเพื่อเป็นการทบทวนความรู้ภาษาอังกฤษ ตลอดจนเป็นแนวทางในการเตรียมตัวเข้ารับการทดสอบภาษาอังกฤษต่อไป เชิญติดตามได้เลยค่ะ 1. Mabel’s garden is _____ her sister’s. a. prettier b. the prettiest c. prettier than d. as pretty 2. Bill must have a copy of the orders before he leaves. a. He can leave without the orders. b. He could leave without them. c. He may want some orders. d. He has to have orders. 3. The lady held the door open and asked the man _____ the package into the house. a. carry b. to carry c. carries d. carried


4. Don’t you think you should stay home ____ tonight? a. study b. to study c. will study d. studied 5. I like _______. a. to have read c. reading

b. to reading d. have reading

เมื่อทําแบบฝึกหัดครบสิบข้อแล้ว เชิญตรวจคําตอบและอ่านคําอธิบายเพิ่มเติมได้เลยค่ะ 1. Mabel’s garden is _____ her sister’s. (สวนของมาเบลสวยกว่าสวนของน้องสาว) a. prettier b. the prettiest c. prettier than d. as pretty คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ c. prettier than คําอธิบายเพิ่มเติม การเปรียบเทียบขั้นกว่า (Comparative Degree) เป็นการเปรียบเทียบระหว่าง คนสองคน สิ่งของสองสิ่ง การเปรียบเทียบขั้นนี้ ทําได้โดยการเติม – er ที่ท้ายคําคุณศัพท์ (adjective) ที่มี พยางค์เดียว หรือมีสองพยางค์บางคํา และเติม more ที่หน้าคําคุณศัพท์ (adjective) ที่มีสองพยางค์บางคํา และที่มีสามพยางค์ขึ้นไปทุกคํา เช่น Tom is younger than John. (ทอมหนุ่มกว่าจอห์น) This mango is sweeter than that one. (มะม่วงผลนี้หวานกว่าผลนั้น) Susan is more beautiful than Mary. (ซูซานสวยกว่าแมรี่) That bag is more expensive than that one. (กระเป๋าใบนี้แพงกว่ากระเป๋าใบนั้น) 2. Bill must have a copy of the orders before he leaves. (บิลต้องมีสําเนาคําสั่งติดตัวไปด้วย ก่อนจากไป) a. He can leave without the orders. (เขาไปได้โดยไม่ต้องมีคําสั่ง) b. He could leave without them. (เขาไปได้โดยไม่ต้องมีคําสั่ง) c. He may want some orders. (เขาอาจจะต้องการคําสั่ง) d. He has to have orders. (เขาต้องมีคําสั่ง) คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ d. He has to have orders. (เขาต้องมีคําสั่ง) 3. The lady held the door open and asked the man _____ the package into the house. (สุภาพสตรีเปิดประตูค้างไว้และขอให้ผู้ชายถือห่อของเข้ามาในบ้าน) a. carry b. to carry c. carries d. carried คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ b. to carry


ask เป็นคํากริยาที่ต้องการกรรมมารับ และตามด้วย to + Verb 1 ไม่เปลี่ยนรูป เช่น Mr. Lee told me to be here at ten o’clock. (คุณลีบอกฉันให้อยู่ที่นี่ตอนสิบนาฬิกา) The police ordered the driver to stop. (ตํารวจสั่งให้คนขับรถหยุด) 4. Don’t you think you should stay home ____ tonight? (คุณไม่คิดว่าคุณควรอยู่บ้านคืนนี้เพื่อ ทบทวนบทเรียนหรือ) a. study b. to study c. will study d. studied คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ b. to study ใช้ to + verb 1 เพื่อแสดงจุดประสงค์ เช่น He came here to study English. (เขามาที่นี่เพื่อเรียนภาษาอังกฤษ) I went to the store to buy some bread. (ฉันไปร้านค้าเพื่อซื้อขนมปัง) 5. I like _______. a. to have read c. reading คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ c. reading

b. to reading d. have reading

คํากริยา like ตามด้วย verb 1 หรือ Verb+ing ก็ได้ เช่น I like reading. หรือ I like to read. นอกจากนี้ยังมีคํากริยาอื่น ๆ ที่มีการใช้เหมือน like เช่น begin, start, love, hate เป็นต้น เช่น It began to rain. หรือ It began raining. (ฝนเริ่มตก) I started to work. หรือ I started working. (ฉันเริ่มทํางาน) หลังจากที่ได้ลองทําแบบทดสอบ ตรวจคําตอบและอ่านคําอธิบายเพิ่มเติมแล้ว ท่านผู้อ่านคงจะได้รับ ความรู้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น หรืออย่างน้อยที่สุดก็ถือว่าเป็นโอกาสที่ได้ทบทวนความรู้ความเข้าใจภาษาอังกฤษ เพื่อ เป็นแนวทางในการพัฒนาความรู้ภาษาอังกฤษด้วยตนเอง ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความในคอลัมน์ Test Tip จะเป็นประโยชน์ต่อข้าราชการกองทัพอากาศ ติดตามคอลัมน์นี้ได้ในฉบับหน้านะคะ สวัสดีค่ะ ☺


มิสกรีน BEETLE BAILEY

ภาพ 1 ภาพ 2 -

เมื่อคืนแกกับคุณบักซ์ลียท์ าํ อะไรกันเหรอ ? ไม่มีอะไรมากหรอก เราดูทีวี กินของว่าง และคุยกันน่ะ รู้หรอกน่า อย่ามาเล่าอะไรอย่างนั้นสิ... ถ้าแกไม่ได้ทาํ อะไรที่น่าสนใจ ก็แต่งเรื่องขึ้นมาให้สนุกหน่อยซี !

What did you and Miss Buxley do last night ?

nothing (pron.)

snacks (n.)

- ประโยคคําถามของ past simple tense มีสิ่งที่ต้องจําเสมอคือ ต้องใช้กริยาช่วย did และ กริยาแท้จะผันกลับไปเป็นกริยาช่องที่ 1 Ex. When did you return from Hua Hin? (คุณกลับจากหัวหินมาเมื่อไร ?) - ไม่มีอะไร (not anything, no thing) Ex. There is nothing in the box. (ไม่มีอะไรในกล่องนี้) และ nothing ยังหมายถึง สิ่งที่ไม่สําคัญ หรือ ไม่น่าสนใจ Ex. The meal was nothing special. (อาหารมื้อนั้นไม่มีอะไรพิเศษ) - อาหารว่าง / อาหารเบาๆ (food eaten between main meals) เช่น sandwich (แซนวิช), cookies, biscuits (คุ้กกี้), milk (นม), juice (น้ําผลไม้) หรือเครื่องดื่มน้ําหวานมีคาร์บอร์เนต (soda pop หรือ soda) ถ้าเป็นโซดาที่ดื่ม กับเหล้า จะเรียกว่า soda water และออกเสียงว่า “โซ้เดอะ”


come on

- เป็นสํานวนที่เป็นภาษาพูด ใช้เมื่อบอกให้ผู้อื่นเร่งรีบ หรือให้กล้าทําอะไร หรือ แสดงว่ารู้ทัน ซึ่งมักมีประโยคอื่นตามมาให้ชัดเจนขึ้นด้วย stuff (n.) - ในที่นี้ แปลว่า กิจกรรม(activities) ซึ่งไม่พูดตรงๆ ว่าอะไร to make something up หรือ make up something - เป็นสํานวน แปลว่า คิดแต่งเรื่องขึ้นมาใหม่ เพื่อ หลอกลวงหรือทําให้สนุก (to invent a new story in order to deceive or to entertain) THE BORN LOSER

ภาพ 1 - ฮัลโหล คุณพรีนเหรอฮะ นี่บรูตัสนะ ช่วยบอกหัวหน้าด้วยว่าผมไม่สบาย และวันนี้มาทํางานไม่ไหว ภาพ 2 - เป็นหวัดหรือไข้หวัดใหญ่คะ ภาพ 3 - ผมไม่สบายมากเลย ต้องเป็นทั้งสองอย่างแหละ chief (n.) - หัวหน้า และภาษาพูดที่ได้ยินบ่อยอีกคําคือ boss I won’t be able to - ประโยคย่อของ will not be able to เป็นกริยาใน future tense ของ cannot (can’t) ซึ่งปกติ to be able to ใช้แทน can ได้ เช่น He is able to write Chinese. หรือ He can write Chinese. (เขาสามารถเขียนภาษาจีนได้) cold (n.) - โรคหวัด มักใช้กับกริยา to have a cold หรือ to catch a cold และศัพท์ที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ sneez (จาม), ไอ (cough – ค่อฟ), to have a sore throat (เจ็บคอ) และ to have a fever (มีไข้) flu (n.) - คําเต็ม คือ influenza (ไข้หวัดใหญ่) ซึ่งมักมีอาการรุนแรงกว่าหวัดธรรมดา เช่น high fever หรือ high temperature (อาการไข้สูง), pains (ปวดเมื่อยร่างกาย) และ weakness (อ่อนเพลีย) must (modal v.) - เป็นกริยาช่วย แปลว่า ต้องทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง Ex. You must leave now. (คุณต้องออกไปเดี๋ยวนี้) แต่ในที่นี้ เป็นอีกความหมาย หนึ่ง คือ ใช้แสดงความแน่ใจว่าสิ่งนั้นเป็นความจริงหรือเป็นไปได้ Ex. There must be something wrong with the engine. (มันต้องมีอะไรผิดปกติที่เครื่องยนต์แน่เลย)


น.อ.วันชัย มาสุวรรณ กฎอั ย การศึ ก เป น กฎหมายที่ มี ค วาม สํ า คั ญ ต อ ความมั่ น คงแห ง ราชอาณาจั ก รและ เกี่ ย วกั บ ทหารโดยตรง กฎอั ย การศึ ก แม จ ะมี บทบัญญัติเพียง ๑๗ มาตรา แตก็มีรายละเอียดที่ เปนสาระสําคัญอยูมาก แตจะขอนํามากลาวเฉพาะ บางสวนบางตอนที่นาใหความสนใจเกี่ยวกับความ เปนมาของกฎอัยการศึก การประกาศใชกฎอัยการศึก ที่ผานมา และพื้นที่ทับซอน กฎอั ย การศึ ก ที่ เ ป น ที่ รู จั ก กั น ทุ ก วั น นี้ ถ า พูดคําวา “กฎอัยการศึก” แลว ในทางกฎหมาย จึ ง หมายถึ ง “พระราชบั ญ ญั ติ ก ฎอั ย การศึ ก พ.ศ.๒๔๕๗” เพราะพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ มาตรา ๑ บัญญัติวา “พระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗” และเมื่อตอง นําออกใชจะตองประกาศ ในถอยคําวา “ประกาศ ใหใชหรือประกาศใชกฎอัยการศึก” ¾ ความเปนมา ถายอนไปในประวัติศาสตร ของไทยแลว จะพบกฎหมายหรือพระราชศาสตร อยู ๒ ฉบับ ที่มีชื่อและเนื้อหาใกลเคียงกับกฎอัยการศึก ซึ่ ง ตราขึ้ น ในยุ ค อาณาจั ก รอยุ ธ ยา ฉบั บ แรก คื อ “พระอัยการกบฏศึก” ตราขึ้นในป พ.ศ.๑๙๗๘

ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ และแกไข ปรั บ ปรุ ง ในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระบรมไตรโลกนาถ ในป พ.ศ.๒๐๐๐ ที่บัญญัติความผิดเกี่ยวกั บการ คิดกบฏตอพระเจาอยูหัวหรือตอบานเมือง ความผิด ของทหารในเวลาสงคราม ความผิดของผูที่สงไป ปกครองหัวเมืองแลวกระดางกระเดื่อง ความผิดกอการ จลาจล เปนตน อีกฉบับหนึ่ง คือ กฎหมายลักษณะ อาญาศึก ที่ตราขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ในป พ.ศ.๒๐๓๗ กฎหมายทั้งสองฉบับ แมจะมีชื่อ และเนื้ อ หาใกล เ คี ย งกั บ กฎอั ย การศึ ก แต ก็ ไ ม ใ ช กฎหมายกฎอัยการศึกโดยตรง ต อ มาในยุ ค รั ต นโกสิ น ทร พระบาทสมเด็ จ พระจุ ลจอมเกลาเจ า อยูหัว ไดท รงมีพระบรมราช โองการ ความวา “การที่จะใหใชพระราชบัญญัติใหม แทนพระราชกําหนดกฎหมายตางๆ เพื่อปกครอง การยุติธรรมทหาร และพระราชบั ญญัติใหมนั้น มี ทั้ง ส ว นพิ เ ศษ ว า ด ว ยศาลทหารบก เพราะฉะนั้ น กอนที่จะเริ่มใชพระราชบัญญัติใหมนี้ สมควรตรา กฎอัยการศึก ขึ้นไว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให ต ราพระราชบั ญ ญั ติ กฎอั ย การศึ ก ร.ศ.๑๒๖ (พ.ศ.๒๔๕๐) ประกาศใชบังคับ เมื่อ ๑๐ ธันวาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๖ ตอมาในปรัตนโกสินทรศก ๑๓๑


(พ.ศ.๒๔๕๕) พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว ได ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ ให ต รา พระราชบัญญัติ “ประมวลกฎหมายอาญาทหาร” ขึ้นใชบังคับ เมื่อ ๑ เมษายน รัตนโกสินทรศก ๑๓๑ และให ย กเลิ ก กฎหมายลั ก ษณะขบถศึ ก และอี ก ๒ ป ถัดมา คือ ในป พ.ศ.๒๔๕๗ พระองคทรงเห็นวา พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก ร.ศ.๑๒๖ ที่ใชอยูนั้น ยังมีบทเนื้อหาไมตรงกับอํานาจหนาที่ของฝายทหาร ตามหลักพิชัยสงครามที่จะรักษาความสงบเรียบรอย ใหปราศจากภัยที่จะมีมาทั้งจากภายนอกและภายใน ราชอาณาจั ก ร จึ ง ทรงพระกรุ ณาโปรดเกลา ฯ ให ยกเลิกพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก ร.ศ.๑๒๖ และ ให ประกาศใช พระราชบั ญญั ติ กฎอั ยการศึ ก พ.ศ.๒๔๕๗ โดยประกาศราชกิจ จานุ เ บกษา เมื่ อ วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๔๕๗ จึงถือวาพระราชบัญญัติ กฎอั ยการศึก ร.ศ.๑๒๖ เปน กฎหมายอั ยการศึ ก ฉบับแรกของประเทศไทย ¾ เหตุผลที่มาของกฎอัยการศึก ปรากฏ ตามพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว และพระราชดํ า ริ ในพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว ประกอบกั บ เนื้ อ หาของกฎอั ย การศึ ก จะเห็ น ว า กฎอั ย การศึ ก ได ใ ห อํ า นาจเด็ ด ขาดแก เ จ า หน า ที่ ฝายทหาร เฉพาะในสถานการณที่ประเทศหรือประชาชน จะมีภัยรายแรงที่เจาหนาที่ของรัฐไมสามารถแกไข ปญ หาตามอํ า นาจหน า ที่ ที่ มี อ ยู ต ามกฎหมายใน เวลาปกติได เชน สถานะสงคราม การสูรบ การกบฏ หรือการจลาจล อันจําเปนตองใชกําลังเจาหนาที่

ฝายทหารเขาแกปญหา เพื่อปองกันรักษาราชอาณาจักร พระมหากษัตริย ประชาชน และความสงบเรียบรอย ของประเทศ และในการปฏิบัติของเจาหนาที่ฝายทหาร เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว นอกจากปจจัย เกื้ อ หนุ น อื่ น แล ว ยั ง จํ า เป น ต อ งอาศั ย ป จ จั ย การ ดําเนินกลยุทธพิชัยสงครามดวย สิ่งเหลานี้มีบัญญัติ อยูในกฎอัยการศึก เชน อํานาจการคน การเกณฑ การหาม การยึด การเขาอาศัย การทําลาย การเปลี่ยน แปลงสถานที่ การขับไล รวมทั้ง การแบงเขตการสูรบ และเขตระวังปองกันเปนพิเศษ และหากจะแปลคําวา “กฎอัยการศึก” แลว ก็คงแปลความไดวา หมายถึง กฎหมายที่วางหลักเกณฑการทําศึก นั่นเอง จากเนื้อหาของกฎอัยการศึก อาจทําใหเขาใจ วากฎอัยการศึกเปนกฎหมายที่ใหอํานาจเด็ดขาด แกเจาหนาที่ฝายทหาร อันมีผลกระทบตอสิทธิของ ประชาชนมาก รวมทั้ง อํานาจหนาที่ของเจาหนาที่ ฝายพลเรือน และยังมีศักดิ์เหนือกวากฎหมายใดๆ ในพื้นที่ที่ใชกฎอัยการศึก แตแทจริงแลว กฎอัยการศึก เปนกฎหมายที่จําเปนตองใชเกื้อหนุนการทําสงคราม โดยตรงเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของสงคราม คือ ชัยชนะตามหลักพิชัยสงครามและยังมีขอบเขตการ ใช ที่ เ คร ง ครั ด นอกจากนั้ น กฎอั ย การศึ ก ก็ มิ ไ ด มี ความมุงหมายใชเฉพาะแตภัยจากสงครามเทานั้น แตยังมุงหมายใหใชกับสถานการณใดๆ ก็ได ที่อาจ จะเปน ภัย ตอประเทศชาติ ไมว าภัยนั้น จะมาจาก ภายในหรือภายนอกประเทศก็ตาม กฎอัยการศึก จึ ง เป น กฎหมายพิ เ ศษที่ จ ะประกาศใช ไ ด เ ฉพาะ เมื่ อ ประเทศเกิ ด สงคราม หรื อ จลาจล หรื อ มี เ หตุ จําเปนอื่นที่จะรักษาความสงบเรียบรอยของประเทศ


ให ป ราศจากภั ย จะประกาศใช ใ นเวลาอื่ น ไม ไ ด เปนอันขาด ¾ พื้ น ที่ ใ ช ก ฎ อั ย ก า ร ศึ ก นั บ แ ต พระราชบั ญ ญั ติ ก ฎอั ย การศึ ก ร.ศ.๑๒๖ มี ผ ลใช บั ง คั บ และถู ก ยกเลิ ก โดยให ใ ช พ ระราชบั ญ ญั ติ กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ เปนตนมา ประเทศไทย ไดมีการประกาศใชกฎอัยการศึกมาแลว ๑๐ ครั้ง (ไม ร วมในสถานการณ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต ) ดังนี้ ครั้งที่ ๑ เพราะเกิดจลาจลในจังหวัดใหญ ทหารบกกรุ ง เทพ ในสมั ย รั ฐ บาล นายพั น เอก พระยาพหล พลพยุ ห เสนา เป น นายกรั ฐ มนตรี นายพั น เอก พระยาพหลพลพยุ ห เสนา ในฐานะ ผูบัญชาการทหารบก ไดประกาศใชกฎอัยการศึก เมื่อ ๑๒ ต.ค.๗๖, ๑๔๑๕ ในพื้นที่จังหวัดใหญทหารบก กรุ ง เทพ และประกาศยกเลิ ก ใช ก ฎอั ย การศึ ก ในพื้นที่ที่ประกาศ โดยพระบรมราชโองการ ตั้งแต ๒๒ พ.ย.๗๖

ครั้ ง ที่ ๒ เพราะการรุ ก รานของประเทศ อิ น โดจี น ฝรั่ ง เศส ในสมั ย รั ฐ บาล พั น เอกหลวง พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี โดยพระบรมราชโองการ ใหใชกฎอัยการศึก เมื่อ ๘ ม.ค.๘๔, ๐๖๐๐ รวม ๒๔ จังหวัด และประกาศยกเลิกใชกฎอัยการศึก ในพื้นที่ที่ประกาศ โดยพระบรมราชโองการ ตั้งแต ๒๓ พ.ค.๘๔, ๐๖๐๐ ครั้งที่ ๓ เพราะราชอาณาจักรอยูในภาวะ คั บ ขั น ในสมั ย รั ฐ บาล จอมพล ป.พิ บู ล สงคราม เปนนายกรัฐมนตรี โดยพระบรมราชโองการ ใหใช กฎอัยการศึก เมื่อ ๑๐ ธ.ค.๘๔, ๒๐๔๕ ทุกจังหวัด ทั่วราชอาณาจักร และประกาศยกเลิกใชกฎอัยการศึก ในพื้นที่ที่ประกาศ โดยพระบรมราชโองการ ตั้งแต ๒๔ ม.ค.๘๙, ๐๖๐๐

จอมพล ป.พิบูลสงคราม

พระยาพหลพลพยุหเสนา

ครั้งที่ ๔ เพราะเหตุจําเปนเพื่อรักษาความ เรียบรอยปราศจากภัย ซึ่งจะมีมาจากภายนอกและ ภายใน ราชอาณาจักร ในสมัยรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี โดยพระบรมราชโองการ ใหใชกฎอัยการศึก เมื่อ ๓๐ มิ.ย.๙๔, ๑๐๐๐


จั ง หวั ด พระนครและจั ง หวั ด ธนบุ รี และประกาศ ยกเลิ ก ใช ก ฎอั ย การศึ ก ในพื้ น ที่ ที่ ป ระกาศ โดย พระบรมราชโองการ ตั้งแต ๖ ก.ย.๙๔, ๑๐๐๐ ครั้งที่ ๕ เพราะเหตุจําเปนเพื่อรักษาความ เรียบรอยปราศจากภัยแหงราชอาณาจักร ในสมัย รัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี โดยพระบรมราชโองการ ใหใชกฎอัยการศึก เมื่อ ๑๖ ก.ย.๐๐, ๒๓๐๐ ทั่วราชอาณาจักร และประกาศ ยกเลิ ก ใช ก ฎอั ย การศึ ก ในพื้ น ที่ ที่ ป ระกาศ โดย พระบรมราชโองการ แตใหคงใชกฎอัยการศึกตอไป ๒๖ จังหวัด ตั้งแต ๓ ต.ค.๐๐, ๒๓๐๐ ตอมาให ยกเลิกใชกฎอัยการศึก ในจังหวัดที่ยังมิไดยกเลิก ทุกจังหวัด โดยพระบรมราชโองการ ตั้งแต ๑๐ ม.ค.๐๑, ๐๖๐๐

กฎอัยการศึก ในพื้นที่ที่ประกาศ โดยพระบรมราชโองการ แตใหคงใชกฎอัยการศึกตอไป ๓๗ จังหวัด ตั้งแต ๒๕ พ.ค.๑๔, ๐๖๐๐ (ประกาศใชกฎอัยการศึก ครั้งนี้ ไดมี พ.ร.บ.ระงับการนับเวลาราชการทวีคูณ ในระหวางเวลาประกาศใชกฎอัยการศึกตามคําสั่ง ของคณะปฏิวัติ ลงวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๐๑ ตั้งแต ๒๙ ต.ค.๐๘)

จอมพล ถนอม กิตติขจร

จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต

ครั้งที่ ๖ เพราะเหตุเพื่อรักษาสถานการณ และความสงบเรียบรอยของประชาชนทั่วประเทศ ในสมัย รัฐบาล พลโท ถนอม กิตติขจร เปนนายกรั ฐ มนตรี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรั ช ต หั ว หน า คณะ ปฏิวัติไดประกาศใชกฎอัยการศึก เมื่อ ๒๐ ต.ค.๐๑, ๒๑๑๓ ทั่วราชอาณาจักร และประกาศยกเลิกใช

ครั้งที่ ๗ เพราะเหตุเ พื่อรัก ษาความสงบ เรี ย บรอ ยปราศจากภั ย ของประชาชนทั่ ว ประเทศ ในสมั ย รั ฐ บาล จอมพล ถนอม กิ ต ติ ข จร เป น นายกรัฐมนตรี (หัวหนาคณะปฏิวัติ) ไดประกาศใชกฎ อัยการศึก เมื่อ ๑๗ พ.ย.๑๔, ๒๐๑๑ ทั่วราชอาณาจักร (ประกาศใชกฎฯ ครั้งนี้ ไดมีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบั บ ที่ ๖๙ ระงั บ การนั บ เวลาราชการทวี คู ณ ใน ระหว า งเวลาประกาศใช ก ฎฯ ตามประกาศของ คณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๔ เวนแตผูที่เกษียณและทางราชการสั่งจายบําเหน็จบํ า นาญไปแล วก อน ๓ กุ มภาพั นธ ๒๕๑๕) และ


ประกาศยกเลิ กใช ก ฎฯ ในพื้ น ที่ ที่ ป ระกาศ โดย พระบรมราชโองการ แตใหคงใชกฎฯ ตอไป ๓๐ จังหวัด ตั้งแต ๒๐ มี.ค.๑๗ เวลา ๐๖๐๐ ตอมาใหยกเลิกใช กฎฯ ในพื้นที่ที่ประกาศใชกฎฯ ในจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดราชบุรี โดยพระบรมราชโองการ ตั้งแต ๑ เม.ย.๑๘, ๐๖๐๐ ครั้งที่ ๘ เพราะเหตุเพื่อรักษาความสงบ เรี ย บรอยปราศจากภัย ของประชาชนทั่วประเทศ ในสมัยรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี พลเรื อ เอก สงั ด ชลออยู หั ว หน า คณะปฏิรู ป การ ปกครองแผนดิน ได ประกาศใชกฎฯ เมื่อ ๖ ต.ค.๑๙ เวลา ๑๙๑๐ ทั่วราชอาณาจักร (ประกาศใชกฎอัยการศึก ครั้งนี้ ไดมี พ.ร.บ.ระงับการนับเวลาราชการทวีคูณ ในระหว า งเวลาประกาศใช ก ฎฯ ตามคํ า สั่ ง ของ คณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๑ ลงวันที่ ๖ ตุ ล าคม ๒๕๑๙ ตั้ ง แต ๖ ม.ค.๒๐ เป น ตน ไป) และประกาศยกเลิ ก ใช ก ฎฯ ในพื้ น ที่ ที่ ป ระกาศ บางพื้นที่ โดยพระบรมราชโองการ แตใหคงใชกฎฯ ตอไปในบางเขตพื้นที่ ตั้งแต ๙ ส.ค.๒๗, ๐๖๐๐

ครั้ง ที่ ๙ เพราะเหตุเ พื่อรัก ษาความสงบ เรียบรอยใหเกิดขึ้นกับประชาชนทั้งประเทศ ในสมัย รัฐบาล พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ เปนนายกรัฐมนตรี พลเอก สุ น ทร คงสมพงษ หั ว หน า คณะรั ก ษา ความสงบเรี ย บร อ ยแห ง ชาติ ได ป ระกาศใช ก ฎ อัยการศึก เมื่อ ๒๓ ก.พ.๓๔, ๑๑๓๐ ทั่วราชอาณาจักร และประกาศยกเลิ ก ใช ก ฎฯ ในพื้ น ที่ ที่ ป ระกาศ บางพื้นที่ โดยพระบรมราชโองการ แตใหคงใชกฎฯ ในบางเขตพื้นที่ ตั้งแต ๓ พ.ค.๓๔ ตอมาไดแกไข เขตจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ ที่ ค งให ใ ช ก ฎฯ ต อ ไป โดย พระบรมราชโองการ ตั้งแต ๒๙ ธ.ค.๓๔ และตอมา ไดประกาศยกเลิกใชกฎฯ ในพื้นที่ที่ประกาศบางพื้นที่ โดยพระบรมราชโองการ แตใหคงใชกฎฯ ในบางเขต พื้นที่ ตั้งแต ๑๓ พ.ย.๔๑

พลเอก สุนทร คงสมพงษ

ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช

ครั้งที่ ๑๐ เพราะเหตุเพื่อรักษาความสงบ เรียบร อยใหเ กิดกับประชาชนทั้งประเทศ ในสมัย รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี พลเอก สนธิ บุ ญ ยรั ต กลิ น หั ว หน า คณะปฏิ รู ป การปกครองแผนดินในระบอบประชาธิปไตยอันมี


พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ไดประกาศใชกฎ อัยการศึก เมื่อ ๑๙ ก.ย.๔๙, ๒๑๐๕ ทั่วราชอาณาจักร (ประกาศใชกฎอัยการศึกครั้งนี้ ไดมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ ๒๔ ก.ค.๕๐ ใหขาราชการทหารในสังกัด กห. ซึ่งประจําปฏิบัติหนาที่อยูในเขตที่ประกาศใชกฎฯ มีสิทธินับเวลาราชการทวีคูณ ตั้งแต ๑๙ ก.ย.๔๙ ถึง ๒๖ ม.ค.๕๐) และประกาศยกเลิกใชกฎฯ ทั่ว ราชอาณาจักร โดยพระบรมราชโองการ แตใหคงใช กฎฯ ตามที่ ไ ด ป ระกาศในบางเขตพื้ น ที่ ตั้ ง แต ๒๖ ม.ค.๕๐ และตอมาไดประกาศยกเลิกใชกฎฯ ในพื้ น ที่ ที่ ป ระกาศในบางเขตพื้ น ที่ โดยพระบรม ราชโองการ แตใหคงใชกฎฯ ในบางเขตพื้นที่ และ ใหใชกฎฯ ในบางเขตพื้นที่เพิ่มเติม ตั้งแต ๓๑ ธ.ค.๕๐

พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน

¾ พื้ น ที่ ใ ช ก ฎอั ย การศึ ก ทั บ ซ อ น มี หลายครั้งในกรณีใชกฎอัยการศึกในพื้นที่ ตอมาได ประกาศใช ก ฎอั ย การศึ ก ขึ้น ใหม ทั บ ซอ นกับ พื้ น ที่ ที่ใชกฎอัยการศึกอยูเดิม แตเมื่อหมดความจําเปน สําหรับการประกาศ ใชกฎอัยการศึกในครั้งนั้น ก็จะ มี ป ระกาศพระบรมราชโองการให ย กเลิ ก ใช ก ฎ อั ย การศึ ก ที่ ไ ด ป ระกาศไว นั้ น ประกาศพระบรม ราชโองการยกเลิกใชกฎอัยการศึกดังกลาวจะมีผล ใหยกเลิกใชกฎอัยการศึกในครั้งกอนดวยหรือไมนั้น จะเห็ น ว า จากพระบรมราชโองการยกเลิ ก ใช ก ฎ อัยการศึกที่ผานมาทุกครั้ง จะกลาวถึงเพียงเฉพาะ ประกาศใชกฎอัยการศึกที่จะยกเลิกครั้งนั้นๆ เทานั้น (ใครประกาศ ประกาศใชในพื้นที่ใด และใชตั้งแต เมื่อใด) อีกประการหนึ่ง ดวยเงื่อนไขที่เหตุผลความ จําเปนที่ตองใชกฎอัยการศึกแตละครั้งจะแตกตางกัน เมื่อเหตุผลความจําเปนในครั้งนั้นหมดไป ก็สมควร ยกเลิกใชกฎอัยการศึกที่ไดประกาศนั้น แตก็ไมได หมายความวาเหตุผลความจําเปนในการประกาศ ใชกฎอัยการศึกในครั้งกอนจะหมดไปดวย ดังนั้น การประกาศใช กฎอั ยการศึก ที่ผา นมา จึง ยัง คงมี พื้ น ที่ ที่ ใ ช ก ฎอั ย การศึ ก อยู จ นถึ ง ป จ จุ บั น รวม ๔๐ จัง หวัด และอีก ๔๖ อําเภอ กับ ๖ กิ่ ง อํ า เภอ ในพื้นที่ของ ๑๘ จังหวัด นอกเหนือจาก ๔๐ จังหวัด ขางตน ""


ฉบับนี้ นกกระจิบขอพาทานเขากรุงเทพฯ แทนที่จะวนเวียนอยูแถวดอนเมืองอยางเคย (“เขา กรุ ง เทพฯ” พู ด อย า งกั บ ดอนเมื อ งไม ใ ช เ ขตของ กรุ ง เทพฯ แต จ ริ ง ๆนะ นกกระจิ บ จะพาท า นเข า กรุงเทพฯ เพราะดอนเมืองนะชานกรุงเทพฯ เขาพูด กันอยางนั้น) สาเหตุที่นกกระจิบมีโอกาสเชนนี้ เปนเพราะ ตามนั กเรี ยนพยาบาลชั้ นป ที่ ๔ วิ ทยาลัยพยาบาล ทหารอากาศ กรมแพทยทหารอากาศ(ปการศึกษา ๒๕๕๓) ไปทัศนศึกษาประกอบวิชาอารยธรรม ซึ่ง เปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานอารยธรรมทั่วไป อิ ท ธิ พ ลของสั ง คม เศรษฐกิ จ การเมื อ ง ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม วรรณคดี และ สถาบันที่มีผลตอความเปนอยูของมนุษยในสังคม วิชานี้ รศ.สุพัตรา น.วรรณพิณ จากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตรเปนผูสอน และมีนาวาอากาศตรีหญิง พนิ ด า ศิ ริ บุ ต ร เป น ผู รั บ ผิ ด ชอบดู แ ล และครั้ ง นี้ ก็ไดไปทัศนศึกษาที่ สมาคมฮินดูสมาซ วัดสุทัศน เทพวราราม และ สยามมิวเซียม ตามลําดับ โดยมี พลอากาศตรี ห ญิ ง ทั ศ นี ย ศรี ส มศั ก ดิ์ อาจารย

ประจําวิชาภาษากับการสื่อสาร รวมไปทัศนศึกษา ดวย นกกระจิบเองก็เหมือนกับคนภายนอก วพอ. พอ. อีกหลายคนที่เพิ่งจะทราบ (หรือยังไมทราบ) วาปจจุบันนี้ผูสําเร็จการศึกษาจาก วพอ. พอ. จะได รับปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ซึ่งเปนปริญญาตรี ตามหลั ก สู ต รพยาบาลศาสตรบั ณ ฑิ ต แทนที่ จ ะ ไดรับเพียงใบประกาศนียบัตรเชนแตกอน นับเปน ศักดิ์ศรีและความกาวหนาของสถาบันที่เปนสถาบัน อุดมศึกษาอยางสมบูรณ ขอเขาเรื่องการไปทัศนศึกษากันเถอะนะ รถโดยสารปรับอากาศ ขส.ทอ. ๒ คัน นํา คณะ นพอ. ไมต่ํากวา ๕๐ คน ออกจากกรมแพทย ทหารอากาศ ตั้งแตเวลา ๐๖.๓๐ น. ทุกคนดูสดใส และกระตือรือรน ที่จะไปในวัน นี้ และมีที ม บริห าร จัดการความสะดวกสบายใหกันและกันอยางดี เริม่ ดวย อาหารมื้อเชาพรอมน้ําดื่ม ซึ่งตางชมกันวาอรอยมาก ประมาณ ๐๗.๓๐ น. ก็มาถึงบริเวณหนาสมาคมฮินดู สมาซ แถวศาลาวาการกรุงเทพมหานคร-เสาชิงชาโบสถ พ ราหมณ บริ เ วณนี้ จ อแจมาก อาจารย


ผูรับผิดชอบคือ น.ต.หญิง พนิดา ฯ รอบคอบพอที่จะ ประสานเจาหนาที่ตํารวจใหจัดที่จอดรถไวให แลว คณะ นพอ.ก็เดินเขาสมาคมฯ อยางเปนระเบียบ ประกอบกั บ เครื่ อ งแบบที่ เ รี ย บร อ ยท า ทาง ทะมัดทะแมงของ นพอ.แตละคน ทําใหคนที่พบเห็น อมยิ้มและมองตามอยางชื่นชมและประทับใจวา เหลาดรุณีที่นารักเหลานี้คือใคร มาที่นี่ทําไม บางคน ก็ถามตรงๆ เลยทีเดียว เจาหนาที่ตอนรับพาคณะ นพอ. เขาสมาคมฯ โดยเดินผานโรงเรียนภารตวิทยา ซึ่งเปนโรงเรียน ระดับประถมศึกษา แนนอนเด็กนักเรียนตัวนอยๆ เหลานั้นดูพี่ๆ ดวยความสนใจ เมื่ อ ขึ้ น ถึ ง ชั้ น ที่ ๓ ของสมาคมฯ ซึ่ ง เป น หองโถงสําหรับทําพิธีทางศาสนา เจาหนาที่ก็อธิบาย วาประมาณ ๐๘.๐๐ น. จะมีการสวดมนตตามประเพณี ของศาสนาฮินดู เปนเวลาประมาณ ๑ ชั่วโมงเศษๆ จากนั้นวิทยากรคือ ผอ.โรงเรียนภารตวิทยาจะให ความรูเกี่ยวกับสมาคมฯ และเรื่องราวของเทพเจา ในศาสนาฮินดู นาสนใจมากเพราะรอบๆ หองโถง นั้น มีทั้งรูปปนและภาพวาดเทพเจาสวยงามนัก และ เมื่อยังมีเวลา คือยังไมถึงเวลาสวดมนต เจาหนาที่ ก็แนะนําใหชมรอบๆ หองโถงอยางสบาย ความจริ ง เมื่ อ เดิ น ขึ้ น ชั้ น ที่ ๓ นั้ น นพอ. กลุมหนึ่งก็เดินชมอยูกอนแลว เพราะมีพราหมณ คนหนึ่ ง แนะนํา ให ไ ปรดน้ํา บู ช าศิว ลึ ง ค ซึ่ง ถื อ เป น สัญลั ก ษณศัก ดิ์ สิท ธิ์ จ ากพระศิว ะ และโยนี ซึ่ ง ถื อ เปนสัญลักษณศักดิ์สิทธิ์จากองคพระแมอุมาเทวี ถาใครกราบไหวสัญลักษณทั้งคูนี้ก็ถือวาไดกราบไหว เทพทั้ง ๒ องค ซึ่งถือเปนตนกําเนิดของสรรพชีวิต

ทั้งหลาย จากนั้นพราหมณก็จะเจิมหนาผูบูชาดวย ฝุนสีสม ถือเปนสิริมงคล นพอ.คนอื่นๆ ทราบเขาก็ มารดน้ําบูชาศิวลึงคและโยนี พรอมทั้งรับการเจิม หนากันเปนแถวๆ อนึ่ ง ในห อ งโถงนั้ น ปู ล าดด ว ยพรมสี แ ดง มีเบาะรองนั่งและหนังสือสวดมนต พรอมทั้งโตะพับ เล็ ก ๆ สํ า หรั บ เขี ย นหนั ง สื อ และม า นั่ ง สํ า หรั บ ผู ที่ นั่ ง ราบกั บ พื้ น ไม ไ ด ผู ใ ดที่ ต อ งการก็ ห ยิ บ มาใช ประโยชนไดตามสะดวก แตที่สําคัญรอบๆ หองโถง นั้นมีรูปปนของเทพหรือเทวปฏิมาของพระเปนเจา และเทพยดา เริ่ ม ต น จากซ า ยมื อ สุ ด เรี ย งมาทาง ขวามือคือ พระแมอุมาเทวี(ปรวาตี) พระรามและ พระสีดา พระหนุมาน พระนารายณ(พระวิษณุ)และ พระลักษมี พระพิฆเนศ พระกฤษณะ พระแมราทาน พระศิวะเทพ พระแมสตี สวนทางดานหลังคือองค ศิวะลึงคและโยนี เปนตน

เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. พราหมณผูใหญ ทานหนึ่ งก็เ ริ่ม พิธี สวดบูชาและขอพรจากเทพเจา ต า งๆ ในศาสนาฮิ น ดู และแสดงปาฐกถาเป น


ภาษาสั น สกฤต บางขณะผู เ ข า ร ว มพิ ธี ก็ จ ะสวด และแสดงความเคารพโดยการกมศีรษะไหวอยาง นอบนอม หรือไหวนอนราบไปกับพื้น ตอนแรกพวกเรา ที่ไมคุนเคยพิ ธี กรรมเหล า นี้ ก็ จ ะรูสึ ก แปลกๆ แต ก็ วางทาสงบเหมือนคุนเคยกับการกระทําเชนนี้ ขณะ สวดบางคนจะโยกตัวและตบมือดวย ดูแลวเหมือน เต็มใจเขารวมพิธีโดยพรอมเพรียงกัน จากนั้นผูเขาพิธี จะร วมบริ จาคเงิ นทํ าบุ ญพร อมรั บของที่ พราหมณ ผูใหญแจก ซึ่งเปนน้ํานมและใบกะเพรา และตางก็ ลิ้มรสโดยทั่วหนากัน พิธีกรรมนี้เปนเวลา ไมต่ํากวา ๑ ชั่วโมง ตองขอชมเชยที่ นพอ. ทั้งหมดนั้นสํารวม กริยา รวมพิธีอยางเรียบรอย จนพราหมณผูใหญทาน ถามวามาจากไหนกัน ดีมาก เมื่อเสร็จจากพิธีสวด คณะนพอ.ก็ไดมารับ อาหารแจกซึ่งมีกลวย ขนม และนม ถือเปนของในพิธี นอกเหนือจากอาหารวางซึ่งทางสมาคมจัดให หลั ง จากรั บ ประทานอาหารว า งแล ว ผูอํานวยการโรงเรียนภารตวิทยาซึ่งเปนสุภาพสตรี ทาทางใจดี ไดบรรยายความรูเกี่ยวกับสมาคมและ ศาสนาฮินดู สรุปไดดังนี้ สมาคมฮินดูสมาซ เปนสมาคมของศาสนา ฮินดู มีเทวสถานคือ วัดเทพมณเฑียร ซึ่งมีเทวปฏิมา ของพระเป น เจ า และเทพยดาทั้ ง หลาย อัน เป น ที่ เคารพสั ก การะของชาวฮิ น ดู และมี สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ซึ่งอัญเชิญจากพุทธเวชนียสถาน ๔ แหง อันไดแก ลุมพินี (สถานที่ประสูติ) พุทธคยา (สถานที่ตรัสรู) สารนาถ (สถานที่ ป ฐมเทศนา) และกุ สิ น ารา (สถานที่ปรินิพพาน) ทั้งอัญเชิญน้ําจากแมน้ําตางๆ ในอินเดีย เชน คงคา ยมุนา มาไวในโบสถนี้ เพื่อ

เปนที่สักการะและมีพิธีเฉลิมฉลองเปนการเปดโบสถ เทพมณเฑียรอยางยิ่งใหญ เมื่อวันที่ ๑๑ มิ.ย.๒๕๑๒ ในการนี้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จ พระราชดํ า เนิ น มาเป น องค ป ระธานในพิ ธี ด ว ย เพราะศาสนาฮินดูเป นศาสนาหนึ่ง ใน ๖ ศาสนา ที่ทรงรับเปนองคศาสนูปถัมภก (ศาสนา ๕ ศาสนา) นั้นคือ พุทธ ฮินดู (ในไทยเรียกฮินดู ในอินเดียเรียก ศาสนาพราหมณ) อิสลาม คริสต และซิกซ ศาสนาฮินดูหรือศาสนาพราหมณนั้น มีมา กอนศาสนาพุทธ มีมาตั้งแตสรางโลก พระพุทธเจา ทานเคยนับถือศาสนาพราหมณมากอน กลาวกันวา ศาสนาพราหมณนั้นมีเทพเจามากที่สุด และยอมรับ วาพระพุทธเจาเปนเทพเจาองคหนึ่งดวย เ ท พ เ จ า สู ง สุ ด ข อ ง ศ า ส น า ฮิ น ดู คื อ พระปรมาตมั น ซึ่ ง เป น ต น กํ า เนิ ด ของทุ ก สิ่ ง ใน จักรวาล ไมมีรูปราง เมื่อมีความประสงคจะสราง โลก จึงปรากฏในรูปเทพเจา ๓ องค (เหมือนมี ๓ รูป จึงเรียกวา พระตรีมูรติก็ได) คือ ๑.พระพรหม ผูสราง คือสรางโลกขึ้น เปน ผูวางหลักนิติบัญญัติ ๒.พระวิษณุ ผูรักษา คือคอยดูแลบริหาร จัดการโลกใหเรียบรอย พระวิษณุมีอีกชื่อหนึ่งคื อ พระนารายณ ๓.พระศิวะ ผูทําลายคือทําลายสิ่งชั่วราย คอยตัดสินความเหมือนหลักตุลาการ พระศิวะนี้มี อีกชื่อหนึ่งคือ พระอิศวร นอกจากมหาเทพทั้ง ๓ องคแลว ยังมีเทพ อื่นๆ อีก เชน


๔.พระสุ รั ส วดี หรื อ พระแม สุ รั ส วดี เ ป น พระชายาของพระพรหม เปนเทพีผูบริสุทธิ์ ใสสะอาด เทพี ท างศาสตร แ ละศิ ล ป วิ ท ยาการ ป ญ ญา สติ ความรู และความสําเร็จ ๕.พระลั ก ษมี หรื อ พระแม ลั ก ษมี เป น พระชายาของพระวิษณุ เปนเทพีแหงความมั่งคั่ง อุ ด มสมบรู ณ ประทานโภคทรั พ ย มั่ ง มี โชคลาภ สิริมงคลและความรัก ๖.พระอุ ม า หรื อ พระแม อุ ม าเทวี หรื อ พระแมปรวาตีเปนชายาของพระศิวะ เปนเทพีแหง มหาอํานาจ ความผาสุก เกียรติยศ ชื่อเสียง ความ มั่นคง และบารมี ๗.พระพิฆเนศ หรือพระพิฆเนศวร หรื อ พระคเณศ เปนเทพแหงความสําเร็จ เทพแหงศิลปะ (บางแหงเรียกพระวิฆเนศ หรือ วิฆเนศวร)มีเศียร เปนชาง กลาวกันวาเป นโอรส หรือพระบุตรของ พระแมอุมาหรือพระแมปรวาตี เทพองคนี้วิทยากรเลาไดสนุกมาก นพอ. นั่งฟงตาแปวดวยความสนใจ ทานเลาไปยิ้มไปวา ตํ า นานของเทพองค นี้ มี ห ลายตํ า นาน ขอเลื อ ก ตํานาน “ไอหัวหาย” ก็แลวกันคือพระแมปรวาตี นั่ง เลน อยูในอุ ท ยานแลว เอาเหงื่อ ไคลมาปน เป น พระบุตร เมื่อจะสรงน้ํ าก็สั่งใหพระบุตรเฝา ประตู อุทยานไวหามใครเขามา เมื่อพระสวามีคือพระอิศวร จะเขามาหาพระแมปรวาตี พระบุตรก็ขวางไวไมให เขาพระอิศวรกริ้วมาก จึงสังหารพระบุตรโดยรับสั่ง วา “ไอหัวหาย” พระเศียรของพระบุตรก็ขาดหลุด กระเด็น เมื่อพระแมปรวาตีทราบเรื่องก็ทรงเสียพระทัย และโกรธพระอิศวรมาก รับสั่ง ใหพระอิศวรทําให

พระบุตรฟนใหได พระอิศวรจึงใหเทพบริวารเดินทาง ไปทางทิศเหนือ ถาพบสิ่งมีชีวิตใดก็ใหตัดเศียรแลว เอามาตอ เทพบริวารพบชางเปนสิ่งแรกจึงตัดเศียร แล ว นํ า มาต อ กั บ ร า งพระบุ ต ร พระบุ ต รจึ ง ฟ น พระแมปรวาตีจึงแนะนําใหพระบุตรรูจักพระอิศวร วาเปนพระบิดา พระบุตรจึงหมอบกราบพระอิศวร เปนอันวาพระบุตรฟนขึ้นมาในรางของเทพมีเศียร เปนชางจึงไดพระนามวาพระพิฆเนศหรือ พระพิฆเนศวร (ผูเปนใหญของความขัดของคือขจัดความขัดของ ได) ทั้งนี้พระอิศวรไดประทานพรใหเปนเทพผูมีอํานาจ เหนือภูตผีทั้งปวง และเปนเทพเจาแหงความสําเร็จ ๘.พระพุทธเจา เปนเทพเจาแหงสัจธรรม ถือเปนปางหนึ่งของนารายณสิบปางคือ พระนารายณ อวตารมาเกิดเปนมนุษย ๙.พระราม เปนมหาเทพแหงความถูกตอง เที่ ย งธรรมและสั น ติ เป น ปางหนึ่ ง ของนารายณ สิบปาง มีในคัมภีรรามายณะ ๑๐.พระแมสีดา เปนพระชายาของพระราม เปนเทพีผูรูหนาที่ของตน ๑๑.พระหนุ ม าน เป น เทพแห ง ความ กล า หาญ จงรั ก ภั ก ดี แ ละมี อํ า นาจ มาจากคั ม ภี ร รามายณะ ๑๒.พระกฤษณะ เปนมหาเทพแหงความ หลุดพน(จากคัมภีรภควัทคีตา) เปนผูรื่นรมย ไมทรมาน สูงสุดในวิถีโยคะ ๑๓.พระขันธกุมาร เปนมหาเทพแหงการ สูรบ ประทานความเปนผูนําและผูบริหาร ๑๔.นรสิ ง หาวตาร คื อ พระนารายณ อวตารมาเป น นรสิ ง ห คื อ ครึ่ ง คนครึ่ ง สิ ง ห (เคยมี


ละครโทรทั ศ น เ รื่ อ งนรสิ ง ห คนฟ ง จึ ง สนุ ก เมื่ อ ฟ ง ชื่อนี้) ๑๕.พระแม กาลี เปนเทพีแหงสันติ ขจัด มนต ดํ า และอาถรรพณ ทุ ก ชนิ ด รวมทั้ ง ทํ า ลาย อุปสรรคและศัตรูทั้งปวง ๑๖.พระแม ท รคา เป น สั ญ ลั ก ษณ ข อง ความเขมแข็งและความมีอํานาจ นอกจากนี้ วิ ท ยากรยั ง ได อ ธิ บ ายว า ใน หองโถงของสมาคมนี้มี เครื่ องหมายที่สํา คัญของ ศาสนาฮินดู ๒ เครื่องหมาย คือ เครื่องหมายโอม และ เครื่องหมายสวัสติกะ

คําวา โอม มาจากพระนามของพระตรีมูรติ ทั้ ง ๓ องค ร วมเป น คํ า เดี ย วคื อ พระศิ ว ะ(อะ) พระวิษณุ(อุ) และพระพรหม(มะ) ออกเสียงตอเนื่อง เปนโอม คําวา โอม นี้ ถื อเปนคํ าศั กดิ์สิทธิ์ที่มีการ เอยถึงบอยที่สุด ในบทสวดมนตของเทพเจาทุกองค ในศาสนาฮินดูจะขึ้นตนดวยคําวา โอม และรูปวาด เทพก็จะปรากฏเครื่องหมายนี้ อนึ่ง คํานี้เขามามีอิทธิพลตอชีวิตประจําวัน ของคนไทยมาก ดังปรากฏในคําวา “โอม....เพี้ยง“ เมื่อจะขอสิ่งหนึ่งสิ่งใดจากสิ่งที่เขาเชื่อวาศักดิ์สิทธิ์

h เครื่องหมายโอม เดิมหลายคนคิดวา เปน เครื่องหมายที่เ รียกวา เครื่องหมายอุณาโลม (ศั พ ท นี้ แ ปลว า ขนระหว า งคิ้ ว หรื อ เครื่ อ งหมาย คลายเลข ๙ แตตั้งขึ้น) ซึ่งใชในพิธีมงคลตางๆ แต แท จ ริ ง แล ว เครื่ อ งหมายโอมมี ลั ก ษณะคล า ยเลข อารบิค ๓ นําหนาเครื่องหมาย ง งูตอทาย มีถวย และ หยดน้ํา(จุดพินทุ)อยูดานบน ดังภาพ

h เครื่องหมายสวัสติกะ เปนเครื่องหมาย รูปกากบาทปลายหักมุมเวียนขวา ใชเปนเครื่องหมาย แหงความเจริญและความสุขสวัสดี เปนมงคลสูงยิ่ง สั น นิ ษ ฐานว า เป น รู ป พระอาทิ ต ย โ คจรเวี ย นขวา เปน เครื่อ งหมายแหง พลวัต หรื อ ความเคลื่ อนไหว ไมเคยหยุดนิ่ง การหลอเลี้ยงสภาพชีวิต ในภาพเขียน พระพิ ฆ เนศส ว นใหญ จ ะมี รู ป เครื่ อ งหมายนี้ ว าด อยู ด ว ย ชาวฮิ น ดู จ ะให ค วามเคารพเฉกเดี ย วกั บ


เครื่องหมายโอม และคนบางคนเชื่อวาสามารถใช แก ฮ วงจุ ย โดยการแขวนหรื อ ประดั บ ไว ที่ ส ว นใด ส ว นหนึ่ ง ของที่ พั ก อาศั ย และมั ก ใช ค วบคู กั บ เครื่ อ งหมายโอม หมายความถึ ง โชคดี แ ละ ความสําเร็จ อนึ่ง เครื่องหมายสวัสติกะนี้มีใชแพรหลาย ในประเทศจีนและเยอรมัน เดิมใชเปนสัญลักษณ ของความดีงาม และ ความอุดมสมบูรณจีนนําไปใช ในความหมายนี้ แตพรรคนาซีของเยอรมันนําไปใช เปนสัญลักษณของเผด็จการ ความรู ที่ ท า นวิท ยากรบรรยายนั้ น แทรก ความสนุกสนานนาสนใจ และนาติดตามโดยตลอด แตคณะ นพอ. มีเวลาที่นี่ไมเกิน ๑๑.๐๐น.เพราะ ธรรม

ตองไปทัศนศึกษาที่วัดสุทัศนเทพวราราม ซึ่งอยูตรง ข า มสมาคมฯ และจะเลยไปศึ ก ษาประวั ติ ข อง ชนชาติไทย ที่สยามมิวเซียม(ใกลๆ วัดพระเชตุพน) ต อ ด ว ย จึ ง ต อ งอํ า ลาท า นวิ ท ยากรไปด ว ยความ เสียดายแตทานก็ทิ้งทายไววา “ไมเปนไรมาชมใหม วันหลังได” หรือจะคนควาเองก็สนุกดี และขอเสริม นิดวา คําสวดของศาสนาพุทธและฮินดูนั้นคลายกัน แตศ าสนาพุท ธใชภ าษาบาลี ส ว นศาสนาฮิน ดูใ ช ภาษาสันสกฤต ฉบับนี้เลยไดทัศนศึกษาเฉพาะวัดแขก แต ก็ไดทั้งความรูแทรกความสนุกสนาน ทําใหนักเรียน พยาบาลทหารอากาศมี วิ สั ย ทั ศ น เ กี่ ย วกั บ การ ดํารงชีวิตของสังคมไทยอยางกวางไกลขึ้น ☺☺ วัดแขก


นานา...นารู

บางแค

ฤดูฝนทุกปจะมีผูประสบอันตรายจากไฟฟามาก ซึ่งเกิดจากมีสวนใดสวนหนึ่งของรางกายไปสัมผัส ถู ก วั ตถุ ที่ มี ก ระแสไฟฟ า รั่ ว ไหลอยู ขณะที่ รา งกายสว นอื่ น สั ม ผั ส อยู กับ พื้ น ดิ น ที่ ชื้ น แฉะ กระแสไฟฟา ก็ สามารถไหลผานรางกายลงสูดินครบวงจร ถาผิวหนังแหงจะมีความตานทานไฟฟาสูง แตถารางกายเปยก น้ําจะมีความตานทานไฟฟาต่ํามาก ทําใหไดรับอันตรายจากไฟฟารุนแรงถึงกับเสียชีวิตได อุปกรณไฟฟาที่ เราใชอยูประจําวันหากขาดความระมัดระวัง หรือไมมีการบํารุงรักษา ก็อาจเกิดอุบัติเหตุขึ้นได ขอแนะนํา การใชเครื่องใชไฟฟาใหปลอดภัยในชวงฤดูฝน ดังนี้ ๑. ตูเย็น ควรตอสายที่โครงโลหะลงดิน ถาตั้งอยูบนพื้นซีเมนต หรือ ที่ชื้นแฉะ ควรมีแผนฉนวน เชน แผนยาง หรือแผนพลาสติกปูรอง เปนตน ๒. เครื่องซักผา เปนอุปกรณที่เกี่ยวของกับน้ําโดยตรง ควรตอสาย จากโครงโลหะของเครื่องลงดิน ผูใชเครื่องซักผารางกายตองไมเปยกชื้น และไมยืนบนพื้นที่เปยกขณะจับตองเครื่องซักผา ๓.วิทยุ โทรทัศน และวิดีโอ อยาเปดหรือปดในขณะตัวเปยกชื้น รวมถึงการจับตองเสาอากาศโทรทัศน และไมควรเปดใชงานในเวลา ฝนฟาคะนอง ควรถอดสายอากาศและปลั๊กออกดวย ๔. บานที่มีโคมไฟสนาม ควรหมั่นตรวจสอบฉนวนใหมีสภาพ ดีอยูเสมอ ตัวเสาโคมไฟควรตอสายลงดิน เมื่อมีการรั่วเกิดขึ้นจะได ไมเกิดอันตราย ๕.กริ่ ง ประตู น้ํ า ฝนอาจซึ ม เข า ไปที่ ส วิ ตช เมื่ อ มี ค นไปกดก็ อ าจถู ก ไฟฟ า ดู ด ได ควรใช ช นิ ด ที่ มี หม อ แปลงลดแรงดั น จาก ๒๒๐ โวลต ลงเหลื อ ๘-๑๒ โวลต การกดกริ่ ง ให ใ ช ห ลั ง นิ้ ว กด เพราะถ า มี กระแสไฟฟารั่วกลามเนื้อจะกระตุกหดกลับทําใหหลุดออกจากจุดสัมผัสนั้นได ☺☺ ขอขอบคุณ : บทความนิรภัยกองบิน ๖ ฉบับที่ ๒๗


Healthy การที่จะทราบวาการกินยากอนอาหารหรือ หลังอาหารสําคัญอยางไรนั้น เราตองทราบกอนวา ขั้นตอนที่ยาจะไปออกฤทธิ์นั้นเปนอยางไร เวลาเรา กินยาเขาไป ถาเปนยาเม็ดหรือแคปซูล ยานั้นจะ แตกออกเปนสวนเล็กๆ กอน แลวละลายในน้ํา ซึ่ง อยูในกระเพาะและทางเดินอาหาร หลังจากนั้นก็จะ ถูกดูดซึมเขาผนังทางเดินอาหาร เขาสูกระแสเลือด ไปยังสวนตางๆ ของรางกายตอไป แตถาเปนยาน้ํา ขบวนการนี้ก็จะเร็วขึ้น

ยาจะออกฤทธิ์เมื่อไดเขาไปอยูในกระแสเลือด แลว และตองมีปริมาณสูงพอดวย อาหารบางอยาง

มี ผ ลต อ การดู ด ซึ ม ของยา ยาบางตั ว ก็ มี ผ ลต อ กระเพาะอาหาร เช น ทํ า ให เ กิ ด การระคายเคื อ ง ดั ง นั้ น การกิ น ยาก อ นหรื อ หลั ง อาหาร จึ ง มี ความ สําคัญ ขึ้นกับวาตองการผลการของยาในแงใด ปกติ เมื่อ กระเพาะมีอ าหารอยู เ ต็ ม ยาจะถู ก ดูดซึ ม เข า กระแสเลือดไดนอยกวา และใชเวลามากกวาเมื่อ กระเพาะวาง จากที่กลาวมาแลว ถาเรากินยากอนอาหาร ทันที หลังอาหารทันที หรือกินยาพรอมอาหาร จะมี ความหมายแทบจะไมแตกตางกัน ซึ่งถือวากินยาใน หวงเวลาที่กระเพาะอาหารไมวางเหมือนกัน ดังนั้น เราจะกํ า หนดเวลาไปด ว ยว า กิ น ก อ นอาหารหรื อ หลังอาหารนานเทาใด จึงจะไดผลตามที่ตองการ จะขอแบ ง วิ ธี ก ารกิ น ยา ประกอบเหตุ ผ ล พอเปนสังเขปดังนี้ ๑. กินกอนอาหาร ๑ ชั่วโมง เพราะเราต อ งการให ไ ด รั บ ยาขณะที่ ทองวาง เพื่อใหยาดูดซึมไดดีที่สุด ยาพวกที่ตองกิน แบบนี้ ไดแก เพนนิซิลลิน, แอมพิซิลิน, ไรแฟมพิซิล


เป น ต น บางที เ ราก็ ต อ งการให ย าออกฤทธิ์ ก อ น อาหารตกถึงกระเพาะ (จะกินกอนอาหารนานเทาใด ขึ้นกับเวลาตั้งแตเริ่มกินจนถึงเวลาที่ยาออกฤทธิ์ ซึ่ง ยาแตละตัวจะแตกตางกันบาง) เชน ยาที่ลดการ เกร็ งหรื อบีบตัวของกระเพาะและทางเดินอาหาร คนที่เปนโรคกระเพาะนั้นมักจะปวดทอง เมื่ออาหาร ตกไปถึงกระเพาะ เพราะอาหารเปนตัวกระตุนให กระเพาะลําไสบีบตัวมากขึ้น จึงตองใหยาออกฤทธิ์ ลดการบีบ ตั ว ของกระเพาะลํ า ไส โดยกิ น ยาก อ น อาหารประมาณ ๑ ชั่วโมง เพื่อใหยาออกฤทธิ์พอดี เวลาอาหาร ซึ่งจะบรรเทาอาการปวดทองได ยังมี ยาที่กระตุนใหเกิดการอยากอาหาร ก็ตองกินกอน อาหารประมาณ ๑/๒ ชั่วโมง พอยาออกฤทธิ์ จะกิน อาหารไดมากขึ้น ๒. กินหลังอาหารทันที = กินกอนอาหาร ทันที = กินพรอมอาหาร ยาบางตัวหากกินตอนทองวางจะทําให เกิดการระคายเคืองตอกระเพาะอาหารมาก ทําให คลื่นไสอาเจียน แตถากินพรอมอาหารจะชวยลด การระคายเคืองได ยาพวกนี้ไดแก ยาแกปวดชนิด ตางๆ เชน แอสไพริน, ยาแกปวดขอ เชน เพนนิลบิว ทาโซน, ไอบู โ ปรเฟน, อิ น โดเมดทาซิ น เป น ต น นอกจากกินพรอมอาหารแลว ยาที่มีฤทธิ์เปนกรด เชน แอสไพริน การกินน้ําตามมากๆ เพื่อไปเจือจาง หรื อ ลดความเป น กรดให น อ ยลง ก็ ช ว ยลดการ ระคายเคืองได

๓. กินยาหลังอาหาร ๑ ชั่วโมง ยาบางชนิ ด จะออกฤทธิ์ น าน เมื่ อ กิ น หลังอาหาร เชน ยาลดกรดซึ่งมีผูทดลองไดผลวา ถ า ให ย าในขณะที่ ท อ งว า ง ยาจะออกฤทธิ์ น าน ประมาณ ๓๐ นาที แตถาใหยาหลังอาหาร ๑ ชั่วโมง ยาจะออกฤทธิ์นาน ๔ ชั่วโมง ดังนั้นจึงกําหนดให กินหลังอาหาร ๑ ชั่วโมง ไหนๆ ก็พูดถึงยากอนอาหาร หลั งอาหาร พรอมอาหารแลว ขอพูดถึงยากินกอนนอนสักเล็กนอย ยาบางชนิดกินแล วทํา ให งวงมึนงง เชน ยาคลาย กั ง วล, ยาแก แ พ ซึ่ ง เป น ส ว นผสมของยาแก ห วั ด ลดน้ํามูก จึงควรกินกอนนอน ซึ่งนอกจากจะชวยให ปลอดภัยในขณะทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร หรือขับ รถในเวลากลางวันแลว ยังทําใหหลับไดอยางสบาย ในเวลากลางคืนอีกดวย จึงขอสรุปไดวา จะกินยากอนอาหาร หรือ หลัง อาหาร ขึ้ น กับวั ตถุประสงคใ นการใหย านั้น ๆ ออกฤทธิ์ใหไดผลมากที่สุด มีผลขางเคียงนอยที่สุด สวนจะกอน – หลัง นานเทาใดนั้น ขึ้นกับเวลาตั้งแต เริ่มกินยาจนถึงเวลาที่ยาถูกดูดซึมเขาผนังทางเดิน อาหารหมด หรืออาจเลยไปถึงเวลาที่ยาออกฤทธิ์ แลวแตวาเราตองการผลอันไหน คงจะเห็ น แล ว ว า เวลากิ น ยาก อ นหรื อ หลั ง อาหาร มี ค วามสํา คั ญเพี ย งใด ดัง นั้ น เพื่ อ ผล การรักษาที่ดีที่สุด ผูปวยควรกินยาตามเวลาที่กําหนด ไวอยางเครงครัด ผลดีก็จะตกอยูกับตัวของผูปวยเอง

KKKKKKKKK


น.อ.เกษม พงษพันธ โดยธรรมชาติ บุรุษคือมนุษยผูชาย มีความ เกงกลาสามารถหลายดาน ผูมีอํานาจวาสนาบารมีสงู อาจเป น ได แ ม ก ระทั่ ง แม ทั พ นายกอง เป น ผู นํ า ประชาชนในหลายตํ า แหนง หนา ที่ ซึ่ง ในปจจุบั น ถึงแมจะมีสตรีเปนไดบาง แตก็นับวาเปนสวนนอย แต ตํ า แหน ง หน า ที่ ที่ บุ รุ ษ ไม ส ามารถเป น ได ก็ คื อ “แม” (ผูใหกําเนิดลูก ไมใชแมอยางอื่น) แมจึงเปนเอกลักษณแทแนนอนเฉพาะสตรี ซึ่งบุรุษแมเกงกลาสามารถหรือกลาหาญชาญชัย เพียงใด ก็ไมสามารถจะครองตําแหนงนี้ได และมี เฉพาะในโลกมนุษยนี้เทานั้น มนุษยที่เดินไปเดินมา พกพาความโลภ ความโกรธ ความหลง มากบาง นอยบาง อยูทุกวันนี้ แมในอดีตและอนาคต ไมวา ในวัดหรือนอกวัด ในคุกหรือนอกคุก ลวนแตเปนลูก ของแมดวยกันทั้งสิ้น หน า ที่ แ ม จึ ง เป น หน า ที่ สํ า คั ญ ยิ่ ง สํ า หรั บ สตรี แมองคสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ยังเคยตรัสวา “หนา ที่ที่ ทรงภาคภูมิใจที่สุดคือ หนาที่แม” กวีทานหนึ่งยังกลาวไววา “พอนั้นหรือคือ ตนไมใหญ แมนั้นไซรคือใบอบอุน พอแมจาโปรด

เมตตาเจื อ จุ น โปรดได ก ารุ ณ ย ต อ ลู ก น อ ยเอย” นานําไปรองใหเด็กๆ นองๆ ไดรองตาม พอแมไดฟง แลวกินใจดีนัก พระพุ ท ธเจา ตรั ส วา “มารดา บิ ดา เป น พรหมของบุตร” ซึ่งบุตรไมวาจะเปนลูกสาวหรือ ลูกชาย จะบํารุงเลี้ยงดูพอแมโดยเอาแมไวบนบา ขางหนึ่ง พอไวอีกขางหนึ่ง เลี้ยงดูทําภารกิจทุกอยาง ในชี วิ ต ประจํ า วั น ก็ ไ ม ส ามารถทดแทนพระคุ ณ ของท า นให ค รบถ ว นได เพราะพ อ ให ชี วิ ต แม ใ ห วิญญาณ เทานั้นยังไมพอ ยังเลี้ยงดูใหความอบอุน ส ง เสี ย ให ศึ ก ษาเล า เรี ย นมี วิ ช าความรู เรี ย กว า มี ศิลปะวิทยา มีอาชีพ จนสามารถดูแลตัวเองได โดย ถือวา “พอแมไมมีทองจะกองให จงตั้งใจพากเพียร เรียนหนังสือ หาวิชาความรูเปนคูมือ ใชยึดถือเปน เยี่ยงไวเลี้ยงกาย พอกับแมมีแตจะแกเฒา จะเลี้ยง เจาเรื่อยไปนั้นอยาหมาย ใชวิชาชวยตนไปจนตาย ลูกสบายแมกับพอก็พอใจ” ตอจากนั้น เมื่อถึงวัยที่ลูกชายจะไดบวชเรียน ก็ จั ด แจงบวชให ลู ก ตามฐานะ ตามวั ฒ นธรรม ประเพณี ตลอดจนตามกํ า ลั ง ทรั พ ย แ ละศรั ท ธา ที่สําคัญคือตามความเหมาะสม จนไดเปนญาติกับ


พระพุทธศาสนา เปนการสืบตออายุพระพุทธศาสนา อี ก ทางหนึ่ ง ด ว ย ส ว นลู ก สาว แม ก็ จั ด แจงส ง ไป ปฏิ บั ติ ธ รรมตามสํ า นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมต า งๆ ซึ่ ง ใน ปจจุบันทางคณะสงฆไดจัดใหมีสํานักปฏิบัติธรรม เกิ ด ขึ้ น มาก ซึ่ ง แต ล ะสํ า นั ก ก็ รั บ ทั้ ง บุ รุ ษ และสตรี ไมจํากัดอายุ (แตไมควรใหต่ํากวา ๗ ขวบ) หนาที่แมอีกประการหนึ่งก็คือ การหาคูครอง ที่สมควรให ซึ่งโดยสวนมาก วัฒนธรรมประเพณีไทย มักขึ้นอยูกับความพอใจของลูก ไมนิยมคลุมถุงชน มากนัก โดยแมรวมถึงพ อ อาจจะวางกรอบไวให ตามสมควร แลวคอยสนับสนุนเมื่อเห็นวาอยูในกรอบ และเขาตามตรอกออกตามประตู แตถาเห็นทีวาจะ ผิดลูทาง ก็คอยตะลอมกลอมเกลากันไป และเมื่อ ถึงวัยอันควรที่ลูกจะตั้งตัวสรางครอบครัว ก็มอบ ทรัพยสมบัติให (ถามี)

ทานผูอานที่เคารพ คงจะทราบกันดีแลววา การสอนลูกเปนเรื่องที่จําเปน แตการจะสอนที่มาก เกินไป ก็เปนสิ่งที่ควรงดเวน ควรสอนดวยคําพูดใหนอย แตใหมีน้ําหนักและในจังหวะที่เหมาะสม โดยเฉพาะ

คุณแมไมควรสอนแบบดาวาดวยความโมโหโกรธา จะทําใหลูกรูสึกขาดความอบอุน จะหาเรื่องออกไป หาเพื่อนนอกบาน ไมอยากอยูบาน นั้นแหละงานจะ เขา คุณ แม เพราะการสอนที่ถู ก วิ ธี คื อ การทํ า ดีใ ห ลูกดู จึงมีคําพูดติดปากมาแตโบราณวา “จะดูนาง ใหดูแม จะดูใหแนตองดูถึงยาย” ซึ่งถาพิจารณา ก็มีความจริงแฝงอยูมิใชนอย ทา นผู อ า นที่ เ คารพ ลู ก ที่ ดี เ ป น อนุ ส าวรี ย ของแมและพอ คือเปนเครื่องทําใหคนที่รูจักพอแม เมื่ อ เห็ น ลู ก ก็ ร ะลึ ก ถึ ง คุ ณ งามความดี ข องพ อ แม วาเลือดเนื้อเชื้อไขคนดี ตระกู ลผูดี ใจบุญใจกุ ศล จิตใจงาม น้ําใจดี มีความเมตตากรุณา เปนตน มีแต คนอยากเขาใกล ใครคบหาสมาคม เพราะเมื่อเขาใกล จะได ค วามอบอุ น ได วิ ช าความรู ได ฟ ง คํ า พู ด ที่ เปนมงคล ซึ่งแมเองก็มีความอิ่มใจ และภาคภูมิใจ เขาทํานองที่วา “มีลูกเหมือนปลูกโพธิ์ เมื่อใหญโต จะไดพึ่งพา” แตถาตรงขามคือลูกไมดี ก็ไมมีใคร นับญาติ ท า นผู อ า นและท า นผู เ ป น แม ที่ เ คารพ ทุกทาน หากทานมีความปรารถนาดีอยากจะสอนลูก หรือใหคติธรรมแกลูกๆ ในวันแม ผูเ ขียนขอเสนอ ธรรมะ ๕ อ. คือ ออนนอม ออนโยน อาทร อดทน และอภัย ออนนอม ใหความเคารพแกกัน โดยการ นอมกายลงไหว โคงคํานับ ใหและรับความเคารพ อยางนอบนอม ดวยใบหนาที่ยิ้มแยมแจมใส ออนโยน ใหความนุมนวลแกกัน โดยการ พูดจาไพเราะออนหวาน มีคําขอโทษ เสียใจ ขอบคุณ ยินดี ดวยน้ําใจไมตรีที่แทจริงจากใจบริสุทธิ์


อาทร ให ค วามห ว งใยแก กั น โดยการ ชวยเหลือจุนเจือผอนคลายความทุกขให ดวยใจที่ เมตตาและกตัญูรูคุณ อดทน ใหความเขมแข็งแกกัน โดยการสู กับงานหนัก ความทุกขยากนานา สูกับกิริยาวาจา ที่เขาดูถูกเหยียดหยาม สูกับสายตาที่ดูหมิ่นดูแคลน ด ว ยใจที่ ห นั ก แน น และมั่ น คงในองค แ ห ง ความ เมตตากรุณา อภัย ใหความไมถือโทษแกกัน โดยระงับ ความโกรธ ตั ดความอาฆาตพยาบาทให ขาดออกไป ดวยใจที่สงบและเยือกเย็น (นะลูกรักของแม)

ถึ ง วั น แม ลู ก ทุ ก คนควรนึ ก ถึ ง แม พาแม ทําบุญตักบาตรแลวควรมาพรอมหนาพรอมตากัน ก ร า บ เ ท า แ ม ( แ ล ะ พ อ ) แ ล ะ ก ล า ว ข อ ข ม า “กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม หากลูกไดประมาท พลาดพลั้ ง จะด ว ยเจตนาหรื อ หาเจตนามิ ไ ด ก็ ต าม ขอแม ( พ อ )ได โ ปรดอโหสิ ก รรมแก ลู ก ดวยเทอญ” และแม(พอ)กลาววา “อโหสิกรรม” ดวยนะครับ ชี วิ ต จะมี แ ต คุ ณ ค า ร ม เย็ น เป น สุ ข และ ปลอดภัยในที่ทุกสถาน ตลอดกาลทุกเมื่อ (ไมเชื่อ อยาลบหลู)


… ความซื่อตรง (๑) ...

“ความซื่อตรงตอหนาที่ คือ ตั้งใจกระทํากิจการ ซึ่งไดรับมอบใหเปนหนาที่ของตนนั้น โดยซื่อสัตยสุจริตใชความอุตสาหวิริยภาพเต็มสติกําลังของตน ดวยความมุงหมายใหกิจการ นั้น ๆ บรรลุถึงซึ่งความสําเร็จโดยอาการอันงดงามที่สุดที่จะพึงมีหนทางจัดไปได” “ความซื่อตรงตอหนาที่” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ไดทรง อธิบายความหมายไวในพระราชนิพนธ “หลักราชการ”


ความซื่อตรง เป นคํา ที่นํา คําว า ซื่อสัตย มารวมกับคําวา ตรงไปตรงมา เพื่อใหเกิดความหมาย เชิงบวก โดยไมตองตีความเปนศรีธนญชัยกันอีก เพราะคําวา ซื่อสัตย นั้น ใช ได ทั้งบวกและลบ แต ซื่อตรงนั้น เปนความหมายเชิงบวก คุณธรรมขอนี้ จึงหมายถึง การทําหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยาง ตรงไปตรงมา ดวยความซื่อสัตย ความซื่ อ ตรง ในที่ นี้ คื อ ความซื่ อ ตรง ตอหนาที่ เหตุที่มีการนําเอาคําๆ นี้ มาเปนหัวเรื่อง ในสั งคมไทยขณะนี้ เหตุ ม าจากทุกภาคส ว นของ สังคม เห็นพองกันวาสังคมไทยมีปญหาคอรัปชั่น มาก หรือ คอรัปชั่นกันไปทุกหยอมหญา จึงมีการ ทําวิจัยถึงสาเหตุของปญหา บางสวนคิดวาคนไทย ไมซื่อสัตยหรือไมสุจริต ซึ่งพอดูในรายละเอียดแลว ก็ไมนาจะจริงทั้งหมด เพราะคนไทยนับถือศาสนา เปนสวนใหญ และในทุกๆ ศาสนา ก็สอนใหทุกคน เป น คนดี ด ว ยกั น ทั้ ง นั้ น นอกจากนี้ ก ารคอรั ป ชั่ น จะเกิ ด ขึ้ น ได ต อ งมี ก ารทํ า งานกั น เป น ที ม ใหญ ทุ ก คนในที ม ต อ งซื่ อ สั ต ย ต อ กั น อย า งมั่ น คง แต ความซื่ อ สั ต ย เ หล า นี้ ถู ก ใช ไ ปในเรื่ อ งของความ จงรั ก ภั ก ดี ต อ กลุ ม ของตนเองเท า นั้ น จึ ง ต อ งหา สาเหตุ กั น ต อ ไป และก็ ม าลงที่ ค นของเราน า จะ ไม ซื่ อ ตรงมากกว า คื อ ไม ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องตน ตรงไปตรงมาอยางซื่อสัตย ทําใหงบประมาณของ แผ น ดิ น ถู ก ใช ไ ปอย า งสิ้ น เปลื อ ง ทั้ ง ข า ราชการ ประจําและขาราชการการเมือง เชน บางส ว นของข า ราชการการเมื อ งและ ขาราชการประจํา ไมปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่กําหนด มาปฏิบัติงานบาง ไมมาบาง ลาแบบไมถูกตองบาง

มาสายกลับกอนเวลาบาง ในเวลาทํางานก็เอาเรื่อง สวนตัว เขามาทําบาง เปนการคอรัปชั่นเวลาของ ราชการ

บางสวนใชทรัพยสินของทางราชการเพื่อ ทํางานสวนตัว ทั้งกระดาษ เอกสาร คอมพิวเตอร เครื่อ งพิม พ ยานพาหนะ เชื้ อเพลิง ฯลฯ เป น การ คอรัปชั่นทรัพยสินของราชการทั้งนั้น บางสวน ปฏิบัติงานดวยความไมเอาใจใส ไมศึกษางาน ไมทุมเทในการทํางาน ขาดการวางแผน การใชงานและการดูแลรักษา ทรัพยสิน เครื่องมือ และอุปกรณของราชการ ทําใหเกิดความไมพรอม ในการปฏิ บั ติ ง าน และต อ งสู ญ เสี ย งบประมาณ จํ า นวนมากในการดู แ ลแก ไ ข ทั้ ง หมดนี้ ไ ม ใ ช ก าร คอรั ปชั่ นงบประมาณ ไม มีขบวนการตรวจสอบที่ เป น รู ป ธรรม แต ต อ งใช ง บประมาณจํ า นวนมาก ในการแก ไ ข และเป น ต น เหตุ ใ นการคอรั ป ชั่ น งบประมาณในระหวางการแกไข ส ว นการคอรั ป ชั่ น งบประมาณของทาง ราชการนั้น เปนเพียงผลพลอยเสียที่ตามมา หลังจาก ที่ขาราชการบางสวนไมซื่อตรงตอหนาที่เทานั้นเอง


เพราะเปนการเปดโอกาสใหคนบางกลุมสามารถ ทุ จ ริ ต ได แต ทุ ก วั น นี้ สั ง คมมุ ง ชี้ อ ยู ต รงจุ ด การ คอรัปชั่นงบประมาณของทางราชการ ซึ่งเปนเรื่อง ปลายเหตุ การมุงเนนความซื่อตรงตอหนาที่ จึงเปน สิ่งที่นาสนใจ เพราะหนาที่ทุกๆ หนาที่ของราชการ นั้น มีเขียนไวเรียบรอยแลว เพียงแตทําใหครบถวน เทานั้น การทุจริตก็จะเกิดขึ้นไดยาก ป ญ หาเรื่ อ งความซื่ อ ตรงนี้ ทุ ก ๆ ป ญ หา มาจากจุ ดเริ่ ม ต น เดี ย วกั น หมด คื อ ปญ หาความ ไมซื่อตรงตอตนเอง ความซื่อตรงต อตนเอง เปน เรื่องของการ ไมหลอกตนเอง ไมบิดพริ้ว ความตั้งใจหรืออุดมการณ ของตนเอง หากมีการกระทําใดๆ ที่ผิดพลาดเกิดขึ้น ธรรม

ตองมีการพิจารณาดวยใจของตนเองอยางเปนธรรม ไม เ ข า ข า งตนเอง ยอมรั บ ความผิ ด พลาดแก ไ ข สิ่งเหลานั้น และพยายามไมใหเกิดอีก ความซื่อตรง ตอตนเองนั้น เปนสิ่งที่ตองสรางขึ้นในตัวเอง ดวย การสะสมความอดทนที่จะพิจารณาตัดสินตนเอง ด ว ยใจเป น ธรรม เมื่ อสามารถทํ า ได บอ ยๆ ความ ผิ ด พลาดจะน อ ยลงๆ ความซื่ อ ตรงจะสู ง ขึ้ น แต ในทางตรงขาม หากพิจารณาตัดสินการกระทําของ ตนเองแบบเขาขางตนเองบอยๆ ก็จะเปนการสะสม ความไมซื่อตรงตอตนเองมากขึ้นเรื่อยๆ และนําไปสู การกระทํ า ที่ ผิ ด พลาดมากขึ้ น เสี ย หายมากขึ้ น ทั้งตอตนเองและสวนรวม """

วิลเลียม เชกสเปียร์ กล่าวไว้ว่า “หากท่านซื่อตรงและมีสัจจะกับตนเองแล้ว ท่านจะ ไม่มีวันหลงทาง ชีวิตท่านจะดําเนินไปได้ดุจการต่อเนื่องกันของวันคืน และท่านก็จะเป็น ประโยชน์กับทุกคนด้วย” หากเราเชื่อเชกสเปียร์บ้าง ก็น่าจะดีเหมือนกัน....


พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. รับเยี่ยมคารวะ นายเลนนาร‹ด ลินเนร‹ เอกอัครราชทูตวิสามัญผูˆมีอำนาจเต็มแห‡งราชอาณาจักร สวีเดน ประจำประเทศไทย เพื่ออำลาในโอกาสกำลังจะพˆนหนˆาที่ ณ หˆองรับรองพิเศษ ๑ บก.ทอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. ร‡วมประชุมกับ ผบ.สส., ผบ.ทบ., ผบ.ทร. และ ผบ.ตร. ในการประชุม ผบ.เหล‡าทัพ ครั้งที่ ๕/๕๔ ณ หˆองประชุม สนง.ตำรวจแห‡งชาติ

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิดการฝึก ผสม ELANG THAINESIA ร‡วมกับ AIR CHIEF MARSHAL IMAM SUFAAT เสธ.ทอ.อินโดนีเซีย โดยในปีนี้เป็นการฝึกครบรอบ ๓๐ ปี ที่ไทยและอินโดนีเซียทำการฝึกร‡วมกัน ณ บน.๒๓

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิดการ ประชุม ผบ.ทอ.อาเซียน ครั้งที่ ๘ ซึ่ง ทอ.เป็นเจˆาภาพ ณ ร.ร. ดุสิตธานี หัวหิน อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี

พล.อ.อ.ศรีเชาวน‹ จันทร‹เรือง ผช.ผบ.ทอ. เป็นผูˆแทน ทอ. ส‡ง พล.อ.อ.อิหม‡าม ซูฟาอัท เสธ.ทอ.อินโดนีเซีย และ คุณมายา อิหม‡าม ซูฟาอัท ภริยา ในโอกาสเป็นแขกของ ทอ. ณ ท‡าอากาศยานหัวหิน

พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง เสธ.ทอ. เป็นผูˆแทน ผบ.ทอ. ใหˆโอวาทแก‡กำลังพล ของ กกล.ทอ. ที่จะเขˆาร‡วมการฝึก Red Flag Alaska 11-2 ณ ฐานทัพ อากาศ Elmendorf มลรัฐ Alaska ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมี น.อ.สมชาย นุชพงษ‹ ผบ.กฝผ.ยก.ทอ. เป็น ผบ.กกล.ทอ. ณ หˆองรับรอง ทอ.


พล.อ.อ.สมนึก สวัสดิ์ถึก ประธาน คณก.พลังงานทดแทน ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมความกˆาวหนˆาศูนย‹ผลิตน้ำมันไบโอดีเซล บน.๔๖ โดยมี น.อ.ฐากูร นาครทรรพ รอง ผบ.บน.๔๖ ใหˆการ ตˆอนรับ

พล.อ.อ.สมนึก สวัสดิ์ถึก ปษ.พิเศษ ทอ. เป็นประธานในการ แข‡งขันรักบี้ฟุตบอลพี่พบนˆองชิงถˆวย ผบ.ทอ. ระหว‡างทีมศิษย‹เก‡า พบกับ ศิษย‹ปัจจุบัน รร.นอ. ซึ่งเป็นการแข‡งขันเพื่อเตรียมทีมไป แข‡งขันกีฬาประเพณีทหาร-ตำรวจ ครั้งที่ ๔๙ ณ รร.จปร.

พล.อ.อ.วินัย เปล‡งวิทยา ผบ.คปอ. เป็นประธานในพิธีขอขมา ผูˆบังคับบัญชาก‡อนอุปสมบทของขˆาราชการ คปอ. ประจำปี ๕๔ ณ ชุมนุมสัญญาบัตร คปอ.

พล.อ.ฉัตรชัย ธรรมรักษา ผทค.ทบ. ใหˆเกียรติมาบรรยายพิเศษ เรื่อง “ตามรอยพระยุคลบาท” ใหˆขˆาราชการ ลูกจˆาง และพนักงานราชการ ของ ชอ. เนื่องในโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา โดยมี พล.อ.ท.อานนท‹ วิรัชกุล จก.ชอ. ใหˆการตˆอนรับ ณ สมส.ทอ.บางซื่อ

พล.อ.ท.วุฒิชัย คชาชีวะ รอง เสธ.ทอ. ในฐานะประธานอนุกรรมการ ฝ่ายกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ‹ นำคณะสื่อมวลชนแขนงต‡างๆ เยี่ยมชมการสาธิตการปฏิบัติการบินของเครื่องบินขับไล‚แบบ GRIPEN 39 C/D และ SAAB 340 AEW/B เหนือฝั่งทะเลอันดามัน

พล.อ.ท.วุฒิชัย คชาชีวะ รอง เสธ.ทอ. พรˆอมดˆวยเจˆาหนˆาที่จาก ศบภ.ทอ. และผูˆแทนจากธนาคารไทยพาณิชย‹ จำกัด (มหาชน) นำถุงยังชีพ จำนวน ๑,๐๐๐ ชุด พรˆอมน้ำดื่ม ไปใหˆความช‡วยเหลือ พี่นˆองประชาชนที่ประสบอุทกภัย ณ ฝูงบิน ๔๖๖ จ.น‡าน


พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. เป็นประธานในพิธี เปิดโครงการปลูกจิตสำนึกใหˆรักชาติและเทิดทูนสถาบันพระมหา กษัตริย‹ สำหรับขˆาราชการ และทหารกองประจำการ ณ กรม ตอ.รอ.อย.

พล.อ.ท.เฉลิม ตรีเพ็ชร ผอ.ศวอ.ทอ. เป็นประธานมอบทุน การศึกษา ใหˆแก‡บุตรหลานขˆาราชการ ณ หอประชุม ศวอ.ทอ.

พล.อ.ท.วีรนันท‹ หาญสวธา ปช.ทอ. และคณะขˆาราชการ สปช.ทอ. เดินทางไปดูงานการบริหารจัดการดˆานงบประมาณ ณ สหพันธ‹ สาธารณรัฐเยอรมนี และสาธารณรัฐฝรั่งเศส

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. เป็นประธานในพิธี เปิดการแข‡งขันโบว‹ลิ่งการกุศล รร.นอ. โดยมีขˆาราชการ และ ผูƒใหˆการสนับสนุนเขˆาร‡วมการแข‡งขัน ณ เมเจอร†โบว‹ล สาขารังสิต จ.ปทุมธานี

พล.อ.ท.อานนท‹ วิรัชกุล จก.ชอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ ช‡างอากาศ บน.๑ โดยมี น.อ.คงศักดิ์ จันทรโสภา ผบ.บน.๑ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ท.วีรนันท‹ หาญสวธา ปช.ทอ. พรˆอมดˆวยขˆาราชการ ลูกจˆาง และพนักงานราชการ สปช.ทอ. ร‡วมบริจาคโลหิต ณ กองบริการ โลหิต รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. เนื่องในโอกาสครบรอบ ๓๓ ปี วันคลˆายวันสถาปนา สปช.ทอ.


พล.อ.ต.จอม รุ‡งสว‡าง จก.ยก.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิดการ ศึกษาหลักสูตรการยุทธการระดับฝูงบิน รุ‡นที่ ๗๔ ณ หˆองประชุม ยก.ทอ.

พล.อ.ต.กฤษณะ นิ่มวัฒนา จก.กพ.ทอ เป็นประธานในกิจกรรม โครงการหนึ่งรˆอยความดี หนึ่งรˆอยพลังใจ ร‡วมตˆานภัยยาเสพติด โดยมีขˆาราชการ กพ.ทอ. เขˆารับฟังการบรรยาย ณ หˆองบรรยาย บก.ทอ.

พล.อ.ต.ศิวเกียรติ์ ชเยมะ ผบ.รร.การบิน เป็นประธานในพิธี มอบทุนการศึกษา รร.การบิน ประจำปี ๕๔ ใหˆแก‡บุตรขˆาราชการ ลูกจˆาง และพนักงานราชการ ณ หอประชุม รร.การบิน จ.นครปฐม

พล.อ.ต.บวรศักดิ์ ลับไพรี ผอ.สตน.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ คุณสุรีพร ศิริขันตยกุล ผูˆเชี่ยวชาญเฉพาะดˆานพัฒนาระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง พรˆอมคณะฯ ในการประเมินระบบการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ ๕๔

พล.อ.ต.ชินชาต บุญคง จก.สบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีปลูก ตˆนไมˆรักษาสิ่งแวดลˆอม เนื่องในวันตˆนไมˆแห‡งชาติ ประจำปี ๕๔ ณ กปพ.สบ.ทอ.

พล.อ.ต.อดิศักดิ์ เจิมวรรธนะ จก.กบ.ทอ. และคณะ ฝอ.กบ.ทอ. ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการดˆานส‡งกำลังบำรุง บน.๕๖ โดยมี น.อ.สุจินดา สุมามาลย‹ ผบ.บน.๕๖ ใหˆการตˆอนรับ


พล.อ.ต.สมพล พูนทวีธรรม จก.จร.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม การปฏิบัติราชการ บน.๑ โดยมี น.อ.คงศักดิ์ จันทรโสภา ผบ.บน.๑ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธีปิด การศึกษาหลักสูตรทหารสารวัตร สำหรับนายทหารประทวน รุ‡นที่ ๒๙ ณ หˆองประชุม รˆอยจราจร พัน.สห.ทอ. กรม.สห.ทอ. สน.ผบ.ดม.

นายศานิตย‹ นาคสุขศรี ผวจ.สระแกˆว เป็นประธานในพิธีเปิดการแข‡งขัน รถยนต‹ทางเรียบ “SAKAEO SUPER CAR THAILAND CHAMPIONSHIP 2011” ภายใน ฝูงบิน ๒๐๖ เพื่อเป็นการส‡งเสริมการท‡องเที่ยวของจังหวัด โดยมี น.อ.ชิตชัย ไกรคง ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ อำนวยความสะดวกและร‡วม มอบถˆวยรางวัลใหˆแก‡ผูˆชนะเลิศ

พล.อ.ต.นิวัต เนื้อนุ‡ม ผอ.สนภ.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม ฝอก. นิรภัย บน.๗ โดยมี น.อ.สฤษดิ์พร สุนทรกิจ ผบ.บน.๗ ใหˆการ ตˆอนรับ

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธีขอขมา ผูˆบังคับบัญชาก‡อนอุปสมบทของขˆาราชการ ลูกจˆางประจำ สน.ผบ.ดม. ประจำปี ๕๔ ณ หˆองประชุม สน.ผบ.ดม.

พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธี ขอขมาผู ˆ บ ั ง คั บ บั ญ ชาก‡ อ นอุ ป สมบทของขˆ า ราชการ ขส.ทอ. ประจำปี ๕๔ ณ หˆองสมุด ขส.ทอ.


พล.อ.ต.เผด็จ วงษ‹ปิ่นแกˆว รอง จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธี ปิดการศึกษาหลักสูตรผูˆบริหารการศึกษา รุ‡นที่ ๒ ณ หˆองบรรยาย รร.คท.ยศ.ทอ.

พล.อ.ต.ทนงศักดิ์ พวงพ‡วงรอด รอง ผบ.อย. เป็นประธาน คณะกรรมการตรวจสอบความพรˆอมรบและทดสอบแผนปƒองกัน ที่ตั้งหน‡วย ทอ. ณ บน.๕๖ โดยมี น.อ.สุจินดา สุมามาลย‹ ผบ. บน.๕๖ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ต.ประสาธน‹ พึ่งศิลป† เสธ.สพ.ทอ. เป็นประธานในการฟังบรรยาย และสาธิตเครื่องตัดสัญญาณระบบวิทยุและโทรทัศน‹เคลื่อนที่ใชˆในการ จุดระเบิดของบริษัท NDR ประเทศอังกฤษ โดย จนท.บริษัท เทคโนโลยี เซอร‹วิส แอนด‹ คอนซัลติ่ง ๑๖๕๖ จำกัด มาเป็นผูˆบรรยายและสาธิต ณ หˆองประชุม กวก.สพ.ทอ.

พล.ต.อาจศึก สุวรรณธาดา ผช.ผอ.ศปร.ศบท.ทท. และคณะฯ ตรวจ ผลงานโครงการผลิตไบโอดีเซล ๘๔,๐๐๐ ลิตร เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ของ บน.๔๖ ที่ส‡งเขˆาประกวดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงกองทัพไทย โดยมี น.อ.ฐากูร นาครทรรพ รอง ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ต.วัธน มณีนัย รอง ผบ.รร.นอ. เป็นประธานในพิธีเปิดการ แข‡งขันฟุตบอล RTAFA League 2011 โดยมีขˆาราชการ ลูกจˆาง และ พนักงานราชการ รร.นอ. เขˆาร‡วมกิจกรรมการแข‡งขัน เพื่อสรˆางความ สัมพันธ‹อันดีระหว‡าง นขต.รร.นอ. ณ สนามฟุตบอล รร.นอ.

พล.อ.ต.วราวุธ คันธา รอง จก.พอ. เป็นประธานในการจัด โครงการทหารอากาศปลอดบุหรี่ สดุดีองค‹ราชัน ๘๔ พรรษา เนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก


น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ นางคริสตี้ เอ.เคนนีย‹ เอกอัครราชทูตสหรัฐประจำประเทศไทย ณ ลานจอด ฝูง.๒๐๑ รอ.บน.๒

น.อ.รัชฎา วรภากร รอง จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธีจัด กิจกรรมเนื่องในวันตˆนไมˆแห‡งชาติ ประจำปี ๕๔ ณ บริเวณฝ่าย บริการเชื้อเพลิง กพพน.ขส.ทอ.

น.อ.ชวรัตน‹ มารุ‡งเรือง รอง จก.กพ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด การอบรมหลักสูตรครูฝึกงานในหนˆาที่ รุ‡นที่ ๑๒ ณ หˆองประชุม ศภษ.ยศ.ทอ.

น.อ.บุญมั่น รอดรุ‡งเรือง รอง ผอ.สนภ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิดการ ประชุมสัมมนานิรภัยการบินหลักสูตร Aviation Safety Course โดยมี น.นิรภัยการบินของหน‡วยบินเขˆาร‡วมประชุมสัมมนา และไดˆรับการ สนับสนุนผูˆบรรยายใหˆความรูˆดˆานนิรภัยการบินจากเครือรัฐออสเตรเลีย ณ หˆองประชุมหอสมุด ทอ.กวบ.ยศ.ทอ.

น.อ.บรรจง คลายนสูตร‹ รอง จก.ชย.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการช‡างโยธา บน.๒๓ และ สร.๕ ศปอ.คปอ. โดยมี น.อ.นภาเดช ธูปะเตมีย‹ ผบ.บน.๒๓ ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.พลานันท‹ ปะจายะกฤตย‹ รอง เสธ.ชอ. ตˆอนรับ น.อ.ประเสริฐ ช‡างประเสริฐ รอง เสธ.ยศ.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมงานดˆาน การศึกษา และ รร.เหล‡าทหารช‡างอากาศของ ชอ. ณ หˆองประชุม ชอ.๑


น.อ.สุทธิพงษ‹ อินทรียงค‹ รอง จก.ยก.ทอ. ประธานคณะฝ่าย อำนวยการ ยก.ทอ. ตรวจเยี่ยม บน.๖ โดยมี น.อ.สุระ ไชโย ผบ.บน.๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุม บก.บน.๖

น.อ.อนุชิต แกˆวประสพ เสธ.สก.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการ บน.๔ โดยมี น.อ.ชานนท‹ มุ‡งธัญญา ผบ.บน.๔ ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุม บก.บน.๔

น.อ.สุรพันธ‹ สุวรรณทัต ฝสธ.ประจำ ทสส.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมกิจการในสายงานดˆานเทคโนโลยีสารสนเทศ และ สงครามอิเล็กทรอนิกส‹ โดยมี น.อ.สุจินดา สุมามาลย‹ ผบ.บน.๕๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองบรรยายสรุป ฝูง.๕๖๑ บน.๕๖

น.อ.อภิญญา แตงอ‡อน ผบ.กกล.ทอ.ฉก.๙ นำขˆาราชการ และ ทหารกองประจำการ ร‡วมพัฒนาทำความสะอาดพื้นที่โดยรอบ สนามบินบ‡อทอง อ.หนองจิก จ.ปัตตานี

สวบ.ทอ. จัดชุดเจˆาหนˆาที่ลำเลียงผูˆป่วยทางอากาศพรˆอมอุปกรณ‹ เขˆาร‡วม การฝึก “การฝึกร‡วม/ผสม ไทย-มาเลเซียประจำปี ๒๕๕๔ (JCEX THAMAL 2011) ดˆานการช‡วยเหลือมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ ตาม ขˆอตกลงอาเซียน และ รปจ.กกล.ผสมนานาชาติ ณ ศูนย‹การทหารราบ จ.ประจวบคีรีขันธ‹

น.อ.ชิตชัย ไกรคง ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ พรˆอมขˆาราชการและทหารกอง ประจำการ ร‡วมออกหน‡วยใหˆบริการจังหวัดเคลื่อนที่ตามโครงการ “หน‡วยบำบัดทุกข‹ บำรุงสุข สรˆางรอยยิ้มใหˆประชาชน’’ และโครงการ “สระแกˆวผูกใจประสานใหˆบริการประชาชน” ณ ร.ร.ชุมชนบˆานโนนจิก อ.วัฒนานคร จ.สระแกˆว




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.