หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน กุมภาพันธ์ 2554

Page 1



“...ในการทํางานใด ๆ ก็ตาม ผู้ปรารถนาความสําเร็จ ที่แท้จริงจะต้องมุ่งหมายแต่เฉพาะผลที่เป็นคุณเป็นประโยชน์ และจะต้องอุตสาหะพยายามดําเนินงานทุกอย่างด้วยความ บริสุทธิ์ใจ ด้วยความละเอียดรอบคอบ ประกอบด้วยเหตุผล และความสุจริตยุติธรรมโดยไม่ท้อถอย จึงจะบรรลุผลสําเร็จ ที่ ส มบู ร ณ์ แ ละเป็ น เกี ย รติ ยั่ ง ยื น อยู่ ต ลอดไปได้ มิ ฉ ะนั้ น อาจทําลายส่วนรวมและทําลายคุณความดีต่าง ๆ จนพินาศ ย่อยยับไปพร้อมกับผืนแผ่นดิน...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ณ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๑๘


วันมาฆบูชาพารําลึก วันประทานปาติโมกขโลกสบาย ในวันเพ็ญเดือนสามงามวิสุทธิ์ ไมทําบาปทั้งปวงดวงกมล ทําจิตใจของตนมิหมนไหม จะสมบูรณพูนผลบนแผนดิน ทั้งไดตรัสอุดมการณงามราศี มีตบะไวอยางระวังระไว แจงวิธีทํางานการศาสนา ไมทํารายใครเขาโทษเอาฬาร ควรฉลาดบริโภคโลกสวัสดิ์ ยกจิตใจของตนพนมลทิน ในทามกลางพระสงฆองคอรหันต พันสองรอยหาสิบองคจํานงใจ เมื่อคํารบครบวันอันมาถึง ปฏิบัติบูชาบารมี ขอคุณพระไตรรัตนจรัสศรี ผูศรัทธาทั่วไปไรโรคา ขอชาติศาสนามหากษัตริย น้ําไฟลมอุดมดินสินตระการ

มโนนึกพุทธองคจํานงหมาย จุดมุงหมายใจสวางอยางวิมล ตรัสตรงจุดหลักการอันเปนผล ทําบุญบนศรัทธาเปนอาจิณ ใหผองใสในจิตนิจศีล ไรราคินในกมลพนทุกขภัย มีขันตีคืออดทนพนสงสัย อดกลั้นใหเปนผลจนนิพพาน ไมวารายนินทาวากลาวขาน พรอมสืบสานปาติโมกขโลกระบิล ที่สงัดเหมาะสมอุดมศิลป เปนอาจิณสุขสวางกระจางใจ บวชเอหิทั้งนั้นวรรณผองใส เขาเฝาในเพ็ญเดือนสามงามฤดี ชาวพุทธพึงบูชาเพิ่มราศี ผองอินทรียอามิสจิตบูชา คุมผูมีอํานาจวาสนา ชวยนําพาชาติไทยพนภัยพาล แจมจรัสขวัญไทยจงไพศาล สุดเบิกบานชาติไทยสดใสเทอญ

พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (น.อ.เกษม พงษพันธ ประพันธ)


1

ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำหนังสือข่าวทหารอากาศ

หนังสือข่าวทหารอากาศ

เจ้าของ กองทัพอากาศ

ทีป่ รึกษา พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบตุ ร

ผูอ้ ำนวยการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของ กองทัพอากาศ เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรม ข่ า วทหารอากาศ มี น าวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็ น บรรณาธิ ก ารคนแรก ดำเนิ น การโดยทุ น ของข้ า ราชการ ทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยู่ในความ อำนวยการของกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ตามคำสั ่ ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ มีเจ้ากรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เป็นผูอ้ ำนวยการ ตามคำสัง่ ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๙๙ ลงวันที่ ๗ ม.ค.๒๔๙๙ ภารกิจ

รองผู้อำนวยการ

ดำเนิ น กิ จ การหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ให้ เ ป็ น ไป ตามนโยบายของกองทั พ อากาศ มี ผ ู ้ อ ำนวยการหนั ง สื อ ข่ า ว ทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ต.ยงยุทธ หาบุบผา เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.ประเสริฐ ช่างประเสริฐ รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ

วัตถุประสงค์/นโยบายกองทัพ ๑. เพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ นกิจการทัว่ ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อันจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ๓. เพือ่ เผยแพร่กจิ การกองทัพอากาศ

น.อ.สหัสชัย มาระเนตร น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี

กองบรรณาธิการ

น.ท.พินจิ นุชน้อมบุญ

นโยบายการดำเนินงานในปัจจุบัน ๑. เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น แสดงความคิดเห็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรือ่ งทีน่ ำลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ * ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ ทีก่ ำหนด * ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อความมัน่ คงของชาติ บุคคล หรือส่วนรวม * ความยาวของเรือ่ งไม่ควรเกิน ๕ ตอน แต่ละตอน ไม่ควรเกิน ๕ หน้า * ต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ กรรมการพิจารณาเรือ่ งของสำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ

นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์

กำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

บรรณาธิการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง พัชรา ภัทรสุวรรณ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง

ประจำกองบรรณาธิการ น.ท.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ น.ท.หญิง วรรณิภา ยีป่ ระชา พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

น.ท.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ต.สินธพ ประดับญาติ

กองจัดการ น.ท.สมพร สิงห์โห ร.ท.หญิง สุมาลี สายะนันท์ พ.อ.อ.ประจวบ วีระชนม์ พ.อ.อ.สมศักดิ์ เพียรประเสริฐ จ.อ.หญิง เศาวณี พ่านเผือก สำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์กองทัพอากาศ ดอนเมือง แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร.๐-๒๕๓๔-๒๙๔๓ , ๐-๒๕๓๔-๕๑๔๘

ค่าสมาชิกภายนอก ปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สัง่ จ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในหนังสือฉบับนีไ้ ม่มส ี ว่ นผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด

ออกแบบปก : น.ต.สินธพ ประดับญาติ

http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com


1

ปีท่ี ๗๑ ฉบับที่ ๒ เดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔

สารบัญ บทบรรณาธิการ

๖๒ ย้อนรอยมรดกโลก ปราสาทพระวิหาร

๖ ธ สถิตในใจประชา ...ตามรอย ๘ เจตนารมณ์และนโยบาย ๑๘ ๒๑ ๒๗ ๓๒ ๓๖ ๔๐ ๔๓ ๔๗ ๔๙ ๕๓ ๕๗

ผูบ้ ญ ั ชาการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๕๔ ปฏิบตั กิ ารของทหารไทยในงานพระราชสงคราม ณ ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ.๒๔๖๑ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร 10th ANNIVERSARY A-JET ...พ.อ.อ.รัชต์ รัตนวิจารณ์ ประสบการณ์การบินกับ F-15 Eagle ...น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ เครือ่ งบินโจมตีใบพัดในอนาคต ของกองทัพอากาศสหรัฐฯ ...พ.อ.อ.จำนงค์ ศรีโพธิ์ ๕๘ ปี กรมจเรทหารอากาศ ...ปชส.จร.ทอ. กรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารทหารอากาศ ...ปชส.ทสส.ทอ. การฝึกบินกับเครือ่ งบิน Gripen ณ ราชอาณาจักรสวีเดน ...ศิษย์ นนอ. วัตถุมงคล ของชาว ทอ. “ศิษย์ทหารอากาศ” ...น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา เน็ตบุ๊คหรือสมาร์ทโฟน ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์ อิสราเอลกับการเปลี่ยนหลักนิยม ...น.อ.ประยุทธ เปี่ยมสุวรรณ์ วิวัฒนาการของระบอบการเมือง การปกครองไทยยุคประชาธิปไตย ...พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข

๑๐๐

๗๐ ๗๔ ๗๘ ๘๑ ๘๔ ๘๖ ๘๘ ๙๔ ๙๖ ๙๙ ๑๐๒ ๑๐๕

“โบราณสถานเจ้าปัญหาแห่งความขัดแย้ง” ...น.อ.จิโรตม์ มณีรตั น์ ภาษาไทยด้วยใจรัก “สำนวนเกีย่ วกับยา” ...นวีร์ ครูภาษาพาที “โรงเรียนสองภาษา” ...SORA พูดจาประสาหมอพัตร “โรคฉี่หนู” ...หมอพัตร เวลาการ์ตนู ...มิสกรีน มุมกฎหมาย “การยื่นคำร้องขอให้ศาลตั้งผู้จัดการมรดก” ...น.ท.พงศธร สัตย์เจริญ มุมสุขภาพ “เคล็ดลับการป้องกันโรคแบบแพทย์แผนจีน” ...ว.วรธงไชย สามแผ่นดิน ตอนที่ ๑ “จากซูริค...ไปลูเซิร์น” ...พล.อ.อ.เดชา หันหาบุญ ปริศนาอักษรไขว้ ...มีน มาฆบูชา วันแห่งความรักทางพระพุทธศาสนา ...น.อ.เกษม พงษ์พนั ธ์ นานา...น่ารู้ “การดูแลสุนขั ” ...บางแค รับสมัครบุคคลเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหาร (ในส่วนของกองทัพอากาศ) ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๔ ในรัว้ สีเทา


สวัสดี สมาชิกข่าวทหารอากาศทุกท่าน วันศุกร์ที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เป็นวันสําคัญทางพุทธศาสนา คือ วันมาฆบูชา ได้เวียนมาบรรจบ ครบรอบอีกวาระหนึ่ง ในวันนี้เป็นวันที่มีเหตุการณ์สําคัญเกิดขึ้น ๔ ประการ เรียกว่า “จาตุรงคสันนิบาต” ซึ่ง ประกอบด้วย ๑. เป็นวันที่พระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ หมายถึง ความสําคัญของพุทธศาสนา คือ การไม่ทํา บาปทั้งปวง การทํากุศลให้ถึงพร้อม การทําจิตใจให้ผ่องใส ๒. พระภิกษุ ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระภิกษุเหล่านั้น ล้วนเป็นพระอรหันต์ทุกรูป ๔. พระภิกษุเหล่านั้น ล้วนเป็นเอหิภิกขุทุกรูป ในวันมาฆบูชามีความสําคัญต่อพุทธศาสนิกชน(ผู้มีพุทธศาสนาอยู่ในหัวใจ) จึงขอเชิญชวนให้ทุกท่าน ทําหน้าที่เป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี น้อมระลึกถึงคําสอนของพระพุทธองค์ ด้วยการคิดดี พูดดี ทําดี มีความรัก ความเมตตาต่อกัน ก็จะช่วยนําพาให้เกิดความสามัคคีในสังคม และนําไปสู่สันติสุขอย่างแท้จริง เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ยั ง มี วั น สํ า คั ญ อี ก วั น หนึ่ ง คื อ วั น ที่ ๒๔ กุ ม ภาพั น ธ์ ข องทุ ก ปี เป็ น วั น ตรงกั บ วั น พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทางการ ประกาศให้เป็นวันศิลปินแห่งชาติ เพื่อเฉลิมพระเกียรติและสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ได้สร้างสรรค์ และ ส่งเสริมทะนุบํารุงด้านศิลปวัฒนธรรมของไทย จนเป็นมรดกตกทอดมาจนถึงทุกวันนี้ และในเดือนนี้ ยังมีนัย แห่งการก้าวไปสู่ Network Centric Operations ที่สําคัญประการหนึ่ง นั่นก็คือ บ.ขับไล่ แบบ Gripen 39 C/D ๖ เครื่องแรก จะเดินทางมาถึงประเทศไทยในกลางเดือนนี้ด้วย ภาพจากปก.....ฉบับนี้อ่านรายละเอียดได้จาก...เรื่อง เครื่องบินโจมตีใบพัดในอนาคตของกองทัพอากาศ สหรัฐฯ บ.เอที – 6บี เพื่อใช้สําหรับปฏิบัติภารกิจลาดตระเวนทางอากาศ การค้นหาเป้าหมายและนําวิถีให้กับ ระบบอาวุธ...ในปี ๒๕๕๔ นี้ พวกเราชาวกองทัพอากาศควรจะได้ศึกษาแนวทางและนโยบายของผู้บัญชาการ ทหารอากาศ เพื่อจะได้ปฏิบัติงานไปสู่เป้าหมายเดียวกัน ซึ่งสามารถติดตามอ่านได้ในเรื่อง....เจตนารมณ์ และ นโยบายผู้บัญชาการทหารอากาศ นอกจากนี้ยังมีอีกหลายเรื่องล้วนมีสาระและน่าสนใจ โปรดพลิกอ่านได้ ตามอัธยาศัย บรรณาธิการ


ตามรอย เมื่อประมาณ ๓-๔ ทศวรรษที่แลวมา คนไทย กลุมหนึ่งมีอุดมการณทางการเมืองที่แตกตางไปจาก รัฐบาล ไดพยายามทําลายหนวยราชการและทําราย ทหารที่ออกไปปฏิบัติหนาที่ตามชายแดน มีการบังคับ จับตัวครูผูสอนตามโรงเรียนไป โรงเรียนที่มีอยูตอง ปดการเรียนการสอน

เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระเจา อยู หัว เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น เยี่ ย มหน ว ยทหารที่ ภู พ านน อ ย อําเภอนาแก จั ง หวัดนครพนม เมื่อเดือ นมีน าคม พ.ศ.๒๕๑๕ ได มี พ ระราชกระแสรั บ สั่ ง ให ท หาร กองทัพภาคที่ ๒ จัดตั้งโรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อชวยเหลือดานการศึกษา กองทัพภาคที่ ๒ ได ดําเนินการตามพระราชประสงค ไดพบวาโรงเรียน

บานหนองแคน ตําบลหนองแคน อําเภอดงหลวง จัง หวัดมุกดาหาร อยู ในสภาพทรุดโทรม สอนชั้น ประถม ๑ เพียงชั้นเดียว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานทรัพยสวนพระองค กอสรางอาคารเรียน ถาวร ขนาด ๕ หองเรียนขึ้น ไดเสด็จพระราชดําเนิน พรอมดวยสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงเป ด อาคารเรี ย นเมื่ อ วั น ที่ ๓๐ ตุ ล าคม พ.ศ.๒๕๑๖ พระราชทานนามโรงเรียนวา “โรงเรียน รมเกลา” เปดสอนชั้นประถม ๑-๔ โดยทหารทําหนาที่ ครู หลังจากนั้น ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางโรงเรียนรมเกลาในพื้นที่ทุรกันดารหางไกล อีกหลายแหง โดยกองทัพภาคตาง ๆ เชน โรงเรียน รมเกลา ตําบลดงหลวง จังหวัดสกลนคร โรงเรียน รมเกลา ตําบลหนองบัว อําเภอเมืองอุดรธานี จังหวัด อุดรธานี โรงเรียนรมเกลา ตําบลยี่งอ อําเภอยี่ง อ จั ง หวั ด นราธิ ว าส และได ข ยายการสอนถึ ง ระดั บ มัธยมศึกษา โรงเรียนรมเกลาสวนใหญจะมีโครงการ อาหารกลางวั น ให เ ด็ ก นั ก เรี ย น บางโรงเรี ย นมี ทุ น การศึ ก ษาให นั ก เรี ย นได เ รี ย นต อ จนจบระดั บ


อุดมศึกษา ปจจุบันนักเรียนโรงเรียนรมเกลาที่ไดรับ ทุน สํา เร็จ การศึกษาระดับอุ ดมศึกษา และเขา รับ ราชการกับทํางานในที่ตาง ๆ อยางเปนประโยชน ทั้งแกตัวเองและประเทศชาติ

อุดมศึกษา ปจจุบันนักเรียนโรงเรียนรมเกลาที่ไดรับ ทุน สํ า เร็จ การศึกษาระดับอุ ดมศึ กษา และเขา รั บ ราชการกับหนวยงานในที่ตาง ๆ อยางเปนประโยชน ทั้งแกตัวเองและประเทศชาติ สํ า ห รั บ เ ด็ ก ย า ก จ น แล ะ เ ด็ ก กํ า พ ร า พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ได ท รงพระกรุ ณ า โปรดเกลาฯ ใหจัดตั้งโรงเรียนขึ้นในวัด อาราธนา พระภิกษุสงฆในวัดมาเปนครู ดวยมีพระราชดํารัสวา การศึกษาของไทยแตกอนมีกําเนิดเริ่มตนมาจากวัด ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ จัดตั้งคณะกรรมการ ขึ้นคณะหนึ่ง ทําหนาที่จัดตั้งโรงเรียนในวัด ไดทรง อาราธนาสมเด็ จ พระวั น รั ต (ปุ น ปุ ณ ณสิ ริ ) วั ด พระเชตุ พ น ซึ่ ง ต อ มาได รั บ สถาปนาเป น สมเด็ จ พระสังฆราช เปนประธาน ไดพระราชทานพระราชทรัพย สวนพระองคเปนทุนดําเนินการเริ่มแรก ๔๐๐,๐๐๐ บาท มี ผู บ ริ จ าคโดยเสด็ จ พระราชกุ ศ ลอี ก ส ว นหนึ่ ง โรงเรี ย นในวั ด สํ า หรั บ เด็ ก ยากจนแห ง แรก คื อ โรงเรี ย นมั ธ ยมวั ด ศรี จั น ทร ป ระดิ ษ ฐ อยู ที่ ตํ า บล ธรรม

บางปู ใ หม อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินวางศิลาฤกษ อาคารเรีย น เมื่ อวั นที่ ๑๒ มิ ถุน ายน พ.ศ.๒๕๑๒ โรงเรี ย นต อ ๆ มา ได แ ก โรงเรี ย นนั น ทบุ รี วิ ท ยา ตั้ง อยูใ นวั ดชา งคํา อําเภอเมื อ งน า น จั ง หวั ดนา น โรงเรียนนี้สวนใหญไมเก็บคาเลาเรียน แจกชุดนักเรียน ให และให ยื ม หนั ง สื อ เรี ย น โรงเรี ย นวั ด บึ ง เหล็ ก อํ า เภอธาตุ พ นม จั ง หวั ด นครพนม จั ด การศึ ก ษา ระดับมัธยมศึกษาแบบใหเปลาทั้งหมด นอกจากนี้ ยังมีโรงเรียนวัดสันติการามและโรงเรียนวัดปาไก อําเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี โรงเรียนในวัดที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสราง สอนถึงระดับมัธยมศึกษา เปนโอกาสให เด็กยากจนไดศึกษาตอจากการศึกษาภาคบังคับที่ ทางราชการจัดใหเด็ก ไดมีความรูเพิ่มมากขึ้น และ เปนพลเมืองที่มีคุณภาพ นับเปนพระมหากรุณาธิคุณ ตอการศึกษาและแกเยาวชนเปนอยางยิ่ง


เจตนารมณ์ ผู้บัญชาการทหารอากาศ กองทัพอากาศนอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนหลักพื้นฐานในการบริหารราชการ กองทัพ โดยมุงเนนใหทุกสวนราชการบริหารราชการตามแนวทางการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และยึดถือ ผลประโยชน ข องชาติ เ ป น สํ า คั ญ เพื่ อ ประโยชน สุ ข ของประชาชน เกิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ต อ ภารกิ จ ของรั ฐ มีประสิทธิภาพ และมีความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ นโยบายผูบัญชาการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๕๔ เปนกาวสําคัญในการสรางพื้นฐานและความพรอม ของ “กองทัพอากาศที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง” อันจะนําไปสูวิสัยทัศน “กองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค (One of The Best Air Forces in ASEAN)” อนึ่ง นโยบายผูบัญชาการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๕๔ เปน การสานตอนโยบายเดิมอยางตอเนื่อง และเตรียมการเปลี่ยนผานจากกองทัพอากาศดิจิตอลไปสู การปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง โดยใหความสําคัญในการบูรณาการงานและโครงการสําคัญ บนพื้นฐานของเทคโนโลยีดิจิตอล (Digital Technology) และเทคโนโลยีเครือขาย (Network Technology) เพื่อใหเกิดความสมบูรณทั้งระบบ อีกทั้งใหความสําคัญกับการเตรียมความพรอมของกําลังพลทุกระดับ ใหมีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับสภาวะแวดลอมและกาวทันกับการเปลีย่ นแปลง ทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ การบริหารจัดการกองทัพอากาศใหบรรลุเปาหมายดังกลาวอยางเปนรูปธรรมนั้น ตอง คํานึงถึงความเชื่อมโยงกับกลไกสําคัญของภาครัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบการวางแผนและการจัดทํา แผนปฏิบัติราชการของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน ตามยุทธศาสตรของสํานักงบประมาณ ซึ่งกองทัพอากาศจะยึดถือกลไกดังกลาวเปนหลักสําคัญในการ บริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยูทั้งหมดอยางคุมคา เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประเทศชาติและประชาชน พลอากาศเอก อิทธพร ศุภวงศ์ ผู้บัญชาการทหารอากาศ



นโยบายทั่วไป รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ บัญญัติใหรัฐตองพิทักษรักษาไวซึ่ง สถาบันพระมหากษัตริย เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงเขตอํานาจรัฐ และตองจัดใหมีกําลังทหาร อาวุธ ยุทโธปกรณ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จําเปน และเพียงพอ เพื่อพิทักษรักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคง ของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ กอปรกับ รัฐบาล กําหนดนโยบายความมั่นคงของรัฐ โดยมุงเนน เสริมสรางและพัฒนาศักยภาพการปองกันประเทศใหมีความพรอมในการรักษาเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพ แหงดินแดน รวมทั้งการคุมครองผลประโยชนของชาติ โดยการเตรียมความพรอมของกองทัพ การฝกกําลังพล ใหเกิดความชํานาญในการปฏิบัติภารกิจและการจัดงบประมาณใหสอดคลองกับภารกิจของแตละเหลาทัพ ตลอดจนจัดใหมีแผนการสํารองอาวุธและพลังงานเพื่อความมั่นคง ดังนั้น เพื่อใหสามารถบริหารราชการ กองทัพอากาศภายใตกรอบภารกิจตามกฎหมายและเปนไปตามนโยบายความมั่นคงของรัฐ กองทัพอากาศ จึงไดกําหนดนโยบายทั่วไปไว ดังนี้ ๑. นอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) มาเปนแนวทางในการปฏิบัติ ราชการกองทัพอากาศ โดยมุงเนนการปฏิบัติภารกิจอยางเปนระบบ (มีความรูและคุณธรรม) ยึดมั่นในการ ดําเนินการแบบทางสายกลางโดยยึดถือประโยชนของชาติเปนสําคัญ ๒. ทบทวน/ปรับปรุง หลัก นิย ม ยุทธศาสตร และแผนแม บทการเตรี ยมกําลั งกองทัพอากาศให สอดคลองและทันกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอมดานความมั่นคงและดํารงไวซึ่งขีดความสามารถ ของกองทัพอากาศในการปองกัน ปองปราม และรักษาผลประโยชนของชาติ ตลอดจนสรางความเขาใจ ใหกับหนวยขึ้นตรงและกําลังพลกองทัพอากาศในการขับเคลื่อนกองทัพอากาศ ๓. พัฒนาโครงสรางการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร ของกองทัพอากาศ เพื่อใหการบริหารจัดการ การวางแผนยุทธศาสตร การนําไปสูการปฏิบัติ การติดตาม และการประเมินผล โดยครอบคลุมในทุกมิติ ทั้งดานการเตรียมกําลังและการใชกําลัง ตลอดจนคํานึงถึงการมีสวนรวมของประชาชนอยางเหมาะสม ๔. ยึดถือภารกิจของกองทัพอากาศเปนหลักในการปฏิบัติราชการและใหกําลังพลมีความเขาใจ ถึงภารกิจและหนาที่ของกองทัพอากาศโดยถองแท เพื่อใหการปฏิบัติงานเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดตอประเทศชาติ ๕. ผูบังคับบัญชาทุกระดับตองใชความเปนผูนําในการปกครองบังคับบัญชาตามระบบคุณธรรม และความยุติธรรม ปลูกฝงความเปนผูนํา ความสามัคคี วินัย ศรัทธาและความเสียสละใหเกิดขึ้นกับบุคลากร ทุกหมูเหลา ควบคูไปกับการจรรโลงและรักษาไวซึ่งวัฒนธรรมองคการของกองทัพอากาศ


นโยบายดานกําลังพล ๑. ปรับขนาดกําลังพลใหเหมาะสม (Rightsizing) ตามภารกิจ ๒. กําหนดแนวทางสรางความยืดหยุน การบริหารจัดการกําลังพล

๓. เสริมสรางศักยภาพกําลังพลใหมีขีดสมรรถนะสูงขึ้น โดยเฉพาะสงเสริมใหกําลังพลทุกระดับ มีทักษะและความรูดานภาษาอังกฤษตามเกณฑมาตรฐานที่กองทัพอากาศกําหนด ๔. เสริมสรางวัฒนธรรมการปฏิบัติงานมุงสูการปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง ๕. เสริมสรางกองทัพอากาศใหเปนองคการแหงการเรียนรู ๖. สรางเสริมคุณภาพชีวิตและการทํางานของกําลังพล ใหมีความสมดุล ในดานสิทธิกําลังพลและ สวัสดิการตาง ๆ ๗. ส งเสริม กําลั งพลในทุ ก ระดับใหมีสุขภาพดี มี การออกกํา ลัง กายอยา งสม่ํา เสมอตามความ เหมาะสม ๘. พัฒนาสวนราชการใหเปนศูนยราชการใสสะอาด ดวยการสงเสริมใหมีการบริหารจัดการตาม หลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ๙. พัฒนาระบบกําลังพลสํารองและการฝกนักศึกษาวิชาทหารของกองทัพอากาศ


นโยบายดานการขาว ๑. พัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินการดานการขาว ใหเพียงพอ และทันเวลาตอความตองการ ๒. พัฒนาความสัมพันธกับกองทัพอากาศมิตรประเทศ เพื่อเสริมสรางความไววางใจ ๓. พัฒนาระบบและเพิ่มประสิทธิภาพในมาตรการรักษาความปลอดภัย ใหครอบคลุมพื้นที่อื่นๆ ที่มีความสําคัญทั้งสวนราชการและบานพักอาศัย ๔. ประยุกตใชเทคโนโลยีในการพัฒนาดานการขาวและการรักษาความปลอดภัย ๕. เสริ ม สร า งขี ด ความสามารถบุ ค ลากรด า นการข า วให ส ามารถปฏิ บั ติ ก ารด า นข า วกรอง ยุทธศาสตรและขาวกรองยุทธวิธี ตลอดจนมีขีดความสามารถในการใชงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System: GIS)

นโยบายดานยุทธการและการฝก ๑. เตรี ยมกํา ลั งทางอากาศบนพื้น ฐานของแนวคิดการปฏิ บัติการที่ใชเครือขา ยเปน ศูน ยก ลาง (NCO) ตามยุทธศาสตรกองทัพอากาศและแผนแมบท เพื่อใหมีขีดความสามารถและความพรอม ในการปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการที่มิใชการรบ ๒. เตรียมการพัฒนากองบิน ๔ และ กองบิน ๗ มุงสูกองบินที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (Network Centric Air Base) ๓. เสริมสรางความพรอมของฝูงบินอากาศยานไรนักบิน เพื่อใหสามารถปฏิบัติภารกิจได ในป พ.ศ.๒๕๕๔


๔. เรงรัดการพัฒนาแผนแมบทการเตรียมและใชกําลังอากาศโยธินรองรับระบบปองกันภัย ทางอากาศของกองทัพอากาศ ๕. ปฏิบัติภารกิจเพื่อสนับสนุนการรักษาผลประโยชนแหงชาติ ในขอบเขตของกิจการดานการบิน ของประเทศ ๖. พัฒนาขีดความสามารถและเตรียมความพรอมในการปฏิบัติภารกิจ เพื่อสนับสนุนการพัฒนา ประเทศตามนโยบายรัฐบาล ๗. ปองกันอุบัติเหตุเชิงรุก (Proactive Prevention) โดยกําหนดมาตรการในการปฏิบัติภารกิจและ การฝกบินที่มุงเนนการกํากับดูแลดานการบิน ๘. เสริมสรางกองทัพอากาศใหเปนองคการแหงความปลอดภัย

นโยบายดานสงกําลังบํารุง ๑. สนับสนุนแนวทางการจัดหา รวมทั้งพัฒนาระบบสงกําลังและซอมบํารุงแบบรวมการ (Pool Service) ที่เกี่ยวของกับอาวุธยุทโธปกรณที่ตองใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ๒. ปรั บ ปรุ ง ระบบสารสนเทศด า นส ง กํ า ลั ง บํ า รุ ง (Logistics Management Information System: LMIS) ในการบริหารจัดการควบคุมขอมูลของคลังใหญตาง ๆ ๓. จัดใหมีมาตรฐานของฐานบินปฏิบัติการ (ที่ตั้ง วางกําลัง) และฐานที่ตั้งสวนกลาง ๔. พัฒนาระบบการขนสงยุทธภัณฑ และบริการ ดานตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อใหสามารถ สนับสนุนภารกิจไดอยางสมบูรณ ถูกตอง รวดเร็ว และทันเวลา


๕. ดําเนินการใชประโยชนที่ดินราชพัสดุที่อยูในการปกครองดูแลใหชัดเจนและเปนรูปธรรม ๖. สงเสริมการใชพลังงานทดแทนเปนพลังงานสํารองทั้งในยามปกติและในยามขาดแคลนพลังงาน ๗. พัฒนาขีดความสามารถของกําลังพลดานการสงกําลังบํารุง

นโยบายดานกิจการพลเรือนและการประชาสัมพันธ ๑. สนั บ สนุ น และดํ า เนิ น การอั น แสดงออกถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี เทิ ด ทู น พิ ทั ก ษ รั ก ษาสถาบั น พระมหากษัตริย ๒. เตรียมความพรอมในการปฏิบัติงานชวยเหลือประชาชน เมื่อเกิดสาธารณภัยหรือภาวะคับขัน ๓. พั ฒ นางานด า นกิ จ การพลเรื อ นและประชาสั ม พั น ธ เพื่ อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ของ กองทัพอากาศ ๔. ดํารงขีดความสามารถของกองทัพอากาศในการปฏิบัติการสารสนเทศ (Information Operation) เชิงสรางสรรค เพื่อรักษาผลประโยชนของชาติ ๕. พัฒนาขีดความสามารถของกําลังพลดานกิจการพลเรือนและการประชาสัมพันธ โดยเฉพาะ อยางยิ่งทักษะในการสื่อสารและสรางความเขาใจตอสาธารณะ


นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ๑. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหเปนสวนหนึ่งของการใชกําลังและการเตรียม กําลังทางอากาศ ๒. ประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการพัฒนากองทัพอากาศใหเปนองคการ แหงการเรียนรูอยางตอเนื่องยั่งยืนมุงสูสังคมฐานความรู (Knowledge based Society) ๓. พัฒนาระบบเชื่อมโยงขอมูลทาง ยุทธวิธี (TDL) ระยะที่ ๒ เพื่อรองรับการ ปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) ๔ . บู ร ณ า ก า ร เ ค รื อ ข า ย ข อ ง กองทั พ อากาศ โดยเน น การบู ร ณาการ เครื อ ข า ยหลั ก และเครื อ ข า ยรองของ กองทัพอากาศ ตลอดจนบูรณาการเครือขายสารสนเทศและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ๕. พัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ๖. พัฒนาบุคลากรใหสามารถใชประโยชนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดอยางเชี่ยวชาญ

นโยบายดานการวิจัยและพัฒนา ๑. สงเสริมการวิจัยและพัฒนาดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนายุทโธปกรณ ๒. สงเสริมการวิจัยและพัฒนาดานหลักการ เพื่อสนับสนุนการบริหารและการพัฒนากองทัพ ๓. สงเสริมการวิจัยและพัฒนา เพื่อสนับสนุน การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ตามโครงการ อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดําริ และการพัฒนาประเทศ ๔. สร า งเครื อ ข า ยด า นการวิ จั ย และพั ฒ นา รวมกับหนวยงานภายนอกกองทัพที่มีศักยภาพ


๕. พัฒนาฐานขอมูลนักวิจัยและผูเชี่ยวชาญในสายวิทยาการตาง ๆ ของกองทัพ ๖. พัฒนาระบบสารสนเทศ การจัดเก็บขอมูลผลงานการวิจัยและองคความรูที่ไดจากการวิจัยและ พัฒนาของกองทัพ

นโยบายดานการงบประมาณ ๑. วางแผนและจัดทํางบประมาณใหสอดคลองกับยุทธศาสตร แผนแมบท และแผนปฏิบัติราชการ ของกองทัพอากาศ ๒. กํากับ ดูแล และติดตามเรงรัดในการบริหารจัดการดานงบประมาณ ๓. สงเสริมใหห นวยขึ้น ตรงกองทั พ อากาศนํ า ผลการ ป ร ะ เ มิ น ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ประสิทธิผล และประเมินตนเอง มาใช ป ระโยชน ใ นการปรั บ ปรุ ง ยุทธศาสตรหนวย ๔ . พั ฒ น า ร ะ บ บ สารสนเทศทางดานงบประมาณ ใ ห ส า ม า ร ถ ต อ บ ส น อ ง ก า ร ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และตอเนื่อง ๕. พัฒนาขีดความสามารถของกําลังพลดานงบประมาณ


นโยบายดานสวัสดิการ ๑. ริเริ่มการจัดระบบเครือขายการใหบริการสวัสดิการ (Network based Service) ในการ ใหบริการแบบเบ็ดเสร็จ ๒. สร า งความมั่ น คงในการดํ า รงชี พ ของกํ า ลัง พลและครอบครั ว ตามหลั ก ปรัช ญา “เศรษฐกิ จ พอเพียง” ๓. เสริมสรางและบํารุงขวัญกําลัง ใจใหกับกํา ลังพลที่ปฏิบัติราชการสนามทั่ วประเทศ โดยจัด สวัสดิการขั้นพื้นฐานใหเพียงพอ ๔. พัฒนาขีดความสามารถของกําลังพลดานสวัสดิการในการจัดการสวัสดิการของกองทัพอากาศ อยางเปนระบบ และมีจิตสํานึกในการใหบริการ (Service Mind)

นโยบายดานการตรวจสอบและประเมินผล ๑. ดําเนินการ ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติราชการสวนราชการกองทัพอากาศที่มีขอบเขตงาน ที่เกี่ยวกับงานทางยุทธการ ๒. ตรวจสอบภายในใหเปนไปตามแนวทางการตรวจสอบ ๖ ประเภท ที่กรมบัญชีกลางกําหนด ๓. ส งเสริ มและพัฒ นาบุคลากรดานการตรวจสอบใหมีความรู และมีขีดความสามารถในการ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๔. ดําเนินการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินคาหนวยบินใหเปนไปตามเกณฑการตรวจสอบ มาตรฐาน ๕. สงเสริมและพัฒนาความรูความสามารถของนายทหารตรวจสอบมาตรฐานการบิน ๖. พัฒนากระบวนการตรวจสอบ ดวยการใชหลักการบูรณาการและการมีสวนรวม 44444444


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) “เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

(ตอจากฉบับที่แลว) โรงเรียนการยิงปนทางอากาศตําบลบิสกาโรส โรงเรียนการยิงปนทางอากาศตําบลบิสกาโรส ตั้งอยูในมณฑลยีรองด (Gironde), โรงเรียนนี้เปน โรงเรียนฝกหัดการยิงปนในอากาศ, รับฝกหัดนักบิน ที่ ไ ด บิ น จบหลั ก สู ต ร ก ารบิ น โลดโผนที่ เ มื อ งโป มาแลว; นายรอยเอก เดอ นีล แบรนอง (Capitaine de Nile Bernon) เปนผูบังคับการ โรงเรียน. นั กบิ นไทยย ายมาอยู โรงเรียนนี้ 2 ชุด, ชุดที่ 1 ถึง โรงเรียนวันที่ 21 ธันวาคม, เสร็จการบินและเลาเรียนเมื่อ วันที่ 13 มกราคม,พ.ศ.2461.

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม ชุดที่ 2 ถึงโรงเรียนวันที่ 24 กุมภาพันธ, เสร็จการบิน และเลาเรียนเมื่อวันที่ 25 มีนาคม, พ.ศ.2461. การปกครอง ชุดที่ 1 นายรอยเอก ปลื้ม สุคนธสาร เปน ผูบังคับบัญชา. ชุดที่ 2 นายรอยโท เทียบ สมะพันธ เปนผูบังคับบัญชา


การฝกหัดและเลาเรียน ฝ ก หั ด บิ น กั บ เครื่ อ งบิ น นิ เ ออร ป อร ต เครื่องยนตรโรน 120 แรงมา, ยิงเปาบนพื้นดินและ ยิงทุนในอากาศดวยกระสุนจริงกับปนกล สวนการ สั่งสอนกระทําไปพรอมกับการฝกหัด, เวนแตถา วั น ใดอากาศไม เ หมาะสํ า หรั บ การบิ น จึ่ ง จะเข า หองเรียน ๆ หลักของการยิงปนในอากาศตลอดจน การแกความคลาดเคลื่อน, การถอดประกอบและ การแกไขปนกลที่ใช. บางวันมีการยิงปนกลกับพื้น เปนที่หมายประจําที่บางเคลื่อนที่บาง(ลูกลอย) นั ก บิ น ทุ ก คนที่ เ รี ย นเสร็ จ ในโรงเรี ย นนี้ , จะต อ งกลั บ ไปบิ น ทํ า ความชํ า นาญกั บ เครื่ อ งบิ น มอรัน, สปด, ยังโรงเรียนการบินที่เมืองโปอีก, สําหรับ จะไดไปบินในสนามรบ การฝกหัดและเลาเรียนของชุดที่ 1 นับวา สําเร็จไดผลโดยตลอด แตสวนชุดที่ 2 เมื่อกลับไปถึง เมืองโปก็ตองถูกเรียกรวมเพื่อกลับประเทศสยาม, เหลือไวแตเฉภาะผูที่จะใหไปเรียนการอื่นเปนพิเศษ เทานั้น. โรงเรียนการทิ้งระเบิดตําบลเลอ โครตัว โรงเรี ย นการทิ้ ง ระเบิดตํ าบลเลอ โครตัว , ตั้งอยูที่ปากแมน้ําซอมม (Somme) ในมณฑล ซอมม, ตวันตกเฉียงเหนือของประเทศฝรั่งเศส; นายรอยเอก กีโยมารด (Capiutaine Guiyomard) เปนผูบังคับการโรงเรียน โรงเรียนนี้รับเฉภาะผูที่บินเปนมาแลวทั้งนั้น เพื่ อ ฝ ก หั ด การทิ้ ง ระเบิ ด กลางวั น และกลางคื น . นักบินไทยแบงออกเปน 2 พวก ; คือผูขับเครื่องบิน

ทิ้งระเบิดจําพวก 1, พวกนี้เลือกจากผูที่สําเร็จการบิน แลวที่เมืองอะวอรด. สวนอีกพวกหนึ่ง คือผูทิ้งระเบิด, ผูทิ้งระเบิดนี้ไมจําเปนตองบินเปนก็ได-แตไดใชพวก ที่ยายมาจากโรงเรียนการบินที่ตําบลอิสตรครั้งหลัง, พวกนี้ ส อบการบิ น ได เ หมื อ นกั น แต ส อบได ที ห ลั ง พวกอื่น ๆ ทั้งหมด. ผูที่ยายไปอยูโรงเรียนนี้, มีผูขับเครื่องบิน ทิ้งระเบิดกลางวัน, ผูทิ้งระเบิดกลางวันและผูทิ้งระเบิด กลางคืน; ภายหลังไดยายนักบินกลางคืนมาบินทํา ความชํานาญที่โรงเรียนนี้เหมือนกัน. นอกนั้นยังมี นายทหารไปศึกษาการสรางเครื่องทิ้งระเบิดอีก 2 นาย, ถึงโรงเรียนเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม, พ.ศ.2461. การปกครอง นายรอยตรี วัลย ชูถิ่น เปนผูบังคับบัญชา การฝกหัดและเลาเรียน สําหรับผูขับเครื่องบินทิ้งระเบิด, บินคันบังคับ คู, บินคันบังคับเดี่ยว, และบินผานที่หมายดวยเครื่อง ซอบวิธ, ภายหลังบินไปทิ้งระเบิดพรอมกับผูทิ้งระเบิด สําหรับผูทิ้งระเบิด, เรียนกิจการที่เกี่ยวกับ นาที่ผูทิ้งระเบิดทุกอยาง, ภายหลังจึ่งไปฝกหัดทิ้ง ลูกระเบิดจําลองและลูกระเบิดจริงพรอมกับนักบิน ทิ้งระเบิดจริง. ทหารชางเครื่องยนตร, เรียนการดําเนินของ เครื่ อ งยนตร ปรั บ ประกอบ แก ไ ขเครื่ อ งยนต เรโนลด 300 แรงมา. นั ก บิ น ทิ้ ง ระเบิ ด และผู ทิ้ ง ระเบิ ด ได รั บ ใบประกาศนียบัตรในนาที่ทุกนาย, เมื่อถึงเวลา


สงทหารกลับประเทศกรุงสยามชุดแรก ไดคัดนักบิน ทิ้งระเบิดและผูทิ้งระเบิดกลับเสียบาง, พวกนักบิน ยังหาทันไดบินเครื่องแบบเบรเกตไม. คายการบินตําบลลาแปรธ (ยุทธบริเวณ) คายการบินตําบลลาแปรธ, ตั้งอยูในมณฑล ออบ (Aube) เปนคายการบินที่สําหรับรวบรวมนักบิน และผูทิ้งระเบิดตาง ๆ ซึ่งจะไดบรรจุเขากองรอยรบ; บรรดานักบินไทยที่ไมไดไปเลาเรียนการประเภทอื่น รวมกันมาอยู ณ ที่นี้หมด. การปกครอง นายรอยตรี วัลย ชูถิ่น เปนผูบังคับบัญชา ทหารไทย, และขึ้นอยูในบังคับบัญชานายพันตรี การด (Commandant Gard) อีกชั้นหนึ่ง

การฝกหัดและเลาเรียน (ก) ศึกษาถึงอาวุธยิงตาง ๆ ที่ใชกับเครื่องบิน, ตลอดจนการปรับและแกไข. (ข) เรียนยุทธของการบิน. (ค) การฝกหัดของพวกขับไล, ฝกหัดบิน รอบสนาม, บินโลดโผน, บินหมู, ยิงปนกลจาก อากาศยังที่หมายบนพื้นดิน; ทั้งนี้บินดวยเครื่อง สป ด เครื่ อ งยนตร อิ ส ปาโน สวี ซ า 180 และ 220 แรงมา. สําหรับพวกทิ้งระเบิด, บินเครื่องบินเบรเกต เครื่องยนตรเรโนลด 300 แรงมา, ฝกหัดบินคันบังคับคู กับครู, บินคันบังคับเดี่ยว,บินทิ้งลูกระเบิดจริง, บินลาดตระเวนเปนหมู. การฝ ก หั ด อยู ใ นโรงเรี ย นนี้ นั บ ว า เปน ผลดีมาก. พระเฉลิมอากาศ

เครื่องบินสปด

(อานตอฉบับหนา)


พ.อ.อ.รัชต รัตนวิจารณ (ตอจากฉบับที่แลว) กําเนิดอัลฟาเจ็ตของกองทัพอากาศไทย ตามนโยบายของรั ฐ บาล และกระทรวง กลาโหม ในชวงป ๒๕๔๒ ที่ใหเหลาทัพดําเนินการ ปรับปรุงโครงสราง เพื่อรองรับกับสภาวะเศรษฐกิจ ที่ชลอตัวของประเทศไทย ทั้งในปจจุบัน และอาจจะ ถึงอนาคต โดยใหเหลาทัพสามารถที่จะดํารงภารกิจ ในการรักษาอธิปไตยของประเทศเปนหลักไดนั้ น จากนโยบายดังกลาว กองทัพอากาศไดจัดทําแผน โครงสรางของกองทัพใหม ใหสอดคลองกับ สภาวะ ทางเศรษฐกิจ และความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ในอนาคต เพื่อใหกองทัพคงขีดความสามารถความ พร อ มรบได ใ นระยะยาว จึง จํ า เป น ต องพิจ ารณา จัดหาเครื่องบินโจมตีเขามาทดแทนเครื่องบิน OV-10 และ AU-23 A ซึ่งจะตองปลดประจําการในอีกไมกี่ป ขางหนานี้ ในขณะที่กองทัพอากาศกําลังพิจารณา

หาเครื่องบินมาแทนเครื่องบินโจมตีดังกลาวอยูนั้น เมื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ ๒๕๔๒ กระทรวงกลาโหม เยอรมั น ได แ จ ง ให ท ราบว า มี เ ครื่ อ งบิ น โจมตี ALPHA JET ซึ่งปลดประจําการแลวจากกองทัพอากาศ เยอรมัน เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๔๐ เนื่องจากปรับลด โครงสรางกําลังรบของประเทศเยอรมัน เสนอขาย ใหกับประเทศไทยในราคามิตรภาพ แบบรัฐบาลตอ รัฐบาล ประกอบกับเอกอัครราชทูตไทยที่กรุงบอนน ประเทศเยอรมั น ได ใ ห คํ า ยื น ยั น ถึ ง คุ ณ ภาพของ เครื่องบินแบบนี้ ผูแทนกองทัพอากาศ จึงไปสํารวจ สภาพเครื่ อ งบิ น ดั ง กล า วที่ เ ยอรมั น จากการไป สํารวจสภาพเครื่องบิน ALPHA JET ที่ประเทศเยอรมัน ไดขอมูลสรุปวา เครื่องบิน ALPHA JET ดังกลาวนี้ กองทัพอากาศเยอรมัน ไดมีไวใชในภารกิจสนับสนุน ทางอากาศโดยใกลชิด และเมื่อปลดประจําการแลว ไดเก็บรักษาไวในสภาพดี สามารถนํามาปรับสภาพ การใชงานไดตลอดเวลา แตเนื่องจากการเก็บรักษา


เครื่องบินดังกลาวนี้ ทําใหกองทัพอากาศเยอรมัน ตองสูญเสียคาบํารุงรักษาโดยเปลาประโยชน และ ไม คุ ม ค า เพราะไม มี ค วามจํ า เป น ต อ งใช อี ก แล ว จึงไดเสนอขายใหกับประเทศไทยในราคาเครื่องละ ๑ ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยนที่ ๒๐บาท เทากับ DM ในขณะนั้น) ตอจากนั้น กองทัพอากาศไดพิจารณา ในรายละเอี ยด ของความคุ มค า ในการที่ จะนํ ามา ใช ใ นการปฏิ บั ติ ง าน ทั้ ง ในเรื่ อ งของงบประมาณ อายุการใชงานโดยเฉลี่ย และภารกิจที่จะนํามาใช เห็นวาเครื่องบิน ALPHA JET ดังกลาวนี้ มีอายุ การใชงานไดถึง ๑๐,๐๐๐ ชั่วโมงบิน โดยไดใชงาน ไปแลวเพียง ๒,๐๐๐ ชั่วโมงบิน คงเหลือชั่วโมงบิน อี ก ประมาณ ๘,๐๐๐ ชั่ว โมงบิ น ซึ่ ง เมื่ อเที ย บกั บ จํ า นวนชั่ ว โมงบิ น ที่ ก องทั พ อากาศไทยบิ น อยู ใ น ปจจุบัน โดยเฉลี่ยเครื่องบิน ๑ เครื่อง จะใชชั่วโมงบิน ๒๐๐ ชั่วโมงบินตอป ซึ่งถาเรานําเครื่องบิน ALPHA JET มาทําการปรับคืนสภาพ จะสามารถบินไดอีก ไมนอยกวา ๒๐ ป อีกทั้งกระทรวงกลาโหมเยอรมัน จะมอบอุ ป กรณ ส นั บ สนุ น และทดสอบชั้ น กลาง มูลคา ๒๖๐ ลานบาท ใหกองทัพอากาศไมคิดมูลคา หลั งจากที่ พิ จารณาในขั้ นต นแล วว าสมรรถนะของ เครื่องบิน ALPHA JET ที่กระทรวงกลาโหมเยอรมัน เสนอขายนั้น ตรงกับความตองการของกองทัพอากาศ ประกอบกับเครื่องบินมีราคาต่ํา เมื่อเปรียบเทียบ กั บ การจั ด หาเครื่อ งบิ น ขั บ ไล โ จมตี แ บบอื่ น ๆ ใน ระดับเดียวกัน และกองทัพอากาศมี งบประมาณ เพี ย งพอ สามารถดํ า เนิ น การได โดยไม ต อ งขอ งบประมาณเพิ่ม เติมจากรั ฐบาลอี ก จึง ไดแตง ตั้ ง คณะกรรมการจัดซื้อเครื่องบิน ALPHA JET ขึ้น โดยมี

พลอากาศเอก ปรี ช า แสงฉวี ที่ ป รึ ก ษาพิ เ ศษ กองทัพอากาศในขณะนั้น เปนประธานกรรมการ เสนอความต อ งการขึ้ น ไปตามลํ า ดั บ ชั้ น จนถึ ง กระทรวงกลาโหม ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรี วาการกระทรวงกลาโหม ไดเห็นชอบและ อนุ มั ติ ห ลั ก การให ดํ า เนิ น การจั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น ALPHA JET จากกระทรวงกลาโหมเยอรมัน จํานวน ๕๐ เครื่ อง ในลั ก ษณะ รั ฐ บาลต อรั ฐ บาล โดยใช งบประมาณของกองทั พ อากาศเอง เมื่ อ วั น ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒ จากนั้น รัฐ มนตรีว า การ กระทรวงกลาโหม ไดแตงตั้งคณะกรรมการตอรอง ราคา และเงื่ อ นไขข อ ตกลงต า ง ๆ ในการจั ด ซื้ อ เครื่องบินขับไลโจมตี ALPHA JET โดยมี พลเอก มงคล อั ม พรพิ สิ ฎ ฐ ผู บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด ในขณะนั้ น เป น ประธาน ต อ มารั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงกลาโหม ขอใหกองทัพอากาศลดจํานวน การซื้อจากเดิม๕๐ เครื่อง เปน ๒๕ เครื่อง (ใชงาน ๒๐ เครื่อง สํารองเปนอะไหล ๕เครื่อง) เนื่องจาก ในขณะนั้น ประเทศชาติ กํา ลังประสบกับปญหา ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ซึ่ ง ก อ ง ทั พ ไ ม ขั ด ข อ ง แ ล ะ คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติ เมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๔๒ ให ก องทั พ อากาศ จั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล โ จมตี ALPHA JET จากรัฐบาลเยอรมัน จํานวน ๒๕ เครื่อง ในวงเงิน ๖,๒๔๓,๒๕๐ DM หรือประมาณ ๑,๒๐๐ กวาลานบาท (๑,๒๘๖,๕๖๒,๕๙๒ บาท) ดังนั้น กองทั พ อากาศจึง ทํ า การส ง นั ก บิน และเจ า หน า ที่ ประจําอากาศยานในหนาที่ตาง ๆ เขารับการฝกที่ ประเทศเยอรมนีจนกระทั่งพรอมรับมอบเครื่องบิน ทั้งหมด เปนรุน ๆ จนครบ


การสงมอบอัลฟาเจ็ตของกองทัพอากาศไทย ๒๔ กันยายน ๒๕๔๓ ประวัติศาสตรหนาหนึ่ง ของกองบิน ๒๓ จังหวัดอุดรธานี ตองถูกเปดออก มาเพื่ อ บั น ทึ ก ลงไปอี ก ครั้ ง ว า วั น นี้ เป น วั น ที่ เครื่องบินโจมตีไอพนแบบ อัลฟาเจ็ต (ALPHAJET) ซึ่งเปนเครื่องบินแบบลาสุดของกองทัพอากาศไทย ได เ ดิ น ทางมาถึ ง สนามบิ น อุ ด ร "ทุ ง ราชสี ห " บ า นหลั ง ใหม ข องนั ก ล า เจ า ป า จากลุ ฟ วั ฟ ฟ กองทัพอากาศเยอรมัน เครื่องบินทั้ง ๔ เครื่อง เปน เครื่ อ งบิ น ชุ ด แรกใน ๕ เครื่ อ ง ที่ เ ดิ น ทางมาถึ ง กองบิน ๒๓ เพื่อบรรจุเขาประจําการในฝูงบินขับไล ยุทธวิธีที่ ๒๓๑ โดยมี น.ท.พงษสวัสดิ์ จันทรสาร เป น ผู บั ง คั บ ฝู ง บิ น อั ล ฟ า เจ็ ต คนแรก หลั ง จากที่ ฝู ง บิ น แห ง นี้ ไม มี ก ารบรรจุ เ ครื่ อ งบิ น ประจํ า การ มานานถึง ๒ ป จึงแปลกใจสําหรับชาวบานทั่วไป ที่นานแลวไมไดยินเสียงเครื่องบินรบไอพนหลาย ๆ เครื่องพรอมกัน การกลับมาของการบรรจุเครื่องบิน ชั้นแนวหนาของกองทัพอากาศไทยอีกครั้งในหนนี้ จึงกําหนดใหวันนี้ของทุกปคือวันสถาปนาฝูงบิน ๒๓๑ สืบตอไป

อั ล ฟ า เจ็ ต ชุ ด แรกที่ รั บ มอบนี้ นั ก บิ น ของ กองทั พ อากาศไปทํ า การฝ ก บิ น ที่ เ ยอรมั น และ

ทําการบินเครื่องบินทั้งหมดรวมกับนักบินของบริษัท มายังประเทศไทย โดยเดินทางมาถึงประเทศไทย ในวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๔๓ กําหนดชื่ออยางเปน ทางการวา เครื่ องบิ น โจมตี แ บบที่ ๗ (บ.จ.๗) จากนั้น ในวัน ที่ ๒๘ กัน ยายน ๒๕๔๓ มีพิธีบ รรจุ เขาประจําการอยางยิ่งใหญที่ดอนเมือง ทั้ง ๕ เครื่อง โดยเป ด โอกาสให พี่ น อ งประชาชนเข า มาร ว มพิ ธี ในครั้งนี้ ในเดื อ นพฤษภาคม ๒๕๔๔ เครื่ อ งบิ น ชุ ด ที่ ส องจํ า นวน ๗ เครื่ อ งเดิ น ทางมาถึ ง ท า เรื อ จุ ก เสม็ ด ของทหารเรื อ แล ว ทํ า การเตรี ย มการบิ น ที่สนามบินอูตะเภา จังหวัดระยอง กอนทําการบิน เครื่องบินทั้งหมดไปยังสนามบินกองบิน ๒๓ อุดรธานี ในวั น ที่ ๑๓ ธั น วาคม ๒๕๔๔ เครื่ อ งบิ น ชุดสุดทาย ๘ เครื่องเดิ นทางมายัง อูตะเภาพรอม ทํ า การบิ น มายั ง สนามบิ น อุ ด รธานี โดยจากนั้ น ในวั น ที่ ๒๐ ธั น วาคม ๒๕๔๔ พลอากาศเอก อนุ พั น ธ สนิ ท วงศ ณ อยุ ธ ยา ผู บั ญ ชาการ กองบั ญ ชาการยุ ท ธทางอากาศ ได เ ป น ประธาน รับมอบที่กองบิน ๒๓ อุดรธานี เครื่องบินโจมตี ALPHAJET ไดบรรจุเขา ประจําการที่ฝูงบิน ๒๓๑ ครบทั้ง ๒๐ เครื่อง โดยทําพิธี รับ มอบ และบรรจุ เ ข า ประจํ า การทั้ง ฝูง อย า งเป น ทางการที่กองบิน ๒๓ เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๔๔ นั บ ตั้ ง แต ๒๔ กั น ยายน ๒๕๔๓ จนถึ ง ป จ จุ บั น ป ๒๕๔๘ เครื่องบินโจมตีแบบที่ ๗ หรืออัลฟาเจ็ต ทํ า การฝ ก นั ก บิ น พร อ มรบมาแล ว ๗ รุ น จํ า นวน หลายคน โดยมี ชั่ ว โมงอากาศยานรวมกว า ๘,๕๐๐ ชั่วโมง


การพัฒนาอัล ฟาเจ็ ตของกองทัพอากาศไทย ในปจจุบัน นั บ ตั้ ง แต ก องทั พ อากาศไทยได จั ด หา เครื่องบินโจมตีอัลฟาเจ็ตมือสอง จากกองทัพอากาศ เยอรมัน มาใชงานและเปนที่ทราบดีวามีขอจํากัด ในเรื่องของระบบอาวุธโดยเฉพาะปนใหญอากาศ เมาเซอรขนาด ๓๐ มม. ที่ติดตั้งในกระเปาะใตลําตัว ซึ่งเยอรมันไมไดสงมอบใหเนื่องจากมิไดอยูในเรื่อง ของการซื้อขาย และปนใหญอากาศเหลานี้ยังอยูใน การใชงานของเยอรมันตางจากเครื่องบินที่อยูเหนือ จํานวนของความตองการที่เยอรมันตองมีใช ดวย เหตุของความจํากัดดานสมรรถนะที่ความเปนจริง ของเครื่องบินที่ไดรับการออกแบบมาอยางดีเยี่ยม แต มั น กลั บ ถู ก ตั ดสิ่ ง เหล า นี้ ล ง ทํ า ให นั ก บิ น และ เจ า หน า ที่ ทุ ก ส ว นจึ ง ต อ งดิ้น รนและพั ฒ นาระบบ ตาง ๆ ที่อยากใหมีใหเปน ให เกิ ดขึ้ นกับเครื่องบิน อัลฟาเจ็ตของกองทัพอากาศไทยในยุค ๙๐ ป

ระบบปองกันตนเอง เปนครั้งแรกของโลก ก็วาได เมื่อกรมสรรพาวุธทหารอากาศ จับมือกับ กองบิน ๒๓ ผูใชงานหลักอัลฟาเจ็ต พัฒนาระบบ ปองกันตนเอง โดยการติดตั้งระบบชารฟและแฟร ไว ที่ ส ว นท า ยเพื่ อ ป อ งกั น การถู ก โจมตี จ ากระบบ

อาวุธจรวดนําวิถีตอสูอากาศยานทั้งระบบควบคุม ดวยความรอนและเรดาร โดยระบบทั้งสองนั้นไดรับ การติ ด ตั้ ง ไว ที่ ก รวยที่ ป ลายหาง โดยเริ่ ม พั ฒ นา ระบบนี้มาตั้งแตป ๒๕๔๘ ระบบอาวุธ การพัฒนาของอัลฟาเจ็ตไทย กํา ลั ง อยู ใ นระหว า งพั ฒ นาให ส ามารถติ ด ตั้ ง และ ใชจรวดนําวิถีอากาศสูอากาศแบบ AIM-9 ที่ใตปก ไดขางละหนึ่งนัด โดยกรมสรรพาวุธกองทัพอากาศ กําลังดําเนินการนอกเหนือจากนี้ ยังกําลังดําเนินการ ดั ด แปลงกระเปาะป น ใหญ อ ากาศที่ ติ ด ตั้ ง มากั บ อัลฟาเจ็ต แตไมมีปนใหญ ๓๐ มม. ติดตั้งมาดวย นั้ น ให มี ป น ติ ด ตั้ ง เข า ไปเพื่ อ ให มั น สามารถใช ยิ ง สนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดไดอยางมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น กระเปาะถายภาพทางอากาศ มีการนําเอา กระเปาะปนใหญอากาศสวนหนึ่งมาทดลองดัดแปลง ติดกลอ งถ า ยภาพเพื่อ สนับ สนุ น การลาดตระเวน ทางอากาศที่ ก องทั พ อากาศขาดแคลนตรงนี้ อ ยู แตอยูระหวางการทดลองดําเนินการ การดัดแปลงติดเรดารตรวจอากาศ ที่สวน หัวของอัลฟาเจ็ต ในบางเครื่องเพื่อใชสนับสนุนการ ปฏิบัตกิ ารฝนหลวง นอกจากระบบอาวุธแลว ยังมีการดําเนินการ ทดลองสรางกระเปาะและกระสุนซิลเวอรไอโอไดด เพราะเนื่องจากสภาพอากาศในหวงระยะเวลานี้ ไดเกิดความแหงแลงอยางรุนแรง ปริมาณน้ําในแหลง กักเก็บน้ําตาง ๆ ลดลงอยางรวดเร็ว จนเกิดผลกระทบ ตอการทําเกษตรกรรม และความเปนอยูของประชาชน ในการนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณ จึงไดรองขอ


รั บ การสนั บ สนุ น เ ค รื่ อ ง บิ น ข อ ง กองทั พ อากาศ เพื่ อ ร ว มปฏิ บั ติ ภารกิ จ ฝนหลวง ในทันที ซึ่งจากเดิม กองทัพอากาศได วางแผนในการ ป ฏิ บั ติ ภ า ร กิ จ ฝนหลวงไว แ ล ว โ ด ย จ ะ เ ริ่ ม ดํ า เนิ น การในเดื อ นเมษายน ๒๕๔๙ แต เ พื่ อ ให สอดคลองกั บสถานการณ และเป นการชว ยเหลือ ประชาชนอยางทันทวงที กองทัพอากาศจึงไดจัดสง อากาศยานเพื่ อ ร ว มปฏิ บั ติ ภารกิ จฝนหลวงทั นที ตั้ งแต ๑ มี นาคม ๒๕๔๙ เป น ต น มา การพั ฒ นา อุปกรณการทําฝนหลวงติดตั้งกับเครื่องบิน ALPHA JET จากการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณไดขอ ความร วมมื อกองทั พอากาศ ในการพั ฒ นาจั ด ทํ า กระสุ น เคมี ซิ ล เวอร ไ อโอไดด เพื่ อ ปล อ ยสารเคมี ทําฝนหลวงในชั้นเมฆเย็น ที่ระดับความสูง ๒๐,๐๐๐ ฟุต ซึ่ ง จะต อ งใช เ ครื่ อ งบิ น ที่ มี ส มรรถนะสู ง ในการ ธรรมชาติ

ปฏิบัติการนั้น กองทัพอากาศ โดยศูนยวิทยาศาสตร และพัฒนาระบบอาวุธ โดยกอนหนานี้กองทัพอากาศ ไดทําการติดตั้ง และใชงานอุปกรณนี้ในเครื่องบิน โจมตี แ บบ A-37 มาแล ว ในช ว งป ๒๕๓๗ ก อ น เครื่องบินปลดประจําการ ซึ่งระบบนี้สําหรับ A-37 นั้ น ถื อ ว า ประสบผลสํ า เร็ จ และสํ า หรั บ การ ปฏิ บั ติ ก ารกั บ เครื่ อ งบิ น อั ล ฟ า เจ็ ต ถื อ ว า ประสบ ผลสําเร็จเปนที่นาพอใจ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๑ กองทัพอากาศ ไดนอมเกลาฯ ถวายเครื่องบิน อัลฟาเจ็ต แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เพื่อใช ในการบินปฏิบัติการฝนหลวงพิเศษ ดังกลาว



น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ ก อ นที่ จ ะเล า ถึ ง ประสบการณ ใ นการบิ น กับ บ.F-15 ขอแนะนําขอมูลเกี่ยวกับ บ.F-15 โดย ในป 1967 ข า วกรองของสหรั ฐ อเมริ ก ารู สึ ก ประหลาดใจอย า งมากที่ พ บว า ประเทศสหภาพ โซเวี ย ตสร า ง บ.รบขนาดใหญ ที่ มี ชื่ อ เรี ย กว า MIG-25 Foxbat ซึ่งชาติตะวันตกไมเคยทราบ มากอนวา MIG-25 ถูกออกแบบมาเปน บ.สกัดกั้น ความเร็วสูง กองทัพอากาศสหรัฐฯ ในขณะนั้น มีเครื่อง ที่มีสมรรถนะดีที่สุดคือ บ.F-4 Phantom II แตเปน เครื่องบินรบเมื่อเปรียบเทียบกันกําลังเครื่องยนต ก็นอยกวา พิสัยบินไดใกลกวา และความคลองตัว ก็จํากัด มีจรวดอากาศสูอากาศในระยะใกล

กองทัพอากาศสหรัฐ ฯ จึงจําเปนตองมี บ.รบ ที่ ดี ก ว า บ.MIG-25 สํ า หรั บ บ.F-15 ในรุ น แรก ถูกออกแบบเปน บ.F-15A/B เครื่องยนต Pratt & Whitney F100 แรงขับของเครื่องยนตตอน้ําหนัก บ. อัตราสวน 1 ตอ 1 ติดตั้งปนใหญอากาศ ติดตั้งจรวด อากาศสูอากาศพิสัยกลางแบบ AIM-7 Sparrow ได 4 นัด พื้นผิวปก และลําตัวแบนราบชวยเพิ่มแรงยก ใหมากขึ้น แตก็มีคําถามวาอัตราการไตเมื่อติดตั้ง จรวด Sparrow จะเทียบกับ บ.MIG-25 จะเปน อยางไร แตก็ยังไมมีการพิสูจนกันในการรบจริง


การบินเที่ยวแรกของ บ.F-15A ในป 1972 บ.F-16B ในเดือน ก.ค.1973 มีเรดาร AN/APG-63 ที่มีขีดความสามารถในการตรวจจับในระยะสูงต่ํา และสามารถยิงจรวดพิสัยปานกลางจากระยะสูงมาก เขาหาเปาหมายในระยะสูงต่ําได ใชคอมพิวเตอร เข า มาควบคุ ม และแสดงผลการทํ า งานทํ า ให ลดภาระกรรมกับนักบิน สําหรับกองทัพอากาศที่ใช บ.F-15A/B ไดแก กองทัพอากาศอิสราเอล และ กองกําลังปองกันตนเองทางอากาศของญี่ปุน

การพั ฒ นา เมื่ อกุ ม ภาพั น ธ 1978 ไดทํ า การบินเที่ยวแรกของ บ.F-15C และทําการบิน เที่ยวแรกของ บ.F-15D ในเดือนมิถุนายน ปเดียวกัน เพิ่มประสิทธิภาพเรดาร มี Digital Central Computer และ นักบินสามารถดึงแรง G ไดถึง 9 G ในป 1983 ไดปรับปรุง บ.F-15C ระบบคอมพิวเตอร ระบบอาวุธ ใหใชไดกับอาวุธสมัยใหมไดแก AIM-7,AIM-9 และ AIM-120A ติดตั้งเรดารขนาดใหญรุน APG-70 และ ทําการปรับปรุงเรดารรุน APG-63 ใหมีประสิทธิภาพ มากขึ้ น เป น รุ น APG-36(V)1มี ขี ด ความสามารถ เทากับรุน APG-70 ในป 1979 บริษัท McDonnell Douglas และ บริษัทผลิตเรดาร บ.F-15s ไดทําการพัฒนา

เครื่องบิน F-15E ใหปฏิบัติภารกิจการโจมตีทางอากาศ ซึ่ ง ชนะการแข ง ขั น ถู ก คั ด เลื อ กเข า ประจํ า การใน กองทัพอากาศสหรัฐ ฯ ในป 1982 เขาสูสายการผลิต ในป 1984 ในปจจุบันไดปรับปรุงเรดาร F-15C จํานวน 178 เครื่อง ปรับปรุงเรดาร AN/APG-63(V)3 Active Electronically Scanned Array เริ่มโครงการเมื่อ ต น ป 2009 นอกจากนั้ น กองทั พ อากาศสหรั ฐ ฯ มีโครงการในการปรับปรุง บ.F-15 อื่น ๆ ใหมี Joint Helmet Mounted Cueing System (JHMCS) และ บริษัท Lockheed Martin ไดพัฒนาระบบคนหา และติดตามเปาหมายดวยคลื่นความรอน (IRST) กับ บ.F-15C อีกดวย ความคลองตัวของ บ.F-15 ดวยการออกแบบ ผิวปก และกําลังเครื่องยนต ในการเลี้ยวดวยวงเลี้ยว ที่แคบโดยไมสูญเสียความเร็ว อัตราการไต 30,000 ฟุต (10 กม.) ใชเวลาเพียง 60 วินาที ระบบอาวุธ และ ระบบการควบคุ ม การบิ น ถู ก ออกแบบมาเพื่ อ ปฏิบัติการบินโดยนักบินคนเดียวก็สามารถที่จะทํา การบินไดอยางมีประสิทธิภาพ และความปลอดภัย ในการบินรบในอากาศ สวน บ.F-15 A/C เปนที่นั่งเดี่ยว บ.F-15 B/D มีที่นั่งหลัง ใชสําหรับฝกนักบิน และ บ.F-15E ที่นั่งหลังสําหรับตนหน/พลทิ้งระเบิด เรดาร อ เนกประสงค APG-63/70 เป น Pulse-Doppler Radar สามารถตรวจจับเปาหมาย ที่ บิ น ในระยะสู ง และเป า หมายที่มี ความเร็ ว น อ ย ในระยะสูงต่ําโดยไมสับสนกับ Ground Clutter เรดาร ตรวจจับเปาหมายไดไกลสุด 120 ไมลทะเล(220 กม.) และสามารถ Lock เปาหมายไดที่ 50 ไมลทะเล(90 กม.)


กับการยิงดวยจรวด AIM-120 AMRAAM ระบบ สงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ( EW)มี ขี ด ความสามารถ ทั้งแจงเตือนและปองกันโดยอัตโนมัติ ติดตั้งอาวุธ อากาศสู อ ากาศได ห ลายอย า งผสมกั น ได แ ก AIM-7F/M Sparrow AIM-120 AMRAAM และ AIM-9L/M Sidewinder และปนใหญอากาศ M61A1 บ.F-15E เปนเครื่องบินโจมตีทางอากาศ มี 2 ที่นั่ง ปฏิบัติภารกิจไดทั้งการรบในอากาศ และ การโจมตี ขั ด ข ว า ง ระยะไกล ติ ด ตั้ ง ร ะ บ บ เครื่องชวย ในการโจมตีเปาหมายอยางแมนยําทุกกาลอากาศ ติดตั้งเรดารรุน APG-70 และ อุปกรณเครื่องชวย เดินอากาศและคนหาเปาหมายทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน F-15E Heads-up display แสดงภาพที่ มองเห็นในเวลากลางคืนจาก LANTIRN Navigation Pod ยังประกอบดวยเรดารใชบินเหนือพื้นดินและ พื้นที่ภูเขาโดยทํางานรวมกับระบบควบคุมการบิน ใหสามารถทําการบินที่ระยะสูงตามที่กําหนดโดย ไมชนพื้น

เรดาร APG-63(V)2 Active Electronically Scanned Array เพิ่มประสิทธิภาพในการติดตาม เปาหมายไดหลายเปาหมาย และสามารถใชอาวุธ AIM-120 ไดหลายนัดในเวลาเดียวกัน ประวั ติ ก ารปฏิ บั ติ ก ารรบ ในป 1979-81 ทอ.อิสราเอล ใช บ.F-15A ทําลาย MIG-21 “Fishbeds” จํานวน 13 เครื่อง และ MIG-25 “Foxbats” จํานวน 2 เครื่อง จาก ทอ.ซีเรีย

การปฏิบัติการ Babylon เปนเครื่องบิน คุมกันใหกับ บ.F-16A ทอ.อิสราเอลในการโจมตี โรงนิวเคลียรในอิรัก 7 มิ.ย.1981 และในป 1982 Lebanon War F-15A ทําลาย MIG-21 จํานวน 23 เครื่อง MIG-23 จํานวน 17 เครื่อง และ SA.342LGazelle helicopter จํานวน 1 เครื่อง ของ ทอ.ซีเรีย โดยที่

เครื่ อ งบิ น ฝ า ย ทอ.อิ ส ราเอล ไม ถู ก ยิ ง ตกเลย หลังจากนั้น ในป 1985 ปฏิบัติการ Wooden Leg ใช บ.F-15 โจมตีเปาหมายดวยระเบิดนําวิถีดวย


เลเซอร กับตึกกองบัญชาการของ PLO ถือวาเปน ครั้งแรกที่ใช บ.F-15A/B/C/D ในภารกิจการโจมตี ทางอากาศ ในป 1984 ทอ.ซาอุดิอาระเบีย ใช บ.F-15C ทําลาย F-4E Phantom II จํานวน 2 เครื่อง ของ ทอ.อิหราน และทําลาย บ.Mirage F1จํานวน 2 เครื่อง ของ ทอ.อิรัก ในระหวางสงครามอาว

นักพิฆาตดาวเทียม (Satellite killer) จรวด ASM-135 anti-satellite (ASAT) ถูกออกแบบ เพื่ อ เป น อาวุ ธ ในการต อ ต า นดาวเที ย มสอดแนม ในระยะไกล ในการ ท ด ส อ บ ใ ช บ.F-15A ติดตั้งใน ตํ า แหน ง ใต ท อ ง บ . ( Centerline) ทํ า การยิ ง จรวดที่ ความเร็ว 1.22 เทา ค ว า ม เ ร็ ว เ สี ย ง แรง G 3.8 g มุมไต 65 องศา ที่ระยะสูง 28,000 ฟุต (11.6 กม.) ในการทดสอบในครั้งนี้ระบบควบคุมการยิงทํางาน เรียบรอย และจรวดทํางานเรียบรอย ในการทดสอบ

ครั้งที่ 3 ใชดาวเทียม P78-1 ที่ปลดประจําการแลว รัศมีวงโครงจร 354 ไมลทะเล (555 กม.) ผลการ ทดสอบสามารถทําลายเปาหมายได ทอ.สหรัฐฯ ในป 1991 บ.F-15C, D and E ไดเขาปฏิบัติการ Operation Desert Storm ซึ่งไดรับ ชัยชนะในการรบในอากาศได 36 จากจํานวน 39 ครั้ง สําหรับ F-15Es ใชปฏิบัติการเปนหลักในเวลา กลางคืน คนหาฐานจรวด Scud และที่ตั้งของ ปตอ. ใช LANTIRN เปนเครื่องมือคนหาในเวลากลางคืน ในดานการสูรบในอากาศ F-15Cs ไดรับการยืนยัน ในการทําลายเครื่องบินของอิรักจํานวน 34 เครื่อง ในป 1991 Gulf War เครื่องบินทั้งหมดถูกทําลาย ดว ยจรวดอากาศสู อ ากาศประกอบด ว ย MiG-29 “Fulcrums" 5 เครื่อง, MiG-25 "Foxbats" 2 เครื่อง, MiG-23 "Floggers" 8 เครื่อง, MiG-21 "Fishbeds" 2 เครื่อง, Su-25 "Frogfoots" 2 เครื่อง, Su-22 "Fitters" 2 เครื่อง, Su-7 2 เครื่อง, Mirage F1s 2 เครื่อง, Il-76 บ.ลําเลียง 1 เครื่อง, Pilatus PC-9 เครื่ อ งบิ น ฝ ก 2 เครื่ อ ง และ Mi-8 เฮลิ ค อปเตอร 2 เครื่ อ ง หลั ง จากครองอากาศได เครื่ อ งบิ น ของ อิ รั ก ได บิ น หลบหนี ไ ปยั ง ประเทศอิ ห ร า น สํ า หรั บ บ.F-15C มีภารกิจหลักเพื่อการครองอากาศ แต F-15E มีภารกิจหลักในการโจมตีทางอากาศ ขนาดหนักแตยังสามารถทําลาย Mi-8 เฮลิคอปเตอร ในขณะบิ น ในอากาศได โ ดยใช ร ะเบิ ด นํ า วิ ถี ด ว ย เลเซอร (laser-guided bomb) สวน บ.F-15E จํานวน 2 เครื่อง ถูกยิงดวย ปตอ. และ อีก 1 เครื่อง ถูกจรวด SCUD ทําลายขณะอยูบนพื้นที่สนามบิน Dhahran


ในป 1994 F-15C ในเขตหามบินในอิรัก ไดทําลาย UH-60 Black Hawks 2 ลํา ซึ่งนักบิน เขาใจผิดคิดวาเปน Hinds เฮลิคอปเตอรของอิรัก ซึ่งเปนเหตุการณยิงฝายเดียวกัน และหลังจากนั้น ในป 1999 บ.F-15C ของ ทอ.สหรัฐฯ ไดใชจรวด แบบ AMRAAM ทําลาย MiG-29s 4 เครื่อง ของ ยู โ กสลาเวี ย ในการปฏิ บั ติ ก ารร ว มพั น ธมิ ต รใน โคโซโว ในป 2003 กองทัพอากาศสหรัฐฯ ไดสง F-15 C/D เขารวมซอมรบกับกองทัพอากาศอินเดีย ธรรม

ในปฏิบัติการ Cope-India 04 ซึ่งทางอินเดียไดใช Sukhoi Su-30MKI มีภารกิจครองอากาศ ผลปรากฏวา ชัยชนะเปนของฝาย Sukhoi Su-30MKI โดยที่ ไมสูญเสียเลย ซึ่งทําใหเกิดคําถามในหมูนักการทหาร อเมริกันวา นี่อาจเปนสิ่งเตือนวา F-15 นั้น เริ่มลาหลัง ในภารกิจครองอากาศแลว ตามแผนงานในปจจุบัน F-15C/D จะถูกแทนที่โดย F-22 Raptor สวน บ.F-15E นั้น ยังคงประจํ าการไปอีก หลายปเพราะมีภารกิจ โจมตีที่แตกตางและโครงสรางที่ยังมีอายุการใชงาน นอย

F-15

F-22 Raptor

(อานตอฉบับหนา)


พ.อ.อ.จํานงค ศรีโพธิ์ ผูเขียนเคยนําเสนอเครื่องบินโจมตีใบพัด โอวี–10 “บรองโก” อาจจะเปดสายการผลิตขึ้นมา อีกครั้งภายใตชื่อ โอวี–10 เอ็กซ “ซูเปอร บรองโก” ซึ่งมีขีดความสามารถทางการรบและความทันสมัย มากกวา โอวี–10 ในยุคสงครามเวียดนามเพื่อ ตอบสนองความต อ งการของกองทั พ อากาศใน โครงการจัดหาเครื่องบินโจมตี/ลาดตระเวนติดอาวุธ ขนาดเบา (Light Attack/Armed Reconnaissance aircraft ; LAAR) กองทัพอากาศสหรัฐฯ เริ่มโครงการ LAAR เมื่อเดือนกรกฎาคม 2552 โดยขอขอมูล (request for information) จากบริษัทผูผลิตเครื่องบิน ทั้งในประเทศและตางประเทศ จนกระทั่งถึงปจจุบนั (กันยายน ๒๕๕๓) ยังไมมีการขอใหบริษัทผูผลิต เครื่องบินเสนอแผนแบบเครื่องบินใหกองทัพอากาศ พิจารณา เครื่องบินที่ไดรับคัดเลือกตามโครงการ กําหนดจะบรรจุเขาประจําการในป 2556 โดย ในช ว งเริ่ ม ต น โครงการกองทั พ อากาศมี แ ผนจะ จัดหาเครื่องบินที่ไดรับเลือก ประมาณ 100 เครื่อง แตลาสุดเมื่อเดือนกันยายน 2553 กองทัพอากาศ

สหรั ฐ ฯ ลดจํ า นวนความต อ งการเครื่ อ งบิ น เหลื อ เพียง 15 เครื่องเทานั้น โครงการ LAAR มีชื่อเรียกอื่น ๆ วาโครงการ OA-X หรือ AT-X

F-15 E บินขึ้นจากสนามบินบาแกรม ประเทศอัฟกานิสถาน

โครงการ LAAR เกิดขึ้นจากความตองการ เครื่ อ งบิ น สนั บ สนุ น ทางอากาศโดยใกล ชิ ด ที่ เหมาะสมกับสภาวะแวดลอมทางการรบที่กองทัพ สหรัฐฯ เผชิญหลังสงครามอิรัคป 2546 และสงคราม ในอัฟ กานิส ถาน ซึ่ง ยื ดเยื้ อมาจนถึ ง ป จจุ บัน โดย ในสมรภู มิ ทั้ ง สองแห ง กองทั พ อากาศสหรั ฐ ฯ ได วางกํ า ลั งเครื่อ งบินขับไล และเครื่อ งบิ นโจมตีเ พื่อ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ สนั บ สนุ น ทางอากาศโดยใกล ชิ ด ไดแก เครื่องบินโจมตี เอ–10 “ธันเดอรโบลท II”


เครื่องบินขับไล เอฟ–16 และเครื่องบินขับไล/โจมตี เอฟ–15 อี ”สไตรค อีเกิ้ล” ซึ่งเครื่องบินรบทั้งสาม แบบไมไดถูกสรางขึ้นมาเพื่อนําไปใชปฏิบัติภารกิจ สนั บ สนุ น กองกํ า ลั ง ภาคพื้ น ดิ น ในสถานการณ การรบดังเชนที่เกิดขึ้น ดังนั้น จึงทําใหกองทัพสหรัฐฯ สิ้นเปลืองงบประมาณสําหรับเปนคาใชจายในการ ปฏิบัติภารกิจและการซอมบํารุงสูงมาก แตประสิทธิผล ในการปฏิบัติภารกิจอยูในระดับต่ํา เครื่องบินรบไอพนทั้งสามแบบที่กลาวมา ข า งต น มี ข อ จํ า กั ด ในเรื่ อ งเวลาบิ น คอย (loiter) อยูในอากาศ ซึ่งจําเปนสําหรับการปฏิบัติภารกิจ สนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด ใหกับกองกําลัง ภาคพื้น ถาหากตองการใหทําการบินอยูในอากาศ ในพื้ น ที่ ไ ด น านขึ้ น ต อ งได รั บ การสนั บ สนุ น การ เติมเชื้อเพลิงในอากาศ จึงทําใหการปฏิบัติการมี คาใชจายสูง และการบินปฏิบัติภารกิจเปนเวลานาน ทํ า ให โ ครงสร า ง ชิ้ น ส ว น และระบบของเครื่ อ ง สึกหรอกเร็วกวาปกติ โดยเฉพาะการปฏิบัติการใน ประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งขึ้นชื่อวาเปนพื้นที่การรบ ที่โหดรายมาก สําหรับการปฏิบัติการของอากาศยาน สภาพอากาศและภู มิ ป ระเทศเป น ภั ย คุ ก คามต อ อากาศยานมากกวาขาศึกที่สูรบ ทําใหอากาศยาน ตองการการปรนนิบัติและซอมบํารุงมากกวาการ ใชงานตามปกติหรือการปฏิบัติภารกิจในพื้นที่อื่น ๆ ส ง ผลให อ ายุ ก ารใช ง านของเครื่ อ งบิ น หมดลง เร็วกวากําหนดจะปลดประจําการ ทําใหตองมีการ จั ด หาเครื่ อ งบิ น แบบใหม ม าทดแทน ซึ่ ง เอฟ–16 และ เอฟ–15 อี เปนเครื่องบินขับไลที่มีราคาแพง ในการจัดหามาทดแทน แตสําหรับเครื่องบินโจมตี

เอ–10 ไมสามารถจัดหามาทดแทนไดเนื่องจาก บริษัทผูผลิตปดสายการผลิตไปเมื่อป 2527

เอ - 10

จากป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ กองทั พ อากาศ สหรั ฐ ฯ ดั ง ที่ ก ล า วข า งต น จึ ง นํ า ไปสู ก ารจั ด ทํ า โครงการ LAAR เพื่อสรรหาเครื่องบินโจมตี/ลาดตระเวน ติดอาวุธขนาดเบา ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนตกังหัน ใบพัด ซึ่งเปนเครื่องบินมีราคาในการจัดหามาใชงาน ถูกกวา และมีคาใชจายในการปฏิบัติการบินต่ํากวา เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล ไ อพ น หลายเท า ตั ว แต ส ามารถ ปฏิบัติภารกิจไดเชนกัน รวมทั้งสามารถตอบสนอง ความต อ งการในเรื่ อ งเวลาบิ น คอยอยู ใ นอากาศ ซึ่งเครื่องบินรบไอพนไมสามารถตอบสนองได เครื่ อ งบิ น โจมตี / ลาดตระเวนติ ด อาวุ ธ ขนาดเบาตามแนวความคิ ด ของกองทั พ อากาศ สํ า หรั บ นํ า มาใช ป ฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในบทบาทต อ ต า น การกอการราย (Counter Insurgency ; COIN) ในประเทศอั ฟ กานิ ส ถานจะมี ขี ด ความสามารถ ในการปฏิ บั ติ ก ารแบบเครื อ ข า ยเป น ศู น ย ก ลาง (Network Centric operation) และสามารถปฏิบัติ ภารกิ จ ในหลายบทบาท ได แ ก การข า วกรอง


การเฝ า ตรวจ และ ลาดตระเวนทางอากาศ เอที-6 บี เขารวมการฝก JEFX 10 (ISR) และการโจมตี เปาหมายดวยระบบ อาวุธที่มีความแมนยํา สู ง เป นเครื่ องบิ นที่ มี ขี ดความสามารถ ในการปฏิบัติ ภารกิ จ อยูระหวางอากาศยาน ไรนักบิน (Unmanned Arial Vehicle ; UAV) กั บเครื่ องบิ นขั บไล สมรรถนะสู ง กองทั พ อากาศ เครื่องบินตนแบบ เอที-6 บี สหรั ฐ ฯ มิ ไ ด มุ ง เน น ในเรื่ อ งบรรทุ ก อาวุ ธ ได เป น จํ านวนมาก หรื อต องเป นเครื่ องบิ นที่ มี สมรรถนะ ทางการบิ น สู ง แต ใ ห ค วามสํ า คั ญ ทางด า น ขี ด ความสามารถในการปฏิ บั ติ การที่ ใช เครื อข ายเป น ศูนยกลางในการปฏิบัติการรวมกับกองกําลังอื่น ๆ ซึ่งแสดงใหเห็นไดจากการฝก Joint Expeditionary Force Exercise 10-3 (JEFX 10) มีขึ้นเมื่อเดือน เอที–6 บี ไดรับการออกแบบสําหรับปฏิบัติ เมษายน 2553 ณ ฐานทัพอากาศ Nellis Air Force ภารกิจในสงครามนอกแบบ (irregular warfare) ที่ Base รัฐเนวาดา โดยการฝกในครั้งนั้นมีการนํา เกิดขึ้นในสภาวะแวดลอมทางทหารในปจจุบัน เพื่อ เครื่องบินตนแบบ เอที–6 บี และเครื่องบินฝก ที–6 ซี นําไปใชปฏิบัติภารกิจในบทบาทสนับสนุน ทางอากาศ แบบละ 1 เครื่อง เขารวมทําการฝกในครั้งนี้ดวย ซึ่ง โดยใกล ชิ ด ให กั บ กองกํ า ลั ง ภาคพื้ น และต อ ต า น เอที–6 บี เปนแผนแบบเครื่องบินของบริษัท Hawker การกอการราย โดยกําหนดหลักนิยมปฏิบัติการใน Beechcraft Corporation ที่จะเสนอในโครงการ สภาวะแวดล อ มทางการรบแบบ “permissive LAAR และไดรับการคาดหวังวาจะมีโอกาสไดเลือก environment” ซึ่งกําลังฝายเดียวกันสามารถครอง สูงที่สุด เนื่องจากพัฒนามาจากเครื่องบินฝก แบบ ความได เ ปรี ย บทางอากาศ และไม มี อากาศยาน ที–6 บี ประจําการอยูในกองทัพอากาศและกองทัพเรือ ฝายขาศึกหรือระบบปองกันภัยทางอากาศของขาศึก ที่จะเปนภัยคุกคามตอการปฏิบัติการ สหรัฐฯ


เครื่อ งบิ น ต น แบบ เอที –6 บี ติ ด ตั้ง ระบบ เซนเซอร แบบ เอ็มเอ็กซ–15 ดีไอ สําหรับใชในการ ปฏิบัติภารกิจลาดตระเวนทางอากาศ การคนหา เปาหมาย และนําวิถีใหกับระบบอาวุธ ประกอบดวย กลองโทรทัศน กลองอินฟราเรด และเลเซอรชี้เปา และสามารถรองรับระบบ Multi-Spectral Targeting System (MTS) ซึ่งอยูระหวางทําการพัฒนาเพื่อ นํามาติดตั้งใชงานในอนาคต นักบินสวมหมวกบิน ติดระบบศูนยเล็ง (helmet-mounted cueing system) และติ ด ตั้ ง ระบบนั ก บิ น กล เพื่ อ ลดภาระงานของ นักบิน เอที –6 บี ได รั บ การติ ด ตั้ ง คอมพิ ว เตอร Central Interface Control Unit (CICU) ซึ่งเปน ระบบเดี ย วกั น ที่ ติ ด ตั้ ง กั บ เครื่ อ งบิ น โจมตี แบบ เอ–10 ซี ระบบดังกลาวจะทําให เอที–6 บี สามารถ ปฏิบัติการรวมในการรบแบบเครือขายเปนศูนยกลาง รวมทั้งสามารถใชอาวุธประเภท “smart weapons” ซึ่งเปนระบบอาวุธนํ าวิถีที่ มีความแมน ยํา สูง เช น ระเบิ ด นํ า วิ ถี ด ว ยเลเซอร และระเบิ ด นํ า วิ ถี ด ว ย ดาวเทียม นอกจากนี้ ระบบหองนักบินของ เอที–6 บี ยังสามารถใชรวมกับแวนมองกลางคืน ระบบควบคุม การใชอาวุธและการทํางานของอุปกรณเซนเซอร ติดตั้งอยูที่คันบัง คับและคันเรงเครื่องยนต ติดตั้ ง ระบบรายงานพิกัดตําแหนง (Enhanced Positions Location Reporting System ; EPLRS) และเครือขาย ขอมูลเพื่อรับรูสถานการณ (situation Awareness Data Link; SADL) ซึ่งทั้งสองระบบรวมเปนสวนหนึ่ง ของเครือขายควบคุมและสั่งการในพื้นที่การรบดวย ธรรม

ระบบดิ จิ ต อลกระทรวงกลาโหมสหรั ฐ ฯ ซึ่ ง จะ เชื่อมโยงเครือขายขอมูลกําลังทางอากาศและกําลัง ภาคพื้นทั้งมวลเขาดวยกัน การฝก JEFX 10 มีวัตถุประสงคเพื่อเปน การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ก ารของ กองกําลังภาคพื้นดินและกําลังทางอากาศในการ ติ ด ต า ม แ ล ะ สู ร บ กั บ ข า ศึ ก ที่ กํ า ลั ง เ ค ลื่ อ น ที่ หลายเปาหมายในสภาพพื้น ที่การรบในเขตเมือง โดยเป น การลดเวลาในการค น หาเป า หมาย พิ สู จ น ท ราบ และการทํ า ลายกํ า ลั ง ฝ า ยข า ศึ ก ลดการสู ญ เสี ย พื้ น ที่ ใ กล เ คี ย ง แบ ง ป น และใช แหลงขอมูลเดียวกันระหวางกองกําลังทางอากาศ และกองกําลังภาคพื้นดินโดยผานระบบขอมูลเปน ศู น ย ก ลางด ว ยระบบเครื อ ข า ยข อ มู ล เพื่ อ รั บ รู สถานการณเกือบตรงเวลาจริง แบบ ลิงค 16 เครื่องบิน เอที–6 บี ไดแสดงขีดความสามารถ การปฏิบัติทั้งภารกิจการขาวกรองลาดตระเวนและ การโจมตีเปาหมาย โดยอุปกรณเซนเซอรที่ติดตั้ง สามารถสงขอมูลเปาหมายเปนภาพวิดีโอและขอมูล ตํ า แหน ง ที่ ตั้ ง ให กั บ กองกํ า ลั ง ฝ า ยเดี ย วกั น ตาม เวลาจริ ง โดยใช เ ครื อ ข า ยดิ จิ ต อลในสภาพทาง การรบแบบเครือขายเปนศูนยกลาง เอที–6 บี แสดง ให เ ห็ น ถึ ง ความอ อ นตั ว ในการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ โดย ปฏิบัติการบิ น จากทางวิ่ง ที่ขรุขระยาว 6,000 ฟุต ด ว ยน้ํ า หนั ก วิ่ ง ขึ้ น 8,500 ปอนด และทํ า การ เติมเชื้อเพลิงจากเครื่องบิน เอ็มซี–130 ทาลอน II จอดที่พื้น (อานตอฉบับหนา)


ปชส.จร.ทอ.


ประวัติกรมจเรทหารอากาศ กองทั พ อากาศ ได เ ริ่ ม นํ า กิ จ การจเร มาใชเมื่อ ๑ ม.ค.๒๔๙๑ โดยมีนาวาอากาศเอก หลวงเจริ ญ จรั ม พร(เจริ ญ ไชยโกมล) เป น จเร ทหารอากาศคนแรก ตําแหนงนี้แตงตั้งเปนบุคคล ต อ มาใน พ.ศ.๒๔๙๕ ได จั ด ตั้ ง สํ า นั ก งานจเร ทหารอากาศเปนหนวยขึ้นตรงกองทัพอากาศจัดอยู ในสวนบัญชาการ และใน พ.ศ.๒๔๙๘ เปนกรมจเร ทหารอากาศ ขึ้ น ตรงต อ กองทั พ อากาศจั ด อยู ใ น สวนบัญชาการ พ.ศ.๒๕๐๖ กองทัพอากาศไทยได ปรั บ ปรุ ง การจั ด หน ว ย และอั ต รากํ า ลั ง พลมาใช อัตรา ทอ.๐๖ ตําแหนงจเรทหารอากาศไดเปลี่ยน มาเปนเจากรมจเรทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๐๘ กรมจเรทหารอากาศ ได รั บ มอบงานนิรภัยภาคพื้นจาก กรมกําลังพลทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๒๕ กรมจเรทหารอากาศ ได รั บ งานนิรภัยการบินจาก กรมยุทธการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๓๙ กองทั พ อากาศ ได ป รั บ ปรุ ง การจัดหนวยใหมตามอัตรา ทอ.๓๙ ทําใหกรมจเร ทหารอากาศมี ห น ว ยขึ้ น ตรง ๔ หน ว ย คือ แผนก ธุรการ กองตรวจกิจการทั่วไป กองนิรภัยการบิน และกองนิรภัยภาคพื้น พ.ศ.๒๕๔๘ กองทั พ อากาศ ได จั ด ตั้ ง สํ า นั ก งานตรวจติ ด ตามการปฏิ บั ติ ร าชการ ทอ. (เพื่อพลาง) ขึ้นตรงกับ กรมจเรทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ กองทั พ อากาศ ได ป รั บ ปรุ ง การจัดหนวยใหมตามอัตรา ทอ.๕๒ ทําใหกรมจเร ทหารอากาศมี ห น ว ยขึ้ นตรง ๖ หนว ยขึ้นตรง คือ แผนกธุรการ กองแผนและโครงการ กองตรวจสอบ

มาตรฐานการบิน กองตรวจสอบและประเมินผล ๑ กองตรวจสอบและประเมินผล ๒ กองตรวจสอบ เรื่องรองทุกขรองเรียน วิสัยทัศนกรมจเรทหารอากาศ “เป น องค ก รที่ มี ค วามเป น เลิ ศ ด า นการ ตรวจสอบและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ร าชการ กองทัพอากาศ” คําขวัญกรมจเรทหารอากาศ "ตรวจสอบแมน ยํา คุณ ธรรมเด น มุง เน น ผลสัมฤทธิ์" ภารกิจกรมจเรทหารอากาศ กรมจเรทหารอากาศ มีหนาที่ พิจารณา เสนอความเห็น วางแผน อํานวยการ ประสานงาน ควบคุม กํากับการ พัฒนา และดําเนินการดานการ ตรวจสอบ ตรวจติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติ ราชการกองทัพ อากาศ ตามนโยบายและภารกิ จ ที่ไดรับมอบใหเปนไปตามระเบียบแบบธรรมเนียม ของทหาร การสอบสวนเรื่ อ งร อ งทุ ก ข ร อ งเรี ย น รวมทั้งดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบมาตรฐาน การบิน มีเจากรมจเรทหารอากาศ เปนผูบังคับบัญชา รับผิดชอบ การจัดสวนราชการ ๑. กองแผนและโครงการ มี ห น า ที่ พิ จ ารณา เสนอความเห็ น วางแผน อํ า นวยการ ประสานงาน กํ า กั บ การ ควบคุ ม และดํ า เนิ น การ


เกี่ ย วกั บ การกํ า หนด แผนงาน โครงการ และ งบประมาณ ดานการตรวจสอบ ตรวจติดตาม และ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ร าชการ ของส ว นราชการ กองทั พ อากาศ การตรวจสอบมาตรฐานการบิ น และเรื่องรองทุกข รองเรียน

๒. กองตรวจสอบมาตรฐานการบิน มี หนาที่ ดําเนินการ ควบคุม ตรวจสอบ และประเมินคา มาตรฐานการบินกองทัพอากาศ

๓. กองตรวจสอบและประเมินผล ๑ มี หนาที่ ดําเนินการเกี่ยวกับรวบรวมขอมูล การจัดทํา สถิติ การตรวจสอบ การตรวจติดตาม การประเมินผล การวิเคราะห วิจัย พัฒนา การรายงานผล และการ ใหคําแนะนําในการปรับปรุงการปฏิบัติราชการของ สวนราชการกองทัพอากาศ เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของ การปฏิบัติราชการดานการรบตามภารกิจที่ไดรับ มอบหมาย นโยบาย และการสั่งการของผูบังคับบัญชา

๔. กองตรวจสอบและประเมินผล ๒ มี หนาที่ ดําเนินการเกี่ยวกับรวบรวมขอมูล การจัดทํา สถิติ การตรวจสอบ การตรวจติดตาม การประเมินผล การวิเคราะห วิจัย พัฒนา การรายงานผลและการ ใหคําแนะนํา ในการปรับปรุงการปฏิบัติราชการของ สวนราชการกองทัพอากาศ เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของ การปฏิ บัติราชการด า นการสนั บ สนุ น การรบตาม ภารกิจ ที่ไดรับมอบหมายนโยบายและการสั่งการ ของผูบังคับบัญชา


๕. กองตรวจสอบเรื่องรองทุกขรองเรียน มีหนาที่ ดําเนินการเกี่ยวกับการพิจารณา การตรวจสอบ การสืบสวน การสอบสวนและรายงานผล เรื่องรอง ทุกข รองเรียน ของกองทัพอากาศ การประสานงาน เรื่ อ งร อ งทุ ก ข ร อ งเรี ย น กั บ หน ว ยงานภายนอก กองทัพอากาศ และการบริหารจัดการระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวของกับการรองทุกข รองเรียน

ปาตุก รวบรวม

เดือนนี้เปนเดือนแหงความรัก และสิ่งที่ขาดไมไดในเดือนนี้คือการใหดอกกุหลาบซึ่งกัน และกัน เพราะฉะนั้น เราลองมาดูซิวา สีของดอกกุหลาบแตละสีนั้น มีความหมายอยางไรบาง กุหลาบสีแดง เปนสัญลักษณของความงดงาม ความสมบูรณแบบ และเพียบพรอม กุหลาบสีชมพู เปนสัญลักษณของความงดงามและสงางาม แตออนโยนกวาสีแดง กุหลาบสีเหลือง เปนสัญลักษณที่แสดงถึงความสดใส ราเริง ทําใหเกิดความรูสึกอบอุนและ มีความสุข กุหลาบสีขาว เปนสัญลักษณที่แสดงถึงความไรเดียงสาและความบริสุทธิ์ กุหลาบสีสม เปนสัญลักษณของความปรารถนาและความคลั่งไคล กุหลาบสีลาเวนเดอร เปนสัญลักษณแหงสมบูรณแบบของความงามจับใจเพียงแรกพบ ÃÙ o ҧ¹ÕéæÅ Ç o ÒÅืÁeÅืo¡´o¡¡uËÅÒºÊÕ·Õè¶Ù¡ã¨ãË ¤¹·ÕèeÃÒÃa¡..¹a¨ a


ปชส.ทสส.ทอ. ในการปรั บ โครงสร า งกองทั พ อากาศป ๒๕๓๙ กองทัพอากาศไดจัดตั้ง กองบัญชาการหลัก ๓ กองบัญชาการ คือ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ กองบั ญ ชาการสนั บ สนุ น ทหารอากาศ และ กองบัญชาการฝกศึกษาทหารอากาศ และไดจัดตั้ง หนวยงานขึ้นใหมมารับผิดชอบงานดานเทคโนโลยี สารสนเทศโดยตรง ได แ ก สํ า นั ก งานเทคโนโลยี สารสนเทศทหารอากาศ โดยพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ได ท รงลง พระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการ และกํ า หนดหน า ที่ ข องส ว นราชการ ทอ. และ บก.ทหารสูงสุ ด กห. พ.ศ.๒๕๓๘ เมื่อ ๓๐ พ.ย.๓๘ ซึ่ ง ถื อ ว า เป น วั น สถาปนาสํ า นั ก งานเทคโนโลยี สารสนเทศทหารอากาศ ที่มีหนาที่ วิเคราะห ศึกษา ควบคุ ม กํ า หนดมาตรฐาน และพั ฒ นาเกี่ ย วกั บ ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศของกองทั พ อากาศ ตลอดจน สนั บ สนุ น ข อ มู ล สารสนเทศเพื่ อ การ บริหารใหกับผูบังคับบัญชาระดับสูงและหนวยงาน ของกองทัพอากาศ สํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ทหารอากาศทํ า หน า ที่ เ ป น องค ก รหลั ก ของ ก อ ง ทั พ อ า ก า ศ ร ว ม กั บ ก ร ม อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ทหารอากาศ และกรมสื่อสารทหารอากาศในการ

นําเสนอนโยบาย แผนงาน โครงการ แนวทางการ ประยุกตใชระบบสารสนเทศ สําหรับงานฝายเสนาธิการทางดานสื่อสาร กองทัพอากาศกําหนดใหมี "กองการสื่อสาร" เปน หนวยงานขึ้นตรงตอกรมยุทธการทหารอากาศ ตาม อั ต รา ทอ. พ.ศ.๒๕๐๖ ก อ ตั้ ง ขึ้ น ตามคํ า สั่ ง ทอ. (เฉพาะ) ลับที่ ๙/๐๖ ลง ๑๒ พ.ย.๐๖ มีผลบังคับ ตั้งแต ๑๐ ธ.ค.๐๖ "กองการสื่อสาร" ประกอบดวย แผนกตา ง ๆ รวม ๓ แผนก ไดแก แผนกนโยบาย และแผน แผนกสงครามอิเล็กทรอนิกสและแผนก วิจัยการสื่อสาร ตอมา ในป พ.ศ.๒๕๒๒ ทอ.ไดออก คํ า สั่ ง ทอ.(เฉพาะ)ที่ ๓๒๐/๒๒ ลง ๒๕ ธ.ค.๒๒ เรื่องแกอัตรา ทอ. พ.ศ.๒๕๐๖ (ครั้ ง ที่ ๒๒๗) ให แกไขเปลี่ยนชื่อจาก "กองการสื่อสาร" เปน "กอง ยุ ท ธการสื่ อ สาร" มี ห น า ที่ ว างแผน อํ า นวยการ ประสานงาน กํากับการ และควบคุมเกี่ยวกับแผน และนโยบายทางยุ ท ธการในเรื่ อ งการสื่ อ สาร อิเล็กทรอนิกส การสงครามอิเล็กทรอนิกส ตลอดจน การวิ จั ย และพั ฒ นาด า นสื่ อ สารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ประกอบด ว ยแผนกต า ง ๆ รวม ๖ แผนก ได แ ก แผนกแผนการสื่อสาร แผนกการสื่อสารภาคอากาศ แผนกการสื่ อ สารภาคพื้ น แผนกอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส


แผนกสงครามอิเล็กทรอนิกส และแผนกกรรมวิธีขอมูล เมื่อมีการปรับโครงสรางกองทัพอากาศ ป ๒๕๓๙ จึงเปลี่ยนชื่อจาก "กองยุทธการสื่อสาร" เปน "กองยุทธการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส" มีหนาที่ วางแผน อํานวยการ ประสานงาน กํากับการ และควบคุมเกี่ยวกับ นโยบายด านการสื่อสารอิเล็กทรอนิ กส ทาง ยุ ท ธการและการสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ประกอบด ว ย แผนกต า ง ๆ ๔ แผนก ได แก แผนกสื่ อสาร อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แผนกประเมิ น ผลการสื่ อ สารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แผนกสงครามอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส และแผนก ประเมินผลการสงครามอิเล็กทรอนิกส จากความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เปนไปอยางรวดเร็วทําใหโลก กาวเขาสู ยุคแหงการเปลี่ยนแปลง กองทัพอากาศมองเห็นแนวโนมในการบูรณาการระหวางเทคโนโลยีการสื่อสารกับ เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตที่จะสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของการใชงานระบบบัญชาการและ ควบคุมที่มีอยูในปจจุบัน จึงไดพิจารณาจัดตั้งหนวยงานที่มีหนาที่กํากับดูแลงานดานระบบบัญชาการและ ควบคุมเปนกรมในระดับกรมฝายเสนาธิการ เพื่อกําหนดแนวทาง การพัฒนาระบบบัญชาการและควบคุม ของ ทอ. ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยใชโครงสรางและอัตราการจัดหนวยของสํานักงานเทคโนโลยี สารสนเทศทหารอากาศ (สท.ทอ.) ซึ่งมีภารกิจในดานกิจการสารสนเทศของ ทอ.อยูแลว รวมกับอัตราของ หนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน กองยุทธการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส กรมยุทธการทหารอากาศ (กยสท.ยก.ทอ.) เปนตน โดยจะมีหนาที่กําหนดนโยบายของงานที่เกี่ยวของกับระบบบัญชาการและควบคุมทั้งหมดของ ทอ. ดังตอไปนี้

พล.อ.ต.โสภณ สรรพนุเคราะห จก.ทสส.ทอ.

น.อ.สมโพธิ เงินกลม รอง จก.ทสส.ทอ.

น.อ.อนุวัตร เล็กสวัสดิ์ รอง จก.ทสส.ทอ.

น.อ.สุรพันธ สุวรรณทัต ฝสธ. ประจํา ทสส.ทอ.


ดวยเหตุนี้ ในการปรับโครงสรางของ ทอ. ตามพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการและกําหนดหนาที่ ของส ว นราชการกองทั พ อากาศ กองทั พ ไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๒ ลงวั น ที่ ๒๗ มี น าคม พ.ศ.๒๕๕๒ จึงกําหนดในมาตรา ๑๑ ใหจัดตั้ง กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทหารอากาศ มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย วางแผน อํานวยการ ประสานงาน ควบคุม กํากับการ พัฒนาและดําเนินการ ด า นระบบบั ญ ชาการและควบคุ ม ข า ย เครื อ ข า ย เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสงครามสารสนเทศ การสื่อสารอิเล็กทรอนิกสและการสงครามอิเล็กทรอนิกส กับมีหนาที่จัดการความรู ควบคุม ประเมินผลและ ตรวจตรากิจการดานสารสนเทศและสงครามอิเล็กทรอนิกส มีเจากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทหารอากาศ เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ สัญลักษณหนวย สื่อความหมายถึงหนาที่และภารกิจ ของหนวย คือ ฝายอํานวยการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร โดยสัญลักษณตองมีความเปนไทย มีความสงางาม อยางยั่งยืน แมเวลา นโยบาย ยุทธศาสตร ผูนํา จะเปลี่ยนแปลงไป และมีความสอดคลองกับฝายอํานวยการอื่นๆ ซึ่งสวนใหญจะมี สั ญ ลั ก ษณ เป น ทวยเทพ เพื่ อเป นข าบริ วารของพระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว ซึ่งเปรียบเสมือนองคพระนารายณอวตาร รูปพระพุธ กายสีเขียวแกวมรกตประทับนั่งบนแทน พระอาสน พระหัตถขวาถือคัม ภีรพระเวทย พระหัตถซายถือ พระขรรค ดา นล า งเปน ป ก สี เ งิ น และช อชั ย พฤกษสีท อง บนพื้น วงกลมสี ฟาขอบทอง เบื้ องลา งสุ ดมี ชื่อ "กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทหารอากาศ" อยูในแถบปลายสะบัด พระพุธ หมายถึง เทพแหงปญญาและการเจรจา อันเปรียบเทียบไดถึงภารกิจของหนวย คือ สารสนเทศอันมีเปาหมายสูงสุดตอการกอใหเกิดความรูและปญญา อีกทั้งหมายถึงดานการสื่อสารดวย คัมภีรพระเวทยสีทอง หมายถึง องคความรู ขอมูล ขาวสาร สารสนเทศ นโยบาย ยุทธศาสตรทั้งมวล ที่เ กี่ ย วข อ งกั บ งานฝ า ยอํ า นวยการ ในสายเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ ใช ในขั บ เคลื่ อ น กองทัพอากาศไปสูเปาหมาย พระขรรค หมายถึง การบัญชาการและควบคุมใหปฏิบัติการทั้งมวลประสบความสําเร็จ วงกลมพื้นสีฟา หมายถึง ความยิ่งใหญของทองฟา ซึ่งมีทหารอากาศเปนผูปกปอง ปกนกสีเงิน หมายถึง ความเปนทหารอากาศ ชอชัยพฤกษสีทอง หมายถึง การเชิดชูกองทัพอากาศ ความเจริญรุงเรือง และมีเกียรติ


ศิษย นนอ. (ตอจากฉบับที่แลว) หลั ง จากเดิ น ทางกลั บ มาที่ F7 จึ ง เริ่ ม ทํ า การบิ น กั บ เครื่ อ งบิ น SK-60 ซึ่ ง เป น เครื่ อ งบิ น สํ า หรั บฝ ก ศิ ษ ย ก ารบิ น และ เสริมสรางประสบการณการบิน ก อ นขึ้ น ทํ า การเปลี่ ย นแบบ เพื่ อ ทํ า การบิ น กั บ เครื่ อ งบิ น Gripen ตอไป โดยพวกผูเขียน ไ ด ทํ า ก า ร บิ น กั น ค น ล ะ ๔ เที่ยวบิน มีวัตถุประสงคหลัก เพื่ อ สร า งความคุ น เคยกั บ การทํ า การบิ น ในประเทศสวี เ ดน ทั้ ง ในด า น Training Airspace, Voice Communication, Local Area Procedures, Visual Approach, Precision Approach และ Met Report ในภาพรวมพบวา การบิ น ที่ ป ระเทศสวี เ ดนมี ค วามแตกต า งจากที่ คุนเคยอยูพอสมควร ทั้งในดาน Unit ที่ใช (เมตร และ กิโลเมตร/ชั่วโมง) Traffic Landing Pattern, การบินกลับมาลงสนามในสภาพอากาศ ซึ่งไมใช Approach Chart แตใช Precision Approach

หรือ Tactical Instrument Landing System (TILS) แทน ในสวนของ Voice Communication และ Terminology มีความใกลเคียงกัน

นอกเหนื อ จากการฝ ก บิ น กั บ เครื่ อ งบิ น SK-60 พวกผู เ ขี ย นยั ง ได เ ริ่ ม ทํ า การฝ ก กั บ Multi Mission Trainer (MMT) โดยมุงเนนเกี่ยวกับการ สรางความคุนเคยกับ Cockpit และ Switchology, การปฏิบัติตาม Checklist สําหรับ Normal Procedures และ Data Input, การใชงานขอมูลใน HUD และ Display ตาง ๆ, การวิ่งขึ้นและการกลับมาลงสนาม ร ว ม ทั้ ง ก า ร ทํ า ค ว า ม เ ข า ใ จ กั บ Aircraft Characteristics & Performances


นอกจากนี้ พวกผูเขียนยังมีโอกาสไดพบกับ ผู บั ญ ชาการทหารอากาศสวี เ ดน พลอากาศตรี Anders Silwer ซึ่งทานเดินทางมารวมประชุมที่ F7

จึงมาตรวจเยี่ยมการฝก ใหคําแนะนําและสอบถาม ถึงความเปนอยู ซึ่ ง พวกผู เ ขี ย น ได ใ ช โ อกาสนี้ ขอบคุณถึงการ ต อ นรั บ อย า ง อบอุน การเตรียม ค ว า ม พ ร อ ม ในทุ ก ๆ ด า น ของทางฝู ง บิ น แ ล ะ ก อ ง บิ น ตลอดจนการใหความชวยเหลือ และการแกปญหา ตาง ๆ เกี่ยวกับความเปนอยูและการใชชีวิตที่สวีเดน ของพวกผู เ ขี ย น เพื่ อให การฝ ก เป นไปด ว ยความ เรียบรอย และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สําหรับในสัปดาหที่สาม การฝกยังคงเนน การเตรี ย มความพร อ มก อ นขึ้ น ทํ า การฝ ก บิ น กั บ เครื่องบิน Gripen เชนเดียวกับสัปดาหที่สอง โดย เริ่มตนสัปดาหกับการฝกแตงตัวกับ Immersion Suit

ซึ่ ง เป น ชุ ด ยางกั น น้ํ า เพื่ อ ช ว ยให นั ก บิ น สามารถ รอดชีวิตอยูไดในกรณีที่ตอง Eject และลงไปในน้ํา ที่มีอุณหภูมิ ต่ํากวา 12oC ซึ่งนักบินสวีเดนสวนใหญ จะใส Immersion Suit ทําการบินตลอดเวลา เนื่องจาก มีค วามปลอดภั ย แม ว า อาจจะร อ นหน อ ยในช ว ง หนารอน ซึ่งกอนที่จะใส Immersion Suit ก็ตองใส Undershirt และ Underpants ที่มีคุณสมบัติกันไฟ ไปชั้นหนึ่งกอน หลังจากที่ใส Immersion Suit เสร็จ ก็จะใส Anti G-Suit และ Flight Jacket ทับไป ก็คง เห็น กั น ตามภาพที่ลงประกอบดว ย วาแตล ะคนดู คอ นข า งเหมื อ นนั ก บิ น อวกาศ ค อ นข า งยากที่ จ ะ

เคลื่ อ นไหวไปไหนมาไหนพอสมควรในช ว งแรก แตตอนนี้ คุนเคยกันแลว หลั ง จากที่ แ ต ง ตั ว กั น เสร็ จ ก็ เ ป น การฝ ก ในเรื่ อ งของการตรวจเครื่ อ งก อ นทํ า การบิ น และ การฝก Strap-In ซึ่งในตอนแรกลําบากมาก เนื่องจาก Cockpit มีขนาดคอนขางเล็ก (แต Panels และ Pushbuttons ตาง ๆ ถูกออกแบบมาอยางดี งายตอ การใชงาน) เมื่อประกอบเขากับ Flight Gears ที่มี


ขนาดใหญ และยังไมคุนเคย ทําใหการฝก Strap-In ยากพอดู เสียเหงื่อกันไปพอสมควร แมวาอากาศ จะคอนขางเย็น แตนี่ยังไมเหนื่อยที่สุด สิ่งที่เลนเอา ทุกคนแยกันไปเลยคือ การฝก Ground Egress พวกผูเขียนทุกคนตองฝก Strap-In และทํา Ground Egress กันคนละ ๔ ครั้ง เนื่องจากสภาพอากาศ ในที่ ฝก ค อนขา งรอน ประกอบกั บ การแต ง ชุ ดบิ น Gripen เต็มรูปแบบ ทําใหเหงื่อออกมาก เมื่อฝก เสร็จแลว กลับมาถอดชุดใน Locker Room พบวา Undershirt และ Underpants ชุมไปดวยเหงื่อ ซึ่งตอนนี้ถึงเขาใจแลววา ทําไมในตู Locker ของ แตละคน ตองติดตั้ง Blower เพื่อใชในการเปาให ภายใน Immersion Suit แหง ซึ่งหลังจากผาน การฝก Ground Egress ไปเรียบรอย ตอนนี้ทุกคน ก็คอนขางคุนเคยกับแตงชุดบิน Gripen และ การ Strap-In แลว

ในช ว งกลางสั ป ดาห พวกผู เ ขี ย นทุ ก คน ไดมีโอกาสทําการบินกับเครื่องบิน Gripen 39 B กันคนละ ๑ เที่ยว (Back Seater) พวกผูเขียนมี ความเห็นตรงกันวา Gripen เปนเครื่องบินที่บิน ไมยากนัก ถูกออกแบบมาในลักษณะ Pilot’s Fighter นั ก บิ น สามารถบั ง คั บ และควบคุ ม ท า ทางการบิ น ไดโดยงาย ดวยระบบควบคุมการบิน แบบ Digital Fly-By-Wire ผาน Hands-On-Throttle-And-Stick (HOTAS) System Computer สามารถกํากับดูแล และควบคุม การทํา งานของระบบทั้ง หมดอยา งมี ประสิท ธิ ภาพ นั ก บิน สามารถที่ จ ะให ความสนใจ สวนใหญไปกับการใชงานเรดารและระบบอาวุธ ซึ่ง เปนหนึ่งในคุณสมบัติสําคัญของ 4.5th Generation Fighter สํ า หรั บ สมรรถนะด า นการบิ น ถื อ ว า Gripen ไดรับการออกแบบดานอากาศพลศาสตร มาเปนอยางดี โดยสามารถ Gain Energy แมขณะ กําลังทํา 4-5 G Turn ที่ Medium Altitude ในสวน ของ Corner Velocity คอนขางต่ําเมื่อเทียบกับ F-16 สงผลใหมีความคลองตัวสูงมาก โดยเฉพาะ ในชวง M 0.5 – M 0.8 นอกจากนี้ Gripen ยังสามารถ Maneuver ไดดีในชวง Low Airspeed (360 kph / 200 knots) และ High AoA (15o-20o) เนื่องจาก เปน Canard / Delta Wing Configuration สําหรับ การวิ่งขึ้นและลงสนาม ใชระยะทางสั้นมาก ในส ว นของระบบเชื่ อ มโยงข อ มู ล ทาง ยุทธวิธี นักบินสามารถตีความหมายขอมูลที่ไดรับ จากเครื่องบินในหมูบิน และจาก Fighter Controller ได ไ ม ย ากนั ก ผ า นจอแสดงผล Multi-Function


Display (MFD) และ Wide-Angle Head Up Display (HUD) สงผลใหนักบินมี Situation Awareness และ สามารถตัดสินใจไดอยางถูกตอง เหมาะสม และ ทันตอสถานการณ นอกจากนี้ หาก Fighter Controller มีความเชี่ยวชาญ จะสงผลใหการปฏิบัติภารกิจของ นักบินงายยิ่งขึ้นไปอีก Flight Gears ถูกออกแบบมาเปนอยางดี ความวุนวายและเวลาที่เสียไปกับการปรับอุปกรณ ตาง ๆ ใหถูกตอง เหมาะสมกับรูปรางของเรา ความ ยากลําบากในการฝกแตงตัวและการฝก Strap-In ถู ก ลื ม ไปโดยสิ้ น เชิ ง เมื่ อ ขึ้ น ทํ า การบิ น เนื่ อ งจาก Flight Gears ทําหนาที่ไดอยางดีเยี่ยม โอกาสที่ นักบิน Gripen จะเกิด G-LOC นอยมาก อาจจะมี ขอติเล็กนอย คือในเรื่องของปริมาณน้ํามัน Gripen บรรจุน้ํามันไดไมมากนัก แมวา Fuel Consumption จะไม สู ง มาก แต ไ ม น า จะทํ า การบิ น ได น านเท า F-16 ใน Configuration เดียวกัน

ในสัปดาหที่สามนี้ พวกผูเขียนยังไดเริ่มทํา การฝกบินกับ Full Mission Simulator (FMS) ซึ่งทุกคน ทํ า ได เ ป น อย า งดี ครู ก ารบิ น สวี เ ดนเองให ค วาม ธรรมชาติ

เชื่ อ มั่ น ว า การฝ ก อบรมไม น า จะมี ป ญ หาอะไร เนื่องจากประสบการณดานการบิน ความคุนเคยกับ การบิน High Performance Fighter และการ ติ ด ต อ สื่ อ สารด ว ยภาษาอั ง กฤษของพวกผู เ ขี ย น ดีกวามาตรฐานที่ทางสวีเดน ตั้งไวมาก

ในช ว งหลั ง จากนี้ ไ ป การฝ ก คงทวี ค วาม เข ม ข น ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ภายในกลางเดื อ นเมษายน พวกผู เ ขี ย นทั้ ง ๔ คน คงผ า นการบิ น ปล อ ยเดี่ ย ว (1st Solo) กับเครื่องบิน Gripen 39 A โดยพวกผูเขียน ยังคงทําการบินกับเครื่องบิน Gripen 39 A/B จนกวา จะเสร็จสิ้นการฝก Conversion Training และ Initial Quick Reaction Alert (QRA) แลวจึงเปลี่ยนแบบ ไปทําการบินกับเครื่องบิน Gripen 39 C/D ใน Phase หลั ง ๆ ซึ่ ง เป น การฝ ก ในขั้ น ก า วหน า และการฝ ก ครูการบิน ทั้ง นี้ การฝก ทั้งหมดจะเสร็ จสิ้นในช ว ง กลางเดือนธันวาคมนี้ และพวกผูเขียนจะเดินทาง กลับประเทศไทย เพื่อรอรับเครื่องบิน Gripen 39 C/D ๓ เครื่องแรก ที่จะสงมอบใหกองทัพอากาศ ภายใน เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๔ ติดตามการพัฒนาขีดความสามารถ ของกําลังทางอากาศจากโครงการ ฯ ในฉบับหนา


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (ตอจากฉบับที่แลว) ๕๒. เหรี ย ญขวั ญ ถุ ง หลวงพ อ เชิ ด วั ด มฤคทายวั น (ดงแขม) อ.เมื อ ง จ.หนองคาย ดําเนินการโดย น.อ.ทนงศักดิ์ พวงพวงรอด เมื่อ ป ๒๕๔๙ เหรียญรุนนี้มี ๒ แบบคือ เหรียญรางวัลความสําเร็จสูงสุดดานการ พัฒนามนุษย ป ๒๕๔๘ ชนิดราคา ๒๐ บาท จํานวน ๒๐๐ เหรียญ

เหรี ย ญเฉลิ ม พระเกี ย รติ เ นื่ อ งในโอกาส องคการอนามัยโลกทูลเกลา ฯ ถวายรางวัลอาหาร ปลอดภัย ป ๒๕๔๘ ชนิ ดราคา ๑๐ บาท จํา นวน ๒๐๐ เหรียญ

โดยได ป ระทั บ เครื่ อ งหมายตราป ก ไว ที่ ดานหลังของเหรียญ เหรียญทั้ง ๒ แบบนี้ หลวงพอเชิด ไดกรุณาอธิษฐานจิตใหเปนกรณีพิเศษ


๕๓. เหรียญขวัญถุงหลวงพอเชิด วัดมฤคทายวัน (ดงแขม) อ.เมือง จ.หนองคาย ดําเนินการโดย น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา สําหรับมอบใหกับผูที่รวมทําบุญทอดผาปา วัดมฤคทายวัน (ดงแขม) เมื่อวันเสารที่ ๑๕ ส.ค.๕๒ โดยหลวงพอเชิด ไดกรุณาเมตตาปลุกเสกเดี่ยวใหเปนกรณีพิเศษ เหรียญรุนนี้มี ๓ แบบคือ - เหรียญ ๒ บาท (ป ๒๕๕๒) จํานวน ๓๐๐ เหรียญ - เหรียญ ๕๐ ส.ต. (ป ๒๕๕๑) จํานวน ๔๐๐ เหรียญ - เหรียญ ๒๕ ส.ต. (ป ๒๕๕๑) จํานวน ๑,๒๐๐ เหรียญ ดานหลังของเหรียญจะยิงเลเซอรโคดตราปกประทับไวทุกเหรียญ


น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต

Sansiri_2@yahoo.com www.facebook.com/sansiri.s

“ระหว่าง netbook กับ smart phone ควรเลือกใช้แบบไหน?” จากการเปดตัวที่ผานมาของ smart phone จากคาย Google ในชื่อ Nexus One และ iPhone4 จากคาย Apple นั้นคงเพิ่มดีกรีความเขมขนใหกับ ตลาดของ smart phone ที่มีอยู แตในความเปนจริง แลว การแขงขันที่ยังมีอยู ณ ขณะนี้เปนของ netbook กับ smart phone ที่ถือวาไดรับความสนใจจากผูใช ตาง ๆ ที่ตองการใชอุปกรณไฮเทคที่สามารถพกพา ไปไดงาย (Portability) และสามารถเชื่อมตอขอมูล ที่ตองการไดทุกที่เมื่อตองเดินทาง (Roam) ซึ่งใน เวลานี้ทั้ง netbook และ smart phone เปนสิ่งที่ ยังอยูในความตองการของผูใชยุคปจจุบัน ที่อยากจะ

มีอุปกรณฯ ดังกลาวไวครอบครอง แตกอนที่จะถึง คําถามที่วา “ระหวาง netbook กับ smart phone ควรเลือกใชแบบไหน” ผูใชตองถามตัวเองกอนวา “ระหวาง netbook กับ smart phone แบบไหนตรง ตามความตองการที่คุณจะนําไปใช” คิ ด ว า คงเป น การตั ด สิ น ใจที่ ไ ม ง า ยนั ก เพราะทั้ง netbook และ smart phone สามารถ ตอบสนองการทํ า งานให คุ ณ ได ใ กล เ คี ย งกั น โดยเฉพาะผูใชที่จําเปนตองเลือกใชไดเพียงอยาง เดี ย ว และนี่ คือ รายละเอีย ดในการเลือ กที่จ ะชว ย ให คุ ณ ตั ด สิ น ใจได ง า ยขึ้ น ตามคํ า แนะนํ า ของ


Jay Dougherty ผูเขียนบทความ “netbooks versus smart phones”

พกพาไดงายไหม ขอนี้ smart phone ไดคะแนนไปอยางเต็ม ๆ ในขณะที่ netboook ก็คือ notebook ที่มีขนาด เล็กสุดและมีน้ําหนักเบาสุด ที่ผูใชสามารถพกพาไป ได ง า ยเหมื อ นกั บ พกพากระดาษป ก เล็ ก ๆ แต อยางไรก็ตาม netbook ก็ยังเปนคอมพิวเตอรและ นั้ น ก็ ห มายถึ ง คุ ณ ต อ งพกพาสายไฟ แบตเตอรี่ อุปกรณเสริมและอื่น ๆ ติดตามไปดวย ทําใหมีน้ําหนัก มากขึ้น ถานํามาเปรียบเทียบกับ smart phone แลว คุณเพียงใส smart phone ไวในกระเปาเสื้อและ นั่นคือน้ําหนักทั้งหมดที่คุณตองพกพา การพกพา ได ง า ยนั้ น เป น เหตุ ผ ลหลั ก ในการเลื อ กใช ที่ ผู ใ ช สวนมากเห็นดวยกับ smart phone ทุกครั้งที่มี การพูดถึง แบตเตอรี่ใชไดนานไหม ในเรื่องนี้ตองยอมรับ netbook มีคะแนน เหนือกวา จะเห็นไดจาก netbook ในปจจุบันสามารถ ใช ง านได ต อ เนื่ อ งถึ ง ๘ ชั่ ว โมง ด ว ยแบตเตอรี่

ชารจครั้งเดียว และนานเปนอาทิตยสําหรับผูที่ใช netbook เปนครั้งคราว อาทิ Acer Aspire One D260 ถาจะใหเปรียบเทียบกับ smart phone นั้น ผูใชตอง คอยตรวจระดั บ แบตเตอรี่ ต ลอดเวลา ถึ ง แม ว า smart phone บางยี่หอโฆษณาวาแบตเตอรี่สามารถ ใชงานไดนานถึง ๑๔ ชั่วโมง (Standby time) จริง ๆ คงไมถึงอาจเหลือเพียงแค ๒-๓ ชั่วโมง ถา smart phone เครื่องนั้นถูกใชทองเว็บ (ผาน 3G หรือ Wi-Fi) เลน MP3 และกิจกรรมอื่น ๆ อยางตอเนื่อง และบอย ๆ ที่สําคัญอากาศเย็นจะทําใหแบตเตอรี่ ทํ า งานแย ล ง จึ ง เป น เรื่ อ งไม แ ปลกที่ ผู ใ ช smart phone ตองมีเครื่องชารจแบตเตอรี่ประจําไวที่บาน ที่ ทํ า งานและในรถยนต ซึ่ ง ถื อ ว า มี ค วามจํ า เป น ในยุคปจจุบัน เชื่อมตอไดสะดวกไหม ในขณะที่คุณเดินทาง smart phone จะให ความสะดวกและงายกวาสําหรับการเชื่อมตอขอมูล เนื่องจาก smart phone โดยทั่วไปมักขายบริการ โทรศัพทไปพรอมกับบริการขอมูลไรสายผาน 3G หรือ Wi-Fi หมายถึง smart phone เครื่องนั้นตอง อยูบนเครือขายใดเครือขายหนึ่ง ดังนั้นพื้นที่ครอบคลุม ของเครือขาย (Network Coverage) จึงเปนสิ่งที่ สําคัญที่คุณควรใหความสนใจกอนที่จะซื้อ smart phone มาใช คุณควรสอบถามขอมูลจากผูใหบริการ smart phone วามีผูใหบริการรายใดที่ใหบริการไดดี และครอบคลุมพื้นที่ตามที่คุณตองการไดมากที่สุด ที่ สํ า คั ญ ถ า คุ ณ ต อ งเดิ น ทางไปต า งประเทศเป น ประจํา ควรตรวจสอบพื้นที่ครอบคลุมในตางประเทศ


ดวย อยางที่ทราบกัน netbook สามารถใหบริการ เชื่ อ มต อ ข อ มู ล ได เ ช น เดี ย วกั น แต คุ ณ ต อ งซื้ อ เพิ่มจากผูใหบริการขอมูลไรสายในประเทศ อาทิ i-mobile 3G เพราะ netbook ถูกออกแบบมาสําหรับ การเชื่ อมตออิน เทอรเน็ ต ผู ผลิตไม ไดว างแผนวา ทุกคนที่ซ้อื netbook ตองการใชบริการขอมูลไรสาย บางคนเพียงตองการใช netbook ผานเครือขาย อินเทอรเน็ตที่บาน ซึ่งถือวาโชคดีในปจจุบันไมวา คุณซื้อ netbook ที่ไหนก็ตาม คุณสามารถเพิ่มบริการ ขอมูลไรสายไดงายและสะดวกเชนกัน

ใชงานไดคลองไหม หากคุณกําลังมองหาอุปกรณไฮเทคพกพา ที่ ใ กล เ คี ย งกั บ ประสบการณ ที่ คุ ณ ได รั บ เมื่ อ ใช คอมพิวเตอรตั้งโตะหรือโนตบุคขนาดใหญ จะพบ ไดใน netbook แตนั่นไมไดหมายความวา smart phone จะแพในเรื่องนี้ทันที ในความเปนจริง ถา คุณได ใ ช แ ป น พิ ม พ ห รื อ หน า จอสั ม ผั ส ของ smart phone ในเร็ว ๆ นี้ อาจประหลาดใจกับสิ่งที่ไดพบ โดยคุณคงไมสงสัยเห็นคนจํานวนมากรอบ ๆ ตัวคุณ เอานิ้วกดไปที่ smart phone โดยคุณเดิมพันไดเลย วาพวกเขาไมไดกดไปดวยอารมณโกรธ จริงๆ แลว กดเพื่อหาขอมูล ซึ่งหลังจากการปรับครั้งแรกใหเขา กับการใช smart phone บางทานอาจพบวาแปนพิมพ

smart phone และหนาจอสัมผัสนั้น ชวยใหคุณ สามารถใช smart phone ไดอยางตื่นตาและตื่นใจ ทองเว็บไดไหม ตองยอมรับวาทองเว็บดวย netbook นั้น ไดขอมูลบนจอภาพที่ดีกวาการใช smart phone ถึงแมวามีหลายเว็บเพจไดออกแบบใหการทองเว็บ สามารถที่จะดูไดงายขึ้น บนจอภาพ smart phone (ลงทายดวย .mobi สําหรับอุปกรณฯ พกพา) แทนที่ ผูใช smart phone ตองใชเทคนิคการซูมและ การสาย (Zooming & Panning) เพื่อดูขนาดเว็บเพจ ที่เคยดูบนหนาจอคอมพิวเตอร ในปจจุบันไดมีการ พัฒนาโปรแกรมที่สามารถดูเว็บเพจไดบนหนาจอ ของ smart phone อาทิ tapatalk บน iPhone และ คาดวาจะมีเพิ่มขึ้นสําหรับผูใช smart phone ยี่หอ อื่น ๆ ที่ตองการดูเว็บและฝากขอมูลบนเว็บบอรด แตในความเปนจริงแลวนั้น โปรแกรมที่สามารถดู เว็บเพจไดบนหนาจอของ smart phone ที่มีอยูนั้น เป น การยื น ยั น ให เ ห็ น ถึ ง ป ญ หาที่ มี อ ยู ใ นการใช smart phone ทองเว็บ ใชโปรแกรมออฟฟศไดไหม ถาคุณกํา ลังมองหาอุปกรณไฮเทคพกพา ที่มีความสามารถในการทํางานโปรแกรมออฟฟศ สําหรับสํานักงานทั่วไป อุปกรณพกพาแบบ netbook นาจะไดรับคะแนนอยางมากในขอนี้ ประกอบกับ คุณคงไมเห็นดวยกับการใชโปรแกรมกระดาษคํานวณ (Spreadsheet) บนอุปกรณแบบ smart phone ถึ ง แม จ ะมี โ ปรแกรมที่ ส ามารถทํ า งานได เ หมื อ น


โปรแกรมกระดาษคํานวณ (Spreadsheet-like) บน smart phone อาทิ โปรแกรมออฟฟศ Thinkfree บน Samsung Galaxy S ในอุปกรณ netbook ที่มี อยู คุ ณ สามารถเรี ย กใช โ ปรแกรมออฟฟ ศ หรื อ โปรแกรมอื่น ๆ ที่ทํางานภายใตระบบปฏิบัติการแบบ Windows ไดอยางสะดวก แตคุณอาจจะรําคาญ กับประสิทธิภาพของ netbook ในปจจุบันที่มีหนาจอ ขนาดเล็ ก และโปรเซสเซอรที่ ใช มีค วามสามารถ ในการคํานวณที่คอนขางจํากัด ถา email เปนสิ่งที่ คุ ณ ต อ งใช อ ย า งมากในการเดิ น ทาง ขอแนะนํ า ใหใช email บน smart phone ของ BlackBerry ซึ่งใหความสะดวกและพึงพอใจไดมากกวาการใช email บน netbook เมื่อเปรียบเทียบ กันในเรื่องการ พกพา (Portability) ราคาตางกันไหม ในขอนี้ netbook ดูเหมือนจะไดเปรียบใน เรื่องของราคาที่ ถูกกวา แต จริ ง ๆ แลว ราคาของ netbook และ smart phone จะถูกหรือแพงนั้นขึ้นอยู กับการที่คุณจะนําเอา netbook หรือ smart phone ไปใชอยางไรมากกวา ในสวนของ smart phone เมื่อคุณตัดสินใจที่จะนํามาใช คุณจะไดรับบริการ โทรศัพทและบริการขอมูลไรสายไปพรอมกัน ราคา ในความเปนเจาของ (TCO) อาทิ ทั่วไปในระยะเวลา ๒ ป ที่คุณตองทําสัญญากับผูขายนั้น มีราคาที่แพง กวาราคาในความเปนเจาของเครื่องคอมพิวเตอร ประสิทธิ ภาพสูงเสียอีก (High-end desktop computer) ในสวน netbook ราคาในความเปน เจาของคอนขางถูกกวาเทียบกับระยะเวลาเดียวกัน (๒ ป) โดยเฉพาะเมื่อคุณตัดสินใจที่จะใช netbook โดยไมมีบริการขอมูลไรสาย (3G หรือ Wi-Fi) แตถา ธรรม

คุณเกิดตองการใชบริการขอมูลไรสายที่ทําใหเกิด ความสะดวก ในการเชื่ อ มต อ ข อ มู ล ไม ว า จะอยู ที่ไหนก็ตามเชนเดียวกับ smart phone ถาเปนเชนนั้น ราคาในความเปนเจาของ netbook จะใกลเคียงกับ ราคา ของ smart phone ขอคิดที่ฝากไว การตั ด สิ น ใจที่ จ ะเลื อ กใช อุ ป กรณ ไ ฮเทค พกพาแบบ netbook หรือ smart phone นั้น ไมควร มาจากการให ค ะแนนในความสามารถแต ล ะข อ ขางบนแลวนํามารวมกัน แตควรมาจากการที่คุณได รูถึงจุดแข็งและขอไดเปรียบของ netbook และ smart phone โดยนําสิ่งนั้นไปเปรียบเทียบกับความ ต อ งการหลั ก ในการใช ข องคุ ณ อาทิ เช น ถ า คุ ณ กําลังมองหา netbook เพื่อนํามาใชในการรับ-สง email เปนหลัก ในความคิดคุณควรมองหา smart phone มาใชดีกวา เนื่องจาก smart phone มีขอ ไดเปรียบในเรื่องของน้ําหนักเบาและพกพาไดงาย ถึงแมคุณคิดวาแปนพิมพของ smart phone นั้น ใชงานไดไมคอยสะดวกสักเทาไร และถาคุณกําลัง มองหาอุปกรณไฮเทคพกพา ที่มีความสามารถใน การประมวลผลไดเปนอยางดี ในความคิด netbook นาจะเหมาะสมมากกวา smart phone ถึงแมใน ปจจุบันไดมีการพัฒนาโปรแกรมในแบบตาง ๆ ให ผูใช smart phone สามารถทํางานไดสะดวกขึ้น ก็ ต าม ท า ยที่ สุ ด ก อ นที่ คุ ณ จะตั ด สิ น ใจซื้ อ ไม ว า จะเปน netbook หรือ smart phone ทางที่ดีควรหา โอกาสทดลองใช อุ ป กรณ ฯ ดั ง กล า ว ก อ นที่ คุ ณ จะตัดสินใจซื้อมาใช ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงความผิดพลาด ที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ และที่สําคัญเพื่อให เกิดความคุมคากับเงินที่คุณไดจายไป……


ในชวงสงครามระหวางอาหรับกับอิสราเอล ฝายกองทัพอาหรับไมไดโดดเดนกวาอิสราเอลเลย ฝายอาหรับพายแพในสงครามป ค.ศ.๑๙๔๘ ตอ ฝายทหารอิสราเอลที่มีการฝกฝนแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ ไม เ ต็ ม ที่ เ นื่ อ งจากเพิ่ ง เริ่ ม ต น ก อ ตั้ ง ประเทศใหม ในสงครามป ค.ศ.๑๙๕๖ ทหารอียิปตหลายพันคน ต อ งถอดรองเท า ทิ้ ง เพื่ อ ให วิ่ ง หนี ไ ด เ ร็ ว ขึ้ น และ หลายคนตองเสียชีวิตในทะเลทราย ในป ค.ศ.๑๙๖๗ อิ ส ราเอลต อ งต อ สู กั บ ชาติ อ าหรั บ ๔ ชาติ แ ละ ประวัติศาสตรก็ซ้ํารอยสงครามป ค.ศ.๑๙๕๖ ซึ่ง เปนอีกครั้งหนึ่งที่ภาพรองเทาของฝายทหารอาหรับ มากมายที่ถูกถอดทิ้งไวในทะเลทรายไซนายปรากฏ ขึ้นในหนังสือพิมพหลายฉบับ ค.ศ.๑๙๕๖ เปนชวงที่อิสราเอลประสาน ความสัมพันธอยางใกลชิดกับฝรั่งเศส กองทัพอิสราเอล ได สั่ ง ซื้ อ ขี ป นาวุ ธ ต อ สู ร ถถั ง แบบ เอสเอส-๑๐ จํานวนมากมาใชในกองทัพ เอสเอส-๑๐ เปนขีปนาวุธ แบบแรก ๆ ของโลกที่มีอยูเพียงไมกี่แบบในยุคนั้น

ซึ่งนําวิถีดวยการเล็งเปาหมายดวยสายตา ควบคุม ขีปนาวุธใหเขาเปาหมายดวยเสนลวด ระยะยิงไกลสุด ๒,๐๐๐ เมตร ผูทําการยิงจะบังคับขีปนาวุธใหเขา เปาหมายดวยคันบังคับขนาดเล็ก เนื่องจากขีปนาวุธ เอสเอส-๑๐ มีขนาดเสนผาศูนยกลางเพียง ๑๖ ซม. ผู ผ ลิ ต จึ ง ติ ด ตั้ ง พลุ สี แ ดงไว ที่ ส ว นหางเพื่ อ ให ผู ทํ า การยิงสามารถมองเห็นในระยะไกลได จากความจําเปนที่ผูทําการยิงตองมองเห็น ในระยะไกลจึงติดตั้งพลุไวที่สวนหาง แตพลุที่ติดตัง้ มีแสงสีแดงจาบดบังตัวขีปนาวุธทั้งหมดทําใหผูทํา การยิงไมสามารถคํานวณทิศทางของขีปนาวุธได ป ญ หานี้ ต อ งใช เ ทคนิ ค พิ เ ศษแก ไ ข ผู ทํ า การยิ ง จะบั ง คั บ ให ขี ป นาวุ ธ ออกนอกเส น ทางก อ นแล ว บั ง คั บ ให เ ข า เป า หมายทางด า นข า งซึ่ ง จะต อ ง คํานวณอยางแมนยําทั้งในเรื่องเวลาและระยะทางที่ ขีปนาวุธจะเขาถึงเปาหมาย ขีปนาวุธแบบ เอสเอส-๑๑ ซึ่ ง พั ฒ นาต อ จาก เอสเอส-๑๐ ก็ มี ป ญ หายุ ง ยาก แบบเดียวกัน หลายประเทศไดผลิตขีปนาวุธตอสู


รถถั ง ออกมาและก็ พ บป ญ หาและต อ งแก ไ ข ในทํานองเดียวกันรวมทั้งรุน “แซกเกอร” ที่ผลิตใน สหภาพโซเวียต ขีปนาวุธเหลานี้ตองการการฝกฝน อยางตอเนื่องภายใตสภาพการณตาง ๆ เพื่อความ ชํานาญ แตความคาดหวังวาจะยิงถูกเปาหมายก็มี เพี ย ง ๑๐% ฝ า ยอิ ส ราเอลได ผ ลลั พ ธ ที่ ดี ก ว า ซึ่ ง สวนใหญเกิดจากการคัดเลือกผูทําการการยิงอยาง เขมงวดและการฝกฝนอยางหนัก ในป ค.ศ.๑๙๕๖ กองทัพอิสราเอลประสบ ความสําเร็จในการใช เอสเอส-๑๐ ตอกองทัพบก อี ยิ ป ต ในสงคราม ๖ วั น (ค.ศ.๑๙๖๗)กองทั พ อิ ส ราเอลเผชิ ญ หน า กั บ ขี ป นาวุ ธ ต อ สู ร ถถั ง แบบ สแนปเปอรซึ่ ง เปน ขี ป นาวุธจากโซเวี ยตรุน แรก ๆ อยางไรก็ตาม กองทัพอียิปตพายแพลงอยางรวดเร็ว อิสราเอลยึดขีปนาวุธดังกลาวมาเก็บไวในคลังแสง และไม ให ค วามสนใจเท าใดนัก อิสราเอลมองวา ปนใหญของรถถังคืออาวุธที่ตอสูรถถังไดดีที่สุดและ ใชเปนหลักในการทําลายรถถังขาศึก อิสราเอลมีความเชื่อมั่นในตนเองและเปน อุปนิสัยที่นายกยองแตโชคไมดีที่กองทัพอิสราเอล ได ก า วล้ํ า หน า เกิ น ไป การปรั บ ปรุ ง หลั ก นิ ย มใน สถานการณเปลี่ยนแปลงไปเปนสิ่งที่ขาดไมไดแตก็ ยังมีทฤษฎีพื้นฐานทางทหารหลายอยางที่สามารถ ชักจูงใหเกิดการหลงผิดได สิ่งหนึ่งในความเชื่อนี้คือ ความจํ า เป น ในการผสมผสานการต อ สู ร ะหว า ง ทหารเหล า ต า ง ๆ โดยเฉพาะเหล า ทหารราบกั บ ทหารยานเกราะ จากสงครามโลกครั้งที่ ๑ พบวา ในการเขาโจมตีขาศึกจําเปนตองใชทหารราบและ ยานเกราะร ว มกั น และสงครามโลกครั้ ง ที่ ๒

ก็ยืนยันวาตองเปนเชนนั้น อยางไรก็ตาม ประวัติศาสตร การทําสงครามทําใหเกิดขอบกพรองขึ้นในกองทัพ อิสราเอล ความหยิ่งผยองที่เกิดขึ้นจากการแกไข ปญหาในสงครามที่ผานมาโดยที่ไมมองภาพรวม ของสงครามทั้ ง หมด ทํ า ให ต อ งเกิ ด การสู ญ เสี ย ครั้งยิ่งใหญตอกองทัพอิสราเอลในเวลาตอมา การที่กองทัพอียิปตตองแตกพายเปนครั้งที่ สอง(ค.ศ.๑๙๖๗) ความคิ ด บางอย า งเกิ ด ขึ้ น ใน กองทัพอิสราเอล โดยทั่วไปแลวรถถังและยานเกราะ ต อ งปฏิ บั ติ ก ารร ว มกั บ ทหารราบ บทบาทของ ทหารราบคื อ จั ด การกั บ ทหารราบข า ศึ ก ที่ อ าจจะ ขัดขวางการปฏิบัติการของยานเกราะดวยการใช อาวุธตอสูรถถัง เนื่องจากรถถังไมอาจจะสามารถ จัดการกับทหารราบขาศึกไดดีและตองการใหเปน หนาที่ของทหารราบฝายเดียวกัน และยานเกราะ จะมีหนาที่จัดการทําลายยานเกราะขาศึก ปญหา ก็คื อ ทหารรถถั ง นั่ง อยู ห ลัง เกราะเหล็ ก ซึ่ง มี ค วาม หนาประมาณ ๔ ถึง ๘ นิ้ว ขณะที่ทหารราบวิ่งอยู รอบ ๆ สวมเพียงหมวกเหล็กและเสื้อเชิ้ตบาง ๆ แมวา รถถังจะเปนเปาหมายที่โดดเดนและรองรับการยิง อยางมากมายจากขาศึก แตเนื่องจากเครื่องปองกัน ที่แตกตางกันอยางมาก การสูญเสียอยางหนักจึง ตกอยูกับทหารราบ กองรองเท า ของข า ศึ ก บนเนิ น ทรายใน ทะเลทรายไซนายอาจจะทํ า ให ก องทั พ อิ ส ราเอล คิดวาไมมีความจําเปนตองใหทหารราบรวมรบไปกับ รถถัง เหตุผลก็คือเมื่อรถถังปรากฏตัวขึ้น ทหารราบ ขาศึกก็จะวิ่งหนี ดังนั้นจึงไมจําเปนตองไปรบกวน ทหารราบฝ า ยเดี ย วกั น ซึ่ ง ปฏิ บั ติ เ พี ย งแค ร ว มไป


ในเสนทางเดียวกันและอาจจะตองบาดเจ็บลมตาย โดยไมจําเปน แตความคิดนี้เปนขอผิดพลาดอันยิ่งใหญ ของกองทัพอิสราเอล ขีปนาวุธแซกเกอรของรัสเซียมีระยะยิงไกลสุด ๓,๐๐๐ เมตร นําวิถีดวยเสนลวด เปนขีปนาวุธตอสู รถถัง “ยุคแรก” ของสหภาพโซเวียตที่พัฒนาขึ้นใน ทศวรรษที่ ๖๐ แม ว า จะเป น การพั ฒ นาต อ จาก “สแนปเปอร” แตก็เหมือนกับขีปนาวุธใน “ยุคแรก” ทั่วไปคือการทํางานคลาย ๆ กับ เอสเอส-๑๐ ของ ฝรั่ งเศส ขี ปนาวุ ธแบบนี้ ถู กนํ ามาแสดงครั้ งแรกใน ขบวนพาเหรดวันแรงงานในกรุงมอสโคว ป ค.ศ.๑๙๖๗ และรู ป ภาพของมั น ก็ ไ ปปรากฏอยู ใ นนิ ต ยสาร ทั่วโลก ขีปนาวุธแซกเกอรถูกแจกจายไปยังทุกประเทศ ในกลุมสนธิสัญญาวอรซอรและประเทศพันธมิตร ทางการเมืองของสหภาพโซเวียต รวมทั้งประเทศอาหรับ อีกหลายประเทศเพื่อทดแทนขีปนาวุธสแนปเปอร ข า วสารของแซกเกอร ป รากฏขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ในนิตยสารเกี่ยวกับสงครามจนถึงปลายทศวรรษ ที่ ๖๐ นิตยสาร “มาอราช็อท” ซึ่งเปนนิตยสารของ กองทัพอิสราเอลไดพรรณนาคุณลักษณะเกี่ยวกับ ขีปนาวุธนี้ในเดือน ก.ค.๑๙๗๐ ในเดือน ก.ย.๑๙๗๑ นิตยสารฉบับเดียวกันก็ไดตีพิมพเ กี่ยวกับการทํา สงครามตอสูรถถังของกองทัพบกอียิปตและสงสัย วา อี ยิ ป ต อ าจจะบรรจุ ขี ปนาวุ ธ แซกเกอร ท ดแทน ขี ป นาวุ ธ รุ น เก า ที่ มี อ ยู ตามข อ เท็ จ จริ ง หลั ง จาก สงคราม ๖ วัน อียิปตเริ่มมองหาหนทางที่จะเอาชนะ อิส ราเอลในสงครามยานเกราะซึ่ ง พวกเขารู ดี ว า ไมสามารถเปรียบเทียบกันแบบซึ่งหนาได จากการ ไดที่ปรึกษาจากสหภาพโซเวียตมาชวยแกปญหา

และจากการพิจารณาอยางละเอียดถี่ถวน ขอสรุปที่ได คือรูปแบบบางอยางของเทคโนโลยีในนิยายที่อาจจะ สามารถพิ ชิ ต กํ า ลั ง พลของอิ ส ราเอลที่ เ หนื อ กว า ในดานคุณภาพได เริ่มตนป ค.ศ.๑๙๗๓ การขาว ของอิ ส ราเอลรู ว า กองทั พ อี ยิ ป ต กํ า ลั ง เริ่ ม ต น ใน ความพยายามดังกลาวแตไดกําหนดใหขาวสารเปน ความลับมาก และขาวสารนั้นก็ไมไดถูกกระจายไป ยังกองทหารประจําการและกองหนุนแตอยางใด ๖ ต.ค.๑๙๗๓ กองทั พ บกอี ยิ ป ต ไ ด ข า ม คลองสุเอซและสงครามก็เริ่มขึ้น กองทัพอิสราเอล ไดตอบโตการโจมตีดวยกองทัพยานเกราะโดยไมมี ทหารราบสนับสนุน ผลลัพธคือกองทัพยานเกราะ อิสราเอลตองถอยรนพรอมกับการสูญเสียอยางหนัก ทุกคนตองประหลาดใจเมื่อทหารราบอียิปตไมวิ่งหนี เหมื อ นอย า งที่ เ คยทํ า ในสงครามครั้ ง กอ น ๆ เมื่ อ กองทัพ ยานเกราะอิส ราเอลปรากฏตัว ขึ้น แทนที่ จะเป น เช น นั้ น พวกเขายื น ขึ้ น พร อ มกั บ ขี ป นาวุ ธ แซกเกอร แ ละเครื่ อ งยิ ง จรวดแบบ อาร พี จี -๗ ขณะที่ ก องทั พ อิ ส ราเอลได รั บ รู เ รื่ อ งหลั ก นิ ย ม ปฏิบัติการในการใชขีปนาวุธดาน “ปริมาณ” แทนที่ “คุณภาพ” และการไดรับการสนับสนุนจากโซเวียต แบบไมมีขีดจํากัดเรื่องอาวุธโดยเฉพาะเครื่องยิงจรวด แบบอารพีจี-๗ ที่มีราคาถูก มันเกือบจะสายเกินไป สํ า หรั บ อิ ส ราเอลที่ จ ะพลิ ก สถานการณ ที่ กํ า ลั ง เกิดขึ้น อันที่จริงแลวขีปนาวุธตอสูรถถังสรางความ เสียหายใหแกอิสราเอลนอยกวาปนใหญรถถังของ อียิปตซึ่งเปนอาวุธตอสูรถถังแบบดั้งเดิม แตผลกระทบ จาก “ความประหลาดใจ” ของขีปนาวุธรุนใหม


รวมกับยุทธศาสตรโดยรวมเรื่อง “ความประหลาดใจ” ของสงครามทําใหกองทัพอิสราเอลเกิดความสับสน ยุงยากขึ้นในชวงเริ่มแรก ยิ่งไปกวานั้นคือทหารราบ ข า ศึ ก ยื น ขึ้ น ต อ สู ไ ด แ ทนที่ จ ะกลั บ หลั ง หั น วิ่ ง หนี เหมือนอยางที่เคยทํา กองทั พ ยานเกราะอิ ส ราเอลเข า โจมตี กองทัพอียิปตโดยไมมีการเตรียมการที่เหมาะสม ไมมีการรวมรบกับทหารราบที่มีการฝกฝนอยางดี ธรรม

ขาดการขาวกรอง เชื่อมั่ นตนเองมากเกินไป และ เยอหยิ่งจองหองโดยหวังวาจะประสบความสําเร็จ เหมื อ นกั บ สงครามที่ ผ า นมา ความล ม เหลวของ อิสราเอลในครั้ ง นั้น ทํา ใหทั้ งโลกหั นมาสนใจเรื่อง ขีปนาวุธตอสูรถถัง สหรัฐอเมริกาเริ่มมีความคิดและ พัฒนาเรื่องอาวุธนําวิถีที่แมนยําสูงพิสัยไกลเพื่อใช ในสงครามภาคพื้น และเทคโนโลยีเรื่อง “อาวุธฉลาด (Smart Weapon)” ก็คอย ๆ พัฒนาขึ้นอยางตอเนื่อง

หงสนอย รวบรวม

Flash Drive

ถือเปนสิ่งที่จําเปนของนักคอมพิวเตอรยุคปจจุบัน เพราะอุปกรณเล็กๆ อันนี้ชวยให การทํางานเรางายขึ้น โดยเราสามารถพกพาขอมูลตางๆ ไปไดทุกที่ มีน้ําหนักเบากวาการถือแฟมเปนไหนๆ ถึงแมมันจะมีประโยชนใหกับเรามากมายแตมันก็อาจจะสรางปญหาใหเราอยางมากมายเกินที่คุณจะนึกไดนั้น คือการเผยแพรไวรัสผาน Flash Drive นั่นเอง วิธีที่ไวรัสเขาไปฝงตัวอยูใน Flash Drive ก็คือ เมื่อเสียบ Flash Drive เขากับคอมพิวเตอรที่มีไวรัสอยู ไวรัสจะแพรกระจายตัวเอง โดยการเขียนตัวเองพรอมกับเขียนไฟล ที่มีชื่อวา Autorun.inf ลงบน Flash Drive ซึ่ง File นี้จะเปนตัวบอกให Windows เรียกโปรแกรมทํางานอัตโนมัติและพรอมที่จะแพรกระจายตัวเอง เมื่อเรานํา Flash Drive ไปเสียบกับเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องตอไป เมื่อทราบดังนี้แลว เราจึงควรปองกัน Flash Drive ใหปลอดภัยจากไวรัสไดดังนี้ - เปด My Computer เขาสู Flash Drive ที่ปราศจากไวรัส - คลิกขวาพื้นที่วางๆ แลวเลือก NEW ตามตอดวย Folder - พิมพชื่อ Folder วา Autorun.inf ขอย้ําวาชื่อ Folder ไมใชชื่อ File ซึ่งวิธีนี้อาจทําใหไวรัสรูสึกหงุดหงิด เนื่องจาก มันไมสามารถสราง File ชื่อ autorun.inf ไดอีกตอไป นอกจากนี้เราตองซอน Folder นี้ไวดวย เพื่อไมใหเราเผลอลบทิ้งไป ซึ่งการซอนมีขั้นตอนดังนี้ - คลิกขวาที่ Folder autorun.inf แลวเลือก Properties - คลิกเลือก Hidder - คลิกปุม OK เทานี้ Flash Drive ของเราก็ไมมีไวรัสมากวนใจใหเสียเครดิตเจาของแลวครับ ""


พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข การเปลี่ ย นแปลงทางการเมื อ งเมื่ อ วั น ที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ นับเปนจุดเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองของไทย จากการปกครองในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนการปกครองในระบอบ ประชาธิ ป ไตยโดยมี พ ระมหากษั ต ริ ย เ ป น องค พระประมุขของชาติ มีสถาบันทางฝายนิติบัญญัติ สถาบันทางฝายบริหาร และสถาบันฝายตุลาการ มีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.๒๔๗๕ เป นกฎหมายสู งสุ ดในการปกครองประเทศ ผศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล ไดกลาวถึงการ เปลี่ ย นแปลงทางการเมื อ งครั้ ง นี้ ว า “...นั บ แต ป พ.ศ.๒๔๗๕ เปนตนมา ประชาธิปไตยไดกลายเปน หลักการสําคัญ หรือเหตุผลหลักในการบริหาร ประเทศของรั ฐ บาลทุ ก ชุ ด มาโดยตลอด...” นอกจากนั้น ผศ.อวยชัย ชบา ไดกลาวไววา หลังการ เปลี่ยนแปลงการปกครองได ๓ วัน คือ ในวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัว ไดทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญ ฉบับชั่วคราวนี้ โดยหลวงประดิษฐ มนูธรรม เปน

ผูรางและนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย นับวาเปนการมอบ อํานาจการปกครองแกคณะราษฎรเปนการชั่วคราว จนกว า จะได มี ก ารเลื อ กตั้ ง ผู แ ทนราษฎรเข า มา ปกครองประเทศตามรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญฉบับ ชั่วคราวนี้จึงมีผลเปนกฎหมายโดยสมบูรณ และ เป นกฎหมายที่เ ริ่ม ศักราชใหมแหงการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย ในดานการปกครองไดมีการ ตั้งผูนําฝายบริหารราชการแผนดินอยางรีบดวน คือ ใหพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนา ผูรักษาพระนครฝายทหาร และไดประกาศแตงตั้ง ผูแทนราษฎรชุดแรกขึ้นจํานวน ๗๐ คน โดยคัดเลือก จากผูทรงคุณวุฒิ ในคณะราษฎรและอื่น ๆ และได มอบอํ า นาจการปกครองแผ น ดิ น ให แ ก ส ภา ผูแทนราษฎร (เปนสภาเดียว สมาชิกมาจากการ แตงตั้งทั้งหมด) ซึ่งเปดประชุมครั้งแรกในวันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ จากการประชุมสภา ผูแทนราษฎรในวันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ นั้น ไดมีการแตงตั้งคณะรัฐบาลชั่วคราวขึ้น โดยมีพระยา มโนปกรณนิติธาดา เปนประธานคณะกรรมการ


ราษฎร และมีกรรมการราษฎรอีก ๑๔ นาย ทําหนาที่ บริหารราชการแผนดิน สภาผูแทนราษฎรไดแตงตั้ง คณะอนุกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อรางรัฐธรรมนูญ ฉบั บถาวรขึ้ นใช เป นหลั กในการปกครองประเทศ ตอไป ผลของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ครั้งนี้ที่นาสนใจ มีดังตอไปนี้ ๑. สถาบันรัฐธรรมนูญ สถาบันนี้เปน สถาบันทางการเมืองใหมโดยสิ้นเชิง เปนกติกาแมบท กําหนดบทบาทอํานาจหนาที่ของสถาบันที่ใชอํานาจ อธิปไตยของปวงชนไว โดยแยกเปนผูใชอํานาจทาง นิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ กฎหมายใด ๆ จะขัด กับรัฐธรรมนูญมิได กฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับแรก ของไทยคือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง แผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ ประกาศใชเมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ๒. พรรคการเมือง แมสถาบันนี้มิได ถูกกําหนดไวในรัฐธรรมนูญ แตก็ไดมีการจดทะเบียน พรรคการเมื อ งทั้ ง ที่ ยั ง ไม มี ก ฎหมายเกี่ ย วกั บ พรรคการเมืองออกไว คณะราษฎรก็ไดจดทะเบียน จัดตั้งเปน “สมาคมคณะราษฎร” เพื่อเปนการปูพื้นฐาน ระบบพรรคการเมืองขึ้นในประเทศไทย ๓. การเลือกตั้ง พระราชบัญญัติธรรมนูญ การปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ.๒๔๗๕ บัญญัติใหมีการเลือกตั้ง จึงไดมีการประกาศ พระราชบัญญัติการเลือกตั้ง พ.ศ.๒๔๗๕ แกไข เพิ่มเติม พ.ศ.๒๔๗๖ โดยบัญญัติวิธีการเลือกตั้ง ผูแทนราษฎร ไว ๒ ขั้นตอนคือ

๓.๑ ใหราษฎรผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง เลือกผูแทนตําบล ๓.๒ ใหผูแทนตําบลเลือกผูแทนราษฎร ๔. การกระจายอํานาจการปกครอง การ กระจายอํานาจการปกครองในรูปแบบของเทศบาล ไดมีขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบเทศบาล เมื่อป พ.ศ.๒๔๗๖ โดยพิจารณายกระดับการปกครอง ทองถิ่นที่เห็นวามีความเจริญพอที่จะตั้งเปนเทศบาล ใหราษฎรปกครองกันเอง ซึ่งเปนรูปแบบเดียวของการ กระจายอํานาจปกครองขณะนั้น แตรูปแบบการ ปกครองตนเอง เกิดจากรัฐบาลเปนผูริเริ่ม มิไดเกิด จากความตองการอันแทจริงของราษฎรเอง จึงมิเกิด ผลดีเทาที่ควร อนึ่งเพื่อใหเกิดความชัดเจนใน ประเด็นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญหลังการเปลี่ยนแปลง การปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ฉบับถาวร โดย ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน ไดศึกษาไว ระบุวา พระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระราชทาน รัฐธรรมนูญใหเมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๕ ตอจากนั้น ในป พ.ศ.๒๔๗๖ ก็มีการเลือกตั้ง ทั่วไปเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรไทย จะเห็น ไดวา การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง พ.ศ.๒๔๗๕ มี ลั กษณะของการเปลี่ ยนแปลงทางการเมื อ งเป น อยางมาก เปนผลใหประเทศไทยทุกวันนี้ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริยเปน องคพระประมุข ซึ่งผลจากการเปลี่ยนแปลงนี้ทําให บทบาทของรัฐบาลมีสูง การพัฒนาประเทศในดาน ตาง ๆ จะเปนไปตามแนวนโยบายของรัฐบาลแตละ ยุคสมัยที่กําหนดขึ้น และนี่ก็คือความพยายามที่จะ ใช ก ารเมื อ งนํ า ไปสู ก ารแก ป ญ หาเพื่ อ พั ฒ นา


สังคมไทย ตามแนวคิด ในสมัยนั้นของบุคคลบางกลุม ที่ตองการจะใหมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ซึ่ง ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน เรียกการเปลี่ยนแปลง ครัง้ นัน้ วาเปน “จุดแบงยุคในประวัติศาสตร” ของ ประเทศไทยเลยทีเดียว ประชาธิปไตยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง สงครามโลกครั้ งที่ ๒ เกิดขึ้นตรงกับสมัย รัฐบาล จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ของไทย ในครั้งนั้นแมประเทศไทยอยูในฝายแพสงคราม แต ก็สามารถรอดพนวิกฤตการณตาง ๆ มาได ภายหลัง สงครามนอกจากจะประสบกั บ ภาวะเศรษฐกิ จ ตกต่ําแลว ยังมีการผันแปรทางการเมืองหลายประการ นับจากหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนตนมา ประเทศไทย ได มี รั ฐ บาลผลั ด เปลี่ ย นบริ ห ารประเทศหลายชุ ด ผู นํ า รั ฐ บาลมี ทั้ ง ที่ เ ป น พลเรื อ นและทหารมี แนว นโยบายในการพั ฒ นาประเทศทั้ ง ด า นการเมื อ ง เศรษฐกิจ และสังคม แตกตางกันไปในแตละยุคสมัย ตามแนวความคิดที่จะปรับใหเหมาะสมกับสภาวการณ ขณะนั้น อยางไรก็ตามการปกครองตั้งแตหลัง สงครามโลกครั้งที่ ๒ มาจนถึงปจจุบัน ยังคงเปนการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย เปนองคพระประมุข เหตุการณความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ที่สําคัญ หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไมนานนัก ศ.ดร.ทินพันธ นาคะตะ ไดศึกษาวา ในตนป พ.ศ.๒๔๘๙ เหตุการณทางดานรัฐสภาที่สําคัญ ๆ ไดแก มีการเลือกตั้งทั่วไป และมีการประกาศใช รัฐธรรมนูญฉบับใหม การยกรางรัฐธรรมนูญฉบับนี้

กระทําขึ้นโดยคณะกรรมการหลายชุดดวยกัน ทั้งนี้ โดยการปรึกษาหารือรวมกับนายปรีดี พนมยงค นายกรัฐมนตรี และกับสภาผูแทนราษฎร ระหวาง พ.ศ.๒๔๘๘ ถึง พ.ศ.๒๔๘๙ ไดมีการประกาศใช รัฐธรรมนูญ

จอมพล แปลก พิบูลสงคราม

วันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๙ รัฐสภาได เปลี่ ย นรู ป แบบจากการมี ส ภาเดี ย วแต มี ส มาชิ ก ครึ่งหนึ่ง มาจากการแตงตั้งของรัฐบาลไปเปนแบบมี สองสภา สมาชิกของสภาสูงไดรับเลือกตั้งมาจาก สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ซึ่งไดรับเลือกตั้งมาจาก ประชาชนอี ก ต อ หนึ่ ง ในวาระนี้ นั บ เป น ครั้ ง แรก ที่พรรคการเมืองตาง ๆ เริ่มเขามามีบทบาทสําคัญ ในการเมืองไทย พัฒนาการทางการเมืองในระบอบ ประชาธิปไตยของไทยมีเรื่อยมา ดังจะไดกลาวถึง ในหัวขอตอไปนี้


การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกี่ยวกับการ พัฒนาระบอบประชาธิปไตยจนถึงปจจุบัน เมื่อพิจารณารายละเอียดการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองในระยะที่ผานมา จะเห็นไดวา ไมวา จะมีการเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการทางรัฐสภา หรื อ จะเป น การเปลี่ ย นแปลงโดยการปฏิ วั ติ รัฐประหาร แตเหตุผลหนึ่งที่เปนสวนหนึ่งของการ เปลี่ยนแปลงนั้น ๆ คือ แตละกลุมแตละฝายก็ตองการ ที่จะใหมีการพัฒนาประชาธิปไตย นอกเหนือจาก จะเห็นขอบกพรองของการบริหารและการพัฒนาการ ดานตาง ๆ ของกลุมผูบริหารชุดกอน อยางไรก็ตาม ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศ ไทย การใชระบอบประชาธิปไตยในการปกครอง ประเทศ แมระยะหลังจะเนนการใหตัวแทนปวงชน เขารวมแกปญหาของประเทศ เพราะประชาชน ผู สั ม ผั ส กั บ ป ญ หาในสั ง คมตามพื้ น ที่ ที่ อ ยู อ าศั ย มีโอกาสเลือกตัวแทนของประชาชนหมูเหลานั้น ๆ ใหเขามามีสิทธิ์มีเสียงในสภา และสวนหนึ่งมีโอกาส อยูในฝายบริหาร ตัวแทนปวงชนเหลานี้ซึ่งเราเรียกวา สมาชิกสภาผูแทนราษฎร เปนผูที่รับทราบปญหา แลวนํามาเสนอตอสภา เสนอตอรัฐบาล เพื่อรวมกัน หาแนวทางแกไขปญหาของชาติ แตปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยก็ยังไมหมดไป สภาพการเมืองไทยปจจุบันอยูในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริยเปนองค พระประมุข เปนระบอบประชาธิปไตยที่คอนขาง จะสมบูรณ กลาวคือ รัฐบาลที่บริหารประเทศ มาจากผลการเลือกตั้ง และมีการรวมตัวกันของ พรรคการเมืองตาง ๆ เปนเสียงขางมาก สื่อมวลชน

ในสาขาตาง ๆ มีอิสระคอนขางสูงในการเสนอขาวสาร ตาง ๆ ตอประชาชน การเคลื่อนไหวของกลุมพลัง ตาง ๆ ยังอยูในกรอบของการเคลื่อนไหวประชาธิปไตย ความเห็นที่ขัดแยงกันในเรื่องตาง ๆ ซึ่งมีอยูเปน ธรรมดา ในทุกสังคมยังมีลักษณะที่จะประนีประนอม กันได ภายใตกฎเกณฑที่ถูกตอง กลาวคือ มีการ ตอสูถกเถียงกันในรัฐสภา แนวโนมความรุนแรง ยังไมปรากฏความรุนแรงซึ่งยังเปนที่หวงใยกันอยู เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของกลุมพลังตาง ๆ หรือ กรณี ที่ อ าจมี ก ารสร า งสถานการณ ค วามรุ น แรง โดยกลุมไมหวังดีตาง ๆ เพื่อสรางเงื่อนไขทางการเมือง ใหเปนประโยชนตอกลุมตนนั้น เปนเรื่องที่กระทํา ไดยาก ทั้งนี้เพราะการรับรูของประชาชนมีลักษณะ ที่ไดรับการพัฒนาสูงขึ้น ความเจริญของการเสนอ ขาวสารโดยสื่อมวลชนตาง ๆ เปนไปอยางรวดเร็ว มีคุณภาพสูง และมีลักษณะกวางขวางไปทั่วโลก การยึดอํานาจโดยการรัฐประหาร ที่ยังมีเสียงวิพากษ วิจารณกันอยูนั้นเปนสิ่งที่ไมชอบธรรม ไมใชเพียงแต ภายในประเทศเทานั้น แตเปนที่ตอตานกันไป ทั่วโลก นอกจากนี้เนื่องจากรัฐบาลที่เกิดขึ้นนั้น ในป จ จุ บั น เป น รั ฐ บาลที่ ม าจากการเลื อ กตั้ ง ของ ประชาชน ฉะนั้นจึงเปนรัฐบาลที่จะตองฟงเสียงจาก ประชาชน การเปลี่ยนแปลงในรัฐบาล หรือการ ยุบสภาผูแทนราษฎร เปนเรื่องธรรมดาที่อาจเกิดขึ้น เมื่อใดก็ได เมื่อการประสานประโยชนทั้งในระหวาง พรรคการเมืองหรือในพรรคการเมืองเดียวกันไมลงตัว และมีความขัดแยงโดยความเห็นที่แตกตางกัน แต การเลือกตั้งและการพัฒนาของระบอบประชาธิปไตย จะตองดําเนินตอไป


อยางไรก็ตาม มีขอพิจารณาวา การพัฒนา การเมื อ งในระบอบประชาธิ ป ไตยจะสมบู ร ณ และมั่ นคงได ผู บริ หาร นั กการเมื อง และทุ กฝ าย ในสั งคม จะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ประโยชน ข องส ว นรวม ขจัดความเห็นแกตัว ไมหลงมัวเมายึดติดในอํานาจ มุงทําหนาที่ของแตละคนใหดีที่สุด ประโยชนโดยรวม ก็ จ ะตกแก ทุ ก คนในสั ง คม ดั่ ง พระราชดํ า รั ส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งพระราชทานแก รั ฐ มนตรี ใ หม ๘ คน ของคณะรั ฐ มนตรี รั ฐ บาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เมื่อวันจันทรที่ ๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๓ ใจความวา “บัดนี้ ทานไดเขารับหนาที่ รัฐมนตรีดวยสมบูรณแลว โดยที่ทานไดปฏิญาณตน วาจะทําหนาที่สําหรับใหงานของประเทศ ซึ่งเปน การดี เ พราะว า จะตอ งมี ค นที่ จ ะช ว ยกั น ทํ า หนา ที่ รัฐมนตรี และแสดงตนวาจะปฏิบัติงานดวยความ ซื่ อตรง เพราะว า บ า นเมื องตอ งมี ค นที่ ช ว ยกั น ทํ า หนาที่โดยความซื่อสัตย โดยความตั้งใจที่จะทํางาน เพื่ อ ส ว นรวมอย า งแท จ ริ ง การทํ า งานรั ฐ มนตรี จะตอ งทํา ตามที่ ท านไดปฏิ ญาณตนว าจะทํ าด วย ความซื่ อสั ตย สุ จริ ต หมายความว าต อ งทํ า ตาม ดวยความเสียสละ เพื่อใหงานไปโดยดี ตามตั้งใจ จริ ง ๆ ประเทศชาติ ก็ ทํ างานได ดี จะต องพยายาม ที่จะใหงานของชาติทําไปดวยดี คือหมายความวา แต ล ะคนจะต อ งทํ า งานด ว ยความตั้ ง ใจ ซื่ อ สั ต ย สุจริต และแสดงความเสียสละ หมายถึงวา จะตอง ทํางานโดยตั้งใจ เพื่อสวนรวม ทําตั้งใจดีดวยความ ธรรมเอกสารอางอิง :

ตั้งใจจริง ๆ คือ ไมใชแกงแยงกัน แตก็ชวยกันทํา เพื่อใหบานเมืองกาวหนาไปจริง ๆ โดยทํางานดวย ความตั้งใจที่จะทําเพื่อสวนรวม อาจจะยากหนอย แต ว า จะต อ งทํ า ให ไ ด ถ า ทํ า ได นั บ ว า ท า นได ชวยเหลือบานเมืองกาวหนา ไมแกงแยงกัน ถาทําได อย า งนี้ ชาวบ า น หมายถึ ง ประชาชนจะอยู ไ ด มี ความสุ ข ท า นเองก็ จ ะมีค วามสุ ข ถา กระทํ า ด ว ย ความตั้ ง ใจดี ท า นได ช ว ยส ว นรวมอย า งแท จ ริ ง ก็ขอใหทานไดทําตามที่ปฏิญาณตนวาจะทํา และ ขอให ทํ า ได ต ามที่ ตั้ ง ใจ แล ว ก็ ท า นได ทํ า ทุ ก สิ่ ง ทุกอยางเพื่อสวนรวม หมายความวาทานเองก็จะได ทําเพื่อทานเอง เพื่อทานจะไดทําหนาที่ ทานมีโอกาส ที่จะทํา ทานมีโอกาสทําเปนจุดหมายสูงสุด ก็ขอให ทานไดทําสําเร็จ ถาทานทําสําเร็จ ก็หมายความวา งานที่ทานทําซึ่งมีประโยชนตอสวนรวม ตอบานเมือง และเพื่อความชื่อเสียงของบานเมือง ถาทานทําได แลว ทานไดทําสิ่งที่สูงสุด ก็ขอใหทานตั้งใจทํางาน เพื่อสวนรวมไดสําเร็จ มีคนขัดขวางก็ทานไมตอง เอาใจใส ทานตองเอาใจทํางานเพื่อสวนรวมไดสําเร็จ ถ า ทํ า ได ก็ นั บ ว า ท า นได ทํ า ด ว ยความเสี ย สละแท ดวยความตั้งใจแทจริง ความสําเร็จนี้จะเปนประโยชน แกบานเมือง แกประชาชนทั้งหมด ถามีคนขัดขวาง ก็ไมตองใสใจ ทานตองเอาใจใสแตงานที่ดี ที่ทาน ทําสําหรับสวนรวม ถาทําไดก็นับวาทานไดทําดวย ความเสียสละแท ดวยความตั้งใจแท”

- ลิขิต ธีรเวคิน. “ลัทธิเสรีนิยมกับระบอบประชาธิปไตยตนแบบ”. เอกสารประกอบการบรรยายกลุมวิชาที่ ๑ วิสัยทัศนใหม เกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกลา หลักสูตร ปปร. รุน ๑๐, ๒๕๔๙.


น.อ.จิโรตม มณีรัตน (ตอจากฉบับที่แลว) ความรูสึกรวมของไทยกอนที่ยูเนสโก จะอนุมัติใหปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ของกั ม พู ช าแต ฝ า ยเดี ย ว เมื่ อ ๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๑ ความขั ดแย งที่สํา คัญ ๆ ในยุคแรกทํา ทา จะเงียบสงบลงเมื่อไทยตองสูญเสียปราสาทตาม คํ า พิพ ากษาของศาลโลกให แ กเ ขมรหรือ กั ม พู ช า ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๐๕ เปนตนมาดูเหมือนวาปญหา ตาง ๆ ไดคลี่คลายลงในระดับหนึ่ง แตเหตุการณ รอนแรงก็ไดปะทุขึ้นมาอีก เชนเดียวกับภูเขาไฟระเบิด เมื่ อ เขมรได ยื่ น เสนอให ป ราสาทพระวิ ห าร “เป น มรดกโลกแตเพียงฝายเดียว” โดยไมไดฟงเสียง คัดคานจากไทยแมแตคํานอย คงจะถือดีวาฝายตน “ถือไพเหนือกวา” อยางไรก็ตามความหวังของ เขมรก็ไดสมความปรารถนาเมื่อองค การยู เนสโก ไดยอมขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก เพี ย งฝ า ยเดี ย วเรี ย บร อ ยโรงเรี ย นเขมรไปเมื่ อ ๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๑

การดํ า เนิ น การเพื่ อ ขอขึ้ น ทะเบี ย นเป น มรดกโลกครั้งนี้ไดมีขอวิจารณจากผูเกี่ยวของและ ผูเชี่ยวชาญของไทยไดใหขอวิจารณที่เปนประโยชน ที่นาสนใจดังนี้ นายเทพมนตรี ลิมปพะยอม นักประวัติศาสตร อิ ส ระให เ หตุ ผ ลเมื่ อ ถู ก ถามว า คณะกรรมการ มรดกโลกที่มีการประชุมกันที่เมืองควิเบก ประเทศ แคนาดา เมื่อ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๑ วา มีความ คิ ด เห็ น ต อ เรื่ อ งนี้ อ ย า งไร คํ า ตอบมี ดั ง ต อ ไปนี้ “ปราสาทพระวิหารจะไดขึ้นทะเบียนแนนอนตอนนี้ ทราบมาวาองคกรและหนวยงานตาง ๆ ในกัมพูชา เตรี ย มฉลองชั ย ชนะกัน แล ว นั บ เป น ความรว มมื อ จาก ๑๖ ประเทศ (ตั ด ประเทศไทยออกเหลื อ ๑๕ ประเทศ) ส ว นใหญ เ ข า ข า งกั ม พู ช าทั้ ง หมด โดยเฉพาะอิ น เดี ย เป น ตั ว ตั้ ง ตั ว ตี เ พราะมี ค น ไดประโยชนจากการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เป น มรดกโลกและมติ ค รั้ ง นี้ จ ะใช เ สี ย งข า งมาก สํ า หรั บ แผนที่ ฉ บั บ ที่ น ายนพดล ป ท มะ รมว. ต า งประเทศนํ า มาแสดงให สื่ อ มวลชนดู ไ ม ไ ด นํ า เขา สูที่ประชุมกรรมการมรดกโลก ถา เปนเชน นั้น


ฟนธงเลยวาเราเสียพื้นที่ ๓ โซนเนื่องจากกัมพูชา ยื น ยั น ว า เขาไม ย อมรั บ แผนที่ ที่ เ ราทํ า ขึ้ น สํ า หรั บ เอกสารของกัมพูชามีแผนผังรายละเอียดปลีกยอย อี กมากมี ภาพตั้ งแต นายสมั คร สุ นทรเวช นายกรั ฐมนตรี ไ ท ย ไ ป พ บ กั บ น า ย ฮุ น เ ซ น นายกรัฐมนตรีกัมพูชา มีรายละเอียดการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกครั้ ง ที่ ๓๑ ที่ นิ ว ซี แ ลนด มีภาพการเซ็นสัญญารวมของนายนพดล เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๑ และในแผนที่ ข อง กัม พู ช ายั ง กิ น พื้ น ที่ ม ายั ง บารายซึ่ ง อยู ใ นเขตไทย ดวย เราจะเสียพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร นายสก อัน รองนายกกัมพูชาทําขอตกลงกับปลัดกระทรวงการ ตางประเทศ ของไทยเมื่อ ๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๑ วา เมื่อกัมพูชาประกาศขอใหไทยรับรองวา เสนเขตแดน นั้ น ถื อ ว า เราไม เ สี ย ดิ น แดน แต เ ขาจะมาบริ ห าร ดินแดนนั้น เขาเอาเอกสารนี้ไปยื่นมรดกโลกสิ่งที่ นายนพดลไปเซ็นบัฟเฟอรโซน ก็นับรวมในแฟม ของเขาเมื่ อ เขาสอดไส อ ย า งนี้ เ ข า ไป เขาจะเอา ดิ น แดนเราแน น อน ประเทศไทยทํ า ได เ พี ย งค า เขาชมอยางเดียว ดังนั้นไทยเราควรคัดคานแผนที่ ปราสาทพระวิหารไวกอน เพื่อใหเขามาเจรจากับเรา วา สามารถขึ้น ทะเบี ยนได แค ไ หนเพราะสิท ธิข อง กัมพูชามีเฉพาะตัวปราสาทเทานั้น ด า นนายเดโช สวนานนท ที่ ป รึ ก ษา คณะกรรมการโบราณสถานแห ง ชาติ ว า ด ว ย สภาโบราณสถานระหว า งประเทศ เมื่ อ ถู ก ถาม ในคําถามเดียวกัน กอนที่ปราสาทพระวิหารไดขึ้น ทะเบี ย นเป น มรดกโลกเมื่ อ เดื อ นกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๑ วา “สวนตัวคิดวาปราสาทพระวิหาร

ยังขึ้นทะเบียนมรดกโลกไมสําเร็จ เพราะยังเชื่อมั่น วาโดยหลักการของยูเนสโก จะหลีกเลี่ยงหลักการ ไมได หากคณะกรรมการมรดกโลกยอมขึ้นทะเบียน ปราสาทพระวิ ห ารจะถื อ เป น จุ ด ด า งพร อ ยเพราะ โบราณสถานที่ กั ม พู ช าขอขึ้ น ทะเบี ย น พื้ น ที่ ยั ง ไมสมบู รณเ ปน เพีย งสว นหนึ่ง เท า นั้น เมื่ อขึ้น เป น โบราณสถานแล ว จะมี โ ซนที่ เ กี่ ย วข อ ง ๓ โซนคื อ พื้นที่กันชน พื้นที่พัฒนา และพื้นที่อนุรักษจริงๆ ถึงจะสมบูรณจริง ๆ ถาประเทศไทยยังไมยอมรับ การขึ้ น ทะเบี ย นครั้ ง นี้ ก็ ไ ม น า จะทํ า ให ป ราสาท พระวิหารไดรับการขึ้นทะเบียนมรดกโลกได ขณะนี้ ประวัติศาสตรกําลังซ้ํารอย พ.ศ.๒๕๐๕ มีการสอดไส เหมื อ นกั น เลย ครั้ ง นั้ น เราเสี ย ปราสาทพระวิ ห าร ครั้ ง นี้ เ ราเสี ย ดิ น แดนและเราก็ แ ปลกเพราะไม มี นักโบราณคดี ไปนั่งเถียงในมรดกโลกสักคน เพราะ กรมศิลปากรเรา เดิมขึ้นกับกระทรวงศึ กษาธิการ แต ค รั้ ง นี้ ไ ปขึ้ น กั บ กระทรวงวั ฒ นธรรม คนที่ ไ ป ประชุ ม ก็ ไ ม ใ ช นั ก โบราณคดี ไปเจอโปรเฟสเซอร อเมริกา ฝรั่งเศส ก็แพเขามา” ความรูสึกของชาวกัมพูชาตอคําคัดคาน ของไทยที่ไมใหกัมพูชานําปราสาทพระวิหาร ขึ้นทะเบียนฝายเดียวในครั้งนี้ ยิ่ ง ใกล ช ว งที่ ค ณะกรรมการมรดกโลก จะพิจารณาเรื่องการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลกมากเทาใดชาวกัมพูชาก็ยิ่งพยายาม ทุก วิ ถี ท างที่ จ ะสร า งความชอบธรรมให แ ก ตั ว เอง มากเทานั้น ไมวาจะเปนการเขียนบทกลอนพรรณนา วาเขาพระวิหารเปนของกัมพูชาแลว วิทยุเสียงอเมริกา


ภาคภาษากัมพูชาไดสัมภาษณนายฌอน เพ็งเซ ผูอํานวยการคณะกรรมการชายแดนกัมพูชาทีต่ งั้ อยู ที่ ก รุ ง ปารี ส ประเทศฝรั่ ง เศส เมื่ อ ปลายเดื อ น พฤษภาคม ที่ ย้ํ า ว า การขึ้ น ทะเบี ย นปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลกโดยไมจดทะเบียนภูมิทัศน รอบๆ ถือวาเปนความผิดพลาดมหันต เพราะเทากับ ละเมิดคําพิพากษาของศาลโลกเมื่อป พ.ศ.๒๕๐๕ อีกทั้งยังละเมิดบูรณภาพแหงดินแดนของกัมพูชา ซึ่ ง ตามข อ ตกลงสั น ติ ภ าพปารี ส ป พ.ศ.๒๕๓๔ ยืนยันวาเขาพระวิหารอยูในเขตแดนกัมพูชา ไมนับ ไปถึ ง การยอมรั บ ตามสนธิ สั ญ ญา ไทย–ฝรั่ ง เศส ป พ.ศ.๒๔๔๗ และ พ.ศ. ๒๔๕๐ หรือลาสุดองคการและสมาคมสามัคคีชาว กัมพูชาในตางประเทศอันประกอบดวยกลุมองคกร ตาง ๆ ๑๒ กลุมในสหรัฐฯ สหภาพยุโรป นิวซีแลนด และแคนาดา ไดสงจดหมายเปดผนึกถึงดอกเตอร คริ ส ติ น า คาเมอรอน ประธานคณะกรรมการ มรดกโลกแห ง ยู เ นสโกลงวั น ที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๓ นอกเหนือจากสงตอใหนายสก อัน ในฐานะประธานคณะกรรมการมรดกโลก แหงกัมพูชา และศาลโลกที่เฮก เนเธอรแลนด

ประเด็ น ก็ คื อ เสนอชื่ อ ปราสาทพระวิ ห าร ใหเปนมรดกโลก พรอมกับอางอิงคําตัดสินของศาล โลกที่เฮก เมื่อป พ.ศ.๒๕๐๕ วาปราสาทพระวิหาร เปนของกัมพูชา และจากสนธิสัญญาไทย – ฝรั่งเศส ป พ.ศ.๒๔๔๗ และ พ.ศ.๒๔๕๐ ผนวกกับแผนที่ ๑ ฉบับ ที่ระบุวาปราสาทพระวิหารอยูภายใตอธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดนของกัมพูชา จดหมายเป ด ผนึ ก ฉบั บ นี้ ย้ํ า ว า เรื่ อ งของ ปราสาทพระวิหารไมใชเรื่องของคนไทยที่จะยื่นมือ เขาไปเกี่ยวของแตประการใดทั้งสิ้น กอนจะเรียกรอง ให ค ณะกรรมการมรดกโลกขึ้ น ทะเบี ย นปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลกเพื่อปกปกรักษาปราสาท พระวิหารใหเปนมรดกที่นายกยองแหงมนุษยชาติ ไทยไมเห็นดวยกับแผนการพัฒนาพื้นที่ ของกัมพูชา ไทยคั ด ค า นการเสนอแผนพั ฒ นาที่ ดิ น บริ เ วณมรดกโลกปราสาทพระวิ ห ารของกั ม พู ช า เพราะเกรงว า ถ า กั ม พู ช าดื้ อ ดึ ง ที่ จ ะแนบแผนที่ มาตราส ว น ๑ : ๒๐๐,๐๐๐ เข า สู ก ารพิ จ ารณา คณะกรรมการมรดกโลกที่ ป ระชุ ม กั น ครั้ ง ที่ ๓๔ ณ เมืองบราซิเลีย ประเทศบราซิล ในชวงปลายเดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๓ นั้นจะเปน ผลใหไทยต อง สู ญ เสี ย ดิ น แดนในระยะเริ่ ม ต น บริ เ วณปราสาท พระวิหารจํานวน ๔.๖ ตารางกิโลเมตร และจะเสีย ดินแดนตอเนื่องตอไปอีกตลอดแนวเขตแดนที่ติดกับ กัมพูชา รวมถึงพื้นที่ทับซอนในทะเลบริเวณอาวไทย ซึ่ ง คาดว า มี น้ํา มั น ดิ บ อยู ถึ ง ๒,๐๐๐ ลา นบาร เ รล และกาซธรรมชาติอยูถึง ๑๐ ลานบารเรล


อยางไรก็ตามเมื่อ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ กั ม พู ช าได พ ยายามเสนอแผนการพั ฒ นาพื้ น ที่ บริเวณรอบปราสาทพระวิหาร ในที่ประชุมในครั้งนี้ ฝายกัมพูชาเปนฝายบริหารจัดการแตฝายเดียว ทั้งที่ ยังมีปญหาขอพิพาทเรื่องพื้นที่ทับซอน ๔.๖ ตร.กม. กั บ ไทย ซึ่ ง ตั ว แทนฝ า ยไทยนํ า โดย นายสุ วิ ท ย คุณกิตติ รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ไดเดินทางไปรวมประชุม พรอมดวยนางโสมสุดา ลี ย ะวนิ ช รองปลั ด กระทรวงวั ฒ นธรรมในฐานะ กรรมการมรดกโลกโดยตําแหนงคนเดียวของไทย ไดพยายามคัดคานการเสนอแผนการพัฒนาพื้นที่ บริ เ วณโดยรอบปราสาทพระวิ ห ารอย า งเต็ ม ที่ ภายหลังการประชุม นายสุวิทยฯ ในฐานะหัวหนา คณะฝายไทยเผยวา กัมพูชาพยายามโนมนาวให ไทยยอมรั บ และสนั บ สนุ น แผนการจั ด การพื้ น ที่ บริเวณปราสาทพระวิหารไปกอน แตฝายไทยเห็นวา เอกสารที่ทางการกัมพูชาเสนอเพิ่งจะเสนอใหกับ ที่ ป ระชุม มี จํา นวนมาก แม ว า กั ม พูช าจะชี้แ จงว า ในเอกสารนั้นไมมีเรื่องของเขตแดน แตไทยเห็นวา เปนเรื่องสําคัญที่อาจจะมีผลกระทบเรื่องอํานาจ อธิปไตยของทั้งสองประเทศ ผลการเจรจานอกรอบ ในครั้งแรกจึงไมอาจจะหาขอยุติได อยางไรก็ตาม ทางฝายกัมพูชายังยืนยันที่จะเสนอแผนดังกลา ว เขาสูการพิจารณาตอไป ขณะเดียวกันมีรายงานวา ประธานกรรมการมรดกโลกยังพยายามที่จะเขามา เป น ตัวกลางให กั บทั้ง สองฝา ย ด วยการนัด หารื อ อย า งไม เ ปน ทางการทั้ ง ฝ ายไทยและกัม พูช าเพื่อ ป อ งกั น ไม ใ ห เ กิ ด การเผชิ ญ หน า กั น ในที่ ป ระชุ ม จนกลายเป น เวที ขั ด แย ง ทางการเมื อ งระหว า ง

สองประเทศ ดานนายกษิต ภิรมย รมว.ตางประเทศ ของไทยได เ ชิ ญ เอกอั ค รราชทู ต ประเทศสมาชิ ก คณะกรรมการมรดกโลกมาพบที่ ก ระทรวงการ ตางประเทศเพื่อแสดงทาทีของไทยที่สําคัญ ๓ ขอ ต อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการมรดกโลกครั้ ง ที่ ๓๔ ณ กรุงบราซีเลีย ประเทศบราซิลดังนี้ ๑ . ไ ท ย คั ด ค า น อ ย า ง รุ น แ ร ง ต อ ร า ง ขอตัดสินใจของคณะกรรมการมรดกโลกเกี่ยวกับ ปราสาทพระวิ ห ารเนื่ อ งจากแผนผั ง กํ า หนดเขต กั น ชนและแผนบริ ห ารจั ด การปราสาทพระวิ ห าร รวมถึงพื้นที่ที่อาจจะล้ําเขามาในดินแดนไทย ดังนั้น ประเทศไทยขอยื น ยั น ว า ท า ที ก ารตั ด สิ น ใจใดๆ เกี่ ย วกับเรื่อ งปราสาทพระวิห ารควรเลื่อนออกไป จนกวากระบวนการปกปนเขตแดนระหวางไทยกับ กัมพูชาในบริเวณพื้นที่ดังกลาวจะเสร็จสิ้น ตราบใด ที่การกําหนดเสนเขตแดนระหวางสองประเทศยัง ไมแลวเสร็จ ประเทศไทยไมสามารถใหความรวมมือ ตอขอตัดสินใจหรือการดําเนินการใด ๆ ของคณะกรรมการ มรดกโลกได ๒. ประเทศไทยรู สึ ก เสี ย ใจต อ การที่ คณะกรรมการมรดกโลกไมตระหนักถึงความสําคัญ และความละเอี ย ดอ อ นของประเด็ น ปราสาท พระวิหารและการตัดสินใจในเรื่องนี้จะยิ่งเพิ่มความ ตึงเครียดระหวางไทยกับกัมพูชา นอกจากนีค้ ณะกรรมการ มรดกโลกยังไดละเลยตอขอเท็จจริงที่วา การบริหาร จัดการปราสาทพระวิหารไมสามารถดําเนินการให เกิดผลที่เปนรูปธรรมและประสบผลสําเร็จได เนื่องจาก คณะกรรมการ ฯ ไดเพิกเฉยตอบทบาทที่สําคัญของ ไทยในการรักษาและอนุรักษปราสาทพระวิหาร


๓. กระบวนการขึ้ น ทะเบี ย นปราสาท พระวิ ห ารเป น มรดกโลกขาดความโปร ง ใสและ ไม เ ป น ไปตามระเบี ย บข อ บั ง คั บ และแนวปฏิ บั ติ โดยเฉพาะเรื่องการแจกจายเอกสารที่เกี่ยวของกับ การพิ จ ารณาเรื่ อ งปราสาทพระวิ ห ารก อ นหน า การประชุมครั้งนี้ไมเปนตามขอกําหนด และอาจมี การลวงล้ําดินแดนไทย ดังนั้น รมว.ตางประเทศไทย จึงขอใหประเทศสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลก เลื่อนการพิจารณารางขอตัดสินใจในเรื่องปราสาท พระวิหารออกไปจนกวาการปกปนเขตแดนระหวาง ไทยกัมพูชาบริเวณปราสาทพระวิหารจะแลวเสร็จ มติ ครม. ไทยคั ด ค า นกั ม พู ช าเสนอ แผนพัฒนาจัดการพื้นที่รอบพระวิหาร รั ฐ บาลไทยประชุ ม เครี ย ดถกป ญ หา ปราสาทพระวิหาร เมื่อ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๓ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีใหสัมภาษณ ผู สื่ อ ข า วสายทํ า เนี ย บรั ฐ บาลว า เมื่ อ ช ว งเช า นายสุ วิ ท ย คุ ณ กิ ต ติ หั ว หน า คณะผู แ ทนไทย ไดรายงานใหทราบวา ฝายกัมพูชาไดนําสงเอกสาร และรางมติที่จะเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการ มรดกโลก แมจะไมเห็นขอมูลรายงานทั้งหมด แต สรุปวายังมีปญหาอยูหลายจุดที่ไทยยอมรับไมได โดยเฉพาะการแนบแผนผั ง หรื อ แผนที่ เ ข า สู ก าร พิจารณาแม ใ นรายงานกัม พู ช าจะยอมรับว า การ จัดสง “แผนที่ที่เปนขอยุติในการบริหารจัดการของ แผนทั้งหมดไมสามารถทําได” เพราะจะตองจัดทํา หลักเขตแดนตามแนวทางที่กําหนดไวใน “เอ็มโอยู ป พ.ศ.๒๕๔๓ ซึ่ ง คณะกรรมการป ก เขตแดน

ระหวางไทย-กัมพูชา” (เจบีซี) กําลังดําเนินการอยู และนายอภิสิทธิ์ ฯ ใหสัมภาษณวา “โดยรวมแลว เรายืนยันจุดยืนเดิม และคณะรัฐมนตรีไดย้ํามติให นายสุวิทย ฯ เดินหนาในการคัดคานการนําเขาสู วาระการพิ จ ารณา โดยจะตอ งแสดงการคั ด ค า น อยางชัดแจง ถึงสิ่งที่ประเทศไทยไมสามารถยอมรับ ได ใ นส ว นของการดํ า เนิ น การของคณะกรรมการ มรดกโลก และหากยังไมฟงเสียงของไทย เราคงจะ ไมเ ขา รว มในการลงมติ และถ า มี ก ารลงมติไ ปใน ลั ก ษณะทํ า ให ก ระทบต อ สิ ท ธิ ข องประเทศไทย เราจะไมยอมรับและจะตองแสดงออกเพื่อปกปอง อธิปไตยของไทย และถาการที่เราไมรวมมือในตรงนี้ มีปญหาอีก เราก็จะทบทวนการเปนภาคีของมรดกโลก และมติ ทั้ ง หมดนี้ ไ ด ม อบให รมว.ต า งประเทศ ไดแจงใหประธานคณะกรรมการมรดกโลกไดทราบ กอนการประชุมในวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ นี้” ทางดา นนายสุ เ ทพ เทือ กสุ บ รรณ รอง นายกรัฐมนตรีฝายความมั่นคงใหสัมภาษณวา “ถา คณะกรรมการมรดกโลกรับฟงเหตุผลของเรา เราก็ ต องขอขอบคุ ณ แต ถา เราชี้แ จงเหตุ ผลเต็ ม ที่ แล ว คณะกรรมการไม ฟ ง และยั ง ดึ ง ดั น ที่ จ ะมีม ติ ให ไ ด ครม. ไดมีมติไวเปนแนวทางที่ชัดเจนวา ประเทศไทย จะไม ร ว มการพิ จ ารณาในการลงมติ และถ า มติ ออกมาทําใหไทยไดรับความกระทบกระเทือนตอ อธิปไตย ก็จะแถลงการณตอบโตเพื่อแสดงจุดยืน ทันทีในที่ประชุม และรัฐบาลไทยจะออกแถลงการณ ให เ ห็ น ว า เราต อ งรั ก ษาอธิ ป ไตยของเราและจะมี มาตรการอื่น ๆ ตามมาทีหลัง”


อย า งไรก็ ต ามผลการพิ จ ารณาเมื่ อ วั น ที่ ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ปรากฏวาคณะกรรมการ ม ร ด ก โ ล ก ไ ด เ ลื่ อ น ก า ร พิ จ า ร ณ า แ ผ น ฟ น ฟู เขาพระวิหารตามขอเสนอของกัมพูชาออกไปเปน การประชุมครั้งหนาที่ประเทศบาหเรน โดยจะมีขึ้น ในป พ.ศ.๒๕๕๔ ตามคําคัดคานของไทย โดยให เหตุผลวา เปนเพราะฝายกัมพู ชาส งเอกสารและ แผนที่ในเวลาที่กระชั้นชิดไมถึง ๖ สัปดาห อีกทั้งมี รายละเอี ยดจํานวนมาก ซึ่ งอาจสงผลกระทบตอ ดิ น แดนของทั้ ง สองประเทศ อั น จะนํ า ไปสู ค วาม ขัดแยงได โดยคณะกรรมการซึ่งมีอยูทั้งสิ้น ๒๑ คน จึงมีความเห็นใหเลื่อนการพิจารณาออกไปกอน ทางด า นนาย ชู ล า เฟร ไ รรา รั ฐ มนตรี วั ฒ นธรรมของบราซิ ล ในฐานะเป น ผู ไ กล เ กลี่ ย เสนอใหมีการตั้งคณะกรรมการร วมไทย-กัมพูชา มีเวลา ๑ ป ซึ่งถือไดวาเปนความคืบหนาครั้งสําคัญ และเชื่ อ ว า วิ ธี นี้ เ ป น ทางออกที่ ดี ที่ สุ ด เพราะเป น ครั้งแรกที่ทั้งสองฝายไดหารือกัน โดยไมมีคนนอก และเปนพื้นฐานที่จะเริ่มเจรจา นายสุวิทย คุณกิตติ

เบื้องหลังความสําเร็จที่สําคัญ นายสุวทิ ย ฯ กล า วว า เป น ผลจากคนไทยรวมพลั ง กั น อย า ง

เหนียวแนนออกมาประทวงและกอนการประชุมจะ เริ่มขึ้น มีบางประเทศไดบอกแกตัวแทนฝายไทยวา คณะกรรมการมรดกโลกจะพิจารณาไปตามเอกสาร ที่กัมพูชานําเสนอแผนบริหารจัดการปราสาทพระ วิหาร ดังนั้นทางฝายไทยจะยอมหรือจะทําอยางไรก็ ให พิ จ ารณาเอาเองก็ แ ล ว กั น แต ค ณะผู แ ทนไทย ยื น ยั น กลั บ ไปว า ถ า คณะกรรมการมรดกโลกทํ า อย า งนั้ น จริ ง จะเกิ ด ป ญ หากั บ ฝ า ยไทยแน น อน เพราะเอกสารต า ง ๆ ที่ กั ม พู ช าเสนอไปยั ง คณะกรรมการ ฯ ฝายไทยยังไมเห็นเอกสารดังกลาว เนื่องจากเอกสารทั้งหมดถูกเก็บไวที่ศูนยมรดกโลก ดั ง นั้ น หากคณะกรรมการ ฯ ยื น ยั น จะเดิ น หน า พิจารณาในเรื่องนี้ ตัวแทนฝายไทยจะคัดคานอยาง เต็ ม ที่ นอกจากนี้ ค ณะผู แ ทนไทยยั ง ได ห ารื อ กั บ นางอิรินนา บัคโควา ผูอํานวยการใหญยูเนสโก เพื่อแจงประทวงเรื่องแผนที่บริหารจัดการปราสาท พระวิ ห ารอย า งเป น ทางการ และนายสุ วิ ท ย ฯ ไดพบปะกับรัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรมของ บราซิล ซึ่ง เปนประธานที่ ประชุมคณะกรรมการฯ พรอมด ว ยเอกอัครราชทูต บราซิล ประจํา องค ก าร ยู เ นสโกประมาณ ๑ ชั่ ว โมง ในการพบปะครั้ ง นี้ จึงไดขอสรุปรางขอตกลง (Draft decision) ชั้นตน เนื่องจากไทยกับกัมพูชาไดรวมประชุมทวิภาคีเพื่อ ตกลงกันกอนหนานี้ไมสามารถตกลงกันเองไดจาก ปญหาการบริหารจัดการในพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร ที่ ทั้ง ไทยและกัม พูช าไดอา งสิ ท ธิ ในพื้น ที่ ดั ง กลา ว (Dispute area) อยางไรก็ตามเมื่อไดนําขอสรุปที่ เรียกวา Draft decision ใหมไปหารือกับกัมพูชา เพื่อใหไดขอสรุปเบื้องตนรวมกันปรากฏวากัมพูชา


ไมสามารถรับขอเสนอดังกลาวได เปนผลใหบราซิล ในฐานะประธานการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก ซึ่งเปนตัวกลางเจรจาใชเวลาอีกประมาณ ๑ ชั่วโมง ทําใหไดขอตกลงรวมกันวา ใหเลื่อนการพิจารณา แผนการบริหารจัดการของกัมพูชาจากการประชุม ครั้ ง ที่ ๓๔ ไปเป น ครั้ ง ที่ ๓๕ ในป พ.ศ.๒๕๕๔ ณ ประเทศบาหเรน ตามที่กลาวแลว ความคิดเห็นของกลุมชนฝายตางๆ ตอปญหา ปราสาทพระวิหาร U ความสําคัญเอ็มโอยูป พ.ศ.๒๕๔๓ มีประโยชนตอไทยจริงหรือ การที่คณะกรรมการมรดกโลกหรือเอ็มโอยู เลื่ อ นการพิ จ ารณาการพั ฒ นาและบริ ห ารพื้ น ที่ ปราสาทพระวิ ห าร ตามที่ กั ม พู ช าเสนอไปเป น ป พ.ศ.๒๕๕๔ ที่ประเทศบาหเรน ดังนั้นเวลา ๑ ป นั บ จากนี้ ไ ป รั ฐ บาลของนายอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ นายกรั ฐ มนตรี จ ะต อ งทํ า ความจริ ง ให ป รากฏ โดยเฉพาะพื้ น ที่ ทั บ ซ อ น ๔.๖ ตารางกิ โ ลเมตร ขณะนี้รัฐบาลกัมพูชาเกณฑคนเขาไปอาศัยอยูเปน จํานวนมาก เพราะหากปลอยใหเนิ่นนานออกไป จะยิ่งเปนการเพิ่มปมปญหาหนักขึ้น เพราะการขับไล ใหประชาชนของกัมพูชาที่เขาไปอาศัยอยูในพื้นที่ ทับซอน ๔.๖ ตารางกิโลเมตร ออกไปไมใชเรื่องงาย อาจจะต อ งใช ร ะยะเวลา ๒-๓ ป ผนวกกั บ การ “แกเกม” ตามแผนการปรับปรุงพื้นที่ ปราสาท พระวิหาร ตามที่กัมพูชาเสนอไปยังคณะกรรมการ มรดกโลก ครั้งที่มีการประชุมที่ประเทศบราซิล ก็จะ เพิ่ ม ปมให ห นั ก ขึ้ น ไปอี ก แต นั่ น เป น เพี ย งการ

“แกเกม” กับมิตรประเทศที่กําลังจะเปนเจาของ ประสาทพระวิหารเทานั้น แตศึกใหญที่ไทยกําลัง “หลงทาง” คือประเด็นการแกไขขอตกลงบันทึก ความเขาใจระหวาง ไทย-กัมพูชา เมื่อป พ.ศ.๒๕๔๓ ในสมัยของนายชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรี โดยขอตกลงในเอ็มโอยูดังกลาวคือการรวมสํารวจ และ ปกปนเขตแดนระหวาง ไทย-กัมพูชา ซึ่งยังไมชดั เจน วา “ใครไดเปรียบ – เสียเปรียบ” เนื่องจากใน เอ็ ม โอยู ร ะหว า ง ไทย-กัม พู ช า เมื่ อป พ .ศ.๒๕๔๓ ระบุไววาระหวางที่ดําเนินการพื้นที่ดังกลาว ไทยกั ม พู ช า ห า มละเมิ ด หรื อ เข า ไปยุ ง เกี่ ย วกั บ พื้ น ที่ ยังไมมีความเห็นสอดคลองกัน หรือพื้นที่ยังมิไดมี การปกปนเขตแดนโดยเด็ดขาด แตขอถกเถียงที่เกิดขึ้นในตอนนี้คือตองการ ใหรัฐบาลยกเลิก เอ็ มโอยูฉบับดัง กลา ว เนื่อ งจาก ป ญ หาสํ า คั ญ คื อ แผนที่ ที่ มี ค วามแตกต า งกั น โดย สิ้นเชิง โดยในสวนของฝายไทยยึดตามอัตราสวนคือ ๑ ตอ ๕๐,๐๐๐ หรือเรียกวามาตราสวนใหญกวา แผนที่กัมพูชา ที่ใชมาตรา ๑ ตอ ๒๐๐,๐๐๐ ซึ่งเปน แผนที่ม าตราสว นเล็ก กว า จึง ทํ า ให เ กิดขอพิพ าท ขั ด แย ง กั น ทั้ ง นี้ เ มื่ อ ตี ค วามในแผนที่ อ อกมา โดยเฉพาะบริเวณพื้น ที่ป ราสาทพระวิห าร ถ า ยึ ด แผนที่ ต ามอั ต ราส ว น ๑ ต อ ๒๐๐,๐๐๐ (ซึ่ ง มี รายละเอีย ดในแผนที่ น อยกวา มาตราสว น ๑ ต อ ๕๐,๐๐๐) ที่ ขี ด ไม เ รี ย บร อ ยอาจไม ต รงกั บ เส น สั น ป น น้ํ า เพราะหากผิ ด เพี ย ง ๑-๒ มิ ล ลิ เ มตร จะผิดเพี้ยนไปจากจริงประมาณ ๒๐๐-๔๐๐ เมตร ดั ง นั้ น อาจเกิ ด ความคลาดเคลื่ อ นและไม ต รงกั บ เส น เขตแดนสั น ป น น้ํ า ที่ ป ระเทศไทยและสากล


ยึ ด ถื อ มาโดยตลอดว า เส น เขตแดนระหว า ง ไทย-กั ม พู ช า ยึ ด เขตแดนตามสั น ป น น้ํ า ทํ า ให ถูก มองว า ไทยอาจเสี ย เปรีย บกั ม พู ชา ถ า รั ฐ บาล ยกเลิกเอ็มโอยู จะยิ่งทําใหเกิดปญหายุงเหยิง และ โอกาสที่เราจะเสียเปรียบมีสูง เพระหากไปดําเนินการ เริ่มตนนับหนึ่งใหม จะทําใหเรื่องการละเมิดพื้นที่ เข า ทางกั ม พู ช ามากกว า นี้ ที่ ผ า นมาเราก็ ไ ม ไ ด ละเมิดพื้นที่ทับซอนอยูแลว เพราะพื้นที่สวนใหญ เป น พื้น ที่ปา สงวน ทั้ ง นี้ การละเมิดเขา ไปในพื้น ที่ ไมไดมีผลทางดานกฎหมาย เพราะสุดทายก็จะมี การพิจารณาสนธิสัญญาที่ไทยทําไวกับฝรั่งเศส เนื่ องจากบริ เวณพื้น ที่ปราสาทพระวิห าร ยังมิไดตรวจสอบเขตแดนระหวางไทยกับกัมพูชา ใหม จึ ง ยั ง ไม ท ราบว า เขตแดนอยู ต รงไหน ซึ่ ง ข อ คั ด ค า นของไทยก็ ถู ก ต อ ง เมื่ อ เขตแดนยั ง ธรรมชาติ

ไมชัดเจนจะมาดําเนินการเรื่องปราสาทพระวิหาร ไมนาจะทําได สํ า หรั บ คณะกรรมการเขตแดนได ทํ า กั น มาตลอด แตพอเกิดการขัดแยงกันก็ทําใหหยุดไป ถ า ตรงนี้ ก ลั บ ฟ น ฟู ขึ้ น มาและสํ า รวจเขตแดนได ก็นาจะคุยกันและตกลงกันได โดยนับจากนี้ไป ๑ ป จะทําไดหรือไม ทั้งนี้มีขอจํากัดเรื่องมาตรา ๑๙๐ ตามรั ฐธรรมนูญป พ.ศ.๒๕๕๐ ถ า ทําอะไรที่เ ป น ขอตกลงระหวางประเทศ และสงผลกระทบเขตแดน อธิปไตย จะตองผานความเห็นชอบของสภา ไมใช เรื่องงายนักที่จะสรุปวันนี้วาใครไดใครเสีย หรือ กระทั่งใน ๑ ป ปญหาที่ทับซอนจะจบสิ้นลง แตที่แน ๆ ในแง มุ ม ของผู ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบแล ว เอ็ ม โอยู ป พ.ศ.๒๕๔๓ ยั ง พอมี ป ระโยชน ที่ เ อื้ อ ให แ กไ ทย อยูบาง

(อานตอฉบับหนา)


นวีร จากสํ า นวน ขนมพอสมน้ํายา น้ํายาเปน อาหาร ถาหมายถึง ยาที่เปนสิ่งรักษาโรคหรือบํารุง รางกายที่เปนน้ํา เราเรียกวา ยาน้ํา นอกจากยาน้ํ า แล ว ยั ง มี ย าผง ยาเม็ ด ยาแคปซูล เปนการเรียกตามลักษณะ บางทีก็เรียก ตามสี เช น ยาเขี ย ว ยาแดง ยาเหลื อ ง ยาดํ า เรี ย กตามรสหรื อ กลิ่ น ก็ มี เช น ยาขม ยาหอม เรี ย กตามวิ ธี ทํ า ก็ มี เช น ยาต ม ยากลั่ น ยาดอง เรียกตามกิริยาที่ใชก็มี เชน ยากวาด ยากิน ยาฉีด ยาดม ยาอม แตที่คนไมชอบกันคือ ยาหมอใหญ ซึ่งเปนสํานวน หมายถึง สิ่งที่นาเบื่อ เมื่อพูดถึงสํานวนที่มีคําวายา (ไมใชน้ํายา) ขอกลาวถึงดังนี้ แทรกเป น ยาดํ า หมายความว า เข า ไป แทรกแซงอะไร ๆ ทั่วไป ที่มาของสํานวนนี้ มาจาก ยาแผนโบราณของเรา สวนมากเปนยาตม ยาหมอ ซึ่ ง ใช ตั ว ยาหลายต อ หลายชนิ ด ใส ล งในหม อ ดิ น เอาใบตองสดป ด ปากหม อ ผู ก เชื อ กให แ น น แล ว เจาะช อ งเล็ ก ๆ ไว สํ า หรั บ ริ น เอาเส น ตอกมาขั ด ขั ด กั น เป น มุ ม ตั้ ง แต ห า มุ ม ขึ้ น ไป เรี ย กว า เฉลว

ปก ติ ดไวที่ใบตอง สวนตัว ยาตาง ๆ นั้ น นอกจาก สมุนไพรตาง ๆ แลว มักจะมียาดําอยูดวยทุกขนาน ยาดํานี้เปนยาถายใหคนไขระบายทอง นัยวาทําดวย วานหางจระเข บางตําราวาทําจากน้ํายางซึ่งไดจาก การกรีดโคนใบตามขวางของพืชหลายชนิดในสกุล Aloe วงศ Liliaceae นําไปเคี่ยวใหงวดแลวทิ้งไวให แข็งตัวเปนกอน มีสีน้ําตามเขม รสขม กลิ่นไมชวนดม เมื่ อ ยาดํ า แทรกเข า ไปในยาทุ ก ขนาน จึ ง ติ ด เป น สํา นวนแทรกเป น ยาดํา ในเรื่ อ งเศรษฐวิ ท ยาของ ครูเทพ ใชสํานวนนี้ ดังความวา “เทาที่ขาพเจาทราบ อิคอนอมิกสเปนวิชา ใหม และเปนยาดําสําหรับแทรกในกิจการทั้งปวง ดวยเปนวิชาทางมัธยัสถ เปนคูบารมีสําหรับความ เจริญ” อนึ่ง มีสํานวนอีกสํานวนหนึ่งคือ แทรกเปน ดีเ กลื อ (ดี เ กลือ เป น เกลือ ชนิ ดหนึ่ง เม็ด ละเอี ย ด สีขาว รสเค็มจัดจนขม เกิดอยูใตเกลือในนาเกลือ ใชเปนยาระบายหรือยาถาย) ซึ่งมีความหมายคลาย ๆ กั บ แทรกเป น ยาดํ า คื อ แทรกไปทุ ก ที่ เกี่ ย วกั บ ทุกอยาง แตเรานิยมใชแทรกเปนยาดํามากกวา


ไมเขายา หมายความวา ไมเขาทา ไมได เรื่อง ไมไดความ ไมเปนผล ไมเปนประโยชน เมื่อยาคือ ยารักษาโรค ใชอะไรเขายาก็ไมไดทั้งนั้น คือไมได เรื่องนั่นเอง ในเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน มีความวา จึงตรัสวาฮาเฮยไอขุนไกร เปนไรมิตอนใหเขาคาย มึงไวใจแตไพรใหไลควาย มึงลอยชายอยูเปลาไมเขายา อนึ่ง มีผูขยายอธิบายความวา ตัวยาไทย นั้น โดยมากเอามาจากสวนตาง ๆ ของตนไม เชน ดอก ใบ ผล ราก แกน และกระพี้ แตบางครั้งก็ใช รักษาอะไรไมได คือใชอะไรก็ไมเขายาทั้งนั้น ซึ่งก็ ตรงกั บ ความหมายข า งตน แต บางคนอธิ บ ายว า ไมเขายา คือไมฟงยา หมายความวา ยาอะไร ๆ ก็รักษาไมหาย ดังความในเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนหนึ่งวา ครานั้นศรีประจันผูเฒา เห็นลูกสาวซูบเศราลงหนักหนา กลัดกลุมคลุมคลั่งไมฟงยา มดหมอหามาก็หลายคน ยาหมอใหญ หมายความวา เอือม ระอา เบื่อหนาย สํานวนนี้มาจากยาไทยแผนโบราณประเภท ยาตม เขาเครื่องยาจําพวกสมุนไพร ใบไม รากไม ดอกไม แกน เปลือก หัว ฯลฯ และมักจะมียาดําแทรก รวมใส ใ นหม อ ขนาดใหญ ต ม น้ํ า จนเป น สี ดํ า ข น รสขม ฝาดเฝอน บางครั้งก็ใสดีเกลือดวย ซึ่งทําใหมี รสเค็ม กินทุกวันเรื่อยไปจนอาจเปนเดือนสองเดือน หรือจนกวายาจะจืด กินกันจนนาเบื่อ คนกินซึ่งปวย อยูแลวก็เอือมระอา เห็นยาก็เบือนหนาหนี ฉะนั้น

อะไร ๆ ที่เปนเรื่องเอือมระอานาเบื่อหนายจึงเปรียบ เปนยาหมอใหญ อนึ่ ง มี สํ า นวนที่ ค ล า ยกั บ สํ า นวนนี้ อี ก สํ า นวนหนึ่ ง คื อ เบื่ อ เป น ยารุ ยารุ คื อ ยาถ า ยที่ เขายาดําหรือดีเกลือ วางยา หมายความว า ใช อุ บ ายล อ ลวง ทําใหเสียที วางยาหมายถึงเอายาใหกิน ซึ่งอาจเปน ยาพิษ ยาเบื่อ โดยที่ผูปวยไมรู หวานเปนลม ขมเปนยา หมายความวา คําชมมักไรสาระทําใหลืมตัวขาดสติ แตคําติมักเปน ประโยชนทําใหไดคิด หรือคําพูดประจบสอพลอ ฟ ง เพราะแต เ ป น โทษ คํ า พู ด ตรงไปตรงมา ฟ ง ไม เ พราะแต เ ป น คุ ณ ส ว นอี ก ความหมายหนึ่ ง คื อ อะไรที่ไมดีเปนของทํางายแตเปนโทษ อะไรที่ดีเปน ของทํายากแตเปนคุณ สํานวนนี้มาจากของกิน คือ ของหวานหรื อ ของที่ มี ร สหวาน กิ น แล ว มั ก ทํ า ให ไมสบายเปนโทษ สวนของขมหรือของที่มีรสขมกิน แล ว เหมื อ นกิ น ยาแต เ ป น คุ ณ ฉะนั้ น จึ ง มี สํ า นวน อีกสํานวนหนึ่งวา หวานลิ้นกินตาย ซึ่งหมายความวา หลงเชื่อคําพูดเพราะ ๆ จะตองลําบาก หาทํ า ยายาก หมายความว า หายาก อัตคัต ฝดเคือง สํานวนนี้มาจากการที่เราเอาสวน ต า ง ๆ ของพั น ธุ ไ ม ม าทํ า ยารั ก ษาโรค (เรี ย กว า เข า เครื่อ งยา) พัน ธุไม เ หลา นั้น บางที ก็ห าได งา ย บางทีก็หายาก ดังนั้น เมื่อจะหาทํายารักษาโรคก็หา ไมได จึงวาหาทํายายาก และเลยหมายความไปถึง อะไรที่ จ ะหาซื้ อ มาเพื่ อ ประโยชน อย า งใดก็ ต าม ถาหายาก ไมคอยมี ก็จะใชสํานวนวา หาทํายายาก ไดเชนกัน


อนึ่ง คําวา ยา มีใชในความหมายกวาง คือ อาจใชเปนคํากริยาในความหมายวา รักษา รักษาโรค บําบัดโรค หรือแกโรค ก็ได บางทีเราใชวา เยียวยา (เชน เมื่อกลางเดือนตุลาคม ๒๕๕๓ น้ําทวมหลาย จังหวัด เมื่อน้ําลด ก็ตองมีการเยียวยาจิตใจผูถูก น้ําทวม) เรื่องอิเหนา พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๒ ตอนอิเหนาเกี้ยวนางจินตหรา มีความตอนหนึ่งวา เสียแรงที่พยายามดวยความยาก สูลําบากบุกปาพนาสณฑ มิไดคิดแกชีวิตจะวายชนม หวังจะไดนฤมลมายาใจ มายาใจ คือ มาเปนยารักษาโรคหัวใจ หรือ โรครัก หรือรักษาใจที่ปวยเปนโรครักก็ได ในนิ ร าศเมื อ งแกลงของสุ น ทรภู มี คํ า ว า ยาตา ซึ่งหมายถึง ทํายารักษาตา ซึ่งเปรียบเหมือน เป น ที่ เ จริ ญ ตา คื อ สวยงามประจั ก ษ ต อ สายตา ดังความวา แลวไปบางทางเถื่อนบานพงออ ไมเหลือหลอหลายตําแหนงแสวงหา จะเที่ยวดูผูคนทํายาตา ไมเห็นหนานึกระทดสลดใจ ส ว นในนิ ร าศวั ด เจ า ฟ า ของสุ น ทรภู ก็ มี สํานวนที่มีคําวา ยา ซึ่งถาแปลตรง ๆ ก็คือยารักษาโรค แตนํามาใชวา พอปนยา ซึ่งคงอยูในความหมายวา หายาก ดังนี้ โอธานีศรีอยุธยามนุษยแนน นับโกฎิแสนสาวแกแซภาษา จะหารักสักคนพอปนยา ไมเห็นหนานึกสะอื้นฝนฤทัย

ในเรื่องชะอําของครูเทพก็มีการใชคําวา ยา ในสํานวนวา หาทํายาไมได เพื่อสื่อความหมายวา หายาก ดังนี้ “เนิ น หน า เขาชะอํ า แห ง หนึ่ ง เรี ย กว า โคกเศรษฐี แตเดี๋ยวนี้เศรษฐีที่ชะอําหาทํายาไมได” สํานวนที่หมายความวา หายาก นั้น มีอีก สํ า นวนหนึ่ ง คื อ หาเลื อ ดกั บ ปู แต สํ า นวนนี้ มี ความหมายมากกวา คือหมายถึงหาประโยชนจาก คนจน บี บ คั้ น จากคนชั้ น ต่ํ า หรื อ ผู น อ ย หรื อ ผู มี รายไดนอย คือเคนในสิ่งที่ไมมี ใหมีใหได สํานวนนี้ เอาปูมาเปรียบ คือปูเปนสัตวที่ไมมีเลือด ก็จะเคน เอาเลือดจากปูใหได บางทีก็พูดเปน “แกะเลือดปู” ความหมายอยางเดียวกัน ในนิทานวชิรญาณ มีความ ตอนหนึ่งวา “พุทโธ แมสาด นี่หลอนจะมาหาเลือดกับปู หรือนี่ เงินทองมันมีที่ไหน จนออกจะดับจิตไป” ในเสภาขุนชางขุนแผน มีความตอนหนึ่งวา แสนแคนที่เจาแขวนหนังสือดา คอนวาสัปดนจนปนป ในตัวลวนแตชั่วไมมีดี จี้ไชไคแคะแกะเลือดปู อนึ่ง หลายชาติก็มีสํานวนอยางนี้ เชน อังกฤษวา : - หาเลือดกับกอนหิน - ขลิบแกะที่ไมมีขน - เปลื้องเสื้อผาจากคนเปลือย เดนมารกวา : - เอาวัวจากคนที่ไมมีวัว - ถอนผมคนหัวลาน


ฝรั่งเศสวา : - หาน้ํามันกับกําแพง - หวีของที่ไมมีขน สกอตซวา : หาเขาจากวัวที่ไมมีเขา อิตาเลียนวา : หาเลือดจากหัวผักกาด กรีกวา : โกนไขเอาขน สิงหลวา : หาขนกับเตา จีนวา : เอาหนังสองผืนจากวัวตัวเดียว สํ า นวนอี ก สํ า นวนหนึ่ ง ที่ เ กี่ ย วกั บ การหา ได ย ากคื อ งมเข็ ม ในมหาสมุ ท ร แต สํ า นวนนี้ หมายถึง การคนหาอะไรที่อยูลึกลับ พนวิสัยที่จะ ธรรม

ทําสําเร็จได เปนการเปรียบเทียบของที่เล็กที่สุดกับ ใหญ ที่ สุ ด ว า ทํ า แล ว ไม มี ท างสํ า เร็ จ เกี่ ย วแฝก มุ ง ป า ก็ มี ค วามหมายทํ า นองเดี ย วกั น ญี่ ปุ น มี สํ า นวนว า ตั ก น้ํ า ในมหาสมุ ท รด ว ยช อ นหอย ในความหมายทํานองนี้ สํานวนที่เกี่ยวกับยาที่หมายถึงยารักษาโรค มีไมมากนัก แตก็เปนที่นิยมใชกัน เพราะเมื่อใชแลว ทําใหเขาใจเรื่องราวไดงาย ยิ่งถารูที่มาของสํานวน นั้น ๆ ก็ยิ่งทําใหเขาใจไดงายขึ้นเอง สํานวนเหลานี้ จึง เป น ชั้ น เชิ ง ของการใช ภ าษาว า ผู ใ ช ภ าษามี ภู มิ รูเพียงใด และเปนความสงางามของการใชภาษาดวย

±±±±±±±±±±±±±

แอนฟลด

เพื่อใหเขากับเทศกาลเดือนแหงความรัก ความหวงใย วันนี้ขอนําเสนอเว็บไซตที่เกี่ยวกับ สุขภาพบาง เพื่อที่เราจะไดดูแลสุขภาพของเราและคนที่เรารักไดอยางถูกวิธี เว็บไซตนี้ไดรวบรวมบทความที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ รวมถึงทําใหเรารูจักโรคภัยไขเจ็บ ตาง ๆ มากมาย อีกทั้งยังแนะนําวิธีการปฏิบัติตัวใหถูกตองตามสุขอนามัย เพื่อที่จะทําใหเราสามารถ สูกับโรคนั้น ๆ ไดอยางถูกวิธี ซึ่งเว็บไซตที่แนะนําในวันนี้คือ www.yourhealthyguide.com หวังวา เว็บไซตนี้จะมีประโยชนกับสุขภาพของพวกเราชาว ทอ. นะครับ


SORA

ทานผูอานที่ไดอานเรื่อง “โรงเรียนสองภาษา ดีแนหรือ” ฉบับเดือนมิถุนายน ๒๕๕๓ มาแลวนั้น เกิ ด ความสงสั ย ว า โรงเรี ย นสองภาษาคื อ อะไร การจัดการเรียนการสอนเปนอยางไร จึงไดไปคนควา หาข อ มู ล เรื่ อ งนี้ ม าเพิ่ ม เติ ม และเล า สู กั น ฟ ง ดังตอไปนี้คะ โรงเรี ย นสองภาษาเกิ ด ขึ้ น จากหลั ก สู ต ร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๔ มีสองรูปแบบคือ EP (English Program) และ MEP (Mini English Program) ซึ่งตอมากระทรวงศึกษาธิการ ไดยกเลิก โครงการ MEP เนื่องจากหลายโรงเรียนขาดความ พร อ มและขาดความเข า ใจอย า งแท จ ริ ง ในการ บริหารจัดการโรงเรียนในลักษณะนี้ เพื่อมิใหโรงเรียน สองภาษาที่จัดตั้งตามแนวโนมของสังคม (In trend) มีจํานวนมากแตไมมีคุณภาพ ดังนั้นโรงเรียนสองภาษา จึงเปนโรงเรียนที่เปดทําการสอนในระดับอนุบาล จนถึงมัธยมศึกษาปที่ ๖ โดยใชหลักสูตรกระทรวง ศึกษาธิการและจัดการเรียนการสอน โดยใชภาษา อังกฤษเปนสื่อการสอนในลักษณะสองภาษา คือ ไทย-อังกฤษ (BILINGUAL Thai-English)

การจัดการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษ ในระดับกอนประถมศึกษา (Pre-school level) ตอง คํานึงถึงความสามารถพื้นฐานในการใชภาษาไทย ของผู เ รี ย น ความพร อ ม ความสนใจที่ จ ะเรี ย นรู ภาษาอังกฤษ จึงจัดกิจกรรมงาย ๆ ที่ทําใหนักเรียน มีค วามสนุ ก สนาน สร า งความกระตื อ รื อ ร น และ ประสบความสําเร็จ เชน การรองเพลง การฟงนิทาน ประกอบภาพ การเลนบทบาทสมมุติ การเลนเกม การศึกษา ซึ่งจัดการเรียนการสอนเปนภาษาอังกฤษ ไดไมเกิน ๕๐% ของเวลาที่จัดกิจกรรมและรับนักเรียน ไดไมเกินหองละ ๒๕ คน เปนตน เนื่องจากระดับประถมศึกษา (Primary school level) เปนการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคบังคับ โรงเรียน


ในโครงการ EP (English Program) ของกระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารจึ ง มี วิ ช ากลุ ม สาระการเรี ย นรู ก ารใช ภาษาไทยที่เปนเครื่องมือสื่อสาร ไดแก ภาษาไทย สั ง คมศึ ก ษา ศาสนา และวั ฒ นธรรม ที่ ต อ งสอน เช น เดี ย วกั บ โรงเรี ย นสามั ญ อื่ น ๆ นั บ เป น กํ า ไร อยางยิ่งของนักเรียนที่เรียนในระบบสองภาษา ซึ่งมี ภาษาอังกฤษเปนมาตรฐานเดียวกับโรงเรียนนานาชาติ และยังไดเรียนกลุมสาระการเรียนรูตามหลักสูตร ของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารอี ก ด ว ย ดั ง นั้ น จึ ง จั ด การเรี ย นการสอนเป น ภาษาอั ง กฤษเฉพาะวิ ช า ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และ พลศึ ก ษา โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความรู ความเข า ใจใน เนื้อหาวิชานั้นควบคูกับภาษาอังกฤษ รับนักเรียน ไมเกินหองละ ๓๐ คน สวนระดับมัธยมศึกษา (High school level) จัดการเรียนการสอนเปน ภาษาอังกฤษไดทุกวิชา ยกเวนภาษาไทย และสังคม ศึกษาในสวนที่เกี่ยวของกับความเปนไทย กฎหมาย ไทย ประเพณีและวัฒนธรรมไทย รับนักเรียนไมเกิน หองละ ๓๐ คน

สํ า หรั บ หลั ก สู ต รและตํ า ราเรี ย นที่ เ ป น มาตรฐานฉบับภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา

โดยตรงที่กระทรวงศึกษาธิการกํา ลัง จัดทํ าอยูนั้น ยังไมมีกําหนดแลวเสร็จที่แนนอน ที่ผานมาแตละ โรงเรียนจึงใชหลักสูตรและตําราเรียนที่หลากหลาย แตถาเปนโรงเรียนของรัฐบาลก็จะปรับใชตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๔ เปนหลัก สรุปไดวา ๑. โรงเรียนเอกชนที่ใชหลักสูตรของตางประเทศ มาสอนส ว นใหญ ใ ช ตํ า ราเรี ย นจากต า งประเทศ ทั้งจากอังกฤษและสิงคโปร ซึ่งเนื้อหาบางสวนอาจ ไมสอดคลองกับสังคมไทย ๒. แปลตําราภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษ จากหลักสูตรพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งอาจทําใหดูไมตางจากการเรียนในภาคภาษาไทย ปกติมากนัก ๓. แปลตําราภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษ โดยยึดจุดประสงคสาระการเรียนรูตามหลักสูตรของ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารมาประยุก ตเ ข า กั บกิ จ กรรม การสอน ๔. ครูผูสอนคัดเลือกเนื้อหาจากหลักสูตร ไทยและตางประเทศควบคูกัน โดยเนนใหตรงกับ จุดประสงคการเรียนรู แลวทําเปนรูปเลมตําราใหม ทั้งนี้แตละโรงเรียนอาจประยุกตหลายแบบ มารวมกันได ในเรื่องของหลักสูตรจะเห็นไดวาขึ้นอยู กับแตละโรงเรียนเปนผูดําเนินการเอง จึงขาดความ เปนมาตรฐานกลาง ซึ่งอาจสงผลถึงการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน เมื่อตองเขาสู ระบบการแขงขันกับนักเรียนในภาคปกติที่ขอสอบ เปนภาษาไทย โดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตรที่จะมี ศัพทเทคนิค และมีรายละเอียดของการทดลอง มาเปนขอจํากัด ไมสามารถลงลึกในหลักวิชา


เหมือนในภาคปกติได ซึ่งเปนจุดบกพรองที่พบและ โรงเรียนหลายแหงพยายามแกไขอยู ผลการวิ จั ย เกี่ ย วกั บ โรงเรี ย นสองภาษา จากประเทศตาง ๆ ที่ใชระบบการสอนสองภาษาที่ ประสบผลสําเร็จมาแลว เชน แคนาดา, สหรัฐอเมริกา, อังกฤษ และออสเตรเลีย เปนตน เนื่องจากประเทศ เหล า นี้ มี ป ระชากรที่ อ พยพเข า ไปอยู ใ นประเทศ มากมาย เชน จีน ฝรั่งเศส ญี่ปุน สเปน และพื้นเมือง ดั้งเดิม เชน เม็กซิกัน ชาวเวลสในอังกฤษ ซึ่งรัฐบาล แต ล ะประเทศมี ค วามจํ า เป น ที่ จ ะต อ งจั ด เตรี ย ม ความพร อ มด า นภาษาให เ ด็ ก เหล า นี้ เ ข า ใจ ภาษาอั ง กฤษเป น อย า งดี ก อ นเข า เรี ย นในชั้ น ประถมศึ ก ษา จึ ง เกิ ด มี ก ารเตรี ย มความพร อ ม ในดานภาษา เชน อังกฤษ –ฝรั่งเศส, อังกฤษ-สเปน, อังกฤษ-เวลส, อังกฤษ-ญี่ปุน, อังกฤษ-จีน เปนตน ด ว ยวิ ธี ซึ ม ซั บ ทางภาษาของสองวั ฒ นธรรม เขาดวยกัน (two-way immersion education) โดย ใชนวัตกรรมตาง ๆ แลวแตชุมชนและการกําหนด ของแตละโรงเรียน ผลปรากฏวาเด็กใชภาษาอังกฤษ ได ผลดี และเมื่ อเรีย นในระดั บสู ง ๆ ขึ้ น ไป ความ สั ม ฤทธิ ผ ลทางวิ ช าการก็ มี พั ฒ นาการสู ง ขึ้ น ด ว ย รวมทั้ ง ยั ง ได ซึ ม ซั บ วั ฒ นธรรมของกั น และกั น ในแคนาดา, ออสเตรเลีย, เวลส, แมสซาชูเซตส, เทกซัส, แคลิฟอรเนีย ตางก็ประสบผลสําเร็จดวย การใชวิธีซึมซับทางภาษาของสองวัฒนธรรม เขาดวยกัน (two-way immersion) มาแลวทั้งสิ้น ดวยการสอนภาษาอังกฤษ ๕๐ % และภาษาแม ๕๐% อาจจัดดวยการใชเวลาเปนเกณฑหรือวิชาเปนเกณฑ ก็ได แลวแตความสะดวกของแตละโรงเรียน

Immersion เปนรูปแบบหนึ่งของการเรียน สองภาษา ซึ่งวิชาพื้นฐานทั่ว ๆ ไป เชน คณิตศาสตร พลศึกษา language arts สอนดวยภาษาแมและ ภาษาที่สอง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับทางโรงเรียนจะกําหนด เองว า จะสอนวิ ช าใด โดยที่ จ ะต อ งไม ซ้ํ า ซ อ นกั น นั่นคือจะตองไมสอนวิชาเดียวกันทั้งสองภาษา และ จะตองไมสอนโดยการแปลจากภาษาหนึ่งไปยังอีก ภาษาหนึ่งในทันทีที่จบการสอน ไมวาจะเปนในชั่วโมง ถัดไป ในวันเดียวกันหรือแมกระทั่งในปการศึกษา เดียวกัน และที่สําคัญคือ อยางนอยที่สุด ๕๐% ของ วิ ช าที่ ส อนในป นั้ น ๆ จะต อ งสอนภาษาที่ ส อง หากนอยกวานั้น เปนตนวามีเพียงหนึ่งหรือสองวิชา ที่สอนเปนภาษาที่สองจะถือวาเปนการสอนในแบบ สรางเสริมความรูทางภาษา ไมใชแบบ Immersion เด็กที่มีความสามารถหรือทักษะการใชภาษา สองภาษาควบคูกันแทจริง เมื่อจบระดับประถมศึกษา ปที่ ๖ และระดับมัธยมศึกษา ควรจะมีคุณลักษณะ ดังนี้ - ใชภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันไดดี - มีสําเนียง ( accent) ถูกตองเชนเดียวกับ เจ าของภาษา รวมทั้ งการออกเสี ยง (pronunciation) การใชไวยากรณ (grammar) และคําศัพท (vocabulary)


- มีความสัมฤทธิผลทางวิชาการไดมาตรฐาน (ตามผลวิจัยของหลายประเทศ มีความสัมฤทธิผล ทางคณิตศาสตรสูง) - มี ก ารปรั บ ตั ว ปรั บ บุ ค ลิ ก ภาพได ดี ก ว า เด็กที่เรียนภาษาเดียว - การเข า เรี ย นต อ ทั้ ง ในประเทศและ ตางประเทศ สามารถสอบ O-NET และ A-NET เรียนไดทุกระบบทั้งนานาชาติและในประเทศ - ใชภาษาอังกฤษ-ไทย ไดดีทั้งฟง พูด อาน และเขียนตามระดับชั้น - รักษาวัฒนธรรมประเพณีของไทยไวเปน มรดกของชาติ ไ ด และสามารถปรั บ ตั ว เข า ได ทั้ ง วัฒนธรรมตะวันออก-ตะวันตก

ดังนั้นขอย้ําอีกครั้งวา โรงเรียนสองภาษา ตั้งขึ้นเพื่อลูกหลานของคนไทย และคนตางชาติที่ ไมไดใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแม และคนไทยที่อยู ในประเทศไทยต อ งใช ภ าษาไทยได เ ป น อย า งดี ดังนั้นเมื่อภาษาและวัฒนธรรมเปนเอกลักษณของ ชาติ ที่ตองรักษาไวเปนมรดกของชาติสืบไป เราจึง จําเปนที่จะตองเรียนรูทั้งภาษาและวัฒนธรรมไทย เพื่ อ ให เ กิ ดความรู แ ละระลึ ก ถึ ง ต น กํ า เนิ ด ของเรา ควบคูกับการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อจะไดทันตาม กระแสโลกในยุคโลกาภิวัตนหรือระบบสารสนเทศ ในยุคปจจุบัน


หมอพัตร ปที่ผานมานี้ ประเทศเรามีโรคระบาดเกิดขึ้น หลายโรค ผลัดกันมา บางโรคมาครั้งหนึ่งแลวยังไมทัน ถึง ป ก็ย อนกลั บ มาอี ก ก็ โ รคไขห วัด สายพั น ธุ ใหม H1N1 ไงครับ สวนไขหวัดใหญตามฤดูกาลก็ยังมีมา เปนปกติ(อันที่จริงไมอยากเรียกวาปกติเลย) นี่ก็มี อีกโรคหนึ่ง มากับน้ําที่หลากทวมตามที่ตาง ๆ อันที่ จริงก็ไมใชโรคใหมเปดกลองหรอก มาเปนครั้งคราว แบบผีซ้ําด้ําพลอย โรคที่วานี้คือ โรคฉี่หนู ครับ โรคฉี่หนู ชื่อก็บอกอยูแลว เชื้อมันอยูในฉี่ หรือปสสาวะของหนู ที่ฉี่ไวตามพื้นที่เฉอะแฉะแลว ไปปนเปอนอยูในน้ํา ผานเขาสูมนุษย(รวมทั้งสัตว บางชนิด) โดยการสั มผัสทางผิวหนังที่มีรอยแผล เขาสูกระแสเลือดไปฟกตัวแลวทําใหเกิดการอักเสบ ติดเชื้อของตับและไต โรคนี้ยังอาจผานเขาสูรางกาย โดยทางปากก็ ไ ด ถ า ไปดื่ ม กิ น อาหารที่ ป นเป อ น เชื้อของมันเขา เชื้อที่ทําใหเกิดโรคฉี่หนูเปนเชื้อสไปโรซีต ที่เปนแบคทีเรียตัวยาวเปนเกลียว เปนเชื้อในสกุล เลปโตสไปโรซิส เชื้อนี้ที่กอใหเกิดโรคในมนุษยมี ๔ หรือ ๕ สายพันธุ ปกติพบไดในสัตว ๔ เทา พวกหนู

กระตาย กระรอก สุนัข แมกระทั่งสัตวใหญเชนวัว ควาย เชื้อพวกนี้ไมคอยรายแรง สัตวที่เปนพาหะ ก็ไม มีอ าการโรคมากมายนั ก ยกเวน สุนัขและหนู ที่ อ าจมี อ าการโรครุ น แรงได พาหะสํ า คั ญ คื อ หนู (หนูสี่เทานะยะ ไมใชหนูสองเทาผมยาวที่อยูขาง ๆ คุณ) มันมีเชื้ออยูในปสสาวะ เมื่อถายรดตามพื้นดิน ที่มีน้ําเฉอะแฉะ เชนในฤดูน้ําหลาก เชื้อโรคฉี่หนูก็จะ ปนเปอนอยูในน้ํา เมื่อเราไปลุยน้ําที่มีเชื้อโรคโดยไมมี การปองกันและมีรอยถลอกหรือแผลที่ผิวหนัง เชื้อก็ จะเขาสูรางกายแลวเปนตนเหตุใหเกิดโรคฉี่หนูได เชื้อสไปโรซีต


เชื้อเลปโตสไปโรซิสสายพันธุที่รายแรงมาก เปนเชื้อที่ชื่อ Leptospirosis icterohemorrhagiae ผูที่ติดเชื้อสายพันธุนี้ จะมีอาการปวยรุนแรงมาก อาจถึ ง แก ชี วิ ต ได แพทย ที่ ร ายงานผู ป ว ยโรคนี้ คือ Felix Weil โรคสายพันธุนี้จึงเรียกชื่อวา Weil’s Disease ความจริงโรคเลปโตสไปโรซิส เรา(หมายถึง วงการแพทย)รูจักกันมารวมรอยปแลว เปนโรคที่ ไม ค อ ยร า ยแรงเท า ใดนั ก นอกจากผู ที่ เ ป น ชนิ ด Weil’s Disease จึงตองรักษาพยาบาลอยางเต็มที่ ส ว นโรคที่ เ กิ ด ตามสภาพการณ ป กติ เพี ย งรั ก ษา พยาบาลตามอาการเพี ย งไม กี่ วั น อาการก็ ทุ เ ลา ลงได อาการแรกเริ่มของโรคฉี่หนูคือ ผูปวยมีอาการ ไข ป วดเมื่ อ ยตามตั ว เบื่ อ อาหารคลื่ น ไส อาการ ปวดเมื่ อ ยกล า มเนื้อรุ น แรงมากโดยเฉพาะที่นอง ถากดนองผูปวยจะปวดมาก มีอาการดีซานตัวเหลือง ตาเหลื อ ง ตามี ส ายเลื อ ดแดงเห็ น ถนั ด บางราย ปวดศีร ษะมากจนคล า ยโรคเยื่ อหุ ม สมองอัก เสบ อาการของโรคฉี่หนูถาไมใชชนิดที่เรียกวา Weil’s Disease จะเปนมากอยูไมนานแลวคอย ๆ ดีขึ้นได ในไมกี่วัน ผูเขียนเคยพบผูปวยโรคฉี่หนูชนิด Weil’s Disease เมื่ อ หลายสิ บ ป ก อ น ขณะนั้ น ผู เ ขี ย นยั ง เปนนักศึกษาแพทย จําไดวาผูปวยชายอายุ ๒๐ ป เศษรายนี้มีอาการไขและดีซานรุนแรงมาก เนื้อตัว เหลืองจนดูคลายสกปรก เวลาหายใจมีกลิ่นปากแรง ลองเอามื อ บี บ น อ งดู ผู ป ว ยก็ ร อ งลั่ น ด ว ยความ เจ็บปวด ปสสาวะสีเหลืองเขม เมื่อเอาไปตรวจทาง

ห อ งปฏิ บั ติ ก ารพบมี น้ํ า ดี ป นจนเวลาเขย า หลอด ทดลองที่บรรจุปส สาวะก็ เ กิด ฟองสี เ หลื อ งซึ่ง เป น การยืนยันวามีน้ําดีอยูในปสสาวะ เห็นผูปวยแบบนี้ เพียงครั้งเดียวก็จําไดติดตา โชคดีที่ภายหลังไดรับ การรักษาผูปวยฟนตัวดีวันดีคืนจนหายกลับบานได การรักษาโรคฉี่หนูไมมีอะไรยุงยาก หากไมมี อาการแทรกซอน คงรักษาไปตามอาการ ใหยาแกไข ใหน้ําเกลือทางหลอดเลือดดํา และใหยาปฏิชีวนะ เพื่อทําลายเชื้อ เชื้อโรคฉี่หนูไวตอการใหยาฆาเชื้อ ยาที่ใช สมัยกอนนี้ ที่ใชไดผลดีและราคาไมแพงมากคือยา ตระกูลเพนนิซิลลิน ปฏิชีวนะชนิดอื่นก็ไดผลเชนกัน เช น เตตราไซคลี น สเตรปโตไมซิ น แต ต อ งระวั ง อาการแพและอาการขางเคียง สวนคลอแรมเฟนิคอล ใชไมไดผล มาถึงปจจุบันนี้ ยาปฏิชีวนะชนิดใหม ๆ มีมากอยางสะดวกตอการรักษายิ่งขึ้น

โรคฉี่หนูจึงไมเปนปญหาในเรื่องการรักษา ความสํ า คั ญ จึ ง ไปอยู ที่ ก ารป อ งกั น ไม ใ ห เ กิ ด โรค โดยเฉพาะเวลาที่มีน้ําหลากทวมขังอยางที่เกิดขึ้น เมื่อไมกี่เดือนที่แลว ซึ่งบางครั้งเรามีความจําเปน ตองลุยน้ําสกปรก หากจําเปนควรปองกันโดยการ


สวมรองเท า หุ ม น อ ง อย า ลุ ย น้ํ า โดยไม จํ า เป น ห ามเด็ ก ๆ ไม ให เล นหรื อลุ ยน้ํ าสกปรก ถ าลุ ยน้ํ า สกปรกควรรี บ ชํ า ระล า งด ว ยน้ํ า สะอาดแล ว เช็ ด ใหแหง ถาเกิดอาการเจ็บไขไดปวย ควรไปพบแพทย เพื่อตรวจรักษา อยาคิดวาไมมีอะไร หรือคอยไวกอน ก็ได จะทําใหโรครุนแรงและยากแกการรักษา จําไววา รูทันโรคเสียอยาง สบายไปแปดอยาง, จะบอกให. ไดกลาวแลววาโรคฉี่หนูมีตนเหตุอยูในน้ํา ที่ปนเปอนดวยฉี่หนูที่เปนพาหะ แตมีอีกโรคหนึ่งทํา ให มี อ าการเกี่ ย วกั บ การถ า ยป ส สาวะแต ผู ป ว ย ได เ ชื้ อที่อ ยูในรา งกายเราเองไมได รับ เชื้อ มาจาก ภายนอก โรคนี้สวนใหญเกือบรอยทั้งรอยเปนแก สตรี นั่นคือ โรคกระเพาะปสสาวะอักเสบ เชื้อตนเหตุ เปนเชื้อที่มีอยูในลําไสใหญและอุจจาระของเราเอง คือ E.COLI. อาการสํ า คั ญ ของโรคกระเพาะป ส สาวะ อั ก เสบคื อ ถ า ยป ส สาวะลํ า บาก เจ็ บ และขั ด เบา ปวดปสสาวะบอย ปสสาวะมีเลือดปน มีไขบางครั้ง มี อ าการหนาวสั่ น พยาธิ ส ภาพเกิ ด จากสาเหตุ ไมกี่อยาง อยางแรกคือการติดเชื้อ E.COLI. ที่อยูใน ธรรม

ลํ า ไส ใ หญ การติ ด เชื้ อ เกิ ด จากการไม ร ะมั ด ระวั ง เวลาชํา ระลา งหลั ง การถา ยก็ ทํ า ผิด วิธี ใหน้ํ า ไหล จากทวารหนักไปผานทวารเบา เชื้อโรคจึงมีโอกาส เขาสูทวารเบาไปอยูในกระเพาะปสสาวะ กระเพาะปสสาวะของเรามีลักษณะเปนคลายถุง ปากทาง เปนหลืบและหูรูด เมื่อเชื้อเขาสูกระเพาะปสสาวะจะ ไปซอนตัวทวีคูณอยูในหลืบนี้ ถึงวันโชครายรางกาย ไมแข็งแรงเชื้อในกระเพาะปสสาวะนี้จะแผลงฤทธิ์ เกิดการอักเสบติดเชื้อจึงเปนไขและขัดเบา ถาทิ้งไว ไมรักษา เชื้อก็จะผานทอไตเขาสูกรวยไต เกิดกรวยไต อักเสบ อาการยิ่งรุนแรงขึ้น สุดทายอาจถึงขั้นไตวาย ได การรั ก ษาโรคกระเพาะป ส สาวะอั ก เสบ ไมยุงยากมากหากไมปลอยไวถึงขั้นไตวาย ใชยา ปฏิชีวนะเฉพาะโรค การรักษาคอนขางกินเวลากวา จะหายขาด ส ว นมากพออาการดี ขึ้ น ก็ เ ลิ ก กิ น ยา ทําใหกลายเปนอาการเรื้อรังกอปญหาในภายหลัง วิ ธี ป ฏิ บั ติ ต นก็ ง า ย เพี ย งแต อ ย า กลั้ น ปสสาวะ ดื่มน้ํา ใหมาก ชําระลางหลังการถายให ถูกวิธี ก็เทานั้นเอง เทานี้ก็สบายแลว


มิสกรีน ANDY CAPP

ภาพ 1 - ผมอยากใหคุณนําหนังสือนี้ไปอานที่บานนะ มันเกี่ยวกับความสําคัญของความไวเนื้อเชื่อใจในสัมพันธภาพของคนสองคนนะ ภาพ ๒ - ผมควรจะรับไปเองครับ เธออาจจะทํามันหายได marriage guidance ‘d like (would like) pamphlet (n.)

importance (n.)

- การใหคาํ ปรึกษาแนะนําเกีย่ วกับชีวิตสมรส marriage (แมริจ) เปนคํานามของ to marry ในที่นี้ใชขยายคํานาม guidance (ไกเดิ่นซ) ซึง่ คํากริยาคือ to guide - เปนคํากริยาสุภาพของ to want - เอกสาร หรือหนังสือบาง ๆ ซึ่งใหขอมูลเรื่องตาง ๆ (a very thin book with paper covers that gives information about something) ออกเสียงวา “แพมฟลิท่ ” คําอืน่ ที่ใชแทนไดคือ leaflet และ brochure (โบรชัวร) - ความสําคัญ ออกเสียงวา “อิมพอรตเทิน่ ซ” คําคุณศัพท (adjective) คือ important (อิมพอรตเทิน่ ท) Ex. Everyone realizes the importance of education. (ทุกคนตระหนักดีถงึ ความสําคัญของการศึกษา) และ Education is an important factor in the improvement of health standards. (การศึกษาเปนปจจัยสําคัญในการปรับปรุงมาตรฐานสุขอนามัย)


- ความเชื่อใจในความดี ความซื่อสัตยของคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (a strong belief in the goodness or honesty of someone or something.) Ex. You shouldn’t put your trust in a man like that. (คุณไมควรใหความไววางใจคนอยางนัน้ นะ) และ trust ใชเปนคํากริยาได Ex. We can trust him to look after our house. (เราเชื่อใจเขาไดที่จะใหดูแลบานเรา) หรือ I trust his judgement completely. (ฉันเชื่อใจในการตัดสินใจของเขาทัง้ หมด) ‘d better (had better) - เปนกริยาชวย (modal verb) แปลวา “ควรจะ” เหมือนกับ should และ ought to probably (adv.) - อาจจะเกิดขึ้น (likely to happen) to lose - ทําหาย (cannot find sth) Ex. Demi lost three cell phones last year. (เดมีทํามือถือหายไป ๓ เครื่อง เมื่อปที่แลว) ความหมายอื่น ๆ ไดแก เสียไป (stop having sth) Ex. Jim doesn’t want to lose his job. (จิมไมอยากเสียงานของเขาไป) และ แพ (not win, defeat) Ex. Our football team always loses. (ทีมฟุตบอลของเรามักจะแพเสมอ) trust (n.)

THE BORN LOSER

ภาพ 1 - คุณไดเจอเรื่องที่เกี่ยวของกับความเครียดบางมัย้ ? ภาพ 2 - ในชวงนี้ของป ความเครียดจะเพิ่มขึน้ อยางเร็วได ถาคุณไมระมัดระวัง ภาพ 3 - เพิ่มขึน้ เร็วเหรอ ? มันรูสกึ ราวกับวามนุษยหมิ ะทัง้ ตัวมาทับผมอยูน ะ ครับ


to experience - พบ, เจอเหตุการณ (a situation happens to you) related (adj.) - ที่เกีย่ วของ มักใชประกอบกับคํานาม หมายความวา เกีย่ วของกับเรื่องนัน้ ๆ เชน drug-related (เกี่ยวกับยาเสพติด) หรือ women-related (เกี่ยวกับผูห ญิง) เปนตน issues (n.) - เรื่องราว, ปญหา (a subject or problem) snowball (v.) - เพิ่มขึน้ , ใหญขึ้นอยางรวดเร็ว (to grow bigger at a faster rate) มักใชกับแผนงาน, ปญหา, ธุรกิจ และความสนใจ เปนตน to feel like - รูสึกเหมือนวาไดพบเหตุการณหนึ่ง ซึ่งอาจเปนความรูสกึ ทางกายหรืออารมณ (to experience a particular physical feeling or emotion) Ex. It feels like rain. (รูสึกเหมือนวาฝนตกนะ) และสํานวนนารูอีกสํานวนหนึง่ คือ to feel like (doing) something แปลวา ตองการทําสิง่ หนึ่ง (to want to do sth) Ex. I feel like (having) a drink. (ฉันอยากดื่มอะไรสักอยาง) entire (adj.) - ทั้งหมด (whole) ใชนําหนาคํานามเทานัน้ Ex. The entire family has gone to Pai. (เขาไปเที่ยวปายกันทั้งครอบครัว) snowman (n.) - มนุษยหมิ ะ ซึ่งเด็ก ๆ ชอบใชหิมะปน เลนกันในฤดูหนาว Healthy รวบรวม

Give a man fish and he will eat for a day. Teach a man to fish and he will eat for the rest of his life.

ใหปลาหนึ่งตัวเขากินไดหนึ่งวัน สอนเขาตกปลาเขากินไดตลอดชีวิต Compiled by Dr.Viphandh Roengpithya Asian University


มุมกฎหมาย

น.ท.พงศธร สัตยเจริญ เมื่อเจามรดกถึงแกความตายและมีทรัพยสิน ที่ตกทอดแกทายาท ไมวาจะเปนทายาทโดยธรรม หรือทายาทโดยพินัยกรรมก็ตาม ทรัพยสินบางอยาง จํ า ต อ งมี ก ารจดทะเบี ย นการได ม า ตั ว อย า งเช น โฉนดที่ดิน หนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส.๓) ทะเบี ย นอาวุ ธ ป น ทะเบี ย นรถยนต ทะเบี ย น รถจักรยานยนต มิฉะนั้น สิทธิของผูไดมาจะมีการ เปลี่ ย นแปลงทางทะเบี ย นไม ไ ด เจ า พนั ก งานจะ ไม ดํ า เนิ น การเปลี่ย นแปลงทางทะเบี ย นเกี่ ยวกั บ ทรั พ ย สิ น เหล า นั้ น ให หากไม มี ก ารยื่ น คํ า ร องขอ ใหศาลมีคําสั่งตั้งผูจัดการมรดกเสียกอน แต อ ย า งไรก็ ต าม กฎหมายได ใ ห อํ า นาจ พนักงานเจาหนาที่ สามารถจดทะเบียนโอนมรดก ไดโดยไมจําเปนตองขอใหศาลมีคําสั่งตั้งผูจัดการ มรดกก อ น เช น การรั บ โอนมรดกตามประมวล กฎหมายที่ ดิน หากทายาทโดยธรรมทุ ก คนตกลง ยินยอมกันได ก็สามารถดําเนินการได แตถาไมสามารถ ตกลงกันได ก็จําตองรองขอตั้งผูจัดการมรดกกอน

หน.ผสตท.กนธ.สธน.ทอ. เหตุในการยื่น เมื่อเจามรดกถึงแกความตาย ซึ่งไดแก ความตายโดยธรรมชาติ กับตายโดยผล ของกฎหมาย (เปนกรณีที่ศาลมีคําสั่งใหบุคคลนั้น เปนบุคคลสาบสูญ) ทายาทตองรองขอตั้งผูจัดการ มรดกภายใน ๑ ป นับแตเจามรดกถึงแกความตาย บุคคลตอไปนี้จะเปนผูจัดการมรดกไมได (๑) ผูซึ่งยังไมบรรลุนิติภาวะ (๒) บุคคลวิกลจริตหรือบุคคลซึ่งศาลสั่งให เปนผูเสมือนไรความสามารถ (๓) บุคคลซึ่งศาลสั่งใหเปนคนลมละลาย เขตอํ า นาจศาล ในการยื่ น คํ า ร อ งขอให ศาลมี คํา สั่ง ตั้งเปนผูจัดการมรดก ถือเป นคดีไมมี ขอพิพาท คํารองขอใหศาลตั้งผูจัดการมรดกตองยื่น ตอศาลที่เจามรดกมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลในขณะ ถึงแกความตาย ในกรณีที่เจามรดกไมมีภูมิลําเนา ในราชอาณาจักร ใหยื่นตอศาลที่ทรัพยมรดกตั้งอยู ในเขตศาลพรอมเอกสารที่เกี่ยวของ(ตองนําไปยื่น ในการรองขอใหศาลตั้งผูจัดการมรดกดวย)


การรับโอนมรดกตามประมวลกฎหมาย ที่ดิน ใหผูรับมรดกนําหลักฐานสําหรับที่ดินหรือ หนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน เชน โฉนดที่ดิน น.ส.๓ พรอมดวยหลักฐานในการรับมรดก เชน พินัยกรรม ใบมรณบั ต ร สู ติ บั ต ร สํ า เนาทะเบี ย นบ า น บั ต ร ประจํ า ตั ว ประชาชน ใบสํ า คั ญ การเปลี่ ย นชื่ อ นามสกุล(ถามี) ไปยื่นขอตอพนักงานเจาหนาที่ ในกรณีเปนผูรับมรดกตามพินัยกรรม ผูรับ ตองไปสํานักงานที่ดินเพื่อลงลายมือชื่อขอรับโอน มรดกดวยตนเอง แต ถาเป นกรณีโอนรับมรดกใน ฐานะทายาทโดยธรรมไมมีพินัยกรรม หากทายาท ธรรม

โดยธรรมทุ ก คนตกลงกั น ได และมี ค วามสะดวก สามารถที่ จ ะไปจดทะเบี ย นโอนรั บ มรดกได ด ว ย ตนเองแลว ก็ไมจํ าเปน ตองขอใหศาลตั้งผู จัดการ มรดกแต อ ย า งใด ทายาทสามารถยื่ น คํ า ร อ งต อ พนักงานเจาหนาที่ขอรับโอนมรดกที่ดิน โดยลงชื่อ ทายาทโดยธรรมผู มี สิ ท ธิ รั บ มรดกทุ ก คนลงใน โฉนดที่ ดิ น หากทายาทคนใดสละขอไม รั บ มรดก ในโฉนดที่ดิน ตองใหคํายินยอมตอพนักงานเจาหนาที่ วาไมประสงคจะขอรับโอนมรดก ทั้งนี้ทายาทโดยธรรมทุกคนจะตองไปพบ พนักงานเจาหนาที่ดวยตัวเองเพื่อใหความยินยอม และใหถอยคําตอพนักงานเจาหนาที่ดวย "

นายสติ รวบรวม

“ตัณหา” ที่มีปญหา คือ ความโลภ ความอยากที่เกินพอดี เหมือนทะเลไมเคยอิ่ม ดวยน้ํา ไฟไมเคยอิ่มดวยเชื้อ ธรรมชาติของตัณหา คือ “ยิ่งเติมยิ่งไมเต็ม” ทุกอยางตองดู คุณคาที่แท ไมใช คุณคาเทียม เชน คุณคาที่แทของนาฬิกา คืออะไร คือ ไวดูเวลา ไมใชมีไว ใสเพื่อความโกหรูคุณคาที่แทของโทรศัพทมือถือ คืออะไร คือไวสื่อสาร แตองคประกอบ อื่นๆ ที่เสริมมาไมใชคุณคาที่แทของโทรศัพท เราตองถามตัวเองวา “เกิดมาทําไม” คุณคา ที่แทจริง ของการเกิ ดมาเป นมนุษ ยอ ยู ต รงไหน ตามหา “แกน” ของชี วิ ต ให เจอ คํา ว า “พอดี” คือ ถา “พอ” แลวจะ “ดี” รูจัก “พอ” จะมีชีวิตอยางมีความสุข... ธรรมะจาก ทาน ว.วชิรเมธี


ว.วรธงไชย

“อโรคยา ปรมาลาภา” ความไมมโี รค เปนลาภอันประเสริฐ เปนคํากลาวที่มีคุณคาตอการ ดํ า เนิ น ชี วิ ต ในป จ จุ บั น ที่ มี ค วามเสี่ ย งของการ เกิดโรคเปนอยางมาก สภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกของ มนุษยชาติในปจจุบัน มีความเสี่ยงตอการเกิดการ แปรปรวนของสารเคมีภายในร างกายของมนุษ ย เราทุ ก คน ซึ่ ง ส ว นใหญ ข องความแปรปรวนนั้ น มักทําใหเกิดโรคหรืออาการของโรคที่คอนขางแปลก และรักษาไดยากขึ้น ถึงแมจะมีความเจริญกาวหนา ทางการแพทยมากเพี ยงใดก็ต าม ดัง นั้ นเพื่อเปน การปองกัน ซึ่งดีกวาการรักษายิ่งนัก ในการขจัด โรคภัยตาง ๆ ไมใหมาใกลตัวเรา โดยวิธีคืนสูสามัญ ของธรรมชาติ เป น การรั ก ษาแบบแพทย แ ผนจี น โดยท า นอาจารย น ายแพทย ภ าสกิ จ (วิ ท วั ส ) วั ณ นาวิ บู ล อาจารย แ พทย ผู เ ชี่ ย วชาญแพทย แผนจี น ซึ่ ง ได รั บ การยอมรั บ ว า ได ผ ลเกิ น ความ คาดหมาย เปนการปองกันและดูแลตัวเองอยางยั่งยืน ลองฝกทํากันดู ไมยากจริง ๆ

๑. หวีผมบอยๆ : ใหหวีผมเบา ๆ บอย ๆ ซึ่งจะชวยใหตาสวาง และรากผมแข็งแรง(ใชหวีซี่หาง ๆ แลวแปรงเบา ๆ เพื่อกันผมหลุดรวง)

๒. ถูใบหนาบอยๆ : ล า งมื อ ด ว ยสบู หรื อ เจลแอลกอฮอล ใ ห สะอาดกอน หลังจากนั้นใชฝามือ ๒ ขาง ถูลงบน ใบหนาเบา ๆ บอย ๆ เพื่อเปนการชวยกระตุนใหเลือด ไหลเวียนดีขึ้นทําใหใบหนาเปลงปลั่ง


๓. เคลื่อนไหวดวงตาบอยๆ : ใหมองไกล-มองใกล มองขางนอก-ขางใน มองบน-มองลาง หลีกเลี่ยงการมองหรือจองอะไร นาน ๆ โดยเฉพาะคนที่ ทํ า งานหนา คอมพิว เตอร ควรพักสายตาดวยการมองไกล ๆ อยางนอยทุกชั่วโมง ๔. กระตุนใบหูบอยๆ : การดึงหู ดีดหู บีบหู ถูใบหูเบา ๆ บอย ๆ หนอย ชวยบํารุงตานเถียน (จุดฝงเข็ม)ซึ่งเปนตําแหนงที่ เก็บพลังงานของรางกาย (ใตสะดือ) สัมพันธกับไต ซึ่งการเปดทวารที่หูทําใหเกิดแรงดี ปองกันเสียงดัง ในหู หูตึง และอาการเวียนหัว ๕. ขบฟนบอยๆ : ขบฟนเบา ๆ บอย ๆ (ไมใชขบแรงดังกรอดๆ) เปนการชวยใหฟนแข็งแรงและยังชวยกระตุนการ หลั่งของน้ํายอย ๖. ใชลิ้นดุนเพดานปากบอยๆ: การใชปลายลิ้นกระตุน เพดานบนดานหนา คือเปนการกระตุนจุดฝงเข็มเพื่อเชื่อมพลังลมปราณ ตู และเยิ่ น ซึ่ ง เป น เส น ควบคุ ม แนวกลางลํ า ตั ว สวนหลังและสวนหนารางกาย จะชวยทําใหเกิดการ กระตุนการหลั่งสารน้ํา และน้ําลาย

ใหถายทันที อยารอโดยไมจําเปน การทิ้งของเสียไว ในรางกายนานเกินทําใหเกิดสารพิษ และการดูดซึม สารพิษ (กลับเขาสูรางกาย) มากขึ้น ทําใหปวยงายขึ้น

๙. ถูหรือนวดทองบอยๆ : ใหนวดทองตามเข็มนาฬิกาเบา ๆ เพื่อชวย ใหการขับถายของเสียดีขึ้น ๑๐. ขมิบกนบอยๆ : การขมิบกนบอยๆ ชวยปองกันริดสีดวงทวาร และทองผูก ๑๑. เคลื่อนไหวทุกขอ : การอยูนิ่งๆ หรืออยูในทาใดทาหนึ่งนานเกินไป ทําใหเกิดโรคไดงาย ควรเคลื่อนไหวขอตางๆ ใหครบ ทุก ข อ ทุก วั น และ ฝ ก ฝนการใช ก ล า มเนื้ อ และข อ ใหสมดุล เชน การฝกชี่กง ไทเกก โยคะ ฯลฯ

7. กลืนน้ําลายบอยๆ : การกลื น น้ํ า ลายบอ ย ๆ ช ว ยกระตุน พลั ง บริเวณคอหอย และกระตุนการยอยอาหาร ๘. หมั่นขับของเสีย : หมั่ น ขั บ ของเสี ย โดยเฉพาะดื่ ม น้ํ า ให พ อ รับประทานอาหารที่มีเสนใย และหมั่นออกกําลังกาย เพื่อปองกันทองผูก เมื่อปวดปสสาวะ หรืออุจจาระ

๑๒. ถูผิวหนังบอยๆ : ใช ฝ า มื อ ถู ต ามส ว นต า ง ๆ ของร า งกาย คลายกับการถูตัวเวลาอาบน้ํามีสวนชวยใหเลือด และพลังไหลเวียนดี """


พล.อ.อ.เดชา หันหาบุญ

สวั ส ดี ป ใ หม ค รับ ท า นผู อ า นที่ รัก กลั บ มา ตามคําเรียกรองของแฟน ๆ ที่รักการทองเที่ยว หลังจาก จบเรื่องตะลุยยุโรป ไปแลวเมื่อกลางปที่แลว ทาง บก.ขาวทหารอากาศ ขอใหเขียนตอแตก็ไมมีเวลา สักที ทั้งงานหลวง งานราษฎร งานเรียน งานสอน มั น ยุ ง ไปหมดจนตั ว เป น เกลี ย ว.....หั ว เป น นอต คราวกอนไปยุโรปสามประเทศ ออสเตรีย สกอตแลนด และอังกฤษ พักผอนไปเที่ยวสวนตัวใหรางวัลกับชีวิต บาง ขณะที่ยังมีกําลังเดินไหวไมตองใหใครอุมใครจูง ไปยุ โ รปตอนเดื อ นมกราคม อากาศหนาวจั บ ใจ ได อ ารมณ ม ากติ ด ลบ ๑๐ องศาเซลเซี ย ส หิ ม ะ ตกหนักจนสนามบินปดไปสามสี่วันกลับมากรุงเทพฯ แทบไม ไ ด ใครชอบอากาศหนาวชนิ ด ที่ นั่ ง ฉี่ ยั ง หงายท อ งละก อ เชิ ญ เลยครั บ แต จ ะให ส บาย ๆ ไมหนาวเขากระดูกตองไปเดือนพฤษภาคม จึงจะ เข า ท า เข า ทางหน อ ยอย า งเช น คราวนี้ ที่ จ ะเล า สู กันฟง กลาวนํากันกอนจะไดรูวาไปไหนมาบาง จะได เรียกน้ํ ายอยคอย ๆ ติดตามกันตอไป ใหชื่อเรื่ องวา สามแผนดิน เพราะไปสวิตเซอรแลนด ฝรั่งเศส และ อังกฤษ แตไมไดเดินทางแบบลงเครื่องบินที่เมืองหลวง

แตละประเทศแลวเที่ยวแตในเมืองเทานั้นนะครับ ไปกั น แบบนั ก เดิ น ทางมื อ อาชี พ ที่ ว างแผนการ เดินทางอยางดีเป น เดือน ๆ ทั้งเสน ทางบิน รถไฟ เรือ จองตั๋วเครื่องบิน ยูโรพาส สวิสพาส ลวงหนา เล า เส น ทางการเดิ น ทางก อ นเริ่ ม จากนั่ ง เครื่องบินจากกรุงเทพฯ ไปลงซูริค ตอรถไฟไปนอน ที่ เ มื อ งลู เ ซิ ร น ๒ คื น แล ว ก็ นั่ ง รถไฟไปที่ เ มื อ ง อินเทอรลาเกน ทองเที่ยวพักอีก ๒ คืน นั่งรถไฟไปที่ เมืองโลซาน พัก ๑ คืน วันรุงขึ้นนั่งรถไฟไปเมืองเจนีวา เพื่อขึ้นเครื่องบินไปทาอากาศยานชารล เดอ โกล กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส พักทําธุระและทองเที่ยว สามสี่วัน แลวนั่งรถไฟระหวางประเทศมุดทะเลจาก ฝรั่งเศสไปโผลฝงประเทศอังกฤษ ไมไดนั่งเครื่องบิน ขามชองแคบหรือนั่งเรือขามเหมือนคนอื่นเขาหรอก เพราะเมื่อหลายปกอนขามจากฝงอังกฤษโดยขาม เรือฮู เวอรค ารฟ จากเมืองโดเวอรไปขึ้น ฝง ที่เมือง คาเลย ประเทศฝรั่งเศส แลวนั่งรถไฟเขากรุงปารีส กลับมาถึงตอนที่นั่งรถไฟเขาไปสูกลางกรุงลอนดอน พั ก โรงแรมห า ดาวใกล ๆ พระราชวั ง บั๊ ก กิ้ ง แฮม ทํา ธุระและทอ งเที่ย วจนเต็ม ที่ ก็ นั่งเครื่อ งบิน กลับ


กรุงเทพฯ จะนั่งเรือกลับก็เกรงวาเขาจะไลออกจาก งานเสียกอน..เปนอยางไรบางครับ..ใคร ๆ ก็ไปยุโรป ได แตลุยแบบผูเขียนหรือเปลาเทานั้น ติดตามกันเลย ครับทาน แอรบัส ๓๔๐-๖๐๐ การบินไทย เที่ยวบิน ที่ ๙๗๐ ออกจากท าอากาศยานสุ วรรณภู มิ เวลา ๐๐.๓๐ น. ของคืนวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓ แต ถานับเวลาสากลก็เปนเชาวันที่ ๒๕ พฤษภาคม แลว ตองดูเวลาในบัตรโดยสารใหดีนะครับ เขาใช ๐๐.๓๐ a.m. หรือยอมาจาก ante–meridiam แตเวลาผูเขียน สอนลูกศิษยที่เรียนธุรกิจการบินก็จะบอกใหจํางาย ๆ วา After Midnight จะไดไมพลาดเวลา คราวนี้สบาย หนอยเพราะนั่งชั้นธุรกิจ ที่เกาอี้กวางใหญแบบโซฟาร อยางดี ปรับเอนนอนระนาบแบบเตียงได ตางกับ ชั้นประหยัดที่เกาอี้คับแคบเหมือนนั่งรถทัวร เสียคา เครื่องบินแพงหนอยแตก็แลกกับความสะดวกสบาย เครื่องแอรบัส ๓๔๐ เปนเครื่องบินรุนใหมสี่เครื่องยนต ที่พัฒนาใหมีระบบที่ดี มีความปลอดภัยในการเดินทาง ขามมหาสมุทรไกล ๆ เครื่องยนตเงียบ กินน้ํามันนอย บรรทุกผูโดยสารไดประมาณ ๓๐๐ คน ขนาดเครื่องบิน ก็พ อ ๆ กับ MD-11 หรื อ DC3-10 ที่ เลิ กใชไปแลว สภาพอากาศในเดือนพฤษภาคม คอนขางดีมาก ทองฟา แจมใส ไมมี ฝนตกหรือพายุฝนฟาคะนอง ใหเครื่องบินตองเขาสภาพอากาศจนตองนั่งรัดเข็มขัด กันเปนชวง ๆ เครื่องบินไตระดับไปบินที่ความสูง ประมาณ ๓๔,๐๐๐ ฟุ ต หรื อ ประมาณเกื อ บ ๑๒ กิโลเมตรเหนือพื้นดิน อุณหภูมิภายนอกติดลบ เกือบ ๕๐ องศาเซลเซียส ลมสวนทิศทางบินไมแรง มาก ความเร็วบินเดินทางขามประเทศก็ประมาณ

.๘๖ มัคหรือ ๙๒๐ กิโลเมตรตอชั่วโมงโดยประมาณ ตามกฎการบิน สากล ที่ บรรยายมานี่ดู จ ากจอที วี ขางหนานะครับ..ไมไดโผลหัวออกไปนอกหนาตาง แบบนั่ ง รถไฟกรุ ง เทพฯ-อยุ ธ ยา จะได ซื้ อ ถั่ ว ต ม ตอนรถไฟจอดสถานีได เครื่องบินบินระดับไดสักครู นักบิน ก็กลาวทักทายกับผูโดยสารเปนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ แนะนําตัวเองแลวก็บอกรายละเอียด อื่น ๆ วา สภาพอากาศในเสนทางบินเปนอยางไร บินในเสนทางผานประเทศอะไรขางลางบางและ จะใชเวลาบินกี่ชั่วโมง ถึงสนามบินปลายทางกี่โมง ขณะที่แอรโฮสเตส และสจวต ก็แจกรายการอาหาร ใหเลือกพรอมกับเสิรฟเครื่องดื่ม ของขบเคี้ยวแกงวง นอน ระหวางรออาหาร แอรโฮสเตสและสจวต เที่ยวบินนี้ดูเปนสาว หนุ ม แรกรุ น ไม ใ ช รุ น แรกเหมื อ นเที่ ย วบิ น ก อ น ๆ ที่ พ บมา แต ต ามปกติ ใ ช ที่ นั่ ง ชั้ น เฟ ร ส คลาสและ ชั้นธุรกิจ จะใชแอรโฮสเตสและสจวต ที่มีประสบการณ ทํางานมานานหาถึงสิบปเนนการบริการที่เปนเลิศ มากกวาความสวยหลอในวัยอายุนอย ๆ ที่เพิ่งเขามา ทํางาน ที่สําคัญการบินไทย ติดอันดับตน ๆ เรือ่ งอาหาร และการบริการ รวมทั้งหองวีไอพีสําหรับผูโดยสารที่ สนามบินตาง ๆ ถาดอาหารสีเทา ปูดวยผาขาวสะอาด สะอาน ขนมปงกรอบ ๆ สองกอนถูกวางไวในจาน เล็ ก ๆ พร อ มเนยก อ นขนาดน า รั ก ช อ น ส อ ม มี ด ช อ นขนม ช อ นกาแฟ ห อ ด ว ยผ า ขาวสะอาดรั ด ด ว ยแถบสี ม ว งสั ญ ลั ก ษณ ก ารบิ น ไทย โยเกิ ร ต ผลไม ป อกเปลื อ กเรี ย บร อ ยหั่ น พร อ มรั บ ประทาน มีสับปะรด องุน แก วมังกร และลูกกี วี่ สดสะอาด นารับประทานมาก แกวกาแฟขาวสะอาดจัดวางไว


มุมถาดรอการเสิรฟของพนักงาน กลิ่นอาหารหอม กรุน ลอยมาเขาจมูกเรียกน้ํายอยใหอยากเกิดอาการ หิวขึ้นมายามดึก ไมนานเกินรอรถเข็นอาหารก็มา ใหบริการแกผูโดยสาร ผูเขียนเลือกขาวหมูอบขณะที่ อี ก รายการหนึ่ ง คื อ สปาเกตตี ซี ฟู ด แอร โ ฮสเตส อีกสาวหนึ่งเสิรฟเครื่องดื่มที่มีสารพัดรายการราวกับ บารเคลื่อนที่ ทั้งไวนขาว ไวนแดง วิสกี้ชั้นดีหลากหลาย ยี่หอ นาเสียดายที่ผูเขียนดื่มไมเปนจึงขอเพียงโคก หนึ่ ง กระป อ งพร อ มน้ํ า แข็ ง และกาแฟร อ นและ ชาร อ นที่ แ อร โ ฮสเตสอี ก สาวหนึ่ ง ตามมาเสิ ร ฟ ผูโดยสารทุกคนมีความสุขกับการรับประทานอาหาร มื้อดึกที่ไมรูวาจะไปยอยกันตอนไหน A-340 TG970

เส น ทางบิ น ตรงไปท า อากาศยานซู ริ ค ใชเวลาประมาณ ๑๐ ชั่วโมง ๔๐ นาที โดยบินไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผานทางเหนือของบังคลาเทศ อินเดีย และหลายประเทศของอดีตสหภาพโซเวียต ภูมิประเทศเปน ปาเขาและเขตชุมชนเมือ งตา ง ๆ แทบไม ผ า นทะเลหรื อ มหาสมุ ท รเหมื อ นบิ น ไป สหรั ฐ อเมริ ก า ที่ ต อ งบิ น ข า มมหาสมุ ท รแปซิ ฟ ค นานนับสิบชั่วโมง เวลาผานไปประมาณชั่วโมงครึ่ง ที่น าจะพนเขตประเทศไทยแล ว ผูโดยสารทุกคน

รับประทานอาหารเสร็จเรียบรอยขณะที่แอรโฮสเตส และสจวต เก็บภาชนะตาง ๆ เรียบรอย ไฟในหอง โดยสารถู ก ป ด ลงจนเหลื อ เพี ย งแสงสว า งเพี ย ง มองเห็น ทางเดิ น เทา นั้น ที่ นั่ง ชั้น ธุ รกิ จถูก จั ดเรีย ง ริ ม หน า ต า งด า นซ า ยและขวาของเครื่ อ งบิ น เพี ย ง ฝ ง ละสองที่ นั่ ง ส ว นแถวกลางก็ มี เ พี ย งสองที่ นั่ ง เชนเดียวกันจึงสะดวกในการลุกขึ้นไปหองน้ํา ตางกับ เครื่ อ งแบบโบอิ้ ง ๗๔๗ หรื อ จั ม โบ ชั้ น ประหยั ด ที่ สองฝง ขางละสามที่นั่ง สวนแถวกลางมีถึงสี่ที่ นั่ง ทําใหจะลุกขึ้นไปเดินยืดเสนยืดสายหรือเขาหองน้ํา แสนจะลําบาก ผูโดยสารบางคน เลือกที่จะดูภาพยนตร ที่มีหลากหลายใหเลือกเองบนจอขนาดใหญประมาณ ๑๒ นิ้ว ที่ดึงพับปรับมุมไดเองตามตองการ ไมไดติด เอาไวที่พนักพิงของเกาอี้ผูโดยสารคนหนา ใหเสีย อารมณเวลาปรับพนักพิง หลายคนอานหนังสือดวย การเปดไฟสองเฉพาะตัว แตสําหรับผูเขียนเองเลือก ที่จะเดินไปแปรงฟนใหสุขภาพปากสะอาด เปลี่ยน ชุดนอนและรองเทา ใหส บาย ๆ แล ว กลั บ มานอน พักผอนบนเกาอี้ที่ปรับเหยียดเหมือนเตียงขนาดเล็ก กระชับตัว หนุนหมอนใบนอย ๆ สองใบ แถมดวย ผ า ห ม สี แ ดงสดที่ ค ลุ ม ได ต ลอดทั้ ง ตั ว แสนสบาย ราวกับนอนอยูที่บาน ทําใหการเดินทางที่แสนยาวนาน ไมนาเบื่ออีกตอไป เวลา ๐๖.๐๐ น. ไฟในหองโดยสารถูกเปด สวางขึ้นมาอีกครั้งเปนการปลุกผูโดยสารใหตื่นขึ้นมา ทํา ธุ ร ะส ว นตั ว หมุ น เวี ย นกั น เขา ห อ งน้ํ า ลา งหน า แปรงฟนและเปลี่ยนชุดใหดูสุภาพขึ้นหลังจากนอน พักผอนกันตามสภาพนานเกือบสิบชั่วโมง กําหนดที่ เครื่องจะเดินทางถึงสนามบินซูริคคือ ๐๗.๓๕ น.


ตามเวลาทองถิ่นซึ่งชากวาเวลาที่กรุงเทพฯ ๖ ชั่วโมง ตาม GMT หรือ Greenwich Mean Time จะอธิบาย กันก็คงยาว เอางาย ๆ เปนวาเสนกําหนดเวลามาตรฐาน คือเสนแวงที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต ผานเมือง Greenwich ที่อยูในประเทศอังกฤษ แลว ก็จะมีเ สนแวงแบบนี้ลากแบ งโลกกลม ๆ ใบนี้จน รอบโลกครบ ๓๖๐ องศาเหมือนกลีบผลสมเขียวหวาน ที่ปอกเปลือกออกแลว ประเทศที่เสนแวงเดียวกัน ลากผานก็จะเปนเวลาเดียวกันหมด ประเทศที่อยู ซี ก โลกตะวั น ออกเวลาก็ จ ะเร็ ว ขึ้ น ประเทศที่ อ ยู ไปทางซีกโลกตะวันตกเวลาก็จะชากวา จะใหเขาใจ งายๆไปรานเครื่องเขียนซื้อลูกโลกจําลองมานั่งหมุน ดูก็แลวกัน อยาปวดหัวตอนเชาเลยครับ กินอาหารเชา บนเครื่องบินกันอีกมื้อดีกวา ผูเขียนเลือกรายการ อาหารแบบฝรั่ ง เพราะไม มี ข า วต ม เครื่ อ งหรื อ ต ม เลื อ ดหมู อ ยู แ ล ว กาแฟร อ น โยเกิ ร ต ขนมป ง ออมลิท ไสกรอก แฮม และเครื่องดื่มเบา ๆ ก็เพียงพอ สําหรับอาหารเชาบนเครื่องบินที่อยูบนฟาสูงกวา พื้นดินเกือบ ๑๒ กิโลเมตร แอรโอสเตสสาวสวย ช ว ยกั น เก็ บ ถาดอาหารพร อ มกั บ เสิ ร ฟ ผ า อุ น ให เช็ ด หน า นวดตี น กาให ห ลบออกไปเมื่ อ แสงสว า ง สาดสองผานมาทางหนาตางเครื่องบิน ทัศนวิสัย ในการบิ น ดี ม ากมองเห็ น ไกลสุ ด ขอบฟ า ท อ งฟ า สี ค รามสดใสมี ก ลุ ม ปุ ย เมฆบาง ๆ ลอยผ า นเป น ระยะ ๆ เบื้องลางเปนเทือกเขาไลเรียงกันเปนระยะ เหมื อ นระลอกคลื่ น ในทะเล ยอดเขาสู ง ที่ ค ะเน ดู แ ล ว คงมี ค วามสู ง ไม ต่ํ า กว า สามพั น ฟุ ต จนถึ ง หนึ่ ง หมื่ น ฟุ ต นั บ ร อ ยนั บ พั น ยอดเขาปกคลุ ม ด ว ย หิมะขาวโพลนสลับสีน้ําตาลปนเขียวสําหรับพื้นที่

ป า เขาที่ หิ ม ะละลายไปบ า งแล ว ที่ ร ะดั บ ต่ํ า ใกล พื้นดิน ถนนและลําน้ําคดเคี้ยวที่ไหลลัดเลาะตาม ร อ งเขาผ า นเมื อ งและพื้ น ที่ ชุ ม ชนมองเห็ น เป น เส น ทางเล็ ก ๆ ภู มิ ป ระเทศแบบนี้ ค งเป น เกราะ ปองกันอยางดีจากการถูกรุกรานไมวาจะเกิดสงคราม มาแลวกี่ครั้งในอดีตจนไดชื่อวา สวิตเซอรแลนดเปน ประเทศเปนกลางมาโดยตลอด นักบินนําเครื่องบินลดระยะสูงลงไปเรื่อย ๆ เขาสูสนามบินโดยไมตองบินวนรอหรือตอวงจรแบบ สนามบิ น ในเมื อ งใหญ ทั่ ว ไป มองลงไปเบื้ อ งล า ง เห็นเมืองซูริค ที่ตั้งอยูในพื้นที่ราบเขียวขจี ตึกราม บานชองไมหนาแนนจนเกินไปนัก มีเนินเขาเตี้ย ๆ อยูหางออกไป เสนทางคมนาคมเห็นถนนเสนหลัก พาดผานอยางเปนระเบียบดวยการจัดวางผังเมืองที่ดี เฉพาะในบริเวณใกลตัวเมืองจึงมีถนนยกระดับเพื่อ อํานวยความสะดวกในเสนทางเปนชวง ๆ เทาที่จําเปน นักบินนําเครื่องรอนลงสูทางวิ่งที่ทอดตัวเกือบตาม แนวทิศเหนือใต ผูเขียนมองเห็นเลขทางวิ่งที่รอนลง คือ ทางวิ่ง ๓๔ หมายถึงเครื่องบินรอนลงจากทิศใตไป ทิศเหนือ ประกอบกับแสงแดดที่สาดสองทางดานขวา ทํ า ให ม องเห็ น เงาเครื่ อ งบิ น ทาบผ า นลงบนพื้ น ขางทางวิ่งอยางเดนชัด มีความรูสึกเหมือนเครื่องบิน กํ า ลั ง ลงสนามที่ ส นามบิ น หั ว หิ น หรื อ สนามบิ น กองบิน ๕๓ ที่ประจวบคีรีขันธ จากภูมิทัศนโดยรอบ สภาพทางวิ่ง ทางขับและลานจอด ตางกับสนามบิน ระหวางประเทศทั่ว ๆ ไปไมวาทาอากาศยานดูลเลส ในกรุงวอชิงตันดีซี ทาอากาศยานซานฟรานซิสโก ในมลรัฐเวอรจิเนีย ทาอากาศยานจอหน เอฟ เคเนดี้ ในนครนิวยอรค หรือทาอากาศยานฮีทโทรว ในกรุง


ลอนดอน พอแล ว ครั บ ยกตั ว อย า งมากไปเดี๋ ย ว จะหาวาไปเที่ยวมาเยอะเหลือเกิน..ขี้คุยวาอยางนั้น เถอะ..มันไมมีความจอแจของความเปนทาอากาศยาน ในเมืองธุรกิจเอาเสียเลย เครื่องบินขับเคลื่อนผาน ทางขับที่มีลานจอดเครื่องบินเปนชวง ๆ ที่สรางแบบ เรี ย บง า ยเหมื อ นกั บ เพิ ง หมาแหงนหรื อ ที่ จ อดรถ ตามรานอาหารแถว ๆ ถนนเลียบทางดวนรามอินทรา มีเสาไฟสูง ๆ สี่หาตน ที่ติดไฟสองสวางเหมือนขาง สนามฟุ ต บอล จอดเครื่ อ งเรี ย งกั น ได สี่ ห า เครื่ อ ง ในลานจอด เป น เครื่ อ งขนาด โบอิ้ ง ๗๓๗ หรื อ แอรบัส ๓๒๐ ที่บรรทุกผูโดยสารไดสัก ๑๕๐ คน เขาสู อาคารผู โ ดยสารขาเข า แบบสองชั้ น ที่ มี ค วามสู ง ไมม ากนัก มี ลานจอดสําหรั บเครื่อ งบิ น ที่ส ามารถ เทียบจอดเครื่องบินไดหลายเครื่อง สะพานเทียบ เครื่องบินที่เราชอบเรียกกันวา “งวง” เพราะมีลอเลื่อน ดานลางใหปรับเทียบตรงพอดีประตูหนาดานซาย ของเครื่องบินไดเหมือนงวงชางที่หมุนไดเกือบรอบ เพื่อรอรับอาหารที่คนสงให แตสะพานเทียบเครื่องบิน นี้ ภาษาอังกฤษเขาเรียกวา Aero-brigde แตที่ ทา อากาศยานซู ริคนี้แปลกตรงที่ เ ป น รู ปสี่เ หลี่ย ม มองเห็ น โครงเหล็ ก แต หุ ม ห อ ด ว ยกระจกโปร ง ใส มองเห็นคนเดินผานไปมาไดชัดเจน มองไกล ๆ เหมือน สะพานลอยขามถนนหนาศูนยการคาขนาดใหญ ในกรุงเทพฯ เจาหนาที่สุภาพสตรีในชุดเสื้อสีขาว กางเกงสีดํายืนอยูในสะพานเทียบเครื่องบิน ทาทาง ทะมั ด ทะแมงแข็ ง แรงราวกั บ ชายอกสามศอก พอเที ย บเรี ย บร อ ยผู โ ดยสารก็ ท ะยอยออกจาก เครื่ อ งเดิ น ไปตามทางเดิ น เพื่ อ รอรั บ กระเป า และ ไปผานกรรมวิธีตรวจคนเขาเมือง ระหวางทางที่เดินไป

มีประตูที่เปดออกไปสูระเบียงพื้นที่สูบบุหรี่ ผูเขียน ก็เลยเดินออกไปสํารวจและสูบบุห รี่เ สียหนึ่ ง มวน เพราะรี บ เดิ น ไปก็ ต อ งรอกระเป า อี ก นานกว า จะ ขนลงจากเครื่อ งลํา เลีย งไปสู ส ายพานยัง พื้น ที่รั บ กระเปา อากาศเย็นสบายมากควันบุหรี่ที่หลายคน สูบก็ลอยออกไปสูภายนอกอาคารไมเ หมือ นหอง สูบบุหรี่ที่สนามบินทั่วไปที่จัดไวในอาคารผูโดยสาร เปนหองเล็ก ๆ ปรับอากาศถึงแมจะมีที่ดูดอากาศ แตก็ไมสามารถชวยอะไรไดมากนัก เปดประตูเขาไป ยังไมทันจุดบุหรี่สูบก็สําลักควันหนามืดตามัว กลิ่นบุหรี่ ติดตัวออกมาหัวจรดหางทั้งเสื้อผา ถาสิงหอมควัน คนไหนเปนโรคก็ติดโรคมาดวยอยางแนนอน สนามบิน ในประเทศไทยนาจะเอามาเปนตัวอยางบางเพราะ อยางไรในโลกนี้ก็ยังหามคนสูบบุหรี่ไมได เดินทาง ดวยเครื่องบินไกล ๆ นานกวาสามชั่วโมงขึ้นไปคนที่ ติดบุหรี่ก็หงุดหงิดจะลงแดงเอาเหมือนกัน เห็นใจ คนที่ยังมีกรรมเลิกสูบบุหรี่ไมไดบางเถิดครับ ทาอากาศยานซูริค

ผานกรรมวิธีตรวจคนเขาเมืองที่ไมยุงยาก อะไรมากนัก อาจเปนเพราะผูเขียนถือพาสปอรตสีน้ําเงิน วีซาแบบเชงเกน ที่ยื่นขอที่สถานทูตฝรั่งเศสแหงเดียว แตเขาประเทศอื่น ๆ ในสหภาพยุโรปไดอีก ๑๕ ประเทศ


แตจริง ๆ ประเทศในสหภาพยุโรปมีจํานวน ๒๗ ประเทศ แตยังไมสามารถใชเงินสกุลยูโรไดทุกประเทศ และ บางประเทศตองยื่นขอวีซาแยกตางหาก เชน คราวนี้ ต อ งยื่ น ขอวี ซา เข า ประเทศอั ง กฤษ แยกต า งหาก แถมตองแลกเงิน “ปอนดสเตอริง” มาตางหากอีกดวย ยังโชคดีขอวีซาอังกฤษไดวันศุกรพอวันจันทรถัดไป สถานทูตอังกฤษก็ปดการทําการเพราะเหตุการณ ความไม ส งบแถวสี ล มที่ ข อคื น พื้ น ที่ กั น ใหวุ น วาย ตามมาดวยธนาคารก็ปดทําการตลอดสัปดาหนั้น แลกเงินก็แสนจะลําบากเนื่องจากบริษัทรับแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศไมวาจะอยูยานไหนแตแหลง เงินใหญลวนอยูยานธุรกิจสีลมทั้งนั้น เลยตางปด ประตูขังตัวเองขนเงินใสเซฟแอบมองและฟงเสียง เขายิงกันในยานนั้น ลากกระเปาเดินทางใบเดียว ออกพนอาคารผูโดยสารขาเขาออกมาสูภายนอก ที่ เ ชื่อ มต อ ระบบขนส ง มวลชนไม ว า จะเปน สถานี รถโดยสาร รถไฟทั้งบนดินและใตดินที่จะเดินทาง ตอไปที่ตาง ๆ ไดอยางสะดวก นอกอาคารผูโดยสาร ขาออกเปนพื้นที่โลงแตมีหลังคาคลุมลักษณะคลาย ตามสถานีรถไฟหรือรถโดยสารปรับอากาศทั่วไป แต มีรา นค า ที่จัดเป น ระเบี ย บเหมื อ นพื้ น ที่รา นค า ปลอดภาษีที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ผูเขียนเอา กระเปาวางไวใกลที่นั่งในรานกาแฟแหงหนึ่งที่จัด ระเบียบสะอาดตาราวกับในศูนยการคาชั้นนํา จากนั้น ก็ เ ดิ น สํ า รวจดู พื้ น ที่ ร ะหว า งรอเครื่ อ งดื่ ม ที่ สั่ ง มา กระตุ น ความสดชื่ น ให ร า งกายก อ นที่ จ ะเดิ น ทาง ธรรม

ดวยรถไฟไปยังเมืองลูเซิรน สถานีรถไฟที่เ รียกวา Bahn Railway ตองลงบันไดเลื่อนหรือลิฟทไปสู ชั้นลางซึ่งมีชองขายบัตรโดยสารและหองประชาสัมพันธ อยูติดกัน นั่งพักดื่มเครื่องดื่มหายเหนื่อยแลวจึงลง ลิฟทไปสูชั้นลางเพราะมีกระเปาเดินทางที่ตองลาก ไปดวย นําบัตร Swiss Pass ที่ซื้อมาจากกรุงเทพฯ ไป ประทับตราเริ่มใชงาน บัตรที่ซื้อมาจากบริษัทลอกซเลย ในกรุงเทพฯ เปนบัตรโดยสารรถไฟชั้นหนึ่งที่เลือก กําหนดอายุการใชงาน ๘ วัน เนื่องจากวางแผนทีจ่ ะ อยูในประเทศสวิตเซอรแลนด ๕ วัน กอนที่จะเดินทาง ไปฝรั่งเศส ที่วางแผนวาจะไปขึ้นเครื่องบินที่สนามบิน เจนี ว า แต ทั่ ว ไปจะเรี ย กว า เจเนฟ ตามตั ว เขี ย น ภาษาอังกฤษ “Geneve” เพื่อไมตองเดินทางยอนกลับ ไปที่สนามบินซูริคใหเสียเวลา ความจริงแลวเมืองหลวง ของสวิตเซอรแลนดคือ กรุงเบิรน Bern เราตองออก เสี ย งให ถู ก ต อ งไม ใ ช ก รุ ง บอร น คํ า ว า เบิ ร น ไม ไ ด หมายถึงเมืองที่ถูกไฟไหม แตมันแปลวา “หมี” .... แตกรุงเบิรน เปนเมืองหลวงเกาแกที่มีสนามบินเล็ก ๆ ไมใชชุมทางสําหรับการตอเครื่องบินระหวางประเทศ รถไฟขบวนที่ จ ะไปเมื อ งลู เ ซิ ร น จอดเที ย บรอที่ ชานชาลาและกําหนดจะออกเวลา ๐๘.๔๗ น. ใชเวลา เดินทางประมาณ ๑ ชั่วโมง ๑๕ นาที ตองเดินไปตู หัวขบวนซึ่งเปนชั้นหนึ่ง นํากระเปาวางในชั้นที่ซึ่ง จัดเตรียมไวใหและเลือกที่นั่งตามสบายเนื่องจาก ผูโดยสารในตูชั้นหนึ่งมีจํานวนไมมากนัก (อานตอตอนตอไป)


มีน

ให้หาคํามาเติมในช่องว่างทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยดูจากความหมายที่ให้มา แต่ละช่อง เติมได้ ๑ ตัวอักษร สระบน สระล่าง และวรรณยุกต์ ให้เติมไว้กับตัวอักษรช่องเดียวกัน ส่ว น สระหน้าและสระหลัง ให้แยกช่องต่างหาก (ฉบับนี้มีรางวัล)

ขอให้สมาชิกทายปริศนาอักษรไขว้ แล้วส่งคําตอบไปที่สํานักงานหนังสือข่าว ทอ. พร้อม เขียน ยศ – ชื่อ – สกุล หน่วยงาน และหมายเลขโทรศัพท์ ภายในวันที่ ๒๐ มี.ค.๕๔ ถ้ามีผู้ตอบ ถูกจํานวนมาก จะใช้วิธีจับฉลากรายชื่อ ๓ รางวัล และแจ้งผลการจับฉลากพร้อมเฉลย ในฉบับ เดือน พ.ค.๕๔


แนวตั้ง ๑. จระเข ๒. มังกร ๓. สวนราชการในราชการบริหารสวนกลาง รองจาก กระทรวงและทบวง ๔. นาย ผูบังคับบัญชา ผัว ๕. ตอนตนไมดี แตไปดีเอาตอนหลัง ๖. สวนในของดอกไม โดยมากเปนเสน ๆ ๗. บุคคลผูไมมีสวนเกี่ยวของหรือไมมีสวนเกี่ยวของ ๑๐. พูดแขวะ พูดชวนวิวาท ๑๒. เสียรู หลงกล (สํานวน) ๑๓. ทําตามที่ไดรับคําสั่งหรือคําขอรอง ๑๔. ปนกัน โดยปริยายหมายความวา ไมแสดงออกมา ๑๖. โลหะผสมชนิดหนึ่ง โดยเอาทองคํา ทองแดง กับเงิน ผสมกัน ๑๗. สวนของหนาตรงหวางคิ้ว ๑๙. ชื่อตนไมขนาดกลาง ผลกลม รสเปรี้ยวอมฝาด เมล็ดแข็ง ใชทํายาได ๒๑. ลูกกลมขนาดใหญ บรรจุแกสที่เบากวาอากาศ ทําใหลอยได ใชประโยชนในกิจการบางอยาง ๒๓. พนหรือเลยระดับที่เปยมอยูแลวจนไหลออกมา ๒๔. ชื่อไมลมลุกชนิดหนึ่ง ผลเปนฝก มีเมล็ดเล็ก ๆ สีขาวหรือดํา ใชประกอบอาหารหรือสกัดน้ํามัน ๒๗. นาง ๒๘. ความกลัว ๒๙. มีกลีบชั้นเดียว ไมซอน (ใชแกดอกไม) ๓๐. คอกสัตว ๓๓. คนตายแลว ๓๖. เอ็ดอึง (ใชแกเสียง) ๓๗. ที่ขังคน เรือนจํา ๓๘. ใหญ หลวง ๔๐. หญิงงาม ๔๑. ซัดไปดวยอาการยกแขนขึ้นสูงแลวเอี้ยวตัว

แนวนอน ๑. หมอ ชื่อกลุมดาวรูปหมอ ๓. ชื่อเพลงไทย ๒ ชั้น สมัยอยุธยา ใชกับบทโศก เชน ตอนรจนาคร่ําครวญนอยใจที่พระสังขไมชวยตีคลี ๖. ใชเรียกทองคําที่มีเกณฑสําหรับวัดความบริสุทธิ์ เปนกะรัตวา ทอง.... ทองนอกก็เรียก ๘. ปลากระบอก (ภาษาถิ่นปกษใต) ๙. ทิศตะวันตกเฉียงใต ๑๐. ขูดผมหรือขนดวยคมมีด ๑๑. ผูเตนรํา ผูแสดงละคร ๑๓. สรอยที่ถักเปนลายคชกริช ๑๕. เรียกพยางคที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกดวา แม....... ๑๗. สวนแหลม ๆ ที่งอกออกจากตนหรือกิ่งของไม บางชนิด ๑๘. หลักปกกันกระแสน้ํา ๑๙. สมณศั ก ดิ์ ที่ ใ ช นํ า หน า ชื่ อ ภิ ก ษุ ผู ที่ ส อบไล ไ ด ตั้งแตเปรียญธรรม ๓ ประโยคขึ้นไป ๒๐. ไมมาก ๒๒. พูดสอดขึ้นมาในเวลาที่เขากําลังพูดกันอยู ๒๕. รสอยางสะเดาหรือบอระเพ็ด ๒๖. อาการที่กลัว ตกใจ หรือรีบรอนจนทําอะไรไมถูก ๒๘. ภาพที่ปรากฏใหผิดไปจากความเปนจริง ๓๑. เทพผูเปนใหญประจํายมโลก ๓๒. แมน้ําใหญ ชื่อแมน้ําสายหนึ่งในอินเดีย ๓๔. พี่สาวของแม ๓๕. ลวงแลว ๓๗. จํานวนไพที่มีเหมือนกัน ๓ ใบ เรียกวา ไพ...... ๓๙. ประกอบ ๔๓. อาการที่คนเริ่มจะเปนไข หรือจวนจะหายแตยัง ไมหายดี ตัวยังรอนอยูนิดหนอย เรียกวา ตัว........ ๔๔. มีความทุกขยากลําบากเต็มที่


น.อ.เกษม พงษพันธ เนื่ อ งจากวั น ที่ ๑๘ กุ ม ภาพั น ธ ๒๕๕๔ ตรงกับวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาวันหนึ่ง คือ วั น มาฆบู ช า จึ ง ขอเสนอบทความนี้ เ พื่ อ เป น พุทธบูชา

มาฆบู ช า แปลว า การบู ช าในเดื อ น ๓ ซึ่งเปนเดือนทางจันทรคติ จุดมุงหมายเปนการบูชา ระลึกถึงพระคุณขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ที่ ท รงประทานหลั ก การในทางพระพุ ท ธศาสนา ๓ ประการ คือ การไมทําบาปทั้งปวง การทํากุศล

(ความดีที่ฉลาดทํา)ใหถึงพรอม และการทําจิตของตน ใหขาวรอบพรอมทั้งตรัสอุดมการณ ๔ ประการ คือ ความอดทน การบําเพ็ญเพียร(ตบะ) ความอดกลั้น และนิพพาน เปนอุดมการณสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา ตรัสวิธีการเผยแผพระพุทธศาสนา ๖ ประการ คือ ไม ว า ร า ย ไม ทํ า ร า ยใคร ๆ (รวมทั้ ง ศาสนาอื่ น ) สํารวมในศีล รูจักประมาณในการฉันอาหาร อยูในที่ อั น สงบสงั ด และตระหนั ก ในการยกระดั บ จิ ต อยู เ สมอ คื อ ทํ า งานทางจิ ต อย า ให จิ ต ว า งจาก ข อ ปฏิ บั ติ โดยตรั ส แก พ ระอรหั น ต ๑,๒๕๐ องค (หรือบางทานเรียกรูป) ที่มาเฝาพระองคพรอมกัน ณ พระวิหารเวฬุวัน โดยมิไดมีการนัดหมายกันมากอน เรียกอีกอยางหนึ่งวา “วันจาตุรงคสันนิบาต” คือ “เป น วั น ที่ ป ระชุ ม พร อ มกั น แห ง องค สี่ ” คื อ พระอรหั น ต ๑,๒๕๐ องค มาประชุ ม พร อ มกั น ทานเหลานั้นลวนเปนเอหิภิกขุ คือไดรับอุปสมบท จากพระพุทธเจาโดยตรง ทานเหลานั้นมาประชุม


พรอมกันโดยมิไดมีการนัดหมาย และวันที่ประชุม นั้ น เป น วั น เพ็ ญ กลางเดื อ น ๓ ซึ่ ง ปราชญ ท าง พระพุ ท ธศาสนาเห็ น ตรงกั น ว า เป น พระมหา กรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระองค ที่ ป ระสงค จ ะส ง พระ อ ร หั น ต เ ห ล า นั้ น แ ย ก ย า ย กั น ไ ป เ ผ ย แ ผ พระพุทธศาสนา เพื่อประโยชนและความสุขของ ชาวโลก พูดอยางธรรมดาสามั ญ ก็คือ พระองค ทรงมีความรัก ความปรารถนาดีตอชาวโลกหรือ สั ต ว โ ลกทั้ ง ปวงนั่ น เอง ซึ่ ง ความรั ก อย า งนี้ เป น ความรักที่แทจริงอยางแนนอน ทานผูอานที่เคารพ ความรักเปนเรื่องใหญ มิใชเลน กวีบางทานกลาววา ความรักเปนความราย คนดี ๆ ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ ใ สซื่ อ เรี ย นหนั ง สื อ อยู ดี ๆ พอ เจ า ความรั ก เข า มาการเรี ย นก็ เ สี ย งานการก็ เ สี ย ตามไปด ว ย การเงิน การทองพลอยกระทบไปอี ก ถาใชสติปญญาพิจารณา มีความเฉลียวฉลาด ก็อาจ สามารถรอดพนวิกฤติความรักไปได แตถาขาดการ อบรม ขาดการดูแล ก็อาจเสียคนไดงาย ทานผูปกครอง จึง ควรใกลชิดให ความอบอุ น แก ลูก หลาน เพราะ พระพุ ท ธเจ า ทรงสอนไว ว า “ความรั ก อื่ น เสมอ ตนเองไมมี” ใครที่มาพูดวารักนักรักหนา รักยิง่ กวา ชี วิ ต ของเขาเองนั้ น เป น คนโกหกอย า งแน น อน เพราะคําสอนของพระพุทธเจาไมเคยผิด แตคําพูด คําสอนของคนอื่นไมแนเสมอไป เชนที่วา “วัดจะดี มีหลักฐานเพราะบานชวย” ก็ไมแน วัดที่ดีอาจ ไม เ กี่ ย วกั บ บ า นเสมอไป ถ า พระภิ ก ษุ ส ามเณร ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ดี ต ามสิ ก ขาวิ นั ย ประชาชน ก็เ ลื่ อ มใสศรั ท ธา วั ดก็ ดีไ ปเอง แต ถ า ตรงกั น ขา ม ถึงแมบานจะชวยวัดก็ไมอาจดีขึ้นมาไดจริงไหมครับ

ท า นผู อ า นที่ เ คารพ เดื อ นแห ง ความรั ก นี้ ดอกไมที่ขายดีก็คือกุหลาบ โดยเฉพาะสีที่ตรงกับ ความรักคือ ชมพูตลอดไปถึงแดง ราคาแพงมิใชเลน บางวาในเมืองไทยมีไมพอ ตองสั่งเขามาจากนอก บางก็ตองสั่งจองกันไวตามรานดอกไม บรรดาสาว ๆ ก็ มุ ง หวั ง ตั้ ง ใจว า จะได รั บ ดอกไม ( กุ ห ลาบ)จาก เขาคนนั้น ถาไดก็ชื่นอกชื่นใจกันตามประสา มีบางราย ไมไดถึงกับคิดมากคิดสั้นก็เคยมีขาวอยูเปนประจํา ความรักชางมี อิทธิ พลมากเหลือเกิน แตถา นึก ถึง พระพุทธเจา ดอกไมที่บูชาคือดอกบัว ถาหาดอกบัว ไมได จะเปนกลวยไม ดาวเรือง บานไมรูโรย หรือ ดอกพุทธรักษา หรือดอกอะไร ๆ ที่หาได ก็มิไดเปน ประเด็ นป ญหาเลย หรื อบางที ไม มี ดอกไม ธู ปเที ยน ใช เ พี ย งสิ บ นิ้ ว ประนมก็ ไ ด บุ ญ สมใจปรารถนา ทุกประการ เพราะทุกอยางสําเร็จไดดวยใจ ท า นผู อ า นที่ เ คารพ พู ด ถึ ง ดอกไม ก็ เ ป น เรื่องนาคิดอีกเรื่องหนึ่ง เพราะดอกไมไมวาจะเปน ดอกอะไร จะสวยงามและราคาแพงขนาดไหน ผลสุ ด ท า ยก็ โ รยรา เช น ท า นผู ห นึ่ ง จั ด งานใหญ สั่งดอกไมราคาแพงเพื่อประดับใหสวยงามอลังการ แตกําหนดระยะเวลาความทนของดอกไมผิดพลาด ทําใหเมื่อถึงวันงานจริง ๆ ดอกไมเหลานั้นใชอะไร ไมไดเลย ตองลงถังขยะอยางเดียว ฉันใดก็ฉันนั้น แหละทานทั้งหลาย ชีวิตคนก็เชนเดียวกัน มีวันสดใส และมีวันเฉาเชนเดียวกับดอกไม ความสวยงามและ ความหลอเพียงอยางเดียว คงไมสามารถดึงดูดใจ ของใคร ๆ ให ม าสนใจเราได ต ลอด สํ า คั ญ ที่ ค วร ปรับเปลี่ยนแนวความคิดจิตใจ เชน เปลี่ยนความ รายเปนความดี เปลี่ยนความตระหนี่เปนเสียสละ


เปลี่ยนโลภะเปนรูจักพอ เปลี่ยนความหลงใหเปน ความรู เปลี่ยนความเห็นแกตัวเปนเห็นแกสวนรวม เปลี่ยนความโกรธเปนเมตตา เปลี่ยนความอิจฉา ริษ ยาเปน ยิ น ดี เปลี่ย นจากรั ง เกีย จเปน ใหเ กียรติ เปลี่ ย นพยาบาทเป น อภั ย เปลี่ ย นเหลวไหลเป น จริงจัง เปลี่ยนอยากดังเปนอยากดี เปลี่ยนลําเอียง เปนเที่ยงธรรม เปลี่ยนพูดมากกวาทําเปนทํามากกวา พูด เปลี่ยนแกแคนเปนแกไข เปลี่ยนระเบียบวินัย ไมมีเปนมีระเบียบวินัย เปลี่ยนทําลายเปนสรางสรรค เปลี่ยนกระดางเปนออนโยน เปลี่ยนแตกแยกเปนรูรัก สามัคคี เปลี่ยนฟุงเฟอเปนประหยัด เปลี่ยนประมาท ธรรมชาติ

เปนระวัง เปลี่ยนหวาดระแวงเปนไววางใจ เปลี่ยน มัก งา ยเป น รอบคอบ เปลี่ย นอ อ นแอเป น เข ม แข็ ง เปลี่ ย นขั ด คอเป น ขั ด สี เปลี่ ย นขั ด ใจเป น เข า ใจ เปลี่ยนเปราะบางเปนหนักแนน เปลี่ยนเกียจคราน เปนหนักเอาเบาสู เปลี่ยนศัตรูเปนมิตร เปลี่ยนนินทา เปนสรรเสริญ เปลี่ยนนิ่งดูดายเปนขวนขวายชวยกัน เปลี่ยนมองโลกในแงรายเปนมองโลกในแงดี เปนตน ในเดือนแหงความรักนี้ ทานผูอานที่เคารพ ดอกไม กอนที่จะเหี่ยว โรยไป ไดทําใหผูคนไดชื่นชม คนเราเกิดมากอนจะลา โลกไป ก็ควรใหคนอื่นไดชื่นใจ...บาง (จริงไหมครับ)

มองโลกดานดีมีผล เห็นคนอื่นดีมีคา ปลุกใจใหเกิดศรัทธา ตั้งหนาทําดีมีคุณ มองโลกดานรายกลายกลับ ใจรับแตเรื่องเคืองขุน เหนื่อยหนายเลิกรางทางบุญ ชีพวุนวายแทแนเอย ☺☺ สวัสดีมีเงินใช ไรโรคา ลาภ ยศ เกียรติเจริญ เพลิดเพลินสุขครับ ☺☺


บางแค

“เชื่อมั้ยวา คนและสุนัขอยูดวยกันมานานกวา ๑๐,๐๐๐ ป” ไมนาแปลกใจเลยที่คนสวนมากรักสุนัข เพราะสุนัขเปนสัตวเลี้ยงที่คอยเปนเพื่อน เปนยามคุมกัน ดูแลเรา และยังเปนสัตวที่คอยชวยเหลือเปนหูเปนตาใหกับผูคนที่มีสภาพทางรางกายทุพพลภาพดวย มีหลายคนที่อยากจะเลี้ยงสุนัขหรือคนที่เลี้ยงสุนัขมือใหม มักจะมีคําถาม วาจะดูแลสุนัขสัตวเลี้ยง แสนฉลาดของเราอยางไร ใหมีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง และมีความสุข

สุนัขตองการ ?

สุนัขตองการปจจัยหลัก ดังนี้ :- (ขอมูลจาก สมาคมพิทักษสัตวแหงโลก (สํานักงานภูมภิ าคเอเชีย) หรือ WSPA ยอมาจาก World Society for the Protection of Animals) ๑. ๒. ๓. ๔.

อาหารที่เพียงพอ การออกกําลังกาย การดูแลของสัตวแพทย ความเปนเพื่อน


- ที่อยูของเจาตูบ สุนัขตองการที่อยูที่ปกปองพวกเขาจากสภาพอากาศ รอนและหนาวได สุนัขตองการที่นอนที่สะดวกสบาย ถาตองลาม ใหอยูเปนที่ ควรผูกโซหรือเชือกไวกับสายยาว ๆ หากผูกไวที่ จุ ด เดี ย ว โซ ห รื อ เชื อ กอาจพั น กั บ ตั ว เป น สาเหตุ ใ ห เ กิ ด การ บาดเจ็บได - อาหารและน้ําสําหรับเจาตูบ สุ นั ข ต อ งการอาหารในปริ ม าณที่ เ หมาะสม ซึ่ ง ต อ ง ประกอบดวยโปรตีนและเสนใยอาหาร เศษอาหารที่เหลือจากคน รับประทานอาจมีสารอาหารไมเพียงพอสําหรับสุนัข กระดูกที่ แหลมคมก็จะเปนอันตราย ทําให ติดคอและสรางปญหาตามมาถามันกลืนลงไป ควรเปลีย่ นน้าํ ใหเจาบอกบอก และทําความสะอาดถวยใสน้ําเปนประจําทุกวัน - เจาตูบตองการออกกําลังกาย สุนัขไมควรถูกลามเปนการถาวร ควรไดออกกําลังกายเปนประจํา เชน ใหเดินทุกวัน และการเลน โดยใชลูกบอลหรือไม จะชวยใหเขามีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง หายจากอาการเบื่อหนาย - สุขอนามัยของเจาตูบ ผูเลี้ยงควรระมัดระวังอยางมาก เพราะการที่สุนัขสกปรก จะกลายเปนแหลงที่อยูของหนอน พยาธิ หมัด เห็บ ไร เพราะฉะนั้นจึงควรคอยดูแลทําความสะอาดสุนัขรวมถึงที่อยูของพวกเขาใหสะอาดอยูเสมอ - การดูแลแปรงขนเจาตูบ ถาเราแปรงขนใหเขาอยางสม่ําเสมอ จะทํ าใหขน ของมันสะอาดและเสนขนไมพันกัน นอกจากนี้ยังเปนการ กําจัดไร เห็บ หมัด ที่ไมตองการ ชวยใหสุนัขมีความคุนเคย กับการถูกสัมผัสอีกดวย - การฉีดวัคซีนใหเจาตูบ เปนสิ่งสําคัญ ที่คนเลี้ยงสุนัขไมควรละเลย เพราะ สุนัขสามารถติดเชื้อไดงายจากเชื้อโรคหลายชนิด ซึ่งอาจเปนอันตรายและมีคาใชจายในการรักษาที่สูง การฉีดวัคซีนจึงสามารถชวยปองกันการเจ็บปวยและลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อไปสูสุนัขตัวอื่นได


การผสมพันธุ ของเจาตูบ สุนัขเพศเมียสามารถใหกําเนิดลูกสุนัขไดทุกป แตการใหกําเนิดลูกสุนัขอยางตอเนื่อง ยอมทําให เกิดผลเสียตอสุขภาพของแมสุนัข ดังนั้น เราควรพิจารณาวาตองการใหสุนัขมีลูกหรือไม หรือถาตองการใหมี จะมีจํานวนเทาใด ไมควรปลอยตามธรรมชาติ เพราะจะทําใหเกิดปญหาทั้งสุนัขและคนเลี้ยงเอง สุนัขที่ตั้งทองและใหนมลูก ควรไดรับสารอาหารเพิ่มเติมเปนพิเศษ โดยปกติลูกสุนัขจะกินนมแม นานประมาณ ๓ สัปดาห หลังจากนั้น ควรคอย ๆ ใหกินอาหารเสริม ธรรมชาติของสุนัขเพศเมียจะปกปอง ลูกสุนัขที่ยังเล็ก เพราะฉะนั้น นาจะจัดหาที่สงบเงียบใหพวกเขาอยูอาศัย - การผาตัดทําหมันใหเจาตูบ เพื่อปองกันปญหาไมใหเกิดลูกสุนัขที่ไมตองการ เราจึงควรนําเจาตูบไปรับการคุมกําเนิดหรือทําหมัน โดยสัตวแพทย การผาตัดทําหมันใหสุนัข ในขณะนี้งายดายมาก แถมมีขอดีเสียดวย เนื่องจากสัตวแพทยยุคใหม และเครื่องมือแพทยในปจจุบัน ทําใหการทําหมันมีความปลอดภัยขึ้น อาการเจ็บปวดมีนอยลง และสุนัข สามารถฟนตัวไดภายหลังการผาตัด แตควรสอบถามสัตวแพทยถึงเวลาที่เหมาะสมในการทําหมันใหสุนัข สุนัขที่ทําหมันไมจําเปนตองมีลูกมากอน ซึ่งปจจุบันเปนที่ยอมรับกันแลววาสามารถทําหมันสุนัข ตั้งแตอายุนอย ๆ หรือตั้งแต ๘ สัปดาหขึ้นไป เมื่อสุนัขเพศเมียไดรับการทําหมันแลว จะไมมีการเปนสัด และ เมื่อถึงฤดูของการผสมพันธุ สุนัขเพศผูก็จะไมมายุงเกี่ยวดวย สุนัขเพศเมียที่ทําหมันแลว จะมีความเสีย่ งของ การเกิดเนื้องอกที่เตานมลดลงดวย สวนการทําหมันสุนัขเพศผูจะชวยลดอาการกาวราว ถาเราสามารถดูแลสุนัขที่เราเลี้ยงไวไดอยางที่กลาวขางตน สุนัขที่เราเลี้ยงไวนั้น ก็จะมีความสุขและ สุขภาพแข็งแรง เขาก็จะเปนเพื่อนที่ซื่อสัตยและดีตอเรา ...คนเลี้ยงและสุนัขก็จะอยูรวมกันอยางมีความสุข.


รับสมัครบุคคลเขาเปนนักเรียนเตรียมทหาร (ในสวนของกองทัพอากาศ) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๔ กองทัพอากาศ มีความประสงคจะรับสมัคร บุคคลเพื่อสอบคัดเลือกเขาเปนนักเรียนเตรียมทหาร (ในส ว นของกองทั พ อากาศ) ประจํ า ป ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๔ มีสาระสําคัญดังตอไปนี้ ๑. คุณสมบัติของผูสมัคร โดยยอดังนี้ :๑.๑ สําเร็จการศึกษาชั้น มัธยมศึกษา ปที่ ๓ (ม.๓) หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรื อ เทียบเทา ๑.๒ อายุไมต่ํากวา ๑๔ ปบริบูรณ และ ไมเกิน ๑๗ ปบริบูรณ ในปที่จะเขารับการศึกษาเปน นักเรียนเตรียมทหาร การนับอายุใหนับตามกฎหมาย วาดวย การรับราชการทหาร คือผูที่เกิด พ.ศ.๒๕๓๗ ๒๕๔๐ ๑.๓ มีสัญชาติไทยโดยกําเนิด และบิดา มารดา ตองมีสัญชาติไทยโดยกําเนิด แต ถา บิดา เปนนายทหารสัญญาบัตร นายตํารวจสัญญาบัตร หรือนายทหารประทวน นายตํารวจประทวน ซึ่งมี สัญชาติไทยโดยกําเนิดแลว มารดาจะมิใชเปนผูมี สัญชาติไทยโดยกําเนิดก็ได (แต ณ วันที่สมัครตอง เปลี่ยนเปนสัญชาติไทยเรียบรอยแลว) ๑.๔ มี อวัย วะ รู ป ร า งลั ก ษณะทา ทาง ขนาดของรางกายเหมาะสมแกการเปนทหาร หรือ ตํารวจ ไมเปนโรคตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง

ตามความในกฎหมาย วาดวยการรับราชการทหาร และกฎกระทรวงออกตามความในกฎหมาย วาดวย ระเบี ย บข า ราชการตํ า รวจ ตามที่ ก องบั ญ ชาการ กองทัพไทย กําหนดรายละเอียดไวในผนวกทายระเบียบ ๑.๕ เปนชายโสด ไมเคยมีความประพฤติ เสื่อมเสียทางเพศ หรือติดตอไดเสียกับหญิงถึงขั้นที่ จะถือวาเปนผูมีภรรยา ๑.๖ เปนผูที่มีความประพฤติเรียบรอย ไมบกพรองในศีลธรรมอันดี มีอุดมการณเลื่อมใส ในระบอบการปกครองแบบประชาธิ ป ไตย อั น มี พระมหากษัตริยเปนประมุข และมีผูปกครองดูแล รับผิดชอบ ๑.๗ ไม เ ป น ผู มี ห นี้ สิ น ล น พ น ตั ว และ ไมเคยเปนบุคคลลมละลาย ๑.๘ ไมเปนผูที่อยูในระหวางเปนผูตองหา หรือจําเลยในคดีอาญา หรือเคยตองโทษจําคุกตาม คํ า พิพ ากษาคดี ถึง ที่สุ ด เว น แต ความผิดที่ ก ระทํ า โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ๑.๙ ไมเปนผูที่เคยถูกใหออกจากโรงเรียน เพราะความผิด หรือถูกถอนทะเบียนจากความเปน นักเรียนเตรียมทหาร ๑.๑๐ ไม เ ป น ผู เ สพยาเสพติ ด หรื อ สิ่งเสพติดอื่น ๆ ที่เปนอันตรายตอสุขภาพ


๑.๑๑ บิดา มารดา และผูปกครอง เปน ผู มี อ าชี พ อั น ชอบธรรม หรื อ เป น ผู ที่ มี ห ลั ก ฐาน เชื่อถือได ๑.๑๒ เป น ผู ที่ ได รับอนุญาตจากบิด า มารดา หรื อ ผู ป กครอง ให ส มัค รเข า เปน นั ก เรี ย น เตรียมทหาร (ในสวนของกองทัพอากาศ) ๑.๑๓ ตองมีผูปกครองหรือผูรับรอง ซึ่ง สามารถรั บ รองข อ ความ และพั น ธกรณี ตามที่ กองบัญชาการกองทัพไทย กําหนด ๑.๑๔ ต อ งไม มี พั น ธกรณี ผู ก พั น กั บ องคกรของรัฐบาลหรือเอกชน อันจะเปนอุปสรรค ตอการศึกษา ๑.๑๕ ไมเคยกระทําการทุจริตเกี่ยวกับ การสมั ค รหรื อ การสอบคั ด เลื อ กเข า เป น นั ก เรี ย น เตรียมทหาร ๒. หลักฐานการสมัคร ๒.๑ รูปถายปจจุบันหนาตรงไมสวมหมวก หรือแวนตา ขนาด ๑ นิ้ว จํานวน ๑ รูป (เฉพาะที่ สมัครทางไปรษณีย) ๒.๒ ใบรับรองผลการเรียน หรือระเบียน แสดงผลการเรียน (Transcript) ๒.๓ สํา เนาทะเบีย นบ า นของผู สมัค ร และบิดา – มารดา ผูใหกําเนิด หากผูสมัครมีบิดา และมารดา ที่มีชื่อ หรือนามสกุลไมตรงกัน ตองนํา หลักฐานมาแสดงดวย ๓. สถานที่ รั บ สมั ค รและกํ า หนดการ รับสมัคร ๓.๑ การสมัครทางไปรษณีย มีกําหนดการ ดังนี้ ๓.๑.๑ จํ า หน า ยระเบี ย บการ พร อ มใบสมั ค ร ตั้ ง แต ๒๗ ธั น วาคม ๒๕๕๓ ถึ ง

๓๑ มกราคม ๒๕๕๔ ระเบียบการและใบสมัครราคา เล ม ละ ๑๐๐.- บาท (หนึ่ งร อยบาทถ วน) ผู สนใจ ต องการสมั ครทางไปรษณี ย ขอให ส งจดหมาย สั่งซื้อระเบียบการและใบสมัคร พรอมธนาณัติ ๑๐๐.- บาท สั่งจาย ปณฝ.กองทัพอากาศ ๑๐๒๑๓ เทานั้น ชื่อผูรับเงิน หัวหนากองสถิติและประเมินผล โรงเรี ย นนายเรื อ อากาศ แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๒๐ ๓.๑.๒ รั บ สมั ค รทางไปรษณี ย ตั้งแต ๓ มกราคม ถึง ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๔ ใหสง ใบสมัครพรอมธนาณัติคาสมัคร จํานวน ๓๐๐.- บาท (สามร อ ยบาทถ ว น) ที่ อ ยูต ามข อ ๓.๑.๑ ภายใน ระยะเวลาที่กําหนด ๓.๒ การสมัครดวยตนเอง มีกําหนดการ ดังนี้ .๓.๒.๑ จําหนายระเบียบการพรอม ใบสมัคร ตั้งแต ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๔ ระเบียบการและใบสมัครราคาเลมละ ๖๐.- บาท (หกสิบบาทถวน) ไมมีการสั่งซื้อทางไปรษณีย ๓.๒.๒ รับสมัครดวยตนเอง ตั้งแต ๙ ถึง ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๔ คาสมัครคนละ ๒๕๐.- บาท (สองรอยห า สิบบาทถว น) เปดรับสมัครที่ อาคาร รณนภากาศ โรงเรียนนายเรืออากาศ ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุ ง เทพมหานคร ๑๐๒๒๐ ๓.๓ สถานที่ ข ายระเบี ย บการพร อ ม ใบสมั ค ร กองสถิ ติ แ ละประเมิ น ผล โรงเรี ย น นายเรืออากาศ เชิญผูสนใจสั่งซื้อ ติดตอสอบถาม รายละเอียดไดที่ โทร. ๐ ๒๕๓๔ ๓๖๒๔ – ๗ หรือ www.rtafa.ac.th, www.rtaf.mi.th



นาย อำพล เสนาณรงค‹ องคมนตรี เป็นประธานในพิธีมอบประกาศ เกียรติคุณและมอบรางวัลเกียรติยศ “คนดีสังคมไทย” ประจำปี ๒๕๕๓ ใหˆแก‡ พล.อ.ต.อารมย‹ ปัถวี เสธ.รร.นอ. สาขาส‡งเสริมเยาวชนของชาติ, พล.อ.ต.อุทิศ ภาคภูมิ หน.ฝสธ.ประจำ ผช.ผบ.ทอ. (กิจการพิเศษ) และ น.อ.มานะ ประสพศรี รอง จก.กร.ทอ. สาขาทำคุณประโยชน†ใหˆสังคม ณ หˆองคอนเวนชั่นฮอลล‹ ชั้น ๒ ศูนย‹ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ‹

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธี เปิดหอพระ พธ.ทอ. โดยมี พล.อ.ต.นิคม วงษ‹ดรุณีย‹ จก.พธ.ทอ. เขˆาร‡วมพิธี

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีมอบโล‡รางวัล ตรวจสอบความพรˆอมรบและทดสอบแผนปƒองกันที่ตั้งหน‡วย ทอ. กองบิน ดีเด‡น ปี ๕๓ ใหˆแก‡ น.อ.สฤษดิ์พร สุนทรกิจ ผบ.บน.๗ (อันดับที่ ๑), น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ (อันดับที่ ๒) และ น.อ.อาจณรงค‹ ตันสุวรรณรัตน‹ ผบ.บน.๕ (อันดับที่ ๓) ณ หˆองประชุม เจริญจรัมพร

พล.อ.ประวิตร วงษ‹สุวรรณ รมต.กห. เป็นประธานในพิธีประดับ เหรียญกลˆาหาญบนธงชัยเฉลิมพล และพิธีวางพวงมาลา เพื่อระลึก ถึงความเสียสละของทหารอากาศและครอบครัวชาวกองบินนˆอย ที่ ๕ ที่ไดˆเสียสละชีวิตเพื่อปกปƒองประเทศชาติ ณ บน.๕ จ.ประจวบคีรีขันธ‹

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีทำบุญเนื่องใน วันคลˆายวันสถาปนา อย. ครบรอบ ๖๓ ปี โดยมี พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. ใหˆการตˆอนรับ พรˆอมดˆวยผูˆบังคับบัญชา ขˆาราชการ พนักงานราชการ และลูกจˆาง อย. ร‡วมในพิธีฯ

พล.อ.อ.พิธพร กลิ่นเฟื่อง ปธ.คปษ.ทอ. และคณะฯ มอบของขวัญ ปีใหม‡แก‡ผูˆปฏิบัติราชการในหน‡วยสนามชายแดน ประจำปี ๒๕๕๔ โดยมี น.อ.สุจินดา สุมามาลย‹ ผบ.บน.๕๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ หอประชุม บน.๕๖


พล.อ.อ.ดิลก ทรงกัลยาณวัตร รอง ผบ.ทอ.เป็นประธานในการประชุม คณะกรรมการบริหาร ชนอ. ครั้งที่ ๗/๕๓ โดยมี คณก. และผูˆแทนรุ‡น เขˆาร‡วมประชุมฯ ในโอกาสนี้ไดˆมอบเงินสนับสนุนการจัดทำวารสารวิชาการ นายเรืออากาศ ใหˆแก‡ พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. ณ หˆองประชุม บก.รร.นอ.(๒)

พล.อ.อ.ดิลก ทรงกัลยาณวัตร รอง ผบ.ทอ. เป็นประธานในงาน กรมนักเรียนนายเรืออากาศ รักษาพระองค‹ พรˆอมใจถวายพระพรชัยมงคล แด‡พระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนม พรรษา โดยมี พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. กล‡าวรายงาน วัตถุประสงค‹การจัดงาน

พล.อ.อ.บุญยฤทธิ์ เกิดสุข ผช.ผบ.ทอ. ประธานกรรมการแลกเปลี่ยน โดยวิธีพิเศษ พรˆอมดˆวยคณะฯ เดินทางไปราชการและรับทราบความ เสร็จสมบูรณ‹ของการติดตั้งตามคุณลักษณะเฉพาะ การบินทดสอบ และ การรับทราบความเสร็จสมบูรณ‹ของการบินทดสอบ ของ อ.ไรˆนักบิน (UAV) แบบ Aerostar เครื่องที่ ๑ (S/N 678) ณ สนามบิน GVULOT รัฐอิสราเอล

พล.อ.อ.บุญยฤทธิ์ เกิดสุข ผช.ผบ.ทอ. และคณะฯ มอบของขวัญ ปีใหม‡ ใหˆแก‡ ผูˆปฏิบัติราชการในหน‡วยสนามและชายแดน ประจำปี ๕๔ ณ บน.๔๖ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง เสธ.ทอ. ประธานกรรมการบริหารโครงการจัดซื้อ เครื่องบิน GRIPEN 39 C/D ในพิธีรับเครื่องบิน SAAB 340 AEW และ SAAB 340 B เขˆาประจำการ โดยมี น.อ.สฤษดิ์พร สุนทรกิจ ผบ.บน.๗ ใหˆการตˆอนรับ ณ บริเวณลานจอดอากาศยาน บน.๗

พล.อ.อ.ชูศักดิ์ วิบูลชัย ประธาน คณก.ตรวจรับพัสดุ/ประธาน คณก.เตรียมรับ ฮ.พระราชพาหนะ และคณะฯ เดินทางไปตรวจรับ เฮลิคอปเตอร‹ พระราชพาหนะ S-92 A เครื่องที่ ๒ และ เครื่องที่ ๓ ณ บริษัท SIKORSKY ประเทศสหรัฐอเมริกา


นาย อาศิส พิทักษ‹คุมพล จุฬาราชมนตรี รับมอบปฏิทินอิสลาม ๒๕๕๔ จำนวน ๑,๐๐๐ ชุด จาก พล.อ.ท.ธงชัย แฉลˆมเขตร ผช.เสธ.ทอ.ฝกร. ณ สำนักจุฬาราชมนตรี ถ.คลองเกˆา แขวงคลองสิบ เขตหนองจอก กทม.

พล.อ.อ.วินัย เปล‡งวิทยา ผบ.คปอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม ศสอต.๓ และ สร.พล. โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ท.วุฒิชัย คชาชีวะ รอง เสธ.ทอ. เป็นประธานในพิธีปิดการแข‡งขัน เครื่องบินจำลอง และวิทยุบังคับ “หนูนˆอยจˆาวเวหา ทีวีไทย ปี ๒” ชิงถˆวย พระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว ซึ่ง กองทัพอากาศ ร‡วมกับ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สมาคมกีฬาเครื่องบิน จำลองและวิทยุบังคับ และสถานีโทรทัศน‹ทีวีไทย ณ สนามกีฬากลาง จ.ประจวบคีรีขันธ‹

พล.อ.ท.อารยะ งามประมวญ ผช.เสธ.ทอ.ฝขว. ตรวจเยื่ยม บน.๒๓ โดยมี น.อ.นภาเดช ธูปะเตมีย‹ ผบ.บน.๒๓ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. เป็นประธานในพิธี ตˆอนรับทหารกองประจำการที่เขˆารับราชการใหม‡ รุ‡นปี ๕๓ ผลัดที่ ๒ ณ กรม ตอ.รอ.อย.

พล.อ.ท.เมธา สังขวิจิตร จก.สพ.ทอ. เป็นประธานในพิธีมอบ รางวัลและใบประกาศเชิดชูเกียรตินักกีฬายิงปืน ทอ. และผูˆฝึกสอน ประจำปี ๕๓ ณ หอประชุม สพ.ทอ.


พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธี วันคลˆายวันสถาปนา ยศ.ทอ. ประจำปี ๕๔ ณ ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.จำลอง เขมะประภา จก.ชอ. มอบปˆายมาตรฐาน อาหาร ปลอดภัยแก‡ผูˆประกอบการรˆานอาหารโรงอาหาร ๑ ที่ปฏิบัติ ไดˆถูกตˆองตามหลักสุขาภิบาล ภายใตˆโครงการอาหารสะอาด รสชาติอร‡อย ณ หˆองประชุม ชอ.๑

พล.อ.ท.อมร แสงสุพรรณ จก.พอ. และ พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. นำขˆาราชการ ลูกจˆาง และประชาชน ทั่วไป จุดเทียนชัยถวายพระพร ณ บริเวณหนˆาพระบรมสาทิสลักษณ‹ ชั้น ๒ อาคาร “คุˆมเกลˆาฯ”

พล.อ.ท. ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ.เป็นประธานในพิธีเปิด การศึกษาหลักสูตรครูทหารชั้นสัญญาบัตร รุ‡นที่ ๔๑ ณ หˆองเรียน ๑ รร.คท.ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.จำลอง เขมะประภา จก.ชอ. มอบโล‡เชิดชูเกียรติ ใบประกาศ เกียรติคุณ และเงินรางวัลใหˆแก‡บุคคลดีเด‡น ของ ชอ. ประเภท น.สัญญาบัตร น.ประทวน และลูกจˆางประจำ ณ หˆองประชุม ชอ.๑

พล.อ.ต.สมพล พูนทวีธรรม จก.จร.ทอ. พรˆอมดˆวยคณะกรรมการ ตรวจสอบมาตรฐานการบินและประเมินค‡าหน‡วย ฝูง.๔๖๑ บน.๔๖ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ


พล.อ.ต.จอม รุ‡งสว‡าง จก.ยก.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ พล.ต.วัลลภ รักเสนาะ ผอ.สำนักนโยบายและแผน ยก.ทหาร ซึ่งเป็นหัวหนˆา คณะนายทหารจาก ยก.ทหาร เยี่ยมชมกิจการศึกษาดูงาน ทอ. และฟังบรรยายสรุป Concept of Operation ณ หˆองประชุม ยก.ทอ.

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธีตรวจ ความพรˆอมและปล‡อยแถวทหาร-ตำรวจ การระดมกำลัง พัน สห.ทอ. กรม สห.ทอ.สน.ผบ.ดม. ครั้งที่ ๑/๕๔ ณ บริเวณลานอเนกประสงค‹ สมส.ทอ.ชั้นประทวน (ท‡าดินแดง)

พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด การศึกษาหลักสูตรพลขับรถขึ้น-ลงภูเขา รุ‡นที่ ๗๗ ตามโครงการ ศึกษาของ ทอ. ประจำปี ๕๔ ณ กวก.ขส.ทอ.

พล.อ.ต.กฤษณะ นิ่มวัฒนา จก.กพ.ทอ. พรˆอมดˆวยขˆาราชการ กพ.ทอ. ประกอบพิธีทำบุญเนื่องในวันครบรอบวันสถาปนา กพ.ทอ. ณ วัดลาดสนุ‡น

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธีงาน วันคลˆายวันสถาปนา สน.ผบ.ดม. ครบรอบ ๕๖ ปี และมอบรางวัล บุคคลดีเด‡น ณ อาคาร บก.สน.ผบ.ดม.

พล.อ.ต.ทวิเดนศ อังศุสิงห‹ เสธ.คปอ. เป็นประธานในพิธีเปิด การแข‡งขันกีฬาภายใน คปอ. ประจำปี ๒๕๕๔ ณ สนามฟุตบอล คปอ.


คุณ นภาพร ศุภวงศ‹ นายกสมาคมแม‡บˆาน ทอ. เป็นประธาน เปิดโครงการ Smart Kids “เปิดโลกสรˆางสรรค‹ สานฝันอนุบาล” โดยมี พล.อ.ต.เผด็จ วงษ‹ปิ่นแกˆว รอง จก.ยศ.ทอ. กล‡าวรายงาน ณ รร.อนุบาลฤทธิยะวรรณาลัย

พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. ตˆอนรับคณะแพทย‹ และเจˆาหนˆาที่ คณะแพทยศาสตร‹ ศิริราชพยาบาล เขˆาดูงานดˆานระบบ คอมพิวเตอร‹, เภสัชกรรม และการเงิน เนื่องจาก รพ.ฯ มีระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการที่สมบูรณ‹ ณ อาคาร “คุˆมเกลˆาฯ”

น.อ.หญิง จินตนา ศิริโยธิพันธุ‹ รอง ผอ.สตน.ทอ. และคณะฯ ชี้แจงแนวทางการตรวจสอบภายในประจำปี ๕๔ ณ บน.๖ โดยมี น.อ.สุระ ไชโย ผบ.บน.๖ ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.ทนงศักดิ์ สุทธิสารากร รอง ผอ.สธน.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการพระธรรมนูญ ประจำปี ๒๕๕๔ โดยมี น.อ.ประยูร ธรรมาธิวัฒน‹ ผบ.บน.๔๑ บรรยายสรุป ณ หˆองประชุม บก. บน.๔๑

น.อ.คงศักดิ์ จันทรโสภา ผบ.บน.๑ นำชุดปฏิบัติการจิตวิทยา และช‚วยเหลือประชาชนตามโครงการ “ปันน้ำใจ คนไทยไม‡ทิ้งกัน” ณ ร.ร.ปักธงชัยชุณหะวัณวิทยาคาร ต.เมืองปัก อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา

น.อ.ชานนท‹ มุ‡งธัญญา ผบ.บน.๔ นำชุดปฏิบัติการจิตวิทยาช‚วยเหลือ ประชาชน ร‡วมในโครงการคืนความสุขสู‡ผูˆประสบภัยกับโครงการ สายใยรักแห‡งครอบครัวในพระราชูปถัมภ‹ พระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ณ วัดคงคาราม ต.โพนางดำตก อ.สรรพยา จ.ชัยนาท


น.อ.เฉลิม กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ และ ร.ต.ท.หญิง สุจิตรา กีรานนท‹ ประธานชมรมแม‡บˆาน ทอ.บน.๒ นำขˆาราชการ และชมรมแม‡บˆาน ร‡วมลงนามถวายพระพรชัยมงคลพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว ณ บน.๒

น.อ.สุทธิ์ชาติ จิตแกลˆว รอง ผบ.บน.๒๓ นำขˆาราชการ ลูกจˆาง พนักงานราชการ และทหารกองประจำการ ทำพิธีถวายสัตย‹ ปฏิญาณตนเป็นขˆาราชการที่ดี ณ ลานจอด บ.หนˆา บก.บน.๒๓

หน‡วยมิตรประชา ทอ. ออกช‡วยเหลือประชาชน ณ ร.ร.ค‡ายประจักษ‹ ศิลปาคม ต.บˆานจั่น อ.เมือง จ.อุดรธานี ซึ่งเป็นเปƒาหมายที่ ๔ ในการ ออกมิตรประชา ทอ. (หนองคาย-หนองบัวลำภู-อุดรธานี)

น.อ.ประสิทธิ์ ยิ้มเจริญ ผอ.รร.นฝ.ยศ.ทอ. นำคณะ นทน. หลักสูตร นฝ.รุ‡นที่ ๑๑๗ พรˆอมทั้งคณาจารย‹และขˆาราชการ ร‡วมลงนาม ถวายพระพรชัยมงคลพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว ณ ศาลา ศิริราช ๑๐๐ ปี รพ.ศิริราช

น.อ.ชิตชัย ไกรคง ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ พรˆอมขˆาราชการฝูงบิน ๒๐๖ และ หน.หน‡วยงาน อ.วัฒนานคร ร‡วมทำบุญและวางพวงมาลา เพื่อรำลึกถึงวีรชนกองทัพอากาศ ณ อนุสาวรีย†วีรชนกองทัพอากาศ ฝูงบิน ๒๐๖

น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์ รอง ผบ.บน.๗ นำชุดช‡วยเหลือประชาชน ของ บน.๗ ออกปฏิบัติงานช‡วยเหลือประชาชน ณ ร.ร.วัดสามัคคี ธรรมาราม ม.๓ ต.ศรีวิชัย อ.พุนพิน จ.สุราษฎร‹ธานี




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.