หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน มกราคม 2554

Page 1



“...การปฏิบัติงานทุกอยางของขาราชการ มีผลเกี่ยวเนื่องถึงประโยชน ส ว นรวมของบ า นเมื อ ง และประชาชนทุ ก คน. เพราะฉะนั้ น จึ ง จํ า เป น ที่ข า ราชการทุ ก คนจะต อ งทํา หน า ที่ ทุ ก ๆ ประการให บ ริ สุ ท ธิ์ บ ริ บู ร ณ โดย เต็ ม กํ า ลั ง สติ ป ญ ญา ความรู ความสามารถ เพื่ อ ผลการปฏิ บั ติ ร าชการ ทุกอยางจักไดบรรลุความสําเร็จอยางสูง และบังเกิดประโยชนอยางดีที่สุด แกตน แกหนาที่ และแกแผนดิน...” พระราชทานแกขาราชการพลเรือน เนื่องในวันขาราชการพลเรือน ๑ เมษายน ๒๕๔๑


สวัสดีปงามนามปใหม หวังไวเถิดความดีมีมงคล ทั่วทุกวัยใชสติมิสับสน พรอมวิริยะอุตสาหะพละดี แมน้ําทวมรวมจิตประสิทธิ์สรรพ อาจจะสูอุทกภัยไมอับจน ผูเคยตามใจปากไปมากเรื่อง ทั้งการกินการอยูชูพลัง ผูเคยตามใจมารสันดานหยาบ หันหลังใหไมพามาผจญ ถือศีลหาละบาปที่หยาบยิง่ หมั่นสวดมนตภาวนาพาทางบุญ ดํารงมั่นรักชาติศาสนกษัตริย ทวนกระแสโลกบางอยางวิมล ขอคุณพระไตรรัตนจรัสศรี ดลสวัสดิ์ทั่วถวนลวนไพบูลย

สุขสดใสทั่วหนาสถาผล ทั่วทุกคนมีศรัทธาบารมี ทั่วทุกคนมีปญญาพาสุขศรี ร่ํารวยที่เงินทองเปนของตน ผลอนันตรูวิธีมีเหตุผล ทําใจคนใหรดู ีมีพลัง ยอมสิ้นเปลืองเงินทองแมของขลัง บางพลาดพลัง้ เพราะวาจาพาเสียคน ทําแตบาปปราศความดีที่มีผล พรอมเสกมนตปราบมารตระการคุณ ไมสุงสิงเกลือกกลั้วชั่วสถุล ไมอากูลเคราะหกรรมไมซ้ําตน ปฏิบัติทางดีมีเหตุผล จะนําตนสูสุขสันตอันสมบูรณ เทพทั่วฟาธาตรีที่เกื้อหนุน ยศเพิ่มพูนทรัพยทวีปใหมเทอญ.

สวัสดีปใ หม คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (นาวาอากาศเอก เกษม พงษพันธ ประพันธ)


1

ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำหนังสือข่าวทหารอากาศ

หนังสือข่าวทหารอากาศ

เจ้าของ กองทัพอากาศ

ทีป่ รึกษา พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบตุ ร

ผูอ้ ำนวยการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของ กองทัพอากาศ เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรม ข่ า วทหารอากาศ มี น าวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็ น บรรณาธิ ก ารคนแรก ดำเนิ น การโดยทุ น ของข้ า ราชการ ทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยู่ในความ อำนวยการของกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ตามคำสั ่ ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ มีเจ้ากรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เป็นผูอ้ ำนวยการ ตามคำสัง่ ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๙๙ ลงวันที่ ๗ ม.ค.๒๔๙๙ ภารกิจ

รองผู้อำนวยการ

ดำเนิ น กิ จ การหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ให้ เ ป็ น ไป ตามนโยบายของกองทั พ อากาศ มี ผ ู ้ อ ำนวยการหนั ง สื อ ข่ า ว ทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ต.ยงยุทธ หาบุบผา เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.ประเสริฐ ช่างประเสริฐ รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ

วัตถุประสงค์/นโยบายกองทัพ ๑. เพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ นกิจการทัว่ ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อันจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ๓. เพือ่ เผยแพร่กจิ การกองทัพอากาศ

น.อ.สหัสชัย มาระเนตร น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี

กองบรรณาธิการ

น.ท.พินจิ นุชน้อมบุญ

นโยบายการดำเนินงานในปัจจุบัน ๑. เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น แสดงความคิดเห็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรือ่ งทีน่ ำลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ * ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ ทีก่ ำหนด * ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อความมัน่ คงของชาติ บุคคล หรือส่วนรวม * ความยาวของเรือ่ งไม่ควรเกิน ๕ ตอน แต่ละตอน ไม่ควรเกิน ๕ หน้า * ต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ กรรมการพิจารณาเรือ่ งของสำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ

นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์

กำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

บรรณาธิการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง พัชรา ภัทรสุวรรณ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง

ประจำกองบรรณาธิการ น.ท.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ น.ท.หญิง วรรณิภา ยีป่ ระชา พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

น.ท.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ต.สินธพ ประดับญาติ

กองจัดการ น.ท.สมพร สิงห์โห ร.ท.หญิง สุมาลี สายะนันท์ พ.อ.อ.ประจวบ วีระชนม์ พ.อ.อ.สมศักดิ์ เพียรประเสริฐ จ.อ.หญิง เศาวณี พ่านเผือก สำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์กองทัพอากาศ ดอนเมือง แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร.๐-๒๕๓๔-๒๙๔๓ , ๐-๒๕๓๔-๕๑๔๘

ค่าสมาชิกภายนอก ปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สัง่ จ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในหนังสือฉบับนีไ้ ม่มส ี ว่ นผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด

ออกแบบปก : น.ต.สินธพ ประดับญาติ

http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com


1

ปีท่ี ๗๑ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม ๒๕๕๔

สารบัญ บทบรรณาธิการ

๖ ธ สถิตในใจประชา ...ตามรอย ๘ ปฏิบตั กิ ารของทหารไทยในงานพระราชสงคราม ๑๓ ๑๗ ๒๖ ๓๑ ๓๔ ๓๘ ๔๒ ๔๘ ๕๓ ๖๔

ณ ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ.๒๔๖๑ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร 10th ANNIVERSARY A-JET ...พ.อ.อ.รัชต์ รัตนวิจารณ์ ผูก้ อ่ กำเนิด C-130 Willis Hawkins ...Skypig ๖๒ ปี ของการพัฒนาการศึกษา ภารกิจทีไ่ ม่หยุดนิง่ ของ ยศ.ทอ. ...ปชส.ยศ.ทอ. วันคล้ายวันสถาปนา หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน ...นกร.กยก.บก.อย. การฝึกบินกับเครือ่ งบิน Gripen ณ ราชอาณาจักรสวีเดน ...ศิษย์ นนอ. พูดจาประสาหมอพัตร “มาคุยกันเรือ่ งวัคซีนดีกว่า” ...หมอพัตร ครบรอบ ๗๐ ปี หนังสือข่าวทหารอากาศ ...พัชร ยุทธการเหนือฟ้านครวัต ...Pharaoh ศวอ.ทอ. กับงานวิจยั อากาศยานไร้นกั บิน ...น.ท.ดร.สุนนั ท์ ชูมาลี ย้อนรอยมรดกโลก ปราสาทพระวิหาร โบราณสถานเจ้าปัญหาแห่งความขัดแย้ง ...น.อ.จิโรตม์ มณีรตั น์

๑๐๐

๗๑ ภาษาไทยด้วยใจรัก ๗๕ ๘๐ ๘๓ ๘๖ ๘๙ ๙๑ ๙๓ ๙๙ ๑๐๒

๑๐๔ ๑๐๕

“สวัสดีปใี หม่ ปีกระต่าย” ...นวีร์ ครูภาษาพาที “American English VS British English” ...Bunny CROSSWORD ...อ.วารุณี เวลาการ์ตนู ...มิสกรีน วัตถุมงคล ของชาว ทอ. “ศิษย์ทหารอากาศ” ...น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา สวัสดีปใี หม่ ...ตะวัน มุมสุขภาพ “พาราเซตามอล ใช้ถกู วิธี ชีวปี ลอดภัย” ...นายห่วงใย ๑ เดือน ในกรุงโคเปนเฮเกน ...Grandma นานา...น่ารู้ “๑๐ อาหารทีต่ อ้ งรับประทาน” ...บางแค ความภาคภูมิใจในการได้รับรางวัลชมเชย ในการประกวดสุนทรพจน์อุดมศึกษา เฉลิมพระเกียรติ ครัง้ ที่ ๑๑ ...ชัยพฤกษ์ ช่องาม ความเคลือ่ นไหวจาก กบข. ในรัว้ สีเทา


สวัสดี สมาชิกข่าวทหารอากาศทุกท่าน

“ สวัสดีปใ หม พุทธศักราช ๒๕๕๔ ” หลายท่านคงรู้สึกเช่นกันว่า เราสวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๓ กันไปไม่นาน นี่ก็มาถึงกาลเวลาของการต้อนรับ ปีใหม่ ๒๕๕๔ กันอีกครั้งหนึ่งแล้ว มีเสียงปรารภของผู้คนว่า วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว อันที่จริงแล้ว วันเวลา ก็หมุนไปข้างหน้าด้วยช่วงนาทีและชั่วโมงอย่างเดิม แต่ความรู้สึกนึกคิดและจิตใจของเราเองต่างหากที่ถูก สภาพแวดล้อมและหน้าที่การงาน เร่งรัดเสียจนทําให้วัฏจักรแห่งชีวิตเร่งรีบ และเห็นว่ากาลเวลาปัจจุบันนั้น เร็วกว่าอดีตกาล ในปี ๒๕๕๓ ที่ ผ่านมา เป็นช่ วงเวลาที่บ้านเมืองมีปัญ หาและอุปสรรคนานัปการ ปี ใ หม่ ปีนี้ทุกคน ย่อมคาดหวังกันว่า ทุกสิ่งทุกอย่างคงดีขึ้นกว่าปีเก่า ทุกคนย่อมมีความหวังให้ชีวิตมีความสุข ความสําเร็จ และ สมปรารถนา เนื่องในปีใหม่ ๒๕๕๔ คณะผู้จัดทําหนังสือข่าวทหารอากาศ ก็ขอร่วมความหวังเช่นเดียวกันนี้ ขอให้วาระแห่งปีใหม่นี้ เป็นกาลเวลาของความสุขอย่างแท้จริงของทุกคน ๗๐ ปีของหนังสือข่าวทหารอากาศที่ผ่านไป และกําลังก้าวย่างเข้าสู่ปีที่ ๗๑ จึงเป็นกาลเวลาที่ได้ผ่าน ประสบการณ์มาอย่างมากมายหลายรูปแบบ หนังสือข่าวทหารอากาศที่ยืนนานมาได้ก็ด้วยอุปการคุณของ ผู้บังคับบั ญชาระดับสูงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นักเขียนที่สร้างสรรค์บทความ สารคดีต่าง ๆ ที่ ให้ความรู้ นานาสารประโยชน์เพื่อผู้อ่าน และที่สําคัญยิ่งก็คือชาวกองทัพอากาศที่สละเงินบํารุงตั้งแต่รุ่นต่อรุ่นจนถึง ปัจจุบัน จนหนังสือข่าวทหารอากาศมิใช่เป็นเพียงแต่หนังสือนิตยสารรายเดือนเท่านั้น แต่เป็นสัญลักษณ์ของ ความรัก – สามัคคี – เสียสละ ของพวกเราชาวฟ้าที่ตกทอดต่อกันมาอย่างยาวนานมาถึง ๗๐ ปี และยังคงเป็น เช่นนี้ตลอดไป ภาพจากปก....อ่านรายละเอียดได้จาก....เรื่อง การฝึกบินกับเครื่องบิน Gripen ณ ราชอาณาจักรสวีเดน ท่านจะได้ทราบชีวิตของนักบินเครื่องบินขับไล่ Gripen 39 C/D ว่ามีความยากลําบากอย่างไร กว่าจะได้ เป็นเขี้ยวเล็บของ ทอ. ได้ ...เรื่อง ผู้ก่อกําเนิด C-130 Willis Hawkins ท่านจะได้ทราบตํานาน C-130 อย่างน่าสนใจ และยังมีเรื่องประจําฉบับอีกมากมาย เชิญพลิกอ่าน บรรณาธิการ


ตามรอย

“...ดนตรีแจซ เปนดนตรีประเภทที่ตองใช อารมณ ใ นการแสดงออกมากกว า ดนตรี ช นิ ด อื่ น แจซได ถื อ กํ า เนิ ด ขึ้ น เมื่ อ ป ๑๙๒๐ และตลอด ระยะเวลาดังกลาวมาจนถึงทุกวันนี้ แจซไดพัฒนา ศิ ล ปะของตนอยู ต ลอดเวลา จากโครงสร า งที่ ถือกําเนิดอยางงาย ๆ ไปสูโครงสรางที่ซับซอนและ วิจิตรพิสดารยิ่งขึ้น คุณลักษณะที่สําคัญของแจซ ซึ่งจะหาไมไดในดนตรีประเภทอื่น และก็ไมทราบวา จะสรรหาคําใดมาเรียกไดถูกตองก็คือ พลังไดนามิก ของแจซ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงมี พลัง ไดนามิก จึงเทากับทรงเปนนักดนตรีแจซโดย ธรรมชาติ ข องพระราชอั ธ ยาศั ย นั ก ดนตรี ผู มี ชื่ อ เสี ย งของโลกได ถ วายการยกย อ งล น เกล า ล น กระหม อ มในฐานะนี้ ด ว ยความรู สึ ก ของเขา

อยางจริงใจ ซึ่งสําหรับนักดนตรีดวยกันแลว ไมวา จะเปนนักดนตรีประเภทใดชาติใด หากไดรับการ ยกยองนี้ถือวาเปนเกียรติสูง...” ที่กลาวนี้ คือขอเขียนของผูที่ใชนามปากกา วา “นักดนตรี อ.ส. วันศุกร” ลงพิมพในหนังสือ พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่ ง สโมสรการไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย พิมพขึ้นทูลเกลา ฯ ถวายเนื่องในโอกาสพระราชพิธี รัชดาภิเษก วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๑๔ สารคดีตางประเทศเรื่อง The King of Jazz ที่ ล งพิ ม พ ใ นนิ ต ยสารสวั ส ดี ฉบั บ เดื อ นมี น าคม พ.ศ.๒๕๒๐ กลาวถึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ว า ในโลกของดนตรี แ จซ มี นั ก ดนตรี ที่ มี ฝ มื อ ดี หลากหลายมากมาย แตในประเทศไทย พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช คือพระราชาแหงแจซ


คนไทยแทบจะทุกคนรูจักเพลงพระราชนิพนธและ อันดับที่ ๒๓ และเมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๗ ยังสามารถรองตามได ในโอกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว และ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงดนตรี สมเด็ จ พระนางเจ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ เสด็ จ ในโอกาสตาง ๆ ในเพลงพระราชนิพนธ มโนราห พระราชดํา เนิน เยื อ นประเทศออสเตรียอยา งเป น และอื่น ๆ ที่เปดการแสดงที่เวียนนา ไดรับคํายกยอง ทางการ ประธานาธิ บ ดี แ ห ง ประเทศสหพั น ธรั ฐ มากมาย สถาบันศิลปะและดนตรีแหงเวียนนาได ออสเตรี ย ได ก ราบบั ง คมทู ล ในงานเลี้ ย งรั บ รอง ทูลเกลา ฯ ถวายเกียรติบัตรและสมาชิกกิตติมศักดิ์ ที่จัดถวายทั้งสองพระองค มีใจความตอนหนึ่งวา ธรรม “...ชาวออสเตรียสวนใหญเปนผูมีดนตรีในหัวใจ ดวยเหตุนี้ บรรดาขาพระพุทธเจา ทั้งหลายทั้งมวล จึงมีความปติยินดีเปนที่ยิ่ง ที่ไดรับเสด็จใตฝาละอองธุลีพระบาท ซึ่งทรง เปนทั้งนักดนตรีและนักประพันธที่มีผลงานเปนที่ยอมรับนับถือทั่วโลก…” เคยทรงดนตรี กั บ นั ก ดนตรี ผู มี ชื่ อ เสี ย ง ของโลก เช น เบนนี่ กู ด แมน แจ ค ที การ เ ดน ไลโอเนล แทมตัน ในป พ.ศ.๒๕๑๒ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดเคยมีพระราชดํารัสกับนักศึกษากลุมหนึ่ง ที่ไดรับ พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณใหรวมแสดงดนตรี ดวย มีใจความวา วัตถุประสงคของการเลนดนตรี คือ การฝกฝนจิตและทําใหจิตปลอดโปรง นักดนตรี สามารถแสดงอารมณไดโดยผูฟงสามารถมีปฏิกิริยา โตตอบกลับ เราสามารถใช ดนตรี เ พื่อสร า งความ พึ ง พอใจ เพื่ อ ความบั น เทิ ง และเพื่ อ ช ว ยให เ รามี ความอดทน (ขอมูล : สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี)


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) “เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

(ตอจากฉบับที่แลว) โรงเรียนการบินตําบลอิสตร วันที่ 5 สิงหาคม, เวลาเชามืด กองทหาร เคลื่ อ นจากค า ยคะเธดรั ล เพื่ อ ขึ้ น รถไฟพิ เ ศษ ยายไปยังโรงเรียนการบิน ทหารที่เมืองอิสตร, เมื่อ กองทหารไปถึ ง สถานี เมืองอิสตรแลว ตองเดิน ต อ ไปจนถึ ง ค า ยชื่ อ ว า ยองกีรัง (Jean Guiran), หางจากสถานีประมาณ 7 กิ โ ลเมตร . ครั้ น เมื่ อ กองทหารไปถึ งค า ย โ ด ย เ รี ย บ ร อ ย แ ล ว นายพั นตรี เดอ มาแลรั บ

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม (Commandant de Malherbe) ซึ่งเปนผูจัดการในเรื่อง การบินของไทย, พรอมดวยนายรอยเอกเปกาต (Capitaine Pecat) ผูบังคับการโรงเรียนการบินทหาร ตําบลอิสตร, ไดเชิญบรรดานายทหารทั้งปวงไปดื่ม แสดงความยินดีที่ไดรวมมือเปนสัมพันธมิตรกัน,


ที่อยูและอาหารการกิน ที่อยูของนายสิบพลทหารพักอยูในโรงไม ที่ทําขึ้นชั่วคราวทั้งสิ้น, มีเตียงไม, ที่นอนบรรจุฟาง หมอนพรอม, นับวาพออยูไดในฤดูรอน. สวนนายทหาร พักในรมเตนผาใบหลังละ 3 คนบาง 4 คนบาง, เมื่อ ถึงคราวลมพัดจัดพัดเตนลมบางก็ตองเที่ยวเรรอน ไปตามกัน. ครั้นภายหลังไดสรางโรงไมชั่วคราวให เปนที่พักขึ้น จึ่งไมตองเที่ยวเรรอนดังคราวที่แลวมา. เขตที่ พั ก นี้ ตั้ ง อยู ร วมกั น เปนค า ยของ ทหารไทยทีเดียว ไมพักปะปนกับชาวฝรั่งเศส อาหารการกินบริ บูรณดีไมมี การฝดเคือง อัตคัดอยางใด, โรงเรี ย นการบิ น นี้ ตั้ ง อยู ห า งจากจั ง หวั ด มาเซลประมาณ 50 กิโลเมตร กองทหารไทยลงรถไฟที่สถานีเมืองอิสตร แล ว เดิ น เท า ต อ ไปยั ง ค า ยยองกี รั ง ซึ่ ง ห า งออกไป 7 กิโลเมตร การปกครอง การปกครองทางสวนกองบินทั้งหมดที่รวม กันอยู ณ ที่นี้, นายพันเอกพระเฉลิมอากาศ ไดมอบ ฉั น ทะให นายพั น ตรี หลวงทยานพิ ฆ าฎ เป น ผูบังคับบัญชาโดยเด็ดขาดทั่วไป, ฉนั้นกองใหญ ต า ง ๆ ที่ ไ ด ตั้ ง รวมกั น มาแต ใ นชั้ น ต น จึ่ ง ล ม รวม เปนกองเดียวกันหมด. การฝกหัดและเลาเรียน โรงเรียนการบินตําบลอีสตรนี้ เปนโรงเรียนบิน ชั้นตนไมพิสดารอะไร, ทหารไทยที่เจานาที่ฝรั่งเลือก

คัดใหเปนนักบินได เริ่มหัดบินทีเดียว สวนทหารที่ เหลื อ ก็ ส ง เข า เรี ย นในน า ที่ ช า งเครื่ อ งบิ น และช า ง เครื่องยนตรทันที การฝ ก หั ด ในชั้น ต น สํ า หรั บนั ก บิ น ใหเ ริ่ ม ฝกหัดวิ่งกับพื้นกอน, ภายหลังจึ่งใหบินคันบังคับคู กับครูและบินคนเดียวดวยเครื่องโคดรอง (Caudron G3). เมื่อครูเห็นความสามารถในการบินคนเดียว แลว จึ่งใหเขาสอบการบินทหารชั้นตน, ผูใดที่สอบ การบินของโรงเรียนนี้ได ๆ รับใบประกาศนียบัตรเปน นักบินทหารทีเดียว. ครั้นแลวเจานาที่จึ่งคัดเลือกผูที่ มีความสามารถในชั้นนี้สงไปฝกหัดยังโรงเรียนการบิน ตําบลอื่น ๆ อีก, มีโรงเรียนการบินทหารที่เมืองโป(Pau) ซึ่งเปนโรงเรียนสําหรับนักบินขับไล, และที่โรงเรียน การบินทหารเมืองอะวอรด (Avord) ซึ่งเปนโรงเรียน สําหรับทิ้งระเบิด เปนตน การฝกหัดบินตําบลนี้เปนไปโดยเรียบรอย การเรียน นอกจากการบินสําหรับนักบิน นักบินทุกคนตองเรียนรูถึงหลักของการบิน, หลักและ การดําเนินของเครื่องยนตร, และวิชาบางอยางที่ เกี่ยวกับการบินอีก, ซึ่งนักบินทุกคนตองเรียนรู ทหารชางเครื่อง, มีการเรียนและฝกหัดเปน ชางเครื่องบินสําหรับเครื่องบินโคดรอง (Caudron G3) และนิเออปอรต (Nieuport). สวนพวกชางเครื่องยนตร มีการหัดซอมแซมแกไข ประกอบ,ปรับเครื่อง, และ เลาเรียนหลักและการดําเนินของเครื่องยนตรที่ใช กับเครื่องบินดังกลาวแลว มีเครื่องยนตรโรน (Rhone) และ โอซานี (Auzani). ในการสงนักบินไปตามโรงเรียนตาง ๆ นั้น เนื่องจากพูดภาษาไมเขาใจเรื่องกันจึ่งไดรวบรวม


นักบินที่สอบไลไดแลวสงไปเปนคราว ๆ หลายคน ดวยกัน, ผูใดที่สอบไดกอนตองรอผูที่สอบทีหลังอีก จนกวาจะครบจํานวนที่ตองยายคราวหนึ่ง. ทําเชนนี้ เปนชุด ๆ ไป. การยายครั้งที่สุดเริ่มยายไดเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน, พ.ศ.2461. พระเฉลิมอากาศ

การที่ตองใชเวลามาก เนื่องจากเหตุที่ศิษย ทุกคนหาไดมีความสามารถเหมือนกันไม, บางคน ต อ งบิ น คั น บั ง คั บ คู กั บ ครู ม ากหลายเที่ ย วจึ่ ง จะ ไปบินคนเดียวได, บางคนบินแตเพียงนอยเที่ยว ก็สามารถจะไปบินคนเดียวได, การฝกหัดก็ตองหัด รวมกับนักบินฝรั่งผลัดเปลี่ยนวนเวียนกันไป. นักบิน ของเขาและของเรารวมกันไมใชวาเปนจํานวนเล็กนอย. นอกจากนั้นยังเนื่องดวยดินฟาอากาศไมสดวกแก การบินอีก, เชนบางวันอากาศไมดีบาง, ฝนตกบาง, มีหมอกมากไปบาง, ลมจัดเกินไปบาง; เหตุเหลานี้ ทําใหตองงดการบินสําหรับศิษยใหม, บางสัปดาหะ ไมไดบินเลยก็มี, ครั้นเมื่อสอบเสร็จแลวนักบินยัง ไมพอกับจํานวนที่ควรยายคราวหนึ่งก็ตองรอคอยกัน. เหตุทั้งหลายเหลานี้ที่ทําใหเนิ่นชาไป ในการยา ยครั้ ง สุด ท า ย, นายพัน ตรี หลวงทยานพิ ฆ าฎได เ ชิ ญ บรรดาเจ า น า ที่ ฝ รั่ ง ซึ่ ง ทําการติดตอกับคนไทยเลี้ยงเพื่อไวอาลัยในการที่มี ความจําเปนจะตองจากกันไป, และกลาวขอบใจ ที่ เขาได ช ว ยเอื้ อ เฟ อ เกื้ อ หนุ น เอาใจใส จั ด การให คนไทยผ า นพ น ในการบิ น คั่ น ต น นี้ ไ ปโดยความ สวัสดิภาพ. ทั้ง สองฝายตางดื่มอวยพรใหสําหรับ ความสุขซึ่งกันและกัน, ครั้นแลว นายพันโท ปอร เดอรูส

(Lieutenant Colonel Paurderous) ไดกลาวตอบ ขอบใจและพอใจในพวกทหารไทยที่เปนทหารอันมี วินัยเครงครัด, มีความราเริง ตั้งใจฝกหัดการบินและ การชางเครื่องสําเร็จไปโดยรวดเร็ว, ทั้งไดแลเห็น ความตั้งใจในการที่จะชวยเหลือการงานแกประเทศ ฝรั่งเศสโดยแทจริง, เปนผูที่ประกอบไปดวยกิริยา อัธยาศัยอยางดี. ทั้งนี้จะทําใหชนชาวฝรัง่ เศสไมรจู กั ลืม ความเปนสัมพันธมิตรของชนชาติไทยไดเลย. โรงเรียนการบินทหารคายอะวอรด โรงเรี ย นการบิ น นี้ ตั้ ง อยู ที่ ค า ยอะวอร ด (Camp de Avord) ใกลจังหวัดบูรยส (Bourges) ในมนฑลแชร (Cher), เปนโรงเรียนสําหรับคัดเลือก นักบินที่สอบไลการบินสําเร็จมาจากโรงเรียนการบิน ชั้นตนทั้งหลาย, วาสมควรจะเขาอยูในประเภทหรือ จําพวกการบินชนิดใดตอไป. ฉนั้นในโรงเรียนนี้จึ่งมี เครื่องบินหลายชนิดสําหรับฝกหัด, มีเครื่องซอบวิธ (Sopwith), วัวซัง (Voisin), เลตอรด (Letord), อาแอร (A.R.), ซัมซอง (Salmson), นิเออปอรต (Nieuport ), มอรัน (Morane), สปด (Spad), เบรเกต (Breguet), โคดรอง (Caudron G 3.G 4); นายพันตรี ฟาบร (Commandant Fabre) เปนผูบังคับการโรงเรียนนี้ สําหรับนักบินไทยจําพวกที่สอบไลการบิน ชั้นตนไดแลว เจานาที่ฝรั่งที่ตําบลอิสตรไดคัดสงผูที่ เชื่อวามีความสามารถพอ ตรงไปยังโรงเรียนการบินทหาร ที่เมืองโปทีเดียว, สวนพวกที่ยังสงสัยไมแนใจก็สงให มาฝกหัดบินที่โรงเรียนนี้กอน. ชุดแรกมาถึงโรงเรียนนี้ เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม, พ.ศ.2461 ชุดที่ 7 ซึ่งเปน ชุ ด หลั ง ที่ สุ ด ย า ยมาถึ งโรงเรี ย นนี้ พ ร อ มกั บ


นายพันตรี หลวงทยานพิฆาฎ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน, พ.ศ.2461 การปกครอง การปกครองทหารไทยโรงเรียนนี้ ในชั้นตน นายรอยโท เทียบ สมะพันธ เปนผูดูแล, แตไมเปน การสะดวกพอโดยที่ ต อ งไปฝ ก หั ด บิ น อยู แ ทบ ตลอดทั้งวัน, ฉนั้นจึ่งไดมอบนาที่ให นายรอยตรี วั ล ย ชู ถิ่ น รั บ น า ที่ แ ทน. แต ค รั้ น เมื่ อ นายพั น ตรี หลวงทยานพิฆาฎ มาถึงแลว, ไดมอบหมายนาที่ให นายพันตรี หลวงทยานพิฆาฎ เปนผูบังคับบัญชา ตอไปจนที่สุด การฝกหัด การฝกหัดของโรงเรียนนี้ ในชั้นตนนักบิน ทุ ก คนต อ งฝ ก หั ด วิ่ ง กั บ พื้ น ด ว ยเครื่ อ งเบลริ โ อต (Bleriot) ชนิดปกตัดสั้นและยาวและเครื่องมอรัน เสียกอน, ตอไปจึ่งใหไปหัดบินเสนตรงกับครูดวย เครื่องบินซอบวิธ. ครั้นแลวไดยายสนามไปฝกหัดบิน เครื่องซอบวิธกับครู จนครูแลเห็นความสามารถที่ จะบินคนเดียวไดแลว, จึ่งสงไปใหฝกหัดบินคนเดียว ตอไป. ภายหลังไดกําหนดใหบินทนทําความชํานาญ อีก, เปนอันวาจบหลักสูตรของโรงเรียนนี้ พระเฉลิมอากาศ.

ทหารช า งเครื่ อ ง ผู ที่ มี ค วามรู ใ นทางช า ง เครื่ อ งยนตรม าแล ว ครั้ ง เมื่ อ อยู ที่โ รงเรีย นการบิ น ตําบลอีสตร, ไดสงเขาไปทําการในเรื่องเครื่องยนตร โรนและเครื่องยนตรเรโนลด (Renauld). สวน

ชางเครื่องบินแบงออกเปน 2 พวก, พวกหนึ่งที่ฉลาด มีไหวพริบดีคัดไปทํางานในโรงงานปรับเครื่องบิน วัวซัง, โคดรอง, ซอบวิธ, เลตอรต, นิเออรปอรต; พวกที่ทรามก็แยกออกไปประจําสนามฝกหัดตาง ๆ ผลของการฝกหัดในโรงเรียนนี้, นักบินหาไดเรียนจบ บริบูรณตามหลักสูตรทุกคนไม, แตเปนจํานวนนอย ประมาณ ¼ ของนักบินทั้งหมดที่มีอยูในโรงเรียนนี้ เทานั้น, ที่ไมไดเรียนสําเร็จนี้ก็เพราะเหตุวา ตองคัด ไปทํานาที่อื่นเสียบาง, เชนสงไปเรียนการทิ้งระเบิด ที่เมืองเลอ โครตัว (Le Cretey) เปนตน ในจํานวนนักบินที่เรียนจบบริบูรณนี้ ไดคัด สงไปบินที่โรงเรียนการบินเมืองโปบาง, คัดไปฝกหัด บินกลางคืน ดวยเครื่องบินวัวซังบาง,นอกนั้นคงอยู บินเครื่องบินซอบวิธตอไป การฝกหัดบินกลางคืนนั้น ใชเครื่องบินวัวซัง เครื่องยนตรโรน 150 แรงมา, ชั้นตนของการบินนี้ ตองบินกลางวันกับครูเสียกอน, เมื่อเห็นวาจะบิน กลางวันคนเดี ยวได จึ่งให ไปบินคันบังคับคูกับครู ในเวลากลางคืน, ครั้นเมื่อมีความสามารถพอที่จะ บินคนเดียวไดแลวครูจึ่งจะปลอยใหไปบินคนเดียว ตอไป, ในจําพวกนักบินกลางคืนนี้ ยังมิทันที่จะบิน ไดสําเร็จทุกคน, ก็ตองยายไปบินที่โรงเรียนอื่นบาง, ยายไปทําหนาที่อื่นบาง. ครั้นวันที่ 6 มีนาคม, พ.ศ.2461 กองทหาร ที่ตั้งอยู ณ คายนี้ทั้งหมดไดรับคําสั่งใหออกเดินทาง เพื่อกลับประเทศสยาม, เดินทางโดยรถไฟธรรมดา ตรงไปจังหวั ดมาเซล. สวนผูที่ เลือกคัดไวใหเ รีย น วิชาพิเศษในการบิน ก็ไดยายไปอยูตามตําบลตาง ๆ ทีเดียว.


โรงเรียนการบินทหารที่เมืองโป โรงเรียนการบินนี้ตั้งอยูที่คายบินของเมืองโป ในมนฑลบาสส ปเรเนส (Basse Pyrenees), โรงเรียนการบินตําบลนี้เปนโรงเรียนสําหรับฝกหัด การบินโลดโผนโดยแท, นายรอยเอก คัมปาญ แฟรนังด (Capitain Campagne Fernand) เปนผูบังคับการ โรงเรียน. นั ก บิ น ไทยที่ ส ง มายั ง โรงเรี ย นนี้ ส ง เปน ๒ ทางคือ, ทางหนึ่งสงตรงมาจากโรงเรียนการบิน ตําบลอีสตร, อีกทางหนึ่งสงมาจากโรงเรียนการบิน เมืองอะวอรด. ชุดที่ 1 ถึงโรงเรียนเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม, พ.ศ.2461, ชุดสุดทายซึ่งเปนชุดที่สงมาจากโรงเรียน อะวอรด ถึงโรงเรียนเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน, พ.ศ.2461. การปกครอง การปกครองทหารไทยในโรงเรียนรี้, ในชั้นตน นายรอยเอก ปลื้ม สุคนธสาร เปนผูบังคับบัญชา; แต ค รั้ น เมื่ อ ต อ งย า ยไปฝ ก หั ด บิ น ยั ง โรงเรี ย นอื่ น ไดมอบนาที่ใหนายรอยโท เชาว บุญหุตานนท เปน ผูบังคับบัญชาตอไป. การฝกหัด ในชั้นตนของการฝกหัด, นักบินทุกคนจะตอง ไดรับความฝกหัดวิ่งกับพื้นดวยเครื่องบินแบบเบลริโอต ชนิดปกสั้นและปกยาว, และเครื่องมอรันเสียกอน. ครั้ น แล ว จึ่ ง ไปฝ ก หั ด บิ น ด ว ยเครื่ อ งนิ เ ออร ป อร ต ๒๓ ตรางเมตรกับครูและบินคนเดียว. ตอไปบินคนเดียว

ดวยเครื่องนิเออรปอรต 18-15 ตรางเมตร, บินโลดโผน ดวยเครื่องนิเออรปอรต 15 ตรางเมตร ยิงเปาประจํา ที่ดวยปนถายรูป; ทั้งนี้ใชเครื่องยนตรโรน 80 แรงมา ทั้งสิ้น, ตอไปบินเครื่องนิเออรปอรต 15 ตรางเมตร เครื่องยนตรโรน 120 แรงมา ยิงทุนในอากาศดวย ป น ถ า ยรู ป อี ก . เมื่ อ ได ฝ ก หั ด ยิ ง ป น ถ า ยรู ป แล ว จึ่งฝกหัดบินหมูเปนรูปขบวนเว (V) ดวยเครื่อง นิ เ ออร ป อร ต 15 ตรางเมตร เ ครื่ อ งยนตร โ รน 120 แรงมา. ชุดแรกเมื่อไดทําการบินจบตามหลักสูตร ที่ก ลา วนี้ และได ยา ยไปโรงเรีย นยิง ปน ในอากาศ ที่ เ มื อ งบิ ส กาโรสแล ว ,ได ก ลั บ มาบิ น โลดโผนด ว ย เครื่ อ งมอรั น เครื่ อ งยนตร โ รน 80 แรงม า ,กั บ บิ น ยิงทุนในอากาศดวยปนถายรูปดวยเครื่องบินสปด เครื่องยนตรอิสปาโน สวีซา (Hispano Suiza) อีกครั้งหนึ่ง. ทหารชางเครื่อง – ชางเครื่องบิน, เรียนปรับ เครื่องบินนิเออรปอรตทุกขนาดทุกชนิดและเครื่อง สปด, กับไดเรียนสิ่งซึ่งเกี่ยวกับการสรางและประกอบ บางตามสมควร. สวนชางเครื่องยนตรเรียนการถอด ปรับซอมแซมแกไขเครื่องยนตรโรน และเครื่องยนตร อิสปาโน สวีซา ผลของการเรียนที่โรงเรียนนี้ สําเร็จไปโดย เรียบรอยบริบูรณตามหลักสูตร; มีนักบินบางนายซึ่ง จะเลาเรีย นเปนนัก บิน ขั บไลตอไปไมไดเ นื่อ งจาก โรคประจํากาย,จึ่งไดสั่งยายใหไปทํานาที่อยางอิ่น. พระเฉลิมอากาศ

(อานตอฉบับหนา)


พ.อ.อ.รัชต รัตนวิจารณ ….เฟยว เฟยว….เฟยว ว ว ว ว ว เสี ย งเครื่ อ งบิ น ไอพ น สองเครื่ อ งยนต จํ า นวน 4 เครื่ อ ง โฉบผ า นจากทิ ศ ตะวั น ออกเหนื อ บ า น หนองขอนกวาง มุงหนาไปยังทางทิศตะวันตก ซึ่ง เปนที่ตั้งของสนามบินอุดร สรางความแตกตื่นตกใจ ให กับ ประชาชนหลายคนในท อ งถิ่ น ได เ ปน อย า ง มาก… 24 กันยายน 2543 ประวัติศาสตรหนาหนึ่ง ของกองบิน 23 จังหวัดอุดรธานี ตองถูกเปดออกมา เพื่อบันทึกลงไปอีกครั้ง วาวันนี้ เปนวันที่เครื่องบิน โ จ ม ตี ไ อ พ น แ บ บ อั ล ฟ า เ จ็ ต ( ALPHAJET) เครื่องบินโจมตีแบบที่ 7 (บ.จ.7) ซึ่งเปนเครื่องบิน แบบลาสุดของกองทัพอากาศไทย ไดเดินทางมาถึง สนามบินอุดร "ทุงราชสีห" บานหลังใหมของนักลา เจ า ป า จากลุ ฟ วั ฟ ฟ กองทั พ อากาศเยอรมั น เครื่องบินทั้ง 4 เครื่องเปนเครื่องบินชุดแรกใน 25 เครื่อง ที่เดินทางมาถึง กองบิน 23 เพื่อบรรจุ

เขาประจําการใน ฝูงบินขับไลยุทธวิธีที่ 231 โดยมี น.ท.พงษ ส วั ส ดิ์ จั น ทรสาร เป น ผู บั ง คั บ ฝู ง บิ น อัลฟาเจ็ต คนแรก หลังจากที่ฝูงบินแหงนี้ ไมมีการ บรรจุเครื่องบินประจําการมานานถึง 2 ป นั่นคือสาเหตุ ของความตื่นตาตื่นใจสําหรับชาวบานทั่วไปที่นาน แลวไมไดยินเสียงเครื่องบินรบไอพนหลาย ๆเครื่อง พรอมกันเหนือกองบิน 23 การกลับมาของการบรรจุ เครื่ อ งบิ น ชั้ น แนวหน า ของกองทั พ อากาศไทย อีกครั้งในหนนี้ นอกจากในวันที่ 24 กันยายน 2553 จะเปนวันครบ 10 ป ของเครื่องบินโจมตีแบบ อัลฟาเจ็ต หรือที่ท หารอากาศไทยหลายคนชอบ เรี ย กชื่อเลน ๆ ว า A-JET แลว ในวันดังกลาวนี้ กองบิน 23 ยังกําหนด ใหเปนวันสถาปนาฝูงบิน 231 กําเนิดอัลฟาเจ็ต 01 โครงการอัลฟาเจ็ตจริง ๆ แลวเริ่มมาตั้งแต ป 2510 เมื่อกองทัพอากาศเยอรมันมีความตองการ


เครื่ องบิน สนั บสนุ น หน ว ยทหารภาคพื้ น ดิ น อย า ง ใกล ชิ ด แต ข ณะนั้ น อิ ตาลี ได ออก แบบและ ผลิตเครื่องบินเจ็ตสนับสนุนแบบ G-91 ขึ้นมาเพื่อ ใช ง านในกองทั พ อากาศนาโต เยอรมั น และชาติ นาโต จึ ง หั น ไปจั ด หาเครื่ อ งบิ น โจมตี ข องอิ ต าลี มาใชงาน ในป 2511 บริษัทดอรเนีย ไดนําเอาแผนแบบ เครื่องบินเจ็ตสนับสนุนกําลังภาคพื้นดินที่ออกแบบ ขึ้นมากอนหนานี้ ซึ่งกําหนดชื่อวา Do P 375 เครื่องบินเจ็ตแบบนี้ไดรับการออกแบบมาใหเปน เครื่องบินสองที่นั่งเรียงกันที่นั่งหลังออกแบบมาให สูง กวา ที่นั่งหนา มี ลอรับหั ว ที่ อยู ต่ําเพื่ อให นั ก บิน มองทัศนวิสัยดานหนาไดอยางชัดเจน การออกแบบ ของเครื่องบินแบบนี้ทีมวิศวกรผูออกแบบไดเนนให ความประหยั ด ค า ใช จ า ยในการบํ า รุ ง รั ก ษาและ สามารถใช เ ป น เครื่ อ งบิ น ฝ ก นั ก บิ น พร อ มรบและ เครื่องบินสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดไดเปน อย า งดี ซึ่ ง จะทํ า ให ก องทั พ อากาศเยอรมั น ลด คาใชจายในการปฏิบัติการไดมาก กองทัพอากาศ เยอรมั น มี ค วามต อ งการเครื่ อ งบิ น แบบนี้ ม า ปฏิบัติการทดแทนเครื่องบินสนับสนุนภาคพื้นดิน แบบ G-91 ตั้งแตปลายป 2513 เปนตนไป การแผนแบบใหมของเครื่องบินสนับสนุน ทางอากาศที่มีความเร็วต่ํากวาเสียง โดยแกไขจาก แบบเดิมที่มีอยูแลวไมมากนักเพื่อความประหยัด ในขณะที่บริษัท ดอรเ นีย กํา ลัง ดําเนิน การพั ฒนา แผนแบบเครื่องบินเครื่องนี้อยูนั้น บริษัทเบรเกท ของฝรั่ ง เศสเองก็ กํ า ลั ง ดํ า เนิ น การออกแบบ เครื่องบินเจ็ตฝกขนาดเบาโดยกําหนดชื่อโครงการ

ว า บี อ าร 126 เพื่ อ ทดแทนเครื่ อ งบิ น เจ็ ต แบบ มาจิสเตอร ใหทันปลายป 2513 และแผนแบบของ ทั้งเยอรมันและฝรั่งเศสที่บังเอิญมีสวนที่คลายคลึง กันมาก ทั้งสองชาติโดยบริษัทดอรเนีย ของเยอรมัน และเบรเกท ของฝรั่งเศส (ซึ่งตอมาไดเบรเกทรวม กิ จ การกั บ ดั ส โซลท เ ป น บริ ษั ท ดั ท โซลท -เบร เ กท ) จึ ง ร ว มลงมื อ ดํ า เนิ น การ เพื่ อ ระดมความคิ ด และ เปนการสนับสนุนกิจการดานอุตสาหกรรมการบิน ของทั้งสองประเทศ ซึ่งรัฐบาลเยอรมัน และฝรั่งเศส ได ล งนามความร ว มมื อ กั น ในการออกแบบและ พัฒนาเครื่องบินสนับสนุนนี้ ตั้งแตมกราคม 2512 โมเดลเครื่องบินสนับสนุนไดรับการออกแบบ สรางขึ้นมาเพื่อทําการทดลองในอุโมงคลมหลายสิบแหง กวา 4,000 ชั่วโมง เพื่อแกไขปรับปรุงแบบ กอนมา สรางเปนเครื่องบินจริง ตนแบบไดรับการกําหนดชื่อ วา “อัลฟาเจ็ต 01“ โดยหมายเลข 01 นั้นมาจาก ตัวเลขแบบเครื่องบินเยอรมัน Do P 375 และหมายเลข แบบของเครื่องบินฝรั่งเศส BR 126 ซึ่งตัวเลขทั้งสอง รวมกันเปน 501 จึงนําเอาเลข 01 มาเปนเลขของ อัลฟาเจ็ต แบบของเครื่องบินที่เกิดจากความรวมมือ ของทั้งสองบริษัทถูกสงเขารวมการแขงขันในการ ประกวดเครื่องบินสนับสนุนซึ่งมีผูออกแบบเขารวม การแขงขันถึง 3 แบบ ผลการแขงขันประกาศออกมา เมื่ อ วั น ที่ 23 กรกฎาคม 2513 ให เ ครื่ อ งบิ น แบบ “อัลฟาเจ็ต” เปนผูชนะการประกวด การผลิตเครื่องบินอัลฟาเจ็ตนั้น มีขอตกลง ของคณะกรรมการรวมของทั้งสองชาติกําหนดให บริ ษั ท ดั ส โซลท -เบร เ กท เป น ผู ผ ลิ ต คู สั ญ ญากั บ รัฐบาลและมีบริษัทดอรเนีย เปนบริษัทผูผลิตรวม


โดยทั้ ง สองประเทศตกลงออกค า ใช จ า ยร ว มกั น คนละครึ่งในสวนของคาใชจายมูลฐานเริ่มตนตาม กําหนดในสัญญา เครื่องยนตของ อัลฟาเจ็ต ไดรับการพัฒนา โดยบริ ษั ท เจเนอรั ล อิ เ ล็ ค ทริ ค ทํ า การผลิ ต เครื่องยนตสําหรับติดตั้งกับอัลฟาเจ็ต เปนเครื่องยนต เทอรโบเจ็ตแบบ เทอรโบเมคาลารซาค เจ 85-ยีอี 4 การดําเนินการสรางอัลฟาเจ็ตเริ่มตนตั้งแต วั น ที่ 14 กุ ม ภาพั น ธ 2514 และเพื่ อ เป น การ ปฏิบัติการใหไดอยางมีประสิทธิภาพและไมเกิดการ ซ้ําซอนในการทํางาน จึงมีการแบงหนาที่การผลิต ของเครื่องบินโดยโครงสราง 51% บริษัทดัสโซลทเบรเกท ดําเนินการสรางลําตัวทอนหนา ลําตัวทอนกลาง และการประกอบลําตัว สวนบริษัท ดอรเนีย ทําการ สรางลําตัวทอนทาย ปก และชุดพวงหาง การประกอบ เครื่องตนแบบขั้นสุดทายกระทําทั้งในเยอรมันและ ฝรั่งเศส จนกระทั่งเครื่องตนแบบพรอมทําการบิน ครั้งแรก เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2514 รูปแบบของอัลฟาเจ็ต นั บ ตั้ ง แต เ ครื่ อ งต น แบบ อั ล ฟ า เจ็ ต 01 ทํ า การบิ น ครั้ ง แรก เครื่ อ งต น แบบ 4 เครื่ อ งแรก ถูกสงไปทําการทดสอบที่อิสเตรส ทางภาคใตของ ฝรั่งเศส และที่โอเบิรปฟาฟเพ็นโฮเพ็น ใกลมิวนิค ในเยอรมัน โดยใชนักบินทดสอบของทั้งสองประเทศ รวมกันทํางาน โดยทั่วไปแลวแบบทั้งสองชาตินั้น เหมือน ๆ กันตางกันในรายละเอียดที่ภายหลังจาก การทดสอบและเปดสายการผลิตแลวทั้งสองชาติ ไปแกไขดัดแปลงเอง

การออกแบบอัลฟาเจ็ต 01 ไดรับการออกแบบ ใหปกมีมุมยกแบบกดลงหรือมุมยกเปนลบ 6 องศา ป ก เป น โครงสร า งที่ เ ป น โลหะล ว น โดยป ก ของ รุ น ที่ จ ะใช ใ นเยอรมั น นั้ น มี ตํ า บลติ ด อาวุ ธ ข า งละ 3 ตํ า แหน ง รวม 6 ตํ า แหน ง เพราะเน น เพื่ อ เป น เครื่อ งบิน โจมตี สนั บ สนุน ภาคพื้ น ดิน สว นรุ น ของ ฝรั่งเศสนั้นออกแบบมาใหเปนแบบมาตรฐานทั่วไป มี ตํ า บลติ ด อาวุ ธ เพี ย งข า งละ 2 ตํ า แหน ง และมี ตะขอสํ า หรั บ หยุ ด เครื่ อ งบิ น เมื่ อ ลงในสนามสั้ น เพราะฝรั่ ง เศสเน น ภารกิ จ หลั ก เป น เครื่ อ งบิ น ฝ ก ที่ โ คนป ก ของอั ล ฟ า เจ็ ต ประกอบด ว ยแฟลพแบบ สล็ อ ตสองชั้ น และป ก เล็ ก แก เ อี ย งซึ่ ง ติ ด ตั้ ง อยู ชายปกหลังติดตั้งสปอยเลอรที่ผิวปกดานบนและ ด า นหน า ของแฟลพช ว งนอกความยาวชายป ก ทําใหเกิดรูปฟนขึ้นที่ชายหนาปก ลําตัวมีโครงสรางแบบกึ่งโมโนค็อก โดยมี ภาคตัดขวางเปนรูปไข สวนแพนหางระดับสรางดวย โลหะลวน ทํามุมลูหลังทั้งชายหนาและชายหลังปก มีแฟริงหลังลําตัวตลอดตั้งแตดานหลังที่นั่งนักบิน หลังไปจนถึงชายหนาของแพนหางดิ่ง พวงหางทั้งชุด ติ ด ตั้ ง อยู ที่ ลํ า ตั ว ท อ นท า ยมี แ ผ น ทริ ม ติ ด ตั้ ง อยู ที่ แพนหางขึ้นลงและหางเสือเลี้ยว ฐานลอเปนแบบจักรยานสามลอ คือมีลอ แบบรับหัว โดยที่ฐานลอทั้งหมดสามารถเบเขาไป ในลําตัวได โดยเปนลอเดี่ยว เครื่องยนตของอัลฟาเจ็ต 01 เปนเครื่องยนต เทอร โ บแฟนสเนคมาเทอร โ บเมคาลาร ซ าค 04 ใหกําลังเครื่องละ 2,970 แรงมา จํานวน 2 เครื่อง ระบบการเติมเชื้อเพลิงเปนแบบชนิดใชความกดดัน


จึ ง ทํ า ให มั น สามารถเติ ม เชื้ อ เพลิ ง แล ว วิ่ ง ขึ้ น ทําการบินใหมไดภายในเวลาไมเกิน 15 นาที ในหองนักบินนั้นไดรับการออกแบบใหเปน แบบสองที่นั่งเรียงตามกัน ใชเกาอี้ดีดตัวที่สามารถ ทํา การดีดตัวได ในระดั บต่ํ า ที่นั่ ง หลัง ซึ่ ง เปน ที่นั่ ง ของครูการบินจะติดตั้งไวสูงกวาที่นั่งศิษยการบิน ดานหนา โดยมีกระจกครอบหองนักบินแบบแยก สองชิ้นคือเปนชุดใครชุดมัน ระบบไฮดรอริ กและระบบไฟฟ าซึ่ งอํ านวย การทํา งานของระบบเครื่ อ งยนต ทั้ง ซ า ยและขวา แยกออกจากกันเพื่อความปลอดภัยหากเครื่องยนต ขางใดขางหนึ่งเกิดดับขึ้นมา ระบบอาวุธประจําตัวสามารถติดจรวด และ ระเบิดตาง ๆ ไดมากกวา 5,000 ปอนด โดยมีปนใหญ อากาศ ขนาด 30 มม. ติดตั้งในกระเปาะใตลําตัว อุปกรณอิเล็คทรอนิคสตาง ๆ ของเครื่องบิน อัลฟาเจ็ตไดรับการออกแบบมาใหมีความเหมาะสม ในแตละประเทศ โดยเฉพาะอุปกรณควบคุมระบบ อาวุธตาง ๆ และจอภาพ HUD ที่ใชในการมองและ เล็งเปาเพื่อยิงอาวุธชนิดตาง ๆ สายการผลิตอัลฟาเจ็ต อัลฟาเจ็ต ไดรับการกําหนดชื่อรุนใหมเพื่อ ความชัดเจนมากขึ้น โดยอัลฟาเจ็ต ของเยอรมันนั้น เรียกชื่อวา “ALPHAJET A” ไดรับการสรางทั้งสิ้น 175 เครื่ อ ง โดยเริ่ ม บรรจุ เ ข า ประจํ า การใน กองทัพอากาศเยอรมันตะวันตกตั้งแตป 2522 และ เริ่มทยอยปลดประจําการในชวงสิ้นสุดสงครามเย็น ในราวป ๒๕๓๗ เนื่องจากการรวมประเทศเยอรมัน

และเยอรมันมีเครื่องบินรบมากเกินความจําเปน ภารกิจ ของเครื่องบินสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดอยาง อั ล ฟ า เจ็ ต ถู ก ลดภารกิ จ ลงและไม มี ก ารทดแทน ภารกิจนี้ดวยเครื่องบินแบบอื่น ๆ แตอยางไร และ นับตั้งแตป 2542 เปนตนมาเยอรมันก็ไดทยอยขาย เครื่ อ งบิ น ที่เ หลื อทั้ง หมดให กั บพั น ธมิ ต รที่ยัง คงมี ความจําเปนตองใชเครื่องบินแบบนี้อยู อาทิ ไทย อังกฤษ เปนตน ในสวนของฝรั่งเศสนั้น ไดรับการกําหนดชื่อ เปน “ALPHAJET E” ไดรับการสั่งสรางรวม 144 เครื่อง โดยเริ่มบรรจุเขาประจําการในกองทัพอากาศฝรั่งเศส ตั้งแตป 2521 แมเครื่องบินอัลฟาเจ็ต ของฝรั่งเศส จะไดรับการออกแบบมาใหเปนเพียงเครื่องบินฝก ขั้นสูง แตหลังป 2530 นโยบายการขายอาวุธของ บริษัท ดัสโซท-เบรเกท ตอประเทศที่ร่ํารวยโดยเฉพาะ ในตะวันออกกลาง ทําใหฝรั่งเศสทําการดัดแปลง เครื่อ งบิน ของตนให สามารถเลื อกติดอาวุ ธปลอย นําวิถีตาง ๆ ไดน อกเหนือจากอาวุธ นําวิถีอากาศ สูอากาศในการปองกันตนเอง อาทิ จรวดเอ็กโซเซต ในการตอตานเรือผิวน้ํา ไดถึงสองลูก เปนการเพิ่ม ขีดความสามารถในการสนับสนุนกองเรืออีกแบบหนึ่ง ในช ว งแรกของการเป ด สายการผลิ ต นั้ น อั ล ฟ า เจ็ ต ได รั บ ความสนใจและสั่ ง สร า งจาก กองทั พ อากาศเบลเยี่ ย ม โมร็ อ คโค ไอวอรี่ โ คสต ไนจีเรีย และโตโก รวม 86 เครื่อง ปจจุบัน ALPHAJET ไดรับการจัดหาจาก ประเทศตาง ๆ เพิ่มเติมอีก เชน ไทย อังกฤษ ฯลฯ (อานตอฉบับหนา) “กําเนิดอัลฟาเจ็ตของกองทัพอากาศไทย”


"ถาการออกแบบแบบนี้สาหัสจริง ๆ อยางที่ Kelly Johnson กลาว กองทัพอากาศ ก็คงจะเห็นพองไปเช นนั้ นดวย และกองทัพคงจะให สัญญาการสรางเครื่องบินกับ บริษัทอื่นไปกอน ผมคิดวา เราควรจะรีบสงขอเสนอของเราไปเลย"

Skypig

ดวยคําพูดเหลานั้น Wil is Hawkins เกลี้ยกลอม ให Hall Hibbard ซึ่งเปนรองประธาน และหัวหนา วิ ศ วกรของบริ ษั ท สร า งเครื่ อ งบิ น Lockheed (ล็อคฮีด) รีบสงขอเสนอสัญญาการสรางเครื่องบิน ลําเลียงทางยุทธวิธีแบบใหม ไปใหกองทัพอากาศ สหรัฐอเมริกา เหตุการณนี้เกิดขึ้นเมื่อ 10 เมษายน 1951 ยอนหลังจากวันนี้ไปถึงหกสิบป ขณะนั้น Hawkins ยั ง คงมี อ ายุ เ พี ย ง 37 ป ทํ า งานอยู ใ นแผนก Advanced Design ของล็อคฮีด เขาเปนเพียง หัวหนาแผนกเล็ก ๆ และใชเวลาตลอดสองเดือนเต็ม ในการออกแบบเครื่ องบิ น ต น แบบ ซึ่ ง ถู ก เรี ย กว า รุน 82 ตามกําหนดความตองการของกองทัพอากาศ สหรัฐฯ ซึ่ ง ต อ ม า ไ ด ก ล า ย เ ป น เ ค รื่ อ ง บิ น C-130 Hercules จักรกลสงครามที่นานาประเทศตองการ มีไวในกองทัพ

หลั ง จากสงครามเกาหลีอุ บั ติ ขึ้น แนวคิ ด ในการสรางเครื่องบินลําเลียงทางยุทธวิธีแบบใหมนี้ จึงจบลงอยางเรงดวนในเดือนมิถุนายน 1950 ดวย การเรียกประชุมงบประมาณเสร็จภายในหนึ่งสัปดาห ผู เ ข า รว มประชุ ม หาทางคิดสูต รสํา หรั บคา ใช จา ย ในการวิจัย และพัฒนาเพิ่มเติม นายทหารระดับสูง ของกองทัพอากาศระบุวา กองทัพตองการเครื่องบิน ลํ า เลี ย งทางยุ ท ธวิ ธี ที่ มี ค วามสมบุ ก สมบั น ต อ สนามบินที่ทุรกันดาร เครื่องบินจะถูกใชเปนแกนหลัก สําหรับการลําเลียงยุทธปจจัย ที่จําเปนในการรบ สามารถที่จะขนยายสัมภาระหนัก 30,000 ปอนด เป น ระยะไกลกว า 1,500 ไมล และยั ง ต อ งมี ความสามารถในการลําเลียงกําลังพลไดอีกดวย 2 กุมภาพันธ 1951 เงินเพิ่มเติมไดรวมอยู ในงบประมาณ ซึ่ ง เพี ย งพอต อ ความต อ งการ ของเหล า นายทหารจากกองทั พ อากาศสหรั ฐ อยู แ ล ว พวกเขาจึ ง ได กํ า หนดความต อ งการ


ทางยุ ท ธวิ ธี สู ง ขึ้ น เสนอต อ บริ ษั ท ผลิ ต เครื่ อ งบิ น หลายราย ไดแก Boeing, Douglas, Fairchild และ ล็ อ คฮี ด เครื่ อ งบิ น ลํ า เลี ย งทางยุ ท ธวิ ธี แ บบใหม ตองมีความสามารถ ดังนี้ (1) มีความสามารถที่จะลําเลียงทหารราบ ได 92 นาย หรือทหารพลรม 64 นาย ในรัศมีทําการ 1,100 ไมล หรื อ ลํ า เลี ย งยุ ท โธปกรณ น้ํ า หนั ก 30,000 ปอนด บินไดไกล 960 ไมล (2) ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ได จ ากสนามบิ น ที่ มี ข อ จํ า กั ด ทั้ ง ในด า นความยาว ความกว า ง และ สภาพพื้นผิว (3) มีความสามารถในการบินช าที่ระดับ ความเร็ว 125 knots เพื่อใหทหารพลรมสามารถ กระโดดร ม ออกจากเครื่ อ งบิ น ได อ ย า งปลอดภั ย และเพื่ อ ประโยชน ใ นการบิ น ลง แบบยุ ท ธวิ ธี (Assault Landing) (4) ระวางบรรทุกดานหลังมีทางลาด เพื่อให ยุ ท โธปกรณ ข นาดใหญ ขนย า ยขึ้ น ลงได ส ะดวก และมีประตูดานขาง สําหรับทหารพลรม (5) มีความสามารถที่จะลําเลียง ปนใหญ และรถบรรทุกได (6) ยั ง สามารถปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ต อ ไปได แมวาเครื่องยนตจะดับไปแลวหนึ่งเครื่อง ไมกี่เดือนกอนที่ Hawkins จะเสียชีวิตในวัย 90 ป เขายังมีสภาพรางกายและจิตใจที่สมบูรณ จากบทสั ม ภาษณ เขาหวนนึ ก ถึ ง ข อ เสนอความ ต อ งการของกองทั พ อากาศ ที่ มี เ พี ย งไม กี่ ห น า “เรามีเพียงขอเสนอ บนแผนกระดาษเพียงเจ็ดหนา และไดตั้งทีมงานขึ้นมา พุงเปาตรงไปที่พละกําลัง

ของมั น จํ า แนกรายละเอี ย ด และจํ า กั ด น้ํ า หนั ก พัฒนามันใหเปนจริงขึ้นมาได อยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังตองทํางบประมาณการคาใชจายในการ พัฒนามันอีกดวย" โรงงานผลิตเครื่องบิน Lockheed ถ้ําพยัคฆแหงนี้ คือ สนามประลอง พลังสมอง ของวิศวกรการบินผูยิ่งใหญ “เอกสารข อ เสนอของเรามากกว า ของ กองทัพอากาศ แตยังมีเพียง 130 หนา และอาจจะ หนาไมถึงเศษสามสวนสี่นิ้วดวยซ้ํา เราไดให Hibbard ลงนามสั ญ ญา ที่ มี ค วามมุ ง มั่ น ของบริ ษั ท ในการ ประมาณการคาใชจายในการสรางของเรา เรายังนํา แบบจํ า ลองขนาดสิ บ ห า นิ้ ว ไปให เ ขาดู ด ว ย Hall ดูแบบจําลองนั้น แลวเปดดูเอกสาร และถามคําถาม อีกไมกี่ประโยค เขาถามอีกวา “Kelly Johnson เห็นแบบจําลองนี้หรือยัง?“ ('Kelly Johnson คือวิศวกรการบินชั้นนําของโลก) เพราะเราไมเห็น Kelly มาราวสองสามเดือนแลว แต พ อทราบว า เขากํ า ลั ง ทํ า งานลั บ บางอย า งอยู (โครงการสรางเครื่องบิน F-104)


Hibbard กลาววา “Kelly ควรจะไดดู มันกอน” Hibbard เปนหัวหนาของ Kelly ดังนั้น เมื่อเรียก Willis แลวเขาควรจะเรียก Kelly มาดวย Kelly มองดูเครื่องตนแบบจําลอง แลวพลิกดู ข อ เสนอความต อ งการของกองทั พ ฯ ในเรื่ อ ง ประสิทธิภาพของเครื่องบิน แลวเขากลาววา “หาก Hibbard ลงนามเซ็นสัญญาที่จะสรางมัน เทากับวา คุณจะทําลายบริษัทล็อคฮีด” แลว Kelly เดินออก จากสํานักงานไป Willis กลับไปหา Hibbard อีกครั้ง เขากลาววา “กองทัพอากาศคาดวาเราจะสงขอเสนอ” เราตองบอกกองทัพอากาศวา “เราต อ งการที่ จ ะทํ า มั น และเราต อ ง ไดรับจดหมายตอบในวันนี้ ‘’ ทายที่สุด Hibbard ไดลงนามสัญญาการ สรางเครื่องบิน และ Kelly ยอมคลอยตามในที่สุด สั ญ ญาการสร า งเครื่ อ งบิ น ลํ า ใหม ไ ด ข อ ยุ ติ เมื่ อ 2 กรกฎาคม 1951 บริษัทล็อคฮีดไดรับแจงวา บริษัทฯ ไดรับการคัดเลือกใหเปนผูผลิตเครื่องบินลําเลียง รุนใหม เกาวันตอมากองทัพอากาศสหรัฐฯ รับสัญญา อยางเปนทางการ ในการสรางเครื่ องบิน ตน แบบ สองลําเทาของจริง กําหนดรหัสใหคือ YC-130 สองเพื่อนแท ความขัดแยงในสํานักงานของ Hall Hibbard ระหวาง Willis Hawkins และ Kelly Johnson นั่น อาจเปนความขัดแยงที่ใหญที่สุดของบริษัทล็อคฮีด แต ก็ ไ ม ไ ด เ ป น ครั้ ง แรก และพบเห็ น กั น บ อ ยนั ก

ที่ ส องวิ ศ วกรการบิ น ของโลกปะทะกั น อย า ง ตาตอตา ในปลายทศวรรษ 1930 Kelly รูวาเครื่องบิน P-38 ซึ่งเขาเปนผูพัฒนา จําเปนตองใชเครื่องยนต ใบพัดแบบแกนหมุน counter-rotating propellers (ไรแรงบิดดานขาง) Hawkins ยอนอดีตใหฟงวา “Kelly เชื่อวา เครื่องบินนั้นตองการทิศทาง การหมุนเขาหาหองนักบินจากทางดานบน พวกเรา หลายคนตองชวยกันทําให Kelly เชื่อวา เครื่องบินนั้น ตองการทิ ศทางการหมุนของใบพัดแบบออกจาก ห อ งนั ก บิ น โดยให ใ บพั ด หมุ น ขึ้ น จากด า นล า ง เราพยายามทั้งสองวิธีการในทดสอบการบิน และ ทางเลื อ กของเราดี ก ว า เพราะการขจั ด แรงบิ ด ดานขางหมดไป และยังไดความปลอดภัยสําหรับ นักบินเพิ่มขึ้นอีก เครื่องบิน P-38 จึงบังคับไดงาย และไดกลายมาเปนเครื่องบินที่นักบินอยากจะบิน หลังจากนั้น” วิศวกรการบินเอกของโลกสองคน ไดพบกัน ครั้งแรกในป 1933 เมื่อ Kelly เขามาเปนผูชวย ของ Hibbard ในโครงการผลิตเครื่องบินล็อคฮีด รุน 10 ในอุโมงคลม ของมหาวิทยาลัย University of Michigan เมือง Ann Arbor ซึ่งขณะนั้น Hawkins เปนนักศึกษาปริญญาตรีทํางานในอุโมงคลมของ มหาวิทยาลัย “การออกแบบเครื่องบิน Electra แบบ มีแพนหางแนวตั้งเดี่ยว ซึ่งมีพื้นที่ไมเพียงพอ ตอการ ควบคุ ม เครื่ อ งบิ น ให มี เ สถี ย รภาพมั่ น คง เมื่ อ เครื่องยนตเครื่องหนึ่งเกิดปญหา Hawkins บันทึกถึง เพื่อนรวมงานอยางยกยองไววา “Kelly มากับความคิด


ในการแกปญหานั้น โดยติดตั้งแผนเพิ่มพื้นผิวไวบน แพนหางระดั บ ไม เ พี ย งแต เ ป น การเพิ่ ม พื้ น ที่ ใ ห เพียงพอแลว พวกเขาติดตั้งเสื้อหางในตําแหนงที่ รับแรงลมจากใบพัดไดตลอดเวลา ซึ่งทําใหควบคุม เครื่องบินไดดีในทุกภาวะ Kelly และ Hawkins ไดรวมกันสรางแนวทางใหม ๆ สําหรับรูปแบบหาง ของเครื่ อ งบิ น ในอุ โ มงค ล ม และรู ป แบบที่ ไ ด รั บ การเปลี่ ย น ทํ า งานได ผ ลดี เครื่ อ งบิ น Electra ประสบความสําเร็จอยางมาก ผลิตออกมา 148 เครื่อง ใชงานในสายการบิน Electra เปนตนแบบโดยตรง ของเครื่องบินทิ้งระเบิดลาดตระเวน (Hudson) ใน สงครามโลกครั้งที่สอง และเครื่องบินลาดตระเวน แบบ P-3 (มีประจําการใน ทร.ไทย)

ในอีกสิบปตอมา "เราประสบปญหาความ เสถี ย รภาพการควบคุ ม การบิ น กั บ เครื่ อ งบิ น Constellation อีก Hawkins ระลึกความหลังในการ สรางเครื่องบินลํานี้วา “การออกแบบเดิม ไดกําหนด ใหติดตั้ง แพนหางคู แตไม ได ใหความเสถี ย รภาพ ตอการควบคุมเพียงพอ สําหรับเครื่องบินโดยสาร ขนาดใหญ เราไมสามารถทําใหแพนหางคูสูงขึ้นไดอกี

เพราะความสูงของโรงเก็บเครื่องบินของสายการบิน TWA ที่มีอยู สูงไมพอ เราไมสามารถขยายมันได จากฐานลางของแพนหางระดับ เพราะมันอาจครูด กับผิวสนามบินขณะรอนลง เขาแกปญหาโดยติดตั้ง แพนหางดิ่งแบบสามชิ้น แพนหางดิ่งแบบสามหาง จึงเปนเอกลักษณเดนของเครื่องบิน Constellation ที่จดจํากันไดอยางคุนเคย Hawkins เปนเด็กกําพราอยูกับแม ซึ่ง หยาขาดจากพอ เขาไดเขาโรงเรียนมัธยม ระหวาง การเขาคายฤดูรอน ครูบอกแกนักเรียนวา "หาคน ในชั้นเรียนของเรา จะไดเขาเรียนในมหาลัย" Hawkins จําไดดี "แตโชคไมดีที่โรงเรียนของเขา ไมไดรับการ รับรองจากสถาบันใดในโลก” "เขาตัดสินใจไปที่ University of Michigan แต เ ขาได รั บ การบอกว า เขาต อ งทํ า การทดสอบ ถึง 15 ขั้น ตอน แตก็ยังไมแนว า จะได เรีย นหรือไม เขาไมตองการทําเชนนั้น เขาจึงเขาเรียนในวิทยาลัย เล็ ก ๆ ในรั ฐ อิ ล ลิ น อยส ข องอเมริ ก า ที่ มี นั ก เรี ย น ประมาณ 1,200 คน เขาเรียนวิชาคณิตศาสตรและ วิชาฟสิกสทั้งหมด แลวจึงโอนไปเรียนตอที่ Michigan” "เขาไดศึกษาวิชาฟสิกสขั้นสูงที่ Michigan และผานการสอบทั้งหมด แตเขาไมไดเลือกเรียนเอก หลั ก สู ต รฟ สิ ก ส ใ ดเลย ภาควิ ช าฟ สิ ก ส จึ ง ไม ใ ห เขาจบ เพราะไมเลือกเรียนฟสิกสโดยเฉพาะ เขาออก จากมหาวิ ทยาลั ย และหางานในภาคอุ ตสาหกรรม หลังจากนั้นหนึ่งปเขาจึงรูสึกถึงผลกระทบของการ ขาดปริญญา เขาขอกลับไปเรียนฟสิกสเฉพาะทาง และไดรับปริญญา หลายทศวรรษผานมา Hawkins ไดรับปริญญาเอกกิตติม ศักดิ์ หลัง จากอธิการบดี


มหาวิ ท ยาลั ย พิ จ ารณาร ว มกั บ ภาควิ ช าฟ สิ ก ส เกี่ยวกับวิช าฟสิกส 101 ที่ ขาดหายไปจากบัน ทึก ผลการเรียน (transcript) ของเขา” ในป 1937 Hawkins และเพื่อนรวมหองเรียน ทั้งหมดสามคนไดรับโทรเลข จากล็อคฮีด "เขาไดรับ การวาจาง” ตามคําแนะนําของ Kelly Hawkins กลาว "โทรเลขนั้นระบุคาจางเริ่มตน 1,500 เหรียญตอป” เราทั้งสามอาศัยในโรงงานล็อคฮีด และเราคิดวา เราคอนขางประสบความสําเร็จในการทํางาน การออกแบบ C-130 หนึ่ ง ในจํ า นวนของเครื่ อ งบิ น ล็ อ คฮี ด หลายตอหลายลําที่ถือเปน มรดกโลก ไดมีลายนิ้วมือ Hawkins ประทับอยูดวย เพราะเขาได เ ป น ผู ห นึ่ ง ที่ออกแบบ อาทิโครงสราง เครื่องบิน P-38, Hudson, และ Lodestar ในป 1947 เขาได บ ริ ห ารและเป น หั ว หน า ที ม พั ฒ นา X-7 ทดสอบเครื่ อ งยนต แ บบ ramjet เขาเปนหัวหนากลุมการออกแบบเบื้องตน ที่ผลิตเครื่องบินอันเปนตํานานของโลกไดแก P-80, XF-90, F-94 และ F-104 แลวมาปกหลักในการ พัฒนา C-130 "การทํางานหลาย ๆสิ่ง เพื่อรัฐบาลสหรัฐฯ มักมีสิ่งซับซอนเล็กนอยเกิดขึ้นเสมอ” Hawkins สังเกตวา "โครงการC-130 ก็เปนเชนนั้น” ขอเสนอ ความตองการเครื่องบินใหม ที่กําหนดความสูงและ

น้ํ า หนั ก ของยุ ท โธปกรณ ที่ ต อ งบรรทุ ก ไปได แต นับเปนความกรุณาที่ดี ของกองทัพอากาศ ที่ไดให ประชาชนคนภายนอกระบุความตองการของกองทัพ อยางถูกตอง ในครั้งแรกที่ลงมือสรางเครื่องบินลํานี้ กองทัพอากาศไมมีรูปรางเครื่องบินอยูในใจมากอน พวกนายทหารที่เกี่ยวของกับเครื่องบินรบทางยุทธวิธี ผูซึ่งกําลังจะไดรับเครื่องบิน รูแตเพียงประสิทธิภาพ ของเครื่องบิน เทานั้น แตไมเคยเห็นรูปรางที่แทจริง “ที่เหลือทั้งหมด จึงขึ้นอยูกับเรา" "เราใชมิติขนาดของยุทโธปกรณใหญที่สุด ของกองทัพอากาศมาเปนตัวอยาง ในการออกแบบ อยางงาย ๆ โดยไดเขียนวงกลมลอมรอบยุทโธปกรณ

นั้น แลวนํามาทําเปนวงลําตัว แบบทอขนาดใหญ ซึ่งมีความยาวขนาดเทาตูรถไฟ เราใสปก สวนหัว และหางให แ ก มั น นั่ น คื อ การได อ อกแบบมั น ” Hawkins กลาว "เราวางมันลงกับพื้น เพื่อใหเรา สามารถออกแบบทางลาด(Ramp) เพื่อรับยุทโธปกรณ เขา และออกจากระวางบรรทุกอยางงายดาย” ทีมออกแบบตระหนักวามันเปนเครื่องบิน ลําเลียงทางอากาศยุทธวิธีลําแรก ที่กองทัพอากาศ ออกแบบมาตั้งแตเริ่มตน "แมวา Kelly ไมเห็นดวย


แตเราคิดวา C-130 อาจมีสายการผลิตที่ยาวนาน สําหรับกองทัพอากาศ" Hawkins บันทึกไววา "ทันทีที่กองทัพอากาศสหรัฐฯเริ่มบินเครื่องบินลํานี้ กองทัพอากาศอื่น ๆ จะมาหาเรา และเริ่มตั้งคําถาม เกี่ยวกับมัน‘’ ล็ อ คฮี ด สร า งแบบจํ า ลองตั ว เต็ ม เท า ของ จริง ขึ้ น ประกอบด ว ยเครื่ อ งยนต ห นึ่ ง เครื่อง และ สวนปก รัฐบาลไดมองเห็นรูปจําลองเปนครั้งแรก ใหคณะกรรมการไดตรวจสอบดวยตัวเอง "เราตั้งโตะ และวางแผนการสรางบนพื้นระวางบรรทุก” Hawkins กล า ว "หลั ง จากคณะกรรมการของกองทั พ ฯ ตรวจสอบแล ว ก็ ไม ได เ ปลี่ ย นแปลงอะไรมากนั ก นอกเหนื อ จากที่ อ อกแบบไว มี ก ารเปลี่ ย นแปลง รายละเอียดเพียงเล็กนอยภายในหองนักบิน เทานั้น แตเราไม สนใจการเปลี่ย นแปลงเหล า นั้น มากนัก เพราะเนื่ อ งจากเรายั ง ไม ส ร า งต น แบบลํ า จริ ง ออกมา ในวั น นั้ น C-130 ยั ง อยู ใ นแผ น กระดาษ เครื่องบินในสายการบินทั้งหมด อาทิ DC-4, DC-5 (Stratoliner) และ Constellation ลวนมีวิศวกร ประจําเครื่องบิน “นักบินคิดวาเครื่องบินมีเครื่องยนต หลายเครื่ อ ง เกิ น กว า ที่ จ ะควบคุ ม ได ทั้ ง หมด เครื่องบินไมสามารถที่จะใชคนเพียงสองคนในการ ปฏิบัติภารกิจ" Hawkins สังเกตวา "นักบินผูชวย (Copilot) และวิศวกรการบินทําหนาที่ควบคุม เครื่องยนตและระบบ สวนนักบิน(Captain) จะได บินมันเพียงอยางเดียว“ C-130 รุนแรกผลิตออกมา พรอมการเปลี่ยนแปลง ที่ยังไมมีใครไดใชกันมากอน คือ เครื่องยนตกังหันไอพน (Turbo Propeller)

โดยใชเครื่องยนต Allison T56 เปนกลไกที่ซับซอน ในชวงเวลานั้น ไมมีใครแนใจวา อุปกรณมากมายที่ จะนําไปติดตั้ง ใหวิศวกรการบินควบคุมเครื่องยนต มีอะไรบาง Dick Pulver วิศวกรในโครงการ P-38 และ Constellation ไดรับเลือกใหเปนหัวหนาวิศวกรนํา ในโครงการ C-130 "เราตั้งหนวยงานหลายหนวย แยกออกจากกัน สําหรับเครื่องบินตนแบบสองลําแรก และตั้งสายการผลิตคูขนานกัน Dick Pulver ไดทํา ผลงานที่ยอดเยี่ยม" Hawkins กลาว "เครื่องบิน ทั้ ง สองลํ า ได ถู ก ส ง ตรงตามกํ า หนดเวลา และ คาใชจาย นักบินทดสอบใหผลการประเมินเครื่องบิน ออกมาเปนอยางดี มีประสิทธิภาพตรงกับประมาณ การของเรา" เที่ยวบินแรกของ YC-130 ซึ่งเปนเครื่องบิน ลํ า ที่ ส องได ขึ้ น บิ น สู ท อ งฟ า ในวั น ที่ 23 สิ ง หาคม 1954 โดยนักบินทดสอบของบริษัทชื่อ Stan Beltz และ Roy Wimmer โดยมี Dick Stanton เปนวิศวกร การบินและ Jack Real เปนวิศวกรเที่ยวบินทดสอบ ในชวงเวลา 61 นาทีนั้น เครื่องบินไดบินจากเมือง Burbank ไปยังสถานีทดสอบการบิน Edwards AFB ที่อยูใกลเคียง Johnson ไดเปลี่ยนความคิดที่มีตอ C-130 ไปอยางมาก ในขณะที่เครื่องบินไดถูกสราง ขึ้น เขาไดบินเครื่องบิน P2V ติดตามไปเปนเครื่องบิน พี่เลี้ยง คอยชวยเหลือระหวางการบินทดสอบวันนั้น เครื่องบินตนแบบ YC-130 เปนเครื่องบิน ลําแรกที่ออกสายจากสายการผลิต ไดนําไปทดสอบ หาข อ มู ล ทางภาคพื้ น ก อ น และได ขึ้ น บิ น ครั้ ง แรก ในวันที่ 21 มกราคม 1955


ในขณะนั้ น โรงงานการผลิ ต ของล็ อ คฮี ด เ ต็ ม กํ า ลั ง อ ยู กั บ ก า ร ผ ลิ ต เ ค รื่ อ ง บิ น T-33, Constellation, และ Neptune Burbank ไมมีพื้นที่ ใหสายการผลิตเพิ่มเติม ไมนานนักหลังจากล็อคฮีด ไดรับสัญญาการผลิต C-130 ล็อคฮีดตัดสินใจที่จะ ยายโรงงาน ไปแหงใหมในรัฐจอรเจียหาก C-130 ไปสูการผลิตเต็มรูป "เราเพิ่ ง จะเป ด โรงงานการผลิ ต แห ง ที่ 6 ในเมือง Marietta ใหกับกองทัพอากาศในการได สิทธิบัตรผลิต B-47 Stratojet” Hawkins กลาว “ล็อคฮีด และ Douglas ไดรับสิทธิที่จะเปนสอง ผูผลิตเครื่องบินทิ้งระเบิด เราจึงไดสะสางอาคาร โรงงาน Marietta และตัดสินใจวา เราไดพื้นที่มากมาย ในการสรางเครื่องบิน C-130” "เราไดสงทีมงานออกแบบไปปกหลักในรัฐ จอร เ จี ย พวกเขามี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ การผลิ ต เครื่ องบิน ตามความตองการของกองทั พ อากาศ" Hawkins recalls "สวนใหญของพวกเขาเอะอะ และโอดครวญ เพราะพวกเขาไม ต อ งการ ที่ จ ะ ทํ า อะไรในจอร เ จี ย แต เ มื่ อ เวลาผ า นไปสองป เราพยายามใหพวกเขากลับไปแคลิฟอรเนีย และ

พวกเขาเอะอะ และโอดครวญ อี ก ครั้ ง เพราะ พวกเขาชอบจอรเจียมากกวา พวกเขาไมตองการ กลับมา" ตํานาน C-130 Hercules จึงเกิดขึ้นใน จอรเจีย นับตั้งแตนั้นมา "ที ม ออกแบบพยายามเปลี่ ย นแปลง บางอยาง เพื่อให C-130 มีราคาถูกลงในสายการผลิต แต ทํ า ได ไ ม ม ากนั ก เพราะมั น ลงตั ว ที่ สุ ด อยู แ ล ว ภาพความแตกตางระหว างเครื่องบินในสายการผลิต และตนแบบ แทบไมสังเกตเห็น” Hawkins บันทึกไววา "อะไรเกิดขึ้นกับ C-130 ตั้งแตวันแรก มันยังคงอยู อยางเดนชัดในวันนี้” หลังจากเขาไดทํางานในโครงการเครื่องบิน แบบพิเศษ XFV ที่สามารถบินขึ้นลงในแนวดิ่ง Hawkins ไดรับมอบหมายใหอยูกับโครงการใหม ของล็อคฮีด ในการผลิตจรวด และอวกาศ ในเมือง sunnyvale California ใกลกับ San Francisco "เขาเปนคนหนึ่งในผูกอตั้งโครงการการผลิต จรวดและอวกาศ และสิ้นสุดหนาที่ลงในโครงการ อวกาศ อาจกล า วได ว า เขาเป น ครึ่ ง หนึ่ ง ของ


ความสําเร็จโครงการฯ” ในสิ่งอื่น ๆ ที่เขาทํา ไดแก เปนหัวหนาทีมทดสอบยาน X-17 และจรวด UGM-27 Polaris ที่ใชฐานปลอยในทะเล และเปนผูเปดโครงการ ขีปนาวุธนําวิถี SLBM แบบแรกของกองทัพเรือสหรัฐฯ เขาไดรับรางวัลดีเดน เหรียญ Public Service ของ กองทัพเรือ "หนึ่งในโครงการลับของเขา ในขณะที่โครงการ การผลิตจรวดและอวกาศ ยังคงเปนความลับ ที่เพิ่งได เปดเผยออกมาสามปที่ผานมา" Hawkins เผยวา "เราบันทึกภาพของประเทศรัสเซียจากอวกาศ และ หากคุณคิดวาโครงการสรางดาวเทียม Corona จะ ไมมีอะไรนาตื่นเตน แตจริง ๆ แลวมีเรื่องนาตื่นเตนเกิด จากความผิดพลาด ที่ทําใหดาวเทียมดวงหนึ่งตก ในแอนตารกติกา และอีกดวงหนึ่งหายไปในฟนแลนด” ภารกิ จ แรกในโครงการอวกาศ Corona ใกลประสบความสําเร็จ เกิดขึ้นในความพยายาม ครั้งที่ 13 แตกลองบรรจุฟลมที่ปลอยออกมาจาก ดาวเทียม เกิดหายไป เมื่อมันตกลงหางจากที่หมาย 1,200 ไมล ความพยายามครั้งที่ 14 ประสบความสําเร็จ เมื่อสามารถกูเก็บคืนกลองบรรจุฟลมได "คณะทํางาน ของประธานาธิบดี Eisenhower กลาววาเปนวัตถุ ชิ้ น แรกที่ เ คยกู คื น มาได จ ากการปล อ ยดาวเที ย ม ประธานาธิ บ ดี เ ลื อ กกล อ งบรรจุ ฟ ล ม ชิ้ น นี้ นํ า ขึ้ น แสดงในสถาบั น Smithsonian" แต ห ลัง จากนั้น เครื่อ งบิน JC-130 Hercules ที่ไดรับการดัดแปลง ได เ ข า ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ สํ า หรั บ การกู คื น กล อ งบรรจุ ฟลมกลางเวหา แทนวิธีเดิม Hawkins ไดทําหนาที่เปนผูชวยเลขานุการ โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาของกองทั พ บกสหรั ฐ ฯ

ในระหวางป 1962-1965 ซึ่งเขาเปนเสมือนผูจุดชนวน ในการเริ่มตนพัฒนารถถัง M1 Abrams เขากลับไป ล็อคฮีดอีกและสนับสนุนให Hibbard เปนประธาน คณะกรรมการของบริ ษั ท และเกษี ย ณออกจาก ล็อคฮีดในป 1980 แต Roy Anderson ประธานของ ล็อคฮีด ไดเชิญ Hawkins กลับมาทํางานอีกครั้ง หนึ่งใน California เขาทํางานอยูจนกระทั่งป1986 จึงเกษียณไดไปอยางถาวร แมในชวงเกษียณอายุ Hawkins ถูกเรียก ให เ ป น ที่ ป รึ ก ษา ในระหว า งการทดสอบบิ น ของ C-130J ทีมนักบินทดสอบตองนําเครื่องบินกลับ มาลง เพื่อคํานวณหาความเร็วรวงหลนของเครื่องบิน รุนใหมนี้ เพราะมันบินตอไปไดแมความเร็วจะลด ต่ําลงมาก "ณ จุดนี้ นักบินและลูกเรือเริ่มสงสัยวา ความเร็วรวงหลนที่แทจริงอยูที่เทาไร” Hawkins บันทึกไววา "พวกเขาชะลอความเร็ว เครื่องบินลง ชะลอแลว ชะลออีก แตกลับไมมีอะไร เกิดขึ้น” แตโดยทันทีทันใด ที่ความเร็วชามาก ๆ C-130 ลําใหม ไดมวนตัว ดิ่งลงอยางฉับพลัน ทําให ทีมนักบินทดสอบตระหนก มันดูเหมือนเรามีปญหา ตรงที่ เครื่องบินใหมลํานี้ ยากที่จะรวงหลน "วิ ศ วกรการบิ น หลายคนช ว ยกั น หาทาง ปรั บ ปรุ ง ระบบอากาศพลศาสตร ข องเครื่ อ งบิ น C-130J Hercules รุนใหม ซึ่งมีใบพัด 6 กลีบ โดย การปรับปรุงพื้นผิวของโคนปก ใหอากาศไหลผาน ไปไดอยางราบเรียบ เขาใชเวลาสองถึงสามเดือน ในจอรเจีย ชวยใหวิศวกรการบินรุนใหมทํางานนั้น จนผานพนไปได ระบบควบคุมการไหลของอากาศ บนพื้ น ผิ ว ไม ไ ด รั บ การออกแบบมาตั้ ง แต แ รก”


Hawkins เสริมวา “เราพยายามติดตั้ง vortex generators, rakes, fences, และ leading-edge stall strips แตไมสามารถทําใหมัน Stall ได เราจบลงดวยการ ติดตั้ง stick pusher เชนเดียวกับเครื่องบินขับไล ซึ่ ง ระบบนี้ จ ะทํ า หน า ที่ แ ทนนั ก บิ น ด ว ยการโน ม หัวเครื่องบินลง เมื่อใกลถึงจุดรวงหลน ใครก็ตาม จึงไมสามารถทําให C-130J รวงหลนจากฟาได

ทํ า งานในโครงการล า สุ ด ของเขา คื อ เครื่ อ งบิ น ขนาดเบา ซึ่ ง มั น กลั บ ขั้ ว กั บ ผลงานของเขา ที่ มั ก สรางเครื่องบินลําใหญ ไดอยางยิ่งใหญ เขาเสียชีวิต อยางสงบเมื่อ 28 กันยายน 2004 รวมอายุได 90 ป เขามอง C-130 เปนหนึ่งในความสําเร็จ อัน ยิ่งใหญของเขา เขากลาววา C-130 ไมใชเครื่องบินที่ ดึงดูดความนาสนใจได ในทันทีเมื่อแรกเห็น แตกวา หกสิ บ ป มั น ยั ง คงอยู ใ นสายการผลิ ต และยั ง คง ปฏิบัติภารกิจตามที่ไดถูกออกแบบมา นั่นคือคําตอบ ของคําถาม จากผูที่ตองการจะซื้อมัน Irv Culver วิศวกรคนหนึ่งของล็อคฮีดกลาววา หากเราทําให มันถูกตองตั้งแตแรก เราจะขายมันใหใครก็ได ฉัน คิดวา “เราไดทํ า ในสิ่ง ที่ ถูก ตอง ตั้ง แต แรกแลว”

กอนเสียชีวิตไมนาน Hawkins อธิบาย ถึ ง ตั ว เองว า เป น “คนชราวั ย เก า สิ บ และอ ว น" แต จ ริ ง แล ว เขาไม อ ว นเกิ น ไป เขาเป น เจ า ของ สนามบิ น เล็ ก ๆ ภายใต ชื่ อ ของเขาเอง Hawkins (เปนสนามบินหญาในภาคเหนือ Michigan ซึ่งเขา ไมเคยนําเครื่องบินลงดวยตัวเอง) ชวงวาระสุดทาย ของชีวิตเขาขับรถไปสนามบิน Van Nuys ทุกวัน ธรรม จากบทความ Willis Hawkins And The Genesis Of The Hercules โดย Jeff Rhodes จากหนังสือ Code One 2004 นาวาอากาศโท ธีระพงษ คงสมฤทธิ์ แปล


“...การศึก ษาเปน เครื่อ งมือ อัน สํา คัญ ในการพัฒ นา ความรู ความประพฤติ ทัศ นคติ คา นิยมและคุณ ธรรมของบุค คล เพื่อใหเปน พลเมือ งที่ดี มีคุณ ภาพ และประสิท ธิภ าพ เมื่อ บานเมืองประกอบไปดวยพลเมืองที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศชาติก็ยอม ทําใหไดโดยสะดวกราบรื่นไดผลที่แนนอน และรวดเร็ว...” (พระราชดํารัส พระราชทานแกครูใหญและนักเรียน ณ ศาลาดุสิดาลัย พระราชวังดุสิต ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๒๐)

ปชส.ยศ.ทอ.

แนวความคิดพื้นฐานในการเสนอโครงราง จัดตั้งกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ไดมาจากการ จั ด การภายในโรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารอากาศ การดูงาน การรวบรวมหลักสูตร เอกสารเกี่ยวกับ โรงเรียนตาง ๆ ในกองทัพอากาศอังกฤษ จากนั้น กองทัพอากาศจึงไดเริ่มปรับปรุงอัตรากําลังพลใหม ในป ๒๔๙๑ ซึ่งไดขยายกิจการของแผนกโรงเรียน เสนาธิ ก ารทหารอากาศขึ้ น เป น กรมยุ ท ธศึ ก ษา ทหารอากาศเที ย บเท า กองพลบิ น และเป น หนว ย ขึ้ น ตรงต อ ผู บั ญ ชาการ โดยมี พ ลอากาศโท หลวงเชิ ด วุ ฒ ากาศ เป น เจ า กรมยุ ท ธศึ ก ษา

ทหารอากาศ คนแรก การขยายกิจการและปรับปรุง โครงสรางนี้ไดโอนโรงเรียนตาง ๆ ที่เคยขึ้นกับหนวยอื่น เขามารวม และตั้งขึ้นใหมเพื่อใหการศึกษาทุกประเภท ในกองทัพอากาศ มารวมการบังคับบัญชาอยูกับ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศทั้งหมด และไดมีการ พัฒนาโครงสรางกําลังพลและกิจการตาง ๆ ตอเนื่อง มาจนถึง ณ วันนี้เปนเวลา ๖๒ ป ภารกิจของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศคือ การวางแผนการปฏิบัติ อํานวยการ ประสานงาน กํ า กั บ ดู แ ล และดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การศึ ก ษา การฝกอบรม แกกําลังพลของกองทัพอากาศ ตามที่


กองทั พ อากาศกํ า หนด และการอนุ ศ าสนาจารย รวมทั้งตรวจตรากิจการในสายวิทยาการ ดานการศึกษา ธรรมชาติ

และการฝ ก และการอนุ ศ าสนาจารย มี เจ ากรม ยุทธศึกษาทหารอากาศ เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ.

พล.อ.ต.คะเชนทร วิเศษรจนา รอง จก.ยศ.ทอ.

พล.อ.ต.เผด็จ วงษปนแกว รอง จก.ยศ.ทอ.

พล.อ.ต.ยงยุทธ หาบุบผา เสธ.ยศ.ทอ.


นับตั้งแต ๑ เม.ย.๕๒ เปนตนมา หัวใจสําคัญ ของภารกิ จ ยศ.ทอ.ตามโครงสร า ง ทอ.๕๒ คื อ การผลิ ต บุ ค ลากรที่ ก า วเข า มาในกองทั พ อากาศ และข า ราชการในกองทั พ อากาศให มี ค วามรู ความสามารถเพื่ อ นํ า ไปประยุ ก ต ใ ช ใ นการ ปฏิบัติงานจริง ตั้งแต ระดับเจาหนาที่ จนถึงระดับ ผูบังคับบัญชา โดยมีสถานศึกษา รร.จอ.ยศ.ทอ., รร.นป.ยศ.ทอ., รร.นม.ยศ.ทอ., รร.คท.ยศ.ทอ., รร.นฝ.ยศ.ทอ., รร.นอส.ยศ.ทอ., รร.สธ.ทอ.ยศ.ทอ. และ วทอ.ยศ.ทอ. เป น หน ว ยงานหลั ก ในการ ดําเนินการเกี่ยวกับการศึกษาและฝกอบรม ใหเปนไป ตามที่กองทัพอากาศกําหนด ซึ่งจะตองมีการพัฒนา หลั ก สู ต รอย า งต อ เนื่ อ งเพื่ อ ให ไ ด ม าซึ่ ง กํ า ลั ง พล ที่สําเร็จการศึกษาอันเปยมไปดวย Air Mind และ จิตวิญญาณของความเปนผูนํา สามารถปฏิบัติงาน ให กั บ กองทั พ อากาศได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน ระดับงานที่แตกตางกันไปทั้งยุทธวิธี ยุทธการ และ ยุทธศาสตร งานในระดับ ทอ.ที่ ยศ.ทอ.ใหการสนับสนุน ได แก การทดสอบความถนั ดและวิภ าววิสัย เพื่ อ คัดเลือกบุคคลที่มีความสามารถเขาเปนนักเรียน ทหาร ขาราชการ และศิษยการบิน การพัฒนาระบบ e – learning เพื่อใชในการศึกษาคนควาการเรียน การสอนของหลักสูตร PME ใน รร.หลักขั้นปลาย รวมทั้งการเรียนรูภาษาอังกฤษ online และทดสอบ ความรู ECL ดวยตนเองผานทาง www.rtaf.mi.th ซึ่งไดดําเนินการตามยุทธศาสตร ทอ.Phase 1 (Digital Air Force) ตลอดจนการพัฒนาเสริมสราง สุ ข ภาพด า นจิ ต ใจกํ า ลั ง พล ทอ. ให มี ศี ล ธรรม

คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมด ว ยการจั ด อบรมและ ปฏิบัติธรรม ของอนุศาสนาจารย ยศ.ทอ. งานตามนโยบาย - ยศ.ทอ.ไดตระหนักถึงการดําเนินงานตาม ยุทธศาสตร ทอ.ดานการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย โดยไดจัดโครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันเฉลิม พระชนมพรรษา และวโรกาส ๖๐ ป แหงการบรม ราชาภิเษก ซึ่งมีพิธีถวายราชสดุดีเทิดพระเกียรติแด พระองคทา น กิจกรรมเผยแพร พระราชกรณีย กิ จ กิจกรรมศูนยการเรียนรูตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง - ดาน ICT ยศ.ทอ.ไดประยุกตใช ICT เพื่อ พัฒนาองคกรใหเปน องคกรแหงการเรียนรูอยา ง ตอเนื่องยั่งยืน มุงสูสังคมฐานความรู รองรับนโยบาย ผบ.ทอ.อาทิ ระบบ e – learning ระบบจําลองยุทธ ระบบห อ งสมุ ด อั ต โนมั ติ แ ละระบบเอกสารวิ จั ย อิเล็กทรอนิกส - เป น ประจํ า ทุ ก ป ยศ.ทอ.ได ดํ า เนิ น การ รั บ ฝากบุ ต รข า ราชการ ทอ.เข า ศึ ก ษาใน รร.รอบ ดอนเมื อ ง และมอบทุ น การศึ ก ษาให แ ก นั ก เรี ย น ใน รร.รอบดอนเมือง - เพื่อพัฒนาความสัมพันธอันดีใหแนนแฟน ยิ่ ง ขึ้ น ยศ.ทอ. ได จั ด หลั ก สู ต รภาษาไทยสํ า หรั บ นายทหารสาธารณรั ฐ สั ง คมนิ ย มเวี ย ดนามตาม โครงการแลกเปลี่ ย นความรู ด า นภาษาของ กห.กห.เวี ย ดนาม และหลั ก สู ต รภาษาไทย สํ า หรั บ นายทหารตางประเทศเพื่อเตรียมความพรอมกอน ไปศึกษาหลักสูตรหลัก ณ วปอ., รร.สธ. เหลาทัพ และ รร.นฝ.ยศ.ทอ.


ความมุ ง มั่ น ของบุ ค ลากร ยศ.ทอ.จะ ไมหยุดนิ่ง แตจะกาวกระโดดพัฒนาดานการศึกษา ตอไปเพื่อผลิตกําลังพลใหมีความรูความสามารถ ทั ด เที ย มกั บ นานาประเทศ อั น นํ า มาซึ่ ง บรรลุ ยุทธศาสตร ทอ. สมกับวิสัย ทัศนของ ทอ.ที่ตั้งไว “One of the Best Air Forces in ASEAN” เนื่ อ งในวั น คล า ยวั น สถาปนา ยศ.ทอ. ครบรอบ ๖๒ ป ในวันที่ ๗ ม.ค.๕๔ ยศ.ทอ.กําหนด จัดประกอบพิธีทางศาสนาและกิจกรรม เพื่อความ เปนสิริมงคลกับขาราชการ ลูกจาง และพนักงาน ราชการดังนี้ - พิธีถวายสักการะพระพุทธปญโญภาสอากาศมงคล พระพุทธรูปประจําหอพระกรมยุทธศึกษาทหารอากาศและประกอบพิธีบวงสรวง เพื่อ ความเป น สิ ริ ม งคลกั บ ข า ราชการ ลู ก จ า ง และ พนักงานราชการ - พิธีสงฆ - พิธีพุทธาภิเษกพระราชกุศลและสมโภช พระประธานประจําพุทธสถาน ยศ.ทอ. - จก.ยศ.ทอ. ปฏิ บั ติ ง านกุ ศ ลตามที่ ไ ด กําหนดไว - พิธีปดงานฯ ณ บริเวณหนาอาคาร บก. ยศ.ทอ. ผลงานในรอบปที่ผานมา ๑) การปฏิบัติงานตามนโยบาย ผบ.ทอ. - จัดโครงการเฉลิมพระเกียรติ ๕ ธันวาคม และ๑๒ สิงหาคม เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา รวมทั้ ง โครงการเฉลิ ม พระเกี ย รติ ๖๐ ป ธรรมชาติ

แหงการพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อ ๕ พ.ค.๕๓ - จัดอบรมพัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษ และจัดทําแบบทดสอบ ECL แบบ e-learning - จัดทําหลักสูตรผูบริหารการศึกษารุนที่ ๑ - ดําเนินการรับฝากบุตรขาราชการ ลูกจาง และพนักงานราชการของ ทอ. เขาศึกษาในสถาบัน ศึกษารอบดอนเมือง - ดํ า เนิ น การมอบทุ น การศึ ก ษาในนาม ผบ.ทอ. ใหแกนักเรียนของสถานศึกษารอบดอนเมือง

๒) การปฏิบัติงานตามภารกิจ - จั ด การศึ ก ษาในหลั ก สู ต รต า ง ๆ ของ หนวยขึ้นตรงกับกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ตาม วงรอบการศึกษาปกติ - กอศ.ยศ.ทอ. มีการจัดอบรมคุณธรรมและ จริยธรรม การปฏิบัติพิธีกรรม ใหคําปรึกษาทางธรรม เสนอบทความทางธรรมทางเสียงตามสาย - จัดการศึกษาหลักสูตรภาษาไทยสําหรับ นายทหารต า งประเทศ รุ น ที่ ๓๐ และหลั ก สู ต ร ภาษาไทยสําหรับนายทหารเวียดนามป ๕๓


๔) อื่น ๆ

๓) แผนงาน/โครงการสําคัญ - ปรั บ ปรุ ง อาคารสถานที่ ข องหน ว ยที่ เกี่ยวของ - นํ า ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช ในการปฏิบัติงานและพัฒนาหนวยใหมากขึ้น - โครงการจัดตั้งศูนยการเรียนรูดวยตนเอง

- สงผลงานประกวดนวัตกรรมในการใชงาน e-mail เครือขาย และระบบอินทราเน็ต/อินเตอรเน็ต ในหัวขอ “การนํา Social Media มาประยุกตใชใน องคกร เพื่อสงเสริมการเปนองคกรแหงการเรียนรู” ไดรับรางวัลชมเชย - ขออนุมัติจัดตั้งกองฝกจําลองยุทธ (เพื่อ พลาง) กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ยั ง คงมุง มั่ น ที่จะพัฒนาการฝกศึกษาของกําลังพล ใหมีความรู ความสามารถในหลักสู ตรตา งๆ เพื่อเปนพื้น ฐาน ในการศึ ก ษา ในด า นคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม สั ง คม จิตวิท ยา ตลอดจนยกระดับ ทรัพ ยากรบุคคลของ กองทั พ อากาศให มี คุ ณ ภาพ ประสิ ท ธิ ภ าพ และ ศั ก ยภาพ ในการเป น ผูปฏิบัติ ง านและผูนํ า หนว ย ในทุกระดับอยางมีคุณคา


นกร.กยก.บก.อย.

พล.อ.ท.ระพีพัฒน หลาบเลิศบุญ ผบ.อย.

พล.อ.ต.อานนท จารยะพันธุ รอง ผบ.อย.(๑)

พล.อ.ต.ทนงศักดิ์ พวงพวงรอด รอง ผบ.อย.(๒)

น.อ.ฉลาด นนทสถิต รอง เสธ.อย.(๑)

พล.อ.ต.สุชิน วรรณโรจน เสธ.อย.

น.อ.วงศกร เปาโรหิตย รอง เสธ.อย.(๒)


หนวยบัญชาการอากาศโยธิน เปนหนวยรบหลักทางภาคพื้นของกองทัพอากาศ “มีหนาที่ เตรี ย มและดํ า เนิ น การใช กํ า ลั ง ทางภาคพื้ น เกี่ ย วกั บ การป อ งกั น ที่ ตั้ ง ทางทหาร การต อ สู อ ากาศยาน การปฏิบัติการพิเศษ การดุริยางค กับมีหนาที่กําหนดแนวทาง ควบคุม ประเมินผล การฝกศึกษา และการ ตรวจตรากิจการในสายวิทยาการดานอากาศโยธิน และดุริยางค มีผูบัญชาการหนวยบัญชาการอากาศโยธิน เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ”

โดยเหตุ ที่ ก องทั พ อากาศมี ห น า ที่ เ ตรี ย มกํ า ลั ง กองทั พ อากาศ การป อ งกั น ราชอาณาจั ก รและ ดําเนินการเกี่ยวกับการใชกําลังกองทัพอากาศตามอํานาจหนาที่ของกระทรวงกลาโหม ดังนั้นที่ตั้งของ กองบินและฝูงบินอิสระปฏิบัติราชการสนาม ตลอดจนหนวยในระบบปองกันทางอากาศไดกระจายอยูใน ทุกภาคของประเทศไทย และโดยที่ยุทโธปกรณหลักของกองทัพอากาศ เปนเครื่องมือที่มีอํานาจการทําลาย ลางสูงและมีราคาแพง หนวยบัญชาการอากาศโยธิน จึงมีหนาที่ในการจัดกําลังปองกันและรักษาความ ปลอดภัยที่ตั้งกองบินและหนวยตาง ๆ ใหพนจากการคุกคามของผูกอการรายทุกรูปแบบ อีกหนาที่หนึ่งที่สําคัญยิ่งของหนวยบัญชาการอากาศโยธินคือ การฝกและการประเมินผล บุคลากร เหลาอากาศโยธิน ในสายงานทุกสายงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหกําลังพลมีความรูความสามารถในการปฏิบัติ ภารกิจที่กลาวมาแลวไดอยางมีประสิทธิภาพ


นอกจากการปฏิบัติหนาที่ตามบทบาทที่กองทัพอากาศมอบหมายแลว หนวยบัญชาการอากาศโยธิน ไดตระหนักถึงการปลูกฝงจิตสํานึกใหกับกําลังพลใหมีความจงรักภักดีและเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย รวมทั้งภารกิจในดานการบรรเทาสาธารณภัย เหนือสิ่งอื่นใดกําลังพลของ หนวยบัญชาการอากาศโยธิน มีความภาคภูมิใจเปนอยางยิ่งที่ไดรับใช ใตเ บื้ องพระยุค ลบาทในการถวายการอารั ก ขาและถวายพระเกีย รติแดพ ระบาทสมเด็ จ พระเจา อยูหั ว สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถฯ และพระบรมวงศานุวงศทุกพระองคที่เสด็จมาปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในพื้นที่ของกองทัพอากาศ ในโอกาสที่ ห น ว ยบั ญ ชาการอากาศโยธิ น จะก า วสู ก ารพั ฒ นาในป ที่ ๖๓ ภายใต ก ารนํ า ของ พล.อ.ท.ระพี พั ฒ น หลาบเลิ ศ บุ ญ ผู บั ญ ชาการหน ว ยบั ญ ชาการอากาศโยธิ น กํ า ลั ง พลของหน ว ย บัญชาการอากาศโยธินทุกคนขอใหคําสัตยปฏิญาณจะปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถเพื่อบรรลุ ภารกิจที่ไดรับมอบหมายสมกับที่ไดรับความไววางใจจากผูบังคับบัญชา


ศิษย นนอ. ตามโครงการจั ด ซื้ อ เครื่ อ งบิ น ขั บ ไล อเนกประสงคแบบ Gripen 39 C/D กองทัพอากาศ จัดสงนักบินจํานวน 10 คนเขารับการฝกในหลักสูตร ค รู ก า ร บิ น แ ล ะ นั ก บิ น กั บ เ ค รื่ อ ง บิ น Gripen ธรรมชาติ

ณ ราชอาณาจั ก รสวี เ ดน ขณะนี้ นั ก บิ น ชุ ด แรก จํ า นวน 4 คนได เ ดิ น ทางไปเข า รั บ การฝ ก บิ น ใน หลักสูตรครูการบินกับเครื่องบิน Gripen แลว ณ Gripen Center, F7 Skaraborg Wing เมือง Såtenäs ราชอาณาจักรสวีเดน โดยเดินทางออกจากประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ.2553 ดังนั้น คณะผูจัดทํา หนังสือไดติดตอใหทีมนักบิน Gripen ชุดแรก ไดเลา ถึงรายละเอียดในเรื่องที่เกี่ยวของตาง ๆ เพื่อใหพี่นอง

ชนอ. รับทราบถึงชีวิตความเปนอยู และการฝกบิน ณ ราชอาณาจักรสวีเดน รวมถึงขีดความสามารถ และสมรรถนะของเขี้ ย วเล็ บ ใหม ล า สุ ด ของ กองทั พ อากาศ ตลอดจนฝากข อ คิ ด ให กั บ น อ ง ๆ ชนอ.ช อใหม ที่ กํ าลั งจะก าวออกจาก รร.นอ.ไปทํ า หนาที่นายทหารหลักของกองทัพอากาศตอไป แนวทางการคัดเลือกนักบิน Gripen 39 C/D กรมยุทธการทหารอากาศเปนหนวยงานหลัก ในฐานะหัวหนาสายวิทยาการนักบิน ในการพิจารณา คัดเลือกนักบินทั้ง 10 คน เพื่อเขารับการฝกบินใน หลักสูตรครูการบินและนักบิน Gripen ณ ราชอาณาจักร สวี เ ดน โดยได เ ริ่ ม ต น ดํ า เนิ น การตั้ ง แต ช ว งต น ป พ.ศ.2551 การกํ า หนดคุ ณ สมบั ติ นั้ น เป น ไปตาม ข อ ตกลงการจั ด ซื้ อ ฯ โดยเฉพาะในเรื่ อ งของวุ ฒิ การบิน (ครูการบินสําหรับผูเขารับการฝกในหลักสูตร ครู ก ารบิ น และหั ว หน า หมู บิ น 2 สํ า หรั บ ผู เ ข า รั บ การฝ ก ในหลั ก สู ต รนั ก บิ น ) ประสบการณ ก ารบิ น (ขั้นต่ํา 500 ชั่วโมงบินกับเครื่องบินขับไลสมรรถนะ สูง) ความสามารถและทั กษะในการใช ภาษาอั งกฤษ


ทั้งการฟง พูด อาน และเขียน รวมทั้งตองผานการ ตรวจรางกาย และการวัดขนาดรูปรางตามมาตรฐาน ที่ทางสวีเดนกําหนด ทั้งนี้ เพื่อใหการฝกบินในทั้ง สองหลักสูตรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ภายใน ระยะเวลาที่จํากัด ในขั้นตน กรมยุทธการทหารอากาศสั่งการ ให ฝู ง บิ น ขั บ ไล ห ลั ก พิ จ ารณาส ง รายชื่ อ นั ก บิ น ในสังกัด เพื่อเขารับการคัดเลือกเปนนักบิน Gripen 39 C/D โดยผูสมัครทุกคนตองผานการทดสอบ ภาษาอังกฤษ การตรวจรางกายและการวัดขนาด รู ป ร า ง รวมทั้ ง การทดสอบจิ ต วิ ท ยาการบิ น โดย คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นโดยกรมยุทธการทหารอากาศ จะนําผลคะแนนทั้งหมดมาประมวลผล เพื่อคัดเลือก กลุมนักบินที่ผานเกณฑมาตรฐานขั้นตน มาเขารับ การสอบสั ม ภาษณ ก อ นที่ จ ะพิ จ ารณาคั ด เลื อ ก นักบินทั้ง 10 คน พรอมสํารอง และสรุปผลนําเรียน ให ผู บั ง คั บ บั ญ ชาตามลํ า ดั บ ชั้ น พิ จ ารณาอนุ มั ติ รายชื่อเปนขั้นตอนสุดทาย ความภาคภู มิ ใ จที่ ไ ด รั บ คั ด เลื อ กเป น นั ก บิ น Gripen 39 C/D น อ ง ๆ นั ก บิ น ที่ ไ ด รั บ การคั ด เลื อ กเป น นักบิน Gripen 39 C/D ทุกคนมีความภาคภูมิใจ ที่ไดรับความไววางใจจากผูบังคับบัญชา ใหปฏิบัติ หน า ที่ ที่สํ า คั ญยิ่ ง นี้ แต ภ ายใตค วามภาคภู มิใ จนี้ ทุกคนรับทราบถึงภาระหนาที่และความรับผิดชอบ ที่มาพรอมกับการไดรับการคัดเลือกในครั้งนี้ดวย พวกเราทุกคนตระหนักดีวาการจัดหาเครื่องบินขับไล อเนกประสงคแบบ Gripen 39 C/D เขาประจําการ

เปนหนึ่งในความพยายามหลักในการพัฒนาไปสู การเปนกองทัพอากาศคุณภาพ ที่ใหความสําคัญ กั บ สมรรถนะ ขี ด ความสามารถ และคุ ณ ภาพ ของกําลังรบมากกวาปริมาณ บนพื้นฐานแนวคิด การปฏิ บั ติ ก ารที่ มี เ ครื อ ข า ยเป น ศู น ย ก ลาง (Network Centric Operations : NCO) ตามวิสัยทัศน “กองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค (One of the Best Air Forces in ASEAN) ซึ่งจะสงผลให กองทัพอากาศมีความพรอมในการปฏิบัติภารกิจ การปองกันประเทศ การรักษาเอกราชอธิปไตย และ การรั ก ษาผลประโยชน ข องชาติ ที่ อ ยู ใ นความ รับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การเขารับ การฝก ในทั้ง สองหลัก สู ตร นั ก บิ น ทั้ง 10 คน ตอ ง เก็บเกี่ยวความรู และประสบการณในสวนที่เกี่ยวของ มาใหไดมากที่สุด ไมวาจะเปนแนวทางการใชงาน เครื่ อ งบิ น การฝ ก นั ก บิ น พร อ มรบ การบิ น รั ก ษา สภาพความพร อ มรบของนั ก บิ น การใช ง าน Simulator เพื่อประกอบการฝก การบริหารจัดการ ฝูงบินทั้งในสวนที่เกี่ยวของกับงานยุทธการและการ ซอมบํารุง ฯลฯ นอกจากนี้ ในโครงการจัดซื้อ ฯ กองทัพอากาศ จะได รั บ มอบยุ ท โธปกรณ แ ละเทคโนโลยี กํ า ลั ง ทางอากาศสมั ย ใหม ที่ มี ค วามสํ า คั ญ ยิ่ ง ต อ การ พั ฒ นาขี ด ความสามารถของกํ า ลั ง ทางอากาศ เชน Electronics Warfare, Tactical Data Link และ Digital Map Generation ซึ่งนักบินทั้ง 10 คน ตองทําความรูความเขาใจ เพื่อใหสามารถใชงาน เครื่องบิน Gripen 39 C/D ไดอยางเต็มขีด ความสามารถ


ชีวิตความเปนอยูและการฝกอบรมตลอดชวง 3 สัปดาหที่สวีเดน นั บ ตั้ ง แ ต วั น แ ร ก ที่ เ ดิ น ท า ง ม า ถึ ง ( 28 กุ ม ภ า พั น ธ พ . ศ . 2553) จ น ถึ ง ป จ จุ บั น (21 มี น าคม พ.ศ.2553) ยั ง ไม มี วั น ไหนเลยที่ อุ ณหภู มิ เป นบวก สภาพอากาศหนาวเย็ นมาก ๆ อยางไรก็ตาม อากาศที่หนาวเย็นถูกทดแทนดวย การต อ นรั บอยางอบอุ น จากครูการบิน ของฝูง บิ น ที่ พ วกเราจะเข า ไปรั บ การฝ ก และเจ า หน า ที่ ของกองบิ น ทุ ก คน ในวั น แรกที่ เ ดิ น ทางมาถึ ง ผูบังคับฝูงบิน 3 (Gustav Gal) นาวาอากาศตรี Richard Carlqvist (นักบินที่ทําการบินใหผูบัญชาการ ทหารอากาศ เมื่ อ ครั้ ง ที่ ท า นเดิ น ทางมาทดลอง ทําการบินกับเครื่องบิน Gripen ที่สวีเดน) และ Course Director มารอรับที่สนามบิน Gothenburg และเดินทางตอไปยัง F7 Skaraborg Wing เมือง Såtenäs โดยรถยนตอีกประมาณ 1 ชั่วโมงครึ่ง เมื่อเดินทางถึงที่พัก สิ่งแรกที่ตองทําคือ กวาดหิมะ

ที่กองขวางประตูทางเขาบาน ซึ่งทางนักบินที่ไปรับ ทั้งสองคนยังบอกติดตลกวา เปนการตอนรับแบบ สวี เ ดนที่ ต อ งกวาดหิ ม ะกั น อยู ต ลอดเวลาในช ว ง หนาหนาว

ในสั ป ดาห แ รกที่ เ ดิ น ทางมาถึ ง กิ จ กรรม สวนใหญเปนการดําเนินการดานธุรการ การแนะนํา ฝูงบิน แผนการฝกอบรม การลองหมวกบิน Flight Suit, Flight Jacket, Anti-G Suit และอุปกรณอื่น ๆ นอกจากนี้ฝูงบินไดจัดกิจกรรมใหพวกผมทํารวมกัน กั บ ครู ก ารบิ น อย า งต อ เนื่ อ งทุ ก วั น เพื่ อ สร า ง


ความคุนเคย ไมวาจะพาไปเลน Snow Racing (เลื่อนหิมะลงตามเนินเขา) ไปชม Moose Museum เลนกีฬา Floorball (คลายกับ Ice Hockey แตเลน ในยิมเนเซียม) รวมทั้งทานอาหารเย็นแบบ Swedish (Smogarsbord) รวมกัน ซึ่งเปนประสบการณที่ดี ตลอดจนเป น การสร า งความสัม พั น ธ ที่ดี ร ะหว า ง พวกผมกั บครูการบินทุกคนในฝูง บิน มาอยูที่นี่ 7 วั น รู สึ ก ได เ ลยถึ ง ความพร อ มในการจั ด การ ฝ ก อบรม การเตรี ย มการล ว งหน า ในการให ก าร ต อ นรั บ ความจริ ง ใจและความเป น กั น เองของ เจาหนาที่กองบินและฝูงบินทุกคน

หลั ง จากสนุ ก สนานกั น พอสมควรใน สัปดาหแรก การฝกในสัปดาหที่สองมุงเนนในการ เตรี ย มความพร อ มก อ นขึ้ น ทํ า การฝ ก บิ น กั บ เครื่องบิน Gripen โดยเริ่มตนสัปดาหกับการ เขาฝกอบรม Parachute Landing Training และ Water Survival Training ที่ Aeromedical Center ของกองทัพสวี เดน เมือง Linköping ซึ่ ง เปน ศูนยฝกอบรมสําหรับผูทําการในอากาศ มีอุปกรณ ธรรม

การฝกหลายชนิด ทั้ง G-FET Training, Water Survival Training และ Altitude Chamber Training ในตอนแรก คิ ด ว า ไม น า จะมี อ ะไรมากสํ า หรั บ การฝกอบรมทั้ง Parachute Landing Training และ Water Survival Training แตหลังจากฝกอบรม เสร็จ ทุกคนตางพูดเปนเสียงเดียวกันวา เปนการ ฝ ก อบรมที่ เ หนื่ อ ยมาก การใส ชุ ด บิ น Gripen ลอยตั ว อยู ใ นน้ํ า ประมาณ 2 ชั่ ว โมง โดยเฉพาะ ในชวงแรกที่สมมุติสถานการณให Life Jacket ไม ทํ า งานโดยอั ต โนมั ติ ต อ งเป า ลมเข า ไปเอง กิ น แรงไปเยอะมาก กว า จะเป า ลมเข า ให เ ต็ ม แตสุดท า ย ก็ผ า นไปไดดว ยดี จากนั้น เปน การฝ ก ลอยตั ว ในสถานการณ ที่ ท ะเลมี คลื่ น ลมแรง และ มี พ ายุ ฝ นฟ า คะนอง (ในสระน้ํ า ที่ เ ข า รั บ การฝ ก สามารถสร า งคลื่ น และพายุ ฝ นฟ า คะนองได ) ซึ่ ง ก็ ไ ม ย ากอะไรมากนั ก แล ว จึ ง มาฝ ก การใช Life Raft ทั้งการปนขึ้น Raft โดยใชสองแขน และ แขนเดี ย ว (ในกรณี ที่ แ ขนหั ก จากการ Eject) การปฏิบัติตัวใน Raft เพื่อใหสามารถมีชีวิตอยู ไดนานที่สุด รวมถึงการหนีออกจาก Raft ในกรณีที่ Raft พลิกคว่ํา สุดทาย เปนการฝกจําลองสถานการณ หลังจากการ Eject การปฏิบัติขณะที่ยังลอยอยู ในอากาศ การเตรียมตัวกอนลงน้ํา การปฏิบัติเมื่อ ลงน้ํา และการปฏิบัติเมื่อมี Search and Rescue Helicopter มารับ ซึ่งก็คือการนําความรูทั้งหมด ที่ ไ ด รั บ จากทั้ ง ภาคทฤษฎี และภาคปฏิ บั ติ ม าใช นั่นเอง (อานตอฉบับหนา)


อะไรเอย – แคพูดถึงเด็กก็รองไหจาแลว ? ตอบ – วั ค ซี น ไงละ พอเด็ ก รู ว า จะถู ก ฉี ด ก็รองไหไปตามกัน วันนี้มาคุยกันเรื่องวัคซีนดีกวา ใครที่กลัว ถูกฉีดจะไดหายกลัว หรืออาจกลัวยิ่งขึ้นก็ได

จึงยอมรับอยางกลัว ๆ กลา ๆ วัคซีนฝดาษนั้น ผลิต ขึ้นมาจากเชื้อไขทรพิษโค (Vaccinia) เมื่อนํามาปลูก ในคนก็สามารถปองกันโรคฝดาษไดจริง ๆ ในสมัย โบราณโรคนี้ มีค วามรุน แรงมาก ผูค นเสีย ชีวิตกั น เปนเบือจนบางแหงตองยายเมืองหนี เมื่อเอดเวิรด เจนเนอร (Edward Jenner) คนพบการปองกันโรค ธรรม หมอพัตร

วัคซีนเปนผลิตผลหรือเวชภัณฑที่ไดมาจาก การนําจุลินทรียพวกแบคทีเรีย ไวรัส รวมถึงริกเกตเซีย (Rickettsia, เชื้อโรคที่อยูกึ่ง ๆ โตกวาไวรัสแตเล็ก กวาแบคทีเรีย) มาทําใหตายหรือออนแรงจนไมสามารถ ทํ า อั น ตรายต อ มนุ ษ ย แ ละสั ต ว แล ว เอามาฉี ด กระตุนใหรางกายสรางภูมิคุมกันทําลายเชื้อตนเหตุ หรือผอนหนักเปนเบา วั ค ซี น ชนิ ด แรกที่ ค นไทยรู จั ก น า จะเป น หนองฝหรือวัคซีนสําหรับปลูกปองกันไขทรพิษหรือ ฝดาษ หากจําไมคลาดเคลื่อน ผูที่นําหนองฝเขามา ใช คื อ หมอปลั ด เลย (หรื อ หมอแบรดลี ย ) ในสมั ย รัชกาลที่ ๔ แหงกรุงรัตนโกสินทร แรก ๆ ชาวบาน กลัวและไมยอมรับ หมอปลัดเลยตองทดลองใหดู โดยใหบุตรชายของตนมารับการปลูกฝ ชาวบาน

ฝดาษโดยใชการปลูกฝ โรคไขทรพิษหรือฝดาษก็ลด นอยลง จนปจจุบันนี้องคการอนามัยโลกไดประกาศ เป น ทางการว าไดกํา จัดโรคฝดาษจนหมดไปจาก โลกนี้แลว ถาผูใดพบผูปวยโรคฝดาษจะมีรางวัลให อยางงดงาม เชื้อไวรัสโรคฝดาษปจจุบันนี้มีเฉพาะ ในหองทดลองที่เลี้ยงไวเพื่อการศึกษาเทานั้น แต เมื่อไมกี่ปกอนปรากฏวามีผูพบผูปวยโรคนี้ หลังจาก การสอบสวนโรคอยางละเอียดจึงพบวาผูปวยเปน เจาหนาที่ทํางานในหองปฏิบัติการ ติดเชื้อไขทรพิษ มาโดยอุบัติเหตุ ปจจุบันนี้ไดยกเลิกการปลูกฝปองกัน ไขทรพิษในทารกเกิดใหมแลว จะขอกลาวถึงการใชวัคซีนในมนุษยพอเปน สังเขป การใหวัคซีนสวนใหญใชวิธีฉีดเขากลามเนื้อ หรือใตผิวหนัง สําหรับวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา สมั ย ก อ นต อ งฉี ด ทุ ก วั น ติ ด ต อ กั น นาน ๑๔ วั น


(บางรายติดตอกันถึง ๒๑ วัน) ตองหาที่ฉีดที่มีเนื้อที่ มากพอ ที่นิยมคือฉีดที่หนาทองบริเวณรอบสะดือ เรียกไดวาฉีดกันจนทองพรุน วัคซีนบางชนิดใชการ ฉีดเขาในผิวหนัง (ในนะจะ ไมใชใตผิวหนัง) ไดแก วัคซีน บี.ซี.จี. ที่ใชสรางภูมิคุมกันตอวัณโรค วัคซีน บางชนิดไมตองใชเข็มฉีดยา แตใชหยอดเขาปาก ไดแก วัคซีนชนิดหยดสําหรับปองกันโรคโปลิโอหรือ ไขไขสันหลังอักเสบ วัคซีนที่ใชหยอดเขาทางรูจมูก ก็มี เปนวัคซีนปองกันโรคระบาดของไก วิธีที่นิยม คือวิธีฉีดเขากลามเนื้อ หรือเขาใตผิวหนังซึ่งเปนวิธี ที่งายแตผูถูกฉีดไมคอยชอบเพราะเจ็บ แมเดี๋ยวนี้ วัคซีนที่ใชสวนมากจะไมคอยเจ็บมาก แตผูถูกฉีด ก็ไมคอยชอบอยูดี เพราะ-มันเสียวจะ! สมัยผูเขียนยังเรียนอยูชั้นประถม ยังเกิ ด โรคท อ งร ว งและอหิ ว าตกโรคระบาดบ อ ย พอถึ ง หนารอนก็จะมีการระดมฉีดวัคซีนปองกัน ทางการ จะจัดหนวยไปฉีดวัคซีนใหถึงโรงเรียน บางหนวย ก็ ไ ปตั้ ง โต ะ ฉี ด ตามข า งถนน ก อ นถึ ง วั น ฉี ด ทาง โรงเรียนจะมีหนังสือแจงใหผูปกครองทราบลวงหนา ถาจะไมใหเด็กฉีดตองมีหนังสือรับรองการฉีดจาก สถานพยาบาล เด็กกลัวฉีดยาทุกคน พอถึงวันกําหนด ก็ พ าลอา งว า ปวดหัว ปวดท องไมย อมไปโรงเรีย น สวนตัวผูเ ขียนไมเคยหนีเพราะแมรูเทา ทัน โกหก อาจเจอะไมเรียวซึ่งเจ็บกวาโดนฉีดยาเปนไหน ๆ เจ า หน า ที่ ที่ ม าฉี ด ยาที่ โ รงเรี ย นมากั น หลายคน บางครั้ ง แยกเปน ๒ กลุม เพื่อใหเ ร็ว ขึ้ น มาตั้งโตะวางอุปกรณ มีกาละมังหรือหมอเคลือบ บางหนวยใชกระทะ มีเตาอั้งโลสําหรับตมน้ํา พอน้ํา เดื อ ดก็ เ อาเข็ ม ฉี ดยาเป น สิ บ ๆ เล ม ลงต ม ฆา เชื้ อ

สํ า หรั บ หลอดฉี ด ยาหรื อ ไซริ ง ก มี ไ ม กี่ เ ครื่ อ ง เจ า หน า ที่เ อาคี ม คี บ เข็ ม ฉี ด ยามาเสี ย บกั บ ไซริ ง ก ดูดวัคซีนจากขวดยาฉีดจนเกือบเต็มหลอด ดูดยา แต ล ะครั้ ง พอฉี ด ได ห ลายคน ครู ใ ห เ ด็ ก นั ก เรี ย น เขาแถวเรียงหนึ่งเตรียมไว แลวเดินเขามาใหฉีดยา เรียงกันไป ตอนนี้แหละใครกลัวเจ็บขี้แย(เพื่อน ๆ เรียกวาไอปอดแหก)ก็จะแสดงออก ใครไมกลัวเจ็บ ครูก็ชมวาเกง บางคนไมยอม ดิ้นหนีทาเดียว ตอง ชวยกันรั้งไว บอกวาอยาดิ้น เดี๋ยวเข็มหัก บางคน รองโวยวาย อีกคนหนึ่งวิ่งหนีออกไปซอน เพื่อนก็บอก ครู ไ ปจั บ ตั ว มา มี ค นหนึ่ ง พอฉี ด เสร็ จ ก็ ห น า ซี ด แขนขาอ อ นปวกเป ย กเป น ลม ต อ งเอายาดมมา ใหสูด แตพอเจาหนาที่อนามัยบอกวานากลัวตอง ฉีดยาบํารุงหัวใจก็พรวดพราดลุกขึ้นนั่ง บอกวาดีขึ้น แลว เพื่อน ๆ ฮากันครืน วัคซีนอหิวาตเขาฉีดเขากลามเนื้อตนแขน ซาย หลังการฉีดมี อาการบวมปวดขึ้นตรงรอยฉี ด บางคนบอกวาพอฉีดเสร็จใหรีบขยี้ใหยากระจายตัว ออกไปแลวจะไมคอยบวม วันที่ฉีดยังไมเทาไหร แต ถึงกลางคืนจนถึงวันรุงขึ้นทั้งวันจะปวดมาก ไขขึ้น ปวดเมื่ อ ยตั้ ง แต ก า นคอยั น น อ ง ใครไปโดนตรง รอยฉีดเขาก็ปวดมากแทบจะลุกขึ้นไลเตะ(เฉพาะ เพื่อนนะ) บางคนมาโรงเรียนไมไหว วันรุงขึ้นเลย ขาดเรียนกันครึ่งคอนหอง บางคนมาเรียนแตนอน ฟุบอยูกับโตะเรียน ครูเลยยกเลิกไมสอน สบายกัน ทั้งนักเรียนทั้งครู วางั้นเถอะ ตอนที่ ส งครามโลกครั้ ง ที่ ๒ เลิ ก ใหม ๆ ในกรุ ง เทพ ฯ มี ท หารต า งชาติ ทั้ ง ฝรั่ ง ทั้ ง แขกเดิ น เกลื่อนเมือง โรคทองรวงก็มาดวย ทางอนามัยจึงจัด


หน ว ยออกฉี ด วั ค ซี น วั ค ซี น รุ น นี้ ฉี ด แล ว ไข ขึ้ น ปวดเมื่อยรุนแรง ชาวบานบอกวาทางราชการเขาทํา ใหยาเขมเปนพิเศษ ไมใหอายฝรั่ง เปนงั้นไป ยั ง ดี น ะ บางหน ว ยผสมวั ค ซี น ป อ งกั น ไข รากสาดน อ ยหรื อ ไทฟอยด ล งไปด ว ย ยิ ง กระสุ น นัดเดียวไดนกสองตัว แตผูถกู ฉีดแยหนอย ปฏิกิริยา หลังฉีดรุนแรงมาก โดนเขาก็หมอบไปทั้งวัน บางคน ๓ วันยังมีไขอยู

ทีนี้มาวาถึงวัคซีนอื่นบาง วัคซีนที่ฉีดใหทารกมีหลายอยาง สมัยกอน นั้น นิยมใหกัน ๓ อยางในทารกเกิดใหม เปนวัคซีน ป อ งกั น โรค ๓ โรคคื อ โรคคอตี บ ไอกรน และ บาดทะยัก รวมฉีดในเข็มเดียวกัน วัคซีนนี้อาจทํา ใหมีไขบางแตไมรุนแรง แตตองฉีด ๓ เข็ม หางกัน หนึ่งเดือน จะเริ่มใหวัคซีนเมื่อทารกมีอายุได ๑ เดือน วัคซีนนี้จะชวยใหเกิดภูมิตานทานในเด็กไดดีมาก ตอมามีวัคซีนสําหรับเด็กทารกอีกหลายชนิด อยางหนึ่งคือ วัคซีน บี.ซี.จี. สําหรับปองกันวัณโรค บี.ซี.จี. เปนวัคซีนเชื้อเปน คือเชื้อที่อยูในวัคซีนยังมี ชี วิ ต อยู เป น วั ค ซี น จากเชื้ อ วั ณ โรคที่ ค น พบโดย แพทยชาวฝรั่งเศส เปนเชื้อในตระกูลไมโคแบคทีเรียม เหมือนกัน แตพลังออนกวา เชื้อนี้มีชื่อวา Bacille –

Galmet – Guerin (ชื่ออานยากหนอยเพราะเปน ภาษาฝรั่งเศส เชื้อนี้ไมทําใหเกิดวัณโรค ใชฉีดเขาไป ในผิวหนัง (ไมใชใตผิวหนัง) เชื้อก็จะฟกตัวอยูตรง บริเวณที่ฉีดเกิดเปนตุมแผลเล็ก ๆ รางกายของเรา ก็สรางภูมิตานทานขึ้นตอสูเชื้อวัณโรค การฉีดวัคซีน บี.ซี.จี. มีขอแมวาตองทดสอบกอนวาเคยไดรับเชื้อ วั ณ โรคมาหรื อ ยั ง โดยใช ก ารทดสอบที่ เ รี ย กว า Tuberculin Test ถาผลเปนบวกแสดงวาเคยไดรับ เชื้ อ แล ว ก็ ไ ม ต อ งใช วั ค ซีน อี ก ตุ ม แผลจากการฉี ด วั คซี น บี .ซี .จี . บางคนมี ขนาดใหญ เท าเมล็ ดถั่ วดํ า ดูนาเกลียดและเปนอยูเชนนั้นเปนป ๆ ใตแผลนั้น ถ า เจาะตรวจดู ก็ ยั ง พบเชื้ อ อยู บางคนเชื่ อ ว า ถ า แผลเปนหาย การสรางภูมิคุมกันก็หยุดไปดวย วั ค ซี น ชนิ ด ต อ ไปที่ ใ ช กั น มากคื อ วั ค ซี น โปลิโอที่ใชปองกันโรคไขไขสันหลังอักเสบ (หรือโรค โปลิโอ) โรคนี้เพิ่งมาตื่นตัวกันมากเมื่อครึ่งศตวรรษ นี่เอง เปนโรคที่ทําใหเกิดอัมพาต บางคนถึงแกชีวิต (มักเปนเด็ก) เพราะการหายใจลมเหลว วัคซีนโปลิโอ สมัยแรกเปนวัคซีนจากเชื้อไวรัสที่ตายแลวเรียกวา Salk Vaccine แตมีอาการขางเคียงได และภูมิตานทาน ก็อยูไดไมนาน ตองฉีดเปนระยะ ๆ ตอมามีการทํา วัคซีนจากเชื้อเปน วัคซีนเชื้อเปนนี้ใชสะดวกไมตอง ฉี ด เข า ใต ผิ ว หนั ง แต ทํ า เป น วั ค ซี น น้ํ า ใช ห ยอด เขาปากโดยตรง รสดีกินงาย ทางอนามัยจึงนํามา หยอดใส ป ากเด็ก ทารกตามกํ า หนดเวลา เมื่อ กิ น ครบแลวก็เกิดภูมิตานทานตอโปลิโอไปไดนาน โรคจากเชื้อไวรัสหลายชนิดเปนกับเด็ก ๆ เรี ย กได ว า (แทบ)ทุ ก คน เช น ไข อี สุ ก อี ใ ส หั ด หัดเยอรมัน คางทูม เปนตน โรคเหลานี้ในบานเรา


ไมคอยสนใจ เพราะอาการไมรุนแรง เวลาเปนขึ้นมา ผูใหญมักบอกวา เปน ๆ เสียก็ดี จะไดหมดหวง แต ตอมาพบวาแมโรคจะไมรุนแรง แตอาจเกิดอาการ แทรกซอน เชน ปอดอักเสบ สมองอักเสบ ถึงตายได บางโรคเช น หั ด เยอรมั น ถ า เป น ในขณะตั้ ง ครรภ ก็อาจทําใหเกิดอาการผิดปกติแกทารกในครรภได จึงมีการทําวัคซีนขึ้นปองกันโรคเหลานี้ อาจมีปฏิกิริยา หลังฉีดเล็กนอย แตก็คุมกับผลที่ไดรับ วัคซีนอีกชนิดหนึ่ง ใชสําหรับผูที่จะเดินทาง ไปประเทศแถวทวีปแอฟริกาโดยเฉพาะ เปนวัคซีน ปองกันไขเหลืองซึ่งเปนโรคประจําถิ่นของแอฟริกา เปนแลวถึงตายไดงาย ๆ จากอาการตับวาย จึงเปน กฎวาใครจะไปทวีปแอฟริกาตองฉีดวัคซีนปองกัน ไวกอน วัคซีนนี้ไมมีขายทั่วไป ตองไปรับจากกระทรวง สาธารณสุข สมั ย นี้ ที่ กํ า ลั ง ฮิ ต มากคื อ วั ค ซี น ป อ งกั น ไขหวัดใหญสายพันธุใหม A ๒๐๐๙ ไขหวัดใหญ สายพันธุนี้ระบาดมาตั้งแตป ๒๐๐๙ (พ.ศ.๒๕๕๒) อั น ที่ จ ริ ง ไม ไ ด รุ น แรงมากนั ก แต ตื่ น เต น กั น มาก เพราะเปนไขหวัดสายพันธุใหม เรายังไมมีภูมิคุนกัน จึงติดตอกันงายกวาไขหวัดใหญตามฤดูกาลซึ่งก็มี อยูแลวหลายสายพันธุ โรคสายพันธุใหมนี้ถาลุกลาม ธรรม

ลงกระเพาะลําไส ทองจะรวงและอาการจะรุนแรง หรือถาลุกลามเขาปอดก็อาจถึงตายได จึงตองระวัง ตัวมากในผูที่อยูในกลุมเสี่ยง คือมีสภาวะของโรค หรืออาการบางอยาง เชน โรคปอดเรื้อรังพวกโรคหืด หลอดลม โรคหัวใจ โรคภูมิแพ เบาหวาน โลหิตจาง โรคทางพันธุกรรมที่ทําใหรางกายออนแอ นอกจากนั้น ยังตองระวังในผูสูงวัย ผูที่อวนน้ําหนักเกิน ๑๐๐ กก. เปนตน ทางการจึงจัดหาวัคซีน มาฉีดใหผูที่อยูใน กลุ ม เสี่ ย ง รวมถึ ง ผู ที่ ป ฏิ บั ติ ง านใกล ชิ ด กั บ ผู ป ว ย เชน แพทย พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย วัคซีนนี้ราคาแพง เข็มละหลายรอยบาท แตทางการ ก็ จั ด หามาฉี ด ให แ ก ผู ที่ อ ยู ใ นกลุ ม เสี่ ย งโดยไม คิ ด สนนราคา วัคซีนที่วานี้นอกจากปองกันไขหวัดใหญ สายพันธุใหมแลว ยังปองกันไขหวัดใหญตามฤดูกาล ได อีก ๒ ชนิดด ว ย แต อยา เขา ใจวาฉีดวัคซี น แลว จะปลอดภัยจากไขหวัดใหญ ๑๐๐% เพราะเชื้อ ไขหวัดใหญยังมีอีกหลายสายพันธุ ถึงจะฉีดวัคซีน แล ว ก็ อ ย า ลื ม คํ า ขวั ญ ป อ งกั น โรคว า “กิ น ร อ น ชอนกลาง ลางมือ” ดวย เรื่องของวัคซีนยังมีมากมายกวานี้ แตวันนี้ ขอเลาเพียงแคนี้กอน


เดือนธันวาคม ๒๕๕๓ ไดผานพนไป เดือนมกราคม ๒๕๕๔ ไดยางเขามา ก็เชนเดียวกับหนังสือ “ขาวทหารอากาศ” กําลังเขาสูปที่ ๗๑

พัชร “ดั้งเดิมที เดียว หนังสื อนี้ก อตัว ขึ้นในฐานะเปนเพียงใบแจงความเกี่ยวกับ วิทยาการทางการบิ น

พิมพอัดสําเนาออกแจกจายกันตามหนวยตาง ๆ เทานั้น ตอมาเมื่อไดเห็นประโยชนของใบแจงความนี้ กองทั พ อากาศจึ ง ได เ พิ่ ม หน า กระดาษขึ้ น และพิ ม พ ขึ้ น เป น เล ม ออกเป น ครั้ ง คราวตามแต เ ห็ น สะดวก จนกระทั่งป พ.ศ.๒๔๘๓ เสนาธิการทหารอากาศ สมัยนั้น จึงสั่งใหกรมเสนาธิการทหารอากาศ แผนกที่ ๒ จัดออกขาวทหารอากาศใหเปนล่ําเปนสันขึ้น กําหนดออกเดือนละครั้ง แตการจัดออกหนังสือนี้ทางราชการ ไมมีงบประมาณให ตองขวนขวายจัดหาเอง โดยเก็บคาบํารุงจากสมาชิกในราคาเทากับทุนที่ลงไป กิจการ ไดดําเนินมาดวยความอัตคัด จนในป พ.ศ.๒๔๘๕ สงครามภาคเอเชียบูรพาอุบัติขึ้น ขาวทหารอากาศตอง เลิกลมกิจการเพราะเจาหนาที่ตองหันไปปฏิบัติงานอื่นที่สําคัญกวา...” (พลอากาศจัตวา ทวี จุลละทรัพย บรรณาธิการหนังสือพิมพขาวทหารอากาศ ฉบับที่ ๑๕ เลมที่ ๑ ประจําเดือน มกราคม ๒๔๙๗)

จากบทบรรณาธิการดังกลาว ทําใหเราทราบกําเนิดของหนังสือขาวทหารอากาศในระยะเริ่มแรกวา มีแ หลง กํ า เนิด มาจากใบแจ ง ความ ต อมาไดเ พิ่ม หนา กระดาษขึ้ น และพิ ม พ เ ป น เลม ออกเปน ครั้ ง คราว ตามความสะดวก เริ่มพิมพออกแจกจายอยางเปนล่ําเปนสันในป พ.ศ.๒๔๘๓ เดือนละครั้ง ตอมาเสนาธิการ ทหารอากาศในสมัย นั้ น สั่ ง การให แผนกที่ ๒ ของกรมเสนาธิ ก ารทหารอากาศ (ปจ จุบั น คื อ กรมขา ว ทหารอากาศ) เปนหนวยดําเนินการ โดยมี นาวาอากาศตรี สกล รสานนท หัวหนาแผนกที่ ๒ กรมเสนาธิการ ทหารอากาศขณะนั้น เปนบรรณาธิการคนแรก


วัตถุประสงคในการจัดทํา เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับวิทยาการทางการบิน โดยสมาชิกทุกคนตอง เสียคาบํารุงเทากับที่ลงทุนไป ทางราชการไมมีงบประมาณชวยเหลือแตอยางใด ฉบับเดือน กรกฎาคม ๒๔๙๓

ฉบับเดือน กันยายน ๒๔๙๒

“หนั ง สื อ พิ มพ ข า วทหารอากาศ ต อ งหยุ ด ชะงั ก ลงในขณะที่ กํ า ลั ง อยู ใ นความสนใจของวงการ

โดยทั่วไป ไมเฉพาะแตชาวทหารอากาศ อุปสรรคสําคัญที่ทําใหเราตองหยุดบําเพ็ญกรณีไปชั่วคราวนี้ก็คือ ลูกระเบิดของ บ.๒๙ ความหนาเลือดของพอคากระดาษในยามสงครามและเหตุอื่น ๆ ที่เกิดแกวงการพิมพ โดยทั่วไป...” (บทบรรณาธิการหนังสือขาวทหารอากาศ ฉบับที่ ๙ เลมที่ ๑ ฉบับประจําเดือนมิถุนายน ๒๔๙๑)

จากบทบรรณาธิ การขางต น ทําใหเราทราบวาการดําเนินกิ จการของหนัง สือขาวทหารอากาศ ดํา เนิ น การอยู ได ไม น าน ในป พ.ศ.๒๔๘๕ มี ส งครามมหาเอเชี ย บู รพาเกิ ด ขึ้ น กิ จการของหนัง สื อข า ว ทหารอากาศหยุดชะงักลง ในเดือน ตุ ลาคม พ.ศ.๒๔๙๐ กองทัพ อากาศได ออกคําสั่งใหดําเนินการออกหนัง สือพิม พขา ว ทหารอากาศตอไปอีกครั้ง ผูบังคับบัญชาชั้นสูงไดใหความสําคัญแกหนังสือพิมพขาวทหารอากาศ ไดแตงตั้ง ผูบัญชาการทหารอากาศ รองผูบัญชาการทหารอากาศ และเสนาธิการทหารอากาศ เปน กรรมการทีป่ รึกษา เพิ่มจากเดิม รวมทั้งกําหนดระเบียบการเพิ่มเติมและสิ่งอํานวยความสะดวกเพิ่มขึ้น พ.ศ.๒๔๙๑ เปนตนมา กิจการของหนังสือขาวทหารอากาศภายใตการดําเนินงานของ นาวาอากาศโท หะริ น หงสกุ ล บรรณาธิ ก าร เริ่ ม เป น หลั ก ฐานมั่ น คงถาวร กองทั พ อากาศได ข อความอุ ป ถั ม ภ จ าก จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น พรอมกับขอคําขวัญมาลงในหนังสือพิมพขาวทหารอากาศ


ฉบั บเดื อน มิ ถุ น ายน – กรกฎาคม ๒๔๙๑ ซึ่ ง ถื อ เป น ปฐมฤกษ ข องช ว งการดํ า เนิ น กิ จ การอย า งถาวร ของหนังสือฯ ทําเนียบรัฐบาล วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๔๙๑ ในโอกาสที่กองทัพอากาศ จะไดออกหนังสือพิมพ “ขาวทหารอากาศ” ตอไปนี้ ผมไดทราบดวย ความยินดีเปนอันมาก เพราะหนังสือพิมพนี้ไดเคยทําประโยชนเผยแพรความรูนานาประการ และหากชาติ จะรั บ รองว า ทหารอากาศ ได เ คยปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นเวลาปกติ แ ละเวลาสงครามทุ ก ครั้ ง มาด ว ยดี ยิ่ ง แล ว หนังสือพิมพขาวทหารอากาศ ก็ไดรวมในงานของชาตินั้นดวย เพราะเราจะทําหนาที่ ชั่วดีดังกลาวมานั้น ยอมสุดแตทหารอากาศจะมีความรูดีเพียงใด และสวนหนึ่งแหงความรูก็อาจกลาวไดวา มาจากขาวทหารอากาศ ยิ่งในปจจุบันนี้ความรูทางการทหารอากาศกาวหนาไปโดยรวดเร็วมาก ทหารอากาศจะเก็บความรูทันสมัย ไดจากขาวที่มีผูรวบรวมขึ้นเสนอเปนพิเศษ สําหรับเปนเบื้องตนใหคืบหนาไปหาความรูหลักตอไป ฉะนั้น ขาพเจาจึงยินดีที่ไดเห็นหนังสือพิมพขาวทหารอากาศกลับฟนคืนมาใหม เหมือนกับการ ฟนชีวิตในงานของชาติอื่น ๆ ทุกสาขา และการฟนฟูกิจการงานทั้งมวลของประชาชนชาวไทยทั่วไป ในโอกาสนี้ ขาพเจาในฐานะเปนมิตรที่ดีแกทหารอากาศทุกทานตลอดมา จึงขอใหคุณพระรัตนตรัย ไดปกปกรักษาใหหนังสือพิมพขาวทหารอากาศ ประสบแตสรรพมิ่งมงคลตลอดไปทุกประการ ป.พิบูลสงคราม หนังสือพิมพขาวทหารอากาศมีความเจริญกาวหนา มาโดยตลอด พ.ศ.๒๔๙๘ นี่ เ อง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงครั้ ง สํ า คั ญ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ในกิ จ การของหนั ง สื อ พิ ม พ ข า วทหารอากาศ กองทัพอากาศไดออกคําสั่ง โอนกิจการหนังสือขาวทหารอากาศ จากกรมขาวทหารอากาศ ใหมาอยูในความอํานวยการของ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๐๑ พลอากาศโท หะริน หงสกุล เจากรม ยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศในขณะนั้ น ได จั ด ตั้ ง โรงพิ ม พ ข า ว ทหารอากาศขึ้ นภายในบริ เวณกรมยุทธศึก ษาทหารอากาศ และไดยายสถานที่พิมพห นังสื อพิม พขาวทหารอากาศ จาก โรงพิมพไทยเขษมมาพิมพที่โรงพิมพขาวทหารอากาศ ตั้งแต

ฉบับเดือน มีนาคม ๒๔๙๘


นั้นเปนตนมาจนกระทั่งปจจุบัน พ.ศ.๒๕๐๓ กิจการของหนังสือพิมพขาวทหารอากาศ (คําวา “พิมพ” ขาดหายไปจากหลักฐาน เริ่มใชวา “หนังสือขาวทหารอากาศ” เปนตนมา) มีการเปลี่ยนแปลงบรรณาธิการเปนระยะ ๆ ตามความ เหมาะสม ในเดือน กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๐๖ นอกจากจะเปลี่ยนบรรณาธิการแลว ยังไดกําหนดวัตถุประสงค ของหนังสือขาวทหารอากาศขึ้นใหม ดังนี้.- (ใชในปจจุบัน) ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรูในกิจการทั่ว ๆ ไป ๒. เพื่อแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นในดานการทหาร การเมือง การเศรษฐกิจ และการสังคม จิตวิทยา อันจะเปนประโยชนตอสวนรวม ๓. เพื่อเผยแพรกิจการกองทัพอากาศ หนังสือขาวทหารอากาศ ไดดําเนินการดวยความเจริญกาวหนามาโดยตลอด จนกระทั่ง พ.ศ.๒๕๕๒ ไดมีการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญอีกครั้งหนึ่งของหนังสือขาวทหารอากาศ ผูบังคับบัญชาชั้นสูงซึ่งไดใหความ สนใจกับกิจการหนังสือขาวทหารอากาศ ไดพิจารณาใหหนังสือขาวทหารอากาศเขาอยูในกิจการสวัสดิการ กองทั พ อากาศ มี ค ณะอนุ ก รรมการบริ ห ารวารสารและสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ก องทั พ อากาศ กํ า กั บ ดู แ ล โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหการบริหาร การจัดการวารสารและสื่อสิ่งพิมพกองทัพอากาศในภาพรวมเปนไปดวย ความเรียบรอย สมความมุงหมายของทางราชการ และประโยชนตอขาราชการกองทัพอากาศ จนถึงปจจุบัน การดําเนินกิจการของหนังสือขาวทหารอากาศตลอดระยะเวลาที่ผานมา ตองดําเนินงานภายใต ภาวะเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หนังสือขาวทหารอากาศตั้งแตกําเนิดงบประมาณที่ใชไดมา จากคา บํา รุงของสมาชิ ก ทางราชการไมมี งบประมาณช ว ยเหลือแตอย า งใด (ตลอดมาจนถึง ปจจุบัน ) ดวยเหตุผลดังกลาวจึงทําใหหนังสือขาวทหารอากาศมีการเปลี่ยนแปลงกําหนดการออกเปนรายเดือนบาง รายสองเดือนบาง หรือบางครั้งขาดหายไปบาง รวมทั้งปรับปรุงรูปเลมและขนาดของหนังสือใหเหมาะสมกับ สภาวะเศรษฐกิจในขณะนั้น คาบํารุงจากสมาชิกนับวาเปนปจจัยสําคัญในการดําเนินงานของหนังสือขาวทหารอากาศ เริ่มตน จากป พ.ศ.๒๔๘๗ กําหนดใหขาราชการทหารอากาศทุกนาย ที่มีรายไดเดือนละ ๖๕ บาทขึ้นไป (รวมทั้ง หนวยสนามและปกติ) เปนสมาชิก สวนขาราชการที่มีรายไดต่ํากวา ๖๕ บาท ใหเปนสมาชิกพิเศษโดยความ สมัครใจ จากคําสั่งนี้ ทําใหขาราชการที่มียศตั้งแต “พันจาอากาศตรี” ขึ้นไป ตองเปนสมาชิกประจําหนังสือ ขาวทหารอากาศตลอดมา


พ.ศ.๒๔๙๘ ผู บั ญ ชาการทหารอากาศ ได อนุมัติใหหนังสือพิมพขาวทหารอากาศ กําหนดอัตรา คาสมาชิกขึ้นใหม โดยขาราชการสัญญาบัตรเสียคา บํารุง ปละ ๒๐ บาท ขาราชการต่ํากวาสัญญาบัตร (ยศตั้งแตพันจาอากาศตรีขึ้นไป) เสียคาบํารุง ปละ ๑๘ บาท สมาชิ ก ภายนอก ป ล ะ ๒๕ บาท (รวมทั้ ง คาสง) พ.ศ.๒๕๐๓ ได รั บ อนุ มั ติ ใ ห เ ปลี่ ย นแปลง อัตราคาสมาชิก สมาชิกสัญญาบัตรจาก ปละ ๒๐ บาท เปนปละ ๓๒ บาท สมาชิกต่ํากวาสัญญาบัตร จาก ปละ ๑๘ บาท เปนปละ ๒๘ บาท สมาชิกภายนอก ปละ ๓๖ บาท (รวมทั้งคาสง)

ฉบับเดือน มีนาคม ๒๕๐๐

พ.ศ.๒๕๒๔ ผู บั ญ ชาการทหารอากาศได อนุมัติใหเพิ่มคาสมาชิกหนังสือขาวทหารอากาศขึ้นอีกเล็กนอย คือ ชั้นสัญญาบัตรเพิ่มจากปละ ๓๒ บาท เปนปละ ๓๕ บาท ชั้นประทวนเพิ่มจากปละ ๒๘ บาท เปนปละ ๓๐ บาท ฉบับเดือน มกราคม ๒๕๓๔

พ.ศ.๒๕๒๖ ผู บั ญ ชาการทหารอากาศ ได มี คํ า สั่ ง ให มี ก ารเปลี่ ย นแปลงการเป น สมาชิ ก หนั ง สื อ ข า วทหารอากาศ และอั ต ราค า สมาชิ ก เสี ย ใหม กลาวคือ ใหขาราชการชั้นสัญญาบัตรทุกคนเทานั้นเปน สมาชิก หนั ง สือขา วทหารอากาศ และเสีย คา สมาชิ ก คนละ ๕๐ บาทตอป สวนขาราชการชั้นประทวนไมบังคับ เปดโอกาสใหเปนสมาชิกไดตามความสมัครใจ แตถา ข า ราชการชั้ น ประทวนหรื อ ลู ก จ า งคนใดสมั ค รเป น สมาชิ ก จะต อ งเสี ย ค า สมาชิ ก คนละ ๕๐ บาทต อ ป เท า กั บ ข า ราชการชั้ น สั ญ ญาบั ต ร ซึ่ ง ก็ ป รากฏว า มีขาราชการชั้นประทวนและลูกจางสมัครเปนสมาชิก หนั ง สื อ ข า วทหารอากาศเป น จํ า นวนมากและเป น ติดตอกันมาจนทุกวันนี้


พ.ศ.๒๕๓๑ ไดรับอนุมัติใหเพิ่มคาสมาชิกภายใน ทอ. จากคนละ ๕๐ บาทตอป เปนคนละ ๖๐ บาท ตอป และสมาชิกภายนอก จากคนละ ๑๐๐ บาทตอป เปนคนละ ๑๒๐ บาทตอป แม ว า จะได รั บ อนุ มั ติ ใ ห เ พิ่ ม ค า สมาชิ ก ตั้ ง แต เ ดื อ นกุ ม ภาพั น ธ ๒๕๓๑ เป น ต น มาแล ว ก็ ต าม คาใชจายในการจัดพิมพหนังสือขาวทหารอากาศ ก็ไดหาหยุดยั้งเทาเดิมไม คากระดาษพิมพกลับสูงมากขึ้น รวมทั้งคาใชจายอื่น ๆ ก็ตามมาดวย ดวยเหตุนี้จึงไดรับอนุมัติจาก ผบ.ทอ. ใหเพิ่มคาสมาชิกอีกครั้งหนึ่ง ตั้งแตเดือน ตุลาคม ๒๕๓๒ โดยเพิ่มคาสมาชิกภายใน ทอ. เปนคนละ ๘๐ บาทตอป และสมาชิกภายนอก ทอ. เปนคนละ ๑๖๐ บาทตอป ใน ๑ ตุลาคม ๒๕๓๗ ผบ.ทอ. อนุมัติเพิ่มคาสมาชิกภายใน ทอ. เปนคนละ ๑๐๐ บาท ตอป และใน ๓ สิงหาคม ๒๕๓๘ ไดอนุมัติเพิ่มคาสมาชิกภายใน ทอ. เปนคนละ ๑๕๐ บาทตอป และ เพิ่มคาสมาชิกภายนอก ทอ. เปนคนละ ๒๕๐ บาทตอป (สมาชิกภายนอก คนละ ๓๕๐ บาท) รวมทั้ง กองทัพอากาศไดใหการสนับสนุนงบประมาณการจัดหากระดาษในการจัดพิมพใหดวย จะเห็นไดวาตลอดระยะเวลาที่ผานมา หนังสือ ข า วทหารอากาศได ดํ า เนิ น การผ า นมาจนถึ ง ป จ จุ บั น สิ่ง สํ า คัญยิ่ง ก็คือการไดรับ ความอนุเคราะหดว ยดีจ าก ข า ราชการกองทั พ อากาศทุ ก คนตั้ ง แต ใ นอดี ต จนถึ ง ปจจุบัน ถาจะเปรียบขาราชการกองทัพอากาศทุกคนเหมือน มือ ก็เปนมือที่อุมชูจับตองหนังสือขาวทหารอากาศตั้งแต ครั้ง อดี ต เปน มือที่ แข็ง แกร ง มั่น คงประดุจรากแก ว ของ ตนไมที่ไดแผขยายและสืบทอดสูมือของคนรุนตอ ๆ มา จนถึงปจจุบัน หนั ง สื อขา วทหารอากาศ มิ ใ ชเ ป น แค นิต ยสาร รายเดือนเทา นั้น แตเ ปน สั ญลักษณ ถึง ความรัก ความสามั ค คี ความเสี ย สละ ของข า ราชการ กองทัพอากาศ สืบทอดมาตลอด ๗๐ ป และกําลังยางเขา ฉบับเดือน เมษายน ๒๕๑๑ สูปที่ ๗๑ และยังคงเปนสัญลักษณที่มั่นคงเชนนี้ตลอดไป


Pharaoh

กรณี พิ พ าทอิ น โดจี น ฝรั่ ง เศส ในปลายป พ.ศ.๒๔๘๓ ถึงตนป พ.ศ.๒๔๘๔ เปนเหตุการณ สําคัญในประวัติศาสตรไทย ไดมีเรื่องราวการสูรบกัน ทางอากาศมากมายหลายครั้ ง วั นนี้ “๒๔ มกราคม ๒๔๘๔” เปนอีกวันหนึ่งที่สมควรนํามาเลาสูกันฟง ถึงวีรกรรมของหนุมฉกรรจคนหนึ่งบริเวณเหนือทองฟา นครวัตของเขมร ซึ่งขณะนั้นอยูภายใตการปกครอง ของฝรั่งเศส ไดเกิดเสียงกึกกองกัมปนาทสะทาน สะเทือนขึ้นอยางรายแรง “ฝูงเหยี่ยวเหล็ก” กําลัง ร อ นฉวั ด เฉวี ย นอยู เ หนื อ ฟ า นครวั ต ด ว ยความ กลาหาญ มีทั้ง “มารติน” “ฮ็อค” และ “นาโกยา” ทั้งผืนฟานครวัตถูกครอบคลุมไวดวย “ฝูงเหยี่ยว เหล็ก” ฝูงใหญนี้เสียแลว... มีคําถามวา “ฝูงเหยี่ยว เหล็ ก นี้ ม าจากไหน.... และหนุ ม ฉกรรจ เ ขาผู นั้ น เปนใคร ?” ¾ ผูบังคับบัญชาสั่งการ พลอากาศตรี หลวงอธึกเทวเดช ผูบัญชาการ ทหารอากาศทานที่ ๒ ไดรุดเงียบออกจากกองบัญชาการ และติดตามอยางฉับพลันทันดวนดวยคําสั่งยุทธการ ของผูบังคับกองบินใหญผสมภาคใต เพื่อใหบรรดา

เหยี่ ย วเหล็ ก ที่ ก ล า หาญซึ่ ง จอดสงบนิ่ ง อยู ที่ สนามบินดอนเมืองทราบวา “พบกันบนฟานครวัต เวลา ๑๓.๐๐ น. ตรง ของวันที่ ๒๔ มกราคม” เพราะคําสั่งดังกลาวนี้เอง เหยี่ยวเหล็กฝูงบินใหญ จํานวน ๒๕ ลํา (นาโกยา จํานวน ๑๙ ลํา, ฮ็อค จํานวน ๓ ลํา และมารติน จํานวน ๓ ลํา) ไดทะยาน ขึ้นจากสนามบิน ดอนเมืองเพื่อไปพบกันเหนือฟา นครวัตตามกําหนด ¾ ยุทธการเหนือฟานครวัต เมื่อไปสูจุดหมาย จึงไดแยกขบวนออกเปน หมู ๆ ละ ๓ – ๔ ลํา จากนั้นก็แยกทิศทางออกสูจุดหมาย อยางรวดเร็ว ลูกระเบิดจากเหยี่ยวเหล็กแตละลํา ก็รว งพรูลงสูที่ หมาย พรอมกระสุน เหล็กออกจาก ลํากลองปนกลทางดานหนาและดานหลังราวหาฝน เสียงรัวของปนกลและระเบิดจากฟาผสมผสานกับ เสียงกึกกองกัมปนาทของปนตอสูอากาศยานจาก ทางพื้นดิน ปานประหนึ่งแผนดินนั้นจะถลมทลายไป ทันใดนั้นบริเวณสนามบินนครวัตอันเปนเปาหมาย สําคัญก็ถูกถลมทลายดวยอํานาจการทําลายของ ลูกระเบิดและลูกกระสุน โรงเก็บและคลังจํานวนมาก


ถู ก ทํ า ลาย เกิ ด เพลิ ง พวยพุ ง ขึ้ น เผาผลาญอย า ง อยูเบื้องสูง และให “นาโกยาและมารติน” ทั้งหมด นากลัว บริเวณสนามบินหลายแหงถูกทําลายชํารุด พุงออกจากฟาเหนือนครวัตไปกําปงเกลียง ซึ่งอยู ไปอยางรวดเร็ว ใกล ๆ ตอไปทางทิศตะวันออกอันเปนที่หมายแรก เหยี่ยวเหล็ก “นาโกยา หมายเลข ๖” ได เมื่ อ ไปถึ ง เมือ งนี้ แ ละสั ง เกตวา ไม มีส นามบิ น และ ทะยานแยกจากฝูงออกไปปฏิบัติการแบบ “บุกเดี่ยว” ที่หมายทางทหารแลว เหยี่ยวเหล็กฝูงใหญก็พุงเขาหา เพื่อทิ้ง ระเบิ ด ถ า ยรูปและตรวจผลการทิ้ง ระเบิ ด ที่หมายรอง การที่ฝูงเหยี่ยวเหล็กพุงออกจากนครวัต เหยี่ยวเหล็กตัวนั้นสงประกายสีเงินขาวปลาบกําลัง ครั้งนี้ ทําเหมือนหนึ่งไดลาถอยไปแลวใหขาศึกตายใจ ร อ นถลาอยู สู ง ประมาณ ๒,๑๐๐ เมตร เมื่ อ ถึ ง แตแลวก็วกกลับเขามาโจมตีนครวัตอีกเปนระลอก จุดหมายแลวก็ปกหัวดําดิ่งลงโปรยระเบิดใสโรงเก็บ ที่สองทางดานตะวันออก สวน “นาโกยา หมายเลข ๖” ข า งสนามบิ น ได อ ย า งแม น ยํ า แล ว ก็ เ งยหั ว ขึ้ น สู คงปฏิบัติการถายรูปและตรวจการณตอไปอีกดวย เบื้ อ งสู ง พร อ มกั บ พ น กระสุ น เหล็ ก อย า งหู ดั บ บทบาทอันแกรงกลาไมหวั่นกลัว และตายใจวาจะ ตับไหม คลังน้ํามันระเบิดตูมขึ้น พระเพลิงโหมกระพือ ไมมีเหยี่ยวเหล็กฝายศัตรูหาญมาตอสูเปนแน และ เผาผลาญสองแสงฉานจับทองฟาขึ้นอยางรวดเร็ว ยังหมายใจวาจะทิ้งระเบิดแบบ “ปูพรม” ใหนครวัต บรรดาเหยี่ยวเหล็กทั้งฝูงเหนือฟานครวัต ราบเปนหนากลอง ขณะนั้นอยูภายใต การบั ง คั บ บั ญ ชา ข อ ง “น า โ ก ย า หมายเลข ๖” ลํานี้ ทั้ ง สิ้ น เมื่ อ หนุ ม ฉกรรจ เ หนี่ ย วคั น บังคับเหยี่ยวเหล็ก “น า โ ก ย า หมายเลข ๖” พุง ขึ้ น ไปลอยตั ว อยู สู ง ๒,๑๐๐ เมตร ภาพถายจากเครื่องบิน แสดงใหเห็นการปองกันการโจมตีทางอากาศที่นครวัต ขณะที่ฝูงเครือ่ งบินของเรา แลว สัญญาณคําสั่ง บินผาน ขาศึกก็ใช ป.ต.อ. ระดมยิงจากจุดตาง ๆ ดังที่เห็นปรากฏเปนกลุมควันสีขาว ใหฝูงเหยี่ยวเหล็ก ในขณะที่เหยี่ยวเหล็ก “นาโกยา หมายเลข ๖” ปฏิบัติยุทธการบนทองฟาขั้นตอไปก็เริ่มขึ้นอยาง รวดเร็ว โดยมี “ฮ็อค” ทําหนาที่บินขับไลคุมกัน บิ น ฉวั ด เฉวี ย นตรวจการณ แ ละถ า ยรู ป อยู นั้ น เอง


เหยี่ยวเหล็กของขาศึกจํานวนหนึ่งก็ทะยานขึ้นสูฟา จากสนามบินนครธม แตเหยี่ยวเหล็กของฝรั่งเศส ทุกลํานั้นไดทาสีพรางไวทั้งหมด จึงทําให “นาโกยา หมายเลข ๖” ผูนําฝูงเหยี่ยวเหล็กของไทยมองเห็น ไดโดยยาก ตรงกันขามกับนาโกยาของไทยที่สั่งซื้อ มาจากญี่ปุนเปนสีบรอนซ ยังขาวปราบเปนประกาย จึ ง เป น เป า สายตาของข า ศึ ก ในระยะไกลได เ ป น อยางดี ขณะที่เห็นขาศึกทะยานขึ้นสูฟาทางดาน นครธมเปนลําสุดทาย เขาจึงบังคับใหนาโกยาพุงสู ทิศทางนครธมเพื่อติดตามดูและถายรูปสนามบิน ก็ปรากฏวา “โมราน” ของฝรั่งเศสสวนหนึ่งกําลัง ไลกวด “ฮ็อคกับนาโกยา” ทั้งฝูงอยางชุลมุน “นาโกยา หมายเลข ๖” กําลังพุงตัวติดตาม ดูขาศึกที่กําลังขึ้นจากสนามบินสํารองดานนครธม นั้น ดวงตะวันของฤดูหนาวในเดือนมกราคมไดลอย ต่ําลงไปอยูคอนฟาทางดานตะวันตกเฉียงใต จึงทํา ใหเขาพุงสายตาไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต ซึ่งเปน ทิ ศ ทางที่ ข า ศึ ก กํ า ลั ง ติ ด ตามเขาอี ก ระลอกหนึ่ ง อยางไมรูตัว “นาโกยา หมายเลข ๖” ซึ่งมีความเร็ว ประมาณ ๓๐๐ กม./ชม. และบิ น สู ง ประมาณ ๒,๐๐๐ เมตรเศษ ยังคงพุงติดตามไปดูขาศึกอยาง ไมลดละ โดยหารูไมวาขณะนั้น “โมราน” ของขาศึก ซึ่งเปนเครื่องบินขับไลมีความเร็วถึง ๕๔๐ กม./ชม. ได ท ะยานมาทั น และอยู จ นคร อ มตั ว “นาโกย า หมายเลข ๖” จํานวน ๔ เครื่อง เนื่องจากเขาตอง เงยหน า ขึ้ น มองย อ นแสงอาทิ ต ย แ ละเครื่ อ งบิ น สวนใหญมีลักษณะคลายคลึงกัน และยังมีความ เขาใจวาเปน “ฮ็อค” ของฝายเดียวกันที่คอยคุมกัน อ ยู แ ต เ รื อ อ า ก า ศ เ อ ก ห ม อ ม ร า ช ว ง ศ

เสนาะ ลดาวั ล ย ทํ า หน า ที่ ป น หลั ง ตะโกนว า “โมรานครับ” เสี้ยววินาทีนั้นเอง ทั้ง ๓ ชีวิตใน “นาโกยา หมายเลข ๖” ที่รวมถึงเรืออากาศเอกหมอมราชวงศ เสนาะ ลดาวัลย และเรืออากาศตรี อมฤต พนักงาน วิทยุ ตางก็พากันเตรียมสูตายอยางฉับพลัน เขาตะโกน สั่งใหปนหลังคุมกันเต็มที่พรอมกับสอดสายสายตา ไปรอบ ๆ เพราะเกรงวาจะมีขาศึกจํานวนมากมารุม กินโตะ แตยังไมถึงชั่วอึดใจ เหยี่ยวเหล็กของขาศึก ทั้ง ๔ ลํา ก็ ป ก หั ว ดิ่ ง ถลาตามหลัง กั น ลงมารุม ยิ ง อยางหูดับตับไหม “นาโกยา หมายเลข ๖” ก็ปกหัว ดิ่งลงทะเลสาบเขมรจนเรี่ยผิวน้ํา จนเขาแนใจวา ขาศึกไมสามารถจะมุดลงไปยิงจากใตทองขึ้นมาได เปนแน ในไมชาขาศึกก็สามารถตามมาทันทั้ง ๔ ลํา และเรียงหนากระดานไลยิงตามหลังมาอยางถี่ยิบ ปนแฝดสองลํากลองของ “นาโกยา หมายเลข ๖” ก็ พ น กระสุ น สกั ด การไล ยิ ง ของข า ศึ ก อย า งเต็ ม ที่ จนกระทั่ ง ลํ า กล อ งป น อั น หนึ่ ง เกิ ด ขั ด ข อ งอย า ง กะทันหัน เขาไดสั่งพลปนหลังวาไมตองแกไข เพราะ จะทําใหขาศึกเห็นจุดออนได แตใหทําทายิงไวเสมอ แม จ ะไม ไ ด ยิ ง ออกไปก็ ตาม จงปล อยกระสุ น เมื่ อ จําเปนจริง ๆ เพื่อเปนการออมกระสุนไปดวย และ ไดรับคําตอบจากพลปนหลังวา “โอเคครับ..” เมื่อ “นาโกยา หมายเลข ๖” พุงมาจนถึง ขอบทะเลสาบเขมรด า นตะวั น ตก ปรากฏว า “โมราน” ไดเปลี่ยนยุทธวิธีใหมโดยแยกออกเปน สองหมู ๆ ละ ๒ เครื่ อง แลว บิ นโอบไปทั้ง ๒ ขา ง เป น รู ป วงล อ มดั ก หน า เพื่ อ จะต อ นให “นาโกย า หมายเลข ๖” กลับคืนเขาสูเขตเขมร เขายอมสูตาย


เสี ย แล ว เขาจะไม ว กกลั บ คื น หลั ง ไปเป น อั น ขาด และเรงเครื่องมุงหนามาทางประเทศไทยทางดาน จันทบุรีอยางรวดเร็ว ขาศึกที่รอดักหนาก็พุงหัวเขา ระดมยิงประดุจสายฝนอันหนัก หมายที่จะสกัดกั้น ไว แต “นาโกยา หมายเลข ๖” หาไดหวั่นไหวไม ปนหนาเริ่มทําหนาที่ของมันโดยพุงกระสุนออกจาก ลํากลองถี่ยิบ ทําใหเปนการพุงเขาประจัญบานกับ ขาศึกทั้ง ๔ ลํา หวิดที่จะชนกันเองเพราะ “นาโกยา หมายเลข ๖” ไดเรงเครื่องเต็มที่ผานไปเสียแลว “โมราน” ของขาศึกไดใชยุทธวิธีนี้หลายครั้ง แต “นาโกยา หมายเลข ๖” ก็สามารถรอดไปไดอยาง หวุดหวิดทุกคราว และไมไดรับอันตรายจากกระสุน ปนที่พนออกมาจากขาศึกแมแตนอย “นาโกยา หมายเลข ๖” ไดใชยุทธวิธี อยางสุดฝมือ และหลบหลีก “โมราน” ของขาศึก มาจนเกือบจะเขาเขตอําเภอมะขามของไทย ดาน อําเภอไพลินของฝรั่งเศสอยูแลว แตก็ยังไมพนการ ติดตามอีก แตคราวนี้เหลือเพียง ๒ ลํา ครั้งนี้นับเปน ครั้งที่ ๖ ที่เขาประจัญบานกันอยางกระชั้นชิดกับ ขาศึก “โมราน” ทั้ง ๒ ลําพุงเขาระดมยิงขวางหนา ไวเชนเคยเพื่อที่จะตอนให “นาโกยา หมายเลข ๖” กลั บ เขมรอี ก แต เ ขาได ตั ด สิ น ใจอย า งเด็ ด เดี่ ย ว ไดพุงเขาใสเครื่องบินขาศึกทั้ง ๒ ลํา อยางกลาหาญ หมายจะชนขาศึกบนอากาศใหยับเยิน จน “โมราน” ทั้ง ๒ ลํา แตกกระเจิงออกไปคนละทาง ¾ กลับสูฐานบิน หลังจากเสียงปนทั้ง ๒ ฝายสงบลง “โมราน” ทั้ง ๒ ลํา ไดมาบินเทียบทางดานขวามือ (ทิศเหนือ)

หางประมาณ ๔๐๐ – ๕๐๐ เมตร แตคราวนี้ทั้ง ๒ ฝาย มิไดพนกระสุนเขาหากัน แตมองหนากันในลักษณะ ที่ทุกคนตางก็เห็นฝมือซึ่งกันและกัน จากนั้นชั่วครู เขาก็โบกมืออําลา และไดรับการโบกมือตอบจาก ขาศึก ประหนึ่งวาทั้ง ๒ ฝาย ตางเปนมิตรไมตรีกัน จากนั้น “โมราน” ทั้ง ๒ ลํา ก็เลี้ยวกลับคืนสูฐ านทัพ สวน “นาโกยา หมายเลข ๖” ที่ถูกโจมตีถึง ๖ ครั้ง ซึ่งลวนแตเปนเวลาที่ยอมทําและยอมตายเปนเวลา ๒๐ นาที ก็กลับสู ประเทศไทยที่สนามบิน จันทบุ รี ปรากฏว า ไม มี ส ว นหนึ่ ง ส ว นใดของ “นาโกย า หมายเลข ๖” เสียหายเลยแมแตนอย รวมทั้งไมมี ใครได รั บ บาดเจ็ บ ปาฏิ ห าริ ย ไ ด เ กิ ด ขึ้ น แล ว กั บ “นาโกยา หมายเลข ๖” จากนั้นเขาไดทะยานขึ้นสู ทองฟาอีกครั้งเพื่อบินกลับสนามบินดอนเมือง ฝูงบินที่อยูใตบังคับบัญชาของเขา ที่ทะยาน ขึ้นฟาไปโจมตีนครวัตในวันนั้น ตางก็กลับฐานทัพ ด ว ยความเรี ย บร อ ยทุ ก ลํ า โดยมิ ไ ด รั บ อั น ตราย แตอยางใด นอกจากถูกยิงเพียงเล็กนอยเทานั้น


• เหตุ ก ารณ ข องเหยี่ ย วเหล็ ก “นาโกย า หมายเลข ๖” มันคือความเขมแข็งแกรงกลาในอดีต ของเขา ผูนั้น คือ จอมพลอากาศ ฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี (อดีตผูบัญชาการทหารอากาศ ทานที่ ๔) ผูคุมเวหาอันเกรียงไกร พิทักษนานฟาไทยใหเปนที่ ครามเกรงของอริราชศัตรูเปนเวลานาน ซึ่งในขณะนั้น ทานมีนามวา “นาวาอากาศโท ขุนรณนภากาศ” ทานไดแสดงวีรกรรมดวยความเขมแข็งแกรงกลา อันยอดเยี่ยมไวใหประจักษและจะอยูในความทรงจํา ของทหารอากาศไทยตลอดไป และนี่ คื อ คํ า ตอบ ของ “ฝู งเหยี่ ยวเหล็ กนี้ มาจากไหน.. และหนุ ม ฉกรรจเขาผูนั้นเปนใคร ?” ¾ บทสรุป จะเห็นไดวาการใชกําลังทางอากาศระหวาง ไทยกับฝรั่งเศสในกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศสนั้น คื อ มู ล เหตุ จ ากเรื่ อ งเขตแดนและกระแสลั ท ธิ ชาตินิยมทวงคืนดินแดน กองทัพอากาศไทยไดมี การเตรียมความพรอมรบของฝูงบิน ซึ่งไดมีการฝก เตรี ย มความพร อ มก อ นเข า สู ภ าวะสงครามและ การศึกษาเรียนรู ฝกซอมทําความเขาใจถึงกองกําลัง และขีด ความสามารถของขา ศึก อยูเ สมอมา เช น ตั้งแตป พ.ศ.๒๔๘๒ กองทัพอากาศมีการฝกการรบ ดวยการใชอาวุธและกระสุนจริง สวนลูกระเบิดเปน

ลูกระเบิดฝก มีการฝกโจมตี โดยใชพื้นที่การฝกที่ สนามบินโคกกระเทียม และประจวบคีรีขันธ โดยมี นาวาอากาศโท ขุนรณภากาศ เปนผูอํานวยการฝก และมี ก ารฝ ก อย า งต อ เนื่ อ งจนกระทั่ ง เข า สู ภ าวะ สงคราม ขอความที่ปรากฏในเรื่องนี้นั้น ถึงแมวาจะ ไดกลาวถึงความสามารถเฉพาะตัวและความกลาหาญ เด็ดเดี่ยวในการสูรบแลว ยุทธวิธีและผลของการสูรบ ที่ผานมานั้น ยังเปนบทเรียนใหคนรุนใหมไดศึกษา โดยตองปรับปรุงการฝกและเปลี่ยนแปลงยุทธวิธี ตามแบบของเครื่ อ งบิ น และความก า วหน า ทาง เทคโนโลยีที่ไดพัฒนาไปมาก เพื่อเตรียมความพรอม หากมีการใชกําลังทางอากาศในลักษณะเดียวกัน นี้อีก จึงนับวาเหตุการณ ยุทธการเหนือฟานครวัต “๒๔ มกราคม ๒๔๘๔” จึงนับวาเปนความภูมิใจ ของทหารอากาศทุกยุคทุกสมัยและจะเปนอนุสรณ เตื อ นใจให ท หารอากาศทุ ก คนประกอบวี ร กรรม ที่ ยิ่ ง ใหญ เ ช น นี้ ต ลอดไป และถึ ง แม ว า ผู เ ขี ย นเอง อาจจะไมอยูในฐานะที่จะสรางความสมบูรณขอมูล ทางประวั ติ ศ าสตร ที่ ไ ด เ ขี ย นมาได ทั้ ง หมด ด ว ย ขอจํากัดบางประการ แตอาจจะเปนจุดเริ่มตนการ ปลูกฝงจิตสํานึกทางประวัติศาสตรทางดานการบิน ที่ไดเกิดขึ้นในอดีตไดเปนอยางดี

อางอิง : - กองทัพอากาศ,อนุสรณ จอมพลอากาศ ฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี, โรงพิมพกรมสารบัญทหารอากาศ, ๒๕๓๐


น.ท.ดร.สุนันท ชูมาลี

กองกิจการอวกาศ ศูนยวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีการบินและอวกาศกองทัพอากาศ E-mail:Sunun_c@rtaf.mi.th

บทความนี้นําเสนอโครงการวิจัยตาง ๆ ของ ศวอ.ทอ. ที่เกี่ยวของกับอากาศยานไรนักบิน ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน รวมถึงแนวโนม โครงการวิจัยทางดานนี้ในอนาคต ซึ่งในปจจุบัน นักการทหาร ทั้งในประเทศและตางประเทศตางยอมรับแลววา อากาศยานไรนักบินสามารถนํามาประยุกตใชงานกับ ภารกิ จ ต า ง ๆ ทางการทหารได ม ากมายหลากหลาย โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง กั บ ปฏิ บั ติ ก ารทางทหาร ในลักษณะ D3 – “Dirty, Dull, Dangerous” จึงทําใหโครงการวิจัยขนาดใหญทางดานอากาศยาน ไรนักบินไดเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว และมากมายในหลาย ๆ ประเทศ โดย ศวอ.ทอ. ในฐานะหนวยงานวิจัย ของ ทอ. ก็ไดตื่นตัวและตระหนักถึงความสําคัญของงานวิจัยทางดานนี้มาโดยตลอด รวมทั้งไดดําเนิน โครงการวิจัยทางดานนี้มาอยางตอเนื่อง ตั้งแตป ๔๓ จนถึงปจจุบัน ๑. บทนํา อากาศยานควบคุมระยะไกล หรือ Remote Piloted Vehicle (RPV) เปนอากาศยานที่ถูกควบคุม การบินโดยผูบังคับการบินภาคพื้นผานสัญญาณ คลื่นวิทยุ เครื่อง RPV นั้นถือไดวาเปนเทคโนโลยี เริ่มแรกของ อากาศยานไรนักบิน หรือ Unmanned Aerial Vehicle (UAV) นอกจากนี้ ในป ๓๑ ทอ. ไดเคย จัดหาเครื่อง RPV ดังแสดงในรูปภาพที่ ๑ มาประจําการ ที่ ฝู ง ๔๐๒ กองบิ น ๔ และได เ คยใช ง านร ว มกั บ

เครื่องบิน ARAWA ในชวงสงครามรมเกลา แตดวย ขอจํากัดทางดานเทคโนโลยีในขณะนั้น ทําใหเครื่อง RPV ไมสามารถตอบสนองความตองการทางดาน ยุทธการไดเทาที่ควร ดังนั้นฝูงเครื่อง RPV จึงไดถูก ยุบไป

รูปภาพที่ ๑ : อากาศยานควบคุมระยะไกล ทอ.


เครื่องบิน ARAWA ในชวงสงครามรมเกลา แตดวย ขอจํากัดทางดานเทคโนโลยีในขณะนั้น ทําใหเครือ่ ง RPV ไมสามารถตอบสนองความตองการทางดาน ยุทธการไดเทาที่ควร ดังนั้นฝูงเครื่อง RPV จึงไดถูก ยุบไป แตอยางไรก็ตาม เทคโนโลยีทางดาน UAV ไม ไ ด ห ยุ ด นิ่ ง และได ถู ก พั ฒ นามาอย า งต อ เนื่ อ ง จนในปจจุบัน เครื่ อง UAV ได ถูกยอมรับจาก กองทัพ อากาศของหลาย ๆ ประเทศ แลววา เปน อากาศยานที่ มี ป ระโยชน แ ละมี ค วามสํ า คั ญ แบบหนึ่ ง ต อ กองทั พ อากาศของประเทศของตน โดยเฉพาะอยางยิ่ง กองทัพอากาศสหรัฐ ฯ ไดเคย นําเครื่อง UAV ไปใชในสงครามสําคัญ ๆ หลายสงคราม ด ว ยกั น อาทิ เ ช น สงครามอ า วครั้ ง แรก (ป ๓๘) การปฏิบัติการรักษาสันติภาพใน Bosnia และ Kosovo (ป ๔๒) และ สงครามอาวครั้งที่สอง (ป ๔๖) จากความสําเร็จในการนําเครื่อง UAV มาใช ในสงครามสําคัญ ๆ ดังกลาวนั้น ทําใหนานาประเทศ เกิดการตื่นตัวและตระหนักถึงความสําคัญของการ ใชงานเครื่อง UAV ใหเกิดประโยชนทั้งทางการทหาร และพลเรือน จึงไดพยายามเรงรัดโครงการวิจัยและ พัฒนาระบบ UAV ของตน โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประเทศโลกที่สามและประเทศอุตสาหกรรมใหม เชน อินเดีย เกาหลีใต ไตหวัน อิหรานและตุรกี ก็ได มีโครงการวิจัยเพื่อผลิตเครื่อง UAV เพื่อใชงาน ทางดานการทหารในกองทัพของตน รวมถึงการผลิต เพื่อการสงออกในอนาคตดวยเชนกัน สําหรับโครงการวิจัยและพัฒนาดาน UAV ของ ศวอ.ทอ. ได เ ริ่ ม ต น ในป ๔๓ โดยได ดํ า เนิ น

โครงการวิ จั ย และพั ฒ นา บ.เป า บิ น ดั ง แสดงใน รูปภาพที่ ๒ ตามคําสั่ง อนุมัติ ผบ.ทอ. ทายหนังสือ ธรรม

รูปภาพที่ ๒ : บ.เปาบิน ทอ.

ยก.ทอ. ที่ ๐๖๐๕.๓/๑๐๓๖ ลง ๑๓ เม.ย.๔๓ เรื่อง การยิ ง ทดสอบและประเมิ น ค า สมรรถนะจรวด ADATS ซึ่งใชระยะเวลาดําเนินการ ๑ ป (ป ๔๔) ใช งบประมาณ ๔,๘๑๖,๒๓๔ บาท โดยให ชอ. ผลิต ลํา ตัว บ.เปา บิน และให ศวอ.ทอ. วิ จัยและสร า ง ระบบบังคับการบินระยะไกล (Remote Control) ดั ง แสดงในรู ป ภาพที่ ๓ พร อ มทั้ ง ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ อิเล็ กทรอนิก สและเครื่องยนต รวมถึง บินทดสอบ ภาคอากาศ

รูปภาพที่ ๓: (ก) ชุดบังคับการบินภาคพื้น


รูปภาพที่ ๓: (ข) ชุดบังคับการบินภาคอากาศ

จากความสําเร็จของโครงการดังกลาว ทําให ทอ. สามารถ ผลิต บ.เปาบินพิสัยกลางไดเอง ไวใชงาน เปนเปาอากาศ สําหรับการยิงทดสอบและประเมินคา สมรรถนะจรวด RBS-70 และ ADATS ประจําป ซึ่ง สามารถประหยัดงบประมาณของ ทอ. ในการจัดซื้อ จัดหา บ.เปาบินพิสัยกลาง ไดมากถึงลําละ ๑ ลานบาท นอกจากนั้ น คณะวิ ศ วกรของ ศวอ.ทอ. ยั ง ได รั บ ความรู ความชํ า นาญ และประสบการณ ของ วิทยาการเทคโนโลยี UAV ในดานตาง ๆ อาทิเชน

รูปภาพที่ ๔ : ระบบบังคับการบินอัตโนมัติของ บ.เปาบิน ทอ.


อากาศพลศาสตร (Aerodynamic, Flight Dynamic) [๑๑, ๑๔] เครื่องยนต และคุณภาพการบิน (Flying and Handling Qualities) [๑๑] จนทําใหโครงการนี้ ชนะเลิศรางวัล อันดับที่ ๑ สิ่งประดิษฐคิดคนของ ทอ. ประจําป พ.ศ.๒๕๔๔ และรางวัลชมเชย ผลงาน ประดิ ษ ฐ คิ ด ค น จากสภาวิ จั ย แห ง ชาติ ประจํ า ป พ.ศ.๒๕๔๖ หลังจากนั้น ในป ๔๕ ศวอ.ทอ. ไดขยายผล ตอยอด โครงการวิจั ยและพัฒนา บ.เปาบิน โดย ดําเนินโครงการวิจัยและพัฒนาระบบบังคับการบิน ของ บ.เป า บิ น แบบอั ต โนมั ติ ตามคํ า สั่ ง อนุ มั ติ ผบ.ทอ. ทายหนังสือ ยก.ทอ. ที่ ๐๖๐๕.๖/๔๙๓ ลง ๒๘ ก.พ.๔๔ เรื่ อ ง สรุ ป ผลการประชุ ม คณก. มาตรฐานระบบอาวุธ ครั้งที่ ๒/๔๓ ใชระยะเวลา ดํ า เนิ น การ ๓ ป (ป ๔๕-๔๗) ใช ง บประมาณ ๙,๖๕๖,๑๘๐ บาท โดยให ศวอ.ทอ. วิจัยและสราง ระบบบังคับการบิน แบบอัตโนมัติ ดังแสดงในรูปภาพ ที่ ๔ สําหรับติดตั้งใชงานกับ บ.เปาบิน ทอ. จากความสําเร็จของโครงการนี้ ทําให ทอ. สามารถ ผลิต บ.เปาบินพิสัยกลาง แบบอัตโนมัติไดเอง ซึ่งสามารถประหยัดงบประมาณของ ทอ. ในการจัดซื้อ จัดหา บ.เปาบินพิสัยกลาง แบบอัตโนมัติไดมากถึง ลําละ ๒ ลานบาท นอกจากนั้น คณะวิศวกรยังไดรับ ความรู ความชํ า นาญ และประสบการณ ของ วิทยาการในดานตาง ๆ เชน Aircraft Parameter Identification [๑๓] และ Flight Control System Design [๑๒, ๑๔] จนทําใหโครงการนี้ เปนที่ยอมรับ จากที่ ป ระชุ ม และวารสารวิ ช าการนานาชาติ ทางด า นวิ ศ วกรรมควบคุ ม อากาศยาน (Aircraft

Flight Control System Design) จึงไดรับการ ตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการนานาชาติ ดังนี้ ๑. Proceedings of the 24th Bristol International Unmanned Air Vehicle Systems (UAVS) Conference, Bristol, UK, March 2009. [๕] ๒. Proceedings of European Control Conference 2009, Budapest, Hungary, August 2009. [๖] และ ๓. Journal of Aerospace Engineering, Proc. IMechE Vol.224 Part G, 2010, pp 831-842. [๑๐] ๒. งานวิจัยอากาศยานไรนักบิน ของ ศวอ.ทอ. บ.เปาบิน ทอ. ดังแสดงในรูปภาพที่ ๒ เปน อากาศยานควบคุมระยะไกล (RPV) ประเภท Conventional Fixed Wing Aircraft โดยมีเครื่องยนต AR731 แบบ Rotary Engine ผลิตโดยบริษัท UAV Engines Ltd เปนแหลงใหพลังงานขับเคลื่อน และ มี S9206 Servo Motors ผลิตจากบริษัท Futaba เปนอุปกรณคันชักคันสง ที่ใชขยับพื้นผิว Elevator, Aileron และ Throttle หมายเหตุ บ.เปาบิน ทอ. ไมมีพื้นผิว Rudder ลําตัวของ บ.เปาบิน ทอ. สราง โดย ชอ. สํ า หรั บ ระบบบั ง คั บ การบิ น อั ต โนมั ติ ออกแบบและสร า งโดย ศวอ.ทอ. ซึ่ ง เทคโนโลยี ระบบนี้ เ ป น เทคโนโลยี พื้ น ฐาน ที่ ส ามารถพั ฒ นา ขยายผล และต อ ยอดไปสู โ ครงการอากาศยาน ไรนักบิน ในอนาคตอันใกลได ๒.๑. คอมพิ ว เตอร ค วบคุ ม การบิ น (Flight Control Computer) คอมพิ ว เตอร ค วบคุ ม การบิ น ดั ง แสดงใน รูปภาพที่ ๕ ที่ใชใน บ.เปาบิน ทอ. ไดถูกออกแบบ


และพัฒนา โดยเฉพาะเพื่อโครงการนี้ โดย ศวอ.ทอ. แผงวงจรคอมพิ ว เตอร นี้ มี ลั ก ษณะเป น ระบบ สมองกลฝงตัว (Embedded Flight Computer) จึงไมมีระบบปฏิบัติการใด ๆ (Operating System) ทั้งสิ้น และใชไอซีที่สําคัญ ๆ เพียง ๓ ตัวเทานั้น คือ ๑. Intel 80C196MH ใชงานเปนหนวยประมวล ผลกลาง ๒. STMicroelectronics PSD4235G2 ใชงานเปน Flash In-System Programmable (ISP) และ ๓. Texas Instruments TL16C554 ใชงาน เปน Asynchronous Communication Element จะเห็นไดวา ในการออกแบบไดเลือกใหมีจํานวน ไอซี ให นอ ยที่ สุ ดเท า ที่ เ ป น ไปได เพื่ อให แ ผงวงจร คอมพิวเตอรนี้มีความไววางใจไดและเชื่อถือไดสูง

รูปภาพที่ ๕ : คอมพิวเตอรควบคุมการบิน ของ ศวอ.ทอ.

๒.๒. อุ ป กรณ เ ครื่ อ งวั ด ข อมู ล การบิ น (Avionic Instrumentation) อุปกรณเครื่องวัดคุณภาพสูงไดมาตรฐาน ไดถูกเลือกใชในโครงการนี้ เพื่อใชวัดขอมูลตาง ๆ ทางดานการบิน อาทิเชน ความกดดันอากาศ (Static and Dynamic Pressures) มุมปะทะอากาศ (Angles of Attack and Sideslip) ทาทางการบิน (Roll, Pitch,

and Yaw Angles) อัตราเร็วเชิงมุม (Roll, Pitch, and Yaw Rates) อัตราเรงเชิงเสน (Xg, Yg, and Zg) ขอมูลจีพีเอส (Global Posisioning Data) และ ความเร็วรอบเครื่องยนต เปนตน โดยใชหลักเกณฑ ๒ ปจจัย ดังนี้ ๑. Sampling Rate of Measurement และ ๒. Type of Sensor Output Signal ในการ เลือกอุปกรณเครื่องวัดเหลานั้น จากคําแนะนําของ Klein และ Morelli [๑๓], ความถี่ของอุปกรณเ ครื่องวัดตาง ๆ ควรมากกวา หรือเทากับ ๒๕ fmax โดย fmax คือ ความถี่สูงสุดของ เครื่องบินที่เกิดจาก Rigid-Body Dynamic Mode และโดยปกติ ความถี่สูงสุดนี้ มีคาเทากับ ๒ Hz ดังนั้น ควรเลื อ กอุ ป กรณ เ ครื่ อ งวั ด ที่ มี ค วามถี่ ใ นการวั ด อยางนอย ๕๐ Hz นอกจากนั้น อุปกรณเครื่องวัด ตางๆ ที่ถูกเลือกใช ยังเปนแบบ Digital Output Devices เพราะอุปกรณเครื่องวัดประเภทนี้มี ความสามารถในการตานทาน และทนทาน สัญญาณ รบกวน (Electromagnetic Interference หรือ Radio Frequency Inteference) ไดดีกวาแบบ Analogue Output Devices ขอไดเปรียบอีกอยางของอุปกรณ แบบนี้คือ ไมจําเปนตองมีวงจร Anti-Aliasing Filters และ Analogue-to-Digital Converter ๒. ๓ . อุ ป ก ร ณ วิ ท ยุ สื่ อ ส า ร ( Radio Telemetry) อุปกรณวิทยุสื่อสารคุณภาพสูงไดมาตรฐาน ก็ไดถูกเลือกใชสําหรั บโครงการนี้ดว ย โดยเครื่ อง วิทยุ RFM96W ของบริษัท Pacific Crest Corporation ไดถูกเลือกใชงาน สําหรับสงขอมูลการบังคับการบิน ขาขึ้น (Uplink) จากผูบังคับการบินภาคพื้น ในทุก ๆ


๘๐ ms และถูกกําหนดคา Configuration ตาง ๆ ดังนี้คือ ความถี่วิทยุ ๔๑๒.๐๒๕ MHz, RS-232 interface ๙,๖๐๐ baud และ link rate ๙,๖๐๐ baud สําหรับขอมูลการบินขาลง (Flight Data Downlink) ไดถูกสงผานเครื่องวิทยุ RFM96WSS (Frequency Hopping Spread Spectrum) ของ บริษัท เดียวกัน และถูก กํา หนดคา Configuration ต า ง ๆ ดั ง นี้ คื อ ความถี่ วิ ท ยุ ๙๐๒ - ๙๒๘ MHz, RS-232 interface ๑๙,๒๐๐ baud และ link rate ๓๗.๕ kbps raw data โดยขอมูลการบินตาง ๆ เหลานี้ จะถูกสงลงมาและถูกแสดงที่สถานีควบคุม ภาคพื้น (Ground Control Station) ในทุก ๆ ๔๐ ms ดังแสดงในรูปภาพที่ ๔ ๒.๔. สถานี ค วบคุ ม ภาคพื้ น (Ground Control Station) สถานีควบคุมภาคพื้นมีความสําคัญและ จํ า เป น ในการแสดงผลการบิ น ในแต ล ะเที่ ย วบิ น โดย คณะวิศวกร ไดเลือกใชคอมพิวเตอรทั่ว ๆ ไป (PC) ในการแสดงผลโปรแกรม Instrumentation Monitoring และ Digital Moving Map ซึ่ง ๒ โปรแกรมนี้ ได ถู ก ออกแบบและเขี ย นโดย คณะวิ ศ วกรของ ศวอ.ทอ. ดวย Visual Basic 6.0 ดังแสดงในรูปภาพที่ ๖

รูปภาพที่ ๖ : สถานีควบคุมภาคพื้น

๒.๕. การออกแบบหลั ก การควบคุ ม การบิน (Flight Control Law) คณะวิศวกรไดเลือกหลักการควบคุมแบบ Proportinal, Integral and Derivative (PID) [๑๔] สําหรับโครงการนี้ เนื่องจากเปนหลักการที่ไมซับซอน เขาใจไดงาย ไววางใจได และเชื่อถือไดสูง อยางไรก็ตาม การออกแบบหลั ก การควบคุ ม การบิ น โดยใช หลักการนี้ จําเปนตองอาศัย Flight Dynamic Mathematical Model [๑๑, ๑๓] ของเครื่องบินลํานั้น แต ศวอ.ทอ. ไมมีขอมูล Aerodynamic Coefficient ของ บ.เปาบิน ทอ. รวมถึง ไมมีขอมูล Propulsion Coefficient ของเครื่องยนต ดังนั้น คณะวิศวกร จึ ง ได เ ลื อ กใช ท ฤษฎี Aircraft Parameter Identification [๑๓] เพื่ อ ใช คํ า นวณหาค า Aerodynamic Coefficient และ Propulsion Coefficient ของ บ.เปาบิน ทอ. โดยนํา บ.เปาบิน ทอ. ไปบิ น เพื่ อ บั น ทึ ก ข อ มู ล การบิ น ต า ง ๆ ทั้ ง หมด ดังแสดงในรูปภาพที่ ๗ หลังจากที่ไดขอมูลการบิน แลว ก็ใชวิธีการทางคณิตศาสตร Equation-Error Method (Least-Squares) [๑๓] ในการคํานวณ หาคา Aerodynamic Coefficient และ Propulsion Coefficient ตาง ๆ ที่ตองการ เมื่อทราบขอมูลตาง ๆ เหล า นี้ รวมถึ ง น้ํ า หนั ก ความยาวของป ก พื้ น ที่ ของป ก แล ว คณะวิ ศ วกรก็ ส ามารถสร า ง Flight Dynamic Model ของ บ.เปาบิน ทอ. ใน MATLAB SIMULINK ได หลังจากนั้น ก็สามารถคํานวณหาคา PID Gain ตาง ๆ ได ดังแสดงในรูปภาพที่ ๘


130

14.876

125

Speed from dynamic pressure (knot)

14.874

Latitude (deg)

14.872

14.87

14.868

14.866

14.864

120 115 110 105 100 95 90 85

14.862 100.66

100.662 100.664 100.666 100.668

100.67

Longitude (deg)

1500

100.672 100.674 100.676

Altitude from GPS Altitude from Static Pressure

1400 1300

Altitude (ft)

1200 1100 1000 900 800 700 600 520

540

560

580

600

Time (sec)

620

รูปภาพที่ ๘ : หลักการ PID Autopilot

640

660

80 520

540

560

580

600

Time (sec)

620

รูปภาพที่ ๗ : ขอมูลการบิน

640

66


๒.๖. ระบบจําลองการบินแบบ HardwareIn-the-Loop แนวทางปฏิบัติ ตามหลักวิศวกรรมควบคุม อากาศยาน หลั ง จากที่ ไ ด อ อกแบบระบบบั ง คั บ การบิ น อั ต โนมั ติสํ า เร็จ แล ว โดยส ว นใหญ ระบบ จําลองการบินแบบ HIL มักจะถูกนํามาใชเพื่อทดสอบ ธรรม

ความถูกตอง ความไววางใจได และความเชื่อถือได ของระบบบังคับการบินอัตโนมัติทั้งทางดาน Hardware และ Software โดยคณะวิศวกรไดออกแบบและ พัฒนาระบบ HIL ใน MATLAB SIMULINK โดยใช เทคโนโลยีของ Real-Time Workshop [๑] และ xPC Target [๒] ดังแสดงในรูปที่ ๙

รูปภาพที่ ๙ : ระบบจําลองการบินแบบ Hardware-In-the-Loop


๒.๗. การทดสอบการบิ น ภาคอากาศ (Flight Test)

14.88

Latitude (deg)

14.875

14.87

14.865

14.86

14.855 100.655

100.66

100.665

100.67

Longitude (deg)

100.675

100.68

Speed from dynamic pressure (knot)

112

110

108

106

104

102

100

98 1040

1060

1080

1100

1120

1140

Time (sec)

1160

1180

1200

1220

Altitude from GPS Altitude from Static Pressure

2030 2020 2010

Altitude (ft)

หลังจากการทดสอบการบินในระบบ HIL เปนผลสําเร็จและนาพอใจ ศวอ.ทอ. ก็ไดทดสอบ การบินจริง ในป ๔๙ โดยใชพื้นที่บริเวณ Run Way ของ กองบิน ๒ จังหวัด ลพบุรี และไดกําหนดคา การบิ น ตามความตองการดัง นี้ ๑.ความเร็วคงที่ ๑๐๕ knot ๒.ความสูงคงที่ ๒,๐๐๐ ft และ ๓.บินตาม Waypoint จุดที่ ๑. Lat: N14°52.2240´, Long: E100°40.5360´ จุดที่ ๒. Lat: N14°52.5120´, Long:E100°40.0080´ และ จุดที่ ๓.Lat: N14°51.7860´, Long: E100°39.5760´ ดังแสดงในรูปที่ ๑๐

2040

2000 1990 1980 1970 1960 1950 1940 1040

1060

1080

1100

1120

1140

Time (sec)

1160

1180

1200

1220

รูปภาพที่ ๑๐ : ขอมูลการบินทดสอบ Autopilot

๓. บทสรุป ศว อ. ทอ . ได ตื่ น ตั วและตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของงานวิ จั ย ทางด า นอากาศยาน ไร นัก บิ น มาโดยตลอด รวมถึ ง ได ดํา เนิ น โครงการ วิจัยทางดานนี้มาอยางตอเนื่อง ตั้งแตป ๔๓ จนถึง ปจจุบัน จากความสําเร็จของโครงการตาง ๆ เหลานี้ ทํ า ให ง านโครงการวิ จั ย ทางด า นนี้ ข อง ศวอ.ทอ. ไดรับการยอมรับจากที่ประชุมและวารสารวิชาการ นานาชาติ ใหตีพิมพเปนบทความวิชาการทางดาน วิศวกรรมควบคุมอากาศยาน มากถึง ๓ บทความ ดวยกัน ๔. แนวโนมการวิจัยอากาศยานไรนักบินของ ศวอ.ทอ. ในอนาคต ศวอ.ทอ. ได จั ด ทํ า แผนพั ฒ นาบุ ค ลากร ควบคูไปกับการดําเนินโครงการงานวิจัยทางดาน อากาศยานไรนักบิน โดยในป ๕๐ ทอ.ไดมีคําสั่งให บุคลากรของ ศวอ.ทอ. ไปศึกษาระดับปริญญาเอก ณ Cranfield University ประเทศอังกฤษ ระยะเวลา


๓ ป ระหวาง ๓๐ มิ.ย. ๕๐ ถึง ๑ ก.ค.๕๓ ทางดาน วิศวกรรมควบคุมเพื่ออากาศยานไรนักบิน (Robust Gain-Scheduled H∞ Control for Unmanned Aerial Vehicle) [๗, ๘, ๙] จากความรู ขั้ น สู ง ในการออกแบบ Flight Control Law ของบุคลากร ผนวกกับ ความชํานาญ และประสบการณ ที่ ไ ด รั บ จากโครงการต า ง ๆ ทางดานอากาศยานไรนักบินที่ผานมา โดยเฉพาะ อยางยิ่ง จากโครงการ UAV Tigershark II ดังแสดง ในรู ป ที่ ๑๑ รวมถึ ง การประสานความร ว มมื อ แลกเปลี่ ย นความรู และ ประสบการณ กั บ คณะ เจาหนาที่ทํางาน UAV ของโรงเรียนนายเรืออากาศ ธรรม

ทําให ศวอ.ทอ. มีความพรอม ในการพัฒนาขยายผล ตอยอด โครงการ UAV Tigershark II ตอไป โดยจะ ดําเนินโครงการออกแบบระบบ Automatic Take Off and Landing ในอนาคตอันใกล

รูปภาพที่ ๑๑ : UAV Tigershark II

เอกสารอางอิง : [๑] Real-Time Workshop 7 User’s Guide. (2008). The Mathworks, Inc., Natick, MA, USA. [๒] xPC Target 4 User’s Guide. (2008). The Mathworks, Inc., Natick, MA, USA. [๓] Bates, D. G. and I. Postlethwaite. (2002). Robust Multivariable Control of Aerospace Systems. Delft University Press. [๔] น.ท.สุนันท ชูมาลี and J. F. Whildborne. (2008). Pole Placement Controller Design for Linear Parameter Verying Plants. Proceeding of the UKACC International Conference on Control, Manchester, UK. [๕] น.ท.สุนันท ชูมาลี and J. F. Whildborne. (2009). Experimental Development of an UAV Nonlinear Dynamic Model. Proceeding of the 24th Bristol International Unmanned Air Vehicle Systems (UAVS) Conference, Bristol, UK.

[๖] น.ท.สุนันท ชูมาลี and J. F. Whildborne. (2009). Identification and Control of the RTAF Aerial Target. Proceeding of the European Control Conference, Budepest, Hungary. [๗] น.ท.สุนันท ชูมาลี and J. F. Whildborne. (2009). LPV Autopilot Design of a Jindivik UAV. AIAA Guidance, Navigation, and Control Conference and Exhibit, Chicago, Illinois, USA. [๘] น.ท.สุนันท ชูมาลี and J. F. Whildborne. (2010). GainScheduled H∞ Autopilot Design via Parameter-Dependent Lyapunov Functions. Journal of Guidance, Control, and Dynamics. [๙] น.ท.สุนันท ชูมาลี and J. F. Whildborne. (2010). Robust Flight Control for Uncertain Affine Linear ParameterVarying Models. International Journal of Control.


[๑๐] น.ท.สุนันท ชูมาลี and J. F. Whildborne. (2010). Unmanned Aerial Vehicle Aerodynamic Model Identification from a Racetrack Manoeuvre. Journal Aerospace Engineering, Pro. IMechE Vol. 224 Part G. [๑๑] Cook, M. V. (2007). Flight Dynamics Principles. Elsevier Ltd. [๑๒] Hyde, R. A. (1995). H∞ Aerospace Control Design:

A VSTOL Flight Application. Springer-Verlag Berlin Heidelberg. [๑๓] Klein, V. and E. A. Morelli. (2006). Aircraft System Identification: Theory and Practice. AIAA Education Series, AIAA, Reston, VA, USA. [๑๔] Nelson, R. C. (1989). Flight Stability and Automatic Control. McGraw-Hill, Inc.

To

แอนฟลด วั น นี้ ผ มอยากแนะนํ า เว็ บไซต ที่ทุก คนคงคุน หน า คุน ตากั น เป น อยา งดี และเปน Social Network ของชาวกองทัพอากาศเรายังไงครับ นั่นคือ Notes ที่ทาง ยศ.ทอ. ของเราไดพัฒนาขึ้นมา เพื่อใหเปนชองทางหนึ่งในการติดตอสื่อสารกัน Social Network (Notes) นี้ เปนการสงขอความถึงกันไดครั้งละไมเกิน ๑๔๐ ตัวอักษร แถมยังสามารถติดตามขอมูลขาวสารของผูที่เราสนใจจะติดตอได อีกทั้งยังสามารถสงไฟลใหกัน ซึ่งเปนการสื่อสารที่สะดวกมากอีกทางหนึ่ง วิธีการใชก็งายไมซับซอน ซึ่งวิธีการเขาถึง Note นั้น สามรถทําได ๒ ชองทางคือ ๑. ทางหนาเว็บ ทอ. โดยเลือกที่ ๒. ทาง http://notes.educate.rtaf.mi.th/ ซึ่งวิธี Login เขาสูระบบก็สามารถทําได โดยผานทาง e-mail ทอ. ที่พวกเราชาว ทอ. มีกันทุกคน เพื่อน ๆ พี่ ๆ ขาราชการ ทอ. อยาลืมเขาไปใชกันมาก ๆ นะครับ ☺


น.อ.จิโรตม มณีรัตน ประวัติความเปนมาเปนไปในอดีต ปราสาทพระวิหารหรือปราสาทเขาพระวิหาร เขมรเรียกปราสาทเปรี๊ยะวิเฮียร หรือ Temple of Preah Vihear ปราสาทพระวิหารเปนปราสาทหิน อยูบริเวณเทือกเขาพนมดงรักหรือเทือกเขาพนมดงเร็ก ในภาษาเขมร ซึ่งศาสนสถานแหงนี้ จะรูจักกันในนาม “พนมพระวิหาร” อันหมายถึงบรรพตแหงศาสนสถาน อันศักดิ์สิทธิตั้งอยูบน “ผาเปยตาดี” ของเทือกเขา พนมดงรั ก ซึ่ ง เป น เส น เขตแดนระหว า งไทยกั บ กัมพูชา ที่ละติจูดที่ ๑๐๔ องศา ๔๑ ลิปดาตะวันออก ในอดีตตั้งอยูในเขตหมูบานภูมิซร็อล (บานตนสน) ตํ า บลเขาธงชั ย (เดิ ม ตํ า บลบึ ง มะลู ) อํ า เภอ กัณทรลั ก ษณ จั ง หวัด ศรี ส ะเกษของไทย และอยู หางจากอําเภอเมืองศรีสะเกษประมาณ ๑๑๐ กม. ตามคําพิพากษาของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ หรือศาลโลกเมื่อ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๕ มีผล ทําใหปราสาทพระวิหารตกเปนของกัมพูชาอยูกับ บานสวายจรุม ตําบลก็อนตวด อําเภอจอมกระสานต จังหวัดพระวิหาร ประเทศกัมพูชา โดยตัวปราสาท ตั้ ง อยู ห า งจากปราสาทนครวั ต ในเมื อ งพระนคร

ซึ่ ง เป น อดี ต เมื อ งหลวงของเขมรที่ อ ยู ใ นจั ง หวั ด เสี ย มราฐ ประมาณ ๒๘๐ กม. และห า งจากกรุ ง พนมเปญ ๒๙๖ กม. ดานสถาปตยกรรมปราสาทพระวิหารมีลักษณะ แบบศิลปะบันทายศรี ลักษณะบางสวนคลายคลึง กับพระวิหารนครวัต รูปรอยแกะสลักบนฝาผนังของ ปราสาทสันนิษฐานไดวาเปนศาสนสถานของศาสนา ฮินดูลัทธิไศวนิกาย โดยมีพระศิวะเปนเทพเจาสูงสุด ของศาสนา และเชื่อกันวาปราสาทนี้สรางขึ้นเพื่อ ถวายพระศิ ว ะที่ ท รงประทั บ บนยอดเขาไกรลาส ซึ่งเปนยอดเขาสูงสุดของเขาพระสุเมร ตั ว ปราสาทประกอบด ว ยสถาป ต ยกรรม ตาง ๆ มากมายไดแก ปราสาทประธาน ระเบียงคต โคปุระ (ซุมประตู) จํานวน ๕ ชั้น อาคารรูปกากบาท วิ ห าร บรรณาลั ย และบั น ไดนาคพร อ มทางเดิ น ปราสาทพระวิหารมีลักษณะแผนผังการสราง โดย จัดวางผังแบบใหหันหนาไปทางทิศเหนือ ซึ่งแตกตาง จากปราสาทอื่น ๆ โดยปกติจะหันหนาไปทางทิศ ตะวันออกเชน ปราสาท นครวัต เปนตน ตัวปราสาท ประธานเปนจุดศูนยกลางลอมรอบดวยระเบียงคต


ทั้งสี่ดาน วัสดุตัวปราสาทสรางดวยหินทรายและ หินดาน การสรางโดยการนําเอากอนหินทรายซึง่ ตัด เปนแทงสี่เหลี่ยมขนาดใกลเคียงกันมาวางซอนทับกัน ขึ้น ไปตามรูปแบบที่ กํ าหนดไว โดยอาศั ย น้ํา หนั ก ของแทงหินศิลาทรายแตละกอนกดทับรับน้ําหนัก กันเพียงอยางเดียว สําหรับสวนยึดจะใชในเมื่อมี ความจําเปนเทานั้น ประวั ติ ก ารก อ สร า งปราสาทพระวิ ห าร ประกอบดวยหมูเทวาลัยและปราสาทหินจํานวนมาก โดยเทวาลัยและปราสาทหินแหงแรกสรางขึ้นเมื่อ ตนคริสตศตวรรษที่ ๙ คาดวาเริ่มกอสรางในสมัย พระเจาชัยวรมันที่ ๒ (พ.ศ.๑๔๓๒-๑๔๔๓) สวน ปราสาทอื่ น ๆ ได ก อ สร า งต อ เนื่ อ งกั น มาในสมั ย พระเจาสุริยวรมันที่ ๑ และพระเจาสุริยวรมันที่ ๒ ในช ว งต น ของคริ ส ต ศ ตวรรษที่ ๑๑ และ ๑๒ ตามลําดับ อยางไรก็ตามปจจุบันปราสาทสวนใหญ ได พั ง ทลายคงเหลื อ แต ซ ากปรั ก หั ก พั ง ที่ ยั ง คง หลงเหลือในลักษณะที่สมบูรณอยูไมกี่หลัง ปราสาทพระวิหารมีความยาว ๘๐๐ เมตร สร า งตามแนวแกนเหนื อ -ใต แ ละส ว นใหญ เ ป น ลั ก ษณะทางเดิ น ยาวถึ ง บัน ไดสู ง สุ ด ของยอดเขา ที่ เ รี ย กว า ปราสาทประธาน ซึ่ ง ตั้ ง อยู ที่ ย อดเขา ทางใต สุ ด ของปราสาทมี ค วามสู ง ๑๒๐ เมตร จากทางเหนือสุดของสวนประกอบปราสาทและมี ความสูง ๕๒๕ เมตรจากบริเวณพื้นราบของกัมพูชา หรื อ มี ค วามสู ง ๖๕๗ เมตร เหนื อ ระดั บ น้ํ า ทะเล บันไดดานหนาปราสาท เปนทางเดินขึ้นลงขนาดใหญ อยูทางทิศเหนือของตัวปราสาทและอยูทางฝงไทย สูงลาดตามไหลเขา ในชวงแรกเปนบันไดหินกวาง

๘ เมตร ยาว ๗๕.๕๐ เมตร จํานวนขั้นบันได ๑๖๒ ขั้น บางขั้ น สกั ด หิ น ลงไปในพื้ น หิ น เดิ ม ของภู เ ขา ดานสองขางบันไดมีฐานสี่เหลี่ยมเรียกวา “กระพัก” (ไหลเขาทําเปนที่พักได) ขนาดใหญเรียงรายขึ้นไป ใชสําหรับตั้งรูปสิงหนั่ง บันไดชวงที่ ๒ กวาง ๔ เมตร ยาว ๒๗ เมตร มีขั้น บั น ได ๕๔ ขั้น มีฐ านกระพั ก กวาง ๒.๕ เมตร จํานวน ๗ คูพรอมดวยรูปสิงหนั่ง สําหรับทางขึ้นปราสาทพระวิหารหลังจาก ศาลโลกได พิ พ ากษาให ต กเป น ของกั ม พู ช าแล ว ชาวกัมพูชาจะใชเสนทางขึ้น-ลงปราสาททางชองเขา แคบ ๆ มีความสูงชันที่เรียกวา “ชองบันไดหัก” ลานนาคราชหรือสะพานนาคอยูทางทิศใตสุด บันไดหินดานหนา ลาดปูดวยแผนหินเรียบมีขนาด กวาง ๗ เมตรยาว ๓๑.๘ เมตร ขอบลานสรางเปน ฐานเตี้ย ๆ บนฐานมีนาคราช ๗ เศียร จํานวน ๒ ตัว แผพังพานหันหนาไปทางทิศเหนือ ลําตัวอยูบนฐาน ทั้ง ๒ ที่ทอดยาวไปทางทิศใต นอกจากลานนาคราช ที่ ก ล า วแล ว ตั ว ปราสาทยั ง ประกอบด ว ยโคปุ ร ะ จํานวน ๕ ชั้นแตละชั้นมีความสําคัญลดหลั่นกันไป ตามลํ า ดั บ คํ า ว า โคปุ ร ะหมายถึ ง ซุ ม ประตู ซึ่ ง มี รายละเอี ย ดมากจึ ง ขอตั ด ตอนไม ก ล า วในที่ นี้ นอกจาก โคปุระที่กลาวแลวโบราณสถานที่สําคัญ ชิ้นสุดทายคือ “เปยตาดี” หรือภาษาเขมรหมายถึง ชะง อ นผา เป ย ตาดี มี เ นื้ อ ที่ ก ว า ง ๔๔ เมตร ยาว ๕๐ เมตร ตรงยอดเปย ตาดีสูงกวา ระดั บน้ํา ทะเล ๖๕๗ เมตรหรือสูงจากพื้นราบประมาณ ๔๔๗ เมตร บริเวณชะงอนผาเปยตาดีจะมีรอยจารึกฝพระหัตถ ของสมเด็จพระเจานองยาเธอกรมหลวงสรรพสิทธิ์ ประสงควา “๑๑๘ สรรพสิทธิ์” และเคยมีธงไตรรงค


ของไทยปกอยูบริเวณนี้ หลังจากศาลโลกไดตัดสิน ใหปราสาทพระวิหารเปนของกัมพูชาแลวในสมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรั ช ต ได สั่ ง ให ย า ยฐานที่ ตั้ ง เสาธงออกไป ปจจุบันคงเหลือแตลานเปยตาดี เบื้องลึกเบื้องหลังของปราสาทพระวิหารที่สราง ความขัดแยงระหวางไทย-กัมพูชา ปราสาทพระวิ ห าร เป น ส ว นหนึ่ ง ของ “ประวัติศาสตรแผลเกา” ระหวางชาติไทยกับชาติ กัมพูชา ระหวาง “ลัทธิชาตินิยมไทย” กับ “ลัทธิ ชาตินิยมกัมพูชา” แมจะเกิดมานานเกือบ ๕๐ ป แลวก็ตาม แตก็ยังเปนบาดแผลไมหายสนิท และ ถูกนํามาใชทางการเมืองตลอดเวลา ในดานของประเทศไทย “ปราสาทพระวิหาร” เปนสวนหนึ่งของ “การเมือง” และ “ลัทธิชาตินิยม” ที่ถูกปลุกระดมและเคยเฟองฟู ในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ ๒ ภายใตรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม และ ถูกตอกย้ําสมัย “สงครามเย็น” ตอตานคอมมิวนิสต ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ปราสาทพระวิหารคาดวาจะถูกปลอยให รางไปหลังป พ.ศ.๑๙๗๔ (ค.ศ.๑๔๓๑) คือภายหลัง ที่กรุงศรียโสธรปุระ (นครวัตนครธม) ของกัมพูชา ไดเสียกรุงใหแกกองทัพของกรุงศรีอยุธยา (ในสมัย ของพระเจาสามพระยา) เปนผลใหกัมพูชาตองหนี ยายเมืองหลวงไปอยูละแวกอุดรมีชัยและพนมเปญ ตามลําดับ และไดหนีเสือไปปะจระเขคือเวียดนาม ที่กําลังรุกเขามาทางใตปากแมน้ําโขง ทั้งกัมพูชาและประเทศไทยทิ้งใหปราสาท พระวิหารรกรางไปประมาณเกือบ ๕๐๐ ป จนกระทั่ง

ฝรั่งเศสเขามาลาเมืองขึ้นในอุษาคเนยไดเวียดนาม ลาวและกัมพูชาไปเปน “อาณานิคม” ของตน และ ก็ พ ยายามบุ ก รุ ก ดิ น แดนของไทยหรื อ “สยาม” สมั ย ร.ศ.๑๑๒ ถึ ง ขนาดใช กํ า ลั ง ทหารเข า ยึ ด เมื อ งจั น ทบุ รี เมื อ งตราด และเมื อ งด า นซ า ย ของจั ง หวั ด เลย ไว เ ป น เครื่ อ งต อ รองอยู เ ป น เวลา ๑๐ กวาป จนกระทั่ ง ป พ.ศ. ๒๔๕๐ (ค.ศ.๑๙๐๗) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รั ช กาลที่ ๕ เสด็ จ ยุ โ รปเป น ครั้ ง ที่ ๒ จึ ง ได ท รงลง พระนามสัตยาบันในสัญญากับประธานาธิบดีฝรั่งเศส ยกดิ น แดนเสี ย มราฐ (อั น เป น ที่ ตั้ ง ของนครวั ต นครธม หรือกรุงศรียโสธรปุระ) กับพระตะบองและ ศรีโสภณใหแกฝรั่งเศส เพื่อแลก “จันทบุรี ตราด และ ดานซาย (เลย)” กลับคืนมา ฝรั่ งเศสคือตนเหตุแห งความขัดแย งปราสาท พระวิหาร อันที่ จริงเรื่องวุ นวายยุ งเหยิงระหวางไทย กับกัมพูชาในประเด็นขึ้นทะเบียนมรดกโลกปราสาท พระวิหารนี้ไมควรเกิดขึ้นเลย ถามหาอํานาจ “ฝรั่งเศส” ไมเขามาเที่ยวขมขูขมเหงรังแก “สยามประเทศ” และ “ขะแมร” ในสมัยนั้นกอใหเกิดความคับแคนใจ เสี ยจน “พระเจ าลู กยาเธอพระองค เจ าอาภากร เกี ย รติ ว งศ กรมหลวงชุ ม พรเขตอุ ด มศั ก ดิ์ ” พระบิดาแหงกองทัพเรือไทย ที่ถึงแมในขณะนัน้ จะมี พระชันษาเพียง ๑๓ พรรษา แตก็รับรูถึงความคับ แค น ใจในพระราชหฤทั ย ของ “พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชบิดา” ได


เปน อยา งดี จนตอ งจารึ กเปน ลายสักเอาไว เ หนือ พระอุระวา “ตราด ร.ศ.๑๑๒” !!! ขอเทาความ เหตุการณ ร.ศ.๑๑๒ อยางยอ ๆ ดั ง นี้ ในป พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๓๖ หรื อ ตรงกั บ ป รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ ฝรั่งเศสซึ่งในขณะนั้น ยึดญวน ไดแลว ก็หมายตามาที่เขมรและลาว (ขณะนั้นยังไม เรียกวากัมพูชา) ใชวิชามารหาเรื่องเอางาย ๆ แบบ หมาปากับลูกแกะ โดยบอกไทยวา “ลาว” นั้น เคยทําสัญญายกดินแดนใหกับญวน เพราะฉะนั้น เมื่ อ ฝรั่ ง เศสได ญ วน ก็ ส มควรจะได ป กครองลาว ดวย คือในสมัย “เจาอนุวงศ” ผูปกครองลาว แลว เกิดกรณี “พระยอดเมืองขวาง” ซึ่งเปนเจาเมือง คํามวนนั้น เปนเมืองชายแดนลาวตอชายแดนไทย อยูตรงกันขามกับ อ.ทาอุเทน จ.นครพนม ของไทย ถูกฝรั่งเศสกลาวหาบุกรุกดินแดนของฝรั่งเศสและ หนีเขามาอาศัยไทย ฝรั่งเศสซึ่งพยายามจะหาเรื่องอยูแลวก็ไดที เรี ย กร อ งให ไ ทยจั บ กุ ม “พระยอดเมื อ งขวาง” มาขึ้นศาลดําเนินคดี ไทยไดดําเนินการศาลก็ตัดสิน ว า ไม ผิ ด ฝรั่ ง เศสก็ ไ ม ย อมให ตั้ ง ศาลใหม โ ดย ให มี ผู พิ พ ากษาเป น ฝรั่ ง เศส ๒ คน ที นี้ ก็ ไ ม เ หลื อ “พระยอดเมืองขวาง” ผิดดวยเสียงสองตอหนึ่ง จากเหตุ ก ารณ “พระยอดเมื อ งขวาง” ฝรั่งเศสบังคับไทยหนั กขึ้นถึง ขั้นเอาเรือรบเขามา จอดลอยลําอยูหนาพระบรมมหาราชวัง โดยอางวา เอามาคุมครองชาวฝรั่งเศสและการคาของฝรั่งเศส ทั้ง ๆ ที่ตอนนั้นมีชาวฝรั่งเศสอยูในสยามแค ๓ คน สวนการคานั้นไมมีเลย เฉพาะเพียงเรือรบหนึ่งลํา ยั ง ไม พ อจะเอาเข า มาอี ก สองลํ า แต ไ ทยไม ย อม

เอาเรื อ รบออกไปสกั ด รวมทั้ ง ใช ป น ใหญ จ าก ปอมพระจุลยิงสกัดแตไมสําเร็จทําใหฝรั่งเศสโกรธ สั่งปดอาวไทย เปนผลใหไทยเกิดความเดือดรอน ทั้งการคาการขาย การสัญจรเดินทาง เสมือนตอง ปด ประเทศไปกลาย ๆ ไทยเลยต อ งยอมศิ โ รราบ ทุกอยาง ฝรั่งเศสเรียกรองเอาคา ปฏิก รรมสงคราม สรุ ป คื อ ไทยต อ งเสี ย ดิ น แดนที่ เ รี ย กว า “ฝ ง ซ า ย แมน้ําโขง” ซึ่งก็คือประเทศลาวทั้งหมด แถมตอง เสียเงินอีก ๓ ลานบาท ซึ่งเงินนี้เปนเงิน “ถุงแดง” ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล า พระองค ท า นทรง คา ขายไดกําไรแล ว ก็ทรงเก็บใสถุงแดงไว ก็ไดนํา ออกมาใช “กูชาติ” ในคราวนี้เอง ฝรั่ ง เศสยอมถอนกํ า ลั ง ออกจากการ ปดอ าวไทย แต ไปยึดเมืองปากน้ํา จั นทบุรี ตราด และ “ปจจันตคีรีเขตร” หรือเกาะกงของกัมพูชา ในปจจุบัน แทนโดยอางวาเพื่อดูวาไทยจะทําตาม สัญญาที่ลงนามไวหรือไม (คือใหไทยมอบลาวใหแก ฝรั่งเศส) แม ว า ไทยมอบลาวให ฝ รั่ ง เศส เสร็ จ สิ้ น ไปเปน ๑๐ ปแลว แตฝรั่งเศสก็ยังไมยอมคืนเมือง ทั้งหลายที่ยึดไวใหไทย จนกระทั่งตองเอาดินแดน ฝงขวาแมน้ําโขง สวนตรงกันขามกับ “หลวงพระบาง” เดี๋ยวนี้ไปแลกแทน ถึงจะยอมปลอยปากน้ํากับจันทบุรี แต ฝ รั่ ง เศสก็ ยั ง เล น ไม เ ลิ ก ถอยกํ า ลั ง ทหารจาก จั น ทบุ รี เข า ยึ ด ตราดกั บ ป จ จั น ตคี รี เ ขตร ไว อี ก ปจจุบันเกาะกงยังมีผูคนที่พูดไทย เขียนไทย ซึ่งเปน คนไทยอยู ม ากมาย คนเกาะกงที่ มี ชื่ อ เสี ย งที่ สุ ด ในทุกวันนี้คือ “พลเอก เตีย บัน” สวนตราดนั้น


กว า ไทยจะได ก ลั บ คื น มาต อ งยก “พระตะบอง เสียมราฐ และศรีโสภน” ซึ่งมีพื้นที่ถึง ๕๑,๐๐๐ ตารางกิ โ ลเมตร เพื่ อ แลกกั บ พื้ น ที่ จ.ตราด แค ๒,๙๑๙ ตารางกิโลเมตร แตปจจันตคีรี ฝรั่งเศส มิ ไ ด คื น มาให ไ ทยด ว ย สงสั ย มากคื อ ภายใต สนธิ สั ญญาในการคื น เมื อ งตราด ก็ มิ ไ ด ก ล า วถึ ง ปจจัตคีรีเอาไวเลย เปนอันวา ปจจันตคีรีตกคางอยู ในเขมรมาตั้ ง แต บั ด นั้ น จึ ง เป น อุ ท าหรณ ว า ผู ที่ มี อํานาจเหนือกวายอมเอาเปรียบผูที่มีอํานาจนอย ดอยกวาเสมอ กล า วโดยสรุ ป ในสมั ย ของรั ช กาลที่ ๕ ในขณะที่มีสมเด็จกรมพระยาดํารงฯ เปนเสนาบดี มหาดไทยนั้น รัฐบาลราชาธิปไตยสยามไดยอมรับ เส น เขตแดนที่ ถื อ ว า ปราสาทพระวิ ห ารขึ้ น อยู กั บ ฝรั่งเศสไปเรียบรอยแลว ทั้งนี้ทั้งนั้นเพื่อที่จะไดอยู ร ว มกั น โดยสั น ติ และที่ สํ า คั ญ อย า งยิ่ ง เพื่ อ เป น หลักประกันในการรักษา “เอกราชและอธิปไตย” สวนใหญของสยามประเทศไว ดั ง นั้ น เมื่ อ สมเด็ จ กรมพระยาดํ า รงฯ ดํ า รงตํ า แหน ง อภิ รั ฐ มนตรี ในสมั ย รั ฐ บาลของ รั ช กาลที่ ๗ เมื่ อ ครั้ ง เสด็ จ ไปทอดพระเนตรทั้ ง ปราสาทพนมรุ ง และปราสาทพระวิ ห าร จึ ง ทรง ขออนุ ญ าตฝรั่ ง เศสอย า งเป น ทางการที่ จ ะขึ้ น ไป ทอดพระเนตรปราสาทพระวิ ห าร ที่ อ ยู ภ ายใต ธงไตรรงคของฝรั่งเศส และนี่ก็คือหลักฐานสําคัญ ที่ทําให ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช และม.จ.วงษมหิป ชยางกู ร ทนายและผู แ ทนของฝ า ยรั ฐ บาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ตองพายแพคดีปราสาท เขาพระวิหารเมื่อ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๐๕

เหตุการณลวงเลยไปจนถึงสมัยสิ้นสุดระบอบ “ราชาธิปไตย” หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ป พ.ศ.๒๔๗๕ เรื่องของปราสาทพระวิหารถูกขุดคุย ขึ้ น มาเป น ประเด็ น สํ า คั ญ ทางการเมื อ งมาแล ว ๒ ครั้ ง คื อ ครั้ ง แรกสมั ย รั ฐ บาลจอมพล ป . พิบูล สงคราม และครั้ ง ที่ ส องสมั ย รั ฐ บาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต ยุคสงครามเย็น ใ น ค รั้ ง แ ร ก ส มั ย รั ฐ บ า ล จ อ ม พ ล ป . พิ บู ล สงครามนั้ น ภายหลั ง การเปลี่ ย นแปลง การปกครองป พ.ศ.๒๔๗๕ ไดเพียง ๑ ป ก็เกิดกบฏ บวรเดช เกิดสงครามกลางเมืองนองเลือด จนรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงครามหันไปพึ่งชาตินิยม ปลุกระดม ประชาชนถึง “การเสียดินแดน ๑๓ ครั้ง” ใหเกิด ความ “รักชาติ” ตอมาในเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๔๘๓ ผลักดันใหนิสิตนักศึกษาทั้งจุฬาฯ และธรรมศาสตร เดินขบวนเรียกรองดินแดน “มณฑลบูรพา” และ “ฝงซายของแมน้ําโขง” จนในที่สุดก็เกิดสงคราม ชายแดน รัฐบาลสง “กองกําลังบูรพา” ไปรบกับ ฝรั่งเศส ซึ่งก็เปดโอกาสใหญี่ปุน “มหามิตรใหม” เข า มาไกล เ กลี่ ย บี บ ให ฝ รั่ ง เศส จํ า ต อ งยอมยก ดินแดนใหไทย ช ว งนี้ เ ป น ช ว งที่ ห ลวงวิ จิ ต รวาทการ (มือขวาของจอมพล ป. พิบูลสงคราม) ไดจัดการ ขึ้นทะเบียนใหปราสาทพระวิหารเปนโบราณสถาน ของไทย โดยประกาศไว ใ นราชกิ จ จานุ เ บกษา เมื่ อ วั น ที่ ๑๑ ตุ ล าคม พ.ศ.๒๔๘๓ ต อ มาเมื่ อ สงครามโลกครั้งที่ ๒ จบลงดวย “ญี่ปุน” ปราชัย อยางยอยยับ รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามก็ลม ซึ่งก็หมายถึง “ไทย” จะตองถูกปรับเปนประเทศแพ


สงครามดวย ทั้งฝรั่งเศสและอังกฤษที่เสียดินแดน และผลประโยชนใหแกไทยก็ตองการใหไทยชดใช คาปฏิกรรมสงคราม แตโชคดีของไทยที่มีขบวนการเสรีไทยที่นํา โดย ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค ที่มีมหาอํานาจใหการ สนับสนุน ทําใหรอดพนจากการถูกปรับเปนเมืองขึ้น แตตองคืนดินแดนที่ไปยึดครองมาทั้งหมด และตอง เสียขาวใหแกอังกฤษจํานวนไมนอย แตในขณะนั้น ปราสาทพระวิ ห ารถู ก วางไว อ ย า งเงี ย บ ๆ ไม ไ ด กลาวถึงวาจะคืนใหแกฝรั่งเศสหรือไม ตอมารัฐบาล ไทยในสมั ย ของจอมพล ป. พิ บู ล สงคราม (เป น รั ฐ บาลด ว ยการรั ฐ ประหาร พ.ศ.๒๔๙๐) ได ส ง กองทหารไทยใหกลับขึ้นไปตั้งมั่นและชักธงไตรรงค อยูบนปราสาทอีกครั้งในป พ.ศ.๒๔๙๗ (ค.ศ.๑๙๕๔) แต ร ะเบิ ด เวลาลู ก นี้ ไ ด ร ะเบิ ด ขึ้ น เมื่ อ กั ม พู ช าได เอกราชจากฝรั่งเศสในป พ.ศ.๒๔๙๖ (ค.ศ.๑๙๕๓) ตอมา พระเจานโรดม สีหนุ ซึ่งทรงเปนทั้ง “กษัตริย และพระบิดาแหงเอกราช” และ “นักราชา ชาตินิยม” ของกัมพูชา ก็ยื่นเรื่องฟองตอศาลโลก (International Court of Justice) เมื่อ ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๒ (ค.ศ.๑๙๕๙) รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต (ที่ทําการ ปฏิ บั ติ รั ฐ ประหารยึ ด อํ า นาจจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม) แตงตั้ง ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช เปน ทนายสูความและปลุกระดมใหประชาชน “รักชาติ” บริ จาคเงิ นคนละ ๑ บาทเพื่อสูคดี ศาลที่ กรุ งเฮก เนเธอรแลนด ใชเวลา ๓ ป และลงมติเมือ่ ๑๕ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๐๕ (ค.ศ.๑๙๖๒) ตัดสิ นด วยคะแนน ๙ ต อ ๓ ให ปราสาทพระวิ ห ารตกเป น ของกั ม พู ช า

ศาลโลกครั้งนั้นประกอบดวยผูพิพากษา ๑๒ นาย จาก ๑๒ ประเทศ ๙ ประเทศที่ออกเสียงใหกัมพูชา ชนะคดี คือ โปแลนด ปานามา ฝรั่งเศส สหสาธารณรัฐ อาหรั บ อั ง กฤษ สหภาพโซเวี ย ต ญี่ ปุ น เปรู และ อิ ต าลี ส ว นอี ก ๓ ประเทศที่ อ อกเสี ย งให ไ ทยคื อ อารเจนตินา จีน ออสเตรเลีย ที่เปนชาติที่ตอตาน คอมมิวนิสตสมัยสงครามเย็น (จีนเปนจีนคณะชาติ) วาไปแลวรัฐบาลไทยแพคดีนี้อยางคอนขางราบคาบ และคําพิพากษาของศาล ก็ยึดจากสนธิสัญญาและ แผนที่ฉบับฝรั่ง เศสทําขึ้ นหลายครั้ งในสมัยปลาย รั ช กาลที่ ๕ นั่ น เอง แผนที่ แ ละสั ญ ญาเหล า นั้ น ขีดเสนใหตัวปราสาทพระวิหารอยูในอินโดจีนของ ฝรั่งเศส หาไดใชหลักทางภูมิศาสตรหรือสันปนน้ํา หรือทางขึ้นแตอยางใด สําหรับเนื้อหาคําตัดสินของศาลโลกที่สําคัญ มี ๓ ประการคือ ๑.ใหพื้นที่เฉพาะตัวปราสาทพระวิหารเปน ของกัมพูชา ๒.ให ไ ทยถอนทหารและตํ า รวจออกจาก พื้นที่ ๓.ใหไทยสง มอบทรัพ ย สิน ที่เ กี่ยวขอ งกับ ปราสาทพระวิหารคืนกัมพูชา การกําหนดพรมแดนดังกลาว รัฐบาลไทย ในสมัยนั้นเปนสมัยของรัชกาลที่ ๕ และกรมสมเด็จ พระยาดํารง ฯ ไดยอมรับไปโดยปริยายโดยมิไดมีการ ทวงติงแตอยางใด ดังนั้นผูพิพากษาศาลโลกก็ถือวา การนิ่งเฉยเทากับเปนการยอมรับ หรือ “กฎหมาย ปดปาก” ซึ่งไทยก็ตองแพคดีโดยไมตองสงสัย กลาวโดยยอปราสาทพระวิหารตกเปนของกัมพูชา


ทั้งจากทางดานประวัติศาสตร และทางดานนิติศาสตร ข อ อ า งของฝ า ยไทยเราทางด า นภู มิ ศ าสตร คื อ ทางขึ้น หรื อสั น ป น น้ํ า นั้ น หาได รั บ การรั บ รองจาก ศาลโลกไม แตคดีปราสาทพระวิหารก็มีผลกระทบ อย า งประเมิ น มิ ไ ด ต อ จิ ต วิ ท ยาของคนไทยที่ ถู ก ปลุกระดมดวยวาทกรรมของฝายการเมืองของไทย วาเปนการ “เสียดินแดน” วาทกรรมของชาติ นิ ย ม และ “การเสี ย ดินแดน” ถูกสรางและ ถูกผลิตซ้ํา มายาวนานกวา ครึ่ ง ศตวรรษแล ว คนไทยได ผ า นเหตุ ก ารณ ทั้ ง ที่ วิปโยคและปลื้มปติกันมาแลวเปนเวลากวา ๗๐ ป ธรรม

ประสบการณ แ ละเหตุ ก ารณ ดั ง กล า วพอจะเป น ตัวอยาง เปนบทเรียนไดหรือไม ในแงของการเมือง ระหวางประเทศ เรื่องของเขาและปราสาทพระวิหารจะ บานปลายไปเปนการเมืองระหวางไทยและกัมพูชา หรื อ ไม หรื อ ว า ทั้ ง ไทยกั บ กั ม พู ช าจะตระหนั ก ว า ตองอยูรวมกันโดยสันติ จะตกลงเสนอทั้งปราสาท และทั้งเขาพระวิหาร เปนมรดกโลกรวมกัน บริหาร จัดการและแบงผลประโยชนรวมกัน ก็อาจเปนไปได ในเมื่ อ ไม มี ท างออกอื่ น ใดที่ ดี ก ว า นี้ แ ล ว อย า งไร ก็ตาม ปจจุบันกัมพูชาปฏิเสธอยางแขงขันที่จะให ไทยเขารวมในมรดกโลกกับกัมพูชา (อานตอฉบับหนา)


สวัสดี ปใหม ขอให ทวีสุข

กระตายเตน จงเปรมปรีด ชื่นชีวี ทุกชาวฟา

สวัสดี เจิดจา กวากอน เพียบพรอมพรชัย

นวีร ศุ ภ วารดิ ถี ขึ้ น ป ใ หม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๔ ผูเขียนขอสวัสดีปใหมดวยโคลงขางตน แดผูอานทุกคน ปใหมนี้คือปเถาะ มีกระตายเปนเครื่องหมาย จึ ง ได เ รื่ อ งภาษาไทยเกี่ ย วกั บ กระต า ยมาเขี ย น เปนเรื่องเปนราว ทั้งเรื่องเกี่ยวกับความหมายของ คํ า ว า กระต า ย และคํ า ที่ แ ตกลู ก ออกไป สํ า นวน เกี่ยวกับคําวากระตายรวมทั้งไวพจน (คําที่เขียน ตางกันแตมีความหมายเหมือนกัน) ของคํานี้ กระตาย ตามที่รูจักกันดี คือสัตวเลี้ยงลูก ดวยนมขนาดเล็ก ขนปุย หูยาว ที่พบอาศัยตามปา ทั่วไป ในประเทศไทยมีชนิดเดียวคือกระตายปาที่มี ขนสี น้ํ า ตาล ใต ห างสี ข าว อาศั ย อยู ใ นโพรงดิ น สวนที่นํามาเลี้ยงตามบานมีหลายชนิดและหลายสี เชน สีขาว สีเทา สีน้ําตาล

กระต า ยชมจั น ทร ท า รํ า ละครท า หนึ่ ง (ฟอน) เพลงเสภา ๒ ชั้น กระต า ยต อ งแร ว ท า รํ า ละครท า หนึ่ ง (ฟอน) กระตายเตน เพลงไทยของเกาสําหรับทํา เพลงเร็ว ถารับรองเปนเพลง ๒ ชั้น กระตายตื่นตูม (สํานวน) ใชเปรียบเทียบ คนที่แสดงอาการตื่นตกใจงาย โดยไมทันสํารวจให ถองแทเสียกอน กระตายหมายจันทร (สํานวน) หมายถึง ชายหมายหญิงที่สูงศักดิ์ กลาวกันวา กระตายกับ ดวงจั น ทร มี เ รื่ อ งราวเกี่ ย วพั น กั น มานาน คงเป น เพราะเวลากลางคืน เดือ นหงาย กระตา ยชอบมา วิ่งเลนกลางแสงจันทร อนึ่ง เงาดํา ๆ ในดวงจันทรนั้น


บางคนมองเห็นเปนรูปตากับยายตําขาว แตบางคน มองเห็ น เป น รู ป กระต า ย ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ นิ ท าน ชาดก ดั ง ที่ ขุ น วิ จิ ต รมาตรากล า วไว ใ นหนั ง สื อ สํานวนไทย วา “มูลเหตุที่ในดวงจันทรมีรูปกระตายมีนยิ าย อยูในชาดก วากระตายสอนนากกับสุนัขจิ้งจอกให รักษาศีลและใหทาน รอนถึงพระอินทรลงมาทดลอง ขออาหารกระตาย กระตายกินแตหญา ไมมีอะไร จะให ก็บอกใหพระอินทรกอไฟขึ้น แลวตนก็กระโดด เขากองไฟเพื่อใหเนื้อของตน แตไฟไมไหมเนื้อกระตาย พระอินทรเห็นความดีของกระตาย จึงอุมกระตาย ขึ้นแลวเอาภูเขามาบีบคั้นจนเปนน้ํา เขียนรูปกระตาย ไวใ นดวงจั น ทร เ พื่ อใหม นุษ ยเ ห็น คุ ณ งามความดี ของกระตาย ในดวงจันทรจึงมีรูปกระตายสืบมา” สว นการเปรี ย บชายต่ํา ศั ก ดิ์ เ ป น กระตา ย หญิ ง สู ง ศั ก ดิ์ เ ป น ดวงจั น ทร จะเริ่ ม มี ม าอย า งไร ไมทราบ แตของไทยมีมาแตสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พูดถึงชายที่หมายหญิงสูงศักดิ์ ก็นิยมเอากระตาย กับดวงจันทรมาเปรียบ ดังโคลงเกี่ยวกับประวัติของ ศรี ป ราชญ กวี เ อกสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา กล า วถึ ง นางในวาศรีปราชญวา หะหายกระตายเตน ชมจันทร มันบเจียมตัวมัน ต่ําตอย นกยูงหากกระสัน ถึงเมฆ มันบเจียมตัวนอย ต่ําเตี้ย เดียรฉาน และศรีปราชญก็ตอบโตวา หะหายกระตายเตน ชมแข สูงสงสายตาแล สูฟา ฤดูฤดีแล สัตวสู กันนา อยาวาเราเจาขา อยูฟาเดียวกัน

นอกจากนั้น ยังมีในเพลงยาวเห พระราชนิพนธ อิเหนา พระอภัยมณี และที่จําจนขึ้นใจผูเขียนคือ ขอความจากนิทานเวตาลของ น.ม.ส. ที่วา เพ็ญพระจันทรนั้นสวางแตขางขึ้น กระตายมึนเมาเพ็ญจนเปนบา แตทรามวัยใสสุกทุกเวลา หัวใจขาเมามึนทั้งขึ้นแรม ยื น ก ร ะ ต า ย ข า เ ดี ย ว ( สํ า น ว น ) หมายความวา พูดยืนยันอยูคําเดียวไมเปลี่ยนแปลง ผันแปร สํานวนนี้อาจมาจากกระตายขูดมะพราว มากกวากระตายที่เปนสัตว เพราะกระตายขูดมะพราว มีขาหนาขาเดียว คงสื่อความวา พูดอะไรไวอยางไร ก็ยังคงค้ํา อยู อยางนั้น เรี ยกว า “ยืน อยูคําเดีย ว” คําวายืน เปนคําที่มีความหมายวายั่งยืน คงที่ ก็ได แปลวา ยืน เดิน นั่งนอน ก็ได การยืนคําอยูคําเดียว เทากับวายืนทรงตัวอยูขาเดียว สิ่งที่ยืนทรงตัวอยู ขาเดี ย วได คื อ กระต า ยขู ด มะพร า วซึ่ ง มี ข าหน า ขาเดียว ดังนี้ เราจึงเอากระตายขูดมะพราวซึ่งยืน อยูขาเดียวนั้นมาเปรียบกับการพูดยืนอยูคําเดียว เมื่ อ อะไรที่ พู ด ยื น อยู คํ า เดี ย วไม ผั น แปรก็ เ รี ย ก เป น สํ า นวนว า ยื น กระต า ยขาเดี ย ว (แต ก ระต า ย ขู ด มะพร า วนี้ ค นรุ น ใหม อ าจไม รู จั ก คนที่ มี อ ายุ มากกวา ๕๐ ป คงจะพอคุนเคย เพราะสมัยนี้ เราใช เครื่ อ งขู ด มะพร า วแทน) ทางอิ น เดี ย ก็ มี สํ า นวน คลายกันนี้ แตวาเปนยืนกระตายสามขา ตามที่มี เรื่องเลาวา ชายคนหนึ่งไปลักกระตาย(สัตว)มากิน ขณะที่กินไปไดขาเดียว ก็ถูกจับตัวมาชําระ มีกระตาย ที่ เ หลื อ ๓ ขาเป น พยาน แต ช ายคนนั้ น ให ก ารว า ไม ไ ด ข โมยกิ น ขากระต า ย กระต า ยมี เ พี ย ง ๓ ขา


มีกระตายที่เหลือ ๓ ขา เปนพยานได ชายคนนั้น ยืนยันวาตามธรรมชาติกระตายมีเพียง ๓ ขาจริง ๆ จึงเกิดเปนสํานวนวา ยืนกระตายสามขา ดังกลาว เอาหนวดเต า เขากระต า ย (สํ า นวน) หมายความว า ต อ งการของอย า งดี อ ย า งวิ เ ศษ เพราะหนวดเตา หรือเขากระตาย เปนของที่หา ไมได เพราะไมมีจึงถือเปนของดีวิเศษผิดธรรมดา มีสํานวนอีกสํานวนหนึ่ง ไมมีคําวากระตาย แตมีคําวาปเถาะ ซึ่งหมายถึงปกระตาย คือสํานวนวา ไม พ น ชวดฉลู ข าลเถาะ หมายถึ ง ไปไม ร อด ไปไมตลอด ไมพน ที่จะตองเวียนกลั บมาคราวใด คราวหนึ่ง จะตองไดเห็นกันในวันหนาอีก ชวด ฉลู ขาล เถาะ .... กุน เปนชื่อปนักษัตร เมื่อผานไปครบ ๑๒ ปแลว ก็จะยอนกลับเวียนไปขึ้นปชวดใหม เมื่อ ปเ วี ย นวนกลั บ เช น นี้ อะไรที่ ไ ปไม พ น ไมร อดและ จะตองกลับมา จึงเอามาเปรียบพูดเปนสํานวนนี้ ซึ่งมักใชพูดเชิงประชดมากกวา เมื่อกลาวถึงสํานวนเกี่ยวกับกระตายแลว นาจะมีสํานวนเกี่ยวกับพระจันทร นอกจากกระตาย หมายจันทรบางแตไมพบ มีแต เดือนยังกะจับมด ซึ่งหมายถึง เดือนหงายแจมสวางเต็มที่ คือมดเปน สั ต ว เ ล็ ก แม แ ต เ วลากลางวั น ก็ ม องไม เ ห็ น เวลา กลางคืนเดือนหงายแจมกระจางจนแทบจะจับมด ตัวเล็ก ๆ ได จึงพูดเปนสํานวนวา เดือนยังกะจับมด หรือเดือนยังกะจะจับมด มีสํานวนเกี่ยวกับเดือนอีกสํานวนหนึ่งคือ ดาวลอมเดือน ซึ่งหมายถึง มีบริวารแวดลอมมาก สํานวนนี้เปนชื่อของกลอนกลบทชนิดหนึ่งดวย ไมเสียปเสียเดือน เปนสํานวนที่มีคําวา เดื อ น (แต ไ ม ใ ช เ ดื อ นที่ ห มายถึ ง พระจั น ทร แต หมายถึงสวนของป ซึ่งตามปกติมี ๓๐ วัน) สํานวนนี้

หมายถึง จัดทําหรือปฏิบัติไปตามธรรมเนียม เมื่อถึง กํ า หนดที่ ค วรจะทํ า ไม ใ ห เ สี ย เวลา ดั ง มี ค วามใน ประวั ติ วั ด มหาธาตุ ว า “ถึ ง ป ว อก พ.ศ.๒๓๖๗ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระชันษา ครบอุ ป สมบท แต ป ระจวบเวลาพระบาทสมเด็ จ พระพุท ธเลิศ หลา นภาลัย ไมท รงสบาย...ดํารัสว า เป น เวลาเคราะห ร า ย จั ด แต พ ออย า ให เ สี ย ป เสียเดือน” เมื่ อ พู ด ถึ ง คํ า ว า เดื อ นแล ว ขอเลยไปถึ ง คําวาดาว นอกจากสํานวนวา ดาวลอมเดือนแลว ยังมีสํานวนวา ฝนตกอยาเชื่อดาว หมายความวา อยาไววางใจอะไร ๆ สํานวนนี้เอาดาวมาเปรียบ คือ เห็นดาวเต็มฟา อยานึกวาฝนไมตก ฝนอาจตกได มักใชคูกับมีเมียสาวอยาเชื่อแมยาย อนึ่ง คํา วา ดาวนี้ ทําใหมองเห็น ภาพวัตถุ ระยิ บ ระยั บ ในท อ งฟ า เวลามื ด ชวนให คิ ด ถึ ง กาพยยานี ๑๑ ที่วา สองคนยลตามชอง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม คนหนึ่งตาแหลมคม เห็นดวงดาวอยูพราวแพรว กาพย บทนี้ เจษฎาธิ ก าร ฟรั ง ซั ว อี แ คร แปลจาก บทกวีของ John Milton ที่วา Two folks lookings through the same bars, One sees mud, the others stars นับวาเปนแงคิดเตือนใจได แตขอความยาวจึงไมถือ เปนสํานวน ซึ่งเปนโวหารสั้น ๆ ไดใจความ เปนเชิง เปรียบเทียบ จากสํานวนที่มีคําวาเดือนและดาว นาจะ ไดกลาวถึงสํานวนที่มีคําวาฟาบาง ดังนี้


น้ําสั่งฟา ปลาสั่งฝน หมายความวา ตอง จากกันไป สํานวนนี้มาจาก น้ํา(ฝน)ที่ตกเปนครั้ง สุดทาย สิ้นฤดูแลวไมตกอีกตอไป จึงเปนน้ําสั่งฟา สวนปลาสั่งฝน หมายถึง เมื่อสิ้นฤดูฝน ฝนไมตก แล ว น้ํ า ก็ ล ดแห ง ปลาก็ จ ากที่ อ ยู เช น หนอง บึ ง เปนตน บางทีก็พูดวา ฝนสั่งฟา ปลาสั่งหนอง ซึ่ง ถือเปนการสั่งเสียครั้งสุดทาย เพราะเมื่อฝนตกหนัก ปลายฤดู ฝ นเป น ครั้ ง สุ ด ท า ยแล ว ก็ เ ริ่ ม ฤดู ห นาว ไมตกตอไปอีก สวนปลานั้นอยูในหนองสบาย ๆ ใน ฤดูฝน ซึ่งน้ําเต็มหนอง พอสิ้นฝน น้ําในหนองเริ่มแหง ปลาก็ อ อกจากหนองไป จึ ง เป น การสั่ ง เสี ย ครั้ ง สุดทาย เหมือนเมื่อหญิงชายจะลากันในดอกสรอย ครั้งกรุงเกา มีบทชายวา ครื้นเอยครื้นครืน้ ฝนสั่งฟาลมชมหลา คลายคลายน้าํ สั่งปลา นาละหอยละเหี่ยใจ คลอยคลอยพระสุริยา สั่งโลกแลวลาเลี้ยวลับไป คลายคลายเรียมสั่งสายใจ เจาจะไกลพี่แลวแกวกับตน ฝนตกไมทั่วฟา หมายความวา ทําอะไร หรือแจกจายอะไรใหไมทั่วถึง พลอยฟ า พลอยฝน หมายความว า พลอยเขาไปพัวพันทั้ง ๆ ที่ตนไมไดมีสวนเกี่ยวของ ทําใหตองเดือดรอนลําบากไปดวย เปรียบไดกับวา ถาฝนตกก็พลอยเปยก สํานวนนี้อาจมีความหมาย อีกอยางหนึ่งวา พลอยประสมไปกับเขาดวย พี่นองรวมฟา หมายความวา ไมใชพี่นอง จริ ง เป น สํ า นวนประชด ดั ง ในสุ ภ าษิ ต สอนหญิ ง มีวา

ลวนคุณลุงคุณปูอยูทุกแหง เที่ยวแอบแฝงพิงพาดวาสนา พวกผูดีไมนึกตรึกเจรจา เปนพี่นองรวมฟานั้นเห็นจริง ฟาเคืองสันหลัง หมายความวา เคราะหกรรม อยางรายแรงมาถึงตัว ฟา คือ ฟาเบื้องบน (เทพยดา ฟาดิน) หรือพระเจาแผนดิน สํานวนนี้จึงหมายถึง เทพยดาฟ า ดิ น หรื อ พระเจ า แผ น ดิ น ลงโทษ เช น เฆี่ ย นหลั ง ตลอดจนประหารชี วิ ต ถือ เป น เคราะห กรรมหรื อ โทษทั ณ ฑ ร า ยแรงที่ เ กิ ด จากอํ า นาจ เบื้ อ งบนหรื อ ผู ป กครอง ในเรื่ อ งขุ น ช า งขุ น แผน มีความตอนหนึ่งวา ทองประศรีฟงวาน้ําตาตก อียาจกใครทําใหมึงนั่น ตอฟาเคืองสันหลังจึงรําพัน กูนี้กลั้นน้ําตามิไดเลย ฟาไมกระเทือนสันหลัง หมายความวา อํานาจเบื้องบนหรือผูปกครองยัง ไมลงโทษทัณฑ ดังมีคํากลาววา “ถาฟาไมกระเทือนสันหลังก็ยังไมรูสึก เสียงเทาฟา หนาเทากลอง หมายความ วา เลนหัวคึกคะนองราเริง สงเสียงอึกทึกครึกโครม เปนการเอาหนาไปเปรียบวาเทากลอง และเปรียบ อีกขั้นวากลองนั้นมีเสียงดัง ดังเทาฟารองดวย หลังสูฟา หนาสูดิน หมายความวา ตอง ตรากตรําทํางานหนัก มักหมายถึงชาวไรชาวนา ซึ่ง เวลาทําไรทํานา หลังตองสูกับแดดและหนาตองกม ลงดิน เริ่ ม ต น เรื่ อ งด ว ยสวั ส ดี ป ใ หม ป ก ระต า ย กลายเป น เรื่ อ งของคํ า และสํ า นวนเกี่ ย วกั บ กระต า ย พระจั นทร เดื อ น ดาว และฟ า แต ว าล วนเกี่ ยวกั บ เรื่องภาษาไทยดวยใจรัก ทั้งนั้น ""


Bunny

สมัย เรี ย นมหาวิท ยาลั ย ผู เ ขี ย นไดมีโ อกาสเรีย นวิ ชาภาษาอัง กฤษกั บอาจารยทั้ ง ชาวไทยและ ชาวตางประเทศหลายทานดวยกัน ตอนอยูชั้นปที่หนึ่ง ไดเรียนกับอาจารยชาวอังกฤษชื่อ บอบ (Bob) เปนครั้งแรกที่รูสึกวาภาษาอังกฤษสําเนียงอังกฤษนั้นไพเราะมาก แตก็ฟงยากมากเชนกัน อาจารยบอบเปน คนสุภาพ พูดนอย นักศึกษาจึงไมคอยกลาคุยดวยมากนัก พอขึ้นชั้นปที่สอง ไดมีโอกาสเรียนกับอาจารยชาว อเมริกันชื่อ ลี (Lee) อาจารยลีเปนคนที่คุยเกงและเปนกันเอง ดังนั้นเมื่อมีปญหาเกี่ยวกับวิชาภาษาอังกฤษ สวนใหญจะถามและปรึกษาอาจารยลี เลยทําใหคุนเคยกับสําเนียงอเมริกันและจําคําศัพทแบบอเมริกัน ไดมากกวาแบบอังกฤษ คิดวาถาจําแบบอเมริกันอยางเดียว เวลาพูดกับคนอังกฤษ คนอังกฤษคงจะเขาใจ และคงไมมีปญหาอะไร แตความจริงไมไดเปนอยางที่คิด เมื่อชวงหนึ่งผูเขียนไดมีโอกาสทํางานรวมกับ อาจารยชาวอังกฤษชื่อวา เจสัน(Jason) ซึ่งเปนคนนารัก เปนกันเองและมีน้ําใจ วันหนึ่งขณะที่นั่งทํางานอยู เจสันถามวา “คําวา เรียลไลซ สะกดอยางไรครับ” ผูเขียนตอบไปวา “R-E-A-L-I-Z-E” เจสันทําสีหนา แปลก ๆ แลวถามตอวา “คําวา คัลเลอรละครับ” “C-O-L-O-R คะ” ผูเขียนตอบไปพรอมกับสงสัยในใจวา เปนฝรั่งทําไมสะกดคําไมถูก เจสันมีสีหนาจริงจังกอนบอกวา “ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษตองสะกดวา R-E-A-L-I-S-E และ C-O-L-O-U-R ครับ” ตั้งแตนั้นมาเลยคิดวาการเรียนรูคําศัพททั้งแบบอังกฤษและ อเมริกัน นาจะเปนประโยชนกับตัวเราอยางมาก ครูภาษาพาทีในฉบับนี้จึงขอนําเสนอเรื่องความแตกตาง ของภาษาอังกฤษแบบอเมริกันและภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ (American English VS British English) ในเรื่องการสะกดคําและการใชคําศัพทแตกตางกันแตมีความหมายเดียวกัน เรื่องแรกที่จะพู ดถึงเปน เรื่ องของการสะกดคํา ขอสั งเกตที่เ ห็น ได ชัดเจน คือ การสะกดคํา ซึ่ง มี พยัญชนะทายแตกตางกัน ดังนี้


๑. คําศัพทแบบอเมริกันจะสะกดดวย –or เชน color, favor, neighbor แตคําศัพทแบบอังกฤษ จะใช –our เชน colour, favour, neighbour ๒. คําศัพทแบบอเมริกันจะสะกดดวย–er เชน center, meter, liter, theater สวนคําศัพทแบบ อังกฤษจะใช –re เชน centre, metre, litre, theatre ๓. คําศัพทแบบอเมริกันจะสะกดดวย –ize เชน criticize, recognize, memorize แตคําศัพท แบบอังกฤษจะใช –ise เชน criticise, recognise, memorise ๔. คําศัพทแบบอเมริกันจะสะกดดวย –yze เชน analyze, catalyze แตคําศัพทแบบอังกฤษ จะใช –yse เชน analyse, catalyse ๕. คําศัพทแบบอเมริกันจะสะกดดวย –og เชน dialog, catalog แตคําศัพทแบบอังกฤษจะใช –ogue เชน dialogue, catalogue แมการสะกดคําจะแตกตางกัน แตความหมายและการออกเสียงเหมือนกัน ผูเขียนมีวิธีจดจํางาย ๆ คือ คําศัพทแบบอเมริกันนั้นตัวสะกดจะนอยกวา เชน color, dialog และนิยมใช z เชน criticize, analyze เรื่องที่สองคือการใชคําศัพทแตกตางกันแตมีความหมายเดียวกัน ผูเขียนไดรับประสบการณตรง มาจากคุณเจสันเชนเคย เมื่อเย็นวันหนึ่งกอนกลับบาน คุณเจสันเดินเขามาถามวาจะไปสีลมใหเร็วที่สุด ไดอยางไร ผูเขียนแนะนําวา “Why don’t you take the subway?” (ทําไมไมนั่งรถไฟใตดินละคะ) เจสันทําหนางงกอนถามวา “What’s the subway? I don’t know the subway. I only know the underground.” (อะไรคือ subway ผมไมรูจัก ผมรูจักแต underground) ผูเขียนเลยนึกขึ้นไดวา subway คือคําศัพทแบบอเมริกัน และ underground คือคําศัพทแบบอังกฤษ แตทั้งสองคํามีความหมายเหมือนกัน คือ รถไฟใตดิน นอกจากนี้แลว ยังมีคําศัพทอื่น ๆ ที่มีความหมายเหมือนกันแตใชคําตางกัน ขอยกตัวอยางคําศัพท ที่สําคัญ ๆ ซึ่งแบงออกเปน ๔ กลุม ดังนี้ American English British English กลุมคําศัพท ความหมาย (AmE) (BrE) ๑. เรื่องเกี่ยวกับถนน (on the road)

gas station gasoline*/gas crosswalk sidewalk parking lot truck

petrol station petrol zebra crossing pavement car park lorry

ปมน้ํามัน น้ํามัน ทางมาลาย บาทวิถี ที่จอดรถ รถบรรทุก

* คําวา gasoline นั้น เราเรียกสั้น ๆ วา gas ก็ได แตคําวา gas จะหมายถึง น้ํามันหรือกาซ เชน กาซออกซิเจน


กลุมคําศัพท

American English (AmE)

British English (BrE)

ความหมาย

๒. เรื่องเกี่ยวกับชิน้ สวนของรถยนต trunk (of car) (parts of a car) hood (of car) windshield

boot bonnet windscreen

กระโปรงหลังรถ กระโปรงหนารถ กระจกหนารถ

๓. เรื่องเกีย่ วกับในบานและรอบ ๆ บาน (in and around the house)

antenna faucet closet flashlight baby carriage garbage

aerial tap wardrobe torch pram rubbish

เสาอากาศ หัวกอกน้าํ ตูเสื้อผา ไฟฉาย รถเข็นเด็ก ขยะ

๔. คําศัพทอนื่ ๆ

elevator round trip (ticket) one-way (ticket) line call fall soccer*

lift return single queue ring autumn football

ลิฟต ตั๋วไปและกลับ ตั๋วไปอยางเดียว เขาแถว โทรศัพท ฤดูใบไมรวง กีฬาฟุตบอล

*เนื่องจากในประเทศอเมริกาถาพูดถึง football จะหมายถึง อเมริกันฟุตบอล (American Football) แตถาพูดถึงกีฬาฟุตบอลจะใชคําวา soccer ไมนาเชื่อวาจะมีคําศัพทมากมายเชนนี้ บางคนอาจจะบอกวามากขนาดนี้จําแคคําใดคําหนึ่งไดไหม ในกรณีที่ยกตัวอยางมานั้นอาจจะได แตคําศัพทที่จะนําเสนอตอไปนี้ ดูจากรูปแลวคิดวาควรจะจําและ ทําความเขาใจทั้งสองคําเพื่อมิใหเกิดความสับสน


ใบเรียกเก็บเงินจากรานอาหาร ภาษาอังกฤษแบบอเมริกันเรียกวา check แบบอังกฤษเรียกวา bill แตคําวา bill ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันมีความหมายวา ธนบัตร ดังนั้นเมื่อเราไปรับประทานอาหารในราน และตองการใหพนักงานเก็บเงินควรจะพูดวา “Bill, please.” หรือ “Check, please” หลังจากจายเงินแลว จะไดใบเสร็จรับเงิน (receipt) เปนหลักฐานการชําระเงิน

คําวา vest ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษมี ๒ ความหมาย คือ เสื้อกั๊ก และเสื้อชั้นใน ภาษาอังกฤษ แบบอเมริกัน เสื้อกั๊ก ใชคําวา waistcoat เสื้อชั้นในใช undershirt สวนคําวา pants ภาษาอังกฤษแบบ อเมริกัน หมายถึง กางเกงขายาวแตแบบอังกฤษ หมายถึง กางเกงชั้นใน ดังนั้นเมื่อนําไปใชตองระวังใหดี เพราะนอกจากจะผิดความหมายแลวอาจเกิดการเขาใจผิดได คราวนี้ลองมาทําแบบฝกหัดกันดูนะคะ แตกอนจะทําขอใหกลับไปอานทบทวนกอนแลวคอยทํา แบบฝกหัดเพื่อทดสอบดูวาสามารถจําคําศัพทไดมากนอยแคไหน


Exercise: Replace each American following list. bill trousers rubbish tap petrol petrol station autumn return wardrobe zebra crossing

word that is printed in italics with a British word from the pavement lift bank note car park

queue trunk underground torches

windscreen ring lorries single

1. You should walk across the crosswalk. 2. The kitchen faucet in my house isn’t working. 3. The waiter handed me the check after the meal. 4. We had to stand in line at the movie-theater last night. 5. Our back yard looks lovely in the fall. 6. When you stop for gas at a gas station, they sometimes clean your windshield. 7. I usually take the subway home. 8. The elevator of this high school is very fast. 9. The only money I have is a twenty-dollar bill. 10. In that district they only collect the garbage once a week. 11. I like your new pants. 12. There are many beautiful cars right across the sidewalk. 13. Do you want a one-way or a round trip ticket? 14. My mother put a lot of flashlights in the closet. 15. There are many trucks in this parking lot. 16. I’ll put the luggage in the boot. 17. If you’d like more information, call the Hotline on 414 3929. เฉลย (Answer) 1.zebra crossing 2.tap 3.bill 4.queue 5.autumn 6.petrol, petrol station, windscreen 7.underground 8.lift 9.bank note 10.rubbish 11.trousers 12.pavement 13.single, return 14.torches, wardrobe 15.lorries, car park 16.trunk 17.ring


อ.วารุณี

ขอเชิญสมาชิกลับสมอง แลวสงคําตอบโดยเขียน ยศ – ชื่อ – สกุล และหมายเลขโทรศัพท ไปที่สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ ภายใน ๒๐ ก.พ.๕๔ ถามีผูตอบถูกจํานวนมาก จะใชวิธี จับฉลากรายชื่อ ๓ รางวัล และแจงผลการจับฉลากพรอมเฉลย ในฉบับ เม.ย.๕๔


Across

Down

1. It is unbelievable that the police can not catch any of …….. who burned Rajchaprasong theater and many business buildings. 7. It is not good that she often blames her son as a ……. boy or stupid one. 10. Negative answer 11. It is very hard for a pilot who must first fly solo to ……. or control himself not to be excited. 13. We love to shop at an ……... or a shop which sells the goods made by a particular manufacturer. 15. “You are not my cup of …….” means you are not a kind of person that I like. 16. ………. doesn’t make sense that you love her more than your life. 17. You must take your ……..…. card with you all the time when you go abroad. 18. According to No.17 Across, do I have to do so ……. I have already carried my passport? 20. Opposite of “far” 22. …… is white powder which is used to improve the flavour of food. 24. When you ……., you gradually collect money by spending less than you get. 25. Jette tries to …… or stop smoking many times but she can’t. 28. An abbreviation used before a woman’s name when you are speaking to her. 30. Opposite of “false” 31. He would like to be a ……., so he tries to buy a piece of land little by little. 35. An abbreviation for “Senior” and is written after a man’s name.

1. Our king must ………. or put wet powder on the body of every new airplane, in order to be very lucky. 2. A way 3. A strong desire 4. I bought lots of books but the ……. that I paid is not so much. 5. Miss Thailand is a type of …..… lady, because she is attractively slim, elegant and stylish. 6. Would you like to have curry and rice …….…. noodles? 7. …….. you know how to knit a sweter? 8. An …..…. is a picture or reflection of someone or something. 9. “I” functions as pronoun, but “……..” functions as object. 12. The elderly people can …….. or have food less and less. 14. The basic monetary unit of Itali. 19. …….. should try to manage his own life before asking someone to help. 21. If you follow No.19 Across, I …..…. or I am certain you’ll succeed in everything. 22. Opposite of “buy” 23. She is not so beautiful …….. her sister. 25. In warm weather, you should wear clothing that is …….. and comfortable. 26. Bacon …..…. egg is his favourite breakfast. 27. ……. can be money and property that someone leave behind him when he die. 28. An abbreviation for “Mister”


Across

Down

36. A : How ……… are you? B : Oh. I’m only 15 years. 37. It is ….….! that you can figure out the severe problem of that engine. 40. You ……. get a reward for doing the important job. 42. Sit, sat, ……. 44. The highest point 46. Our king invented Chipattana …….…. that is very famous and useful to the agriculture. 47. Lately my friend came to Thailand to have a …….….. or a design on his skin because here is cheapest. 49. Now the poor can get on a ……… without paying, that is very good idea and project of the government. 50. An abbreviation for His/her Majesty’s 51. To push a knife or sharp object into someone’s body. 52. The customers usually like to park …..…. cars in front of the restaurants. 55. They do …..…. want to park them out of their sight. 56. Being able to see them is better …… being not. 57. Right now the traffic on Silom …..… is not heavy. 58. Opposite of “dry” 59. I want to write an ………. or a short piece of writing about the riot around Bangkok lately, but I think the Air Force magazine must cancel it, so I stop thinking that.

29. Keep ……….. eye on your son or watch him closely any time he chats with his friends. 30. We used to go on long bicycle rides ………, means we did it with each other. 32. Weapons 33. A flower that Thai people have been used it to respect the Bhudda since the former time. 34. An abbreviation for “road” 38. Would you like to ……. or go to the university with me? 39. I am ……….. busy to go today, any-way thank you. 41. Please don’t throw a ………. of cigarette or a remainder of it on the floor. 42. Oh! be careful I hear the ……….. or a warning device from an ambulance near here. 43. The same as No.29 Down 45. I want to send this package so I must go to the ………. now. 48. Believe me please, I ……… not a liar. 49. Her eyes are still very good because she can read with her ……..- eyes. 52. A, an, ………. 53. He ……….….. had hobby since he was only 10 years old. 54. Have you ever checked your lungs by X-…….?


มิสกรีน

BEETLE BAILEY

ภาพที่ 1 - ดูภาพมังกรทีห่ ลานสาวตัวนอยของฉันวาดสิคะ - สวยมาก! เอาแขวนไวที่ไหนสักแหงสิ ภาพที่ 2 - ผมไมคิดวาจะพยายามเขาไปพบทานนายพลในวันนี้นะ dragon (n.) niece (n.) cute (adj.) to try to

- มังกร ออกเสียงวา “แดรเกิ่น” - หลานสาว(นีซ) เปนลูกสาวของพี่หรือนอง และหลานชายคือ nephew (เนฟยิ่ว) ถาเปนลูกของลูก หลานสาวคือ granddaughter และหลานชายคือ grandson - สวยมาก, มีเสนห (very pretty or attractive) Ex. That’s a really cute dress. (ชุดนั้นสวยมากเลย) - พยายามทําสิ่งใดสิ่งหนึง่ (to attempt to do or get sth) Ex. He tried to control his voices. (เขาพยายามควบคุมเสียงของเขา) แตคํากริยา to try + Ving แปลวา ทดลองทํา (to test) Ex. One day, I will try living in a foreign country. (สักวันหนึ่ง ฉันจะลองไปใชชีวิตในตางแดน)


BLONDIE

ภาพที่ 1 - ผมเกลียดจัง เวลาบางคนที่โรงเรียนลอผมเรื่องความฉลาดนะ คุณบี - เด็ก ๆ สามารถทําอะไรที่ใจรายไดในบางครั้งนะเอลโม อยาไปกังวลใจกับมันเลยนะ ภาพที่ 2 - เหรอฮะ ผมแนใจวาคุณก็เคยถูกลอมากเลยเกี่ยวกับทรงผมของคุณเมื่อตอนเด็กนะ จริงมัย้ ครับ คุณบี ? ภาพที่ 3 - อยาไปกังวลกับมันเลยคะที่รัก ฉันเชื่อวาเขาไมไดตั้งใจจะหมายความอะไรหรอกคะ - แตมันก็เหมือนใจรายนะ ทีพ่ ูดออกมานะ to hate

to tease

smart (adj.)

- เกลียดมาก (to dislike something or someone very much) Ex. He hates some politicians. (เขาเกลียดนักการเมืองบางคนมาก) I hate that movie. (ฉันเกลียดหนังเรื่องนั้นมาก) ถาตามดวยคํากริยา จะใชไดทงั้ infinitive with to และ V + ing Ex. Paul hates to work night shifts. (พอลไมชอบทํางานกะกลางคืนเลย) They hate going to night clubs. (พวกเขาเกลียดการไปเที่ยวไนทคลับ) - เยาแหย, ลอเลน, หัวเราะเยาะใหไดอาย (to make jokes in order to have fun by embarrassing someone or to laugh at) จะใชกับบุพบท (preposition) about + คํานาม หรือ V + ing แตกริยาตัวนีก้ ใ็ ชพูดสนุก ๆ ในระหวางเพื่อนฝูงได จึงแลวแตสถานการณ - ฉลาด (intelligent)


- โหดราย, ใจราย ทําใหคนอื่นบาดเจ็บหรือเจ็บใจ ออกเสียง “ครูเอิ่ล” (to make someone suffer or feel unhappy) Ex. The serial killer who killed five women was very cruel. (ฆาตกรตอเนื่องที่ฆาผูห ญิงไป ๕ คน เปนคนโหดรายมาก) Jan is often cruel to her sister. (แจนมักจะใจรายกับนองสาวของเธอ) to bother - กวนใจ, ทําใหกงั วลใจ, รําคาญใจ (to annoy someone, to make someone feel slightly worried) to seem like - เปนการใชกริยา to seem + like แปลวา ดูเหมือนวา (to appear) และจะตองตามดวยคํานาม Ex. Alice seems like a nice girl. (อลิซดูจะเปนเด็กดี) It seemed like a good idea. (มันดูจะเปนความคิดทีด่ ี) ซึ่งถาใชโดยไมมี like ก็ไดความหมายเหมือนเดิม นอกจากนัน้ to seem จะตามดวย adj. หรือ infinitive with to ได Ex. The customers seem upset. (พวกลูกคาดูเหมือนจะหัวเสีย) He seems to get along well with his colleagues. (เขาดูจะเขากับเพื่อนรวมงานไดดี)

cruel (adj.)

Diamond รวบรวม

If there is light in the soul, there will be beauty in the person. If there is beauty in the person, there will be harmony in the house. If there is harmony in the house, there will be order in the nation. If there is order in the nation, there will be peace in the world. เมื่อจิตสวาง ความงามในคนก็เกิด คนเราเมื่องาม ความสุขในบานก็ตามมา เมื่อคนในบานกลมเกลียวกัน ประเทศชาติก็จะมีระเบียบ เมื่อชาติมีระเบียบวินัย โลกก็จะมีความสุขสงบ Dr. Viphandh Roengpithya Asian University


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (ตอจากฉบับที่แลว) ๔๙. เหรี ย ญขวั ญ ถุ ง หลวงพ อ เชิ ด วั ด มฤคทายวั น (ดงแขม) อ.เมื อ ง จ.หนองคาย ดําเนินการโดย น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา เมื่อป ๒๕๔๘ เหรียญรุนนี้มี ๒ ชนิดคือ ชนิ ด เหรี ย ญ ๑ บาท ป ๒๕๓๖ จํ า นวน ๒๐๐ เหรียญ ชนิดเหรียญ ๕๐ สตางค ป ๒๕๓๘ จํานวน ๔๐๐ เหรียญ โดยได ป ระทั บ เครื่ อ งหมายตราป ก ไว ทั้ ง ๒ ด า นของเหรี ย ญ เหรี ย ญรุ น นี้ ห ลวงพ อ เชิ ด ได กรุณาอธิษฐานจิตใหเปนกรณีพิเศษเชนกัน

เหรียญ ๑ บาท

เหรียญ ๕๐ สตางค

๕๐. เหรี ย ญขวั ญ ถุ ง หลวงพ อ เชิ ด วั ด มฤคทายวั น (ดงแขม) อ.เมื อ ง จ.หนองคาย ดําเนินการโดย น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา เมื่อป ๒๕๔๙ โดยใช เ หรี ย ญ ๒ บาท ของป ๒๕๔๘ จํ า นวน ๒,๐๐๐ เหรียญ โดยไดประทับเครื่องหมายตราปก ไวทั้ง ๒ ดานของเหรียญ ซึ่งเหรียญรุนนี้หลวงพอเชิด ได ก รุ ณ าเมตตาอธิ ษ ฐานจิ ต ให เ ป น กรณี พิ เ ศษ เชนเดิม


มวลสารที่สําคัญประกอบดวย

เหรียญ ๒ บาท

๕๑. ดวงตราทาวจตุคาม-ทาวรามเทพ รุน “ทรัพยรุงเรือง” สรางโดย น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา ในนามศิษย ทอ. ในป ๒๕๕๐ ลักษณะของดวงตรา ทา วจตุ ค าม-ท า วรามเทพ มี ข นาดเดีย วคื อ ขนาด เส น ผ า ศู น ย ก ลาง ๕ เซนติ เมตร มี ๒ สี คือ สีขาว และสีดํา จํานวนการสรางสีละ ๕,๐๐๐ องค ทุกองค มีโ คดเลเซอรต ราปกและหมายเลขกํ า กับทุก องค ดานหนาตรงกลางเปนรูปทาวจตุคาม-ทาวรามเทพ นั่ ง คู กั น ตามแบบองค จ ริ ง ที่ วั ด พระมหาธาตุ วรมหาวิหาร จ.นครศรีธรรมราช โดยมีรูป ๑๒ นักษัตร อยูลอมรอบ มีกงจักรและพระราหูทั้ง ๘ อยูวงนอก ตามลําดับ สวนดานหลังเปนรูปยันตหัวใจธรณีที่อยู ตรงกลางเปน ตัว แทนแหง หั ว ใจมนุ ษ ย ยั น ต ที่อ ยู ด า นซ า ยและขวาเป น สั ญ ลั ก ษณ แ ห ง ความเป น มนุษยเพศชายและหญิง โดยขางลางจะมีตัวหนังสือ “ศิ ษ ย ทอ. ๒๕๕๐” ส ว นวงนอกสุ ด จะเป น รู ป พระมหาธาตุเจดียและรูปพระประจําวันทั้ง ๗

๑. ผงพระ “หลวงพ อ ศรี ธ รรม” วั ด ศรี ธรรมาราม(วัดลิงค) อ.ควนขนุน จ.พัทลุง เนื้อวาน สรางเมื่อป ๒๕๐๗ ๒. ผงพระ “หลวงปู ท วดสมภารทอง” วัดนาทวี อ.นาทวี จ.สงขลา เนื้อวาน สรางเมื่อป ๒๕๐๗ ๓. ผงพระ “สมเด็จหลวงปูเปลื้อง” วัดบางแกว ผดุ ง ธรรม อ.บางแก ว จ.พั ท ลุ ง เนื้ อ ผง สร า งเมื่ อ ป ๒๕๓๔ ๔. ใบลานโบราณ วั ด นาทวี อ.นาทวี จ.สงขลา ๕. ดิ น บริ เ วณใต ต น เลี ย บที่ มี ผู พ บเห็ น หลวงปู ท วดเหยี ย บน้ํ า ทะเลจื ด มาปรากฏตั ว เมื่ อ ป ๒๕๓๕ ที่สํานักสงฆตนเลียบ จ.สงขลา (โคนตนเลียบ นี้เปนที่ฝงรกของหลวงปูทวด ฯ) ๖. ขี้เหล็กไหลและขนมโคฤๅษี จากถ้ําเขาปูน อ.ทุงใหญ จ.นครศรีธรรมราช ๗. แรเกาะลาน ๘. ผงยันตเกราะเพชร ๙. ผงวิ เ ศษที่ “หลวงปู ท อง” วั ด ป า กอ สุวรรณาราม อ.นาหมอม จ.สงขลา นํามาจากประเทศ อินเดีย เมื่อป ๒๕๓๕ ๑๐. ดินกากยายักษ ๑๑. ฟอสซิลของสัตวทะเลเซลเดียวชนิดหนึ่ง อายุ ป ระมาณ ๒๐๐ ล า นป (นั ก ธรณี วิ ท ยาของ กรมทรัพยากรธรณีไดตรวจดูแลว) ๑๒. ทองปดองคพระหลวงพอโต วัดพนัญเชิง จ.พระนครศรีอยุธยา


การเทวาภิเษก โดยไดรับความเมตตาจากพระราชธรรมสุธี (สมปอง ปฺญาทีโป) เจาอาวาสวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร และเจาคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช อนุญาตใหนําดวงตราทาวจตุคาม-ทาวรามเทพ รุน “ทรั พ ย รุ ง เรื อ ง” ซึ่ ง สร า งโดยคณะศิ ษ ย ทอ. จํานวนทั้งหมด ๑๐,๐๐๐ องค (เนื้อขาว ๕,๐๐๐ องค และเนื้ อ ดํ า ๕,๐๐๐ องค ) ฝากเข า ร ว มพิ ธี ฯ ใน พระอุ โ บสถ ฯ โดยนํ า ไว ท างด า นหน า ขวาของ พระประธาน และนําผาขาวคลุมไวแลวโยงสายสิญจน จากพระประธานมาที่กลองดวงตราทาวจตุคามทาวรามเทพ ซึ่งไดขออนุญาตนําเขาพิธี ฯ ไวเปน เวลา ๑๕ วัน (ตั้งแตวันพุธที่ ๑๓ – พุธที่ ๒๗ มิ.ย.๕๐) ซึ่ ง หมายถึงได เ ขา รว มพิธี ฯ ตา ง ๆ ถึง ๑๕ วาระ ๑๕ พิธีกรรม

(อานตอฉบับหนา)


ตะวัน มี ป ริ ศ นาธรรมที่ ก ล า วขานได ยิ น กั น เป น ประจํ า โดยเฉพาะเมื่ อ ถึ ง ป ใ หม ว า “พญายั ก ษ ตนหนึ่ ง นา มีตาสองขา ง ข า งหนึ่ง สวา ง ขา งหนึ่ง ริบหรี่ มีปาก ๑๒ ปาก มีฟนไมมาก ปากละ ๓๐ ซี่ เที่ ย วกิ น สั ต ว ทั่ ว ปฐพี ลองทายดู ซิ ว า พญายั ก ษ ตนนี้ มี ชื่ อ ว า อะไรครั บ ” พญายั ก ษ ที่ ว า นั้ น ก็ คื อ “พระกาล” หรื อ กาลเวลานั่ น เอง ซึ่ง องคส มเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจา ไดตรัสสอนไววา “กาลเวลา ยอมกลืนกินสรรพสัตวพรอมทั้งตัวของมันเอง” เวลาจึ ง เป น เหมื อ นฆาตกรเงี ย บที่ ไ ม ป รานี ใ คร ไมเลือกหนาอินทรหนาพรหม ไมวาจะเปนเจาใหญ นายโตมีอํานาจวาสนาสักเพียงใด ก็ไมสามารถทีจ่ ะ ตอกรกับทานพระกาลได คงปลอยใหทานทําหนาที่ ของทานตอไปชั่วกาลนานไมมีที่สิ้นสุด เมื่อไมสามารถเอาชนะคะคานทานพระกาล ที่ เ คารพได จึ ง พอมี วิ ธี เ ดี ย วที่ ส ามารถทํ า ได ก็ คื อ ทํ า หน า ที่ ข องตนให ส มบู ร ณ แ ละดี ที่ สุ ด เท า ที่ จ ะ สามารถทําได แตการทําหนาที่ดังกลาวไมใชการ เห็นแกตัว เพราะนอกจากจะทําหนาที่เพื่อตนเองแลว ยัง ควรทํา หนา ที่ เ พื่ อ ประโยชน สุข ของคนอื่ น ด ว ย เชน เมื่อมีคนชางถามมาถามเราวา เกิดมาทําไม

ถาเราไมเคยคิด ก็อาจจะตอบปญหานี้ไมได ทั้งที่ เกิดมาหลายป คลายเปนปญหาหญาปากคอก แต ถาไมเ คยคิ ด ตอบยากอย า บอกใคร ตอคํ า ถามนี้ บางคนตอบวา เกิดมาใชกรรม บางคนอาจตอบวา เกิดมาเพื่อกิน บางทานอาจตอบวาเกิดมาเพื่อเกียรติ เป น ต น คํ า ตอบที่ ว า นั้ น ดู เ ป น คํ า ตอบที่ ฟ ง แล ว ไมนาจะใช เพราะผิวเผินเหลือเกิน แตจะตอบอยางไรก็ชางเถิด ถาจะใหตรง เขาหลักเขาเกณฑ นาจะตอบวา เกิดมาเพื่อสราง ประโยชนสุขใหตนเองและผูอื่น ซึ่งคําตอบในลักษณะเชนนี้ ฟงดูเปนเรื่อง เป น ราว ที่ สํ า คั ญ คื อ เป น คํ า ตอบที่ เ หมาะสมกั บ ความเปนมนุษยมากที่สุด แตถาตอบวา เกิดมากิน เกิดมาเลน เปน ตน แมไมเปนคนคือเปน อยางอื่น ก็สามารถทําอยางที่วานั้นได ทานผูอานที่เคารพ ธรรมดาบุคคลผูสามารถ ทําประโยชนตนและประโยชนแกผูอื่นไดนั้น ควรเปน ผูมีจิต ใจสู ง มีจิ ต ใจกวา งขวาง สามารถตั้ ง ความ ปรารถนาหรืออธิษฐานจิตไดสูงกวาคนทั่วไป คือ สามารถอธิษฐานจิตไดประมาณวา ขออยาใหขาพเจา เป น คนคิ ด อะไรอย า งเลื่ อ นลอย นั่ ง นอนคอยแต


โชควาสนา โดยไม ล งมื อทํ า ความดี หรื อไมเ พีย ร ขอใหขาพเจาอยาคิดโกรธงาย ตางวาจะโกรธบาง พยายามสรางความกาวหนาใหแกตนเอง ถาขาพเจา ก็ขอใหมีสติรูตัวโดยเร็ววากําลังโกรธ จะไดสอนใจ จะได ดี มี สุ ข ก็ ข อให ไ ด เ พราะได ทํ า ความดี อ ย า ง ตัวเองใหบรรเทาความโกรธลง หรือถาหามความ สมเหตุ ส มผล ขออย า ให ข า พเจ า เป น คนลื ม ตั ว โกรธไมไดก็ขออยาใหถึงกับคิดประทุษรายผูอื่นหรือ ลืมตน ดูหมิ่นเหยียดหยามใคร ๆ ซึ่งอาจดอยกวา คิดอยากใหเขาถึงความพินาศ เพราะเพียงแคคิด ในทางตําแหนง ฐานะการเงิน หรือในทางวิชาความรู ก็บาป และขอใหขาพเจามีความรูความเขาใจและ ขอใหมีความเห็นอกเห็นใจคนอื่น ขออยาใหขาพเจา สอนใจตนเองไดเกี่ยวกับคําสอนของพระพุทธศาสนา เปนคนมักเหยียบย่ําซ้ําเติมคนอื่นเมื่อเขาพลาดพลั้ง ทั้ ง ทางโลกทางธรรม กล า วคื อ พระพุ ท ธศาสนา ขออยาใหขาพเจามีความอิจฉาริษยาคนอื่น ขออยาให สอนใหรูจักสรางความเจริญแกคนในทางโลก และ ขาพเจาเปนคนจูจี้ขี้บนเอาแตใจตนเอง ขออยาให สอนให ป ระพฤติ ป ฏิ บั ติ ย กระดั บ จิ ต ใจให สู ง ขึ้ น ข า พเจ า คิ ด เอาเปรี ย บใครทั้ ง ในทางส ว นตั ว และ ใหมีปญญาเขาใจปญหาแหงชีวิต เพื่อจะไดไมติด หนาที่การงาน เชน เถลไถลไมทํางาน รีบเลิกกอน ไม ยึ ด ถื อ มี จิ ต ใจเบาสบายอั น เป น ความเจริ ญ กํ า หนดเวลา ขอจงมี ค วามขยัน หมั่น เพี ย ร พอใจ ในทางธรรม ซึ่ง รวมความแลว สอนให เ ข า กั บ โลก ในการทํางานใหไดผลดีดวยความตั้งใจและเต็มใจ ไดดี ไมเปนภัยอันตรายแกใคร ๆ แตกลับเปนประโยชน เสมือนหนึ่งทํางานใหแกตนเองเพื่อประโยชนของ แก สั ง คมและประเทศชาติ แต ก็ ไ ดส อนไปในทาง ตนเอง ขออย า ให ข า พเจ า เป น คนมั ก ใหญ ใ ฝ สู ง ธรรมใหเขากับธรรมไดดี คือรูจักโลก รูเทาทันโลก อยากมีห นา มีตา อยากมี อํา นาจ อยากเปน ใหญ รู ขั ด เกลาอุ ป นิ สั ย ใจคอให ดี ขึ้ น กว า เดิ ม รวมทั้ ง เป น โต ขอให ใ ฝ ค วามสงบ มี ค วามเป น อยู อ ย า ง สามารถหาความสงบใจไดเอง และสามารถสอน พอเพียงตามแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จ สามารถแนะนําเพื่อนรวมชาติรวมโลก ใหไดประสบ พระเจ าอยูหั ว ขอใหขาพเจาหมั่นปลูกฝงความมี ความสุขสงบไดตามสมควร จิตเมตตาปรารถนาดีตอผูอื่น และมีความกรุณาคิด ท า นผู อ า นที่ เ คารพ ถึ ง ป ใ หม แ ล ว หาก จะชวยผูอื่นใหพนทุกขยากเดือดรอน ซึ่งพระพุทธเจา สามารถยกระดับ สามารถอธิษฐานจิต ทําประโยชน แนะนําใหปูพื้นจิตใจดวยเมตตากรุณาดังกลาวนี้ สวนตน ประโยชนเ พื่อสังคม และประเทศชาติได อยูเสมอ จนกระทั่งมีความรูสึกวา ไมมีใครเปนศัตรู นั บ ว า การขึ้ น ป ใ หม จ ะเปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต ของ ที่ จ ะต อ งคิ ด กํ า จั ด ตั ด รอนเขาให ถึ ง ความพิ น าศ แตละทานประสบแตความสุขความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป ธรรมชาติ เปนมงคลแกใจอยางไพศาล อธิษฐานใหดยี อ มมีผล อธิษฐานใจผิดนิจกาล เหมือนถูกมารครอบครองใจของตน สวัสดีปใหมทกุ ทานครับ


นายหวงใย าราเซตามอล เปนยาบรรเทาอาการปวด ที่ ใ ช กั น อย า งแพร ห ลาย เพราะการใช ย าชนิ ด นี้ ในการรั ก ษาตามปกติ ไมมี ผลข า งเคีย งเรื่อ งการ ระคายเคืองผิวหนังกระเพาะอาหารและการแข็งตัว ของเลือดอยางยาแอสไพริน อยางไรก็ตามการใชยา ก็ ต อ งใช ใ ห เ หมาะสมกั บ ปริ ม าณและโรคที่ เ ป น การที่ยาพาราเซตามอลสามารถหาซื้อไดงายโดย ไมตองมีใบสั่งยาจากแพทย ทําใหมีคนจํานวนมาก ใชย าชนิดนี้ กั น อย า งพร่ํ า เพรื่ อ ปริ มาณการใชใน แตละปจึงเพิ่มมากขึ้น คนสวนใหญเมื่อมีอาการปวด หรือเปนไข ไมวาจะเปนไขหวัด ปวดศีรษะ ปวดหลัง ปวดเมื่ อ ยกล า มเนื้ อ ฯลฯ ก็ กิ น พาราเซตามอล บางรายปวดทอง เวียนศีรษะ คลื่นไสอาเจียน ก็หวัง พึ่ ง แต ย าพาราเซตามอลโดยไม คิ ด ที่ จ ะแก ไ ขที่ สาเหตุ ข องการเกิ ด อาการดั ง กล า ว ทั้ ง ที่ จริ ง แล ว บางโรคหรือบางอาการ ยาพาราเซตามอลก็ไมสามารถ ชวยอะไรไดเลย บางคนกินยานี้จนเคยชินแลวไมยอม ไปหาหมอรั ก ษา ทํ า ให โ รคที่ เ ป น ลุ ก ลามออกไป จนตองเสียเงินรักษามากขึ้น ยาพาราเซตามอล มีคุณอเนกแตก็มีโทษ มหันตหากใชเกินความจําเปน หรือใชอยางตอเนื่อง

เปนระยะเวลานาน อันตรายจากการใชยาพาราเซตามอลที่ พ บได ม ากที่ สุ ด คื อ พิ ษ ต อ ตั บ ทํ า ให ตับวาย ซึ่งหากไดรับยาตานพิษไมทันเวลาก็จะทํา ใหเสียชีวิตได ดังนั้นทางที่ดีกอนกินยาอะไรจึงควร อานฉลากยาใหละเอียดเสียกอน และปฏิบัติตาม คํา แนะนํ า การใชย าอย า งเคร ง ครั ด หากไม แ น ใ จ ก็ควรปรึกษาเภสัชกรหรือแพทยกอนทุกครั้ง

มีขอควรระวังเพิ่มเติมก็คือ ไมควรกินพาราเซตามอลรวมกับเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล เชน เหลา ไวน รัม ยีน หรือเบียร เพราะปกติการที่รางกาย ไดรับแอลกอฮอลใ นปริมาณมากหรือตอเนื่อ งกัน นาน ๆ ก็เพิ่มโอกาสเสี่ยงที่จะทําใหเกิดภาวะตับแข็ง ตับวายได ยิ่งดื่มเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอลรวมกับ พาราเซตามอลก็ จ ะเท า กั บ เป น การเร ง ให ตั บ พั ง


เร็ว ยิ่ง ขึ้น นอกจากนี้ ยาพาราเซตามอลยัง ทํา ให เลื อ ดแข็ ง ตั ว ช า ลง หากร า งกายได รั บ ในปริ ม าณ มากอยางตอเนื่องเปนระยะเวลานาน ซึ่งเทากับไป เสริมฤทธิ์ของยาตานการแข็งตัวของเลือดจนทําให เลือดออกผิดปกติขึ้นได

ดั ง นั้ น จึ ง ควรใช ย าพาราเซตามอลเท า ที่ จําเปน และใชในขนาดการรักษาปกติ คือ ยาพาราเซตามอล ๑๐ มิลลิกรัมตอน้ําหนักตัว ๑ กิโลกรัม ธรรมชาติ

เชนคนที่มีน้ําหนัก ๕๐ กิโลกรัม ก็กินยาเม็ดขนาด ๕๐๐ มิ ลลิก รั ม ๑ เม็ ด ก็ เ พี ย งพอต อ การบรรเทา อาการปวด และหากไม มี อ าการแล ว ก็ ค วรหยุ ด กินยาทันที หรื อหากใช ยาติ ดต อกั นเปนระยะเวลา ประมาณ ๓–๔ วั น แล ว อาการไม ดี ขึ้ น ก็ ค วรไป พบแพทย เพื่อตรวจวินิจฉัย และรับการรักษาโดยตรง จะปลอดภัยกวา


Grandma

เชาวันนี้ผูเขียนมีโอกาสไดพูดคุยกับลูกสาว เรื่ อ งการแพทย ใ นประเทศเดนมาร ก เนื้ อ หาเป น เรื่ อ งที่ เ ธอพบมาเรี ย กว า จากประสบการณ ต รง ของเธอ ครั้งไดไปคลอดลูก ณ โรงพยาบาลในกรุง โคเปนเฮเกน เธอเลาวา “การดํารงชีพที่นี่ แมจะไดรับ อัตราเงินเดือนสูงมากกวาที่ไดรับในประเทศไทย ก็ตาม แตตองจายภาษีใหภาครัฐคอนขางสูง เกือบ ๔๐% เศษของรายได” ฉะนั้นเมื่อทุกคนเขารับการ รั ก ษาตั ว จะเป น คนไข ใ น หรื อ นอกก็ ต ามไม ต อ ง จ า ยเงิ น สั ก โครนเดี ย ว (krone คื อ หน ว ยเงิ น ของ ประเทศเดนมารก มีคาเทากับเงินไทย ๖ บาท) ที่นี่ มีโรงพยาบาลของรัฐมากมาย มีทั้งใกลตัวเมืองและ ไกลตัวเมืองออกไป สําหรับเธอแลวเธอเลือกโรงพยาบาล ที่คอ นขา งไกลตัว เมื อง เพราะโรงพยาบาลแหง นี้ อนุญาตใหสามีเฝาไขไดตลอด เรียกวาอยูดวยได ตลอดเวลาแม ใ นห อ งทํ า คลอด นี่ แ หละชี วิ ต อั น โดดเดี่ ย วของคนไทยในต า งแดน ยามเจ็ บ ป ว ย จะมองหาพอ แม พี่นอง ก็ไมพบหนาดังนั้นพบหนา สามีคนเดียวก็ยังดี เธอเดินทางไปและกลับจากบาน และโรงพยาบาลหลายครั้ง เพราะอาการเจ็บทอง ยั ง ไม ม ากและไม ถี่ ที่ ว า ต อ งรอให เ จ็ บ ถี่ นั่ น ก็ คื อ

ตองเจ็บทองทุก ๕ นาที แตลูกสาวเจ็บทองประมาณ ๑๐ นาที แพทย จึ ง ให ก ลั บ ไปนอนพั ก ที่ บ า นก อ น อาจเป น เพราะแพทย ต อ งการเก็ บ เตี ย งคนไข ไ ว ให กั บ ผู ที่ มี อ าการหนั ก ๆ ลู ก สาวผู เ ขี ย นเจ็ บ ท อ ง คอนขางนานเกือบ ๔๔ ชั่วโมง ในที่สุดเธอก็เจ็บทอง ถี่ ตามที่แพทย กําหนด ไดรีบกลับไปโรงพยาบาล เข า ห อ งคลอดหลั ง ทํ า กรรมวิ ธี แ ละขั้ น ตอนก อ น คลอดเรียบรอยแลว (ขอบอก ! สามีเธออยูใกลตัว และเห็นเหตุการณทุกขั้นตอนตลอด คิดวาโรงพยาบาล เอกชนในประเทศเราก็อนุญาตเชนนี้แลว) เธอบอก วาสามีเธอถายวิดีโอไวตลอด (ผูเขียนจะขอดูบาง แตเธอ said no คะ) เลยอดเลาสูทานผูอาน คิดวา ขั้นตอนก็คงไมตางจากการแพทยของไทย คือมีการ กรีดสดเพื่อชวยใหศีรษะเด็กโผลออกมาไดงาย แตก็ ยังใชเวลานานพอควรกวาลูกของเธอจะออกมารอง แว ..แว.... ดวยน้ําเสียงที่หนักแนน นั่นคือเสียงของ ทารกเพศชายน้ํ า หนั ก ตั ว ๓,๔๐๐ กรั ม ตั ว ยาว ๕๑ เซนติเมตร แพทยและพยาบาลชวยเด็ก ตาม ขั้นตอน สุดทา ยพอของทารกเปน ผูตัด สายสะดือ เด็กดวยตนเอง พยาบาลทําการเช็ดเลือด และไขมัน ตามตัว เด็ก ไม ไ ด นํา เด็ กไปลา งตัว เชน การแพทย


ของเรา ทารกแรกคลอดเมืองนี้ เนื้อตัวจึงเกรอะกรัง ไปดวยเลือดแหง (ผูเขียนดูจากภาพที่ลูกสาวสงให ทางอินเทอรเน็ต) ไมสะอาดหมดจด เหมือนทารก ที่คลอดในบานเมืองเรา ความเกงกาจของหลาน ผูเขียนก็คือสามารถไซหานมแม และดูดกินไดทันที ที่ พ ยาบาลนํ า ไปวางบนอกแม ไม ต อ งสอนเลย (โตขึ้นมีหวังแขงกินจุตามรายการทางทีวี ชนะแน ๆ ) แลวพยาบาลก็อุมวางบนอกพอ เพื่อรับไออุนจาก อกพอเชนกัน ขอกลับมาคิดเลน ๆ เรื่องไมนําเด็กไป ลา งตั ว คิด วา ดี แ ละปลอดภั ย ไปอี ก แบบหนึ่ ง คื อ เรื่องการสับเปลี่ยนตัวเด็กตองไมเกิดขึ้น เนื่องจาก พอและแมเด็กไดจดจําหนาลูกของตนเองไดแลว รวมทั้งอาจไดบันทึกภาพไวแลวดวย ปญหาทางการแพทยเกี่ยวกับการเลี้ยงดู ลูกนอย การแพทยของเมืองนั้นจะไมใหเด็กทารก ดื่ม น้ํา เปล า แม เ พี ย งหยดเดีย ว ชว ง ๑ – ๖ เดือ น ใหดื่มนมแมเทานั้น เรื่องนี้ผูเขียนรูสึกงงเคยเลี้ยง ลูกนอยมาหลังดื่มนมแมจะตองมีขวดน้ําเปลาให ลู ก เสมอถกเถี ย งกั บ ลู ก สาวอยู น าน เธอบอกว า “สว นผสมของนมจากเตา ของผู เ ปน แม มีน้ํ า ผสม เพียงพอตอเด็กแลว หากใหน้ําเปลาเด็กทารกเขา ไปอีก จะทําใหเด็กทารกดื่มนมจากเตาไดนอยลง จะขาดอาหาร” เฮอ.....นี่คือพัฒนาการทางการแพทย ของประเทศเขา อยากทราบวาการแพทยไทยเรา มีการหามเชนนี้หรือไมนะ กิ จ วั ต รทั่ ว ไปในวั น ที่ ไ ม ไ ด อ อกเที่ ย ว นอกเมื อ ง ส ว นมากใช เ วลาประกอบอาหารไทย อาหารสดและผั ก สดก็ จ ะจั บ จ า ยอยู แ ถว ๆ บ า น ยกเวนขาวสารหอมมะลิจากประเทศไทยตองไปซื้อ

จากตลาดไทย ระยะทางไกลจากที่พัก ใชเวลาเดิน ไป – กลับ ชั่วโมงเศษ ผูเขียนมีโอกาสไดไปรานนั้น สองครั้งเพื่อซื้อขาวและผักที่สงมาจากไทย ขาวถุงละ ๗๖ kr. ประมาณ ๕ กิ โ ลกรั ม ผั ก คะนา ประมาณ ๒ ขีด กําละ ๑๔ kr. มะละกอผลเล็ก ๓๒ kr. ซึ่งถา เราซื้อภายในประเทศเราก็ราคา ๑๒ บาท ของตาง ๆ แพงเป น ๔ – ๕ เท า ของบ า นเรา ด ว ยเหตุ นี้ เ อง ชาวตางชาติที่ไดมาทองเที่ยวในประเทศไทย จึงมัก มาขนเสื้ อ ผ า ข า วของใช ก ลั บ ไป เรื่ อ งนี้ ผู เ ขี ย น สามารถยืนยันได โดยเห็นดวยตาของตนเอง ในวัน นั่งรอเครื่องที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ มีแหมมสาว และกลางคนรวม ๓ คน หอบถุงสิ่งของตาง ๆ หลายถุง ที่มีชื่อหางของไทย ที่เห็นไดชัดคือ กระเปาเดินทาง ใบใหญ ซึ่งยังใสอยูในถุงพลาสติกใบใหญคนละใบ เธอทั้ ง ๓ คนเดิ น ผ า นเราสองคนไปไม ไ กลนั ก ก็ พ ร อ มใจกั น หาที่ ห ลบแล ว นั่ ง ลงบนพื้ น แกะห อ กระเปาเดินทางแลวเปดกางออก หยิบเสื้อผาจาก ถุ ง ใส ล งในกระเป า พร อ มทั้ ง ของชิ้ น เล็ ก ชิ้ น น อ ย จนเต็ม ขณะที่นั่งมองดูเธอทั้ง ๓ คนจัดบรรจุกระเปา อดนึกชมความฉลาดของเธอไมไดที่เที่ยวมาไมตอง ขนของอะไรมามากเหมือนเรา มุงหมายมาหาเอา ข า งหน า ที่ นั บ ว า ได ข องมี คุ ณ ภาพ และราคาถู ก เราทราบมาแล ว ว า ข า วของ ๆ เมื อ งนี้ ร าคาแพง หากเราทําตามแหมมเหลานั้น เห็นทีที่เราจะตอง สวมเสื้อผาเทา ที่นํา ไปไมกี่ชุด เพราะตัดใจซื้อที่ นี่ ไม ไ ด ขนาดเสื้ อผ า ที่นํ า ออกมาลดราคาแลว ยั ง มี ราคา ๓๐๐ kr. เขาไปดูเสื้อผาและฝมือการตัดเย็บ แลวปรากฏวาสูของบานเราไมได สรุปได วา “เรา โชคดี แ ล ว ที่ ไ ด เ กิ ด ในแผ น ดิ น ไทย มี อ ะไรดี ก ว า


ชาติอื่นมากมาย ที่สําคัญที่สุดมีองคพระมหากษัตริย ที่ทรงรักประชากรของพระองคมากกวาพระชนมชีพ ของพระองค ทรงตรากตรํ า ทรงงานไม ท รงห ว ง เรื่องพระสุขภาพและความปลอดภัย ทรงทําเชนนี้ นานเทานานจนกระทั่งพระองคสูไมไหวแลว“ และ ในที่สุดพระองคตองประทับอยูในโรงพยาบาลแทน พระราชวั ง แต สิ่ ง ที่ พ ระองค ท า นทรงได รั บ อยู ใ น ขณะนี้คือความทุก ข ท างพระวรกาย และพระทัย อยางตอเนื่องจากพวกเราบางพวกและบางสี นี่คือ การตอบแทนพระคุณของพระองคทานและแผนดิน ไทยของเราแล ว หรื อ ? ผู เ ขี ย นคิ ด ว า “ยั ง ไม ส าย เกินไป ที่เราตางพวกตางสีจะกลับตัวกลับใจมารวม เปนหนึ่งเดียวกันตลอดไปดวยจิตสํานึกเยี่ยงลูกที่มี ความกตัญูกตเวทีตอพอหลวงของเราเสียที“ ความสุ ข ของคนวั ย ปู ย า ตา และยาย กิจกรรมที่เราตองทําแทบไมมีวันจะละเวนก็คือการ ไดเลนและดูแลหลานชายตัวนอย เราพบวาแตละ อาทิตยเขาจะมีพัฒนาการที่แปลกใหมตลอดเวลา จนแทบจะไมนาเชื่อวาเด็กวัย ๕ เดือน ปจจุบันนี้ จะรูอะไรไดมากเกินอายุ เชน เมื่ อเขาเห็ นคุ ณตา และคุณยายในตอนเชาเขาจะยิ้มรับเราดวยความ ดี ใ จ ขยั บ มื อ และเท า ไหว ๆ คล า ยจะบอกเราว า “อุมหลานหนอยซี“ ไมเชื่อก็ตองเชื่อเพราะเมื่อเรา อุมเขา ๆ จะมีความสุข บางครั้งก็ซบที่ไหลเรา บางครั้ง พยายามสายหนาไปมาดวยการจูบไซคุณตาและ คุณยาย อาการเชนนี้เขาจะทํากับคุณยายบอยครั้ง มากกวาคุณตา ( จริง ๆ นะคะไมใชเขาขางตนเอง) จนลูกสาวแอบบอกแมวา “Hunter รักคุณยาย มากกวาคุณตาแนเลย “เขาชื่อฮั้นเตอรคะ แปลเปน

ภาษาไทยก็คือผูลา แตคุณยายไดเพิ่มเปน Success Hunter ซึ่งหมายความวาผูลาความสําเร็จทุกอยาง ที่ขวางหนา คนโบราณเชื่อวาถาพูดสิ่งดี ๆ ไว ก็จะ เปนมงคลแกลูก หลาน คุณยายเลยไดถือโอกาสให พรหลานชายเสียเลย เพลงกล อ มเด็ ก และการเล น ของเด็ ก ไทย ผู เ ขี ย นเคยได ยิ น มาบ า งแล ว ยั ง ชื่ น ชมเนื้ อ หาที่ สนุกสนานของเพลงเหลานั้น ยอมรับวาตนเองได เลี้ยงดูลูกสาวสองคนไมมากนักเนื่องจากตองออก ทํ า งานนอกบ า น มี คุ ณ ยายดู แ ลหลาน ๆ ให เ อง เพลงที่คุนเคยเห็นจะเปนเพลงนกขมิ้นเหลืองออน จึงพยายามทบทวนเนื้อรองใชกลอมหลานที่อยูใน ออมกอดที่ตองโยกแขนไปมา รอ งเพลงนี้ ก ลับไป กลั บ มาอยู ห ลายครั้ ง โชคดี ที่ เ ขาหลั บ ได เ ร็ ว เกิ น คาดคิ ด จึ ง นํ า ไปวางบนเตี ย งอย า งแผ ว เบาที่ สุ ด มิ ใ ช ว า กลั ว หลานจะเจ็ บ เนื้ อ ตั ว หรอก แต ก ลั ว ว า เขาจะลืมตาตื่นขึ้นมา นั่นก็หมายถึงจะตองกลอม ตอไปอีก ครั้งนี้หลานคงไมยอมหลับตาแน เพราะ เมื่อเพลงกลอมนี้แลวก็ได

ความเชื่ อ ของการแพทย ข องประเทศนี้ เขาเชื่ อ และยื น ยัน ตามหลัก วิ ชาว า “ขณะที่ ท ารก หลั บ สมองของเขาจะพั ฒ นาการได ม ากและดี เด็กจะฉลาด ไมงอแง เมื่อโตขึ้นจะเปนเด็กอารมณดี


มีเหตุผล“ ดวยความเชื่อตามหลักของแพทยนี้เมื่อ Hunter นอนหลับทุกคนตองพูดคุยกันแทบจะเปน เสียงกระซิบ หูของเขาไวตอการรับเสียงมาก สามี ของผู เ ขี ย นเป น คนพู ด เสี ย งดั ง อยู แ ล ว เขาจึ ง มั ก กลั บ ไปที่ พั ก ของเขา ด ว ยเกรงว า จะทํ า ให ห ลาน ตื่นนอนเร็ว กลับไปไมกลับเปลา หันมากระซิบเชิง นินทาลูกสาววา “อะไร ว... เลี้ยงลูกกันอยางไรนะ สมัยนี้กลัวลูกกันตั้งแตลูกยังเล็กเลย“ นี่แหละนิสัย ของทหารชาย ที่ผิดกับนิสัยของเราชาวทหารหญิง ที่มีความอดทน ยืดหยุนไดดีกวาทุกสถานการณ การจัดงานวันคลายวันเกิดของลูกสาวและ หลานชาย วันนั้นยางเขาเปนอาทิตยที่สองของการ อยูในตางแดน ธรรมเนียมการจัดงานคลายวันเกิด เมื่ออายุครบ ๓๐ ป ถือวาชวงอายุนี้เปนชวงที่สําคัญ มาก ผูเขียนเองคิดวาเปนชวงอายุที่คนผูนั้นกําลัง เป น วั ย ทํ า งาน เป น ช ว งที่ เ ติ บ โตและก า วหน า ใน หน า ที่ ก ารงาน ลู ก สาวตั้ ง ใจนิ ม นต พ ระสงฆ ไ ทย ณ วัดที่นั่น มาทํา พิ ธี ท างสงฆ ปรากฏว าไมมีพ ระ ที่วางกิจสักองคเดียวโดยปกติพระสงฆก็มีไมกี่องค ลูกสาวจึงบอกใหพอของเธอเตรียมบทสวดทําพิธีนี้ ให ทั้ งลู กและหลานชาย ก็ ดี นะ เพราะพ อก็ เปรี ยบ เสมือนพระของลูกอยูแลว ฝายพอก็ไมใหเสียชื่อทีไ่ ด เคยบวชเรียนมาแลว หลังรับปากรับคํากับลูกสาว แลว กอนถึงวันจัดงาน ๓ วัน ก็สวดคาถาตาง ๆ ทํา น้ํามนต เรียกวาสวดกันทั้ง ๓ วันและ ๓ คืนก็วาได เพื่อใหเกิดความศักดิ์สิทธิ์ งานนี้จัดที่บานพอและ แม ข องสามี อยู ไ ม ไ กลกั น มากนั ก ถ า เดิ น ไปก็ ใ ช เวลา ๑๕ นาที การเดินไปไหนมาไหนของคนที่นี่ถือ เปนเรื่องปกติ มีรถยนตตองจอดไว เพราะกลัววา

ถาขับออกไปแลว เมื่อกลับมาจะไมมีที่วางใหจอด หากนํ า รถไปจอดไกลบริ เ วณที่ พั ก ของตนจะต อ ง จายเงินใหแกรัฐเปนรอย ๆ บาทตอวัน โดยหยอด เหรียญในเครื่องอัตโนมัติ (Slot machine) ที่ตั้งอยู บนถนนแทบทุ ก ที่ สํ า หรั บ การตกแต ง สถานที่ หนาบานที่จัดงานประดับทั้งธงชาติไทยและธงชาติ เดนมารก ภายในบานประดับดวยแจกันและกระถาง ดอกไม ล ว นสี เ หลื อ งสดใส หน า โต ะ พระพุ ท ธรู ป ปูดวยผาสีเหลือง มีพระพุทธรูปที่ลูกสาวอัญเชิ ญ จากที่พักของเธอไปประดิษฐานอยูทําใหบรรยากาศ นั้ น ดู เ ป น พิ ธี ก ารทางศาสนาของเรามากยิ่ ง ขึ้ น จะขาดก็แตองคพระสงฆเทานั้น แขกเหรื่อเริ่มทยอย มาบางแลว เจาภาพคงรับรองดวยเครื่องดื่ม และ ของขบเคี้ยวไปพลาง ๆ กอนเมื่อถึงเวลาที่กําหนด พิธีก็เริ่มขึ้นดวยการสวดนะโม ตัสสะ..... ๓ จบแลว สวดบูชาพระรัตนตรัย ตามดวย อิติ ปโส ........และ คาถาชิ น ะบั ญ ชร เฉพาะสวด นะโม ตั ส สะ นั้ น ลู ก เขยและคุ ณ แม ข องเขาสามารถสวดเองได เนื่องจากเขาสนใจในศาสนาของเรานานแลวการ สวดจบลงคราวนี้ ก็ ถึ ง พิ ธี ป ระพรมน้ํ า มนต ทํ า ให หลานชายรองลั่นเมื่อคุณตาพรมน้ํามนตบนศีรษะ คงจะรูสึกเย็นหรือตกใจ คนไทยทั้งลูกเด็กเล็กแดง ตางพากันมาขอประพรมน้ํามนตกันถวนหนา ดูเปน ภาพที่นาประทับใจ จําลองวิถีชีวิตของคนไทยใน ต า งแดนที่ ยั ง คงยึ ด มั่ น พุ ท ธศาสนาไว ใ นจิ ต ใจ ไม เ สื่ อ มคลาย ครั้ น ถึ ง เวลาเป ด ตั ว อาหารไทยซึ่ ง ลูกสาวไดสั่งทําจากรานอาหารไทย ณ กรุงเฮเกนนี้ รายการอาหารมี พะแนงหมู แกงแดงไก ผัดเปรี้ยวหวาน และ ปกไกหมักแลวทอด จํานวนอาหารพอกับแขก


๕๐ คน ตกคนละ ๑,๐๐๐ บาท สําหรับอาหารหวาน สามีของลูกสาวทําเคกกอนโตดวยตนเอง ตัดแจก แขกพรอมชาและกาแฟ ตลอดจนเครื่องดื่มอัดลม ครบ ธรรมเนียมการแกะหอของขวัญตอหนาแขก หลังจากทุกคนอิ่มหนําสําราญแลว ก็ถึงชวงที่ตอง เปดหอของขวัญที่แขกแตละคนนํามามอบใหงานนี้ ดูเหมือนวาแขกถือของขวัญมาคนละ ๒ ชิ้น สําหรับ ผู เ ป น แม แ ละคุ ณ ลู ก ชาย (อาจมี สิ ท ธิ์ ทํ า ให แ ขก กระเปาเบาลงไดมาก) นี่ก็ผิดจากธรรมเนียมไทย ของเรา ๆ จะเปดดูไดก็ตองลับหลังผูให แตนี่เลน เปดดูกันตอหนาผูให หากใหของไมสูดีนักผูใหอาจ รู สึ ก อายก็ ไ ด แต ที่ นี่ แ ขกสนุ ก สนานลุ น การเป ด กลองของขวั ญ เพราะจะได ยิน เสียงเฮ กัน ตลอด ยอมรับวาของขวัญของเมืองนั้นแมเราเห็นเปนของ ชิ้นเล็ก ๆ แตราคาไมไดเล็กนอยดวยนะ คราวนี้มาถึง การเปดของขวัญของเราสองคน ไดยินกองเชียรรอง วาว ! มองไปเห็นลูกสาวหยิบกําไลทองหนัก ๑ บาท ใสขอมือตนเอง และสรอยคอทองคําหนักสองสลึง มี พ ระเลี่ย มทององค เ ล็ ก น า รั ก หอ ยติ ด อยู ส วมให ลูกเธอ อีกเสนหนึ่งเปนของที่พี่สาวเธอ คุณปาเด็ก ฝากใหหลานชายในฐานะที่เปนคุณยายเล็ก สามี ผูเขียนใหสรอยขอมือลูกสาว ๑ เสน หลานชายได ไม ม งคลคื อ ต น พุ ด คงตั้ ง ใจเอาคํ า พ อ งเสี ย งของ พระพุทธ ซึ่งมีความหมายดี คือคุมครองใหเติบโต เป น คนดี ข องสั ง คม (นั บ ว า เข า ใจหาของดี ล้ํ า ค า ราคาไมตองแพง) งานวันนั้นผานไปดวยดี เริ่มตนการทัวรยอย ๆ ทั้งในและนอกกรุง โคเปนเฮเกน กอนอื่นตองขอชมรัฐบาลวาเขาหวงใย

ตอสุขภาพของประชาชนเขามาก ดูจากการสราง สวนสาธารณะมากมายที่เต็มไปดวยไมดอกสดสวย ธรรม

แม ช ว งนี้ จ ะมี ไ ม ด อกให เ ห็ น ไม ม ากนั ก เพราะเพิ่ ง ยางเขาสูฤดูใบไมผลิ สวนเหลานี้ตั้งอยูในใจกลาง เมื อ ง มองจากภายนอกคิ ด ว า ไม ก ว า งใหญ และ สวยงามเทาใดนัก แตที่ไหนไดเมื่อมีโอกาสเขาไปเดิน เนื้อที่กวางขวางมาก ขุดเปนทะเลสาบปลูกไมดอก หลากสีม ากมายสดสวยบนเนิน หิ น ที่ ตกแต ง ด ว ย กอนหิน อากาศก็เย็นสดชื่นผูคนของเมืองนี้สนใจตอ สุขภาพจะพากันแวะเวียนเขาไปเที่ยวเลน บางกลุม ที่ เ ข็ น รถเด็ ก มาก็ ม ารวมกั น เป น จุ ด นั่ ง คุ ย และ สั ง สรรค กั น พร อ มทั้ ง คุ ณ แม แ ละคุ ณ ลู ก ๆ ช า งมี ความสุขจริง ๆ เรื่องนี้แตกตางจากบานเมืองของเรา ภายในเมื อ งของเราจะเน น สร า งศู น ย ก ารค า ตึกอาคารตาง ๆ นาน ๆ จะพบเห็นสวนสาธารณะ สักแหงหนึ่ง ประชากรของเขาทั้งประเทศมีประมาณ ๕ ลานคนเศษ แตรัฐไดสรางสวนดังกลาวไวมากมาย นับวาเขาใหความสําคัญเรื่องสุขภาพของประชากร เป น หลั ก ทางด า นประชากรก็ ล ว นมี วิ นั ย และ จิตสํานึกดี ๆ จะไมคอยเห็นเศษขยะที่กองทิ้งหรือ ตกเรี่ ย ราดในสวนเหล า นี้ อั น จะนํ า ไปสู ก ารเกิ ด มลพิ ษ ของอากาศ คุ ย ถึ ง ตรงนี้ ผู เ ขี ย นอยากจะ


ชื่นชมประชากรของเขาอีกเรื่องหนึ่งคือ หากจะไม ใชวิธีการเดินทางดวยเทาทั้งสองอีกวิธีคือ การใช รถจักรยานเปนพาหนะประจําวัน ดวยเหตุนี้ภาครัฐ จึงไดสรางชองทางของรถจักรยานยาวถึง ๕,๐๐๐ กิโลเมตร ไวอํานวยความสะดวกใหประชากรเรียกวา ช ว ยรั ก ษาโรคแล ว ยั ง ช ว ยให ป ระชากรของเขามี สุขภาพแข็งแรงดวย สิ่งสุดทายก็คือการพยายาม ลดถุงพลาสติกใหนอยลง ตามหางรานตาง ๆ จะ เรียกเก็บเงินคาถุงใสขาวของที่คุณจับจายตางหาก ใบละ ๓ Kr หากคุณไมตองการเสียเงินจํานวนนี้ คุณตองนําถุงผา ถุงพลาสติกของคุณเตรียมไปเอง ผูเขียนเองเสียเงินเรื่องนี้ไปครั้งเดียว ตอไปเตรียม พกพาถุงไวในกระเปาถือตลอด นับเปนวิธีการที่จะ ลดขยะที่มาจากถุงพลาสติ กไดมากทีเดียวแหละ เรื่องนี้ไดยินวาไทยเรากําลังจะเริ่มทดลอง ใชโดย การจายคาถุงใสของนี้บางสวนโดยเริ่มตนประมาณ เดือน มิ.ย. นี้ถุงละ ๑ บาท โดยความรวมมือของ ธรรม

รานคาที่เขารวมโครงการรักษโลกไมกี่แหง สิ่งดี ๆ แบบนี้เราควรรวมสนับสนุนและปฏิบัติตามกันอยาง จริ ง จั ง มิ ฉ ะนั้ น อี ก ไม น านนั ก เมื่ อ เป น ฤดู ร อ น อุณหภูมิจะสูงถึง ๔๐–๕๐ oC ไมรวมถึงเรื่องน้ําทวม แผ น ดิ น ไหวหรื อ ยุ บ ตั ว หรื อ แม ก ระทั่ ง เหตุ ก ารณ รายแรงทางธรรมชาติไดเกิดกับประเทศทางยุโรป เมื่อไมนานนี้ก็คือ ภูเขาไฟระเบิดพนเถาถานออกมา ทําลายชั้นบรรยากาศ เปนอุปสรรคตัวฉกาจของการ บิ นทุ กสายการบิ นที่ เกี่ ยวข อง ท านผู อ านคงเครี ยด พอควรแลวพบกันฉบับหนาดีกวานะคะ สวัสดีคะ

ปาตุก รวบรวม ปจจุบัน มีผูปวดหัวไมเกรนเพิ่มมากขึ้น ตามสภาพเศรษฐกิจปจจุบัน รวมถึงความรีบเรง ในการดําเนินชีวิตในเมืองใหญ ทําอยางไรจึงจะบรรเทาอาการไมเกรนได แพทยชาวไตหวัน แนะวิธีงาย ๆ เพื่อชวยผูปวยไมเกรน ดวยการดื่มน้ําเชอรรี่ ซึ่งมีวิธีทํา แสนงาย ดังนี้ ลางเชอรรี่ ๒๕๐ กรัม ใหสะอาด ผาเมล็ดออก จากนั้นนําไปปนในเครื่องปนน้ําผลไม เทใสแกว ดื่มทันที ควรดื่มวันละ ๑-๒ ครั้ง เปนประจํา สารเควอรเซตินในเชอรรี่ จะชวยลดหรือยับยั้งการสรางสารพรอสตาแกรนดิน ซึ่งเปน ตัวการทําใหรางกายเกิดอาการปวด เมื่อขจัดปญหานี้ไดแลว อาการปวดศีรษะก็จะทุเลาลง


บางแค

จากอาหารรอยแปดพั นเก าที่ มีประโยชน นั้ น เราอาจจะไม ต อ งรั บ ประทานหมดก็ ไ ด แต มี อาหารอยู ๑๐ อยาง ที่ถือวาเปนทอปเท็นของอาหาร เพื่อความงามและสุขภาพที่เราควรจะรับประทาน เปนประจํา ไดแก ๑. สารพั ด ถั่ ว และเมล็ ด ไม ว า จะเป น ถั่ ว ลิ ส ง หรื อ ว า จะเป น เมล็ ด ดอกทานตะวั น ก็ มี ประโยชนติดอันดับดวยกันทั้งสิ้น

๒. มะเขื อ เทศ สารสี แ ดงในมะเขื อ เทศ หรื อ ไลโคพี น นั้ น มี ป ร ะ โ ย ช น ต อ ร า ง ก า ย เ ป น อยางมาก ไมวาจะ เป น การบํ ารุ งผิ ว บํารุงสมอง หรือวา จะเปนการบํารุงสายตาใหสวยและใชงานไดดี

๓. ถั่วเหลืองและเตาหู ถั่วที่เปนสุดยอด อย า งหนึ่ ง และเรา ไม สามารถจะขาดได ก็ คื อถั่ วเหลื อง ซึ่ ง นอกจากถั่วเหลืองแบบ เม็ด ๆ แลว ถั่วเหลือง แปรรูปอยางเตาหู หรือ น้ําเตาหูก็ไดประโยชน ไม แพ กั น ซึ่ ง ประโยชน ที่ สํ า คั ญ ก็ คื อ ช ว ยป อ งกั น มะเร็ ง บํ า รุ ง ผิ ว พรรณ และลดคอเลสเตอรอลใน เสนเลือด ๔. ธั ญ พื ช ขอเน น ย้ํ า ว า เป น ธั ญ พื ช แบบ ไมขัดสี จะใหประโยชนคือมีทั้งแรธาตุและวิตามิน อยูมากทีเดียว ๕. สมและผลไมรสเปรี้ยว มีวิตามินซีสูง ชวยตานอนุมูลอิสระที่ทรงประสิทธิภาพเปนอยางยิ่ง


๖. ผักและผลไมสีเหลืองและสีสม ไมวา จะเปนแครอท หรือวาจะเปนฟกทอง ก็ขาดไมได เชนกัน ๗. ผั ก ตระกู ล กะหล่ํ า ไม ว า จะเป น กะหล่ํ า ปลี หรื อ ว า จะเป น บร็ อ กโคลี รั บ ประทาน แลวดีจริง ๆ

๙. น้ําเปลา ไมวาน้ําอื่น ๆ จะอรอยแคไหน แตน้ําเปลาเปนน้ําที่มีประโยชนและขาดไมไดเลย ทีเดียว ๑๐. ตระกู ล เบอรรี่ ไม ว า จะเปน สตรอว เบอรรี่ ราสเบอรรี่ หรือวาจะเปนบลูเบอรรี่ ก็ตางมีใย อาหารและมีสารตานอนุมูลอิสระมากมาย

๘. แอปเปลเขียว ผลไมสําคัญที่ชวยตาน มะเร็ง ขับสารพิ ษ รวมไปถึงชวยลดความอวนได เปนอยางดี อาหารทั้ง ๑๐ อยางนี้ เราควรรับประทานเปนประจํา เนื่องจากใหคุณคาทางอาหารที่มี ประโยชนมากมายตอรางกายของเรา

นอกจากอาหารประเภทตาง ๆ ที่เราควรจะรับประทานแลว ก็มีอาหารในลักษณะอื่น ๆ ที่เราไมควรรั บประทาน ซึ่ ง หากว าเราไมเ ชื่อแลว รับประทานเข าไป ก็จ ะสง ผลต อร างกายและ ความงาม อาหารเหลานี้ ไดแก


๑. อาหารประเภทปงยาง อาหารประเภท ป ง ย า งแม ว า จะมี ก ลิ่ น ควั น กลิ่ น ถ า นที่ ทํ า ให เ รา เจริญอาหารมากขึ้นแลว ก็ยังพวงเอาความไหมเกรียม ซึ่งเปนสารที่กอใหเกิดมะเร็งอีกดวย ยิ่งเปนอาหาร ที่เกรียมดําแคไหน ก็เปนอันตรายตอสุขภาพและ ความงามของเรามากขึ้นเทานั้น

๒. อาหารที่มีสวนประกอบของดินประสิว หากว า พู ด อย า งนี้ หลายคนคงจะสาย หั ว ว า ไ ม เ ค ย ไม เ คยกิ น แต ห าก วาพูดถึงอาหารที่มี ส ว นประกอบของ ดินประสิว หลายคน ก็ ค งจะบ น ว า เศร า เพราะเป น อาหารโปรด ก็ คื อ ไสกรอก กุนเชียง แหนม หมูแฮม เปนตน

๓. อาหารที่ไมสะอาด แนนอนวาอาหารที่ ไมสะอาดนั้นทําใหเราเจ็บปวย ที่เหนือไปกวานั้น อาจจะสะสมในร า งกายของเรา ทํ า ให เ กิ ด โรค รายแรงขึ้นได ๔. อาหารรสจัด อาหารที่รสจัดนั้น อาจจะ ทําใหความอรอยและจัดจาน การรับประทานอาหาร รสจัดนาน ๆ ครั้งก็ไมเทาไร แตหากวารับประทาน เปนประจํา คงไมดีแน โดยเฉพาะอาหารที่เ ค็ม จัด และหวานจัด เพราะนอกจากจะทําใหอวนแลว ยังมี ผลเสียตอสุขภาพอีกดวย

๕. อาหารดิบ ๆ สุก ๆ เราควรจะรับประทาน แตอาหารที่ปรุงสุกเทานั้น เพราะอาหารดิบ ๆ สุก ๆ จะทําใหเกิดโรคมากมาย โดยเฉพาะพยาธินั่นเอง Æ นอกจากอาหารทั้ง ๕ แบบนี้แลว ก็ยัง จะมีอาหารอื่น ๆ ที่ไมควรจะรับประทาน เพราะหาก วารับประทานแลวจะทําลายสุขภาพ ซึ่งจะขอกลาว ในโอกาสตอไป


ชัยพฤกษ ชองาม นนอ.ภูวนาท ละครวงษ นนอ.ชั้นปที่ ๓ สาขาวิศวกรรมอากาศยาน โรงเรียนนายเรืออากาศ ควารางวัลชมเชย จากการประกวดสุนทรพจน ถวายงานผ า นภาษา ตามรอยพระยุ ค ลบาท ช ว ยชาติ อ ย า งไร การประกวดสุ น ทรพจน อุดมศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ ๑๑ ชิงถวย พระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รอบชิง ชนะเลิศ ในหัวขอ “กวา ๖๐ป ครองราชย ไทยทั้งชาติ ถวายไท ดวยการรวมใจสมานฉันท" เมื่อวันที่ ๖ พ.ย.๕๓ จั ด โดยสมาคมศิ ษ ย เ ก า จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมถ นนอ.ภูวนาท ละครวงษกลาวถึงความรูสึก วา การประกวดสุนทรพจนเฉลิมพระเกียรติครั้งที่ ๑๑ นี้ ทําใหกระผมในฐานะทหารรักษาพระองคภาคภูมิใจ เป น อย า งยิ่ ง ที่ ไ ด มี โ อกาสเข า ร ว มเป น ส ว นหนึ่ ง ในการทํ า กิ จ กรรมเพราะนอกจากจะได แ ข ง ขั น และแสดงออกทางด า นทั ก ษะการพู ด ซึ่ ง เป น คุณลักษณะของผูนําแลวยังเปนการประกวดที่ทําให ผูเขาประกวดไดมีโอกาสในการแสดงออกซึ่งความ จงรั ก ภั ก ดี ต อ องค พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว

ดวยการ “ถวายงานผานภาษา” และเปนการสงเสริม ใหเ ยาวชนไทย ไดใช ภาษาไทยใหถูก ตอ งรวมทั้ ง รวมกันอนุรักษภาษาไทยใหยั่งยืนไวบนผืนแผนดิน ไทยของเราอีกดวย เนื่องดวยหัวขอในการประกวด คือ “ตามรอยพระยุคลบาท ชวยชาติไดอยางไร” ทําใหผมตองหาขอมูลสําหรับการพูดดวยการศึกษา เรื่องราวตาง ๆ เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทั้งดาน พระราชประวัติ, พระราชกรณียกิจ, โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ, พระบรมราโชวาท, พระราชดํารัสและพระราชจริยวัตรอันงดงามของ พระองคทานยิ่งทําใหรูสึกซาบซึ้งในพระราชหฤทัยที่ พระองค ท รงห ว งใย สนพระทั ย ในทุ ก ข ข อง ปวงประชาและทรงมองเห็นพสกนิกรทั่วทั้งแผนดิน ไม ว า อยู แ ห ง หนตํ า บลใด แม ที่ ห า งไกลในถิ่ น ทุรกันดาร เปรียบดั่งวา “ทุกขของปวงประชา คือ ทุกขของพระองคเอง” หากเราเปนคนไทยที่มี หั ว ใจมั่ น ภั ก ดี แ ล ว ก็ อ ยากจะให เ ราเดิ น ตามรอย ทางที่พอสรางไว เพราะนั่นเปนดั่งคําสอนใหเราไดรู ถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ที่ มี ค วามสุ ข และดํ า รงไว ซึ่ ง ความเป น ปกแผนของชาติไทยเรา


การเข า ร ว มประกวดในฐานะตั ว แทน โรงเรี ย นนายเรื อ อากาศแล ว ได รั บ รางวั ล ชมเชย ในครั้งนี้ก็เปนการแสดงใหคนอื่น ๆ ไดยอมรับและ มองเห็นถึงศักยภาพของเราเหลาทัพฟาที่กาวเขาสู เวที ร ะดั บ ประเทศอย า งสง า งามและสมเกี ย รติ ทหารอากาศผู พิ ทั ก ษ รั ก ษาน า นฟ า ไทยอี ก ด ว ย ซึ่งการออกไปประกวดในครั้งนี้ กระผมขอขอบพระคุณ ผูบังคับบัญชาในทุกระดับชั้นที่ไดใหการอนุญาต และสนับสนุนเปนอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่งทาน ผบ.รร.นอ.ที่ไดใหการสนับสนุนในทุกดาน ตั้งแต วั น ฝ ก ซ อ มจนถึ ง วิ น าที สุ ด ท า ยในวั น ประกวด ขอบคุณ ผูบังคับบัญชา ในกรม นนอ.รอ.ฯ ขอบคุณ คณาจารย กกศ. ทุกทานในดานความรูและกําลังใจ ธรรม

ดี ๆ ที่มอบใหกระผม, โดยเฉพาะอาจารย กวมส. ทุกทาน ขอบคุณความทุมเทจาก อาจารยดุลยการณฯ อาจารยบาจารียฯ ผูฝกสอน ขอบคุณ ครูพลอยฯ ที่สอน การออกเสียง ขอบคุณคําแนะนําจาก อาจารยทศั นียฯ พี่ปู และพี่บูม(ร.ต.ณัฐนัย จันทรเปลง แชมปเกา) ที่ สํ า คั ญ ขอบคุ ณ แรงเชี ย ร จ ากพี่ นนอ.ชั้ น ๔ เพื่อนชั้น ๓ ขอบใจนองชั้น ๒ ชั้น ๑ ที่สงแรงใจให มาดวย ผมขอประกาศดัง ๆ วาขอบคุณ บุคลากร ทุกคน ขออภัยสําหรับทานที่ไมไดเอยนาม เพราะ จริง ๆ แลวก็คือทุกสวนใน รร.นอ. นั่นเอง จากจุดเริ่มตน ในส ว นเล็ ก ๆ ทุ ก จุ ด ก็ ก ลายเป น พลั ง อั น ยิ่ ง ใหญ ผองเรา “เรืออากาศ”


กบข. ปู ค วามรู พื้ น ฐานการลงทุ น ให ส มาชิ ก ก อ นเป ด ให เ ลื อ กแผนการลงทุ น (Member Investment Choice) พรอมแนะสมาชิก ดาวน โ หลดข อ มู ล แผนการลงทุ น ที่ เ ว็ บ ไซต กบข. www.gpf.or.th นางสาวโสภาวดี เลิศมนัสชัย เลขาธิการ คณะกรรมการการลงทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (กบข.) เป ด เผยว า หลั ง จากที่ กบข. ได ร ณรงค ประชาสัมพันธใหความรูพื้นฐานการลงทุนในหลาย มิ ติ อาทิ การลงทุ น กั บ ความเสี่ ย ง โอกาสร า ง ผลตอบแทนของหลักทรัพยประเภทตาง ๆ แนวคิด ในการวิเคราะหตนเองกอนตัดสินใจลงทุน เปนตน กบข. ก็ เ ชื่ อ ว า สมาชิ ก กบข. ที่ ติ ด ตามข อ มู ล ประชาสัมพันธนี้ ไดสะสมความรูพื้นฐานเพียงพอ ในระดับหนึ่ง กบข. ขอเชิ ญ ชวนสมาชิ ก ที่ส นใจเปลี่ ย น แผนลงทุ น จากแผนป จ จุ บั น ที่ กบข. ดํ า เนิ น การ ใหเปนแผนที่มีความเสี่ยงต่ํากวาหรือมากกวา โดย สมาชิกสามารถดาวนโหลดขอมูลแผนการลงทุน จากเว็บไซต กบข. www.gpf.or.th อนึ่ง แผนลงทุนใหมที่ กบข. จะเปดโอกาส ใหสมาชิกเลือกนั้น มีอยูดวยกัน ๔ แผนคือ

๑. แผนตลาดเงิ น ซึ่ ง เป น แผนลงทุ น ที่ มี เฉพาะตราสารหนี้ระยะสั้น ถือเปนแผนลงทุนที่มี ความเสี่ ย งต่ํ า ที่ สุ ด โอกาสสร า งผลตอบแทน นอยที่สุด ๒. แผนตราสารหนี้ เป น แผนลงทุ น ที่ มี ทั้งตราสารหนี้ระยะสั้น และตราสารหนี้ระยะยาว มีความเสี่ยงมากกวาแผนตลาดเงินเล็กนอย แตก็มี โอกาสสรางผลตอบแทนมากกวาเล็กนอย ๓. แผนผสมหุ น ทวี จั ด ได ว า เป น แผน ที่เหมาะสําหรับผูที่ชอบเสี่ยง และยังมีอายุในการ ออมอีกนาน เนื่องจากมีสัดสวนตราสารทุนมากกวา แผนหลัก ๔. แผนหลัก สําหรับสมาชิก กบข. ที่ ไมประสงคจะเลือกแผนการลงทุนดวยตนเอง กบข. ก็จะบริหารเงินของทานสมาชิกเหลานั้น ในแผนหลัก ซึ่งถือไดวาเปนแผนที่มีความเสี่ยงระดับปานกลาง เนื่องจากมีนโยบายเนนลงทุนในหลักทรัพยมั่นคง รอยละ ๖๐ ที่เหลือเปนการลงทุนในหลักทรัพยอื่นที่ มีความเสี่ยงมากกวา แตก็มีโอกาสสรางผลตอบแทน ที่สูงกวา สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ฝายบริการขอมูล สมาชิก โทร ๑๑๗๙ กด ๖


พล.อ.ทรงกิตติ จักกาบาตร‹ ผบ.ทสส.ตรวจเยี่ยม สง.นตต.ประจำ บก.สหประชาชาติ ณ กรุงโซล โดยมี น.อ.ศิริพงษ† สุภาพร ผชท.ทอ. ไทย/โซล ปฏิบัติหนˆาที่ นตต.ประจำ บก.สหประชาชาติ ณ กรุงโซล ร‡วมใหˆการตˆอนรับ ณ สง.นตต.ฯ สาธารณรัฐเกาหลี

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ พล.อ.ท.Carlo Gagiano ผบ.ทอ.แอฟริกาใตˆ ในโอกาสเยือนประเทศไทยอย‡างเป็น ทางการในฐานะแขกของกองทัพอากาศ ณ บก.ทอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. บันทึกเทปสัมภาษณ‹ เนื่องในโอกาสที่กองทัพ อากาศ ร‡วมกับ องค‹การกระจายเสียงและแพร‡ภาพสาธารณะแห‡งประเทศไทย (TPBS) ผูˆผลิตรายการ “ดนตรีกวีศิลป†” ไดˆดำเนินการถ‡ายทำบทเพลงพระราชนิพนธ‹ บรรเลงโดยวงดุริยางค‹ทหารอากาศ ณ พระมหาธาตุเจดีย‹นภเมทนีดล นภพลภูมิสิริ จ.เชียงใหม‡ เพื่อเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางดˆานการดนตรี ออกอากาศ ในวันเสาร‹ที่ ๔ ธ.ค. ๕๓ เวลา ๒๑๐๐ – ๒๒๐๐

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานรับมอบผˆาห‡ม กันหนาว และเครื่องอุปโภค จาก บริษัท ศรีนานาพร มาร‹เก็ตติ้ง จำกัด และ บริษัทสแตนดาร‹ด แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด ณ หˆอง รับรองพิเศษ ๑

พล.อ.อ.ศรีเชาวน‹ จันทร‹เรือง ผช.ผบ.ทอ. เป็นผูˆแทน ผบ.ทอ. ใหˆโอวาทแก‡กำลังพล ทอ. ที่จะเขˆาร‡วมการฝึกผสมโคปไทเกอร‹ ๒๐๑๑ โดยมี น.อ.ถาวรวัฒน‹ จันทนาคม รอง จก.ยก.ทอ. ในฐานะ ผูˆอำนวยการการฝึกฯ เป็นหัวหนˆาคณะ ณ หˆองรับรอง ทอ.

พล.อ.อ.ดิลก ทรงกัลยาณวัตร รอง ผบ.ทอ. และครอบครัว บริจาคเงินสมทบกองทุนอาคาร “คุˆมเกศ” จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท โดยมี พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ภูมิพลอดุลยเดช รับมอบ


พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง เสธ.ทอ. ประธานกรรมการบริหารนิรภัย การบิน ทอ.พรˆอมคณะฯ สรุปผลการตรวจเยี่ยม ฝอก.นิรภัย บน.๖ โดยมี น.อ.ยอดชาย โคตระภู รอง ผบ.บน.๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ หอประชุมธูปะเตมีย‹ บน.๖

พล.อ.อ.วินัย เปล‡งวิทยา ผบ.คปอ. เป็นประธานฯ ในพิธีเปิดการแข‡งขัน การปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธี ประจำปี ๒๕๕๓ ณ สนามฝึกใชˆอาวุธ ทางอากาศน้ำพอง ชัยบาดาล พื้นที่การฝึก บน.๑, ๒, ๔, ๕, ๖, ๒๓, ๔๑ และ รร.การบิน

พล.อ.อ.วัฒนา คลˆายจำนงค‹ ผทค.พิเศษ, พล.อ.ท.อุดมศักดิ์ นาคะชัย จก.สอ.ทอ. พรˆอมขˆาราชการ สอ.ทอ. ร‡วมทอดกฐิน สามัคคี ณ วัดเลิศสวัสดิ์ (เขาจันทร‹งาม) จ.นครราชสีมา

พล.อ.ท.อารยะ งามประมวญ ผช.เสธ.ทอ.ฝขว. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมและฟังบรรยายสรุป ภารกิจฝูงบิน ๕๐๑ โดยมี น.อ.สรวิชญ‹ สุระกุล รอง ผบ.บน.๕ (๒) ใหˆการตˆอนรับ ณ อาคาร บรรยายสรุปฝูงบิน ๕๐๑ บน.๕

พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. พรˆอมคณะผูˆบังคับบัญชา ระดับสูงของหน‡วยและภริยา ร‡วมบันทึกเทปโทรทัศน‹ในพิธีถวายพระพร ชัยมงคล เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจˆา อยู‡หัว เพื่อเทิดพระเกียรติและแสดงออกซึ่งความจงรักภักดี ณ สถานี โทรทัศน‹แห‡งประเทศไทย (NBT)

พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. พรˆอมดˆวยผูˆบังคับ บัญชา อย. ชมการสาธิตการปฏิบัติของกองทหารเกียรติยศ ณ พัน ๑ กรม ทย.รอ.อย. โดยมี น.อ.ภูมิใจ ชัยพันธุ‹ ผบ.กรม ทย.รอ.อย. ใหˆการตˆอนรับ


พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การวิจัยและพัฒนาทางการ ศึกษา ณ หอสมุด ทอ. กวบ.ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธีบำเพ็ญ กุศลเนื่องในวันคลˆายวันสถาปนา รร.คท.ยศ.ทอ. ณ หˆองเรียน ๓ รร.คท.ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. เป็นประธานในพิธีใหˆโอวาท แก‡กองพันสวนสนาม นนอ. ก‡อนเขˆาร‡วมพิธีสวายสัตย‹ปฏิญาณตน และ สวนสนามของทหารรักษาพระองค‹ ประจำปี ๕๓ เนื่องในพระราชพิธี เฉลิมพระชนมพรรษาฯ ณ ลานอเนกประสงค‹ รร.นอ.

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. รับเยี่ยมคำนับจากคณะ นนร.รวมเหล‡าญี่ปุ‚น และคณะ นนอ.สาธารณรัฐเกาหลี ในโอกาสเยี่ยมชม กิจการ รร.นอ. ตามโครงการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว‡าง รร.นอ. กับ รร.นร.รวมเหล‡าญี่ปุ‚น และ รร.นอ.สาธารณรัฐเกาหลี ณ หˆองรับรอง ผบ.รร.นอ.

พล.อ.ท.อมร แสงสุพรรณ จก.พอ. เป็นประธานเปิดงานประชุมวิชาการ ทางการแพทย‹กลางปี ๕๓ ครั้งที่ ๙ เรื่อง “ซาลูโตะ” การรักษาที่ยิ่งกว‡า การรักษา โดย ดร.นพ.สกล สิงหะ โดยมี พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ. รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. และผูˆบริหาร รพ.ฯ เขˆาร‡วมงาน ณ หˆองประชุม พล.อ.อ.ประพันธ‹ ธูปะเตมีย‹ ชั้น ๓ อาคาร “คุˆมเกลˆาฯ”

พล.อ.ท.เมธา สังขวิจิตร จก.สพ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. และคณะตรวจเยี่ยมสายวิทยาการขนส‚ง ณ หˆองประชุม กวก.สพ.ทอ.


พล.อ.ต.นิคม วงษ‹ดรุณีย‹ จก.พธ.ทอ. พรˆอมขˆาราชการ ลูกจˆาง และพนักงานราชการ พธ.ทอ. เขˆาร‡วมโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายกำลังพล พธ.ทอ. ณ พธ.ทอ.

พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด งานนิทรรศการสัปดาห‹ปลอดภัย ณ อาคารจอดรถ กพน.ขส.ทอ.

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. เป็นประธานในการประชุม แถลงนโยบายการปฏิบัติราชการ สน.ผบ.ดม. ประจำปี ๕๓ ณ หอประชุมกานตรัตน‹

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. พรˆอมดˆวย ขˆาราชการ ลูกจˆาง พนักงานราชการ และทหารกองประจำการ สน.ผบ.ดม. ร‡วมทำบุญ ตักบาตรขˆาวสาร อาหารแหˆง และร‡วมกิจกรรมทำความสะอาดครั้งใหญ‡ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา พระบาท สมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว ณ บก.สน.ผบ.ดม.

พล.อ.ต.คเชนท‹ โสมะนันทน‹ ผอ.สธน.ทอ. บรรยายวิชา “กฎหมาย ที่ผูˆบังคับบัญชาควรทราบ” ใหˆแก‡ นทน.หลักสูตร นอส.รุ‡นที่ ๕๙ ณ รร.นอส.ยศ.ทอ.

พล.อ.ต.ชนัท รัตนอุบล ผบ.วทอ.ยศ.ทอ.นำคณะอาจารย‹ และนักศึกษา วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ‡นที่ ๔๔ ดูงานและศึกษาภูมิประเทศภาคเหนือ และในโอกาสนี้ไดˆจัดกิจกรรม “โครงการปันน้ำใจใหˆสังคม” มอบอุปกรณ‹ การกีฬา-เสื้อผˆา, เครื่องกรองน้ำที่ ร.ร.บˆานแม‡ปะใตˆ อ.แม‡สอด จ.ตาก


พล.อ.ต.อานนท‹ วิรัชกุล รอง จก.ชอ. ใหˆการตˆอนรับ พล.อ.ต.สุจินต‹ แช‚มชˆอย รอง ปช.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ ปลัดบัญชี ณ หˆองประชุม ชอ.๑

น.อ.ถาวรวัฒน‹ จันทนาคม รอง จก.ยก.ทอ. และหัวหนˆาสำนักงาน ศูนย‹ปฏิบัติการต‡อสูˆเพื่อเอาชนะยาเสพติด ทอ. พรˆอมคณะฯ ตรวจเยี่ยม ศูนย‹ปฏิบัติการต‡อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด บน.๔๑ โดยมี น.อ.ประยูร ธรรมาธิวัฒน‹ ผบ.บน.๔๑ ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุม บก.บน.๔๑

น.อ.คงศักดิ์ จันทรโสภา ผบ.บน.๑ ร‡วมถ‡ายภาพแสดงความ ยินดีกับนักบิน ฝูง.๑๐๓ บน.๑ ที่จบหลักสูตรนักบินพรˆอมรบ ในการบินกับ บ.ข.๑๙/ก ณ ลานจอด บ. หนˆาฝูง.๑๐๓ บน.๑

น.อ.ชวรัตน‹ มารุ‡งเรือง รอง จก.กพ.ทอ. เป็น หน.คณะตรวจเยี่ยม สายวิทยาการกำลังพล ณ รร.การบิน โดยมี น.อ.ธีรฉัตร‹ กระโจมแกˆว รอง ผบ.รร.การบิน ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.สุระ ไชโย ผบ.บน.๖ เป็นประธานในพิธีเปิดกีฬาภายใน กองบินหกเกมส‹ ประจำปี ๕๓ ณ สนามกีฬา บน.๖

น.อ.ชิตชัย ไกรคง ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ พรˆอมขˆาราชการ ฝูงบิน ๒๐๖ ปจว.สำนักสงฆ‹หนองคู หมู‡ ๕ ต.หˆวยโจด อ.วัฒนานคร จ.สระแกˆว


น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ พรˆอมดˆวยขˆาราชการ และสมาชิกชมรมแม‡บˆาน ทอ. บน.๔๖ ร‡วมบันทึกเทปถวายพระพร เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวามหาราช ณ สทท.พล.

คุณ นภาพร ศุภวงศ‹ นายกสมาคมแม‡บˆาน ทอ. ร‡วมกับคณะสมาคม แม‡บˆานทหาร-ตำรวจ มอบกำลังใจและสิ่งของบรรเทาทุกข†ใหˆแก‡ผูˆประสบ อุทกภัย ต.พุคา อ.บˆานหมี่ จ.ลพบุรี โดยมี น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ และ ร.ต.ท.หญิง สุจิตรา กีรานนท‹ ประธานชมรมแม‡บˆาน ทอ. บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.วิศรุต สุวรรณเนตร ผอ.กพส.กพ.ทอ./ผบ.ศฝ.ย‡อย นศท.ทอ. และ คณก.ดำเนินการฝึก นศท.ทอ. ใหˆการตˆอนรับคณะตรวจเยี่ยม ศสร. ในการตรวจเยี่ยมการสอบภาคทฤษฎีและตรวจสอบการฝึกของ นศท. ทอ. ชั้นปีที่ ๑–๕ ณ ศฝ.ย‡อย นศท.ทอ. (รร.จอ.ยศ.ทอ.)

น.อ.อภิญญา แตงอ‡อน ผบ.กกล.ทอ.ฉก.๙ และคณะฯ มอบถุง ยังชีพพระราชทาน จำนวน ๑,๒๐๐ ชุด ใหˆแก‡ประชาชนผูˆประสบ อุทกภัยในพื้นที่ อ.หนองจิก จ.ปัตตานี

น.อ.กำพล ลิปิกรณ‹ หก.เทคโนโลยี ศกอ. (หน.คณก.ประเมินค‡า จนท.สนับสนุนการบินในการแข‡งขันการปฏิบัติการทางอากาศ ยุทธวิธี ประจำปี ๒๕๕๓) นำ คณก.ไปประเมินค‡าฯ ณ สนามฝึก ใชˆอาวุธทางอากาศน้ำพอง จ.ขอนแก‡น กองบิน ๒๓

น.อ.สหกรม นาคประดิษฐ‹ เสธ.บน.๔๑ นำขˆาราชการและทหาร กองประจำการเขˆาร‡วมพิธีเปิดกิจกรรมรณรงค‹การปƒองกันและ แกˆไขปัญหา ภัยหนาว ไฟป‚า หมอกควัน และภัยแลˆง ณ ศาลากลาง จ.เชียงใหม‡




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.