หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน มิถุนายน 2554

Page 1



“...การยึดมั่นในผลประโยชน์ของแผ่นดิน และความถูกต้อง เป็นธรรม เป็นสิ่งสําคัญยิ่งในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ เพราะ การยึ ด มั่ น ดั ง กล่ า ว จะทํ า ให้ มี จิ ต ใจมั่ น คงเด็ ด เดี่ ย วในอั น ที่ จ ะ พากเพียรปฏิบัติหน้าที่ให้จนบรรลุผลสําเร็จ และสามารถป้องกัน ความผิดพลาดเสียหายอันจะเกิดแก่ตนแก่งานได้อย่างแท้จริง...” พระราชทานแกขาราชการพลเรือน เนื่องในวันขาราชการพลเรือน ๑ เมษายน ๒๕๓๙


ฉบัง ๑๖

ถึงเก้ามิถุนายน ซึ้งองค์นวมินทร์ปิ่นไทย ทรงครองราชย์ครองห้องใจ หกสิบห้าปีปรีดา มั่นคงทรงพระปรีชา เลิศด้วยทศธรรมล้ําคุณ ปลื้มองค์ทรงพระการุณย์ หลายร้อยหลายพันโครงการ เช่นแล้งฝนหลวงประทาน น้ําท่วมโครงการแก้มลิง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องจริง เกิดประโยชน์สุขเหลือตรา พรั่งพร้อมศิลป์ศาสตร์ปรัชญา พุทธศาสน์ปราดเปรื่องเรืองนาม พาไทยเมืองพุทธสุดงาม ศึกษาพระธรรมที่ไทย ทรงเป็นกษัตริย์ฉัตรชัย ทั่วโลกมีเพียงพระองค์ ครบวันครองราชย์โดยตรง ขอทรงพระเจริญนิรันดร์

ดิถีมงคล ปวงชนชาวไทย กษัตริย์พัฒนา โครงการสรรพ์คุณ กังหันตระการ ทุกถิ่นพึ่งพิง เปี่ยมล้นศรัทธา ทั่วโลกโชคตาม นานกว่าองค์ใด เทินทูนมั่นคง

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ ขาพระพุทธเจา คณะผูจัดทําหนังสือขาวทหารอากาศ (นาวาอากาศเอก เกษม พงษพันธ ประพันธ)


1

ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำหนังสือข่าวทหารอากาศ

หนังสือข่าวทหารอากาศ

เจ้าของ กองทัพอากาศ

ทีป่ รึกษา พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบตุ ร

ผูอ้ ำนวยการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของ กองทัพอากาศ เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรม ข่ า วทหารอากาศ มี น าวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็ น บรรณาธิ ก ารคนแรก ดำเนิ น การโดยทุ น ของข้ า ราชการ ทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยู่ในความ อำนวยการของกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ตามคำสั ่ ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ มีเจ้ากรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เป็นผูอ้ ำนวยการ ตามคำสัง่ ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๙๙ ลงวันที่ ๗ ม.ค.๒๔๙๙ ภารกิจ

รองผู้อำนวยการ

ดำเนิ น กิ จ การหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ให้ เ ป็ น ไป ตามนโยบายของกองทั พ อากาศ มี ผ ู ้ อ ำนวยการหนั ง สื อ ข่ า ว ทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ต.ยงยุทธ หาบุบผา เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.ประเสริฐ ช่างประเสริฐ รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ

วัตถุประสงค์/นโยบายกองทัพ ๑. เพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ นกิจการทัว่ ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อันจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ๓. เพือ่ เผยแพร่กจิ การกองทัพอากาศ

น.อ.สหัสชัย มาระเนตร น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี

กองบรรณาธิการ

น.ท.พินจิ นุชน้อมบุญ

นโยบายการดำเนินงานในปัจจุบัน ๑. เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น แสดงความคิดเห็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรือ่ งทีน่ ำลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ * ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ ทีก่ ำหนด * ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อความมัน่ คงของชาติ บุคคล หรือส่วนรวม * ความยาวของเรือ่ งไม่ควรเกิน ๕ ตอน แต่ละตอน ไม่ควรเกิน ๕ หน้า * ต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ กรรมการพิจารณาเรือ่ งของสำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ

นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์

กำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

บรรณาธิการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง พัชรา ภัทรสุวรรณ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง

ประจำกองบรรณาธิการ น.ท.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ น.ท.หญิง วรรณิภา ยีป่ ระชา น.ต.สินธพ ประดับญาติ

น.ท.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ท.หญิง อนงค์นาถ บุญจฑิตย์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

กองจัดการ น.ท.สมพร สิงห์โห ร.ท.หญิง สุมาลี สายะนันท์ พ.อ.อ.ประจวบ วีระชนม์ พ.อ.อ.สมศักดิ์ เพียรประเสริฐ จ.อ.หญิง เศาวณี พ่านเผือก สำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์กองทัพอากาศ ดอนเมือง แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร.๐-๒๕๓๔-๒๙๔๓ , ๐-๒๕๓๔-๕๑๔๘

ค่าสมาชิกภายนอก ปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สัง่ จ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในหนังสือฉบับนีไ้ ม่มส ี ว่ นผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด

ออกแบบปก : น.ต.สินธพ ประดับญาติ

http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com


1

ปีท่ี ๗๑ ฉบับที่ ๖ เดือน มิถนุ ายน ๒๕๕๔

สารบัญ ๖ ๙ ๑๘ ๒๒ ๓๓ ๓๕ ๔๐ ๔๔ ๔๙ ๕๔ ๕๙

บทบรรณาธิการ ธ สถิตในใจประชา ...ตามรอย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ...พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข ปฏิบตั กิ ารของทหารไทยในงานพระราชสงคราม ณ ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ.๒๔๖๑ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร โครงการพระราชดำริฝนหลวง กับกองทัพอากาศ ...น.ต.ไพศาล บุญยะรัตน์ : ศวอ.ทอ. ปริศนาอักษรไขว้ ...มีน สำนักงานพระธรรมนูญทหารอากาศ ...ปชส.สธน.ทอ. ๖๒ ปี โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ ...ปชส.รร.สธ.ทอ. จรวดหลายลำกล้อง DTI-1 ...ปชส.สทป. Facebook : ผูน้ ำสังคมออนไลน์ ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์ ๑๑ มีนาคม “มหาภัยสึนามิ” ประเทศญีป่ นุ่ ...เฟื่องลดา Attache Reise ...Jetta, Berlin 2010

๑๐๐

๖๖ วัตถุมงคล ของชาว ทอ. “ศิษย์ทหารอากาศ” ๖๘ ๗๒ ๗๕ ๘๑ ๘๕ ๘๗ ๘๙ ๙๕ ๙๗ ๑๐๒ ๑๐๕

...น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒) ภาษาไทยด้วยใจรัก “นีไ่ ม่ได้คอยจับผิดนะ” ...นวีร์ พูดจาประสาหมอพัตร “พลาเซโบ สารเทียมยา ยาปลอม” ...หมอพัตร ครูภาษาพาที : The Art of Travel ...sora Test Tip Part 11 ...Runy เวลาการ์ตนู ...มิสกรีน มุมสุขภาพ “โรคกระดูกสันหลัง ระดับเอวเสื่อม” ...นายห่วงใย โรงเรียนนายเรืออากาศในฝัน ...น.อ.หญิง ทิพยรัตน์ สีเพชรเหลือง อภิชาตบุตร ...น.อ.เกษม พงษ์พนั ธ์ ภัยพิบัติจากสภาวะแวดล้อมของโลก ...Pharaoh ขอบฟ้าคุณธรรม “จิตใจ” ...1261 ในรัว้ สีเทา


ตามรอย

สภาพของปญหาที่แตกตางกันไปตามแตละภูมิประเทศในทองที่ตางๆ กัน ทําใหพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวมีพระราชดําริที่จะจัดตั้งศูนยศึกษาเพื่อการพัฒนาขึ้นในแตละทองที่ ความหมายของศูนยศึกษานี้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงอธิบายไวเมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๖ ความตอนหนึ่งวา


“...เปนการสาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึงทุกสิ่งทุกอยาง ทุกดานของชีวิต ประชาชนที่จะ หาเลี้ยงชีพในทองที่จะทําอยางไร และไดเห็นวิทยาการแผนใหม จะสามารถหาดูวิธีการ จะทํามาหากิน ใหมีประสิทธิภาพ... ดานหนึ่งก็เปนจุดประสงคของศูนยศึกษาใชเปนสถานที่สําหรับคนควา วิจัยใน ทองที่ เพราะวาแตละทองที่สภาพฝนฟาอากาศและประชาชนในทองที่ตางๆ กัน ก็มีลักษณะแตกตางกัน มากเหมือนกัน...” ศูนยศึกษาเพื่อการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปนศูนยศึกษาการพัฒนา แหงแรก ที่มีพระราชกระแสใหจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๒๒ เมื่อเสด็จพระราชดําเนินไป ทอดพระเนตรสภาพพื้นที่ตําบลเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา และมีราษฎรนอมเกลา นอมกระหมอมถวายที่ดินจํานวน ๑,๒๒๗ ไร

พื้นที่ของศูนยศึกษาเพื่อการพัฒนาเขาหินซอนนี้ เปนดินลูกรังแหงแลง ปลูกมันสําปะหลังซึ่งทําลาย คุณภาพดินมากขึ้นไปอีก กิจกรรมหลักของศูนยนี้ซึ่งมีกรมพัฒนาที่ดินเปนแกน ดําเนินการรวมกับหนวยงาน อื่นๆ เชน กรมชลประทาน กรมปาไม กรมปศุสัตว กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร และจังหวัด ฉะเชิงเทรา งานที่ทําคือ งานพัฒนาที่ดิน สาธิตการอนุรักษดินและน้ํา ปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ ขยายพันธุ พืช สาธิตการทําปุยหมัก ตามมาดวยงานการเกษตรคือศึกษาทดสอบพันธุขาวตางๆ พืชสวน พืชไร เพาะเห็ด การฝกอบรมงานปศุสัตว งานประมง ศูนยศึกษาเพื่อการพัฒนาหวยฮองไครอันเนื่องมาจากพระราชดําริที่ตําบลดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม เริ่มในปพุทธศักราช ๒๕๒๖ เปนสถานที่ศึกษาคนควาเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนา พื้นที่ตนน้ําลําธารทางภาคเหนือ มีกรมชลประทานเปนหนวยงานหลักเชนเดียวกับศูนยศึกษาการพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ที่บานนานกเคา ตําบลหวยยาง จังหวัดสกลนคร ที่มีวตั ถุประสงคเพือ่ การศึกษา และทดลองงานพัฒนาการเกษตรตางๆ ตามความเหมาะสมสําหรับภาคอีสาน การพัฒนาปาไมดวยระบบ ชลประทาน และการปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีผลตอการเพิ่มรายไดของเกษตรกร


ศูนยศึกษาเพื่อการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริอีก ๓ แหงที่ทรงตั้งขึ้น มีศูนยศึกษาเพื่อการ พัฒนาพิกุลทองที่จังหวัดนราธิวาส มีหนาที่ศึกษาเรื่องดินพรุ ดินเปรี้ยว ในเขตภาคใต ศูนยศึกษาเพื่อ การพัฒนาอาวคุงกระเบน ที่จังหวัดจันทบุรี ศึกษาเรื่องของปาชายเลนกับปญหาน้ําทะเลชายฝง ศูนยศึกษา เพื่อการพัฒนาหวยทราย ที่อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ศึกษาเรื่องของการปลูกปาทดแทน รวมทั้งชวย ชาวบานใหมีรายไดจากโครงการ เพื่อใหหันมาทําหนาที่รักษาปาแทนการทําลาย

ความเขียวขจีที่เริ่มเขามาทดแทนความแหงแลงที่เขาหินซอน ปริมาณน้ําฝนที่ตกเพิ่มขึ้นในเขตพื้นที่หวยฮองไคร จาก ๗๐๐ มิลลิเมตร เปน ๑,๓๐๐ มิลลิเมตร ในระยะเวลา ๑๓ ป นี่คือผลแหงความเพียรพยายามของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในอันที่จะทรงพลิกสิ่งที่สูญเสีย ไปแลว ใหกลับมาเปนกําไร (ขอมูล : สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี)


พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข ตั้งแตที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๙ และทรงโปรดเกลาฯ ใหตั้งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบโบราณราชประเพณี ในวัน ที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานโครงการอัน เนื่ อ งมาจาก พระราชดําริสืบเนื่องมาจนถึงปจจุบันเปนจํานวนทั้งสิ้นกวา ๔,๐๐๐ โครงการ ทุกโครงการลวนเกิดขึ้นจาก น้ํา พระราชหฤทั ย ที่ ท รงมุง หวัง ให พ สกนิ ก รชาวไทย ไดพน จากความทุก ขย ากในการดํ า รงชีวิต ดัง นั้น โครงการตางๆ ที่ทรงคิดคนขึ้น จึงครอบคลุมในหลายสาขา อาทิทางดานการเกษตร การพัฒนาแหลงน้ํา และการชลประทาน การแพทยและสาธารณสุข การศึกษาวิจัยคนควาทดลอง เปนตน โครงการทั้งหลายที่ ผูเขียนไดนํามาเผยแพรนั้น มิอาจจะนํามากลาวไดทั้งหมด จึงขอยกตัวอยางเพียงสังเขป ดังนี้ ¢ โครงการตางๆ ¾ ดา นการเกษตร : พระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว ทรงตระหนักวา ประชาชนสวนใหญ ของประเทศ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริ จึ ง เป น โครงการที่ มุ ง เน น แก ป ญ หาการเกษตรในทุ ก ภู มิ ภ าคของ ประเทศอยางครบวงจร เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ในการเพิ่มผลผลิตทางดานการเกษตร อันหมายถึง ฐานะความเปนอยูของเกษตรกรใหดีขึ้น สงผลให เศรษฐกิจของประเทศเจริญกาวหนาตามไปดวย ดังพระราชดํารัสที่วา “บานเมืองไทยของเรานี้ถึงจะมี


รายไดทางอื่นอยูมาก แตก็ตองถือวาเลี้ยงตัวอยูไดดวยการเกษตร ดังนั้น จึงมีความจําเปนตลอดไปที่จะตอง ทํานุบํารุงเกษตรกรรมทุกสาขาพรอมกับเกษตรกรทุกระดับ ใหพัฒนากาวหนาอยูเสมอ เพื่อใหการผลิตมี คุณภาพสูงขึ้น โดยไมผลาญทรัพยากรใหเปลืองเปลา หากแตใหไดผลผลิตเพียงพอเลี้ยงตัวและจําหนายไดดี มีรายไดทวีขึ้น จึงจะชวยใหเกษตรกรซึ่งเปนประชาชนสวนใหญ และเปนกําลังสําคัญของประเทศ มีฐานะ ความเปนอยูที่มั่นคง แจมใส และทําใหประเทศชาติ สุขสมบูรณขึ้นได ¾ ด า นการพั ฒ นา แหลงน้ํา : โดยที่น้ําเปนปจจัยที่ สําคัญและจําเปนอยางยิ่งในการ ทําเกษตรกรรม การทํามาหากิน ของเกษตรกรไทยในป จ จุ บั น ประสบภาวการณขาดแคลนน้ํา สําหรับใชเพาะปลูกพืช เนื่องจาก ฝนไมตกตามฤดูกาล มีปรากฏ ใหเห็นอยูทั่วไปตามทองถิ่นตางๆ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในท อ งถิ่ น ทุรกันดาร เปนสาเหตุสําคัญที่ ทําใหพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมุงมั่นที่จะพระราชทานความชวยเหลือแกราษฎรทุกหมูเหลา ดวยโครงการพัฒนา หรือจัดหาแหลงน้ําในรูปแบบตางๆ มาโดยตลอด เพื่อมุงประโยชนแกเกษตรกรที่ไดรับ ความเดือดรอนใหมีน้ําเพียงพอจะพัฒนาตนเองและครอบครัว ใหผอนคลายหรือบรรเทาความยากไร ดังพระราชดํารัสที่วา “น้ําเปนสิ่งสําคัญที่สุดในงานเกษตรกรรม ถาแกปญหาในเรื่องแหลงน้ําที่จะใชในการ เพาะปลูกไดแลว เรื่องอื่นๆ ก็จะพลอยดีขึ้นติดตามมา” และจากการที่ทรงพบวามีพื้นที่เกษตรกรรมหลายแหง ขาดแคลนน้ําที่จะใชในการเพาะปลูกและการบริโภค แตอีกหลายพื้นที่กลับมีน้ําทวม ทําใหพืชผลไดรับ ความเสียหาย จึงไดพระราชทานพระราชดําริใหกรมชลประทานและหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของสํารวจและ ศึกษาขอมูล เพื่อนํามาพิจารณาจัดทําโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เกี่ยวกับการพัฒนาแหลงน้ํา และการชลประทานขึ้น ซึ่งมีทั้งโครงการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเพาะปลูกและอุปโภคบริโภค การพัฒนา แหลงน้ําเพื่อรักษาตนน้ําลําธาร รวมถึงโครงการเพื่อบรรเทาอุทกภัย อันไดแก โครงการแกมลิง ซึ่งเปน โครงการที่เกี่ยวกับการจัดและควบคุมปริมาณน้ําในฤดูน้ําหลาก อีกทั้งยังสามารถกักเก็บน้ําเพื่อไวใชใน การเกษตรอีกดวย


¾ ด า นการศึ ก ษา : พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเล็งเห็นวา การศึกษาเป น ป จจั ย สํ า คัญ ในการสรา งและ พั ฒ นาความรู ความคิ ด และ คุณธรรมของบุคคล หากสังคม หรือบานเมืองใดใหการศึกษา ที่ ดี แ ก เ ยาวชนอย า งครบถ ว น ในทุ ก ๆ ด า นแล ว สั ง คมหรื อ บานเมืองนั้นก็จะมีพลเมืองที่มี คุณภาพ ดังพระราชดํารัสที่วา “การศึกษาเปนเครื่องมืออันสําคัญในการพัฒนาความรู ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ คานิยมและ คุณธรรมของบุคคลเพื่อใหเปนพลเมืองดี มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เมื่อบานเมืองประกอบไปดวย พลเมืองที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศชาติก็ยอมทําไดโดยสะดวกราบรื่น” ¾ ดานการแพทยและ สาธารณสุ ข : การเสด็ จ ฯ ไปทรง เยี่ยมเยียนราษฎรทั่วทุกภูมิภาค ทําให พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพบ วามีราษฎรเปนจํานวนมากที่เจ็บปวย เพราะขาดความรูความเขาใจในการ ดูแลสุขภาพและการบริโภค บางก็ไมมี กําลังทรัพยจะไปรักษา จึงทรงถือเปน เรื่องที่ตองรีบแกไข โดยมีพระราชดําริ วา “ถาคนเรามีสุขภาพเสื่อมโทรม ก็จะไมสามารถพัฒนาชาติได เพราะทรัพยากรที่สําคัญของประเทศก็คือ พลเมืองนั่นเอง” เพื่อเปนการ แกปญหาเฉพาะหนา ในขั้นแรกไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหแพทยประจําพระองคและแพทยในขบวน เสด็จฯ ตรวจรักษาคนไขเฉพาะรายที่ทรงพบในหมูราษฎรที่มาเฝา รับเสด็จฯ ตอมาเมื่อคนไขมากขึ้น จึงได พระราชทานพระราชดําริใหจัดตั้งโครงการตางๆ เพิ่มขึ้น เชน โครงการหนวยแพทยพระราชทาน และโครงการ


เกลือเสริมไอโอดีนพระราชทาน ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหศึกษาหาวิธีเติมสารไอโอดีนลงไปในเกลือ โดยไมทําใหรูป รส และกลิ่นของเกลือเปลี่ยนไป ¾ ในดานการศึกษาวิจัยคนควาทดลอง : พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงตระหนักถึงหลัก ความจริ ง ที่ ว า ประชาชนในภู มิ ภ าคต า งๆ ของประเทศ มี ค วามแตกต า งกั น ทั้ ง ในด า นภู มิ ศ าสตร ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ขนบธรรมเนี ย ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วั ฒ นธรรม ทํ า ให ร า ษ ฎ ร ใ น พื้ น ที่ เหลานั้น มีแบบแผน การดํารงชีวิตและ ฐานะความเปนอยู ที่แตกตางกันไปดวย ดังนั้น เพื่อ ใหการ พั ฒ นายกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ราษฎรเปนไปบนพื้นฐานแหงความเปนจริง จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดตั้งศูนยศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดําริขึ้นทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ เพื่อเปนสถานที่ศึกษา ทดลอง ทดสอบและ แสวงหาแนวทางการพัฒนาดานตางๆ ใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน เกษตรกร สามารถศึกษาหาความรูไดเปนอยางดี ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จึงเปรียบเสมือน ตนแบบของความสําเร็จที่จะเปนแนวทาง และตัวอยางของผลสําเร็จใหแกพื้นที่อื่นๆ ทั้งยังเปนศูนยบริการ แบบเบ็ ดเสร็จ คือสามารถที่ จะศึกษาหาความรูไดทุกเรื่ อง ทั้ งทางดานการปรับปรุงบํารุงดิน การปลูกพืชไร พืชสวน การเลี้ยงสัตว การประมง ปาไม การชลประทาน ตลอดจนงานศิลปาชีพพิเศษ ฯลฯ ซึ่งผลสําเร็จ เหลานี้ไดจัดสาธิตไวในลักษณะของพิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต เริ่มตั้งแตครั้งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จนิวัตคืนสูกรุงเทพมหานคร ในป พ.ศ.๒๔๙๔ ทรง เริ่มงานในฐานะพระมหากษัตริย และทรงงานพัฒนาชวยเหลือพสกนิกรควบคูกันไป ดังจะเห็นไดจาก โครงการตางๆ ที่เกิดขึ้น พระราชดํารัส พระบรมราโชวาทและพระราชดําริที่พระราชทานในวโรกาสและ สถานที่ตางๆ ซึ่งเนื้อหาใจความที่พระราชทานใหไวนั้น ลวนเปนศาสตรแหงการพัฒนาที่ลึกซึ้งและมีคุณคายิ่ง


ตลอดจนมีความสอดคลองและสนับสนุนการพัฒนาประเทศสวนรวมตลอดมาถึงปจจุบัน โครงการที่เกิดขึ้น ถือเปนศาสตรแหงการพัฒนาตามแนวพระราชดําริที่ไดสะทอนใหเห็นถึงวิถีไทยภูมิปญญาไทยในสถานการณ ตางๆ ในแตละหวงเวลาของการพัฒนาประเทศอยางชัดเจน เปนแนวพระราชดําริที่สามารถเปลี่ยนแปลง ไปสูภาคปฏิบัติไดโดยงาย การทรงงานเพื่อชวยเหลือประชาชนในระยะแรกนั้น ไดเริ่มตนบนพื้นฐานของการชวยเหลือประชาชน พัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาสังคมอยางแทจริง โดยในชวงระยะเวลาที่เริ่มทรงงานนั้น สภาพเศรษฐกิจ ของสังคมไทยยังคงบอบช้ําจากผลของการเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ สวนสภาพการเมืองการปกครองก็ยัง ไมมั่นคงนัก สภาพความอัตคัดทุกขยากเดือดรอนมีอยูทั่วไป ทั้งปญหาความยากจนรายไดนอย การวางงาน ขาดโอกาสในการศึกษา และปญหาโรคภัยไขเจ็บและสุขภาพอนามัย ดังนั้นการทรงงานชวยเหลือประชาชน จึงมีลักษณะของการสงเคราะห ชวยเหลือในลักษณะของการกุศล อันเปนวิถีการดํารงชีวิตแบบภูมิปญญาไทย ที่สืบเนื่องตอกันมายาวนาน โดยในยามที่มีภัยพิบัติเกิดขึ้นคนไทยจะชวยเหลือกันดวยการบริจาคทรัพย สิ่งของ หรือชวยเหลือดวยวิธีการตางๆ ใหกับผูประสบภัยพิบัติตามกําลังของแตละคนดวยความเต็มใจ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงใชหลักสังฆทาน ความหมายนี้ลึกซึ้งมาก คือ ใหเพื่อให ใหโดยไมเลือกวา ผูที่จะใหจะเปนใครใหในฐานะเพื่อนมนุษยผูประสบความทุกขยาก เปนการใหเพื่อใหจริงๆ ไมไดใหเพื่อคิดหวัง อะไรตอบแทนและทรงเนนวา เพราะการใหนี่เองทําใหชาติบานเมืองอยูรอดได ในชวงป พ.ศ.๒๔๙๓ วัณโรคยังเปนโรคติดตอที่รายแรงในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานทรัพยจํานวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อใชสรางอาคารตึกมหิดลวงศานุสรณ ในบริเวณสถานเสาวภา สภากาชาดไทย เพื่อใชเปนที่ผลิตวัคซีนใชปองกันวัณโรค ในป พ.ศ.๒๔๙๔–๒๔๙๕ ไดเกิดโรคโปลิโอ ระบาดครั้งใหญในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดพระราชทานทุนทรัพยผานสํานักงาน พระราชวัง เปนเงินจํานวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท เพื่อเปนเงินทุนโปลิโอสงเคราะห และตอมาในป พ.ศ.๒๔๙๗ ทรงพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานทรัพย สวนพระองค จํานวน ๕๓๙,๐๐๐ กวาบาท สรางตึกอานันท-มหิดล ในโรงพยาบาลศิริ ราช เพื่ อใชรัก ษาเด็ก ที่ เ ปนโรคติ ดต อและ บริการรักษาโรคโปลิโอ ¾ ทรงริเริ่มสรางภาพยนตร : ที่ เรียกกันวา ภาพยนตรสวนพระองค จัดฉาย เพื่ อ หารายได จ ากผู บ ริ จ าคโดยเสด็ จ


พระราชกุ ศ ล และนํ า รายได เ หล า นี้ ม าช ว ยเหลื อ ประชาชนในด า นต า งๆ เช น สร า งตึ ก วชิ ร าลงกรณ ในสภากาชาดไทย สรางอาคารทางการแพทยโรงพยาบาลภูมิพลฯ และจัดตั้งสถาบันราชประชาสมาสัย เพื่อสงเคราะหชวยเหลือผูปวยโรคเรื้อน เปนตน ¾ ทรงมีพระราชดําริใหจัดตั้งมูลนิธิราชประชานุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ : ในป พ.ศ.๒๕๐๕ เนื่องจากกอนหนานั้นไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่แหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งมี ความรุ น แรงและมี ร าษฎรประสบภั ย พิ บั ติ เ ป น จํ า นวนมาก โดยมู ล นิ ธิ ร าชประชานุ เ คราะห ฯ ได มี ก าร ดําเนินงานชวยเหลือประชาชนที่ประสบสาธารณภัยทุกประเภทอยางตอเนื่องมาโดยตลอดถึงปจจุบัน ¢ที่มาของปลาหมอเทศและปลานิล ¾ เมื่อ พ.ศ.๒๔๙๔ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกรมประมงนํา พัน ธุปลาหมอเทศที่เ จาหนา ที่อ งค การอาหารและเกษตรแห ง สหประชาชาตินํ าเขา มาถวาย ไปเลี้ย งที่ สระวายน้ําในบริเวณพระที่นั่งอัมพรสถาน จนมีปลาเต็มสระ จากนั้นเมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๖ จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกํานัน ผูใหญบานทั่วประเทศเขารับพระราชทานพันธุปลาหมอเทศ ไปเลี้ยงแพรพันธุแจกจายใหราษฎรในหมูบานของตนบริโภค ซึ่งผลที่เกิดขึ้นเปนที่ประจักษชัดเจน โดย ประชาชนสวนใหญหันมาบริโภคปลาเปนจํานวนมาก เปนอาหารโปรตีนที่สามารถหาไดงาย และทําใหคนมี สุขภาพอนามัยที่ดี ¾ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๘ เจาฟาชายอากิฮิโต มกุฎราชกุมารแหงประเทศญี่ปุน ได ทูล เกลา ฯ ถวายลู ก ปลาตระกู ลเดี ย วกับปลาหมอเทศ จํา นวน ๕๐ ตั ว ชื่ อ ทางวิท ยาศาสตรวา Tilapia Nilotica Linn. ซึ่งทรงเลี้ยงไวที่บอปลาสวนจิตรลดา ปรากฏวาปลาชนิดนี้ขยายพันธุรวดเร็วมาก ทรงใหขุดบอ เพิ่มขึ้นอีก ๖ บอ และทรงยายปลาดวยพระองคเอง เมื่อวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๘ อีกหนึ่งปตอมาทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อปลาชนิดนี้วา ปลานิล มีความหมายวา มีสีดํา คือสีนิล และออกเสียง ตามพยางคตนของชื่อชนิดนี้ คือคําวา Nil จาก Nilotica ซึ่งชื่อพระราชทานนี้เปนชื่อที่สั้น มีความหมาย ชัดเจนงายตอการจดจํา ตอมาเมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๗ ไดพระราชทานพันธุปลา ๑๐,๐๐๐ ตัว จากบอปลาสวนจิ ตรลดาแกกรมประมงเพื่อนําไปเลี้ยงและขยายพั นธุที่สถานีประมงของจังหวัดตางๆ ทั่วประเทศ แลวแจกจายใหแกราษฎรตอไป หลังจากนั้นปลานิลก็เปนปลาสําคัญมาแทนที่ปลาหมอเทศ เกษตรกรจํานวนมาก ทุกภูมิภาค สามารถยึดอาชีพเพาะเลี้ยงปลานิลจําหนาย ปจจุบันปลานิลเปนปลาที่ คนทั่วไปรูจักกันดี สมดังพระราชประสงคที่ทรงใหประชาชนมีอาหารโปรตีนบริโภค


¾ โครงการพัฒนาชนบท : เพื่อเสริมสรางเศรษฐกิจแกราษฎรแหงแรก เริ่มขึ้นในป พ.ศ.๒๔๙๕ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตํารวจตระเวนชายแดน คายนเรศวร สรางทางสายหวยมงคล ตําบล หินเหล็กไฟ อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ เปนการลงทุนที่เกิดประโยชนทั้งทางตรงตอราษฎรในพืน้ ที่ ทําใหสามารถนําสินคาพืชผลทางการเกษตรไปจําหนายยังตลาดหัวหินไดอยางรวดเร็ว และเปนโอกาสดีที่ จะเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในตําบล หมูบานตางๆ ไดงายยิ่งขึ้น ¾ การแกไขปญหาเรื่องน้ํา : ในป พ.ศ.๒๔๙๖ โดยทรงเริ่ ม แก ไ ข ปญหาการขาดแคลนน้ําจืดของหมูบาน เขาเต า ตํ า บลหนองแก อํ า เภอหั ว หิ น จังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยพระราชทาน พระราชทรั พ ย ส ว นพระองค จํ า นวน ๖๐,๐๐๐ บาท ใหกรมชลประทาน กอสราง ทํานบดินปดกั้นน้ําทะเลไมใหไหลลงสู ทะเล และปลอยทิ้งไวใหความเค็มเจือจาง ทําใหเกิดเปนอางเก็บน้ําสําหรับชาวบานไดใช ทั้งการอุปโภค บริโภค เลี้ยงปลา รวมทั้งการเพาะปลูกพืช นับวาเปนจุดเริ่มตนพระราชดําริเรื่องน้ํา ¾ การแกไขปญหาพื้นที่แหงแลง : ในป พ.ศ.๒๕๐๗ ได ท รงทราบถึ ง ความ เดือดรอนของชาวบานหุบกะพง อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ที่มีพื้นที่แหงแลง ไมสามารถ ทําสวนผักไดเปนเวลาหลายสิบปติดตอกัน จึ ง ได มี พ ระราชดํ า ริ ใ ห จั ด ทํ า โครงการ ชวยเหลือในรูปของการจัดสรรที่ดิน และการ พั ฒ นาสหกรณ ก ารเกษตรขึ้ น และทรง พระราชทานที่ น า จํ า นวน ๕๑,๙๖๗ ไร ในเขตพื้นที่จังหวัดตาง ๆ รวม ๘ จังหวัด อันเปนทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย เพื่อใหรัฐบาลนําไปจัดทํา โครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อชวยเหลือเกษตรกรที่ยากจน ขาดที่ดินทํากินเปนของตนเอง นับวาเปนจุดเริ่มตนการ แกไขปญหาพื้นที่แหงแลง


¾ การแกไขปญหายาเสพติด : เริ่มในป พ.ศ.๒๕๑๒ โดยทรงพระราชทานพระราชทรัพยสวนพระองค จัดตั้งโครงการพระบรมราชานุเคราะหชาวเขาขึ้น ซึ่งปจจุบันรูจักกันในนามโครงการหลวงฯ ภารกิจของ โครงการหลวงฯ ซึ่งประกอบดวยงานดานวิจัย ดานการสงเสริมอาชีพ ดานการพัฒนาพื้นที่และสภาพแวดลอม และดานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม อันเปนลักษณะของการดําเนินงานที่ครบวงจร โดยไดระดมอาสาสมัคร จากหนวยงานรัฐบาลและเอกชน ตลอดจนความชวยเหลือจากตางประเทศในเวลาตอมา เพื่อชวยกัน ศึกษาวิจัยหาหนทางที่จะทําใหชาวเขามีวิธีการเพาะปลูกที่มีประสิทธิภาพแทนการทําไรเลื่อนลอย และการ ปลูกพืชที่ทํารายไดแทนฝน นับเปนจุดเริ่มตนที่ สําคัญของการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดอยางยั่งยืน นั่น ก็คือ การ ปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตของชาวเขาจากการทําไรเลื่อนลอย ซึ่งทําใหเกิดการทําลายที่ดินและปาไม มาเปน การทําใหชาวเขาอยูติดที่ ประกอบอาชีพสรางความมั่นคงในชีวิตอยูบนที่ดินที่เปนฐานที่มั่นเดิมของตนเอง ไดอยางตอเนื่อง สิ่งเหลานี้แสดงใหเห็นชัดเจนถึงพระบรมราโชบายที่ลึกซึ้ง เปนการแกปญหาและปองกัน ปญหาหลักคือ ยาเสพติดและความมั่นคงในพื้นที่ชายขอบของประเทศไดอยางยั่งยืน อีกทั้งยังจะเปนการ ชวยปองกันทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งสรางรายไดทางเศรษฐกิจใหแกราษฎรชาวเขาอีกดวย ÊบทสรุปÊ การดําเนิ นงานโครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ าอยูหัว เป น กระบวนการ พั ฒ นาเพื่ อ นําไปสูความเปนไทย ดวยรูปแบบ ของการพัฒนาที่ไมได นํา เขาไป “ให” ประชาชนคอยแต “รับ” เพียงอยางเดียว แตเปนการพัฒนา ที่เนนใหประชาชนสามารถชวยตนเอง หรือพึ่งตนเองได ซึ่งเปนรูปแบบที่นําไปสูความยั่งยืนอยางแทจริง กลาวโดยสรุปวา การพัฒนาตามแนวทางพระราชดําริ ไดยึดเอาคนเปนศูนยกลางการพัฒนามาโดยตลอด ทั้งในเรื่องพออยู พอกิน การพึ่งตนเอง และการมีสวนรวม ซึ่งแนวทางการพัฒนาคนไปสูความยั่งยืนที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดทรงใชเปนหนทางหลักในการดําเนินงานพัฒนาตลอดมานั้น ไดปรากฏเปน แนวทางการพัฒนาถึงปจจุบัน โดยกําหนดไดจากบางสวนของกระแส พระราชดํารัสที่ไดพระราชทานไวใน โอกาสตางๆ เชน


เมื่อป พ.ศ.๒๕๑๗ ชวงที่สังคมไทยอยูในภาวะหัว เลี้ยวหัวตอทางการเมือง และมีปญหาการ กระจายรายได พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเนนในพระราชดํารัสเนื่องใน โอกาสวั นเฉลิ มพระชนมพรรษาว า คนอื่ น จะว า เมื อ งไทย ลาสมัย เชย ไมมี สิ่งที่ทัน สมัยก็ชางเขา แต “เราอยูพอมี พอกิน” และไดทรงทดลองโครงการตางๆ เพื่อความพอมี พอกินของพสกนิกรเสมอมา เปนที่นาสังเกตวาทรงเนนคําวา “พอ” มาโดยตลอด “พอมีพอกิน” “พอเพียง” และมี พระราชดํารัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษาเมื่อป พ.ศ.๒๕๔๑ ก็ทรงเสริมคําวา “พอดี” เพราะเมื่อเรารูวาจุดใดคือ “พอ” เมื่อนั้นเราจะเกิดความ พอใจ เมื่อรูจักพอใจก็จะรูจักความพอประมาณ เมื่อรูจัก พอประมาณก็จ ะรูจักให เมื่ อรูจั กให ก็ เ ริ่ม เกิดการแบง ปน เกื้อกูลกัน เกิดความสงบในสังคม เกิดความเขมแข็งในชุมชน เกิดศักยภาพ และทายที่สุด จะเกิดความ มั่นคงและยั่งยืน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงตรากตรําพระวรกายทรงงานอยางมิทรงเหน็ดเหนื่อย แมในยาม ทรงพระประชวร ก็มิไดทรงหยุดยั้งพระราชดําริเพื่อขจัดความทุกขผดุงสุขแกพสกนิกร กลางแดดแผดกลา พระเสโทหลั่งชุมพระพักตรและพระวรกาย หยาดตกตองผืนปฐพี ประดุจน้ําทิพยมนต ชโลมแผนดินแลงราง ใหกลับคืนความอุดมสมบูรณ แมในยามที่ประเทศประสบภาวะเศรษฐกิจ ตั้งแต ป พ.ศ.๒๕๓๙ เปนตนมา ก็ไดพระราชทานแนวทางดํารงชีพแบบ “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “ทฤษฎีใหม” ใหราษฎรไดพึ่งตนเอง ใชผืนแผนดินใหเกิดประโยชนสูงสุด ประกอบอาชีพอยูกินตามอัตภาพ ซึ่งราษฎรไดยึดถือปฏิบัติเปนผลดี อยูในปจจุบัน อางอิง : - กานตสุดา มาฆะศิรานนท. “การจัดการความรูสําหรับองคกรภาคเอกชน” วิทยานิพนธ ตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาโสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , ๒๕๔๗. - คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ , สํานักงาน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ กรุงเทพฯ : บริษัทรุงศิลปการพิมพ ( ๑๙๗๗ ) จํากัด , ๒๕๔๗. - คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ , สํานักงาน กําไรของแผนดินกรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชชิ่ง จํากัด มหาชน , ๒๕๔๗. - ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล : ใตเบื้องพระยุคลบาท, ๒๕๔๓.


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) “เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม

(ตอจากฉบับที่แลว) วันที่ 15 ตุลาคม, ไดรับคําสั่งใหทําการขนสัมภาระจากเมืองตรวาสไปยังเมืองชาลองส, และทหาร ทั้งหมดไดยายจากวิลลมวาเยนนไปพักอยูที่คูรติซอลส (Courtisols) ซึ่งเปนที่พักแรมตอไป, การขนเสบียง และเดินทางคราวนี้เปนไปโดยเรียบรอย; อากาศหนาวจัดฝนตกเฉอะแฉะมาก. วันนี้เปนวันแรกที่กองรถยนตรไทยไดเริ่มกระทําการบรรทุก และลําเลียงสัมภาระในราชการสงคราม เปนผลดี. นับตั้งแตวันนี้เปนตนไป, กองทหารบกรถยนตรไดทําการขนเสบียงตางๆสําหรับกองทัพนอยที่ 21, ที่ 11, ที่ 9, และบรรทุกทหารที่ไดรับอนุญาตใหลาพัก, กระสุนดินปนขนาด 105 ม.ม., 155 ม.ม. เหลานี้เปนตน. จากสถานีลําเลียงที่ 204 ตําบลซอมม ซวีปป (Somme Suippe), สถานีลําเลียงที่ 210 ตําบลซอมม ตูรบ (Somme Tourbe), คลังตําบลปเอมองต (Premont),คลังเลปน อา ซวีปป (Lepine a Suippe), และคลังซังต เอติเอนน (St.Etienne);ไปสงยังตําบลตางๆ, มีตําบลมะโซลต (Machault), มองต ซังต เรมี (Mont St. Remy), กรังดล (Grandle), โรมานี (Romanie), ลิรี (Liry), เซินดล (Seundle), บวาส เดส เดอกส ตอมบส (Boies des 2 Tombes), ไดทําการอยูดังนี้ตลอดไป, บางวันก็ไดพักบาง, จนถึงวันที่ 5 พฤศจิกายน จึ่งได ยายกองทหารไปพักแรมอยูตําบลอื่นใหม. การทําการในระหวางตําบลตางๆเหลานี้ ไดเปนผลสําเร็จไปโดยเรียบรอย, บางครั้งก็มีกิจการซึ่ง ทหารตองทําไปตลอดทั้งกลางวันกลางคืนบาง แตไมเสมอไป.


เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม, นายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค (ไดเลื่อนยศแลว) ไดมอบหอของๆ ชนชาวสยาม เรี่ยรายกันใหจัดซื้อสงมาสําหรับทหารไทยในประเทศฝรั่งเศสซึ่งไดรับจากกองฑูต, ใหแกนายรอยเอก ปโรต แจกแกบรรดานายสิบพลทหารฝรั่งเศสเปนจํานวน 259 หอ. ในหอนั้นมีสิ่งของคือ, สบู 1 กอน, แปรงสีฟน 1 แปรง, ยาสีฟน 1 อับ, ปลาสดีน 1 กระปอง, โปสกาต 2 แผน, กระดาษกับซองเขียนจดหมายพรอม 4 สํารับ, และมีแผนกระดาษแสดงความยินดีเปนภาษาฝรั่งเศส 2 ใบในหอนั้นทุกหอ. นายรอยเอก ปโรต และนายพันตรี สเตนบอกไดมีจดหมายตอบขอบใจมามีใจความดังตอไปนี้:“ท่านนายพันเอก พระเฉลิมอากาศ. ข้าพเจ้าได้ประกาศชี้แจงแก่บรรดานายสิบพลทหารฝรั่งเศสทราบทั่วกันแล้วว่า, กองฑูตไทยมีความ ยินดีที่จะให้เขาทั้งหลายได้รับห่อของซึ่งชาวไทยในประเทศสยามเข้าเรี่ยรายกัน เพื่อจัดซื้อส่งมาสําหรับ ทหารไทย ซึ่งมาในงานพระราชสงคราม ณ ประเทศฝรั่งเศสนี้, โดยเสมอภาคเช่นเดียวกับที่ทหารไทยได้รับนั้น. การที่แจกห่อของนี้แก่ทหารฝรั่งเศสเสมอกับทหารไทยเช่นนี้, ย่อมเปนเครื่องแสดงให้เห็นได้ว่า, ความมิตรภาพระหว่างทหารไทยกับทหารฝรั่งเศสได้มีต่อกันและนับถือกันเพียงไร; กิจการทั้งหลายซึ่งได้กระทํา ร่วมมือกันเพื่อกําจัดศัตรูของเรายิ่งเปนหนทางเชื่อมความคุ้นเคยรักใคร่ได้สนิธสนมยิ่งขึ้นเปนลําดับ. เมื่อรําลึกถึงความทุกข์สุขและความชอบพอคุ้นเคย, ซึ่งทหารไทยและทหารฝรั่งเศสได้เคยร่วมกัน เช่นนี้คงจะไม่ลืมเสียเลยเปนแน่, ว่าเราได้เคยร่วมความลําบากกรากกรํามาในงานมหาสงครามนี้, คงจะยั่งยืน ตลอดไปสําหรับความรุ่งเรืองแห่งประเทศสยามและประเทศฝรั่งเศสซึ่งได้เปนสัมพันธมิตร์ไมตรีต่อกัน. ข้าพเจ้าและบรรดาทหารในบังคับบัญชาของข้าพเจ้าทุกคน, ขอแสดงความยินดีและขอบใจท่าน เปนอันมาก, ในการที่ทหารไทยได้มีใจคิดจะให้เพื่อนทหารฝรั่งเศสได้รับความพอใจเสมอด้วยทหารไทย ทั้งหลาย. ทั้งนี้ขอท่านได้นําความนี้ประกาศให้ทหารทราบทั่วกันด้วย. (ลงนาม) นายร้อยเอก ปิโรต์ ผู้กํากับการกองใหญ่รถยนตร์ฝรั่งเศส ข้าพเจ้าขอแสดงความขอบใจอย่างสูงมาพร้อมกับนายร้อยเอก ปิโรต์ ด้วย, ในการที่ท่านแสดง ความชอบพอกับทหารข้าพเจ้า (ลงนาม) นายพันตรี สเตนบอก ผู้บังคับการกรมรถยนตร์ที่ 1” พระเฉลิมอากาศ


ครั้นวันที่ 31 ตุลาคม, นายพันตรี สเตนบอก ไดขอโอกาศประชุมทหารไทย กลาวแสดงความพอใจใน กิจการที่ไดกระทํารวมกัน; มีลามแปลทีละวรรคตอนจนจบ. กอนที่นายพันตรีผูนี้จะลากลับ, ไดขอใหนายพันเอก พระเฉลิมอากาศ ซึ่งไปตรวจราชการ ณ ที่นั้น แนะนําใหรูจักกับนายทหารไทยทั้งหมด; ไดจับมือดวยความ พอใจแลวก็ลาไป. คําพูดในที่ประชุมมีขอความดังตอไปนี้:“สหายรัก. ข้าพเจ้ามีความยินดีมากที่ได้เห็นท่านทั้งหลายพร้อมอยู่รอบตัวข้าพเจ้า, ข้าพเจ้ามีความพอใจ เปนอันมากที่จะแสดงให้ท่านทั้งหลายทราบ ในนามของนายทหารและนายสิบพลทหารฝรั่งเศสว่า, เปน เกียรติยศอย่างยิ่งที่ข้าพเจ้าได้มาแนะนําท่านทั้งหลายที่มาช่วยราชการสงครามในคราวนี้. ท่านทั้งหลายมาไกลจากประเทศอันเปนที่รักของท่าน ก็เพื่อช่วยกันต่อสู้ศัตรูของเรา. ขอท่าน ทั้งหลายจงได้รับความพอใจและขอบใจจากข้าพเจ้าในนามของทหารฝรั่งเศส. น่าที่ๆ ท่านจะต้องทํานั้นยากที่สุด.ในขณะนี้ท่านอยู่ไกลบ้านเกิดเมืองบิดรของท่าน, ท่านทั้งหลาย มาอยู่กับพวกเรา, ท่านไม่เข้าใจภาษาและนิสัยใจคอซึ่งกันและกัน, แต่ขอให้ท่านทั้งหลาย จงจําไว้ว่าเรา ทั้งหลายรักท่าน – นี้เปนความรู้สึกของพวกฝรั่งเศสทั่วไป. ในกิจการภายน่าซึ่งท่านจะต้องทําติดต่อกับพวกเพื่อนฝรั่งเศส จะเปนนายทหารหรือนายสิบ พลทหารก็ดี, ท่านคงรู้สึกได้เสมอว่าพวกเราทั้งหลายมีความชอบพอในพวกท่านมาก, ขอให้ท่านจงไว้เนื้อ เชื่อใจในพวกเพื่อนฝรั่งเศสของท่าน, เขาอยู่ใกล้ท่านก็เพื่อแนะนําในกิจการซึ่งท่านยังไม่เข้าใจ, ท่านคง ทําไปโดยความหวังดีและเต็มใจ. การแนะนํานี้ก็ประสงค์จะให้กิจการเจริญไปและได้ผลดีมากที่สุด. เมื่อวานนี้ข้าพเจ้าได้เห็นท่านทําการ, ข้าพเจ้าได้เห็นความเต็มใจและความรู้ของท่าน, ได้เห็น ความพยายามในน่าที่ของท่านซึ่งผู้บังคับบัญชาได้มอบหมายให้, ได้เห็นความเชื่อถือของท่านซึ่งมีต่อ ทหารฝรั่งเศสที่เปนผู้แนะนําท่าน; ขอท่านจงทําเช่นนี้ต่อไปให้เสมอเทอญ. ขอให้ท่านจงพยายามรู้จักนิสยั ใจคอของเพื่ อ นฝรั่ ง เศสของท่ า น เพื่ อ จะได้ ช อบพอคุ้ น เคยกั น , ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง จํ า เปนที่ จ ะให้ ผ ลเกิ ด ขึ้ น สงครามคงจะถึงที่สุดในเร็วๆนี้. ในระหว่าง 2-3 เดือน ซึ่งเราจะต้องอยู่ด้วยกัน, ขอให้ท่านพยายามให้มี ความชอบพอรั ก ใคร่ กันเกิ ดขึ้น; ถ้ าได้เช่ นนั้น แล้วความรัก ใคร่ชอบพอก็ จะแน่ นเหนียวติ ดต่อกันอยู่ ในดวงใจเสมอ. มีคําสุภาษิตฝรั่งเศสกล่าวว่า, “อยู่ไกลกันนั้นอาจลืมกันเร็ว” แต่ข้าพเจ้าเชื่อว่าคงไม่เปน เช่นนั้น, เชื่อว่าถึงเราจะอยู่ห่างไกลกัน, ความรักใคร่ซึ่งเรามีอยู่ต่อกันคงจะไม่เสื่อมสูญเปนแน่ ขอให้ชาติไทย และฝรั่งเศสจงมีความเจริญ.”


ยายจากคูรติซอลสไปอยูต ามตําบลตางๆ เมื่ อ วั น ที่ 5 พฤศจิ ก ายน, กองทหารบกรถยนตร ไ ด ย า ยจากคู ร ติ ซ อลส ไ ปพั ก ตามตํ า บลต า งๆ ดังตอไปนี้ :- กองบังคับการกับกองยอยที่ 3 อยูที่ โอ เซ วิลล (Auze Ville), กองยอยที่ 1 อยูที่วิลล ซุร คูซังซ (Ville sur Couzance), กองยอยที่ 2 อยูที่ จุเบ คูรต (Jube Court). ในระหวางวันที่ 7-8 พฤศจิกายน, ไดบรรทุกหญาแหงและกระสุนดินปนจากสถานีคลัง เลส อิส เลตตส (Les Islettes), และ เลมมส (Lemmes); สงไปยังฮารรี คูรต (Harri Court), และโรเมญ (Romegne). ตอจากนี้ไปมีการลําเลียงขาวเปลือก, ฟาง, เสบียง, กระสุนดินปน, สัมภาระตางๆ, ภาชนะเครื่องใชตางๆ, ไมกระดานสําหรับทําโรงตางๆ, เครื่องปนใหญ. เนื้อสด, เครื่องใชของเครื่องบิน, น้ํามันเบนซิน, เครื่องพยาบาล, ทหารอเมริกัน, ทหารฝรั่งเศสซึ่งเคยอพยพครอบครัวหนีขาศึก, เปนตน- ดังปรากฎอยูในตาตรางการลําเลียง ประจําเดือนตางๆ ของกองรถยนตร.

สิ่งของที่บรรทุกขึ้น เสบียงสําหรับจ่ายราษฎร

การลําเลียงของกองรถยนตรสยาม ประจําเดือนตุลาคม, พ.ศ.2461 ตําบลลําเลียงขึ้น

ตําบลลําเลียงลง

ลา ธิโบเดตต์ (La Thibaudette)

ที่ทําการฝ่ายปกครองท้องที่ตําบล มาร์ริคูรต์(Marricourt), ฮาร์ริครู ต์ (Harricourt). สัมภาระของกรมเกียกกาย คลังตําบลรัมปองต์ (Rampont) สถานีเอส์นส์ (Esnes) เนื้อสด โรงฆ่าสัตว์เฟลอรี ซุร์ แอร(Fleury sur Aire) ตามตําบลต่างๆ หลายแห่ง เสบียงต่างๆ สถานีแวรดัง, รัมปองต์; คลังเสบียงลาธิโบ คลังเสบียง สปังคูรต์ เดตต์, ลา เฮคูรต์ (La Haycourt), เฟลอรี (Spincourt),อาร์เรเนย์(Arreney), ซุร์แอร. นูยโญคูรต์ (Nouillaucort), ดัง ซุร์ เมอส (Dun sur Meuse), สเตเนย์ (Stenay), มองต์เมดี (Montmedy), เอส์นส์, มาร์ริคูรต์. น้ํามันเบนซิน คลังยีวรี อัน อารกอนน์ (Givry en แวรดัง Argonne), โรเดรคูรต์ (Raudrecourt) สัมภาระของกองพยาบาล โรส์นส์ (Rosnes), โรงพยาบาลสนามตําบลปิ โรงพยาบาลสนามอักษรย่อ อัช. โอ. แอรร์ฟติ ต์ (Pierrefitte), เอ. (H.O.E.) สัมภาระของกองบิน ออชส์ (Osches) บาร์ เลอ ดุก (Bar le Due), แวรดัง. กระสุนปืนใหญ่ แวรวิเนย์ (Vervinay), สนูวิลล์ โรแบรต์ เอสปัญ (Robert (Senouville). Espagne) พระเฉลิมอากาศ

(อานตอฉบับหนา)


น.ต.ไพศาล บุญยะรัตน ศวอ.ทอ. “ฝนหลวง” เปนโครงการพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จพระเจ าอยูหั ว ขณะที่เสด็จเยี่ย ม ประชาชนในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ เมื่อ วัน ที่ ๑๔ พ.ย.๒๔๙๘ ได ท รงพบเห็ น ความทุ ก ข ย าก เดือดรอนของประชาชน อันเนื่องมาจากความผันแปร ไม แ น น อนของฝนธรรมชาติ ทรงวิ เ คราะห แ ละมี พระราชดําริในการแกไขปญหา จึงมีพระราชประสงค ใหมีการศึกษา คนควา วิจัย กรรมวิธีดัดแปรสภาพ อากาศที่ เ หมาะสมกั บ ประเทศไทย เพื่ อ บรรเทา ความทุก ขยากของประชาชน ซึ่งอีก ๑๔ ปตอมา (พ.ศ.๒๕๑๒) ไดมีการทดลองและประสบผลสําเร็จ ภายใตการนําของหมอมราชวงศเทพฤทธิ์ เทวกุล ผู รั บ สนองพระราชดํ า ริ นั บ ตั้ ง แต ป พ.ศ.๒๕๑๔ เปนตนมา รัฐบาลโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ จึง น อ มรั บ วิธี ก ารทํ า ฝนหลวงมาปฏิ บัติ ก ารแก ไ ข

ปญหาภัยแลงตามการรองขอของประชาชน ควบคู ไปกั บ การพั ฒ นากรรมวิ ธี ก ารทํ า ฝนหลวงให มี ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น จนถึ ง ป จ จุ บั น ซึ่ ง ในการทํ า ฝนหลวง มีวิธีการทั้งหมด ๖ ขั้นตอน ประกอบดวย กอกวน(Triggering) เลี้ยงใหอวน(Fattening) โจมตี (Attacking)_โจมตีเมฆอุนแบบ“แซนดวิช” เสริมการ โจมตี(Enhancing) โจมตีเมฆเย็นดวยพลุซิลเวอร ไอโอไดด และโจมตีแบบ “ซูเปอรแซนดวิช” ตามลําดับ นั บ ตั้ ง แต ป พ.ศ.๒๕๑๕ เป น ต น มา กองทัพอากาศ ซึ่งมีภารกิจในการเตรียมและใชกําลัง ทางอากาศ เพื่อปองกันประเทศและไดรับมอบใหมี ส ว นร ว มในการพั ฒ นาประเทศ ช ว ยเหลื อ สั ง คม โดยเฉพาะการตอบสนองโครงการพระราชดํ า ริ ที่สําคัญ ซึ่งกองทัพอากาศไดดําเนินการสนับสนุน การใชอากาศยานและบุคลากรในการปฏิบัติการ


ฝนหลวงมาอยางตอเนื่อง ตอมาใน ป พ.ศ.๒๕๓๖ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดทดลองการทําฝน จากเมฆเย็น โดยใชพลุซิลเวอรไอโอไดดยิงบริเวณ ยอดเมฆที่ระยะสูงประมาณ ๒๒,๐๐๐ ฟุต ในชวง แรกนั้น กองทัพอากาศไดสนับสนุน เครื่องบินโจมตี แบบที่ ๖ (A-37) ใชเปนเครื่องบินที่ยิงพลุซิลเวอร ไอโอไดด ตอมากระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดรับ เครื่องบิน Super King Air จํานวน ๒ เครื่อง เพื่อใช ยิงพลุซิลเวอรไอโอไดดประกอบกับเครื่องบินโจมตี แบบที่ ๖ ปลดประจําการ กองทัพอากาศจึงไมได สนับสนุนเครื่องบินในภารกิจปฏิบัติการฝนหลวง ดังกลาว

ต อ มาในป พ .ศ.๒๕๓๘ กระทรวงเกษตร และสหกรณ ไดขอรับการสนับสนุนจากกองทัพอากาศ ใหดําเนินการวิจัยและพัฒนาพลุซิลเวอรไอโอไดด ขึ้น เพื่ อ ผลิตใช ง านทดแทนการจัด หาพลุ ซิ ล เวอร ไอโอไดด จ ากต า งประเทศ กองทั พ อากาศจึ ง ได ดําเนินการวิจัยพลุซิลเวอรไอโอไดดใหมีสมรรถนะ เทียบเทาของตางประเทศ แตมีราคาถูกกวา จากนั้น กองทัพอากาศ ไดดําเนินการผลิตพลุซิลเวอรไอโอไดด สนับสนุนกระทรวงเกษตรและสหกรณอยางตอเนื่อง ตั้งแต ป พ.ศ.๒๕๔๑ ถึงปจจุบัน รวม ๘,๐๐๐ นัด เพื่อใชกับเครื่องบิน Super King Air และเครื่องบิน โจมตีแบบที่ ๗ (Alpha Jet)

พลุซิลเวอรไอโอไดดที่ ศวอ.ทอ. ดําเนินการผลิต สนับสนุนสํานักฝนหลวงและการบินเกษตร


ในป พ.ศ.๒๕๔๙ กองทั พ อากาศ โดยมี สมรรถนะความเร็วสูง โดยการทดสอบยิงพลุฯ จาก ศูนยวิทยาศาสตรและพัฒนาระบบอาวุธกองทัพอากาศ แผงเครื่องยิงฯ ซึ่งติดตั้งใชงานบริเวณใตปก และ (เดิม) เปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก ไดดําเนินโครงการ การยิงจากเครื่องปลอยเปาลวง Chaff Dispenser พั ฒ นาชุ ด อุ ป กรณ ก ารทํ า ฝนสํ า หรั บ ติ ด ตั้ ง กั บ ซึ่ง กรมสรรพาวุธทหารอากาศ กองบัญชาการสนับสนุน เครื่องบินโจมตีแบบที่ ๗ (Alpha Jet) เพื่อนอมเกลา ทหารอากาศ รวมกับกองบิน ๒๓ กองพลบินที่ ๒ นอมกระหมอมถวาย เปนเครื่องบินปฏิบัติการฝนหลวง กองบั ญ ชาการยุ ท ธทางอากาศ (เดิ ม ) ได พั ฒ นา จํ านวน ๒ เครื่ อง เนื่ องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็ จ ติดตั้งใชงานกับเครื่องบิน Alpha Jet รวมทั้งการจัด พระเจาอยูหัว ทรงครองราชยครบ ๖๐ ป เพื่อเปน อบรมดานเทคนิคการทําฝนจากเมฆเย็นเบื้องตน กิจกรรมหนึ่งของงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ป ใหแกนักบินเครื่องบิน Alpha Jet พรอมเจาหนาที่ ซึ่งในการดําเนินการ ไดนําแผงเครื่องยิงพลุซิลเวอร ที่เกี่ยวของจนกระทั่งสามารถปฏิบัติการทําฝนจาก ไอโอไดด ข องเครื่ อ งบิ น A-37 ที่ ไ ด พั ฒ นาไว เ ดิ ม เมฆเย็นได จํานวน ๒ แผง มาปรับปรุงเพื่อติดตั้งกับเครื่องบิน จากผลการทดสอบการทํ า ฝนเมฆเย็ น Alpha Jet ดําเนินการทดสอบเพื่อรับรองความปลอดภัย ดวยเครื่องบิน Alpha Jet พบวา คุณลักษณะดาน ในการติ ดตั้ ง ใช ง านทั้ ง ภาคพื้ น และภาคอากาศ ความเร็วสูงและอัตราไตที่รวดเร็ว ทําใหเครื่องบิน เปนที่เรียบรอย จากนั้นไดทดลองใชงานในการทํา Alpha Jet มีความเหมาะสมตอการใชงานในภารกิจ ฝน ร ว มกั บ สํ า นั ก ฝนหลวงและการบิ น เกษตร การยั บ ยั้ ง พายุ ลู ก เห็ บ ได โดยการยิ ง พลุ ซิ ล เวอร กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อใหผลการใชงาน ไอโอไดด จํ า นวนมาก ให เ มฆตกเป น ฝนก อ นเกิ ด เปนที่ยอมรับตามหลักวิชาการของสํานักฝนหลวง พายุลูกเห็บ สําหรับในการใชงาน แมคาใชจายตอ และการบิ น เกษตรก อน จึ ง จะดํ า เนิ น การในส ว น ชั่ ว โมงบิ น จะค อ นข า งสู ง แต คุ ณ ลั ก ษณะด า น ของการพิ จ ารณา น อ ม เ ก ล า บ. Alpha Jet เตรียมบินขึ้น น อ ม ก ร ะ ห ม อ ม เพื่อปฏิบัติภารกิจ ถ ว า ย เ ค รื่ อ ง บิ น ต อ ไป ในระหว า ง ดําเนินการ ไดมีการ ปรับปรุงและพัฒนา พลุซิลเวอรไอโอไดด ให ส ามารถใช ง าน ได กั บ เครื่ อ งบิ น ที่ มี


ความเร็วและรัศมีปฏิบัติการทําใหเครื่องบิน Alpha Jet สามารถปฏิบัติการครอบคลุมพื้นที่ไดทั้งประเทศ โดยใชสนามบินตางๆ ของกองทัพอากาศเปนฐาน ปฏิบัติการ ในเบื้องตน กองทัพ อากาศรว มกับสํา นัก ฝนหลวงและการบินเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ จึงไดนําขอมูล สรุปผลการดําเนินโครงการฯ เสนอต อ กองงานส ว นพระองค สํ า นั ก พระราชวั ง เพื่อกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ตอมาในป พ.ศ.๒๕๕๑ สํานักฝนหลวงและการบิน เกษตรฯ ได ข อให ก องทั พ อากาศจั ด เครื่ อ งบิ น Alpha Jet จํานวน ๒ เครื่อง ฝกปฏิบัติภารกิจทําฝน ในสภาวะเมฆเย็น และฝกปฏิบัติภารกิจยับยั้งการ กอตัวของพายุลูกเห็บ โดยใชกองบิน ๔๑ กองพลบิน ที่ ๓ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ เปนฐานปฏิบัติการ ในชวง เม.ย. - พ.ค.๒๕๕๑

และในวั น ที่ ๒๒ ก.ย. ๒๕๕๑ ที่ ผ า นมา กองทั พ อากาศได รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อย า ง ล น พ น ด วยพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว พระราชทานพระบรมราชวโรกาส ให ค ณะของ กองทัพอากาศเขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท เพื่อ น อ มเกล า น อ มกระหม อ มถวายเครื่ อ งบิ น โจมตี แบบที่ ๗ (Alpha Jet) เปนเครื่องบินปฏิบัติการ ฝนหลวงตามวัตถุประสงคของโครงการและในการ ปฏิ บั ติ ก ารฝนหลวงประจํ า ป พ.ศ.๒๕๕๒ นี้ กองทัพอากาศ ไดจัดเครื่องบิน Alpha Jet เขารวม ปฏิ บั ติ ก ารฝนหลวง ซึ่ ง มี ส ว นร ว มในการปฏิ บั ติ ภารกิ จ ยั บ ยั้ ง การก อ ตั ว ของพายุ ลู ก เห็ บ โดยใช กองบิ น ๔๑ เป น ฐานปฏิ บั ติ ก าร ในช ว ง ๑๑-๑๕ เม.ย. ๒๕๕๒ ที่ผานมา

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให คณะของกองทัพอากาศ เขาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท เพือ่ นอมเกลานอมกระหมอมถวายเครือ่ งบิน Alpha Jet เปนเครื่องบินปฏิบตั กิ ารฝนหลวง เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๑


นอกจากการพัฒนาชุดอุปกรณการทําฝน สําหรับใชงานกับเครื่องบิน Alpha Jet ในการยิงพลุ ซิลเวอรไอโอไดดแลว กองทัพอากาศยังไดรวมมือ กับกระทรวงเกษตรและสหกรณในการพัฒนาอุปกรณ การทําฝนอีกชนิดหนึ่ง คือ พลุสารดูดความชื้น หรือ Hygroscopic Flare

ดูดความชื้นที่มีขนาดเล็กมาก แมน้ําหนักของพลุฯ ที่เผาไหมจะมีไมมากนัก แตจะใหจํานวนอนุภาคที่ ทําหนาที่เปนแกนกลั่นตัวของเม็ดฝนจํานวนมาก เปนผลใหไดปริมาณน้ําฝนเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการใช พลุฯ จึงมีความคุมคาและประหยัดคาใชจายในการ ทําฝน เนื่องจากสามารถใชปริมาณสารในแตละครั้ง ไมมาก และสามารถใชเครื่องบินที่มีขนาดเล็กในการ ทําฝนได

ลักษณะการนําพลุสารดูดความชื้นไปใชงาน เมื่อติดตั้งกับเครื่องบินโจมตีธุรการแบบที่ ๒

พลุสารดูดความชื้น เปนอุปกรณใชติดตั้ง กับอากาศยาน โดยมักติดตั้งดานหลังของปกเครื่องบิน จุดใหพลุสารดูดความชื้นเผาไหมในอากาศปลอย ควัน ซึ่งประกอบดวยอนุภาคของเกลือดูดความชื้น เพื่อทําฝนจากเมฆอุน ปจจุบันในตางประเทศมีการ ใช พลุสารดูดความชื้ นนี้ ในการทํ าฝนจากเมฆอุ น อย า งแพร ห ลาย เช น การใช ง านในสาธารณรั ฐ แอฟริกาใต, สหรัฐอเมริกา, ฝรั่งเศส, เม็กซิโก, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส, โมร็อกโก และ อินโดนีเซีย สาเหตุที่อุปกรณชนิดนี้ไดรับความนิยม เปนเพราะ มีประสิทธิภาพในการทําฝนจากเมฆอุนที่ความสูง ประมาณ ๘,๐๐๐ ฟุต ไดดี เนื่องจากเมื่อพลุสารดู ด ความชื้ น เผาไหม จะเกิ ด อนุ ภ าคเกลื อ สาร-

ผบ.ทอ.เยี่ยมชมนิทรรศการพลุสารดูดความชื้น และอุปกรณอื่นๆที่กองทัพอากาศวิจัยและพัฒนาขึน้

สํานักฝนหลวงและการบินเกษตร มีความ สนใจที่จะนําอุปกรณนี้เขามาใชเสริมการปฏิบัติการ ฝนหลวง จึงไดริเริ่มโครงการขึ้น เมื่อปพ.ศ.๒๕๔๗ ดวยการประสานความรวมมือกับกองทัพ อากาศ โดยศูนยวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีการบิน และอวกาศกองทัพอากาศ (ศูนยวิทยาศาสตรและ พัฒ นาระบบอาวุธ กองทั พ อากาศเดิ ม ) และศู น ย บรรเทาสาธารณภัยกองทัพอากาศ ในการดําเนินการ วิจัยและพัฒนาพลุสารดูดความชื้น เพื่อเสริมการ ปฏิบัติการฝนหลวงเมฆอุนมาอยางตอเนื่อง ซึ่งการ ดํ า เนิ น โครงการวิ จั ย ที่ ผ า นมา ศู น ย วิ จั ย พั ฒ นา


วิ ท ยาศาสตร เ ทคโนโลยี ก ารบิ น และอวกาศ กองทัพอากาศ ไดทดลองในหองปฏิบัติการโดยการ ปรั บสู ตรส ว นผสม และตรวจวัดคุณลัก ษณะทาง เคมีและฟสิกสจนทําใหไดสูตรสวนผสมของพลุฯที่ เผาไหมใหอนุภาคของสารฝนหลวง คือ สูตรรอน แคลเซียมคลอไรด, สูตรแกนกลั่นตัว โซเดียมคลอไรด และสูตรแกนกลั่นตัว ท.๑ ระหวางป พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๔๙ ศูนยวิจัย พัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีการบินและอวกาศ กองทัพอากาศ ไดดําเนินการ ออกแบบ และสราง อุ ป กรณ สํ า หรั บ ติ ด ตั้ ง กั บ เครื่ อ งบิ น โจมตี ธุ ร การ แบบที่ ๒ (บ.จธ.๒) และทําการทดสอบรับรองความ ปลอดภั ย ในการใช ง านกั บ อากาศยาน(Stores Certification Test) ทั้งภาคพื้นและภาคอากาศ จนกระทั่งทําใหสามารถนําไปใชงานไดอยางปลอดภัย ในป พ.ศ.๒๕๕๐ เปนครั้งแรกที่ไดทดสอบ ทํ า ฝนเมฆอุ น ด ว ยพลุ ส ารดู ด ความชื้ น สู ต ร แคลเซี ย มคลอไรด กั บ กลุ ม เมฆตั ว อย า ง โดยใช กองบิ น ๕ และกองบิ น ๒๑ เป น ฐานปฏิ บั ติ ก าร และใช เ รดาร ฝ นหลวงในบริ เ วณใกล เ คี ย ง เช น เรดารฝนหลวงหัวหิน, ตาคลี และ พิมาย ในการ ประเมิ น ผล ซึ่ ง ข อ มู ล ในเบื้ อ งต น บ ง ชี้ ว า พลุ ส ารดูดความชื้น สูตร แคลเซียมคลอไรด มีประสิทธิภาพ ในการทําฝน ต อ มาในป พ.ศ.๒๕๕๑ สํ า นั ก ฝนหลวง และการบินเกษตร ไดโอนงบประมาณการวิจัยให กองทัพอากาศดําเนินการวิจัยตอไป โดยการผลิต และทดสอบพลุสารดูดความชื้น สูตรแกนกลั่นตัว โซเดียมคลอไรด ในการทดสอบประสิทธิภาพการ

ทําฝนครั้งนี้ ใชกองบิน ๔ เปนฐานปฏิบัติการ และ ใชเรดารฝนหลวงตาคลีในการประเมินผล ซึ่งขอมูล ในเบื้ อ งต น บ ง ชี้ ว า พลุ ฯ ดั ง กล า ว มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ในการทํ า ฝนเช น เดี ย วกั น จึ ง ได กํ า หนดให มี ก าร ปรั บ ปรุ ง และทดสอบเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ เพิ่ ม ความ ไว ว างใจในการจุ ด ตั ว ของพลุ ฯ ต อ ไป นอกจากนี้ ศูนยวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยีการบินและ อวกาศกองทัพอากาศ ไดนํางบประมาณการวิจัยที่ กองทัพอากาศไดรับจากบริษัทการบินไทย จํากัด มหาชน มาพั ฒ นาอุ ป กรณ ค วบคุ ม การจุ ด พลุ ฯ แบบใหม เพื่อใหนักวิชาการฝนหลวงสามารถจุดพลุฯ ไดจากภายในหองโดยสารของ บ.จธ.๒ แทนระบบ เดิม ที่ใชวงจรไฟฟาสําหรับยิงจรวดของเครื่องบิน เปนการลดภารกรรมของนักบิน ซึ่งนักบิน ตองทํา การบิน ในสภาพอากาศที่มี กระแสอากาศไหลขึ้น อยางรุนแรง จึงเปนการเพิ่มความปลอดภัยในการ ปฏิบัติการไดอีกแนวทางหนึ่ง จากการทดสอบในป พ.ศ.๒๕๕๐ และ ๒๕๕๑ ซึ่ ง ได ผ ลเป น ที่ น า พอใจ แต ข อ มู ล ที่ ไ ด ยั ง ไมเ พีย งพอที่ จ ะทํา ให สามารถตอบคํ า ถามในเชิ ง สถิติไดวา พลุสารดูดความชื้น ดังกลาว สามารถทํา ใหขนาดความกวางของฐานเมฆ และความสูงของ เมฆเพิ่ ม ขึ้ น ได ห รื อ ไม ปริ ม าณและขนาดของ เม็ดน้ําฝนเพิ่มขึ้นจริงหรือไม จึงไดกําหนดใหมีการ ทดสอบเก็บขอมูลเพิ่มเติมในป พ.ศ.๒๕๕๒ จากเหตุ ผ ลดั ง กล า ว การทดสอบทํ า ฝน เมฆอุ น ด ว ยพลุ ส ารดู ด ความชื้ น ในครั้ ง นี้ จึ ง เป น ครั้ ง แรกที่ สํ า นั ก ฝนหลวงและการบิ น เกษตร สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ ได


กําหนดแนวทางใหมีการใชเครื่องบิน Super King Air 350 รวมบินทดสอบ เพื่อตรวจวัดและเก็บขอมูล เมฆฟสิกสของเมฆอุนทั้งกอนและหลังการจุดพลุฯ เขาไปในบริเวณใตฐานเมฆที่ผานเกณฑหนวยทดลอง การทําฝนเมฆอุ น เพื่อที่จะนํา ขอมูลเชิง สถิติที่ได เหลานี้มาวิเคราะหตอไป ในวันที่ ๒ มิ.ย.๒๕๕๒ ที่ผานมา ไดทําพิธี เปดการทดสอบทําฝนเมฆอุนดวยพลุสารดูดความชื้น ติดตั้งกับ บ.จธ.๒ ตั้งฐานปฏิบัติการ ณ กองบิน ๔ โดยมี พล.อ.ท.อภิ ศั ก ดิ์ บุ ญ เผื่ อ น ผอ.ศวอ.ทอ. ในขณะนั้นเปนประธาน กํ าหนดเวลาดําเนิ น การ ระหว า งวั น ที่ ๑-๒๘ มิ . ย.๒๕๕๒ ในครั้ ง นี้ ใ ช พ ลุ สารดูดความชื้น สูตร แคลเซียมคลอไรด เมื่อพลุฯ เผาไหมแลวจะปลอยควันที่มีคุณสมบัติเปนอนุภาค ของสารดูดความชื้น ซึ่งเปนสารแคลเซียมคลอไรด ธรรม

ตรงกั บ สารฝนหลวงที่สํ า นั ก ฝนหลวงและการบิ น เกษตร ใชงานโดยการโปรยอยูในปจจุบัน สําหรับหัวใจของการทดสอบครั้งนี้ นอกเหนือ จากประสิทธิภาพการทํางานของพลุสารดูดความชื้น คือ การปฏิบัติงานรวมกันระหวางนักบิน บ.จธ.๒ ซึ่งเปนผูจุดพลุสารดูดความชื้นใหแทงพลุฯเกิดการ เผาไหม บริ เ วณใต ฐ านเมฆที่ ค วามสู ง ประมาณ ๔,๕๐๐ ฟุ ต หรื อ ใต ฐ านเมฆอุ น ๕๐๐ ฟุ ต กั บ นักวิชาการฝนหลวง ในสวนของเครื่องบิน Super King Air 350 ซึ่งทําหนาที่คอยตรวจสอบเงื่อนไข กลุมเมฆทดลองว า ผ า นเกณฑ ห นว ยทดลองการ ทําฝนเมฆอุนหรือไม รวมทั้งเรดารฝนหลวงตาคลี ซึ่ ง จะทํ า หน า ที่ เ ป น ผู ต รวจสอบการเกิ ด กลุ ม เมฆ คิวมูลัสในตอนแรก (First Echo) และคอยติดตาม เมฆกลุมนี้จนกระทั่งจบขั้นตอนของการทดสอบ

ผอ.ศวอ.ทอ. เปนประธานในพิธีเปดการทดสอบทําฝนเมฆอุนดวยพลุสารดูดความชื้น ณ กองบิน ๔ อ.ตาคลี จ.นครสวรรค

การจุดพลุสารดูดความชื้น บริเวณใตฐานเมฆ


หลังจากไดดําเนินการทดสอบ เก็บขอมูลที่ เกี่ยวของในสวนตางๆ เรียบรอยแลว ลาสุดเมื่อวันที่ ๒๘ มิ.ย.๒๕๕๒ ไดมีการประชุมสรุปผล และพิธีปด การทดสอบทําฝนเมฆอุนดวยพลุสารดูดความชื้น โดยมีนายวราวุธ ขันติยานันท ผูอํานวยการสํานัก ฝนหลวงและการบิ น เกษตร และพลอากาศตรี สมศักดิ์ ไทยเพ็ชร รอง ผอ.ศวอ.ทอ.ในขณะนั้นรวม เปนประธานในพิธี สามารถสรุปผลไดดังนี้ ในสวน ของพลุสารดูดความชื้น ซึ่งมีจํานวน ๒๐๐ นัด ใชไป ในการทดสอบทั้งหมด ๙๗ นัด ผลปรากฏวา พลุฯ เผาไหมสมบูรณทั้งหมด ๘๗ นัด คิดเปนประสิทธิภาพ การทํางานประมาณ ๙๐% มีระยะเวลาในการเผาไหม เฉลี่ยตอนัดคอนขางคงที่ประมาณ ๖ นาที มีปญหา เรื่องการลุกลามไปยังนัดตอไปและเรื่องการจุดติด ของพลุฯ บาง เปนบางนัด แตก็สามารถวิเคราะหหา

สาเหตุ และดํ าเนินการแก ไขเรียบรอยแลว ผลเป น ที่ น า พอใจ สํ า หรั บ ในส ว นของการทดสอบทํ า ฝน สามารถสรุปไดวา หลังการใชพลุฯ มีการเปลี่ยนแปลง ทางฟสิกสเกิดขึ้น คือ ยอดเมฆสูงขึ้น ๑๗% ฐานเมฆ มีความกวางเพิ่มขึ้น ๒๗% มีคากระแสอากาศไหลขึ้น เพิ่ ม ขึ้น ๑๑% โดยเฉพาะการเปลี่ย นแปลงที่ เ ห็ น ไดชัด คือ เม็ดน้ําขนาดเล็กมีขนาดใหญขึ้นถึง ๔๙% จนกระทั่ง กลายเปนเม็ ดฝนที่ระดับฐานเมฆ และ ช ว ยเพิ่ ม จํ า นวนเม็ ด น้ํ า ที่ ฐ านเมฆ ทํ า ให ป ริ ม าณ ความหนาแนนของเม็ดน้ําเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถตอบ คําถามตามที่ไดกลาวไวในตอนตนไดและบรรลุตาม วัตถุประสงคที่ตั้งไว จากผลการดําเนินโครงการวิจัยและพัฒนา พลุสารดูดความชื้น เพื่อเสริมการปฏิบัติการฝนหลวง เมฆอุ น ที่ ผ า นมา เมื่ อ วั น ที่ ๒๗-๒๘ ก.ค.๒๕๕๒


สํา นักฝนหลวงและการบินเกษตร ไดจัดใหมีก าร ประชุ ม สรุ ป ผลและจั ด ทํ า รายงานผลการดํ า เนิ น โครงการฯ รวมกับกองทัพอากาศ ในเบื้องตนสามารถ สรุปรูปแบบของรายงานได โดยแบงออกเปน ๔ สวน คือ บทสรุปโครงการฯ การพัฒนาพลุสารดูดความชื้น และอุ ป กรณ ติ ด ตั้ ง กั บ อากาศยาน การทดสอบ ประสิทธิภาพการทําฝนสูตรแคลเซียมคลอไรด และ การทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า ฝนสู ต รโซเดีย ม คลอไรด ตามลําดับ ซึ่งรายละเอียดแตละสวนนั้น ได ดํ า เนิ น การจั ด ทํ า เป น รายงานฉบั บ สมบู ร ณ เรียบรอยแลว ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๕๓ ไดดําเนินการทดสอบ ประสิทธิภาพการทําฝนเมฆอุนดวยพลุสารดูดความชืน้ เพิ่มเติม เพื่อเก็บขอมูลอยางตอเนื่องจากป ๕๒ ซึ่ง ในครั้ ง นี้ ได เ ตรีย มพลุ ส ารดู ดความชื้น ไวทั้ ง หมด ๒๐๐ นัด ประกอบดวยสูตร แคลเซียมคลอไรด จํานวน ๑๐๐ นัด และสูตร โซเดียมคลอไรด จํานวน ๑๐๐ นัด ใชในการทดสอบไปทั้งหมด ๑๖๕ นัด คงเหลือเฉพาะ สูตร โซเดียมคลอไรด จํานวน ๓๕ นัด สําหรับการ จุดตัวและการเผาไหมของพลุสารดูดความชื้นทั้ง ๑๖๕ นัด คิดเปน ๙๐ % ในสวนของประสิทธิภาพ การทําฝนเมฆอุน จัดอยูในเกณฑดี เปนที่นาพอใจ สําหรับในป พ.ศ.๒๕๕๔ เมื่อวันที่ ๒๒–๒๗ ม.ค.๒๕๕๔ ที่ผานมา กองทัพอากาศ โดย ศวอ.ทอ. รวมกับสํานักฝนหลวงและการบินเกษตร ไดดําเนินการ ทดลองจุด ทดสอบพลุ สารดู ด ความชื้ น ในบริ เ วณ หุบเขา เพื่ อสรางหมอก (สรางเมฆ)/สลายหมอก เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งกิจกรรม ทั้งนี้ เพื่อเปนการทดสอบ สมมุ ติ ฐ านที่ จ ะอธิ บ ายว า อนุ ภ าคของพลุ ส าร-

ดูดความชื้น สามารถสรางแกนกลั่นตัวและทําให เกิ ดเมฆได จริ ง จึง ทํา ให เ กิด กิ จ กรรมทดสอบการ จุดพลุสารดูดความชื้นบริเวณหุบเขา ณ อ.อมกอย จ.เชียงใหม โดยใชพลุสารดูดความชื้น สูตรโซเดียม คลอไรด จํานวน ๓๕ นัด ซึ่งเปนพลุสารดูดความชื้น ที่เหลือจากการทดสอบเมื่อป พ.ศ.๒๕๕๓ ในการ ทดสอบครั้งนี้ไดคํานึงถึงทฤษฎีที่เกี่ยวของเกี่ยวกับ การเกิดหมอก ซึ่งระบุไววา หมอกเกิดจากการกลั่นตัว ของไอน้ํา เมื่ออุณหภูมิในอากาศมีคาเทากับหรือ เกือบเทากับอุณหภูมิจุดน้ําคาง ไอน้ําจะกลั่นตัวเปน ละอองน้ํา ดังนั้นหมอกกับเมฆจึงตางกันที่หมอกมีฐาน อยู ติ ด กั บ พื้ น ดิ น ส ว นเมฆมี ฐ านอยู เ หนื อ พื้ น ดิ น ขึ้นไป หมอกจะไมเกิดเมื่ออุณหภูมิจุดน้ําคางตางจาก อุณหภูมิอากาศเกิน ๒ องศาเซลเซียส หรือ ๓๕.๖ องศาฟาเรนไฮด หมอกเกิดขึ้นได ๒ วิธี คือ ๑. เมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลงจนเทากับ อุณหภูมิของจุดน้ําคาง จะเกิด - หมอกที่ เ กิ ด จากการพาความร อ น (Advection fog) - หมอกที่เกิดจากการแผรังสี (Radiation fog/Ground fog) - หมอกลาดเนินเขา (Upslope fog) ๒. เมื่ อ มี ก ารเพิ่ ม ความชื้ น เข า ไปใน บรรยากาศ ทําใหอุณหภูมิของจุดน้ําคางมีคาสูงขึ้น จะเกิด - หมอกไอน้ํา (Stream fog/Evaporation fog) - หมอกในแนวปะทะอากาศ (Frontal fog)


นอกจากนี้ ยังมีหมอกที่มีลักษณะแตกตาง ออกไป เชน หมอกน้ําคาง (Mist), หมอกมรสุม (Monsoon fog), หมอกปนควัน (Smog) แตไมวาจะเปนหมอก ประเภทไหน จะทําใหทัศนวิสัยลดลง การทดสอบครั้งนี้ จัดเปนการทดลองสราง หมอกในวิธีที่ ๑. คือ หมอกลาดเนินเขา (Upslope fog) ซึ่งผลจากการทดสอบโดยรวม จะเห็นไดวา หลังจากที่มีการจุดพลุสารดูดความชื้นอยางตอเนื่อง เพื่อใหควันที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม ซึ่งมีอนุภาค ของเกลื อ โซเดี ย มคลอไรด อ ยู เ ป น จํ า นวนมาก เคลื่อนที่เขาไปสูบริเวณเปาหมาย กลุมหมอกที่เกิดขึ้น บริเวณผิวน้ําจะมีการยกตัวเคลื่อนที่เขาหากลุมควัน ดังกลาวอยางเห็นไดชัด และที่สําคัญ คือ หลังจาก ที่ ก ลุ ม ควั น ได เ คลื่ อ นที่ ผ า นผิ ว น้ํ า ไประยะหนึ่ ง จะสั ง เกตเห็ น กลุ ม หมอกเกิ ด ขึ้ น บริ เ วณผิ ว น้ํ า ใน ปริมาณมากขึ้น และมีอุณหภูมิลดลงจากเดิม ซึ่ง สอดคลองกับคาของอุณหภูมิที่วัดได รวมทั้งคาของ ความชื้น สัม พัทธ ซึ่งมีคาสู งขึ้น ทําให ในเบื้องตน สามารถสรุปไดวา อนุภาคของพลุสารดูดความชื้น สูตร โซเดียมคลอไรด มีแนวโนมที่จะสามารถสราง แกนกลั่นตัวและทําใหเกิดเมฆไดจริง การจุดพลุสารดูดความชื้น สูตร โซเดียมคลอไรด์ บริเวณหุบเขา ณ อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่

นอกจากนี้ เมื่อ ๘ มี. ค.๒๕๕๔ ที่ผานมา กองทั พ อากาศได จั ด พิ ธี ส ง หน ว ยบิ น ปฏิ บั ติ ก าร ฝนหลวงกองทัพอากาศ ประจําป พ.ศ.๒๕๕๔ โดย มี พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ ผูบัญชาการทหารอากาศ เปนประธานในพิธี

ซึ่งในปนี้ กองทัพอากาศมีความพรอมใน การสนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวง เพื่อชวยเหลือ ประชาชน โดยการสนับสนุนเครื่องบินโจมตีแบบที่ ๗ (Alpha Jet) จํานวน ๒ เครื่อง, เครื่องบินลําเลียง แบบที่ ๒ ก (BT-67) จํานวน ๓ เครื่อง และเครื่องบิน โจมตีธุรการแบบที่ ๒ (บ.จธ.๒) จํานวน ๖ เครื่อง พรอมนักบินและบุคลากร ซึ่งทําใหสามารถจัดตั้ง หนวยปฏิบัติการฝนหลวงเพิ่มไดอีก ๓ หนวย สําหรับ ดานการวิจัยและพัฒนา กองทัพอากาศไดสนับสนุน


โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาต า งๆ เช น การผลิ ต พลุ ซิลเวอรไอโอไดด และทีมงานของกองทัพอากาศใน โครงการทําฝนเมฆเย็นและการยับยั้งพายุลูกเห็บ โดยใชเครื่องบิน Alpha Jet รวมถึงการผลิตพลุสาร ดูดความชื้นและทีมงานในโครงการทําฝนเมฆอุน ด ว ยพลุ ส ารดู ด ความชื้ น โดยใช บ.จธ.๒ ซึ่ ง ใน ขณะนี้ กองทัพอากาศมีความพรอมที่จะสนับสนุน การปฏิบัติการตามแผนของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ ปจจุบัน กองทัพอากาศไดปฏิบัติการยับยั้ง พายุลูกเห็บรวมกับสํานักฝนหลวงและการบินเกษตร โดยการใชเครื่องบิน Alpha Jet จํานวน ๒ เครื่อง ในการบินขึ้นไปปฏิบัติภารกิจยิงพลุซิลเวอรไอโอไดด ลงสูยอดเมฆที่กําลังพัฒนาไปสูการเกิดพายุลูกเห็บ เพื่อชวยลดความรุนแรงของพายุลูกเห็บ ซึ่งภารกิจนี้ เป น กระแสพระราชดํ า ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว ที่ทรงหวงใยราษฎรที่จะไดรับความ เดือดรอนจากพายุลูกเห็บ จึงไดรับสั่งใหหนวยบิน ปฏิ บัติก ารฝนหลวงได ปองกั น และชว ยลดความ รุนแรงของพายุลูกเห็บที่จะเกิดขึ้นในชวงนี้ สําหรับ การปฏิบัติภารกิจครั้งนี้ ไดกําหนดแผนดําเนินงาน ตั้ ง แต ๒๑ มี . ค.๒๕๕๔ จนถึ ง ๑๙ เม.ย.๒๕๕๔ โดยใช ศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารฝนหลวงภาคเหนื อ และ กองบิน ๔๑ จ.เชียงใหม เปนฐานปฏิบัติการ นอกเหนือ จากนี้ ในหว งระยะเวลาตั้ ง แต วันที่ ๑ พ.ค.๒๕๕๔ ถึง ๓๐ มิ.ย.๒๕๕๔ กองทัพอากาศ จะทดสอบประสิทธิภาพการทําฝนเมฆอุนรวมกับ สํ า นั ก ฝนหลวงและการบิ น เกษตร โดยตั้ ง ฐาน ธรรมชาติ

ปฏิ บั ติ ก าร ณ กองบิ น ๔ และใช บ.จธ.๒ จุ ด พลุ สารดู ด ความชื้ น บริ เ วณใต ฐ านเมฆ ซึ่ ง ในครั้ ง นี้ จะทําการทดสอบพลุสารดูดความชื้นทั้ง ๒ สูตร คือ สูตรแคลเซียมคลอไรด และสูตรโซเดียมคลอไรด ในระยะเวลา ๒ เดือน โดยการเลือกใชสูตรของพลุ สารดูดความชื้นนั้น ขึ้นอยูกับเงื่อนไขของกลุมเมฆ ตัวอยาง ซึ่งนักวิชาการฝนหลวง สํานักฝนหลวงและ การบินเกษตรจะเปนผูกําหนด จะเห็ น ได ว า การดํ า เนิ น โครงการพั ฒ นา ชุ ด อุ ป กรณ ก ารทํ า ฝนสํ า หรั บ ติ ด ตั้ ง กั บ เครื่ อ งบิ น โจมตีแบบที่ ๗ (Alpha Jet) เพื่อนอมเกลานอมกระหมอม ถวายเปนเครื่องบินปฏิบัติการฝนหลวง การใชเครื่องบิน Alpha Jet ขึ้นบินยิงพลุซิลเวอรไอโอไดด เพื่อลด ความรุ น แรงของพายุ ลู ก เห็ บ และการพั ฒ นาพลุ สารดูดความชื้นพรอมอุปกรณ เพื่อเสริมการทําฝน เมฆอุน หรือการสรางหมอก(สรางเมฆ) นั้น ถือเปน โอกาสอันดียิ่ง ที่กองทัพอากาศไดใชทรัพยากรดาน การวิ จั ย พั ฒ นาและองค ค วามรู ที่ มี อ ยู สนั บ สนุ น โครงการพระราชดําริในอีกแนวทางหนึ่ง รวมทั้งทํา ใหสามารถสนองนโยบายรัฐบาลที่มุงเนนยุทธศาสตร ในการพึ่งพาตนเองและลดการนําเขาจากตางประเทศ ซึ่ ง ตรงตามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ พระองค ท า น ตลอดจนทํ า ให ก ารประสานความ รว มมื อของเจ า หน า ที่ ใ นหน ว ยงานทั้ ง สองเป น ไป อย า งราบรื่ น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ ยั ง กอใหเกิดแนวทางความรวมมือในอนาคตเกี่ยวกับ การพัฒนาเทคโนโลยีฝนหลวงในดานอื่นๆ ตอไป อีกดวย...22


มีน

ให้หาคํามาเติมทั้งแนวตั้งและแนวนอน โดยดูจากความหมายที่ให้มา แต่ละช่องเติมได้ ๑ ตัวอักษร สระบน สระล่าง และวรรณยุกต์ ให้เติมไว้กับตัวอักษรช่องเดียวกัน ส่วนสระหน้า และสระหลัง ให้แยกช่องต่างหาก


à แนวตั้ง Ä

Á แนวนอน Â

๑. ความไมเอื้อเฟอ ๒. ฉับพลัน ฉับไว ๓. ลูกชาย (ใชแกเจานาย) ๔. มาก (ภาษาปาก) ๕. ผลหมากแกจัด เปลือกสีสมอมแดง เมื่อผาจะ เห็นเนื้อในแข็งมาก ๖. ผูพยากรณโดยอาศัยการโคจรของดวงดาวเปน หลัก ๗. อบดวยควันหรือไอไฟ ๘. อาการถู ก ทํ า ร า ยบริ เ วณท อ งจนล ม ลงกั บ พื้ น ในลักษณะตัวงอคลายคนนอนสูบฝน ๑๐. ที่อยูสูงขึ้นไป โดยปริยายหมายถึงผูหรือสิ่งที่มี อํานาจเหนือกวา ๑๓. ของมีคม อาวุธ ๑๕. การกําหนดไวในใจ ๑๖. ระยะที่มัดหรือขอดไวเปนตอนๆ ๑๙. ผาที่มีเนื้อลื่น เรียบเปนมัน ๒๐. ผาสําหรับคาดพุงหรือพาดไหล ๒๑. กระแสเสียงที่ลงทาย ซึ่งแสดงนิสัย ความรูสึก หรืออารมณของผูพูด ๒๔. กําแพงสําหรับปองกันการรุกราน ๒๕. เดินไปมาโดยมีสติกํากับอยางพระเดินเจริญ กรรมฐาน ๒๙. ถือเพศเปนภิกษุสามเณรหรือนักพรตอื่นๆ ๓๐. ละเอียด อณู ๓๑. กลา ๓๔. เบา ออน นอย ๓๖. ดวยกัน พรอม รวมกัน ๓๗. ไมที่เปนที่ตรัสรูของพระพุทธเจา

๑. มีอายุแกกวาหรือมีตําแหนงหนาที่การงานสูงกวา ๔. เพลงเริ่มตนของการบรรเลงหรือการแสดง บอก ใหทราบวางานนั้นไดเริ่มตนขึ้นแลว ๙. ครึ่งบาครึ่งดี ๑๐. เกษม ความสบายใจ ๑๑. ผูรู ๑๒. สิบ ๑๔. อาการที่สมอหลุดจากพื้นที่ทอดไว แลวครูดไป ตามพื้นทองน้ําดวยแรงลมและกระแสน้ํา ๑๖. ไมตรงตามแนว ไมเปนระเบียบ ๑๗. งาม ๑๘. นาง ๑๙. แบนราบ เพียบ ๒๐. สุนทรภู กวีเอกของไทย เกิดเมื่อวันที่ .......... มิถุนายน ๒๓๒๙ ๒๒. ฝานเอาเปลือกแข็งออก (ภาษาถิ่นปกษใต) ๒๓. ตนไมเปลือกสีดํา ผลเล็ก ผล เปลือก และเนื้อ ใชทํายาได ๒๔. แกม ๒๕. ไป ประพฤติ ๒๖. พี่สาวของแม ๒๗. ชื่อไมลมลุกชนิดหนึ่ง ผลเปนฝก มีเมล็ดเล็กๆ สีขาวหรือดํา ใชประกอบอาหารหรือสกัดน้ํามัน ๒๘. เซาซี้จะเอาใหได ๓๑. ดายหรือไหมที่แยกจากเข็ดแลวผูกไวไมใหยุง ๓๒. ผูชนะตนเอง ผูสํารวมอินทรีย ๓๓. ชาง ๓๕. คนครัว พอครัว ๓๗. อาการที่ลมพัดออนๆ ๓๘. การละเลนรื่นเริง มีโขน เปนตน ๓๙. ยันต

(เฉลยอยูหนา ๔๓)


ปชส.สธน.ทอ.

พลอากาศตรี คเชนท์ โสมะนันทน์ ผอ.สธน.ทอ.

นาวาอากาศเอก รังสรรค์ พึ่งจิตต์ตน รอง ผอ.สธน.ทอ.(๑)

นาวาอากาศเอก ทนงศักดิ์ สุทธิสารากร รอง ผอ.สธน.ทอ.(๒)


นับเปนฉบับปฐมฤกษในการเผยแพรประวัติ ความเปนมาของกิ จการกฎหมายของกองทั พอากาศ ในอดีตจนถึงปจจุบัน เนื่องในโอกาสที่หนวยงาน ต า งๆ ในกระทรวงกลาโหม ได มีก ารปรั บ เปลี่ย น โครงสรางองคกรใหม เพื่อใหมีความทันสมัย เชื่อมโยง และสอดคลองตอสภาพของบานเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ง กองทัพอากาศที่ไดปรับเปลี่ยนโครงสรางใหม ด ว ยเช น กั น ปรากฏตามพระราชกฤษฎี ก าแบ ง ส ว นราชการและกํ า หนดหน า ที่ ข องส ว นราชการ กองทั พ อากาศ กองทั พ ไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๒ ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา เมื่ อ วันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๒ ใหมีผลใชบังคับ เมื่อ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๒ พรอมกับการจัดตั้งสํานักงาน พระธรรมนูญทหารอากาศ ขึ้นเปนหนวยขึ้นตรงตอ กองทัพอากาศ ดังนั้น จึงถือไดวา วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๒ เปนวันสถาปนาสํานักงานพระธรรมนูญ ทหารอากาศ ในฐานะที่เปนหนวยงานทางกฎหมาย ของกองทัพอากาศ แตกอนจะกลาวถึงรูปรางหนาตา ของสํ านักงานพระธรรมนูญทหารอากาศในวัน นี้ จึงสมควร จะไดกลาวถึงประวัติความเปนมาของ กิจการกฎหมายของกองทัพอากาศในอดีตพอเปน สังเขป ประวั ติ ค วามเป น มา เมื่ อ ย อ นไปในป พุทธศักราช ๒๔๗๕ ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได ๙ วัน ในปฐมรัฐบาลที่มี พระยามโนปกรณนิติธาดา ดํ า รงตํ า แหน ง นายกรั ฐ มนตรี กระทรวงกลาโหม ไดออกประกาศจัดระเบียบปองกันราชอาณาจักร ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๔๗๕ ใหกรมอากาศยานขึ้นตรง ตอผู บัญ ชาการทหารบกและออกข อบั ง คั บ ทหาร

ที่ ๘/๙๕๔๙ วาดวยการจัดระเบียบและการกําหนด หนาที่กระทรวงกลาโหม ใหกรมอากาศยานขณะนัน้ มีหนาที่เกี่ยวกับกิจการกฎหมาย โดยใหรักษาการ ตามพระราชบัญญัติวาดวยการเดินอากาศ ตอมา กิจการนี้ไดโอนมาอยูในความรับผิดชอบของแผนก การคดีและบัญชีพล ในกองบังคับการ กรมอากาศยาน มีเจาหนาที่ประจําแผนกการคดีและบัญชีพลคนแรก คือ นายกาน นิติสาขา คนถัดมา คือ ราชบุรุษโชติ ชวนะลิ ขิ ก ร ต อ มาเปลี่ ย นชื่ อ สกุ ล เป น “รั ต นกุ ล ” ได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ หั ว หน า การคดี แ ละบั ญ ชี พ ล กองบั ง คั บ การ ฯ ตามคํ า สั่ ง กรมอากาศยาน ที่ ๕๘๔๙/๒๔๗๖ ลงวันที่ ๑ กันยายน ๒๔๗๖ ตอมา ในป พ.ศ.๒๔๘๐ หลังจากที่กรมอากาศยานเปลี่ยน ชื่อเปน “กรมทหารอากาศ” และไดตราพระราชบัญญัติ แกไขพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวง กลาโหม พ.ศ.๒๔๗๘ (ฉบั บ ที่ ๒) พ.ศ.๒๔๘๐ เปลี่ยนชื่อ “กรมทหารอากาศ” เปน “กองทัพอากาศ” แลว ในป พ.ศ.๒๔๘๔ กระทรวงกลาโหม มีคําสั่ง ทหาร ที่ ๖/๔๖๖ ลง วันที่ ๖ มกราคม ๒๔๘๔ ยาย นายรอยโท เกียรติ มังคละพฤกษ อัยการศาลจังหวัด ทหารบกสงขลา มาสํารองราชการที่กองบังคับการ กองทัพอากาศ อีกตําแหนงหนึ่ง หลังจากนั้น ในป พ.ศ.๒๔๘๗ แผนกการคดี แ ละบั ญ ชี พ ล ได ถู ก ปรับเปลี่ยนแบงงานออกเปน ๒ แผนก คือ แผนก การคดีและแผนกทะเบียนพล สําหรับแผนกการคดี มี นายเรืออากาศเอก เกียรติ มัง คละพฤกษ เปน หัวหนาแผนก ตอมา ในป พ.ศ.๒๔๙๑ กองบังคับการ กองทัพอากาศ ไดเปลี่ยนเปนแผนกกลาง ขึ้นตรงตอ กรมเสนาธิการทหารอากาศ และแผนกการคดี ได


เปลี่ยนเปน “กองการคดี” แผนกกลาง กรมเสนาธิการ ทหารอากาศ มี นาวาอากาศโท เกียรติ มังคละพฤกษ เปนอัยการกองทัพอากาศและรักษาการแมกองการคดี แผนกกลาง ฯ อีกตําแหนงหนึ่ง ตามคําสั่งกองทัพอากาศ ที่ ๓๔๙๑/๑๘๑๕๔ ลง วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๔๙๑ ตอมา ในป พ.ศ.๒๔๙๓ มีคําสั่งกระทรวงกลาโหมที่ ๑๖๒/๑๓๕๖๔ ลง วั น ที่ ๒๙ สิ ง หาคม ๒๔๙๓ เปลี่ยนชื่อ “กองการคดี” เปน “ฝายพระธรรมนูญ กองทัพอากาศ และแตงตั้ง นาวาอากาศโท เกียรติ มังคละพฤกษ เปนหัวหนานายทหารพระธรรมนูญ กองทัพอากาศ สวนตําแหนงอัยการกองทัพอากาศ ถูกยกเลิกไป หลังจากนั้น ในป พ.ศ.๒๔๙๕ ไดยกฐานะ แผนกกลาง เปน “กรมสารบรรณทหารอากาศ” และ “ฝายพระธรรมนูญ” เปลี่ยนเปน “กอง พระธรรมนู ญ” สัง กั ดอยูใ นกรมสารบรรณ ทหารอากาศ เรี ย กชื่ อ ว า “กองพระธรรมนู ญ กรมสารบรรณทหารอากาศ” กองพระธรรมนูญ ขณะนั้น แบงงานกฎหมาย ออกเปน กลุม งาน จัดได เป น ๓ แผนก คือ แผนก สอบสวน แผนกสั ญ ญา และแผนกวิ ท ยาการ มี นาวาอากาศตรี แสวง สุ น ทรสาร ดํ า รงตํ า แหน ง ผูช ว ยหั ว หนา กองพระธรรมนู ญ และรองหัว หน า กองพระธรรมนูญ ขณะดํา รงยศ นาวาอากาศโท และหั ว หน า กองพระธรรมนู ญ ขณะดํ า รงยศ นาวาอากาศเอก ตามลําดับ * ป พ.ศ.๒๕๐๖ กองพระธรรมนูญฯ ได ปรั บ โครงสร า งใหม เป น แผนกสอบสวน แผนก สัญญา แผนกวิทยาการ หมวดสารบรรณ และโรงเรียน เหลาทหารพระธรรมนูญ

* ป พ.ศ.๒๕๑๓ ไดแกไขอัตราและชื่อตําแหนง “หัวหนากองพระธรรมนูญ” อัตรา นาวาอากาศเอก เปน “ผูอํานวยการกองพระธรรมนูญ” อัตรานาวาอากาศเอก รับเงินเดือนในอัตรานาวาอากาศเอกพิเศษ * ป พ.ศ.๒๕๒๐ กองพระธรรมนูญฯ ปรับ โครงสรางอีกครั้งหนึ่ง เปน แผนกวิทยาการ แผนก คดี อ าญาและวิ นั ย แผนกสั ญ ญา แผนกคดี แ พ ง และหมวดสารบรรณ * ป พ.ศ.๒๕๒๑ กองพระธรรมนูญฯ ได ปรับเพิ่ม ๑ ตําแหนง คือ ตําแหนงนายทหารพระธรรมนูญ อาวุโส อัตรา นาวาอากาศเอก * ป พ.ศ.๒๕๒๙ กองพระธรรมนู ญ ฯ ได ปรั บ โครงสร า งงานด า นสารบรรณ โดยยกฐานะ หมวดสารบรรณ เปน ฝายสารบรรณ และปรับเพิ่ม ตําแหนงนายทหารพระธรรมนูญอาวุโสอีก ๓ ตําแหนง รวมของเดิม ๑ ตําแหนง รวมเปน ๔ ตําแหนง คือ นายทหารพระธรรมนู ญ อาวุ โ สฝ า ยวิ ท ยาการ นายทหารพระธรรมนูญอาวุโสฝายคดีอาญาและ วิ นั ย นายทหารพระธรรมนู ญ อาวุ โ สฝ า ยคดี แ พ ง และนายทหารพระธรรมนูญอาวุโสฝายสัญญา * ป พ.ศ.๒๕๓๙ กองพระธรรมนู ญ ฯ ได ปรับโครงสรางและอัตราอีกครั้งหนึ่ง โดยยกฐานะ แผนกสั ญ ญา เป น กองนิ ติ ก รรมสั ญ ญา และยุ บ ตําแหนงหัวหนาแผนกสัญญา ยุบตําแหนงนายทหาร พระธรรมนูญอาวุโสฝายสัญญา แลวเพิ่มตําแหนง หัวหนากองนิติกรรมสัญญา อัตรานาวาอากาศเอก * ป พ.ศ.๒๕๕๒ นับเปนปที่มีการเปลี่ยนแปลง ครั้งใหญ สืบเนื่องจากสภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ ง ระบบกฎหมายได ข ยายขอบเขตมากขึ้ น


และเพื่ อ ให ส อดคล อ งตามนโยบายปฏิ รู ป ระบบ ราชการในดานโครงสรางองคกร กองทัพอากาศ จึงได ปรับโครงสรา งใหม มีผลใหยุ บกองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหารอากาศ และจัดตั้งสํานักงาน พระธรรมนูญทหารอากาศ ขึ้นตรงตอกองทัพอากาศ ตามคําสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ลับ ที่ ๔๐/๕๒ ลง ๑ เมษายน ๒๕๕๒ เรื่อง แกอัตรากองทัพอากาศ โดยให ย กเลิ ก อั ต รากองทั พ อากาศ พ.ศ.๒๕๓๙ อัตราเฉพาะกิจ หมายเลข ๑๒๐๑ กรมสารบรรณ ทหารอากาศ เดิมทั้งสิ้น และใหใชอัตรากองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ ใหม อัตราเฉพาะกิจ หมายเลข ๑๑๔๑ สํานักงานพระธรรมนูญทหารอากาศ และในปถัดมา ไดแกไขอัตราของสํานักงานพระธรรมนูญทหารอากาศ ตามคําสั่งกองทัพอากาศ (เฉพาะ) ลับ ที่ ๑๙๕/๕๓ ลง ๒๐ กันยายน ๒๕๕๓ เรื่อง แกอัตรากองทัพอากาศ โดยให ย กเลิ ก อั ต รากองทั พ อากาศ พ.ศ.๒๕๕๒ อั ต ราเฉพาะกิ จ หมายเลข ๑๑๔๑ สํ า นั ก งาน พระธรรมนู ญ ทหารอากาศ เดิ ม ทั้ ง สิ้ น และให ใ ช อัตรากองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๕๓ ใหม อัตราเฉพาะกิจ หมายเลข ๑๑๔๑ สํานักงานพระธรรมนูญทหารอากาศ 2 สํานักงานพระธรรมนูญทหารอากาศ มี ห น า ที่ พิ จ ารณา เสนอความเห็ น อํ า นวยการ ควบคุ ม กํ า กั บ การ พั ฒ นา ให คํ า ปรึ ก ษา และ ดําเนินการเกี่ยวกับ กิจการพระธรรมนูญ กฎหมาย ระเบียบ ธรรมเนียม วินัย ความตกลงระหวางประเทศ กฎการใช กํ า ลั ง การปกครอง นิ ติ ก รรม สั ญ ญา คดีค วาม และการสงเคราะห ท างกฎหมาย กับ มี หนาที่ควบคุม ประเมินผล และตรวจตรากิจการใน

สายวิท ยาการดา น พระธรรมนูญ มีผูอํา นวยการ สํานักงานพระธรรมนูญทหารอากาศ เปนผูบังคับบัญชา รับผิดชอบ

สํานักงานพระธรรมนูญทหารอากาศ แบงสวน ราชการ ดังนี้ * แผนกธุ ร การ มี ห น า ที่ ดํ า เนิ น การ เกี่ยวกับการธุรการ การสารบรรณ การพัสดุ ตลอดจน ดูแลสถานที่และเครื่องมือเครื่องใชของสํานักงาน พระธรรมนูญทหารอากาศ มีหัวหนาแผนกธุรการ เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ * กองคดี มีหนาที่ พิจารณา เสนอความเห็น อํานวยการ ควบคุม กํากับการ พัฒนา ใหคําปรึกษา และดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การสื บ สวน สอบสวน ขอเท็จจริง ทางวินัย ทางแพง ทางละเมิด ทางปกครอง การสอบสวนคดีอาญาในอํานาจศาลทหาร การระงับ ข อ พิ พ าททางอนุ ญ าโตตุ ล าการ ตลอดจนการ ดําเนินคดีแพง คดีอาญา คดีปกครอง คดีลมละลาย การบังคับคดี ใหเปนไปตามคําพิพากษา คําชี้ขาด ขอพิพาท รวมทั้ง คําสั่งทางปกครอง มีผูอํานวยการ กองคดี เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ


กองคดี แบงสวนราชการออกเปน - แผนกสอบสวน - แผนกคดีอาญาและวินัย - แผนกคดีแพงและบังคับคดี - แผนกคดีปกครอง - แผนกความรับผิดทางละเมิด * กองกฤษฎีกา มีหนาที่ พิจารณา เสนอ ความเห็น อํานวยการ ควบคุม กํากับการ พัฒนา ให คํ า ปรึ ก ษา และดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ กฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง แบบธรรมเนียมทหาร การสงเคราะห ทางกฎหมาย การคุมครองพยาน กฎการใชกําลัง และการขัดกันดวยอาวุธ รวมทั้ง การวินิจฉัยตีความ ขอกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง แบบธรรมเนียม ทหาร กับมีหนาที่จัดการความรู บริหารการฝกและ ศึกษา บริหารกําลังพล และตรวจตรากิจการในสาย วิทยาการเหลาทหารพระธรรมนูญ มีผูอํานวยการ กองกฤษฎีกา เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

กองกฤษฎีกา แบงสวนราชการออกเปน - แผนกกฤษฎีกา - แผนกวิทยาการ - แผนกสงเคราะหทางกฎหมาย * กองนิติธรรม มีหนาที่ พิจารณา เสนอ ความเห็น อํานวยการ ใหคําปรึกษา เกี่ยวกับนิติกรรม สัญญา ความตกลงรวมทั้งในและตางประเทศ รวมทั้ง ดําเนินการตรวจรางสัญญา การตรวจสอบขอผูกพัน ตามกฎหมายทั้งภายในและตางประเทศ ตลอดจน รางสัญญาตามที่ไดรับมอบหมาย มีผูอํานวยการ กองนิติธรรม เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ กองนิติธรรม แบงสวนราชการออกเปน - แผนกสัญญาในประเทศ - แผนกสัญญาตางประเทศ - แผนกความตกลงรวม


ปชส.รร.สธ.ทอ.

“การที่ แ ม่ ทั พ และผู้ บั ญ ชาการจะ ตกลงใจทําอะไรลงไปอย่างใดอย่างหนึ่งนั้น ต้องทราบเหตุการณ์ต่างๆ ฝ่ายตน ฝ่ายข้าศึก โดยรอบคอบก่อน แล้วจึง จะตกลงใจไปให้ เหมาะได้ ถ้าตกลงใจไม่เหมาะ ก็ใช้ไม่ได้ เมื่อ ตกลงใจแล้ว ยังจะต้องสั่งการถึงผู้ใต้บังคับบัญชา ให้เขาเข้าใจได้แจ่มแจ้งไม่คลาดเคลื่อน และ ให้เขาได้รับคําสั่งนั้นทันเวลา ก็การที่จะให้ แม่ทัพผู้บัญชาการทราบเหตุการณ์ให้รอบคอบ ทั้งให้คําสั่งไปถึงทันเวลาและให้ผู้รับเข้าใจ แจ่มแจ้ง นี่แหละเป็นหน้าที่...เสนาธิการ”

จอมพลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้ าจักรพงษ์ ภู วนารถ กรมหลวงพิ ศณุ โลก ประชานารถ ผู้ ก่ อตั้ งและวางรากฐานโรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารเมื่ อ วั น ที่ ๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๕๒


กองทัพอากาศไดกอตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทหารอากาศขึ้น ณ ที่ตั้งดอนเมืองเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒ มิถุนายน ๒๔๙๒ ซึ่งตรงกับวันขึ้น ๗ ค่ํา เดือน ๗ ป ฉลู โดยมีหลวงเทวฤทธิ์พันลึก ซึ่งดํารงตําแหนง ผูบัญชาการทหารอากาศในขณะนั้นเปนผูทําพิธีเปด มีพลอากาศโทหลวงเชิดวุฒากาศ เปนผูอํานวยการ โรงเรี ยนเสนาธิ การทหารอากาศคนแรก และ เมื่ อ ๑ ต.ค.๕๒ พล.อ.ต.วรฉัตร ธารีฉัตร มาดํารงตําแหนง ผูบัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศนับเปน คนที่ ๒๙ ตั้งแตการกอตั้งเปนตนมา

ปลื้ ม ป ติ ยิ น ดี แ ก ผู ที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาจากสถาบั น แหงนี้และบุคคลทั่วไปที่ผานมาสักการะเปนอยางยิ่ง ที่ไดเห็นความสงางามของพระองคทานผูที่กอตั้ง และวางรากฐานโรงเรียนเสนาธิการทหาร

พลอากาศตรีวรฉัตร ธารีฉัตร ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ

พลอากาศโทหลวงเชิดวุฒากาศ ผู้อํานวยการโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศคนแรก

ใน พ.ศ.๒๕๕๓ ซึ่งครบรอบ ๖๑ ป โรงเรียน เสนาธิการทหารอากาศโดย พล.อ.ต.วรฉัตร ธารีฉัตร ผู บั ญชาการฯ ได ดํ าเนิ นการสร างพระรู ปจอมพล สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจักรพงษภูวนารถ กรมหลวงพิศณุโลกประชานารถแบบเต็มพระองค ทดแทนพระรู ปเดิ ม ซึ่ ง เปนแบบครึ่ ง พระองค เพื่อ เปนที่เคารพบูชาของชาวกองทัพอากาศ สรางความ

นาวาอากาศเอกธวัชชัย ฝ่ายทอง รองผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ


นั บ ตั้ ง แต ก องทั พ อากาศได เ ริ่ ม ก อ ตั้ ง โรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารอากาศจนถึ ง ป จ จุ บั น โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศไดเปดการศึกษา มาแล ว ๕๕ รุ น มี ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาไปแล ว เป น จํานวน ๔,๗๕๒ คน รวมทั้งทหารบก ทหารเรือ ตํารวจ ขาราชการพลเรือน และนายทหารจากมิตรประเทศ มากมาย เชน นายทหารจากกองทัพอากาศมาเลเซีย สาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรัฐอินเดีย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา สิงคโปร เปนตน และเปนที่นายินดี เปนอยางยิ่งที่ในรุนปจจุบันซึ่งเปนรุนที่ ๕๕ กองทัพ อากาศอินโดนีเซียไดสงนายทหารเขาศึกษาในโรงเรียน เสนาธิการทหารอากาศไทยเปนครั้งแรก ตลอดระยะเวลา ๖๒ ป โรงเรี ยนเสนาธิ การ ทหารอากาศไดมีการปรับปรุงพัฒนาเปลี่ยนแปลง การศึก ษาเพื่ อ พั ฒ นาให บุ ค ลากรกองทั พ อากาศ เป น ทหารอาชี พ รั บ ใช ก องทั พ อากาศต อ ไปตาม ปรัชญาการศึกษา “สรางเสริมและพัฒนาศักยภาพ พรอมเปนผู บัง คับบัญชาและฝายเสนาธิการของ กองทัพอากาศที่มีคุณภาพและคุณธรรม” โดย มี วั ต ถุ ป ระสงค ใ ห น ายทหารนั ก เรี ย นมี ค วามรู ความเขาใจ และความสามารถเกี่ยวกับการบริหาร การบังคับบัญชา และภาวะผูนําที่มีคุณภาพ ตลอดจน มี วิ สั ย ทั ศ น ที่ ก ว า งไกล มี ค วามรู ค วาม เข า ใจใน ยุทธศาสตรชาติ นโยบายความมั่นคงของชาติและ ยุทธศาสตรทหาร มีความรูความเขาใจในศาสตร การทหารของโลกและของไทยอย า งถู ก ตอ งและ ทันสมัย และสามารถวิเคราะหสถานการณ การวางแผน อํา นวยการ และควบคุ ม การใช กํา ลัง ทางอากาศ ในระดับยุทธการไดอยางเหมาะสม เพื่อใหมีทักษะ

ความพรอมในการปฏิบัติหนาที่ผูบังคับบัญชาและ ฝายเสนาธิการของกองทัพอากาศ ที่มีคุณภาพและ คุณธรรม รวมทั้งสามารถปฏิบัติงานเปนทีมไดอยาง มีประสิทธิภาพ ปจจุบันนายทหารที่จะเขารับการศึกษาตอ ในสถาบันสูงสุดของกองทัพอากาศ คือ วิทยาลัย การทั พ อากาศต อ งผ า นการศึ ก ษาจากโรงเรี ย น เสนาธิ ก ารทหารอากาศ หรื อ เที ย บเท า เท า นั้ น กองทัพอากาศจึงตองกําหนดกฎเกณฑอยางเขมงวด ในการคั ด เลื อ กนายทหารที่ จ ะเข า รั บ การศึ ก ษา ในโรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารอากาศ ให ม ากขึ้ น ตั ว อย า งเช น ผู ที่ จ ะเข า รั บ การศึ ก ษาในโรงเรี ย น เสนาธิการทหารอากาศ ตองผานการทดสอบภาษา อังกฤษ English Comprehension Level (ECL) รอยละ ๖๐ ขึ้นไป หากไมถึงรอยละ ๖๐ ตองพัฒนา ตนเองในระหว า งการศึ ก ษาให ผ า นร อ ยละ ๖๐ หากผู ใ ดไม ผ า นให อ ยู ใ นดุ ล พิ นิ จ ของโรงเรี ย น เสนาธิ ก ารทหารอากาศ ในการนํ า ไปพิ จ ารณา ประกอบการสําเร็จการศึกษา เปนตน เ พื่ อ ใ ห ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง โ ร ง เ รี ย น เสนาธิการทหารอากาศ สอดคลองกับยุทธศาสตร กองทัพ อากาศที่ได กํ า หนดวิ สัย ทัศน ใ นหว งระยะ เวลาแรกซึ่ ง จะสิ้ น สุ ด ใน พ.ศ.๒๕๕๔ นี้ คื อ กองทัพอากาศดิจิตอล(Digital Air Force) โดยการ ใช เ ทคโนโลยี เ ป น เครื่ อ งมื อ ในการปฏิ บั ติ ง าน โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ ไดพั ฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology: IT) ขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยีดิจิตอลที่มีความ รวดเร็ว นายทหารนักเรียนทุกนายจะไดรับการแจกจาย


คอมพิ ว เตอร แ บบโน ต บุ ก เพื่ อ ใช สํ า หรั บ ศึ ก ษา คนควานอกเหนือจากตําราที่แจกจายให อีกทั้งใช สื่อสารทางธุรการ เชน การออกตารางสอน และ กิจกรรมตางๆ ที่ตองปฏิบัติ เปนตน ในอนาคตโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ จะมีการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงาน การศึกษา และอาคารสถานที่ ใ ห ทั น สมั ย และสอดคล อ งกั บ เทคโนโลยีในปจจุบัน ตลอดจนพัฒนาบุคลากรใหมี ความรูความสามารถในดานวิทยาการการศึกษา ภาษาตางประเทศ และการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ธรรม

ได เ ปน อยา งดี เกิด ประสิท ธิภ าพและประสิ ท ธิผ ล สูงสุด เพื่อตอบสนองนโยบายกองทัพอากาศในการ เปน Digital Air Force ในป ๒๕๕๔ และเพื่อที่จะ กาวสูยุคของ Network Centric Warfare ในอีก ๔ ป ถัดมา ซึ่งจะตองมีการปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปน ศูนยกลาง (Network Centric Operations) และใน หวงระยะเวลาสุดทายของยุทธศาสตรกองทัพอากาศ ตองการเปนกองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค (One of the Best Air Forces in the ASEAN) ใหได ในที่สุด

มีน


ปชส.สทป. หลักนิยมการใชจรวดเพื่อการปองกันประเทศ การใชงานของจรวดในการปองกันประเทศมีบันทึกไวในประวัติศาสตรมีขึ้นครั้งแรกในป ค.ศ.๑๒๓๒ ในประเทศจีน ซึ่งขณะนั้นไดทําสงครามกับชนเผามองโกลในสงคราม Kai-Keng จนมาถึงปจจุบันจรวดเปน ยุทโธปกรณหลักที่มีประจําการอยูในกองทัพประเทศตางๆ ทั่วโลก เปนยุทโธปกรณที่มีอานุภาพในการ ทําลายเปาหมายสูง มีความแมนยํา มีความคลองตัวที่สามารถรองรับภารกิจทางยุทธวิธีทั้งการรุกรับและ รนถอย สามารถใชเปนอาวุธเชิงรุกและปองปรามทางยุทธศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ จรวดจึงไดรับการ ปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพในดานตางๆ โดยตอเนื่อง ไดแก การเพิ่มความแมนยํา การเพิ่มอํานาจการ ทําลาย ซึ่งเห็นไดจากสงครามที่เกิดขึ้นตั้งแตสงครามโลกครั้งที่สองเปนตนมาจนมาถึงสงครามในยุคปจจุบนั แตละครั้งประเทศ คูสงครามตางนําจรวดเขามาใชในการปฏิบัติการตอเปาหมายที่ไดวางแผนไว เชน จรวดรอน Tomahawk หรือ จรวด Patriot ที่ไดสรางชื่อเสียงในดานของขีดความสามารถในการโจมตีเปาหมายและ ชวยคุมครองกองกําลังภาคพื้นดิน ระบบจรวดหลายลํากลอง(Multiple Launch Rocket System or MLRS) เปนยุทโธปกรณที่สําคัญ ตอการปฏิบัติภารกิจของกองทัพบกทุกประเทศในสงครามปจจุบัน ไมเฉพาะแตประเทศมหาอํานาจเทานั้น ประเทศกําลังพัฒนาตางๆ ก็พยายามนําระบบจรวดเขาประจําการเพื่อเพิ่มศักยสงครามใหสูงกวา ดังเชน กองกําลังผสมที่มีสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และประเทศในกลุมสนธิสัญญานาโตเปนแกนนําในการ ปฏิบัติภารกิจในการรักษาความสงบและขับไลกองกําลังติดอาวุธในประเทศอัฟกานิสถาน มีการใชจรวด หลายลํากลองเพื่อสนับสนุนกําลังทางบกและการโจมตีฐานที่มั่นสําคัญของฝายขาศึกอยางมีประสิทธิภาพ สวนยุทธวิธีการตั้งรับนั้นประเทศในแถบตะวันตกมีหลักนิยมในการใชระบบจรวดหลายลํากลองในการยิง ตอบโตปนใหญ และยิงกดดันระบบปองกันภัยทางอากาศของขาศึก เนื่องจากระบบจรวดหลายลํากลอง เป น ยุ ท โธปกรณ ที่ มี ค วามคล อ งตั ว สู ง และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการโจมตี เ ป า หมายในระยะกลางจนถึ ง


ระยะไกล สงผลใหจรวดหลายลํากลองเหมาะสมกับยุทธวิธีการตั้งรับและการรุก เปนการเพิ่มทางเลือก ใหกับกองทัพในการวางแผน จัดกําลังรบและยุทโธปกรณ เพื่อรับมือกับภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้นต อ ประเทศชาติ จรวดหลายลํา กลองไดรับการยอมรับวาเปนอาวุธ ที่มีสมรรถนะรอบดา น ด วยอํานาจการยิง ที่ รวดเร็วและรุนแรง (Shock firepower capabilities) สามารถทําลายทั้งกองกําลัง อาวุธยุทโธปกรณ และ ขวัญกําลังใจของขาศึกอยางรุนแรง สรางความไดเปรียบในศักยสงคราม หลักนิยมการใชจรวดหลายลํา กลอง เปนระบบอาวุธที่ใชไดในทุกสภาพอากาศ เพื่อการยิงตอบโตฐานยิง หนวยปองกันภัยทางอากาศ และหนวยรถถังของฝายตรงขามในทางลึกเขาไปแดนฝายตรงขาม การใชจรวดจึงใชในภารกิจที่สําคัญ คือ การสรางความกดดัน การทําลายอํานาจศักยภาพการรบ การทําลายการยิงสนับสนุน และทําลายฐานตอสู อากาศยานสวนหนาของฝายตรงขาม โดยจรวดหลายลํากลองจะมีคุณลักษณะพิเศษ คือ การเขาที่ตั้งยิง ทําการยิง และเคลื่อนยายออกจากที่ตั้งยิงไดอยางรวดเร็ว เพื่อสนับสนุนหนวยจูโจมที่จะรุกไปในพื้นที่ทาง ลึก คุณลักษณะความคลองตัวในการเคลื่อนที่ของจรวดหลายลํากลองจะชวยใหฐานยิงจรวดรอดพนจาก การถูกตอบโต จรวดหลายลํากลองมีไวเพื่อสนับสนุนอํานาจการยิงใหแกปนใหญ ไมไดมีไวทดแทนปนใหญ เนื่องจากการมีระยะยิง อํานาจการทําลาย และยุทธวิธีการรบที่แตกตางกัน แนวทางการปฏิบัติภารกิจของ ระบบจรวดหลายลํากลอง จึงเปนการปฏิบัติการแบบคูขนานรวมไปกับหนวยปนใหญในการเพิ่มศักยภาพ และอํานาจในการโจมตีตอเปาหมาย ความเปนมาโครงการจรวดหลายลํากลอง DTI-1 กระทรวงกลาโหมเล็งเห็นความจําเปนที่จะตองมีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีปองกันประเทศเพื่อ การพึ่งพาตนเอง ในเดือนกันยายน ๒๕๔๙ สภากลาโหมจึงไดอนุมัติแผนแมบทการวิจัยและพัฒนาจรวด เพื่อความมั่นคง (๒๕๕๐–๒๕๕๙) และรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมไดอนุมัติโครงการวิจัยและพัฒนา จรวดเพื่อความมั่นคง (๒๕๕๐–๒๕๕๙) ในเดือนมกราคม ๒๕๕๐ เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของทําการวิจัย และพัฒนาจรวดและอาวุธนําวิถีใหกับกองทัพไทย โดยเริ่มตนจากการพัฒนาระบบจรวดหลายลํากลอง (Multiple Launch Rocket System: MLRS) กอนเปนอันดับแรก และพิจารณาเห็นควรเลือกใชวิธีการรับการ ถายทอดเทคโนโลยีจากมิตรประเทศ เพราะไมตองการเริ่มพัฒนาเทคโนโลยีทั้งหมดดวยตนเองตั้งแตตน ซึ่งทําใหประเทศไทยสามารถทําการสรางตนแบบ ปรับปรุง และพัฒนาจรวดหลายลํากลองไดดวยตนเอง ในประเทศไทย รวมถึงสามารถพัฒนาองคความรูตอยอดไปยังจรวดนําวิถีและยุทโธปกรณประเภทอื่นๆ ไดดวย โดยมีผูปฏิบัติหลัก ๒ หนวย คือ สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) หรือ สทป. ซึ่ง เปนองคการมหาชนภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงกลาโหมเปนหนวยงานหลักในการดําเนินงาน และ


กองทัพบกในฐานะผูรวมพัฒนาทดลองใชงาน และพิจารณานําเขาประจําการ ซึ่งทั้งสองฝายไดจดั ทําบันทึก ความรวมมือในการพัฒนาเทคโนโลยีจรวดหลายลํากลอง เมื่อวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๓ ภายใตรหัสในการ พัฒนาวา DTI-1 และในวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๔ ไดมีการสงและรับมอบตนแบบระบบจรวดหลายลํากลอง DTI-1 ชุดแรก ณ กองพลทหารปนใหญ จังหวัดลพบุรี สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) สงมอบตนแบบจรวดหลายลํากลอง แบบ DTI-1 ใหแกกองทัพบก เพื่อใหกองพลทหารปนใหญทดลองใชปฏิบัติการ พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม เปนประธานพิธีสงมอบตนแบบ จรวดหลายลํากลอง DTI-1 โดยพลอากาศเอก ธเรศ ปุณศรี ประธานกรรมการสถาบันเทคโนโลยีปองกัน ประเทศ เปนประธานสงมอบ และพลเอก ประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบก เปนประธานรับมอบ พรอมดวยพลเอก กิตติพงษ เกษโกวิท ปลัดกระทรวงกลาโหม พลโท ดร.ฐิตินันท ธัญญสิริ ผูอํานวยการ สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ พลตรี สุกิจ เนื่องจํานงค ผูบัญชาการกองพลทหารปนใหญ และ พลตรี เฉลิมเกียรติ เมฆทรัพย ผูบัญชาการศูนยการทหารปนใหญ รวมเปนสักขีพยาน ณ กองพลทหาร ปนใหญ จังหวัดลพบุรี เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๔


สถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ (องคการมหาชน) ดําเนินการวิจัยพัฒนาจรวดหลายลํากลอง จากการถายทอดเทคโนโลยีของมิตรประเทศมาตั้งแต ปลายป ๒๕๕๒ ขณะนี้ตนแบบจรวดพรอมสงมอบให กองทัพบกนําไปทดลองใชงาน ทั้งนี้ตนแบบจรวดหลายลํากลอง DTI-1 เปนโครงการที่สถาบันเทคโนโลยี ปองกันประเทศและกองทัพบก ไดลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือ ตามแผนการพัฒนาและเสริมสราง กําลังกองทัพในการพัฒนาระบบจรวดหลายลํากลองเพื่อเสริมสรางความมั่นคงดานการทหารของประเทศ ตามนโยบายของกระทรวง กลาโหม โดยกองพลทหาร ปนใหญเปนหนวยงานที่นําจรวดหลายลํากลอง DTI-1 นี้ ไปทดลองใชงาน โครงการวิ จั ย พั ฒ นาจรวดหลายลํ า กล อ ง DTI-1 นั บ เป น ก า วแรกของการผลั ก ดั น การพั ฒ นา เทคโนโลยีปองกันประเทศของคนไทย นําไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรมปองกันประเทศ ซึ่งจะทําใหประเทศไทย สามารถผลิตยุทโธปกรณไดดวยตัวเองในอนาคต เมื่อสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมปองกันประเทศสูการ สงออกในอนาคตไดแลว นอกจากจะทําใหเราสามารถพึ่งพาตนเองดานความมั่นคง ยังจะสรางประโยชน เชิงเศรษฐกิจแกประเทศทั้งดานงบประมาณและรายไดแกประเทศ พลโท ดร.ฐิตินันท ธัญญสิริ ผูอํานวยการสถาบันฯ กลาววา “การสงมอบตนแบบจรวดหลายลํากลอง ของ สทป. ในวันนี้มีความสําคัญอยางยิ่ง ถือเปนจุดเริ่มตนของการวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณดวยคนไทย ที่มาจากนักวิจัยเหลาทัพ สรางบุคลากรที่เชี่ยวชาญดานยุทโธปกรณจรวด สามารถพัฒนาตอยอดจาก องคค วามรู เ ทคโนโลยี ที่ สะสม เปนระบบจรวดนํ า วิถี และตามความตอ งการของเหล า ทัพ หน ว ยต า งๆ นอกจากนั้น สทป. จะดําเนินโครงการวิจัยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางทหาร โครงการ เทคโนโลยียานไรคนขับ และโครงการยอย สทป. รวมมือกับหนวยงานภายนอก เชน โครงการวิจัยพัฒนา ปรับปรุงคืนสภาพปนเล็กยาว โครงการวิจัยพัฒนาอุปกรณรบกวนสัญญาณคลื่นวิทยุ/โทรทัศน โครงการ วิจัยพัฒนาระบบอํานวยการรบ และโครงการวิจัยพัฒนาปรับปรุงและเสริมประสิทธิภาพรถสะเทินน้ําสะเทินบก เปาหมายคือมุงหวังใหภารกิจของ สทป. สามารถชวยลดการนําเขายุทโธปกรณ โดยกองทัพหันมาใช ยุทโธปกรณฝมือคนไทยมากขึ้น” คุณสมบัติระบบจรวดหลายลํากลอง DTI-1 จรวดหลายลํากลอง DTI-1 พิสัยไกล มีระยะยิง ๖๐–๑๘๐ กิโลเมตร วิจัยพัฒนาโดยสถาบัน เทคโนโลยีปองกันประเทศ เปนตนแบบจากการรับถายทอดเทคโนโลยีจากมิตรประเทศ เปนยุทโธปกรณ เชิงรุกและเชิงรับ สรางความไดเปรียบในสนามรบดวยสมรรถนะที่สําคัญ คือ - มีความคลองแคลวในการเคลื่อนที่ : จรวด DTI-1 ติดตั้งอยูบนยานยนตลอ สามารถเปลี่ยนทีต่ งั้ ยิง ไดในเวลาอันรวดเร็ว


- มีความอยูรอดในสนามรบสูง : พรอมเคลื่อนยายไดตลอดเวลา ยากที่ฝายตรงขามจะตรวจจับทีต่ งั้ เพื่อยิงตอตานไดในเวลาอันรวดเร็ว - มีสมรรถนะที่ยิงไกลถึง ๑๘๐ กิโลเมตร : มีอํานาจการยิงในทางลึกถึงแนวหลังของพื้นที่ จรวดหลายลํากลอง DTI-1 มีสมรรถนะที่ดีเยี่ยมจากการทํางานรวมกันของระบบสําคัญ ๔ ระบบ คือ - ระบบคนหาเปาหมาย ทําหนาที่ตรวจจับ พิสูจนฝาย กําหนดที่ตั้งของเปาหมาย - ระบบอํานวยการยิง มีหนาที่แปลงขอมูลที่ไดรับจากระบบคนหาเปาหมายหรือความตองการของ ผูบังคับบัญชาเปนคําสั่งยิง เพื่อสงใหระบบอาวุธ ยิงโจมตีเปาหมาย - ระบบอาวุธ-กระสุน ทําหนาที่ยิงตามคําสั่งที่ไดรับ - ระบบควบคุมบังคับบัญชา จะควบคุมทั้ง ๓ ระบบ ใหทํางานสัมพันธกัน และกําหนดภารกิจการยิง สนับสนุน

ระบบจรวดหลายลํากลอง DTI-1 ประกอบดวยรถ ๒ คัน คือ - รถฐานยิงจรวด ติดตั้งทอยิงจรวดจํานวน 4 ทอยิง - รถบรรทุกและบรรจุจรวด ทําหนาที่บรรทุกและบรรจุจรวดเขาทอยิง จรวดของ DTI-1 นั้น มี ค วามยาว ๖,๓๗๐ มิลลิเ มตร เส น ผา ศูน ย ก ลาง ๓๐๒ มิลลิ เมตร จรวด เดินทางดวยความเร็วสูงสุด ๕.๒ มัค ความเร็ว ๕.๒ เทา ความเร็วเสียง เมื่อตองการทําการยิง DTI-1 จะยก แทนยิงขึ้นเพื่อใหไดองศาตามที่ไดคํานวณไว โดย DTI-1 สามารถยกแทนยิงขึ้นไดสูงสุด ๖๐ องศา ซึ่งตัว ระบบมีไฮโดรลิคชวยในการปรับมุมองศาไดอยางรวดเร็ว


น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต

Sansiri_2@yahoo.com www.facebook.com/sansiri.s

ประกาศผลเปนที่เรียบรอยสําหรับภาพยนตรเรื่อง “The Social Network” ที่ถูกสรางขึ้นจากการ กอตั้งเว็บไซต Facebook ของคุณ Mark Zuckerberg ไดรับรางวัลภาพยนตรยอดเยี่ยมจากเวทีลูกโลก ทองคํา (Golden Globe) ครั้งลาสุดที่ผานมา นอกเหนือจากภาพยนตรแลว ยังมีสิ่งที่นาสนใจในมุมมอง ทางดานไอทีคือ การเจริญเติบโตของผูใช Facebook จากสถิตินั้นเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เพียงแค ๖ ป หลังจากเปดตัวเว็บไซต Facebook ซึ่งเปนเว็บประเภทเว็บสังคมออนไลน (Social Network) ปจจุบันมีผูใช มากกวา ๕๐๐ ลานคนทั่วโลก อะไรเปนสิ่งที่ทําใหชาวไอทีใหความสนใจและใชบริการมากขึ้นเรื่อยๆ จนทําให เว็บไซต Facebook ไดกลายเปนจุดบริการอินเทอรเน็ตที่มีผูนิยมใชมากที่สุด ซึ่งรายละเอียดแหงความเปนมา จนกระทั่งความสําเร็จที่ไดรับ จะขอเลาใหผูอานไดฟงดังนี้


ความหมายของ Facebook Facebook เปนเว็บหนึ่งในหลายเว็บของสังคมออนไลน ที่ไดเปดใหทุกคนรวมแบงปนความคิดเห็น แชรความรูสึก และนําเสนอแนวทางชีวิตของตัวเอง Facebook ไดถูกพัฒนาโดยคุณ Mark Zuckerburg นักศึกษามหาวิทยาลัยฮารวารด ซึ่งมีแนวคิดในการทํา Facebook มาจากกิจกรรมการเขียนหนังสือเลมหนึง่ เมื่อสมัยมัธยมปลายและใชแนะนําตัวกับเพื่อนใหมในชั้นเรียนแลวสงตอๆ กัน จากแนวคิดนี้เปนจุดเริ่มตน ใหเขาดัดแปลงหนังสือธรรมดาเลมหนึ่งสูโลกออนไลน โดยชวงแรกเปนการทดลองใชแลกเปลี่ยนขอมูลกับ เพื่อนๆ ในมหาวิทยาลัยเดียวกันจนขยายไปสูมหาวิทยาลัยอื่นๆ และไดรับความนิยมอยางรวดเร็วจาก เครือขายเล็กๆ ที่ใชกันเฉพาะกลุม ก็ขยายวงกวางใหผูที่อยากเลนเขามาใช Facebook ไดอยางไมจํากัด และกลายเปนเว็บสังคมออนไลนที่ไดรับความนิยมในเวลาอันรวดเร็ว เมื่อเปรียบเทียบกับเว็บสังคมออนไลนอนื่ ๆ อาทิ Twitter โดยหากจะอธิบายความหมายของ Facebook นั้น คงตองอธิบายความหมายของสังคมออนไลน หรือ Social Network กันกอน

สังคมออนไลนคือการที่คนเราสามารถทําความรูจัก หรือแลกเปลี่ยนขอมูลเชื่อมโยงกันในทิศทางใด ทิศทางหนึ่ง โดยเว็บไซตที่เรียกเปนเว็บสังคมออนไลนก็คือ เว็บไซตที่เชื่อมโยงผูคนไวดวยกัน ทําใหเกิด เครือขายสังคมที่ทําการแลกเปลี่ยนขอมูลกันบนโลกของอินเทอรเน็ต ดังนั้นความหมายของ Facebook คือ เว็บไซตสังคมออนไลนเว็บหนึ่ง เปนเว็บไซตที่มีผูใชบริการมากที่สุด การไดรับความนิยมของ Facebook เนื่องมาจากบน Facebook นั้นผูใชงานสามารถใชเพื่อติดตอสื่อสาร หรือรวมทํากิจกรรมกับผูใชงานทานอื่นได เชน การเขียนขอความ, เลาเรื่อง, เลาความรูสึก, แสดงความคิดในเรื่องที่สนใจ, โพสตรูปภาพ, โพสตคลิป วิดีโอ, พูดคุย, เลนเกมที่สามารถชวนใหผูใชงานทานอื่นมาเลนกับเราได และรวมไปถึงทํากิจกรรมอื่นๆ


ผานแอพลิเคชั่น (Application) ที่มีอยูอยางมากมาย ซึ่งแอพลิเคชั่นดังกลาวถูกพัฒนาเขามาเพิ่มเติม อยูเรื่อยๆ รวมทั้งแอพลิเคชั่นทางธุรกิจ Facebook ก็มีใหใชงานเชนกัน ความสําเร็จของ Facebook ขอมูลจากเว็บไซต www.alexa.com/ topsites เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๒ ไดจัดลําดับเว็บไซต ที่มี ผูใชทั่ วโลกนิย มเข าไปใช บริการมากที่สุด ๓ ลํา ดับ อัน ไดแก อั น ดั บ หนึ่ ง เปน เว็ บของ Google.com อันดับสองเปนเว็บของ Facebook.com และอันดับสามเปนเว็บของYahoo.com ซึ่ง ณ เวลานั้นจะเห็นวา เว็บของ Google นั้นไดรับความนิยมมากที่สุดจากผูใชทั่วโลก จากวันนั้นจนถึงวันนี้ ความนิยมของผูใชทั่วโลกไดเปลี่ยนไป ขอมูลจากคุณ Charlotte Raab ผูเขียนบทความ “The rise of Facebook” ไดกลาววา “ความสําเร็จของ Facebook กําลังทาทาย Google ในเรื่องของจุดบริการอินเทอรเน็ตที่มีผูนิยมใชมากที่สุด ดวยวิธีการใหบริการที่แตกตางกันออกไป อาทิ Google ใหบริการคนหาขอมูลจากขอมูลของผูใชที่เคยคนหาขอมูลนั้นมากอน ซึ่งแตกตางจาก Facebook ที่ใหบริการคนหาขอมูลในระดับที่เหนือชั้นกวา กลาวคือ บนพื้นฐานของขอมูลสวนบุคคลที่มีความชอบ เหมือนกัน” ขอมูลจาก HitWise และ comScore ซึ่งเปนหนวยงานดานสังคมออนไลนไดกลาววา “ในป พ.ศ.๒๕๕๓ เว็บไซต Facebook ไดกลายเปนจุดบริการอินเทอรเน็ตที่มีผูนิยมใชมากที่สุด เห็นไดจาก จํานวนผูใชที่เขาไปใชบริการและเวลาที่เขาไปใชบริการ ในชวงเดือนมกราคม - พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓ จํ า น ว น ผู ใ ช Facebook คิดเปนรอยละ ๘.๙๓ และ เวลาที่เขาไปใชบริการคิดเปน ร อ ยละ ๔๑.๑ ล า นนาที ของผู ใ ช ใ นสหรั ฐ ฯ ส ว น จํานวนผูใช Google คิดเปน รอยละ ๗.๑๙ และเวลาที่ เข า ไปใช คิ ด เป น ร อ ยละ ๓๙.๘ ลานนาทีของผูใชใน สหรัฐฯ” จุดดึงดูดอันหนึ่ง เกิดจากตั้งแตตนป ๒๕๕๓ Facebook ไดนําเสนอบริการ ในรูปแบบใหมๆ ใหแกผูใช ในความคิดทาทายความสําเร็จของ Google ที่เคยมีมา อาทิ อีเมลบน Facebook


(@Facebook.com Email) ที่ออกมาทาบรัศมีอีเมลบน Google (Gmail) และเครื่องมือที่ใชคนหาขอมูล (Search Engine) บน Facebook เรียกวา Facebook Questions ผูใช Facebook สามารถถามคําถามและ คําตอบจากผูใช Facebook คนอื่นๆ ได หันมาดูความนิยมของผูใช Facebook ในแถบเอเชียกันบาง ขอมูลจาก Inside Facebook Gold ในชวงเดือนตุลาคม ๒๕๕๓ จากกราฟแสดงความนิยมและการเติบโตผูใช Facebook ในแถบเอเชีย เปรียบเทียบกัน ๔ ประเทศ คือ ประเทศไทย, ไตหวัน, สิงคโปรและฮองกง จะเห็นวาประเทศไทยนั้นความนิยม และการเติบโตของผูใชมาเปนอันดับหนึ่ง หากเปรียบเทียบกันทั่วโลกประเทศไทยยังอยูในอันดับที่สาม ของ ความนิยมและการเติบโตที่สูงที่สุดใน ๑๒ เดือนที่ผานมา ดวยอัตราการเติบโตถึง ๓๒๐.๕% ปจจุบันมีผูใช อยูประมาณ ๗ ลานคน

ในมุมมองความสําเร็จของ Facebook นั้นนาจะมาจากสิ่งที่คุณ Mark Zuckerburg ไดคนพบ กลาวคือทําใหผูใช Facebook สามารถใช Facebook ชวยในการสรางความสัมพันธของคนใกลชิด อาทิ เขียนขอความ, เลาเรื่อง, เลาความรูสึก, แสดงความคิดในเรื่องที่สนใจกับเพื่อน กับครอบครัว และที่สําคัญ กับคนรัก ไดอยางสะดวกรวดเร็วไมวาจะอยูที่ไหนก็ตาม ประกอบกับทําการพัฒนาแอพลิเคชั่นใหตอบสนอง ความตองการของผูใชไดอยางตอเนื่อง ผลที่ตามทําให Facebook กลายเปนเว็บสังคมออนไลนที่ไดรับ ความนิยมสูงสุดและมีจํานวนผูใชมากที่สุด


ขอคิดการใช Facebook อยางที่ทราบขาวเกี่ยวกับการใช Facebook ในชวงเวลาที่ผานมามีมากมาย เห็นไดจากขอมูลทีเ่ ปน ความลับถูกเปดเผยบน Facebook อาทิ ขอมูลสวนตัวของหัวหนา MI6 (ตนสังกัดของสายลับเจมส บอนด) หลุดออกไปบนอินเทอรเน็ตผาน Facebook อยางไมนาที่จะเกิดขึ้น, คุณ Bill Gates แหงไมโครซอฟทที่เคยใช Facebook มีขาววาเลิกเลนไปแลว เนื่องจากโดนขอเปนเพื่อนเยอะเกินกวาจะรับไหว และที่บานของเรา นายกฯ อภิสิทธิ์ ตองปดการเลน Facebook ไป เนื่องจากมีผูใชแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขอขัดแยง ระหวางไทยกับกัมพูชาเปนจํานวนมากเกินกวาที่จะรับไหว วาไปแลวสิ่งที่หลายคนกลัวมากที่สุดในการใช Facebook คือเรื่องขอมูลสวนตัวที่ไมควรใหคนอื่นรู แตกลับถูกเปดเผยบน Facebook ซึ่งถาหากผูใช เตรียมการปองกันไวไมดี การแกไขปญหาทีหลังแทบจะเปนเรื่องที่เปนไปไมไดเลย

สําหรับมือใหมที่ตองการใช Facebook สิ่งที่ควรทําอยางแรกคือ ควรเขาไปตั้งคาความเปนสวนตัว ที่ Privacy Settings บนเมนู Settings โดยเราสามารถเปลี่ยนรายละเอียดในการเผยแพรขอมูลสวนตัว, ขอความ, ภาพถายและรวมไปถึงผูใชคนอื่นๆ ที่มองเห็นดวย สวนการตั้งคาความเปนสวนตัว ดวยการจํากัด การใสแท็กชื่อของคุณเขากับรูปภาพตางๆ ก็เปนอีกอยางที่ควรทําเพราะบางครั้งคุณก็ไมอยากใหคนอื่นๆ ไดเห็นภาพสวนตัวบางอยางที่โดนแท็กจากผูใชคนอื่น อยาลืมวาการปลอยใหผูใชทั่วไปที่คุณไมรูจัก เห็นขอมูล ทุกสิ่งทุกอยางเกี่ยวกับตัวคุณนั้น ไมใชสิ่งที่ดีสักเทาไรนัก ในความคิดกอนที่จะเริ่มใช Facebook อยาลืมสละเวลาอยางนอยสักหนึ่งชั่วโมง สําหรับตรวจสอบ การตั้งคาตางๆ วาเหมาะสมหรือไม การเปดใช Facebook นั้นไมใชเรื่องยาก แตการตั้งคาตางๆ ใหเหมาะสมกับ การใชงาน เพื่อไมใหขอมูลสวนตัวของคุณถูกเผยแพรออกไปในโลกกวางนั้น นาจะเปนสิ่งที่ควรทําอยางยิ่ง กอนที่คุณจะเริ่มใช Facebook…..


เฟองลดา แผนดินไหวขนาด ๙.๐ ริกเตอร และคลื่นยักษ สึนามิความสูงกวา ๑๐ เมตร ที่เกิดขึ้นบริเวณเมือง ชายฝงแปซิฟก ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ญี่ปุน เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔ เวลา ๑๔.๔๖ น. (เวลาประเทศญี่ปุน) ไดสรางความเสียหายอยาง ใหญห ลวงแกชี วิ ต และทรั พ ย สิน และที่ สํ า คัญ ยั ง เปน ตนเหตุ ใหเตาปฏิ กรณของโรงงานผลิตไฟฟา พลังนิวเคลียรฟุกุชิมะ ไดอิจิ จ.ฟุกุชิมะ ประสบปญหา ระบบหลอเย็ น ไม ทํ า งาน เกิ ดการรั่ ว ไหลของสาร กั ม มั น ตรั ง สี สู สิ่ ง แวดล อ ม ทั้ ง ยั ง ฟุ ง กระจายใน อากาศ ซึ ม ลงพื้ น ดิ น และรั่ ว ไหลสู ท ะเล ได ส ร า ง ความหวาดวิ ต กไปทั่ ว โลกเพราะนั บ เป น วิ ก ฤติ นิ ว เคลี ย ร ค รั้ ง ร า ยแรงสุ ด นั บ แต ก ารระเบิ ด ของ โรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร เ ชอร โ นบิ ล ในยู เ ครนเมื่ อ ป ๒๕๒๙

เหตุแผนดินไหวครั้งนี้ นับเปนครั้งที่รุนแรง ที่สุดในประวัติศาสตรของญี่ปุน หลังจากป ๒๔๖๖ ที่ เ กิ ด เหตุ แ ผ น ดิ น ไหววั ด แรงสั่ น สะเทื อ นได ๗.๙ ริกเตอร บริเวณเขตคันโต (The Great Kanto Earthquake) ทําใหมีผูเสียชีวิต ๑๔๐,๐๐๐ คน และนับวารุนแรงเปน ๑,๔๐๐ เทาของแผนดินไหว ครั้งใหญฮันชิน (The Great Hanshin Earthquake) รวมทั้งแผนดินไหวในโกเบเมื่อป ๒๕๓๘ ทั้งนี้สํานัก สํารวจธรณีวิทยาสหรัฐฯ รายงานวา แผนดินไหวได เกิ ด ขึ้ น ห า งจากกรุ ง โตเกี ย วไปทางตะวั น ออก เฉียงเหนือ ๓๘๒ กิโลเมตร โดยศูนยเตือนภัยสึนามิ แปซิฟก (Pacific Tsunami Warning Center) ได ประกาศเตือนภัยสึนามิในญี่ปุน รัสเซีย และบริเวณ หมูเกาะมารินา รวมทั้งการเฝาระวังบริเวณเกาะกวม มลรัฐฮาวาย ไตหวัน ฟลิปปนส และอินโดนีเซีย


วงแหวนแหงไฟทั้งหมด 452 ลูก และเปนพื้นที่ที่มี ภูเขาไฟคุกกรุนอยูกวา 75% ทั้งนี้แผนดินไหวขนาด ใหญทั่ วโลกกว า 80% จะเกิดขึ้น ในบริเวณนี้ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผนดินไหวอีก 2 แหง ไดแกแนวเทือกเขาอัลไพน ซึ่งมีแนวตอมาจากเกาะ ชวาสูเกาะสุมาตรา ผานเทือกเขาหิมาลัย และทะเล เมดิ เ ตอร เ รเนี ย น และแนวกลางมหาสมุ ท ร แอตแลนติก

วงแหวนไฟและการเกิดคลื่นยักษสึนามิ คลื่ น ยั ก ษ สึ น ามิ เ กิ ด จากคลื่ น ในทะเลที่ ยกตัวสูงขึ้นเขาทวมแผนดินอยางรวดเร็วและรุนแรง เกิดจากแผนดินไหวหรือขอบแผนเปลือกโลกชนกัน จนมีระดับของแผนดินแตกตางกันในทะเลเปนเหตุ ใหเกิดคลื่นยักษตามมา โดยแนวการเกิดคลื่นยักษ สึนามิมักเกิดบริเวณรอบมหาสมุทรแปซิฟก ที่เรียกวา วงแหวนไฟ และมีการทํานายวาจุดเสี่ยงที่สุด คือ ญี่ปุน มลรัฐแคลิฟอรเนีย มลรัฐลอสแอนเจลิส ของ สหรัฐฯ เมื่อพิจารณาที่ตั้งประเทศญี่ปุน พบวาเปน ประเทศที่อยูบริเวณ วงแหวนไฟ (Pacific Ring of Fire หรือ the Ring of fire) ซึ่งเปนบริเวณในมหาสมุทร แปซิ ฟ ก ที่ เ กิ ด แผ น ดิ น ไหวและภู เ ขาไฟระเบิ ด บ อ ยครั้ ง วงแหวนไฟมี ลั ก ษณะเป น เส น เกื อ กม า ความยาวรวมประมาณ ๔๐,๐๐๐ กิโลเมตร และ วางตัวตามแนวรองสมุทร แนวภูเขาไฟและบริเวณ ขอบแผนเปลือกโลก โดยมีภูเขาไฟที่ตั้งอยูภายใน

วงแหวนแหงไฟทั้งหมด ๔๕๒ ลูก และเปนพื้นที่ ที่มีภูเขาไฟคุกรุนอยูกวา ๗๕% ทั้งนี้แผนดินไหว ขนาดใหญทั่วโลกกวา ๘๐% จะเกิดขึ้นในบริเวณนี้ นอกจากวงแหวนไฟ ยังมีแนวแผนดินไหวอีก ๒ แหง ได แ ก แ นวเทื อ กเขาอั ล ไพน ซึ่ ง มี แ นวต อ มาจาก เกาะชวาสูเกาะสุมาตรา ผานเทือกเขาหิมาลัย และ ทะเลเมดิ เ ตอร เ รเนี ย น และแนวกลางมหาสมุ ท ร แอตแลนติก


การกํ า เนิ ด ของ “วงแหวนไฟ” สื บ เนื่ อ ง มาจากแผนเปลือกโลกเคลื่อนที่มาชนกัน และมุดตัว ซอนกันในแตละทวีป สําหรับประเทศที่มีที่ตั้งหรือ มีพื้นที่บางสวนอยูในแนววงแหวนไฟ มี ๓๑ ประเทศ ได แ ก ประเทศเบลี ซ โบลิ เ วี ย บราซิ ล แคนาดา โคลั ม เบี ย ชิ ลี คอสตาริ ก า เอกวาดอร ติ ม อร ตะวั น ออก เอลซั ล วาดอร ไมโครนี เ ซี ย ฟ จิ กั ว เตมาลา ฮอนดู รั ส อิ น โดนี เ ซี ย ญี่ ปุ น คิ ริ บ าตี เม็กซิโก นิการากัว ปาเลา ปาปวนิวกินี ปานามา เปรู ฟ ลิ ป ป น ส รั ส เซี ย ซามั ว หมู เ กาะโซโลมอน ตองกา ตูวาลู สหรัฐฯ และรวมถึง นิวซีแลนด ที่เพิ่ง เกิด “วิปโยคแผนดินไหว” สําหรับรอยเลื่อนที่ตั้งบนวงแหวนไฟที่สําคัญ ไดแก รอยเลื่อนซานอันเดรียส ในมลรัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐฯ ซึ่งเกิดแผนดินไหวขนาดเล็กเปน ธรรม

ประจํา รวมทั้ง รอยเลื่อนควีนชารลอตต รัฐบริติช โคลั ม เบี ย ประเทศแคนาดา ซึ่ ง เกิ ด แผ น ดิ น ไหว ขนาดใหญมาแลว ๓ ครั้ง สวนภูเขาไฟที่ตั้งอยูใน วงแหวนไฟ เช น ภู เ ขาไฟเซนต เ ฮเลนส ประเทศ สหรัฐฯ เคยระเบิดครั้งใหญเมื่อป ๒๕๒๓ ภูเขาไฟ ฟูจิ ประเทศญี่ปุน ระเบิดครั้งลาสุดเมื่อป ๒๒๕๐ ภูเขาไฟพินาตูโบ ประเทศฟลิปปนส ระเบิดครั้งใหญ เมื่ อ ป ๒๕๓๔ นอกจากนี้ มี ภู เ ขาไฟวิ ล ลาร ริ ก า ประเทศชิลี ภูเขาไฟแทมโบรา เคลูด และเมราป ประเทศอินโดนีเซีย และภูเขาไฟลูอาเปทู ประเทศ นิวซีแลนด ในการจั ด อั น ดั บ เหตุ ก ารณ แ ผ น ดิ น ไหวที่ รุนแรงที่สุด พบวาลวนเกิดในบริเวณ "วงแหวนไฟ" โดยเหตุ ก ารณ แ ผ น ดิ น ไหวครั้ ง ใหญ ที่ สุ ด ในโลก ๕ อันดับแรก ไดแก


อันดับ ๑ ป ๒๕๐๓ เมือง Valdivia ประเทศ ชิลี เกิดแผนดินไหวขนาด ๙.๕ ริกเตอร สงผลใหมี ผูเสียชีวิตมากกวา ๑,๖๐๐ คน และอีก ๒ ลานคน ไรที่อยูอาศัย อันดับ ๒ ป ๒๕๐๗ มลรัฐอลาสกา ประเทศ สหรัฐฯ เกิดแผนดินไหวขนาด ๙.๒ ริกเตอร สงผล ใหมีผูเสียชีวิต ๑๒๘ คน และทําลาย "แองคอเรจ" (Anchorage) เมืองที่ใหญที่สุดในมลรัฐอลาสกา อันดับ ๓ ป ๒๕๔๗ เกาะสุมาตรา ประเทศ อิ น โดนี เ ซี ย เกิ ด แผ น ดิ น ไหวขนาด ๙.๑ ริ ก เตอร สงผลใหเกิดสึนามิเปนวงกวางตามชายฝงทะเลของ หลายประเทศในแถบทะเลอินเดีย สูญเสียชีวิตไป มากกวา ๒๒๐,๐๐๐ คน อั น ดั บ ๔ ป ๒๔๙๕ บริ เ วณชายฝ ง ของ คาบสมุทรคัมซัตคา (Kamchatka) ทางตะวันออกไกล ของรัสเซีย แผนดินไหวขนาด ๙.๐ ริกเตอร สงผลให เกิดสึนามิกวางขวางในแถบมหาสมุทรแปซิฟก อันดับ ๕ ป ๒๕๕๔ เมืองเซนได ประเทศ ญี่ปุน เกิดแผนดินไหว ๙.๐ ริกเตอร

แผนดินไหวอยูลึกลงไปใตทะเล ๒๔ กิโลเมตร แต ญี่ ปุ น ได ชื่ อ ว า เป น ประเทศที่ เ ตรี ย มพร อ มรั บ มื อ แผนดินไหวดีที่สุดในโลก ทําใหยอดผูเสียชีวิตยังอยู ในระดับแตกตา งอยางมากจากเฮติที่มี ผูเ สียชีวิต กวา ๒ แสนคน นอกจากนี้นักธรณีฟสิกสของสํานัก สํารวจธรณีวิทยาสหรัฐฯ ระบุวา ความรุนแรงของ การสั่น สะเทือนของแผนดิ น ไหวทํา ใหเ กาะฮอนชู ขยับไปทางตะวันออก ๒.๔ - ๔ เมตร แมระดับความรุนแรงจะมากถึง ๙.๐ ริกเตอร เทียบไดกับระเบิด TNT หนัก ๔๗๔ ลานตัน แตก็ยัง ไมมีรายงานเหตุการณตึกถลมแตอยางไร เนื่องจาก ญี่ ปุ น มี ม าตรฐานการก อ สร า งอาคารที่ แ ข็ ง แกร ง ที่ สุ ด ในโลกเพื่ อ ต า นทานแรงสั่ น สะเทื อ นจาก แผนดินไหว นอกจากนี้ยังมีระบบเตือนภัยแผนดินไหว ลวงหนา ทําใหประชาชนเตรียมหลบอยูในที่ที่ปลอดภัย ไดทัน ทั้งนี้ระบบเตือนภัยแผนดินไหวของญี่ปุนจะ ตรวจวัดคลื่นซึ่งเกิดจากรอยเลื่อน และแจ งเตือน ประชาชนไดภายใน ๑๕ วินาทีกอนเกิดแรงสั่นสะเทือน ของแผนดินไหว

ผลกระทบจากเหตุแผนดินไหวในญี่ปุน แมจ ะผ า นเหตุ การณ แผน ดิ น ไหวมานาน กวา ๒ เดือน แตภัยพิบัติดังกลาวยังสงผลกระทบ ตอความเสียหายที่คงตองหาทางดําเนินการแกไข ตอไป หากเปรียบเทียบเหตุการณครั้งนี้กับแผนดินไหว ในเฮติ เมื่อ มกราคม ๒๕๕๓ ที่มีขนาด ๗.๐ ริกเตอร นับวาครั้งนี้มีความรุนแรงกวา ๗๐๐ เทา ทําใหเกิด รอยแยกระยะทางยาว ๒๙๘ กิโลเมตร และกวาง ๑๔๙ เมตรในพื้ น ใต ท ะเล โดยจุ ด ศู น ย ก ลาง

จากรายงานของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ญี่ปุน ณ วันที่ ๒๘ มี.ค.๒๕๕๔ สถิติผูเสียชีวิตลาสุด รวม ๑๐,๙๐๑ คน สู ญ หาย ๑๗,๖๒๑ คน และ


ประมาณ ๖๐% ของผู เ สี ย ชี วิ ต เป น ประชากรใน พื้นที่เซนได ไดแกจังหวัดมิยางิ จังหวัดอิวาเตะ และ จั ง หวั ด ฟุ กุ ชิ ม ะ มี ผู ร อดชี วิ ต ไร ที่ อ ยู อ าศั ย ราว ๔๐๐,๐๐๐ คน นอกจากนี้มีรายงานวากองกําลัง ป อ งกั น ตนเองทางอากาศของญี่ ปุ น ยื น ยั น ว า ฐานทั พ อากาศมั ต สึ ชิ ม ะในจั ง หวั ด มิ ย ากิ จ มน้ํ า ทั้งหมด หลังจากเหตุการณคลื่นยักษ ภั ย พิ บั ติ มิ ไ ด ห ยุ ด แต เ พี ย งเท า นี้ หากแต ผลกระทบที่ ร า ยแรงจากแผ น ดิ น ไหวได ส ง ผลให โรงงานผลิตไฟฟาพลังนิวเคลียรในจังหวัด ฟุกุชิมะ ๒ แหง ไดรับความเสียหาย ทั้งนี้ โรงไฟฟาดังกลาว ไดเปดดําเนินการมากวา ๔๐ ป แมไดรับความเชื่อมั่น ในระบบรักษาความปลอดภัยระดับตนของโลก แต สามารถทนแรงสั่นสะเทือนไดเพียง ๘ ริกเตอร จึงไม สามารถทนตอแผนดิ นไหวครั้ งนี้ได แรงสั่ นสะเทือน ที่เกิดขีดจํากัดทําใหระบบระบายความรอนปดทํางาน อั ต โนมั ติ จึ ง เกิ ด การหลอมละลายของเชื้ อ เพลิ ง ปฏิ ก รณ เกิ ด การรั่ ว ไหลของสารกั ม มั น ตรั ง สี สู ธรรมชาติ

สิ่งแวดลอมภายนอก ปจจุบันรัฐบาลญี่ปุน รวมทั้ง บริษัทโตเกียว อิเล็กทริก พาวเวอร (Tokyo Electric Power Company : TEPCO) เจาของโรงไฟฟา ไดพยายามหาวิธีปดเตาปฏิกรณ ทําใหในพื้นที่ไมมี ไฟฟ า ใช ต อ งเสี ย งบประมาณสู ง ในการนํา ไฟฟ า มาจากโรงไฟฟาอื่น ความเสี ย หายดัง กล า ว ไดมีผลกระทบต อ นโยบายเกี่ยวกับโรงไฟฟานิวเคลียรในหลายประเทศ อาทิ คณะรัฐมนตรีของจีนประกาศระงับการอนุมัติ โครงการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรแหงใหมแลว ซึง่ จีนกําลังกอสรางเตาปฏิกรณประมาณ ๒๘ หนวย หรือราว ๔๐% ของโครงการที่กําลังกอสรางรวมกัน ทั้ ง โลก เกาหลี ใ ต ไ ด สั่ ง การให ต รวจสอบความ ปลอดภั ย ที่ เ ตาปฏิ ก รณ นิ ว เคลี ย ร ในประเทศ โดยเฉพาะการประเมินความพรอมรับมือภัยธรรมชาติ ไตหวัน มีการประทวงเพื่อเรียกรองใหรัฐบาลทบทวน ระบบความปลอดภั ยของโรงงานไฟฟ า นิวเคลีย ร ๓ แหง และหยุดการสรางโรงไฟฟานิวเคลียรโรงที่ ๔

(อานตอฉบับหนา)


Jetta, Berlin 2010 (ตอจากฉบับที่แลว) เชาของวันที่สองคือใน ๓ พ.ย.๕๓ เดินทาง ออกจากโรงแรม Maritim เมื่อเวลา ๗ โมงครึ่ง ไปเมือง Wilhemshaven ซึ่งเปนที่ตั้งของศูนยสงกําลังบํารุง กองทัพเยอรมัน มีทาน Rear Adm. Bremer เปน ผบ.ศู น ย ฯ การปฏิ บั ติ ง านใช แ นวคิ ด ของการส ง กําลังบํารุงแบบรวมการสนับสนุนทั้ง ๓ เหลาทัพ ในลั ก ษณะแยกการควบคุ ม ออกจากส ว นกลาง (Decentralize) ทําหนาที่ใหการสนับสนุนดานสง กําลังบํารุงใหกับหนวยกําลัง ที่ประจําการอยูนอกประเทศ เมือง Wilhemshaven ส ว นใหญ เ ป น เรื่ อ งของการ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ก าร ทางทหาร โดยไมเกี่ยวของกับ การวางแผนส ง กํ าลั ง บํ า รุ ง / โลจิสติคสมากนัก การวางแผน สงกําลังบํารุงสําหรับอนาคต ทั้งหมดนั้นขึ้นอยูกับกระทรวง กลาโหมที่เมืองบอนน

เมือง Wilhemshaven เดิมเปนเมืองของ Preussen ในอดีตถูกสรางใหเปนฐานทัพเรือ Marinehafen หลังจากสรางฐานทัพเสร็จแลว ๕ ป ตอมาจึงมีการสรางเมืองตามขึ้นมา ฐานทัพเรือนี้ มี วัตถุประสงคเพื่อปองกันการรุกรานจากพวกอังกฤษ ในป ค.ศ.๑๙๓๕ ไดมีการสถาปนารวมตัวกันเปน เมืองอยางสมบูรณแบบ เมืองนี้ถูกสรางโดยทหาร จึงมีความผูกพันกับทหาร คราใดที่เยอรมันแพสงคราม เมืองนี้จะหงอยเหงา คราใดที่เยอรมันชนะสงคราม เมืองนี้จะครึกครื้น ชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ เมืองนี้


ถูกทําลาย แรงงานหายไปถึงรอยละ ๖๐ เมืองนี้เปน เมืองที่มีทหารอยูมากเปนอันดับสองรองจากบอนน ประชากรเกินกวาครึ่งคือจํานวนกวา ๘๐,๐๐๐ คน เปนทหารและครอบครัวทหาร ครึ่งหนึ่งของทหาร เปนทหารเรือ ที่เหลือเปนทหารเหลาทัพอื่น เมือง Wilhemshaven นี้ มีจุดเดน ๓ ประการ ประการแรก คือ เปนที่ตั้งคายทหารมากที่สุดในเยอรมัน ประการ ที่ ๒ คื อ เป น เมื อ งที่ ไ ด รั บ ฉายาว า International Container Habour เนื่องจากมีจํานวนตูคอนเทนเนอร มากที่สุด ประการที่ ๓ เปนเมือง C-160 Transal ที่ มี สิ่ ง ปลู ก สร า งโดยเฉพาะ โรงงานไฟฟ า ปรมาณู ที่ กํ า ลั ง จะเป ดใช งาน ศู น ย ฯ นี้ จ ะเป น แกนกลางในการสงกําลังซอม บํ า รุ ง ยุ ท โธปกรณ ส นั บ สนุ น ไดแก สิ่งของเครื่องใช ยานพาหนะ ทุ กประเภทให กั บทุ กเหล าทั พ โดยเฉพาะในการสนับสนุนการวางกําลังปฏิบัติการ นอกประเทศและ/หรือการฝกหรือการปฏิบัติการใน ประเทศ ผบ.ศูนยฯ กลาววายิ่งการพัฒนาเทคโนโลยี ป อ งกั น ประเทศทั น สมั ย ซั บ ซ อ นมากเท า ไร ก็ ยิ่ ง ทําใหการทํางานของศูนยฯ มีความทาทายขึ้นมาก เทานั้น เนื่องจากปริมาณและความแตกตางของ ยุทโธปกรณแตละประเภทที่หลากหลาย และความ ตองการขีดความสามารถของยุทโธปกรณที่บางครั้ง ตองมีการดัดแปลงใหสามารถใชงานไดอยางมั่นใจ เชน การติดตั้งเกราะ การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ กับยานยนตที่ถูกออกแบบใชกับเมืองหนาว หาก ตองนํามาใชปฏิบัติการในสนามรบที่มีอากาศรอน

ทั้งนี้ การทํางานภายใตกรอบความรวมมือกับเอกชน ภายใตสัญญาที่รัดกุม จึงเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่ง สําหรับขั้นตอนการสงกําลังบํารุงจากหลังไปหนา ก็เริ่มตนจากศูนยฯ นี้ที่ถือวาเปนตนทางจากเยอรมันนี เพื่ อส ง ไปยัง ศู น ย ฯ (ระดั บ กองพั น ส ง กํา ลัง บํ า รุ ง ) ในสวนหนา และสงตอไปยังศูนย ฯ (ระดับหนวย) ในสนามรบและในทางกลับกันก็เชนกัน คุณภาพ การสงกําลังบํารุงใหกับหนวยกําลังทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ฐานทั พ และหน ว ยแพทยท หารนั้ น

อาศัยเครือขายดาวเทียมเปนหลัก การสงยุทโธปกรณ ในสนามรบจะใชเครื่องบิน C-160 Transal เปน พาหนะหลัก ความสําเร็จของการสงกําลังบํารุงใหกับ สวนหนาขึ้นอยูกับองคประกอบ ๔ อยาง คือ ภารกิจ ที่ไดรับ โครงสรางหนวย การจัดหนวย และ เครื่องมือ อุ ป กรณ ที่ มี ป ระจํ า การ นอกจากนั้ น ยั ง รวมไปถึ ง บุ ค ลากรทั้ ง ทหารและพลเรื อ นที่ มี ค วามชํ า นาญ เฉพาะทางและไดรับการอบรมมาอยางดี การควบคุม คุ ณ ภาพมี ขั้ น ตอนเริ่ ม ตั้ ง แต ก ารผลิ ต การสะสม การขนสง การซอมบํารุง/การกอสรางสิ่งปลูกสราง ซึ่งดูแลวก็เปนระบบปกติธรรมดาไมตางกับระบบที่ ไทยใชอยู แตในกองทัพเยอรมันไดมอบบทบาทนี้ไว


กั บ เอกชนเปน สว นใหญ คํ า ถามจึ ง อยูที่ ว า ความ นาเชื่อถือ/ความไวใจไดแคไหน คําตอบก็คือทุกอยาง ต อ งเป น ไปตามสั ญ ญาที่ ไ ด ล งนามให ไ ว แ ก กั น ข อ พิ จ ารณาที่ เ ป น เรื่ อ งใหญ ก ว า นี้ คื อ การที่ มี พลเรือนเขาไปทํางานในหนวยทหารในสวนหนานั้น จะแบงความรับผิดชอบกันอยางไร และมีกฎหมาย อย า งไรรวมทั้ ง การป อ งกั น รั ก ษาความปลอดภั ย หนวยจะทํากันอยางไร เหลานี้ขึ้นอยูกับกฎหมายที่ ต อ งออกมารองรั บ ศู น ย ฯ นี้ จ ะทํ า หน า ที่ ค วบคุ ม ติ ด ตามและจั ด การเกี่ ย วกั บ สั ญ ญาจ า งในการ สงกําลังบํารุงยุทโธปกรณทั่วไป งานหลักๆ ไดแก การนําสง/สงกลับยานพาหนะ ชุดซอมบํารุงเฉพาะกิจ การขนส ง ไปยั ง หน ว ยปลายทางต อ งกระทํ า (ได ) ตลอดเวลา ๒๔ ชั่วโมง ในขั้นตอนแรกหากเปนการ สงกําลังใหกับทหารบกก็สงไปที่หนวยสงกําลังบํารุง ระดับกรมที่มีที่ตั้งนอกประเทศ ทหารอากาศสงไปที่ สนามบิน ทหารเรือสงไปที่ฐานสงกําลังบํารุง จาก หนวยขางตนนี้จึงจะสงไปยังหนวยกําลัง/ผูใชอีกทอด หนึ่ง ศูนยฯ นี้ก็ไมมีอํานาจใดๆ ที่จะไปกาวกายเกี่ยวกับ ยุทโธปกรณที่มีสถานะพรอมใชงานจากหนวยใดๆ เพื่อนําไปใหกับหนวยอื่นใดทั้งสิ้น ไมวายุทโธปกรณนั้น จะอยูในหรือนอกประเทศก็ตาม แตศูนยฯ ก็มีอํานาจ ในการรองขอยานพาหนะเชนเครื่องบิน ฯลฯ จาก เหล า ทั พ เพื่ อ นํ า ส ง ยุ ท โธปกรณ / ชิ้ น ส ว น/อะไหล ที่ เ ป น ความจํ า เป น เร ง ด ว นจากหลั ง ไปหน า หรื อ ในทางตรงกันขาม สําหรับการสงกําลังซอมบํารุง อาวุธและระบบอาวุธของแตละเหลาทัพนั้นแตละ เหลาทัพจะเปนผูทําการซอมบํารุงเอง หากแตการ ประสานงานตองเปนไปอยางใกลชิด การกําหนด

ความตองการการซอมบํารุงของศูนยซอมยุทโธปกรณ เหลาทัพใชวิธีวา สวนยุทธการจะเปนผูกําหนดวายัง จําเปนตองใชอาวุธยุทโธปกรณชนิดใดจํานวนเทาไร อี ก นานเท า ไร ข อ มู ล เหล า นี้ จ ะถู ก ส ง มาให ศู น ย ฯ เมื่ อ ศู น ย ฯ ทราบก็ จ ะคํ า นวณเป น ความต อ งการ ระยะยาวพร อ มกั บ ตั้ ง ประมาณการงบประมาณ โดยศู น ย ฯ จะเป น ผู สั่ ง พั ส ดุ สิ่ ง ของไปยั ง ผู ผ ลิ ต ภาคเอกชน ซึ่งเอกชนจะทราบและเตรียมการผลิต ไวเ ป น แผนระยะยาวตลอดจนสะสมไว ใ นคลัง ให เพียงพอเมื่อไดรับการรองขอ โดยที่กองทัพไมจําเปน ตองสะสมเอง หากเมื่อใดที่หนวยมีความตองการ ศู น ย ฯ จะเป น ผู จั ด การส ง อะไหล ชิ้ น ส ว นให โ ดย วา จา งเอกชนนําสง (ป จจุ บัน มากถึงรอยละ ๙๕) หรือนําสงโดยกองทัพเอง (รอยละ ๕) เพื่อสงไปยัง หนวยกําลังในสวนหนา การนําสงอาจพิจารณาใช ทางถนน ทางระบบราง ทางอากาศ หรืออื่นๆ ที่สามารถ ตอบสนองและรองรับภายใตคุณภาพ ราคา เวลา วิธี ก ารที่ เ หมาะสมกั บ พัส ดุ นั้ น ๆ ดัง นั้น การเขี ย น สัญญาการนําสงพัสดุระหวางกองทัพเยอรมัน (โดย ศูนยฯ กับเอกชน) จึงเปนเรื่องละเอียดออนโดยตอง ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเสนทาง วิธีการ ยานพาหนะ เวลา ฯลฯ การพิจารณาตองอยูภายใตความประหยัด เนื่องจากในแตละปกองทัพเยอรมันตองเสียคาใชจาย ปละไมต่ํากวา ๑๐๐ ลานยูโร อนึ่ง ยุทโธปกรณใดๆ ที่ เ สี ย หายต อ งถู ก นํ า ส ง กลั บ มาซ อ มใหญ ศู น ย ฯ ก็ จ ะรั บผิ ดชอบดํ า เนิ น การใหทั้ง หมดเชน กัน โดย นําไปเขาศูนยซอม (อาจเปนของเหลาทัพก็ได) เมื่อ ซ อ มเสร็ จ แล ว ก็ จ ะรั บ ผิ ด ชอบในการตรวจสอบ (Function Check) หากผานการตรวจสอบแลวก็จะ


ทําการเขาหีบหอ เก็บรอขนสง (ที่เมือง Heseldorf อยูไมไกลจาก Bremen มากนัก) จากนั้นจึงวาจาง/ รองขอการนําสงใหกับหนวยกําลังสวนหนาตอไป หัวขอพิจารณาหลักของศูนยฯ ในการควบคุมการ ส ง กํ า ลั ง /ซ อ มบํ า รุ ง ก็ คื อ ก) จํ า นวนพั ส ดุ สิ่ ง ของ ที่ ถู ก ต อ ง ข) สภาพดี พ ร อ มใช ง าน ค) ตรงเวลา ง) คุณภาพของดี จ) ราคาเหมาะสม ฉ) สงไดถูกที่ และ ช) มีขอมูลประกอบที่เพียงพอ สําหรับปญหา การคั ด เลื อ กบริ ษั ท เอกชนที่ จ ะมารั บ ดํ า เนิ น การ สงกําลัง/ซอมบํารุงนั้น ตองมีการศึกษาขอมูลอยาง เพียงพอ ไมวาจะเปนเอกชนของเยอรมันนีหรือเปน เอกชนในพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารนอกประเทศก็ ต าม นอกจากนั้นการจัดหาสิ่งอุปกรณตางๆ ที่สิ้นเปลือง นั้ น ส ว นใหญ จั ด หาผ า นเอกชนในพื้ น ที่ ทั้ ง นี้ หลักนิยมนี้ กองทัพเยอรมันไดฝากความไววางใจ ธรรม

บนขี ด ความสามารถของเอกชน (ที่ มี คุ ณ ภาพ) เกือบทั้งหมด การสงกําลังบํารุงจากเอกชนนอกประเทศ นั้น ศูนย ฯ จะสงชุดตรวจสอบคุณภาพไปเพื่อจัด ดําเนินการใหในพื้นที่โดยตรง ในขณะนี้ ศูนยฯ มี ภารกิจหลักในการสงกําลัง/ซอมบํารุงใหกับหนวยที่ หนวยกําลังใน EU โคโซโว อัฟกานิสถาน ATALANTA พื้นที่วิกฤตจากภัยธรรมชาติ และการฝกนอกประเทศ ปจจุบันยังมีขอถกเถียงกันในหนวยกําลังในสวนหนา มั ก จะอ า งความต อ งการยุ ท โธปกรณ ป ระเภทสิ่ ง อุปกรณสนับสนุนไวเ ปนของตนเอง และตองการ ขีดความสามารถในการซอมบํารุงดวยตัวเองดวย กรณีนี้ ไดมีการพิสูจนและยืนยันแลววาไมจําเปน ระบบส ง กํ า ลั ง ที่ ก องทั พ เยอรมั น ใช อ ยู นี้ ส ามารถ สนับสนุนการสงกําลัง/ซอมบํารุงแกหนวยกําลังได อยางดีรวมทั้งประหยัดมากกวาดวย


ในชวงบายหลังอาหารกลางวันเปนการดูงาน ภาคปฏิ บั ติ ที่ ก องพลฝ ก ส ง กํ า ลั ง บํ า รุ ง (Logistik Brigade) กองพลสงกําลังบํารุงนี้มีเพียงแหงเดียว ในเยอรมันนี มีพันเอก (Oberst) Thomas เปนผูใหการ ตอนรับ กําลังพลที่นี่มีประจําการ ๔๐๐ คน ปฏิบัติ หน า ที่ แ ละดู แ ลครอบครั ว ของกํ า ลั ง พลที่ อ อกไป ปฏิบัติภารกิจในสวนหนา ภารกิจหลักของกองพลนี้ คือการฝกทหารเหลาสงกําลัง/ซอมบํารุง แพทยสนาม ไปปฏิบัติภารกิจสวนหนาในตางประเทศ กําลังพล ที่ไดรับการฝกมีทั้งทหารชายและทหารหญิง เปน ทหารชายประมาณรอยละ ๙๕ ทหารหญิงรอยละ ๕ ทหารเหลาสงกําลังนี้ถือวาเปนนักรบเชนเดียวกับ ทหารเหลารบ เพราะตองปฏิบัติการภายใตสภาวะ การรบเชน เดียวกั น ทั้ ง นี้ รวมถึ ง เหล าแพทย ดว ย ที่โดยภาพรวมแลวทหารทั้งสองเหลานี้มีอัตราสูญเสีย ไมนอยกวาเหลารบ กองพลฯ นี้อยูในคายทหารซึง่ มี ขนาดใหญมาก เปนการนําคายสองคายมารวมกัน เพื่อทําเปนสนามฝกการสงกําลังบํารุงดวยยานพาหนะ ขนาดหนัก น.ท.Jansen ผบ.พันฝก ชี้แจงการสาธิต ในวั น นี้ ว า เริ่ ม ตน ด ว ยการกํ า หนดสถานการณ ว า ชุดปฏิบัติการสวนหนาถูกระเบิดยานยนตไดรับความ เสี ยหาย ๒ คั น คื อ รถบั ญชาการและรถหุ มเกราะ Fuchs ขับเคลื่อนตอไปไมได มีทหารไดรับบาดเจ็บ หลายคน ไดมีคําขอใหชุดสงกําลังบํารุงไปทําการ กูภัย กองกําลังจึงสงชุดกูภัยประกอบดวยกําลังพล และขบวนกูภัย ๗ คันได แก รถนํา ๑ คั น รถ SLT (Schwer Last Transport) ๒ คัน รถประจําสนาม รถพยาบาล และ รถปดทายขบวนอีกอยางละ ๑ คัน ออกไปชวยเหลือ เมื่อขบวนกูภัยถึงที่หมาย ก็มีการ

วางกําลังคุมกันรอบนอกเพราะชวงเวลานี้เปนชวงที่ อันตรายจากการโจมตีเปนที่สุด หัวหนาชุดจะเขา ทําการตรวจสอบความเสียหายเพื่อสั่งการใชเครื่องมือ กูภัยที่ถูกตอง จากนั้นจึงเปนการนํารถถังกูภัยลงไป ลากรถเกราะตามคําสั่งของ หน.ชุดเพื่อบรรทุกรถที่ เสียหายไปซอม รถ SLT มี ๒ แบบ คือแบบลอใหญ และลอเล็ก รถ SLT ลอใหญสําหรับบรรทุกรถถัง กูภัย นน. ๖๕ ตัน รถ SLT ลอเล็กบรรทุกได ๖๗ ตัน สําหรับบรรทุกรถถัง Leopard II กระบวนการกูภัย ใชเวลาเพียง ๓๐ นาที การปฏิบัติเปนไปตามขั้นตอน ภายใตมาตรการความปลอดภัยอยางสูงสุด การปฏิบัติ ของทหารสวนใหญใชเครื่องมือที่ไดรับการออกแบบ มาอยางดี ขั้นตอนไมยาก เพียงแตตองเขาใจและ รับการฝกฝนการทํางานเปนทีมมาอยางดี ยกเวนใน กรณีวิกฤติที่ยอมใหปฏิบัติเปนอยางอื่นหากมีการ โจมตีของขาศึก สําหรับการชวยเหลือรถยนตบรรทุกเล็ก ก็สามารถบรรทุกขึ้นบนรถบรรทุก (Multi A4) ไดเลย โดยไมตองมีรถบรรทุกอื่นมาคอยใหความชวยเหลือ SLT

สถานที่จัดสาธิตตอไปคือ จุดบริการ (Service Punkt) ที่จุดนี้ปนกลุมงานสนาม อันประกอบดวย ชุ ด แพทย ส นาม จุ ด บริ ก ารเชื้ อ เพลิ ง ครั ว สนาม


จุ ด สะสมสิ่ ง อุ ป กรณ เมื่ อ วานนี้ ค ณะของสมาชิ ก สภาผู แ ทนเยอรมั น นี ไ ด เ ดิ น ทางมาดู ง านที่ นี่ เห็ น ร อ งรอยการเตรี ย มการที่ ดี มี ก ารแสดงการ เปลี่ยนเครื่องยนตรถเกราะและโชวใหเห็นวาเปลี่ยน แล ว ใช ง านได ทั น ที ณ จุ ด บริ ก ารนี้ ใ ช กํ า ลั ง พล ประจําการประมาณ ๕๒ คน การฝกที่นี่เหมือนจริง ทุ ก อย า ง นั บ ตั้ ง แต ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ เป น การฝ ก ซ อ มก อ นออกไปทํ า งานจริ ง จะเห็นไดวาการกระทําใดๆ ของเยอรมันนีกระทํา อยางจริงจังภายใตกฎกติกาขอกําหนด เมื่อทุกคน ทําตามกติกาขอกําหนดแลวก็จะทําใหทุกอยางเดินได อยางเปนระบบและเปนไปในทางเดียวกัน สามารถ กาวตอไปในลักษณะตอยอดไดเรื่อยๆ การพัฒนา จึงเกิดขึ้นเสมอในลักษณะตอเนื่อง กลาวไดอยางทั่วไป วาการตั้งเกณฑใดๆ แลวพยายามปฏิบัติตามเกณฑ นั้น ก็จะเกิดวินัยขึ้นและวินัยนี่แหละก็คือเครื่องมือ ของการสรางชาติ ดังที่เยอรมันนีกระทําสําเร็จแลว ภายใตการรักษากติกาขอกําหนดอยางเขมขน ช ว งการพู ด คุย หลั ง การบรรยายสรุ ป ได มี การแลกเปลี่ยนความเห็นนั้น Brd.Gen Zimmer ได กลาววาที่จริงแลวความตองการกองพลฯ นี้ประมาณ ๓ กองพล แต ป จ จุ บั น มี ก องพลเดี ย วไม พ อเพี ย ง สําหรับภารกิจที่มีมากเกือบทั่วโลก และในการปรับ โครงสรางใหมก็ยังไมมีความเปนไปไดวากองทัพ เยอรมัน จะไดรับอนุมัติใหตั้งกองพลนี้ไดถึง ๓ กองพล หรือไม การแกปญหาก็คืออยางที่ทราบกันคือการนํา เอาพลเรือนไปรวมทํางานในสนามดวย แตก็มิอาจ ใช กํ า ลั ง พลพลเรื อ นได โ ดยเฉพาะในยามวิ ก ฤติ ยามวิ ก ฤติท หารตอ งทํา หน า ที่นี้ทั้ง หมด การเพิ่ ม

ขีดความสามารถของกองพลฯ นี้มีสิ่งจําเปน ๒ ประการ คือ การที่มีกําลังพลที่มีขีดความสามารถเปนเรื่อง สําคัญอันดับหนึ่ ง ขณะนี้เริ่มขาดแคลนเนื่องจาก ธุรกิจ/บริษัทภายนอกจายคาตอบแทนดีกวา และ รองลงมาคือการบรรจุประจําการเครื่องมือที่ทันสมัย อยางที่สุด ที่กําลังจะเปนปญหาในอนาคตคือการที่ กองพลฯ นี้ขาดกําลังพลพิเศษ (Specialist) และไมมี ทางเปนไปไดที่จะนําทหารกองประจําการเขาทํางาน ในหน ว ยนี้ เ นื่ อ งจากทหารกองประจํ า การมี ว าระ รับราชการเพียง ๑ ป ถึง ๒ ปเทานั้น ดังนั้นความ เปนไปไดในการแกปญหาจึงมีเพียงวา การฝกเจาหนาที่ จะตองเขมขนไมวาจะเปนดานงานชาง (Mechanic) และดานงานฝมือ (Handwerk) หรือไมก็ตองมีกฎหมาย เอื้ออํานวยใหทหารเหลานี้เขาไปทํางานกับบริษัท โดยไดรับคาตอบแทน ๒ ทาง กรณีนี้ในเยอรมันนีมี ความเปนไปไดเนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมอยาง เยอรมันนีกําลังขาดแคลนแรงงานฝมือ โดยจะตอง สรางกฎเกณฑใหมมาใชโดยคอยๆ ผอนผันใหไป ประกอบอาชี พ ที่ ๒ นี้ ไ ด ห ลั ง จากที่ ไ ด รั บ ราชการ ผานไปแลว ๘ ป ๑๒ ป ๑๕ ป ๒๐ ป หรือ ๒๕ ป แนวคิดในลักษณะนี้สามารถทําใหกองทัพเยอรมัน สามารถรักษารูปรางใหเปนสามเหลี่ยมปรามิดไวได ป ญ หาที่ กํ า ลั ง คื บ คลานมาสู ก องทั พ เยอรมั น อี ก ป ญ หาหนึ่ ง ก็ คื อ การที่ ค นรุ น หลั ง มี น อ ยลงคนแก มากขึ้น การสรรหากําลังพลในกองทัพในระดับลาง จึงเปนเรื่องยากยิ่งขณะที่ระดับบนกลับมีเหลือมาก และอายุยืนยาวขึ้น เมื่อเยอรมันนีคิดดังนี้แลว เปนที่ แนใจวาไมนานตองมีกลไกขับเคลื่อนจะตองออกมา บั ง คั บ ใช ยามใดที่ เ กิ ด ป ญ หาในกองทั พ เยอรมั น


ไม นานการแก ปญหาจะเกิดขึ้น ที่มั่น ใจในเรื่อ งนี้ เพราะ ๓๐ ปที่ผานมา ไดเห็นการพัฒนาในเชิงการ แก ป ญ หาอย า งเป น รู ป ธรรม ในเยอรมั น นี มี ก าร เปลี่ยนแปลงพัฒนาตลอดเวลาไมมีสิ่งใดหยุดนิ่ง ประสบการณที่หนวยนี้ไดรับคือ กําลังพลที่ปฏิบัติ หนาที่ในหนวยสนามมักปวยเปนโรคจิต (Psychology) เนื่องจากตองตรากตรําในพื้นที่ตางแดนเปนเวลานาน แตก็ไมใ ชวา จะเปน ทางตั น เสี ย ทีเ ดี ย ว กํา ลัง พล เหลานี้ หลังจากการฟนฟูระยะหนึ่งแลวก็สามารถ สงกลับไปปฏิบัติหนาที่ในแนวหนาไดเชนเดิม สิ่งที่ พิสูจนไดอยางแทจริงคือ คนที่ประสบปญหาลวนแลว แตมีปญหาครอบครัวดวยทั้งสิ้น เปนปญหา ๒ ทาง มีเพียงบางคนเท านั้นที่ มีปญหาสืบเนื่องจากการ ทํางานเพียงอยางเดียว ชวงเย็นและกลางคืนของวันนี้เปนการพบปะ ของผูแทนบริษัทตางๆ ที่ทําธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรม ธรรม

ปองกันประเทศ ซึ่งรวมตัวกันกอตั้งเปนองคกรโดย องค กรก อตั้ง มาเมื่ อป ๒๐๐๙ ขณะนี้กํ า ลัง ขยาย บทบาทใหกวางออกไป วันนี้ องคกรขอโอกาสเปน เจาภาพเลี้ยงรับรอง แนวคิดในการจัดใหมีการพบปะ กันในลักษณะนี้ถือวาเปนการดี กองทัพเยอรมัน ไม เสียอะไรแตประเทศเยอรมันนีไดอะไรเยอะมาก นัก ธุรกิ จเหลานี้ส วนหนึ่ งมาจากอดี ตทหารจบการศึกษา จากมหาวิท ยาลัยทหารและทํางานในกองทัพ จน สิ้นสุดสัญญา เทาที่คุยดูกับนักธุรกิจเหลานี้มีหลาย บริษัท ที่ดํ า เนิ น โครงการกับกองทัพ /เหล า ทัพ ของ ไทย หรือมีหลายบริษัทที่สนใจตองการไปเปดตัว ใน เมืองไทย การพูดคุยเปนไปอยางสนุกสนานทั้งเรื่อง งานและการท อ งเที่ ย วในประเทศไทยซึ่ ง ทุ ก คน ปรารถนาอยากจะไปเที่ยว (อานตอฉบับหนา)

It is not getting to the top of the Everest that matters in life. It is how and why you get there. ความหมายที่สําคัญในชีวิต ไม่ใช่การขึ้นถึงยอดเขาเอเวอเรสต์ แต่จากความเข้าใจว่าทํา ทําไม และทําอย่างไร ถึงจะไปถึงจุดหมายนั้นได้ ปาตุก รวบรวม


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒) (ตอจากฉบับที่แลว) ๖๐. พระปดตาเนื้อผง (ไมทราบที่มา) ลักษณะพระเนื้อผง สีขาว คลายรูปไข ขนาดกวาง ๑.๕ ซ.ม. สูง ๑.๘ ซ.ม. ดานหนาตรงกลางเปนรูปองคพระปดตา รอบๆ องคพระเปนจุดไขปลา ๓๔ จุด สวนดานหลัง เปนรูปเครื่องหมายปก ทอ. มีดาว ๓ ดวง อยูใตปก และมีหมายเลขที่เห็นไดไมชัดเจนนัก ไมทราบวาเปน ๑๔๑ หรือ ๑๘๑

ดานหนา

ดานหลัง


๖๑. พระพุทธไพรีพินาศ (ไมทราบที่มา) ลักษณะเปนพระรูปหลอโลหะ เนื้อทองเหลืองรมดํา ดานหนา ที่ฐานขางลางมีตัวหนังสือ “พระพุทธไพรีพินาศ” สวนดานหลังที่ฐานมีตัวหนังสือ “กองทัพอากาศ”

สําหรับวัตถุมงคลของชาว ทอ. ที่ผูเขียนจัดใหอยูในนาม ศิษย ทอ. นั้น เทาที่ผูเขียนสอบถาม และ คนความาไดก็มีเพียงเทานี้ แตจะเปนความกรุณาอยางยิ่ง ถามีผูอานที่ทราบวายังมีวัตถุมงคลของชาว ทอ. แบบอื่ น ๆ อี ก หรื อ สามารถให ข อ มู ล ในรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม อื่ น ๆ ได โปรดกรุ ณ าแจ ง ได ที่ e-mail: apichai_sak@rtaf.mi.th หรือ at16102499@hotmail.com สวนฉบับหนา ยังมีเรื่องของหนวยตางๆ อีก ๖ หนวย ที่ไดมีการจัดสรางวัตถุมงคลรุนใหมเพิ่มเติม ขึ้นมา ซึ่งผูเขียนจะหารูปและรายละเอียดนําเรียนใหทานผูอานไดทราบตอไปครับ (อานตอฉบับหนา)


นวีร นั่งดูรายการขาวทางสถานีวิทยุโทรทัศนกับ เด็กชั้นประถมศึกษาคนหนึ่ง มีตัวอักษรใตขาววา “เต าตะนุขึ้น จากทะเล” พรอมกับเสีย งผูประกาศ ขาวประกาศวา “เตา ตะ–นุ ขึ้นจากทะเล” ผูเขียน รูสึกแปลกๆ แต เด็ก คนนั้นพู ดขึ้น มาทันทีวา “เตา ตะ–นุ เปนอยางไรคะ หนูเคยไดยินแต เตา ตะ–หนุ” ผู เ ขี ย นนึ ก ขึ้ น มาทั น ที ว า เนื้ อ ข า วและ ตั ว อั ก ษรใตขา วอาจจะเขีย นผิด ทํ า ให ผูป ระกาศ ขาวอาจออกเสียงผิดไปดวยความรูเทาไมถึงการณ ก็เลยบอกเด็กไปตรงๆ วา เขาคงเขียนผิดมา คนอาน เลยอานผิด เพราะมีแตเตาตนุ(ตะ-หนุ) แลวผูเขียนเอง ก็ตองไปเปดพจนานุกรมเพื่อความแนใจวาไมมีเตา ตะนุ อ ย า งแน น อน ซึ่ ง ก็ เ ป น เช น นั้ น จริ ง ๆ ตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน มีแต “ตนุ ๑ [ตะนุ] (แบบ) น. ตัว, ตน. ส. ฉัน, ขาพเจา. (ป.ส.) ตนุมัธยมา, ตนุมัธยา [-มัดทะยะ-] น. ชื่อฉันทชนิดหนึ่ง. (ส.; ป. ตนุมัชฌา). ตนุ ๒ [ตะ หนุ] ชื่อเตาทะเลชนิด chelonian mydas ในวงศ cheloniidae ตีนแบนเปนพาย ตีนหนา ใหญยาว ใชเปนหลักในการวายน้ํา เกล็ดบนหลัง

แตละเกล็ดมี ลายเปนทางคลา ยแสงอาทิตย จึง มี ผูเรียกวา เตาแสงอาทิตย ปรกติอาศัยอยูในทะเล จะขึ้นมาตามชายหาดเฉพาะเมื่อจะวางไขเทานั้น.” ถ า เกิ ด มี เ ต า ตะนุ ขึ้ น มาจริ ง ๆ เห็ น จะต อ ง เติมคําใหมในพจนานุกรม นี่ไมไดคอยจับผิดนะ ความผิ ด พลาดเช น นี้ เ หมื อ นกั บ ที่ ผู เ ขี ย น รูสึก”แปลกๆ” เมื่อไดยินผูประกาศขาวสถานีวิทยุ โทรทัศนแหงหนึ่ง ประกาศถึงกิจกรรมในวัดแหงหนึ่ง (จําชื่อไมได)จังหวัดชลบุรีวา จัดขึ้น ณ ศาลา เอนก-ประ-สง คงเป น เพราะต น ฉบั บ เขี ย นว า ศาลา เอนกประสงค แทนที่ จ ะเขี ย นให ถู ก ต อ งว า ศาลา อเนกประสงค ( เห็ น ที่ วิ ห ารเซี ย น ชลบุ รี เขี ย นว า อเนกกุศลศาลา นั้นถูกตอง) ฉะนั้ น ผู อ า นข า วควรมี ค วามคุ น เคยกั บ คําตางๆ มีประสบการณในการใชคํา และมีปฏิภาณ ในการนําเสนอขาว เมื่อตนฉบับเขียนหรือพิมพผิด ก็ ค วรใช ส ติ แ ละปฏิ ภ าณนํ า เสนอสื่ อ ให ผู รั บ สาร เขาใจไดถูกตองดวย เมื่ อ กล า วถึ ง ความผิ ด พลาดและความ บกพรองดานการเขียน จะเห็นไดวาตัวอยางขางตนนั้น


แมไมทําใหเขาใจความหมายผิดไป แตก็ทําใหงงๆ นอกจากนั้นยั งมีการเขียนผิดที่ทําให เขาใจผิดไป ก็มี บทความนี้ขอนําเสนอขอผิดพลาดที่เคยพบจาก สื่ อ โทรทั ศ น แ ละสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ทั้ ง ที่ ทํ า ให เ ข า ใจ ความหมายผิดไป และที่ทําใหเพียงแคงงๆ โดยขอ ไมอางอิงสิ่งพิมพหรือสื่อนั้นๆ พอเปนตัวอยาง ดังนี้ ประการแรก เรื่องการสะกดการันตผิด มี ทั้ ง ใช พ ยั ญ ชนะผิ ด ใช ส ระผิ ด ใช ว รรณยุ ก ต ผิ ด และใชตัวการันตผิด เชน กระตื อ รื อ ร น หมายถึ ง รี บ ร อ น เร ง รี บ มักเขียนผิดเปน กระตือรือลน กราบเรื อ หมายถึ ง ส ว นด า นข า งของ เรือรบหรือสวนของเรือตอนที่มีไมเสริม มักเขียนผิด เปนกาบเรือ ทูล หมายถึง บอก กลาว(ใชแกเจานาย) ทู ล กระหม อ ม คื อ คํ า สํ า หรั บ เรี ย กเจ า ฟ า ซึ่ ง มี พระราชชนนีเปนอัครมเหสีหรือมีพระราชชนนีเปน พระราชธิดาในพระมหากษัตริยรัชกาลใดรัชกาลหนึ่ง ทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย หมายถึงถวาย ใชแก ของที่ยกไดถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็ จ พระบรมราชิ นี นาถ สมเด็ จ พระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช และสมเด็จพระบรมราชกุมารี คํานี้มักเขียนผิดเปนทูน ซึ่งหมายถึงเอาของไวบน ศีรษะ และมีคําวาทูนหัว ซึ่งเปนคําพูดแสดงความ รักใครหรือยกยอง เชน พอทูนหัว แมทูนหัว คําวา ทูลและทูน จึงเขียนสลับสับสนกันบอยๆ อัญเชิญ หมายถึง เชิญดวยความเคารพ นับถือ มีผูเขียนผิดเปนอันเชิญ

สัญชาตญาณ หมายถึง ความรูที่มีมาแต กําเนิดของคนและสัตว ทําใหมีความรูสึกและกระทํา ไดเองโดยไมตองมีใครสั่งสอน เชน สัญชาตญาณ ในการปองกันตัว มีผูเขียนผิดเปน สัญชาติญาณ ภู ต ผี หมายถึ ง ผี เป น คํ า ซ อ น เพราะภู ต แปลว า ผี มั ก มี ผู เ ขี ย นผิ ด เป น ภู ติ ผี (ภู ติ แปลว า ความรุงเรือง ความมั่งคั่ง) บิณฑบาต หมายถึง อาหาร (ภาษาบาลีวา บิณฑบาต แปลวา กอนขาวที่ตก) เชน ภิกษุสามเณร รับบิณฑบาต มักมีผูเขียนผิดเปน บิณฑบาตร บุคลิก หมายถึง จําเพาะคน มักมีผูเขียน ผิดเปนบุคคลิก พรรณนา หมายถึง กลาวเปนเรื่องเปนราว อยางละเอียดใหผูฟงนึกเห็นเปนภาพ คํานี้อานวา พัน-นะ-นา มักมีผูเขียนผิดเปนพรรณา และมักอาน ผิดเปน พัน-นา หรือ พัน-ระ-นา พังทลาย หมายถึง สิ่งที่เปนกลุมกอนแตกหัก พังกระจัดกระจาย เปนคําซอน (พัง แปลวา ทลาย) โดยปริยายหมายถึง ล มเหลว มักมีผูเ ขียนผิดเปน พังทะลาย คํา วา ทะลายนั้น หมายถึ ง ชอผลของ หมาก มะพราว ที่ออกเปนกลุมรวมกัน อนุ ส าวรี ย หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ส ร า งไว เ ป น ที่ ระลึกถึงบุคคลหรือเหตุการณสําคัญ อานวา อะ-นุสา-วะ-รี มักมีผูเขียนผิดเปนอนุเสาวรีย ความจริง ถาเราอานอยางถูกตองวา อะ-นุ-สา-วะ-รี แลว ก็คง เขียนไมผิดและออกเสียงไมผิดดวย เต็นท หมายถึง ที่พักหรือที่อาศัย ยายไปได โดยมากทํา ด ว ยผ า ใบขึ ง กั บ เสาหรื อ หลั ก มาจาก ภาษาอังกฤษวา tent มักเขียนผิดเปนเตนท


โน ต หมายถึ ง บั น ทึ ก หรื อ จดหมายสั้ น ๆ มาจากภาษาอังกฤษวา note มักเขียนผิดเปน โนต แผนการ หมายถึ ง แผนตามที่ กํ า หนด กะไว มักเขียนผิดเปน แผนการณ ตรวจการ หมายถึ ง ตรวจดู ก ารงานให ดําเนินไปอยางเรียบรอย เชน ชุดตรวจการ มักเขียน ผิ ด เป น ตรวจการณ คํ า ว า ตรวจการณ ก็ มี แต หมายถึง ตรวจคนดวยสายตาหรือใชเครื่องมือทาง อิเ ล็ ก ทรอนิ ก สเ ข า ช ว ย เพื่ อ รวบรวมข า วสารหรื อ ประโยชนอยางใดอยางหนึ่งในพื้นที่รับผิดชอบ เจตนารมณ หมายถึง ความมุงหมาย มัก เขียนผิดเปน เจตนารมย โล หมายถึง เครื่องปองกันศัสตราวุธ รูป สี่เหลี่ยมผืนผา ทําดวยโลหะหรือหนังดิบ ดานหลังมี ที่จับ มักใชคูกับดาบหรือหอก โดยปริยายหมายถึง การเอาคนหรือสิ่งอื่นตางโลเพื่อกันความเสียหาย แกตัว นอกจากนี้ยังหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคลายคลึง โลสําหรับมอบแกผูชนะการแขงขันตางๆ หรือมอบ เปนที่ระลึก เปนตน คํานี้มักมีผูเขียนผิดเปนโลห การสะกดการันตผิดนี้ อาจเปนเพราะฟง มาผิด จึงเขียนผิดหรือใชแนวเทียบผิด หรือเลินเลอ ไมระวังการเขียน ประการที่สอง การใชอักษรยอ ผูสงสาร จากสื่ อ ซึ่ ง เป น อั ก ษรย อ ถ า ไม ชํ า นาญและไม มี ประสบการณพอ อาจใชผิดได เชน ยศทหารตองศึกษา และพิจารณาใหดีวา เปนทหารเหลาใด ใชอยางใด อักษรยอวา น.ต. ถาเปนทหารอากาศก็ตองเรียกวา นาวาอากาศตรี ถาเปนทหารเรือ ก็ตองเรียกวานาวาตรี เปนตน อักษรยอวา ม. ก็เชนกัน จะสื่อใหออกเสียงวา

หมูบานหรือมหาวิทยาลัย ก็ตองดูบริบท คือขอความ หรือสภาพแวดลอมประกอบดวย อนึ่ง เมื่อจะใชอักษรยอสื่อสารมานั้น ก็ควร ใช ใ ห ถู ก ต อ งและเหมาะสม บางสื่ อ ใช อั ก ษรย อ ตามใจชอบ เชน ใชวา “ขอ พ.ท. คืน” แทนขอความ “ขอพื้ น ที่ คื น ” ใช ว า “อ.จ. ไชยวั ฒ น ” แทนคํ า ว า “อ.ไชยวัฒน” เชนนี้ แมผูรับสารพอจะเขาใจ แตก็ ไมควรใช ประการที่ ส าม การใช เ ครื่ อ งหมาย วรรคตอน สื่ อ บางสื่ อ ใช เ ครื่ อ งหมายวรรคตอน ผิดพลาด อาจเปนเพราะเรงรีบ แตก็ควรเพิ่มความ ระมัดระวัง ตัวอยางเชน การใชไมยมก เชน “ของๆ ใครใหมารับ คื น ได ” ควรใช ว า “ของของใครให ม ารั บ คื น ได ” เพราะของคํ า หนึ่ ง เป น คํ า นาม อี ก คํ า หนึ่ ง เป น คํ า บุพบท คนละประเภทกัน ใชไมยมกไมได การใชอัศเจรีย เชน ที่โคราชฝนตกหนัก จนน้ําทวม! ในที่นี้ไมจําเปนตองใชเครื่องหมาย อัศเจรีย เพราะเครื่องหมายอัศเจรียหรือเครื่องหมาย ตกใจ จะใชเขียนไวขางหลังคําอุทานหรือหลังขอความ ที่มีลักษณะคลายคําอุทาน เพื่อใหผูอานไดลั่นเสียง แสดงความอัศจรรยไดถูกตองกับความเปนจริงและ เหมาะสมกับ เหตุการณที่เ กิดขึ้น ในตอนที่อา นถึง เชน ดีใจ เสียใจ สลดใจ เปนตน เชน อุย! โครม! กรรมจริง! หรือใชเขียนหลังขอความสั้นๆ ที่ตองการ เนนเปนคําสั่งหรือคําเตือน เชน หยุด! ระวัง! อันตราย จากไฟฟาแรงสูง เปนตน การเว น วรรคตอน สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ มั ก ใช ประโยคที่มีคําติดกันโดยไมเวนวรรคตอน ทําใหงง วาหมายความวาอยางไรแน เชน


“คนรายใชมีดอีโตฟนหัวครูชิงทอง” (ฟนหัว ครูที่ชิงทองหรือฟนหัวครูเพื่อชิงทอง) ถาเวนวรรค หนาคําวาชิงทอง หรือเติมคําวาเพื่อหนาคําวา ชิงทอง ก็จะเขาใจแจมชัด “ชั ก ชวนชาวต า งชาติ ทองเที่ ย วเมืองไทย เชน หัวหินเกาะพีพี” ทําใหเขาใจผิดคิดวาหัวหินกับ เกาะพีพีเปนสถานที่เดียวกัน ประการที่สี่ การใชตัวเลขแทนตัวอักษร ในการเขี ย นประโยคทั่ ว ไป เราไม นิ ย มใช ตั ว เลข นอกจากกรณี ที่ เ ป น การระบุ จํ า นวน เคยเห็ น สื่ อ เขียนวา “บริเวณ ๔ แยกปทุมวัน” ควรใชวา “บริเวณ สี่แยกปทุมวัน” สํานวนทั้งหลายที่มีคําเปนเลขตางๆ ธรรม

ก็ไมควรใชตัวเลข เชน หาแตม(เสียหนา เสียแตม เสียที หมดสงาผาเผย) หาเบี้ย(ต่ํา เลว ไมมีคา) เปนตน ประการที่หา การเขียนตัดคํา สื่อสิ่งพิมพ มักเขียนจบบรรทัดแตไมจบคํา โดยเฉพาะอยางยิ่ง คําประสม ทําใหความคิดของผูรับสื่อสะดุดอยูบอยๆ เชนขอความวา “นายกรัฐมนตรีตัด” อยูบรรทัดหนึ่ง “สินใจ...” อยูอีกบรรทัดหนึ่ง ควรแบงขอความคนละ บรรทัดใหเขาใจไดทันที ความผิดพลาดเหลานี้ เปนเพียงตัวอยางที่ ตั้งใจจะยกมาเพียงเพื่อใหผูสงสารไดตระหนักถึง ผูรับสารวาอาจจะงงๆ ไมวากัน และไมไดคอยจับผิด นะนี่ แตเปนเพราะ ภาษาไทยด้วยใจรัก ☺

แอนฟลด

สวัสดีชาวกองทัพอากาศทุกท่านครับ วัน นี้กระผมขอนําท่านเข้าสู่เว็บไซต์แห่งการ ศึกษาภาษาไทยที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ เพราะเป็นเว็บไซต์ของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งเป็น เว็บไซต์ที่ให้เราสามารถได้ศึกษาความหมาย การสะกด ของภาษาไทยที่ถูกต้อง อีกทั้งยังมี E-Book ที่น่าสนใจเกี่ยวกับภาษาไทยมากมาย อย่าพลาดนะครับ ลองเข้าไปชมเว็บไซต์ของ ราชบัณฑิตได้ที่ www.royin.go.th รับรองว่าคุณจะเข้าใจภาษาไทยได้มากกว่าที่คุณคิด....


หมอพัตร

พลาเซโบ สารเทียมยา และยาปลอม มี ความหมายคลายกัน แตแตกตางในรายละเอียด วันนี้จึงจะยกมากลาวเพื่อใหเขาใจกันอยางถูกตอง พลาเซโบกั บ สารเที ย มยามี ค วามหมาย เดียวกัน ใชเรียกสารที่รูปลักษณะไมผิดกับยาจริงๆ แตไมมีคุณสมบัติเปนยาที่ใชรักษาโรค วงการแพทย นํ า มาใช ใ นจุ ด ประสงค เ พื่ อ การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ พิสูจนวายาที่ผลิตขึ้นมาใหม มีประสิทธิภาพอยาง ที่คิดไวเพียงไหน หรือในบางครั้งเพื่อการใชในดาน จิตวิทยา ซึ่งจะกลาวในภายหลัง พลาเซโบเปนสารที่ไมมีพิษภัย อาจทําจาก แปงหรือน้ําตาล นํามาอัดเม็ดใหมีรูปลักษณะและ สีสันเหมือนตัวยาจริง บางทีอาจทําใหเปนสารละลาย ก็ได ผูที่รับอาสาทดลองยาหรือผูปวยจะสังเกตไมรู วาเปนยาจริงยาเทียม การที่ แ พทย จะนํ า ผลิตภั ณฑย าชนิด ใหม ออกมาใช ผลิตภัณฑนั้นจะตองผานการวิจัยทดสอบ ดูใหรูแนในคุณสมบัติ ตลอดจนพิษภัยหากมี ตอง

ทราบถึงขนาดที่จะใชดวย ยานั้นจึงตองผานขั้นตอน การตรวจวิจัย ตองผานการทดลองใชในสัตวทดลอง เชน หนูตะเภาบาง สุนัขบาง ขั้นตอไปจึงจะนําไป ทดสอบในอาสาสมัครบุคคล จนแนใจในประสิทธิภาพ ของมัน อาสาสมัครบุคคลจะแบงออกเปน ๒ กลุม คือกลุมที่ใชยาจริงกับกลุมที่ไดรับพลาเซโบ ทั้งหมด จะไมท ราบวา ตนอยูในกลุ ม ยาจริ ง หรื อ พลาเซโบ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะถูกบันทึกไวทั้งหมด แลวนํามา วิจัยวาผลที่ไดเปนอยางไร พอจะนําออกใชรักษา ผูปวยไดหรือไม ถึงจะทดสอบกันอยางถี่ถวนเพียงใด ก็ยังมี การผิดพลาดเกิดขึ้นได ยาบางตัวแมจะผานการใช มาเปนป คิดวาใชไดอยางปลอดภัย แตก็ยังเกิดพิษได ในภายหลัง เชนยาบางตัวใชติดตอกันนานๆ ก็เปน พิษตอระบบทางเดินอาหารบาง ตับบาง ไตบาง ที่ทํา ใหหัวใจวายจนถึงขั้นเสียชีวิตก็มี จนบริษัทผูผลิต ตองเรียกยานั้นๆ ออกจากตลาดจนหมด แลวยังตอง จายคาเสียหายแกผูใชยานั้นดวย ในทศวรรษที่แลว


ยาที่ ก อ ผลร า ยต อ หั ว ใจหลั ง จากผู ป ว ยใช ไ ด ผ ลดี มานาน เปนยาที่ใชรักษาโรคขออักเสบ แพทยสั่งจาย ใหผูปวยไปมากมาย พอขาวออกมาก็วุนไปทั้งวงการ อั น ที่ จ ริ ง ยารั ก ษาโรคข อ อั ก เสบที่ ทํ า อั น ตรายต อ ผูปวย เคยพบกันมาหลายสิบปแลว มีชนิดหนึ่งผูปวย หายปวดข อแตเกิดอาการไตวายชนิดรักษาไมได การใช ย าจึ ง ต อ งรอบคอบปรึ ก ษาแพทยเ สี ย ก อ น ไมใชเกิดอาการเปนพิษแลวจึงไปหาแพทย แบบนั้น มักจะสายไปเสียแลว การใชพลาเซโบบางครั้ง ก็มีความจําเป น เหมือนกัน แตไมใชอยางพร่ําเพรื่อ สวนมากใชใน ผูปวยที่มีอาการสารพัดแตตรวจไมพบอะไรผิดปกติ (ที่เรียกกันวา ปสด.) คนไขประเภทนี้มีไมนอย อาจ เปนสตรีวัยกลางคนเขาวัยรอบเดือนใกลหมดหรือ กะปริดกะปรอย (Menopause) อาการก็เปนพวกใจหวิว ใจสั่น ออนเพลีย ชามือเทา หงุดหงิด นอนไมหลับ อันที่จริงอาการเหลานี้นานไปก็จะคอยๆ ทุเลาลงเอง แตผูปวยไมทันใจ อยากใหหายทันที ก็มาหาหมอ บอยๆ จนหมอจะเปนโรคเครียดไปดวย แรกๆ ก็ให ยาแกเครียด ระงับประสาท ก็พอแกไขได แตก็กลับ เปนอีก ยาแกเครียดระงับประสาทนั้นใหติดตอกัน ยาวนานไมได แตเมื่อผูปวยรบเราก็ตองใชสารเทียมยา ช ว ย อาจเป น พลาเซโบ หรื อ สารเที ย มพลาเซโบ เอาแลวมั้ยละ ขนาดพลาเซโบยังมีของเทียม อยาเพิ่ง งงนะครับ การผลิ ต พลาเซโบ แพทย ต อ งขอความ ช ว ยเหลื อ ให เ ภสั ช กรทํ า ให ในบางกรณี อ าจใช พลาเซโบเที ย ม คื อ แทนที่ จ ะใช แ ป ง หรื อ น้ํ า ตาล ก็ ผ สมวิ ต ามิ น ลงไปด ว ยให มี ก ลิ่ น หอม ส ว นมาก

ก็เปนวิตามินบี ซึ่งไมเปนพิษเปนภัย เตรียมไวหลายๆ ชนิดหลายสี พอผูปวยบนวาชักไมไดผล ก็เปลี่ยน ชนิดใหมให หลายรายสบายขึ้นดวยพลาเซโบ(หรือ จะสบายขึ้นเองก็ไมรู) การรักษาแบบนี้จะเรียกวา เปนการรักษากึ่งจิตเวชก็พอรับได ที่สําคัญตองเปน ความลับ รูกันเฉพาะผูเกี่ยวของ อยาใหทราบไปถึง ผู ป ว ยเป น อั น ขาด ไม อ ย า งนั้ น มี ห วั ง บรรลั ย นะ, จะบอกให มี ผู กั ง ขาว า จะทราบได แ น อ ย า งไรว า พลาเซโบไมมีคุณสมบัติรักษาโรคได โดยอางไปถึง ประวัติศาสตรทางเภสัชวิทยาวา ทานชีวกโกมารภัจจ บรมครู ด า นการแพทย ส มั ย พุ ท ธกาล เป น แพทย ประจําพระองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา สมัยที่ ท า นศึ ก ษาวิ ช าแพทย อ ยู ณ เมื อ งพาราณสี ( หรื อ ตักศิลาก็ไมแนใจ) เมื่อศึกษาจบครบถวนทุกขบวน ความแลว จึงไปพบอาจารยเพื่อทดสอบ ถาเปนสมัยนี้ ก็เทียบไดกับการสอบเพื่อรับปริญญาบัตร เปนบัณฑิต พระอาจารย ใ ห ข อ สอบว า จงไปหาต น ไม ใ บหญ า มาชนิดหนึ่งที่ใชเปนยาไมได ทาชีวกฯ จึงไปปฏิบัติการ ตามที่พระอาจารยสั่ง จนแลวจนรอดก็หาพืชที่ใช เปนยาไมไดไมพบ กลับมามือเปลาบอกวา ยอมแลว ทุกอยางที่พบใชรักษาโรคไดทั้งนั้น คงตองไปศึกษา หาความรูตอ พระอาจารยจึงตอบวา ไมตองหรอก เจาศึกษาจบแลว ไมมีตนไมใบหญาอะไรที่ใชเปน ยาไมได ถาเชนนั้น ที่กลาววาพลาเซโบที่เราเรียกกัน และวาไมมีคุณสมบัติเปนยารักษาโรคก็ผิดสินะ ก็ ดู ค ล า ยจะเป น อย า งนั้ น แต ต ามหลั ก คณิ ต ศาสตร อะไรก็ ต ามที่ มี ผ ลเพี ย งกะจ อ ยร อ ย


เราก็ ย กประโยชน ใ ห ว า ไม มี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ปดทิ้งไดเลย แตหลายครั้งพลาเซโบก็มีผลในการรักษา เหมือนกัน เปนผลทางจิตใจ มนุษยมีอุปาทาน เมื่อ ไดรับพลาเซโบเขาไป เกิดอุปาทานวาไดยา อุปาทาน ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะไปกระตุ น สมองระบบอั ต โนมั ติ ห รื อ อัตโนบาล ใหสงกระแสไปบังคับหรือกระตุนตอมไรทอ ใหปลอยฮอรโมนบางชนิด อาจเปนพวกคาเธโคลามีน บาง เอนเดอรฟนบาง ออกมา ฮอรโมนพวกนี้คลาย กั บ เป น พลั ง ภายใน ช ว ยให เ ข ม แข็ ง และมี ค วาม สบายขึ้น แมจะเปนเพียงเล็กๆ นอยๆ แตสําหรับ คนไขบางคนก็มีความหมายพอดูทีเดียว ผ า นเรื่อ งพลาเซโบหรื อ สารเทีย มยาแล ว คงตองกลาวถึงยาเทียมหรือยาปลอมบาง เพราะ มันมีผลทางอุปาทานเหมือนกัน ยาเทียมเปนผลิตผล ที่ ทํ า ขึ้ น เที ย มของจริ ง ถ า เพี ย งรู ป ลั ก ษณ เ หมื อ น หรือคลายกัน แตเปนสารอะไรก็ไมรูก็เปนยาปลอม ที่พบมากมั กเป นยาที่มีคุณภาพต่ํา บางทีก็มีสาร ปนเป อ นเป นอัน ตรายแกผูบริ โภค ที่รา ยคือไม ได ขึ้นทะเบียน พอเกิดเรื่องก็หาผูรับผิดชอบไมได ที่รายแรงมากคือยาปลอม ที่จริงไมอยากใช คําวายา เพราะเปนสารอะไรก็ไมรู บางชนิดทําปลอม ทั้งรูปลักษณและชื่อ บางทีก็ใชการโฆษณาชวนเชื่อ เชนเมื่อไมนานมานี้ก็มี คุณปาอะไรคนหนึ่ง ทํายา หยอดตาออกขาย มีผูเชื่อถือซื้อไปหยอดแลวเกิด โรคถึงขนาดตาบอดไปก็มี คนเรานี่ก็แปลก ใครวา ยาอะไรดีก็เชื่อเอางายๆ เอาตนเองเปนเครื่องทดลอง ในทศวรรษที่แลวมียาชนิดใหมออกสูตลาด สรรพคุณชวยใหอวัยวะเพศชายแข็งตัว พวกคน(ใจ)

หนุมที่มีอาการโรคนกเขาไมขันดีอกดีใจ ไปหาหมอ ใหจายยานี้ให ถึงแพงหนอยก็ไมเกี่ยง เพราะมันชวย ชุบชีวิตชัดๆ ยาก็เลยขึ้นราคาแถมหาซื้อยากเสียอีก ยาตัวนี้ถาไมรูจริง ใชแลวอาจเปนอันตรายถึงหัวใจ วายได ทางสาธารณสุขจึงตองออกกฎควบคุมการใช และจําหนายยา ใหแพทยเฉพาะทางเทานั้นที่จายได เมื่อเปนเชนนี้ยาก็เลยหลบลงใตโตะ ราคา ก็แพงมาก แถมมีคนหัวแหลมทํายาปลอมออกขาย ดูเผินๆ เหมือนกันเปยบ บางรายก็สั่งยามาจากบาง บริษัท อางวาเปนยาเหมือนกันแตใชชื่อตางกัน ราคา ถูกกวา กินแลวเปนตายอยางไรไมรับรู ขายแลวเผน หายเขากลีบเมฆไปเลย พวกยาปลอมเหล า นี้ ถ า มี ผู นํ า ไปใช แ ล ว ไมไดผล(เพราะเปนยาปลอมนี่ครับ)มาตอวา เขาก็ จะอางทฤษฎีลมๆ แลงๆ วา ยาที่ใชกัน เมื่อบริโภค ก็มิใชจะไดผล ๑๐๐% จะมีราว ๓๐% ที่ไมไดผล ถ า กิ น แล ว ไม ไ ด ผ ล ท า นอาจอยู ใ นกลุ ม ๓๐% ที่ ไมไดผลก็ได หรืออาจเก็บยาไมถูกวิธี ยาเลยเสื่อม ก็ได เรียกวาไปไดน้ําขุนๆ บางรายก็รูเรื่องอุปาทานดี บอกวาเอาอะไร ให กิ น ก็ ไ ด ถ า ผู บ ริ โ ภคเชื่ อ ใจก็ อ าจได ผ ลอย า งที่ ตองการ หมายความวา ไมไดเปนโรคนกเขาไมขันจริงๆ หรอก แตเปนพวกใจไมสู กินอะไรไปเพิ่มกําลังใจ ก็ อ าจเห็ น ผลได ขอให โ วหารดี ๆ อย า งที่ เ รี ย กว า ปากเปนเอกก็พอไดแลว คนเราเวลาตกใจแล ว ตุ ม น้ํ า ทั้ ง ใบยั ง แบกไหว ดูเวลาไฟไหมแลวขนของหนีไฟสิครับ คุยเรื่องพลาเซโบอยูแทๆ ไหงกลายเปนยา แกนกเขาไมขันไปได ขอจบแคนี้ละครับ☺☺☺


Sora การเดินทางทองเที่ยวเปนเรื่องที่สนุกสนาน และเป น ประสบการณ ที่ ดี แต ก อ นการเดิ น ทาง แต ล ะครั้ ง บางคนรู สึ ก ว า มั น ช า งวุ น วายเสี ย จริ ง

โดยเฉพาะการเดินทางไกลไปตางแดน ยิ่งปวดเศียร เวี ยนเกลา ยิ่ง นัก จะนํ า สัมภาระอะไรไปดว ยบา ง อะไรเปนของตองหามนําเขาประเทศ น้ําหนักของ กระเปาเดินทางจะเกินจากที่สายการบินนั้นกําหนด ไวหรือไม เลยทําใหการเดินทางแตละครั้ง แทนที่จะ เป น เรื่ อ งสนุ ก กลั บ ยุ ง ยาก ในทางกลั บ กั น การ ทองเที่ยวในแตละครั้ง จะเปนเรื่องสนุก คุมคา และ

เปนประสบการณชีวิตที่นาประทับใจ ถาเราเตรียมตัว ก อ นการเดิ น ทางให พ ร อ ม โดยเริ่ ม ต น จากการ เลือกใชกระเปาเดินทางใหเหมาะสม การจัดเก็บ เอกสารสํ า คั ญ ที่ ต อ งนํ า ติด ตั ว ไปด ว ย และความรู เกี่ ย วกั บ การเดิ น ทางโดย เครื่องบิน กระเป า เดิ น ทาง เปนสิ่งที่สําคัญ ถามีกระเปา เดินทางอยูแลวควรพิจารณา วาขนาดกระเปาเหมาะสม กั บ ระยะเวลาที่ เ ดิ น ทาง หรือไม นอกจากเสื้อผา ของใชสวนตัว และของที่ จําเปนอื่นๆ แลว อยาลืมเผื่อเนื้อที่ไวใสของที่ระลึก และของฝากดวย กระเปายังอยูในสภาพดีเหมือนเดิม หรือไม ถาตองซอมแซมก็ทําใหเรียบรอยกอนเดินทาง ควรใช ส ายรั ดกระเป า ด ว ยยิ่ง ดี ในกรณี ที่ ซิป แตก สายรัดกระเปาจะชวยไมใหของที่อยูขางในรวงหลน ออกมา


ถ า ต อ งการซื้ อ กระเป า เดิ น ทางใบใหม มีขอแนะนําดังนี้คือ ควรเปนกระเปาแนวตั้งทรงแข็ง มี ก า นลากและล อ ที่ แ ข็ ง แรง เวลาขนย า ยโดย เจาหนาที่สนามบินหรือเจาหนาที่โรงแรม อาจมีการ โยนหรื อ วางทั บ ซ อ นกั น กระเป า จะได ไ ม แ ตก ตัวกระเปาควรมีลอลากอยางนอยสองลอ หากเปน สี่ ล อ อิ ส ระยิ่ ง ดี เพราะเวลาลากกระเป า จะช ว ย ผอนแรงทําใหน้ําหนักเบา ไมปวดหลัง และที่สําคัญ บางครั้ ง สนามบิ น บางแห ง อาจมี ร ถเข็ น กระเป า (Trolley) ไมเพียงพอ บางแหงตองหยอดเหรียญ เพื่อเอารถเข็นมาใสกระเปา ตองแลกเหรียญหรือ เตรียมเหรียญติดตัวไปดวย สิ่ ง สํ า คั ญ อี ก ประการหนึ่ ง ควรตรวจดู ว า กระเป า เดิ น ทางมี ร ะบบล็ อ คเป น แบบใส กุ ญ แจ หรือตั้งรหัส ถาเปนแบบกุญแจก็สะดวกดี ควรลอง ไขกุญแจวาใชไดหรือไมและอยาลืมนําลูกกุญแจ ติดตัวไปดวย หากเปนแบบตั้งรหัสตองจํารหัสใหได

ควรตั้งรหั ส และเปดปดใหคลองก อนตัดสิน ใจซื้อ สวนผูที่คิดจะขอยืมกระเปาคนอื่นมาใชก็ควรปฏิบัติ เชนเดียวกัน เดี๋ยวนี้สายการบินสวนใหญอนุญาตใหมี กระเปาใหญได ๑ ใบ น้ําหนักไมเกิน ๒๐ กิโลกรัม ในชั้นประหยัด (Economy Class) สวนในชั้นธุรกิจ (Business Class) จะอนุญาตใหมีกระเปาใบใหญ ๑ ใบ และใบยอม ๑ ใบ น้ําหนักรวมไมเกิน ๓๐ กิโลกรัม สายการบินตนทุนต่ํา (Low Cost Airlines) ใหน้ําหนัก กระเป า หนึ่ ง ใบไม เ กิ น ๑๕ กิ โ ลกรั ม เท า นั้ น และ จะตองเสียคานํากระเปาโหลดใตเครื่องเริ่มตนใบละ ๒๑๕ บาท ดังนั้น ควรคํานึงถึงน้ําหนักของกระเปา ตอนเดินทางไป และเผื่อน้ําหนักของที่จะซื้อกลับมา จะได ไ ม ต อ งจ า ยค า น้ํ า หนั ก ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ อาจ พกกระเปาถือ (Handbag) แบบเบาๆ หรือพับได ดวยยิ่งดีในกรณีที่น้ําหนักกระเปาเกินจากที่กําหนด ก็ถายของจากกระเปาเดินทางใบใหญมาใสกระเปาถือ และนําติดตัวขึ้นเครื่องบิน การจัดกระเปาเดินทางใบใหญ สู ต รสํ า เร็ จ สํ า หรั บ นั ก เดิ น ทางมื อ อาชี พ ในการ เดินทางระยะเวลาเจ็ดถึงสิบวันขึ้นไป ควรใชเสื้อผา ที่ยับยาก ซักงาย แหงไว ราคาไมแพง และมีโทนสี เดียวกัน เชน สีนํ้าตาลออน เทา น้ําเงินหรือดํา เพื่อ จะไดงายในการใสสลับกัน ควรเตรียมกางเกงสักสอง ถึงสามตัวกับยีนสสีเขมสักตัวก็พอ สวนเสื้อใหเตรียม ไปสามถึ ง สี่ ตั ว ใส ส ลั บ กั น สุ ภ าพสตรี จ ะเลื อ กใช กางเกงแบบสูท แทนกระโปรงก็ดูดี แลวคอยเลือก ผาพันคอสีสดใส แทนการเปลี่ยนเสื้อผาหลายๆ แบบ


จํานวนเสื้อกับกางเกงก็ประมาณสี่ถึงหาชุด หาก โปรแกรมทัวรตองเขาชมการแสดงชุดพิเศษที่เนน การแตงกาย ควรเตรียมสูทที่สามารถใสสลับกับชุด อื่นๆ ไดก็ยิ่งดี

สําหรับการทองเที่ยวชวงอากาศหนาวเย็น ควรเตรียมเสื้อสเว็ตเตอร (Sweater) หนาหนึ่งตัว บางหนึ่งตัว สวนชุดชั้นในที่ซักงาย แหงไว เตรียมไว สามถึงสี่ตัว ถุงเทาสี่คู ถาเนื้อที่เหลือพอก็เตรียมไป ใหครบตามจํานวนวันก็ได ขอแนะนําใหใสรองเทาคูเกงที่สวมสบาย ไมควรซื้อรองเทาใหมเพื่อใสเดินทางเปนครั้งแรก ถ า เป น รองเท า ที่ ซื้ อ ใหม ค วรลองใส ใ ห แ น ใ จว า สามารถใสสบายและเดินไดนาน เปนรองเทาผาใบ หรือรองเทากีฬายิ่งดี อาจจะมีรองเทาหนังแบบสวม สบายเวลาไปกินอาหารเย็น (Dinner) หรือดูโชวอีก หนึ่งคู ยาประจําตัวตองเตรียมไปใหพอกับจํานวน วันที่เดินทางดวย แลวเผื่อยาไวในกระเปาใบเล็ก ถือขึ้น เครื่ องติ ดตัวไวเ ผื่อกรณี ฉุกเฉิ น ควรเตรี ย ม ยาสามัญประจําบานไปดวย เชน ยาแกไข ยาแก ทองเสีย จุกเสียด ฯลฯ ของใชสวนตัว เชน สบู แปรงสีฟน ยาสีฟน แชมพูสระผม ครีมนวดผม ควรแบงใสขวดเล็กๆ ไป

ให พ อใช ส ว นใหญ ที่ โ รงแรมมั ก มี อ ยู แ ล ว เครื่ อ ง ประทินโฉมก็เชนกัน ควรแบงใสกระปุกไป เพื่อไมให เสี ย พื้ น ที่ ใ นกระเป า และเพิ่ ม น้ํ า หนั ก ของกระเป า เดินทาง อยาลืมนําไฟฉาย (Flashlight) อันเล็ก เสื้อ พลาสติกกันลมกันฝน (Windbreaker) ชอนสอม พลาสติก เครื่องเย็บผาแบบพกพา (Sewing Kids) หากนําอุปกรณไฟฟาไปดวย ควรสอบถามขอมู ล เรื่องกระแสไฟฟาและลักษณะของเตารับ (Outlet) สําหรับเสียบปลั๊กไฟ เพราะในหลายประเทศมักมี ลักษณะของเตารับและกระแสไฟฟาแตกตางจาก บานเรา อาหารสํ า เร็ จ รู ป และอาหารแห ง ไม ค วร นําไปมากเกินไป หากนําไปดวยจะตองบรรจุหีบหอ ใหเรียบรอย ถูกตองตามมาตรฐาน เพราะบางประเทศ มีขอหามในการนําอาหารเขาประเทศ ตองศึกษา ให ดี ป จ จุ บั น นี้ ก ารเดิ น ทางท อ งเที่ ย วโดยเฉพาะ เที่ ย วกั บ ทั ว ร มั ก มี อ าหารจี น และอาหารไทยให รับประทานสลับกันในรายการทัวรเสมอ สวนเครื่องประดับที่มีคานั้นไมควรนําติดตัว ไปดว ยเพราะอาจสูญ หายหรื อถูก ฉกชิง วิ่ง ราวไป จะเสียใจ เสียอารมณในการทองเที่ยวเปลาๆ ลอง หาซื้อเครื่องประดับจําพวกคริสตัล (Crystal) ที่แบบ สวยเก ทันสมัยราคาไมแพงมาใสแทนดีกวา การจัดกระเปาเดินทางใบเล็ก การเดินทางโดยเครื่องบินสมัยนี้ เปนที่นิยม มากขึ้นเรื่อยๆ ยิ่งมีสายการบินตนทุนต่ํา นําเสนอ ราคาตั๋วเครื่องบินที่ยากจะอดใจไหว ดังนั้นในแตละวัน


ที่สนามบินจะมีเครื่องบินบินไปบินมาเปนรอยๆ เที่ยว หากเตรียมจัดกระเปาเปนอยางดี ผูกริบบิ้น (Ribbon) สี ส วยก็ แ ล ว ติ ด สั ญ ลั ก ษณ ก็ แ ล ว กระเป า ยั ง จะ หลงทางอีก วิธีที่ดีที่สุดในการปองกัน คือ เตรียม เสื้อผาสวมสบายใสกระเปาไว ๑ ชุด สเว็ตเตอรบาง ๑ ตัว กับเสื้อกันหนาวที่เปนแจ็กเกต (Jacket) กันลม กันฝน ๑ ตัว พรอมกับยา ของใชสวนตัว ของทั้งหมด ใสกระเปาแบบ handbag หรือ overnight bag วิธีนี้ จะสามารถใชของที่เตรียมมาไดอยางนอยหนึ่งถึง สองวันอยางสบายหากกระเปาใหญยังเดินทางมา ไมถึง หากมี ป ญ หาเรื่ อ งปวดหลั ง หรื อ ไม อ ยาก สะพายกระเปา สามารถหาซื้อกระเปาใบเล็กแบบ มีลอสําหรับลากขึ้นเครื่องก็ได แตพยายามเลือกให น้ําหนักเบาที่สุด เพราะบางสายการบินมีกําหนดขนาด และน้ําหนักของกระเปาที่จะถือติดตัวขึ้นเครื่อง

นั บ ตั้ ง แต เ กิ ด เหตุ ก ารณ 911 ที่ ป ระเทศ สหรัฐอเมริกาและเหตุการณระทึกขวัญที่สนามบิน และบนเครื่อ งบิ น ของหลายๆ สายการบิ น ทํา ให สนามบินในหลายๆ ประเทศวางกฎระเบียบและมี มาตรการรักษาความปลอดภัย ที่เ ขมงวดมากขึ้ น

โดยเฉพาะการห ามนําของมีคมขึ้น เครื่ องบิ นและ จํ า กั ด ปริ ม าณของเหลวที่ นํ า ติ ด ตั ว ขึ้ น เครื่ อ งบิ น ของเหลวที่ จํ า เป น ต อ งนํ า ติ ด ตั ว ขึ้ น เครื่ อ งบิ น เชน เครื่องสําอาง ครีมบางชนิดที่บรรจุในกระปุก หลอดน้ํายาลางคอนแทคเลนส ตองมีรายละเอียด ชัดเจนวาใชสําหรับทําอะไร แตละชิ้นตองมีความจุ ไมเกิน ๑๐๐ มิลลิลิตรและปริมาณรวมกันทั้งหมด ต อ งไม เ กิ น หนึ่ ง ลิ ต ร ส ว นยาประจํ า ตั ว ที่ เ ป น น้ํ า ควรมีเอกสารกํากับยาเปนภาษาอังกฤษ หรือถามี หนังสือรับรองจากแพทยติดไปดวย จะไดรับความ สะดวกในการตรวจมากขึ้น ของทั้งหมดที่นําติดตัว ขึ้นเครื่อ งบินต องใสถุ ง พลาสติกใส (Transparent Re-Sealable Plastic Bag) ขนาดกวางยาวประมาณ ๒๐x๒๐ ซ.ม.ป ด ปากถุ ง ให เ รี ย บร อ ย หรื อ ใช ถุงพลาสติกใสที่ปากถุงเปนแบบซิปล็อค (Ziplock) เทานั้น ซื้อไดตามรานซุปเปอรมาเก็ตทั่วไป สวนถุง ใสของแบบอื่นใชไมไดทั้งสิ้น สําหรับน้ําดื่มขวดพลาสติก หรือกระติกน้ํา ทุกรูปแบบ ไมตองพูดถึง ไมสามารถนําขึ้นเครื่อง ได เ ช น กั น ต อ งดื่ ม ให ห มดหรื อ ทิ้ ง หากผ า นด า น ตรวจด านนอกไปแลว ค อยไปหาซื้อดื่มเอาใหมที่ รานคาดานในกอนขึ้นเครื่องบิน เวลาผานดานรักษาความปลอดภัยบริเวณ ผูโดยสารขาออก ใหนําถุงพลาสติกใสใสถาดแยก ตางหาก เพื่อใหเจาหนาที่เอ็กซเรยกอนขึ้นเครื่อง และที่สําคัญเพื่อความสะดวกรวดเร็วของตัวทานเอง หากแถวยาวผูโดยสารมากคุณอาจตกเครื่องบินได ส ว น ผู ที่ ต อ ง ก า ร ซื้ อ ข อ ง จ า ก ร า น ค า ปลอดภาษี (Duty Free Shops) ในบริเวณอาคาร


ผูโดยสารขาออก แนะนําใหไปซื้อที่สนามบินสุดทาย กอนออกเดินทาง หรือกลับมารับของ (pick - up) ตอนขากลับดีกวา โดยบอกเที่ยวบินเวลา และวันที่ จะกลับ พนักงานจะออกเอกสารให พอกลับมาก็รับ ของไดเลย เพราะบางสนามบินไมยอมใหถือของ ติ ด ตั ว ขึ้ น เครื่ อ งบิ น และบางที่ ก็ ต อ งฝากของกั บ เจาหนาที่บนเครื่องบินทําใหเสียเวลาและกังวลใจ เปลาๆ แมวามาตรการเหลานี้ยังมิไดใชกับสนามบิน ทั่วโลก แตในปจจุบันสนามบินในอเมริกา ยุโรป ญี่ปุน และหลายประเทศในเอเชียก็ใชกันแลว การเตรียม ตัวลวงหนาไวกอน จะทําใหการทองเที่ยวของคุณ ราบรื่ น ขึ้ น มาก โดยเฉพาะคนที่ เ พิ่ ง เดิ น ทางเป น ครั้งแรก การจัดเก็บเอกสารสําคัญในการทองเที่ยว การทองเที่ยวจะสนุกสนาน และทุกอยาง เปนไปตามโปรแกรมที่เตรียมตัวหรือปองกันไวกอน จะทําใหคุณมีความสุขในการทองเที่ยวไดอยางเต็มที่ ดั ง นั้ น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ สุ ด ก็ คื อ กระเป า สะพายของ คุ ณ ผู ช ายที่ ใ ช ถื อ ขึ้ น เครื่ อ งหรื อ กระเป า ถื อ ของ คุณสุภาพสตรี ตองเก็บหนังสือเดินทาง (Passport) ตั๋ว เครื่ อ งบิ น บั ต รเครดิ ต และเงิ น สดไว ใ ห มิ ด ชิ ด อย า เอาเอกสารสํ า คั ญ หรื อ เงิ น ทั้ ง หมดไว ใ นที่ เดียวกัน อาจแบงเก็บเปนกระเปาใบเล็กๆ ที่มีเชือก คลองคอก็ได แตตองมีเสื้อนอก หรือแจ็กเกตดวย เอาไว ด า นหน า กั บ ตั ว อย า ไว ด า นหลั ง สํ า หรั บ หนั ง สื อ เดิ น ทางอาจถ า ยสํ า เนาเอกสารเผื่ อ ไว สองสามใบก็ได

การเดินทางโดยเครื่องบินอยางมีความสุข มีดังนี้คือ ขอแรก หากคุณเปนคนที่ชอบเขาหองน้ํา บอย ควรแจงใหสายการบินหรือบริษัททัวรทราบวา คุณตองการนั่งริมทางเดิน หากคุณตองการพักผอน ไมตองการใครมาปลุกหรือรบกวน ก็ควรเลือกที่นั่ง ริมหนาตาง

ข อ สอง หากคุ ณ ต อ งการเดิ น ทางอย า ง คลองตัว และผอนคลาย ควรหลีกเลี่ยงอาหารหนักๆ ที่ยอยยาก กอนขึ้นเครื่องบิน พอขึ้นเครื่องบินพนักงาน ตอนรับ (Flight Attendant) นําอาหารมาเสิรฟใหอีก


ก็ควรเลือกรับประทานอาหารที่ยอยงายเชนกัน สําหรับ คนที่ตองการอาหารพิเศษ จําพวกมังสวิรัต อาหารอิสลาม (Halal) หรือแพอาหารบางชนิด ก็สามารถโทรแจง สายการบินลวงหนาจะไดเตรียมจัดอาหารพิเศษให คุณได ขอสาม หากคุณเปนคนผิวแหง ควรทาโลชั่น หรือมอยซเจอรไรเซอร กอ นขึ้นเครื่ องไวบาง แลว พกโลชั่ น หลอดเล็ ก ๆ กลิ่ น หอม ใสถุ ง ใสไปใชบ น เครื่องดวย โดยเฉพาะคุณสุภาพสตรี ควรใชครีม บํารุงผิวหนาแทนเครื่องสําอางดีกวา เพราะอากาศ บนเครื่องบินจะคอนขางแหง ขอสี่ ควรดื่มน้ําสะอาดมากๆ ระหวางอยู บนเครื่องบิน เพื่อรักษาความสมดุลของผิวพรรณ และควรงดดื่มเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอลล (แต บนเครื่องบินก็ชอบเสิรฟจัง) เพราะจะทําใหผิวแหง และกระหายน้ํามากขึ้น ขอสุดทายในวันเดินทาง ควรแตงตัวดวย เสื้อผาที่ดูดี สวมสบายไมยับงาย สวมทับดวยสูท ลําลอง หรือแจ็กเกตเทหๆ สักตัวก็ขึ้นเครื่องไดแลว ธรรม

ไมจําเปนตองแตงกายหรูหราเกินไป ใสแบบสบาย แตดูสุภาพก็พอแลว การแตงกายใหถูกกาลเทศะ และให เ กี ย รติ กั บ บุ ค คลและสถานที่ มั ก จะได รั บ เกียรติและการบริการที่ดีกลับมา

เพียงเทานี้คุณก็สามารถเดินทางทองเที่ยว ได อ ย า งมี ค วามสุ ข และเต็ ม ไปด ว ยประสบการณ ที่นาประทับใจ ขอใหเดินทางโดยสวัสดิภาพ (Bon Voyage) …


Runy

สวั ส ดี ค ะ ท า นผู อ า นหนั ง สื อ ข า วทหารอากาศทุ ก ท า น ดิ ฉั น มาพบกั บ ท า นผู อ า นอี ก ครั้ ง นะคะ เปนบทความที่ตอเนื่องมาจาก Test Tip 10 เพื่อใหทานผูอานไดฝกฝนและทบทวนภาษาอังกฤษดวยตนเอง แลวยังเปนการเตรียมความพรอมในการเขารับการทดสอบภาษาอังกฤษที่ศูนยภาษาฯ ดวย ทานผูอานลอง เริ่มทําแบบทดสอบไดเลยนะคะ ใหทานอานโจทยและเลือกคําตอบที่คิดวาถูกตองจากตัวเลือก ๔ ตัวเลือก ที่ใหมา 1. Her little daughter has been playing _____ noon. a. for b. during c. since d. by 2. The student has been in this school ______ one year. a. since b. until c. in d. for 3. Students in many countries are interested _____ the American Indian. a. of b. in c. at d. on 4. The sergeant is sitting at her desk ____ a report. a. writes b. wrote c. written d. writing 5. John said, “If I ______ you, I would study hard.” a. were b. am c. was d. be


เมื่อทําแบบฝกหัดครบสิบขอแลว เชิญตรวจคําตอบและอานคําอธิบายเพิ่มเติมไดเลยคะ 1. Her little daughter has been playing _____ noon. (ลูกสาวของเธอเลนมาตั้งแตเที่ยง) a. for (เปนระยะเวลา) b. during (ชวงเวลา) c. since (ตั้งแต) d. by (โดยประมาณ) คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ c. since (ตั้งแต) Her little daughter has been playing since noon. (ลูกสาวของเธอเลนมาตั้งแตเที่ยง) ประโยคนี้ เรียกวา Present Perfect Continuous Tense หรือ Present Perfect Progressive Tense มีโครงสรางดังนี้ ประธาน + have / has + been + verb 3 (past participle) ใชกับเหตุการณที่เกิดขึ้นในอดีตและดําเนินมาจนถึงปจจุบัน เนนความตอเนื่องของเวลา มักมีคําวา since (ตั้งแต) ตามดวยจุดของเวลา(ที่เหตุการณเริ่ม) หรือ for (เปนเวลา) ตามดวยระยะเวลา เชน

since

six o’clock, noon, 2005 Monday, January, Christmas yesterday, last week, last month

for

two hours, three days five weeks, six months ten years

ตัวอยางประโยค (since) ตัวอยางประโยค (for) I have worked here for 10 years. She has lived here since 1990. (เธออยูทนี่ ี่ตั้งแตป ๑๙๙๐) (ฉันทํางานที่นี่ ๑๐ ปแลว) I have known her for a long time. He has been ill since last week. (เขาปวยมาตัง้ แตสัปดาหทแี่ ลว) (ผมรูจักหลอนมาหลายปแลว) during เปนคําบุพบท (preposition) ใชเพื่อบอกถึงเวลาที่เหตุการณไดเกิดขึ้น (During is used to say when something happens) เชน There are extra flights to Colorado during the winter. (มีเที่ยวบินไปโคโลราโดเพิ่มขึ้นชวงฤดูหนาว) Please remain seated during the performance. (กรุณานั่งอยูกับที่ขณะมีการแสดง) I was taken to the hospital during the night. (ฉันถูกพาไปโรงพยาบาลตอนกลางคืน) I only saw her once during my stay in Rome. (ฉันเห็นเธอครั้งเดียวตอนอยูที่โรม) by มีหลายความหมาย จะขอกลาวเฉพาะที่เกี่ยวกับเวลา by มีความหมายวา ไมชากวาเวลาที่ กําหนดไว หรือกอนเวลาที่กําหนดไว (not later than the time mentioned; before) เชน Can you finish the work by five o’clock? (คุณทํางานใหเสร็จกอนหาโมงไดไหม) I will have it done by tomorrow. (ฉันจะทําใหเสร็จพรุงนี้)


2. The student has been in this school ______ one year. (นักเรียนอยูโรงเรียนนี้_____หนึ่งปแลว) a. since (ตั้งแต) b. until (จนกระทั่ง) c. in (ใน) d. for (เปนระยะเวลา) คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ d. for (เปนระยะเวลา) อานคําอธิบายเพิ่มเติมจากขอหก until เปนไดทั้งคําเชื่อม (conjunction) และคําบุพบท (preposition) หมายถึง จนกระทั่ง (up to the point in time or the event mentioned) เชน Let’s wait until the rain stops. (รอจนฝนหยุดตกเถอะนะ) You are not going out until you have finished this. (คุณจะไมออกไปจนกวาคุณจะทําเสร็จ) 3. Students in many countries are interested _____ the American Indian. (นักเรียนในหลาย ๆ ประเทศสนใจเรื่องชนเผาพืน้ เมืองของอเมริกา) a. of b. in c. at d. on คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ b. in 4. The sergeant is sitting at her desk ____ a report. (จากําลังนั่งทีโ่ ตะทํางานและกําลังเขียนรายงานอยู) a. writes b. wrote c. written d. writing คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ d. writing (ประธานทํากริยาสองอยางพรอมกัน คือ sitting and writing) 5. John said, “If I ______ you, I would study hard.” (จอหนพูดวา “ถาผมเปนคุณ ผมจะเรียนอยางหนัก” ) a. were b. am c. was d. be คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ a. were เปนประโยคเงื่อนไข (If Clause หรือ Conditional Sentences) แบบที่สอง อานคําอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้ เรื่อง If Clause หรือ Conditional Sentences มี ๓ โครงสรางดวยกันคือ โครงสรางที่ ๑ If Subject Present simple tense, Subject (V1)

Will+V1


ตัวอยางประโยค If I have enough money, I will buy a new car. หรือ I will buy a new car if I have enough money. ใหจําวาถา if clause มีกริยาชองที่ ๑ (กริยาเติม s หรือ es เมื่อประธานเปน he, she, it หรือ เอกพจนบุรุษที่ ๓) เราจะใช will + Verb 1 ในประโยคหลัก (main clause) ตามตัวอยาง โครงสรางที่ ๒ If Subject

Past simple tense, (V2)

Subject

would+V1

ตัวอยางประโยค If I had enough money, I would buy a new car. หรือ I would buy a new car if I had enough money. ใหจําวาถา if clause มีกริยาชองที่ ๒ เราจะใช would + verb 1 ในประโยคหลัก (main clause) ตาม ตัวอยาง บางครั้งใช might หรือ could แทน would ได ถากริยาชองที่ ๒ ในประโยคหลักเปน verb be ใช were กับประธานทุกตัว เชน If he were a bird, he would fly away. โครงสรางที่ ๓ If Subject

Past Perfect tense, (had+V3)

Subject

Would have +V3

ตัวอยางประโยค If I had had enough money, I would have bought a new car. หรือ I would have bought a new car if I had had enough money. ใหจําวาถา if clause มี had + กริยาชองที่ ๓ เราจะใช would + have + verb 3 ในประโยคหลัก (main clause) ตามตัวอยาง บางครั้งใช might หรือ could แทน would ได หลังจากที่ไดลองทําแบบทดสอบ ตรวจคําตอบและอานคําอธิบายแลว ทานผูอานก็คงจะไดรับ ความรูภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น หรืออยางนอยที่สุดก็ไดทบทวนความรูความเขาใจภาษาอังกฤษ ดิฉันหวังวา บทความเรื่องนี้คงจะเปนประโยชนและทําใหทราบถึงแนวทางในการเรียนรูและฝกฝนภาษาอังกฤษเพิ่มเติม กันตอไปนะคะ สวัสดีคะ


มิสกรีน PEANUTS

ภาพ 1 - ใชครับคุณ ผมตองการซื้อสรอยไขมุกสักเสน สําหรับเด็กผูหญิงที่ผมรูจ ักฮะ ภาพ 2 - ผมมีอยู 50 เซ็นต ภาพ 3 - ไมเอาครับ เมื่อปที่แลว ผมก็ใหที่หนีบกระดาษเธอฮะ ma’am ‘d like necklace cent

- คํายอของ madam ใชพูดอยางสุภาพกับสุภาพสตรี - would like (want) ตองตามดวย กริยาทีม่ ี to นําหนา - สรอยคอ สรอยเสนนั้นทําจากอะไรก็ใชคําขยายขางหนา เชน pearl, gold, diamond, silver etc สรอยคอเสนสั้นๆ จะเรียก necklet และสรอยขอมือหรือกําไล คือ bracelet - เปนเหรียญเงินตราอเมริกนั (coin หรือ change) ซึ่งเปนหนวยเล็กที่สุด และมีสบี รอนซ 100 cents มีคาเทากับ 1 ดอลลาร สําหรับเหรียญราคาอื่นมีสีเงิน ไดแก a nickel (5 cents), a dime (10 cents), a quarter (25 cents), a half dollar (50 cents) และ a dollar (100 cents) สวนธนบัตร (bills หรือ banknotes) จะมี 6 ราคา คือ $1, $5, $20, $50 และ $100 มีสีเดียวกันหมดคือสีเขียว และมีขนาดเดียวเทานั้น


ANDY CAPP

ภาพ 1 - เครื่องซักผาโบราณของเราก็พังในที่สุด ภาพ 2 - เราจะตองซือ้ ใหมสักเครื่องนะ - อยาเพิ่งเลย ที่รัก-ผมมีความคิดแลวละ ภาพ 3 - ฉันยังไมรเู ลยวาทําไมเธอถึงหัวเสียมากมาย - ผูห ญิงจํานวนมากก็เคยซักเสือ้ ผาในอางดีบุกมาแลว ancient (adj.) - โบราณ, เกาแก (very old) ออกเสียงวา “เอนเซิน่ ท” finally (adv.) - ในที่สุด, ตอนทาย (eventually) pack in (idm) - เปนสํานวน ในทีน่ ี้เปนภาษาพูดแบบอังกฤษ แปลวา เครื่องจักร เครื่องยนต หยุดทํางาน (a machine or an engine stops working) be going to (modal v.) - ตั้งใจจะทําสิง่ หนึ่งในอนาคต เชนเดียวกับ will have to (modal v.) - ตอง hang on (idm) - เปนสํานวน ในภาษาพูดแบบอังกฤษ ใชขอรองใหคอย (used to tell someone to wait) hold on ก็มีความหมายเดียวกัน upset (adj.) - โกรธ, หัวเสีย (angry and annoyed) laundry (n.) - เสื้อผาที่ตอ งซักหรือซักมาแลว (clothes that need to be washed or have just been washed) ออกเสียงวา “ลอนดรี่” bath (n.) - ในทีน่ ี้ แปลวา ภาชนะที่ใชซักลาง (a container for water in which sth is washed)


นายหวงใย

เมื่ออายุมากขึ้ น อวัยวะต่างๆ ในร่างกายเกิดความเสื่ อมตามธรรมชาติ ซึ่ ง โรคกระดูกสันหลังเสื่อม ก็พบบ่อยในผู้สูงอายุเช่นเดียวกัน โดยกระดูกสันหลังนั้น ประกอบด้ ว ย หมอนรองกระดู ก สั น หลั ง , กระดู ก แข็ ง และข้ อ ต่ อ กระดู ก อ่ อ น ซึ่ ง ห ม อ น ร อ ง ก ร ะ ดู ก สั น ห ลั ง ที่ เ กิ ด ค ว า ม เ สื่ อ ม เริ่มเกิดขึ้นได้ตั้งแต่อายุ ๒๐ ปีขึ้นไป และส่วนใหญ่ พบที่กระดูกสันหลังระดับเอว ลักษณะอาการ และสาเหตุการเกิดโรค โดยส ว นใหญ ผู สู ง อายุ จ ะมาพบแพทย ด ว ยอาการ ปวดหลัง ปวดขา ขาชา ขา ไม มี แ รง เดิ น ได ไ ม ไ กล และสวนนอยจะสงผลทําใหเกิดปญหาปสสาวะหรืออุจจาระลําบาก และอาจทําใหเกิดภาวะกระดูกสันหลังเคลื่อนหรือกระดูกสันหลังคด กระดูกสันหลังเสื่อมนั้นเกิดขึ้นกับทุกคน เนื่องจากกลไกของรางกาย เกิดการถดถอยตามธรรมชาติ รวมทั้งจากการใชงานกระดูกสันหลัง มากเกินไป และลักษณะของทาทางที่ผิดสุขลักษณะจากการนั่ง ยืน เดิน นอน การกม และการยกของ


การตรวจวินิจฉัย และการรักษา การตรวจโรคกระดูกสันหลังเสื่อม แพทย จ ะวิ นิ จฉั ย จากการซั ก ประวัติแ ละ การตรวจรา งกายก อนเสมอ ในบางราย อาจตองเอกซเรย ธรรมดา หรือเอกซเรย คลื่นสนามแมเหล็กไฟฟา (MRI) เพิ่มเติม ด ว ย เพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย แยกโรคและวางแผน การรักษา เมื่อตรวจพบสาเหตุของโรคแลว การรักษาประกอบดวย ๑. แนะนําใหหลีกเลี่ยงทาทางที่ ไมถูกสุขลักษณะ อาทิ การกม การยกของหนัก การนั่ง และการนอน ๒. การรับประทานยา ๓. การทํากายภาพบําบัด, การบริหารกลามเนื้อหนาทอง-หลัง และการใสผาประคองกระดูกสันหลัง ระดับเอว ๔. การฉีดยาเขาชองกระดูกสันหลัง ๕. การผาตัดรักษา ในรายที่มีกระดูกสันหลังเสื่อมกดทับเสนประสาท และรักษาโดยวิธีการรับประทาน ยา-ทํากายภาพบําบัดไมไดผล หรือกลามเนื้อออนแรง โดยการผาตัดนั้น เพื่อนํากระดูกสันหลังบางสวนทีท่ บั เส น ประสาทออก ในบางกรณีอาจต องใส ส กรูแ ละเหล็ ก ยึ ดกระดู ก สันหลังไว ในรายที่กระดูกสันหลังมีโครงสรางไมมั่นคง หรือผิดรูป ปจจัยที่สงผลใหเกิดความเสื่อม นอกเหนือจากการเสื่อมตามธรรมชาติแลว การใชงานที่มาก ผิด ปกติ และลั ก ษณะท า ทางที่ ผิ ด สุ ข ลั ก ษณะ เชน การนั่ง การก ม การยกของผิดทา เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหกระดูกสันหลังระดับเอว เสื่อมได อยางไรก็ตาม ถึงแมความเสี่ยงจะเกิดขึ้นไดเอง แตเราสามารถ ดูแลสุขภาพเพื่อถนอมกระดูกสันหลัง ดวยวิธีที่ถูกสุขลักษณะ เพื่อชวยยืดอายุ ชะลอความเสื่อมใหถอยหาง ออกไปมากยิ่งขึ้น (ขอขอบคุณ Health to Home Magazine)


น.อ.หญิง ทิพยรัตน สีเพชรเหลือง

“จากแดนนภา ถิ่นแห่งสุภาพบุรุษดอนเมือง สู่สถาบันหลักในการผลิตผู้นําและแหล่งองค์ความรู้ด้านการบินของชาติ” (ตอจากฉบับที่แลว) z ขอเสนอในการพัฒนาอาคารสถานที่และ ภูมิสถาปตย มีดังนี้

- ภาพรวมหลักจะตองเปน “แดนนภา” มีความเชื่อมโยงและเปนหนึ่งเดียวกับกองทัพอากาศ

ให ภ าพจํ า ลองและความคุ น ชิ น กั บ หน ว ยงานที่ นักเรียนนายเรืออากาศจะตองไปปฏิบัติงาน จุดเดน คือ “กองบิน” ซึ่งนักเรียนนายเรืออากาศทุกคน ใฝ ฝ น และมี แ รงบั น ดาลใจตั้ ง แต ก อ นเข า ศึ ก ษา ที่ตองการเปน “นักบิน” การ สร า งบรรยากาศให เ ชื่ อ มโยง สิ่ ง ที่ จ ะต อ งพบกั บ ป จ จุ บั น ที่ เ ป น อ ยู จ ะ ห ล อ ห ล อ ม ใ ห นั ก เรี ย นนายเรื อ อากาศเกิ ด ความผู ก พั น และรัก ในวิช าชี พ และองคกร เกิดความมุงมั่นใน การศึกษาเลาเรียนใหเกิดผล - สร า งจุ ด เด น ของ สถาบั น เพื่ อ ให เ ป น เสมื อ น สั ญ ลั ก ษณ ข องโรงเรี ย นนายเรื อ อากาศซึ่ ง ควรมี เพียงหนึ่งเดียว ดังเชนโบสถ Cadet Chapel ของ


โรงเรียนนายเรืออากาศสหรัฐฯ ทื่เชื่อมโยงศิลปะแบบ โมเดิรนเขากับโบสถแนวโกธิก

- อ า ค า ร ห รื อสิ่ งปลู ก ส ร า ง ซึ่ ง เ ป น เอกลักษณของโรงเรียนนายเรืออากาศที่ควรสราง ในจุ ด ที่ บุ ค คลทั่ ว ไปภายนอกสามารถมองเห็ น ไดอยางชัดเจนจากภายนอก ตามนโยบายที่จะนํา เครื่องบิ นรบมาทําเป น ซุม บริเ วณสนามดา นหนา โรงเรียนนายเรืออากาศก็ถือวาเปนสิ่งที่สะดุดตา และสื่ อ ความหมายได ดี และควรสื่ อ ความให

คนทั่วไปไดรับทราบความหมายถึงประตูสูแดนนภา “Sky Gate” ซึ่งหมายถึงการที่โรงเรียนนายเรืออากาศ เ ป น ป ร ะ ตู แ ร ก ที่ นั ก เ รี ย น นายเรื อ อากาศได ก า วเข า มาสู กองทั พ อากาศ ด ว ยการมี ถ นน ผ า น ใ ต ซุ ม ป ร ะ ตู เ ข า สู ล า น อเนกประสงค อ ย า งสง า งาม นอกจากนั้ น ยั ง ต อ งสร า งความ ป ร ะ ทั บ ใ จ ด ว ย ภู มิ ส ถ า ป ต ย รอบดานที่สวยงามโอบลอมสนาม โดยรอบด ว ยต น ราชพฤกษ ห รื อ ตนคูณ (ที่เราเขาใจวาชัยพฤกษ) ออกชอเหลืองอรา ม สัญลักษณ หนึ่ งของโรงเรีย น นายเรืออากาศ

สํ า หรั บ รั้ ว หน า โรงเรี ย นควรออกแบบ ใหสวยงามโดยปรับปายชื่อโรงเรียนนายเรืออากาศ ไว ท างด า นข า ง สร า งป อ มยามตรงประตู ใ ห เ ป น มาตรฐาน สามารถเปนจุดประชาสัมพันธดานหนา แหงหนึ่งได ไมตองใหประชาชนทั่วไปตองเขามาถึง ดานใน ตรงกลางเปนประตูรั้วของสถาบันขนาดใหญ


มีตราโรงเรียนนายเรืออากาศอยูที่ประตูดูโดดเดน ดานบน รูปแบบรับกับซุม “Sky Gate” - อนุ รั ก ษ ตํ า นานเรื อ อากาศ พั ฒ นา อาคารที่จะอนุรักษไวเปนที่ระลึกคือ กองบัญชาการ อาคารเรียน ๑ อาคารนอน ๑ ใหคงลักษณะดั้งเดิม คลายแรกสรางซึ่งมีรูปแบบโมเดิรนในยุคนั้น แตมี การปรับปรุงใหสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาจพัฒนาอาคารนอน ๑ เปนหอเกียรติยศและ พิพิธภัณฑโรงเรียนนายเรืออากาศที่เปนแหลงตํานาน และองคความรูหนึ่งของโรงเรียนนายเรืออากาศ

RTAFA KM Center เปนหนวยใหขอมูลสารสนเทศ สวนแสดงผลงานเดน ผังภาพรวมของเครือขาย

- สร า งสรรค แ หล ง องค ค วามรู ด า น การบิน จากการรวบรวมความรูดานการบินในสวน ตา งๆ ของโรงเรี ย นนายเรื อ อากาศที่ มี อยูทั้ ง ดา น วิศวกรรมอากาศยาน การฝ กบิ นพื้นฐาน การฝก อบรมภาวะผู นํ า และอื่ น ๆ ทั้ ง ที่ เ ป น ความรู จ าก ตํารา เครื่องมือ อุปกรณ หองปฏิบัติการ อุโมงคลม เครื่องฝกบินจําลอง ผูเชี่ยวชาญ งานวิจัย ประวัติ ตํานาน สื่อเทคโนโลยี ฯลฯ โดยสรางเปนเครือขาย แหลงองคความรูดานการบินของ รร.นอ. มีศูนยกลางที่

RTAFA KM Center เปนหนวยใหขอมูลสารสนเทศ ส ว นแสดงผลงานเด น ผั ง ภาพรวมของเครื อ ข า ย แหลงองคความรูดานการบินตางๆ ภายใน รร.นอ. (พิพิธภัณฑ กองวิชาวิศวกรรมอากาศยาน กรม.นนอ. กองวิชาทหาร หองสมุด ฯลฯ) และความเชื่อมโยง กับภายนอก รร.นอ. จุดมุงหมายที่สําคัญของการ สรางแหลงองคความรูนี้นอกจากเปนการตอบโจทย ภาพวิ สัย ทัศ น ใ ห ชัด เจนแลว ยั ง เป น การชูจุ ดเด น อัตลักษณความเปนสถาบันเฉพาะทางของ รร.นอ.


และการสรางความเปนหนึ่งในศาสตรดานการบิน ของ รร.นอ. อีกดวย - “Digital RTAFA” ใหเชื่อมโยงกับเอกลักษณ กองทัพอากาศ “Digital Air force” โดยทําให โครงสรางระดับ Infrastructor และอุปกรณเชื่อมโยง ใหมีความพรอม ทันสมัย และรองรับการเปลี่ยนแปลง ในอนาคต ผลักดันการใชประโยชนลงไปในภารกิจ และการบริหารจัดการ ตลอดจนการเรียนการสอน อยางแทจริง ทําใหเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ในการทํางานและการเรียนรูของคนทั้งองคกร - สรางบรรยากาศของความมีชีวิตและ ความสงางามดวย “สีเขียว” จากสวนสวยและ พรรณไม เปนการสรางบรรยากาศทางจิตใจใหมี

สุขภาพจิตที่ดีจากการสรางสภาพแวดลอมที่สดชื่น เป น การสร า งความประทั บ ใจให กั บผู ม าเยื อ น มี สวนหยอมตามจุดตางๆ อยางเหมาะสม และมีที่นั่ง พักผอน จะทําใหนักเรียนนายเรืออากาศและขาราชการ ไดคลายความเครียดของสายตากับสีเขียว และยัง เปนปอดที่ดีใหกับโรงเรียนนายเรืออากาศดวย

สุขภาพจิตที่ดีจากการสรางสภาพแวดลอมที่สดชื่น เป น การสร า งความประทั บ ใจให กั บ ผู ม าเยื อ น มี สวนหยอมตามจุดตางๆ อยางเหมาะสม และมีที่นั่ง พักผอน จะทําใหนักเรียนนายเรืออากาศและขาราชการ ได ค ลายความเครี ย ดของสายตากั บ สี เ ขี ย ว และ ยังเปนปอดที่ดีใหกับโรงเรียนนายเรืออากาศดวย - สงเสริม “รักษโลก ประหยัดพลังงาน” เลื อ กสรรโครงสร า งอาคาร วั ส ดุ อุ ป กรณ และ เครื่องใชไฟฟา ฯลฯ ใหตอบโจทยของการประหยัด พลังงาน นอกจากนั้นยังตองปลูกฝงจิตสํานึกของ คนในองคกรใหตระหนักถึงความสําคัญในนโยบายนี้ อยางเปนรูปธรรมและเปนชีวิตประจําวัน - การออกแบบและตกแตงสถานที่ อาคาร ของหนวยงานภายในโรงเรียนนายเรืออากาศ การเลื อ กใช สี ทั้ ง ภายนอกและการตกแต ง ภายในใหเป น รูปแบบเดียวที่ดูกลมกลื น กัน มองเห็นเอกลักษณขององคกร ไมตางหนวย ตางทํา สรางจิตวิญญาณ ความจงรักภักดีตอ องคกร จิตสํานึกและความภาคภูมิใจในการ เปนทหารอากาศจากสิ่งแวดลอมที่ไดรับการ ตกแตงอยางลงตัว เชน อนุสาวรีย รูปปนและ ภาพบุคคลสําคัญ ฯลฯ - มุงเนนสุขภาพอนามัยที่ดีของผูอยูอาศัย โดยเฉพาะนักเรียนนายเรืออากาศที่ตองพักอยูประจํา การออกแบบอาคารและการใชงานภายในจะตอง คํ า นึ ง ถึ ง เกณฑ ม าตรฐานด า นสุ ข อนามั ย ของ สถานศึ ก ษาด ว ย โดยเฉพาะส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สุขภาพสวนบุคคลโดยตรง เชน อาคารนอน โรงเลี้ยง โรงซักรีด สระวายน้ํา ฯลฯ


- การจัดวางผังอาคารสถานที่ ยึดหลักดังนี้ นักเรียนนายเรืออากาศเปนสําคัญ (Air Cadet Center) ไดแก การยึดถือความสะดวก ในการปฏิ บั ติ แ ละประโยชน ที่ เ กิ ด กั บ นั ก เรี ย น นายเรืออากาศเปนตัวตั้ง เชน หนวยงานที่เกี่ยวกับ การบริการ หองสมุด แหลงเรียนรูดวยตนเอง โรงเลี้ยง ฯลฯ โดยอยูตรงกลางระหวางสวนการศึกษาและ ส ว นกรมนั ก เรี ย น จะทํ า ให นนอ. สะดวกในการ เข า ใช แ ม ช ว งวั น หยุ ด หรื อ นอกเวลาราชการ เช น หองสมุดหรือแหล งเรีย นรูดวยตนเอง เพื่อรองรั บ และจูงใจให นนอ. สามารถเรียนรูไดทุกที่ตลอดเวลา เพราะจากความสะดวกในการใชสอยจะทําใหผูเรียน เข า ไปใช ป ระโยชน กั บ สถานที่ ไ ด ม ากกว า ดั งนั้ น การเรียนรูในลักษณะ “any time any where” ยังเปน เหตุผลที่ดีกับการนํามาใชสําหรับคนยุคใหมเสมอ จัดโซนใหเหมาะสม (Zoning) นอกจาก การจัดวางใหเหมาะกับการใชงานของนนอ.แลว การจัดใหเหมาะกับภารกิจของ นขต.ก็เปนสิ่งสําคัญ การแบงเขตพื้นที่เปนโซนใหเหมาะสม ใหเกิดความ เชื่ อ มโยงในการปฏิ บั ติ ภ ารกิจ ก็ ทํ า ให เ อื้ อ ตอ การ ใชงานจริง

- โซนดานหนา รั้ว ทางเขา sky gate ลานพาเหรด เสาธง บุพการี - โซนกลางดานหนา สวนบัญชาการ - โซนดานขวาหนา อาคารรณนภากาศ พิพิธภัณฑและหอเกียรติยศ สโมสร นนอ. - โซนดานขวากลาง บก.กรม.นนอ.ฯ อาคารนอน - โซนดานขวาหลัง กองวิชาทหาร สนามฝก - โซนดานซาย กองการศึกษา บัณฑิตศึกษา - โซนกลางตรงกลาง (๑) หอสมุด แหลง เรียนรูดวยตนเอง RTAFA KM Center /Air Cadet club - โซนตรงกลาง (๒) หนวยงานบริการ โรงซักรีด แผนกแพทย ชย., ขส. ฯลฯ - โซนตรงกลางดานหลัง กองพลศึกษา สนามกีฬา ฯลฯ - เพิ่มปฏิสัมพันธของคนในองคกร ทําให คนในโรงเรียนนายเรืออากาศไดมีโอกาสพบปะกัน ไดอยางสม่ําเสมอ ไมตางคนตางอยูตางคนตางไป การจัดวางผังอาคาร โซน หรือแมกระทั่งภายในอาคาร ใหคนในองคกรมีโอกาสพบกันตามจุดตางๆ จะทํา ใหเกิดปฏิสัมพันธ พูดคุย และเชื่อมโยงกันในดาน


การทํางานและสวนบุคคลมากขึ้น สรางใหเกิดบรรยากาศในการทํางานที่ดี มีความเอื้ออาทร พูดคุยกัน เขาใจกันมากขึ้น ตัวอยางเชน อาคารในลักษณะที่เปนกลุมอาคารที่มีความเชื่อมโยงระหวางตึก มีชองวาง ชวงกลาง ใหไดมองเห็นซึ่งกันและกัน เห็นความเคลื่อนไหวของอีกหนวยงานหนึ่ง สรางความรูสึกเปนสังคม เดียวกัน ไดมีจุดใชประโยชนของกลุมอาคารรวมกันเชน ที่รับประทานอาหาร หองประชุม บริเวณพักผอน เปนตน

“เรืออากาศในฝน” จะกลายเปนภาพ “เรืออากาศในอนาคต” ไดมากนอยเพียงใด ชาวเรืออากาศ ทุกคน ตองมุงมั่นทําภาพความฝนใหเปนความจริงจากการรวมมือ สนับสนุน และรวมแรงรวมใจของทุกคน ที่ “รักเรืออากาศ”


น.อ.เกษม พงษพันธ คนเราทุกคนยอมมีเปาหมายชีวิต มีหลักคิด ที่แตกตาง บางคนชอบสนุกสนาน บางทานชอบสงบ ชอบอยูอยางสมถะ ชอบบวชพระบวชเณร รวมไป ถึงสตรี ชอบบวชชีหรือปฏิบัติตนเปนอุบาสิกา ถือศีล ภาวนา บุรุษถือศีล ๘ เปนอุบาสก พนนรกปดอบาย มี สวรรค เ ป น ที่ ห มาย น า ชื่ น ชม พระบรมศาสดา สัมมาสัมพุทธเจา นอกจากทรงเปรียบมนุษยเหมือน ดอกบัว ๔ เหลาแลว ยังทรงจําแนกเปน ๔ ประเภท คือ ประเภทมืดมาสวางไป สวางมามืดไป มืดมามืดไป และสวางมาสวางไป ชีวิตตองดําเนินตอไป ไมมีประโยชนอะไร ที่จะเสียเวลาจมอยูกับอดีต ควรทําปจจุบัน คือวันนี้ ให ดี ที่ สุ ด ด ว ยอารมณ ที่ แ จ ม ใสเบิ ก บาน สมเป น ชาวพุทธ บุตรพระตถาคตสัมมาสัมพุทธเจา แลว อนาคตจะดีเอง ภาวนา พุทโธ พุทโธ เขาไว ชีวิตคือการเดินทาง เมื่อใครก็ตามเดินทาง ไมวาจะไปที่ไหน ภาคเหนือ หรือภาคใต ตะวันออก ภาคอีสาน หรือภาคกลาง เราก็ยอมเห็นบางทาน กําลังไป บางทานกําลังกลับ ในขณะเดียวกันอาจจะ มีบางจําพวกที่ยังไมกลับ ยังเพลิดเพลิน บางพวกก็ กูไมกลับ แตสักวันหนึ่งก็ตองกลับ ขึ้นรถไมวารถไฟ

หรื อ รถยนต รวมไปถึ ง เรื อ และเครื่ อ งบิ น เมื่ อ ถึ ง จุด หมายปลายทางก็ ตองลง ถึง แมบ างครั้ ง จะลง ไมตรงปายตรงจุด เพราะเผลอหลับหรืออะไรก็ตาม ผลสุดทายก็ตองลง เชนเดียวกัน เกาอี้บางตัวถึงแม จะนานั่ง เมื่อไดนั่งสมปรารถนาแลว สักวันหนึ่งก็ตอง สละทิ้งไป และควรไปอยางสงางาม อยางไรก็ตาม สักวันหนึ่งจะไดพบสัจธรรม วา ไปไมกลับ หลับไมตื่น ฟนไมมี หนีไมพน บนศาลา บําเพ็ญกุศลที่วัด จึงมีคําถามวาจะสวดมนตเองหรือ จะให นิ ม นต พ ระสวดให จะทํ า บุ ญ เองหรื อ จะให ญาติทําบุญ(อุทิศ)ให จะบวชเองหรือจะใหคนอื่น บวช(หนาไฟ)ให โดยเฉพาะเรื่องบวช หากมีศรัทธา พร อ มจะบวช ควรรี บ ตกลงปลงใจ เพราะใกล เขาพรรษาแลว (ถาบวชเอาพรรษา) ท า นผู อ า นที่ เ คารพ ชี วิ ต คนที่ มื ด มาแล ว สวางไปก็ดี สวางมาสวางไปก็ดี ทั้งสองประเภทนี้ ถื อ ว า ยอดเยี่ ย ม แต ผู ที่ ส ว า งมาแล ว กลั บ มื ด ไป รวมทั้ง มื ดมาแลวมื ดไป สองอยา งหลัง นี้ต รงขา ม เปนประเภทลูกอกตัญูไมเชิดชูวงศสกุล พอแม ครู อาจารย หนาที่การงานทุกตําแหนงแหงหนที่ดํารงอยู คงไมสงางาม


หากจะมีคําถามวา จะพิจารณาใชหลักใด มาตัดสินวาใครมืดใครสวาง คิดวาถึงไมบอกทุกทาน ก็คงทราบวาขึ้นอยูกับคุณธรรมความดี(หรือไมดี) ในจิ ต ใจเป น สํ า คั ญ เช น บุ ต รธิ ด า หรื อ ลู ก ชาย ลู ก สาว ที่ พ ระพุ ท ธเจ า ตรั ส ว า มี ๓ ประเภท คื อ อวชาตบุตร อนุชาตบุตร และอภิชาตบุตร ลูกชายลูกสาว ที่ทําใหวงศสกุลตกต่ํา หรือ ประพฤติ ต นต่ํ า กว า มาตรฐานที่ ค นในวงศ ส กุ ล โดยเฉพาะพ อ แม ป ระพฤติ ป ฏิ บั ติ สื บ ต อ กั น มา มักทําความเดือดรอนเสียหาย ผิดศีลผิดธรรม ถือวา ไมดํารงวงศสกุล เปนลูกอกตัญู จัดอยูในประเภท อวชาตบุตร ลูกชายลูกสาว ที่เจริญรอยตามมาตรฐาน ที่ พ อ แม ป ระพฤติ ป ฏิ บั ติ เช น ให ท าน รั ก ษาศี ล เจริญภาวนา มีศรัทธา สวดมนตไหวพระ ก็ทําตาม ไม ยิ่ ง หย อ นไปกว า ท า น จั ด อยู ใ นจํ า พวก ดํ า รง วงศ ส กุ ล เป น ลู ก กตั ญ ู และจั ด อยู ใ นประเภท อนุชาตบุตร ลู ก ชายลู ก สาว ที่ เ จริ ญ ด า นคุ ณ ธรรม ยิ่ ง กว า พ อ แม ทํ า พ อ แม ที่ ไ ม มี ศ รัท ธาให มี ศ รัท ธา ในพระรั ต นตรั ย นํ า พ อ แม เ ข า วั ด ฟ ง ธรรม ถื อ ศี ล ภาวนา ทั้ ง ที่ ท า นไม เ คยปฏิ บั ติ ซึ่ ง ก็ มี ห ลวงพ อ หลวงปู หลวงตา หลายรูป รวมไปถึงฆราวาสญาติ โยมหลายคน ที่ปฏิบัติไดดวยตนเองแลวนําพอแม ธรรม

สู ท างธรรม เรี ย กว า พาพ อ แม ขึ้ น สวรรค จั ด เป น ลูกกตัญู และเปนประเภท อภิชาตบุตร การที่ ลู ก มี ย ศมี ศั ก ดิ์ จ ะสู ง หรื อ ต่ํ า ก็ ต าม แลวเอาไปเปรียบกับพอแม วาทานไมมียศมีศักดิ์ อะไร แลวกลาประกาศตัวหรือสถาปนาตัวเองวา เปนอภิชาตบุตร นับวาคลาดเคลื่อนจากความหมาย แทจริงของคําวา อภิชาตบุตร เพราะคํานี้มิใชได มาง า ยๆ ข อ สํ า คั ญ ไม ค วรจะประกาศความเป น อภิชาตบุตรดวยปากของตนเอง ควรใหผูอื่นที่เปน ผูรูอรรถรูธรรมทานบอกกลาว จึงจะนาภาคภูมิใจ กว า เช น เดี ย วกั บ การเปน เศรษฐี ห รือ มหาเศรษฐี เป น บั ณ ฑิ ต หรื อ เป น นั ก ปราชญ อะไรทํ า นองนี้ ถาคนรูเรื่องจริงๆ เขาจะไมพูดเอง คือการยกยอง ตั ว เองดั ง กล า ว คงไม มี ผู รู ( จริ ง )คนใดท า นทํ า กั น เพราะตั้งแตโบราณกาลมา ทานเปรียบเปรยกลองไว ๒ ประเภท คือ กลองที่ตีเทาไรก็ไมดัง กับกลองที่ ดั ง ได โ ดยไม มี ใ ครตี ดี ไ ม ดี จ ะเข า เกณฑ ต่ํ า กว า มาตรฐาน แทนที่จะเปนอภิชาตบุตร กลับจะไดเปน “อวชาตบุตร” ฐานลวงเกินบุพการี แตถามียศศักดิ์ สู ง และคุ ณ ธรรมสู ง ด ว ย เหมื อ นที่ ห ลายท า นเป น ก็โอเค(O.K.)

ถึ ง อย า งไรก็ ต าม ผู เ ขี ย นก็ ห วั ง ให ทุกทานเปน อภิชาตบุตร โดยทั่วกันเทอญ ....


Pharaoh วันที่ ๕ มิถุนายน ของทุกป ประชาชาติทั่วโลก ได กํา หนดให เ ป น “วั นแห ง การร ว มมื อระหวา ง ชาติของทั่วโลกเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม” หากนับยอน ไป ณ จุดเริ่มแรกของวันดังกลาวที่ไดมีการตื่นตัว ในดานวิกฤตการณสิ่งแวดลอมขึ้นทั่วโลก จึงไดมี มติใหจัดการประชุมใหญที่กรุงสตอกโฮลม ระหวาง วันที่ ๕ - ๑๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๑๕ โดยมีรัฐบาลของ ประเทศสวีเดน (Konungariket Sverige) เปนเจาภาพ เรียกการประชุมนี้วา "การประชุมสหประชาชาติ เรื่องสิ่งแวดลอมของมนุษย" (UN Conference on the Human Environment) ในการประชุมครั้งนั้น มีผูเขารวมประชุมกวา ๑,๒๐๐ คน จาก ๑๑๓ ประเทศ และมีผูสังเกตการณอีกกวา ๑,๕๐๐ คน จากหนวยงาน ของรัฐ องคการสหประชาชาติ สื่อมวลชนแขนงตางๆ เพื่ อ พิ จ ารณาร ว มกั น ในการที่ จ ะหาหนทางแก ไ ข ปญหาสิ่งแวดลอมที่ประเทศตางๆ ที่กําลังเผชิญอยู

ผลจากการประชุ ม ครั้ ง นั้ น ได มี ข อ ตกลงร ว มกั น หลายๆ อยาง เชน การจัดตั้งโครงการสิ่งแวดลอม แหงสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme : UNEP) ซึ่งมีสํานักงานใหญอยูที่กรุง ไนโรบี ประเทศเคนยา (Republic of Kenya) โครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติมี หน า ที่ ติ ด ตามและประเมิ น ผลการเปลี่ ย นแปลง ที่สํา คั ญ ทางดา นสิ่ ง แวดลอม รวมทั้ง กระตุ น ให มี การเปลี่ ย นแปลงไปสู ท างที่ ดี โดยมี ค วามห ว งใย ในเรื่ องของ ดิน น้ํา มลพิ ษ ทางอากาศในฐานะที่ ทําหนาที่กระตุนเพื่อใหมีการปฏิบัติทางสิ่งแวดลอม อย า งเหมาะสม และเพื่ อ ให เ ป า หมายบรรลุ ผ ล นอกจากนี้ แ ล ว ผลจากการประชุ ม รั ฐ บาลของ ประเทศต า งๆ ได รั บ ข อ ตกลงจากการประชุ ม มา ดําเนินการจัดตั้งหนวยงานดานสิ่งแวดลอมขึ้นใน ประเทศของตน รวมทั้งประเทศไทย รัฐบาลไดตรา


พระราชบัญญัติสงเสริม และรักษาสภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.๒๕๑๘ และกอตั้ ง สํ า นัก งานคณะกรรมการ สิ่งแวดลอมแหงชาติขึ้น เมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๑๘ อั น เป น จุ ด เริ่ ม ต น ที่ สํ า คั ญ ของการ ดํา เนิ น งานด า นสิ่ ง แวดล อ มในประเทศไทย และ ตอมาในป พ.ศ.๒๕๓๕ ไดมีการปรับเปลี่ยนโครงสราง ของสํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ เปน ๓ หนวยงาน คือ กรมควบคุมมลพิษ กรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม และสํานักนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ สิ่งแวดลอม Á ในหนังสือ An Inconvenient Truth โดย อัลเบิรต อารโนลด "อัล" กอร จูเนียร : Albert Arnold "Al" Gore Jr. (Al Gore) ไดแสดงวาในปจจุบันนี้ สภาวะแวดลอมของโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอยาง

มหาศาล และการเปลี่ยนแปลงนี้ เปนการเปลี่ยนที่ นํ า มาซึ่ ง ความสู ญ เสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น แผ ข ยายในอั ต รา ที่รวดเร็ว อันสงผลกระทบตอระบบนิเวศน (Davis Guggenheim ไดนํามาทําสารคดี เรื่อง An Inconvenient Truth ใน ค.ศ.๒๐๐๖) ในหนังสือดังกลาวสรุปประเด็น สาเหตุหลักๆ ไดดังนี้ ๑. การที่ จํ า นวนประชากรโลกเพิ่ ม สู ง ขึ้ น อยางรวดเร็ว ทั้งนี้ประมาณการกันวาภายในครึ่ง ศตวรรษขางหนา ประชากรโลกรอยละ ๔๐ จะเผชิญ ปญหาการขาดแคลนน้ําดื่มอยางรุนแรง ๒. ประเทศตางๆ มีสวนรวมในการทําใหเกิด ภาวะเรือนกระจกในการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (Carbon dioxide : CO2) ขึ้นสูผิวบรรยากาศของโลก ดังนี้ สหรัฐอเมริกา รอยละ ๓๐.๓, ยุโรป รอยละ ๒๗.๗, รัสเซีย รอยละ ๑๓.๗, เอเชียตะวันออกเฉียงใต อิ น เดี ย และจี น ร อ ยละ ๑๒.๒, ญี่ปุนรอยละ ๓.๗, ตะวันออกกลาง รอยละ ๒.๖, แอฟริกา รอยละ ๒.๕, แคนาดา รอยละ ๒.๓ และออสเตรเลีย รอยละ ๑.๑ ๓. การปฏิ วั ติ ท างด า น เทคโนโลยี แ บบก า วกระโดด ซึ่ ง เทคโนโลยีที่พัฒนา โดยขาดความ รั บ ผิ ด ชอบต อ องค ร วมทั้ ง หมด ส ง ผลให ร ะบบนิ เ วศน ข องโลก ถูกทําลาย ดังจะเห็นไดจากกรณี ของปาสนถูกทําลายจากตัวดว ง กั ด กิ น ในอลาสกาและบริ ติ ช โคลัมเบีย ปาดงดิบถูกทําลาย ทําให


สัตวบางชนิดสูญพันธ โดยที่อัตราการสูญพันธใน ปจจุบันสูงเปน ๑,๐๐๐ เทาของที่เคยเปนมาในอดีต ไดแก กบแกวยักษ หานอกขาว ปลาวาฬโบวเฮด นกอั ล บาทรอสหั ว เทา นกเพ็ น กวิ น จั ก รพรรดิ คางคกทองคํ า กบต น ไม นกกาน้ํ า ที่ บิ น ไม ไ ด แมวน้ําเฟอรพันธุแอนตารกติก นกกะเรียนวัตเตอร นกเพนควินคิ้วเหลือง หมีขั้วโลก หานอกแดง และ แมวน้ําเสือดาว ๔. ระบบนิเวศนของโลกถูกทําลาย สงผล สะทอนออกมาในรูปของ การแพรระบาดของสาหราย โรคใหมๆ และไวรัสตางๆ เชน ฮันตาไวรัส มาชูโปไวรัส อรีน าวิริเ ด โคโรนาไวรั ส โรคไลม อิโคไล วัณโรค ไวรั ส ไข ห วั ด ใหญ โรคลี เ จี ย นแนร นิ ป าร ไ วรั ส ประมาณการไดวามีโรคใหมๆ เกิดขึ้นประมาณ ๓๐ โรค ที่แพรระบาด กอความเจ็บปวยใหแกประชากรของ โลกในปจจุบัน ๕. ปญหาการละลายของน้ําแข็ง ดร.ลอนนี ทอมปสัน แหงมหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตท ผูเชี่ยวชาญ

ในเรื่องธารน้ําแข็งบนภูเขา พยากรณวาภายในสิบป ขางหนา จะไมมีน้ําแข็งบนยอดเขาคิลิมานจาโร ทั้งนี้ การละลายของน้ํ า แข็ ง หมายถึ ง การละลายของ ธารน้ําแข็งที่เกิดขึ้น ซึ่งจะละลายหมดในอีก ๑๕ ป ขางหนา อันไดแก ธารน้ําแข็งโบลเดอร ณ อุทยาน แหงชาติกลาเซียร ธารน้ําแข็งโคลัมเบียในอลาสกา ธารน้ํ า แข็ ง คู ริ คาลิ ส ในเปรู ธารน้ํ า แข็ ง อุ ป ซาลา ปาตาโกเนี ย ในอาร เ จนติ น า ธารน้ํ า แข็ ง โรนด ใ น สวิตเซอรแลนด ธารน้ําแข็งโรเวกในสวิตเซอรแลนด และธารน้ําแข็งอดาเมลโล เทรนติโนอิตาลี Á การคุกคามของภาวะโลกรอน สามารถมองเห็น ไดจากปรากฏการณตางๆ ดังตอไปนี้ ๑. พื้นที่น้ําแข็งขั้วโลกเหนือ และธารน้ําแข็ง กําลังละลาย จนอาจทําใหระดับน้ําทะเลทั้งโลกเพิ่ม สูงขึ้น ๒๐ ฟุต ๒. การคุก คามรู ป แบบการไหลเวีย นของ กระแสน้ําในมหาสมุทร และกระแสลมทั่วโลก ๓. มหาสมุ ท รกํ า ลั ง ดู ด ซั บ คาร บ อนไดออกไซด อั น เป น การเพิ่ ม ปริมาณแคลเซียมคารบอรเนต (Calcium carbonate : CaCO3)ในน้ําใหสูงขึ้น จนถึงระดับที่ปะการังไมสามารถกอตัวได ๔. การตัดไม เผาปา ทํา ลาย แหลงหากินสําคัญของสัตวน้ํา กอใหเกิด การสู ญ พั น ธุ ซึ่ ง การกระทํ า ดั ง กล า ว สงผลให ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด ในบรรยากาศของโลกเพิ่มสูงขึ้นอยาง รวดเร็ ว ซึ่ ง ในยุ ค ก อ นอุ ต สาหกรรม


คารบอนไดออกไซดในชั้นบรรยากาศอยูในระดับ ๒๘๐ หนวยตอหนึ่งลานสวน ใน ค.ศ.๒๐๐๕ ปริมาณ ที่วัดไดจากยอดเขาเมานาลัวอยูที่ระดับ ๓๘๑ หนวย ต อ หนึ่ ง ล า นส ว น ป า ไม ที่ อ ะเมซอนเผชิ ญ ความ เสียหายอยางรายแรง พื้นที่ปาถูกทําลายจากการ เผาปา สงผลใหคารบอนไดออกไซด ถู ก ปลอ ยเข า ไปในชั้ นบรรยากาศ ประมาณรอยละ ๓๐ เปนที่นาสังเกต ว า มี ก ารเกิ ด ไฟป า ขึ้ น บ อ ยครั้ ง มากกวาปกติ และเกิดฟาผามากขึ้น ในทุกทวีปในโลก Á สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จากการเปลี่ ยนแปลงของ สภาวะสิ่ งแวดล อมโลกที่ กล าวไว ข า งต น ได มี ก ารพยากรณ ท าง วิทยาศาสตรในอนาคตวา จะสงผลใหระดับน้ําทะเลจะ เพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ปริ มาณน้ํ าทวมขึ้น อยูกับ ปจจัยในการละลายของน้ําแข็งในแอนตารกติกา และกรี น แลนด ผลงานการวิ จั ย ใน ค.ศ.๒๐๐๖ แสดงใหเห็นวาปริมาณมวลรวมของชั้นน้ําแข็งแอน ตารกติกาตะวันออกกําลังลดลง และมีธารน้ําแข็ง ประมาณรอยละ ๘๕ ที่กําลังไหลลงสูทะเลเร็วขึ้น ทั้งนี้เพราะอุณหภูมิของอากาศที่วัดจากระดับสูง เหนือมวลน้ําแข็ง กําลังอุนขึ้นเร็วกวาอุณหภูมิใน สวนอื่นๆ ของโลก การละลายของน้ําแข็งเมื่อไหลออกจากเกาะ ลงสู ท ะเล จะส ง ผลให ร ะดั บ น้ํ า ทะเลทั่ ว โลกเพิ่ ม สูงขึ้นถึง ๒๐ ฟุต และถาชั้นน้ําแข็งแอนตารกติกา

ตะวั น ตกละลายหรื อ แตกออกด ว ย ก็ จ ะส ง ผลให ระดั บ น้ํ า ทะเลทั่ ว โลกสู ง เพิ่ ม ขึ้ น อี ก ๒๐ ฟุ ต ด ว ย เช น เดี ย วกั น ซึ่ ง ปรากฏการณ นี้ จ ะส ง ผลให เ กิ ด ผลลัพธติดตามมาดังนี้ คือ ๑. สัตวสูญพันธุ เชน หมีขั้วโลก เปนตน

๒. การเกิดพายุเฮอรริเคน(Hurricane) ที่ เพิ่มทวีกําลังความรุนแรง ผลการศึกษาทางวิทยาศาสตร พยากรณวา น้ําอุนบนผิวมหาสมุทรสามารถถายทอด พลังงานความรอนไดมากจนกอใหเกิดเฮอรริเคนที่มี พลั ง อํ า นาจสร า งความเสี ย หายได อ ย า งรุ น แรง หลั ก ฐานล า สุ ด แสดงให เ ห็ น ว า ภาวะโลกร อ นจะ ทําใหเกิดเฮอรริเคนที่ถี่มากขึ้นจนเกินกวาระดับการ เปลี่ยนแปลงขึ้นลง ซึ่งเชื่อกันวาเกิดขึ้นตามวัฏจักร ของธรรมชาติ นอกจากนี้ ประเทศญี่ปุนจะเผชิญกับ ไตฝุน (Typhoon) ที่มีความรุนแรงเพิ่มจํานวนมาก ขึ้นเรื่อยๆ โดยสังเกตไดจากการที่เกิดปรากฏการณ เฮอร ริเ คนแคทาริน าขึ้ น ในบราซิ ล เป น ครั้ง แรกใน ประวัติศาสตร เมื่อ ค.ศ.๒๐๐๔ ซึ่งนักวิทยาศาสตร ครั้ ง หนึ่ ง เคยกล า วว า มั น เป น ไปไม ไ ด ที่ ท ะเล แอตแลนติกใตจะมีพายุเฮอรริเคน


๓. พายุในมหาสมุทรแอตแลนติกจะเพิ่ม กําลังความรุนแรงขึ้นรอยละ ๕๐ ๔. ความรอนบนพื้นผิวโลกเพิ่มกําลังอยาง รุนแรง นักวิทยาศาสตรทํานายวา โลกจะเผชิญกับ คลื่น ความร อ นอย า งรุ น แรงที่ คร า ชีวิ ตมนุษ ยเ ป น จํานวนมาก นอกจากนี้ ทะเลสาบจะเหือดแหง รวมทั้ง พื้นที่ทะเลทรายจะขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น ๕. การสลายตัวของเพอรมาฟรอสต (ชั้นดิน เยือกแข็งคงตัว) สงผลกระทบตอโครงสรางพื้นฐาน ของประเทศ แผนดินเคลื่อนตัว อาคารถลม ทอสงน้ํามัน ของสหรัฐฯ กําลังเผชิญปญหา Á บทสรุป ถึ ง แม ช าวโลกจะตระหนั ก ถึ ง ป ญ หาการ เปลี่ ย นแปลงของภู มิ อ ากาศและผลกระทบที่ จ ะ เกิดขึ้นในอนาคต แตปญหาทางดานการเมืองยังเปน ประเด็นที่สนับสนุนสงเสริมใหสภาวะแวดลอมของโลก ไมไดรับการแกไข ดังเชนกรณีของประเทศสหรัฐฯ ไดมีการตอตานการรณรงคการแกไขปญหาโลกรอน อยางรุนแรงจากพรรครีพับลิกันในสมัยประธานาธิบดี จอรจ วอลกเกอร บุช (George Walker Bush) การมี พวกอนุรักษนิยมแบบสุดขั้ว และการไมใหความใสใจ ในเรื่ อ งจริ ย ธรรมความรั บ ผิ ด ชอบที่ มี ต อ โลก การเมืองสงผลกระทบตอสื่อ ทั้งนี้เพราะขาวสาธารณะ ถูกปดกั้น ปจเจกชนถูกปดกั้นจากการรวมกําหนด วาทะกรรมสาธารณะ ในสมัยของ อัล กอร ไดเริ่มทํา Current TV ซึ่งเปนเครือขายรายการเคเบิลทีวี และ ทีวีผานดาวเทียม ที่เนนดานขอมูล อันเปนขาวสาร สําหรับคนหนุมสาววัย ๒๐ ป โดยรายการถูกสราง ธรรม อางอิง :

บนพื้น ฐานแนวคิ ด ใหมที่ ใหผูช มสามารถเขา รว ม ผลิตรายการได และขณะเดียวกันก็มีสวนรวมในเวที สาธารณะเกี่ยวกับประชาธิปไตยของสหรัฐฯ ดวย นับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน มนุษยชาติมี ความสํา คั ญกับสิ่ง แวดลอมดว ยกัน ทั้ง สิ้น เพราะ ทุ ก ชี วิ ต ต อ งอาศั ย สิ่ ง แวดล อ มเป น ป จ จั ย ในการ ดําเนินชีวิต มนุษย พืช สัตว ทุกชีวิตจําเปนตองพึ่งพา สิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวเรา รวมถึงสิ่งที่มนุษยคิดคน สรางขึ้นเพื่อความสะดวกสบาย และจากพฤติกรรม ของมนุษย ถาจํากัดอยูเพียงเพื่อดํารงชีวิต ปญหา สิ่งแวดลอมในปจจุบันคงจะไมเกิดขึ้น แตเนื่องจาก ทรัพยากรธรรมชาติมีอยางจํากัด และทิศทางการ พัฒนาประเทศตางๆ ทั่วโลก มุงเนนไปที่การพัฒนา เศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรม จึ ง ทํ า ให เ กิ ด การใช ทรัพยากรตางๆ อยางมากมายเพื่อผลิตสินคา การ พัฒนาประเทศก็นําไปสูการเกิดภาวะมลพิษในที่สุด ซึ่งปญหาดังกลาวไดสงผลสะทอนกลับมาคุกคาม การดํารงชีวิตของมนุษยเอง ในรูปของวิกฤตการณ สิ่ ง แวดล อ มอย า งหลี ก เลี่ ย งไม ไ ด ถึ ง เวลาแล ว ที่ หมู ม วลมนุ ษ ยชาติ ควรจะมาร ว มรณรงค แ ละ ประหยัดทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด รวมมือรวมใจ กั น รั ก ษาสภาพแวดล อ มให ดี ต อ ไปในอนาคต เพื่อลูกหลานของเรา โดยที่เรามาชวยกันเสริมสราง ปลูกจิตสํานึกตอสิ่งแวดลอม และการสรางทัศนคติ ในการอนุรั ก ษท รัพ ยากรกลั บมาใช อยา งรูคุ ณค า และรักษาทรัพยากรสิ่งแวดลอมใหสดใส สมบูรณ สําหรั บทุกคนในอนาคต มิเชนนั้ นภัย พิบัติโลกจะ เกิดขึ้นอยางแนนอน

- Al Gore. An Inconvenient Truth : The Planetary Emergency of Global Warming and What We Can Do About It. (Pennsylvania: Rodale Press, 2006). - “วันสิ่งแวดลอมโลก” online เขาถึงไดจาก http://www.lib.ru.ac.th/worldenvironmentday.html.


… จิตใจ ... มีคนรูจักทักทายวา ทําไมผูเขียน ไมยอม อธิบายคําวา “คุณธรรม” เสียกอน ผูอานจะไดรูวา คอลัม น นี้ ต องการอะไรจากผู อา น ผูเ ขีย นก็ต อบ ตามตรงวา เรื่องคุณธรรมนั้นเปนเรื่องที่ยากที่สุด ตั้งแตเคยอธิบายเรื่องตางๆ มา ตองใชเวลานานในการ อธิบาย ที่ สําคั ญ เวลาทําจริงๆ ยิ่ งยาก เปนรอยเท า ทวีคูณ คงตองคอยๆ คุยกันไป ทําความเขาใจ และ คอยๆ ทําไป ตามพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให คํ า จํ า กัด ความว า คุ ณ ธรรม หมายถึ ง สภาพ คุ ณ งาม ความดี ห รื อ หน า ที่ อั น พึ ง มี อ ยู ใ นตั ว ทานรอง ศจ.ดร.ทัศนา แขมมณี ไดใหความหมาย ไววา คุณธรรม หมายถึง คุณลักษณะ หรือ สภาวะ ภายในจิ ต ใจของมนุ ษ ย ที่เ ป น ไปในทางที่ ถู ก ตอ ง ดีงาม ซึ่งเปนภาวะนามธรรมอยูในจิตใจ เห็นไหมครับนี่ขนาดลอกมาตามที่ผูรูเขียนไว ยั ง ยากเลย อ า นและทํ า ความเข า ใจก็ ไ ม ง า ยนั ก

ถาผูเขียนเริ่มตนอยางนี้ แลวใครจะอานตอ แมจะรู วาเรื่องนี้ยากมาก แตก็คิดเชิงบวกวาสังคมเราวุนวาย สับสนอยูทุกวันนี้ ทุกฝายสรุปตรงกันวา เพราะวา สังคมมีความบกพรองทางคุณธรรม ถาชวยกันได ก็น า จะช ว ยกัน ผู เ ขีย นก็ คิด วา ผู เ ขี ย นต อ งแกไ ขที่ ตัวผูเขียนเองกอน โดยการเขียนไปปฏิบัติไปดวย ตรงนี้พอสรุปไดวา ที่อยูของคุณธรรม หรือ บานของคุณธรรม คือจิตใจ แลวบานนี้อยูที่ไหนละ พวกเราจะได เ อา การรู จั ก พอ ความซื่ อ ตรง และ ความรับผิดชอบไปใสได จิตใจ เปน “ผล” ของขบวนการทํางานของ สมอง ที่นําเอาความทรงจําตางๆ มาผสมผสานกับ ขอมูลใหมๆ และสภาพแวดลอมที่เปนอยู เกิดเปน ความรูสึก สํานึกขึ้นมาในสถานการณตางๆ ตราบใด ที่สมองยังทํางานเราก็จะมีจิตใจอยูดวยตลอดเวลา จึงมีขอยุติวาคนเราตายเมื่อสมองตายเพราะจิตใจ ก็หายไปดวย หากเขาใจยากไป ดูตัวอยาง รถยนต ก็ ไ ด รถยนต เ คลื่ อ นที่ ไ ด ด ว ยแรงจากเครื่ อ งยนต ผา นเพลาไปยัง ล อ แรงนี้ ไมได มีเ มื่ อ รถยนต จ อด


ดับเครื่องอยู มันเกิดขึ้นเมื่อติดเครื่องยนตเทานั้น การติดเครื่องยนตก็เปนการเอาน้ํามันกับไฟฟามา เผาไหมในลูกสูบ และเกิดแรงขึ้น แรงจะดีมีกําลัง หรือไม ก็ขึ้นอยูกับการเผาไหมนี้แหละ ซึ่งก็จะไป เกี่ยวของกับคุณภาพของน้ํามัน จังหวะการจุดระเบิด และปจจั ย อื่ น ๆ ทํ า ใหม องเห็ น ความสั ม พัน ธ ข อง สิ่ง ตา งๆ กับแรงได นอกจากนี้ แรงที่ไดยั ง เอาไป ใช ง านอื่ น ๆ อี ก เอาไปชาร ต แบตเตอรี่ เอาไปทํ า ความเย็นใหกับแอรรถยนตโดยเรียกชื่อตางๆ กันไป จิตใจก็เชนกัน จิตใจจะดีงาม หรือเต็มไปดวย โลภ โกรธ หลง ก็คือ ผลของการที่สมองไปนําเอาความ ทรงจําตางๆ ที่อยูในหนวยความจํ าของสมองมา ผสมผสานกับเรื่องราวตางๆ ตามสภาพแวดลอม รอบๆ ตั ว เกิ ด เป น ความรู สึ ก หรื อ สํ า นึ ก อย า งใด อย า งหนึ่ ง ในขณะนั้ น จะพบว า คนแต ล ะคนมอง สิ่งใดสิ่งหนึ่งแลว อารมณความรูสึกอาจตางกันได มากบางนอยบางหรือตรงกันขามก็ได เพราะขอมูล ในหนวยความจําของสมองตางกัน คนเราจึงมีจิตใจ ที่ตางกัน เมื่อเปนเชนนี้ หากผูเ ขียนอยากใหคนใน สั ง คมมี จิ ต ใจหรื อ สํ า นึ ก ที่ ดี ก็ ค งต อ งบอกว า เอาเรื่องราวดีๆ ไปใสในหนวยความจําของสมอง กอน เมื่อถึ งเวลาสมองจะทํ างานในเรื่ องนี้ จะได เอาขอมูลดีๆ เหลานั้นมาผสมผสานกันจะไดผลลัพธ ออกมาเปนจิตใจที่ดี จิตใจที่มีคุณธรรม เพราะเหตุ นี้ ทําใหผูเขียนเขาใจไดวา พอ พูดถึงเรื่องคุณธรรม ก็จะนึกถึงเด็กๆ และโรงเรียน เพราะสมองของเด็กๆ ยังพอมีที่วางที่จะใสเรื่องราวดีๆ ไดอีกมาก ทําให นึกถึงประเพณีวัฒนธรรมของเราที่จะหลอหลอม

สิ่ ง ดี ๆ ไว ใ นหน ว ยความจํ า ของคนไทยในอดี ต ที่ ผานมา ทําใหในอดีตเราเปนชาติที่ไดรับคําชมวามี คุณธรรมสูง ตรงนี้จึงเกิดคําถามสําคัญสองคําถาม คือ อะไรที่ทําใหคุณธรรมของคนไทยบางสวนบกพรอง ไป และจะเอาคุณธรรมกลับมาไดอยางไร สําหรับ ผูคนที่ผานวัยเด็กมาแลว พายุที่พัดถลมสังคมไทย จนมีผลกระทบตอ จิตใจของคนไทยก็คือ ระบบทุนนิยมการตลาดที่ขาด คุณธรรม หลักการที่สําคัญของระบบทุนนิยม ก็คือ การผลิ ต สิ น ค า นั้ น ยิ่ ง ผลิ ต มากราคาต อ หน ว ยจะ ลดลง จะขายไดมากขึ้น ผูผลิตจึงผลิตใหมากที่สุด เทาที่จะทําได จึงมีสวนเกินของสินคาเหลือมากมาย ขณะเดียวกันก็เกิดระบบการตลาด ที่จะนําสินคา เหล า นี้ ไ ปสู ผู บ ริ โ ภค โดยมี ส ว นต า งจากการขาย เปนรางวัล การตลาดจึงตองทําใหสมองของคนเรา สรางขอยุติออกมาใหไดวาเขาขาดสิ่งนั้น เพราะคง ไมมีใครไปซื้อของ โดยที่ตัวเองรูสึกวามีเยอะแยะ แลว การทําการตลาดในทุกๆ สินคาเปนการทําให จิ ต ใจผู ค นรู สึ ก ขาดแคลนตลอดเวลา บ า นก็ เ ล็ ก รถยนตก็เกา เสื้อผาก็ลาสมัย มือถือก็เชย นาฬิกา โหลๆ ขาดแคลนทุกเรื่องเพื่อจะไดซื้อสิ่งเหลานั้นมา ข อ มู ล ของการตลาดรู ป แบบต า งๆ ได เข า ไปอยู ในสมองของคนไทยมากขึ้นๆ จิตใจจึงมีแตความ ขาดแคลนคั บ ข อ งใจ ไม รู จั ก พอ นํ า มาซึ่ ง ความ ไม ซื่ อ ตรงและขาดความรั บ ผิ ด ชอบ และนี่ คื อ สวนหนึ่งของสาเหตุที่จิตใจของคนบางสวนบกพรอง เรื่องคุณธรรมโดยไมรูสึกตัว แตเราก็คงจะยกเลิก ระบบเหลานี้ไมได เพราะโลกใบนี้เล็กลงจนทุกคน


เปนครอบครัวเดียวกันแลว ผูเขียนพบกับตัวเองวา ทุกครั้งที่มีคําสั่งใหยายไปทํางานในตําแหนงตางๆ เมื่อไปถึงวันแรกสิ่งที่วางอยูที่โตะทํางานกลับไมใช เอกสารคําสั่งหรือหนาที่ที่ตองปฏิบัติ แตกลับเปน โฆษณาขายรถ ขายบาน และคําขอมีบัตรเครดิต ผู เ ขี ย นเห็ น ใจคนที่ ต อ งทํ า หน า ที่ ข ายสิ่ ง เหล า นี้ เพราะมันเปนอาชีพของเขา ผูเขียนจะตั้งสติคอยๆ เก็บเอกสารไปวางไวมุมใดมุมหนึ่งแลวนึกในใจวา เผลอตัวเมื่อไร เสร็จแนๆ ตั้ ง แต เ ราตื่ น นอนตอนเช า เป ด วิ ท ยุ ห รื อ โทรทั ศน เราก็ จ ะเจอโฆษณากระตุน ความอยาก อย า งใดอย า งหนึ่ ง เราออกจากบ า นเราก็ จ ะพบ ปายโฆษณา กระตุนความอยากอีกหลายๆ อยาง เปดหนังสือพิมพอานก็จะเจอตอไปอีก คุยกับเพื่อนฝูง ก็เอาความอยากทั้งหลายมาแลกเปลี่ยนกัน ขมกัน เปนวงรอบตั้งแตเชาจรดเย็น สังคมจึงเต็มไปดวย ผูคนที่รูสึกวาตนเองขาดแคลนหลายสิ่งหลายอยาง จึงพยายามดิ้นรนหาทางใหไดสิ่งเหลานั้นมา ผูขาย ก็จะนําระบบเงินผอน ระบบการกูเงินตางๆ มาเสนอ ให เพื่อใหการขายเกิดขึ้นให ได สุ ดทายคนทั่วไปก็ ธรรมชาติ

เปนหนี้กันมากมาย และความอยากก็ยังมีอยูทุกวัน เหมือนเดิม สถานการณปจจุบันนี้ใครมาบอกวาจะ ใหอะไร จึงเปนเสมือนพระเจามาโปรดผูที่หิวโหย การมี ส ติ เป น เรื่ อ งสํ า คั ญ ในช ว งเวลานี้ โดยเฉพาะผูใหญที่เมาการบริโภค สติที่จะตอสูกับ ขอมูลการตลาดไมใหไปสูสมองหรือเก็บไวในสมอง สติ ที่จ ะพิ จ ารณาสิ่ ง ตา งๆ ตามจริง สติที่จ ะทํา ให สมองวางบาง เพื่อคัดกรองสิ่งดีๆ ไปเก็บไว เพื่อเรา จะไดมีจิตใจที่ดีงามไดตามสมควรแกอัตภาพ เมื่อ รวมกั น หลายๆ คน จะได เ ป น สั ง คมที่ มี คุ ณ ธรรม เหมือนเดิม แมเปนเรื่องที่ยาก แตถาแตละคนดูแล ตัวเอง ตั้งสติดีๆ ก็คงเปนเรื่องที่เราสามารถทําได ...


พล.อ.อ.เปรม ติณสูลานนท‹ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ พรˆอมดˆวย นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ใหˆเกียรติร‡วมงานเลี้ยงเนื่องใน วันกองทัพอากาศ ๙ เม.ย. โดยมี พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ., ผบ.เหล‡าทัพ, ผบ.ตร. และ น.ผูƒใหญ‡ ตลอดจนแขกผูˆมีเกียรติร‡วมงาน ณ หอประชุม ทอ. (อาคาร ๘๐ ป)

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีหมุนรางวัล สลากกาชาดกองทัพอากาศ ประจำปี ๒๕๕๔ ณ เวทีรˆานกาชาด บริเวณสนามเสือป่า

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีตˆอนรับ เฮลิคอปเตอร‹พระราชพาหนะ เฮลิคอปเตอร‹แบบที่ ๑๐ (S-92A) ทั้งสามเครื่อง ณ ฝูงบิน ๖๐๑ บน.๖ ดอนเมือง

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เยี่ยมชมเครื่องบินจำลองที่อยู‡ ระหว‡างการสรˆางที่ กองโรงงาน ขส.ทอ. โดยมี พล.อ.อ.ชาญณรงค‹ อินทรสมพันธ‹, พล.อ.ท.วิทยา แกˆววัฒนะ และ พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ พรˆอมดˆวย น.ผูƒใหญ‡ ขส.ทอ.ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีประกาศ กตัญูบูชาพระคุณครูอาจารย‹ที่ไดˆประสิทธิ์ประสาทความรูˆ ตั้งแต‡อดีตถึงปัจจุบัน ใหˆแก‡ผูˆที่สำเร็จการศึกษาจาก รร.นอ. ไดˆแสดงความกตัญญูกตเวทิตา ณ อาคารรณนภากาศ รร.นอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีประดับ เครื่องหมายยศ ว‡าที่เรืออากาศตรี ใหˆแก‡นักเรียนนายเรืออากาศ รุ‡นที่ ๕๕ ที่สำเร็จการศึกษาประจำปี ๒๕๕๓ ณ อาคารรณนภากาศ รร.นอ.


พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง เสธ.ทอ. เป็นประธานในพิธีการประชุม ทางวิชาการ เรื่อง “Future Warfare การสงครามแห‡งอนาคต” ณ หˆองประชุม รร.สธ.ทอ.ยศ.ทอ. โดยมี พล.อ.ต.ชนนนาถ เทพลิบ ผอ.ศกอ. เป็นผูˆกล‡าวรายงาน

พล.อ.อ.คิม อึน กี อดีต ผบ.ทอ.กล.ต. และภริยา เลี้ยงรับรอง น.อ.ศิริพงษ์ สุภาพร และภริยา ในโอกาสรับตำแหน‡ง ผชท.ทอ. ไทย/โซล ที่โรงแรม Lotte กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

ขˆาราชการสำนักงานที่ปรึกษาพิเศษกองทัพอากาศ รดน้ำขอพร จาก พล.อ.อ.พิธพร กลิ่นเฟื่อง ปธ.คปษ.ทอ. เนื่องในเทศกาล วันสงกรานต‹ ณ สน.ปษ.ทอ.

พล.อ.อ.ปรีชัย หาญเจนลักษณ‹ หน.คณะ ฝสธ.ประจำ ผบช. ในฐานะ รองประธานกรรมการอำนวยการโครงการปรับวางที่ตั้งหน‡วยงาน กองทัพอากาศ พรˆอมคณะฯ สำรวจพื้นที่ในการก‡อสรˆางสนามบินมวกเหล็ก ตามโครงการปรับวางที่ตั้งหน‡วยงานกองทัพอากาศ ณ อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี

พล.อ.อ.วินัย เปล‡งวิทยา ผบ.คปอ. นำขˆาราชการ ลูกจˆาง และ พนักงานราชการ ร‡วมประกอบพิธีเนื่องใน “วันคลˆายวันถึงแก‡ อนิจกรรมจอมพลอากาศเฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร” ประจำปี ๕๔ ณ ลานอนุสาวรีย‹จอมพลอากาศเฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร

พล.ท.สุรพันธ‹ วงศ‹ไทย จก.ยก.ทหาร เป็นประธานในพิธีเปิด การฝึกร‡วม/ผสมไทย-มาเลเซีย โดยมี น.อ.วิฑูรย‹ ตรีพรม ผอ.กปพ.ยก.ทอ. ไดˆนำคณะฯ เขˆาร‡วมการฝึกในส‡วนของกองทัพ อากาศ ณ ศูนย‹การทหารราบ


พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. พรˆอมคณะฯ ตรวจเยี่ยม การฝึกภาคสนาม ของ นทน.หลักสูตรนายทหารชั้นผูˆบังคับหมวด รุ‡นที่ ๖๖ โดยมี น.อ.วชิระ เริงฤทธิ์ ผอ.รร.นม.ยศ.ทอ. ใหˆการ ตˆอนรับและนำเยี่ยมชมการฝึก ณ พื้นที่การฝึก จ.ลพบุรี

พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธี ปิดการศึกษาหลักสูตรเจˆาหนˆาที่การศึกษาและการฝึก รุ‡นที่ ๕ ณ รร.คท.ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. เป็นประธานในพิธี อ‡านสาร ผบ.ทอ. เนื่องในวันกองทัพอากาศ ๙ เม.ย. ใหˆแก‡ขˆาราชการ ลูกจˆาง และพนักงานราชการ อย. ณ หˆองประชุม อย.(๒)

พล.อ.ท.เมธา สังขวิจิตร จก.สพ.ทอ. เป็นประธานในพิธีมอบ เหรียญรางวัลนักกีฬายิงปืน ทอ. ประจำปี ๕๔ ณ หˆองพิธีการ สพ.ทอ.

พล.อ.ท.จำลอง เขมะประภา จก.ชอ. ส‡งมอบหนˆาที่และการ บังคับบัญชา ใหˆแก‡ พล.อ.ต.อานนท‹ วิรัชกุล จก.ชอ. คนใหม‡ ณ สมส.ทอ.บางซื่อ

พล.อ.ท.อานนท‹ วิรัชกุล จก.ชอ. พรˆอมดˆวยขˆาราชการ ลูกจˆาง และพนักงานราชการ ชอ. ร‡วมทำบุญ ตักบาตร เนื่องในวัน กองทัพอากาศ ๙ เม.ย. ณ หนˆาตึก บก.ชอ.


พล.อ.ท.เฉลิม ตรีเพ็ชร ผอ.ศวอ.ทอ. และ พล.ท.เรืองปัญญา โคปาละสุ ต จก.วท.กห. ตรวจเยี ่ ย มกิ จ การ บน.๕ โดยมี น.อ.อาจณรงค‹ ตันสุวรรณรัตน‹ ผบ.บน.๕ ใหˆการตˆอนรับ ณ บน.๕

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. เป็นประธานในพิธีเลื่อนชั้น การศึกษาและประดับเครื่องหมายนักเรียนบังคับบัญชา และมอบโล‡ รางวัลเรียนดี ใหˆแก‡ นนอ.ชั้นปีที่ ๑-๔ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๔ ณ หอประชุม รร.นอ.

พล.อ.ต.ชินชาต บุญคง จก.สบ.ทอ. เป�นประธานในพิธีเปÛด การศึกษาหลักสูตรเสมียนสารบรรณ รุ‡นที่ ๑๑ ณ หˆองประชุม บก.ทอ.๑

พล.อ.ต.ชินชาต บุญคง จก.สบ.ทอ. นำขˆาราชการ ลูกจˆาง และ พนักงานราชการ จัดกิจกรรม “อาบน้ำเครื่องบิน” ณ พิพิธภัณฑ‹ ทอ.

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธีตรวจความ พรˆอมและปล‡อยแถวชุดปฏิบัติการร‡วม ทหาร-ตำรวจ ครั้งที่ ๒/๕๔ เพื่อกวาดลˆางอาชญากรรม ยาเสพติด และการกระทำผิดกฎหมาย ทุกประเภท ในพื้นที่ ทอ. ณ บริเวณลานอเนกประสงค‹ สมส.ทอ. ทุ‡งสีกัน

พล.อ.ต.สมพล พูนทวีธรรม จก.จร.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม การปฏิบัติราชการของ ขส.ทอ. โดยมี พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุม ขส.ทอ.


พล.อ.ต.ศิวเกียรติ์ ชเยมะ ผบ.รร.การบิน เป็นผูˆแทน ผบ.ทอ. วางพวงมาลาเพื่อรำลึกถึงทหารที่เสียชีวิตในวัน ANZAC DAY ณ สุสานสัมพันธมิตร จ.กาญจนบุรี

พล.อ.ต.ชนนนาถ เทพลิบ ผอ.ศกอ. เป็นประธานในพิธีทำบุญ และบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เนื่องในวันคลˆายวันสถาปนา ศกอ. ครบรอบปีที่ ๑๖ ณ หˆองประชุม ศกอ.

พล.อ.ต.คเชนท‹ โสมะนันทน‹ ผอ.สธน.ทอ. เป็นประธานในพิธี ทำบุญเนื่องในวันคลˆายวันสถาปนา สธน.ทอ.

พล.อ.ต.ศิวเกียรติ์ ชเยมะ ผบ.รร.การบิน และ พล.อ.ต.มานิตย‹ ศัตรูลี้ ผอ.รพ.จันทรุเบกษา พอ. ร‡วมกับโครงการ จ.นครปฐม พบประชาชน โดยมี นายชิดพงษ‹ ฤทธิประศาสน‹ ผวจ.นครปฐม เป็นประธาน ณ อบต.หˆวยขวาง อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม

พล.อ.ต.นิวัต เนื้อนุ‡ม ผอ.สนภ.ทอ. เป็นประธานในพิธีทำบุญ เนื่องในวันคลˆายวันสถาปนา สนภ.ทอ.

พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธี อ‡านสาร ผบ.ทอ. และการพัฒนาหน‡วย เนื่องในวันกองทัพอากาศ ๙ เม.ย. ณ อาคาร กพน.ขส.ทอ.


พล.อ.ต.อึ้ง ซีเม็ง ผบ.ทอ.สิงคโปร‹ และคณะฯ ตรวจเยี่ยม หน‡วยบินแยก ทอ.สิงคโปร‹ โดยมี น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ ณ บน.๒

พล.อ.ต.ม.ล.ชนากร วรวรรณ รอง จก.สอ.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส‹ บน.๔๖ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.สุทธิพงษ‹ อินทรียงค‹ รอง จก.ยก.ทอ./ผอ.กกฝ.ฯ และ Sqn.Ldr. Jason Easthope หน.คณะฯ ส‡วนกองทัพอากาศออสเตรเลีย เขˆาร‡วมประชุมวางแผนขั้นตˆน (IPC) ในการฝึก THAI BOOMERANG II ณ บน.๑ จ.นครราชสีมา

ดร.ปรีชา เรืองจันทร‹ ผวจ.พิษณุโลก เป็นประธานในพิธีเปิด ปฏิบัติการฝนหลวงภาคเหนือ หน‡วยปฏิบัติการฝนหลวง จ.พิษณุโลก โดยมี น.อ.ฐากูร นาครทรรพ รอง ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ ศูนย‹ปฏิบัติการฝนหลวง บน.๔๖

พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. เป็นประธาน การฝึกซˆอมการปฏิบัติพบวัตถุตˆองสงสัย ในกรณีเหตุฉุกเฉินที่ อาจเกิดขึ้นโดยไม‡คาดคิด ณ สนามฟุตบอล รพ.ฯ

น.อ.ถาวรวัฒน‹ จันทนาคม รอง จก.ยก.ทอ. ในฐานะ หัวหนˆาคณะกรรมการ จัดการฝึกยิงอาวุธนำวิถีอากาศสู‡อากาศ AIM-9M ประจำปี ๒๕๕๔ โดยมี ฝูงบินที่เขˆาร‡วมการฝึก ๗ ฝูงบิน ประกอบดˆวย F-16 จำนวน ๓ ฝูงบิน, F-5 จำนวน ๒ ฝูงบิน และ L-39 จำนวน ๒ ฝูงบิน ณ ฝูงบิน ๑๐๖ (อู‡ตะเภา) จ.ชลบุรี


น.อ.อนุรัตน‹ ปัญญาชนวัฒน‹ รอง ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธี เปิดการอบรมการรักษาสถานที่เกิดเหตุและสืบสวนคดีอาญา ณ หˆองประชุม รˆอยจราจร พัน.สห.ทอ. กรม สห.ทอ.สน.ผบ.ดม.

น.อ.คงศักดิ์ จันทรโสภา ผบ.บน.๑ เป็นประธานในพิธีเปิด “โครงการสรˆางจิตสำนึกรักชาติและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย‹” โดยมี น.อ.บวงสรวง บุนนาค ราชองครักษ‹ประจำ เป็นผูˆบรรยาย พิเศษ ณ หอประชุมจันทรุเบกษา บน.๑

น.อ.ชานนท‹ มุ‡งธัญญา ผบ.บน.๔ เป็นประธานในพิธีปล‡อยขบวน รถยนต‹บรรทุกน้ำเพื่อช‡วยเหลือราษฎรผูˆประสบภัยแลˆงในพื้นที่ จ.นครสวรรค‹ และพื้นที่ใกลˆเคียง ณ หมู‡ประปา หมวดไฟฟƒา-ประปา ผชย.บน.๔

น.อ.อนุชิต แกˆวประสพ เสธ.สก.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการสวัสดิการ บน.๕ โดยมี น.อ.อาจณรงค‹ ตันสุวรรณรัตน‹ ผบ.บน.๕ ใหˆการตˆอนรับ ณ บน.๕

น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ และ ร.ต.ท.หญิง สุจิตรา กีรานนท‹ ประธานชมรมแม‡บˆานทหารอากาศ บน.๒ นำขˆาราชการ ลูกจˆาง พนักงาน ราชการทหารกองประจำการ และคณะชมรมแม‡บˆาน ปฏิบัติงานช‡วยเหลือ ประชาชนและมอบเงินสนับสนุน จำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท ณ ร.ร.วัดตาล เจ็ดช‡อ อ.เมือง จ.อ‡างทอง

น.อ.วิศรุต สุวรรณเนตร ผอ.กพส.กพ.ทอ. เป็นประธานในพิธี จัดใหˆมีการบรรยายเกี่ยวกับกองทุนบำเหน็จบำนาญขˆาราชการ ณ หอประชุมกานตรัตน‹


น.อ.อรณพ เมนะรุจิ รอง จก.กร.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ‹ บน.๕๖ โดยมี น.อ.สุจินดา สุมามาลย‹ ผบ.บน.๕๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ ฝูงบิน ๕๖๑

น.อ.นภาเดช ธูปะเตมีย‹ ผบ.บน.๒๓ ประธานในพิธีสรงน้ำ พระพุทธรูป ปล‡อยปลา รดน้ำดำหัว อวยพรผูˆบังคับบัญชา เนื่องใน วันสงกรานต‹ ณ บริเวณ สมส.ทอ.บน.๒๓

น.อ.สหกรม นาคประดิษฐ‹ เสธ.บน.๔๑ นำขˆาราชการชั้นสัญญาบัตร เขˆาร‡วมพิธีวางพวงมาลาวันคลˆายวันสวรรคต สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประจำปี ๒๕๕๔ ณ บริเวณพระสถูปเจดีย‹สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ต.เมืองงาย อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม‡

น.อ.สฤษดิ์พร สุนทรกิจ ผบ.บน.๗ และ คุณชรินทร‹ทิพย‹ สุนทรกิจ ประธานชมรมแม‡บˆานทหารอากาศ บน.๗ ออกใหˆการช‡วยเหลือ และมอบถุงยังชีพแก‡ผูˆประสบอุทกภัยน้ำท‡วม ณ บริเวณพื้นที่ อ.พุนพิน จ.สุราษฎร‹ธานี

น.อ.ศิริพล ศิริทรัพย‹ ผอ.กนผ.กบ.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการดˆานส‡งกำลังบำรุง ฝูงบิน ๒๐๖ โดยมี น.อ.ชิตชัย ไกรคง ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.ปัญญา อารีย‹มิตร รอง ผบ.บน.๕๖ เป็นประธานในพิธีอำลา การปฏิบัติหนˆาที่ราชการของทหารกองประจำการ รุ‡น ๒๕๕๒ ผลัดที่ ๑ และทหารกองประจำการที่ปลดตามคุณวุฒิ รุ‡น ๒๕๕๓ ผลัดที่ ๑ และ ผลัดที่ ๒ ณ สนามฝึก พัน อย. บน.๕๖




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.