หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน มีนาคม 2554

Page 1



“...การทํางานให้สําเร็จขึ้นอยู่กับความสามารถสองอย่างเป็นสําคัญ คือสามารถในการใช้วิชาความรู้อย่างหนึ่ง สามารถในการประสานสัมพันธ์ กับผู้อื่นอีกอย่างหนึ่ง ทั้งสองประการนี้ต้องดําเนินคู่กันไป และจําเป็นต้อง กระทํ าด้วยความสุจริตกายสุจ ริตใจ ด้วยความคิดความเห็นที่เ ป็นอิส ระ ปราศจากอคติ และด้วยความถูกต้องตามเหตุตามผลด้วย จึงจะช่วยให้งาน บรรลุจุดหมายและประโยชน์ที่พึงประสงค์โดยครบถ้วนแท้จริง...” พระราชทานแกขาราชการพลเรือน เนื่องในวันขาราชการพลเรือน ๑ เมษายน ๒๕๒๘


1

ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำหนังสือข่าวทหารอากาศ

หนังสือข่าวทหารอากาศ

เจ้าของ กองทัพอากาศ

ทีป่ รึกษา พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบตุ ร

ผูอ้ ำนวยการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของ กองทัพอากาศ เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรม ข่ า วทหารอากาศ มี น าวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็ น บรรณาธิ ก ารคนแรก ดำเนิ น การโดยทุ น ของข้ า ราชการ ทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยู่ในความ อำนวยการของกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ตามคำสั ่ ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ มีเจ้ากรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เป็นผูอ้ ำนวยการ ตามคำสัง่ ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๙๙ ลงวันที่ ๗ ม.ค.๒๔๙๙ ภารกิจ

รองผู้อำนวยการ

ดำเนิ น กิ จ การหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ให้ เ ป็ น ไป ตามนโยบายของกองทั พ อากาศ มี ผ ู ้ อ ำนวยการหนั ง สื อ ข่ า ว ทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ต.ยงยุทธ หาบุบผา เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.ประเสริฐ ช่างประเสริฐ รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ

วัตถุประสงค์/นโยบายกองทัพ ๑. เพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ นกิจการทัว่ ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อันจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ๓. เพือ่ เผยแพร่กจิ การกองทัพอากาศ

น.อ.สหัสชัย มาระเนตร น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี

กองบรรณาธิการ

น.ท.พินจิ นุชน้อมบุญ

นโยบายการดำเนินงานในปัจจุบัน ๑. เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น แสดงความคิดเห็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรือ่ งทีน่ ำลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ * ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ ทีก่ ำหนด * ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อความมัน่ คงของชาติ บุคคล หรือส่วนรวม * ความยาวของเรือ่ งไม่ควรเกิน ๕ ตอน แต่ละตอน ไม่ควรเกิน ๕ หน้า * ต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ กรรมการพิจารณาเรือ่ งของสำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ

นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์

กำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

บรรณาธิการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง พัชรา ภัทรสุวรรณ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง

ประจำกองบรรณาธิการ น.ท.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ น.ท.หญิง วรรณิภา ยีป่ ระชา พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

น.ท.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ต.สินธพ ประดับญาติ

กองจัดการ น.ท.สมพร สิงห์โห ร.ท.หญิง สุมาลี สายะนันท์ พ.อ.อ.ประจวบ วีระชนม์ พ.อ.อ.สมศักดิ์ เพียรประเสริฐ จ.อ.หญิง เศาวณี พ่านเผือก สำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์กองทัพอากาศ ดอนเมือง แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร.๐-๒๕๓๔-๒๙๔๓ , ๐-๒๕๓๔-๕๑๔๘

ค่าสมาชิกภายนอก ปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สัง่ จ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในหนังสือฉบับนีไ้ ม่มส ี ว่ นผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด

ออกแบบปก : น.ต.สินธพ ประดับญาติ

http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com


1

ปีท่ี ๗๑ ฉบับที่ ๓ เดือน มีนาคม ๒๕๕๔

สารบัญ บทบรรณาธิการ

๕ ธ สถิตในใจประชา ...ตามรอย ๘ ปฏิบตั กิ ารของทหารไทยในงานพระราชสงคราม ๑๑ ๑๕ ๑๙ ๒๓ ๒๗ ๓๐ ๓๔ ๔๑ ๔๓ ๔๙

ณ ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ.๒๔๖๑ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร การฝึกบินกับเครือ่ งบิน Gripen ณ ราชอาณาจักรสวีเดน ...ศิษย์ นนอ. เครือ่ งบินโจมตีใบพัดในอนาคต ของกองทัพอากาศสหรัฐฯ ...พ.อ.อ.จำนงค์ ศรีโพธิ์ ประสบการณ์การบินกับ F-15 Eagle ...น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ ๒ มีนาคม ๒๕๕๔ กรมสวัสดิการทหารอากาศ ครบ ๕๗ ปี ...ปชส.สก.ทอ. กองบิน ๔๖ ...ปชส.บน.๔๖ การรุกและการตัง้ รับ ...น.อ.ประยุทธ เปี่ยมสุวรรณ์ ทันสมัยกับภัยคุกคามจาก เคมี, ชีวะ, รังสี และนิวเคลียร์ ...เฟือ่ งลดา วัตถุมงคล ของชาว ทอ. “ศิษย์ทหารอากาศ” ...น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา ย้อนรอยมรดกโลก ปราสาทพระวิหาร “โบราณสถานเจ้าปัญหาแห่งความขัดแย้ง” ...น.อ.จิโรตม์ มณีรตั น์ การประกันคุณภาพการศึกษาของกองทัพ รอบ ๓ ...น.ท.วิพล สุขวิลยั

๑๐๐

๕๔ 2011 กับเทคโนโลยีดา้ น ICT ๕๙ ๖๕ ๖๘ ๗๔ ๗๙ ๘๑ ๘๖ ๙๐ ๙๔ ๙๗ ๙๙ ๑๐๒ ๑๐๕

...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์ ฮุนเซนผู้ทรนง ...Pharoah CROSSWORD ...อ.วารุณี ครูภาษาพาที : แสวงบุญ ค้นหาธรรม (ตามรอยบาทพระศาสดา) ตอน ๕ ...Sasha ภาษาไทยด้วยใจรัก “สือ่ ทีไ่ ม่สอ่ื ” ...นวีร์ มุมกฎหมาย “การยืน่ คำร้อง ความผิดเกีย่ วกับเพศ” ...น.ท.พงศธร สัตย์เจริญ ตำนานโรคร้อยเอ็ด : การซือ้ สิทธิข์ ายเสียง ...พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข Test Tip : Part 8 ...Runy เรื่องเล่าจากพม่า : ทำไมหยกพม่าถึงได้แพงหนักหนา ...มาดามจาง พูดจาประสาหมอพัตร “อินซูลิน ยาชุบชีวิต” ...หมอพัตร เวลาการ์ตนู ...มิสกรีน มุมสุขภาพ “ข้อเข่าเสือ่ ม” ...นายห่วงใย อาศรมสี่ ...น.อ.ปิยะพันธ์ ขันคม ในรัว้ สีเทา


สวัสดี สมาชิกข่าวทหารอากาศทุกท่าน พ.ศ.๒๕๓๕ ทางราชการได้กําหนดให้วันที่ ๓๑ มีนาคมของทุกปี เป็น “วันที่ระลึกมหาเจษฎาบดินทร์ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว” เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ แห่ง พระบรมราชจักรีวงศ์ ที่ได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจทํานุบํารุงประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า ทั้งทางด้าน ความมั่นคง ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทางด้านเศรษฐกิจ ซึ่งพระองค์ท่านได้รับการ ถวายพระราชสมัญญานามว่า “พระบิดาแห่งการค้าไทย” ๒๗ มีนาคม เป็นวันที่ระลึกกองทัพอากาศ ในโอกาสนี้ พวกเราชาวกองทัพอากาศทุกคน ขอแสดง ความยินดีในความสําเร็จและความเจริญก้าวหน้าของกองทัพ ที่ได้ฟันฝ่าอุปสรรคและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว มีศักยภาพไม่เป็นรองประเทศใดในภูมิภาคนี้ รวมทั้งจะปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มกําลังความสามารถ สนองนโยบาย ผู้บัญชาการทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๕๔ ให้สัมฤทธิ์ผล ในการสร้างพื้นฐานและความพร้อมของ “กองทัพอากาศ ที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Air Forces)” อันจะนําไปสู่วิสัยทัศน์ “กองทัพอากาศชัน้ นํา ในภูมิภาค (One of The Best Air Forces in ASEAN)” โดยร่วมกันประสานพลังความคิด พลังกาย พลังสามัคคี เพื่อที่จะรวมกันนําพากองทัพอากาศของเราไปสู่วิสัยทัศน์ดังกล่าว ฉบับเดือนมีนาคมนี้ ได้เพิ่มคอลัมน์ประจําขึ้นอีกหนึ่งคอลัมน์ คือ คอลัมน์ “Test Tip” โดย ศภษ.ยศ.ทอ. เพื่อเป็นการตอบสนองตามนโยบาย ผบ.ทอ. ด้านกําลังพล ให้พัฒนาและส่งเสริมกําลังพลทุกระดับให้มีทักษะ ด้านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐานที่กองทัพอากาศกําหนด จึงขอเชิญชวนข้าราชการกองทัพอากาศทุกท่าน ติดตามคอลัมน์ Test Tip ดังกล่าว เพื่อเป็นการเตรียมตัวก่อนเข้ารับการทดสอบภาษาอังกฤษ ต่อไป ภาพจากปก.....ในฉบับนี้อ่านรายละเอียดได้จาก...เรื่อง ประสบการณ์การบินกับ F-15 Eagle ถึงแม้จะเป็น เครื่องบินรบที่มีอายุการใช้งานมาอย่างยาวนาน แต่ก็นับว่าเป็นเครื่องบินรบที่ทรงอานุภาพและเป็นเครื่องบินรบ ที่ดีที่สุดลําหนึ่งของโลก....เรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาของกองทัพ รอบ ๓ สะท้อนให้เห็นถึงความจําเป็น ของหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ต้องดําเนินการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายในกองทัพ ให้สอดคล้องตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ และ นอกจากนี้ ยังมีเรื่องประจําฉบับที่น่าสนใจอีกมากมาย เชิญพลิกอ่าน บรรณาธิการ


ตามรอย

หม อมเจ า การวิก จัก รพัน ธ ได ท รงนิพ นธไว ใ นสารคดี เรื่ อ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว กั บ ศิ ล ปะการวาดภาพและ ถายภาพ วา “ภาพฝพระหัตถที่ทรงเขียน สวยประณีต และเหมือนของ จริ ง ก็ มี การวาดเขี ย นแบบนี้ ก็ เ หมื อ นกั บ การใช ร าชาศั พ ท แ บบ สมบูรณและนิ่มนวลนั่นเอง ไมแรงพอสําหรับการถายความรูสึกของ ศิลปนไวบนผืนผาใบ ตอมาจึงทรงใชองคประกอบแปลก ๆ สีแรง เสนกลาไปทางดานนามธรรม แตยังแฝงความรูสึกและเครื่องหมาย บางประการใหดูออกวาทรงหมายถึงอะไร ภาพเหลานี้มักเปนภาพ ของความรูสึก ความคิด หรือการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง เชน ภาพ “ยุ แ หย ” จะมี สี เ หลื อ งแดงสดเป น เปลวไฟคล า ยสั ต ว ป ระหลาด ไมมีรูป แตจะเห็นหนาเขียว ตาดํามัน ปากแดงยิ้มพอใจในการกระทําของตน เชนเดียวกับภาพบุคลิกซอน วัฏฏะ และมือแดง... ภาพสีน้ํามันของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวชี้ใหเห็นวา ทรงสังเกตสิ่งแวดลอมโดยละเอียด และ ทรงติดตามเหตุการณรอบพระองคทั้งทั่วพระราชอาณาจักร ทั้งการเปนไปรอบโลกโดยละเอียด ทรงคิด รอบคอบและลึกซึ้ง สีที่ทรงใชแสดงวา ทรงมีความรูสึกตรงและแรง แตทรงบังคับหรือระงับไวไดหมด เพราะ สีแรง ๆ นี้จะมีเสนเทาหรือดํามาจํากัดขอบเขตไวเปนสวนมาก...”


นักเขียนสารคดีตางประเทศ จอหน ฮอสกิน ไดเขียนสารคดี เรื่ อ ง “พระเจ า อยู หั ว ศิ ล ป น เอก” ไว ใ นนิ ต ยสารสวั ส ดี เมื่ อ เดื อ น ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๐ กลาวถึงความสนพระทัยในงานจิตรกรรมของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัววา “เริ่มมาตั้งแตเยาวพระชันษา ครั้งที่ ประทับอยูที่ประเทศสวิตเซอรแลนด โดยทรงศึกษาดวยพระองคเอง เปนสวนใหญ วิธีการคือเสด็จพระราชดําเนินไปพบศิลปนตาง ๆ เพื่อ ไปศึกษาภาพและสไตลการเขียนของแตละคน รวมทั้งทรงซื้อหนังสือ วาดวยเรื่องภาพเขียนมามาก” พระบาทสมเด็จพระเจาอยู หัวไดทรงเริ่มงานเขียนภาพอยา ง จริงจัง หลังจากที่ไดเขาประทับที่พระตําหนักจิตรลดา และไดทรงเริ่มจัด แสดงงานภาพเขียนของขาราชบริพารที่เปนจิตรกรสมัครเลนและจิตรกร ดั ง ๆ ขึ้ น พระองค ไ ด พ ระราชทานภาพเขี ย นฝ พ ระหั ต ถ อ อกแสดง นิ ท รรศการในงานศิ ล ปกรรมแห ง ชาติ ตั้ ง แต ป พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๐๔ เปนตนมา จนถึงป ๒๕๑๐ อาจารยทวี นันทขวาง แหงมหาวิทยาลัย ศิ ล ปากร จิ ต รกรมื อ เอกในขณะนั้ น ก็ ยั ง ยอมรั บ ว า พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยูหั ว ทรงมี ทั ก ษะในการใช พูกั น ทรงใชสีที่ประสานกันอย าง สวยงามถูกตองตามทฤษฎี เชน ภาพเหมือนสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถฯ และสมเด็จพระเจาลูกเธอ ภาพเขี ย นฝ พ ระหั ต ถ ที่ เ ป ด แสดงให ป ระชาชนได ช ม ในงานจัดงานศิลปกรรมแหงชาติ แ ต ล ะ ป พิ สู จ น ใ ห เ ห็ น ถึ ง พระอัจฉริยภาพที่โดดเดนในดาน ภาพเขียนสีน้ํามัน ที่แมแตจิตรกร ฝมือเอกยังตองถวายการยกยอง อาจารย ท วี นั น ทขว า ง กลาวถึงเรื่องนี้วา “ศิลปนทั้งหลาย ต า งภาคภู มิ ใ จเป น ล น พ น ที่ ไ ด มี โ อกาสร ว มแสดงงานกั บ ภาพ


ฝพระหัตถ และไดรับรางวัลพระราชทานจากพระหัตถ กลาวไดวา พระองคมีสวนชวยสงเสริมศิลปนใหมี กําลังใจสรางสรรคงานศิลปกรรมของชาติไดอยางมากมายหาที่เปรียบมิได

พระราชดํารัสในเรื่องเกีย่ วกับศิลปะนี้ มีตอนหนึ่งความวา

“การสรางงานศิลปะทุกประเภท นอกจากจะตองใชความฝกหัดชัดเจนในทาง ปฏิบัติ ประกอบกับวิธีการที่ดีอยางเหมาะสมแลว ศิลปนจําตองมีความจริงและบริสุทธิ์ใจ ในงานที่ทําดวย จึงจะไดผลงานมีคาควรแกการยอมรับนับถือ เพราะความจริงที่มีอยู อยางสมบูรณมั่นคงนั้น เปนเหตุสําคัญที่ทําใหสามารถนําเอาคุณลักษณะพิเศษภายในตัว ออกมาแสดงใหปรากฏไดโดยเดนชัด เมื่อบรรดาศิลปนสรางสรรคงานของตนดวยความ บริสุทธิ์ใจแลว ผลงานทั้งหมดก็จะประกอบเปนนิมิตหมายอันงดงาม แสดงใหเห็นถึง ชีวิตจิตใจของชาติและประชาชนคนไทยใหประจักษแกชาวโลกไดแพรหลายกวางขวาง ออกไป” (ขอมูล : สํานักงานเสริมสรางเอกลักษณของชาติ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี)


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) “เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

(ตอจากฉบับที่แลว) โรงเรียนการตรวจการ ตําบลชาเปลล ลา เรน(ยุทธบริเวณ) โรงเรียนตรวจการ, ตั้งอยูทางทิศใตของ หมูบานลา ชาเปลล ลา เรน (La Chapelle la reine) ในจังหวัดฟองเตนโบล (Fontainebleau) มณฑล เซนเอต มารน (Seine et Marne). โรงเรียนนี้สําหรับ ฝกหัดผูที่จะเปนผูตรวจการ, ตรวจกระสุนตก, ทําการ ถายรูปจากเครื่องบิน. บุคคลที่จะเลาเรียนในโรงเรียนนี้ ได ตามธรรมดาตองเปนชั้นนายทหารทั้งสิ้น, คือเลือก มาจากนายทหารฝายเสนาธิการ, นายทหารปนใหญ, นายทหารชาง, เหลานี้เปนตน. สําหรับทหารไทย ไดเลือกคัดนายทหารที่คลายคลึงกับที่กลาวแลว สงมา เรียนที่โรงเรียนนี้เหมือนกัน, อยูในความบังคับบัญชา ของนายรอยโท เหม ยศธร.

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม ในขณะนั้นนายพันตรี เบลส (Commandant Blaise) เปนผูบังคับการโรงเรียน, สวนผูรับผิดชอบ ดู แลการศึ กษาเล าเรี ยนโดยเฉภาะนั้ นเปนน าที่ ของ นายรอยโท โกดีโน (Lieutenant Godino). นายทหารไทย ไปถึงโรงเรียนนี้เมื่อวันที่ 30 มกราคม,พ.ศ. 2461, สําเร็จ การศึกษาและเลาเรียนวันที่ 31 มีนาคม,พ.ศ. 2461. การศึกษาและการฝกหัดตรวจการ มีการเรียนการตรวจการทั้งทางยุทธศาสตร และยุทธวิธี, การใชสัญญาตาง ๆ, การใชปนกลลุยส (Lewis), ตลอดจนการตรวจกระสุนตกและการ ถ า ยรู ป . การฝ ก หั ด ดํ า เนิ น ตามการเล า เรี ย นเพื่ อ ทําความชํานาญ; นับวาเปนอันจบบริบูรณตาม หลักสูตรนี้ เปนเวลา 1 เดือนเต็ม นับแตวันเริ่มหัด และเลาเรียน. ครั้นเมื่อนายพันตรี อูรดรี (Commandant Hourdy) มาเปนผูบังคับการโรงเรียนนี้แทนผูบังคับการ


คนเกา, ผูรับผิดชอบในการศึกษาและเลาเรียนก็ เปลี่ยนเปนนายรอยโท คลาเว (Lieutenant Clave), เมื่อการฝกหัดเลาเรียนทางตรวจการสําเร็จบริบูรณ แลว, ไดขอใหเรียนการถายรูปจากเครื่องบินให ชํานาญยิ่งขึ้น ตลอดจนวิชาที่เกี่ยวกับการถายรูป อันนี้ทุกอยางจนจบบริบูรณ. การฝกหัดเลาเรียนในโรงเรียนนี้นับวาไดผล โดยเรียบรอย, ไดใบประกาศนียบัตร คนละ 2 ฉบับ; ฉบับ 1 ใบประกาศนียบัตรสําหรับทํานาที่ตรวจการและ ตรวจกระสุนตก, อีกฉบับ 1 เปนใบประกาศนียบัตร สําหรับการถายรูป. โรงเรียนการยิงปนจากอากาศตําบลกาโซ โรงเรียนการยิงปนจากอากาศตําบลกาโซนี้, ตั้ง อยูที่ท เลสาบกาโซทางทิศตวัน ตกเฉี ยงใตของ ประเทศฝรั่งเศส ในมณฑลยีรองด. โรงเรียนนี้รับบุคคลที่จะฝกหัดยิงปนจาก อากาศ, คือผูที่สําเร็จจากการตรวจการ, ผูยิงปนกล ในนาที่ผูโดยสาร, หรือเปนผูที่ศึกษาในนาที่ของ

ผูทิ้งระเบิดแลว; หรืออีกชนิดหนึ่งคือผูที่จะฝกหัดยิง อากาศยานจากพื้น, พวกที่มาเรียนการในนาที่ตามที่ กลาวแลวในโรงเรียนนี้ ตองมียศอยางต่ําที่สุดเพียง พลทหาร, และอยางสูงที่สุดเพียงนายรอยเอก; นอกจากนั้ น ยั ง รั บ นายสิ บ หรื อ พลทหารสํ า หรั บ สั่งสอนในการซอม ปรับ ประกอบ แกไข สวนและ ชิ้นตาง ๆ ของปนกลทุกชนิด. การฝกหัดและเลาเรียน สําหรับผูยิงปน, ฝกหัดยิงปนในอากาศ และ เล าเรี ยนในวิ ชาที่ เกี่ ยวกั บการยิ งป นกลในอากาศ ทุกชนิด สําหรับชางซอม, ฝกหัดและเรียนการซอมแซม ปนกลทุกชนิดซึ่งมีอยู ณ ที่นั้น. ผูที่ยายไปอยูโรงเรียนนี้ถึงโรงเรียนเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ, พ.ศ.2461, จบการฝกหัดและเลาเรียน เมื่อวันที่ 20 มีนาคม, พ.ศ.2461. แตขออยูตอไป เพื่อทําความชํานาญอีก จนถึง วั น ที่ 5 กรกฎาคม, พ.ศ.2462 จึ่งไดยายกลับ.


ผลของการเลาเรียนที่เปนไป, ผูยิงปนกล ไดรับใบประกาศนียบัตรและเครื่องหมายแมนปน แผนทองเหลืองทุกคน, ชางซอมและแกปนกล ก็ ไ ด รั บ ใบประกาศนี ย บั ต ร เ ปนช า งซ อ มและแก ปนกลเหมือนกัน. โรงเรียนการบินจากน้ํา ตําบลแซงต ราฟาเอล โรงเรียนการบินจากน้ําตําบลแซงต ราฟาเอล, ตั้งอยูทางทิศใตของประเทศฝรั่งเศสระหวางเมือง ตุลอง (Toulon) กับเมืองนีส (Nice) ในมณฑลวาร (Var), เปนโรงเรียนสําหรับนักบินจากน้ํา ไดคัดเลื อ กนายทหารนั ก บิน ที่สํา เร็ จ จาก การบินดวยเครื่องบินบก, และไดเคยบินตามโรงเรียน พิเศษตางๆ มาแลว, สงไปเรียนที่โรงเรียนนี้ตาม สมควร. การปกครอง นายนาวาโท ยัง เดอ ลา บอรด (Le Capitaine de Fregate Jean de la Bord) เปนผูบังคับการ ธรรม

โรงเรียน, สวนนายทหารไทยมีนายรอยโท ถนอม วาระรังสี เปนหัวนานายทหารที่ไปเรียนวิชา แพนกนี้ ถึงโรงเรียนเมื่อวันที่ 3 เมษายน,พ.ศ.2462, เสร็จการศึกษาเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม, พ.ศ. 2462. การฝกหัดและการเลาเรียน การเลาเรียนในการบินทเลนี้ ไมสูจะผิดแปลก กันกับการเลาเรียนในการบินบกมากมายเทาใดนัก. สวนการฝกหัด มีฝกหัดบินชั้นตนและฝกหัดบินรบ ตลอดจนการฝ ก หั ด ตรวจการ และการทิ้ ง ระเบิ ด ทางทเลดวยเครื่องบินชนิดตาง ๆ กัน; มีแอฟ.เบ.อา. (F.B.A.) ,เด. เด. (D.D.) ชนิดเครื่องยนตรอิสปาโน สวีซา 150-200 แรงมา, เครื่องเดลลิเอร (Dellier) เครื่ อ งยนตร อิ ส ปาโน สวี ซ า 200 แรงม า และ เครื่องยนตรซันบีม 300 แรงมา เมื่ อ เสร็ จ การฝ ก หั ด และเล า เรี ย นแล ว , มีการสอบไลเพื่อรับใบประกาศนียบัตรเปนนักบิน ทเล. นายทหารที่ไปเลาเรียนวิชานี้สอบไลไดและ ไดรับใบประกาศนียบัตรทุกนาย (อานตอฉบับหนา)


ศิษย นนอ. (ตอจากฉบับที่แลว)

ในการดําเนินโครงการจัดซื้อ ฯ กองทัพอากาศ จะไดรับมอบยุทโธปกรณและขีดความสามารถสําคัญ ซึ่งรวมเรียกวา ระบบปองกันทางอากาศแบบบูรณาการ Gripen Integrated Air Defense System ดังนี้

เชื่ อ มโยงข อ มู ล ทางยุ ท ธวิ ธี ร ะหว า งเครื่ อ งบิ น ใน หมูบิน และระหวางเครื่องบินกับหนวยบัญชาการ และควบคุม พรอมทั้งมีระบบสงครามอิเล็กทรอนิกส ที่ทันสมัย ๒. เครื่องบินแจงเตือนทางอากาศ SAAB 340 AEW ซึ่งสามารถตรวจจับเปาหมาย และการ เคลื่อ นไหวของกํ า ลั ง ฝา ยข า ศึก ทั้ง ในอากาศและ บนพื้นไดในระยะไกล รวมทั้งสงขอมูลการตรวจจับ

๑. เครื่องบินขับไลอเนกประสงค Gripen 39 C/D ซึ่งมีความทันสมัย สามารถใชงานระบบอาวุธ สมั ย ใหม ที่ มี ค วามแม น ยํ า พิ สั ย ยิ ง ไกล มี ร ะบบ

เปาหมายใหกับหนวยบัญชาการและควบคุม ๓. ระบบบัญชาการและควบคุม (Command and Control : C2) ที่มีความทันสมัย สามารถรับขอมูล

การพัฒนาขีดความสามารถของกําลังทางอากาศ จากโครงการจัดซื้อเครื่องบิน Gripen 39 C/D


การตรวจจับ เป าหมายและความเคลื่ อนไหวของ กําลังฝายขาศึกทั้งจากเครื่องบิน SAAB 340 AEW และระบบเรดารภาคพื้นของกองทัพอากาศ เพื่อใช ในการประมวลผลและสรางภาพสถานการณการรบ ไดอยางถูกตอง แมนยํา ทันตอสถานการณ ตลอดจน สามารถควบคุมและสั่งการ การปฏิบัติภารกิจของ เครื่องบิน Gripen 39 C/D ผานระบบเชื่อมโยงขอมูล ทางยุทธวิธี ๔. ระบบเชื่อมโยงขอมูลทางยุทธวิธีระหวาง เครื่องบิน Gripen 39 C/D ในหมูบิน (Tactical Information Data Link System : TIDLS) และระหวาง เครื่องบิน Gripen 39 C/D กับหนวยบัญชาการและ ควบคุม (Ground-to-Air Data Link System : GADLS) ๕. ขีดความสามารถในการใชระบบอาวุธ สมัยใหม ที่มีความแมนยําสูง พิสัยยิงไกล ทั้งที่ผลิต

จากประเทศสหรั ฐ ฯ และที่ ผ ลิ ต จากประเทศใน สหภาพยุ โ รป ตลอดจนได รั บ อาวุ ธ นํ า วิ ถี อ ากาศ สูพื้น RBS 15 เพื่อใชในการโจมตีเรือผิวน้ํา ซึ่งเปน ขี ด ความสามารถใหม ที่ ยั ง ไม เ คยมี ใ ช ง านใน กองทัพอากาศ

ยุทโธปกรณและขีดความสามารถสําคัญ เหลานี้ จะเสริมขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจ การปองกันประเทศ การรักษาเอกราชอธิปไตย และ การรักษาผลประโยชนของชาติ โดยเฉพาะในพื้นที่


ภาคใต อ า วไทย และทะเลอั น ดามั น นอกจากนี้ กองทั พ อากาศจะสามารถต อ ยอดและพั ฒ นา ขีดความสามารถเหลานี้ ใหครอบคลุมพื้นที่ปฏิบัติการ รอบประเทศ ผานการดําเนินโครงการอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

ขอคิดถึงนอง ๆ ชนอ. สําหรับนอง ๆ ชนอ.ชอใหมที่กําลังกาวออก จากรั้ว รร.นอ.เพื่อไปปฏิบัติหนาที่เปนนายทหารหลัก ของกองทั พ อากาศทุ ก คน กํ า ลั ง ทางอากาศเป น กํ า ลั ง เชิ ง คุ ณ ภาพ ที่ ต อ งได รั บ การพั ฒ นาและ เสริ ม สร า งขี ด ความสามารถให เ ท า ทั น กั บ การ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสภาวะแวดลอม อยางตอเนื่อง ยุทโธปกรณและขีดความสามารถที่ กองทั พ อากาศจะได รั บ มอบตามโครงการจั ด ซื้ อ เครื่องบิน Gripen 39 C/D จะเปนตนแบบในการ เสริมสรางและพัฒนานภานุภาพที่สมดุล บนพื้นฐาน แนวคิดการปฏิบัติการที่มีเครือขายเปนศูนยกลาง (Network Centric Operations : NCO) อยางไรก็ตาม กองทั พ อากาศจะไม ส ามารถใช ป ระโยชน จ าก

ยุทโธปกรณและขีดความสามารถเหลานี้ไดอยาง เต็มที่ หากปราศจากบุคลากรที่มีคุณภาพ มีความรู ความสามารถเทาทันเทคโนโลยีกําลังทางอากาศ สมัยใหม เครื่องบิน Gripen 39 C/D จะมิใช 4.5th Generation Fighter หาก ป ร า ศ จ า ก ขี ด ควา ม สามารถดาน Electronics Warfare, Tactical Data Link หรือ Digital Map ซึ่งเทคโนโลยีเหลานี้ตอง อาศั ย ผู เ ชี่ ย วชาญที่ มี ความรูความเขาใจในสวน ที่เกี่ยวของอยางแทจริง เ พื่ อ เ ส ริ ม ส ร า ง แ ล ะ พัฒนาระบบใหใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้น ในอนาคต ไมวาพวกเราจะตองไปทํางานใน หน ว ยงานใด ๆ จงพึง ระลึ ก ไวเ สมอว า พวกเรามี ความสํ า คัญตอ ความสํา เร็จ ในการปฏิบัติภารกิจ ของกองทั พ อากาศ ไม น อ ยไปกว า กั น ไม ว า จะ เปนนักบิน บุคลากรในสวนสนับสนุนตาง ๆ Fighter Controller หรือผูเชี่ยวชาญดาน Electronics Warfare, Tactical Data Link หรือ Digital Map Generation สุดทาย อยากจะฝากขอคิดใหนอง ๆ ชนอ. ชอใหมทุกคนเกี่ยวกับแนวทางการใชชีวิตใหประสบ ความสําเร็จอยางมีความสุข โดยขออางคํากลา ว จากหนัง สื อของทา น ว.วชิ รเมธี “มองลึ ก นึก ไกล ใจกวาง” ผูที่จะประสบความสําเร็จในชีวิตตองมี ความรูความเขาใจในงานที่ตนเองรับผิดชอบอยาง


แท จ ริ ง รู อ ะไรต อ งรู จ ริ ง รู ลึ ก สามารถทํ า งานได ด ว ยความ เป น มื อ อาชี พ ทั้ ง ยั ง ต อ งมี ก าร วางแผนล ว งหน า มี วิ สั ย ทั ศ น ในการทํางาน พรอมที่จะพัฒนา ตนเองอย า งต อ เนื่ อ ง สามารถ ปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลง ตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ตลอดจน ตอง เปดใจกวาง พรอมที่จะยอมรับ ความคิดเห็นของผูอื่น ถึงแมวาจะเปนความเห็นที่แตกตาง ยอมรับมติ และพรอมที่จะทํางานเพื่อสวนรวม อันเปนพื้นฐานสําคัญของการทํางานรวมกันเปนทีม ซึ่งมีความสําคัญยิ่งตอความสําเร็จขององคกร อยาลืม “มองลึก นึกไกล ใจกวาง”

RTAF Gripen 39 C/D Instructor Pilot Training Batch 1 ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ M นาวาอากาศโท จักรกฤษณ์ ธรรมวิชัย ประจํากรมยุทธการทหารอากาศ และ รรก.นักบินประจําหมวดบิน 2 ฝ่ายยุทธการ ฝูง.103 บน.1 ชนอ.รุ่นที่ 36 M นาวาอากาศโท เจริญ วัฒนศรีมงคล ประจํากรมยุทธการทหารอากาศ และ รรก.นักบินประจําหมวดบิน 1 ฝ่ายยุทธการ ฝูง.102 บน.1 ชนอ.รุ่นที่ 38 M นาวาอากาศโท พุทธพงศ์ ผลชีวิน ประจํากรมยุทธการทหารอากาศ และ รรก.นักบินประจําหมวดบิน 2 ฝ่ายยุทธการ ฝูง.701 บน.7 ชนอ.รุ่นที่ 39 M นาวาอากาศโท ณัฏฐวุธ ดวงสูงเนิน หน.ผผจ.กกจ.ยก.ทอ. และ รรก.นักบินประจําหมวดบิน 2 ฝ่ายยุทธการ ฝูง.102 บน.1 ชนอ.รุ่นที่ 40


พ.อ.อ.จํานงค ศรีโพธิ์ (ตอจากฉบับที่แลว) รายละเอี ย ดผลการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ของ เอที–6 บี ในการฝก JEFX 10 ยังคงเปนความลับ แต เ จ า หน า ที่ บ ริ ษั ท ผู ผ ลิ ต เครื่ อ งบิ น กล า วว า เครื่องบินตนแบบ เอที–6 บี และ ที–6 ซี บรรลุภารกิจ ปฏิบัติตามที่ไดรับมอบหมาย 100% โดยไมมีการ ซอมบํารุงใด ๆ ระหวางเขารวมการฝก เอที–6 บี แสดงใหเห็นขีดความสามารถในการปฏิบัติภารกิจ ในบทบาทการใช อ าวุ ธ สนั บ สนุ น ต อ เป า หมาย โดยตรง การสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิดโดยใช ระบบดิ จิ ต อลที่ ทั น สมั ย ทํ า หน า ที่ เ ป น เครื่ อ งบิ น ควบคุมอากาศยานหนา และขีดความสามารถใน การร ว มปฏิ บั ติ ก ารกั บ กองกํ า ลั ง อื่ น ๆ ในพื้ น ที่ ปฏิบัติการรบ เครื่องบิน เอที–6 บี ทําการปฏิบัติ ภารกิจรวม 6 เที่ยวบิน โดยปกติในแตละเที่ยวบิน เครื่องบินจะอยูในอากาศนาน 3 ชั่วโมง ซึ่งในจํานวน เที่ยวบินทั้งหมดภารกิจปฏิบัติเที่ยวบินหนึ่ง เอที–6 บี ทําการบินเปนเวลานาน 4.5 ชั่วโมง รวมชั่วโมงบิน ปฏิบัติภารกิจทั้งสิ้น 17.5 ชั่วโมง

เครื่องบินต้นแบบ เอที-6 บี

การฝก JEFX 10 เครื่องบินโจมตีใบพัด เอที–6 บี ยังแสดงใหเ ห็นถึงการเป นเครื่องบินที่มี ความออนตัวในการปฏิบัติภารกิจสูง และมีคาใชจาย ในการปฏิบัติการบินต่ํา การฝกปฏิบัติการนานเปน เวลา 2 สั ป ดาห เครื่ อ งบิ น เอที –6 บี และ ที –6 ซี ทําการบินปฏิบัติภารกิจรวม 24 เที่ยวบิน ใชเชื้อเพลิง จํานวนทั้งสิ้น 15,640 ปอนด เปรียบเทียบกับเครื่องบิน ขับไล เอฟ–16 สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 16,500 ปอนด ในการบินนาน 3 ชั่วโมง และเครื่องบินโจมตี เอ–10 ใชเชื้อเพลิง 9,000 ปอนด ในการบินอยูในอากาศ 3 ชั่วโมงเทากับเครื่องบินขับไล เอฟ–16


เอที-6 บี เข้าร่วมการฝึก JEFX 10

เครื่องบิน เอที–6 บี ไมไดรับการความสนใจ เฉพาะกองทัพอากาศเทานั้น Air National Guard และ Air Force Reserve ของกองทัพอากาศสหรัฐฯ ใหความสนใจเครื่องบินโจมตีขนาดเบาแบบนี้เพื่อ จะนําไปใชปฏิบัติภารกิจในหนวยเชนกัน ซึ่งมีการ นําเครื่องบินตนแบบ เอที–6 บี ไปทําการทดสอบที่ Air National Guard Air Force Reserve Command Test Center (AATC) ตั้งอยูที่Tucson International Airport นาวาอากาศโท คี ท โคลเมอร (Lt.Col.Keith Colmer) นักบินทดสอบการพัฒนาและผูอํานวยการ งานวิศวกรรมของ AATC อดีตนักบินขับไล เอฟ–16 ของกองทัพอากาศ และเคยรวมปฏิบัติการในอิรัก เมื่อตนป 2551 กลาววา เขาทําการบินเครื่องบินขับไล เอฟ–16 ปฏิบัติภารกิจทําหนาที่เปนตาจากฟากฟา ให กั บ กองกํ า ลั ง ภาคพื้ น จากกองทั พ บกมากกว า 100 เที่ยวบิน เขาแทบจะไมเคยทําการสูรบกับขาศึกเลย การปฏิบัติการบินของ เอฟ–16 มีคาใชจายสูงและ

ทํ าให เครื่ องบิ นหมดอายุ การใช ง านเร็ ว เนื่ อ งจาก ความถี่ในการใชงาน ภารกิจ ปฏิ บั ติ ข อง เอฟ–16 ใน อิรักสามารถทดแทนดวย เครื่องบินโจมตีขนาดเบา และไมจําเปนตองบรรทุก อาวุ ธ ไปเป น จํ า นวนมาก เครื่ องบินโจมตี เอที –6 บี มีขีดความสามารถในการ ปฏิบัติภารกิจเทากับ 80% ของเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล เอฟ–16 และ เอ–10 แต มี คาใชจายเพียง 20% เทานั้น เทคโนโลยีของเครื่องบิน เอ–10 และ เอฟ–16 ถูกนําไปติดตั้งเขากับเครื่องบิน เอที–6 บี จึงทําใหสามารถปฏิบัติการรวมกันได หลั ง จากดํ า เนิ น การทดสอบเครื่ อ งบิ น เอที–6 บี มาตั้งแต ตนป 2553 และมีการปรับแต ง เครื่ อ งบิ น หลายครั้ ง เพื่ อ ให ส ามารถสนองตอบ ภารกิจไดดีที่สุด เมื่อปลายป 2553 กองทัพอากาศ สหรั ฐฯ สงนั กบินขับไล เอฟ–16 และนักบินโจมตี เอ–10 จากฐานทัพอากาศ Edwards (Air Force Base, Calif.), Nellis (AFB, Nev.) และ Eglin (AFB, Fla.) เขารวมทําการทดสอบประเมินคาเครื่องบิน ซึ่งสวนใหญนักบินมีความพึงพอใจขีดความสามารถ ของเครื่องบินโจมตี เอที–6 บี และภายหลังการบิน นักบินจะตรวจสอบและลงบันทึกรายการที่ประสงค จะใหมีการแกไข นาวาอากาศตรี เจสส สมิท (Major Jesse Smith) นักบินเครื่องบินโจมตี เอ–10 จากฝูงบิน


ทดสอบและประเมิ น ค า ที่ 422 ฐานทั พ อากาศ Nellis ใหความคิดเห็นเกี่ยวกับเครื่องบิน เอที–6 บี หลังจากทําการบินปฏิบัติภารกิจจําลองการปฏิบัติการ คนหาและกูภัยในพื้นที่การรบ วา เอที–6 บี เปน เครื่องบินที่ควบคุมไดงาย และมีอุปกรณบางระบบ ที่นํามาจากเครื่องบิน เอ–10 จึงสามารถปฏิบัติงาน กับระบบไดเปนอยางดี เครื่องบิน เอที–6 บี อาจจะ ไม ใ ช คํ า ตอบสํ า หรั บ ทุ ก สิ่ ง แต เ ป น แนวความคิ ด ที่ ดี ถ า หากนํ า ไปใช ป ฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในอิ รั ก และ อั ฟ กานิ ส ถาน ซึ่ ง จะทํ า ให ก องทั พ ประหยั ด งบประมาณไดเ ป น อย า งมาก การปฏิ บั ติก ารบิ น ของเครื่องบิน ขับไล เอฟ–16 และเครื่ องบินโจมตี เอ–10 มีคาใชจายเปนคาเชื้อเพลิงและซอมบํารุง 17,000 ดอลลารสหรัฐฯ และ 15,000 ดอลลารสหรัฐฯ ตามลําดับ แตการปฏิบัติการบินของ เอที–6 บี ตัวเลข จากศูนยทดสอบแจงวาประมาณ 600 ดอลลารสหรัฐฯ เทานั้น

ใบพัดแบบนี้ สามารถนํามาใชปฏิบัติภารกิจอื่นใน หลาย ๆ บทบาท เชน นักบินพิจารณาวาสามารถใช ในการฝ ก ให กั บ นั ก บิ น ชาติ พั น ธมิ ต รในบทบาท สนั บ สนุ น ทางอากาศโดยใกล ชิ ด จากทางอากาศ ในขณะที่ ผู ที่ ทํ า หน า ที่ ค วบคุ ม การรบ (Combat Controller) และผูควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ ยุทธวิธี (Tactical Air Control) ประเมิน เอที–6 บี วา สามารถนํามาใชฝกเจาหนาที่ซึ่งทําหนาที่ควบคุม การโจมตีในขั้นสุดทาย (Joint terminal attack control) เนื่องจากในปจจุบันกองทัพอากาศไมสามารถ จั ด สรรชั่ ว โมงบิ น เพื่ อ ทํ า การฝ ก ให กั บ เจ า หน า ที่ เหลานี้ไดอยางพอเพียง หากนํา เอที–6 บี ไปประจํา อยูที่ฐานบินสามารถทําการบินฝกใหกับเจาหนาที่ ควบคุมการปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธีไดอยาง เพียงพอ ซึ่งจะทําใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในสาขานี้ สามารถรับรูและเขาถึงความนึกคิดและมุมมองของ นักบินขับไล เอฟ–16 และ เอ–10 ไดดียิ่งขึ้น นอกจากการนําเครื่องบินที่จะไดรับเลือก นักบินทําการทดสอบ เอที – 6 บี ตามโครงการ LAAR ไปวางกําลังปฏิบัติการภายนอก ประเทศ เครื่ อ งบิ น โจมตี / ลาดตระเวนติ ด อาวุ ธ ขนาดเบายั ง สามารถนํ า มาใช ป ฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ภายในประเทศเพื่อสนับสนุนการรักษาความมั่นคง ตามแนวชายแดน การต อ ต า นยาเสพติ ด และ ภารกิจการรักษาความมั่นคงของชาติ (Homeland Security) รวมทั้งการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ เครื่ อ งบิ น โจมตี ใ บพั ด แบบใหม ข อง ดับเพลิง น้ําทวม หรือภัยพิบัติอื่นๆ โดยเครื่องบินจะ กองทั พ อากาศสหรั ฐ ฯ จะไม ถู ก นํ า มาทดแทน ใชระบบเซนเซอรที่ติดตั้ง ใช งานตรวจสอบพื้น ที่ที่ เครื่องบินขับไลไอพน แตเจาหนาที่ของศูนยทดสอบ ประสบภั ย พิ บั ติ ห รื อ พื้ น ที่ เ กิ ด เหตุ เ พื่ อ ดํ า เนิ น การ พบวาเครื่องบินฝกขับเคลื่อนดวยเครื่องยนตกังหัน ตอไป


นอกจากเครื่องบินโจมตี เอที–6 บี โครงการ LAAR มียังมีบริษัทผูผลิตเครื่องบินทั้งภายในและ ต า งประเทศสนใจจะเสนอแผนแบบเครื่ อ งบิ น เขาแขงขัน ไดแก เอที –29 ซู เ ปอร ทู ค าโน จากบริ ษั ท Embraer ประเทศบราซิล เครื่องบินแบบนี้กองทัพเรือ สหรัฐฯ ไดทําการเชาเพื่อทําการประเมินคาในการ ปฏิบัติภารกิจสนับสนุนหนวยปฏิบัติการพิเศษตาม โครงการ Imminent Fury เอที-29 บี

โอวี–10 เอ็กซ จากบริษัท Boeing ประเทศสหรั ฐ ฯ กํ า หนดทํ า การบิ น ครั้ ง แรกใน ปลายป 2553 เอที–802 ยู ของบริษัท Air Tractor ประเทศสหรัฐฯ เปนเครื่องบินโจมตีที่พัฒนามาจาก เครื่ อ งบิ น ที่ ใ ช ใ นการเกษตร เอที –802 มี ตํ า บล ติ ด อาวุ ธ ภายนอกลํ า ตั ว ถึ ง 11 แห ง แต ไ ม ติ ด ตั้ ง ระบบเกาอี้สละอากาศยานและหองนักบินไมเปน ระบบปรับความดัน ซึ่งเปนขอกําหนดที่ระบุไวใน ความตองการทางยุทธการ แตบริษัทผูผลิตเสนอ ราคาเพียงครึ่งหนึ่งของเครื่องบินแบบอื่นที่เสนอให กองทัพอากาศพิจารณา เอ-67 “ดรากอน” เปนเครื่องบินตอตาน การกอการราย ยังอยูในระหวางการพัฒนา กําหนด

จะเริ่มสรางในไตรมาสที่ 4 ของป 2553 เครื่องบิน เอ–67 สามารถทํ า การบิ น คอยเหนื อ เป า หมาย ไดนานถึง 11 ชั่วโมง เมื่อใชเชื้อเพลิงเฉพาะภายใน ลํ า ตั ว และสามารถทํ า ความเร็ ว ในการบิ น ตั้ ง แต 85 – 370 นอต เอ็ ม บี –346 จาก บริ ษั ท Alenia Aermachchi ประเทศอิตาลี แผนแบบเปนเครื่องบินฝก ไอพ น สองเครื่ อ งยนต ส องที่ นั่ ง เรี ย งกั น และเป น เครื่ อ งบิ น ขั บ เคลื่ อ นด ว ยเครื่ อ งยนต ไ อพ น เพี ย ง แบบเดียวที่สนใจเขารวมแขงขันกับเครื่องบินใบพัด เอ็มบี–346 โดดเดนในเรื่องพิสัยบินไกล 1,181 ไมล (1,890 ไมล) และมีตําบลติดอาวุธภายนอกลําตัว รวม 9 แหง แตเปนเครื่องบินที่มีราคาแพงที่สุดเมื่อ เปรียบเทียบกับเครื่องบินแบบอื่น ๆ ซึ่งมีราคาไมเกิน 10 ลานดอลลารสหรัฐฯ มีเพียง เอที–6 บี แบบเดียว ซึ่งมีราคาเกินกวา 10 ดอลลารสหรัฐฯ โดยมีราคา อยูที่ 11 ลานดอลลารสหรัฐ เครื่องบินฝึกไอพ่น เอ็ม - 346

เครื่ อ งบิ น โจมตี / ลาดตระเวนติ ด อาวุ ธ ขนาดเบาที่ไดรับเลือกตามโครงการ LAAR กําหนด จะเขาประจําการในป 2555 และพรอมปฏิบัติการ ขั้นตนในปงบประมาณ 2556 444


น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ (ตอจากฉบับที่แลว)

ส ว นประสบการณ ใ นการบิ น กั บ บ.F-15 โดยตรง โดยเริ่มจากสมัยที่บินกับ บ.F-5E ฝูงบิน 711 กองบิน 71 ในสมัยนั้น เมื่อป 2537 โดยเขาฝก Cope Tiger ครั้งแรกที่กองบิน 1 นครราชสีมา ก็เปน ประสบการณ ที่ ตื่ น เต น ที เ ดี ย ว ไม เ คยบิ น กั บ เครื่ อ งบิ น รบจํ า นวนมากมาก อ น ในครั้ ง นั้ น บิ น ภารกิจการบินรบในอากาศ 2 ตอ 1 โดยมี บ.F-5E จํานวน 2 เครื่อง สวน บ.F-15C จํานวน 1 เครื่อง

ตอนนั้ น บิ น สู กั น ในอากาศโดยสลั บ กั น เป น ฝ า ย ไดเปรียบในชวงเริ่มตนการตอสู ผลการสูรบก็ตอง ยอมรั บ ในเรื่ อ งของสมรรถนะความแรงของ เครื่ อ งยนต แ ละการเลี้ ย วที่ ใ ห อั ต ราการเลี้ ย วที่ มากกวากัน รัศมีวงเลี้ยวก็แคบกวามาก ระบบการ ใชอาวุธก็ทันสมัยกวา ตลอดจนอาวุธจรวดอากาศ สูอากาศก็ดีกวา ตองตกเปนฝายเสียเปรียบ ในการ ตอสูกัน บ.F-5E มี โอกาสน อ ยมากที่ จะใช อ าวุ ธ ได ซึ่ ง เป น สิ่ ง ที่ ย ากและ ท า ท า ย ใ น ก า ร ที่ จะคิ ด ค น ยุ ท ธวิ ธี ในการเอาชนะได ในการตอสูในระยะ ประชิ ด บ.F-15C จ ะ ใ ช ท า ท า ง ตั้ ง ในการสูรบกับ บ.F-5E เมื่อเล็งจรวดไปหาก็จะปลด Flare เพื่อลวงหัวจรวดทําใหใชอาวุธไมได


หลั ง จากนั้ น ได ม าทํ า การบิ น กั บ บ.F-16 ก็ไดเขารวมการฝก Cope Tiger อีก ในครั้งนี้ฝกบิน ในภารกิจการบินรบขั้นมูลฐานตัวตอตัวกับ บ.F-15 โดยเปนลูกหมูบินของ บ.F-15 เพราะผูเขียนชั่วโมงบิน นอยกวาและยังมีสถานภาพเปนลูกหมูบิน ในการบิน ก็สลับกันเปนฝายไดเปรียบในการเริ่มตนตอสูกัน ในการตอสูกันในระยะประชิดในครั้งนี้จะแตกตาง จากสมัยที่บินกับ บ.F-5 ในสวนของ บ.F-16 ไมวา จะเป น ความแรงของเครื่ อ งยนต อั ต ราการเลี้ ย ว รั ศ มี ว งเลี้ ย ว และระบบควบคุ ม การยิ ง มี ค วาม ใกลเคียงกันมากกับ บ.F-15 ผลการสูรบก็ผลัดกัน แพผลัดกัน ชนะขึ้นอยูกั บวา กอนเริ่ม ตอสูใครเปน ฝายไดเปรียบ ประเด็นสําคัญเนื่องจาก บ.F-15 มี ขนาดใหญ ใ นการเข า ใช อ าวุ ธ ป น มั ก จะใช อ าวุ ธ ในระยะไกลเนื่องจากคุนเคยกับขนาดของ บ.F-5 หรือ บ.F-16

การบินประกอบกําลังขนาดใหญในครั้งนั้น กองทัพอากาศไดจัดหา บ.F-16ADF ฝูง.102 เขาประจําการและมี บ.F-16ADF จํานวน 7 เครื่อง สุ ด ท า ยที่ ยั ง ไม ไ ด ส ง มอบ กองทั พ อากาศจึ ง ให นักบินไดเขา ฝก Red Flag ที่ Nellis AFB Nevada สหรัฐ ฯ ในป 2003 โดยการประกอบกําลังฝายรุก

(Offensive Counter Air) ประกอบดวย F-15 มีภารกิจ

(Offensive Counter Air) ประกอบดวย F-15 มีภารกิจ เปน บ.กวาดลางและคุมกัน และ บ.F-16ADF เปนหมูบิน โจมตีจํานวน 4 เครื่อง โดยผูเขียนเปน หน.หมูบิน การควบคุมการสกัดกั้นโดย Show Time ซึ่งเปน นามเรียกขานสถานีเรดารภาคพื้น ในสวนฝายปองกัน (Defensive Counter Air) ประกอบดวย F-16C เปน MIG-29 และ F-15 เปน Su-27 การปองกันทางอากาศ มี SA-2, SA-3 และ SA-6 ในการบินเนื่องจากการ ครองอากาศของ บ.F-15 ไมสามารถครองอากาศได ทั้ ง หมดเนื่ อ งจากในพื้ น ที่ แ ดนข า ศึ ก มี SA-6 อยู บริเวณแนวชายแดนทําใหไมสามารถบินกวาดลาง ไดทุกพื้นที่ของขาศึก ในขณะที่ บ.F-16ADF บิน เดิ นทางต่ําเขาหาเปาหมายก็ไดรับแจงเตื อนจาก Show Time วามี บ.MIG-29 บินเขาสกัดกั้นทาง ดา นหน า และแนะนํ า ใหบิ น หลบไปทางด า นขวา ในขณะเดียวกันก็ไดควบคุมให บ.F-15 เขามาสกัดกั้น บ.MIG-29 ผล บ.F-15 สามารถใช อ าวุ ธ แบบ AIM-120 ทําลาย บ.MIG-29 และหลังจากนั้นหมูบิน โจมตีก็เขาเปาหมายและบินกลับออกมาเรียบรอย ซึ่ ง ถื อ ว า เป น ความสํ า เร็ จ ร ว มกั น ทั้ ง ส ว นควบคุ ม สกั ด กั้ น บ.F-15 ที่ ทํ า หน า ที่ ก วาดล า งและคุ ม กั น บ.ข า ศึ ก และการบิ น หลบหนี ก ารสกั ด กั้ น ของ บ.F-16ADF


แพทย เ วชศาสตร ก ารบิ น ของ ทอ.สหรั ฐ ฯ ก อ น การชมอุ ป กรณ ใ นห อ งเครื่ อ งใช ป ระจํ า ตั ว นั ก บิ น การออกไปตรวจเครื่อง จนท.ชางอากาศประจํา บ. จะมารายงานความพรอมของเครื่องบิน นักบินได สาธิตการตรวจเครื่องบิน สามารถเดินผานใตทอง ของเครื่องบินไดอยางสบายเพราะมีขนาดใหญมาก ประสบการณ ก ารบิ น ประกอบกํ า ลั ง ขนาดใหญในการฝก Cope Tiger 2010 บ.F-15 มี จํานวน 2 เครื่อง ติดตั้งจรวด AIM-120 จํานวน 6 นัด AIM-9X จํานวน 2 นัด และปนใหญอากาศ โดยมี บ.AWACs ทําหนาที่ควบคุมการสกัดกั้นโดยการ รับสงขอมูลกันดวยระบบ DATA Link 16 ทําให ไม ต อ งสื่ อ สารกั น ทางวิ ท ยุ ม าก ผลการทํ า ลาย สามารถสกัดกั้นฝาย บ.ขาศึกไดจํานวน 14 เครื่อง

ประสบการณ ใ นการบิ น ในที่ นั่ ง หลั ง ของ บ.F-15D ซึ่งมี 2 ที่นั่ง โดยนักบินที่นั่งหนาเปน ครูการบินของ บ.F-15C/D ผูเขียนเคยแตไดเห็น บ.F-15 บนพื้ น ดิ น และในอากาศ แต ยั ง ไม เ คย ทําการบินในที่นั่งนักบิน ครั้งนี้นับวาเปนครั้งแรก ที่ไดโอกาสในการบินกับ บ.รบชั้นแนวหนา กอนที่ จะทํ า การขึ้ น บิน ต อ งได รั บ การตรวจรา งกายจาก

การติ ด เครื่ อ งยนต นั้ น ขั้ น ตอนไม ต า งกั บ บ.F-16 มากนั ก การวิ่ ง ขึ้ น ใช เ ครื่ อ งยนต จํ า นวน ๒ เครื่อง จุดสันดาปทาย( After Burner) ความแรง ของเครื่ อ งยนต รู สึ ก ว า หลั ง ติ ด เบาะทั น ที ที่ เ ร ง เครื่องยนต การทดสอบแรง G ที่ 7 G แตความรูสึก เหมื อ นเลื อ ดไปเลี้ ย งสมองไม เ พี ย งพอต อ งเกร็ ง กลามเนื้อและลมหายใจชวยเพื่อใหท นตอแรง G ขณะนั้นได ซึ่งปกติทําการบิน กับ F-16 เลี้ยวดว ย แรง 7 G จะยังคงรูสึกสบาย ๆ ซึ่งสาเหตุจากที่นั่ง นักบินของ บ.F-15 มีมุมเล็กนอย แตของ บ.F-16 จะทํ า มุ ม 30 องศา ซึ่ ง มี ผ ลต อ การทนต อ แรง G ไดมากกวา ภายใน Cockpit มี พื้นที่วางมากนั่งสบาย มีทัศนวิสัยในการมองเห็นดีมาก การบินที่ความเร็ว มากกวา 400 นอต บ.จะนุมนวลมากการเปลี่ยนแปลง


ความเร็ วได อย างรวดเร็ ว ในการบิ นประกอบกําลั ง บ.F-16 อยูขางหลัง 15 ไมล พอผานไป 3 นาทีปรากฏ วาบินแซง บ.F-16 แลว สวนใหญนักบินวางแผนบิน เกินระยะสูง 30,000 ฟุต

นักบิน F-15 ในเรื่องวินัยในการบินซึ่งพบวา ลู ก หมู บิ น จะรั ก ษาตํ า แหน ง ตลอดเวลาที่ ห มู บิ น ยุทธวิธี หรือหมูบินอื่น ๆ ถา หน.หมู ไมไดเปลี่ยนแปลง คํ า สั่ ง ก็ จ ะรั ก ษาหมู บิ น นั้ น ตลอดเวลา ซึ่ ง พบว า ธรรมชาติ

ในการบินหมูบิน Eagle Wall หรือรูปหมูบินหนากระดาน ทุกเครื่องจะอยูในแนวเดียวกันตลอด การกลับลงสนามกอนจะเขาเมฆ หน.หมู จะใหสัญญาณรวมหมูดวยการโคลงปก และเมื่อ ออกจากเมฆก็ จ ะให สั ญ ญาณขยายหมู ทุ ก ครั้ ง การตอบวิ ท ยุ ข องลู ก หมู ทํ า ทุ ก ครั้ ง ด ว ยน้ํ า เสี ย งที่ ชัดเจน สั้น การลงสนามใชความเร็วต่ํา และใชระยะทาง ในการหยุด บ.ใกลม าก ดั ง นั้นในการลงสนามใน ภาวะที่สภาพทางวิ่งเปยกโอกาสเกิด Hydroplane นอยมาก บ.F-15 นับวาเปนเครื่องบินรบที่ทรงอานุภาพ อยางยิ่งถึงแมจะมีอายุการใชงานมาอยางยาวนาน เปนตํานานเครื่องบินรบที่ดีที่สุดของโลกเลยทีเดียว "


ปชส.สก.ทอ.

พล.อ.ต.ฤกษฤทธิ์ พวงทอง จก.สก.ทอ.

น.อ.เบญจรงค แจมถาวร รอง จก.สก.ทอ.

น.อ.อนุชิต แกวประสพ เสธ.สก.ทอ.


กรมสวัสดิการทหารอากาศ ไดรับการสถาปนา มีฐานะเปนกรมในสายงานกิจการพิเศษ ขึ้นตรงกับ กองทัพอากาศ ตามคําสั่ง ทอ. (พิเศษ) ที่๘๘/๕๓๒๕ ลง ๒ มี.ค.๒๔๙๗ รวมระยะเวลาถึงปจจุบัน ๕๖ ป แลว แตในความเปนจริง กรมสวัสดิการทหารอากาศ ก็เกิดขึ้นมาพรอม ๆ กับกองทัพอากาศนั่นเอง ถึงแม จะไมไดอยูในรูปของหนวยงาน แตก็ไดมีการปฏิบัติ ซึ่งออกมาในรูปแบบของกิจกรรมตาง ๆ ที่เปนการ เสริ มสรางขวัญและกํ า ลั ง ใจ ใหกับข า ราชการใน กองทัพ อาทิ การบั นเทิ ง การสงเคราะห ขาราชการ หลังสงคราม, ซึ่งไดคอย ๆ พัฒนารูปแบบของกิจกรรม มาเรื่ อย ๆ จากรู ปแบบกิ จกรรมสโมสร, กี ฬา และ บั นเทิ งในป พ.ศ.๒๔๘๓ และเป นแผนกสวั สดิ การ กองการ-บํ า รุ ง กรมพลาธิ ก ารทหารอากาศ ในป พ.ศ.๒๔๙๖ จนกระทั่ งได รั บการสถาปนา ยกระดั บ มี ฐ านะเป น กรมสวั ส ดิ ก ารทหารอากาศในป พ.ศ.๒๔๙๗

กรมสวัสดิการทหารอากาศ มีความมุงมั่น ที่ จ ะพั ฒ นาบทบาทของหน ว ย ให ส อดคล อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น ข องกรมสวั ส ดิ ก ารทหารอากาศ ที่ ว า “สวัสดิการกาวไกล ในมิติใหมของความสุขที่ ยั่งยืน” และเปนการตอบสนองนโยบายของ

กองทัพอากาศ โดยเนนการบริการอยางมีคุณภาพ (Service Quality) และครอบคลุมทุกดานในการ ดํ า รงชี วิ ต โดยในรอบป ที่ ผ า นมากรมสวั ส ดิ ก าร ทหารอากาศ ไดดําเนินงานใหสวัสดิการดานตางๆ ดังนี้ ª งานดานที่ดินและอาคารสงเคราะห - โครงการที่พักอาศัยประเภทเชา สําหรับ ขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง ซึ่งตั้งอยูบริเวณ ฌาปนสถาน ทอ.โดยการเคหะแหงชาติ ไดสงมอบ อาคารให ทอ. เรียบรอยแลว เมื่อ ๑ ธ.ค.๕๒ โดย ผบ.ทอ. เปนผูรับมอบอาคารดังกลาว - โครงการที่พักอาศัยประเภทเชา บริเวณ โรงเรี ย นดอนเมื อ งทหารอากาศบํ า รุ ง ลั ก ษณะ อาคารสู ง ๕ ชั้น พื้น ที่ใช ส อย ๓๓ ตร.ม. จํา นวน ๙๐ หอง ขณะนี้กําลังดําเนินการกอสราง - โครงการบ า นพร อ มที่ ดิ น (โครงการบ า น ชูตะวัน) คณก.ทอส.ทอ.ไดพิจารณาหมูบานชูตะวัน ซึ่งตั้งอยูระหวา ง คลอง ๗ – คลอง ๘ อ.ลําลู กกา จ.ปทุมธานี เขารวมโครงการกับ ทอส.ทอ. - ปรับปรุงบานพักอาศัย ฝูงบิน ๒๐๗ จ.ตราด เปนบานพักสวัสดิการ ทอ. (เกาะตะเคียน) เมื่อวันที่ ๑ ธ.ค.๕๓ ª งานดานฌาปนกิจสงเคราะห - แผนกฌาปนกิจ กองการฌาปนกิจสงเคราะห กองการสงเคราะห สก.ทอ.ไดป รับ ปรุ ง โปรแกรม คอมพิ ว เตอร ติ ด ตั้ ง ใช ง านเรี ย บร อ ยแล ว พร อ ม ทํางานในระบบ One stop service สามารถใหบริการ


งานด า นฌาปนกิ จ สงเคราะห แก ท ายาทของ สมาชิ ก ที่ ม ารั บ เงิ น สงเคราะห ศ พได ภ ายในเวลา ๔๕ นาที - ปรับแกไขระเบียบกองทัพอากาศ วาดวยการ ฌาปนกิจสงเคราะห เพื่อใหสมาชิกที่ขาดสถานภาพ สามารถคืนสมาธิกภาพได

ª งานดานการกีฬา - พัฒนาบุคลากรโดยการสนับสนุนใหขาราชการ ทอ. ได เ ล น กี ฬ าและออกกํ า ลั ง กายทุ ก วั น พุ ธ นอกจากนี้ยังใหการสนับสนุนขาราชการที่เกษียณ อายุ ร าชการแล ว ได ใ ช ส นามกี ฬ าของ ทอ. ที่ อ ยู ในความดูแลและรับผิดชอบของ สก.ทอ. โดยไดรับ การยกเวนคาบริการ

ª งานดานฌาปนสถาน - ปรับปรุง ศาลาทักษิณาประดิษฐ โดยติดตั้ง เครื่องปรับอากาศภายในศาลาทักษิณาประดิษฐ ทั้งหลัง - เปลี่ยนเตาเผาเมรุ ๒ ฌาปนสถาน ทอ. จาก ระบบน้ํ า มั น เป น ระบบแก ส เพื่ อ ลดมลพิ ษ ทาง อากาศ ª งานดานสังคมสงเคราะห - จัดทําประกันภัยหมูแบบพิทักษพล ทอ. ใหแก ข า ราชการ พนั ก งานราชการ และลู ก จ า ง ทอ. ที่ ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต และผูที่ ปฏิบัติงานเสี่ยงอันตราย - ทุนการศึกษาบุตรขาราชการ พนักงานราชการ และลูกจาง ทอ. ในป ๕๓ สก.ทอ. ได ดําเนินการ พิจารณาทุนการศึกษาเรียบรอยแลว - พิจารณาเงินทุนการสงเคราะหดานสวัสดิการ ขา ราชการ พนั ก งานราชการ และลู ก จา งประจํ า สังกัด ทอ. เปนกรณีพิเศษ ชวยเหลือผูประสบภัย ธรรมชาติ ๑ ราย และทุนบุตร ๔ คนขึ้นไป เปนเงิน ๑๘๘,๐๐๐.-บาท

- ไดดําเนินการเปลี่ยนระบบกรองน้ําของ สระวายน้ํา ทอ.โรจนนิล และสระวายน้ํา ทอ. แฟลต ทอ. เขต ๖ ทุง สี กั น จากระบบกรองด ว ยผากรอง ใหเปนระบบกรองดวยทราย ทําใหน้ําในสระวายน้ํา มีความสะอาดมากขึ้น - จัดทําโครงการอบรมกีฬาเยาวชนภาคฤดูรอน ตา นภั ย ยาเสพติด โดยมีวั ตถุ ป ระสงค ให เ ยาวชน ไดใชเวลาวางใหเกิดประโยชน มีเยาวชนเขารว ม โครงการ จํานวน ๘๕๐ คน ใน ๖ ประเภทกีฬา ª งานดานอาชีวสงเคราะห - ฝกอบรมวิชาชีพใหกับขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และครอบครัว ใหมีความรูในสาขา วิ ช าชี พ ต า งๆ เพื่ อ นํ า ไปประกอบอาชี พ เสริ ม เพิ่ ม


รายได ใ ห กั บ ครอบครั ว จํ า นวน ๔ รุ น มี ผู สํ า เร็ จ การศึกษา ๑,๐๑๖ คน - สงเสริมดานกสิกรรม และการเลี้ยงสัตว จัดให มี ก ารส ง เสริ ม การปลู ก ไม ด อกไม ป ระดั บ การทํ า ปุ ย หมั ก การทํ า ปุ ย น้ํ า ชี ว ภาพ ให ก ารสนั บ สนุ น ตนไมประดับตกแตงงานพิธีตาง ๆ ของ ทอ. สาธิต การเลี้ ย งสั ต ว ที่ เ จริ ญ เติ บ โตเร็ ว และสามารถให ผลผลิตที่ดี ไดแก ปลาทับทิม กบ และหนอนนก ฯ - กรมสวัสดิการทหารอากาศ รวมกับ จ.สระบุรี จัดงาน “ทุงทานตะวันกองทัพอากาศ ป ๕๒” เพื่อ สนับสนุนการทองเที่ยว โดยใชพื้นที่ศูนยฝกวิชาชีพ ทหารกองประจําการ อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี ซึ่งเปน พื้นที่ในความรับผิดชอบของ สก.ทอ. ª งานดานรานสวัสดิการทหารอากาศ - ดําเนินการจัดจําหนายสินคาในราคาสวัสดิการ พ ร อ ม ทั้ ง จั ด ล ด ร า ค า สิ น ค า ใ น ร า ค า ต น ทุ น บางรายการในชวงเทศกาลสําคัญ และบริการสินคา ผอนสงระยะยาว ( ๒๐ เดือน ) - รานสวัสดิการ เปดรับชําระคาสินคา ดวยบัตร เครดิต ทั้ง ๒ สาขา

ª งานดานสโมสรทหารอากาศ - จัดใหมีงานเลี้ยงสังสรรคยอย จัดประชุมใหญ สมาชิกสโมสร ฯ พรอมทั้งใหบริการในการจัดงาน เลี้ยงสังสรรค งานมงคล งานพิธีการ เนื่องในโอกาส ตาง ๆ - จัดทัศนศึกษาทองเที่ยวสถานที่ตาง ๆ ทั้ง ภายในประเทศและตางประเทศ การดําเนินงานของกรมสวัสดิการทหารอากาศ ที่ ผ า นมาเป น ที่ ป ระจั ก ษ แ ล ว ว า กรมสวั ส ดิ ก าร ทหารอากาศ มุงมั่นที่จะสรางประโยชนสูงสุด ใหแก กํา ลัง พล ทอ. โดยตระหนัก ถึง จิตสํา นึกในการให บริการ (Service Mind) และเสริมสรางความมั่นคง ในการดํา รงชีพ ของกํา ลัง พลกองทัพ อากาศ และ ครอบครัว ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งเปนการสนองนโยบายของผูบัญชาการทหารอากาศ ในดานการสวัสดิการ และกรมสวัสดิการทหารอากาศ จะยั ง คงมุ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นางาน เพื่ อ กํ า ลั ง พล กองทั พ อากาศต อ ไปอย า งไม ห ยุ ด ยั้ ง กํ า ลั ง พลมี สวัสดิการที่ดียอมมีความสุข มีขวัญกําลังใจในการ ปฏิบัติงาน กองทัพเจริญ กาวหนา ถือเปนเกียรติ, ศักดิ์ศรี, ความภาคภูมิใจ และนี่คือปณิธานในการ ปฏิ บั ติ งานของข าราชการ ลู ก จ า ง และพนั ก งาน ราชการ กรมสวัสดิการทหารอากาศ


ปชส.บน.๔๖

พระแสงปืนต้นข้ามน้ํา พระแสงดาบคาบคง พระมาลาป้ององค์ สามสิ่งสมญาให้ เมื่ อ ป ๒๕๐๘ กองทั พ อากาศ ได จั ด ตั้ ง ฐานบิน พิษณุ โลก เปน ฐานปฏิ บัติการเพื่อเตรีย ม กําลังทางอากาศ สนับสนุนกําลังทางภาคพื้นสําหรับ ปราบปรามผูกอการรายคอมมิวนิสต ในฐานที่มั่น และเขตงานของผู ก อ การร า ยคอมมิ ว นิ ส ต ใ น ภาคเหนือตอนลาง ตอมาฐานบินพิษณุโลกไดรับ การพัฒนามาเปนลําดับ จนถึงวันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๕ กองทัพอากาศ จึงไดประกาศใชอัตรา กองบิน ๔๖ โดยเปนหนวยขึ้นตรงตอกองทัพอากาศ กองบิน ๔๖ จึงไดถือเอาวันที่ ๒๐ ธันวาคม ของ ทุกป เปนวันคลายวันสถาปนา กองบิ น ๔๖ ตั้ ง อยู เ ลขที่ ๔๐๖ หมู ที่ ๗ ตํ า บลอรั ญ ญิ ก อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ธรรมชาติ

ลําสโตง ยื้อค่าย เบี่ยงหลบ ขอแฮ เทิดไว้ศาสตรา

มีพื้นที่ ๓,๘๓๘ ไร ๑ งาน ๒๖ ตารางวา สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ป ระจํ า กองบิ น ๔๖ คื อ หลวงพ อ โชคดี ซึ่ ง เป น พระหล อ เนื้ อ โลหะ ลงรั ก ปดทอง ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง ๑๖ นิ้ว ประดิษฐาน ณ วิหารดานเหนือสนามบินพิษณุโลก ซึ่งเปนที่เคารพสักการบูชาของขาราชการ พนักงาน ราชการ ลูกจาง และครอบครัวกองบิน ๔๖ ตลอดทั้ง ประชาชนทั่วไป ปจจุบัน กองทัพอากาศ ไดปรับปรุงโครงสราง กองทั พ ใหม โดยจั ด ให กองบิ น ๔๖ เป น หน ว ย ขึ้นตรงตอกองทัพอากาศ มีหนา ที่เตรียมการและ ปฏิบัติการใชกําลังทางอากาศ ตามที่กองทัพอากาศ กําหนด


น.อ.ทศวรรณ รัตนแกวกาญจน ผบ.บน.๔๖

น.อ.ฐากูร นาครทรรพ รอง ผบ.บน.๔๖

น.อ.คมกริช นันทวิสทุ ธิ์ รอง ผบ.บน.๔๖

น.อ.อนันต รัตนสําเนียง เสธ.ผบ.บน.๔๖ กองบิน ๔๖ มีเครื่องบินบรรจุประจําการอยู ๒ แบบ คือ ๑. เครื่องบินลําเลียงแบบที่ ๙ (NOMAD) ยุทธการที่สําคัญไดแกยุทธการดอยภูคาและ ยุทธการบานรมเกลา อําเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ๒. เครื่องบินลําเลียงแบบที่ ๒ (BT - 67) ภารกิจที่สําคัญไดแกการฝกนักบินปฏิบัติการ ทางยุทธวิธี, การฝกอบรมนักบินลําเลียงขั้นตน, การปฏิบัติการฝนหลวงตามโครงการพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว, โปรยเมล็ดไมทางอากาศ, การลาดตระเวนทางอากาศเพื่อระมัดระวัง การทําลายปาไม และการบินควบคุมไฟปา


กองบิน ๔๖ ไดมีสวนรวมในการพัฒนา ประเทศชาติและชวยเหลือประชาชนอยางตอเนื่อง โดยไดจัดเจาหนาที่ออกไปใหบริการดานการแพทย การพัฒนาสถานที่สาธารณะ มอบอุปกรณการศึกษา อุ ป กรณ กี ฬ าให แ ก นั ก เรี ย น ฯลฯ และในยามมี อุบัติภัย โดยเฉพาะอยางยิ่งอุทกภัย ซึ่งมักจะเกิดขึ้น เป น ประจํ า ในพื้ น ที่ ข องจั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลกและ ใกลเคียง กองบิน ๔๖ ก็ไดจัดเจาหนาที่พรอมทั้ง เครื่องอุปโภค บริโภค ไปชวยเหลือผูประสบภัยเสมอ การพัฒนาหนวยและบุคลากร ถือเปน สิ่งสําคัญอีกอยางหนึ่ง โดยการจัดตั้งศูนยคอมพิวเตอร และสารสนเทศ โดยการเป ดอบรมใหข า ราชการ และครอบครัว ไดมีความรูความสามารถ ในดาน การติดตอประสานและรับทราบขอมูลขาวสารได อยางรวดเร็ว อีกทั้งสนับสนุนใหขาราชการไดเรียนรู และพั ฒ นาความรู ภ าษาอั ง กฤษได ด ว ยตนเอง จัดโครงการ “กําจัดขยะแบบครบวงจร” ซึ่งประสบ ผลสําเร็จเปนอยางดี จัดโครงการ “วิ่งเพื่อสุขภาพ” โดยการปดถนนสายรอง ในชวงเย็นเปนประจําทุกวัน เพื่อใหไดวิ่งออกกําลังกายสะดวกยิ่งขึ้น จัดโครงการ ธรรม

กองบิน ๔๖

ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ พุ ท ธสถานกองบิ น ๔๖ ทุ ก วั น พระ ในเวลา ๒๐.๐๐ น. เพื่อใหขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง ครอบครัว และผูเขารวมปฏิบัติธรรม มีสมาธิ เกิดปญญาในการตัดสินใจแกปญหาไดถูกตอง การรณรงคปองกันและตอตานยาเสพติด กองบิน ๔๖ ไดจัดกิจกรรมหลายรูปแบบ เชน การจัด แขงขันกีฬาครอบครัวสัมพันธ, การจัดแขงขันจักรยาน แรลลี่ของเยาวชน และการเขาคายครอบครัวสุขสันต ฯลฯ พรอมทั้งเปดตู ปณ.๑๔๖ อําเภอเมือง จังหวัด พิษณุโลก เพื่อขอความรวมมือจากพี่นองประชาชน แจ ง เบาะแสเกี่ ย วกับ ยาเสพติด แรงงานต า งด า ว ผู ห ลบหนี เ ข า เมื อ ง การก อ การร า ย รวมทั้ ง ความ เดือดรอนของประชาชน ขาราชการ ทหารกองประจําการ และ ลูกจางกองบิน ๔๖ ทุกคน ไดทุมเทแรงกาย แรงใจ กําลังสติปญญาปฏิบัติภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่ อ สนองพระราชดํ า ริ แ ห ง องค ล น เกล า ฯ และ จะปกปองรักษาอธิปไตยของชาติ ผลประโยชนของ ชาติ เพื่อความอุดมสมบูรณสูพี่นองปวงชนชาวไทย สืบไป ""

จึงไดกําหนดเปนวิสัยทัศนไวดังนี้

----------------

เปนกองบินแหงคุณภาพ เชี่ยวชาญการบินกิจเฉพาะพิเศษ รวมพัฒนาประเทศ และชวยเหลือประชาชน ---------------


น.อ.ประยุทธ เปยมสุวรรณ

“การปฏิบัติการรุกเป็นสิ่งจําเป็นเพื่อผลลัพธ์ที่ชี้ขาดและรักษาเสรีในการปฏิบัติ ซึ่งจะ ทําให้ผู้บัญชาการสามารถดําเนินการริเริ่มและกําหนดให้ข้าศึกกระทําตามเจตจํานงที่เราต้องการ สามารถกําหนดความก้าวหน้าและเส้นทางของการรบ สามารถหาจุดอ่อนของข้าศึกและเปลี่ยน สถานการณ์ได้อย่างรวดเร็ว และสามารถเข้าสู่จุดหมายการพัฒนาสงครามได้อย่างไม่คาดหวัง บางครั้งผู้บัญชาการอาจจะต้องสั่งการให้ตั้งรับบ้างแต่ก็เป็นเพียงชั่วคราวโดยมีเป้าประสงค์เพื่อ ประหยัดกําลังขณะที่ยังไม่มีการตัดสินใจและกําลังรอคอยหาโอกาสที่จะทําการรุก แต่แม้ว่าจะต้อง ทําการตั้งรับ ก็ต้องมองหาโอกาสตลอดเวลาที่จะริเริ่มทําการรุกเพื่อผลลัพธ์ที่ชี้ขาด” จาก FM 100-5, 19 February 1962 (US Army) “การปฏิ บั ติ การรุ กเป นสิ่ งจํ าเป นเพื่ อ ผลลั พธ ที่ ชี้ ข าดและรั ก ษาเสรี ใ นการปฏิ บั ติ ” ในกิจเฉพาะเพื่อใหไดรับ “ผลลัพธที่ชี้ขาด” เราตอง รูซึ้งถึงความแตกตางระหวางการรุกทางยุทธศาสตร (Strategical Offensive) และการรุกทางยุทธวิธี (Tactical Offensive) คารลฟอน เคลาเซวิทส นักปรัชญาทางทหารชาวปรัสเซียไดอธิบายไววา “เครื่องมือเริ่มแรกของยุทธศาสตรคือชัยชนะ นั่ น คื อ ความสํ า เร็ จ ทางยุ ท ธวิ ธี ในการวิ เ คราะห ขั้นสุดทาย จุดหมายปลายทางคือวัตถุประสงคที่ นําไปสูสัน ติภาพ ชั ย ชนะทางยุท ธวิ ธี ใ นสนามรบ

ไม ใ ช สิ่ ง ที่ จ ะนํ า ไปสู สั น ติ ภ าพ มั น เป น เพี ย งสิ่ ง สนับสนุนและเปนเพียงเครื่องมืออีกดวย...” อีกนัยหนึ่ง การรุกเปนยุทธศาสตรเมื่อมัน นําไปสูวัตถุประสงคทางการเมืองซึ่งเปนเปาประสงค ในการทําสงคราม เมื่อมันไมไดนําไปสูวัตถุประสงค นั้น มันก็เปนยุทธวิธีมากกวาเปนยุทธศาสตร ในหลักการสงครามขอ “การรุก” การรักษา เสรีภาพในการปฏิบัติเ ปน สิ่ง ที่ยากและเลื อ นลาง ตามหลั ก การในความเป น จริ ง ต อ งทํ า การรั ก ษา การริ เ ริ่ ม โดยการปฏิ บั ติ ทั้ ง การรุ ก และการตั้ ง รั บ ขณะที่คูมือทําสงครามในยุคสงครามเวียดนามชี้นํา


ใหเห็นวามีเพียงสองหนทางปฏิบัติในการทําสงคราม คือการรุกและการตั้งรับ แตในขอเท็จจริงมีความ แตกต างกัน ถึง ๔ แบบ การรุกทางยุทธศาสตร และการตั้งรับทางยุทธศาสตรสามารถผสมผสาน กับการรุกทางยุทธวิธีและการตั้งรับทางยุทธวิธี ซึ่งจะไดผลลัพธออกมาแตกตางกัน ในหนังสือเรื่อง “The Conduct of War” เขียนโดย Baron von der Goltz ไดอธิบายถึงผลลัพธจากความสัมพันธของ การรุกและตั้งรับทางยุทธศาสตรและยุทธวิธีไวดังนี้

การตั้ ง รั บ ทางยุ ท ธศาสตร ผ สมการตั้ ง รั บ ทางยุทธวิธี (Strategical Defensive & Tactical Defensive) จะไมมีผลลัพธที่ชี้ขาดอยางสมบูรณ การตั้ ง รั บ ทางยุ ท ธศาสตร ผ สมการรุ ก ทางยุทธวิธี (Strategical Defensive & Tactical Offensive) ผลลัพธคือไดรับชัยชนะในสนามรบ แต ไมไดผลลัพธของการยุทธหรือสงคราม การุ ก ทางยุ ท ธศาสตร ผ สมการตั้ ง รั บ ทางยุทธวิธี (Strategical Offensive & Tactical Defensive) ผลลัพธคือสถานการณโดยทั่วไปดูเหมือน ได ชั ย ชนะแต อ ย า งไรก็ ต ามยั ง ไม ไ ด ผ ลลั พ ธ นั้ น เพราะพลังอํานาจการตอสูของขาศึกยังไมถูกทําลาย

ก า ร รุ ก ท า ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ผ ส ม ก า ร รุ ก ทางยุทธวิธี (Strategical Offensive & Tactical Offensive) ผลลัพธคือขาศึกถูกทําลาย และดินแดน ขาศึกถูกยึดครอง ในสงครามเวี ย ดนาม เวี ย ดนามเหนื อ มี ความชัดเจนเรื่องความสัมพันธระหวางการรุกทาง ยุทธศาสตร (Strategical Offensive )และการรุก ทางยุทธวิธี (Tactical Offensive) ในภาพรวม เวียดนามเหนือดําเนินการรุกทางยุทธศาสตรโดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ยึ ด ครองเวี ย ดนามใต ในตอน เริ่ ม ต น เวี ย ดนามเหนื อ ใช กํ า ลั ง กองโจรเพี ย ง อยางเดียว ตอมาในป ค.ศ.๑๙๖๔ เวียดนามเหนือ ไดดําเนินการรุกทางยุทธวิธีโดยใชทหารประจําการ เมื่อประสบกับความพายแพอยางยับเยินในการเขา ปะทะกับ กํ า ลั ง ภาคพื้ น สหรั ฐฯ ในหุบ เขาเอีย ดรั ง ในเดือน พ.ย.๑๙๖๕ พวกเขาก็หันกลับไปตั้งรับทาง ยุ ท ธวิ ธี เช น เดี ย วกั น กั บ เมื่ อ ครั้ ง ทํ า การต อ สู กั บ ฝรั่ ง เศส วั ต ถุ ป ระสงค คื อ ทํ า การกั ด กร อ นกํ า ลั ง สหรัฐฯใหออนแรงลง การที่กองทัพสหรัฐฯตัดสินใจ ไมทําการบุกเวียดนามเหนือทําใหเวียดนามเหนือ กลายเปนแหลงเสบียงอาหารและอาวุธและเปนที่ หลบภัยอยางดีของฝายเวียดกง อีกทั้งกําลังทหาร ประจําการเวียดนามเหนือบางหนวยยังไดสนับสนุน การปฏิบัติการของเวียดกงดวย เคลาเซวิทสกลาววา “การตานทานเปนรูปแบบของการปฏิบัติการที่มุง ทําลายพลังอํานาจของขาศึกใหเพียงพอที่จะบีบให เขายกเลิกความตั้งใจ” และในขณะที่เวียดนามเหนือ ทําการตั้งรับทางยุทธวิธี พวกเขาก็ไดทําการเปลี่ยน เปนการรุกทางยุทธวิธีเมื่อสถานการณเหมาะสม


การรุ ก ในวั น ตรุ ษ ญวนป ค.ศ.๑๙๖๘ เวียดนามเหนือและเวียดกงเขาโจมตีศูนยราชการ ทุกจังหวัดในเวียดนามใต ครั้งนั้นทั้งเวียดนามเหนือ และเวียดกงตองประสบกับการสูญเสียอยางหนัก แต ข ณะที่ ป ระสบความล ม เหลวทางยุ ท ธวิ ธี เวี ย ดนามเหนื อ กลั บ ประสบความสํ า เร็ จ ทาง ยุทธศาสตรอยางใหญหลวงเนื่องจากความตั้งใจ และขวั ญ กํ า ลั ง ใจของสหรั ฐ ฯถู ก ทํ า ลายลง เวียดนามเหนือสามารถเปนฝายริเริ่มทางการเมือง ได

เคลาเซวิทสกลาววา “เมื่อผูมีพลังอํานาจ นอยเปนผูยิ่งใหญในสงคราม และถาการริเริ่มทาง การเมือ งถู ก กํ า หนดโดยผู มี พ ลั ง อํ า นาจนอ ยกว า ผู มี พ ลั ง อํ า นาจน อ ยกว า ควรทํ า การรุ ก ด ว ยกํ า ลั ง ทหาร” เวียดนามเหนือเขาถึงจุดความคิดนี้เมื่อฤดู ใบไมผลิป ค.ศ.๑๙๗๒ ในชวงนั้นสาธารณชนอเมริกัน ตอตานสงคราม สหรัฐฯ ถอนกําลังจํานวนมากออก จากเวี ย ดนามใต กองทั พ เวี ย ดนามใต อ ยู ใ นช ว ง กําลังเสริมสรางความแข็งแกรง สหรัฐฯ เหลือกําลัง ไว เ พี ย ง ๑ กองพลเพื่ อ เป น กํ า ลั ง กองหนุ น ทาง ยุทธศาสตร ในเดือน มี.ค.๑๙๗๒ เวียดนามเหนือ ทํ า การรุ ก ทางยุ ท ธวิ ธี ด ว ยกํ า ลั ง ๑๒ กองพล แต

กองทัพเวียดนามใตดวยการสนับสนุนทางอากาศ จากสหรั ฐ ฯ สามารถตอบโต แ ละทํ า การสู ญ เสี ย อย า งหนั ก แก เ วี ย ดนามเหนื อ ซึ่ ง คาดว า บาดเจ็ บ ลม ตายกวา แสนคน ครั้ง นั้น เวี ย ดนามเหนื อไมใ ช เพี ย งแค พ า ยแพท างยุ ท ธวิธี เ ท า นั้ น แตยั ง พ า ยแพ ทางยุ ท ธศาสตร อี ก ด ว ย โชคไม ดี ที่ ส หรั ฐ ฯ และ เวี ย ดนามใต ไ ม ฉ กฉวยโอกาสในความได เ ปรี ย บ ในครั้งนั้นเขาโจมตีทําลายกองทัพเวียดนามเหนือ เวียดนามเหนือไดเปลี่ยนการปฏิบัติเปนการตั้งรับ ทางยุทธวิธีอีกครั้ง พวกเขาจัดตั้งกําลังใหม สราง ความกดดันแกเวียดนามใตใหตองประสบกับความ สูญเสียดวยการปฏิบัติการกองโจรและรอคอยให สถานการณ ท างการเมือ งเปลี่ ย นแปลง และแล ว เวลาที่รอคอยก็มาถึง ในฤดูใบไมผลิป ค.ศ.๑๙๗๕ เวี ย ดนามเหนื อ ทํ า การรุ ก ทางยุ ท ธวิ ธี อี ก ครั้ ง กําลัง ๑๗ กองพลทําการโจมตีตามแบบสงคราม โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ชั ย ชนะทางทหารและ ยึดครองเวียดนามใต ครั้งนี้พวกเขาทําสําเร็จ

ในรายงานสงครามเวียดนามป ค.ศ.๑๙๖๘ พลเรือเอก ยู.เอส.จี. ชารพ ผูบัญชาการกองบัญชาการ แปซิ ฟ ก และผู บั ญ ชาการยุ ท ธศาสตร ใ นสงคราม เวียดนามไดกลาวไววาเปาหมายของการทหารสหรัฐฯ


คือการให สภาวะแวดลอมที่มั่น คงที่ซึ่ง ประชาชน สามารถทําหนาที่ของตนโดยปราศจากการหาประโยชน หรือสรางความกดดันหรือการกระทําการอันโหดราย รุนแรงจากขาศึก เขากลาววา “ยุทธศาสตรของเรา เพื่ อ ที่ จ ะบรรลุ เ ป า หมายดั ง กล า วประกอบด ว ย สวนประกอบ ๓ ประการที่พึ่งพาตอกันคือการยุทธ ทางภาคพื้นดินและอากาศในเวียดนามใต ความ พยายามสรางชาติในเวียดนามใต และการรุกทาง อากาศและทางเรือในเวียดนามเหนือ...” พลเรือเอก ชารพ รายงานวา “สหรัฐฯ เวียดนามใต และกําลัง ของโลกเสรีอื่นๆ ตองเขาไปทําการรบเพื่อเอาชนะ คอมมิ ว นิ ส ต เราจะนํ า สงครามไปให ข า ศึ ก (ใน เวี ย ดนามเหนื อ )ด ว ยความเข ม แข็ ง และไม มี ก าร ลดลาวาศอก จะมีก ารคั ดเลือกเปาหมายอยา งดี ในการใช กํ า ลั ง ทางอากาศและกํ า ลั ง ทางเรื อ แต จากที่ เห็ น สิ่ งที่ เ รียกวา การรุกทางยุ ทธศาสตรใน เวียดนามใตไมไดเปนไปมากกวาการรุกทางยุทธวิธี เนื่องจากสหรัฐฯ ไมสามารถนําสงครามไปยังสวน กํ า ลั ง หลั ก ของข า ศึ ก คื อ กองทั พ เวี ย ดนามเหนื อ แทนที่จะกระทําเชนนั้นสหรัฐฯกลับใชกําลังรบที่มี อยูตอสูกับกําลังระดับรองลงมานั่นคือพวกกําลัง กองโจร ส ว นประกอบที่ ส องที่ พ ลเรื อ เอกชาร พ ธรรมชาติ

กลาวถึงคือความพยายามสรางชาติเวียดนามนั้น เปนภารกิจที่สามารถจะกระทําใหสําเร็จไดก็ดวย ชาวเวียดนามใตเองไมใชทหารสหรัฐฯ ขณะที่ทหาร สหรั ฐ ฯ จะสามารถทํ า หน า ที่ ไ ด เ พี ย งเป น โล ค อย ปองกันการรุกรานจากภายนอก จากสถานการณที่ เกิดขึ้ นเปน ที่ ชัดเจนวาการสรางชาติ เ วียดนามใต ไม ใ ช ภ า ร กิ จ ที่ เ ห ม า ะ ส ม ขอ ง ท ห า ร ส ห รั ฐ ฯ ส ว นประกอบทางยุ ท ธศาสตร ที่ ๓ คื อ การรุ ก ทางอากาศและทางเรือตอเวียดนามเหนือลมเหลว โดยสิ้นเชิง เขากลาวไววา “...ทั้งโปรแกรมการปฏิบัติการทางอากาศ และทางเรือถูกจํากัดโดยขอหามมากมาย.....การ ทิ้งระเบิดในเวียดนามเหนือถูกหยุดลงหลายครั้งโดย รัฐบาลสหรัฐฯ ที่คาดหวังวาขาศึกจะตอบสนองโดย การหยุดการรุกรานเวียดนามใตและลดระดับขอบเขต และความรุ น แรงของสงครามลงมา ทุ ก ครั้ ง ฝ า ย คอมมิวนิสตจะใชชวงเวลาที่มีการหยุดการทิ้งระเบิด ทําการปรับกําลังและสงกําลังมาสนับสนุนกองทัพ ที่รบอยูในเวียดนามใต ความพยายามในการสงบศึก เพียงฝายเดียวเพื่อผลลัพธทางการเมืองกอใหเกิด ความเสียเปรียบดานการทหารที่จะนําไปสูความสําเร็จ ในสงคราม...”

ข้อมูล : จากหนังสือ “On Strategy: A Critical Analysis of the Vietnam War”


เฟองลดา CBRN (Chemical, Biological, Radiological, and Nuclear) บางครั้งอาจเรียกวา C-BURN หรือ เคมี, ชีวะ, รังสี และนิวเคลียร (คชรน.) เปนคําที่ใช อยางแพรหลายทั่วโลกในปจจุบัน ใชแทนเหตุการณ หรือ อาวุ ธ ที่เ ป น อั น ตรายจากสารทั้ง ๔ ประเภท CBRN ถูกนํามาใชแทน NBC (Nuclear, Biological, and Chemical หรือ นิวเคลียร ชีวะ เคมี : นชค.) และ ABC (Atomic, Biological, and Chemical) โดย R (radiological) หมายถึงรังสีหรือกัมมันตรังสี ซึ่ ง นั บ เป น ภั ย คุ ก คามรู ป แบบใหม ที่ อ าจอาศั ย ระเบิดแรงสูงเพื่อใหเกิดการแพรกระจาย ในบาง กรณีอาจพบวามีการใชคําวา CBRNe โดย e หมายถึง explosives threat CBRN นับเปนอาวุธทําลายลางสูง (Weapons of Mass Destruction : WMD) ประเภทหนึ่ง เนื่องจาก กอใหเกิดการสูญเสียเปนกลุมในพื้นที่กวางขวาง มีสารตกค า งที่ กอ ใหเ กิ ดอั น ตรายระยะเวลาหนึ่ ง

และอาจแพรกระจายไปสูบุคคลหรือพื้นที่อื่น ดังนั้น จําเปนตองมีการใชมาตรการ CBRN Defense (CBRND) ไดแก การปองกัน (protection), การ หลีกเลี่ยงการปนเปอน (contamination avoidance) และ การบรรเทาผลกระทบ (mitigation) โดยอาศัย บุ คลากรที่ผ า นการอบรมมาโดยเฉพาะ รวมทั้ง มี อุปกรณที่ทัน สมั ย ทั้ง นี้ผ ลกระทบจากการใชสาร CBRN มีวัตถุประสงคสําคัญไมใชเพื่อการทําลาย ชีวิตและทรัพยสินแตเปนผลทางจิตวิทยาเชนการ สรางความหวาดกลัวเปนสําคัญ โดยเมื่อ ธ.ค.๕๒ มี ร ายงานการคาดการณ ว า อาจมี ก ารใช อ าวุ ธ CBRN ในการกอการรายในอนาคตอันใกลนี้ ปจจุบันประเทศตาง ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะ สหรั ฐ ฯ ให ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง กั บ อาวุ ธ CBRN และไดจัดตั้งหนวยพิเศษ Joint CBRN Regiment ปฏิบัติภารกิจในพื้นที่ความขัดแยง ตอ.กลาง และ อัฟกานิสถาน ซึ่งนอกจากตองเผชิญกับอาวุธเคมีแลว


ยังตองเผชิญกั บกองกําลั งกอการรายที่ ไดรับการ ฝกฝนมาเปนอยางดี ในการปฏิบัติภารกิจพบวามี การนํ า สารเคมี ใ นยุ ค เก า มาใช เช น Chlorine, Cyanide, Acetylene, Nitric acid โดยสวนหนึ่ง นํามาใชเปนสวนประกอบในการทําระเบิด

สําหรับหนวย CBRN ทางทหาร ในสวน ทบ.สหรั ฐ ฯ มี ห น ว ยฝ ก อบรม โดยเฉพาะการทํ า หนาที่ลาดตระเวน ตรวจสอบ เก็บตัวอยาง บํารุงรักษา และทําลาย วัสดุที่มีสารกัมมันตรังสีหรือสารเคมี เปนพิษเจือปน มีหนวยเฉพาะกิจคือ 74D CBRN Operations Specialists Military Occupational Specialty (MOS) สวน นย.สหรัฐฯ ใชชื่อหนวย 5711 and 5702 เปนผูชํานาญการ CBRN และ ทอ.สหรัฐฯ มีหนวยเฉพาะกิจ 3E9X1, Air Force Specialty Code (AFSC) โดยมีศูนยฝกอบรมรวมกัน ตั้งอยูที่ Fort Leonard Wood มลรัฐ Missouri นอกจากนี้ ประเทศที่ มี ก ารจั ด ตั้ ง หน ว ย CBRN ไดแก สหราชอาณาจักร อิสราเอล แคนาดา ฮ อ งกง รวมทั้ ง มาเลเซี ย ในส ว น ทบ.มาเลเซี ย ไดจัดตั้งหนวย Peperangan Nuklear, Biologi dan Kimia (English: Chemical, Biological and Nuclear Warfare; PNBK) เมื่อป 2545 ตร.มาเลเซีย

(Royal Malaysian Police: RMP) มีหนวย Pasukan Gerakan Khas (PGK) ประกอบดวยหนวยปฏิบัติการ พิเศษ 69th Commando Battalion และ Special Actions Unit ที่มีความเชี่ยวชาญสารอันตราย (HAZMAT: hazardous materials) และ Malaysian Fire and Rescue Department มี Hazmat Unit ตั้งอยูที่ปนัง 1 เทคโนโลยีตรวจจับ CBRN สําหรับเทคโนโลยีตรวจจับ CBRN ในอากาศ โดยติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ บ นอากาศยานไร นั ก บิ น เพื่ อ ตรวจจับสารพิษในอากาศ สามารถบินตรวจสอบ ไดนาน 15 ชม. อุปกรณรุนใหมที่ใชไดแก Smiths Detection’s Lightweight Chemical Detector (LCD) Raven ติดตั้งอุปกรณ LCD

ติดตั้งใน UAV แบบ Raven ซึ่งสหรัฐฯ เคยประสบ ความสําเร็จในการทดสอบอุปกรณดังกลาวในการ ตรวจจับสารพิษในกลุมเมฆ ปจจุบันสหรัฐฯ มี Raven ประจําการกวา 1,000 เครื่อง นอกจากนี้ UAV ยังชวย ตรวจจับสารชีวภาพโดยติดตั้งอุปกรณ Femtosecond Adaptive Spectroscopy Techniques for Remote Agent Detection (FASTREAD) พัฒนาโดย Defense Advanced Research Projects Agency (DARPA)


ของสหรั ฐ ฯ สํ า หรั บ การลาดตระเวนภาคพื้ น เยอรมันไดพัฒนาอุปกรณ Bruker Daltonics ติดตั้ง กับยานยนตแบบ Fuehs นํามาใชในสงครามอิรัก สามารถตรวจจับสารเคมี ชีวภาพ และกัมมันตรังสี

สิ่ ง สํ า คั ญ สํ า ห รั บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ภ า ร กิ จ ลาดตระเวนและคนหาอาวุธ CBRN คือการปองกัน ผูปฏิบัติหนาที่ไมใหไดรับอันตรายจากสารพิษ ซึ่ง มี ข อ จํ า กั ด คื อ การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ส ว นใหญ เ ป น นอกพื้ น ที่ ดั ง นั้ น จํ า เป น ต อ งมี อุ ป กรณ ป อ งกั น รางกาย อาทิ เครื่องแตงกายพรอมหนากากปองกัน อุปกรณชวยการหายใจ นอกจากนี้ผูปฏิบัติหนาที่ ตองไดรับการฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับมาตรการ รักษาความปลอดภัย การใชอุปกรณอยางถูกตอง การฝ ก ในสถานการณ จํ า ลอง โดยเน น สารพิ ษ ที่ พบบอย 1 ภัยคุกคามจาก CBRN ในภูมิภาคเอเชีย - ภัยคุกคามจากการกอการรายทางเคมี การกอการรายทางเคมี หมายถึงการกอการราย โดยใช ส ารเคมี ที่ เ หมาะแก ก ารทํ า สงคราม หรื อ

สารเคมีเปนพิษ โดยมีเจตนาใหเจ็บปวยและเสียชีวิต สารเคมีพิษเปนสวนใหญราคาถูก หางาย สามารถ ทําใหเกิดการบาดเจ็บ เสียชีวิตจํานวนมาก สารเคมี บางชนิ ด ให ผ ลร า ยแรงกว า การใช ร ะเบิ ด แรงสู ง ผูกอการรายอาจโจมตีโดยการใสสารเคมีในแหลง น้ํา/อาหาร ใชรวมกับระเบิด หรือใชเปนสารระเหย ในอากาศ ที่ ป รากฏเป น ข า วสํ า คั ญ ได แ ก การใช อาวุธเคมีกวา 1,000 ครั้งในเกาหลีใตระหวางป 25312549 รวมถึงการระเบิดของโรงงานเคมีในประเทศ การกอการรายในญี่ปุนโดยใชสารเคมีในสงคราม ชนิดซาริน เปนตน

จากเหตุการณใชสารซารินโจมตีรถไฟฟา ใตดินของญี่ปุนเมื่อ มี.ค.38 ทําใหมีผูเสียชีวิต 12 คน บาดเจ็บกวา 5,600 คน การตรวจสอบพบวาผูกอเหตุ ใชสารซารินที่มีความเขมขนเพียง 30% ซึ่งมีผลกระทบ ตอผูใหการชวยเหลือดวย ดังนั้นผูใหการชวยเหลือ ควรมีความรูและไดรับการฝกอบรมในเรื่องดังกลาว เปนอยางดี จากเหตุการณดังกลาวรัฐบาลญี่ปุนได จัดตั้งศูนยบําบัดผูปนเปอนสารพิษกอนเขารับการ รักษาในโรงพยาบาล รวมทั้งกอตั้ง Severe Chemical Hazard Response Team และหนวยงาน National


Security and Crisis Management Office ขึ้นเพื่อ แกปญหาเหตุการณในเบื้องตน - ภัยคุกคามจากการกอการรายทางชีวภาพ การก อ การร า ยทางชี ว ภาพหมายถึ ง การ กอการรายโดยใชจุลินทรียกอโรค ซึ่งมีเจตนาใหเกิด เจ็บปวยและเสียชีวิต โดยมีเปาหมายคือมนุษย สัตว หรือพืชเศรษฐกิจ การโจมตีอาจทําโดยใหเชื้อโรค แพรกระจายในอากาศโดยใชหรือไมใชระเบิด หรือ ใสในแหลงน้ํา/อาหาร สําหรับการตรวจพิสูจน อาจ ทําไดยากเนื่องจากตองใชระยะเวลากวาจะมีการ แสดงอาการจนกระทั่งการแพรระบาด ในอดีตการ ก อ การร า ยทางชี ว ภาพได แ ก ก ารแพร ร ะบาดโรค SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome) ธรรม

และลาสุดมีรายงานวาเกาหลีเหนือกําลังพัฒนาเชื้อ แอนแทรกซและกาฬโรค ทําใหประเทศในภูมิภาค เอเชียโดยเฉพาะเกาหลีใต จําเปนตองเฝาระวังการ ระบาดโรคและหาวิ ธี วิ นิ จ ฉั ย แยกโรคต า งๆ ซึ่ ง มี

อาการใกลเคียงกันเพื่อแกไขเหตุการณไดทันทวงที ก อ นที่ ก ารแพร ร ะบาดจะขยายผลไป โดยเมื่ อ เม.ย.53 จีนไดทดสอบระบบในการตรวจสอบการ แพรกระจายเชื้อแอนแทรกซในกรุงปกกิ่ง การวินิจฉัยสารพิษชีวภาพที่ปจจุบันนํามาใช ไดแก Fourier Transform Infrared (FTIR), Spectroscopy และ Raman Technology สําหรับ การตรวจวิ นิ จ ฉั ย ทางชี ว ภาพของหน ว ยงาน Singapore Civil Defense Force (SCDF) มีเครื่อง ตรวจสารชีวภาพ สามารถตรวจสอบภัยคุกคามจาก “ผงสีขาว” ซึ่งตองการความเรงดวน ณ จุดตรวจ แต ที่ผานมาสารที่ตรวจจับไดสวนใหญจะไมเปนอันตราย เครื่องดังกลาวชวยประหยัดเวลาและงบประมาณ ในการตรวจสอบในหองทดลอง นอกจากนี้สามารถ ตรวจสอบสารชีวภาพโดยใช DAN Fluorescence, Immunoassay and Polymerase Chain Reaction (PCR) - ภัยคุกคามจากการกอการรายทางรังสีและ นิวเคลียร การกอการรายทางรังสีและนิวเคลียร หมายถึง การใชวัสดุกัมมันตรังสีหรืออาวุธนิวเคลียรในการ ก อ การร า ย ทํ า ให เ กิ ด อั น ตรายต อ ชี วิ ต ซึ่ ง อาจใช ระเบิดแรงสูง/ระเบิดนิวเคลียรชวยในการแพรกระจาย วัตถุกัมมันตรังสี/นิวเคลียร โดยพิษอาจฟุงกระจาย ในอากาศครอบคลุ ม พื้ น ที่ เ ป น วงกว า ง ขึ้ น อยู กั บ สภาวะลมฟาอากาศ การทําลายลางพิษทําไดยาก อาจตกคาง ตองเสียคาใชจายสูง สรางความเสียหาย ตอเศรษฐกิจ และทางจิตวิทยา สารพิษจะไมทําให


ปวยหรือเสียชีวิตในทันที นอกจากจะเสียชีวิตจาก แรงระเบิด ปจ จุ บัน วิ ก ฤติ ก ารณ ด า นอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร ในภูมิภาคเอเชียที่นานาชาติใหความสนใจ ไดแก โครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียรของเกาหลีเหนือ ซึ่ง ยังไมสามารถหาขอยุติได เนื่องจากเศรษฐกิจของ เกาหลีเหนือสวนใหญขึ้นอยูกับการขายยุทโธปกรณ ทางทหาร และมีแนวโนมจะกระทํามากขึ้นในอนาคต โดยเกาหลี เ หนื อ ยั ง คงมี ค วามพยายามในการ พัฒ นาอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร อ ย า งต อ เนื่ อ ง รวมถึ ง การ ลักลอบขนสงอาวุธและชิ้นสวนยุทโธปกรณในการ พัฒนาอาวุธ CBRN ใหอิหราน ซีเรีย ลิเบีย ปากีสถาน และพมา อยางไรก็ตามนานาประเทศไดใหความ สนใจประเทศเกาหลีเหนือและปากีสถานเปนพิเศษ เนื่ อ งจากคาดว า อาจเป น ต น เหตุ ข องการเริ่ ม ต น สงคราม CBRN โดยกลุมเสี่ยงตอการเปนเปาหมาย คือ กลุมนักทองเที่ยว ซึ่งใชระบบขนสงคมนาคม

ภัย คุ ก คามที่สํ า คั ญต อ ประชาคมโลก โดยเฉพาะ ประเทศเพื่ อ นบ า นอย า งญี่ ปุ น และเกาหลี ใ ต นอกจากนี้ มี ร ายงานว า มาเลเซี ย สามารถผลิ ต อุปกรณนิวเคลียรสงใหลิเบีย สําหรับเสนทางการ ลั ก ลอบขนส ง อาวุ ธ ใช เ ส น ทางเดี ย วกั บ ที่ ลั ก ลอบ ขนส งยาเสพติดและอาวุ ธสงครามจนไมสามารถ แยกไดวากลุมใดเปนอาชญากรรมและกลุมใดเปน องคกรกอการราย สํ า หรั บ กลุ ม อั ล กออิ ด ะห พบว า ยั ง ไม มี ความสามารถในการใชอาวุธ CBRN โดยเฉพาะ N หรือ Nuclear ในการโจมตีเปาหมายที่ปรากฏสวนใหญ จะใชระเบิดแสวงเครื่อง แตมีรายงานวากลุมตาลีบัน และอั ล กออิ ด ะห ได แ ทรกซึ ม ตามพรมแดน ปากี ส ถาน ซึ่ ง เป น ที่ ห วาดระแวงว า อาวุ ธ CBRN อาจตกไปอยู ใ นมื อ ของกลุ ม คนดั ง กล า ว กองทั พ ปากี ส ถานจึ ง ได พ ยายามตอบโต โ ดยเพิ่ ม ความ เขมงวดในการปองกันคลังอาวุธนิวเคลียร ซึ่งสวนใหญ ตั้งอยูในพื้นที่ที่ไมปลอดภัย

เหตุ ก ารณ ที่ เ กี่ ย วข อ งได แ ก เมื่ อ ส.ค.53 สหรัฐฯ รว มกับอิ น เดี ยไดสกั ดจับสายการบิน Air Koryo ของเกาหลีเหนือ ที่เดินทางจากพมาไปอิหราน ดวยเชื่อวามีการลักลอบขนสงอาวุธ เหลานี้นับเปน

US-ROK Military Exercises

ดานมาตรการตอบโต CBRN สหรัฐฯ และ เกาหลีใต ไดจัดใหมีการฝกรวม CBRN ทุกป ลาสุด เมื่อ พ.ค.52 ภายใตการฝก “Foal Eagle” เปนการฝก


ตอยอดจากการฝกรวมทางทหารตามปกติ หนวยที่ เขารวมไดแก 1st Area Medical Laboratory, 110th Chemical Battalion, CBRN Analytical and Remediation Activity, ROK Chemical Special Forces และ ROK Mobile Analysis Laboratory

เกาหลี เ หนื อ จึ ง เป น เป า หมายสํ า คั ญ ของ หนวย PSI นอกจากการตรวจจับการลําเลียงอาวุธที่ มี อํ า นาจการทํ า ลายล า งสู ง ทั้ ง ทาง บก เรื อ และ อากาศแลว ยังรวมไปถึงการโอนเงินที่อาจเกี่ยวของ กั บ การจั ด ซื้ อ ป จ จุ บั น ได มี ก ารฝ ก ร ว มทางทะเล ของ PSI หลายครั้ง ทําใหมีผลกระทบอยางยิ่งตอ การขนสงอาวุธของเกาหลีเหนือ ทั้งนี้สหรัฐฯ ไดเคย เสนอใหไทยเขารวมกับหนวย PSI ในการ รปภ. ทางทะเล แต ไ ทยปฏิ เ สธ เนื่ อ งจากป จ จุ บั น ให ความสําคัญกับสถานการณความไมสงบใน จชต. สําหรับประเทศที่เขารวมกับ PSI ไดแก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน เกาหลีใต ฟลิปปนส และสิงคโปร

Proliferation Security Initiative (PSI)

นอกจากนี้ เ กาหลี ใ ต ร ว มกั บ หน ว ยงาน US – Proliferation Security Initiative (PSI) ซึ่งมี ภารกิจหลักคือการตอตานการขนสงอาวุธที่มีอํานาจ การทําลายลางสูงของเกาหลีเหนือ โดยมีมาตรการ ในการสกัดกั้นเรือตองสงสัยที่บรรทุกอาวุธ CBRN รวมทั้งยุทโธปกรณที่เกี่ยวของ นับเปนหนวยสําคัญ ในการปองกันการซื้อขายอาวุธของเกาหลีเหนือกับ ประเทศอื่ น รวมถึ ง กลุ ม ก อ การร า ย ก อ นหน า นี้ เกาหลีใตไดชะลอการเขารวมกับหนวย PSI เนื่องจาก เกรงวาจะไดรับการตอบโตจากเกาหลีเหนือ แตเมื่อ พ.ค.53 กรณีที่เกาหลีเหนือทดสอบอาวุธนิวเคลียร ทําใหเกาหลีใตตัดสินใจเขารวมโครงการทันที เพื่อ แสดงให เ ห็ น ถึ ง การประกาศการเผชิ ญ หน า และ สงครามกับเกาหลีเหนือ

มาตรการป อ งกั น ของสหรั ฐ ฯ ที่ สํ า คั ญ อี ก ประการได แ ก ก ารติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ต รวจสอบ กั ม มั น ตรั ง สี ไ ว ที่ ท า เรื อ หลายแห ง ทั่ ว โลกเพื่ อ ตรวจสอบเรื อ ที่ เ ข า -ออกจากท า เรื อ สํ า หรั บ การ ตรวจสอบขึ้นอยูกับความรวมมือระหวางประเทศ และการอบรม จนท. ประจําทาเรือ ปจจุบันประเทศ ที่ติดตั้งระบบตรวจจับ CBRN แลวไดแก สิงคโปร ปากีสถาน เกาหลีใต ศรีลังกา ไตหวัน โดยสิงคโปร นับเปนประเทศที่มีระบบการตรวจสอบที่ทันสมัย ที่สุด มีหนวย SCDF ของสิงคโปรรับผิดชอบในการ


ตรวจหาสารกั ม มั น ตรั ง สี แ ละสารเคมี เ ป น พิ ษ รวมทั้งจัดฝกอบรม จนท. อาทิการฝกรวมกับ US National Nuclear Security Administration (NNSA) ในการปฏิบัติการคนหาสารกัมมันตรังสี การระบุ วัตถุที่มีสารกัมมันตรังสี การใชอุปกรณพิเศษในการ ตรวจจับ การปฐมพยาบาลเรงดวน กรณีปนเปอน สารกัมมันตรังสี เปนตน

จะเห็นไดวา CBRN นับเปนภัยคุกคาม รูปแบบใหมที่แมวาจะมีโอกาสเกิดไดยาก แตดวย ปริมาณสารเคมีหรือกัมมันตรังสีเพียงเล็กนอย อาจ ธรรม

ทําใหเกิดหายนะอันยิ่งใหญไมเพียงแตในประเทศ อาจลุกลามไปไดทั้งภูมิภาค หรือแมกระทั่งทั่วโลก อยางรวดเร็ว จนไมสามารถหยุดยั้งได หากไมมีการ เตรียมการที่ดีทั้งดานบุคลากร และอุปกรณ รวมทั้ง ความรวมมือกันระหวางหนวยงานทั้งภาครัฐและ พลเรือน ดังนั้นหากนานาประเทศใหความสําคัญ และดํ า เนิ น มาตรการอย า งจริ ง จั ง เพื่ อ รั บ มื อ กั บ เหตุการณ ก็จะสามารถลดระดับความเสียหายลงได ปจจุบันประเทศในเอเชียที่มีการเตรียมความพรอม เพื่อรับมือกับภัยคุกคามจาก CBRN อยางเต็มรูปแบบ ได แ ก สิ ง คโปร แ ละญี่ ปุ น สํ า หรั บ ประเทศอื่ น ยั ง ประสบปญหาเรื่องงบประมาณ คาดวาในอนาคต อันใกลจะไดมีการปรับมาตรฐานดาน CBRN ใหดีขึ้น จะเห็นไดจากประเด็นภัยคุกคามจาก CBRN ไดถูก นํ า มาอภิ ป รายในที่ ป ระชุ ม อาเซี ย นซึ่ ง จั ด ขึ้ น ที่ ประเทศไทยเมื่อ ก.ค.52 โดยมีการลงนามรวมกัน ในการปองกันการแพรกระจายอาวุธนิวเคลียรและ กัมมันตรังสี

เอกสารอ้างอิง : - Asia Prepare for CBRN Threat. Asian Military Review. August 2009 - CBRN for Special Forces. Asian Military Review, April/May 2010 - Integrated CBRN: Solutions for Asia. Asian Military Review. September/October 2010 - https://jro-cbrnd.cbiac.apgea.army.mil/ - http://www.smithsdetection.com/1025_4834.php


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (ตอจากฉบับที่แลว) ๕๔. เหรี ย ญพระอาจารย บั ญ ชา วั ด ดงปาคํา ต.ดงกลาง อ.เมือง จ.พิจิตร สรางถวาย โดย พ.อ.อ.วี ร ะศัก ดิ์ พานิ ช สุ โ ข (ยศขณะนั้ น ) และคณะศิษยทหารอากาศ เมื่อป ๒๕๓๗ ลักษณะ เปนเหรียญแบบเสมาตัด ดานหนามีรูปพระอาจารย บัญชา นั่งเต็มองคหมจีวรลดไหลพาดสังฆาฏิบนตั่ง เอามือทั้งสองขางวางไวที่หัวเขา ดานบนของเหรียญมี ตัว หนั ง สื อ “พ.ศ.๒๕๓๙” (ช า งแกะพิ ม พผิ ด จาก ๒๕๓๗ เป น ๒๕๓๙) ที่ ข อบเหรี ย ญข า งขวามี ตัวหนังสือ “พระอาจารยบัญชา สทฺธาธิโก” และ ข า งซ า ยมี ตั ว หนั ง สื อ “วั ด ดงป า คํ า ต.ดงกลาง อ.เมือง จ.พิจิตร” สวนดานหลังของเหรียญเปน ยันตนะหนาทอง จํานวนเหรียญที่สรางมีดังนี้ -เนื้อทองคํา ๙ เหรียญ -เนื้อตะกั่วลองพิมพ ๙ เหรียญ -เนื้อเงิน ๑๒๙ เหรียญ - เนื้อนวโลหะหรือเนื้อยอดแกว ๔๙ เหรียญ หมายเหตุ ที่ เ รี ย กว า เนื้ อ ยอดแก ว นั้ น เนื่องจากขณะเตรียมงานจะสรางเหรียญรุนนี้ (ซึ่ง เป น รุ น แรกของท า น) คณะศิ ษ ย ฯ ไปได เ ศี ย ร

พระพุทธรูปเกาแกที่ชํารุดมา ๑ เศียร จึงนําเอาสวน ที่ยังพอใชได มาหลอมผสมกับเนื้อนวโลหะ แลวปม ออกมาได ๔๙ เหรียญ


๕๕. พระกริ่ง และพระชัยวัฒน พระอาจารยบัญชา วัดดงปาคํา ต.ดงกลาง อ.เมือง จ.พิจิตร สราง ถวายโดย ร.ต.วีระศักดิ์ พานิชสุโข (ยศขณะนั้น) และคณะศิษยทหารอากาศ เมื่อป ๒๕๔๙ โดยรวบรวม แผนยันตตาง ๆ มาหลอมหลอสรางเปนพระกริ่ง และพระชัยวัฒน ไดอยางละ ๑๓๐ องค พระกริ่ง รอยจารอักขระใตฐานพระกริ่ง

พระชัยวัฒน

รอยจารอักขระใตฐานพระชัยวัฒน


น.อ.จิโรตม มณีรัตน (ตอจากฉบับที่แลว) เบื้องหลังจุดพลิกผันใหคณะกรรมการมรดกโลก ตองเลื่อนการพิจารณาไปป พ.ศ. ๒๕๕๔ ผลการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกที่ ประเทศบราซิล เพื่อพิจารณาขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลกจบลงดวยความโลงอกของ คนไทยทั้งประเทศ ทั้งกอนหนานั้นมีแนวโนมสูงวา จะมีการรับรองแผนการบริหารปราสาทพระวิหาร ตามแรงล็อบบี้ของกัมพูชา ถาเปนมวยก็ตองบอก วากัมพูชาทําแตมทิ้งหางไทยมาตลอดการล็อบบี้ ๒๑ ชาติ ก รรมการมรดกโลก แต ม าพลาดท า ถู ก หมัดน็อกของไทยโปงเดียวจอดเอาในนาทีสุดทาย วากันวาจุดชี้ขาดจริง ๆ ที่ทําใหสถานการณพลิก คือ หลักฐานที่คณะนายทหาร ๓ นาย ซึ่งรวมทีมไป กับนายสุวิทย คุณกิตติ รมว.ทรัพยากรธรรมชาติ หัวหนาคณะผูแทนรัฐบาลไทย ไดแก พล.ท.นิพัทธ ทองเล็ก เจากรมกิจการชายแดนทหาร พล.ท.ธวัชชัย สมุทรสาคร แมทัพนอยที่ ๒ และ พล.ต.นภดล โชติ ศิ ริ รองเจ า กรมแผนที่ ท หาร ในฐานะผู ใ ห

คําปรึกษาทางดานแผนที่การปกปนเขตแดน เปน ผูกําภาพเด็ดที่มัดกัมพูชาจนดิ้นไมหลุด หลักฐานชิ้นสําคัญมีอยู ๒ สวนคือ ๑. แผนที่ จากกรมแผนที่ ท หาร ซึ่ ง แสดงให ค ณะกรรมการ มรดกโลก และชาติ ส มาชิ ก เห็ น อย า งชั ด เจนว า แผนการบริหารการจัดการพื้นที่ของกัมพูชาลวงล้ํา อธิปไตยของไทยอยางไมมีขอโตแยง ๒. หลักฐาน ภาพถายและการจัดวางกําลังและอาวุธหนักของ ทหารกัมพูชาใกลบริเวณปราสาทพระวิหารซึ่งเปน มรดกโลก หนึ่งในสามทหารฝายไทย เปดเผยเบื้องหลัง ความสํ า เร็ จ นี้ ว า จริ ง ๆ แล ว ไทยไม ไ ด ตั้ ง ใจจะใช หลักฐานสํา คัญนี้ห ากไมจํา เป น เพราะผลกระทบ ค อ นข า งรุ น แรง แต เ นื่ อ งจากกั ม พู ช าผิ ด สั ญ ญา กับไทยกอน จึงตัดสินใจนําหลักฐานไปมอบใหแก คณะกรรมการมรดกโลก กัมพูชาผิดขอตกลงเรากอนจริง ๆ เพราะ ทําแผนที่เปนเท็จมาเสนอคณะกรรมการมรดกโลก เปนแผนที่ล้ําเขามาในเขตไทย เราขอดูก็ไมยอมใหดู แต ที่ ผ า นมาคณะกรรมการจํ า นวนหนึ่ ง เข า ข า ง กัมพูชา เนื่องจากประเทศเหลานั้นมีผลประโยชน


ในกั ม พู ช า แต ทั้ ง หมดต อ งจํ า นนกั บ เหตุ ผ ลที่ เ รา เอามาเปดเผยในตอนทาย และผลก็ออกมาตามที่ เราตองการ คือเลื่อนออกไปนั่นหมายความวากัมพูชา ไมสามรถทําอะไรได และจะไมไดรับการสนับสนุน จากคณะกรรมการมรดกโลกจนกวา จะถึง ปห นา นายทหารผูนี้กลาว การโชว ใบเสร็จ ที่ชัดเจนของ ฝายไทย ทําใหคณะกรรมการมรดกโลกยอมรับวา พื้นที่ดังกลาวยังมีความขัดแยงกันอยู จึงไมตองการ ใหการขึ้นทะเบียนมรดกโลก เปนตนเหตุใหความ ขัดแยงรุนแรง จนนําไปสู สงคราม มากกวา สันติภาพ อันเปนหลักการสําคัญของยูเนสโก กรรมการมรดกโลก จึ ง ไม ต อ งรั บ เผื อ กร อ น และตั ด สิ น ใจเลื่ อ นการ พิจารณาออกไป เปนป พ.ศ.๒๕๕๔ โดยไมลังเล สําหรับจุดยืนของฝายความมั่นคงในชวงเวลาที่เหลือ จากนี้ ๑ ป ยังคงเหมือนเดิม คือตองมีการปกปน เขตแดน ใหเรียบรอยกอนจะเดินหนาแผนพัฒนา พื้นที่รอบตัวปราสาท โดยยึดหลักการบันทึกความ เขาใจ (เอ็มโอยู) เมื่อป พ.ศ.๒๕๔๓ ระหวางไทยกัมพูชา สาระสําคัญคือไทยไมยอมรับแผนที่ฝรั่งเศส มาตราสวน ๑: ๒๐๐,๐๐๐ เพราะไทยยึดถือแผนที่ มาตราสวน ๑:๕๐,๐๐๐ หากยึดตามแผนที่ฝรั่งเศส ของกัม พูช าแล ว อาจทํ า ให ไทยเสี ย พื้ น ที่ ทับ ซ อ น ๔.๖ ตารางกิโลเมตร รอบตัวปราสาทดวย นั ก วิ ช าการเสนอยุ ท ธวิ ธี ท วงคื น ปราสาท พระวิหารเปนของไทย อาจารยพิสิฐ เจริญวงศ ผอ. ศูนยภูมิภาค ด า นโบราณคดี แ ละวิ จิ ต รศิ ล ป แห ง องค ก าร

รั ฐ มนตรี ศึ ก ษา ประจํ า สมาคมประชาชาติ เ อเชี ย ตะวันออกเฉียงใต (SPAFA : SEAMEO) แนะนําวา หากอยากได ป ราสาทพระวิ ห ารคื น มา คนไทย ทั้ง ประเทศตอ งปรับเปลี่ย นทัศนคติและทา ทีใ หม ทั้งหมด โดยเฉพาะตัวแทนของกลุมพรรกการเมือง นักวิชาการ หรือกลุมตาง ๆ ที่ออกมาตอวา ขุดคุย ประณามวากลุมอื่นไมดีไมฉลาด หรือไมมีความรู ไม มี ก ารศึ ก ษา ฯลฯ และต อ งไม มี ท า ที รั ง เกี ย จ ชาวกั ม พู ช าที่ เ ป น เพื่ อ นบ า นของไทย เนื่ อ งจาก เรื่ อ งนี้ มี ค วามละเอี ย ดอ อ นและมี ป ระวั ติ ส าสตร การเจรจาตอรองสืบเนื่องมาหลายรอยป ไมมีใครรู ความจริงทั้งหมด ไมรูวาคนที่อยูในสถานการณนั้น ตองตัดสินใจแบบนั้นเพราะอะไร ดังนั้นในสถานการณ ป จ จุ บั น ที่ ไ ด ต อ เวลาอี ก ๑ ป ต อ งรี บ ตั้ ง สติ แ ล ว ไตร ต รองข อ มู ล ก อ นสรุ ป ให ถู ก ต อ งชั ด เจน โดยมี ยุทธวิธีที่สําคัญ ๔ ประการคือ ๑. ควรนําขอเท็จจริงในอดีตมาสรุปให สั้นๆ เขาใจงาย อธิบายใหคณะกรรมการมรดกโลก ไดรับรูเรื่องนี้อยางถูกตอง เชน สนธิสัญญาไมเปนธรรม ที่ฝรั่งเศสเอาเปรียบไทยมาตลอด หรือขอมูลเกี่ยวกับ แผนการที่ ฝ รั่ ง เศสวางแผนเรื่ อ งนี้ ไ ว ก อ นถอนตั ว ออกจากกัมพูชา คนไทยตองไมลืมวาคนที่ทําสัญญา เอาเปรี ย บไทยในเรื่ อ งนี้คือฝรั่งเศส ไมใช กั ม พูชา เชนแผนที่มาตรา ๑:๒๐๐,๐๐๐ ของฝรั่งเศสที่นํามา อ า งนั้ น ไม เ ป น สากล เพราะแผนที่ ที่ จ ะนํ า มาใช ปกปนเขตแดนตองมีขอมูลที่ละเอียดกวานี้ คือตอง ใชแผนที่มาตราสวนที่ใหญ ๒. กรณีกฎหมายปดปาก ที่ทําใหไทยแพคดี ศาลโลกเมื่อป พ.ศ.๒๕๐๕ ควรมีการหยิบยกเรื่องนี้


มาเปน ประเด็ น เพราะที่ ผ า นมายัง ไมเ คยมี ค ดี ใ ด ที่ศาลโลกใชกฎหมายปดปากมาตัดสิน ถาหลาย ประเทศเห็นดวยกับเรื่องนี้อาจทําใหเขาใจวาไทย ไม ไ ด รั บ ความยุ ติ ธ รรมจากการตั ด สิ น คดี ใ นอดี ต เป น การแพ ค ดี จ ากเล ห เ หลี่ ย มของประเทศ มหาอํานาจ ๓. รั ฐ บาลต อ งเร ง เป ด เจรจาเสนอให กั ม พู ช ากั บ ไทยได บ ริ ห ารพื้ น ที่ ทั บ ซ อ นร ว มกั น รวมถึ ง การทํ า แผนที่ ฉ บั บ ใหม ใ ห ถู ก ต อ งเพราะ เทคโนโลยีปจจุบันสามารถใชดาวเทียมมาชวยทํา ใหถูกตองแมนยําขึ้น ๔. จากระยะเวลาที่เหลืออีก ๑ ป กอนจะมี การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกในป พ.ศ.๒๕๕๔ ประเทศไทยตองมีคณะกรรมการศึกษาปญหา ปราสาทพระวิหารอยางตอเนื่อง คัดเลือกกลุมที่ เปนกลางและคํ านึงถึ งประโยชนของทุกฝ าย ไมใช เลือกแตกลุมที่คํานึงถึงแตผลประโยชนของตัวเอง ตองเปนผูที่รูปญหาอยางแทจริงและรูทั้งหมด ไมใช กลุมนักวิชาการที่รูความจริงบางสวน ซึ่งกลุมนี้จะ ทําใหเกิดความขัดแยงมากขึ้นไมไดชวยแกปญหา อยางถูกตองตอทุกฝาย “สุวิทย” ถูกโจมตีจากหลายฝายจากภาคประชาชน โดยอางวาลงนาม ๕ ขอผิดพลาด จากเหตุ ก ารณ ใ นวั น ที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ในระหวางการประชุมคณะกรรมการ มรดกโลก ที่ประเทศบราซิลนั้นปรากฏวาหลังจาก นายสุวิทย คุณกิตติ ซึ่งเปน หัวหนาคณะผูแทนไทย ได ล งนามรั บ ขั้ น ตอนของกั ม พู ช า ในการจั ด ตั้ ง

คณะกรรมการประสานงานระหวา งประเทศเพื่ อ คุมครองปราสาทพระวิหารอยางยั่งยืนรวมกับกัมพูชา เป น ผลให ห ลายฝ า ยโดยเฉพาะภาคประชาชน มองวาเปนการรับรางเอกสารที่เรียกวา WHC–10/34. COM/7 B.Add.3 ทําใหฝายไทยเสียเปรียบแกกัมพูชา เมื่อพิจารณาเนื้อหาของเอกสาร ๕ ขอมีดังนี้ ๑. ไดรับเอกสาร WHC-10/34. COM/7B. Add3 แลว ๒. การอางถึงมติคณะกรรมการมรดกโลก ที่ 31 COM8.24, 32COM8B.12 และที่ 33COM7B.65 ได รั บ รองการประชุ ม ครั้ ง ที่ ๓๑ ที่ ไ ครสต เ ชิ ร ช , การประชุ ม ครั้ ง ที่ ๓๒ ที่ ค วิ เ บก และการประชุ ม ครั้งที่ ๓๓ ที่เซบีญา ตามลําดับ ๓. แจ ง ให ท ราบว า ศู น ย ม รดกโลกได รั บ เอกสารจากรัฐภาคี นั่นคือกัมพูชาแลว ๔. สิ่ ง ที่ จ ะดํ า เนิ น การต อ ไปเพิ่ ม เติ ม ดําเนินการตามขั้นตอนตาง ๆ โดยรัฐภาคีเพื่อนําไปสู การจั ด ตั้ ง คณะกรรมการประสานงานนานาชาติ เพื่อการอนุรักษอยางยั่งยืนของปราสาทพระวิหาร หรือไอซีซี ๕. ตั ด สิ น ใจพิ จ ารณาเอกสารที่ ยื่ น เสนอ โดยรัฐภาคีในการประชุมครั้งที่ ๓๕ ป พ.ศ.๒๕๕๔ ดานฝายคานที่ไมเห็นดวยกับรัฐบาลและ นายสุวิทยฯ ที่ไดลงนามครั้งนี้ ถือวาไดทําการเกิน มติ ค ณะรั ฐ มนตรี ห รื อ ไม โดยเฉพาะนายวี ร พั น ธุ มาลัยพันธุ อดีตคณบดีคณะโบราณคดีมหาวิทยาลัย ศิลปากร กลาววาไมมีจุดไหนเลยทีน่ ายสุวทิ ยฯ คัดคาน และการที่ น ายสุ วิ ท ย ฯ เซ็ น ยอมรั บ ให กั ม พู ช าตั้ ง คณะกรรมการไอซี ซี นั้ น ข อ สั ง เกตว า นายสุ วิ ท ย ฯ


ทําการเกินขอมติคณะรัฐมนตรีหรือไมและการเซ็น ยอมรับแบบนี้จะผิดรัฐธรรมนูญมาตรา ๑๙๐ หรือไม ดังนั้นรัฐบาลจะตองออกมาใหคําตอบวาจะดําเนินการ อยางไรกับนายสุวิทยฯ ส ว นความเห็ น ภาคประชาชนต อ กรณี “เอ็มโอยู ๔๓” โดยเครือขายประชาชนหลายฝาย เชน ไทยหัวใจรักชาติ เครือขายทวงคืนแผนดินแม และภาคีเครือขายผูติดตามสถานการณปราสาท พระวิหาร รวมกันแถลงขาวเมื่อ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๐.๐๐น. ณ หองรามฆพ สโมสรราชตฤณมัย สมาคม สนามม า นางเลิ้ ง โดยมี น ายวี ร ะพั น ธุ วิ ไ ลยพั น ธุ อดี ต คณบดีค ณะโบราณคดีฯ ตามที่ กลาวแลว กลาววาเหตุผลหลักที่ภาคประชาชนและ นักวิชาการตองการใหรัฐบาลยกเลิกเอ็มโอยู ๔๓ เนื่องจากเห็นวาความเขาใจดังกลาวยอมรับแผนที่ ๑:๒๐๐,๐๐๐ โดยจะทํ า ให ไ ทยเสี ย ดิ น แดน จึ ง เรีย กรองให ตั้งคณะกรรมการระดั บ ประเทศ เพื่ อ

สอบหาขอเท็จจริงเกี่ยวกับแผนที่ดังกลาว หลังจาก นั้นใหทําเปนขอเสนอระดับโลกตอไป และกลาววา เป น ผู ติ ด ตามการประชุ ม มรดกโลกครั้ ง นี้ กรณี ที่ นายสก อัน รองนายกรัฐมนตรีกัมพูชา ไดออกมา ประกาศวา “กัมพูชาไดรับชัยชนะเหนือไทยอยาง ยิ่งใหญ” หลังนายสุวิทยฯไดลงนามรับรองเอกสาร ดั ง กล า ว อย า งไรก็ ต ามเมื่ อ ๓ สิ ง หาคม ๒๕๕๓ เวลา ๑๓.๕๐ น. นายสุวิทยฯในฐานะหัวหนาคณะ ผูแ ทนไทย แถลงชี้แ จงกรณีล งนามในเอกสารตั้ ง คณะกรรมการบริหารพื้นที่รวม ทําใหไทยเสียเปรียบ กัมพูชานั้นไมเปนความจริง เพราะเอกสารที่ลงนาม ไปเป น เพี ย งข อ มติ ที่ ป ระธานการประชุ ม ร ว มให ลงนามเทา นั้ น เหตุที่ล งนามเพราะพิ จ ารณาแล ว ไม มี ข อ มู ล ผู ก พั น ทั้ ง เขตแดนและกฎหมาย และ เนื้อหาทั้ง ๕ ขอไมมีขอไหนระบุวาไดพิจารณาตั้ง ไอซีซี พรอมยังไดเปลี่ยนแปลงขอความจากคําวา “ไดพิจารณา” มาเปน “ไดรับ” เอกสารจากกัมพูชาแทน


ทําใหสถานะทุกอยางไมเปลี่ยนแปลงจากการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกเมื่อป พ.ศ.๒๕๕๑ ที่เมือง ควิเบกประเทศแคนาดา ที่กัมพูชาสามารถนําปราสาท พระวิหารขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกได แตไทยได คัดคานการตั้งคณะกรรมการไอซีซี มาตลอดตั้งแต ป พ.ศ.๒๕๕๑ จนถึงปนี้ เนื่องจากตั้งไอซีซี จะตอง ไดรับการยอมรับจากทุกฝาย ดังนั้นตราบใดที่ไทย ไมยอมรับก็ไมสามารถตั้ง “ไอซีซี” ได อยางไรก็ตามในวันเดียวกันนี้ นางซูซาน วิลเลี่ยมส หัวหนาฝายมีเดีย หนวยงานขอมูลขาว ยูเนสโก สํานักงานกรุงเทพฯ ไดแจงเรื่องขาวจาก คณะกรรมการมรดกโลกเรื่องปราสาทพระวิหารวา ประธานคณะกรรมการมรดกโลกและรั ฐ มนตรี กระทรวงวัฒนธรรมของบราซิล นายชูลา เฟรไรรา ได ยื่ น มติ ที่ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น จากคณะผู แ ทน ประเทศไทยและประเทศกัม พูชา รับขั้นตอนของ ประเทศกั มพู ชาในการจั ดตั้ งคณะกรรมการ ประสานงานระหวางประเทศ(ไอซีซี)เพื่อคุมครอง ปราสาทพระวิหารอยางยั่งยืน ทั้งนี้ในมติดังกลาว ยังมีการรับทราบถึงการที่ศูนยมรดกโลกไดรับเอกสาร ที่ยื่นโดยประเทศกัมพูชา ซึ่งทางคณะกรรมการจะทํา การพิจารณาในการประชุมครั้งที่ ๓๕ ในป พ.ศ.๒๕๕๔ สํ า หรั บ นายอภิ สิ ท ธิ เวชชาชี ว ะนายกรั ฐ มนตรี ของไทยอางวาที่นายสุวิทยฯ ลงนามครั้งนี้ไทยจะ ไมสูญเสียดินแดนใด ๆ ทั้งสิ้น ตามขอมูลหลักฐานตาง ๆ ที่ไดรวบรวมมาเสนอ ใหทานผูอานไดทราบครั้งนี้ เพื่อจะไดพิจารณาหา ขอเท็จจริงวา ฝายใดเปนฝายที่พูดความจริง และ ฝ า ยไหนที่ ค าดว า จะพู ด ไม จ ริ ง ขอให ท า นผู อ า น

โปรดไดใช ”ปญญา” วินิจฉัยตัดสินใจเอาเอง สําหรับ ปญหาปราสาทพระวิหารถือวาเปนเรื่องใหญ เปน ศั ก ดิ์ ศ รี ข องประเทศและสุ ม เสี่ ย งในเรื่ อ งการ เสียดินแดน ทําใหทุกฝายใหความสนใจเปนอยางยิ่ง ถาดําเนินนโยบายผิดพลาดจนเกิดเสียดินแดนขึ้น อีกเปนคํารบสอง จะเปนการสรางประวัติที่ดางพรอย ใหลูก หลานไทยไดจารึกและจดจําเปนบทเรีย นที่ ไมนาเกิดขึ้นซ้ําซาก สําหรับประเทศไทยที่ถือวาเปน ประเทศสํ า คั ญ ยิ่ ง ประเทศหนึ่ ง ในกลุ ม อาเซี ย น ปจจุบัน ถึ ง แม ว า ป พ.ศ.๒๕๕๓ คณะกรรมการ มรดกโลกจะยินยอมเลื่อนการรับรองแผนการพัฒนา พื้นที่บริเวณรอบปราสาทออกไปพิจารณาใหมใน ป พ.ศ.๒๕๕๔ แตคาดวาเปนการเลื่อนออกไปเพื่อให กัมพูชาแกไขใหเกิดความสมบูรณเทานั้น คาดวา ในอนาคตแผนบริ ห ารจั ด การรอบพื้ น ที่ ป ราสาท นาจะผานการพิจารณาของคณะกรรมการมรดกโลก อยางแนนอน ถึงแมวาผลการประชุมของคณะกรรมการ ฯ ในครั้ ง นี้ (ที่ ป ระเทศบราซิ ล ) กั ม พู ช าจะเป น ฝ า ย เพลี่ยงพล้ําอีก แลวถือวาเปนครั้งที่ ๒ ภายหลังยูเนสโก อนุ มั ติ ใ ห ขึ้ น ทะเบี ย นเป น มรดกโลกฝ า ยเดี ย ว ตั้ง แต ป พ.ศ.๒๕๕๑ และไทยไดคั ด ค า นจนต อ ง เลื่ อ นแผนพั ฒ นาพื้ น ที่ อ อกไปครั้ ง หนึ่ ง แล ว เมื่ อ ป พ.ศ.๒๕๕๒ แต ไ ทยก็ ไ ม อ าจจะประมาทและ นิ่งนอนใจไดวานี่เปนชัยชนะอยางเด็ดขาด ถือวา เปน เพียงการพักยกเพื่อใหน้ํ าเทานั้น และอยาได หวัง ว า กั ม พูช าจะเสนอแผนการบริห ารจั ด การได ตอเมื่อไดใหความรวมมือกับไทยเพื่อปกปนเขตแดน เสร็จกอนแลวเทานั้น กัมพูชาอาจจะมีทีเด็ดอยางอื่น


เชน “ล็อบบี้” คณะกรรมการมรดกโลกโดยเฉพาะ คณะกรรมการที่เปนมหาอํานาจที่เล็งผลประโยชน ในกั ม พู ช าจนลื ม ความถู ก ต อ ง ก็ อ าจทํ า ให เ กิ ด ธรรมชาติ

ความพลาดพลั้งไดในอนาคตเชนเดียวกับบทเรียนที่ เคยได รั บ มาแล ว เกี่ ย วกั บ ปราสาทแห ง นี้ เ มื่ อ ป พ.ศ.๒๕๐๕ """


...การประกันคุณภาพการศึกษานั้นเปรียบเสมือนยาขม หม อ ใหญ ที่ เ ข า มาเกี่ ย วข อ งกั บ สถาบั น การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ไมเวนแมกระทั่งสถาบันการศึกษาเฉพาะทางของกองทัพ…

น.ท.วิพล สุขวิลัย กอนอื่นตองขอขอบคุณหลาย ๆ ทาน ที่ได ติดตามสอบถามความเคลื่อนไหวตาง ๆ เกี่ยวกับ การประกันคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง หางหาย ไปเสียนานที่ไมไดนําขาวสารของการประกันคุณภาพ มาแจงใหทราบ เนื่องจากผูเขียนเองไดปรับยายไป รับราชการที่ ส ถาบันวิช าการป อ งกั น ประเทศเมื่ อ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ กับบทบาทหนาที่ฝายอํานวยการ ในการกํากับดูแลงานประกันคุณภาพการศึกษาใน ภาพรวมของกระทรวงกลาโหม ซึ่งตองขอขอบคุณ ผูบังคับบัญชาทุกระดับชั้นของกองทัพอากาศ และ กองทัพไทย ที่ใหโอกาสผูเขียนไดทํางานในครั้งนี้ ด ว ยภาระหน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบที่ ค อ นข า งมาก จึงทําใหไมมีเวลาที่จะนําสิ่งดี ๆ มาเลาสูกันฟง..... เชื่อวาหลาย ๆ ทานยังจํากันได...การประกันคุณภาพ การศึกษานั้นเปรียบเสมือนยาขมหมอใหญที่เขามา เกี่ ย วข อ งกั บ สถาบั น การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ไม เ ว น แมกระทั่งสถาบันการศึกษาเฉพาะทางของกองทัพ ..เข า มาเติ ม เต็ ม ให ส ถาบั น มี คุ ณ ภาพยิ่ ง ขึ้ น จาก พ.ศ.๒๕๔๒ ถึ ง ป จ จุ บั น กว า ๑๒ ป แ ล ว ที่ ย าขม

หม อ นี้ ยัง มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการรั ก ษาโรคต า ง ๆ ทางการศึกษาใหมีคุณภาพที่เทาเทียมกัน ถึงแมจะ เป น ไปได ย ากแต ก็ ยั ง ดี ก ว า ไม มี ย าอะไรเลย โดย เชื่อวาการประกันคุณภาพจะเปนเครื่องมือสําคัญที่ จะทําใหคุณภาพการศึกษาของแตละสถาบันเกิด ความเทาเทียมกัน

พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๒๑ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่น ของรั ฐ อาจจั ด การศึ ก ษาเฉพาะทาง ตามความ ตองการและความชํานาญของหนวยงานนั้นได โดย คํานึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขที่กาํ หนดใน


กฎกระทรวง (ป จจุ บั นที่ บั งคั บใช คื อ กฎกระทรวง วาดวยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ.๒๕๔๗) และหมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศึกษา (มาตรา ๔๗ – ๕๑) กําหนดใหมีระบบ การประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ ประกอบดว ย ระบบการประกัน คุ ณภาพภายใน และระบบการ ประกัน คุ ณ ภาพภายนอก ให ห น ว ยงานตน สัง กั ด และสถานศึกษา จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา และใหถือวาการประกันคุณภาพ การศึ ก ษาภายในเป น ส ว นหนึ่ ง ของกระบวนการ บริ ห ารการศึ ก ษาที่ตอ งดํ า เนิ น การอยา งต อเนื่อ ง และใหสถานศึกษาใหความรวมมือตามคํารองขอ ของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา(องคการมหาชน) หรือ สมศ. พระราชกฤษฎีกาการจัดสวนราชการ และ กํ า หนดหน า ที่ ข องส ว นราชการกองบั ญ ชาการ กองทัพไทย พ.ศ.๒๕๕๒ ลง ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๒ ในการปรับโครงสรางของกองบัญชาการกองทัพไทย เมื่ อ ๑ เมษายน ๒๕๕๒ ส งผลให กรมยุ ทธศึ กษา ทหาร ซึ่งทําหนาที่สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา วิ ช าการทหาร และรั บ ผิ ด ชอบในการกํ า กั บ ดู แ ล การปฏิ บั ติ ต ามนโยบายของกระทรวงกลาโหม วิ เคราะห วิ จั ย และรั บ ผิ ด ชอบงานการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา การศึ ก ษาเฉพาะทาง การเทียบโอนหนวยกิตการศึกษา การดําเนินงาน เกี่ยวกับใบประกอบวิชาชีพครู/อาจารยของกองทัพ รวมทั้ ง ติ ด ตามประเมิ น ผลผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษา ในฐานะหนวยงานตนสังกัดที่รับผิดชอบกํากับดูแล

งานดานการศึกษาของกองทัพในขณะนั้น ยุบหนวย รวมกับ สถาบัน วิช าการป อ งกัน ประเทศ และไดมี การปรั บ เปลี่ ย น “สํ า นั ก งานประกั น คุ ณ ภาพและ มาตรฐานการฝก ศึก ษาทหาร”(เพื่ อ พลาง) จั ดตั้ ง เปน “กองคุณภาพและมาตรฐานการฝกศึกษา ทหาร” ตามอัตราโครงสรางของสถาบันวิชาการ ปองกันประเทศ เปนหนวยขึ้นตรงตอกองบัญชาการ สถาบันวิชาการปองกันประเทศ มีหนาที่รับผิดชอบ งานดานการประกันคุณภาพการศึกษาของกระทรวง กลาโหมในภาพรวมทั้งหมด การประกัน คุณภาพ การศึกษาของกองทัพในรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) นี้จะมีความแตกตางจากสองรอบที่ผานมา คอนขางมาก อาทิเชน จํานวนตัวบงชี้ในการประเมิน ภายนอกลดลง เพื่อไมไปเพิ่มภาระใหกับสถาบัน การศึกษาโดยเฉพาะตัวบงชี้ที่ซ้ําซอนกับการประกัน คุณภาพภายใน โดยจะเนนตัวบงชี้ในเชิงคุณภาพ มากยิ่ ง ขึ้ น มุ ง เน น ผลลั พ ธ ข องการปฏิ บั ติ ส ว น กระบวนการตาง ๆ เนนอยูในการประกันคุณภาพ ภายใน ตั ว บง ชี้ใ นการประเมิน ภายนอกรอบสาม แบ ง กลุ ม ตั ว บ ง ชี้ อ อกเป น ๓ กลุ ม คื อ ตั ว บ ง ชี้ กลุ ม แรกเป น ตั ว บ ง ชี้ พื้ น ฐาน ซึ่ ง พั ฒ นาต อ เนื่องมาจากการประเมินในรอบแรกและรอบสอง เปนตัวบงชี้คงที่ ตายตัวไมเปลี่ยนแปลง หากจะมี การเปลี่ยนแปลง สมศ.ตองแจงสถาบันการศึกษา ลวงหนาที่นานเพียงพอเพื่อใหสถาบันไดเตรียมตัว ในการจัดเก็บขอมูล เปนตัวบงชี้ที่ทุกสถาบันตองมี และปฏิบัติได มีจํานวนนอย ชี้ผลลัพธ/ผลกระทบ และเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน (IQA) ประกอบดวยมาตรฐานตามกฎกระทรวง ๔ มาตรฐาน


คือ ผลการจัดการศึกษา การบริหารจัดการ การจัด การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และการ ประกันคุณภาพภายใน ตัวบงชี้กลุมที่สอง ตัวบงชี้ อั ต ลั ก ษณ เป น ตั ว บ ง ชี้ ที่ ส ถาบั น การศึ ก ษาเป น ผูกําหนดเอง ซึ่งจะเปนเรื่องจุดเดนที่เปนอัตลักษณ ของสถาบั น ในด า นต า ง ๆ เป น การชี้ จุ ด เด น ลักษณะพิเศษ ปรัชญา นวัตกรรม เอกลักษณ โดย สถาบันเปนผูระบุเองวา สถาบันของตนมีอัตลักษณ อะไร และตัวบงชี้กลุมที่สามคือตัวบงชี้มาตรการ สงเสริม เปนตัวบงชี้ที่ปรับเปลี่ยนไปตามกาลเวลา ตามสภาพปญหาของสังคม และเปนตัวบงชี้ที่เปน เครื่ อ งมื อ ของภาครั ฐ ในการขั บ เคลื่ อ นคุ ณ ภาพ สังคมโดยรวม เปนการชี้วาสถาบันเปนผูชี้นําสังคม และแก ปญ หาสั ง คม โดยชี้ นํา ในเรื่ องตา ง ๆ เช น ในปจจุบันจะมุงเนนเรื่องการปรองดอง ความสามัคคี สมานฉันท เศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ โดยในตัวบงชี้ กลุมนี้สถาบันแตละแหงจะมีตัวบงชี้ที่ไมเหมือนกัน ขึ้นอยูกับความถนัด ความสนใจ และศักยภาพของ บุคลากรภายในหนวย ในการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ถึงแมจะมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการอยางไร แตระบบ ในการดํา เนิ น การประกั น คุ ณ ภาพภายในก็ยัง คง เหมื อ นเดิ ม ที่ มุ ง เน น เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ซึ่ ง ประกอบด ว ย การประกั น คุ ณ ภาพภายใน การตรวจติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนา คุ ณ ภาพ โดยสถาบั น จะต อ งดํ า เนิ น การประกั น คุณภาพภายในอยางตอเนื่องทุกป ที่เนนผูเรียนเปน สําคัญ และที่สําคัญสถาบันตองนําผลการประเมิน

คุณภาพทั้งภายในและภายนอกมาทําแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของแตละสถาบันการศึกษา มาตรฐานและตัวบงชี้ของกองทัพ ในสวนของมาตรฐานและตัวบงชี้ โดยเฉพาะ ตัวบงชี้สถาบันการศึกษาของกองทัพหลายสถาบัน มีความพยายามที่จะใหมีการลดจํานวนลง ในฐานะ ที่ ผู เ ขี ย นมี ส ว นรั บ ผิ ด ชอบการปฏิ บั ติ ส ว นนี้ จาก ผูปฏิบัติในอดีตสูผูกําหนดนโยบายในปจจุบันเขาใจ ดีวา...แตละสถาบันตองการที่จะลดจํานวนตัวบงชี้ ใหนอยลง ตัวบงชี้ของเดิมมีมากมายเหลือเกิน เพราะ ตั ว บ ง ชี้ แ ต ล ะตั ว จะมี ก ระบวนการขั้ น ตอนในการ ปฏิบัติมากมาย อยากทําความเขาใจกับสถาบันวา ตั ว บ ง ชี้ พื้ น ฐานต า งๆ ที่ กํ า หนดให แ ต ล ะสถาบั น ปฏิบัตินั้นเปนตัวบงชี้ที่มีความสําคัญตอระบบการ ประกั น คุ ณ ภาพภายในของกองทั พ ที่ เ น น ความ เข มแข็ง ของกระบวนการภายใน ถากระบวนการ ภายในเขมแข็งมีขอมูลครบถวนแลว การประเมิน ภายนอกจะประเมินในมิติอยางไร ก็มิใชปญหา..... การประกันคุณภาพการศึกษาของกองทัพภายใต การดําเนินงานของ “กองคุณภาพและมาตรฐาน การฝกศึกษาวิชาทหาร กองบัญชาการสถาบัน วิชาการปองกันประเทศ” (กมศ.บก.สปท.) ขณะนี้ ไดดําเนินการพัฒนามาตรฐานและตัวบงชี้ที่จะใช ในการตรวจสอบและประเมิน คุ ณภาพการศึ ก ษา ภายในสถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ รอบสาม เสร็ จ เรี ย บร อ ยแล ว ๒ ระดั บ คื อ มาตรฐานและ ตัวบงชี้สําหรับสถาบันการศึกษาของกองทัพระดับ ปริญญาตรีขึ้นไป มีจํานวน ๘ สถาบัน ประกอบดวย


๘ มาตรฐาน ๖๒ – ๗๖ ตัวบงชี้ น้ําหนัก ๒๐๐ คะแนน และมาตรฐานและตัวบงชี้สําหรับสถาบันการศึกษา ของกองทัพระดับต่ํากวาปริญญา มีจํานวน ๑๐ สถาบัน ประกอบดวย ๗ มาตรฐาน ๔๙ – ๕๗ ตัวบงชี้ น้ําหนัก ๑๘๐ คะแนน จํานวนตัวบงชี้ของแตละสถาบันจะมี จํานวนลดหลั่นกันตามลักษณะเฉพาะของแตละ สถาบั น ในภาพรวมของตั ว บ ง ชี้ ใ นรอบสามนี้ จ ะ นอยกวาสองรอบที่ ผานมาและตัว บง ชี้ในจํา นวน ดังกลาวนี้ ไดรวมตั วบ งชี้ ที่สถาบันจะตองรับการ ประเมินภายนอกจาก สมศ.ไวแลว จะทําใหแตละ สถาบันดําเนินงานประกันคุณภาพไดงาย ชัดเจน และลดความซ้ําซอน ซึ่งมาตรฐานและตัวบงชี้ทั้ง ๒ ระดั บ นี้ ไ ด รั บ ความเห็ น ชอบจากผู บั ญ ชาการ สถาบันวิชาการปองกันประเทศในฐานะเลขาธิการ สภาการศึกษาวิชาการทหารแลว และนําเรียนขออนุมตั ิ ใชจากผูบัญชาการทหารสูงสุดเรียบรอยแลว ซึ่งอีก ในไม ช า จะพิ ม พ เ ป น คู มื อ การประกั น คุ ณ ภาพ แจกจา ยให กับแตล ะสถาบั น ส ว นมาตรฐานและ ตัวบงชี้อีก ๑ ระดับ คือ มาตรฐานตัวบงชี้สถาบัน การศึกษาของกองทัพ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจํานวน ๑ สถาบัน คือ โรงเรียนเตรียมทหาร สถาบัน วิชาการปองกันประเทศ อยูระหวางดําเนินการ คาดวา จะแลวเสร็จภายใน มีนาคม ๒๕๕๔ นี้ และนอกจากนี้ แลวยัง มีสถาบั นการศึกษาทางทหารระดับสูง อีก ๔ สถาบัน ที่จะตองรับการตรวจสอบและประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในอีกเชนกัน คือ วิทยาลัย ปองกันราชอาณาจัก ร วิท ยาลั ยเสนาธิ การทหาร ศูนยศึกษายุทธศาสตร และสถาบันจิตวิทยาความมั่นคง ทั้ ง ๔ สถาบั นนี้ จะรั บการตรวจสอบและประเมิ น

คุณภาพจากคณะกรรมการของสถาบันวิชาการปองกัน ประเทศตามวงรอบทุ กสองป การดํ าเนิ นการประกั น คุณภาพการศึกษาในทุกสถาบันของกองทัพรอบสาม นี้ จะมีความงาย และเกิดความชัดเจนทางการปฏิบัติ คอนขางมาก เนื่องจากในรายละเอียดของคูมือของ แตละระดับจะมีคําอธิบายตัวบงชี้ การจัดเก็บเอกสาร ประกอบการปฏิบัติ เกณฑการใหคะแนน และขอมูล ประกอบการพิจารณาตาง ๆ สําหรับมาตรฐานและ ตัวบงชี้ในการประเมินภายนอกของระดับปริญญาตรี ขึ้นไปนั้น ยังคงใชมาตรฐานและตัวบงชี้กลางของ ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาที่ สมศ.กํ าหนด เนื่ องจากเห็ นว า ความแตกตางในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา นั้น มีความใกลเคียงกัน สวนมาตรฐานและตัวบงชี้ ที่ใชประเมินสถาบัน การศึกษาระดับต่ํากวาปริญญา ของกองทัพ ในการประเมินรอบสามนี้ สมศ.เห็นวา สถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ มี ลั ก ษณะการจั ด การศึก ษาที่ แตกตา งจากระดั บ อาชี ว ศึก ษาทั่ ว ไป จึงไดจัดทํามาตรฐานและตัวบงชี้ใหเปนการเฉพาะ โดยพัฒนารวมกันระหวาง สมศ. + สปท.(หนวยงาน ตนสังกัดของ กห.) + ยศ.เหลาทัพ (หนวยงานตนสังกัด ระดับกองทัพ) ซึ่งปจจุบันไดดําเนินการยกรางเปน คู มื อเสร็ จเรี ยบร อยแล ว และจะนํ า ทดลองใช กั บ สถาบั นที่รวมโครงการประเมิน นําร อง ๓ สถาบั น ไดแก โรงเรียนดุริยางคทหารบก โรงเรียนจาอากาศ และโรงเรียนชุมพลทหารเรือ ในเร็ว ๆ นี้ การตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) การตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพในรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๘) ทั้งการประเมินภายนอก


และการตรวจประเมิน คุณภาพภายในจะมีความ ชั ด เจนและเป น ระบบมากยิ่ ง ขึ้ น กว า ที่ ผ า นมา ในสวนของการประเมินภายนอก ในฐานะที่ผูเขียน เป น ผู รั บ ผิ ด ชอบการตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพทั้ ง ภายนอกและภายใน ยื น ยั น เลยว า การประเมิ น ภายนอกรอบสาม สถาบันการศึกษาของกองทัพ จะเริ่มในปงบประมาณ ๒๕๕๕ ทางกองคุณภาพ และมาตรฐานการฝ ก ศึ ก ษาทหาร ฯ ได ทํ า แผน การประเมินสงใหกับ สมศ.เรียบรอยแลว ซึ่งการ ประเมินภายนอกครั้งนี้ชวงเวลาจะมีความสอดคลอง กับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในของ กองทัพ เปนไปตามเจตนารมณของ สมศ. ที่ตองการ ใหสถาบันไดดําเนินการประเมินภายในใหเรียบรอย กอน สําหรับแผนการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ ภายในสถาบันการศึกษาของกองทัพในปจจุบันมี จํานวน ๒๓ สถาบัน ผูบัญชาการสถาบันวิชาการ ปองกันประเทศ อนุมัติแผนดําเนินการไว แยกใน แตละปไดดังนี้ * ในป พ.ศ.๒๕๕๔ จํานวน ๗ สถาบัน คือ วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา, วิทยาลัย พยาบาลกองทัพบก, วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ ฯ, วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ, โรงเรียนนาวิกเวชกิจ ฯ, โรงเรียนชางฝมือทหาร ฯ และ โรงเรียน จาอากาศ ฯ * ในป พ.ศ.๒๕๕๕ จํานวน ๖ สถาบัน คือ ส ว นบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาโรงเรี ย นเสนาธิ ก ารทหารบก, โรงเรียนดุริยางคทหารบก, โรงเรียนดุริยางคทหารเรือฯ , โรงเรียนดุริยางคทหารอากาศ ฯ, โรงเรียนแผนที่ ฯ และโรงเรียนชุมพลทหารเรือ ฯ * ในป พ.ศ.๒๕๕๖ จํานวน ๓ สถาบัน คือ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา, โรงเรียนนายเรือ, โรงเรียนนายเรืออากาศ และสถาบันการศึกษาทางทหาร ธรรม

ระดับสูงของสถาบันวิชาการปองกันประเทศ จํานวน ๔ สถาบั น คื อ วิ ท ยาลั ย ป อ งกั น ราชอาณาจั ก ร วิทยาลัยเสนาธิการทหาร ศูนยศึกษายุทธศาสตร และสถาบันจิตวิทยาความมั่นคง * ในป พ.ศ.๒๕๕๗ จํานวน ๓ สถาบัน คือ โรงเรียนนายสิบทหารบก, โรงเรียนชางกรมอูทหารเรือ ฯ และโรงเรียนเตรียมทหาร ฯ * ในป พ.ศ.๒๕๕๘ เปนการเริ่มวงรอบใหม ของแตละสถาบันการศึกษา และการติดตามการ พัฒนาคุณภาพของแตละสถาบันการศึกษา การดํ า เนิ น การตรวจสอบและประเมิ น คุณภาพการศึกษาภายในของกองทัพจะสอดคลอง ตามกฎกระทรวง ว า ด ว ยระบบ หลั ก เกณฑ แ ละ วิธีการประกั น คุ ณ ภาพการศึก ษา พ.ศ.๒๕๕๓ ที่ กําหนดใหหนวยงานตนสังกัดของสถานศึกษาทั้ง ขั้ น พื้ น ฐาน การอาชี ว ศึ ก ษา และการอุ ด มศึ ก ษา จั ด ให มีก ารติ ด ตามตรวจสอบคุณ ภาพการศึ ก ษา อยางนอยหนึ่งครั้งในทุกสามป จากที่นําเสนอมาขางตนเปนเพียงสวนหนึ่ง ในความเคลื่อนไหวของงานประกันคุณภาพการศึกษา ของกองทัพในรอบสาม ซึ่งหากมีความคืบหนาหรือ ความเคลื่อนไหวใด ๆ จะนํามาแจงใหทราบในโอกาส ตอไป กอนจากกันฉบับนี้ ขอแนะนําหนวยที่รับผิดชอบ งานประกันคุณภาพการศึกษาของกองทัพไวดังนี้ - กองคุณภาพและมาตรฐานการฝกศึกษา ทหาร กองบัญชาการสถาบันวิชาการปองกันประเทศ เลขที่ ๖๒ ถ.วิภาวดีรังสิต แขวง/เขต ดินแดง กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท/โทรสาร ๐ ๒๒๗๗ ๑๑๑๖ หรือทางเว็ปไซต http://ndsi.rtarf.mi.th/ndsi_qa/index.html ขอบคุณครับ...พบกันใหมโอกาสหนา


น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ป 2010 เปนปที่ดีสําหรับเทคโนโลยี ICT ที่เริ่มดวยการแนะนําผลิตภัณฑไฮเทคนับตั้งแต iPhone 4 ไปจนถึง iPad และในป 2011 ก็ยังคงใหความสําคัญกับผลิตภัณฑไฮเทคเหมือนเดิม โดยเพิ่มประสิทธิภาพ ในดานความแข็งแกรง และความคลองตัว ของผลิ ตภัณฑไฮเทคใหทันสมัยมากขึ้น อาทิ เชน สามารถ นําไปใชไดทุกที่เมื่อจําเปนตองเดินทาง (greater mobility) และที่สําคัญ สามารถใชงานบนเว็บและ บนโปรแกรมที่ไดพัฒนามาใหทํางานบนเว็บ (web-enabled products & applications) ซึ่งถือเปน สวนสําคัญของเทคโนโลยี ICT 2011 ที่เนนในเรื่องการเชื่อมตอของขอมูลไดจากทุกที่เมื่อตองใชงานรวมกัน (collaboration & interoperability) มีรายละเอียดดังนี้ Smartphones แซง Netbooks Netbooks ออกสูตลาดไปไดไมกี่ปที่ผานมา สิ่งดีขอหนึ่งที่เห็นสําหรับ Netbooks คือเปนคอมพิวเตอร ขนาดเล็กที่ถูกผลิตขึ้นมาตรงตามความตองการของผูใชที่ตองเดินทางและตองดําเนินกิจกรรมออนไลนกับ สํานักงานอยางตอเนื่อง Netbooks ใหความสะดวกสบายใน การทํางานใกลเคียงกับ Notebooks ในขณะที่มีน้ําหนักนอย กว า ครึ่ง สวนแบตเตอรี่ ที่ใช ในบางกรณี คุณสามารถใชได ตลอดวัน โดยไมตองชารจประจุใหม ถึงกระนั้นก็ตามผูใช Netbooks หลายคนมักพบขอจํากัดในการใชที่เกี่ยวกับ หน า จอที่ แ คบ และหน ว ยประมวลผลแทบจะไม เ พี ย งพอ สําหรับการทํางานบนระบบปฏิบัติการแบบ Windows นอกเหนือจากนี้ Netbooks ถึงแมวามีขนาดเล็กและ มีน้ําหนักเบาก็ตาม ยังถือวาเปนคอมพิวเตอรที่ตองมีอุปกรณเสริมและอื่น ๆ ที่จําเปนใสไวในกระเปา อาทิ


สายไฟแบตเตอรี่ ที่คุณจะตองนําติดตัวไปดวยทุกครั้งเมื่อเดินทาง เมื่อนํามา เปรียบเทียบกับ Smartphones ในปจจุบันนั้น จะเห็นวา Smartphones ตอบสนองการทํางานไดหลายอยางและที่สําคัญมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้นเรื่อย ๆ ผูใชจํานวนมากพบวา Smartphones นาจะเปนอุปกรณไฮเทคพกพาที่ เหมาะสม และในบางกรณี เ ห็ น ด ว ยว า น า จะเป น ทางเลื อ กที่ ดี อั น หนึ่ ง นอกเหนือจาก Netbooks ในป 2011 แนวโนมความตองการ Smartphones มี จํานวนเพิ่มขึ้น เห็นไดจาก Smartphones ทองเว็บ? ไดไมมีปญหา, รับและสง อีเมล? ไดไมมีปญหา, ใส Smartphones ในกระเปาเสื้อของคุณ? ไดแนนอน ถาใหเลือกระหวาง Smartphones กับ Netbooks? ในความคิด Netbooks คงตองเสนออะไรที่มากขึ้น ใหแกผูใช

iPad มาแรง มาถึงวันนี้หลายคน คง เห็น ดว ยกับ ความสามารถของ บริษัท Apple ที่เปลี่ยนตลาด ดาน ICT ดวยผลิตภัณฑไฮเทค แบบใหม ๆ อาทิ iPod, iPhone และ MacBook โดยเปนผูนําใน การนํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ ไ ฮเทคแบบ ใหม ๆ มาแทนผลิตภั ณฑ ไฮเทคแบบเก า ๆ อี กทั้ งยั งเป นแรงบันดาลใจอย างมากให กับบริ ษั ทอื่ น ๆ ในการ ลอกเลี ย นแบบ หลายคนคงได พ บกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ ไ ฮเทคแบบใหม ที่ มีลั ก ษณะเป น คอมพิ ว เตอร จ อแบน (Tablet computer) พกพางาย มีชื่อเรียกวา iPad ขนาดใหญกวา iPhone แตเล็กกวา Notebook โดย Apple ไดนําออกสูตลาดปลายป 2010 ที่ผานมา ตามขอมูล iPad สามารถนํามาใชทองเว็บ, อานหนังสือ อิเล็กทรอนิกส (e-book), เลนเกม และดูทีวี ทั้งหมดนี้ผานเครือขายแบบไรสาย (3G หรือ Wi-Fi) ในเวลาที่ ผานมา Apple ไดทํางานรวมกับสํานักพิมพที่เลือกไว (Publishers) เพื่อจะนําเนื้อหาในสิ่งพิมพไปใชบน iPad ในป 2011 iPad จะไดรับความนิยมและถูกนํามาใช อยางกวางขวาง ในความคิดคงสรางความสั่นสะเทือน ใหกับอุตสาหกรรมคอมพิวเตอรและอุตสาหกรรมสิ่งพิมพไปพรอมกัน


Home Server เริ่มใชในบาน คงไมบอยนักที่ใครบางคน จะออกมากลาวถึง Microsoft มักจะเปนผูนําทางเทคโนโลยี แตในกรณี ของ Windows Home Server (WHS) เปนสินคาออกมาตั้งแตป 2007 โดย บิล เกตส เปดตัว WHS งาน Consumer Electronics Show 2007 ตัดหนา Keynote ของสตีฟ จ็อบสไมกี่วัน ในกรณีนี้คงตรงกับ ใครบางคนที่ออกมากลาวถึงลักษณะนิสัยของ Microsoft จะเห็นวา WHS ถูกออกแบบมาสําหรับครัวเรือน เพื่อใชงานในบานที่มีเครื่องคอมพิวเตอรหลายเครื่อง ซึ่งจะใหบริการความสามารถหลักเรื่องการสํารอง ขอมูล แชรไฟล และที่สําคัญการเขาถึงระยะไกลเปนประตูออนไลนที่คุณสามารถเขาถึงขอมูลได ในขณะที่ คุณอยูบนทองถนน เมื่อครั้งที่ WHS ถูกนําเสนอเปนครั้งแรก มีไมกี่คนที่เห็นถึงความจําเปนของอุปกรณ ดั ง กล า ว แต ใ นเวลานี้ มี ห ลายครั ว เรื อ นที่ มี ค อมพิ ว เตอร ห ลายเครื่ อ งและมี ข อ มู ล ที่ สํา คั ญ อยู ใ นเครื่ อ ง คอมพิวเตอร การสูญเสียขอมูลไมวาดวยเหตุใดก็ตาม ถือเปนสิ่งรายแรงที่เกิดขึ้นกับเจาของในปจจุบัน ดังนั้นอุปกรณโฮมเซิรฟเวอรที่นํามาใชในบาน จึงเปนสิ่งที่จําเปนสําหรับหลาย ๆ ครัวเรือน ในป 2011 เทคโนโลยีทํ าใหอุปกรณ อิเล็กทรอนิก สมีขนาดเล็ กลงและสามารถพกพาไดงายขึ้น หลาย ๆ ครัวเรือน ตระหนักถึงความสําคัญของโฮมเซิรฟเวอร ที่ใชในการจัดเก็บขอมูลและสํารองขอมูล โดยเฉพาะ WHS ของ ไมโครซอฟทรุนลาสุด โคดเนมวา Vail ที่มีความสามารถที่สูงขึ้นในสวนการแชรไฟล, การสํารองขอมูล, การสตรีมเพลงและวิดีโอ, การเขาถึงระยะไกลและประโยชนอื่น ๆ จากเซิรฟเวอรสําหรับผูใชภายในบาน ในความคิดถือเปนองคประกอบสําคัญของชีวิตในยุคดิจิตอลที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ วัน


Web 3.0 มาแลว ถาแบงยุคของอินเทอรเน็ตตอนนี้อาจแบงได 3 ยุค และเรากําลังกาวไปสูยุดที่ 3 ในไมชานี้ ในยุคแรก Web 1.0 นั้น เปนเรื่องของการที่ผูใหบริการนําเสนอขอมูลใหกับบุคคลทั่วไป โดยทําในลักษณะเดียวกับ หนังสือทั่วไป ที่ผูอานมีสวนรวมนอยมากในการเติมแตงขอมูล แตในยุคสอง Web 2.0 นั้น เกี่ยวกับสังคม ออนไลน, การสรางชุมชน และขอมูลที่เสริมสรางพลังอํานาจที่บุคคลเปนผูสราง เราจะเห็นไดจากสิ่งที่

สามารถทําไดผานเว็บไซต อาทิ Facebook, Twitter และ MySpace ทําใหเราทราบวาเว็บในยุคที่ 2 นั้น บุคคลทั่วไปเปนผูสรางเนื้อหาและนําเสนอขอมูลตาง ๆ ที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น อาทิ การเขียน Blog, การแชร รูปภาพและไฟลมัลติมีเดีย ซึ่งเปนเรื่องของการแบงปนความรูซึ่งกันและกันอยางแทจริง ทําใหขอมูลมี จํานวนมหาศาล และเราคงไดเห็นขอจํากัดของเว็บในยุคที่ 2 ในขอหลักคือ Facebook, Twitter และ MySpace ผูใชตองทําการเชื่อมโยงขอมูลที่เกี่ยวของกันโดยตองทําการเชื่อมตอหลายครั้ง (multiple interfaces) เพื่อที่จะเขาถึงขอมูลจากหลายแหลง ป 2011 จะเห็นการเกิดของ Web 3.0 จุดเดนคือสามารถ ทําการเชื่อมโยงแหลงขอมูลตาง ๆ ที่มีความเกี่ยวของกัน ทําใหนักพัฒนาเว็บและผูใชสามารถเขาถึงขอมูล จากหลายแหลง โดยใชการเชื่อมตอเพียงครั้งเดียว (single interface) อาทิ ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท Apple ก็จะเชื่อมโยงขอมูลเกี่ยวกับ Computer, iPod, iPhone และ iPad โดยจะเชื่อมโยงลักษณะนี้ไปเรือ่ ยๆ ทําให ขอมูลมีการเชื่อมโยงกันเหมือนฐานขอมูลที่มีความสัมพันธกันในเชิงขอมูล Google ไดเริ่มดําเนินการ


ในเรื่องนี้ โดยจัดใหมีเครื่องมือคนหาขอมูล (real-time search tools) เพื่อชวยคนหาขอมูลที่มีความสัมพันธ กันในเว็บไซตสังคมออนไลน ในความคิดแอพพิเคชั่นของ Web 3.0 จะชวยใหเราลดจํานวน User ID และ รหัสผาน ที่เราตองใชในการคนหาขอมูลที่ตองการจากเว็บตาง ๆ ซึ่งนั่นหมายถึงชวยใหเราคนหาขอมูลดวย การทองเว็บนอยลงเมื่อเทียบกับปจจุบัน ผลทําใหอินเทอรเน็ตกลายเปนฐานขอมูลความรูขนาดใหญที่ ขอมูลทุกอยางถูกเชื่อมตอกันอยางเปนระบบมากขึ้น และนั่นแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาที่เกิดขึ้น เขาสู Cloud Computing Cloud Computing หรือ การ ประมวลผลแบบกลุ ม เมฆ หมายถึ ง วิ ธี ก ารประมวลผลที่ อิ ง กั บ ความ ตองการของผูใช โดยผูใชสามารถระบุ ความต อ งการไปยั ง ซอฟต แ วร ข อง ระบบ Cloud Computing จากนั้น ซอฟต แ วร จ ะร อ งขอให ร ะบบจั ด สรร ทรัพยากรและบริการใหตรงกับความ ตองการผูใช ซึ่งยังคงตองตอสูตอไป เพื่ อ ให ไ ด รั บ การยอมรั บ ถึ ง แม มี แอพพิเคชั่นที่ใชในการสรางเอกสารเขาถึงไดทุกที่ทุกเวลา อาทิ Google Docs (http://docs.google.com) ประโยชนอันหนึ่งที่คุณจะไดรับจากการทํา Cloud Computing คือคุณสามารถบันทึก, จัดเก็บและเรียกใช ไฟลขอมู ลของคุ ณจากคอมพิ วเตอรใด ๆ ก็ไดตลอดเวลา ตราบเทาที่คุณสามารถเชื่อมต ออินเทอรเน็ ตได ลักษณะของ Cloud Computing ถูกกําหนดขึ้นมาใหคุณตองไววางใจบุคคลที่สามที่คุณฝากขอมูลของคุณ ไว ในกรณีที่คุณไมสามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ตได ไมวาจะดวยเหตุผลใด ๆ ก็ตาม คุณคงไมสามารถเขาถึง ไฟลขอมูลของคุณได ซึ่งเปนลักษณะอยางหนึ่งของ Cloud Computing ที่คอนขางคานกับความรูสึกของ ผูใช ในป 2011 Could Computing คงไดรับการยอมรับมากขึ้น อันเนื่อง มาจากบริษัท Microsoft ไดแนะนํา โปรแกรม Office รุนใหม (MS Office 2010) ที่สนับสนุนการทํา Cloud Computing ซึ่งในรุนออนไลน (online version) คุณสามารถเรียกใชโปรแกรม Word, Excel และ PowerPoint จากคอมพิวเตอรใด ๆ ก็ได ที่เชื่อมตออยูกับอินเทอรเน็ต ในความคิดคงเพิ่มความสะดวกและความคลองตัวใหแกผูใชโปรแกรม Office ที่มีอยูเปนจํานวนมากทุกแหงทั่วโลก ผลที่ตามมานาจะทําให Cloud Computing เปนมาตรฐานในการ ประมวลผลตอไปในอนาคต


Pharoah

หากยอนไปเมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๐ ประมาณ ๔ ปที่แลว ผูนํา ๓ คนของกัมพูชา ไดรับ การสถาปนาอิสริยยศอันเปนเกียรติสูงสุดอยางที่ ไมเคยปรากฏมากอน จากพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี ซึ่งถือเปนกรณีพิเศษที่สามัญชนไดรับ ยศศักดิ์ คือ

พระบาทสมเด็จ พระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

๑. สมเด็จฮุนเซน นายกรัฐมนตรี ไดรับการ โปรดเกลาฯ แตงตั้งเปน สมเด็จอัครมหาเสนาบดี เตโช ๒. สมเด็จเฮง สัมริน ประธานสภาผูแทนราษฎร ไดรับการโปรดเกลาฯ แตงตั้งเปน สมเด็จ อัครมหาปญญาจักรี ๓. สมเด็จเจีย ซิม ประธานวุฒิสภา ไดรับ การโปรดเกลาฯ แตงตั้งเปน สมเด็จอัครมหาธรรมะ โพธิสาร ปรากฏการณนี้แสดงใหเห็นเปนประจักษวา ระบอบฮุนเซนไดบรรลุถึงจุดสูงสุดของอํานาจอยาง ที่ไมเคยมีผูนําคนใดของกัมพูชาที่จะมีอํานาจอยาง เบ็ดเสร็จเด็ดขาดเชนนี้มากอน แมแตสมเด็จพระสีหนุ


อดี ตกษัตริย ก็ ตาม บารมีและอิ ท ธิพ ลของฮุน เซน แทรกซึมไปทั่วทุกสวนของกัมพูชา ๒๐ ปเศษของ การดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีอันยาวนาน (เปน นายกรัฐมนตรีของกัมพูชา ในวัยเพียง ๓๓ ป) ทําให ฮุนเซนสามารถยึดกุมการเมือง อํานาจทางทหาร ความมั่ ง คั่ ง และศาลยุ ติ ธ รรม หลั ง การเลื อ กตั้ ง ครั้งลาสุดพรรคประชาชนกัมพูชาไดชัยชนะอยาง เด็ดขาด อํานาจของฮุนเซนยิ่งเพิ่มมากขึ้นจนไมมี ใครหรื อสถาบั น ใดจะตอกรหรือทั ด ทานไดแ มแ ต สถาบันกษัตริยของกัมพูชา ฮุนเซนปฏิบัติตอประมุข ของตนเหมือนตรายาง หรือเจว็ด บางครั้งถึงขั้นเคย ขูจ ะแกไ ขรั ฐ ธรรมนู ญ ยกเลิก สถาบั น กษั ตริย ข อง กั ม พู ช าก็ เ คยทํ า มาแล ว เรื่ อ งนี้ ส มเด็ จ พระสี ห นุ ทรงเคยไดรับประสบการณมามาก และคงจําบทเรียน ที่เจ็บปวดนี้ไดดีกวาใคร ภู มิ ห ลั ง ของฮุ น เซนกั บ พฤติ ก รรมทาง การเมือง เด็กหนุมเกิดเมื่อวันที่ ๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๔ ที่ เ รี ย นหนั ง สื อ ไม จ บชั้ น มั ธ ยมปลาย จากบ า น เป ย มเกาะซนา ตํ า บลเป ย มเกาะซนา อํ า เภอ สตึงตร็อง จังหวัดกําปงจาม โดดเดนขึ้นมาอยาง รวดเร็ ว หลั ง จากกองทั พ เวี ย ดนามผสมกั ม พู ช า สามารถโคนลมระบอบเขมรแดงพอลพตได ฮุนเซน ดํารงตําแหนงรัฐมนตรีตางประเทศเมื่ออายุ ๒๗ ป ถือเปนรัฐมนตรีตางประเทศที่อายุนอยที่สุดในโลก และพูดภาษาอังกฤษไมได เสนทางชีวิตทางการเมือง ของเขารุ ง โรจน แ ซงหน า ผู นํ า ที่ อ าวุ โ สเหนื อ กว า ไมวาจะเปนเฮงสําริน อดีตประธานาธิบดีรัฐบาลหุน

ของเวี ย ดนาม และเจี ย ซิ ม คู แ ข ง อาวุ โ สในพรรค ประชาชนกัมพูชา ฮุนเซนไดใชประสบการณทางทหาร ที่ โ ชกโชนในการรบจนสู ญ เสี ย นั ย น ต าข า งซ า ย ผสมกับไหวพริบและลีลาสุดพลิ้วทางการเมือง อดีต รองผูบังคับการกรมทหารราบผูนี้จึงสามารถยึดครอง ตําแหนงนายกรัฐมนตรีติดตอยาวนานถึง ๒๐ ปเศษ คู ป รป ก ษ ท างการเมื อ งต อ งประสบชะตากรรม แตกตางกันไป สมเด็จพระสีหนุตองสละราชสมบัติ เพื่ อ รั ก ษาสถาบั น กษั ต ริ ย ไ ว พรรคฟุ น ซิ น เปคถู ก บดขยี้ จ นหมดสภาพ สมเด็ จ กรมพระรณฤทธิ์ หัวหนาพรรคตองเสด็จลี้ภัย เชน เดียวกับสม รัง สี ตองหลบหนีคดีเอาชีวิตรอดจนกระทั่งไดรับอภัยโทษ และกลั บ เข า สู ก ารเมื อ งอี ก ครั้ ง แต ไ ม มี พ ลั ง และ บทบาทใดๆ ความสําเร็จของฮุนเซนไมใชโชคหรือ ความบังเอิญ แตความเปนผูนําโดยธรรมชาติไดทํา ให เ ด็ก ชาวนาที่ ไ มจ บชั้ น มั ธ ยมปลายจากจัง หวั ด กําปงจาม กาวสูตําแหนงสมเด็จอัครมหาเสนาบดี เตโช นายกรัฐมนตรีตลอดกาลแหงกัมพูชา


หากศึ กษาประวัติฮุนเซนเชิง ลึกจะพบวา ฮุนเซนเรียนหนังสือเกงสอบไดที่ ๑ - ๓ มาโดยตลอด แตเ ขาจํ า เป น ตอ งละทิ้ง การศึก ษาเพราะเขา ร ว ม ขบวนการตอตานรัฐบาลนายพลลอน นอล (Lon Nol) ซึ่งองคการซีไอเอ (CIA) ของสหรัฐอเมริกา หนุนอยูเบื้องหลัง เมื่อถูกกวาดลางอยางรุนแรงจึง ตองหลบหนีกลับบานในชนบทดวยวัยเพียง ๑๗ ป นอกจากหัวดีแลว ฮุนเซนยังมีปฏิภาณไหวพริบดี ปรับเปลี่ยนทาทีรวดเร็วสอดคลองกับวัตถุประสงค และสถานการณ ดังนั้นเมื่อเขารวมขบวนการตอตาน รัฐบาลเมื่ออายุ ๑๗ ป ฮุนเซนจึงไดรับมอบหมาย ใหเปนผูสงสาร เขาซอนจดหมายลับไวในขนมปง หลบหลีกเจาหนาที่บานเมืองจากการจับกุม นําสาร ไปสู เ ป า หมายโดยไม ถู ก จั บ เลย ท า ที ข องฮุ น เซน มักทําใหฝายตรงขามประหลาดใจแบบคาดไมถึง เสมอ ผูอานคงจํากันไดวา เมื่อป ๒๕๕๓ รัฐมนตรี ของไทยบางคน ได ไ ปพบปะเจรจาเกี่ ย วกั บ กรณี ปราสาทพระวิหาร ทุกอยางดําเนินไปดวยดี จนเมื่อ เดินทางกลับถึงประเทศไทย ฮุนเซนประกาศกราว ไลหลังขูจะใชกําลังทหารทันที การเลนละครทาง การเมืองเปนบทที่ฮุนเซนถนัดมากที่สุด ยากที่ใคร จะตั้งรับไดทัน สิ่งที่เปนพรสวรรคของเขาอีกอยางหนึ่งคือ การโฆษณาชวนเชื่อ ชวงเคลื่อนไหวตอตานรัฐบาล ในชนบท เขาอุทิศเวลาไปกับการปลุกระดมชาวไร ชาวนาใหตอตานเจา หนา ที่ ที่ดิน และตระหนั ก ถึง ความไมเปนธรรมในสังคม เมื่อเขามีบทบาททาง การเมือง เครื่องมือที่เขาใชทําลายศัตรูทางการเมือง คือ วาทะศิลปและปากกา ยามที่เขาตองเผชิญหนา

กับไทย พรสวรรคในการปลุกเรามวลชนทําใหประชาชน ชาวกัมพูชายืนอยูเคียงขางเขา เพราะเขาสามารถ ใชไทยเปนเปาหมายในการสรางความรูสึกชาตินิยม ได

แมจะมิไดผานการศึกษาในโรงเรียนทหาร แตประสบการณในสนามรบไดหลอหลอมฮุนเซน ใหเปนนักยุทธศาสตรที่แหลมคม ในยามที่ดอยกวา หรื อ สภาวะเป น รอง เขาจะประคองตั ว ซื้ อ เวลา ออมกําลัง สุภาพ ดูไรพิษสง แตในยามที่เหนือกวา หรือเปนตอ เขาจะบดขยี้ศัตรูทางการเมืองจนไมมี พื้ น ที่ ที่ จ ะยื น รุ ก ไล ศั ต รู อ ย า งเมามั น ไม ป ราณี ปราศรัย ประเทศเพื่อนบานกําลังมีปญหาทางการเมือง (ไทย) เขาจะกาวราวขมขู บทบาทกึ่งทหารกึ่งนักการเมืองของฮุนเซน ทํ า ให เ ขาได เปรี ย บเหนือ สมเด็จ พระสี ห นุ สมเด็ จ กรมพระรณฤทธิ์ พล.อ.ยิ ก บุ น ชั ย และสม รั ง สี ศัตรูของเขาที่เปนพลเรือนดอยกวาเขาในเรื่องกําลัง ศัตรูของเขาที่เปนทหารดอยกวาเขาในเรื่องการเมือง


ฝายตรงขามตอกรกับฮุนเซนยาก เพราะเขามีทั้ง สมอง ปาก ปน และปากกา

ความมั่ ง คั่ ง ไว ใ นสิ ง คโปร เ พื่ อ เป น หลั ก ประกั น ใน อนาคต และสะสมนาฬิกาโรเล็กซเปนงานอดิเรก

การเกิดในครอบครัวชาวนา เปนคนชนบท และยากจน ทําใหเขาเรียนรูความไมเปนธรรมในสังคม เมื่อเข ามาเรีย นมั ธยมปลายที่ วิท ยาลัยอิน ทรเทวี ในพนมเปญ (Indra Devi) เขาถูกเหยียดหยาม ถูกเอารัดเอาเปรียบ เพราะเขาเปนเด็กวัด อาศัยกับ พระอาจารย เ จรี ย งที่ วั ด นาควรรณ (Neakvoan) การเปนเด็กวัด ลูกชาวนา คนชนบท และยากจน ส ง ผลต อ ทั ศ นคติ แ ละพฤติ ก รรมชั ด เจน ฮุ น เซน ตอตานสถาบันกษัตริยและชนชั้นสูง อุทิศตนใหกับ โครงการพั ฒ นาชนบทและการเกษตร รั ก ชาวไร ชาวนา ชอบความเรียบงาย รักธรรมชาติและชนบท ไม ชอบอาหารฝรั่ ง ฮุ นเซนเริ่ มต นจากศู นย จากค วามต่ําตอย เมื่อกาวถึงจุดสุดยอดของอํานาจเขา จึงไมอยากสูญเสียสถานภาพ ความรูสึกไมมั่นคง ในอํานาจความหวาดระแวงเปนบุคลิกภาพเดนของ ฮุนเซน ดังนั้นเขาจึงสะสมกําลังทหารสวนตัวหรือ กรมทหารองครักษไวปกปองตัวเขาเอง สะสมเงินทอง

ฮุนเซนกับเวียดนาม ฮุ น เซนหวั่ น เกรงเวี ย ดนามมากกว า ไทย เขาจะพิ น อบพิ เ ทากั บ เวี ย ดนามจนถึ ง ขั้ น “หงอ” เรื่องนี้เปนที่รับรูกันทั่วไปของชาวกัมพูชา หลักฐาน เชิ ง ประจั ก ษ นี้ คื อ การป ก ป น เขตแดนเวี ย ดนาม กัมพูชาเสร็จสิ้นเมื่อไมนานมานี้ เขมรสูญเสียดินแดน ให กั บ เวี ย ดนามโดยดุ ษ ฎี โ ดยไม มี เ งื่ อ นไขใดๆ ฝายคานกัมพูชาคัดคานประทวงอยางรุน แรง แต ฮุนเซนนิ่งเฉย แตกรณีของไทยนั้นตางกัน เขาใชทาที กาวราว ทารบ ขมขู และวางมาดกรางใหญโต ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งเขากั บ เวี ย ดนาม นับเปนสายสัมพันธพิเศษ วากันวาคุณหญิงบุญ รานี ภรรยาของฮุนเซนนั้นมีเชื้อสายเวียดนาม ระหวาง เปนรองผูบังคับการกรม เขาก็ไดทําหนาที่ผูประสานงาน กับเวียดนาม เมื่อถูกกวาดลางจากกองกําลังของ พอลพต ดวยความหวาดระแวง ฮุนเซนจึงตัดสินใจ ไปลี้ภั ย ในจัง หวั ด ซงเบทางตอนใต ข องเวีย ดนาม พรอม ๆ กับ เฮง สัมริน และเจียซิม เวียดนามไดเล็งเห็น ความเปนผูนําของนายทหารหนุมคนนี้เหนือกวาผูนํา อาวุโสอยางเฮง สัมริน และเจีย ซิม ฮุนเซนจึงไดรับ การสนับสนุนใหเปนผูนําหมายเลข ๑ ตลอดมา ซึ่ง ก็มิไดผิดหวังแตประการใด เพราะฮุนเซนแสดงความ ภักดีตอเวียดนามเสมอตนเสมอปลาย ความขัดแยง ที่มีอยูในปจจุบันระหวางไทยกับกัมพูชานั้น ถาเวียดนาม ชวยเหลือก็จะยุติลงโดยเร็ว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเวียดนาม วาจะใชแนวคิดใดระหวางการสรางบุญคุณใหกับไทย


ฮุนเซนกับครอบครัว ภาพของฮุ น เซนในทางการเมื อ งนั้ น เขาเป น ผู นํ า แบบอํ า นาจนิ ย ม ก า วร า ว ควบคุ ม สถาบันกษัตริยอยางเขมงวด กําจัดฝายคานอยาง รุนแรง ทั้งการใชเงินซื้อตัว ส.ส. จากพรรคตรงขาม

ด า นการประพั น ธ เ พลง ผลงานเพลงของฮุ น เซน ไดรับการเผยแพรจัดจําหนายและเปนที่นิยมอยาง กวางขวาง ความเปนศิลปนกิตติมศักดิ์ยิ่งเพิ่มความ นิยมในหมูประชาชนมากขึ้นนอกเหนือจากคะแนน เสี ย งที่ เ ขาได รั บ อย า งท ว มท น จากผลสํ า เร็ จ ใน การฟ น ฟู บ า นเมื อ งหลั ง สงคราม การปฏิ รู ป ทางเศรษฐกิ จ ที่ ป ระสบ ความสําเร็จดึงดูดนักลงทุน รวมทั้ง การพบแหล ง น้ํ า มั น สํ า รองในทะเล หลายแหง ดังนั้นไมวาการเมืองหรือ เสียงเพลง ฮุนเซนกุมหัวใจคนกัมพูชา ไดอยางทวมทน

ใชกฎหมายและศาลเปนเครื่องมือ รวมทั้งการใช กองทั พ ส ว นตั ว โค น ล ม ปรป ก ษ ที่ เ ป น ภั ย คุ ก คาม กลาวไดวาเขาใชทุกรูปแบบครบเครื่อง จนยากที่ ใครจะตอกรได แตในภาพของครอบครัวนั้น ฮุนเซน เปนพอที่ออนโยนรักลูกรักเมียมาก สนับสนุนสงเสริม ใหการศึกษาอยางเต็มที่ เขาสงบุตรชายคนหนึ่งไป ศึกษาที่โรงเรียนทหารชั้นนําของโลกที่สหรัฐอเมริกา คือ เวสต พอยท สวนบุตรชายอีกคนสําเร็จการศึกษา จากฝรั่งเศส บุตรชายและบุตรีอีก ๔ คน ตางไดรับ การศึกษาระดับสูงทั้งสิ้น

ฮุนเซนกับการคอรัปชั่น เมื่อพลิกกลับมาดูเหรียญอีกดานหนึ่งที่เปน ดา นมืดของฮุน เซน เป น ที่รับรูกั น ทั่วไปทั้ง ภายใน ประเทศและต า งประเทศว า เงิ น ช ว ยเหลื อ จาก ตางประเทศสวนหนึ่งจะถูกผองถายเขาบัญชีของ ฮุนเซน การลงทุนในประเทศและจากตางประเทศ ในธุ ร กิ จ ทุ ก ประเภทจะต อ งจ า ยให ฮุ น เซนทั้ ง สิ้ น รูปแบบการจายมีทั้งการใหของขวัญเปนเงินดอลลาร การจายเปนงวด ๆ และรายไดสวนใหญมาจากการ ถือหุนลมที่ทุกธุรกิจพรอมใจกันจายเพื่อแลกเปลี่ยน กับความมั่นคงทางธุรกิจ เงินทองและความมั่งคั่ง ของฮุนเซนสวนใหญฝากไวที่สิงคโปร และบางประเทศ ในยุ โ รป จํ า นวนทรั พ ย สิ น ไม มี ใ ครทราบมู ล ค า ที่ แนนอน แตจากการประมาณการเชื่อกันวา ฮุนเซน มีเงินหลายหมื่นลานบาท

ฮุนเซนกับความเปนศิลปน ฮุนเซนออกกําลั งกายอย างสม่ําเสมอกับ กีฬาวอลเลยบอล แบดมินตัน หมากรุก และจอกกิง แตที่โลกภายนอกไมไดรับรูคือ ฮุนเซนมีพรสวรรค


ฮุนเซนกับไทย ช ว งที่ฮุ น เซนอยูใ นระยะเสริ มสรา งบารมี ทางการเมื อ ง ฮุ น เซนดู จ ะอ อ นโยนเป น มิ ต รกั บ ไทยมาก แตเมื่อฮุนเซนมีความมั่นคงทางการเมือง แล ว ท า ที ก็ เ ปลี่ ย นไปกลายเป น ก า วร า ว รุ น แรง ท า รบ ยื่ น คํ า ขาด ไม ใ ห เ กี ย รติ กั บ ไทยอี ก ต อ ไป โดยเฉพาะประเด็นของเขาพระวิหาร ในกรณีเขาพระวิหารนั้นผูเชี่ยวชาญมองวา เป น เกมอย า งหนึ่ ง ของฮุ น เซน เพราะเขาสู ญเสี ย เกียรติภูมิใหกับการปกปนเขตแดนเสียเปรียบใหกับ เวียดนาม ดังนั้นกรณีเขาพระวิหารจึงถูกทําใหเปน เรื่องใหญเกินความจําเปน เพื่อชดเชยและกลบเกลื่อน การเสียดินแดนใหเวียดนาม ซึ่งกรณีนี้ตองยอมรับ วาฮุน เซน ประสบความสําเร็จ ทําให ชาวกัมพูชา ลืมเรื่องการเสียดินแดนใหเวียดนามโดยสิ้นเชิง

ภายหลั ง การสิ้ น สุ ด ของระบอบเขมรแดงถื อ เป น ความสําเร็จที่เปนรูปธรรมที่สุด ฮุนเซนวันนี้ไมใช รัฐมนตรีตางประเทศวั ย ๒๗ ปเหมือนในอดีต การตอสูทางการเมืองมานาน หลายสิบป หลอหลอมใหเขาเขมแข็งขึ้น ศัตรูทาง การเมื อ งของเขาพ า ยแพ ล า ถอยหมดทางสู การเลือกตั้งครั้งหลังสุด เขาสามารถยึดครองรัฐสภา ไดอยางเด็ดขาด ณ บัดนี้เปนตนไป ฮุนเซนผูทรนง จะสามารถควบคุมกัมพูชาไดอยางเบ็ดเสร็จ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้น ผูนํา ที่ดํารงตําแหนงติดตอกันเกิน ๒๐ ป มีทั้งสิ้น ๓ คน คือ ลีกวนยู แหงสิงคโปร, ดร.มหาธีร แหงมาเลเซีย และฮุนเซน สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเตโซ แหงกัมพูชา ดว ยเหตุ นี้จึ ง ไม นา แปลกใจที่ ฮุ น เซน จะทรนงตน และอหังการอยางเปดเผย

บทสรุป บทบาทของฮุนเซนนั้นมีหลายมิติ พฤติกรรม ของฮุนเซนมีทั้งทาทีออนนอมและแข็งกราว ขึ้นอยู กับวัตถุประสงคและสถานการณ เขามีความโดดเดน ในฐานะที่ เ ป น นั ก การเมื อ งในแบบอํ า นาจนิ ย ม มีว าทะศิลปและเปน นักวางแผนทางยุ ท ธศาสตร ผลงานด า นการฟ น ฟู ป ระเทศและเศรษฐกิ จ ธรรมชาติ เครดิต : - ศรุติ สกุลรัตน. เอกสารทางวิชาการ ศูนยอินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ. มหาวิทยาลัยบูรพา. ๒๕๕๑.


อ.วารุณี


 Across

 Down

1. Friend 7. A smooth thick liquid that is used as a fuel and for lubrication machines, usually find it under the ground. 10. There is a market fair ………. Sunday. 11. Find, ………, found 12. I feel very tired, ……. I stop to rest. 13. A kind of soup, which has vegetable or rice in it. 15. Something which is put over on object, usually in order to protect it. 17. A …….. is a very small jumping insect that has no wings and feeds on the blood of humans or animals. 18. A : Is there anything ……. that you want? B : No, That’s all. 19. Yesterday ……. my birthday. 22. A …….. is a mark on something that is hard to remove. 25. I love dancing, …….. my husband loves singing. 26. Mr.Redmond is a …….….. guy who always spends his time alone in Thailand. 29. Don’t let her do the important job, because …….. is rather lazy and careless woman. 30. Tom usually has ……. apple after dinner. 32. An abbreviation for “America, American” 33. The size of shirt that you bought him should be bigger than size L, so next time you have to give him size …… (an abbreviation).

1. Her son is very good boy, he must …….. or admit that he does something wrong. 2. The same as No.10 Across 3. The old guys believe that …….. is a wonderful place for the one who does good things and often makes merit when he is still alive. 4. According to No.3 Down, we can ……….…. prove it. 5. ………. course, I am a bit sure, it is true. 6. “She” functions as pronoun but “Sumalee” is proper ………. . 7. Only one time 8. Who is your ……..… or the one you respect and ready to copy him or her. 9. Neither Smarn ……… Suchart tells you a lie. 11. ……., saw, seen 13. That news must ……. true. 14. ……. do you know that it is true? 16. An abbreviation for “Versus” 20. To …………. means to show or prove that something is true. 21. Mr.Withawat Sunthronvinet is one of the master of ceremonies in ……... Ten program. 23. The same as No.52 Across 24. The Chinese people always respect one animal, that is …….. . 25. The student who sits …..…. or near me is the smartest of all.


 Across

 Down

34. When someone’s body begins to …….…., it starts to lose its firmness, because of old age. 35. Would you like …….. more rice? 37. The activity or education subject that consists of creating, painting, sculptures and other pictures for people to look at. 39. These days the criminals often try to illegally take ………, a powerful drug which some people take for pleasure into our country. 43. Football is not an …….. game, the players must play outside. 46. Anytime you don’t want to cook, you can get many ………. to eat at the convenient store here. 47. An abbreviation for “Officer Commanding” 48. Oh! ……… is wonderful trip for us. 49. A red ……. or other one is not important, but being a unit is necessary for Thai people now. 50. For me, I am between red and white mixed together, so I must be ……. colour. 52. Opposite of “yes” 53. Her grandchild is so ……. or very pretty. 54. A number between nine and eleven 55. Last week, I had too many things to manage, so I was …….. at that time. 56. When I was a secondary student, I could solve the square …….. very well. 57. She is so sick, she must have an over ……. of medicine, next time you should prepare for her.

27. It is the useful weed that our king advises the agreculturalists to grow it for protecting the surface of soil. 28. An abbreviation for Japanese unit of money 29. Opposite of “rough” 31. Let’s go to the university, shall …….? 35. Don’t tell her the exciting story, she must in a ……. because of her serious physical condition in which her blood can not circulate properly. 36. ….….. is used to describe things relating to the sea or to the animals and plants that live in the sea. 38. To take a break means to take a …….. . 40. A part of your face that is below your mouth and above your neck. 41. She plans to Europe by …….. or plane. 42. A teacher is walking …….. a classroom. 43. Opposite of “output” 44. Have you …….. your homework? 45. Diamond is a precious and hardest …….. . 49. A …….. way train is an under-ground railway. 51. Oh! look at that poor dog, ……. tail is cut. 53. An abbreviation for “Commanding Officer” 54. ……. breath fresh air, can make your lungs strong and healthy.

เฉลยอยูหนา (๗๘)


Sasha สวัสดีคะทานสมาชิกหนังสือขาว ทอ. ทุกทาน ในการเดินทางแสวงบุญ คนหาธรรม (ตามรอยบาท พระศาสดา) ที่ผานไปแลวทั้ง ๔ ตอนนั้น ขาพเจาได พาทา นไปนมั ส การสัง เวชนีย สถานซึ่ ง พระสัม มา สัมพุทธเจาทรงตรัสรูที่พุทธคยา และสถานที่ที่เสด็จ ดั บ ขั น ธปริ นิ พ พานพร อ มทั้ ง ถวายพระเพลิ ง พระพุทธสรีระ คือ เมืองกุสินารา จุดหมายของเรา ในตอนนี้จะพาทานไป ลุ มพินี สั งเวชนีย สถานที่ พระสัมมาสัมพุทธเจาประสูติ ในประเทศเนปาล ซึ่ง อยูหางจากที่มั่นสุดทาย (เมืองกุสินารา) ประมาณ ๑๓๕ กม. พวกเราตองไปคางคืนที่เมืองโครักขปูร (Gorakhpur) ใกลชายแดนอินเดีย-เนปาล เขาพัก กันที่โรงแรม Clarks Inn Grand (เปนครั้งแรกและ ครั้ง เดีย วของการเดิ น ทางที่ ไ ดพั ก โรงแรม เพราะ ไมมีวัดไทยอยูแถวนั้นเลย) ไปถึงก็เปนเวลาอาหาร เย็นพอดี มีอาหารแขกใหลองลิ้มชิมรสกัน มีไกทอด อินเดีย (Chicken Tanduri) กับแปงแผนปงอยางหนา ที่เรียกวานาน (Nan) ของโปรดของผูเขียนดวย

หลายทานลองทานอาหารแขกแลวก็สายหนาไปมา คนทํ า อาหารเห็ น คงดี ใ จเพราะถ า เป น คนอิ น เดี ย สายหนาจะหมายความวา oh yes อรอย แตนี่เปน การสายหนาแบบไทย ก็..เอาอารายมาใหกินอะเนี่ย ที่จริงผูเขียนชอบอาหารแขกอยูพอควร แตคนครัว ที่โรงแรมนี้ฝมือธรรมดา ๆ ทําอาหารรสชาติพอทาน ได คิดวาเขาคงเกรงวาเราจะทานไมได เลยไมใส เครื่องเทศใหเต็มสูตร มันจึงบลํา (ไมอรอย) สําหรับ มื้อเชาในวันนั้นมีจาปาตี (Chapati) ซึ่งเปนแปงแผน ปงที่บางกวานาน แกงถั่ว (Dal Curry) ตมมามาแขก (ไม ท ราบรสชาติ เ ป น เช น ไร ไม ไ ด ชิ ม เพราะกลั ว ทองเสีย) แลวก็มีขาวอะไรก็ไมทราบตมมากับนม ไดยินแววๆ บอกวาขาวมธุปายาส แตยังดีที่มีไขเจียว ไขตม ขนมปง และคอรนเฟล็กใหทานกับนม เสร็จ จากอาหารเช า ต อ งรี บ ออกเดิ น ทางเพื่ อ จะข า ม เขตแดนไปประเทศเนปาล คณะของเราถึ ง ด า น โสเนาลี (Sonauli) สายไปพอสมควร ตองตอคิว รถบรรทุ ก ที่ ร ออยู ย าวเหยี ย ด แถมขั้ น ตอนที่ ด า น


ตรวจคนเขาเมือง (Immigration) ของเนปาลชามาก... ประมาณวาชอปปงก็แลว เขาหองน้ําก็แลว หลับอีก หนึ่งตื่นก็แลว...เสร็จพอดีเกือบเพล ที่ดานฝงเนปาล ผู เ ขี ย นเห็ น มี ท หารยื น เต็ ม ไปหมด การตรวจคน ผา นเข า ออกค อ นข า งเข ม งวด มีก ารเป ด กระเป า ตรวจคนสัมภาระกันอยางจริงจัง พระอาจารยบอกวา

ของผูเขียนทานกันอยางเอร็ดอรอย (หลังจากทาน กัน ไมคอยไดม าตั้ง สองมื้ อ) ปดทา ยดวยไอศกรีม สตรอเบอรี่ ท่ี เ ขาตั ด มาเป น ชิ้ น ๆ หนาประมาณ สองเซนติเมตร วางใสจานเล็กๆ มาใหคนละจาน สองจาน yummy!(อรอย) ทานอาหารเสร็จก็อ อก ไปเดิน หาซื้ อ ผัก สดที่ต ลาดเล็ ก ๆ ขา งโรงแรมเพื่ อ

เนื่องจากมีกองทัพมด (ไมใชกองกําลังไมทราบฝาย นะคะ) คือพวกที่รับจางขนของขามพรมแดนเพื่อ นําไปขาย เพราะคาใชจาย (ตนทุน) จะถูกกวาการ ขนโดยรถบรรทุก ซึ่งตองเสียภาษีเปนเงินจํานวนมาก พอออกจากดานมาไดก็เ ปนเวลาอาหารกลางวัน (มีความรูสึกวาเขียนวนเวียนแตเรื่องอาหารการกิน สงสั ย จะหิ ว ขออนุ ญ าตไปหาลาซานญ า ใส ท อ ง ซะหนอยนะคะ) มื้อนี้ไดทานที่โรงแรมพาวัน เปน อาหารจีน (แบบแขก) รสชาติก็ดีคะ เห็นเพื่อนรวมคณะ

นํ า ไปทํ า อาหารมื้ อ เย็ น และมื้ อ เช า ของวั น รุ ง ขึ้ น หลังจากนั้นจึงออกเดินทางตอโดยใชเวลาไมนาน ก็ถึงจุดหมายกอนบายโมงเนื่องจากลุมพินีอยูหาง ไปอีกไมไกลนัก ลุมพินี....สถานที่ประสูติของพระสัมมา สัมพุทธเจา ในสมัยพุทธกาล ลุมพินีเปนสวนปาสาธารณะ หรือวโนทยานที่รมรื่นสําหรับพักผอนหยอนใจของ


กษัตริยและประชาชน ตั้งอยูกึ่งกลางระหวางเมือง กบิลพัสดุ (เมืองของพุทธบิดา) กั บเมืองเทวทหะ (เมือ งของพุ ท ธมารดา) ในแคว น สั ก กะ (ดิ น แดน ชมพูทวีป) ปจจุบันตั้งอยูที่อําเภอรูปนเดฮี (Rupandehi district)ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนประเทศ อินเดีย ทางเหนือเมืองโครักขปูร หางจากสิทธารถนคร (หรื อ นครเทวทหะ) ทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ ๒๒ กิโลเมตร หางจากเมืองติเลาราโกต (หรือนคร กบิลพัสดุ) ทางทิศตะวันออก ๒๒ กิโลเมตร และ หางจากดานโสเนาลีเพียง ๒๖ กิโลเมตร ไมสามารถ นํารถเขาไปไดตองจอดไวบริเวณลานจอดรถ แลว เดิ น หรื อ นั่ ง รถสามล อ ถี บ เข า ไป ระยะทางไม ถึ ง หนึ่ ง กิ โ ลเมตร แต โ ดนแขกขู ด ค า โดยสารคนละ ๑๐ รูป นั่งสองคนจายไป ๒๐ รูป (โอย เลือดไหล ซิบ ๆ เลย) รัฐบาลเนปาลไดเวนคืน ที่ ดิ น โดยรอบลุ ม พิ นี ประมาณ ๖,๐๐๐ ไร สร า งกํ า แพงล อ มรอบ พรอมทั้งปลูกตนไมนานาพันธุ และ สรางพุทธสถานเพื่อเปนการรําลึก ถึ ง พ ร ะ สั ม ม า สั ม พุ ท ธ เ จ า นอกจากนี้ยังไดเชิญชาวพุทธจาก ประเทศต า งๆ ทั่ ว โลก เช น ญี่ ปุ น เกาหลี จีน พมา ศรี ลัง กา เป น ต น ใหมาสรางวัดเพื่อนอมถวายเปนพุทธบูชา ปจจุบัน มีวัดนานาชาติทั้งหมด ๑๔ วัด รวมทั้งวัดไทยลุมพินี ซึ่งรัฐบาลไทยเปนผูใหการสนับสนุน ในป พ .ศ.๒๕๔๐ (ค.ศ.1997) องค ก าร UNESCO ไดพิจารณาใหลุมพินีเปนมรดกโลก (World Heritage Site) ภายใตชื่อ "ลุมพินี สถานที่

ประสูติของพระพุทธเจา" (Lumbini : the Birthplace of the Lord Buddha) - วิหารมายาเทวี (Mayadevi Temple) สถานที่สําคัญที่ผูแสวงบุญทุกคนไมพลาด เขาเยี่ยมชมก็คือ วิหารมายาเทวี ภายในวิหารยังคง เห็นซากอิฐเกาแกอายุมากกวาพันป มีรูปสลักหิน ออนเปนภาพของพระนางสิริมหามายา พุทธมารดา ในอิริยาบถยืนเหนี่ยวกิ่งสาละให พระประสูติการ (หมายถึง การเกิด สวนพระประสูติกาล หมายถึง เวลาเกิด) แกพระกุมาร เจาชายสิทธัตถะประทับ ยืนอยูทางดานขวา พระหัตถขางหนึ่งชี้ขึ้นฟา ตาม พุ ท ธประวั ติ ก ล า วว า เมื่ อ พระองค เ สด็ จ ออกจาก พระครรภ พ ระมารดา ทรงผิ น พระพั ก ตร ไ ปทาง

ทิศเหนือ กาวพระบาทออกไปเจ็ดกาว เหลียวดูทิศ นอยทิศใหญ แลวทรงเปลง “อาสภิวาจา” (แปล เปนไทย) วา “เราจะเปนผูเลิศที่สุดในโลก เราจะเปน ผูเจริญที่สุดในโลก เราจะเปนผูประเสริฐที่สุดในโลก ชาตินี้เปนชาติสุดทายของเรา บัดนี้ภพใหมไมมีแก เราอีกแลว”


ป จ จุ บั น ทางการประเทศเนปาลได ส ร า ง วิ ห ารใหม ทั บ วิ ห ารหลั ง เก า และได ขุ ด ค น พบ ศิลาจารึกรูปคลายรอยเทา สันนิษฐานวาเปนจารึก รอยพระบาทก า วที่ เ จ็ ด ของเจ า ชายสิ ท ธั ต ถะที่ ทรงดํา เนิน ได เ จ็ดกา วในวั น ประสู ติ พระอาจารย (พระมหา ดร. สุเทพ อกิฺจโน) ไดนําสวดมนตและ เดินเวียนเทียนสามรอบภายในวิหาร เพื่อเปนการ บูชาพระพุทธองคกอนออกเดินชมบริเวณโดยรอบ

นอกจากวิ ห ารมายาเทวี แ ล ว ยั ง มี ส ระ โบกขรณี (Puskarini หรือ Holy Pond) สระน้ําที่ พระนางสิ ริ ม หามายาสรงสนาน และใช ส รง พระกุ ม ารสิ ท ธั ต ถะหลั ง จากประสู ติ และสิ่ ง หนึ่ ง ที่ขาดไมไดในสังเวชนียสถานทุกแหงคือ เสาหิน พระเจาอโศกมหาราช (Ashokan Pillar) ซึ่งมี ลักษณะเหมือนกันทุกตน คือ เปนเสาหินทรายกลม ขัดมัน สีน้ําตาล สูงประมาณ ๑๔ ฟุต วัดโดยรอบ ได ๗ ฟุต ๓ นิ้ว เสาตนนี้ไมมีหัวสิงหแลวคะ คงหัก

พังสลายไปตามกาลเวลา แตที่ตัวเสามีคําจารึกเปน อัก ษรพราหมี พอสรุ ปใจความไดว า พระเจ าอโศก มหาราชไดเสด็จมานมัสการ ณ สถานที่แหงนี้ และ ทรงโปรดใหสรางรูปสลักหินและหลักศิลา เพราะ พระผูมีพระภาคเจาไดประสูติที่นี่ - พุทธอุทยานประวัติศาสตรของโลก ลุมพินีไดรับการพัฒนาจากชาวพุทธทั่วโลก ใหเปน "พุทธอุทยานทางประวัติศาสตรของโลก" ซึ่งเปนดําริของ ฯพณฯ อู ถั่น ชาวพุทธพมา ในสมัย ที่ทานดํารงตําแหนงเลขาธิการองคการสหประชาชาติ ทานตั้งใจเริ่มโครงการฟนฟูใหลุมพินีเปนศูนยรวม จิตใจของชาวพุทธ โดยแบงพื้นที่เปนสัดสวนสําหรับ ปลูกปาและสรางวัดพุทธนานาชาติจากทั่วโลกกวา ๔๑ ประเทศ เมื่ อ ตอนขาเข า นั่ ง รถเข า ไปเพราะแดด คอนขางรอน แตตอนขาออกเริ่มแดดรมลมตกแลว ผูแสวงบุญ สวนมากเลยเดินชมนกชมไมกันออกมา ยกเวนผูสูงวัยมาก ๆ และพวกขาไมคอยดี วันนี้คณะ ของเราไมไดเดินทางขามกลับเขาประเทศอินเดีย แตพระอาจารยพาพวกเราไปพักคางคืนที่วัดเกาหลี ซึ่งสรางที่พักไวใหกับผูแสวงบุญเชนเดียวกับวัดไทย (และวั ด ของชาติ อื่ น ๆ) ต อ งพั ก รวมกั น ประมาณ ๔-๖ คน ถามากกวานี้คงจะเบียดกันไปหนอย หองพัก ของเขาสมถะมาก ไมมีเครื่องปรับอากาศ มีพัดลม เพดานอยูหนึ่งตัว ไมมีเตียง มีใหแตฟูกบางๆ ปูนอน กั บ พื้ น พร อ มหมอนและผ า ห ม ผู เ ขี ย นได อ ยู แทรกเปนยาดํากับคุณพี่ ๓ ทานที่เปนญาติพี่นอง กัน ทั้งสามสาวมีวัยไลเลี่ยกันแตก็เลยวัยเกษียณไป


หลายปแลวคะ ทานนอนเปดพัดลมทั้งคืน ผูเขียน เลยต อ งนอนคลุ ม โปงทั้ ง คื น เหมื อ นกั น มิ ฉ ะนั้ น วันรุงขึ้นอาจจะไมสบายได เพราะนอนตากพัดลม ตลอดคืน ในวันรุงขึ้นหลังจากรับประทานอาหาร เชากันอิ่มหนําสํ าราญก็ไดเวลาออกเดินทางขา ม ชายแดนกลับเขาประเทศอินเดีย นอกจากพุทธคยาและลุ ม พินีที่ไดรับ การ ขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกแลว ทานทราบหรือไมวา เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ องคการยูเนสโกได ประกาศให วั น วิ ส าขบู ช าเป น วั น วิ ส าขบู ช าโลก อีกดวย (Visakhapuja Day is recognized by the UNESCO on December 15, 1999 as "World Heritage Day".) นาภูมิใจนะคะที่ประชาคมโลก เห็นความสําคัญและคุณคาของพระพุทธศาสนา และยกยองใหเปนวันสําคัญวันหนึ่งของโลก วิ สาขบู ชา มาจากคํ า ว า “วิ สาขปุ รณมี บูชา” แปลวา การบูชาพระในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ (เดือน ๖) ซึ่งในวันนี้มีเหตุการณนาอัศจรรยเกิดขึ้น ๓ ประการ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจาประสูติ (the Buddha’s Birth) ตรัสรู (the Enlightenment) และ ปรินิพพาน (the Nibbana or Nirvana)

ในวั น นี้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนจะทํ า พิ ธี บู ช า พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า เพื่ อ เป น การรํ า ลึ ก ถึ ง พระวิสุทธิคุณ พระปญญาคุณ และพระมหากรุณาธิ คุ ณ ของพระองค ท า นที่ มี ต อ มวลมนุ ษ ย แ ละ สรรพสั ต ว ทั้ ง หลายอั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด ธรรมเนี ย ม ปฏิบัติหรือกิจกรรมที่ชาวไทยพุทธสวนใหญทํากัน ในวันนี้ คือ - การใสบาตร (Offering food to a monk in the alms-bowl) - การฟงเทศนฟงธรรม (Listening to dharma preaching) - การบริจ าคให ท าน (Giving some donations) - การถือศีล ๕ (Keeping the Five Precepts) หรือศีล ๘ (the Eight Precepts) - การเจริ ญ สมาธิ ภ าวนา (Practicing meditation and mental discipline) - การเวี ย นเที ย นรอบอุ โ บสถในตอนค่ํ า (Attending the Candle Light Procession around the Uposatha Hall in the evening) ผู เ ขี ย นขอส ง ท า ยการแสวงบุ ญ ในตอนนี้ ดวยหลักธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธองคที่ผูเขียน เห็นวาเราสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงในเบื้องตน คือ กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐ เพื่ อ เป น แนวทางแห ง การ ประพฤติ กุ ศ ลกรรมทั้ ง ทางกาย วาจา และใจ ซึ่ ง นอกจากจะใหความสุขกายสบายใจในภพนี้แลว ยัง ส ง ผลถึ ง ภพหน า ชาติ ห น า และภพชาติ ต อ ๆ ไป (รับรองวาไดไปสุคติภูมิอยางแนนอนคะ) รวมทั้งจะ เปน ปจจัย นํา ผูป ระพฤติและปฏิบัติต าม ไปสูก าร


หลุ ด พ น จากสั ง สารวั ฏ คื อ เกิ ด แก เจ็ บ ตาย ในที่สุดไดอีกดวย กุศลกรรมบถ ๑๐(The Ten Wholesome Actions) ประกอบดวย การทํ า ความดี ท างกาย (กายสุ จ ริ ต : Physical Good Conduct) มี ๓ อยาง คือ • เวนจากการฆาสัตว (Refraining from killing) รวมทั้งการไมทํารายเบียดเบียนสัตว • เวนจากการลักทรัพย (Refraining from stealing) • เว น จากการประพฤติ ผิ ด ในกาม (Refraining from sexual misconduct) การทําความดีทางวาจา (วจีสุจริต : Verbal Good Conduct) มี ๔ อยาง คือ • เวนจากการพูดเท็จ (Refraining from lying) • เวนจากการพูดยุยงสอเสียด (Refraining from divisive speech) • เวนจากการพูดคําหยาบ (Refraining from harsh words) • เวนจากการพูดเพอเจอเหลวไหลไรสาระ (Refraining from frivolous talk)

การทําความดีทางใจ (มโนสุจริต : Mental Good Conduct) มี ๓ อยาง คือ • อนภิชฌา : การไมโลภคิดเพงเล็งอยาก ได ใ นทรั พ ย ข องคนอื่ น มาเป น ของตนเอง (Not being greedy) • อพยาบาท : การไมอาฆาตพยาบาทจอง เวรกับใคร (Not thinking hateful and destructive thoughts) • สัมมาทิฏฐิ : มีความเห็นถูกตองตรงตาม ความเปนจริง (Cultivating right view) นั บ รวมกั น แล ว กุ ศ ลกรรมบถมี เ พี ย ง ๑๐ ประการเทานั้นเอง ถาทุกทานมีความตั้งใจจริง คงไม ย ากเกิ น ความสามารถที่ จ ะทํ า ได เ พราะ ทุกอยางอยูที่ใจ ดังพุทธสุภาษิตที่วา “มโนปุพฺพงฺ คมา ธมฺมา มโนเสฎฐา มโนมยา” หมายความวา ธรรมทั้งหลายมีจิต (ใจ) เปนใหญ มีจิตเปนหัวหนา สําเร็จไดดวยจิต ถาทานตั้งจิตมั่นในการกระทําใดๆ ยอมนํามาซึ่งความสําเร็จอยางแนนอน และ “ธมฺม จารี สุขํ เสติ” ผูประพฤติธรรมยอมอยูเปนสุข ทําเองไดเองคะ เหมือนทานหิวขาว ใชใหคนอื่นกิน แทนทานคงไมได ฉันใดก็ฉันนั้น และถาทานทําได ทานจะรูวาความสุขที่แทจริงเปนเชนไร...Ureka!!

ขอมูลอางอิง : พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต) พ.ศ. ๒๕๔๓ htpp://thai.tourismthailand.org/ http://en.wikipedia.org/wiki/Lumbini http://th.wikipedia.org/wiki/


นวีร อาหารมื้ อ เย็ น วั น หนึ่ ง ผู เ ขี ย นแวะไปที่ รานอาหารตามสั่ง เพราะอยากรับประทาน ไขเค็ม ผัดพริกขิง ซึ่งเคยไดลิ้มรสเมื่อไปตางจังหวัดแลว คิด วา อร อ ยนั ก ถามคนทํ า กั บข า วที่ รา นนี้แ ลว ว า ทําไดไหม เพราะเปนรานอาหารตามสั่ง เขาบอกวา ได...ก็ดี กินงายดี.... แลวก็รีบทําให หอมฟุงเชียว แตอาหารที่ไดทําใหผูเขียนตองหัวเราะกาก เพราะ เปนไขเค็มผาซีก ๔ ซีก ผัดกับพริกแกง แลวมีขิงหั่น เปนแวน ๆ วางมาดวย ก็ผูเขียนหวังวาจะไดไขเค็ม บี้ ห รื อ หั่ น เป น ชิ้ น เล็ ก ๆ ผั ด กั บ เครื่ อ งปรุ ง คล า ย แกงเผ็ ด (อาจใส ผั ก บุ ง หรื อ ถั่ ว ฝ ก ยาวบ า งก็ ไ ด ) ในเมื่อผัดพริกขิงคือ “ชื่อผัดชนิดหนึ่ง ใชเครื่องปรุง คล า ยแกงเผ็ ด แต ไม ใส เ ครื่ อ งเทศ ผัด กับ น้ํ า มั น ” ไมตองมีขิงวางแนบมาหรอก เรื่องนี้ทําใหคิดถึงวา แมเราจะเปนคนไทย ดวยกัน บางครั้งอาจเขาใจไมตรงกัน เพราะมีความรู และประสบการณ ใ นเรื่ อ งที่ จ ะสื่ อ สารไม ต รงกั น นอกจากนั้ น ยั ง เกี่ ย วกั บ ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ กั น และ ทัศนคติที่ดีตอสารที่จะสื่อ ทักษะเกี่ยวกับวิธีสื่อสาร และการใชสัญลักษณที่ตรงกัน ระบบสังคม พฤติกรรม และวั ฒ นธรรมเดี ย วกั น เหล า นี้ จ ะทํ า ให เ ข า ใจ

ตรงกันได ผูสั่งสารและผูรับสาร จึงตองเตรียมตัว เตรี ย มใจ “หั ว เราะก า ก” สํ า หรั บ “การสื่ อ สารที่ ไมอาจสื่อ” เหลานี้ไวดวย เมื่ออานเรื่องสิเนหาสาหรี นวนิยายยอดนิยม ของนิ ต ยสารสกุ ล ไทย ผู เ ขี ย นก็ อ ดขํ า ไม ไ ด กั บ ภาษากาย – การสั่ น หน า – ของชาวอิ น เดี ย ที่ นวลเนื้อแกวซึ่งเปนตัวเอกของเรื่อง ตองปรับตัวให คุนเคยวา เปนการสื่อความหมายของการตอบรับ เพราะผูเขียนมีเพื่อนเปนชาวอินเดียชื่อนารยัน เมื่อ ถามเขาวา “กินขาวมันไกไหม” เขาสั่นหนา ครั้นถาม เขาวา “กินกวยเตี๋ยวลูก ชิ้นไหม” เขาก็สั่นหนาอีก เลยถามใหมวา “แลวจะกินอะไร” เขาตอบวา “กิน ทั้ ง ข า วมั น ไก แ ละก ว ยเตี๋ ย วลู ก ชิ้ น ” ก็ ภ าษากาย ของเขา การสั่ น หน า คื อ การตอบรั บ นั่ น อย า งไร ลืมไปได ก็ไดเรื่องหัวเราะกากเกี่ยวกับวิธีการสื่อสาร และการใชสัญลักษณจนได แมในการใชภาษาพูด ของคนไทยที่ใชเปนสัญลักษณสื่อความคิดก็มีบอย ๆ เชน เมื่อไปประชุมสัมมนาเกี่ยวกับภาษาไทยครั้งหนึ่ง อาจารยทานหนึ่งบอกวา “จะไปหองสวนตัว” ผูเขียน คิดวาทานมีหองทํางานสวนตัวอยูในสถานที่นั้น แต ที่แทแลว หมายถึงหองน้ํา เปนตน


ในดานวัฒนธรรม ผู เขียนเพิ่งไดตัวอยา ง มาหมาด ๆ เมื่อเพื่อนหญิงชาวเยอรมันพยายาม เรี ย นรู ภ าษาไทย เธอพู ด ว า ดิ ฉั น ชื่ อ ไฮเก กั บ เด็กผูหญิงไทยอายุประมาณ ๕ ขวบ เพราะเรียนรู จากตําราภาษาเยอรมัน Ich Heisse Heike (My name is ….) คือ ดิฉันชื่อไฮเก ทําเอาเด็กงง เพราะ คํ า ว า ดิ ฉั น เป น คํ า สรรพนามบุ รุ ษ ที่ ๑ ซึ่ ง ตาม วั ฒ นธรรมไทยนั้ น เป น คํ า สุ ภ าพที่ ใ ช กั บ บุ ค คลที่ เทาเทียมหรือสูงกวาดวยวัยวุฒิ คุณวุฒิ และชาติวุฒิ จึงไมใชคําที่ผูใหญควรจะพูดกับเด็ก ควรใชเพียง “ฉั น ชื่ อ ......” ก็ พ อ และเพื่ อ นคนนี้ แ หละที่ ทํ า ให ผูเขียนตองตอบคําถามเขาอีกวา ทําไมเวลาผูเขียน พูดกับแมของผูเขียนเอง ทําไมไมใชคําวา “ดิฉัน” แตใชคําวา “หนู” กวาจะคุยไดวา เรามีคําสรรพนาม ที่ใชแทนผูพูดและผูฟงหลายคําตามความเหมาะสม ทําเอาเขาบนวา ภาษาไทยยาก ความจริงไมยากเลย กลับทําใหรูถึงระดับของผูใชภาษา ความสนิทสนม คุนเคยรวมถึงพจนของผูใชภาษาดวย เพื่อนหญิงคนเดียวกันนี้แหละ เขาจะพูด ติดปากวา “I know” ซึ่งถาคนไทยเผลอใชวา “รูแลว” กลายเปนคําที่อวดดีและไมสุภาพ ลองสังเกตผูที่ ไปอยูตางประเทศบางคน เมื่อกลับมาพูดภาษาไทย กับคนไทยดวยกันสิ “รูแลว ๆ” เมื่อไร ก็เหมือนเปน คนยะโสโอหังเมื่อนั้น ถาจะพูดก็คงตองใชสําเนียง นิ่ม ๆ หรือเติมคําวา “คะ” หรือ “ครับ” เขาไปดวย ไมเชนนั้นจะทําใหมีทัศนคติที่ไมดีตอกัน ทั้งนี้เปน เพราะวัฒนธรรมการใชภาษาตางกันนั่นเอง เรื่ อ งของอั ก ขระย อ ก็ เ ป น อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ ทํ า ให ผู สื่ อ สารอาจเข า ใจไม ต รงกั น ได เช น เมื่ อ

เครื่องบินขับไล F-16 ของกองทัพอากาศประสบ อุบัติเหตุเมื่อ ๑๘ ต.ค.๒๕๕๓ นักบินชื่อ ร.อ.ฐานิกรณ เหลืองรุงวารีย เสียชีวิต หนังสือพิมพบางฉบับลงวา รอยเอก ฐานิกรณ เหลืองรุงวารีย เสียชีวิต กลายเปน ทหารบกไปแลว ร.อ. นั้น ถาเปนทหารบก ยอมาจาก ร อ ยเอก ทหารเรื อ ย อ จาก เรื อ เอก ถ า เป น ทหารอากาศ ยอจาก เรืออากาศเอก ในทางกลับกัน เรื อ อากาศเอก นั้ น มี บ างคนเขี ย นคํ า ย อ ผิ ด เป น ร.อ.อ. ก็ มี จึ ง ควรศึ ก ษาเรื่ อ งคํ า ย อ ให ถู ก ต อ งว า เขาใชอยางไร จะไดสื่อสารใหตรงกัน อยางไรก็ตาม การใชอักษรยอนั้น มีเพิ่มขึ้น มากมาย เปนธรรมดาที่อาจสับสน ดังเชนผูเขียน สับสนทุกครั้งที่เห็นคําวา ทส. ซึ่งยอจากกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพราะไป ยึ ด ติ ด กั บ คํ า ว า นายทหารคนสนิ ท ส ว นคํ า ย อ ว า กสม. ยอจาก กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซึ่งมีนางอมรา พงศาพิชญ เปนประธาน ผูเขียนก็ยึด ติดกับคําวา กรมเสมียนตรา เปนตน ในฉบับนี้จึงขอ เสนออักษรยอบางคําที่เก็บจากหนังสือพิมพตาง ๆ ดังนี้ กกต. ยอจาก คณะกรรมการเลือกตั้ง คํานี้ พบเห็นบอย คงเขาใจกันไดดี กพร. ยอจาก คณะกรรมการพัฒนาระบบ ขาราชการ กมธ. ยอจาก คณะกรรมาธิการ กสช. ย อ จาก คณะกรรมการกิ จ การ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศนแหงชาติ ก.ส.ท. ย อ จาก คณะกรรมการเงิ น ทุ น สงเสริมกิจการเทศบาล คํานี้ ผูเขียนจะสับสนกับ


กสท. ซึ่งยอจาก การสื่อสารแหงประเทศไทย แต ตางกันที่จุด วา ๓ จุด หรือ จุดเดียว กขช. ยอจาก คณะกรรมการนโยบายขาว แห ง ชาติ คํ า นี้ ป รากฏในหน า หนั ง สื อ พิ ม พ บ อ ย เมื่อมีขาวขาวสารที่แจกเมื่อน้ําทวม เดือน ต.ค. – พ.ย. ๒๕๕๓ ณ ท ามะพลา อ.หลั ง สวน จ.ชุม พร หุงแลวมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยวคลายขาวบูด ขสมก. ย อ จาก องค ก ารขนส ง มวลชน กรุงเทพ (เดิมใช ขส.มก.) คชท. ยอจาก คณะกรรมการอํานวยการ กํากับติดตามการชวยเหลือผูประสบอุทกภัย คตม. ย อ จาก คณะกรรมการติ ด ตาม สถานการณความมั่นคง คปร. ย อจาก คณะกรรมการปฏิ รูป ประเทศไทย คมช. ย อ จาก คณะมนตรี ค วามมั่ น คง แหงชาติ ครม. ยอจาก คณะรัฐมนตรี (เดิมใชวา ค.ร.ม.) คอทส. ย อ จาก คณะกรรมการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม จ.อ.ร. ยอจาก คณะกรรมการจัดระเบียบ อาชีพราษฎร ชพค. ย อ จาก การฌาปนกิ จ สงเคราะห ชวยเพื่อนสมาชิกครุสภา ฌกส. ยอจาก ฌาปนกิจสงเคราะห ดร. ย อ จาก ดอกเตอร คํ า นี้ ไ ม ต อ งมี วรรณยุกตกํากับ ด.ศ.ร. ยอจาก การเดินทางเพื่อการศึกษา ระหางปดภาคฤดูรอน

ธปท. ยอจาก ธนาคารแหงประเทศไทย นตท. ยอจาก นักเรียนเตรียมทหาร นนร. ยอจาก นักเรียนนายรอย นักเรีย น นายเรือ นพอ. ยอจาก นักเรียนพยาบาลทหารอากาศ นนอ. ยอจาก นักเรียนนายเรืออากาศ นปก. ยอจาก กลุมแนวรวมประชาธิปไตย ขับไลเผด็จการ คํานี้เกิดขึ้นเมื่อป ๒๕๕๐ ใกลเคียง กับคําวา คมช. นปข. ยอจาก หนวยปฏิบัติการตามลําน้ํา โขง นพค. ยอจาก หนวยพัฒนาการเคลื่อนที่ นพ. ยอจาก นายแพทย (เดิมใช น.พ.) นศท. ยอจาก นักศึกษาวิชาทหาร น.ส.พ. ยอจาก นายสัตวแพทย นสพ. ยอจาก หนังสือพิมพ (เดิมใช น.ส.พ.) บ ก . ป ค บ . ย อ จ า ก ก อ ง บั ง คั บ ก า ร ปราบปรามการกระทํ า ผิ ด เกี่ ย วกั บ การคุ ม ครอง ผูบริโภค บ ก . ป ค ม . ย อ จ า ก ก อ ง บั ง คั บ ก า ร ปราบปรามการกระทํ า ผิ ด เกี่ ย วกั บ การค า มนุ ษ ย คํานี้ใชบอยเมื่อประมาณวันที่ ๒๐ พ.ย.๒๕๕๓ ซึ่ง เกิดการพบซากศพเด็กทารกที่เกิดจากการทําแทง ณ วัดไผเงิน กทม. บงล. ยอจาก บริษัทเงินทุนหลักทรัพย บช.ปส. ย อ จาก กองบั ญ ชาการตํ า รวจ ปราบปรามยาเสพติด ปค. ย อ จาก กรมป อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย


ปตท. ยอจาก การปโตเลียมแหงประเทศ ไทย ปส. ยอจาก กรมประชาสงเคราะห ผ ว . ก ท ม . ย อ จ า ก ผู ว า ร า ช ก า ร กรุงเทพมหานคร พณ. ยอจาก กระทรวงพาณิชย พศ. ย อ จาก สํ า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา แหงชาติ พอ.สว. ย อ จาก มู ล นิ ธิ แ พทย อ าสา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ภ.พ. ยอจาก ภาษีมูลคาเพิ่ม ม. ย อ จาก มหาวิ ท ยาลั ย มั ธ ยมศึ ก ษา เมตร หรือหมูบาน มส. ยอจาก สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม รพ. ยอจาก โรงพยาบาล ร.พ. ยอจาก โรงพิมพ รสก. ยอจาก รัฐวิสาหกิจ รสช. ยอจาก คณะรักษาความสงบเรียบรอย แหงชาติ ล.ว. ยอจาก ลูกเสือวิสามัญ ล.ญ. ยอจาก ลูกเสือวิสามัญรุนใหญ วช. ยอจาก สํานักงานคณะกรรมการวิจัย แหงชาติ วปอ. ยอจาก วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (เดิมใช ว.ป.อ.) ศชช. ยอจาก ศูนยชวยเหลือประชาชนที่ ประสบภัย ศนท. ย อ จาก ศู น ย ก ลางนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา แหงประเทศไทย

ศสพ. ยอจาก ศูนยสงครามพิเศษ ศอ.รส. ย อ จาก ศู น ย อํ า นวยการรั ก ษา ความสงบเรียบรอย สกอ. ย อ จาก สํ า นั ก งานคณะกรรมการ อุดมศึกษา สบส. ยอจาก กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สพก. ยอจาก สํานักงานพัฒนาการกีฬ า และนันทนาการ สพฐ. ย อ จาก สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สวช. ย อ จาก สํ า นั ก งานวั ฒ นธรรม แหงชาติ สสค. ยอจาก สํานักงานสงเสริมการเรียนรู และพัฒนาคุณภาพเยาวชน อสม. ยอจาก อาสาสมัครสาธารณสุข อสร. ยอจาก องคการผลิตอาหารสําเร็จรูป จะเห็นไดวา มีที่ทําใหสับสนเพิ่มขึ้น คือ จุด (.) ทายตัวอักษรยอ จุดตางกัน ตัวอักษรเหมือนกัน อาจยอมาจากคําที่ตางกัน เชน กสท. กับ ก.ส.ท. แตอักษรยอบางคําก็เปลี่ยนไปตามสมัย เชน รัฐมนตรี ชวยวาการกระทรวง เดิมยอวา ร.ม.ช. ปจจุบันใชวา รมช. สวนคําวารัฐมนตรี เดิมยอวา ร.ม.ต. ปจจุบัน ใชวา รมต. เปนตน คําพวกนี้ สวนใหญไดกําหนดไว เปนทางการแลว อนึ่ง คํายอตาง ๆ เหลานี้มีทั่วไป แตละภาษา นิยมใชกัน เรามักใชปะปนกับภาษาของเราเสมอ จนบางครั้ ง ไม รู ว า เป น คํ า ย อ ของภาษาอะไรแน ลองดู “สื่อ” นี้สิ


“เปดโรงเรียนสอนศิลปะ AMA ที่สุขุมวิท ๒๒ วันกอน ปยะทัต เหมทัต ถูกใคร ๆ ถามวายอมาจาก อะไร เพราะ A นาจะมาจาก ART แตอาจารยไอ บอกว า ไม มี คํ า แปล แต ที่ นี่ เ คยเป น บ า นคุ ณยาย เลยใช ชื่ อ ว า อาม า AMA” จากคอลั ม น โ สมชบา ไทยรัฐ ๑๒ มี.ค.๒๕๕๓

ในยุคเรงรีบเชนปจจุบัน อักษรยอมีประโยชน เพราะใชไดงาย รวดเร็ว ไมเปลืองเวลาและเนื้อที่ แตก็ตองระวังจะสื่อไดแคไหน และคงตองทําใจวา ถาสื่อผิดพลาด คงตองยอมรับและเตรียมหัวเราะกาก ไวกอน และพรอมที่จะสื่อใหถูกตองดวย

อ.วารุณี


มุมกฎหมาย

น.ท.พงศธร สัตยเจริญ ความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา : ตาม ประมวลกฎหมายอาญาไมไดใหคํานิยามไว จึงตอง ตี ค วามตามแนวคํ า พิ พ ากษาศาลฎี ก า โดยการ กระทําชําเรา หมายถึง การกระทําเพื่อสนองความ ใคร ข องผู ก ระทํา โดยใช อวั ย วะเพศของผู ก ระทํ า กระทํากับอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือชองปากของ ผูอื่น หรือการใชสิ่งอื่นใดกระทํากับอวัยวะเพศหรือ ทวารหนักของผูอื่น เชน การที่ชายเอาอวัยวะเพศ ของตนเองสอดใส เ ข า ไปในอวั ย วะเพศของหญิ ง แม เ พี ย งเล็ ก น อ ย และไม จํ า เป น ต อ งมี ก ารหลั่ ง น้ํ า อสุ จิ ก็ เ ป น ความผิ ด สํ า เร็ จ ซึ่ ง ต อ ไปก็ ค งจะมี คําพิพากษาฎีกาในกรณีเชนนี้ใหมาศึกษาตอไปเรื่อย ๆ ความผิดฐานนี้ ตามกฎหมายใหมอาจเปน กรณีชายกระทําตอหญิง ชายกระทําตอชาย หญิง กระทําตอชาย หญิงกระทําตอหญิงก็ได ถือวาเปน การข ม ขื น กระทํ า ชํ า เรา หญิ ง ที่ ถู ก ข ม ขื น กระทํ า ชํ า เราแม จ ะเป น ภรรยาโดยชอบด ว ยกฎหมาย (จดทะเบียนสมรส)ของชายผูกระทํา ก็เปนความผิด การขม ขื น กระทํ า ชํ า เราได แก ก ารกระทํ า โดยการขูเข็ญ โดยใชกําลัง หรือทําใหผูอื่นไมสามารถ

หน.ผสตท.กนธ.สธน.ทอ. ขัดขืน ได หรือการทําใหผูอื่น เขาใจผิดว าผูกระทํ า เปนบุคคลอื่น ก็ถือวาเปนการขมขืนกระทําชําเรา เชนเดียวกัน โดยผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแต ๔-๒๐ ป และปรับตั้งแต ๘,๐๐๐-๔๐,๐๐๐ บาท ถาการขมขืนกระทําชําเราโดยมีอาวุธหรือ ใชอาวุธ เชน ปน หรือวัตถุระเบิด หรือรวมกันขมขืน กระทําชําเราในลักษณะโทรมหญิง หรือโทรมชาย ตองรับโทษหนักขึ้น คือจําคุกตั้งแต ๑๕-๒๐ ป และ ปรับตั้งแต ๓๐,๐๐๐- ๔๐,๐๐๐ บาท หากกระทํา ชําเราเด็ก ตองรับโทษหนัก ขึ้น และหากไดกระทํา ชําเรา โดยมีอาวุธหรือใชอาวุธหรือรวมกันกระทํา ชําเราในลักษณะโทรมหญิงหรือโทรมชายตอเด็กที่ อายุไมเกิน ๑๕ ป และเด็กนั้นไมยินยอม ผูขมขืน ตองรับโทษหนักคือจําคุกตลอดชีวิต ถากระทําชําเราเด็กอายุไมเกิน ๑๕ ป แม เด็กนั้นยินยอม ก็ยังถือวาเปนความผิด ตองระวาง โทษจําคุกตั้งแต ๔-๒๐ ป และปรับตั้งแต ๘,๐๐๐ ถึง ๔๐,๐๐๐ บาท ถากระทําชําเราเด็กอายุไมเกิน ๑๓ ป ตอง รับโทษหนักกวากระทําชําเราเด็กอายุไมเกิน ๑๕ ป


คื อ ต อ งรั บ โทษจํ า คุ ก ตั้ ง แต ๗-๒๐ ป และปรั บ ตั้งแต ๑๔,๐๐๐-๔๐,๐๐๐ บาท หรืออาจตองรับโทษ หนักถึงขนาดจําคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ หากผลของการขมขืนกระทํา ชําเราทําใหผูถูกขมขืนกระทําชําเราบาดเจ็บสาหัสหรือ ตาย ตองรับโทษหนักขึ้น อาจถึงขั้นถูกประหารชีวิต จะมีความผิดบางลักษณะที่คาบเกี่ยวกับ การกระทําผิดฐานอนาจาร ถาเปนการกระทําที่เขา หลั ก เกณฑ ค วามผิ ด ตามมาตรา ๒๗๖ แล ว ก็ จ ะ ไมเปนความผิดฐานกระทําอนาจาร ความผิดเกี่ยวกับเพศ : ฐานกระทําอนาจาร กฎหมายก็ ไ ม ไ ด ใ ห คํ า จํ า กั ด ความหรื อ นิ ย ามไว จึ ง ต อ งตี ค วามตามแนวคํ า พิ พ ากษา ศาลฎีกา และตามความเห็นของนักกฎหมาย ซึ่งได ใหความหมายของคําวา “อนาจาร” หมายถึง การประพฤตินอกแบบ ในลักษณะที่ไมสมควรทางเพศ เชน การกอด ปล้ํา หรือสัมผัสจับตองอวัยวะเพศหญิง เปนตน การฝาฝน ต อ ศี ล ธรรมอั น ดี การกระทํ า อั น ควรขายหน า ต อ ธารกํานัล และไมหมายความเฉพาะความใครหรือ การคาประเวณีเทานั้น แตรวมถึงการทําใหอับอาย ขายหน า ในทางเพศด ว ยโดยอาจจะไม มี ค วาม มุงหมายในทางกามารมณก็ได กฎหมายกํ า หนดความผิ ด ฐานอนาจาร ไว ว า การกระทํ า ใดที่ ค วรขายหน า ต อ หน า ธารกํ า นั ล โดยการเปลื อ ยหรื อ เผยร า งกาย หรือทําการลามกอยางอื่น โดยไมมีโทษจําคุก แตอยางใด มีแตเพียงโทษปรับไมเกิน ๕๐๐ บาท ธรรม

คืออนาจารยังไงก็เสีย ไมเกิน ๕๐๐ บาทนั่นเอง สวนการอนาจารในทางเพศโดยกระทําตอ เนื้อตัวรางกายผูอื่นโดยตรง เชน กอด ปล้ํา สัมผัส จั บ ต อ งอวั ย วะของผู ห ญิ ง เช น การจั บ นม หรื อ จะเปนกรณีที่บังคับผูอื่นใหกระทําตนเองก็เปนการ อนาจารได เชน นาย ก. บังคับให นางสาว ข. จับของลับ ของตนเอง (ถาไมเปนการขมขืนกระทําชําเราหรือ พยายามข ม ขื น กระทํ า ชํ า เราตามที่ ไ ดก ล า วแล ว ) การกลาวถอยคําหรือเขียนภาพไมเปนการอนาจาร แตอาจเปนสิ่งลามก การกระทําไมเปนการสมควร ตามประเพณี นิ ย มและกาลเทศะเป น การกระทํ า อนาจาร ผูกระทําอนาจารจะเปนชายหรือหญิงก็ได และจะกระทําตอชายหรือหญิงก็ได ผูใดกระทําอนาจารโดยการขูเข็ญ ใชกําลัง ทํ า ให ผู ถู ก กระทํ า อนาจารไม ส ามารถขั ด ขื น ได รวมทั้งการกระทําใหผูถูกกระทําอนาจารเขาใจผิด วาผูกระทําเปนบุคคลอื่น ตองรับโทษจําคุกไมเกิน ๑๐ ป หรื อปรับไม เ กิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้ ง จํา ทั้งปรับ ถากระทําอนาจารตอเด็กตองรับโทษหนักขึ้น ถาผูกระทําอนาจารตอเด็กอายุไมเกิน ๑๕ ป แม ว า เด็ ก นั้ น จะยิ น ยอมต อ งรั บ โทษหนั ก ขึ้ น คื อ จําคุกไมเกิน ๑๐ ป หรือปรับไมเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ หากผลของการกระทํ า อนาจารทํ า ให ผูถูกกระทํา ตองบาดเจ็บสาหั สหรือตาย ผูก ระทํ า ตองรับโทษหนักขึ้นอาจถึงขั้นประหารชีวิต นอกจากนี้ การลอลวงหญิงไปเพื่อกระทํา อนาจาร แมหญิงนั้นยินยอมก็ตองรับโทษจําคุกตั้งแต ๑-๑๐ ป และปรับตั้งแต ๒,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ บาท


พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข

การปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตย อํานาจอธิปไตยหรืออํานาจสูงสุดในการปกครอง ประเทศ เปนของประชาชนหรือมาจากประชาชน การเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย เปนกิจกรรม ทางการเมืองที่มีความสําคัญมาก เพื่อใหไดมาซึ่ง ตัวแทนของประชาชน รับมอบอํานาจจากประชาชน ไปดําเนินกิจกรรมทางการเมืองเพื่อประชาชนที่ได มอบอํานาจนี้มา ประเทศไทยได มี ก ารเปลี่ ย นแปลงการ ปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย เปน ระบอบประชาธิปไตย เมื่อ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ประวัติศาสตรการเมืองของไทย มีการเลือกตั้งทั่วไป จํานวน ๒๕ ครั้ง ๆ แรก เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิ กายน พ.ศ.๒๔๗๖ และครั้งสุดทาย เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๐ กติ ก า รู ป แบบและวิ ธี ก ารเลื อ กตั้ ง มีความแตกตางกันไป ตามสภาวการณ สถานการณ และสภาพแวดลอมทางการเมืองในแตละยุคสมัย รัฐธรรมนูญแตละฉบับไดรางขึ้นเพื่อเปนกฎหมาย สูงสุด เพื่อการบริหารปกครองประเทศตามกระแส ความต อ งการของประชาชน หรื อ บางฉบั บ ตาม

ความตองการของกลุม ที่ครองอํานาจในขณะนั้น และกฎหมายที่ มี ค วามสํ า คั ญ ยิ่ ง คื อ กฎหมาย เลือกตั้ง เพื่อใหการเลือกตั้งซึ่งเปนที่มาของอํานาจ สอดคลองหรือสนองความตองการดังกลาว จนถึงปจจุบันเปนเวลา ๗๙ ป (พ.ศ.๒๕๕๔) ภาพการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ของไทย จะมี ก ลุ ม บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข อ งเป น หลั ก อยู ๒ กลุ ม คื อ กลุ ม ทหาร-กองทั พ และ กลุ ม ทุ น นั ก ธุ ร กิ จ -นั ก การเมื อ งจากการเลื อ กตั้ ง โดยมี กลุมราชการอื่น ๆ กลุมนักศึกษา กลุมนักวิชาการ กลุมภาคประชาชนตาง ๆ เปนสวนประกอบ มีเหตุการณ การเปลี่ยนแปลงตาง ๆ สรุปไดดังนี้


¾ ชวงแรก พ.ศ.๒๔๗๕ ถึง พ.ศ.๒๕๑๖ (เปนเวลา ๔๑ ป) กลุมทหาร-กองทัพ ผลัดเปลี่ยน หมุนเวียนเขามามีอิทธิพล มีบทบาท ชี้นําการเมือง การปกครอง กอการรัฐประหาร ยึดอํานาจบริหาร ประเทศ ตอมาถูกประชาชนตอตาน ตองลดบทบาท ทางการเมื อ ง ล า ถอยเข า กรมกองปฏิ บั ติ ห น า ที่ ทหารอาชีพ ¾ ชวงที่สอง พ.ศ.๒๕๑๗ ถึงปจจุบัน เปน เวลา ๓๗ ป (พ.ศ.๒๕๕๔) กลุ ม ทุ น -นั ก ธุ ร กิ จ นั ก การเมื อ ง จากการเลื อ กตั้ ง เข า มามี บ ทบาท ครอบงํา ชี้นําประชาชนบริหารประเทศ โดยอางวา มาตามครรลองประชาธิ ป ไตย ในป จ จุ บั น กลุ ม ประชาชนหลายภาคสวนตอตาน เกิดความแตกแยก ความขัดแยงทางความคิดของประชาชน แนวโนม และทิศทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย ของไทยในอนาคตจะเป น อย า งไร กระแสสั ง คม สนใจและติ ด ตามท า มกลางความหวาดวิ ต กว า สั ง คมไทยจะเกิ ด โศกนาฏกรรม และอาจจะเกิ ด ความสูญเสียตามมา ~ ปญหาทุจริตการเลือกตั้ง เริ่ ม มี ม าตั้ ง แต ใ นอดี ต พบครั้ ง แรกเมื่ อ ๕๓ ปกอน ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๐๐ ที่จังหวัดรอยเอ็ด ในการเลือกตั้งครั้งนั้นมีผูสมัครสมาชิกสภาผูแทนราษฎรคนหนึ่ง ทุมเงินซื้อเสียงชาวบานคนละ ๑ บาท และตอมาผูสมัครสมาชิกสภาผูแทนราษฎรคนนั้น ก็ไดรับการเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร การทุจริตการเลือกตั้งในครั้งนี้เปนหนึ่งในขออาง ในการทํารัฐประหารวันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๐

ปญหาการทุจริตซื้อสิทธิ์ขายเสียงเริ่มปรากฏชัดเจน ตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา จนกระทั่งในป พ.ศ.๒๕๒๔ พบปญหาการทุจริตซื้อสิทธิ์ขายเสียงในพื้นที่จงั หวัด ร อ ยเอ็ ด อี ก ครั้ ง เมื่ อ มี ก ารใช เ งิ น ซื้ อ เสี ย งในการ เลือกตั้งเพื่อใหไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เหตุการณดังกลาวปรากฏชัดเจนมากที่สุด ในประวัติศาสตรการเลือกตั้งของประเทศไทย พบวา มี ก ารทุ ม เงิ น เพื่ อ ซื้ อ เสี ย งนั บ สิ บ ล า นบาทและมี พฤติ ก รรมการซื้ อ เสี ย งอย า งโจ ง แจ ง เหตุ ก ารณ ดังกลาวไดรับการวิพากษวิจารณจากทุกภาคสวน ในสังคมอยางกวางขวาง กลายเปนตํานานเลาขาน จนไดรับการขนานนามวา “โรครอยเอ็ด” เหตุการณ และพฤติกรรมการทุจริตซื้อสิทธิ์ขายเสียงดังกลาว พอลําดับไดดังนี้

y จุดเริ่มตน การเลือกตั้งซอมในจังหวัด รอยเอ็ด เมื่อป พ.ศ.๒๕๐๐ พรรคการเมืองตางๆ มี การระดมกําลังคนและกําลังเงินอยางไมเคยปรากฏ มากอน บรรยากาศที่พ บทั่ วไปในจัง หวั ดรอ ยเอ็ด เปรียบเสมือนมีการจัดงานเฉลิมฉลองอยางยิ่งใหญ เมื่อเดินทางเขาไปในหมูบานใด ตําบลใด ลวนแต พบการฉายหนังกลางแปลง ที่ผูสมัครจางมาฉายให ประชาชนชมฟรีทุกวัน มีการทุมเงินหาเสียง แจกเงิน


จัดงานบุญ งานกุศล ขุดน้ํา บอ กอสรางศาลาวัด สร า งสะพาน การทุ ม เงิ น ซื้ อ เสี ย งดั ง กล า ว มี ก าร ประมาณการวา มีเงินสะพัดไมต่ํากวา ๓ แสนบาท y ตํานานโรครอยเอ็ด การทุจริตซื้อสิทธิ์ ขายเสียงครั้งอื้อฉาวที่สุดในประวัติศาสตรการเลือกตั้ง ทั่วไป ตามระบอบประชาธิปไตยของไทย ก็เกิดขึ้น ในพื้นที่จังหวัดรอยเอ็ด เปนครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๔ เมื่ อ สมาชิ ก สภาผู แ ทนราษฎรจั ง หวั ด ร อ ยเอ็ ด ในขณะนั้น คือ นายสมพร จุรีมาศ รองหัวหนาพรรค สยามประชาธิ ปไตย เสี ยชี วิ ต ต อ งมีการเลื อ กตั้ง ซ อ มแทนตํ า แหน ง ที่ ว า งลง ในครั้ ง นั้ น มี ผู ส มั ค ร รับเลือกตั้งจํานวน ๑๔ คน การหาเสียงมีการแขงขัน กันอยางดุเดือดและรุนแรงระหวาง พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนั น ท หั ว หน า พรรคชาติ ป ระชาธิ ป ไตย อดี ต นายกรั ฐ มนตรี และ พ.ต.ท.บุ ญ เลิ ศ เลิ ศ ปรี ช า รองหั ว หน า พรรคกิ จ สั ง คม อดี ต รมช.มหาดไทย โดยฝาย พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท ประกาศวา “นายพลแพไมได” มีการระดมเงินจํานวน ๓๐ ลานบาท เพื่อใชในการหาเสียง ในขณะที่ฝาย พ.ต.ท.บุญเลิศ เลิศปรีชา ซึ่งไดรับการสนับสนุนจาก ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช หั ว หน า พรรคกิ จ สั ง คม โดยใช น โยบาย ประชานิยมเปนนโยบายหลัก ใชเทคนิค “ทัวรนกขมิ้น ค่ําไหนนอนนั่น” โดยมีการประมาณในการหาเสียง ของพรรคกิ จ สั ง คมว า มากกว า ๒๐ ล า นบาท ในขณะที่ผูสมัครคนอื่นใชกลยุทธลดแลกแจกแถม ตามกําลังทรัพยของแตละคน โดยภาพรวมมีการ ประมาณการวาในการเลือกตั้งในครั้งนี้มีจํานวนเงิน แพร ส ะพั ด หมุ น เวี ย นในจั ง หวั ด ร อ ยเอ็ ด มากถึ ง ๘๐ ลานบาท

นักวิชาการทานหนึ่ง (ประสพ วงศหนองหวา) ไดทําการศึกษาปญหาโรครอยเอ็ด โดยพบวาการ ทุจริตซื้อสิทธิ์ขายเสียงในการเลือกตั้ง พ.ศ.๒๕๒๔ สง ผลใหเ ศรษฐกิ จ ของจัง หวั ด ร อ ยเอ็ ด ดีขึ้ น อย า ง ชัดเจน อาทิ โรงแรมและที่พักตาง ๆ มีจํานวนผูเขาพัก เต็มทุกวัน ทําใหราคาหองพักสูงขึ้นจาก ๘๐ บาท เป น ๒๔๐ บาท มี สื่ อ มวลชนเดิ น ทางมาทํ า ข า ว การเลื อกตั้ง จํ า นวนมาก รถโดยสารเต็ ม ทุ ก เที่ย ว รถสามลอคิดคาบริการเพิ่มจาก ๕ บาท เปน ๑๐ บาท นอกจากนี้ชาวบานยังมีอาชีพเสริมจากการรับจาง ป ด ใบปลิ ว และที่ น า สั ง เกตคื อ ป ญ หาการทุ จ ริ ต ซื้อสิทธิ์ขายเสียงในการเลือกตั้ง พ.ศ.๒๕๒๔ ครั้งนี้ สะทอนใหเห็นวาพระราชบัญญัติเลือกตั้งสมาชิก สภาผู แ ทนราษฎร พ.ศ.๒๕๒๒ ไม มี ค วามหมาย เพราะถึงแมมีการกําหนดคาใชจายในการเลือกตั้ง ให ไ ม เ กิ น ๓.๕ แสนบาทต อ คน และห า มใช วิ ธี ใหท รัพ ยห รือ ผลประโยชนอื่น ใดโดยทางตรงหรื อ ทางออมก็ตาม แตก็ยังมีการทุมเงินซื้อเสียงอยาง โจงแจงชัดเจนไมเกรงกลัวกฎหมาย ผลการเลือกตั้ง พ.ศ.๒๕๒๔ ปรากฏวา พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท ชนะการเลือกตั้งดวยคะแนนเสียง ๗๐,๘๑๒ คะแนน ในขณะที่ พ.ต.ท.บุญเลิศ เลิศปรีชา ไดคะแนนเสียง ๔๒,๐๘๔ คะแนน การเลือกตั้งครั้งนี้ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนั น ท ได ส ร า งผลงานจากการหาเสี ย งเป น ที่ ปรากฏ คือการขุดลอกบึงพลาญชัยและขุดลอกคลอง คูเมือง ซึ่ง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ใหสัมภาษณกับ สื่อมวลชนวา “เราแพโรครอยเอ็ดจริง ๆ” y ผลกระทบตอระบบการเลือกตั้ง จาก พฤติกรรมของนักเลือกตั้งที่จังหวัดรอยเอ็ด ตั้งแตป


พ.ศ.๒๕๒๔ เปนตนมา การทุจริตซื้อสิทธิ์ขายเสียง ในการเลือกตั้ง ปรากฏในหมูนักการเมืองและแผขยาย มากขึ้น มีการใชเงินและผลประโยชนเขาแลกเปลี่ยน ในการเลือกตั้งทั่วไป เพื่อใหไดรับเลือกเปนสมาชิก สภาผู แ ทนราษฎร เหตุ ก ารณ “โรคร อ ยเอ็ ด ” นั บ เปน การทุ จ ริ ตซื้ อสิ ท ธิ์ข ายเสีย งครั้ ง ใหญ ที่สุ ด ในประวั ติ ศ าสตร ก ารเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไปตามระบอบ ประชาธิ ป ไตยของไทย และเป น กรณี ศึ ก ษาที่ นักรัฐศาสตรใหความสําคัญ ในประเด็นดานคุณธรรม จริ ย ธรรมและความโปร ง ใสของนั ก การเมื อ ง การทุจริตซื้อสิทธิ์ขายเสียงในการเลือกตั้งระบาด มากขึ้น และเกิดปรากฏการณเชนนี้อยางตอเนื่อง ฝ ง ลึ ก ลงไปถึ ง การเลื อ กตั้ ง ทุ ก ประเภท ทุ ก ชนิ ด ทุกระดับ แมกระทั่งระดับตําบล หมูบาน เปนพฤติกรรม อัปยศทางการเมืองจนถึงปจจุบัน และยังมีความ พยายาม ในการพัฒนา กระบวนการ วิธีการตาง ๆ ให ห ลากหลาย แยบยล แนบเนี ย น หลบหลี ก กฎหมายและกระแสการตรวจสอบอย า งเข ม ข น จากทุกภาคสวน บทสรุป กระบวนการเลือกตั้งในแตละครั้งในปจจุบัน ไดมีคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เปนองคกร อิ ส ระตามรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มีหนาที่หลักในการควบคุมและจัดใหมี การเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาผู แ ทนราษฎร สมาชิ ก วุฒิสภา และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกสี่คน ซึ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของ

วุฒิ ส ภา จากผู ซึ่ ง มี ค วามเป น กลางทางการเมื อ ง และมีความซื่อสัตยสุจริตเปน ที่ประจักษ (มาตรา ๒๒๙)

การเลือกตั้งของไทยในปจจุบันใชเงินในการ เลือกตั้งสูง ทั้งนี้ไมเฉพาะเพียงแตเงินที่ใชในกิจกรรม การประชาสัมพันธผูสมัครรับเลือกตั้ง เชน จัดแถลง นโยบาย โฆษณาประชาสัมพันธผานสื่อตาง ๆ หรือ จั ด พิ ม พ เ อกสารหาเสี ย งเท า นั้ น ผู ส มั ค รบางคน นําเงินไปใชในกิจการอื่น ๆ กอนการเลือกตั้ง เชน การซื้อเสียง หรือการแอบจัดงานเลี้ยง แมแตการซื้อ ของนําไปแจกใหกับประชาชนในชวงใกลการประกาศ เลือกตั้ง เปนตน ซึ่งกระบวนการทุจริตการเลือกตั้ง ในปจจุบันมีความซับซอนมากขึ้นโดยการหลีกเลี่ยง ชองโหวของกฎหมายการเลือกตั้ง และมีการทุจริตที่ แนบเนียนมากขึ้น ยากตอการที่คณะกรรมการการ เลือกตั้งจะตรวจสอบได ดังนั้น แนวทางที่ดีที่สุดคือ กระบวนการใหภาคประชาชนเขามามีสวนรวมใน การตรวจสอบการเลื อ กตั้ ง เพื่ อ ให ก ารเลื อ กตั้ ง มี


ความสุจริตและเที่ยงธรรม ไดผูแทนที่เปนผูเสียสละ และอาสาทํ า งานเพื่ อ ประโยชน ส ว นรวมและ ประเทศชาติเปนสําคัญ และทําอยางไรจะรณรงค เสริมสรางความรูใหกับประชาชนใหมีจิตสํานึกทาง การเมื องอยางแทจริ ง ไมใชเป นเพียงแตเขา มามี ธรรม

ส ว นร ว มเพี ย งผู เ ลื อ กตั้ ง เท า นั้ น “โรคร อ ยเอ็ ด ” จึง นั บ เป น ความเจ็ บ ปวดของชาวจั ง หวั ดเกิ น รอ ย นับจากวันนั้นถึงวันนี้ผานมา ๓๐ ป “การซื้อสิทธิ์ ขายเสียง” ยังถวงความเจริญและกัดกินฐานราก “ประชาธิปไตย” ของเมืองไทยมาอยางตอเนื่อง

อางอิง : - “ประสพ วงศหนองหวา” บทบาทของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดรอยเอ็ด กับการพัฒนาสู ตระกูล การเมือง พ.ศ.๒๔๘๐-๒๕๒๙. วิทยานิพนธ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ๒๕๓๗. - “วัชรินทร เขจรวงศ” ยอนรอย ๓๐ ป “โรครอยเอ็ด” ตนตํารับทุมแหลกแจกไมอั้น (แนวหนา เลือกตั้ง ๕๐). เขาถึงไดจาก : http://www.naewna.com/news.asp?ID=85152, 2550. - “ธีรภัทร เสรีรังสรรค” รายงานการวิจัยเรื่อง รูปแบบรัฐบาลในระบบรัฐสภาไทยระหวาง พ.ศ.๒๕๑๘-๒๕๓๙. กรุงเทพ ฯ : สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, ๒๕๔๑.


Runy

สวั ส ดี ค ะ ท า นผู อ า นหนั ง สื อ ข า วทหารอากาศทุ ก ท า น เพื่ อ ตอบสนองยุ ท ธศาสตร ทอ. และ แผนแมบท ฯ กห. และตามนโยบาย ผบ.ทอ. ป ๒๕๕๔ ดานกํา ลังพล ใหพัฒนาและสงเสริ มกําลังพล ทุกระดับใหมีทักษะดานภาษาอังกฤษตามเกณฑมาตรฐานที่กองทัพอากาศกําหนด โดยจัดกิจกรรมเสริม ทักษะความรูภาษาอังกฤษผานชองทางตาง ๆ เสริมสรางกองทัพอากาศใหเปนองคกรแหงการเรียนรู โดย อาศัยกระบวนการจัดการความรูดวยการพัฒนากําลังพล ใหมีวัฒนธรรมการทํางานเชิงรุก การแลกเปลี่ยน และแบงปนความรูภายในกองทัพอากาศ ศูนยภาษาจึงไดเพิ่มคอลัมนใหมขึ้นอีกหนึ่งคอลัมน คือคอลัมน “Test Tip” นอกเหนือจากคอลัมนเดิมที่มีอยู คือ “ครูภาษาพาที” คอลัมน “Test Tip” เคยเปนบทความที่ลงเปนครั้งคราวในคอลัมน “ครูภาษาพาที” ซึ่งตอจากนี้ไป “Test Tip” จะเปนคอลัมนประจําที่ครูภาษาหลาย ๆ ทานจะมาชวยกันเขียน เพื่อเปนการแบงปนความรู ภาษาอังกฤษใหกับขาราชการกองทัพอากาศ เพื่อเปนแนวทางในการเตรียมตัวเขารับการทดสอบภาษาอังกฤษ ตอไป เชิญติดตามไดเลยคะ 1. Man : What happened to Angela? Woman: She twisted her knee. What did the woman say about Angela? a. She went to see a friend. c. She hurt her leg.

b. She broke a dish. d. She opened a bottle.


2. Man : What is the prime reason for coming here? Woman: I really don’t know. What is it that the woman doesn’t know? a. the number of objectives she has b. the only fact they have c. the last reason for coming d. the most important purpose for coming 3. Man : Where did Edward go? Woman: He went for his usual morning walk. What did the woman say? a. Edward went to work early this morning. b. Edward left this morning to talk to a friend. c. Edward took a walk, as he does every morning. d. Edward went for a walk for the first time. 4. Man : Will you accept a collect call from Mr. Williams? Woman: Yes, I will. What do we learn from this conversation? a. Mr. Williams wants to cancel the call. b. The woman wants to call Mr. Williams back. c. Mr. Williams will pay for the call. d. The woman will pay for the call. 5. Woman: What did you do yesterday? Man : Listened to the game. What did the man do? a. He went to see the game in person. b. He watched the game on television. c. He heard the game on the radio. d. He played in the game for a while.


ทานผูอานก็ไดทําแบบทดสอบแลว คราวนีล้ องมาอานคําตอบและคําอธิบายกันเลยนะคะ ขอที่ ๑. Man : What happened to Angela? เกิดอะไรขึ้นกับแองเจลา Woman: She twisted her knee. เธอเขาบิด What did the woman say about Angela? เธอพูดถึงแองเจลาวาอยางไร ขอ a. She went to see a friend. เธอไปพบเพื่อน ขอ b. She broke a dish. เธอทําจานแตก ขอ c. She hurt her leg. เธอเจ็บขา ขอ d. She opened a bottle.เธอเปดขวด ดังนั้นคําตอบที่ถูกตองก็คือ ขอ c. คําวา hurt และ twist แปลวา บาดเจ็บ hurt ใชกับรางกายและ จิตใจ twist ใชกับรางกาย ไดแก ขอเทา (ankle), ขอมือ (wrist) และขอเขา (knee) ขอที่ ๒ Man : What is the prime reason for coming here? อะไรคือเหตุผลสําคัญที่มาที่นี่ Woman: I really don’t know. ฉันไมทราบจริงๆ What is it that the woman doesn’t know? เธอไมทราบเรื่องอะไร ขอ a. the number of objectives she has. จํานวนวัตถุประสงคทเี่ ธอมี ขอ b. the only fact they have. ขอเท็จจริงที่พวกเขามี ขอ c. the last reason for coming. วัตถุประสงคสุดทายที่มาทีน่ ี่ ขอ d. the most important purpose for coming. วัตถุประสงคที่สาํ คัญที่สุดที่มาที่นี่ คําตอบที่ถูกตองก็คือ ขอ d. prime เปนคําคุณศัพท มีความหมายเทากับ main; most important; basic ขอที่ ๓ Man : Where did Edward go? เอ็ดเวิรดไปไหน Woman: He went for his usual morning walk. เขาไปเดินเลนตอนเชาตามปกติ What did the woman say? เธอพูดอะไร ขอ a. Edward went to work early this morning. เอ็ดเวิรดไปทํางานแตเชา ขอ b. Edward left this morning to talk to a friend. เอ็ดเวิรดออกไปแตเชาเพื่อไปคุยกับเพื่อน ขอ c. Edward took a walk, as he does every morning. เอ็ดเวิรดไปเดินเลนเหมือนที่ทําเปน ประจําทุกเชา ขอ d. Edward went for a walk for the first time. เอ็ดเวิรดไปเดินเลนเปนครัง้ แรก ดังนัน้ คําตอบที่ถูกตองก็คือ ขอ c take a walk เปนสํานวน หมายถึง เดินเลน


ขอที่ ๔ Man : Will you accept a collect call from Mr. Williams? คุณจะรับโทรศัพทเรียกเก็บ เงินปลายทางจากคุณวิลเลีย่ มไหม Woman: Yes, I will. รับคะ What do we learn from this conversation? เราทราบอะไรจากบทสนทนานี้ ขอ a. Mr. Williams wants to cancel the call. คุณเอ็ดเวิรดตองการยกเลิกโทรศัพท ขอ b. The woman wants to call Mr. Williams back.เธอตองการโทรศัพทกลับไปหาคุณวิลเลีย่ ม ขอ c. Mr. Williams will pay for the call. คุณวิลเลี่ยมจะจายคาโทรศัพท ขอ d. The woman will pay for the call. เธอจะจายคาโทรศัพท คําตอบที่ถูกตองคือขอ d. The woman will pay for the call. เธอจะจายคาโทรศัพท ขอที่ ๕ Woman: What did you do yesterday? คุณทําอะไรเมื่อวานนี้ Man : Listened to the game. ฟงการแขงขัน What did the man do? ผูชายทําอะไร ขอ a. He went to see the game in person. เขาไปดูการแขงขัน ขอ b. He watched the game on television. เขาดูการแขงขันทางโทรทัศน ขอ c. He heard the game on the radio. เขาฟงการแขงขันทางวิทยุ ขอ d. He played in the game for a while. เขาเขาแขงขันระยะหนึง่ คําตอบที่ถูกตองคือ ขอ c. He heard the game on the radio. เขาฟงการแขงขันทางวิทยุ คําวา in person พจนานุกรม Oxford Advanced Learner’s Dictionary อธิบายวา If you do something in person, you go somewhere and do it yourself, instead of doing it by letter, or asking somebody else to do it. หมายความวา ออกไปทําดวยตัวเอง ไมใชวิธีเขียนจดหมาย หรือขอใหผูอื่นทําแทน หลังจากที่ไดลองทํา แบบทดสอบ ตรวจคําตอบและอานคําอธิ บายแลว ท านผูอานคงจะไดรับ ความรู ภ าษาอั ง กฤษเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ อย า งน อ ยที่ สุ ด ก็ ถื อ ว า เป น โอกาสที่ ไ ด ท บทวนความรู ค วามเข า ใจ ภาษาอังกฤษ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาความรูภาษาอังกฤษดวยตนเอง ดิฉันหวังเปนอยางยิ่งวา บทความในคอลัมน Test Tip จะเปนประโยชนตอขาราชการกองทัพอากาศ ติดตามคอลัมนนี้ไดในฉบับหนา นะคะ สวัสดีคะ ☺☺


มาดามจาง

เมื่ อ กล า วถึ ง อั ญ มณี ที่ เ สริ ม ความเป น สิริมงคล ความร่ํารวย และโชคลาภ หลายคนคงนึกถึง หยก (Jade) เปนอันดับแรก เชื่อวาเปนอัญมณี จากฟากฟา หรือ “Heaven‘s Gem” เปนสิ่งที่สวรรค ประทานเพื่อเปนสื่อกลางไปสูความเจริญรุงเรือง ความสําเร็จ และโชคลาภ ถึ ง แม จ ะมี ก ารขุ ด พบหรื อ ทํ า เหมื อ งหยก ในหลาย ๆ ประเทศ เชน แถบอเมริกากลาง โดยเฉพาะ กัวเตมาลา ญี่ปุน สหรัฐฯ หรือ แมแตประเทศจีน ที่หลงใหล ศรัทธา ชื่นชอบหยกเปนที่สุด แตหยกที่ คุ ณ ภาพดี ที่ สุ ด ในโลก แพงที่ สุ ด ในโลกและ แหลงใหญที่สุดในโลก นั้น อยูที่ประเทศพมา หยกที่ มี อ ยู ใ นพม า เป น หยกเจดไดต (Jadeite) ไดยินครั้งแรกคุน ๆ คลายกับชื่อนักรบ อวกาศใน สตารวอร (Starwar) แตชื่อเจดไดตนี้ เปนชื่อที่ชาวยุโรปเปนผูตั้งชื่อกอนหินชนิดนี้ขึ้นมา โดยแรกเริ่มเดิมทีนั้นชาวยุโรปแทบไมมีใครรูจกั หยก

มาก อ น คงมี แ ต ค วามรู เ รื่ อ งอั ญ มณี ช นิ ด ต า ง ๆ ไมวาจะเปนเพชร หรือ พลอยชนิดอื่น ตามแตจะไป ขุ ด ไปยึ ด ไปหามาได ใ นสมั ย ออกล า อาณานิ ค ม มาก็เยอะ แตยังไมรูจักวาหยกคืออะไร จนกระทั่งได ติดตอทําการคาขายกับจีน และนี่เองเปนจุดเริ่มตน ใหหยกเขาสูตลาดยุโรปและเปนที่แสวงหาจวบจน มาถึงปจจุบันนี้

บรรยากาศของเหมืองขุดหยกที่พะกานในปจจุบันนี้


หยกเจดไดต สวนมากพบในเขตชายแดน พม า ติ ด ประเทศจี น บริ เ วณรั ฐ คะฉิ่ น (Khachin) แถบเมืองโมกก (Mokok) พะกาน (Prakhan) ในจังหวัด มิจินา (Myitkyina) แนวเทือกเขาเทามอ (Tawmaw) หรือเรียกแบบไทย ๆ วา โตะโมะ เปนเหมืองหยก เกาแกอายุราว ๆ รอยกวาป แตในความเปนจริงแลว เหมืองบริเวณที่เปดใชงานมากอนหนานี้อีกนานโข แรกเริ่มเดิมที คนที่ครอบครองพื้นที่แหงนี้ เปนชนพื้นเมือง และชาวคะฉิ่น ซึ่งก็ขุดหาหยกกัน มานานแสนนานแลว และชาวคะฉิ่น ซึ่งเปนชนกลุม น อ ยในพม า ก็ ใ ช เ งิ น ใช ท องที่ ไ ด จ ากการขุ ด หยก ขึ้นมาขาย นํามาซื้ออาวุธและเปนคาใชจายอื่น ๆ เพื่อทําการตอตานรัฐบาลพมา หรือ ตอสูกับพมา ตลอดเวลาไมวากับรัฐบาลไหน ๆ ดังนั้นจึงไมแปลก ที่ รั ฐ บาลทหารพม า พยายามทํ า ทุ ก วิ ธี ท างที่ จ ะ โคนลมคะฉิ่น เพื่อยึดพื้นที่นั้นใหได แตจนแลวจน รอดก็ทํ าไมสําเร็จสัก ที จึง ทําใหพื้ นที่อุดมไปดว ย หยกเจดไดตที่สมบูรณที่สุดในโลกแหงนี้ ตองเปน ทั้งสมรภูมิรบและแหลงขุดแร ทําเงินไปพรอม ๆ กัน ประมาณวาที่รบก็รบกันไป ที่ขุดก็ขุดกันไป จนกวา จะตายกันไปขางหนึ่ง ตอมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอีกครั้ง จึงมีการเจรจาสงบศึกพักรบกันไดระหวางรัฐบาล พมาและคะฉิ่ น จุ ดยุ ทธศาสตร นี้จึ ง มีการหยุดยิ ง และมีการผอนปรนกันบาง โดยทางการพมาก็ยึด ครองแหลงที่มีการขุดพบหยกมากที่สุด ประมาณ ๘๐๐ ตารางไมล โดยอางวาเปนการตัดเสนทาง คมนาคมเพื่อประชาชน (ถูกตองตามแบบรัฐบาล ทหารทุกประการ)

ปจจุบันไมมีการขุดเหมืองโดยใชแรงงานคน นับรอยนับพันอยางแตกอนที่เราเคยรูเคยเห็น แต พมาใชรถแบ็คโฮ (Becho) ขนาดใหญทําการตัก ขุด จากเหมืองหยกโดยตรง ทําใหมีโอกาสไดหยกไวขึ้น โดยการขุดหยกขึ้นมาเปนกอน ๆ สวนใหญอยูในรูป ของกอนหิน หรือเรียกวา กอนหยก ซึ่งการขุดแตละ ครั้ ง จะได ก อ นหยกขึ้ น มาเป น ปริ ม าณมากมาย อาจเรียกไดวาเปนภูเขาเลากาก็ไมผิดนัก แตกอน เหลานั้นยังหาใชเปาหมายหลักไม เพราะสิ่งที่ตองการ คือ หยกสีเขียวน้ํางามที่ เรียกว า หยกจักรพรรดิ์ หรือ Imperial Jade

แผนหยกที่ตัดแลวรอคัดเลือก

เพื่อที่จะใหไดมาซึ่งหยกจักรพรรดิสีเ ขีย ว น้ํางาม กอนหยกที่ไดมานับรอยนับพันกอนก็นํามา ผาหรือตัดใหเปนสวน ๆ ดวย เครื่องมือตัดหยก ซึ่ง ก็ยากเย็นแสนเข็ญ หาหยกสีเขียวสดใสไมไดงาย ดั่ ง ปรารถนา ค า ใชจ า ยในการขุ ดหากอ นหยกจะ อยูประมาณ ๕๕,๐๐๐ US ดอลลาร หรือ หนึ่งแสน เจ็ ด หมื่ น บาทต อ วั น ในแต ล ะวั น จึ ง มี ห ยกถู ก ขุ ด ขึ้นมาจากแหลงของมันมากมายเปนภูเขา เพื่อที่จะ เสาะแสวงหาหยกสี เ ขี ย วขนาดเล็ ก ๆ ก อ นจิ๋ ว ๆ


ในกอนหยกเหลานั้นใหได หากโชคดีไดพบสิ่งตอง ประสงค หยกจักรพรรดิ์ ก็ จ ะนํา มาเจีย ระไนเป น รูปทรงหลังเบี้ย (Cabachon) เปนสวนใหญ หรือ ทรงอื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อที่จะรักษาเนื้อหยกเอาไว จึ ง เป น สาเหตุ ใ ห เ จ า หยกเม็ ด เล็ ก ๆ ที่ เ รี ย กว า หยกจักรพรรดิ์ มีราคาสูงลิ่ว ตั้งแต แสนตน ๆ ถึง ลาน ๆ บาทไทย เพราะมันหามายากเย็นเหลือคณา บวกกับตนทุนที่ใชในการคนหา สวนหยกที่เหลือจัดเปนหยกประเภทที่ ๒ ทางการพมาก็จะเปดใหมีการประมูลที่ยางกุงและ ที่มัณฑะเลย ประมาณปละ ๓ – ๕ ครั้ง แตปที่ผา นมา เปดประมูลที่เมืองหลวงใหม เนปดอว (Naypyidaw) โดยที่จะนํามาใหประมูลตองลงทุนความเสี่ยงดวย ตัวเองวา ประมูลไปแลวจะคุมราคา หรือไม เพราะ เห็นครึ่งเดียวหรือดานเดียว ดานที่ผาใหเห็นอาจจะ เขียวใสโปรงแสง แตขางในอาจจะไมใชอยางที่เห็น ก็ ไ ด ดั ง นั้ น ผู ป ระมู ล ต อ งมี ค วามชํ า นาญ และ ประสบการณ ม าก ๆ ไม เ ช น นั้ น อาจจะหมดตั ว ลมละลายได เพราะราคาประมูลเริ่มตนจากหลาย แสนบาทจนถึงรอยลานบาท (ประมาณวาตาดีได ตารายหมดตัว) แตเปนที่นาสังเกตุวาพมาถูกคว่ํา บาตรจากนานาประเทศในยุโรป แตหนวยเงินที่ใช ในการประมูลเปนยูโรเชื่อหรือไม ผู เ ข า ร ว มประมู ล เป น ชาวจี น เสี ย เป น สวนใหญ ทั้งจีน ฮองกง ไตหวัน สิงคโปร มาเลเซีย ฯลฯ หรื อ แม แ ต ค นจี น ที่ ม าจากประเทศจี น (แผนดินใหญ) มาเปนครอบครัว มากันทั้งหมูบาน เปน กลุม ใหญล งขัน กั น มา ชว ยกั น สอง ช ว ยกัน ดู ดูแลวดูอีก ใชไฟฉายชนิดพิเศษมีแรงสูงสองทะลุ

กอนหยก สองกันเปนวัน ๆ เพื่อชวยในการตัดสินวา คุม ไหมถ า จะประมูล แลว นํ า มาทํ าเครื่ อ งประดับ ในรูปแบบตาง ๆ จึงมีความเสี่ยงสูงมาก

คนจี น ตั้ ง แต อ ดี ต บรรพกาลไม ว า ยุ ค ไหน สมัยไหน ก็มีความเชื่อ ความศรัทธา นิยมชมชอบ หยกตั้ ง แต จั ก รพรรดิ์ ห รื อ ฮ อ งเต ขุ น น้ํ า ขุ น นาง คหบดี ตลอดจนชาวบานธรรมดาตาดํา ๆ หยกใน ประเทศจี น ถู ก ขุ ด กั น ขึ้ น มาหมดแล ว หรื อ จึ ง ได แหกันมาประมูลที่ประเทศพมา ซึ่งในความเปนจริง แลว หยกที่จีนยังมีอยูอีกมาก แตเปนหยกเนพไฟรต (Nephive) หรือ หยกเนื้อออน ซึ่งองคประกอบทาง เคมี คือ แคลเซียม แมกนีเซียม ซิลิเกต (Calcium Magnesium Silicate) แตกตางจาก เจดไดต จึงทํา ให ห ยกจี น มี สี สั น ไม ม ากนั ก คื อ มี สี ข าว สี เ ขี ย ว สีเทา และน้ําตาล แถมยังมีจุดดํา ๆ ที่เกิดจากเหล็ก ออกไซด ป นอยู ไ ม ส วยงามขนาดที่ จ ะนํ า มาเป น เครื่อ งประดั บได แต ห ยกจีน ก็ยัง เลื่ อ งชื่อ ในเรื่อง ของความเหนียววามีความเหนียวที่สุด ในบรรดา อัญมณีทั้งหลายทนตอการกระเทาะ หรือแตกราว จึ ง นิ ย มนํ า มาแกะสลั ก เป น รู ป ลั ก ษณ ต า ง ๆ เพื่ อ เคารพบูชา


เมื่ อ หยกเนพไฟรต ที่ จี น มี อ ยู เ ที ย บรั ศ มี หยกเจดไดตของพมาไมไดแลว อีกทั้งหยกคุณภาพ ดีอยางหยกเจดไดตยังหายาก กวาจะขุดขึ้นมาได แตละกอนก็แสนจะลําบาก ทุกกอนที่ขุดไดทางการ พมาก็บวกภาษีอาน (ไมใชพระศรีอารย) จึงเปนเหตุ ใหหยกพมามีราคาแพงเข็ญใจ สําหรับผูตองการ มีไวครอบครอง คนขุดก็ยิ่งรวย ก็ยิ่งเรงขุด ยิ่งเรงตัก กันเปนการใหญ ถาขุดอยางนี้ไปเรื่อย ๆ นาเปนหวง วาในอนาคตอั น ใกล นี้ หยกเจดไดต ที่ พ มา คงจะ หมดเปนแนแท สุดทายนี้ ตองขอขอบพระคุณทางการพมา เปนอยางยิ่ง ที่อนุญาตและพาเยี่ยมชมเหมืองหยก ธรรม

แหลงใหญที่สุด และสําคัญที่สุดของพมา แตที่รูสึก ปลาบปลื้มตื่นเตนเปนขวัญหูบุญตามากที่สุดก็ตรง ที่ไดเขาชมกอนหยกยักษที่พมาขุดพบ ซึ่งมีขนาด ๓.๙๔ เมตร x ๒.๑๓ เมตร x ๒.๙๒ เมตร และหนัก มากกวา ๓๓.๕๙ เมตริกตัน ตองลงไปใตดินเดิน ลัดเลาะผานอุโมงคที่เตรียมไวสําหรับเปนทางเดิน ทุ ลั ก ทุ เ ลนิ ด หน อ ยแต คุ ม ค า เห็ น แล ว แทบจะลื ม หายใจ อะไรจะกอนใหญปานนี้ สารพัดสีสวยปาน นั้น ทั้งเขียวเขมสดดั่งมรกต เหลืองแสดแดงไปถึง สีมวงดั่งดอกลาเวนเดอรก็ไมปาน ความโลภบวกกิเลส เขาครอบงํา กลับมาแลวยังฝนถึงตื่นยังเพอหา ถาได สีเขียวสด ใสๆ สักกอนเล็กๆ ก็คงจะดีไมนอย ☺☺

บรรยากาศภายในของถ้ําหยกยักษซึ่งดานหลังที่เห็นสวนหนึ่ง ของกอนหยกยักษหนักกวา ๓,๐๐๐ ตัน

กอนหยกที่นํามาประมูลราคาเริ่มตน ๘๐ ลานยูโร และทําเปนกําไรขอมือหนึ่งวงราคา ๑๕ ลานหยวน


หมอพัตร วงการแพทย ยุ ค ป จ จุ บั น มี ก ารค น พบยา ใหม ๆ อยูเสมอ ผลิตภัณฑใหมเหลานี้ บางอยางก็ โดงดังเปนพลุแตกแลวคอย ๆ เลือนไป อาจเพราะ ใชแลวเกิดอาการแทรกซอนที่ไมพึงปรารถนา บางก็ เปนพิษเมื่อใชไป ๆ บางอยางก็ไมไดผลเพราะเกิดการ ดื้อยา ตัวอยางเชน ยาปฏิชีวนะบางอยาง ยาสําหรับ โรคเอดส และยาแก โรคปวดกล ามเนื้ อปวดกระดู ก เป นต น ยาที่ อยู ยงคงกระพั นใช อยู ได นานแสนนาน อยางหนึ่งคือ อินซูลิน ยามหัศจรรยที่ชวยชุบชีวิต ของผูปวยโรคเบาหวานใหมีชีวิตอยูไดอยางมีคุณภาพ โรคเบาหวานเกิ ด จากการขาดอิ น ซู ลิ น ซึ่ ง เป น ฮอร โ มนที่ ส ร า งขึ้ น ในร า งกายจากเซลล ที่ เรียกวา ไอสเลต ออฟ แลงเกอร ฮานส ในตับออน อินซูลินทําหนาที่ในการคุมการเปลี่ยนสารประเภท น้ํา ตาลกับแป ง ใหเ ป น พลั ง งานเพื่อ ใช ใ นร า งกาย ถาไมมีอินซูลิน รางกายก็ไมสามารถผลิตพลังงาน จากน้ําตาลได เปนผลใหน้ํ า ตาลคั่ ง อยูใ นกระแส โลหิ ต ร า งกายต อ งขั บ ทิ้ ง ออกไปทางป ส สาวะ เปนที่มาของโรคเบาหวาน โรคเบาหวานพอแบงงาย ๆ เปน ๒ ประเภท คือประเภทที่รางกายผลิตอินซูลินไมไดเลย เรียกวา Diabetes Type I หรือ Juvenile Type มักเปนมา

แตกําเนิด อีกประเภทหนึ่งเปนโรคเบาหวานในผูใหญ ผลิ ต อิ น ซู ลิ น ได แ ต ไ ม เ พี ย งพอ ส ว นมากผู ป ว ยมี ประวัติทางพันธุกรรม (Hereditary) โรคเบาหวานที่ จําเปน ตองใชอินซูลินคือเบาหวานในเด็ก ซึ่งตอง อาศัย การฉีดอิ น ซูลิ น ไปตลอดชีวิ ต สมั ย กอ นการ มี อิ น ซู ลิ น รั ก ษา เด็ ก ที่ เ ป น เบาหวานจะผ า ยผอม จนกระทั่งเสียชีวิตไปในเวลาไมกี่ป ในนครนิ ว ยอร ก มี อั ต ราตายของเด็ ก จาก โรคเบาหวานสูงมากเปน ๑ ใน ๕ ของโรคที่คราชีวิต ในแต ล ะป เมื่ อ มี ก ารสกั ด อิ น ซู ลิ น เป น ผลสํ า เร็ จ รูปการณก็เปลี่ยนไป เด็กที่เปนเบาหวานสามารถ เจริญเติบโตเปนผูใหญได แตก็ไมหายขาด กลายเปน ผูปวยเรื้อรังต องอาศัยการฉีดอิ นซู ลิน ประทั งชีวิต ไปตลอด ตอนทศวรรษแรกของคริสตศตวรรษที่ ๒๐ วงการแพทย ท ราบแล ว ว า โรคเบาหวานเกิด จาก รางกายขาดอิน ซูลิน แตก็ยังไมมีใครสกัดอินซูลิน จากตั บ อ อ นได และก็ ไ ม ส ามารถสร า งสารที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมื อ นอิ น ซู ลิ น ได เด็ ก โรคเบาหวาน มาแตกําเนิดจึงตองคอย ๆ รวงโรยไปจนถึงแกชีวิต ทั้ง ๆ ที่ในกระแสโลหิตมีสารตนกําเนิดพลังงาน(คือ น้ําตาล)อยูทวมทน เปรียบเสมือนความขาดแคลน


ท า มกลางความอุ ด มสมบู ร ณ ผู ป ว ยจะมี ค วาม กระหายน้ําและความหิว ยิ่งบริโภคอาหารมากเทาใด ก็จะยิ่งมีอาการมากขึ้นเทานั้น สมัยกอนที่จะสกัด อินซูลินได แพทยจึงวางแผนการรักษาโดยใชการ แกเหตุการณเฉพาะหนา ใหงดอาหารพวกน้ําตาล แปง และคารโบไฮเดรต ใหบริโภคพวกผักสลัดและ ไข ซึ่ ง มี น้ํ า ตาลน อ ยแทน ผู ป ว ยจึ ง เหลื อ แต ห นั ง หุมกระดูก เอาแคพอประทังชีวิต แตก็อยูไดยาวนาน กวาพวกที่ไมจํากัดเรื่องอาหาร ดร.เอลเลี ย ต จอสลิ น ผู ดํ า เนิ น การศู น ย โรคเบาหวานที่บอสตันยุคกอนอินซูลิน บรรยายถึง รูปลักษณของเด็กโรคเบาหวานวามีน้ําหนักตัวแค “น้ําหนักของโครงกระดูก บวกกับวิญญาณเทานั้น” ผูมีชื่อเสียงในวงการรักษาเบาหวานดวย การควบคุ ม อาหารคื อ ดร.เฟรเดอริ ก อั ล เลน แห ง นิ ว ยอร ก ผู ก อ ตั้ ง สถานดู แ ลผู ป ว ยเบาหวาน หลายแหง ทั้งที่แมนฮัตตันและนอกเมืองนิวเจอรซี วั นหนึ่ งผู พิ พากษาศาลสู งชื่ อ ชาร ลส อี แวน ฮิ วส มาขอพบเพื่อปรึกษาเรื่องบุตรสาวชื่อ เอลิซาเบธ ฮิวส ที่ปวยเปนโรคเบาหวาน ขณะนั้นเปนป ค.ศ.๑๙๑๙ และเอลิซาเบธ มีอายุเพียง ๑๑ ป เอลิซาเบธ ฮิวส เปนเด็กหญิงที่นารักและ ราเริง ความสูง ๕ ฟุต (๑๕๒ ซม.) ผมสีน้ําตาล สนใจ ศึ ก ษาเรื่ อ งนก เธอควบคุ ม โรคด ว ยวิ ธี คุ ม อาหาร ตามคําแนะนําของ ดร.อัลเลน น้ําหนักตัวลดจาก ๒๙ กก. เหลือ ๒๓ กก. และเมื่อเกิดอาการทองรวง ก็ลดลงไปเหลือ ๒๐ กก. ในป ค.ศ.๑๙๒๒ แตยังคง พออยู ได ยืน ยาวกว า ใครคิ ดอี ก ๓ ป ในช ว งเวลา นั้นเอง มารดาของเธอทราบขาววามีแพทยที่ประเทศ แคนาดาชื่อ ดร.เฟรเดอริก แบนติง สามารถแยก ธรรม

อินซูลินไดเปนผลสําเร็จแลว ดร.แบนติ ง เติ บ โตขึ้ น มาจากเด็ ก ท อ งนา ที่ออนตาริโอ เรียนจบแพทยโดยไมมีอะไรโดดเดน ในสงครามโลกครั้งที่ ๑ เขาเคยไดรับบาดเจ็บ จึงผัน ตัวเองไปทํางานดานการทดลองที่มหาวิทยาลัยแหง โตรอนโต ด ว ยความมุ ง มั่ น ที่ จ ะสกั ด สารสํ า คั ญ ออกมาใหจงได สารนั้นคือสารสําคัญสําหรับรักษา โรคเบาหวาน อินซูลิน นั่นเอง ในฤดู ร อ นป ๑๙๒๑ แบนติ ง กั บ ผู ช ว ยชื่ อ ชารลส เบสต รวมกันทําการทดลองในสุนัขที่เปน เบาหวานดวยความอดทน จนถึงสุนัขตัวที่ ๙๒ เปน สุนัขพันธุคอลลี พอฉีดสารทดลองใหไมนาน มันก็ กระปรี้กระเปรากระโดดลงจากโตะ กระดิกหางอยาง รา เริง แบนติง ทราบทั น ที วา การทดลองแยกสาร อินซูลินของเขา ประสบผลสําเร็จแลว การปฏิบัติการทดลองของแบนติงอยูภายใต ความควบคุมของ ดร.จอหน เจ.อาร. แมคเคลาด ผูซึ่งทําหนาที่ผูอํานวยการหองปฏิบัติการดวย แต ในขณะที่แบนติงทํางานสําเร็จนั้น แมคเคลาดไมอยู ไปพักผอนที่สกอตแลนด เมื่อแมคเคลาดกลับจากการพักผอนในฤดู ใบไม รว ง ก็ร วบรัด เอาเปน ผลงานของเขา เรื่ องนี้ แบนติงไมเคยยอมใหอภัยเลย เก็บความขมขื่นไว แมเวลาจะลวงไปหลายปก็ตาม เมื่อมีการมอบรางวัล โนเบลในป ค.ศ.๑๙๒๓ ถึ ง แบนติ ง จะมี ชื่ อ ได รั บ รางวั ล ร ว ม เขาก็ ป ฏิ เ สธที่ จ ะขึ้ น ไปร ว มรั บ รางวั ล บนแทนพิธีพรอมกับแมคเคลาด ในชวงเวลานั้น อินซูลินเปนที่ตองการของ ผูปวยเบาหวานเด็กเปนอันมาก มารดาของเด็กปวย จํานวนมากพากันสงจดหมายคร่ําครวญขออินซูลิน


มายังแบนติง แตยาก็ยังมีจํานวนไมเพียงพอแกความ ตองการ จดหมายฉบับหนึ่งมีใจความวา “ดร.แบนติง ที่รัก, ดิฉันตื่นเตนมากเมื่อทราบถึงผลงานของทาน ...บุตรสาวของดิฉันอายุ ๑๑ ป เปนเบาหวาน ซูบซีด เสียน้ําหนักลงเรื่อย ๆ นาสงสารจริง ๆ” จดหมายฉบั บ นี้ ผู ส ง มาคื อ อั ง ตั ว เนต มารดาของเอลิ ซ าเบธ ฮิ ว ส ที่ ไ ด ก ล า วถึ ง มาเมื่ อ ตอนตน ในเวลานั้น ชารลส ผูเปนบิดาเด็กถูกยาย เปนการชั่วคราวจากผูพิพากษาศาลสูงสุดไปเปน รัฐมนตรีตางประเทศ ของประธานาธิบดีวอรเรน จี. ฮารดิง แตแบนติงไมใหความสนใจเปนพิเศษ อางวา ไม มี อิ น ซู ลิ น เหลื อ เพี ย งพอ ซึ่ ง ตามความจริ ง คณะทํางานของเขาก็มีปญหาในการสกัดอินซูลิน ใหไดมากพอสําหรับผูปวยที่ขอมาอยูแลว แต , ไม กี่ สั ป ดาห ต อ มา แบนติ ง ก็ ย อม โอนอ อน เข า ใจว า คงมี อํ า นาจเบื้ อ งหลั ง เข า มา เกี่ยวของ อาจเปนชารลส ฮิวส เองก็ได ลือกันเพียงวา เปนชายหนาเครียดยิ้มยาก ผูซึ่ง ธีโอดอร รูสเวลท เรี ย กชื่ อ เล น ว า “ภู เ ขาน้ํ า แข็ ง ไว เ ครา” ช ว ยให เอลิ ซาเบธ ฮิ วส ได เ ดิ น ทางโดยด ว นไปโตรอนโต เพื่อรับยาฉีดชุบชีวิต เป น อั น ว า เอลิ ซ าเบธได รั บ อิ น ซู ลิ น สมใจ เป น เสมื อ นการชุ บ ชี วิ ต โดยแท ต า งกว า เด็ ก โรคเบาหวานอื่น ๆ ที่ปราศจากเสนสาย จําตองรอ อย า งกระวนกระวายให ผู มี อิ น ซู ลิ น อยู ใ นมื อ ที่ ประเทศแคนาดาตกลงจัดสรรอยางยุติธรรม ผู ป ว ยหลายรายรอคอยอย า งยาวนาน ใหความสนับสนุนอยางเต็ม ที่โดยไมเอยปาก แต เอลิซาเบธกลับไมรูดํารูดี ทั้ง ๆ ที่เคยเปนขาวพาดหัว

หนังสือพิมพยกใหเปนผูปวยโรคเบาหวานที่ดังที่สุด ในอเมริกาอยูระยะหนึ่ง เอลิซาเบธมีอายุยืนยาวอยู จนอายุได ๗๔ ป จึงสิ้นชีวิตลงเมื่อป ค.ศ.๑๙๘๑ ได รั บ การฉี ดอิ นซู ลิ นไปทั้ งหมดถึ ง ๔๒,๐๐๐ ครั้ ง นอกจาก ไมยอมใหความรวมมือใด ๆ เธอยังทําลาย เอกสารเกือบทั้งหมดเกี่ยวกับความเจ็บปวยของเธอ รวมทั้ ง เอกสารอ า งอิ ง ทั้ ง หลายทั้ ง ปวงที่ บิ ด าเธอ บันทึกไว บางคราวถึงขนาดปฏิเสธไมยอมรับวาเคย เปนโรคเบาหวานเมื่อยังเยาวดวยซ้ําไป อยางไรก็ตาม, ในนิตยสาร The Wall Street Journal คูเปอร นักเขียนเรื่อง และ เอนสเบิรก ผูบริหารนิตยสารและเปนนักประวัติศาสตรสมัครเลน ดว ย ก็ไ ม ไดยึดเอาเอลิซ าเบธเป น หลั ก การเขีย น บางที จึ งต องสร างภาพบ างเมื่ อเอ ยถึ งเรื่ องที่ ไม มี บันทึกเปนหลักฐาน ในนิทรรศการเกี่ยวกับเบาหวานเมื่อเร็ว ๆ นี้ (ตุลาคม ๒๐๑๐) ที่สมาคมประวัติศาสตรนิวยอรก มีการแสดงใหเห็นถึงความมหัศจรรยของอินซูลิน อยางแจมชัด แตเอยถึงเรื่องเกี่ยวกับเอลิซาเบธ ฮิวส เพียงเล็กนอย ซึ่งหลายคนยังแคลงใจวา เปนความ ประสงคของเธอหรือเปลา จดหมายหลายสิบฉบับ ของเธอที่ยังหลงเหลืออยู กลาวถึงระยะเวลาที่เธอ รักษาตัวอยูที่โตรอนโต ยังบงบอกวาเธอฟนตัวขึ้น ทั้งทางสุขภาพและพลังรางกาย และยังย้ําถึงความ ไมตองการเปนอยางยิ่งที่จะตองอยูในสถานะผูปวย อยูตลอดไป เธอถื อ ว า วั น ที่ ไ ด รั บ อิ น ซู ลิ น ครั้ ง แรกเป น วันอันยิ่งใหญ เธอเขียนถึงมารดาวา “หนูทําไดอยางสมบูรณและงดงาม บัดนี้ หนูรูสึกวามีอิสระเสรีอยางแทจริงแลว” ""


มิสกรีน

BLONDIE

ภาพ 1 - เฮ ตอนนี้การวิ่งมาราธอนเปนอยางไรบางครับ ? - อะไรนะ ? ภาพ 2 - คุณไมใชคนที่ผมเห็นในนิตยสารวิ่งแขงขัน ที่มักจะลงแขงในนัดใหญ ๆ เหรอครับ ? ภาพ 3 - คุณจะไมเชื่อหรอกวา ผมซื้อรองเทาวิ่งคูใหมสุดเจงนี่มานะ ! - การใช How (อยางไร) ขึ้นตนประโยคคําถาม มีประโยชนในการสนทนามาก และเราคุนเคยกันแลว ตั้งแต How are you ? และ How’s your job ? ซึง่ ใชกับ V.to be หรือ จะใชกับกริยาอืน่ และ tense ตาง ๆ ได เชน How do you like Thai food ? และ How did he come here ? เปนตน these days (adv.) - ปจจุบันนี้ (now) Ex. I don’t do much exercise these days. (เดี๋ยวนี้ฉนั ไมไดออกกําลังกายมากนัก) Aren’t you the guy ……..? - เปนคําถามปฏิเสธ (Negative Question) ซึ่งใชแสดงความประหลาดใจ Ex. Don’t you like rock music ? (คุณไมชอบดนตรีร็อคหรือ ?) marathon (n.) - การวิง่ แขงขันระยะทางไกล ๔๒ กิโลเมตร หรืออาจหมายถึง กิจกรรมที่ตอง ใชเวลานาน และตองการความพยายาม ความอดทนสูง Ex. We finished the job but it was quite a marathon. (เราทํางานกันเสร็จ แตมันเปนงานมาราธอนทีเดียว)

How’s (is) …….…?


gonna - เปนภาษาพูดไมเปนทางการของ be going to (will) แตพูดเร็ว จึงรวบใหสั้น fabulous (adj.) - ดีเยี่ยม, ประทับใจ (wonderful) ออกเสียงวา “แฟบยะเลิ่ส”

THE BORN LOSER

ภาพ 1 - อาหารเย็นไปถึงไหนแลว ? ไกงวงและอาหารประกอบนะ เปนของโปรดของฉันนะ ! ภาพ 2 - ที่จริงแลว ฉันลืมไปซื้อไกงวง ดังนัน้ ฉันเลยตองหาอยางอืน่ แทน ภาพ 3 - ฉันคิดวา มันจะเปนหมูกระปองกับอาหารประกอบก็แลวกัน ! How’s ……. coming (along) ? - เปนคําถามที่ใชถามถึงความกาวหนาของสิ่งนั้น (to be developing or making progress) with all the trimmings - ในทีน่ ี้แปลวา อาหารพิเศษหลายชนิดทีเ่ สิรฟประกอบมากับอาหารหลัก (the special types of food that traditionally accompany the main dish) เชน ไกงวงอบ (roast turkey) ถาเสิรฟครบเครื่อง มักจะประกอบดวย ผัก, เครื่องที่ยัดไสไกงวง (stuffing) และแครนเบรี่ซอส (cranberry sauce) เปนตน actually (adv.) - ตามความจริงแลว, โดยขอเท็จจริงแลว (in fact, as a matter of fact, really, to tell the truth) to forget - ลืมทําสิ่งใดสิง่ หนึ่ง (not remember to do sth) Ex. I forgot to turn off the lights. (ฉันลืมปดไฟ) ถาลืมสิ่งของก็ใชตามดวยคํานาม Ex. She has forgotten her wallet. (เธอลืมกระเปาเงิน) to improvise - ในที่นี้แปลวา ทําสิง่ อืน่ แทนสิ่งที่ไมมี (to make sth by using whatever you can find to replace sth you do not have) Ex. Ann improvised a sandpit for the children to play in. (แอนทําบอทรายใหเด็ก ๆ ไดเลนกัน) Spam (n.) - หมูกระปองราคาถูก (cheap canned pork) มักเปนอาหารที่ใชแกขัด


“อาการปวดที่เกิดขึ้นบริเวณข้อเข่า อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ในผู้ที่มีอายุมากกว่า ๔๐ ปี มักเกิดจากการเสื่อมสภาพตามธรรมชาติ ของกระดูกและกระดูกอ่อนผิวข้อ”

นายหวงใย

อาการสําคัญของโรคขอเขาเสื่อม ปวด ขอเขา รูสึกเมื่อย ตึงที่นองและขอพับเขา รูสึกวา ขอ เข า ขั ด ๆ เคลื่ อ นไหวข อ ได ไ ม เ ต็ม ที่ มี เ สี ย งดั ง ในขอเวลาขยับเคลื่อนไหวขอเขา ขอเขาบวม มีน้ํา ในขอเขา เขาคดผิดรูปราง หรือเขาโกง ซึ่งอาการ เหลานี้อาจจะพบบางขอหรือหลายขอพรอมกันก็ได ในระยะแรก อาการเหลานี้มักจะคอยเปนคอยไป อยางชาๆ และเปนๆ หายๆ เมื่อโรคเปนมากขึ้น ก็จะมี

อาการรุนแรงเพิ่มขึ้น เปนบอยขึ้น และอาจจะมีอาการ ตลอดเวลา แนวทางรั ก ษามี อ ยู ห ลายวิ ธี เช น การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในชีวิตประจําวัน ทํากายภาพ บําบัด การกินยาแกปวดลดอาการอักเสบ การผาตัด เพื่อจัดแนวกระดูกใหม การผาตัดเปลี่ยนขอเขาเทียม


ป จ จุ บั น ยั ง ไม ส ามารถรั ก ษาโรคข อ เข า เสื่ อ มให หายขาดได จุดมุ งหมายในการรั กษา ก็ คื อ ลดอาการปวด ทําใหเคลื่อนไหวขอไดดีขึ้น ปองกัน หรือแกไขการผิดรูปรางของขอ เพื่อใหผูปวยสามารถ ดําเนินชีวิต ประจําวันหรือทํางานไดเปนปกติ การกิ น ยาแก ป วดหรื อ การผ า ตั ด ถื อ ว า เป น การรั ก ษาที่ ป ลายเหตุ ถ า ผู ป ว ยยั ง ไม มี ก าร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดําเนินชีวิตประจําวัน และไม บ ริ ห ารข อ เข า ผลการรั ก ษาก็ จ ะไม ดี เทาที่ควร วิธีการรักษาที่ไดผลดี เสียคาใชจายนอย ทุ ก คนสามารถทํ า ได ด ว ยตนเอง คื อ ลดน้ํ า หนั ก บริห ารข อ และการปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมในการ ดําเนินชีวิตประจําวัน

ขอแนะนําในการรักษาดวยตนเอง ดังนี้ ลดน้ําหนักตัว เพราะเมื่อเดินจะมีน้ําหนัก ลงที่เขาแตละขางประมาณ ๓ เทาของน้ําหนักตัว แต ถ า วิ่ ง น้ํ า หนั ก จะลงที่ เ ข า เพิ่ ม เป น ๕ เท า ของ

น้ําหนักตัว ดังนั้น ถาลดน้ําหนักตัวได ก็จะทําใหเขา แบกรั บ น้ํ า หนั ก น อ ยลง การเสื่ อ มของเข า ก็ จ ะช า ลงดวย

ทานั่ง ควรนั่งบนเกาอี้ที่สูงระดับเขา ซึ่งเมื่อ นั่งหอยขาแลวฝาเทาจะวางราบกับพื้นพอดี ไมควร นั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเขา นั่งยองๆ หรือนั่ง ราบบนพื้น เพราะทานั่งดังกลาวจะทําใหผิวขอเขา เสียดสีกันมากขึ้น ขอเขาก็จะเสื่อมเร็วขึ้น

เขาหองน้ํา ควรนั่งถายบนโถนั่งชักโครก หรือใชเกาอี้ที่มีรูตรงกลางวางไวเหนือคอหาน ไมควร นั่งยองๆ เพราะทํ าให ผิ วข อเขาเสี ยดสี กั นมาก และ เสนเลือดที่ไปเลี้ยงขาถูกกดทับ เลือดจะไปเลี้ยงขาได ไมดี ทําใหขาชา มีอาการออนแรงได ควรทําที่จับยึด


บริเวณดานขางโถนั่งหรือใชเชือกหอยจากเพดาน เหนือโถนั่ง เพื่อใชจับพยุงตัวเวลาจะลงนั่งหรือจะ ลุกขึ้นยืน การยืน ควรยืนตรง ใหน้ําหนักตัวลงบนขา ทั้งสองขางเทา ๆ กัน ไมควรยืนเอียงลงน้ําหนักตัว บนขาขางใดขางหนึ่ง เพราะจะทําใหเขาที่รับน้ําหนัก มากกวาเกิดอาการปวด และขอเขาโกงผิดรูปได การเดิ น ควรเดิ น บนพื้ น ราบ ใสร องเท า แบบมีสนเตี้ย (สูงไมเกิน ๑ นิ้ว) หรือแบบที่ไมมีสน รองเทา พื้นรองเทานุมพอสมควร มีขนาดที่พอเหมาะ เวลาสวมรองเทาเดินแลวรูสึกวากระชับพอดี ไมหลวม หรือคับเกินไป ไมควรเดินบนพื้นที่ไมเสมอกัน เชน ทางลาดเอียงที่ชันมาก หรือทางเดินที่ขรุขระ เพราะ จะทําใหน้ําหนักตัวลงไปที่เขาเพิ่มมากขึ้น และอาจ จะเกิดอุบัติเหตุหกลมไดงาย

การปฏิบัติตัว ควรบริหารกลามเนื้อรอบๆ ขอเข า ใหแข็งแรง เพื่อชวยการเคลื่ อนไหวของขอ ไดดีขึ้น และสามารถทรงตัวไดดีขึ้นเวลายืนหรือเดิน การออกกํ า ลั ง กายไม ต อ งมี ก ารลงน้ํ า หนั ก ที่ เ ข า มากนั ก เช น การเดิ น การขี่ จั ก รยาน การว า ยน้ํ า เปนตน

โรคข อ เข า เสื่ อ ม รั ก ษา ไม ห ายขาด แต ก็ มี วิ ธี ที่ ทํ า ให อ าการ ดี ขึ้ น และชะลอความเสื่ อ มให ช า ลง ทําใหสามารถดําเนินชีวิตไดตามปกติ ซึ่งจะทําไดหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับความ ตั้งใจเปนสําคัญ . (ขอขอบคุณ www.thaiclinic.com)


น.อ.ปยะพันธ ขันคม สังคมมนุษยยอมดําเนินไปตามปจจัยพื้นฐาน และมีการวิวัฒนาการอยูเสมอ กลไกอันสําคัญที่ทําให โครงขายอันนี้อยูไดก็ดวยไตรสิกขาสัมมาสติทั้งสาม คือกายกรรม วจีกรรมและมโนกรรม ในทางโลกนั้น เรารูจักสิทธิและหนาที่อันมีกฎหมายเปนเครื่องมือ ในทางธรรมเรามีศีลธรรมคอยค้ําจุนอยู ประการนี้ สําคัญมาก เพราะเปนรากเหงาของทุกสิ่งทุกอยาง กฎหมายจะหมดคุ ณ ประโยชน ห ากสั ง คมเข า สู ยุ ค มื ด ของศี ล ธรรม ซึ่ ง พุ ท ธศาสนิ ก ชนคงจะ ตระหนักอยางกระจางเนื่องจากเปนเนื้อดีสวนหนึ่ง ในพุทธศาสนา การที่จะเขาใจถึงเสนทางอันยาวไกล ของแกนแทแหงพุทธศาสนานั้น หากมีความตั้งใจ อยางแนวแน ยอมจะหาวิธีในการศึกษาไมยากนัก

ผูเ ขี ย นเริ่ ม สนใจการศึ ก ษาและอา นเรื่ อ ง ธรรมะเนื่องจากอายุมากขึ้น เห็นทั้งความต่ําตอย

และหรูเ ลิศ ความโสมนั สปติยิน ดีและทุกขเวทนา ความอนาถาของการมี ม ากจนเกิ น พอใน โลภะ โทสะและโมหะ ซึ่งก็ไม ไดหมายความวาชวงชีวิต ที่ผานมาของผูเขียน เปนมนุษยที่พรองดวยศีลธรรม จึงตองใชธรรมโอสถเปนเครื่องเยียวยาแตประการใด เพียงแตผูเขียนตองการเปลี่ยนวิถีชีวิตและทวงคืน บางสิ่ ง บางอย า งที่ ดี ที่ ห ายไป ผู เ ขี ย นเริ่ ม เจาะจง หาหนังสือธรรมะที่อธิบายความงาย ๆ ทั้งที่พระเขียน เองหรือฆราวาสเขียน มันอิ่มเอิบและสุขใจจริงครับ ทั้งตัวผูเขียนเองและคนรอบขาง เหมือนกับมันไมมี ธุ ลี กิ เ ลสของ โลภะ โทสะ โมหะมาเป น ม า นบั ง ความสัม พัน ธที่ ดีตอกัน และยัง แผเมตตาใหผูอื่น มี ค วามสุ ข ได ผู เ ขี ย นไม มี เ ป า หมายที่ จ ะนิ พ พาน ผูเขียนจึงอานหนังสือธรรมะไดเรื่อยๆ ไมกังวลวา จะเจอบาลีที่ยากหรืองายแตประการใด อานมาก เจอคําซ้ํา ๆ ก็จะคอย ๆ เขาใจลึกซึง้ ขึน้ ในมัชฌิมาปฏิปทา ซึ่งก็คืออริยมรรคองค ๘ อันไดแก ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบหรือเขาใจถูกตอง ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดําริชอบ ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ


๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ตั้งใจมั่นชอบ

เมื่อเราเริ่มรูสึกวา ตัวเองแหวกวายอยูใน ทองทุงของสิ่งเหลานี้ จะรูสึกสนุกไมนารําคาญ เมื่อ อานธรรมะ ตัวเองจะเปนธรรมชาติ ไมวางมาดทําตัว เขื่ องเคร งขรึ มอึ ดอั ดอี กต อไป ท านพุ ทธทาสภิ กขุ กลาววาจุดที่เราอยูนั้นคือ อาศรมสี่ประการ ดังนี้ ๑. อาศรมที่ ห นึ่ ง คื อ พรหมจรรย เป น ธรรมของพรหม ซึ่งตองรักษาไวใหบริสุทธิ์ ไมของแวะ กับเพศตรงขาม(ในสมัยกอนผูคนมีการศึกษานอย ยั ง ไม รู ว า คนต า งเพศสามารถทํ า อะไรร ว มกั น ไดอยา งนา อั ศจรรย ใจ) หรื อ พบปะกั น ในสถานที่ ไมบังควร การปฏิบัติตนในอาศรมนี้ ก็มีธรรมะชวย หลายอยางเชนเดียวกับอาศรมอื่น ๆ สมบูรณหรือ ไมสมบูรณในอาศรมนี้ ดวยอุบัติเหตุทางเพศบางอยาง หรือดวยอุบายอันใดก็ดี ตนก็จะขยับเขาสูอาศรม ที่สอง ๒. อาศรมคฤหัสถหรือการครองเรือน จะมีสามี ภรรยา ลูกหลานสืบวงศตระกูลกันตอไป

ในอาศรมจะมีเรื่องยุง ๆ ใหคิดสรางและแกไขกันอยู มากมายครบทุกรสชาติของชีวิต ทั้งการปฎิพัทธของ คนในครอบครัว ตางครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหาย สั ง คมจิ ต วิ ท ยา เทคโนโลยี เศรษฐกิ จ การศึ ก ษา ธรรมะหลัก ธรรมะชวย ในอาศรมคฤหัสถจึงมีมาก แต ไ ม ต อ งกลั ว และไม จํ า เป น ต อ งจํ า ให ไ ด ห มด เพราะเราคือฆราวาส ใชธรรมะเหวี่ยงแห แผกวาง คลุมไปหมด ทํางายสบายใจดี ทําดีไดดี สั้นกระชับ ซึ่ ง ก็ จ ะอยู ใ นพุ ท ธธรรมไม ข อ ใดก็ ข อ หนึ่ ง เพราะ พระพุทธวัจนะ เปนอมตะและกวางขวาง ๓. อาศรมวนปรัสถ เขาเหลานี้จะบําเพ็ญตน ตามแนวคิดของตน เขาปาเขาถ้ําเปนฤๅษี ชีไพรไป พวกนี้ แ ยกแยะยากว า เป น คนปกติ อ อกแสวงหา ธรรมะขั้นสูงหรือบากันแน สวนใหญจะไปไมรอด บางเสียชีวิตในปาเพราะโรคภัยไขเจ็บ บางก็บริจาค เนื้ อ ตั ว เองเป น อาหารเสื อ เบงกอลในป า อิ น เดี ย โดยมิ ไ ด ตั้ ง ใจ ไม เ สี ย ชี วิ ต รอดกลั บ มาก็ อ า งว า ลําบากและมีอุปสรรคนานาประการ ไมไหวหนีกลับ ไปสูอาศรมคฤหัสถ พวกนี้อยากไปเร็วขามขั้นตอน ของความสมฤดี แ ละเจ็ บ ปวดของชี วิ ต มาคื อ จาก อาศรมพรหมจรรยก็มาโผลที่อาศรมวนปรัสถเลย ในอาศรมวนปรัสถก็มีหลักธรรมะชวยเหมือนกัน แต ผูเ ขี ย นไม รู ห รอกครั บ ว า พอใจในอาศรมคฤหั ส ถ บําเพ็ญธรรมอยางพอประมาณและพอดี เพียงแค วางตนใหเสมอแกอาศรมของตนเอง เมื่ อ ผู ใ ดบํ า เพ็ ญ ตนสู ง สุ ด ของอาศรม วนปรัสถแลว มีวิชาแกกลา ไมมองความทุกขของ ตนเองเพราะถือวาหลุดพนแลวมีชีวิตอยูกับธรรมะ และปฏิ บั ติ ธ รรมด ว ยความเพี ย รอย า งสม่ํ า เสมอ


จะเริ่มมีความคิดที่จะไปยุงไปมองความทุกขของ คนอื่น อยากใหเขาเหลานั้นมีความสุขและพนทุกข ดวยขอธรรมะตาง ๆ ตามอาศรมของตนเอง เมื่อถึง ตอนนี้ก็คือการกาวลวงเขาสูอาศรมที่สี่คือ ๔. อาศรมสันยาสี ซึ่งก็คือคําอธิบายของ พวกในตอนปลายอาศรมวนปรัสถ ทั้งหมดที่กลาวมานี้คือคําสอนในหลักของ พุ ท ธศาสนาซึ่ ง ท า นพุ ท ธทาสภิ ก ขุ ไ ด นํ า มากล า ว ชี้ แ นะไว เราต อ งรู ต นเองพอสมควรว า เราอยู ใ น อาศรมไหน จะไปไหนหรื อจะอยูที่เ ดิม ไมสํา คั ญ เพราะทุ ก ที่ มี ธ รรมะหลั ก และธรรมะรองคอย ประคับประคองชีวิตเราอยู ไมเดียวดาย มันก็จะไป ดวยกันไดดีทั้ง โลกิยธรรมและโลกุตรธรรม ถึงตอนนี้ เมื่อรูจุดหรือตัวเราแลว เราสามารถเลือกขอธรรมะ ที่สอดคลองกับปญหาทางโลกที่แกไมตกนํามาใช ในการดําเนินชีวิต แลวเราจะรูสึกผอนคลาย และ เห็นทางแกไขปญหาชีวิตตอไป เห็นไหมครับรูตัวเอง อยูตรงไหน ทานจะอานหนังสือธรรมะไดอยางสบาย ๆ และมันมีอะไรดี ๆ ตามมามาก เพราะการมีชีวิตที่ ใครครวญ เปนหนทางที่ดีที่สุด ในการหลีกเลี่ยงการ มีชีวิตที่ตองคร่ําครวญ อนึ่งเรื่องอาศรมที่เขียน เลา สูใหอา นกัน นี้ ถาคิ ดใกลตัวเราใหชั ดเจนก็ได หลายประการ เชน

๑. ยั ง หาอาศรมใหม ไ ม ไ ด ก็ ทํ า นุ บํ า รุ ง อาศรมเดิ ม ให ดี ต อ ไปเถิ ด อย า ไปเที่ ย วทํ า ลาย อาศรมคนอื่นเขา ๒. ไดอาศรมใหมที่ดีกวาเดิมก็ใหรักษาและ ทํ า นุ บํ า รุ ง อยู เ สมอ และอย า ลิ ง โลดจนเกิ น งาม จงประพฤติดั่งสิงโตหนาบาน ไมระรานกับใคร ๓. หลี ก เลี่ ย งการข า มอาศรมด ว ยความ ตั้ ง ใจของตนเอง มั น อาจจะไม ผิ ด กฎหมาย แต ผิดศีลธรรมทหาร ๔. ยังทองไพรเป น เพชรพระอุ มาอยู จงดู JUMANJY ตอไปอยาพึ่งหมอ รักษาตนใหพนจาก โรคภั ย ทั้ ง สิ้ น เถิ ด จงประพฤติ ดั่ ง สิ ง โตหน า โบสถ ไมขึงโกรธกับใคร คําโบราณวาไว “หนามแหลมบมีใครเสี้ยม มะนาวกลมเกลี้ยงบมีใครกลึง ความแหลมของหนาม ความกลมของมะนาว มัน เปนเรื่ องธรรมชาติ แต มนุษยนั้นจะฉลาดหลักแหลมเหมือนคมของหนาม และแก ไ ขป ญ หาเฉพาะหน า ได ดี เ หมื อ นความ กลมเกลี้ยงของมะนาวนั้น ยอมตองเกิดจากการมี ผู อุ ป ช ฌาย ห รื อ ผู ฝ ก อบรมสั่ ง สอนที่ ดี แ ละความ เพียรของตนเองเปนที่ตั้ง” พยายามสรางอาศรม กันเอง และใหความเคารพตอผูใหญอยางสม่ําเสมอ ใหมากเถิดครับ


พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีกระทำสัตย‹ ปฏิญาณตนต‡อธงชัยเฉลิมพล ประจำปี ๒๕๕๔ เนื่องใน “วันกองทัพ ไทย” ณ ลานอเนกประสงค‹หนˆา รร.นอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. ร‡วมงานวันคลˆายวันสถาปนาโรงเรียน เตรียมทหาร และงานเกียรติยศจักรดาว ประจำปี ๒๕๕๔ โดยในส‚วนของ กองทัพอากาศ พล.อ.ต.โสภณ สรรพนุเคราะห‹ จก.ทสส. เป็นผูƒไดˆรับ การคัดเลือกรับรางวัลเกียรติยศจักรดาว สาขา พัฒนาองค‹กร วิทยาศาสตร‹ เทคโนโลยี และสิ่งแวดลˆอม ณ รร.ตท. จ.นครนายก

พล.อ.อ.วินัย เปล‡งวิทยา ผบ.คปอ. เป็นประธานในพิธีมอบทุน สาธารณประโยชน‹ ช‚วยเหลือสมาชิกสหกรณ‹ออมทรัพย‹ คปอ. ณ หˆองประชุมเฉลิมเกียรติ คปอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ในพิธีเปิดร‡วมสดับพระธรรมเทศนาเทศน‹มหาชาติเฉลิมพระเกียรติ ๑๓ กัณฑ‹ โดยมี สมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธาน ฝ่ายสงฆ‹ ณ อาคารหอประชุม ๘๐ ปี กองทัพอากาศ

พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง เสธ.ทอ. ในฐานะประธานกรรมการ บริหารโครงการจัดซื้อเครื่องบิน GRIPEN 39 C/D พรˆอมคณะ กรรมการฯ ตรวจเยี่ยมการเตรียมความพรˆˆอมของโครงการฯ ณ บน.๗ จ.สุราษฎร‹ธานี

พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. เป็นประธานในพิธี เปิดการอบรมสรˆางจิตสำนึกใหˆรักชาติ และเทิดทูนพระมหากษัตริย‹ สำหรับพลทหารกองประจำการที่ตั้งดอนเมือง โดยมี พ.ต.ถิรวัฒน‹ บุญเพ็ญ เป็นวิทยากรฯ ณ หอประชุมกานตรัตน‹


พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธี เปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการครูภาษา และผูˆเกี่ยวขˆองกับการเรียน การสอนภาษาอังกฤษ ครั้งที่ ๒๑ ณ หˆองประชุม ศภษ.ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.วีรนันท‹ หาญสวธา ปช.ทอ. นำคณะผูˆบริหาร สปช.ทอ. และ นทน.หลักสูตร นงป. ร‡ุนที่ ๒๑ เยี่ยมชมกิจการสำนักงบประมาณ โดยมี ผูˆบริหารระดับสูง สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. นำคณะขˆาราชการ รร.นอ. ลงนามถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว และสมเด็จพระเจˆา ลูกเธอเจˆาฟƒาจุฬาภรณวลัยลักษณ‹อัครราชกุมารี ใหˆทรงหายจากพระอาการ ประชวร ณ รพ.ศิริราช, รพ.จุฬาลงกรณ‹

พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการจำพวกทหารอนุศาสนาจารย‹ และจำพวกทหาร การศึกษาและการฝึก ณ บน.๔๖ และ บน.๔๑

พล.อ.ท.อมร แสงสุพรรณ จก.พอ. และ พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. พรˆอมดˆวยคณะผูˆบริหาร พอ., ขˆาราชการ, ลูกจˆาง และประชาชนทั่วไป ใส‡บาตร ขˆาวสารอาหารแหˆง เนื่องในวัน ขึ้นปีใหม‡ ๒๕๕๔ ณ บริเวณลานหนˆาอาคาร “คุˆมเกลˆาฯ”

พล.อ.ท.เฉลิม ตรีเพ็ชร ผอ.ศวอ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ วท.กห. นำคณะ กห.สรอ. เขˆาเยี่ยมชม ศวอ.ทอ.


พล.อ.ต.จอม รุ‡งสว‡าง จก.ยก.ทอ. และคณะฝ‚ายอำนวยการ ยก.ทอ. ตรวจเยี่ยม ฝูง.๔๖๑ บน.๔๖ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ต.นุวัฒน‹ เกียรติพันธ‹ ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธีเปิด การฝึกอบรมหลักสูตร ทหารสารวัตร สำหรับพลทหาร รุ‡นที่ ๒๑ ณ หˆองประชุมรˆอยจราจร พัน.สห.ทอ.กรม สห.ทอ.สน.ผบ.ดม.

พล.อ.ต.คเชนท‹ โสมะนันทน‹ ผอ.สธน.ทอ. เป็นประธานคณะ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการพระธรรมนูญ หน‡วย อย. ประจำปี ๕๔ โดยมี พล.อ.ต.ทนงศักดิ์ พวงพ‡วงรอด รอง ผบ.อย. ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุมเจริญจรัมพร

พล.อ.ต.ฤกษ‹ฤทธิ์ พวงทอง จก.สก.ทอ. และคณะ ตรวจเยี่ยม สายวิทยาการสวัสดิการ บน.๔๖ และเป็นประธานในพิธีเปิด เครื่องบินโฮมสเตย‹ สวนน้ำรีสอร‹ท ณ ศูนย‹กิจกรรม บน.๔๖ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ต.สราวุธ กลิ่นพันธุ‹ ผอ.สวจ.ศวอ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ คณะวิศวกรรมศาสตร‹ ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ ม.เกษตรศาสตร‹ ฟังบรรยายสรุปและเยี่ยมชมงานวิจัยของ ศวอ.ทอ.

พล.อ.ต.ณรงค‹ เหล‡าธีระเชาวน‹ จก.กง.ทอ. เป็นประธานคณะ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการการเงิน หน‡วย อย. โดยมี พล.อ.ต.อานนท‹ จารยะพันธุ‹ รอง ผบ.อย. ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุม ศยพ.


พล.อ.ต.ณรงค‹ เหล‡าธีระเชาวน‹ จก.กง.ทอ. เป็นประธานคณะ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการการเงิน หน‡วย สอ.ทอ. ประจำปี ๕๔ โดยมี พล.อ.ต.ม.ล.ชนากร วรวรรณ รอง จก.สอ.ทอ. ใหˆการ ตˆอนรับ ณ หˆอง สอ.ทอ.๑

น.อ.ธนู ปานสุวรรณ รอง จก.สบ.ทอ. เป็นหัวหนˆาคณะตรวจเยี่ยม สายวิทยาการสารบรรณ หน‡วย บน.๔๖ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.รณฤทธิ์ สัชฌุกร รอง ผอ.สตน.ทอ. และคณะฯ ชี้แจงแนวทาง การตรวจสอบภายในประจำปี ๕๔ โดยมี น.อ.ชานนท‹ มุ‡งธัญญา ผบ.บน.๔ ใหˆการตˆอนรับ ณ บน.๔

พล.อ.ต.ณรงค‹ ภ พ ชุ ‡ ม สวั ส ดิ ์ เสธ.พอ. เป็ น ประธานคณะ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการดˆานการแพทย‹ หน‡วยฝูงบิน ๒๐๖ โดยมี น.อ.ชิตชัย ไกรคง ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.รัชฎา วรภากร รอง จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด การศึกษาหลักสูตร นายทหารขนส‡งชั้นเรืออากาศ รุ‡นที่ ๖ ณ กวก. ขส.ทอ.

น.อ.วสันต‹ อยู‡ประเสริฐ ผอ.รร.นอส.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธีมอบทุน และอุปกรณ‹การศึกษาใหˆ ร.ร.เหล‡าขุมมันท‡าสะอาด อ.หนองพอก จ.รˆอยเอ็ด ในโอกาสที่นำ นทน.หลักสูตร นอส. รุ‡นที่ ๕๙ พรˆอมคณะ อาจารย† ไปดูงานและศึกษาภูมิประเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


คุณ นภาพร ศุภวงศ‹ นายกสมาคมแม‡บˆาน ทอ. นำคณะศิลปินดารา นักแสดง เดินทางมาจัดกิจกรรมช‡วยเหลือผูˆประสบภัยหนาวในพื้นที่ จ.เชียงใหม‡ ในการนี้ น.อ.ประยูร ธรรมาธิวัฒน‹ ผบ.บน.๔๑ และ น.ท.หญิง วรพรรณ ธรรมาธิวัฒน‹ ประธานชมรมแม‡บˆาน ทอ.บน.๔๑ ใหˆการตˆอนรับ ณ ร.ร.บˆานสหกรณ‹ ๒ ต.บˆานสหกรณ‹ อ.แม‡ออน จ.เชียงใหม‡

กองทัพอากาศ โดย กร.ทอ. จัดโครงการเยาวชนไทยใตˆฟƒาเดียวกัน รุ‡นที่ ๑/๕๔ ณ บน.๔๑ จ.เชียงใหม‡ ซึ่งนำเยาวชนจากสามจังหวัดชายแดน ภาคใตˆ มาเรียนรูˆวัฒนธรรมทˆองถิ่นในภูมิภาคต‡างๆ ก‡อใหˆเกิดความรัก ความสามัคคี และสรˆางความเขˆาใจการอยู‡ร‡วมกันอย‡างสันติสุข และใหˆความรูˆ เรื่องยาเสพติด เพื่อใหˆเยาวชนรูˆเท‡าทันการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน

น.อ.ศิริพงษ‹ สุภาพร ผชท.ทอ.ไทย/โซล ร‡วมงานเลี้ยงรับรอง เนื่องในวันกองทัพไทย ณ Army Club บก.กห.กลต. กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ เป็นประธานในพิธีเปิดการ ฝึกอบรมโครงการพัฒนาความสามารถในการใชˆภาษาอังกฤษ (โครงการภาษาอังกฤษพิชิต ECL) ณ อาคารสันทนาการ บน.๒

น.อ.นภาเดช ธูปะเตมีย‹ ผบ.บน.๒๓ เขˆาร‡วมพิธีกระทำสัตย‹ ปฏิ ญ าณตนต‡ อ ธงชั ย เฉลิ ม พล ประจำปี ๕๔ ณ มทบ.๒๔ จ.อุดรธานี

น.อ.อมฤต กนกแกˆ ว รอง ผบ.บน.๕๖ เขˆ า ร‡ ว มพิ ธ ี ก ระทำ สัตย‹ปฏิญาณตนต‡อธงชัยเฉลิมพล ประจำปี ๕๔ ณ บริเวณลาน หนˆาสโมสรนายทหารค‡ายเสนาณรงค‹ อ.หาดใหญ‡ จ.สงขลา







Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.