หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน พฤศจิกายน 2554

Page 1



“...ความรูสึกระลึกไดวาอะไรเปนอะไร หรือเรียกสั้นๆ วา “สติ” นั้น เปนสิ่งสําคัญที่สุดอยางหนึ่งที่จะทําใหบุคคลหยุดคิดพิจารณากอนที่จะทํา จะพูด และแมแตจะคิดสิ่งใดสิ่งหนึ่งวาสิ่งนั้นดีหรือชั่ว มีคุณมีประโยชนหรือ เสียหาย ควรกระทําหรือควรงดเวนอยางไร เมื่อยั้งคิดได ก็จะชวยใหพิจารณา ทุกสิ่งทุกอยางอยางละเอียดประณีต และสามารถกลั่นกรองเอาสิ่งที่ไมเปน สาระ ไมเปนประโยชนออกไดหมด คงเหลือแตเนื้อแทที่ถูกตองและเปนธรรม ซึ่งเปนของควรคิดควรพูดควรทําแทๆ ...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่สามัคคีสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อเชิญไปอ่านในการประชุมสามัญประจําปี ระหว่างวันที่ ๑๖ – ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๒๐


ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำหนังสือข่าวทหารอากาศ

หนังสือข่าวทหารอากาศ

เจ้าของ กองทัพอากาศ

ทีป่ รึกษา พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบตุ ร

ผูอ้ ำนวยการ พล.อ.ท.ชนัท รัตนอุบล เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของ กองทัพอากาศ เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรม ข่ า วทหารอากาศ มี น าวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็ น บรรณาธิ ก ารคนแรก ดำเนิ น การโดยทุ น ของข้ า ราชการ ทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยู่ในความ อำนวยการของกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ตามคำสั ่ ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ มีเจ้ากรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เป็นผูอ้ ำนวยการ ตามคำสัง่ ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๙๙ ลง ๗ ม.ค.๒๔๙๙ ภารกิจ

รองผู้อำนวยการ

ดำเนิ น กิ จ การหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ให้ เ ป็ น ไป ตามนโยบายของกองทั พ อากาศ มี ผ ู ้ อ ำนวยการหนั ง สื อ ข่ า ว ทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ต.ฌเณศ ชลิตภิรตั ิ เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.ประเสริฐ ช่างประเสริฐ รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ

วัตถุประสงค์/นโยบายกองทัพ ๑. เพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ นกิจการทัว่ ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อันจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ๓. เพือ่ เผยแพร่กจิ การกองทัพอากาศ

น.อ.สหัสชัย มาระเนตร น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ชนัท รัตนอุบล ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง พัชรา ภัทรสุวรรณ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง

ประจำกองบรรณาธิการ น.ท.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ น.ท.หญิง วรรณิภา ยีป่ ระชา น.ต.สินธพ ประดับญาติ

น.ท.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ท.หญิง อนงค์นาถ บุญจฑิตย์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

กองจัดการ น.ท.พินจิ นุชน้อมบุญ

น.ท.สมพร สิงห์โห ร.อ.หญิง สุมาลี สายะนันท์ พ.อ.อ.ประจวบ วีระชนม์ จ.อ.หญิง เศาวณี พ่านเผือก นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์ สำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

นโยบายการดำเนินงานในปัจจุบัน ๑. เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น แสดงความคิดเห็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรือ่ งทีน่ ำลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ * ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ ทีก่ ำหนด * ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อความมัน่ คงของชาติ บุคคล หรือส่วนรวม * ความยาวของเรือ่ งไม่ควรเกิน ๕ ตอน แต่ละตอน ไม่ควรเกิน ๕ หน้า * ต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ กรรมการพิจารณาเรือ่ งของสำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์กองทัพอากาศ ดอนเมือง แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร.๐-๒๕๓๔-๒๙๔๓ , ๐-๒๕๓๔-๕๑๔๘

ค่าสมาชิกภายนอก ปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สัง่ จ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในหนังสือฉบับนีไ้ ม่มส ี ว่ นผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด

ออกแบบปก : น.ต.สินธพ ประดับญาติ

http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com


ปีท่ี ๗๑ ฉบับที่ ๑๑ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๔

สารบัญ บทบรรณาธิการ

๖๑ ครูภาษาพาที : ทิงลิช Tinglish

๕ ธ สถิตในใจประชา : ๗ รอบพระนักษัตร ๑๒ ๑๖ ๒๑ ๒๕ ๓๔ ๔๐ ๔๓ ๕๐ ๕๒ ๕๘

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ...ตามรอย ปฏิบตั กิ ารของทหารไทยในงานพระราชสงคราม ณ ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ.๒๔๖๑ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร “ท่านรังษ์ฯ” นักบินเหรียญกล้าหาญ ...พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข การฝึกผสม Thai Boomerang 11 ...ปชส.การฝึกผสม Thai Boomerang 11 การหลงสภาพการบิน ...น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ การฝึก “บริหารสถานการณ์วกิ ฤต ระดับยุทธศาสตร์” ...น.อ.หญิง วิบลู รัตน์ เอีย่ มปรเมศวร์ AERO Update ...วิศวกร ชอ. การโจมตีบนโลกไซเบอร์ ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์ บทสัมภาษณ์พเิ ศษ “ครัง้ หนึง่ ของลูกผูช้ าย กับการฝึกบินกับอากาศยานขัน้ ต้น” ...ปชส.รร.นอ. ภาษาไทยด้วยใจรัก “พระผู้ทรงเป็นปราชญ์ใหญ่และปราชญ์โลก” ...นวีร์ CROSSWORD ...อ.วารุณี

๑๐๐

๖๗ ๗๑ ๗๓ ๗๗ ๗๙ ๘๒ ๘๗ ๘๙ ๙๓ ๙๕ ๙๘ ๙๙ ๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๖

ภาษาอังกฤษแบบไทยๆ ...Water lily Test Tip Part 16 ...Runy เวลา...การ์ตูน ...มิสกรีน พูดจาประสาหมอพัตร “อีกาที่ญี่ปุ่น” ...หมอพัตร ภาพเก่าเล่าเรือ่ ง : น้ำท่วม ...น.อ.ศักดิพ์ นิ ติ พร้อมเทพ วัตถุมงคลของชาว ทอ. : กองบิน ๔๑ ...น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒) เข็มขัดสัน้ ...อ.แม้น มุมกฎหมาย : สิทธิการตาย ...Healty สามแผ่นดิน ตอน ๔ ...พล.อ.อ.เดชา หันหาบุญ มุมสุขภาพ : เห็ดกับประโยชน์ทางการแพทย์ ...นายห่วงใย การทอดผ้าบังสุกุล ...น.อ.เกษม พงษ์พนั ธ์ นานาน่ารู้ “วาซาบิ” ...บางแค ขอบฟ้าคุณธรรม : สำนึกรับผิดชอบ ...1261 เฉลยปริศนาอักษรไขว้ ฉบับเดือน ส.ค.๕๔ ...มีน แบบสอบถามความคิดเห็น หนังสือข่าว ทอ. ในรัว้ สีเทา


สวัสดี สมาชิกขาวทหารอากาศทุกทาน “ในฤดู เ ดื อ นสิ บ สอง เป น เวลาที่ น้ํ า ในแม น้ํ า ใสสะอาดและมากเต็ ม ฝ ง ทั้ ง เป น เวลาที่ สิ้ น ฤดู ฝ น ในกลางเดือนนั้นพระจันทรก็มีแสงสวางผองใส เปนสมัยที่สมควรจะรื่นเริงในลําน้ําในเวลากลางคืน พระเจาแผนดิน จึงไดเสด็จลงประพาสตามลําน้ําพรอมดวยขาราชบริพารฝายใน เปนประเพณีมีมาแตกรุงสุโขทัยฝายเหนือ โนนแลว” พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ในหนังสือ “พระราชพิธีสิบสองเดือน”

วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ตรงกับเทศกาล “ลอยกระทง” ซึ่งเดิมมาเรียกวา “ลอยประทีป” วัฒนธรรมดั่งเดิม ของเรา เปนสิ่งที่นายกยองสงเสริม เพราะวัฒนธรรมเปนเอกลักษณของชาติที่แสดงถึงภูมิปญญา รสนิยม และคุณธรรมของ บรรพบุรุษที่ไดสั่งสมและถายทอดสืบตอกันมา แตในปจจุบันแบบแผนทางวัฒนธรรมประเพณีดังกลาว ไดมีการเปลี่ยนแปลง มาเปนการรื่นเริงสนุกสนาน ดังที่เราเห็นกันอยูทุกวันนี้ เชน เลนจุดพลุดอกไมเพลิง ซึ่งอาจทําความเดือดรอนและเปนอันตราย ตอผูอื่น ดังนั้นในโอกาสนี้ จึงขอเชิญชวนทุกทาน รวมรําลึกถึงวัฒนธรรมอันดีงามของเรา เพื่อจะไดฟนฟูคานิยมเกาที่ดีงาม ในอดีต ใหกลับมาสูยุคสมัยใหมใหได วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ เปนวันประสูติของ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจา ภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เปนพระราชธิดาเพียงพระองคเดียว ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวกับพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมูพระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง (กอนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในอีกหนึ่งวันตอมา) และทรงสิ้นพระชนม ในวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๔ (๘๕ ป ๒๔๕ วัน) ณ โรงพยาบาลศิริราช ตลอดระยะเวลาที่ผานมา พระองคทรงมุงมั่นในการบําเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่อแบงเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ในการบํารุงความ ผาสุ ก ของอาณาราษฎร มาอย า งต อ เนื่ อ งยาวนาน แม ใ นยามที่ ท รงเจริ ญ พระชนมายุ สู ง ขึ้ น ก็ ยั ง ทรงพระอุ ต สาหะ บําเพ็ญสาธารณประโยชนมิไดวางเวน พรอมดวยพระจริยวัตรอัธยาศัยอันงดงามสมพระอิสริยศักดิ์ ภาพจากปกฉบับนี้ อานรายละเอียดไดจาก....เรื่อง “ทานรังษฯ” นักบินเหรียญกลาหาญ จะไดทราบถึงขีดความ สามารถของนักบินเครื่องบินแบบ ๒๖ นาโกยา (Nagoya) ภารกิจบุกนานฟาขาศึก ในกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส ทําใหเรา เกิดความภาคภูมิใจในกิจการบินที่บรรพบุรุษไดสั่งสมไว....เรื่อง การหลงสภาพการบิน ทําใหทราบถึง การเกิด การแกไข ขอมูล และปจจัยในการทําใหเกิดการหลงสภาพการบินของนักบิน โดยเฉพาะเครื่องบินรบ ซึ่งจะตองทําการบินคนเดียว และนอกจากนี้ยังมีเรื่องประจําฉบับที่นาสนใจอีกมากมาย เชิญพลิกอานตามอัธยาศัย บรรณาธิการ


๗ รอบพระนักษัตร พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ธ สถิตในใจประชา

ตามรอย

รอบพระนักษัตรที่ ๕ พุทธศักราช ๒๕๑๙ - ๒๕๓๐

พระราชพิธีสถาปนาพระอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นการเนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ ณ พระที่นั่งอัมรินทรวินิจฉัย


ทรงวางแผนปฏิบัติการฝนหลวง ณ สนามบินบ่อฝ้าย อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พุทธศักราช ๒๕๒๒

ทอดพระเนตรการสร้างทํานบกั้นน้ํา ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ คลองแสนแสบ บ้านบางชัน เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ๒๒ ตุลาคม ๒๕๒๓

ทรงร่างภาพสเกตช์พื้นที่บ้านบูโต๊ะ จังหวัดนราธิวาส ๗ กันยายน ๒๕๒๔


ทรงบําเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทาน ในโอกาสพระราชพิธีสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี ๔ เมษายน ๒๕๒๕

ทอดพระเนตร งานศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส มีพระราชดําริเกี่ยวกับการ “แกล้งดิน” ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๒๖

พระราชพิธีพระราชทาน ครอบประธานประกอบพิธี ไหว้ครูนาฏศิลป์ แก่นายมนตรี ตราโมท ๒๕ ตุลาคม ๒๕๒๗


เสด็จออก ณ พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษก ท้องสนามหลวง ในการพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐

รอบพระนักษัตรที่ ๖ พุทธศักราช ๒๕๓๑ - ๒๕๔๒

พระราชพิธีบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ พลับพลาตรีมุขในพระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เนื่องในโอกาสพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ๕ กรกฎาคม ๒๕๓๑


นายเฟเดอริโก มายอร์ ผู้อํานวยการใหญ่ยูเนสโก ทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญ ฟีแล เฉลิมพระเกียรติ ที่ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจ ในการพัฒนาท้องถิ่น และยกระดับ ความเป็นอยู่ของประชาชน ๒ ธันวาคม ๒๕๓๔

นายริชาร์ด จี. กริมชอว์ หัวหน้าสาขาเกษตร ฝ่ายวิชาการ ภูมิภาคเอเชีย ของธนาคารโลก ทูลเกล้าฯ ถวายรากหญ้าแฝกชุบสัมฤทธิ์ สดุดีพระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงเป็น นักอนุรักษ์ดินและน้ํา ๑๐ ตุลาคม ๒๕๓๖

ทรงเปิดแพรคลุมป้ายสะพาน ข้ามแม่น้ําโขง หนองคาย – เวียงจันทน์ (สะพานมิตรภาพ) พร้อมกับนายหนูฮัก พูมสะหวัน ประธานประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ๘ เมษายน ๒๕๓๗


ทรงเยี่ยมสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ โรงพยาบาลศิริราช มีนาคม ๒๕๓๘

พระราชพิธีสถาปนาพระอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ๖ พฤษภาคม ๒๕๓๘

ทรงอธิบายเกี่ยวกับโครงการแก้มลิง ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘

ถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง ๑๐ มีนาคม ๒๕๓๙


เสด็จออกมหาสมาคม ในการพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ณ พระที่นั่งกาญจนาภิเษก ท้องสนามหลวง ๙ มิถุนายน ๒๕๓๙ พระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจําปี ๒๕๓๙ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ๓๐ มกราคม ๒๕๔๐

ศาสตราจารย์กอดวิน โอ.พี. โอบาชิ เลขาธิการองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ทูลเกล้าฯ ถวายสัญลักษณ์องค์การ อุตุนิยมวิทยาโลก เฉลิมพระเกียรติ ด้านอุตุนิยมวิทยา ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ (ฉบับหน้าติดตาม รอบพระนักษัตรที่ ๗)


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม

“เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

(ตอจากฉบับที่แลว) การสวนสนามมหาชัยในกรุงปารีส กําลังพล นายพัน นายรอย นายรอย จานายสิบ นายสิบพลทหาร

ผูบังคับกอง ผูบังคับหมวด ผูกํากับผูเชิญธง เชิญธง

1 นาย 3 นาย 2 นาย 1 นาย 131 นาย รวมทั้งสิ้น 138 นาย

จัดเปน 3 หมวด การเดินนั้น, กองทหารสัมพันธมิตรเดินตามลําดับอักษร, คือขึ้นตนดวยอักษร (A)-อเมริกา, กองทหารไทยเดินตอชาติเซอรเบีย ( Serbia) นาชาติเชโก สโลวาก (Tcheco Slovac) . การจัดแถวเวลาเดิน สวนสนาม, ทุกหมวดจัดแถวเรียงสี่ หมวดตั้งเรียงเคียงกัน. วันที่ 14 กรกฎาคม เวลา 3.30 น.,ไดประชุมแถวออกเดินจากที่พัก, เวลา 7.45 น., ไดเริ่มเดินสวนสนาม มีระยะทางดังนี้ :-


ปอรต ไมลโญต (Porte Maillot) – ปลาส เดอ เลตวัล (Place de la l’ Etoile) – ลอดใตประตูชัย (Arc de Triomphe) – ผานอวนู เดส ชองปส เอลีเซส (Avenue des Champs Elysees) –ปลาส เดอ ลา คองคอรด (Place de la Concorde) – ถนนรัวยัล (Rue Royale) – ปลาส เดอ ลา เรปุบลิก (Place de la Republique). เวลา 13 น., จึ่งไดเสร็จการสวนสนาม.

เตรียมการไปสวนสนามที่กรุงปารีส

การสวนสนามไดดําเนินการไปโดยเรียบรอย, เวลาที่กองทหารไทยเดินผานพลเมืองไปนั้น, ไดมี เสียงโหรองเปนภาษาฝรั่งเศสดังลั่น โดยมากรองวา “ไชโย สยาม”(Vive Siam), แตบางแหงมีรองไชโยเปน ภาษาไทย. ในคืนวันนี้, ทานประธานาธิบดีฝรั่งเศสไดเชิญนายทหารไปรับประทานอาหารในวัง เอลีเซ, นายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค ไดรับเชิญไปในงานนี้ดวย. ในเวลาที่มีงานสโมสรครั้งนี้, ไดมีขาราชการฝรั่งเศสและ นายทหารสัม พันธมิ ตร ห ลายนาย กลาวชมเชยวินั ยและการเดินเรียบรอยของทหารไทยกั บนายพัน ตรี หลวงรามฤทธิรงค. ในที่นี้ขอนําสําเนาคําแปลจดหมายของนายเคลมังโซ อรรคมหาเสนาบดีฝรั่งเศส 1 ฉบับ, จดหมาย ของจอมพล ฟอช ถึง นายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค 1 ฉบับ, กับจดหมาย นายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค ตอบ จอมพล ฟอช อีก 1 ฉบับ มาใหอานดังตอไปนี้ :-


อรรคมหาเสนาบดี เสนาบดีกระทรวงกระลาโหม ที่ 287 กรุงปารีส, เรียน ท่านจอมทัพ.

รีปบั ลิกฝรั่งเศส วันที่ 14 กรกฎาคม , พ.ศ.2462

ขอท่านได้โปรดส่งความชมเชยของรัฐบาลริปับลิกฝรั่งเศส, ให้แก่บรรดาท่านผู้บังคับบัญชา กองทัพสัมพันธมิตร์ต่างๆ ซึ่งได้นําแถวทหารเดินสวนสนามเมื่อเช้านี้ พร้อมด้วยธงอันมีสง่าของเขาด้วย. ตามที่กรุงปารีสและทั้งประเทศฝรั่งเศส ได้มีงานครั้งนี้, ก็เพื่อเปนการฉลองชัยชนะให้แก่สัมพันธมิตร์ ผู้มีอํานาจของเรา, และซึ่งเปนสหายร่วมทุกข์ร่วมสุขอันมีชัยร่วมกัน. ขอให้ท่านแสดงแก่หัวน่า ผู้บังคับบัญชากองทัพสัมพันธมิตร์ว่า เรามีความขอบใจอย่างลึกซึ้ง พร้อมด้วยมิตรภาพอันแน่นแฟ้นของเรา ด้วย. ในที่สุดนี้, ขอแสดงความเคารพมายังท่าน. ลงนาม)

เคล์มังโซ

ทหารไทยเดินสวนสนามที่กรุงปารีส ที่ว่าการกรมบัญชาการ

กองทัพสัมพันธมิตร์ กรมบัญชาการกองทัพทั่วไป ที่ 3369 วันที่ 15 กรกฎาคม, พ.ศ. 2462 จอมพล ฟอช จอมทัพสัมพันธมิตร์ แจ้งความมายัง ท่านนายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค์ ผู้บังคับการ กองทหารบกรถยนตร์สยาม. ข้าพเจ้าส่งความชมเชยของรัฐบาลริปับลิกฝรั่งเศส ซึ่งชมเชยกองทหารไทยที่ได้เดินสวนสนาม ฉลองชัยในความควบคุมของท่าน ณ กรุงปารีสเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคมนี้, ส่วนตัวข้าพเจ้าก็ขอแสดงความชมเชยพร้อมด้วยความขอบใจอันใหญ่ยิ่ง สําหรับกองทหารของ ท่านที่ได้มีชัยชนะร่วมกัน. (ลงนาม) ฟอช


แซงต์ แยรแมง วันที่ 18 กรกฎาคม, พ.ศ. 2462 นายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค์ ผู้บังคับกองทหารบกรถยนตร์สยาม เรียน ท่านจอมพล ฟอช จอมทัพสัมพันธมิตร์ทั่วไป. จดหมายของท่านลงวันที่ 15 เดือนนี้, ส่งความชมเชยของรัฐบาลริปับลิกฝรั่งเศสพร้อมด้วย ความชมเชยส่วนตัวของท่าน มาให้แก่ กองทหารไทยที่ได้เดินสวนสนามในวั นที่ 14 กรกฎาคมนั้ น. ข้าพเจ้าได้ทราบแล้ว. บรรดานายทหารและนายสิบพลทหาร ในบังคับบัญชาข้าพเจ้าทุกคนมีความยินดีเปนอย่างยิ่ง ที่ตนได้มีโอกาศมาแสดงความเคารพต่อกรุงปารีสและประเทศฝรั่งเศส. ทหารไทยรู้สึกปิติและจับใจอย่างลึกซึ้ง ในการที่ได้รับเกียรติยศให้เดินผ่านเข้าไปภายใต้ประตูชัย เคียงข้างกับทหารฝรั่งเศสผู้เปนสหายรัก. ทหารไทยทั้งหลายจะได้สงวนที่ระฦกทั้งปวงนี้ไว้จนชั่วกาล ปาวสาน. เขาทั้งหลายย่อมมีความรู้สึกในใจว่า ตัวเขาได้ถูกยกย่องอยู่เสมอในการที่กองทหารไทยได้มา รวมอยู่ในบังคับบัญชาของท่าน, ซึ่งเปนจอมพลฝรั่งเศสอันเลื่องชื่อลือนาม, จึ่งกระทําให้พวกข้าพเจ้า ทั้งหลายรู้สึกภาคภูมิ์ใจยิ่งนัก. สําหรับส่วนตัวข้าพเจ้าก็รู้สึกว่า ตนได้ถูกยกย่องอย่างแท้จริง, ที่ได้มีโอกาศแสดงความขอบบุญคุณ ในนามของกองทหารไทย ต่อท่านและรัฐบาลริปับลิกฝรั่งเศส. โดยความเคารพอย่างสูง (ลงนาม) หลวงรามฤทธิรงค์ พระยาเฉลิมอากาศ (อานตอฉบับหนา)

มองโลกนี้ ใหดี เปนสีสวย ฉาบไวดวย ความรัก พรอมศักดิ์ศรี ถาทุกอยาง เรามองไป ในแงดี โลกใบนี้ ก็สดใส ในใจเรา...

ชบาไพร


ทานรังษฯ หรือพลอากาศโท หมอมเจา รังษิยากร อาภากร ทรงเปนพระโอรสในพลเรือเอก พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ กับพระวรวงศเธอ พระองคเจาหญิงทิพยสัมพันธ ประสู ติ เ มื่ อ วั น ที่ ๑๑ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๔๔๙ ทานรังษฯ สําเร็ จการศึกษาจากโรงเรี ยนนายเรือ เปนนายทหารเรือและสําเร็จการบินจากโรงเรียน การบินบกและทะเล Leuchars Calshot ณ ประเทศ อั ง กฤษ เมื่ อ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาได รั บ ราชการที่ กองทัพเรืออังกฤษ เปนเรือตรีเมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๖ เมื่อเสด็จกลับมาถึงกรุงเทพมหานคร ได ท รงเข า รั บ ราชการในกองทั พ เรื อ ด ว ยยศว า ที่ เรือโท เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๘ ในตําแหนง สํารองราชการกรมเสนาธิการทหารเรือ เคยประจําการ อยูบนเรือคํารนสินธุ ซึ่งมีเรือเอก หลวงพรหมพิสุทธ

พล.อ.ต.ปรีชา ประดับมุข เปน ผูบัง คับ การเรื อ ในขณะนั้น ต อมาได ท รงย า ย เขารับราชการในกองทัพอากาศ เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๘ (กรมทหารอากาศ) และไดเปนนักบิน ประจําโรงเรียนการบินที่ ๑ ในหนาที่ครูการบิน เมื่อ วันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๘ ดวยยศเรือโท และ ไดเปลี่ยนยศเปนเรืออากาศโท เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๙ ทานเปนนักบินที่มีฝมือ เปนนักสังคม ซึ่งเปนที่รูจักกันทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ เป น นั ก กี ฬ าที่ จ ะหาผู มี น้ํ า ใจเช น ท า นได ย าก ทานรังษฯ เปนผูนําและกอกําเนิดกีฬารักบี้ฟุตบอล ในกองทัพอากาศ จนไดชื่อวาชุดรักบี้ฟุตบอลของ สโมสรทหารอากาศ เป น ชุ ดบุก เบิ ก ของกี ฬ ารัก บี้ ฟุ ต บอลในประเทศไทย ท า นเป น นั ก กี ฬ าเทนนิ ส นั ก กี ฬ าฟุ ต บอล และนั ก กี ฬ ากอล ฟ ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง โดงดังอีกดวย


พลอากาศโท หมอมเจารังษิยากร อาภากร

หลั ง จากที่ ท า นกลั บ จากการศึ ก ษา ณ ประเทศอังกฤษในป พ.ศ.๒๔๗๘ ในฐานะที่ทาน สํ า เร็ จ การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การบิ น ของทหารเรื อ ดังนั้นกองทัพอากาศถือวาไดรับเกียรติอยางสูงที่ ทานไดมามีสวนรวมในกิจการบินในครั้งนี้ ครั้นเมื่อ ประเทศไทยเกิ ด กรณี พิ พ าทอิ น โดจี น ฝรั่ ง เศส ทานไดรับการแตงตั้งใหเปนรองผูบังคับกองบินใหญ ภาคใต ในปลายป พ.ศ.๒๔๘๓ ซึ่ ง ในขณะนั้ น มีน าวาอากาศโท ขุนรณนภากาศ ฤทธาคนี เป น ผูบังคับกองบินใหญ (หนวยในราชการสนาม) ขณะเดี ย วกั น กํ า ลั ง ทางอากาศไทยก็เ ริ่ ม เข ม แข็ ง ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว ด ว ยเหตุ ที่ เ ครื่ อ งบิ น

แบบ ๒๖ “นาโกยา” (Nagoya) จํานวน ๒๕ เครื่อง ที่สั่ง ซื้อ จากประเทศญี่ปุนไว นั้น ถึ ง เวลาที่จ ะตอง นํามาใชงาน โดยในปลายป พ.ศ.๒๔๘๓ เรืออากาศเอก หมอมเจารังษิยากร อาภากร พรอมคณะไดเดินทาง ลวงหนาไปรับเครื่องบินที่ประเทศญี่ปุน ซึ่งมีนักบินไทย เพี ย ง ๑๒-๑๔ คน และเจ า หน า ที่ ป ระจํ า เครื่ อ ง จํานวนที่ใกลเคียงกัน ดังนั้นนักบินและเจาหนาที่ ประจําเครื่อง รวมทั้งพันเอก ทามูรา (Col. TAMURA) ทูตทหารญี่ปุนประจําประเทศไทยไดรวมทําการบิน มาดว ย เมื่ อเครื่ อ งบิ น ดั งกลา วมาถึงประเทศไทย แลว ทา นรัง ษฯ กับคณะได เ ริ่ม ทํ า การฝก บิ น และ ฝกใชอาวุธกับเครื่องบินแบบ ๒๖ “นาโกยา” นักบิน และผู ทํ า การในอากาศต า งเร ง ทํ า การฝ ก บิ น ซึ่ ง แตละคนตางก็ฝกบินไดไมเกินคนละ ๑๐ เที่ยวบิน ภายในเวลาประมาณ ๒ สั ป ดาห เ ท า นั้ น ก็ ต อ ง ออกไปทําการรบเพราะมีเวลาจํากัดมาก นอกจากนั้น ทานรังษฯ ยังเปนครูฝกใหกับศิษยของทานในครั้งนี้ ด ว ย ซึ่ ง ส ว นใหญ ฝ ก ทํ า การบิ น ได ๔-๕ เที่ ย วบิ น ก็ตองออกไปทําการรบเชนกัน

เครื่องบินแบบ ๒๖ “นาโกยา” (Nagoya)

Ê บุกนานฟาไปทําลายขาศึกครั้งแรก กรณี พิ พ าทอิ น โดจี น ฝรั่ ง เศส : จากการ สืบราชการลับของไทยทราบวา มีฐานทัพของขาศึก ที่สําคัญแหงหนึ่งอยูที่เมือง สตรึงเตรงในประเทศเขมร


ดั ง นั้ น แผนการที่ จ ะทํ า ลายฐานทั พ ยุ ท ธศาสตร ของขาศึกจึงเริ่มขึ้น โดยฝูงบิน “นาโกยา” จํานวน ๑๙ เครื่ อ ง ทยอยบิ น จากดอนเมื อ งไปรวมกั น ที่ นครราชสี ม าตั้ ง แต ก อ นค่ํ า ของวั น ที่ ๖ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๔ เพื่อเปนการพรางขาศึกและเพิ่มรัศมี ปฏิบัติการ วันที่ ๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๔ เวลา ๑๐.๐๐ น. “นาโกยา” ของไทยก็ทยอยขึ้นสูทองฟารวมกันเปน ฝูงใหญ แลวพุงเปาไปสูเมืองสตรึงเตรงในประเทศ เขมรอยางเรงดวน กอนที่ฝูงบิน “นาโกยา” จะเขาสู นานฟาสตรึงเตรง ผูบังคับกองบิน (นาวาอากาศโท ขุนรณนภากาศ ฤทธาคนี) ไดสั่งใหฝูงบิน “นาโกยา” บินแปรขบวนติดกันเปนรูปตัววี ( V ) คือ ฝูงบิน พิบูลสงคราม ๑ นําโดยเรืออากาศเอก หมอมเจา รังษิยากร อาภากร มีเรืออากาศโท ประสงค สุชีวะ เปนผูชวย บินดวยความสูง ๒,๑๐๐ เมตร เข็มบิน จากทิศใตไปทิศเหนือ ตรงไปยังฐานทัพสตรึงเตรง ฝูงบินพิบูลสงคราม ๒ นําโดยเรืออากาศเอก มานพ สุริยะ บินระยะหางระหวางฝูง ๓๐๐ - ๔๐๐ เมตร ในเที่ ย งของวั น นั้ น นั บ ว า เป น วั น แรกที่ เ มื อ ง สตรึงเตรงประเทศเขมร รูซึ้งถึงนภานุภาพอันเกรียงไกร ของกองทัพอากาศไทย ที่ไดถลมทลายสถานที่สําคัญ ทางทหารในบริ เ วณเมื อ งสตรึ ง เตรงด ว ยอํ า นาจ ลูกระเบิดจากฝูงบิน “นาโกยา” ของไทยจํานวน มากมาย และไมมีเครื่องบินขาศึกที่จะหาญมาตอสู ขั บ เคี่ ย วกั น บนอากาศได เ ลย เพราะการจู โ จม ซึ่ ง เป น เวลาที่ ข า ศึ ก พั ก เที่ ย ง มี เ พี ย งป น ต อ สู อากาศยานจากพื้ น ดิ น เท า นั้ น ที่ ส ง เสี ย งคํ า ราม สะทานสะเทือนสงกระสุนขึ้นบนอากาศ แตฝูงบิน

“นาโกยา” ทั้งฝูงก็ไดรับความปลอดภัยกลับสูฐานทัพ โดยสวัสดิภาพทุกคน จึงนับไดวาการไปโจมตีขาศึก นอกนานฟาไทยของกองทัพอากาศไทยครั้งแรกนี้ นับวาไดผลดียิ่ง เครื่องบินแบบ ๒๖ “นาโกยา” ไดถูกใชในการ ปฏิบัติภารกิจการรบโดยมีทานรังษฯ อยูในหมูบิน ดวยอีกหลายครั้ง และท านรังษฯ ก็ปลอดภัยจาก การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ทุ ก ครั้ ง กล า วโดยรวมจากการ ปฏิ บั ติ ก ารรบเฉพาะกองบิ น ใหญ ภ าคใต เ พี ย ง หนวยเดียวกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส มีผูแสดง วี ร กรรมได รั บ พระราชทานเหรี ย ญกล า หาญเป น จํานวน ๒๔ นาย วีรกรรมครั้งนี้ยอมเปนผลมาจาก พระปรีชาสามารถและวิริยะอุตสาหะในหนาที่ครู และลักษณะผูนําที่ดีของทานรังษฯ เปนองคประกอบ อั น สํ า คั ญ ส ว นหนึ่ ง ดั ง ปรากฏในแจ ง ความ สํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี เรื่ อ ง พระราชทานเหรี ย ญ กลาหาญ เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๔ ดังนี้ Ê เหรียญกลาหาญ “นายนาวาอากาศตรี หมอมเจารังษิยากร อาภากร” “นายทหารนั ก บิ น ผู นี้ ได รั บ ตํ า แหน ง เป น รองผูบังคับกองบินใหญภาคใต ตลอดการรบที่แลวมา นายนาวาอากาศตรี หมอมเจารังษิยากร อาภากร ทรงปฏิบัติหนาที่ดวยความองอาจกลาหาญ ไมยอทอ ตออันตรายแกชีวิตแมแตนอย นายทหารนักบินผูนี้ ได อ อกไปทํ า การทิ้ ง ระเบิ ด และโจมตี ที่ ห มาย ทางยุ ท ธศาสตร ข องข า ศึ ก ที่ ส ตรึ ง เตรง เมื อ งโขง พระตะบอง เสียมราฐ นครวัต ศรีโสภณ มงคลบุรี


รวม ๑๑ ครั้ง แตละครั้งตองเผชิญกับภัยทั้งลมฟาอากาศ และการต อสู ขั ดขวางของข าศึ กอย างฉกาจฉกรรจ หมอมเจารังษิยากร ถูกขาศึกโจมตีดวยฝูงเครื่องบิน ขับไล อันมีความเร็วสูงกวา และถูกปนตอสูอ ากาศยาน ระดมยิ ง อย า งหนาแน น แต แ ม ก ระนั้ น หม อ มเจ า รังษิยากรก็มิไดทอถอย คงปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบ อย า งองอาจกล า หาญ กล า วคื อ บิ น ฝ า กระสุ น เข า ทิ้ ง ระเบิ ด จนเป น ผลสํ า เร็ จ ทั่ ว ทุ ก แห ง และ บินกลับฐานทัพไดโดยเรียบรอย ขาศึกไดรับความ เสียหายมากมาย เปนผลดีแกกองทัพอากาศไทย ที่ไดรับ และทําการรบโดยรุกคืบหนาไดสะดวกยิ่งขึ้น ทุกทาง” ในระหว า งสงครามมหาเอเชี ย บู ร พา พ.ศ.๒๔๘๔ - ๒๔๘๘ ซึ่งเปนสงครามผนวกเขากับ สงครามโลกครั้งที่ ๒ ดังนั้นในปลายป พ.ศ.๒๔๘๔ กองทัพอากาศจึงมอบหมายใหทานรังษฯ ทรงไป เป น รองผู บั ง คั บ กองบิ น ใหญ ภาคพายั พ และ ผู บั ง คั บ กองบิ น น อ ยผสมที่ ๘๕ จั ง หวั ด ลํ า ปาง ราชการทั พ ครั้ ง นั้ น มี ง านหนั ก มากในตอนต น ป พ.ศ.๒๔๘๕ และตอนตนป พ.ศ.๒๔๘๖ ทานรังษฯ ทําการบิน ไปทําลายที่หมายทั้งในทางยุทธศาสตร และในทางยุ ท ธวิ ธี รั ศ มี ทํ า การรบในบางคราว มากกวา ๕๐๐ กิโลเมตร บางคราวตองชวยทําลาย ที่หมายทางยุทธวิธีอยางหนักหนวง เชน เพื่อชวย ส ว นหน า ของกองทั พ พายั พ เข า ตี ไ ปยึ ด สั น เขา ดา นตะวัน ออกของเมื อ งเชี ย งตุ ง ในแนวเมื อ งวะ เมืองเชียงลอ เมืองนํา เมืองอุนต เปนตน หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สงบลง ทางราชการมี การปลดข า ราชการชั้ น ยศต า งๆ ออกมาก และ

ทหารอากาศยศชั้นนาวาอากาศเอก ก็อยูในจํานวน จะตองถูกปลดออกไปถึง ๖ นาย ทานรังษฯ ไดทรง แสดงน้ําพระทัยอันกวางขวางใหบรรดานายทหาร ยศชั้ น เดี ย วกั น ได เ ห็ น (ยศนาวาอากาศเอกเมื่ อ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๗) โดยทรงสมัครพระทัย ลาออกจากทางราชการกอนทันทีเปนคนแรก ทัง้ ๆ ที่ ทานรังษฯ มิไดอยูในขายที่จะตองถูกทางราชการ พิจารณาปลดดวย

เครื่องบินทะเล แบบวาตานาเบ (Watanabe)

Ê เปนผูบังคับหมวดบินทะเล เมื่อครั้งที่กองทัพเรือดําริจะตั้งกองบินขึ้นที่ ตําบลจุกเสม็ด อาวสัตหีบ ในป พ.ศ.๒๔๘๑ และได สั่งซื้อเครื่องบินทะเล แบบวาตานาเบ (Watanabe) จํานวน ๖ เครื่อง จากประเทศญี่ปุน กอนที่จะเกิด สงครามอิ น โดจี น กองทั พ เรื อ ได ข อตั ว ท า นรั ง ษ ฯ พร อ มด ว ยนายทหารช า งจากกองทั พ อากาศไป ควบคุ ม การสร า งเครื่ อ งบิ น ที่ ป ระเทศญี่ ปุ น เมื่ อ เครื่องบินทะเลมาถึงกรุงเทพมหานครแลว ก็ตองนํา บินขึ้นจากแมน้ําเจาพระยาไปลงทะเลที่อาวสัตหีบ ซึ่ ง เป น ที่ ตั้ ง กองบิ น ทะเล ในขณะนั้ น มี ท า นรั ง ษ ฯ ผูเดียวที่ทําการบินเครื่องบินทะเลได จึงกลาวไดวา กองบินทหารเรือไดอุบัติขึ้นตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา และท า นรั ง ษ ฯ ได เ ป น ผู บั ง คั บ หมวดบิ น ทะเล


กองเรือรบ กองทัพเรือคนแรกเมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๑ อีกดวย จนกระทั่งในชวงป พ.ศ.๒๔๘๕ กระทรวงกลาโหม ไดยกฐานะหมวดบินทะเล ขึ้นเปน กองบินทหารเรือ สังกัดกองเรือรบ กองทัพเรือ Ê บทสงทาย ท า นรั ง ษ ฯ เป น ทหารเรื อ มาโดยกํ า เนิ ด เนื่องจากสืบเชื้อสายโดยตรงจากเสด็จในกรมหลวง ชุมพรฯ “พระบิดาแหงราชนาวีไทย” จึงไดรับการ ยกยองนับถือจากบรรดาทหารเรือทั้งหลาย แตโดย เนื้ อ แท แ ล ว ท า นรั ง ษ ฯ เป น ทหารอากาศเต็ ม ตั ว ทานชอบการบินเปนชีวิตจิตใจเยี่ยงนักบินทั้งหลาย รักความมีอิสระเสรีภาพ ชอบความเรงเราผจญภัย และความโลดโผน ดังนั้นในไมชาเมื่อทานไดจัดการ กั บ กองบิ น ทะเลให ก องทั พ เรื อ เป น ป ก แผ น แล ว ทานรังษฯ ไดยายกลับมารับราชการยังกองทัพอากาศ อีกครั้งหนึ่งทามกลางเพื่อนฝูงที่มีแนวความคิดและ รสนิยมตรงกันเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๓ ทานรังษฯ ไดรับราชการในกองทัพอากาศสลับกับ เขา ไปในวงการเมือ ง จนกระทั่ ง ทา นรัง ษ ฯ ได รั บ พระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกลาฯ ไดรับพระราชทานยศ พลอากาศโท เมื่ อ วั น ที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๙ ทา นรั ง ษฯ ได ผา นสงครามอิ นโดจีน และสงคราม มหาเอเชี ย บู ร พาพร อ มกั บ ชื่ อ เสี ย งเกี ย รติ คุ ณ ที่ ชาวทหารอากาศจะไมมีวันลืม ในดานการเมือง ทานรังษฯ ไดรับพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ โปรดเกล า ฯ ให ดํ า รงตํ า แหน ง เป น รัฐมนตรีสั่งราชการแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวง ธรรม

กลาโหมอยูถึง ๒ สมัย คือสมัยที่พันตรี ควง อภัยวงศ เป น นายกรั ฐ มนตรี ตั้ ง แต วั น ที่ ๒๕ กุ ม ภาพั น ธ ถึ ง วั น ที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๑ กั บ ในสมั ย ที่ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี ตั้งแต วันที่ ๑๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๑ ถึงวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๙๒ ซึ่งปรากฏวา ทั้ง ๒ สมัย ที่ก ลา วมานี้ ทานรังษฯ ไดทรงปฏิบัติราชการดวยดีเปนที่เรียบรอย โดยตลอด ในระยะหลั งของการรั บราชการสนอง คุณประเทศชาตินั้น ทานรังษฯ ทรงไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลาฯ ใหทรงดํารงตําแหนงเปน เอกอัครราชทูตวิสามัญผูมีอํานาจเต็มประจําสาธารณรัฐ ฟ ลิ ป ป น ส ซึ่ ง ก็ ไ ด ท รงแสดงพระวิ ริ ย ะอุ ต สาหะ ปฏิบัติหนาที่เพื่อประเทศชาติและราชการแผนดิน ใหเห็นเปนที่ประจักษ ทานรังษฯ หรือพลอากาศโท หมอมเจารังษิยากร อาภากร ไดสิ้นชีพิตักษัยดวย โรคพระหทัย เมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๘ การศึ ก ษาประวั ติ ศ าสตร จะช ว ยให เ กิ ด สํานึ กในการคน ควา และสืบคนข อมูลที่เ ชื่อมโยง อดีตและปจจุบัน อันสรางความภูมิใจและกระตุน ความรูสึกคานิยมในการเปนทหารอากาศ ตลอดจน ตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค า ของกิ จ การบิ น ที่ บ รรพบุ รุ ษ ได สั่งสมไว และประวัติศาสตรยังชวยใหเกิดการเรียนรู จากอดีต เพื่อเปนบทเรียนสําหรับปจจุบันไมมากก็นอย หากผูอานที่ยังเห็นวาขอมูลดังที่กลาวมายังไมสมบูรณ ผู เ ขี ย นยั ง หวั ง ว า ท า นผู รู จ ะเติ ม เต็ ม และแก ไ ข บทความนี้ใ ห มี ความสมบู รณ เพื่อ เป น ประโยชน ตอชนรุนหลังไดศึกษาตอไป

ขอมูลจาก - กองทัพอากาศ,อนุสรณ พลอากาศโท หมอมเจารังษิยากร อาภากร, พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพ, โรงพิมพกรมสารบรรณทหารอากาศ, ๒๕๐๙. - กองทัพอากาศ,อนุสรณ จอมพลอากาศ ฟน รณนภากาศ ฤทธาคนี, พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพ, โรงพิมพกรมสารบรรณทหารอากาศ, ๒๕๓๐.


ปชส.การฝกผสม THAI BOOMERANG 11

กองทัพอากาศ มีภารกิจในการปองกันประเทศ และเตรียมกําลังทางอากาศ ในแตละปกองทัพอากาศ จัดใหมีการฝกตางๆ เพื่อเตรียมกําลังทางอากาศให พร อ มปฏิ บั ติ ห น า ที่ เ สมอ ซึ่ ง นอกจากจะเป น การ เตรียมความพรอมของกําลังทางอากาศแลว ยังเปน การฝกกําลังพลใหมีความรู ความชํานาญกับอุปกรณ และเทคโนโลยีสมัยใหมจากกองทัพมิตรประเทศ ที่เขารวมการฝก การฝกผสม THAI BOOMERANG 11 เปน อี กหนึ่ ง การฝ ก ที่ ก องทั พ อากาศไทยทํ า การฝ ก เปนประจําอยางตอเนื่อง โดยในปนี้ กองทัพอากาศ รวมกับกองทัพอากาศออสเตรเลีย จัดการฝกผสม ภายใตรหัสการฝก “THAI BOOMERANG 11” ระหวาง ๑๙ สิงหาคม – ๒ กันยายน ๒๕๕๔ โดยจัดตั้ง กองอํานวยการฝกและทําการฝก ณ กองบิน ๑ จังหวัด นครราชสีมา มีพิธีเ ปดการฝก ฯ ใน ๑๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔ เวลา ๑๓๓๐ น. ณ หอง Blue Sky อาคารธู ป ะเตมี ย กองบิ น ๑ และพิ ธี ป ดการฝ ก ฯ

ใน ๒ กันยายน ๒๕๕๔ เวลา ๑๐๐๐ น. ณ ลานจอด อากาศยาน กองบิน ๑ จังหวัด นครราชสีมา การฝกผสม THAI BOOMERANG 11 เปน การฝ ก ใช กํ า ลั ง ทางอากาศร ว มกั น ระหว า ง กองทัพอากาศ ไทยและออสเตรเลีย มีวัตถุประสงค เพื่อดํารงขีดความสามารถของหนวยบินที่เขารวม การฝก พัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติการ ทางอากาศผสม และกระชับความสัมพันธระหวาง มิตรประเทศที่เขารวมการฝกใหมีความแนนแฟน ยิ่งขึ้น ประวัติความเปนมาของการฝกผสม THAI BOOMERANG นั้น เริ่มตั้งแตป ๒๕๓๓ กองทัพอากาศ ออสเตรเลีย จัดเครื่องบินขับไลแบบ F/A-18 จํานวน ๒ เครื่ อ ง บิ น เดิ น ทางมาเยื อ นประเทศไทย (GOODWILL VISIT) และตอมาในป ๒๕๓๕ การบิ น มาเยื อ นได ข ยายขอบเขตเป น การฝ ก บิ น ACMI รวมกับเครื่องบินขับไลแบบ ๑๙/ก (F-16 A/B) ของกองทัพอากาศ ในภารกิจยุทธวิธีการรบทางอากาศ


กับเครื่องบินตางแบบ โดยเรียก การฝ ก ในครั้ ง แรกว า THAI BOOMERANG 92 (เดิมกําหนด จ ะ เ รี ย ก ชื่ อ ว า BARONPHRAPHAI) จากนั้นทั้งสองชาติ ได เ ข า ร ว มการฝ ก เรื่ อ ยมา โ ด ย พั ฒ น า จ า ก ก า ร ที่ กองทั พ อากาศออสเตรเลี ย จั ด เ ค รื่ อ ง บิ น ขั บ ไ ล แ บ บ F/A-18 จํ า นวน ๒–๔ เครื่ อ ง จากฝูงบินที่ ๓ เขารวมการฝก ขณะที่กองทัพอากาศ จัดเครื่องบินขับไลแบบที่๑๙/ก จํานวน ๒–๔ เครื่อง จากฝูงบิน ๑๐๓ เขารวมการฝก โดยใชพื้นที่การฝก ณ กองบิน ๑ จังหวัดนครราชสีมา และนับตั้งแตป ๒๕๔๐ ซึ่งเปนการฝกใน ครั้งที่ ๕ กองทัพอากาศไดเพิ่มเครื่องบินขับไลจาก ฝูงบิน ๔๐๓ เขารวมการฝกดวย โดยใชระยะเวลา การฝกประมาณ ๑ สัปดาห จากนั้นรูปแบบการฝก จึ ง เปลี่ ย นเป น ป เ ว น ป เพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ การ ฝกผสม PITCH BLACK ที่กองทัพอากาศจัดกําลัง ทางอากาศ เข า ร ว มการฝ ก ณ ฐานทั พ อากาศ DARWIN และ TINDAL ประเทศออสเตรเลีย การฝก ของทั้งสองชาติไดพัฒนาประสบการณการฝกบิน ปฏิบัติการรบทางอากาศ ปจจุบันไดปรับเปนการ บินรบขั้นมูลฐานกับเครื่องบินตางแบบ (Dissimilar Basic Fighter Maneuver : DBFM), การบินรบกับ เครื่องบินตางแบบ (Dissimilar Air Combat Maneuver : DACM) การบินยุทธวิธีการรบกับเครื่องบินตางแบบ (Dissimilar Air Combat Tactics : DACT) และ

การใชกําลังทางอากาศขนาดใหญ (Large Force Employment : LFE)

การฝกผสม THAI BOOMERANG 11 ครั้งนี้ มีการประชุมวางแผนขั้นตน (IPC) ระหวาง ๔ – ๘ เมษายน ๒๕๕๔ ณ จ.นครราชสีมา โดยมี น.อ.สุท ธิพงษ อินทรียงค รองเจ ากรมยุท ธการ ทหารอากาศ เปนผูอํานวยการกองอํานวยการฝก THAI BOOMERANG 11 สวนกองทัพอากาศ และ Sqn.Ldr. Jason Easthope หัวหนาคณะทํางาน ฝายกองทัพอากาศออสเตรเลีย รวมเปนประธาน การประชุมวางแผนขั้นตน (IPC) ณ โรงแรมสีมาธานี


จังหวัดนครราชสีมา และการประชุมวางแผนขั้นปลาย (FPC) ระหวาง ๒๗ มิถุนายน – ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ณ ฐานทัพอากาศ WILLIAMTOWN เครือรัฐออสเตรเลีย โดยมี น.อ.อนุรักษ รมณารักษ เสนาธิการกองบิน ๑ ในฐานะรองผูอํานวยการกองอํานวยการฝกผสม THAI BOOMERANG 11 พรอมคณะฯ เขารวมประชุมฯ รวมกับนาวาอากาศเอก JOE IERVASI ผูบังคับการ กองบิน ๘๑ หัวหนาคณะทํางานฝายกองทัพอากาศ ออสเตรเลีย และการฝกภาคสนาม (FTX) ระหวาง ๑๙ สิงหาคม – ๒ กันยายน ๒๕๕๔ ณ กองบิน ๑ จังหวัด นครราชสีมา ~ กําลังทางอากาศที่เขารวมการฝกฯ ในสวนของกองทัพอากาศ มี น.อ.สุทธิพงษ อิ น ทรี ย งค รองเจ า กรมยุ ท ธการทหารอากาศ เป น ผู อํ า นวยการกองอํ า นวยการฝ ก ผสม THAI BOOMERANG 11 สวนกองทัพอากาศ โดยมีการบรรจุกําลังพลรวม จํานวน ๔๒๕ คน และอากาศยานสมรรถนะสู ง จากทั้ ง ๒ ประเทศ เขารวมการฝกจํานวน ๒๐ เครื่อง ประกอบดวย - กองทัพอากาศไทย จัดกําลังพล จํานวน ๓๐๐ คน พร อ มเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล แ บบที่ ๑๙/ก (F-16 A/B) จากฝูงบิน ๑๐๒ และ ฝูงบิน ๑๐๓ กองบิน ๑ และฝูงบิน ๔๐๓ กองบิน ๔ จํานวน ๑๒ เครื่อง - กองทัพอากาศออสเตรเลีย ไดจัดกําลังพล จํ า นวน ๑๒๕ คน พร อ มเครื่ อ งบิ น ขั บ ไล F/A-18 จากฝูงบิน ๗๗ ฐานทัพอากาศ Williamtown จํานวน ๘ เครื่อง

~ รูปแบบการฝก แบงออกเปน ๒ สวน คือ - การแลกเปลีย่ นความรูและประสบการณ ในการปฏิบัตกิ ารจริง ใน ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๔ - การฝกภาคสนาม (FTX) ระหวาง ๒๒ สิงหาคม – ๒ กันยายน ๒๕๕๔ โดยมี ส ว นควบคุ ม การฝ ก (Combined Exercise Control Group: CECG) ทําหนาที่ควบคุม ใหการสนับสนุนทางยุทธการ และการขาว รวมถึง การประเมินผลการฝก โดยที่การฝกจะเนนการฝก ภาคอากาศ ซึ่งเปนการฝกยุทธวิธีการรบ เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการปฏิบัติการทางอากาศและ ประสบการณของนักบิน รวมทั้งเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ประกอบดวย การฝกเตรียมความพรอม (Work Up Training) และการฝกใชกําลังทางอากาศขนาดใหญ (Large Force Employment LFE) โดยจะทําการฝก ตามภารกิจที่กําหนด อาทิการบินขับไล ขั้นมูลฐาน ยุทธวิธีการรบทางอากาศระหวางเครื่องบินตางแบบ การปองกันทางอากาศเชิงรุกและเชิงรับ การขัดขวาง ทางอากาศ ซึ่งไดมีการวางแผนการฝกไวมากกวา ๑๘๐ เที่ยวบิน


นอกจากการฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารทางอากาศ ยุทธวิธีรวมกันแลว กองกําลังที่เขารวมการฝกทั้ง ๒ ชาติ ยังรวมจัดกิจกรรมปฏิบัติการจิตวิทยา โดยนํา กําลังพลที่เขารวมการฝก จั ดชุดออกชวยเหลือและ ใหบริการประชาชนในพื้นที่การฝกฯ จัดหนวยแพทย เคลื่ อ นที่ ใ ห บ ริ ก ารตรวจรั ก ษาโรคทั่ ว ไปรวมทั้ ง จั ด ชุ ด จนท.กรมช า งโยธา จาก กองบิ น ๑ ปรับปรุงอาคารที่พักเด็กเล็กและมอบสิ่งของ เครื่ อ งใช สื่ อ การเรี ย น ในวั น ที่ ๒๖ สิ ง หาคม พ.ศ.๒๕๕๔ เวลา ๑๔๐๐ น. ณ สถานสงเคราะห เด็ ก บ า นมิ ต รภาพ ตํ า บล สู ง เนิ น อํ า เภอ สู ง เนิ น จังหวัด นครราชสีมา และไดเชิญขาราชการ ลูกจาง พนั ก งานราชการ และประชาชนเป น ส ว นหนึ่ ง มอบความสุขใหนองๆ ดวยการบริจาคเงิน ผานบัญชี ออมทรั พ ย ธนาคารทหารไทย จํ า กั ด (มหาชน) สาขากองบั ญ ชาการกองทั พ อากาศ ชื่ อ บั ญ ชี “กองอํานวยการฝกผสม THAI BOOMERANG11” ธรรมชาติ

หมายเลขบัญชี ๐๕๗ -๒-๔๑๕๖๑-๐ หรือ บริจาค สิ่ ง ของได ที่ ก องอํ า นวยการฝ ก ฯ กรมยุ ท ธการ ทหารอากาศโทร ๐๒ ๕๓๔ ๘๕๑๔ – ๒๗ การฝกผสม THAI BOOMERANG 11 เปน การฝ ก เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถยุ ท ธวิ ธี ก ารรบ ทางอากาศ พั ฒนาประสบการณ การฝ กบิ นปฏิ บั ติ การรบทางอากาศ ซึ่ ง นอกจากกํ า ลั ง พลของ กองทัพอากาศ จะไดรับประโยชนจากฝกปฏิบัติการ รบรวมกับกําลังทางอากาศมิตรประเทศ ไดเรียนรู เทคโนโลยี และทบทวนขอขัดของตางๆ ของการฝก การรบ เพื่อเพิ่มศักยภาพของกองกําลังทางอากาศ และกระชั บ ความสั ม พั น ธ กั บ มิ ต รประเทศให แนนแฟนยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังเปนการเตรียมการ เพื่ อ เขา ร ว มการฝ ก ขนาดใหญ ใ นอนาคต ภายใต รหัส Pitch Black 2012 ตอไปดวย """


น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ “South Korean KF-16D crashed due to vertigo The RoKAF releases the accident report regarding the KF-16D that crash in the Yellow Sea on 20 July 2007. The fatal crash has been attributed to spatial disorientation or commonly known as pilots' vertigo. Crashed during a night training exercise off the coast of South-Korea.” การหลงสภาพการบิ นไดสรางความสูญเสีย ใหกับงานดานการบินเปนจํานวนมาก ไดมีการศึกษา และค น คว า หาแนวทางการปอ งกั น การเกิด การหลง สภาพการบิน แตก็ไมสามารถที่จะทําใหปญหานี้ลดลง โดยเฉพาะเครื่ อ งบิ น รบซึ่ ง ต อ งทํ า การบิ น คนเดี ย ว เมื่อเกิดการหลงสภาพการบินจะมีแนวทางการปฏิบัติ อย า งในส ว นตั ว ของผู เ ขี ย นเคยประสบกั บ การหลง สภาพการบินหลายครั้งด วยกัน กอนที่จะเลาถึง การ เกิดการหลงสภาพการบิน และการแกไข จะขอเพิ่มเติม ขอมูลการหลงสภาพการบินคืออะไร และปจจัยอะไรบาง ที่ทําใหเกิดการหลงสภาพการบิน


การหลงสภาพการบิน (SPATIAL DISORIENTATION) โดย นาวาอากาศเอก อมร แสงสุพรรณ “การหลงสภาพการบิน คือ อาการที่บุคคลนัน้ รับรูถึงตําแหนง ที่อยูทาทางการทรงตัวในการบิน และการเคลื่ อ นที่ ข องอากาศยานที่ ต นบั ง คั บ อยู ในลั กษณะที่สัมพันธ กับแนวขอบฟา (Horizontal Line) ผิดพลาดไปจากที่เปนอยูจริง จากขอมูล หลักฐานและการวิเคราะหหาสาเหตุของอากาศยาน อุบัติเหตุพบวา การหลงสภาพการบินมีสวนชักนําหรือ เกี่ยวของกับอากาศยานอุบัติเหตุ ถึงกวารอยละ 75 ซึ่งอุบัติเหตุดังกล าวมักเปนอุ บัติเหตุใหญที่ทําให สู ญ เสี ย ชี วิ ต หรื อ สู ญ เสี ย ทรั พ ย สิ น จํ า นวนมาก ดังนั้นการหลงสภาพการบินจึงเปนประเด็นที่จะตองให ความสนใจเปนอยางยิ่งในแงของสรีรวิทยาการบิน” การหลงสภาพการบิน(Spatial Disorientation) (Reference Previc, F. H., & Ercoline, W. R. (2004). Spatial disorientation in aviation. Reston, VA: American Institute of Astronautics and Aeronautics.) คื อ มนุ ษ ย มี ค วามสามารถที่ จ ะทนต อ การหลง สภาพการบินไดบนพื้นดิน แตการบินในสภาพอากาศ เปนสิ่งที่รางกายมนุษยไมมีความคุนเคย มันจะสราง ความรูสึกขัดแยง กับการมองเห็น ซึ่งทําใหการเกิด หลงสภาพการบินเปนสิ่งที่ยุงยาก และในบางครั้ง ไมสามารถที่จะแกไขได โดยมีสถิติอุบัติเหตุที่เกิด จากการหลงสภาพการบินอยู 5–10 เปอรเซ็นตของ การเกิดอุบัติเหตุทั่วไป และรอยละ 90 ของการเกิด หลงสภาพการบิน อุบัติเหตุทําใหเกิดการเสียชีวิต อวัยวะรับรูการทรงตัว (Organs of Orientation) มนุษยมีอวัยวะที่ใชสําหรับรูการทรงตัว ดังนี้ คือ

ตา (Eyes) ใชหลักการมองเห็นภาพแลว นํ า ไปเปรี ย บเที ย บอ า งอิ ง กั บ สิ่ ง แวดล อ ม (Visual References) เชน พื้นดิน พื้นน้ํา ภูเขา ตนไม แลว นํ า มากํ า หนดรั บ รู ส ภาพของการทรงตั ว หรื อ การ เคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นตามความเคยชินหรือการเรียนรู มนุษ ยใช ตาในการกํ า หนดรับรูการทรงตัว ถึง กว า รอยละ 80 ของความสามารถในการรับรูการทรงตัว ทั้งหมด

อวัยวะรับรูการทรงตัวในหูชั้นใน (Vestibular Organs) ประกอบดวยอวัยวะสองสวน คือ เซมิเซอคูลาร แคแนลล (Semicircular Canals) และ โอโตลิท ออรแกนส (Otolith Organs) ทั้งขางซาย และขวา อวั ย วะดั ง กล า วมี ลั ก ษณะเป น ขนอ อ น ลอยชูชันอยูในของเหลว (Endolymph) ขนนี้จะ เคลื่อนไหวเปลี่ยนทิศทางเมื่อมีอัตราเรง (Acceleration) เกิดขึ้น หรือเมื่อมี การลดอัตราเร งลง (Deceleration) โดยอาศัยการพัดพาของของเหลวที่ไหลไปมา ทั้งนี้ เซมิเซอคูลาร แคแนลล จะรับรูการทรงตัวในแนวแรง อัตราเรงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเร็วและ ทิศทาง (Angular Acceleration) สวนโอโตลิท ออรแกนส


จะรับรูการทรงตัวในแนวแรงอัตราเรงที่เปนเสนตรง (Linear Acceleration) ความรูสึกที่เกิดขึ้นจากอวัยวะ รับรูการทรงตัวในหูชั้นใน มักจะทําใหเกิดการหลง สภาพการบิ น ได ง า ย หากอวั ย วะรั บ รู ก ารทรงตั ว อยางอื่นทําหนาที่ไดไมเต็มที่ โดยเฉพาะการมองเห็น เช น ในเวลากลางคื น หรื อ อยู ใ นเมฆฝนที่ ทํ า ให สภาพอากาศมืดมัว เปนตน

กล า มเนื้ อ และเอ็ น (Proprioceptors) ใชแรงกด (Pressure) และแรงดึง (Tension) ที่เกิดขึ้น กับรางกายสวนตางๆ โดยความรูสึกจากปลายประสาท ที่ อ ยู บ ริ เ วณดั ง กล า วจะส ง ข อ มู ล ไปยั ง สมองให รับรูการทรงตัวเชน ทานั่งจะรูสึกถึงแรงกดที่มีมาก บริเวณกน หากกําลังจะลมลงทางขางขวาจะรูสึกตึง ที่ขาขางขวามากกวาขาซาย เปนตน ความรูสึกจาก อวัยวะดังกลาวถือเปนความรูสึกที่เชื่อถือไดนอยที่สุด ในดานการบิน

การหลงสภาพการบินสามารถแบงตาม สาเหตุ ก ารเกิ ด ได เ ป น ๒ ชนิ ด ประกอบด ว ย การหลงสภาพการบินที่มีสาเหตุจากการมองเห็น (Visual Illusions) และ จากการแปลผลผิดพลาด ของอวัยวะรับรู การทรงตั วในหูชั้น ใน (Vestibular Illusions) ๑. การหลงสภาพการบินที่มีสาเหตุจาก การมองเห็น (Visual Illusions) ประการที่สําคัญ ไดแก - ปรากฏการณ ออโตไคเนติ ก (Auto kinetic Phenomina) เกิดขึ้นเนื่องจากการจองมอง ดวงไฟในที่ มื ด สลั ว หรื อ ในเวลากลางคื น อยู เ ป น เวลานาน ทํ า ให ก ล า มเนื้ อ นั ย น ต าเกิ ด อาการล า


นัยนตาจึงกลอกไปมาโดยไมรูสึกตัว จึงสําคัญผิดวา ดวงไฟเคลื่อนที่ไปมาได ปรากฏการณ เชนนี้เกิด อันตรายขึ้นได ในกรณีที่นักบินทําการบินตามการ เคลื่อนที่ของดวงไฟนั้นจนเกิดการชนกันขึ้น เพราะ กําหนดตําแหนงดวงไฟผิดพลาดจากความเปนจริง - ขอบฟาหลอน (False Horizons) ในขณะ ที่ทําการบินโดยไมเห็นเสนขอบฟาหากนักบินบิน ตามแนวเมฆ หรือแนวแสงไฟที่พื้นจะทําใหสําคัญผิด วาเปนเสนขอบฟาได ทําใหเครื่องบินเอียงไปโดย ไมรูสึกตัว - ภาพลวงตาในการกะระยะความลึก (Depth Perception Illusion) การบินในเวลากลางคืน บินเหนือ พื้นน้ํา บินในเมฆหมอกหนาหรือสภาพสนามบินที่ แตกตางออกไปจากที่คุนเคย เชน ความกวางของ ทางวิ่งไมเทากัน ความสูงต่ํารอบทางวิ่งแตกตางกัน ตลอดจนสภาพอาคารตนไม อุปกรณอํานวยความ สะดวกภาคพื้นที่แตกตางกันออกไป ภาวะเหลานี้ ทําใหการอางอิงทางสายตา (Visual References) ผิดเพี้ยนไป จึงมีการรับรูทางลึก (Depth Perception) ผิ ด พลาดได ง า ย และเป น อั น ตรายในการบิ น หมู หลายเครื่องหรือบินขึ้นลงสนามบิน ๒. การหลงสภาพการบิ น ที่ มี ส าเหตุ มาจากการแปลผลผิ ด พลาดของอวั ย วะรั บ รู การทรงตัวในหูชั้นใน (Vestibular Illusions) ประการ ที่สําคัญ ไดแก - ภาวะลีนส (Leans) โดยปกติแลว หากการ เอี ย งของเครื่ อ งบิ น เปลี่ ย นแปลงไปในอั ต ราที่ นอยกวา ๒ องศา/วินาทีแลว นักบินจะไมสามารถ รับรูการเปลี่ยนแปลงนั้นได ดังนั้นเครื่องบินจึงอาจจะ

คอยๆ เอียงไปจนเกิดอันตรายได หากนักบินทําการ แกไขอาการเอียงดวยความรุนแรง จะเกิดความรูสึก ว า เครื่ อ งบิ น เอี ย งไปอี ก ด า นหนึ่ ง อย า งมาก ทั้ ง ที่ ความจริงแลวเครื่องบินกําลังเขาสูแนวระดับ ดังนั้น นั ก บิ น จึ ง ทํ า การแก ไ ขให เ ครื่ อ งบิ น กลั บ เข า สู ก าร เอียงดานเดิมอีกครั้งหนึ่งและเกิดอาการสับสนขึ้น

- ภาวะเกรปยารด สปน (Graveyard Spin) ขณะที่เครื่องบินมีอาการควงสวานนั้น ในระยะแรก นัก บิน จะรูสึก ได แตครั้นอาการควงสวานคงที่อยู ตอไป ของเหลว (Endolymph) ในเซมิเซอคูลาร แคแนลล จะหยุดเคลื่อนที่ ทําใหขนออนหยุดการเคลื่อนไหว ไปดวย นักบินจึงเขาใจวาเครื่องบินหยุดควงสวาน ทั้งๆ ที่เครื่องบินยังมีอาการควงสวานอยูตอไปหาก นักบินแกอาการควงสวานไปในทิศทางตรงกันขาม เพื่อใหเครื่องบินกลับสูแนวระดับ จะทําใหขนออน ถูกพัดพาไปอีกขางหนึ่ง นักบินจึงเขาใจวาเครื่องบิน เข า อาการควงสว า นในทิ ศ ทางที่ ต รงกั น ข า มกั บ ครั้ ง แรก ดั ง นั้ น ในกรณี ที่ นั ก บิ น เกิ ด อาการสั บ สน ก็ จ ะบั ง คั บ เครื่ อ งบิ น กลั บ ไปอี ก ด า นหนึ่ ง ซึ่ ง ก็ คื อ


การกลับเขาสูอาการควงสวานในทิศทางเดิมนั่นเอง จนกระทั่งเครื่องบินชนพื้นในที่สุด

- ภาวะเกรปยาร ด สไปรอล (The Graveyard Spiral) พบไดบอยกวาภาวะเกรปยารด สปน และมี ค วามเกี่ย วขอ งกับ การเลี้ ยวเพื่อ กลับ ไปบินระดับ ซึ่งอาจจะเกิดจากความตั้งใจหรือไมได ตั้งใจในการเลี้ยวเชน นักบินตองการเลี้ยวไปทาง ดานซาย ความรูสึกเริ่มตนของการเลี้ยวไปในทิศทาง เดียวกัน ถาเลี้ยวตอประมาณ ๒๐ วินาที หรือมากกวา นักบินจะรูสึกวาเครื่องบินไมไดเลี้ยวอยู ในความรูสึกนี้ ถานักบินพยายามที่จะบินระดับ จะทําใหเครื่องบิน เลี้ยวไปดานตรงขามคือเลี้ยวไปดานขวา ถานักบิน เชื่ อ ว า เกิ ด ภาพลวงตาของการเลี้ ย วไปด า นขวา นักบินก็จะเพิ่มมุมเอียงปกเพื่อเพิ่มการเลี้ยวไปทาง ด า นซ า ย ซึ่ ง สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะทํ า ให เ ครื่ อ งบิ น เลี้ ย ว ไปทางดานซายและเสียความสูง ถาแกไขดวยการ ดึงคันบังคับและเรงกําลังเครื่องยนต เปนการแกไข ที่ไมถูกตองเพราะจะทําใหการเลี้ยวโดยมีวงเลี้ยว แคบ ถ า นั ก บิ น วิ เ คราะห ผิ ด โดยที่เ ครื่ อ งบิ น ไม ไ ด

บินระดับ เครื่องบินก็ยังคงเลี้ยวซายและเสียความสูง จนกระทั่งชนพื้น

- ภาวะโคริโอลิส (Coriolis Effects) เกิดขึ้น จากการที่ เซมิ เ ซอคู ล าร แคแนลส ถู ก กระตุ น พรอมๆ กันในหลายทิศทาง ทําใหการแปลผลในสมอง เกิ ด การสั บ สนขึ้ น เช น ในกรณี ที่ เ ครื่ อ งบิ น อยู ใ น ทาทางการเอียง ควงสวานดําลงทิ้งระเบิด ดึงเครื่อง ไตระดับ หรือเลี้ยว หากนักบินเคลื่อนไหวศีรษะดวย ความรุนแรง เชนหันกลับไปมองทางดานหลัง หรือ กมหนาลงไปดูเครื่องวัดตางๆ บนหนาปด การกระทํา ดังกลาว จะมีผลไปกระตุนประสาทรับรูการทรงตัว ในหลายๆ ทิศทางพรอมๆ กัน จึงทําใหสมองเกิดอาการ งุนงงจนไมรูสภาพการทรงตัวที่แทจริงในขณะนั้น


การเปลี่ยนแปลงอัตราเรง

- ความรูสึกเงยหลอน (The Head-Up Illusion) เกิดขึ้นในขณะที่ทําการบินระดับและ ในขณะนั้ น มี ก ารเร ง เครื่ อ งยนต อ ย า งทั น ที ทั น ใด ทําใหเครื่องมีอัตราการเรงซึ่งการกระทําดังกลาวจะ มีผลทําใหโอโตลิททิค เม็มเบรน (Otolithic Membrane) ซึ่งอยูบนโอโตลิท ออรแกนส เคลื่อนที่ไปทางดานหลัง และจะพัดพาเอาขนออนไปทางดานหลังดวย อาการ ที่ ข นอ อ นถู ก พั ด ไปทางด า นหลั ง นี้ เ หมื อ นกั น กั บ การที่เงยศีรษะขึ้น จะทําใหนั กบินมี ความรูสึกว า หัวเครื่องบินกําลังอยูในทาไต การตอบสนองของ

นั ก บิ น กั บ อาการที่ เ กิ ด ขึ้ น นั ก บิ น จะดั น คั น บั ง คั บ (Yolk or Stick)ไปขางหนาเพื่อลดหัวเครื่องบินใหอยู ทาการบินระดับ แตในความเปนจริงในการกระทํา ดังกลาวทําใหเครื่องบินปกหัวดิ่งลงทําใหเครื่องบิน ชนพื้น มักเกิดในขณะที่ทําการวิ่งขึ้นในเวลากลางคืน จากสนามบินที่มีไฟสองสวาง เขาสูสภาพอากาศ ที่มืดสนิท - การรู สึ ก หั ว เครื่ อ งบิ น ลดต่ํ า ลง (The Head-Down Illusion) เกิดขึ้นในขณะที่ทําการบิน ระดั บ และในขณะนั้ น มี ก ารเป ด แผ น ต า นอากาศ (Air Brake) หรือ การใช Flap หรือการผอนกําลัง เครื่องยนตอยางทันทีทันใดทําใหเครื่องบินมีอัตรา การเรงลดลง การกระทําดังกลาวทําใหนักบินเกิด ความรูสึกวาหัวเครื่องลดต่ําลง การตอบสนองกับ ความรูสึกนี้ นักบินจะทําการดึงคันบังคับมาดานหลัง เพื่อทําใหหัวเครื่องบินไต ถาเกิดในขณะที่ทําการลง สนามที่ ค วามเร็ ว ต่ํ า นั ก บิ น แก ไ ขด ว ยการดึ ง คั น บังคับจะทําใหเครื่องบินเกิดภาวะรวงหลน (Stall)


- ความรูสึกการบินในทาหงายทอง (The Inversion Illusion) เกิดขึ้นในขณะที่เครื่องบินไต ด ว ยมุ ม ชั น โดยเฉพาะเครื่ อ งบิ น ที่ มี ส มรรถนะสู ง มีอัตราการเรง และทําการลดหัวเครื่องบินเพื่อทํา การบิ น ระดั บ อย า งทั น ที ทั น ใด ขณะที่ ว างระดั บ ความเร็วจะเพิ่มขึ้นทําใหเกิดอัตราการเรง จะทําให เกิดความรูสึก วากําลั งทําการบินในทาหงายทอง การตอบสนองของนั ก บิ น จะพยายามที่จ ะลดหั ว เครื่องบินลง

ในส ว นประสบการณ ที่ เ คยเกิ ด การหลง สภาพการบิ น ของผู เ ขี ย น ครั้ ง แรกที่ เ กิ ด การหลง สภาพการบิน เมื่อปลายป ๒๕๓๗ ในขณะทําการบิน กับเครื่อง F-5E โดยเปนนักบินหมายเลข ๒ ของ หมูบิน ๔ เปนการฝกซอมหมูบินเขาแขงขันการใช อาวุธทางอากาศยุทธวิธีประจําป มีชั่วโมงบินกับ เครื่องบิน F-5 จํานวน ๓๒๐ ชั่วโมง ขณะที่ทําการบิน เดินทางต่ําดวยหมูบินทางยุทธวิธีเหนือทะเลพบวา ข า งหน า มี ก ลุ ม เมฆฝน หั ว หน า หมู บิ น พยายาม บิน หลบแต ก็ หลบไมพ น หมู บิน เขา สภาพอากาศ มองไมเห็นกัน หัวหนาหมูไดสั่งใหทําการไตตรงหนา ขณะที่ ไ ต อ ยู ใ นเมฆเกิ ด ความรู สึ ก ว า เครื่ อ งบิ น

เลี้ยวตลอดเวลา และรูสึกวาเครื่องบินไมไดไตหา ความสูง ในความรูสึกก็หวาดกลัวเพราะเมฆมืดมาก มีกระแสลมแรง เครื่องบินไมคงที่ ความเร็วก็ลดลง เรื่อยๆ โดยกอนเขามีความเร็ว ๔๒๐ นอต ในความคิด ตอนนั้นก็ใหเชื่อเครื่องวัด แตความรูสึกมันขัดแยง อยางรุนแรง พยายามออกแรงบังคับเครื่องบินไมให ไตหัวสูง ก็ไมสามารถทําได บังคับเครื่องบินไมใหเลี้ยว ก็ไมสามารถทําได มันเปนความรูสึกที่บอกไมไดจริงๆ วาทําไมถึงทําอะไรไมไดเลย พอหลังจากนั้นประมาณ ๓๐ วินาที เครื่องไตผานความสูง ๑๓,๐๐๐ ฟุต เครื่องบินไดบินออกจากเมฆ ก็รูสึกโลงอก สามารถ ที่จะควบคุมเครื่องบินได หลังจากนั้นไดแจงตําแหนง ใหกับหัวหนาหมูบิน หัวหนาหมูบินรวมหมูกลับสนาม ซึ่งในเหตุการณนี้ ถาเกิดในทาทางที่เครื่องบินไมอยู ในทาไต แตอยูในทาหัวปกลง ผูเขียนไมทราบวาจะ เปนอยางไร เพราะสถานการณในขณะนั้นไมสามารถ ที่ จ ะต อ สู กั บ ความรู สึ ก ที่ ขั ด แย ง กั บ ตาที่ ม องเห็ น เครื่องวัดทาทางการบินจําลองไดเลย การหลงสภาพการบินในครั้งที่ ๒ ป ๒๕๔๕ เกิดขึ้นในขณะทําการเติมน้ํามันเชื้อเพลิงในอากาศ เวลากลางคื น การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ในวั น นั้ น เป น หั ว หน า หมู บิ น ๔ พาลู ก หมู เ ข า เติ ม น้ํ า มั น ชพ. ในอากาศกับ KC-135 ซึ่งเปนเครื่องบินเติมน้ํามัน ชพ.ในอากาศของกองทัพสหรัฐ ฯ ในชวงแรกของ การเติมน้ํามัน ชพ.ผูเขียนเขาเติมน้ํามัน ชพ.กอน ก็เรียบรอยดี หลังจากไดน้ํามัน ชพ.ครบแลวก็ออกไป เกาะอยู ที่ ป ลายป ก ของ บ.KC-135 ในตํ า แหน ง Observation โดยตําแหนงนี้สามารถดูดวงไฟ จากปลายป ก และไฟจากหน า ต า งด า นหลั ง ของ


บ.KC-135 แตเนื่องจากหมูบินไดเขาเมฆ แสงไฟ ก็เห็นบางไมเห็นบาง จุดอางอิงมีจํากัด ในความรูสึก ไมสามารถกะระยะหางของเครื่องบินได เครื่องบิน มีความเร็วเพิ่มขึ้น และเลี้ยวตลอดเวลา การตัดสินใจ ในขณะนั้นคิดวาถาทําการบินตออาจจะเขาชนกับ บ.KC-135 เนื่ อ งจากกะระยะห า งไม ไ ด เ พราะ เห็ น แสงไฟจากปลายป ก เพี ย งดวงเดี ย ว จึ ง แจ ง บ.KC-135 ขอยกเลิกภารกิจ และนําหมูออกจาก บ.KC-135 ดวยการบินดวยเครื่องวัดประกอบการบิน

การหลงสภาพการบินในครั้งที่ ๓ ตนป ๒๕๔๖ เกิดในระหวางปฏิบัติการบินในเวลากลางคืน ภารกิจ การบินยุทธวิธีการรบในอากาศ โดยเปนหัวหมูบิน ๔ มีชั่วโมงบินกับเครื่องบิน F-16 รวม ๑,๒๔๐ ชั่วโมง เหตุการณที่เกิด สภาพอากาศดี บินเหนือสภาพแวดลอม ที่เปลี่ยนแปลง โดยทําการบินเหนือทะเลทราย ซึ่ง ทะเลทรายพื้นดินจะไมมีแสงไฟฟาจากบานเรือน ประชาชน แตประเทศไทยแสงสวางไฟฟาจากบานเรือน ประชาชนบนพื้ น ดิ น มี ม าก ซึ่ ง จะตรงกั น ข า มกั บ การบินในประเทศ ในการบินยุทธวิธีในการ Launch and Leave Tactic คือการใชอาวุธระยะนอกสายตา มองเห็น (Beyond Visual Range, AMRAAM) เมื่อ ใชอาวุธแลวจะเลี้ยวออกจาก บ.เปาหมาย ๑๘๐ องศา

ทํ า การลดความสู ง ด ว ย หลั ง จากนั้ น เมื่ อ มี ข อ มู ล ของ บ.เปาหมายยังถูกทําลายไมหมด จะทําการเลี้ยว กลับไปใชเรดาร Lock เปาหมายและทําการใชอาวุธ เหตุก ารณที่เ กิดหลงสภาพการบิ น จะเกิดในชวงที่ เลี้ยวไตกลับไปใชอาวุธ เพราะในขณะที่ทําการเลี้ยวไต จะตองจุดสันดาปทาย เพื่อเพิ่มอัตราไต และก็ตอง มองในจอเรดาร เพื่อคนหาเปาหมาย เมื่อทําการ Lock เปาหมายได เงยหนาขึ้นมองจอแสดงผลการ ใชอาวุธ (Head Up Display :HUD) และทําการใช อาวุธ สิ่ง ที่เ กิดขึ้นพบวา มีความรูสึก วา ทําการบิน หงายทอง ตรวจสอบเครื่องวัดทาทางการบินจําลอง และ จอ HUD พบวา เครื่องบินบินอยูในทาปกติ มองออกนอกเครื่องบินไปขางลางมืด สวนดานบน มี แ สงสว า ง ยิ่ ง ทํ า ให รู สั บ สนกั บ ประสบการณ ใ น สภาพแวดล อ มที่ คุ น เคย แต ก็ เ ชื่ อ ในเครื่ อ งวั ด ใช เ วลา ๒๐ วิ น าที ใ นการบิ น ระดั บ ความรู สึ ก จึ ง กลั บ มาปกติ ในช ว งที่ เ กิ ด การหลงสภาพการบิ น พยายามที่ จ ะบั ง คั บ เครื่ อ งให เ ลี้ ย วซ า ยเพื่ อ หลบ บ.เปาหมายที่สกัดกั้น แตไมสามารถกระทําไดทันที แตเ นื่ อ งจากเคยมี ป ระสบการณ ใ นเรื่ อ งการ หลงสภาพการบินมากอน ครั้งนี้แกไขดวยวิธีการ ใหความสนใจไปที่มือ ในการบังคับเครื่องบิน โดย ไม ใ ช ค วามรู สึ ก ในการควบคุ ม มื อ ให มี ก าร เคลื่อนไหว ที่มือ ซึ่งปรากฏวาไดผล เมื่อควบคุมมือ ใหเคลื่อนไหวได ก็จะบังคับเครื่องบินใหเปนไปตาม เครื่องวัดประกอบการบิน ทําอยางไรที่จะปองกันการเกิดหลง สภาพการบิ น ควรที่ จ ะมี ป ระสบการณ ก ารเกิ ด การหลงสภาพการบิ น ด ว ยเครื่ อ งฝ ก ต า งๆ เช น


a Barany chair, a Vertigon, a GYRO, or a Virtual Reality Spatial Disorientation Demonstrator

ดวยการปฏิบัติพื้นฐานดังนี้ • กอนที่จะทําการบินเขาสภาพอากาศที่ ทัศนวิสัยต่ํากวา ๓ ไมล นักบินตองทําการบินดวย เครื่องวั ดประกอบการบิ น ดวยการมองเครื่องวัด Attitude และ เครื่องวัดประกอบการบินอื่นประกอบกัน • ขณะที่ทําการบินในเวลากลางคืน หรือ ทัศนวิสัยต่ํา ตองทําการบินดวยเครื่องวัดประกอบ การบิน • ถาตองทําการบินในเวลากลางคืน นักบิน ตองรักษาความตอเนื่องในการบินในเวลากลางคืน ซึ่งประกอบดวยการบินเดินทางไปสนามบินตางถิ่น การบินในพื้นที่ และการบินเดินทาง • ถาในกรณีที่มีความสามารถทําการบิน ดวยทัศนวิสัยอยางเดียว (only Visual Flight Rules-qualified) อยาพยายามทําการบินดวย ทัศนวิสัยเมื่อตองบินเขาไปในสภาพอากาศ

• ถาเกิดการหลงสภาพการบินที่มีสาเหตุ มาจากการแปลผลผิ ด พลาดของอวั ย วะรั บ รู การทรงตัวในหูชั้นใน (Vestibular Illusions) ควรเชื่อ เครื่องวัดประกอบการบิน และอยาเชื่อในความรูสึก ของตนเอง • ตองเขาใจธรรมชาติของการเกิดการ หลงสภาพการบิน และรูสาเหตุที่ทําใหเกิด • ถาเปนไปไดควรหลีกเลี่ยงการบินใน สภาวะที่จะเปนสาเหตุใหเกิดการหลงสภาพการบิน • ปฏิบัติตามกฎการบินดวยเครื่องวัด ประกอบการบิน และรักษาความตอเนื่องในการบิน ดวยเครื่องวัดประกอบการบิน • จงจําไวเสมอวาการหลงสภาพการบิน สามารถเกิดขึ้นไดกับนักบินทุกคน ในทายที่สุดนี้นักบินควรที่จะตระหนักกับ อันตรายในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงระหวางดู เครื่องวัดประกอบการบิน กับการมองภายนอกเมื่อ ทั ศ นวิ สัย ต่ํา หรื อ สภาพอากาศเป น อุปสรรค ควร หลี ก เลี่ ย งการเคลื่ อ นไหวศี ร ษะอย า งทั น ที ทั น ใด เมื่อเครื่องบินมีการเปลี่ยนทาทางการบิน อยาจองมอง เครื่องวัดเปนเวลานาน และสิ่งที่สําคัญเมื่อความรูสึก เกิ ด ความขั ด แย ง กั บ เครื่ อ งวั ด ประกอบการบิ น การปฏิบัติตองเชื่อเครื่องวัดประกอบการบิน ตองมี สติควบคุมตนเองใหได ซึ่งจะชวยชีวิตคุณได


น.อ.หญิง วิบลู รัตน เอี่ยมปรเมศวร เรื่ อ งของเรื่ อ งคื อ เมื่ อ มี ค วามรู สึ ก ดี ๆ ก็ไมอยากเก็บไวคนเดียว อยากใหใครๆ ไดรับรูดวย ถือวาเปนการแบงปนประสบการณกันนะคะ... สั ป ดาห ที่ แ ล ว ผู เ ขี ย นได รั บ เกี ย รติ จ าก วิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ.) ใหไปรวมจัดการฝก “บริหารสถานการณวิกฤตระดับยุทธศาสตร” ให กั บ นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รการทั พ อากาศ รุ น ๔๕ ซึ่งนับเปนกิจกรรม highlight ของหลักสูตร เพราะ เปนการประมวลความรูทั้งหมดที่ไดเรียนมาตลอด ทั้ ง ป ผู เ ขี ย นรู สึ ก ประทั บ ใจในสิ่ ง ต า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตลอดหนึ่งสัปดาหที่ผานมา ไมวาจะเปนการไดเห็น ความตั้ ง ใจและทุ ม เทของที ม งานจั ด การฝ ก ความตั้งใจรับการฝกของนักศึกษา ยิ่งกวานั้นยังได เห็นบทบาทในการเปนแหลงอางอิงทางวิชาการของ หนวยงานการศึกษาที่มีตอกองทัพ จึงอดไมไดที่จะนํา ความรูสึกดีๆ นั้น มาเลาสูกันฟง ผูเขียนไปรวมจัดการฝกครั้งนี้เปนครั้งแรก รูสึกดีใจที่ไดมีสวนรวม เพราะมันเปนการใหความรู และประสบการณ ท างทหารระดั บ สู ง สุ ด ของ กองทั พ อากาศอย า งแท จ ริ ง เนื่ อ งจากการฝ ก

ตามเกมนี้ จะทําใหนักศึกษาเขาใจกลไกการทํางาน ของระบบความมั่นคงของประเทศ จะเห็นภาพวา เมื่ อ เกิ ด เหตุ ก ารณ วิ ก ฤตในระดั บ ชาติ เช น สงคราม กระบวนการตัดสินใจของชาติจะเปน อยางไร ทหารเขาไปเกี่ยวของตรงไหน อยางไร ฝายอํานวยการทางทหารระดับสูงทําอะไร และ ต อ งใช ค วามรู อ ะไรบ า ง ซึ่ ง วทอ.ได จั ด การฝ ก ลักษณะนี้มาระยะหนึ่งแลว แตเนื้อหาเกี่ยวกับการ วางแผนทางทหารยังไมเขมขนมากนัก จนกระทั่งถึง รุนปจจุบันนี้นับวาวิทยาลัยการทัพอากาศไดปรับปรุง พัฒนาไปมาก สามารถออกแบบการฝกที่ครอบคลุม ประเด็นตางๆ ไดครบถวน โดยเฉพาะประเด็นการ เปนฝายอํานวยการทางทหารระดับยุทธศาสตร ซึ่ง เปนเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับนักการทหารอยางเราๆ


ในการจั ด การฝ ก ได แ บ ง อาจารย เ ป น ที ม รั บ ผิ ด ชอบส ว นต า งๆ คื อ ส ว นควบคุ ม การฝ ก ใน ภาพรวม สวนของการวางแผนทางทหาร สวนสารสนเทศ ของระบบการฝก สวนงานสื่อสารมวลชนและการ เจรจาตอรอง สวนสนับสนุนการฝก และสวนประเมินผล การฝก ซึ่งผูเขียนไดเขารวมจัดการฝกในสวนงาน การเจรจาตอรอง การฝ ก ได จั ด ขึ้ น ในช ว ง วั น ที่ ๒๒ ส.ค.๒๖ ส.ค.๕๔ และวันที่ ๒๙ ส.ค.๕๔ สถานการณ ของการฝกแบงเปนสองสถานการณคือ สถานการณที่ ๑ ประเทศไทยมีความขัดแยงกับประเทศเพื่อนบาน ถึ ง ขั้ น ใช กํ า ลั ง ทางทหารบริ เ วณชายแดน ส ว น สถานการณ ที่ ๒ เกิ ด ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ อยางรุนแรงในประเทศ ซึ่งนักศึกษาจะฝกบริหาร สถานการณวิกฤตโดยสวมบทบาทเปนฝายอํานวยการ ทางทหารระดับสูง เปนผูบังคับบัญชาระดับสูงของ หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับความมั่นคงของชาติ หรือเปนประเทศคูกรณี เปนองคการระหวางประเทศ เปนตน

สถานการณการฝกเริ่มตนตั้งแต ๘ โมงเชา ของวันที่ ๒๒ ส.ค. ดวยการจําลองสถานการณการ ประชุ ม สภาความมั่ น คงแห ง ชาติ ขึ้ น บนเวที ใ น

ห อ งบรรยาย โดยเริ่ ม จากฝ า ยข า วกรองบรรยาย สถานการณความขัดแยง หลังจากนั้น ผบ.วทอ. ซึ่ง รับบทเปนนายกรัฐมนตรี ประธานที่ประชุมไดขอ ความเห็นที่ประชุม แลวสุดทายนายกฯ ไดสั่งการ และใหเจตนารมณ (Guidance) เพื่อจัดการกับ ปญหาที่เกิดขึ้น หนวยงานหรือกระทรวงผูรับผิดชอบ การใชพลังอํานาจของชาติดานตางๆ ก็จะนําคําสั่ง นั้น ไปปฏิ บั ติ ด ว ยหนทางที่ เ หมาะสมต อ ไป เช น ทหารเมื่อรับคําสั่งจากนายกฯวาใหเตรียมตอบโต ก็ จ ะต อ งไปวางแผนทางทหารระดั บ ยุ ท ธศาสตร และเมื่อนายกฯเห็นชอบแลว หนวยรองของทหาร ก็จะตองมีการวางแผนระดับยุทธการและยุทธวิ ธี รองรับตอไป ซึ่งในการวางแผนระดั บยุทธศาสตร ดังกลาว จะอาศัยองคความรูทั้งหมดในหลักสูตร ที่เรียนกันมาทั้งป สวนบทบาทอื่นๆ ที่มีในการฝก ก็เพื่อใหนักศึกษาไดเห็นภาพรวมของการแกปญหา ระดับชาติอยางเปนระบบ แตจุดเนนจริงๆ จะอยูที่ การวางแผนทางทหาร ดังนั้นเพื่อใหเห็นภาพอยาง สมจริง นักศึกษาบางสวนก็จะไดรับบทบาทใหเปน รัฐมนตรีกระทรวงตางๆ ในระบบความมั่นคงของ ชาติ หรือเปนประเทศคูกรณี เปนประเทศมหาอํานาจ หรือเปนองคการระหวางประเทศที่เขามาเกี่ยวของ กั บ สถานการณ ซึ่ ง แต ล ะคนก็ จ ะต อ งใช ค วามรู ที่เ รียนมา ตีบทใหแตก แลวตอบสนองออกมาวา เหตุการณควรจะดําเนินไปอยางไร จะเห็ น ได ว า การที่ จ ะให เ กมดํ า เนิ น ไปได จะตองอาศัยความรวมมือระหวางฝายจัดการฝกและ ผูรับการฝก ผูเขียนเห็นวาฝายอาจารยผูจัดการฝก นั้น ไดทุมเทแรงกายแรงใจอยางมาก ตั้งแตการ


คนควาเพื่อสอนเพิ่มเติมเพื่อใหนักศึกษามีความรู พอที่จะทําการฝกได การจัดเตรียมเอกสารประกอบ การฝก คูมือการฝก การตองเฝาติดตามสถานการณ ของเกมเพื่อสั่งการตอไป ตองอาน e-mail นับพัน e-mail ที่สวนตางๆ สื่อสารกันในระหวางการฝก

ทุกวันในชวงฝกตองเริ่มงานตั้งแต ๗ โมงครึ่ง เพื่อประชุมวา สถานการณไปถึงไหนแลว สวนไหน มีขอขัดของอะไร วันนี้จะมีภารกิจอะไรบาง มีอะไร ตองเฝาดูเปนพิเศษ จากนั้นก็แยกยายกันไปทํางาน ในสวนที่ตนรับผิดชอบ พอ ๔ โมงเย็น ก็จะตองมา ประชุมสรุปการปฏิบัติประจําวัน วามีขอขัดของอะไร พรุงนี้จะทําอะไร ซึ่งหลังจากประชุมบางสวนก็ยัง นั่งทํางานตอถึง ๖ โมงเย็น เชนอาจารยผูควบคุมการฝก จะอานรายงานของนักศึกษาที่สงมาทุกบาย ๓ โมง เพื่ อ ติ ด ตามสถานการณ แ ละตั ด สิ น ใจว า จะให นักศึกษาทําอะไรในเกมตอไป นอกจากนี้ตองตรวจแผน ที่นักศึกษาทําสงมาวาใชไดหรือไม มีความถูกตอง สมเหตุผ ลตามหลั ก วิช าหรื อเปล า หากนัก ศึ ก ษา บางกลุมยัง action นอย สวนควบคุมก็จะใสสถานการณ เพื่อใหนักศึกษา action หรือบางครั้งก็จะดูวานักศึกษา ไดริเริ่มในสวนที่ควรจะริเริ่มหรือยัง เชนสถานการณ ชวงนั้นควรมีการเจรจาตอรองกันไดแลว แตนักศึกษา ยังเฉย สวนควบคุมก็จะสั่งใหเจรจา แตถานักศึกษา

ริเริ่มการเจรจาเอง สวนควบคุมก็มีหนาที่จัดการให ไดเจรจากัน สังเกตการณ วิจารณการปฏิบัติและให คําแนะนําเพิ่ มเติ ม อาจารย ที่อยูค่ํามืดเป น พิเศษ เห็นจะเปนฝายสื่อ เพราะตองนําภาพขาวที่นักศึกษา แถลงหรื อใหสัมภาษณในตอนกลางวัน ไปตัดตอ รวมกั บเจาหนาที่ของ กร.ทอ. ซึ่งบางครั้งก็ทํากัน จนถึง ๒-๓ ทุม แตผูเ ขียนก็เห็นวาอาจารยทุกคน ทํางานดวยความสุข ทุมเทเต็มที่อยากใหทุกอยาง ออกมาดี ผูเขียนเองก็มีความสุขที่ไดทํางานนี้ แมวา จะเช า ถึ ง ค่ํ า ทุ ก วั น แต ด ว ยความรู สึ ก ว า อยากให นักศึกษาไดรับประสบการณดีๆ ก็ทําใหมีกําลังใจ โดยเฉพาะ ผบ.วทอ. ทานไดใหความสําคัญกับการ ฝกมาก ไดใหการสนับสนุนการฝกทุกอยางไมวาจะ เป น การประชุ ม เตรี ย มความพร อ มของการฝ ก การประชุ ม ที ม งานการฝ ก ทุ ก วั น ทั้ ง เช า และเย็ น การจัดหาสิ่งอํานวยความสะดวกประกอบการฝก รวมทั้งเรื่องอาหารการกิน พวกเราไดรับการเอาใจใส อยางดี ไมมีเวลาหิวกันเลย

นอกจากความประทับใจที่ไดเ ห็นทีมงาน จัดการฝกที่เขมแข็งแลว ที่ประทับใจไปกวานั้น คื อ ได เ ห็ น นั ก ศึ ก ษามี ค วามตั้ ง ใจในการฝ ก ... ดัง ที่ไดก ลาวแล ว ขา งตนวาสถานการณวิกฤตนั้น


มี ทั้ ง ความขั ด แย ง บริ เ วณชายแดนและการเกิ ด ภั ย พิ บั ติ อ ย า งรุ น แรง กลุ ม วางแผนจึ ง แบ ง เป น สองกลุ ม ตามสถานการณ ซึ่ ง ในการแบ ง กลุ ม นักศึกษา อาจารยก็ไดพยายามจัดใหไดมีโอกาส ทํ า งานในลั ก ษณะการปฏิ บั ติ ก ารร ว ม (Joint Operations) คือจะมีนักศึกษาทั้งจาก ทบ., ทร. และ ทอ.อยู ใ นกลุ ม ซึ่ ง ทั้ ง สองกลุ ม ก็ ทํ า งานกั น ไดดีมาก มีการคิดอยางเปนระบบตามกระบวนการ วางแผน (Crisis Action Planning Process) ทุกขั้นตอน นับเปนงานที่หนักเอาเรื่อง ซึ่งนอกจากผูรับบทเปน ผูวางแผนจะทํา ไดเป นอยางดีแลว ผูที่รับบทเปน ผบ.ทสส.ก็ ทํ า ได ดี เ ช น กั น คื อ กลุ ม ผู ว างแผนทั้ ง ๒ สถานการณจะตองบรรยายสรุปวิเคราะหเปรียบเทียบ หนทางปฏิบัติให ผบ.ทสส.ฟง ซึ่งหลังจากบรรยาย ผบ.ทสส.ก็สามารถมีคําถามดีๆ ที่แสดงถึงความรู ความเขาใจในงาน คือสงสัยในสิ่งที่ควรจะสงสัย ผูเขียนอยากจะบอกวาถาไมเขาใจก็ถามไมไดหรอก

นอกจากจะมีคําถามดีๆ แลวก็ยังสามารถ ใหเจตนารมณหรือนโยบายได (Guidance) ซึ่งใน ชีวิตจริงการจะทําอยางนี้ได ตองอาศัยทั้งความรู และประสบการณไมนอยเลย จึงรูสึกชื่นชมในความ ใสใจ ความเอางานเอาการของนักศึกษา และรูสึก

วางใจไดวาหากวันหนึ่งนักศึกษาเหลานี้จะเติบโต ขึ้นไปทําหนาที่เปนคณะผูบัญชาการทหาร ซึ่งเปน ที ม ที่ ป รึ ก ษารั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงกลาโหม ในเรื่องการเตรียมกําลัง การสั่งการใชกําลัง ตลอดจน รับผิดชอบในการควบคุ มอํานวยการยุทธในภาพรวม ตาม พ.ร.บ. จัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ พวกเขาก็จะทําได

นอกจากกลุมวางแผนแลว นักศึกษากลุม อื่นๆ ก็ตั้งใจไมแพกัน ผูที่ไดรับบทรัฐมนตรีวาการ กระทรวง ตางก็ตีบทแตกกระจายราวกับเปนรัฐมนตรี ตัวจริง สามารถแถลงขาวหรือใหสัมภาษณไดราว กั บ มื อ อาชี พ บางคนเป น ตั ว แทนประเทศคู ก รณี ใหสัม ภาษณ เ ขา ถึง บทมาก จนนั ก ข า วชอง ๕ ซึ่ง เป น อาจารย ข องหลั ก สู ต รและได เ ข า ร ว มในส ว น


จัด การฝก ได วิ จ ารณก ารปฏิบั ติข องนั ก ศึ ก ษาว า ใหสัมภาษณเกงมากจนทําใหเกลียดไดเลย สวน นักศึกษาที่รับบทเปนตัวแทนประเทศหรือองคการ ในการเจรจาตอรอง หรือเจรจาทางการทูตก็ไมเบา แต ล ะคนให ค วามร ว มมื อ ที่ จ ะเล น ไปตามบท ซึ่ ง แน น อนต อ งอาศั ย การค น คว า หาข อ มู ล เป น อย างมากจึ ง จะทํ าไดดี สถานการณและบทบาท เหลานี้จะชวยใหนักศึกษาเขาใจในเรื่องผลประโยชน ของชาติไดดียิ่งขึ้น จะหาพันธมิตรและจะโดดเดี่ยว ศั ต รู กั น อย า งไร ที่ น า ชื่ น ชมอี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ก็ คื อ ฝ า ยจั ด การฝ ก ได มี ก ารสมมติ ใ ห ก ระทรวง ICT รั บ บทบาทในเรื่ อ งการสื่ อ สารเชิ ง ยุ ท ธศาสตร (Strategic Communication) ซึ่งในความเปนจริง ประเทศไทยยั งไมมี หนวยงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้ แตไดสมมติขึ้นเพื่อใหนักศึกษาเห็นภาพที่ควรจะ เป น เพราะในโลกแห ง ความเป น จริ ง หลายๆ ประเทศก็ ไ ด ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ การสื่ อ สารเชิ ง ยุท ธศาสตร เพื่ อ เป น ภาพรวมของการสื่ อ สารทํ า ความเขาใจกับประชาชนในประเทศและประชาคม โลก และนั ก ศึ ก ษาก็ ส ามารถแสดงบทบาทได ดี เช น กัน คือได ทํ า ให เห็ นภาพรวมของการสื่อ สาร ของประเทศที่มุงไปสูผลลัพธสุดทายเดียวกัน การที่ ผู เ ขี ย นรู สึ ก ว า นั ก ศึ ก ษาเห็ น คุ ณ ค า และมีความตั้งใจในการฝก เกิดจากการสังเกตของ ผูเขียน แตเมื่อสิ่งนี้ไดรับการตอกย้ําวาเปนเชนนั้น จริงๆ ก็ยิ่งประทับใจ นั่นคือการไดยินจากปากของ นั ก ศึ ก ษาเองในช ว งการทบทวนหลั ง การปฏิ บั ติ (After Action Review : AAR) วาพวกเขารูสึกอยางไร และเรียนรูอะไรจากการฝก ซึ่งการทํา AAR ไดจัดขึ้น

ในวั น สุ ด ท า ยของการฝ ก ในห อ งบรรยาย ผู เ ขี ย น ได ยิน นักศึ กษาหลายท า นกล าวถึ งสิ่งที่เ ขาเรีย นรู แล ว ก็ รู สึ ก ดี ใ จ เพราะมั น ได ส ะท อ นให เ ห็ น ถึ ง ผลสํ า เร็ จ ของการให ก ารศึ ก ษา ที่ ส ามารถทํ า ให นักศึกษาคิดเปน และตระหนักถึงความสําคัญของ การมี ค วามรู เ พื่ อ การตั ด สิ น ใจในป ญ หาสํ า คั ญ ของชาติ นอกเหนือจากความประทับใจดัง ที่กลา ว มาแลว ยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่ผูเขียนประทับใจมากๆ คือ การที่ รอง จก.กร.ทอ.ได ม าเยี่ย มชมการฝก เพื่ อ ติ ด ตามวิ ท ยาการใหม ๆ ในการใช ป ระกอบการ พิจารณากําหนดทิศทางและกระบวนการดําเนินงาน ของ ทอ.เกี่ยวกับการจัดการกับปญหาภัยพิบัติของ ชาติ ซึ่ ง เป น งานด า นหนึ่ ง ของการปฏิ บัติ ก ารทาง ทหารนอกเหนือจากสงคราม (Military Operations Other Than War :MOOTWAR) โดยไดเยี่ยมชม การฝ ก ในส ว นการวางแผนทั้ ง สองสถานการณ เปน หลัก ที่ผู เ ขี ย นประทับ ใจมากก็ เ พราะได เ ห็ น หน ว ยงานด า นวิ ช าการได รั บ ความเชื่ อ ถื อ ในการเปนแหลงอางอิง เปนที่พึ่งทางวิชาการ ใหกองทัพ


สิ่งนี้คงเปนสุดยอดปรารถนาของหนวยงาน วิชาการทั่ วไป ผู เ ขี ย นชอบเห็ น ภาพที่ วา เมื่อ ใคร ตองการความรูหรือมีขอสงสัยในศาสตรทางทหาร โดยเฉพาะระดับยุทธศาสตรแลวคิดถึง วทอ. ดังนั้น ธรรม

พัฒนาผูน าํ เนนยุทธศาสตร

เมื่ อ เห็ น วทอ. ได แ สดงความเป น แหล ง อ า งอิ ง ผู เ ขี ย นในฐานะที่ อ ยู ใ นระบบการศึ ก ษาวิ ช าชี พ ทางทหารมายี่สิบปก็อดที่จะยินดีไมได การฝกครั้งนี้แมจะมีขอขัดของบางประการ ที่จะตองปรับปรุงแกไขกันตอไป แตก็นับวาสมบูรณ ที่สุดกวาที่ผานๆ มา ไดเห็นทีมงานจัดการฝกทํางาน อยางทุมเทเพื่อใหสิ่งดีๆ กับนักศึกษา ไดเห็นนักศึกษา ที่ เ ป น อนาคตของกองทั พ อากาศตั้ ง ใจรั บ การฝ ก ที่สําคัญไดเห็นวาเมื่อคนตองการความรูทางทหาร ระดับสูงจะนึกถึง วทอ. ผูเขียนในฐานะที่ไดมีโอกาส มีสวนรวมกับการจัดการฝกครั้งนี้ จึงอดไมไดที่จะ นํามาเลาสูกันฟง......

คุณธรรมเดน ฉลาดบริหาร


¾ Boeing 737 Max ความหวังของบริษัทโบอิ้ง ¾ บริษัท BAE Systems เปิดตัว BLAST ระบบช่วยลงจอดของเฮลิคอปเตอร์

Boeing 737 Max ความหวังของบริษัทโบอิ้ง

บริษัทโบอิ้งซึ่งเปนยักษใหญในอุตสาหกรรม ผลิตเครื่ อ งบิ น ได ป ระกาศอย า งเป น ทางการที่จ ะ ผลิตเครื่องบินรุนใหมในตระกูลเครื่องบิน B737 ซึ่ง เปนการตอยอดในดานเทคโนโลยีการบินของเครื่องบิน ตระกูล B737 Next Generation (NG) โดยจัดเปน เครื่องบินในตระกูล B737 Max ซึ่งประกอบดวย B737 Max7, B737 Max8 และ B737 Max9 บริษัทโบอิ้งตองการที่จะผลิตเครื่องบินรุนนี้ ที่สามารถประหยัดเชื้อเพลิงที่ดีที่สุดและมีคาใชจาย ในดานปฏิบัติการต่ําที่สุด เมื่อเทียบกับเครื่องบิน รุ น อื่ น ๆ ในเครื่ อ งบิ น ประเภททางเดิ น เดี ย ว โดย เครื่องบินรุนนี้จะเปนเครื่องบินที่มีประสิทธิภาพและ มีความนาเชื่อถือสูงสุด และในดานการออกแบบ ภายในนั้นจะเปนแบบ Boeing Sky Interior โดยจะ ทํ า การออกแบบภายในให ผู โ ดยสารได รั บ ความ สะดวกสบายสูงสุด บริษัทโบอิ้งไดนําเสนอความไดเปรียบของ เครื่องบินรุนนี้ โดยแบงออกเปน 3 ประเด็น ประเด็ น แรกคื อ ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ของ เครื่องบินรุนนี้ โดยเครื่องบิน B737 Max สามารถ

ลดคาใชจายในการปฏิบัติการ (Operating Cost) ใหต่ํากวา 7% ของเครื่องบินประเภทเดียวกันจาก บริษัทผลิตเครื่องบินอื่นในอนาคต โดยการใชเชื้อเพลิง อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ด ว ยเครื่ อ งยนต ข อง CFM International ที่จะมีชื่อลงทายดวย -1B

ประเด็นที่สองมุงเนนในด านความนาเชื่อถื อ (Reliability) โดยจะทําใหเครื่องบินสามารถเพิ่มคา ความนาเชื่อถือในดานการบินใหมากกวา 99.7% ของเครื่องบินตระกูล B737 NG ซึ่งเครื่องบินจะ สามารถออกบินเดินทาง ภายใน 15 นาที สําหรับ ประเด็นความนาเชื่อถือนี้ บริษัทโบอิ้งไดใหขอมูล เพิ่มเติมโดยกลาวถึงหากสายการบินที่มีเครื่องบิน


B737 Max จํานวน 100 เครื่อง จะสามารถหลีกเลี่ยง ความล า ช า ของผู โ ดยสาร ได ถึ ง 68,000 คนต อ ป ซึ่งยอมจะดีกวาเครื่องบินคูแขงอื่นๆ ประเด็ น สุ ด ท า ยเป น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การ ตกแตงภายใน ซึ่งเครื่องบิน B737 Max จะเปน เครื่ อ งบิ น ที่ มี ก ารตกแต ง ภายในในยุ ค หน า แบบ Boeing Sky Interior โดยจะออกแบบการตกแตง ใหมีความรูสึกกวางขวาง ชองเก็บสิ่งของดานบน จะฝ ง อยู ใ นเพดานด า นบนและสามารถรองรั บ กระเปาสัมภาระไดมากขึ้น อีกทั้งจะใชหลอดไฟที่ สามารถให แ สงสว า งที่ ส ามารถเลื อ กสี ภ ายใน หองโดยสารได เครื่องบิน B737 Max คาดวาจะเขาใหการ บริการไดในป ค.ศ.2017 หรือ พ.ศ.2560 การออกมาของเครื่องบิน B737 MAX ครั้งนี้ ทําใหตลาดเครื่องบินลําตัวแคบดุเดือดอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากบริษัทแอรบัสไดนําเสนอ A320 Next Generation Option (NEO) มากอนหนานี้และ จะใหบริการในป ค.ศ.2015 หรือป พ.ศ.2558 โดย จุดเดนของเครื่องบิน A320 NEO นี้ คือการประหยัด การเผาผลาญเชื้อเพลิง 15% เพิ่มน้ําหนักสัมภาระ 2 ตัน และทําการบินไดไกลเพิ่มขึ้น 950 กม. อีกทั้ง ธรรม

ยังลดความดังของเสียงและที่สําคัญคือลดคาใชจาย ในการปฏิบัติการ 8% สิ่งสําคัญที่ทําใหเครื่องบิน A320 NEO มี ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น คื อ การใช เ ครื่ อ งยนต ที่ มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยเครื่องยนตที่สามารถติดตั้ง มี 2 รุนคือPratt&Whitney’s PurePower PW1100G Geared Turbofan และ CFM International’s Leap-X กอปรกับเครื่องบินนี้ใชเทคโนโลยีของการออกแบบ ปลายปกใหเปนลักษณะ Sharklets Wing Tip ที่มี ขนาดใหญขึ้น เพื่อลดแรงตานที่เกิดขึ้นขณะทําการบิน ขณะนี้โปรแกรมของ B737 MAX ของบริษัท โบอิ้งพึ่งจะเริ่มตน ซึ่งจะตองรอดูตอไปวาสามารถ จะแขงขันกับเครื่องบิน A320 NEO ของบริษัทคูแขง อยางแอรบัสไดหรือไม บทพิสูจนจากยอดสั่งซื้อจะ เป น ดั ช นี ตั ว วั ด ความสํ า เร็ จ ของบริ ษั ท ยั ก ษ ใ หญ ในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องบินทั้งสอง

บริษัท BAE Systems เปิดตัว BLAST ระบบช่วยลงจอดของเฮลิคอปเตอร์

ระหวางงานแสดงสินคา Defence and Security Equipment International (DSEi) exhibition ในลอนดอน บริษัท BAE Systems ไดนําเทคโนโลยีที่ชื่อวา Brownout Landing Aid System Technology (BLAST) ออกมาแสดง ซึ่งเปนระบบชวยลงจอดของเฮลิคอปเตอรในสภาวะที่มองไมเห็น สภาพภายนอก เปนเครื่องมือชวยที่ชวยใหนักบินเฮลิคอปเตอร สามารถมองเห็นไดในสภาวะแวดลอม ที่การมองเห็นลดลง (degraded visual environments, DVE)


บริษัท BAE Systems ไดใชเทคโนโลยีที่มีอยูที่รวบรวมมาจากภาคสนามในการพัฒนาระบบ BLAST ซึ่ ง ตอบสนองความต อ งการที่ เ ร ง ด ว นของการบิ น ปฏิ บั ติ ก ารณ ข องเครื่ อ งบิ น ป ก หมุ น ใน สภาพแวดลอมที่การมองเห็นลดลง เชนฝุนที่ฟุงกระจายในขณะลงจอด สภาพหมอกจัด หรือในสภาพ มีควันจัด สภาวะ brownout ของเฮลิคอปเตอรนั้น เกิดขึ้นเมื่อนักบินสูญเสียการมองเห็นสิ่งอางอิ ง อันเนื่องมาจากฝุนหรือทรายฟุงกระจายในขณะยกตัวขึ้นหรือขณะลงจอด ซึ่งเปนปญหาใหญในภูมิประเทศ ที่เปนทะเลทราย สภาวะ brownout เปนสาเหตุ หลั ก ที่ นํ า ไปสู ภ าวะเสี่ ย งของเฮลิ ค อปเตอร ในการบินปฏิบัติการณในทะเลทราย ระบบ BLAST นี้สามารถแกปญหานี้ได กองกําลังพันธมิตรได ดําเนินการตรวจสอบเพื่อที่จะลดอัตราอุบัติเหตุ ที่ สู ง อั น มีส าเหตุ ม าจากการมองเห็ น ที่ ต่ํ า เมื่ อ เกิดสภาพของ DVE และพบวาปญหานี้ไมสามารถ แกไขไดดวยวิธีการฝกนักบินอยางเดียว แตตอง อาศัยเทคโนโลยีดวย บริษัท BAE Systems ไดประสบความสําเร็จในการทดสอบ BLAST เมื่อเดือนเมษายน 2011 ในหวงเวลาการทดสอบเปนเวลา 2 สัปดาหที่สนามทดสอบอาวุธของกองทัพบกสหรัฐ เมือง Yuma ในรัฐ Arizona โดยทําการติดตั้งกับเฮลิคอปเตอรแบบ Bell UH-1 "Huey" ระบบไดแสดงภาพสามมิติ real time ของพื้นที่ที่จะทําการลงจอดพรอมดวยสัญลักษณขอมูลการบินอยูเหนือภาพนั้นใหนักบินไดเห็นในสภาวะ ที่เปน DVE โดยสัญลักษณการบินใหขอมูลทั้งหมดที่เกี่ยวของกับขอมูลที่สําคัญอยางยิ่งยวดตอการบิน ชวยใหนักบินสามารถตัดสินใจในดานความสูง ความเร็ว และมุมเอียงของเฮลิคอปเตอรไดงาย "ระบบนี้รวมการใชเทคโนโลยี millimetre wave (MMW) ที่ไดรับการตรวจสอบแลว เขากับ ความสามารถขั้นสูงในการระมัดระวังสถานการณ และชวยทําใหนักบินที่ปฏิบัติงานแนวหนาทําการบินได ดวยความปลอดภัย ในสภาวะการมองเห็นต่ํา เชนสภาวะฝุนคลุงเปนสีน้ําตาล สภาวะหมอกควันปกคลุม เปนสีขาว สภาวะมืด และสภาวะอากาศผันผวน ชวยใหนักบินทําภารกิจไดสําเร็จ" กลาวโดย Paul Cooke ผูอํานวยการดานพัฒนาธุรกิจ ของบริษัท BAE Systems ขณะนี้ BLAST อยูในระดับความพรอมของเทคโนโลยีในระดับ 6 (TRL 6) ซึ่งเปนระดับที่กําลัง ทดสอบอุปกรณตนแบบกับสภาวะแวดลอมที่เกี่ยวของ ดวยเหตุที่ระบบนี้มีน้ําหนักเบา มีความออนตัว ในการติดตั้ง และมีความทนทาน จึงทําใหมันสามารถติดตั้งไดกับทั้งเฮลิคอปเตอรรุนใหมและรุนเกา


Sansiri_2@yahoo.com www.facebook.com/sansiri.s ในช ว งเวลาที่ผ า นมานั บตั้ ง แตป ค.ศ.2008 ผูเขียนไดติดตามขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการโจมตี คอมพิวเตอรและเครือขายที่เกิดขึ้น (Cyberattack) หรือที่หลายคนเรียกวา “การโจมตีบนโลกไซเบอร” อาทิ การโจมตี เ ว็ บ ไซต ด ว ยอี เ มลจํา นวนมากจน เว็บไซตหยุดทํางาน (DDoS) หรือการโจมตีดวยเวิรม (Worm) ที่สามารถควบคุมและทําลายการทํางาน ของระบบคอมพิ ว เตอร ซึ่ ง การกระทํ า ดั ง กล า ว ได ส ร า งความเสี ย หายให กั บ คอมพิ ว เตอร แ ละ เครือขายของหนวยงานทางทหาร, หนวยงาน รั ฐ บาล และหน ว ยงานเอกชนในเวลาที่ ผ า นมา สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ผู เ ขี ย นได เ ห็ น และทราบ ณ เวลานี้ คื อ หลายหน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบในการรั ก ษาความ ปลอดภัยคอมพิวเตอรและเครือขาย (Cybersecurity) อาทิ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ (DoD) หรือ องคการ สนธิ สั ญ ญาป อ งกั น แอตแลนติ ก เหนื อ (NATO) ไดออกมาแสดงความคิดเห็น พรอมกับออกมารวมมือ หาหนทางและมาตรการ (Way and Mean) ในการ

น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต ตอตานและยับยั้งการโจมตีฯ ที่เกิดขึ้น เห็นไดจาก NATO ไดจัดการประชุมการรักษาความปลอดภัย คอมพิวเตอรและเครือขาย โดยมีผูแทนจากประเทศ ตางๆ ที่เปนสมาชิกเขารวมประชุมที่กรุงบรัสเซลส ประเทศเบลเยี่ ย ม เมื่ อ เดื อ น มิ . ย.ที่ ผ า นมา เพื่ อ จัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบ ในการเฝาตรวจและ ธรรม

ตอบโตการโจมตีคอมพิวเตอรและเครือขายที่เกิดขึ้น อยางเปนรูปธรรม เหมือนกับกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ที่ไดจัดตั้งหนวยบัญชาการคอมพิวเตอรและเครือขาย (US Cyber Command) เพื่อทําหนาที่ดังกลาวมา


ตั้งแตปลายป ค.ศ.2009 โดยสิ่งที่นาสนใจอยูตรงที่ อะไรเปนสาเหตุที่ทําใหหลายหนวยงานออกมารวมมือ เพื่อต อต า นการโจมตี คอมพิ ว เตอรแ ละเครื อขา ย ที่เกิดขึ้น ซึ่งในอดีตนั้นความรวมมือในลักษณะนี้ ไมเคยเกิดขึ้นมากอน โดยบทความมีมุมมองและ รายละเอียดที่นาสนใจดังนี้ โจมตีคอมพิวเตอรทางทหาร (2008) ย อ นกลั บ ไปจะเห็ น ว า คอมพิ ว เตอร แ ละ เครือข า ยของสหรั ฐฯ นั้ น ถู ก โจมตี อย า งต อเนื่อ ง เปาหมายที่ถูกโจมตีประกอบดวย คอมพิวเตอรและ เครือขายของหนวยงานรัฐบาล หนวยงานเอกชน และหนวยงานทางทหาร เห็นไดจากเหตุการณการ โจมตี ค อมพิ ว เตอร แ ละเครื อ ข า ยในป ค.ศ.2008 ดวยเวิรม agent.btz (worm) ที่มีความสามารถในการ ควบคุมคอมพิวเตอรและทําลายไฟลขอมูล ไดสราง ความเสียหายใหกับคอมพิวเตอรและเครือขายของ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ในแบบที่ไมเคยเกิดขึ้น มากอน อาทิ ทําลายระบบเครือขายบัญชาการรบ ในสวนกลางของสหรัฐฯ กระทบตอระบบคอมพิวเตอร ที่ใชบัญชาการรบในพื้นที่ของอิรักและอัฟกานิสถาน ผลทําใหกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ตองสั่งหามการใช flash drive ที่เปนตัวแพรกระจายเวิรม agent.btz บนคอมพิวเตอรและเครือขายของกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯ อยางเด็ดขาด เพื่อเปนการแกปญหาในขั้นตน เหตุการณดังกลาวทําใหผูนําทางทหารและตัวแทน ของรัฐบาลสหรัฐฯ ที่เคยนิ่งเฉยในเรื่องการโจมตี ที่ผานมา ตองออกมารวมมือและชวยกันหาหนทาง และมาตรการ ที่จะหยุดยั้งการโจมตีที่เกิดขึ้น

ตั ว แทนของกระทรวงกลาโหมสหรั ฐ ฯ ณ เวลานั้น ไดใหสัมภาษณกับหนังสือพิมพ Los Angeles Times วา “การโจมตีคอมพิวเตอรและเครือขายที่ได เกิดขึ้นในป ค.ศ.2008 นั้น ถือเปนจุดเปลี่ยนที่ มี ค วามสํ า คั ญ สํ า หรั บ การรั ก ษาความปลอดภั ย คอมพิวเตอรและเครือขายของกระทรวงกลาโหม สหรัฐฯ“ โดยผูเชี่ยวชาญดานการรักษาความปลอดภัยฯ ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ หลายคน ใหความ สนใจและลงความเห็นที่เหมือนกันในหนทางและ มาตรการขอหนึ่งที่จะหยุดยั้งการโจมตีที่เกิดขึ้นวา “กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ จะตองเพิ่มความสําคัญ โดยเนนความสามารถดานการโจมตีคอมพิวเตอร และเครือขาย (Cyberattack) ใหมีความเขมแข็ง และโดดเดนมากขึ้น เพื่อเปนการยับยั้งการโจมตีของ ฝายตรงขามที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง นอกเหนือจาก ความสามารถดา น การปอ งกัน คอมพิวเตอรและ เครือขาย (Cyberdefense) ที่กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ไดกระทํามาอยางตอเนื่อง”

ประธานาธิบดี โอบามา ขณะนั้นไดรับรายงานและ ขอเสนอแนะภาพรวมเกี่ยวกับ เหตุการณการโจมตี คอมพิ ว เตอร แ ละเครื อ ข า ยของสหรั ฐ ฯ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในวั น เขา รั บ ตํา แหน ง เมื่ อ ตน ป ค.ศ.2009 และใน


กลางป ค.ศ.2009 ประธานาธิบดี โอบามา ไดออกมา แสดงความคิดเห็นในเรื่องดังกลาววา “การโจมตี คอมพิวเตอรและเครือขายที่ปรากฏใหเราไดเห็นนั้น ถื อ เป น สิ่ ง ที่ ท า ทายในการรั ก ษาความปลอดภั ย แหงชาติ (National Security) จะเห็นวาในชวงเวลา ที่ผานมา เราไมไดเตรียมมาตรการปองกันในเรื่อง ดังกลาวใหดีเทาที่ควรจะเปน ผมในฐานะประธานาธิบดี สหรัฐฯ ใหสัญญาวาจะดูแลและใหความสําคัญกับ คอมพิ ว เตอร แ ละเครื อ ข า ยที่ ใชกันอยู ใหมีการรักษาความ ปลอดภั ย ที่ เ ข ม แข็ ง และดี ขึ้ น ตั้ ง แต นี้ ไ ปคอมพิ ว เตอร แ ละ เครื อ ข า ยของสหรั ฐ ฯ จะถู ก ดูแล ใหความสําคัญในระดับ ยุ ท ธศาสตร ช าติ (National Strategy) ดังนั้นการรักษาความ ปลอดภั ย คอมพิ ว เตอร แ ละ เครื อขายของสหรั ฐฯ จะต อง ถูกบรรจุอยูในวาระตนๆ ของ การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ” หลังจากนั้น คุณ Robert Gates รัฐมนตรี กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ไดจัดตั้งหนวยบัญชาการ คอมพิวเตอรและเครือขายสหรัฐฯ (US Cyber Command) และแตงตั้ง พล.อ.ท.Keith Alexander เป น ผู บั ญ ชาการหน ว ยบั ญ ชาการคอมพิ ว เตอร และเครือขายคนแรก มีห นา ที่ หลั ก ในการพัฒ นา ความสามารถด า นการโจมตี แ ละการป อ งกั น คอมพิ ว เตอร แ ละเครื อข า ยทางทหารของสหรัฐ ฯ หนาที่รองใหการสนับสนุนหนวยรักษาความปลอดภัย

บานเกิด (Department of Homeland Security) ซึ่งมีหนาที่ในการรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร และเครื อ ข า ยของรั ฐ บาลและเอกชน โดยหน ว ย บั ญ ชาการคอมพิ ว เตอร แ ละเครื อ ข า ยสหรั ฐ ฯ ได เ ริ่ ม ปฏิ บั ติ ง านมาตั้ ง แต ป ลายป ค.ศ.2009 ณ สํ า นั ก งานการรั ก ษาความปลอดภั ย แห ง ชาติ (National Security Agency) รัฐแมรี่แลนด ประเทศ สหรัฐอเมริกา

ในเวลาที่ผานมา พล.อ.อ.Kvin P.Chilton แห ง หน ว ยบั ญ ชาการทางยุ ท ธศาสตร ก ระทรวง กลาโหมสหรัฐฯ (US Strategic Command) แสดง ความเป น ห ว งจากกระทรวงกลาโหมสหรั ฐ ฯ ต อ เหตุ ก ารณ โ จมตี ค อมพิ ว เตอร แ ละเครื อ ข า ย ผานผูสื่อขาวเพนตากอนที่วอชิงตัน ดี. ซี. โดยกลาววา “ผมคอนขางมั่นใจและเชื่อวา เราจะถูกโจมตีในสวน ของคอมพิวเตอรและเครือขายมากขึ้น สิ่งที่ทาทายเรา ก็คือตองทําใหคอมพิวเตอรและเครือขายที่เรามีอยู


สามารถทํางานไดอยางตอเนื่องภายใตการโจมตีที่ จะเกิดขึ้น โดยรูปแบบการโจมตีคอมพิวเตอรและ เครือขายที่เราควรระวังไวในยุคนี้คือ การโจมตีแบบ Distributed Denial of Service (DDoS) เปนการ โจมตี เ ว็ บ ไซต ด ว ยอี เ มลจํ า นวนมาก เพื่ อ ทํ า ให เว็บไซตนั้นทํางานชาลงจนกระทั่งหยุดการทํางาน หรือที่เรียกวา “Botnet” และการโจมตีดวยเวิรม (worm) ที่มีความสามารถในการควบคุมคอมพิวเตอร และทํ า ลายไฟล ข อ มู ล สร า งความเสี ย หายให คอมพิวเตอรและเครือขาย

ทางทหารของสหรัฐฯ บริษัท Lockheed Martin ผูผลิตอาวุธและอากาศยานรายใหญที่สุดของโลก ก็เพิ่งออกมาเปดเผยวา ตกเปนเหยื่ออีกรายของการ เข า ทํ า ลายระบบคอมพิ ว เตอร แ ละเครื อ ข า ยในป ค.ศ.2008 เช น กั น ไม เ พี ย งแต รั ส เซี ย เท า นั้ น ที่ มี ความสามารถในการโจมตีคอมพิวเตอรและเครือขาย ของสหรัฐฯ จีนก็เปนอีกประเทศหนึ่งที่มีความสามารถ อยูในระดับแนวหนา เห็นไดจากจีนเริ่มฝกกองกําลัง ทางทหารของจีนใหมีความสามารถโจมตีคอมพิวเตอร และเครือขายมาตั้งแตป ค.ศ.2005”

จากเหตุ ก ารณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ คอมพิ ว เตอร และเครือขายของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ เมื่อป ค.ศ. 2008 นั้น ไดแสดงใหเห็นวารัสเซียในปจจุบัน มีขีด ความสามารถในการเจาะคอมพิวเตอรและ เครือขายทางทหารของสหรัฐฯ ในระดับชั้นความลับ (Classified US military networks) ซึ่งถือไดวาเปน ความสําเร็จครั้งสําคัญ ตลอดระยะเวลาที่ผานมา ของรัสเซีย ในการโจมตีคอมพิวเตอรและเครือขาย

STUXNET เวิรมอันตราย (2010) ตามรายงานเรื่อง “การรักษา ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร และเครือขายเชิงลึก” (An in-depth cybersecurity report) ที่ไดรายงาน ใหประธานาธิบดี โอบามา ทราบ ในวัน เข า รั บ ตํ า แหน ง เมื่ อ ต น ป ค.ศ.2009 โดยข อ ความตอนหนึ่ ง ได ก ล า วว า “ตอนนี้เราอยูในยุคกลางของสงคราม ขอมูลขาวสาร (Cyberwar) ซึ่งผลที่เรา ไดรับจากการถูกโจมตีคอมพิวเตอรและเครือขาย จะทําใหเราไดรับความสูญเสียทางขอมูลขาวสาร (Informational) อาทิ หนวยงานขาวกรองตางชาติ, คูแขงทางทหาร หรือคูแขงทางธุรกิจ สามารถเจาะระบบ เครือขายสหรัฐฯ ที่มีการรักษาความปลอดภัยต่ํากวา มาตรฐานและเข า ถึ ง ข อ มู ล สํ า คั ญ หรื อ ข อ มู ล ความลั บ ได อ ย า งสะดวก มากกว า ความสู ญ เสี ย ทางกายภาพ (Physical) อาทิ เครื่องกําเนิดไฟฟา


หยุดทํางาน, ประตูกั้นน้ําในเขื่อนถูกเปด หรือสัญญาณ ไฟจราจรหยุดทํางาน ซึ่งในรอบหลายปที่ผานมา ยังไมมีการโจมตีคอมพิวเตอรและเครือขายที่ทําให เกิ ด ความสู ญ เสี ย ทางกายภาพทั้ ง ที่ ห ลายๆ คน ยังคงมีความเชื่อที่เหมือนกันวา ผลของการโจมตี คอมพิวเตอรและเครือขายจะทําใหเกิดความสูญเสีย ทางกายภาพ โดยความเชื่ อ ดั ง กล า วได เ กิ ด แล ว ในโลกของไซเบอรกับการมาถึงของเวิรมอันตราย Stuxnet ที่ถูกคนพบครั้งแรกเมื่อกลางป.ค.ศ.2010 ตามขอมูลทางเทคนิคของ คุณ Stefan Tanase ทีมนักวิเคราะหและพัฒนาโปรแกรมตอตานไวรัส ของบริษัท Kaspersky (Kaspersky Great) กลาววา “เวิรมอันตราย Stuxnet นั้นมีความสามารถทําให เกิดความสูญเสียทางกายภาพ หรือสงผลกระทบ ตอโครงสรางพื้นฐานระดับชาติได” จึงเปนเหตุให หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของตองออกมารวมมือหา หนทางและมาตรการในการต อ ต า นและยั บ ยั้ ง การโจมตีฯ ที่อาจเกิดขึ้น คุณ Stefan Tanase จาก Kaspersky ได อธิบายถึงเวิรม Stuxnet เปนโปรแกรมประสงคราย ธรรม

แบบหลายคอมโพเนนต (Multi-component) คือ เปนทั้งประเภทโทรจัน (Trojan) และเวิรม (Worm) ถูกออกแบบใหโจมตีเครื่องวินโดวสที่ใชระบบ SCADA สําหรับควบคุมการทํางานในโรงงานสาธารณูปโภค พื้นฐาน อาทิ เชน โรงงานไฟฟา, โรงงานประปา และรวมทั้ ง โรงงานไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ข องอิ ห ร า น แทนที่ จ ะเป น การโจมตี ค อมพิ ว เตอร ที่ ถู ก ใช โ ดย พนักงาน เพื่อขโมยขอมูลที่เปนความลับทางการคา อาทิ การโจมตีระบบเซิรฟเวอรของ Google ดวย ปฏิบัติการ Aurora เพื่อขโมยขอมูลสวนตัวของ ผูใช (Username และ Password) ที่อยูบนเครื่อง คอมพิวเตอร ในปที่ผานมา เวิรม Stuxnet มีอํานาจ ในการโจมตีที่รุนแรงกวา โดยบริษัท Trend Micro ผู พั ฒ นาซอฟต แ วร แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ ด า นความ ปลอดภัยของคอมพิวเตอร ไดสรุปรายงาน 10 อันดับ โปรแกรมประสงค ร า ยที่ มี ก ารแพร ร ะบาดในป ค.ศ.2010 ผลปรากฏวาเวิรม Stuxnet เปนโปรแกรม ประสงค ร ายที่ ร า ยแรงที่ สุ ด ใน ป ค.ศ. 2010 เนื่องจากมีความรายแรงสูง มีการแพรระบาดอยาง กวางขวางและยาวนาน


การทํางานของเวิรมอันตราย Stuxnet นั้น ผา นแฟลชไดรฟ ที่ มี โ ค ดอั น ตราย ซึ่ ง เป น วิ ธีเ ดีย ว ที่จะแทรกซึมเขาไปในโรงงานที่มีเครือขาย ไมได เชื่อมตอกับอินเทอรเน็ต โดยพนักงานในโรงงานใช แ ฟ ล ช ไ ด ร ฟ ที่ ติ ด เ ชื้ อ โ ด ย ไ ม รู ตั ว กั บ เ ค รื่ อ ง คอมพิวเตอร หลังจากนั้นโคดอันตรายแพรกระจาย เขาไปเครือขายภายใน งานหลักคือแทรกซึมเขาไป ในระบบควบคุมของโรงงาน (PLC) การควบคุมจะ เกิ ด ขึ้ น โดยไม ไ ด รั บ การแจ ง เตื อ น เนื่ อ งจากโค ด อั น ตรายเข า ไประงั บ การทํ า งานของกลไกรั ก ษา ความปลอดภัยของระบบควบคุมในโรงงาน หลังจากที่ ควบคุมไดแลว ก็สามารถทําบางสิ่งบางอยาง อาทิ เปลี่ยนระบบระบายความรอนภายในโรงงาน หรือ แม ก ระทั่ ง ปรั บ เปลี่ ย นการทํ า งานของหุ น ยนต ในสายการผลิต เพื่อทําใหผลิตภัณฑของโรงงาน มีการถูกปรับเปลี่ยนโดยไมมีใครรู สิ่งที่นาอัศจรรย คือเวิรม Stuxnet ใชสองเทคโนโลยี (Rootkit) ที่ แตกตางกัน หนึ่งในนั้นคือควบคุม คอมพิวเตอรที่ใชในการแจงเตือน เพื่ อป องกัน ไม ให เ วิ รม Stuxnet ถู ก มองเห็ น สองใช ก ารโจมตี ชองโหวแบบ Zero Day (ชองโหว ข อ ง ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร ห รื อ ซอฟต แ วร ต า งๆ ที่ ไ ม ส ามารถ ปองกันไดอยางมีประสิทธิภาพ) มาชวยในการยกระดับของการ โจมตี คอมพิวเตอรที่ติดเชื้อแลว กลายเปนสวนหนึ่งของ Stuxnet โดยตั ว ควบคุ ม สามารถขโมย

เอกสาร, รหัสและการออกแบบ พรอมทั้งสามารถ สั่ งการให โค ดอั นตรายทํ างานด วยการควบคุ มจาก ระยะไกลได ผูเขียนเวิรม Stuxnet ไมไดออกแบบมา เพื่อขโมยขอมูล แตไดออกแบบมาเพื่อการปรับเปลี่ยน แตกอนที่จะปรับเปลี่ยน สิ่งแรกที่ตองรูคือโปรแกรม ที่เขียนไวทําอะไรไดบาง เวิรม Stuxnet นั้นสามารถ แพร ก ระจายบนระบบปฏิ บั ติ ก ารแบบ Windows จาก XP ไปถึง Windows 7 จะเห็นวาเวิรม Stuxnet นั้น ไดนําการโจมตีเปาหมายบนโลกไซเบอรไปใน ระดับใหมที่มีความซับซอนมากขึ้น ประกอบกับการ ใชเครือขาย SCADA เปนเปาหมาย ในความคิดผูที่ เกี่ยวของกับ เวิรม Stuxnet ตองมีทรัพยากรทาง เทคนิคอันยิ่งใหญ เหลานี้อาจเปนเหตุผลทีห่ ลายคน สงสั ย ว า น า จะมี ส ว นร ว มในระดั บ ชาติ (Nation State) โดยรวมเวิรม Stuxnet ทําใหการโจมตีบน โลกไซเบอร ส ามารถส ง ผลกระทบต อ โครงสร า ง พื้นฐานระดับชาติ ในแบบที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน


ª ขอคิดที่ฝากไว จะเห็นวาการโจมตีคอมพิวเตอรทางทหาร ทรัพยากร คุณ James Lewis ผูเชี่ยวชาญดาน ในป ค.ศ.2008 และการปลอยเวิรม Stuxnet เขาไป ความมั่ น คงทางคอมพิ ว เตอร แห ง ศู น ย ศึ ก ษา ทําลายระบบคอมพิวเตอรที่เกี่ยวของกับโรงไฟฟา ยุทธศาสตรระหวางประเทศ ซึ่งเปนที่ปรึกษาใหแก นิวเคลียรของอิหรานในป ค.ศ.2010 ถามองกันใหดี ที ม บริ ห ารของประธานาธิ บ ดี โอบามา กล า วว า แลว การโจมตีบนโลกไซเบอรนั้นมีความรุนแรงพอๆ “ในป จ จุ บั น นั้ น เจ า หน า ที่ ข องกระทรวงกลาโหม กับการโจมตีดวยอาวุธหรือที่ทหารมักเรียกวาเปน กําลังประเมินวา การโจมตีบนโลกไซเบอรประเภทใดที่ “การใชกําลัง” (Use of force) ซึ่งสามารถกอใหเกิด ถือเปน “การใชกําลัง” ในขณะที่นักวางแผนทางดาน สงครามได และนี่เปนวาระเรงดวนที่สหรัฐฯ พยายาม การทหารหลายรายเชื่อวา มาตรการในการตอบโต จะพั ฒ นาแนวทางในการโจมตี ศั ต รู คู อ าฆาต หรือ “เอาคืน” ดังกลาว ควรตองระบุใหชัดเจนถึง บน โลกไซเบอรอยางเปนทางการ โดยเจาหนา ที่ ความเสียหาย ความพยายามและสาเหตุของการ กระทรวงกลาโหมเชื่อวา การโจมตีทางคอมพิวเตอร โจมตีนั้นดวย” ซึ่งเปนสิ่งที่เราคงตองติดตามกัน เป นเรื่ องที่ ต องใช ความเชี่ ยวชาญอย างมากและ ตอไปวา มาตรการตอบโตการโจมตีบนโลกไซเบอร จําเปนตองไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลในดาน อยางเปนทางการนั้น จะออกมาในรูปแบบใด….. ธรรม


ปชส.รร.นอ.

วิสัยทัศน รร.นอ.

การฝ ก บิ น ถื อ เป น พื้ น ฐานสํ า คั ญ ของ นักเรียนนายเรืออากาศ ที่จะเปนวาที่นักบินในอนาคต ของกองทัพอากาศ ดังนั้นนักเรียนนายเรืออากาศ ทุกคน ที่เขารับการศึกษาจากโรงเรียนนายเรืออากาศ จะตองผานการฝกหลักสูตร การฝกบินกับอากาศยาน ขั้ น ต น ถื อ ว า เป น ครั้ ง แรกในชี วิ ต ของนั ก เรี ย น นายเรื อ อากาศทุ ก คน ที่ จ ะได สั ม ผั ส เครื่ อ งบิ น ทํ า การฝ ก บิ น และบั ง คั บ อากาศยานด ว ยตนเอง สําหรับในปนี้ นักเรียนนายเรืออากาศ ไดทําการฝกบิน กับอากาศยานขั้นตน โดยมีนักเรียนนายเรืออากาศ ชั้ น ป ที่ ๓ (นนอ.รุ น ที่ ๕๗) จํ า นวน ๗๙ คน และ นายทหารสัญญาบัตร สังกัดโรงเรียนนายเรืออากาศ จํานวน ๕ คน โดยฝกบินคนละ ๒ เทีย่ วบิน หลังจากนัน้ เมื่อไดรับการเลื่อนชั้นเปน นักเรียนนายเรืออากาศ ชั้ น ป ที่ ๔ จะฝ ก บิ น เพิ่ ม อี ก ๓ เที่ ย วบิ น รวมเป น ๕ เที่ยวบิน ถือเปนสวนหนึ่งของกระบวนการฝกอบรม ความเปนทหารอากาศอาชีพ Airmanship Programs)

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดการเรียนรู และมีทักษะ ขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับวิชาชีพการบิน เปนการปลูกฝง จิ ต สํ า นึ ก รั ก การบิ น และสร า งคุ ณ ลั ก ษณะของ ทหารอากาศอาชีพที่ดีใหกับนักเรียนนายเรืออากาศ ซึ่ ง จะทํ า การฝ ก บิ น ที่ ฝู ง บิ น ๖๐๔ ระหว า งเดื อ น เม.ย.-มิ . ย.๕๔ ทั้ ง นี้ นั ก เรี ย นนายเรื อ อากาศ เปรื่องปรัชญ นวลรัตนตระกูล นักเรียนนายเรืออากาศ ชั้นปที่ ๓ ซึ่งเปนหนึ่งในผูที่ไดรับการฝก ไดกลาวถึง ความรูสึกในชวงของการทําการฝกบิน วา .. “ความรูสึกที่ไดมาฝกบินกับเครื่องบิน CT-4A และ T-41D ที่ฝูงบิน 604 ในตอนแรก ตองยอมรับ วาผูเขียน มีความหนักใจ เพราะเปนความรูใหมที่ เป น ความรู ห ลั ก ของทหารอากาศที่ ต อ งเข า ใจ กอนการขึ้นฝกบิน ก็จะมีการเรียนความรูพื้นฐาน เช น เครื่องบิน บิน ไดอย างไร การบังคับเครื่อ งบิน การใช Flight Simulator เพื่อฝกใหคุนเคยกับการ บัง คั บ เครื่อ งบิน เป น ตน และเมื่ อ ได ม าฝ ก บิ น กั บ


ครูการบินที่ฝูงบิน ๖๐๔ ในเที่ยวแรก ผูเขียนรูสึก กังวลวาจะทําไมได และตองทบทวนเนื้อหาที่เรียนมา เพื่อที่จะไปรับฟงการบรรยายสรุปกอนบิน หรือเรียกวา การ brief นั่นเอง กอนทํ า การฝ ก บิ น ครูก ารบิน ก็ จ ะซัก ถาม ความรู และมาทบทวนการปฏิบัติวา วันนี้เราจะทํา อะไรกันบาง ทําใหลดความกังวลไปได กอนขึ้นบิน ผูเขียนรูสึกตื่นเตน ครูก็คอยบอกวาทําใจใหสบาย เมื่อ ขึ้ น ไปบิ น จริง และฝ ก บั ง คั บ เครื่ อ งบิ น ครูก็จ ะ สาธิ ต ให ดู ก อ นแล ว จึ ง ทํ า ตาม ในเที่ ย วแรกยั ง ไมคุนเคย ในเที่ยวที่สองเริ่มจับจุด และปรับตัวได เมื่ออยูบนอากาศนั้น ครูก็คอยชี้แนะทําใหเกิดความ เขาใจมากยิ่งขึ้น การบินกับเครื่องบินใหความรูสึก แตกตางกับการบินโดยใช Flight simulator อยางมาก ธรรมชาติ

ทั้ง ดา นความรูสึก ของแรงที่ ม ากระทํ า ต อรา งกาย และการตอบสนองของคั น บั ง คั บ เมื่ อ ทํ า การบิ น เสร็จแลว ก็จะมีการ brief หลังบิน เพื่อบอกขอผิดพลาด และแนวทางการแกไขโดยครูการบิน เพื่อจะไดนําไป ปรับปรุงในการฝกบินครั้งตอไป ประสบการณในการฝกบินครั้งนี้ ทําใหผูเขียน ได รั บ ความรู แ ละเข า ใจวิ ถี ชี วิ ต ของทหารอากาศ มากขึ้น สามารถนํ า ความรูที่เ รี ยนมาไปใชไดจริ ง ทําใหมีความรูสึกวาตัวเอง จะตองมีความพยายาม ที่จะใฝหาความรู เพื่อนําไปใชทําการบิน และตระหนัก วาความรูในดานการบิน เปนสิ่งที่ทหารอากาศทุกคน จะตองมี แมวาตนจะไมใชเหลานักบินก็ตาม เพื่อที่จะ ไดเห็นภาพรวม และเขาใจการทํางานของกองทัพอากาศ อยางเปนระบบตอไป”

นภานุภาพของกองทัพอากาศ เริ่มต้นที่นี่ “งามสงาสมชาติชายนายเรืออากาศ ทหารฟารักษาพระองควงศจักรี งามจับตาเปนสงาฟาดอนเมือง เกียรติศักดิ์ศรีภักดีมีมานาน

นายองอาจทะนงคงศักดิ์ศรี ทั้งชีวีมอบใหไทยเมื่อภัยพาล นามลือเลื่องการศึกษาและกลาหาญ ดวยวิญญาณเลือดเทาเฝานภา” จากวารสารนายเรืออากาศ


นวีร

.ในขาวทหารอากาศ ฉบับเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๒ ผูเขียนไดเขียนเรื่อง สมเด็จพระมหาธีรราชเจา เนื้อหาเกี่ยวกับพระปรีชาสามารถของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ดานรอยกรอง โดยยกตัวอยางบทพระราชนิพนธรอยกรองเพีย ง เล็กนอย สวนฉบับเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓ ผูเขียนเขียนเรื่อง พระผูทรงเปนปราชญใหญ เนื้อหา เกี่ยวกับพระปรีชาสามารถของพระองคดานรอยแกว โดยยกตัวอยางประกอบเพียงเล็กนอย เชนกัน ฉบับนี้ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๔ ผูเขียนไดเขียนเกี่ยวกับ การทรงเปนนักอักษรศาสตรชาตินิยมที่ทรงอนุรักษ และพั ฒ นาภาษาและวรรณคดี ไ ทย รวมทั้ ง ทรง พระราชนิพนธบทรอยแกวและรอยกรองเอง และ สงเสริมผูอื่นใหเขียนหนังสือดวย และนี่คือที่มาของ พระราชสมัญญานาม พระมหาธีรราชเจา และ ทรงเป น นั ก ปราชญ ข องโลก ตามที่ อ งค ก าร UNESCO ยกยอง แมวาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั จะเสด็ จ ไปศึ ก ษา ณ ประเทศยุ โ รป ตั้ ง แต ยั ง

ทรงพระเยาว (พระชนมายุเพียง ๑๓ พรรษา) เปน ระยะเวลานานเกือบ ๑๐ ป แตพระองคทรงโดดเดน ในสถานภาพแหงพระมหากษัตริยไทยอยางชัดเจน ดั ง ที่ ท รงอุ ทิ ศ เวลาและใส พ ระราชหฤทั ย ใน พระราชนิพนธตางๆ ซึ่งแสดงออกถึงพระราชดําริ พระราชนิยม และพระปรีชาญาณ อันสุขุมคัมภีรภาพ สะทอนใหเห็นวาทรงเปนนักชาตินิยม ดังพระราชดํารัส ณ สถานทู ต ไทยในประเทศอั ง กฤษ เนื่ อ งในงาน เลี้ ย งฉลองที่ ท รงได รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ โปรดเกล า โปรดกระหม อ ม สถาปนาให ดํ า รง พระราชอิสริยยศเปนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ความตอนหนึ่งวา “I would return to Siam more Siamese than when I left it” ซึ่ง ฯพณฯ ม.ล.ปน มาลากุล ไดถอดเปนกลอนวา

พระมหาธีรราชประกาศไว ที่อังกฤษสมัยทรงศึกษา วาเมื่อใดไดเสด็จกลับพารา จะเปนไทยยิง่ กวาเมื่อมาเรียน


พระราชปณิ ธ านนี้ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดทรงยึดมั่นมาโดยตลอด ดังจะเห็นไดจากเมื่อเสด็จกลับจากประเทศอังกฤษ แลว ก็ไดทรงพระราชนิพนธกลอนบทละครเรื่องแรกขึ้น คือเรื่อง พระนาละ ซึ่ งเปนนิทานซอนอยูในเรื่อง มหาภารตะ (เปนเรื่องเดียวกับเรื่องพระนล แตเปน เพี ย งส ว นต นของเรื่ องพระนล คือตั้งแตเ ริ่ ม เรื่ อง มาจบตอนนางทมยันตีเลือกพระนาละเปนคู และ เหลาเทวดาตางอวยชัยใหพร ตอมาภายหลัง พระองค ก็ ทรงพระราชนิ พ นธ เ รื่ อ งพระนลคํ า หลวงขึ้ น อี ก ) จากนั้นก็ทรงพระราชนิพนธเรื่องตางๆ ทั้งรอยแกว และรอยกรอง นับแลวมากกวารอยเรื่อง นอกจากจะทรงพระราชนิพนธเรื่องตางๆ แลว พระองคยังทรงเปนปราชญทางภาษา ดวยการ สงเสริมการใชภาษาไทยใหถูกตอง อนุรักษและพัฒนา ดานภาษาและวรรณคดี สงเสริมคนไทยใหแตงหนังสือ ทั้งรอยแกวและรอยกรอง ดังจะไดกลาวตอไป Ä ในเรื่องการสงเสริมการใชภาษาไทย

ใหถูกตอง เมื่อครั้งทรงดํารงพระราชอิสริยยศเปน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงดํารง ตํา แหน ง อุ ป นายกของสมาคมรั ก ษาภาษาไทย ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัวทรง พระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหตั้งขึ้น ดวย มี พ ระราชประสงค ว า จะป อ งกั น ถ อ ยคํ า ที่ ใ ช ไมถูกตองมิใหแพรหลายรวดเร็ว และเพื่อจะ แก ไ ขถ อ ยคํ า แลอั ก ษรที่ ใ ช กั น มาในที่ ผิ ด ๆ ใหถูกตอง ครั้นเมื่อเสด็จเสวยราชยแลว ก็มิไดทรง

ละเลยพระราชกรณียกิจดานนี้ เพราะทรงตระหนัก ดีวา เอกลักษณของความเปนไทยอยูที่ภาษาไทย ดังที่ไดทรงพระราชนิพนธถึงความสําคัญของภาษา ไวในเรื่อง ความเปนชาติโดยแทจริง ตอนหนึ่งวา ไม มี ข อ สงสั ย แน แ ล ว ภาษาเป น เครื่ อ ง ผูกพันมนุษยตอมนุษยแนนแฟนยิ่งกวาสิ่งอื่น และ ไม มี สิ่ ง ไรที่ ทํ า ให ค นรู สึ ก เป น พวกเดี ย วกั น ดี ห รื อ แนนอนยิ่งไปกวาพูดภาษาเดียวกัน....เพราะฉะนั้น เมื่อบุคคลใดยอมเปลี่ยนภาษาเดิมของตน นั่นแหละ จึงจะควรจัดไดวาแปลงชาติโดยแทจริง... นอกจากนี้ ไม โ ปรดที่ จ ะเห็ น คนไทยใช ภาษาไทยปะปนกับภาษาตะวันตก เพราะเห็นวา ทันสมัย นอกจากจะแตงเลนใหเปนตลกหรือจําเปน ดั ง ที่ ไ ด ท รงพระราชนิ พ นธ ไ ว ใ นกาพย เ ห เ รื อ ถึงหนังสือ ตอนหนึ่งวา อานไปไมไดเรื่อง ชักชวนเคืองเรือ่ งใหเบื่อ แตงกันแสนฝน เฝอ อยางภาษาบาน้าํ ลาย โอวาภาษาไทย ชางกระไรจวนฉิบหาย คนไทยไพลกลับกลาย เปนโซดบานาบัดสี (โซด คือ social) Ä ในเรื่องการอนุรักษและพัฒนาดาน

ภาษาและวรรณคดี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว เคยทรงพระราชดําริที่จะทรงฟนฟูการใช ภาษาไทยแบบพอขุนรามคําแหงมหาราช และแบบอักษรอริยกะของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว


(เป น อั ก ษรที่ ท รงประดิ ษ ฐ ขึ้ น ใช ใ นหมู พ ระภิ ก ษุ ธรรมยุติกนิกาย ทรงกําหนดใหวางสระไวบรรทัด เดียวกับพยัญชนะ โดยใหวางไวหลังพยัญชนะแบบ ยุโรป ซึ่งนาจะเขียนงายกวาการวางสระไวขางบนบาง ขางลางบาง ขางหนาบาง ขางหลังบาง แบบใชกันอยู จนป จจุ บั นนี้ แต ก็ มิ ได ใช กั นแพร หลาย) จึ งได ทรง ประดิษฐรูปสระแบบใหม ซึ่งทรงไดแบบอยางมาจาก รูปสระที่ใชกันในเวลานั้น และบางสวนก็นํา มาจาก รูปสระของพอขุนรามคําแหงมหาราช รูปสระอักษร อริยกะของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว และรูปสระอัก ษรขอม การที่ทรงดั ดแปลงรู ปสระ แบบใหมนี้ ก็เพื่อใหเหมาะ แก ก ารที่ จ ะเขี ย นไว บ น บ ร ร ทั ด เ ดี ย ว กั น กั บ พยั ญ ชนะและตามหลั ง พยั ญ ชนะ ทั้ ง นี้ เพราะ พระองคมี พระราชประสงค จะให ช าวไทยและชาว ตางประเทศอานหนังสือไทยไดสะดวกและงายขึ้น อยางไรก็ตาม ก็จะทรงสดับฟงความคิดเห็นของผูอื่น กอนเปนสําคัญ ในหนังสือ วิทยาจารย เลมที่ ๑๗ ตอนที่ ๑๑ วันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๖๐ ซึ่งพิมพบทพระราชนิพนธ เรื่อง วิธีใหมสําหรับใชสระและเขียนหนังสือไทย ไวนั้น ในตอนทายเรื่องไดมีประกาศของกระทรวง ธรรมการพิมพไวดวย ดังนี้ .... ด ว ยทรงพระกรุ ณาโ ปรดเ กล า ฯ พระราชทานกระแสพระราชดํ า ริ เ รื่ อ ง วิ ธี ใ หม สํ า หรั บ ใช ส ระและเขี ย นหนั ง สื อ ไทย เพื่ อ

ลงพิมพในหนังสือวิทยาจารย ใหครูอาจารยและ ผูอื่นทั่วไปที่สนใจเรื่องนี้ตรวจดู และพระราชทาน พระบรมราชวโรกาสไว ว า ผู ใ ดมี ค วามคิ ด เห็ น อยางไร ใหทูลเกลาฯ ถวายความเห็นได... ในบทพระราชนิ พ นธ ดั ง กล า วข า งต น นั้ น มีเนื้อหาอันเนื่องดวยพระราชดําริ ๓ ประการ คือ ๑. การเขียนและใชสระและพยัญชนะดวย วิธีใหม ๒. การเขียนเวนระยะคํา ๓. การใชเครื่องหมาย (แบง) วรรคตอน ดังตัวอยางการเขียนนี้

[ พระ บรม ราชาธิบาย พระ บาท สมเด็จ พระมงกุฎเกลา เจา อยู หัว วิธี ใหม สําหรับ ใช สระ และ เขียน หนังสือไทย ]

แตเมื่อไดทรงสดับความเห็นของนักปราชญ สําคัญ (อาทิ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา วชิรญาณวโรรส และสมเด็ จ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพ และผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ตามที่ เ สนาบดี ก ระทรวงธรรมการได ทู ล ถวาย พระนามและนาม) กราบบังคมทูลถวายความเห็น แล ว พระองค ก็ ไ ด ท รงใช พ ระวิ จ ารณญาณอย า ง


สุขุมคัมภีรภาพ ทรงเห็นวายังไมเปนการสมควรที่ จะประกาศใช จึงโปรดใหยุติพระราชดําริเกี่ยวกับ เรื่องการใชสระและพยัญชนะดวยวิธีใหมและเรื่อง การเขี ย นเว น ระยะคํ า เสี ย ส ว นเรื่อ งเครื่อ งหมาย วรรคตอนนั้น ไดทรงใชในบทพระราชนิพนธตาม พระราชนิยมสวนพระองค ซึ่งพระราชนิยมเรื่องการ ใช เ ครื่ อ งหมายวรรคตอนนี้ ก็ มี ผู ใ ช ต าม นั บ เป น มรดกอันล้ําคาแกประชาชนชาวไทยในปจจุบัน อนึ่ ง เหตุ ก ารณ เ กี่ ย วกั บ พระราชดํ า ริ แ ละ ความเป น ไปในเรื่ อ งนี้ แสดงให เ ห็ น ถึ ง ความเป น นักประชาธิปไตยแหงพระมหากษัตริยไทยในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชอยางเห็นไดชัด ถาเปรียบเทียบ กั บ เหตุ ก ารณ ก ารปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงการใช ตัวอักษรและการเขียนหนังสือไทยในสมัยจอมพล ป. พิ บู ล สงคราม เป น นายกรั ฐ มนตรี (พ.ศ.๒๔๘๕ ช ว งเวลาที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงการปกครองเป น ระบอบประชาธิ ป ไตย) จะเห็ น ได ว า แตกต า งกั น โดยสิ้นเชิง ถ า จ ะ ก ล า ว ถึ ง ใ น ฐ า น ะ นั ก อ นุ รั ก ษ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงเห็น ความสําคัญที่คนไทยควรจะอนุรักษภาษาไทยที่มี ลั ก ษณะและหลั ก การใช ห รื อ ไวยากรณ ที่ ดี ง าม อยูแลวเอาไว ไมควรเปลี่ยนแปลงโดยไมรอบคอบ เชน เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน ดังที่กลาวไวขางตน แลวในขอ ๓ ทั้งนี้ ดวยทรงพระวิตกวาคนไทยจะ ลื ม เลื อ น ไม เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของเครื่ อ งหมาย วรรคตอนที่ใชกันมาแตโบราณ จึงมีพระกุศโลบาย อันแยบยล โดยทรงพระราชนิพนธเคาโครงลิเกเรื่อง พระหั น อากาศ ซึ่ ง มี ตั ว ลิ เ กใช ชื่ อ เครื่ อ งหมาย

วรรคตอนต า งๆ เช น พระเอกชื่ อ พระหั น อากาศ นางเอกชื่อ วิสัญชนี พระฤาษีชื่อ โคมูตร เปนตน

นอกจากนั้น คําใดที่เคยใชไดดีและถูกตอง อยูแลว ก็ไมโปรดใหเปลี่ยนแปลง ดังคําวา หัวหิน ซึ่งบางคนในสมัยนั้นคิดวาหยาบหรือไมเหมาะสม จึงคิดจะเปลี่ยนเปนแหลมหิน ซึ่งพระองคทรงไมเห็น ดวย จึงทรงพระราชนิพนธบทความเรื่อง ทําไมจึงแหลม ลงในหนังสือดุสิตสมิต มีความสรุปไดวา ถาหัวเปน คํา หยาบ ควรใช แ หลม ตามที่ ผู มี ค วามรู ( รู ม าก) ใชแลวละก็ ตอไปในหนังสือรายวันก็จะเห็นขาววา ....อ า ยแดง นั ก เลงแหลมไม มี ชื่ อ เสี ย ง ไดไปยืนอยูที่แหลมถนน แหลมลําโพง ฉวยหมวก นายเขียว และตีแหลมนายเขียวแตก ดวยอายแดง คนนี้เปนแหลมหนาพวกจรจัด.... (เ ห ตุ การณ เรื่ อง หั วหิ น-แหลมหิ น นี้ จมื่ น อมรดรุ ณ ารั ก ษ ข า ราชการผู ใ กล ชิ ด เล า ว า “เห็นชื่อสถานีหัวหินถูกเอาสีขาวทาทับชื่อเดิม แลว เขียนใหมเปนสถานีแหลมหิน แตภายหลังจากเวลา ที่หนังสือพิมพดุสิตสมิตเขียนเรื่องหยิกแกมหยอก ลงไปแลวเชนนี้..ชื่อสถานีหัวหินก็เปนหัวหินไปอยางเดิม)


ในฐานะนั ก พั ฒ นา เรื่อ งหนึ่ง ที่ สํ า คัญคื อ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงเปน นักบัญญัติศัพทที่โดดเดน ทรงบัญญัติศัพทไดอยาง เหมาะสม และคํ า สว นใหญ ที่ ท รงบั ญญัติก็ ใชม า จนปจจุบัน เชนคําวา อินทรธนู (สมัยนั้น เขียนวา อินทรธนู) ดังมีประกาศในพระราชบัญญัติ รัชกาลที่ ๖ พุทธศักราช ๒๔๕๗ วา ป ร ะ ก า ศ ใ ห เ รี ย ก แ ผ น ท า บ บ า ย ศ เครื่องแตงตัววา อินทรธนู มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ดํารัสเหนือเกลาฯ สั่งวา “แผนทาบบายศเครื่องแตงตัว ขาราชการนั้น ตามความในพระราชกําหนดเครื่องแตงตัว ทหารบก ทหารเรือ เสือปา ตํารวจภูธร และกรมพล ตระเวณ ทั้งพระราชกําหนดเครื่องแตงตัวขาราชการ พลเรือนทั่วไป ยังมีคําเรียกตางๆ กันอยูวา บาเฉยๆ บาง บายศบาง แผนกํามะหยี่ติดบาบาง ไมเปนการ สม่ําเสมอกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหแกคํา ในพระราชกํ า หนดเหล า นั้ น ให เ รี ย กแผ น ทาบบ า ทั้ ง ฝ า ยทหารและกรมที่ อ นุ โ ลมอย า งทหารฝ า ย พลเรือนวา อินทรธนู ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป” (ในปจจุบัน อินทรธนู เขียนตามพจนานุกรม อินทรธนู แตคงอานวา อิน-ทะ-นู เชนเดิม แปลวา ธนูของพระอินทร ใชเรียกเครื่องประดับบาของตัวพระ หรือตัวยักษในโขนหรือละคร หรือเครื่องประดับบา เพื่อแสดงยศ) นอกจากนั้ น ยั ง มี ศั พ ท ที่ พ ระองค ท รง บั ญ ญั ติ อี ก หลายคํ า เช น เลขานุ ก าร(เดิ ม ใช ว า สเคตตารี่ พระองคทรงใชคําวา เลขานุการ เปน

พระนามแฝง ในหนังสือพิมพทวีปญญา) ลูกเสือ (เป น คํ า ที่ สื บ เนื่ อ งจากคํ า ว า เสื อ ป า ด ว ยทรง พระราชดําริวา ยุวชนก็ควรเปนเสือปาได แตยังอยู ในวัยเด็ก จึงเรียกวา ลูกเสือ) สภากาชาด(เดิมใชวา อุณาโลมแดง ตอมาเปลี่ยนเปนคํานี้ ใน พ.ศ.๒๔๕๗) อนุ บ าล(ใช เ มื่ อ มี พ ระราชบั ญ ญั ติ ใ ห ตั้ ง โรงเรี ย น สําหรับเด็กอายุนอย ใน พ.ศ.๒๔๖๑) มหาวิทยาลัย ปริ ญ ญา วิ ท ยาศาสตร วิ ศ วกรรมศาสตร อักษรศาสตร แพทยศาสตร (คํา ๖ คํานี้ เริ่มใช เมื่ อ ตอนที่ มี ก ารตั้ ง จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ) ที่ทําการไปรษณีย ไปรษณียากร หนังสือพิมพ บรรณาธิการ หมอไฟ(Battery) ออมสิน โทรเลข โทรศัพท เอกอัครราชทูต เปน ตน ศัพ ทเ หลา นี้ เปนที่นิยมใชติดปากมาจนปจจุบันนี้ Ä สวนในดานวรรณคดี พระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ก็มีพระปรีชาญาณ อนุรักษ และพั ฒ นารวมทั้ง ส ง เสริม ให ค นไทยแตง หนั ง สื อ โดยทั่วถึงกัน โดยสวนพระองคเอง นอกจากจะทรง พระราชนิพนธบทฉันทลักษณแบบเกาๆ แลว ยังทรง กํ า หนดโคลงขึ้ น ใหม ถึ ง ๘ แบบ คื อ สิ น ธุ ม าลี มหาสิ น ธุ ม าลี วิ ช ชุ ม าลี มหาวิ ช ชุ ม าลี จิ ต รลดา มหาจิ ต รลดา นั น ททายี และมหานั น ททายี ทั้ ง นี้ เพื่อใหกวีมีโอกาสเลือกใชคําประพันธไดหลากหลาย มากขึ้น นอกจากนี้ ยังทรงริเริ่มนําคําประพันธที่เรียกวา กลอนเปลา(Blank Verse) ของอังกฤษมาใชดวย เชน เรื่องโรเมโอและจูเลียต เปนตน ยิ่งไปกวานั้น ยังทรงสงเสริมรอยแกวรูปแบบใหมประเภทบทความ นวนิยาย เรื่องสั้น ฯลฯ อีกดวย


Ä ในเรื่ อ งการส ง เสริ ม คนไทยให

แตงหนังสือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงสนับสนุนใหมีผูแตงงานประพันธเสมอ ทรงชุบเลี้ยง และโปรดใหตามเสด็จอยูบอยๆ เชน หลวงสารประเสริฐ (ผัน สาลักษณ ตอมาคือพระศรีสุนทรโวหาร) ผูแตง เรื่องอิลราชคําฉันท ซึ่งเมื่อแตงเสร็จแลวก็ทูลเกลาฯ ถวายเพื่อทอดพระเนตร พระองคก็ทรงชวยตรวจ แกไข และทรงพระราชนิพนธตอนหนึ่งวา อนึ่ ง ข า พเจ า ขอถื อ เอาโอกาสอั น นี้ เ พื่ อ แสดงว า ถ า แม ผู ใ ดซึ่ ง ริ เ ริ่ ม จะนิ พ นธ โ คลง ฉั น ท กาพย กลอน มีความปรารถนาจะใหขาพเจาตรวจ และแนะบาง อยางที่ขาพเจาไดชวยหลวงประเสริฐ แลวนี้ ถึงแมวาจะไมไดเปนผูที่คุนเคยกับขาพเจา แล ว แต ก อ นก็ ต าม ข า พเจ า ก็ ยิ น ดี ช ว ยตรวจและ แสดงความคิดเห็นเทาที่ขาพเจาสามารถจะทําได เพื่ อ ช ว ยอนุ เ คราะห ผู ที่ มี ค วามพอใจทางจิ น ตกวี นิพนธและเพื่อประโยชนแกวิชาของไทยเรานั้นดวย บุคคลสําคัญอีกทานหนึ่งซึ่งพระบาทสมเด็จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู หั ว โปรดให รั บ ใช ใ กล ชิ ด เบื้ อ งพระยุ ค ลบาทและทรงสนั บ สนุ น ผลงานคื อ พระสารประเสริฐ(ตรี นาคะประทีป) ผูซึ่งเปนผูกลาว ขนานพระนามของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัววา สมเด็จพระมหาธีรราชเจา กอนผูอ นื่ ดวยความตระหนักในพระปรีชาสามารถของพระองค ธรรม

ทานผูนี้เปนผูแตงสมญาภิธานรามเกียรติ์ อธิบาย ถึงกําเนิดหรือที่มาของบรรดาตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ และแต ง วรรณคดี ร ว มกั บ พระยาอนุ ม านราชธน (เสฐียรโกเศศ) อีกหลายเรื่อง ดวยแรงสนับสนุนของ พระองค พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว จึงทรงเปนนักอักษรศาสตรชาตินิยม ที่มีพระมหากรุณาธิคุณดานภาษาและวรรณคดี จนเปนที่ประจักษ เลื่องลือทั่วโลก ดังที่พระราชวรวงศเธอ กรมหมื่น พิ ท ยาลงกรณ นิ พ นธ ถึ ง พระองค ไ ว ใ นเรื่ อ ง พระนลคําฉันท ความตอนหนึ่ง วา ในรัชสมัยของ พระองค “สมเด็จปรเมนทรมหาวชิราวุธ” นั้น นามเมืองก็เรืองกิติวิมล เพราะยุบลพระราชา นามราชก็เรืองกิติประภา กรเหตุประเทศเรือง นี่ คื อ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ห า ธี ร ร า ช เ จ า พระมหากษัตริยนักปราชญผูยิ่งใหญ ซึ่ง UNESCO หรื อ องค ก ารศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร แ ละวั ฒ นธรรม แหงสหประชาชาติยกยองใหเปนนักปราชญของโลก เมื่ อ ป พ.ศ.๒๕๑๕ ข า พระพุ ท ธเจ า ขอจารจารึ ก พระมหากรุณาธิคุณไวในดวงใจนิรันดร


อ.วารุณี


 Across

Ä Down

1. A structure, usually consisting of a hole in the ground, that is used as a toilet in a military camp. 7. Opposite of “girl” 9. She usually goes to church …..…. Sunday. 10. A : Do you usually go with her? B : …….., I have lots of housework to do. 11. …….. is the same meaning as; hardly, scarcely. 13. To fasten 14. A : How about the concert last night? B : It …….. or I don’t like it. 15. Let’s go to the sea, shall, ………? 16. Are you a red shirt …….. the yellow one? 17. A …….. is a very small village. 20. …….. is used to refer to an electric current that continually changes direction as it flows. 21. You will ……..….. rich, if you pay less for your clothes. 23. If you talk …….. to me, you talk openly and honestly. 26. There is too much water under my house, so I have to ……… it out. 27. A : What is the ……… today? B : It’s the first of August. 29. Time passed so quickly, so time and tide waits for no man. 30. The same as No.9 Across

1. This curry is ………. or bad taste. 2. I usually have …….. orange after dinner. 3. The same as No.36 Across 4. She does …….. want to be an instructor but she would like to be an engineer. 5. Opposite of “mom” 6. My watch is always slower so I have to ……. it many times. 7. I talk to you for an hour, Then I must say ………. for now. 8. A : Where is …….. house? B : It is near here. 11. …..…. careful anytime you walk across the street. 12. This chair is …….. so this piece of wood is fallen to the ground. 15. Opposite of “dry” 16. An ……… is a curved path in space that is followed by an object going round and round a planet, moon or star. 17. A suggestion 18. To shape 19. Family name, last name 20. James was taken to the hospital but die soon, ……… . 22. Do you have …….. freetime to teach me how to drive?


 Across

Ä Down

31. ……... jog is the best exercise. 32. The current events 34. In summer many dogs will get …….., so we must beware of them. 35. An abbreviation for “Doctor” 36. Opposite of “out” 37. The …….. of a plant is the thin upright part on which the flowers and leaves grow. 39. Right now some of Thai people try to make …….. or a period of fighting, then it stops the progress of our country, I do feel pity on Thailand so much. 41. A small flying animal that looks like a mouse with leathery wings, 42. We have 2 kids, we plan to give them our heritage …….. one a half of it. 44. Traveling by …….. is the fastest way to go. 46. Do you know who I ……….? 48. The eggs of lice 51. The ………….. we get to the 3 provinces of southern part, the more frightened we become. 54. What is the …….. – rate or the deduction of this set of sofa? 56. The same as No.31 Across 57. An abbreviation for “Russia, Russian” 58. This morning she got up late, ……. she had to fight the bus to work as fast as she could. 59. …….., she arrived her office on time.

24. A child 25. A kind of fungus which is used to make bread rise. 26. A ……… is a round roof. 28. Bread …….. butter is my favourite food. 33. Most fire engines, ambulances and police cars must have this device, ……… . 38. A word used to describe something that is above something else. 40. The same as No.2 Down 43. You will not get lost if you follow that sign, an ………. . 45. You rarely get ……… if you try to exercise every day. 46. Don’t place a piece of cake there, the ……... must come to have it. 47. Please remind …….. to take medicines there because I easily forget to do so. 49. The same as No.31 Across 50. The ball of fire in the sky that the earth goes round. 52. …….. what time will you cook dinner? 53. To make a boat moves through the water by using oars. 55. Dang …….. his nickname. (เฉลยอยูหนา ๗๘)


Water lily

ฉบับที่แล้ว เราได้รู้จัก Tinglish หรือ ภาษาอังกฤษแบบไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่พบได้บ่อยจากคนไทย ไปแล้ว ๒ ลักษณะ คือ ด้านการเลือกใช้คํา ด้านไวยากรณ์ ฉบับนี้ขอเสนอ ด้านการออกเสียง และด้านการเปลี่ยน หรือบัญญัติความหมายขึ้นเอง ค่ะ ๓. ด้านการออกเสียง (Pronunciation) เนื่องจากเสียงภาษาอังกฤษบางเสียงไม่มีอยู่ในภาษาไทย คนไทยส่วนหนึ่งจึงออกเสียงภาษาอังกฤษด้วยวิธีการดังต่อไปนี้ ๑) เน้นเสียงพยางค์ท้าย เช่น คําศัพท์และความหมาย computer (คอมพิวเตอร์) message (ข้อความ) interesting (น่าสนใจ) lemon (มะนาว)

การอ่านแบบทิงลิช /คอมพิ้วเต้อร์/ /แมสเสจ/ /อินเทอเรสติ้ง/ /เลม่อน/

การอ่านที่ถูกต้อง /เคิมพิวเทอรฺ/ /เมสสิจ/ฺ /อินเทฺรสติง/ /เลมเมิน/ฺ

๒) ละเสียงพยัญชนะควบ เช่น คําศัพท์และ ความหมาย guava (ฝรั่ง) ghost (ผี, วิญญาณ) language (ภาษา) three (สาม) mask (หน้ากาก)

การอ่านแบบทิงลิช

การอ่านที่ถูกต้อง

/กาว่า/ /โกทฺ/, /โกสฺ/ /แลงเก็จ/,/แลงเกวจ/ /ทรี/ /ม้าก/, /ม้าส/ /แม้ก/, /แม้ส/

/ กวาวา/ (ว นี้ ออกเสียงเหมือน ว ผสมกับ ฝ) /โกสฺทฺ/ (ออกเสียงท้ายควบ /สฺทฺ/) /แลงกวิจฺ/ /ธรี/ (ธ ออกเสียงโดยวางลิ้นระหว่างฟันบนและล่าง) /มาสฺคฺ/ (แบบอังกฤษ) (ออกเสียงท้ายควบ /สฺคฺ/) /แมสฺคฺ/ (แบบอเมริกัน) (ออกเสียงท้ายควบ /สฺคฺ/)


๓) ละพยางค์ท้าย หรือละเสียงพยัญชนะท้าย หรือ เปลี่ยนเป็นเสียงตัวสะกดในภาษาไทย เช่น คําศัพท์และความหมาย

การอ่านแบบทิงลิช

motorcycle (รถจักรยานยนต์) entrance (ทางเข้า) apple (แอปเปิล) gas (ก๊าซ, แก๊ส)

/มอเตอไซ/ /เอ็นทฺร้าน/ /แอ๊ปเปิ้น/ /ก๊าด/, /แก๊ด/

milk (นม)

/มิ้ว/

การอ่านที่ถูกต้อง /โมเทอไซเคิลฺ/ /เอ็นเทฺรินซฺ / /แอเพิลฺ/ /กาซฺ/ (แบบอังกฤษ) /แกซฺ/ (แบบอเมริกัน) /มิลฺคฺ/ (เสียงท้ายควบ /ลฺคฺ/)

๔) เพิ่มเสียงสระระหว่างพยัญชนะ เช่น คําศัพท์และความหมาย album (อัลบั้ม) school (โรงเรียน) study (เรียน) start (เริ่มต้น)

การอ่านแบบทิงลิช การอ่านที่ถูกต้อง /อัลละบั้ม/ /แอลฺเบิม/ /สะคูล/, /สะคูน/ /สกูลฺ/ (รวบเสียงเป็นพยางค์เดียว) /สะตั๊ดดี้/ /สฺตัดดี/ /สะต๊าด/, /สะตาทฺ/ /สฺตาทฺ/ (แบบอังกฤษ) /สฺตารฺทฺ/ (แบบอเมริกัน)

การออกเสียงไม่ถูกต้องอาจก่อให้เกิดปัญหาทั้งต่อการเรียนภาษาอังกฤษในระดับสูงขึ้น และในการ สื่อสารในชีวิตประจําวัน ดังตัวอย่างที่เป็นเรื่องเล่าเหล่านี้ค่ะ วันหนึ่ง ดิฉันไปเที่ยวบ้านเพื่อนฝรั่ง กับเพื่อนๆ คนไทยที่โตที่โน่น ส่วนดิฉันเพิ่งไปตอนโตแล้วค่ ะ บ้านหลังนั้นมีหมาตัวโตสีดํา ฉลาดมาก เจ้าของกับ เพื่อนๆ สั่งอะไรก็ทําได้หมด ทั้งนั่ง ทั้งนอน ทั้งกลิ้ง ทั้งวิ่งไปเก็บของ - sit down, stand up, etc. สารพัด จะแสดงโชว์ ทําแล้วทําอีกอยู่นั่นแหละ น่ารักมากๆ อยากมีสักตัว พอเจ้าของลุกไป มันก็มานัวเนียที่ดิฉัน มองหน้ า สบตา ยื น กระดิ ก หางดุ๊ ก ดิ๊ ก เหมื อ นกั บ จะบอกว่า "สั่งมาสิๆ อยากเล่นต่อ" ดิฉันคิดในใจ “ได้เล้ย ไม่เห็นจะยาก” พูดดังฟังชัดว่า "sit down" /ซิ ด ดาว/* คุ ณ หมา ยื น นิ่ ง ค่ ะ คุ ณผู้ อ่ าน เพื่ อนๆ หั วเราะกั นใหญ่ เลย คิ ดดู สิ ขนาดหมายั งไม่ เข้ าใจ accent ของดิฉัน (*หมายเหตุ การออกเสียงที่ถูกต้อง คือ /ซิทฺ ดาวนฺ/ โดยเน้นคําว่า down และมีเสียง /นฺ/ ท้ายพยางค์)


เหตุเกิด ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อหลายปีก่อน เมื่อคนไทย 3 คน เรียนภาษาอังกฤษมาคะแนน ก็ไม่ขี้เหร่ อยากมีประสบการณ์ฟังเพลงกลางสวนกับเขามั่ง จึงเดินไปซื้อตั๋วคอนเสิร์ตที่บูทแถว Piccadilly ดิฉัน : "ตั๋วบีโธเฟ่น 3 ใบค่ะ" คนขาย (ทําหน้างง): "อะไรนะคะ" ดิฉัน : "ตั๋วบีโธเฟ่น 3 ใบค่ะ" คนขาย (ยังทําหน้างงเริ่มปนรําคาญ) : "จะซื้อตั๋วอะไรนะคะ" ในที่สุด โดยพร้อมเพรียง พวกเราชี้มือไปที่โปสเตอร์โฆษณา.... คนขาย : Ohhh!...บี-โธ้-เฟน (กรุณาออกเสียงสําเนียงสุดฤทธิ์นะคะ แล้วจะได้อารมณ์มาก).. อืมมมม...เป็นเหตุการณ์ที่ทําให้เสียความมั่นใจ(หลงตัวเอง) เรื่องภาษาอังกฤษ จนเหลือศูนย์เลยค่ะ

อีกหนึ่งตัวอย่างที่เป็นเรื่องของผู้เล่นเกมทางอินเทอร์เน็ตที่พยายามใช้งานด้วยระบบสั่งงานด้วยเสียง (Voice Control) เขาปรับเปลี่ยนการตั้งค่าหลายแห่งแล้วก็ยังไม่สําเร็จสักที เขาจึงพิมพ์ข้อความลงไปเพื่อ ขอคําแนะนํา

และหลังจากได้รับคําแนะนําเกี่ยวกับเรื่องการตั้งค่า เขาพยายามต่ออีกหลายวันจนประสบความสําเร็จ ในที่สุด และพบว่าปัญหาที่แท้จริงไม่ได้อยู่ที่การตั้งค่า แต่เป็นการออกเสียงที่ไม่ถูกต้องขณะสั่งงานของเขานั่นเอง


๔. ด้านการเปลี่ยนหรือบัญญัติความหมายขึ้นเอง เป็นการเปลี่ยนความหมายจากภาษาอังกฤษเป็น ความหมายแบบไทย เช่น คําศัพท์และความหมาย fit (พอดี) These shoes fit me. 3 รองเท้าคู่นี้ขนาดพอดีสําหรับฉัน serious (จริงจัง) Don't laugh, it's a serious suggestion. 3 อย่าหัวเราะนะ นี่คือการแนะนําที่จริงจัง mob (กลุ่มคนไร้ระเบียบ เมื่อไม่พอใจ เรื่องใดเรื่องหนึ่งก็จะใช้ถ้อยคําไม่สุภาพ หรือมีพฤติกรรมที่ไม่ดี) เป็นความหมาย ในเชิงลบ Cairo mob storms and burns the offices of Al Jazeera. 3 ม็อบในเมืองไคโรโจมตีและเผาสํานักงาน ของสถานีโทรทัศน์ อัล จาซีราห์

ความหมาย แบบทิงลิช

ตัวอย่าง

คับ แน่น (ภาษาอังกฤษใช้ tight)

These shoes are tight! 3 รองเท้าคู่นี้คับ

เครียด (ภาษาอังกฤษใช้ stress)

I'm stressed out and can't stop eating. 3 ฉันรู้สึกเครียดและหยุดกินไม่ได้

การชุมนุม การประท้วง (ภาษาอังกฤษใช้ rally และ protest)

There will be a political rally outside Parliament House tomorrow. 3 หรือ There will be a political protest outside Parliament House tomorrow. 3 พรุ่งนี้จะมีการชุมนุมทางการเมืองหน้ารัฐสภา

ก่อนจากกันในฉบับนี้ ขอปิดท้ายด้วยตัวอย่างภาษาอังกฤษที่คนไทยนํามาพูด และเป็นที่เข้าใจในหมู่ คนไทย แต่ภาษาอังกฤษใช้คําที่แตกต่างออกไป คนไทยใช้ เจ้าของภาษาใช้ อินเทรนด์ (in trend) trendy หรือ fashionable เช่น ผมจะซื้อนาฬิกาดีๆ ที่ทนั สมัยให้เธอแทน เช่น a trendy haircut (ทรงผมที่ทันสมัย) I'd buy her a nice in trend watch. ± a fashionable restaurant (ร้านอาหารที่ทันสมัย) คําว่า trendy หรือ fashionableเป็นคําคุณศัพท์วางไว้หลัง verb to be เช่น It is trendy. หรือ It is fashionable. exaggerate เป็ นคํ ากิ ริยา อ่ านว่า /เอก-แซก-เจอ-เรท/ เว่อร์ (over) เช่น "He said you walked 30 miles." เช่น ยัยคนนั้นทําอะไรเว่อร์ๆ เขาบอกว่าคุณเดินตั้ง 30 ไมล์ She is over. ± "No - he's exaggerating. It was only about 15." ไม่หรอก เขาพูดเว่อร์ (เกินจริง) มันก็แค่ 15 ไมล์เอง overact หมายถึงการแสดงออกเกินปกติ เช่น You're overacting. เธอทําเว่อร์เกิน (แสดงอารมณ์เกินจริง)


คนไทยใช้ หนัง soundtrack เช่น ฉันอยากดูหนัง soundtrack I want to watch a soundtrack film. ±

เจ้าของภาษาใช้ I want to watch an English film. "soundtrack" หมายถึง ดนตรีที่อยู่ในภาพยนตร์ "dub" คือพากย์เสียงจากต้นแบบในภาพยนตร์หรือ รายการโทรทัศน์ไปเป็นภาษาอื่น เช่น I want to watch an English film that is dubbed into Thai. "a subtitled film" หมายถึงภาพยนตร์ที่มีคําบรรยาย ใต้ภาพ ซึ่งคําบรรยายที่อยู่ใต้ภาพ เราเรียกว่า "subtitles" (ต้องมี s ต่อท้ายเสมอ) เช่น a French film with English subtitles (ภาพยนตร์ ฝรั่งเศสที่มี คําบรรยายใต้ภาพเป็นภาษาอังกฤษ) fresher หรือ freshman เช่น He is a fresher. freshy (นักศึกษาปี 1) เช่น ดิฉันเป็นนักศึกษาปี ๑ ทีม่ หาวิทยาลัยเอบีซี หรือ He is a freshman. หรือ He is a first-year student. (เขาเป็นนักศึกษาปีหนึ่ง) I am a freshy at ABC University. ± นักศึกษาปี 2 เรียกว่า a sophomore นักศึกษาปี 3 เรียกว่า a junior นักศึกษาปี 4 เรียกว่า a senior record เป็นได้ทั้งคํานามและคํากริยา เร็คคอร์ด (อัดหรือบันทึก) เช่น ฉันจะอัดหนัง เราจะได้เก็บไว้ดูทีหลังได้ คํานาม แปลว่า แผ่นเสียงหรือสถิติ เน้นเสียงที่พยางค์แรก I'll record the film and we can all คือ /เร็ค-คอรฺด/(แบบอังกฤษ) /ริ-เคิรฺด/ (แบบอเมริกัน) เช่น watch it later. (ออกเสียง /เร็คคอร์ด/) ± He wants to buy a record. เขาต้องการซื้อแผ่นเสียง I broke my own record. ฉันทําลายสถิติของฉันเอง คํากริยา แปลว่า อัดหรือบันทึก เน้นเสียงทีพ่ ยางค์หลัง คือ /ริ-คอรฺด/ เช่น I'll record the film and we can all watch it later. ฉันจะอัดหนัง เราจะได้เก็บไว้ดูทีหลังได้ ส่วนเครื่องบันทึก เรียกว่า "recorder" อ่านว่า /ริ-คอร์-เดอร์/


คนไทยใช้ อเมริกันแชร์ (American Share) คนไทยจ่ายเท่าๆ กัน กินมากกินน้อยก็จ่าย เท่ากัน แต่ฝรั่งไม่เข้าใจ เช่น ๑๒.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน (หารกัน) 12.00 hrs. Lunch (American Share) ±

แจม (jam) เช่น เรากําลังจะออกไปกินข้าวข้างนอก เธอจะไปด้วยไหม “We are going to eat outside. Do you want to jam?” ± แบ็ค (back) เช่น เขามีแบ็คดี "He has a good back." ±

เจ้าของภาษาใช้ Go dutch ใครกินเท่าไหร่ จ่ายเท่านั้น ปกติก่อนสั่งอาหาร ฝรั่งจะบอกพนักงานเสิร์ฟว่า We would like to separate checks, please. หรือ Separate checks, please. เวลารับประทาน อาหารเสร็จก็จะได้รับบิลค่าอาหารของตัวเองที่รวมภาษี และค่าบริการแล้ว ถ้าจะจ่ายให้ทุกคนที่มาด้วยบอก พนักงานก่อนสั่งอาหารว่า This one is on me. หรือ It’s my treat. join หรือ come along with หมายถึง "ร่วมด้วย" เช่น We are going to eat outside. "Do you want to join us?", "Do you want to come with us?" หรือ "Do you want to come along?" เรากําลังจะออกไปกินข้าวข้างนอก เธอจะไปด้วยไหม back แปลว่า หลัง (อวัยวะ) "a back-up" หมายถึง คนหรือสิ่งของที่ช่วยสนับสนุน ช่วยเหลือ เกื้อกูล เป็นกําลังใจให้ (เน้นเสียง /อัพ/) เช่น He has a good back-up.

References http://topicstock.pantip.com/klaibann/topicstock/H3648923/H3648923.html http://www.pantip.com/cafe/food/topic/D8783858/D8783858.html http://en.wikipedia.org/wiki/Tinglish http://www.royin.go.th/th http://fail.in.th/2011/03/english-today/ http://fail.in.th/2010/09/another-language-fail/ http://www.komchadluek.net/detail/20101012/76024/%E0%B8%A1%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%9A.html http://www.oxfordadvancedlearnersdictionary.com/ http://dictionary.cambridge.org/


Runy สวัสดีค่ะ ท่านผู้อ่านหนังสือข่าวทหารอากาศทุกท่าน ดิฉันมาพบกับท่านผู้อ่านอีกครั้งนะคะ เป็นบทความ ที่ต่อเนื่องมาจาก Test Tip 15 เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้ฝึกฝนและทบทวนภาษาอังกฤษด้วยตนเองแล้วยังเป็นการ เตรียมความพร้อมในการเข้ารับการทดสอบภาษาอังกฤษที่ศูนย์ภาษาฯ ด้วย ท่านผู้อ่านลองเริ่มทําแบบทดสอบ ได้เลยนะคะ อ่านโจทย์และเลือกคําตอบที่คิดว่าถูกต้องจากตัวเลือก ๔ ตัวเลือกที่ให้มา 1. If he had done as he was told, he would be a free man today. a. He isn’t free. b. He listened to advice c. He was free. d. He heard about freedom. 2. The lecture is very boring. a. It is very interesting. c. It is a fine lecture.

b. It is on a subject I like. d. It is dull.

3. William takes part in all kinds of activities. a. He practices only certain types of activities. b. He participates in many types of activities. c. He enjoys keeping away from activities. d. He dislikes various kinds of activities. 4. I am studying computers. Mrs. Wilcox teaches me. a. I am taught by computers. b. I am taught by Mrs. Wilcox. c. I teach computers. d. Mrs. Wilcox is studying computers. 5. The windshield wipers are not working properly. a. They do not wipe the windshield. b. The windshield wipers do not clean the dashboard. c. They do not work the generator. d. The windshield doesn’t have wipers. เมื่อทําแบบฝึกหัดครบห้าข้อแล้ว เชิญตรวจคําตอบและอ่านคําอธิบายเพิ่มเติมได้เลยค่ะ


1. If he had done as he was told, he would be a free man today. ถ้าเขาทําตามที่บอก เขาก็จะ เป็นอิสระตอนนี้ a. He isn’t free. เขาไม่เป็นอิสระ b. He listened to advice. เขาฟังคําแนะนํา c. He was free. เขาเป็นอิสระ d. He heard about freedom. เขาได้ยินเรื่องอิสรภาพ คําตอบที่ถูกต้อง คือ ข้อ a. He isn’t free. If he had done as he was told (ถ้าเขาทําตามที่บอก) เป็น if clause แบบที่สาม แสดงถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตรงข้ามกับความเป็นจริงในอดีต ความเป็นจริง เขาไม่ได้ทําตามที่บอก he would be a free man today (เขาก็จะเป็นอิสระตอนนี้) เป็น if clause แบบที่สอง แสดงถึง เหตุการณ์ที่ตรงข้ามกับความเป็นจริงในปัจจุบัน ความเป็นจริงปัจจุบันนี้เขาไม่เป็นอิสระ คําอธิบายเพิ่มเติม เรื่อง If Clause หรือ Conditional Sentences มี ๓ โครงสร้างดังที่เคยได้อธิบาย ไปในฉบับที่แล้ว ครั้งนี้จะอธิบายเรื่องความหมายของแต่ละโครงสร้างเพิ่มเติม ดังนี้ Situation

If - Clause

Result Clause

True in the present เหตุการณ์ที่เป็นความจริง ในปัจจุบัน True in the future เหตุการณ์ที่เป็นความจริง ในอนาคต

simple present Verb 1

simple present Verb 1

simple present Verb 1

Future Simple will + verb (กริยาที่ไม่เปลี่ยนรูป)

Untrue in the present simple past Verb 2 / future เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตรงข้าม กับความจริงในปัจจุบัน

would + verb (กริยาที่ไม่เปลี่ยนรูป)

past perfect Untrue in the past เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตรงข้าม had + Verb 3 (past participle) กับความเป็นจริงในอดีต

would have + Verb 3 (past participle)

Examples If I have enough time, I watch TV every evening. ถ้าฉันมีเวลาพอ ฉันจะดูโทรทัศน์ทุกเย็น If I have enough time, I will watch TV later or tonight. ถ้าฉันมีเวลาพอ ฉันจะดูโทรทัศน์ใน ภายหลังหรือคืนนี้ (มีความเป็นไปได้ ว่าฉันจะมีเวลาพอที่จะได้ดูโทรทัศน์) If I had enough time, I would watch TV now or later on. ถ้าฉันมีเวลาพอ ฉันจะดูโทรทัศน์ใน ภายหลังหรือคืนนี้ (ความจริงแล้ว ฉันไม่มีเวลาพอ และฉันก็ไม่ได้ ดูโทรทัศน์ตอนนี้หรือในภายหลัง) If I had had enough time, I would have watched TV yesterday. ถ้าฉันมีเวลาพอ ฉันจะ ดูโทรทัศน์เมื่อวานนี้ (ความจริงแล้ว ฉันไม่มีเวลาพอ และฉันก็ไม่ได้ ดูโทรทัศน์เมื่อวานนี้)


2. The lecture is very boring. บทเรียนน่าเบื่อ a. It is very interesting. บทเรียนน่าสนใจ b. It is on a subject I like. มันเป็นเรื่องที่ฉันชอบ c. It is a fine lecture. มันเป็นบทเรียนที่ดีมาก d. It is dull. บทเรียนน่าเบื่อ คําตอบที่ถูกต้อง คือ ข้อ d. It is dull. บทเรียนน่าเบื่อ boring = dull น่าเบื่อ interesting น่าสนใจ fine = very good ดีมาก 3. William takes part in all kinds of activities. วิลเลี่ยมเข้าร่วมกิจกรรมทุกประเภท a. He practices only certain types of activities. เขาฝึกฝนเฉพาะกิจกรรมบางประเภทเท่านั้น b. He participates in many types of activities. เขาเข้าร่วมกิจกรรมหลายประเภท c. He enjoys keeping away from activities. เขาสนุกกับการไม่เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ d. He dislikes various kinds of activities. เขาไม่ชอบกิจกรรมหลากหลายประเภท คําตอบที่ถูกต้อง คือ ข้อ b. He participates in many types of activities. เขาเข้าร่วมกิจกรรม หลายประเภท take part in = participate in เข้าร่วม 4. I am studying computers. Mrs. Wilcox teaches me. ฉันกําลังเรียนคอมพิวเตอร์ คุณวิลค็อกซ์ สอนฉัน a. I am taught by computers. ฉันถูกสอนโดยคอมพิวเตอร์ b. I am taught by Mrs. Wilcox. ฉันถูกสอนโดยคุณวิลค็อกซ์ c. I teach computers. ฉันสอนคอมพิวเตอร์ d. Mrs. Wilcox is studying computers. คุณวิลค็อกซ์กาํ ลังเรียนคอมพิวเตอร์ คําตอบที่ถูกต้อง คือ ข้อ b. I am taught by Mrs. Wilcox. ฉันถูกสอนโดยคุณวิลค็อกซ์ I am taught by Mrs. Wilcox. เป็นประโยคที่ประธานเป็นผู้ถูกกระทํา เรียกว่า Passive Voice มีโครงสร้างดังนี้ ประธาน + Verb BE + Verb 3 (Past Participle) ตัวอย่างประโยค : Cheese is made from milk. ชีสทําจากนม You were invited to the wedding. Why didn’t you go? คุณได้รับเชิญไปงานแต่งงานทําไมไม่ไป


5. The windshield wipers are not working properly. ที่ปัดน้ําฝนทํางานไม่ปกติ a. They do not wipe the windshield. ที่ปัดน้ําฝนไม่ปัดกระจกหน้ารถ b. The windshield wipers do not clean the dashboard. ที่ปัดน้ําฝนไม่ทําความสะอาดบริเวณหน้าปัดรถยนต์ c. They do not work the generator. ที่ปัดน้ําฝนไม่ทําให้เครื่องกําเนิดไฟฟ้าทํางาน d. The windshield doesn’t have wipers. กระจกหน้ารถไม่มีที่ปัดน้ําฝน คําตอบที่ถูกต้อง คือ ข้อ a. They do not wipe the windshield. ที่ปัดน้ําฝนไม่ปัดกระจกหน้ารถ หลังจากที่ได้ลองทําแบบทดสอบ ตรวจคําตอบและอ่านคําอธิบายเพิ่มเติมแล้ว ท่านผู้อ่านคงจะได้รับ ความรู้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความในคอลัมน์ Test Tip จะเป็นประโยชน์ต่อข้าราชการ กองทัพอากาศ ติดตามคอลัมน์นี้ได้ในฉบับหน้านะคะ สวัสดีค่ะ

แอนฟลด สวัสดีครับ ชาวกองทัพอากาศทุกทาน ยุคนี้เปนยุคแหงขอมูลขาวสารและเทคโนโลยี เพราะฉะนั้น การเขาถึงขอมูลขาวสารตางๆ นั้น คงไมพนกับการที่จะตองใชเทคโนโลยีเขามาชวยเพื่ออํานวยความสะดวก ใหกับเรา ซึ่งขอมูลขาวสารที่ทุกทานจะขาดเสียไมได คือ “การอานหนังสือพิมพ” ดังนั้น วันนี้กระผมจึงขอ นําเสนอเว็บไซตหนังสือพิมพที่ชื่อวา ไทยรัฐ (www.thairath.co.th) เนื้อหาในเว็บไซตนี้ จะประกอบไปดวย หั ว ข อ ข า วต า งๆ ถู ก จั ด ไว เ ป น หมวดหมู แถมยั ง มี หั ว ข อ ข า วที่ น า สนใจอยู ห น า หลั ก ดวย เพื่อสะดวกในการติดตามขอมูลขาวสาร เพียงเทานี้ เราก็ไมพลาดขอมูลขาวสาร แลวนะครับ หวังวาเพื่อนๆ พี่ๆ ลองเขาไปอานดูนะครับ เพื่อในอนาคตจะไดมีการใชกระดาษนอยลง แถมยัง ประหยัดคาใชจายดวยนะครับ &&


มิสกรีน BEETLE BAILEY

ภาพ ๑ ภาพ ๒ -

เราไมเคยพบกันมากอนหรือคะนี่ ? ผมไมทราบครับ คุณชื่ออะไรรึ ? อินกริดคะ ขอผมตรวจสอบหนอยนะ

Haven’t we met before?

What’s your name?

Let me check ……..

- เปนคําถามที่ใชทักทาย เมื่อผูพูดมีความรูสึกเหมือนกับวาเคยพบผูที่ ทักทายมากอนหนานี้ อาจจะใชอีกคําถาม คือ Have we met before? (เราเคยพบกันมากอนมั้ยคะ?) - ปกติ คําถามที่ขึ้นตนดวย Question words เชน What, When, Where, Why, How ประโยคคําถามนั้นจะไมขึ้นเสียงสูงตอนทายประโยค แตอาจ ใชเสียงสูงได เพื่อใหฟงดูสุภาพขึ้น - เปนประโยคที่ใชขออนุญาตทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งแบบกันเอง (Let + pronoun + V1) Ex. Let Bill go to Kao Yai with us. (ขอใหบิลไปเที่ยวเขาใหญกับเรานะ) ถาจะใหสุภาพขึ้นอีกหนอย ก็เติมดวย will you ที่ทายประโยค Ex. Let me do the dishes, will you? (ใหฉันชวยลางจานนะคะ)


BLONDIE

ภาพ ๑ - คุกกี้ จําไวนะ เวลาลูกขับรถนะ หนูตองสังเกตอยูตลอดเวลา ภาพ ๒ - ระมัดระวังและจับตามองปญหาที่อาจเกิดขึ้นได.... ภาพ ๓ - และก็รานพิซซาใหม ใชมยั้ คะพอ ? - โดยเฉพาะอยางยิ่ง รานพิซซาที่เปดใหมนะ ! - จํา ถาจะใชเปนสํานวน (idiom) คือ to keep หรือ to bear in mind - ตอเนื่อง (happening all the time) ออกเสียงวา “คอนซเติ่นทลี”่ - ในทีน่ ี้แปลวา สังเกต (notice) - สภาพแวดลอมรอบๆ ตัว (objects, buildings, natural things etc. that are around a person) alert (adj.) - ระมัดระวังอยางเต็มที่ (to give all attention to what is happening) ใชกริยา to stay แทน to be ได to keep your eyes peeled / skinned - เปนภาษาพูด แปลวา จับตามองอยางใกลชิดและตอเนื่อง (to watch carefully and continuously) Ex. She drove along, keeping her eyes peeled for a convenience store. (เธอขับรถไปเรื่อยๆ จับตามองหารานสะดวกซื้อ) potential (adj.) - เปนไปได (possible) ถาใชเปนคํานาม potential แปลวา ศักยภาพ (natural ability or quality) to remember constantly (adv.) be aware of surroundings (n.)


หมอพัตร เมื่อเร็วๆ นี้ เปดดูโทรทัศนตอนเย็น เจอเรื่อง ของอีกาในประเทศญี่ปุน เปนเรื่องนาสนใจเลยดู จนจบ ผู เ ขี ย นเคยเขี ย นเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ อี ก าลงใน หนั ง สื อ ข า วทหารอากาศครั้ ง หนึ่ ง เมื่ อ เดื อ น พฤศจิกายน ๒๕๔๐ กวาสิบปมาแลว อีกาที่ญี่ปุน แตกตางกวาอีกาในบานเรา จึงขอนําเรื่องของอีกา ญี่ปุน มาเลาสูกัน, กอนที่จะกลาวถึงอีกาญี่ปุน ขอเลา เรื่องของอีกาที่เคยเขียนลงในครั้งกอนอยางคราวๆ เพื่อเรื่องจะไดปะติดปะตอกัน ดังนี้ อีกาเปนนกในตระกูล RAVEN มีสีดํา ตลอดตั้งแตจงอยปากจรดปลายหาง จะมีสีอื่นบาง ก็ตรงนัยนตา เปนนกที่นับเนื่องอยูในประเภทสัตว กินซาก (Predator) กินสารพัดอยางทั้งสัตวเปน สัตวตาย ไมผิดไปกวาอีแรง เศษขยะกับเมล็ดธัญพืช ก็ไมเวน โดยเฉพาะซากสัตวตายและเนา ทําหนาที่ เปนนักเก็บขยะชั้นดี อีกามีชีวิตอยูในโลกใบนี้มานานนมเนแลว หลักฐานที่เห็นงายๆ คือ อีกาปรากฏอยูในมหากาพย เรื่องรามายณะหรือรามเกียรติ์ตอนศึกกุมภกรรณ

ที่พระรามสั่งใหหนุมานและองคตไปสืบสาวราวเรื่อง และแกไขเหตุการณวาเหตุไฉนน้ําในแมน้ําซึ่งไหล มายั ง ที่ ตั้ ง ทั พ วานรของพระรามจึ ง ไม ไ หลและ แห ง เหื อ ดลงคล า ยมี อ ะไรขวางกั้ น หนุ ม านและ องคตรับบัญชาไปสืบดูก็พบวาเปนเพราะกุมภกรรณ เนรมิตร า งกายใหญ โตแล ว ลงไปนอนขวางแมน้ํ า เอาไว หนุมานและองคตจึงแกไขโดยแปลงกายเปน หมาเนาลอยน้ํามา มีอีกาเกาะกินซากเหม็นไปทั่ว จนกุมภกรรณทนไมไหวตองลุกหนี นี่เปนขอพิสูจน วาอีกามีมาตั้งแตยุครามเกียรติ์โนนแลว


อีกาเปนนกอาภัพ บริโภคของเนาและซากสัตว ชอบขโมยของชาวบาน เสียงรองก็ฟงนากลัว แถมยัง มีสีดําสนิทซึ่งเปนสีที่เปนสีไวทุกข ชาวบานจึงเกลียด เชื่อวาเปนนกผี นําโชครายมาสู ไมคอยนึกถึงวามันชวย ขจัดสิ่งสกปรก ขยะมูลฝอย รวมทั้งซากสัตว และ สัตวเล็กสัตวนอย เชน แมลงศัตรูพืชและหนูที่กิน เมล็ ด ธั ญ พื ช มั น ทํ า หน า ที่ เ ป น ทั้ ง พนั ก งานกํ า จั ด ขยะและปอเต็กตึ๊งไปพรอมกัน ทําประโยชนใหแก โลกไมใชนอยทีเดียว การที่เรียกโดยมี “อี” นําหนา แสดงวาคนเรา ไม ช อบมั น อี ที่ นํ า หน า ชื่ อ สั ต ว อ าจมี ค วามหมาย ๒ อยาง อาจหมายถึงอะไรที่นารักอยางเชน อีหนู อีเกง อีนองสาว สวนอีกความหมายหนึ่งหมายถึง ไมนารัก เชน อีแรง อีกา สวนที่ผูเขียนเรียกวาอีกา ไม ใ ช จ งเกลี ย ดจงชั ง อะไร แต เ รี ย กตามๆ เขามา เทานั้นเอง อี ก าชอบทํ า รั ง อยู บ นต น ไม ใ หญ แ ละสู ง สมั ย เมื่ อ กรุ ง เทพฯ ยั ง เป น สี เ ขี ย วและอุ ด มด ว ย

ตนไมใหญ มีอีกาอยูมาก ถึงเวลาเชาจะจับกลุมกัน บินไปหาอาหารทางทิศตะวันออก สงเสียงรองระงม ถาเจออาหารมากๆ แตสมัยนี้ชักจะหายาก เด็กบางคน จึงไมรูจักอีกา ตนไมใหญถูกโคนไปมาก ตองออกไป ตามชานเมืองจึงจะเห็นอีกาได มาคุยเรื่องอีกาในญี่ปุนดีกวา โตเกียว นครหลวงของญี่ปุน มีอีกาชุกชุมมาก โตเกียวเปนนครใหญ มีประชากรกวา ๒๔ ลานคน มีสวนสาธารณะมาก และไดรับการบํารุงรักษาอยางดี มีตนไมใหญๆ มาก หางออกไปจากกรุงโตเกียวไมมาก ยังคงเปนทองไรทองนา มีอีกาชุกชุม แตอีกจํานวนหนึ่ง ชอบยายถิ่นฐานเขากรุงมาสรางรังอยูในสวนสาธารณะ เพราะหาอาหารและเศษขยะมู ล ฝอยได ง า ยกว า ตามทองไรทองนา นอกจากนั้นในยามราตรียังเปดไฟ สวางไสวตามแหลงเริงรมย ผูคนมักงายทิ้งขยะกัน ไมเลือกที่ เปนอาหารอยางดีของอีกา รานอาหาร มัก เอาเศษอาหารใสถุ ง ดํ า ทิ้ง ไวข า งถนน อีก าจะ โฉบลงมาจิ ก ถุ ง จนขาดขยะเกลื่ อ นเต็ ม ขอบถนน มันก็เลือกกินตามสบาย อี ก าเป น นกขี้ ข โมย ที่ มั น ชอบมากอี ก อย า งหนึ่ ง คือสบูแทงที่ใชฟอกมือ ตาม โรงเรี ย นจะมี ส บู ก อ นยาวๆ สําหรับเด็กนักเรียนใชลางมือ ใส ไ ว ใ นถุ ง ตาข า ยแขวนไว ขางกอกน้ําประปา ปรากฏวา สบู เ หล า นี้ พ อเช า วั น รุ ง ขึ้ น ก็หายไป ถุงตาขายมีรอยฉีกขาด แรกๆ เขาใจวาเปนฝมือพวก


ขี้ ข โมย แต เ มื่ อ โรงเรี ย นติ ด ตั้ ง โทรทั ศ น ว งจรป ด จึงจับไดวาหัวขโมยคืออีกานั่นเอง มันมาตอนดึก ใชจงอยปากและกรงเล็บชวยกันเจาะฉีกถุงตาขาย จนขาดเปนรูโต แลวขโมยสบูเอาไปเปนอาหาร ของอี ก อย า งหนึ่ ง ที่ ต อ งระมั ด ระวั ง คื อ ไม แขวนเสื้อที่ทําดวยลวด อีกาชอบนักหนา เผลอทิ้ง ไวที่ ราวตากผาเป นถู กอี กาขโมยไป มั นเอาไปทํ า อะไรจะเลาในตอนหลัง อีกาในญี่ปุนมี ๒ ตระกูล คื อ อี ก าในเมื อ งกรุ ง และอี ก า ทองนา รูปรางหนาตาคลายกัน ผิดกันนิดหนอยตรงกะโหลก อีกา ตามทองไรท อ งนากะโหลกโต หน า ผากเล็ ก ลู ก นั ย น ต าอยู สองขางของหัว สวนอีกาในกรุง กะโหลกเล็กวานิดหนอย ขนหัวชี้ โดเด แบบทรงผมหนุมชาวกรุง สมัยนี้ หนาผากแบนเรียบ นัยนตาทั้งสองขางอยู คอนมาดานหนา สันนิษฐานวาเพื่อชวยใหมันเห็นภาพ เปน ๓ มิติ ช วยให โฉบเหยื่ อไดแมน ขึ้น สว นอี ก า ตามท อ งไร ท อ งนานั ย น ต าอยู ส องข า งกะโหลก ชวยใหมองภาพในวงกวางไดดี เหมาะในการหา อาหารตามทองไรทองนา นี่เปนความเขาใจสวนตัว อยาเอาไปใชอางอิงนะครับ อีกาในโตเกียวจะเกี้ยวพาราศีและจับคูกัน ตอนตนฤดูใบไมผลิ เปนชวงเวลาอากาศเริ่มอุนขึ้น ตนไมเริ่มผลิใบออกดอก ดอกซากุระเริ่มบาน อีกา เมื่อจับคูกันแลวก็จะครองคูกันไปจนตาย เปนนก ผัวเดียวเมียเดียว นกที่ครองคูกันไปชั่วชีวิต นอกจาก

อีกายังมีอีกหลายชนิด เชน นกกะเรียน นกเปดน้ํา อวนเอีย เปนตน เมื่ อ จั บ คู กั น ได แ ล ว อี ก าจะเริ่ ม ทํ า รั ง เพื่ อ วางไข ที่ซึ่งมันเลือกทํารังเปนตนไมใหญ มันทํารังที่ ระดั บ สู ง ที่ ศั ต รู ขึ้ น ไปรบกวนยาก ศั ต รู ตั ว ร า ยคื อ แมว เหยี่ยว และนกเคาแมว ที่ชอบมาขโมยไขและ ตัวออนไปกิน อีกาทํารังโดยใชกิ่งไมมาสานกัน กิ่งไม

เหล า นี้ ส ว นมากตั ว ผู ห าและเอามาให ตัว เมี ย เป น ของขวัญในการทํารัง ตัวผูตัวไหนหากิ่งไมเกงก็หาคู ไดเ ร็ว แตกิ่งไมอยางเดี ยวก็ใชทํ า รั งไดไม แข็งแรง ตองหาสิ่งอื่นมาชวย สิ่งนั้นคือไมแขวนเสื้อ ไปขโมย จากราวตากผาของชาวเมืองแลวก็เอามาสานทําให รังแข็งแรง ต นไม ที่ อี กาชอบเป นต นไม ใหญ ๆ ในสวน สาธารณะที่ มี อ ยู ม ากมายในกรุ ง โตเกี ย ว ต น ไม เหล า นี้ มั ก อยู ต ามขอบสวน เมื่ อ อี ก าทํ า รั ง แล ว ก็ วางไขครั้งละหลายฟอง แลวชวยกันกกไขจนกระทั่ง ไขฟกออกเปนตัว ซึ่งกินเวลาหลายสัปดาห คราวนี้ มันก็ตองชวยกันอภิบาลและหาอาหารมาเลี้ยงจนกวา


ลูกนกจะโต หัดบิน จนหาอาหารเลี้ยงตัวเองได ซึ่งก็ กินเวลาหลายเดือน ในระยะเวลาเลี้ยงลูก มันหวงแหนลูกและ ดุมาก อะไรผานมาใกลไมเลือกวาคนหรือสัตว มันจะ โฉบมาจิ ก ตี ขั บ ไล กล า วแล ว ว า รั ง ของมั น อยู บ น ต น ไม ต น ไม บ างต น อยู ใ กล ส ะพานลอยคนเดิ น ผู ค นที่ เ ดิ น ขึ้ น สะพานลอยหรื อ ไปใกล ต น ไม ที่ มี รังอีกา จึงอาจถูกอีกาลูกออนบินโจมตีเอาได อีกาเลี้ยงลูกอยูนานจนลูกมันโตพอเลี้ยง ตัวเองไดจึงจะจากไป แตมันก็ยังกลับมาเยี่ยมเยือน พอแมมันบอยๆ มีความกตัญูรักพวกพองผิดกวา สัตวอื่นอีกหลายชนิด มันเปนสัตวสังคมครับ ขอแถมเรื่องนารูเกี่ยวกับอีกาอีกนิดหนอย วากันวาอีกามีภาษาสําหรับใชในพวกมันดวย

ดร.ซิ น ดี้ ซิ ม ส แห ง มหาวิ ท ยาลั ย มิ ชิ แ กน สหรัฐอเมริกา ศึกษาความหมายจากเสียงรองของ อีกาในสหรัฐฯ พบวามีความหมายตางกันไปสุดแต การลากเสียง จังหวะ และหวงเสียงที่เปลง อาจมี หลายความหมาย เชน “ไปใหพนอาณาเขตของขา”, “ระวังตัว, กําลังมีผูตามฉกอาหารของเจา”, “ชวยไล ไอนักลาตัวนี้ออกไปที”, แตหากมันรองเสียงยาวๆ แปลวา “เฮเพื่อน, แกกําลังรุกล้ําเขตของขานะ” นอกนั้ น ยั ง มี เ สี ย งเบาๆ คล า ยคุ ย กั น ใน ครอบครัว เสียงคราง เสียงอืออา เสียงนกละเมอ แลเสียงลูกนกหิว ดร.ซิมส กลาววา อีกาจากถิ่นหนึ่ง เสียงอาจเหนอผิดกวาอีกาอีกถิ่นหนึ่ง แบบภาษาทองถิ่นของมนุษยเรามั้ง áá


ด ว ยปรากตว า ฝนตอนต น รึ ดู พุ ท ธสั ก ราช 2485 ตกมากทางภาคพายั พ และภาคอิ ส าน เปนเหตไหน้ํ าท วมเรื อ กสวนไรน า และบ า นเรื อ นราสดรทั้ง ภาคเหนื อ ภาคกลางและภาคอิ สาน ไนระหวางเดือนกันยายน ตุลาคม และพรึสจิกายน เปนอุทกภัยครั้งสําคันไนประวัติการนน้ําทวม ของเมืองไทย ที่ทําความเสียหายไหแกประชาชนพลเมืองเปนหยางมาก "เหตุการนน้ําทวม พ.ศ.2485" โดยกระซวงมหาดไทย ในเดื อนนี้ เมื่อ ๖๙ ป ที่ แ ล ว เกิ ดอุ ท กภั ย ครั้งใหญในประเทศไทย กรุงเทพฯ จมน้ําอยูตลอด เดือนตุลาคม ๒๔๘๕ ในหลายพื้นที่ของกรุงเทพฯ ระดับน้ําลึกพอที่ราษฎรสามารถนําเรือเขามาใชในการ สัญจรบนถนนปะปนไปกับรถยนตและรถราง และ ในบางครั้งเกิดอุบัติเหตุระหวางรถยนตกับเรือ หรือ เรือกับรถราง ฟงแลวนาขบขัน แตคงเปนที่นาปวดเศียร เวียนเกลาอยูไมนอยสําหรับผูมีหนาที่ชําระคดี

น้ําทวมครั้งนี้กินบริเวณกวางขวาง ทหารอากาศ ที่ “ดอนเมือง” ซึ่งเปนพื้นที่สูงกวากรุงเทพฯ ก็ไดรับ ผลกระทบเช น กั น สนามบิ น จมอยู ใ ต น้ํ า รวมทั้ ง เสนทางคมนาคมสายหลักที่เชื่อมตอดอนเมืองกับ กรุงเทพฯ ก็ถูกตัดขาด ทั้งทางรถไฟ และทางถนน ประชาธิ ป ต ย (เปลี่ ย นชื่ อ เป น ถนนพหลโยธิ น ในป ๒๔๙๓) ภาพที่นํามาใหชมประจําฉบับนี้คือ ภาพอาคารกองบัญชาการกองทัพอากาศหลังเกา


ซึ่ง ตั้ง อยู ท างฝ ง ตะวั น ตกของสนามบิน ดอนเมือ ง เปนภาพที่ถายในระหวางเกิดอุทกภัย จะเห็นระดับ น้ําทวมตามแนวรั้ว ที่ปจจุบันเปนแนวถนนวิภาวดี รังสิต และมีเรือแจวขนาดใหญลอยลําอาศัยรมไม อยูดานหนาของภาพ จากการที่ เ ส น ทางคมนาคมถู ก ตั ด ขาด ทหารอากาศที่ดอนเมืองตองประสบความยากลําบาก และขาดแคลนเสบียงอาหาร ประกอบกับประเทศ ไทยขณะนั้นอยูในภาวะสงครามมหาเอเซียบูรพา กําลังทางอากาศสวนใหญถูกสงขึ้นไปปฏิบัติภารกิจ ธรรม

ในพื้น ที่ภาคเหนือ จึงมี การใชเ ครื่องบิน ทิ้ง ระเบิด บรรทุ ก อาหารสดและอาหารแห ง จากภาคเหนื อ นํามาทิ้งลงตามแนวทางวิ่งสนามบินดอนเมือง ซึ่ง ปกคลุ ม ด ว ยน้ํ า และหน ว ยภาคพื้ น ก็ ใ ช เ รื อ มารั บ และนําไปแจกจายอีกตอหนึ่ง เปนการชวยบรรเทา ความเดือดรอนไดเปนอยางดี นับเปนปฏิบัติการที่ แสดงใหเห็นถึงความออนตัวของกําลังทางอากาศ ที่ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ไดอยางหลากหลาย ขอขอบคุณ พิพิธภัณฑกองทัพอากาศ ผูเอื้อเฟอภาพ

อ.วารุณี


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒)

(ตอจากฉบับที่แลว) ตามที่ผูเขียนไดเคยนําเสนอบทความเรื่องวัตถุมงคลของ บน.๔๑ วามีการสรางกันมา ๔ รุนแลวนั้น ขณะนี้ผูเขียนไดขอมูลใหมมาเพิ่มเติม หลังจากที่มีโอกาสไดไปราชการที่ บน.๔๑ ผูเขียนจึงใครขอรวบรวม และเรียบเรียงใหม ดังนี้ รุน ที่ ๑ เหรีย ญ “หลวงปูห ล า ” รุน “กฐินสามั คคี วัดป า ตึง” สรา งเมื่อป พ.ศ.๒๕๒๔ ในสมัย น.อ.ธีรศิลป คัมภีรญาณนนท (ยศในขณะนั้น) ดํารงตําแหนง ผบ.บน.๔๑ โดยสรางเปนเหรียญรูปไข ชนิดเนื้อทองแดง จํานวน ๑๐,๐๐๐ เหรียญ ซึ่งหลวงปูหลา ไดกรุณาเมตตาปลุกเสกใหตลอด ๑ ไตรมาส เหรียญดานหนาเปนรูปหลวงปูหลาครึ่งองค และมีตัวหนังสือ “หลวงปูหลา จนฺโทภาโส” สวนดานหลังมีรปู เครื่ อ งหมาย ทอ. อยู ด า นบนและมี สั ญ ลั ก ษณ บน.๔๑ อยู ด า นล า ง ตามแนวขอบเหรี ย ญด า นล า งมี ตัวหนังสือ “กฐินสามัคคีวัดปาตึง สันกําแพง เชียงใหม ๒๕๒๔”


รุ น ที่ ๒ เหรี ย ญ “หลวงปู แ หวน” สร า งเมื่ อ วั น จั น ทร ที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๗ ในสมั ย น.อ.ธีร ศิล ป คัมภีรญาณนนท (ยศในขณะนั้น ) ดํารงตําแหน ง ผบ.บน.๔๑ โดยสร างเปน เหรียญรู ป ทรงกลม ชนิดเนื้อทองแดง จํานวน ๑๐,๐๐๐ เหรียญ ซึ่งหลวงปูแหวนไดกรุณาเมตตาอธิษฐานจิตใหเปน กรณีพิเศษ เหรียญดานหนาเปนรูปหลวงปูแหวนหันขางครึ่งองค และมีตัวหนังสือ “หลวงปูแหวน สุจิณฺโณ วัดดอยแมปง จ.เชียงใหม” อีกทั้งดานบนของเหรียญบริเวณหวงเหรียญ มีตัวเลข ๙๗ สวนดานหลังมี สัญลักษณ บน.๔๑ และมีตัวหนังสือ “กองบิน ๔๑ ๑๖ ม.ค.๒๕๒๗”

รุ น ที่ ๓ “พระเจ า แข ง คม” สร า งเมื่ อ ป พ.ศ.๒๕๓๖ ในสมั ย น.อ.สมนึ ก เยี่ ย มสถาน (ยศในขณะนั้ น ) ดํ า รง ตําแหนง ผบ.บน.๔๑ โดยสรางเปน ๒ แบบ คือ ๑. พระพุทธรูปบูชา “พระเจาแขงคม” ปางมารวิชัย บริเวณฐานดานหนามีตัวหนังสือ “พระปาตาลนอย (แขงคม)” สวนที่ฐานดานหลังมีตราสัญลักษณ บน.๔๑ สรางเปนเนื้อโลหะผสม ขนาดหนาตัก ๙ นิ้ว มีดวยกัน ๒ ชนิด คือ - ชนิดปดทอง สรางจํานวน ๑๕๐ องค - ชนิดปดรมดํา สรางจํานวน ๓๐๐ องค


๒. พระกริ่ง “พระเจาแขงคม” มีดวยกัน ๓ ชนิด คือ - ชนิดเนื้อเงิน ไมทราบจํานวน - ชนิดเนื้อนวโลหะ สรางจํานวน ๓,๐๐๐ องค - ชนิดเนื้อทองแดงกะไหลทอง สรางจํานวน ๒,๐๐๐ องค

วัตถุมงคลทั้ง ๒ แบบ มีพระคณาจารยในพิธีพุทธาภิเษกที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจักกันดีของชาวเหนือ รวมปลุกเสกคือ - ครูบาไชยวงศา วัดพระบาทหวยตม อ.ลี้ จ.ลําพูน - พระอาจารยเปลี่ยน วัดอรัญวิเวก อ.แมแตง จ.เชียงใหม - พระอาจารยทอง วัดร่ําเปง อ.เมือง จ.เชียงใหม - ครูบาดวงดี วัดทาจําป อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม - ครูบาอิน วัดฟาหลั่ง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม (อานตอฉบับหนา)


อ.แมน ผู เ ขี ย น เ ป น ข า ร า ช ก า ร บํ า น า ญ ข อ ง กองทั พ อากาศ ช ว งครึ่ ง หลั ง ของชี วิ ต รั บ ราชการ ไดรับบรรจุเปนอาจารยโรงเรียนนายทหารอากาศ อาวุ โ ส หลั ง จบจาก รร.เสนาธิ ก ารทหารอากาศ รุน ๓๒ เลยเปนอาจารยอยูนานถึง ๑๗ ป จนเปน ปูโรงเรียน ไดรับสมญานามวา “อ.แมน” ตลอดมา และเหตุที่ใชชื่อเรื่องนี้วา “เข็มขัดสั้น” เพราะ เหตุการณที่เลาตอไปนี้ ผูเขียนไดประสบเหตุการณ “อยางคาดไมถึง” นั่นเอง ผูเขียนจะออกกําลังกายในบริเวณชุมชน เปรมประชากับสมาชิ กเกือบทุกวัน (บานพักของ ผู เ ขีย น) และมั ก จะไปออกกํ า ลั ง กายกั บ เพื่ อนฝู ง และกลุมลูกศิษย ณ สวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ บริ เ วณด า นทิ ศ เหนื อ ของ บก.ทอ.ในวั น อาทิ ต ย เกือบทุกสัปดาหชวงเชามืดทั้งนี้เพราะอากาศดีมาก สดชื่น มีตนไมนานาชนิด มีปลาในบึงใหญนานาชนิด แถมยังมีเสียงตามสายภายในสวนสุขภาพที่มีสาระ นารู จึงทําใหเพลิดเพลินกับธรรมชาติ และไดพบปะ พู ด คุ ย กั บ รุ น พี่ เพื่ อ นๆ และรุ น น อ งๆ ผู ค นที่ มี อุ ด มการณ เ ดี ย วกั น คื อ ชอบออกกํ า ลั ง กาย ซึ่ ง ขณะที่ออกกําลังกายเดินหรือวิ่งจึงไมรูสึกเหนื่อย

แต อ ย า งไรก็ ต ามเหตุ ก ารณ ที่ ค าดไม ถึ ง นี้ เ กิ ด ขึ้ น ในชวงตอนเชาของวันอาทิตยที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๔ เวลาเกือบ ๗.๐๐ น. หลังจากที่ผูเขียนออกกําลังกาย เดิ น บา งวิ่ง บ า งไดเ กื อบ ๔ รอบใหญ ข องทางเดิ น ในสวนสุ ข ภาพแล ว ก็ แ ยกกั บ กลุ ม ไปที่ เ ครื่ อ ง ออกกําลังกายสนามกลางแจง เพื่อโหนตัวแลวจะได เดินกลับไปที่รถเพื่อกลับบาน ผูเขียนรูสึกเมื่อยตัว อยากดัดหลัง (ภายหลังทราบจากแพทยวาจากการ x-ray พบกระดูกสันหลังงอกมาเชื่อมติดกัน ตั้งแต บริ เ วณคอมาถึ ง หน า อกจะทํ า ให มี อ าการเมื่ อ ย เมื่ อ ออกกํ า ลั ง กายมากๆ) ขณะที่ เ ดิ น ผ า นเครื่ อ ง ออกกํ า ลั ง กายสํ า หรั บ ยึ ด พื้ น มี ค วามสู ง ๓ ระดั บ พื้นลางของฐานเครื่องเลนเปนพื้นคอนกรีต จึงเขา ไปนั่งบนระดับที่สูงที่สุดประมาณ ๗๐ เซนติเมตร แล ว หงายหลั ง เพื่ อ ดั ด หลั ง ทั น ใดนั้ น “เหตุ ก ารณ เข็มขัดสั้นหรือคาดไมถึง” ก็เกิดขึ้น ผูเขียนหัวพุงลง ไปกระแทกกับพื้นคอนกรีตฐานของเครื่องออกกําลังกาย ตีลังกาแลวหงายทองไปนอนหงาย ทุกอยางเกิดขึ้น อยางรวดเร็วมาก ผูเขียนไมสามารถขยับตัวไดเลย มี อ าการมึ น งงและชาปลายมื อ ปลายเท า ทั น ที พยายามจะลุ ก ขึ้ น นั่ ง แต ไ ม ส ามารถทํ า ได ไ ม รู ว า


เรี่ยวแรงหายไปไหนหมด มีผูชายคนหนึ่งผานมา พอดีถามวา “พี่เปนอะไรไปครับ” ผูเขียนจึงตอบไปวา “หัวทิ่มโหมงโลกและตีลังกา อยากลุกนั่งจังเลยครับ” ชายคนนั้นตรงเขามาประคองเพื่อจะใหลุกนั่งตามที่ ผูเขียนขอความชวยเหลือ แตไมไหวและขณะขยับตัวมี เสี ย งกระดู ก ลั่ น ดั ง กรึ๊ บ จึ ง วางนอนลงในท า เดิ ม พร อ มกั บมี เ สี ย งใกล ๆ ของผู ห ญิ ง ถามว า “พี่ เ ป น อะไรคะ” ผูเขียนก็ตอบเชนเดียวกับตอบผูชายคนแรก เสียงเธอบอกวาใหนอนนิ่งๆ อยาขยับอะไรทั้งสิ้น ธรรม

ผู เ ขี ย นคุ น เสี ย งจึ ง หั น ไปมองหน า ผู ห ญิ ง คนนั้ น จึ ง ทราบว า เจ า ของเสี ย ง คื อ น.ท.หญิ ง ปราณี เหมือนสินธ พยาบาลของ รพ.ภูมิพลฯ ชื่อเลนวา ปก ซึ่งเดิมเคยเปนผูรวมงานดาน ปจว.กองทัพอากาศ ไปตามตางจังหวัดดวยกัน ๒ – ๓ ครั้ง และก็ยังเปน ลูกศิษยของ รร.ครูทหาร และ รร.นายทหารอากาศ อาวุ โ สด ว ย ผู ช ายคนแรกบอกว า ผมจะโทรตาม รถโรงพยาบาลเกษมราษฎรเอาไหมครับ คุ ณปก บอกวาไมตองหรอกคะ ทานเปนทหารอากาศกําลัง จะติดตอประสานรถจาก รพ.ภูมิพลฯ มารับ พรอม โทรบอกอาการและให เ จ า หน า ที่ เ ตรี ย มอุ ป กรณ เคลื่ อ นย า ยที่ ถู ก ต อ งตามวิ ธี ก ารปฐมพยาบาล

ซึ่งเปนผลดีสําหรับผูปวยในเวลาตอมา ผูเขียนมีสติ ตลอดเวลา บอกหมายเลขโทรศัพทบานและภรรยา คุ ณ ป ก ช ว ยโทรศั พ ท ต ามพร อ มกั บ มอบกระเป า สตางค โทรศัพทใหกับคุณปกไว และรอประมาณ ๑๐ นาที รถพยาบาลก็ ม าถึ ง พร อ มอุ ป กรณ แ ละ เจ า หน า ที่ ทํ า การเคลื่ อ นย า ยไปโรงพยาบาลโดย คุณปกคอยกํากับการเคลื่อนยายตลอดเวลา ณ โรงพยาบาลภู มิ พ ลฯเมื่ อ ผู เ ขี ย นไปถึ ง ห อ งอุ บั ติ เ หตุ แพทย ห ญิ ง เกษริ น ทร พุ ฒิ โ ชติ แพทยเวรประจําวันนั้นซึ่งกําลังจะออกเวรพอดี แตทาน ก็ยังอยูดูแลผูปวยเปนอยางดี ทราบภายหลังวาทาน เปนอาจารยแพทยดีเดนของ รพ.ภูมิพลฯ ปนี้ ในชวงเวลา ที่ กํ าลั งยุ งกั นอยู คุ ณป กพบกั บนายแพทย ฉั ตรชั ย ยมศรีเค็ง และเชิญทานมาชวยดูแล คุณหมอแนะนําตัว วาเปนนายแพทยแตตองขอโทษที่แตงกายไมสุภาพ เพราะวาวันนี้ไมไดอยูเวรและเปนวันหยุดดวย ที่ทานมา รพ.วันนี้เพราะมาติวหนังสือกับกลุมเพื่อนๆ ที่กําลัง จะสอบเฉพาะทาง แลวคุณหมอฉัตรชัยและเพื่อนๆ ๓- ๔ คน ทําการตรวจอาการและดําเนินการรักษา โดยซั ก ถามผู ป ว ยถึ ง ความรู สึ ก ว า บาดเจ็ บ อยู ใ น ระดั บ ใด ผู เ ขี ย นยั ง ขํ า ตั ว เองไม ห ายว า เมื่ อ หมอ เอาปลายปากกาจิ้มที่บริเวณปลายเทา ปลายนิ้วมือ แลว หมอยังถามวา “แหลมไหม” ผูเขียนก็ตอบวา แหลมครั บ ทุ ก ครั้ ง ไป กว า จะเข า ใจว า แหลมคื อ เจ็ บ มากน อ ยแค ไ หน ก็ เ สี ย เวลาไปนิ ด หน อ ย หมอเองก็ ใ จเย็ น ถามผู ป ว ยจนเข า ใจ แล ว จึ ง ส ง ผูปวยไป X–Ray กระดูกคอ (ภริยากับลูกเลาวาเห็น ผล X–Ray แลวนากลัวเพราะกระดูกคอเคลื่อน ออกจากที่ ) และเพื่ อ ความมั่ น ใจก็ ส ง ไป X–Ray


Computer พบวากระดูกสันหลังสวนคอที่ ๕ และ ๖ หั ก จากนั้ น หมอฉั ต รชั ย ก็ ตั ด สิ น ใจดํ า เนิ น การ ผาตัด เพื่อดึงกระดูกคอใหเขาที่ ดวยวิธีการเจาะที่ บริเวณเหนือหูใสนอตเขาเหนือหู ๒ ขางใหยึดกับ กะโหลกของผูปวยทั้ง ๒ ขาง เพื่อเปนฐานและใส เครื่องถวงน้ําหนักเพื่อดึงคอ น้ําหนักสุดทายคือ ๔๐ ปอนด แลวคุณหมอบอกวาจะดึงใหกระดูกคอเขาที่ จะมีเสียงดังกรึ๊บกรับและจะเจ็บหนอยไมตองตกใจ ผูเขียนสามารถรับทราบแตไมเคยรูสึกเจ็บปวดอะไร เลย เพราะชาอยูตลอดเวลาอยูแลว เสียงหมอบอก พยาบาลให ช ว ยโกนผมบริ เ วณเหนื อ หู ใ ห เ กลี้ ย ง ทั้งสองขาง “หูเหอเอาออกใหหมด” ผูเขียนสะดุง เล็กนอยยังสัพยอกกับพยาบาลวา “หนูๆ เวนใบหู สักหนอยนะครับ” เมื่อทําการดึงคอเสร็จ ก็นําผูปวย ไปหองผาตัดดึงกระดูกใหเขาที่และ X–Ray อีกครั้ง ผลคื อ กระดู ก คอเข า ที่ แขนขาเริ่ม ขยั บ ได / แล ว คุณหมอฉัตรชัยรายงานตอ ร.อ.น.พ.รหัท จารยะพันธุ แพทยเวรเพื่อติดตอ อาจารยแพทย ธนัตย วัลลีนกุล ผูเชี่ยวชาญเรื่องผาตัดกระดูกสันหลังมาทําผาตัด ยึดกระดูกให แตตองตรวจ MRI เพื่อดูตําแหนง กระดูกหักใหมั่นใจกอน คุณหมอฉัตรชัยไดติดตอไป ยั ง ศู น ย ค อมพิ ว เตอร ย า นวั ด เสมี ย นนารี โชคดี เครื่องตรวจ MRI วางพอดีรถ รพ.ภูมิพลฯ จึงนํา ผูเขียนไปยังศูนยตรวจ MRI เวลาประมาณ ๑๗.๐๐ น. ในระหวางนี้คุณหมอฉัตรชัยดําเนินการติดตอประสาน ไปยังหองผาตัด โชคดีที่หองผาตัดใหญวาง แตก็มี ปญหาวาเครื่องมือผาตัดชุดใหญไมสามารถนึ่งได ในวันหยุดราชการ เนื่องจาก โรงซักฟอกในวันหยุด Steam จะปด เมื่อกระบวนการซักผาเสร็จเรียบรอยแลว

และทางบริษัทออรโธพิเซียจะตองนําเครื่องมือผาตัด ไปนึ่งที่ รพ.บีแคร โดยผูปวยตองเสียคาใชจายเอง คุณหมอฉัตรชัยแจงไปยังลูกชาย (น.ต.กษิดิ์เดช) วา เครื่องมือผาตัดไมพรอม ถาจะตองดําเนินการผาตัด วั น นี้ จ ะต อ งเสี ย ค า ใช จ า ยในการนึ่ ง เครื่ อ งมื อ เอง และในขณะนั้นพยาบาลเวรหองผาตัด ไดประสาน ไปยังหัวหนาพยาบาลหองผาตัด ภายหลังทราบวา เปน น.ท.หญิง นพวรรณ กองสัมฤทธิ์ ซึ่งอดีตเปน ลูกศิษย รร.นอส.ฯ ของผูเขียนและเปนผูประสาน กั บ น.ท.หญิ ง จรรจริ น ทร แก ว นพรั ต น หั ว หน า โรงซั ก ฟอกและเป น อดี ต ลู ก ศิ ษ ย ข องผู เ ขี ย น เชนเดียวกัน ซึ่งพอไดรับทราบก็รีบจัดเจาหนาที่มา เปด Steam ใหดวนภายในครึ่งชั่วโมงก็สามารถนึ่ง เครื่องมือผาตัดเรียบรอย พรอมที่จะผาตัดในคืนนั้น ได ทุก อยา งจึ ง ราบรื่ น เมื่อถึ ง เวลาทุกอย า งพรอ ม หองผาตัดพรอม เครื่องมือผาตัดพรอม ทีมแพทย ประกอบดวย อาจารยแพทย ธนัตย, น.พ.ฉัตรชัย, น.พ.ณัฐวงค, น.พ.พงศธร, และ ร.อ.น.พ.รหัท เมื่อ ผูเขียนกลับมาจาก MRI จึงดําเนินการผาตัดเมื่อเวลา ๒๐.๓๐ นาฬิกา ในคืนวันที่ ๒๔ เม.ย.๕๔ จนกระทั่ง เวลา ๐๓.๓๐ นาฬิกาจึงออกจากหองผาตัด มีลูกชาย (น.ต.กษิ ดิ์ เ ดช แม น สงวน รองผู ฝู ง ขั้ น ปลาย รร.การบิ น ) เฝ า รออยู ห น า ห อ งผ า ตั ด โดยมิ ไ ด หลับนอนเลย หลังผาตัดเสร็จเรียบรอยก็เขาพักฟน อยูอาคารคุมเกลาชั้น ๕/๑ เวลาประมาณ ๐๔.๐๐ นาฬิกา ผูเขียนก็ตื่นขึ้นมา เมื่อรูสึกตัวขึ้นมาก็รูวา มีอะไรเต็มปากเต็มคอพูดไมได มีอาการอึดอัดขณะที่ พยาบาลกํ า ลั ง เตรี ย มเสี ย บสายอะไรต อ มิ อ ะไร อยูนั้น ผูเขียนสามารถยกแขนขึ้นได ลูกชายขอบคุณ


ทีมพยาบาลและเจาหนาที่ทุกคนแทนผูเขียน เพราะ หมอใส ท อ และเครื่ อ งช ว ยหายใจ ทํ า ให พู ด ไม ไ ด ทําไดแตนอนทําตาปริบๆ ลูกชายเลาวา คุณหมอ บอกว า ประมาณ ๐๖.๐๐ นาฬิ ก า พ อ จึ ง จะตื่ น (คิ ด ดู ผู เ ขี ย นแข็ ง แรงแค ไ หน) ผู เ ขี ย นประทั บ ใจ ลูกชายมากเพราะเมื่อขยับตัวลูกก็จะถามวา พอจะ เอาอะไร ตลอดเวลา ๓ คืนที่เฝาไขลูกไมไดนอนเลย อยากขอบใจลู ก ชายมากๆ ที่ เ ป น ลู ก คนเดี ย วแต ดู แ ลพอ เปน อย า งดี คุ ณ เพ็ ญ จั น ทร ภริ ย าผูเ ขี ย น ก็ ม าสั บ เปลี่ ย นเวรเฝ า ตอนกลางวั น ให ลู ก ชาย กลั บ ไปนอนตอนเช า ผู เ ขี ย นรู สึ ก รํ า คาญเครื่ อ ง ช ว ยหายใจมากอยากให คุ ณ หมอเอาออกแต มี แพทยทานหนึ่งชื่อ คุณหมอจุมพจน โสอินทร เปน เพื่อนเรียนผูฝูงพรอมกับลูกชาย แวะมาเยี่ยมและ บอกกั บ ผู เ ขี ย นให คุ ณ ลุ ง ฝ ก หายใจไว มี ค นไข หลายคนเสียชีวิตเพราะเมื่อถอดเครื่องชวยหายใจ ออก จะเสีย ชีวิตเพราะหายใจไม เ ปน ผูเ ขียนเลย นอนไม ห ลั บ ทั้ ง คื น เพราะมั ว แต ห ายใจ ถ า หลั บ เมื่อไหรเครื่องชวยหายใจจะมีเสียงดังติ๊งๆ ก็ตองตื่น ขึ้ น มาหายใจแรงและยาวเครื่ อ งช ว ยหายใจจึ ง จะเงี ย บ เกรงว า “จะตายง า ยไป เลยตื่ น หายใจ ตลอดเวลา” จนวันอังคารที่ ๒๖ เม.ย.๕๔ แพทย ไดนําเครื่องชวยหายใจออกและใหออกซิเจนไวให หายใจเองผานทอชวยหายใจ “เฮอ โลงอก หายใจ เองไดรอดตายแลวเรา” เมื่อวันพุธที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๔ แพทย ได ถ อดท อ ช ว ยหายใจออกในตอนสายและให หนากากออกซิเจนไวแลวยายผูเขียนขึ้นไปอาคาร พิเศษชั้น ๑๑/๒ ห อง ๑๑๓๖ ผูเ ขีย นเริ่มแข็ง แรง

และฟ น คื น สภาพได ค อ นข า งเร็ ว เพราะแพทย ไ ด เริ่มทํากายภาพบําบัด ตั้งแตวันที่ ๒ ของการนอน อยู ชั้ น ๕/๑ และส ง ไปทํ า กายภาพบํ า บั ด ที่ แ ผนก เวชศาสตรฟนฟู ทุก วัน จนกลับบา น และหลังออก จาก รพ. ภริ ย าและลู ก ชายได ไ ปขอคํ า แนะนํ า ทํากายภาพบํา บัดจาก คุณลิ ขิต วังศานุจ ซึ่งเปน พี่ชายภริยา

จากการที่ญาติโยมพี่ๆ นองๆ เพื่อนฝูงและ อดีตลูกศิษยแวะมาเยี่ยมใหกําลังใจผูเขียนมากมาย ผู เ ขี ย นต อ งกราบขอบพระคุ ณ ทุ ก ๆ ท า น ทั้ ง ที่ เอยนามและไมไดเอยนามไว ณ ที่นี้ โดยโรงพยาบาล ภูมิพลอดุลยเดช ภายใตการนําของ พล.อ.ต.นายแพทย ชู พั น ธุ ชาญสมร ซึ่ ง เป น ผู อํ า นวยการในขณะนี้ (ทานเปนเพื่อนรวมรุน รร.สธ.ทอ. รุน ๓๒ กับผูเขียน) และทานยังไดแวะมาเยี่ยมดวย ผูเขียนใชเวลานอน พักรักษาตัวใน รพ.เปนเวลานาน ๒๐ วัน แพทยจึง อนุญาตใหไปพักฟนตอที่บานได ผูเขียน ภริยาและ ลูกชายตลอดจนญาติพี่นองและเพื่อนฝูงที่ทราบถึง การใหบริการที่ยอดเยี่ยมทันทวงทีของโรงพยาบาล ทีมแพทย พยาบาลและเจาหนาที่ ในหองอุบัติเหตุ, แผนก X–Ray, หองผาตัด, ชั้น ๕/๑, ชั้น ๑๑/๒


ผูเขียนและทุกคนที่ไดรับบริการจากโรงพยาบาล ภูมิพลอดุลยเดช อยางนี้แลว ตางก็ซาบซึ้งติดตา ตรึงใจไปอีกนาน เพราะการใหบริการดีขึ้นอยางมาก ทั้ ง ยั ง ตั ด ขั้ น ตอนที่ ไ ม จํ า เป น ออกทํ า ให บ ริ ก ารได อยางรวดเร็วและสะดวกขึ้น สมกับที่หนาตึกคุมเกลา ชั้ น ๒ เขี ย นวิ สั ย ทั ศ น ไ ว ว า โรงพยาบาลตติ ย ภู มิ ระดั บ สู ง และสถาบั น ฝ ก อบรมที่ มี คุ ณ ภาพระดั บ ประเทศ ขณะที่เขียนเรื่องนี้ ผูเขียนไดรับการผาตัด มาเกือบ ๓ เดือนแลว สภาพรางกายทุกอยางดีเกิน ๙๐ เปอรเซ็นต เริ่มเดินไดเมื่อครบ ๒ สัปดาห หลังการ ผ า ตั ด และเมื่ อ ครบเดื อ นได ม าตรวจตามนั ด คุณหมอธนัตยดีใจมากอุทานวา “อาว เดินไดแลว หรือครับ ชวยเดินใหหมอดูอีกครั้งสิครับ” ผูเขียน ก็ยืดอกกาวเดินแบบที่เรียกวาสมารทที่สุด เพื่อให หมอดูดวยความภาคภูมิใจในผลการรักษา

ชีวติ คนนั้นมีคา มหาศาล เพราะประมาทเกือบดับดิน้ สิน้ กมล ไมควรเจ็บกลับเจ็บปวยแทบมวยมอด มีโอกาสจึงเลาเรือ่ งไวเตือนกัน

ที่ เ ล า มาทั้ ง หมดนี้ ไ ม น า เชื่ อ ว า เมื่ อ วั น ที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๔ ตอนเชามืดเวลาประมาณตีสี่ กวาๆ ผูเขียนตื่นนอนแลวหลังจากลางหนาแปรงฟน เสร็ จ ก็ เ ปลี่ ย นเป น ชุ ด กี ฬ า เสี ย บไฟหุ ง ข า วและ ลา งหม อ ล า งจานเครื่อ งครั ว รอจนตี ห า ครึ่ ง ก็ อ อก จากบานขับรถไปยังสวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ ดานทิศเหนือ บก.ทอ.และไดประสบอุบัติเหตุจาก เลนเครื่ องออกกํา ลัง กายผิดวิธี โดยไมทัน ไดอา น ปายคําแนะนําจึงทําใหเกิดอุบัติเหตุขึ้น หากไมได รับการปฐมพยาบาล การเคลื่อนยายที่ถูกตอง การ ตรวจรักษาภายใน ๖ ชั่วโมง ซึ่งเปนชวงนาทีทองและ ได รั บ การผ า ตั ด อย า งทั น ที อาจทํ า ให เ กิ ด ความ พิการหรือเปนมนุษยลอได เรื่องนี้จึงเปนที่มาของ “เข็มขัดสั้น” หรือ “คาดไมถึง” นั่นเอง

จะทําการสิง่ ใดใชเหตุผล ตองทุกขทนเจ็บกายอยูห ลายวัน บุญชวยรอดปลอดภัยคลายดังฝน เหตุเพราะเข็มขัดสัน้ วันนัน้ เอย


พ.ร.บ.สุ ข ภาพแห ง ชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๑๒ ระบุวา บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดง เจตนาไมประสงคจะรับบริการสาธารณสุขที่เปน ไปเพียงเพื่อยืด การตายวาระสุดทายของชี วิตตน หรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บปวย มีผลบังคับใช ไปเมื่อวันที่ ๒๐ พ.ค.๒๕๕๔ สิทธิปฏิเสธการรักษา หรือสิทธิการตาย ตามกฎหมายดังกลาวหมายถึง การทําหนังสือ แสดงเจตจํานงไวลวงหนา วาจะไมขอรับบริการ สาธารณสุ ข เพื่ อ ยื ด การตายในวาระสุ ด ท า ย ของชีวิต หรือเพื่อยุติความทรมาน ปจจุบันมีกฎหมายหลายประเทศที่รับรอง สิทธินี้ เชน สหรัฐฯ อังกฤษ ออสเตรเลีย เดนมารก สิงคโปร ฯลฯ ตามปกติเ มื่ อผูปว ยอยูในภาวะปว ยหนั ก โดยเฉพาะในวาระสุดทายของชีวิต ที่การรักษาทําเพียง เพื่อยืดอายุไดอีกเพียงไมกี่ชั่วโมง หรือไมกี่วัน และ ไม มี ห นทางใดในการแพทย ที่ จ ะสามารถรั ก ษา เพื่อใหรอดชีวิตได

สวนใหญผูปว ยมักอยูในสภาพไม รูสึก ตัว การตัดสินใจจึง ขึ้นอยูกับ ญาติและแพทย ซึ่ ง อาจ ไมตรงกับผูปวย หรือการใหบริการทางการแพทย เช น ญาติ ต อ งการให ยื้ อ ชี วิ ต ไว แม ว า จะต อ งใช เครื่องชวยหายใจไปตลอด โดยที่ผูปวยไมรูสึกตัว อีกเลย เปนตน หลัก การของการใชสิท ธินี้คื อ เพื่อให ทุกฝาย ทั้งญาติและแพทย ไดปฏิบัติตามความ ตองการของผูปวย เพื่อการจากไปอยางมีคุณคา และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ซึ่งเปนสิทธิพื้นฐาน ของบุคคลที่จะมีสิทธิตัดสินในสิ่งที่เกิดขึ้นกับ ชีวิ ต และรา งกายของตนเอง เพื่ อ ให เ สี ย ชี วิ ต อยางสงบ โดยไมถูกใชเทคโนโลยีทางการแพทย อยางไมสมควร สวนกฎหมาย ทําหนาที่ใหความตั้งใจบรรลุผล อยางถูกตอง และไมเกิดปญหาในภายหลัง จึงตองระบุ ขอปฏิบัติและคุณสมบัติอยางละเอียด สิทธิดังกลาวจะประกอบดวยหลายปจจัย คือ


คุณสมบัติของผูทําหนังสือ กฎหมายระบุวา ผู ที่ มี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะบริ บู ร ณ ทุ ก คน สามารถทํ า หนังสือแสดงเจตนาไดคือ เปนผูที่มีสุขภาพแข็งแรง ผู สู ง อายุ หรื อ เป น ผู ป ว ยที่ ตั ด สิ น ใจด ว ยตนเอง ผูทําหนังสือควรมีอายุครบ ๑๘ ปบริบูรณ สวนเด็กอายุต่ํากวา ๑๘ ที่อยูในวาระสุดทาย จากโรคเรื้อรัง หรืออุบัติเหตุ ใหผูปกครองตัดสินแทน หรือถามความสมัครใจของเด็กในการทําหนังสือได การทํ า หนั ง สื อ สามารถเขี ย นเองเป น ลายลักษณอักษร หรือใชแบบฟอรมตามกฎกระทรวง ก็ได แตตองมีขอมูลบุคคลที่ทําหนังสือ เชน เลขที่ บัตรประชาชน ลายมือชื่อ ชื่อที่ติดตอ บุคคลใกลชิด วันเดือนปที่ทําหนังสือ พรอมดวยการลงชื่อของพยาน อาจเปนบุคคลใกลชิด ญาติพี่นอง หรือพยาบาล แตกฎหมายไมแนะนําใหแพทยเจาของไข ลงชื่อเปนพยาน เนื้ อ หาของหนั ง สื อ คื อ การระบุ ถึ ง วิ ธี ที่ ไมตองการใหใชในการรักษาในวาระสุดทาย เชน การเจาะคอเพื่อชวยหายใจ การกูชีพดวยการปมหัวใจ หรือ อยากกลั บบ า นเมื่ อวาระสุ ด ทา ย เป น ต น ซึ่ ง เนื้อหาหนังสือสามารถยกเลิก เปลี่ยนแปลง แกไขได โดยมอบหนังสือฉบับสุดทายแกผูใกลชิดเพื่อใหใช โดยมีขอยกเวนในหญิงตั้งครรภ และ การเจ็บปวยจากอุบัติเหตุอยางฉุกเฉิน ซึ่งแพทย ตองรักษาตามจรรยาบรรณอยางเต็มความสามารถ

แมวาจะมีการทําหนังสือ แตหลักสําคัญคือ การประเมินดวยแพทยวา อยูในวาระสุดทายของ ชี วิ ต เท า นั้ น ซึ่ ง วาระสุ ด ท า ยของชี วิ ต หมายถึ ง ภาวะการณเจ็บปวยจากโรคที่รักษาไมหาย หรือบาดเจ็บ อยา งรุ นแรง ซึ่งแพทยตอ งวินิจฉัยตามมาตรฐาน ทางการแพทยวา ภาวะดังกลาวจะนําไปสูการตาย อย า งหลี ก เลี่ ย งไม ไ ด และหมายถึ ง การสู ญ เสี ย หนาที่อยางถาวรของเปลือกสมองใหญ ที่ทําใหขาด ความสามารถในการติดตอสื่อสารอยางถาวร และ ไมสามารถตอบโตหรือรับรูใดๆ นอกจากปฏิกิริยา อัตโนมัติ สิ ท ธิ ก ารตาย จึ ง ไม ไ ด ห มายความว า การฆาตัวตาย หรือชวยใครฆาตัวตาย หรือให แพทย ห ลี ก เลี่ ย งการรั ก ษา แต ห มายถึ ง การ พนทุกขอยางสงบ


พล.อ.อ.เดชา หันหาบุญ

รถไฟตู โ บกี้ สั้น ๆ ที่ มี เ ก า อี้ นั่ง ที่ ล ะสองคน เรียงหันหนาไปทางหัวขบวนจอดอยูบนรางที่ขับเคลื่อน ด ว ยฟน เฟอ งขนาดใหญ ท อดยาวลาดชั น ไปตาม หนาผา ทุกคนนั่งเกาะเกาอี้ขณะที่โบกี้รถไฟเคลื่อน ไปตามรางช า ๆ ได ยิ น เสี ย งฟ น เฟ อ งเหล็กใตท อ ง รถไฟขบกั บ รางฟ ง เสี ย งดั ง เอี๊ ย ดอ า ด ตลอดเส น ทางซึ่ ง ตองหยุดเปนชวงๆ สองฝงของ รองเขาเปนเนินที่สูงชันมองเห็น โขดหิ น ที่ บ างช ว งปกคลุ ม ดวยตนไมขนาดตางๆ มองเห็น แพะภูเขาหลายตัวยืนเล็มหญา ตามเนินเขาทามกลางอากาศ ที่ ห นาวเย็ น จั ด มองเห็ น หิ ม ะ ขาวโพลนที่ ยั ง ปกคลุ ม ตาม ยอดเขาแม แ สงอาทิ ต ย จ ะเจิ ด จ า ก็ ไ ม ส ามารถ ละลายหิมะเหลานั้นใหละลายกลายเปนน้ําไดอยาง รวดเร็วเพราะระดับความสูงของภูเขาที่สูงเสียดฟา ซึ่ ง เมื่ อ ดวงอาทิ ตย ต กอากาศก็ จ ะกลั บ มาเย็น จั ด

อีกครั้ง ในยามค่ําคืน มองไกลไปขางหนาตามชองเขา เห็นรางรถไฟที่คดเคี้ยวไลเรียงไปจนถึงพื้นราบเลียบ แนวชายฝงแมน้ํารอยดอยูเบื้องหนา ทองน้ําสีคราม กลมกลื น กั บ ขอบฟ า ตั ด ด ว ยพื้ น ดิ น ชายฝ ง ที่ มี ทาเทียบเรือขนาดใหญซึ่งมีเรือหลากหลายขนาด

จอดเรียงรายอยางเปนระเบียบ นาจะเปนเรือสําหรับ ทองเที่ยวคมนาคมทางน้ํามากกวาเรือสินคา บานเรือน อาคารสิ่งปลูกสรางกระจายอยูตามไหลเขาที่พอจะ หาพื้นที่เหมาะสมได อีกฟากหนึ่งของชายฝงแมน้ํา


มองเห็นสนามบินขนาดเล็กที่มีเครื่องบินกําลังขึ้น ลงอยู สองสามลํ าซึ่ งน าจะเป นเครื่ องเช าเหมาลํ า สําหรับธุรกิจทองเที่ยวหรือฝ กบินพลเรือนเหมือนที่ สนามบินบอฝายหรือสนามบินบางพระในบานเรา รถไฟขบวนน อ ยๆ พาทุ ก คนถึ ง ที่ ห มาย ปลายทางโดยปลอดภัย แยกยายกันเขาไปในอาคาร สํานักงานของทาเรือซึ่งเปนอาคารชั้นเดียวสีขาว สะอาดตา ปายขนาดใหญเขียนดวยตัวอักษรภาษา อังกฤษสีขาววา PILATUS BAHN นักทองเที่ยวซื้อหา เครื่องดื่มรอนเย็นดื่มใหสดชื่นและใชบริการหองน้ํา กอนที่จะเดินออกไปที่ลานกวางหนาอาคารเพื่อหา มุมสวยๆ ถายภาพกอนที่จะเดินไปตามทางเลียบ ชายฝ ง แม น้ํ า และมี ส ะพานทอดยาวออกไปยั ง ทาเรือ เรือสองสามลําจอดรอผูโดยสารขณะที่อีก ลําหนึ่งกําลังจะออกจากทาเพื่อลองตามลําแมน้ํา กลับไปยังทาเรือในกรุงเบิรน เสียงตะโกนโหวกเหวก ของลูกเรือเรงใหผูโดยสารหลายคนที่หยุดถายรูป กันทุกสามสี่กาวเรงฝเทาใหทันเรือที่กําลังจะออก จากทาซึ่งก็ไดผลเพราะไมมีใครอยากรอเรือเที่ยว ตอไป เรือลองแมน้ํามีขนาดใหญบรรทุกผูโดยสาร ตามเก า อี้ นั่ ง ที่มี อยูป ระมาณสองร อยคน ชั้ น ลา ง เปนหองโดยสารที่มีกระจกรอบดานสําหรับผูโดยสาร ชั้นธรรมดา สวนชั้นบนสําหรับผูโดยสารที่ซื้อบัตร ชั้นหนึ่งแบงเปนสวนที่อยูในหองโดยสารที่มีกระจก กั้นโดยรอบ และสวนที่เปดโลงดานหัวเรือและทายเรือ ที่ มี ห ลั ง คาคลุ ม โต ะ และเก า อี้ สํ า หรั บ สี่ ค นตั้ ง ชิ ด แนวราวกั้นขอบเรือ สวนตรงกลางเปนโตะสําหรับ ผู โ ดยสาร ๖-๘ คน พนั ก งานชายในชุ ด กางเกง สีน้ําเงินเขม เสื้อแขนยาวสีฟาสด สวมหมวกสีน้ําเงิน

เดินตรวจบัตรโดยสาร และเชิญนักทองเที่ยวหลายกลุม ลงไปนั่งชั้น ลางตามที่ ซื้ อบัตรโดยสารชั้ นธรรมดา อาจจะโดยไมตั้งใจหรือมั่วนิ่มเพราะเห็นที่นั่งชั้นหนึ่ ง มีผูโดยสารไมมากนัก กลุมเหลานั้นหนาแตกไมรับเย็บ เดินผานโตะผูเขียนไปคงนึกวาหนาตาเอเชียอยางเรา ทําไมรวยนั่งชั้นหนึ่ง ชวยไมไดครับทานคนรวยทํา อะไรก็ไมนาเกลียด พนักงานเสิรฟหญิงรูปรางนองๆ เทพีช า งนํ า รายการอาหารมาให เ ลือกแล ว เดิน ไป ดูแลผูโดยสารโตะอื่นๆ อาหารมีใหเลือกไมมากนัก จึงรีบตัดสินใจชิงความไดเปรียบเพราะขืนชาไปกวา อาหารจะมาถึงที่หมายปลายทางพอดี เสียเงินแลว อดกินอีกตางหาก ไสกรอก แฮม ขนมปง สปารเกตตี้ และเครื่ อ งดื่ ม เย็ น อี ก สี่ ข วด ไม น านนั ก คณะของ ผูเขียนก็ไดรับประทานอาหารเปนโตะแรก ไมคอย อรอยเทาไรนัก แตกินแบบหรูหรานาอิจฉาก็แลวกัน เรือลองไปตามแมน้ํารอยดที่สองฝงมีบานเรือน ขนาดใหญบางเล็กบางเปนกลุมๆ ปลูกหลังพิงเขา หนาบานริมน้ําตามหลักฮวงจุย มีทางเดินคอนกรีต เชื่อมลัดเลาะไปตามริมแมน้ํา บางแหงเปนโรงแรม ที่พักของนักทองเที่ยวที่กําลังนั่งรับประทานอาหาร ตามโตะอาหารที่ตั้งริมเขื่อนอยางมีความสุข บางกลุม จํานวนสิบถึงยี่สิบคนรอขึ้นเรือโดยสารประจําทาง ที่จอดรับตามทาเรือหลายแหงที่ผานไป สองฝงแมน้ํา เปนเชิงเขาที่ปกคลุมดวยตนไมเขียวขจีลาดสูงขึ้น ไปสูยอดเขาที่บางยอดเขาที่สูงมากยังมีหิมะปกคลุม อยูบาง หิมะที่ละลายกลายเปนน้ําก็ไหลลงสูแมน้ํา เป น วั ฏ จั ก รต อ ไปไม จ บสิ้ น ใช เ วลาไม ถึ ง ชั่ ว โมง เรือเขาเทียบทาที่กลางกรุงเบิรน ใกลบริเวณที่ขึ้น รถโดยสารเมื่อเชานี้


ริมฝงแมน้ํารอยด

ผูเขียนเดินจากทาเรือตามถนนคนละฝงกับ ที่ทําการไปรษณีย ลัดเลาะตามถนนฝงทิศใตของ แมน้ํารอยด ผานทาเรือขนาดใหญที่มีผูโดยสารเดินขึ้น ลงขวักไขวจากเรือขนาดใหญหลายลําที่จอดเทียบทา และบางลําก็ออกเดินทางไปยังจุดหมายปลายทาง ที่แตกตาง มีรานขายของที่ระลึกตลอดแนวริมถนน ที่ขาดไมไดก็คือมีดพับ VICTORNOX หรือ Swiss Army หลากหลายขนาดติดแสดงตัวอยางเปนแผง พรอมมีปายบอกสนนราคาเรียบรอย อยาเพิ่งใจรอน รีบซื้อหากอยูในสวิตเซอรแลนดเกินหนึ่งวัน ใหดูแบบ ที่ชอบพรอมราคาเอาไวกอนเพราะทั่วทุกหัวระแหง มีขายแมแตบนยอดเขา สินคายอดนิยมอีกอยางหนึ่ง ก็คือกระเปาเปสารพัดแบบ กระเปาใสเงิน ซองมีด พกสารพัดแบบและขนาดที่ทําดวยวัสดุคลายผาใบ ที่ทําถุงทะเล ยี่หอ ALPHINE CLUB มีรูปหัวแพะภูเขา เปนสัญลักษณเครื่องหมายการคา ผูเขียนซื้อกระเปาเป กับกระเปาใสสตางคอยางละหนึ่งใบจากขางลาง พอไปเห็ น ราคาที่ ว างขายที่ ร า นขายของที่ ร ะลึ ก บนยอดเขาราคาถูกกวาหลายฟรังส เดินตามถนน เลียบแมน้ําที่มีรานคาชาวเมืองมาตั้งวางขายสินคา หลากหลายชนิด ประเภทเจาของนํามาขายเองจาก

แหลงผลิต ถามีเฉพาะพืช ผัก ผลไม เราก็จะเรียกวา FARMER MARKET ที่ในอเมริกาก็มีตลาดนัดเกษตรกร แบบนี้ ใ นวั น และเวลาที่ กํ า หนด ผู ค นในละแวก ใกล เ คี ย งรู กั น พอถึ ง เวลาก็ ขั บ รถยนต ม าจอด แลวจับจายซื้อหาสินคาประเภทตางๆ เอาไวกินไป ไดตลอดสัปดาห

FARMER MARKET ที่เมืองลูเซิรน

ผูเขียนสวมบทพระยานอยชมตลาดเดินชม ทุ ก แผงโดยเฉพาะขนมที่ ทํ า มาใหม ส ดจากเตา ขนมปงสารพัดแบบ โดนัท คุกกี้ แยมผลไม ไสกรอก แฮม เบคอน ขนมหวานสารพันอยางของฝรั่ง เรียกวา ของที่กินไดก็ทดลองลิ้มชิมรสแตไมไดซื้ออะไรเลย สักอยางไมมีใครวาหรอกครับเพราะเห็นสวนใหญ ก็ทําแบบนี้ทั้งนั้น แผงตอๆ ไปเปนจําพวกไมดอกไม ประดับตั้งแตกระถางเล็กๆ จนถึงขนาดสูงทวมหัวที่ แตละตนออกดอกสวยงามหลากสีสัน รานที่มีลูกคา อุดหนุนมากที่สุดเห็นจะเปนพืช ผัก ผลไม จากไร สดๆ ขนานแท ดอกกะหล่ํ า แครอท ผั ก ใบเขี ย ว หลายสิ บ ชนิ ด พริ ก สดสารพั ด ขนาดสี เ ขี ย ว แดง เหลือง จัด วางเรีย งอยา งเปน ระเบีย บ มะเขือ เทศ สีสันจัดจาน ลูกคาเลือกหยิบจํานวนตามตองการ


แลวสงใหคนขายชั่งน้ําหนักคิดราคาที่ติดไวซึ่งคิด น้ําหนักเปนปอนด ไขไกสดขนาดตางๆ ในแผงวาง ซอนกัน แตที่ไมคอยเห็นวางขายคือเนื้อสัตวประเภท ตางๆ อาจจะเปนเพราะดูหวาดเสียวหรือทําใหพื้น สกปรกงายก็เปนได ใชเวลาเดินสํารวจและถายรูป ไปเรื่อยกอนที่จะเดินขามสะพานเหล็กไปยังถนน เลียบฝงแมน้ําดานทิศเหนือแลวตัดเขาสูถนนแคบๆ ระหวางอาคารเกาสูงสองสามชั้นที่เปนรานคาสลับ ที่อยูอาศัย ถนนลาดขึ้นลงไปตามภูมิประเทศตาม ตรอกซอกซอยที่หามไมใหรถยนตผาน เดินตัดไปสู อาคารขนาดใหญที่เปนอาคารสํานักงาน อพารตเมนต ที่หมายคือรานอาหารไทยแหงหนึ่งที่พนักงานเสิรฟ รานอาหารเขมรที่ผูเขียนไปรับประทานเมื่อเย็นวานนี้ แนะนําวาอาหารอรอย นาแปลกที่ลูกจางรานอาหาร แหงหนึ่งบอกวาอยามารับประทานอาหารรานเขมร ที่เขาทํางานอยูเลย ใหไปรับประทานอีกรานหนึ่ง ที่ อ ยู ห ลั ง อาคารแห ง นั้ น ราคาถู ก สะอาด อร อ ย ถาเจาของรานเขมรที่เขาทํางานอยูรูเขามีโทษสถานเดียว คือไลออกแนนอน เดินลัดเลาะขางอาคารใหญที่อยู ไมไกลจากโรงแรมที่พักนักก็พบรานอาหารดังกลาว อยูในตึกสีขาว มีปายรานสีเขียวติดอยูวาเปนราน อาหารไทย ภายในรานมีโตะอาหารสี่หาโตะรองรับ ลูกคาไดเต็มที่ไมนาจะเกิน ๕๐ คน กลุมทัวรคนไทย ธรรมชาติ

ประมาณยี่ สิ บ คนรั บ ประทานอาหารเสร็ จ กํ า ลั ง คิดเงินและออกจากรานไป ผูเขียนเลือกนั่งโตะเล็กๆ หน า ร า นริ ม ถนนที่ ไ มกี ด ขวางคนที่ เ ดิน ผา นไปมา พร อ มสั่ ง อาหารไทยสามสี่ อ ย า งประเภทรสเด็ ด เผ็ดจัดจานแมวาจะหางบานมาแคสามวันเทานั้นเอง ลูกคาในรานทยอยเดินออกมาตางหันมายิ้มใหและ กลาวทักทายเปนภาษาไทย พอผูเขียนกลาวสวัสดี ตอบเทานั้นแหละครับความเปนชาตินิยมวิ่งพลาน จับขั้วหัวใจของคนไทยทุกคนในตางแดน หลายคน เขามาพูดคุยถามถึงเหตุการณบานเมืองเพราะชวง ที่คณะของพวกเขาเดินทางกันมาเปนชวงที่ทางการ กํา ลั ง กระชั บพื้น ที่ ร าชประสงค กั น พอดี กอนที่ จ ะ เผาบ า นเผาเมื อ งกั น ฉิ บ หายวายวอดในคื น วั น ที่ ๑๙ พฤษภาคม คณะของผูเขียนรับประทานอาหารเย็น กันอยางเอร็ดอรอยหมดเกลี้ยงทุกอยางกอนจะจาย คาอาหารคิดเปนเงินไทยประมาณไมเกินสองพันบาท เงิ น ฟรั ง ส ส วิ ส ช ว งที่ เ ดิ น ทางไปอั ต ราแลกเปลี่ ย น ประมาณยี่ สิ บ เก า บาทเศษๆ ต อ หนึ่ ง ฟรั ง ส ส วิ ส เดินยอยอาหารกลับถึงโรงแรมที่พักและแยกยายกัน ตามอั ธ ยาศั ย เพราะอากาศภายนอกยั ง ไม มื ด เดินสํารวจพื้นที่ชมวิวทิวทัศนไดอีกนาน แตนัดกัน วาพรุงนี้เชาเวลา ๐๙๐๐ จะออกจากโรงแรมเพื่อ เดินทางไป Interlaken


มุมสุขภาพ

นายห่วงใย “เห็ด” แหลงอาหารโปรตีนจากธรรมชาติ ที่มีวิวัฒนาการมาจากการประสานเสนใยจํานวนมากของ เชื้อราชั้นสูง และที่นาสนใจคือ เห็ดนอกจากใหคุณคาทางโภชนาการแลว บางชนิดมีสรรพคุณทางยา อีกดวย เห็ดเปนอาหารที่ไมมีไขมัน มีน้ําตาลและเกลือต่ํา เปนแหลงโปรตีนที่ดี และยังอุดมดวยวิตามิน และเกลือแร คือ วิตามินบีตางๆ เชน ไรโบฟลาวิน และไนอาซิน ชวยควบคุมการทํางานของระบบยอยอาหาร ซิลิเนียม ที่มีสวนชวยตานอนุมูลอิสระ ลดความเสื่อมของเซลล โปแตสเซียม ทําหนาที่ควบคุมจังหวะการเตน ของหัวใจและการเผาผลาญสารอาหารระดับเซลล ชวยควบคุมการทํางานของระบบประสาท เปนตน “เห็ด” ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมีมากถึง ๑๔๐,๐๐๐ สายพันธุ แตมีเห็ดเพียงไมกี่ชนิดที่ถูกขนานนามวาเปน “เห็ดทางการแพทย” (Medicinal Mushrooms) เพราะสามารถใหสรรพคุณทางยา ทั้งชวยปองกันและ ใชในการรักษาโรคได ตอมาจึงมีการศึกษาวิจัยและไดนํามาใชกับการแพทยทางเลือก ใน “เห็ดทางการแพทย” (Medicinal Mushrooms) มีองคประกอบสําคัญที่ชื่อวา “โพลีแซคคาไรด” ซึ่ ง ช ว ยกระตุ น การทํ า งานของระบบภู มิ คุ ม กั น ของร า งกาย ช ว ยเสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของเซลล คุ ม กั น ตามธรรมชาติ ใหทําหนาที่ทําลายเซลลแปลกปลอมที่เขามาในรางกายไดอยางทันทวงที


เห็ดที่มีปริมาณสารโพลีแซคคาไรดสูง ไดแก เห็ดชิตาเกะหรือเห็ดหอม เห็ดไมตาเกะ เห็ดยามาบูชติ าเกะ หรือเห็ดปุยฝาย เห็ดหลินจือ ถั่งเฉา เห็ดฮิเมะมัตสึทาเกะ เห็ดแครง ฯลฯ สงผลใหเห็ดเหลานี้มีสรรพคุณ ทางยา ชวยเสริมภูมิคุมกันรางกายและชวยเสริมการทํางานของอวัยวะสําคัญตางๆ เชน หัวใจ ปอด ตับ ไต ใหทํางานไดดีขึ้น ประโยชนทางการแพทยของเห็ดชนิดตางๆ มีดังนี้ เห็ดชิตาเกะหรือเห็ดหอม เปน เห็ดหอม ยาอายุ วั ฒ นะ ช ว ยลดไขมั น ในเส น เลื อ ด อี ก ทั้ ง ยั ง เพิ่ ม ภู มิ คุ ม กั น ต อ เชื้ อ ไวรั ส และ ชวยตานเซลลมะเร็ง ชวยลดความเปนกรด ในกระเพาะอาหาร ชวยบํารุงกําลัง บรรเทา อาการไข ห วั ด ชาวจี น ยกให เ ห็ ด ชิ ต าเกะ เปนอาหารตนตํารับ “อมตะ” เห็ ด หลิ น จื อ มี คุ ณ สมบั ติ เ ด น ที่ ชวยตานอนุมูลอิสระ ชวยปรับกลไกกระตุน ภู มิ คุ ม กั น ลดการติ ด เชื้ อ ไวรั ส และช ว ย ยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้อราย จึงอาจกลาวไดวา ชวยตานการเติบโตของเซลลมะเร็ง เห็ดไมตาเกะ มีสารอาหารที่เปนประโยชนตอสุขภาพมากมาย แตที่นาสนใจคือ มีโพลีแซคคาไรด ที่ชวยควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด จึงมีคุณสมบัติปองกันโรคเบาหวานไดอีกดวย เห็ดยามาบูชิตาเกะหรือเห็ดปุยฝาย มีกรดอะมิโนอยู ๑๖ ชนิด และมีสารแลนติแนน ซึ่งมีผลตอ การเพิ่มประสิทธิภาพของระบบภูมิคุมกันในรางกายใหสูงขึ้น อีกทั้งยังชวยเรงการสรางสารภูมิคุมกัน ประโยชนมากมายจนนาอัศจรรยกันเลยทีเดียว แตที่แนๆ คือ “เห็ดทางการแพทย” (Medicinal Mushrooms) ที่กลาวมาทั้งหมดนี้ ลวนชวยเสริมภูมิคุมกันรางกาย อยากมีภูมิคุมกันดี แนะนําใหกิน “เห็ด” โดยเฉพาะอยางยิ่ง “เห็ดทางการแพทย” ☺☺☺ เอกสารอ้างอิง : 1. www.เห็ดทางการแพทย์.net 2. http://www.mushroom.msu.ac.th 3. http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/secretary/Homepage/news46/July/8.html ขอขอบคุณ ศ.(เกียรติคุณ) น.พ.จอมจักร จันทรสกุล


น.อ.เกษม พงษพันธ เมื่อทานไปในงานศพ ไมวาจะเปนงานสวด พระอภิธรรม งานบําเพ็ญกุศล พิธีฌาปนกิจศพ พิธี พระราชทานเพลิงศพ ตลอดถึงพิธีทําบุญอุทิศอื่น ๆ ทา นจะได ยิน พิ ธี ก รพู ดถึ ง คํ า ว า ทอดผ า บั ง สุ กุ ล หรือทอดผามหาบังสุกุล อยูเสมอ ยกตัวอยางเชน “กอนจะไดเรียนเชิญทานประธานในพิธีประกอบพิธี สืบตอไป คณะเจาภาพขอเรียนเชิญทานผูมีเกียรติ ทอดผาบังสุกุล (หรือบางแหงบอกวา “ทอดผา” เฉย ๆ ดังรายนามตอไปนี้ อันดับแรกขอเรียนเชิญ...” แลว เรียนเชิญผูมีเกียรติทอดผา ตามความประสงคของ เจาภาพ จะเปนจํานวนมากนอยเทาใดแลวแตเจาภาพ หรื อ ผู เ กี่ ย วข อ งจะกํ า หนด การเชิ ญ จะเชิ ญ โดย เรี ย งลํ า ดั บ จากผู มี อ าวุ โ ส หรื อ คุ ณ วุ ฒิ วั ย วุ ฒิ ชาติ วุ ฒิ ตลอดถึ ง ยศตํ า แหน ง จากต่ํ า ไปหาสู ง แม ก ารนิ ม นต พ ระขึ้ น พิ จ ารณาผ า บั ง สุ กุ ล ก็ นิ ย ม นิ ม นต เ รี ย งตามลํ า ดั บ เช น นี้ เ หมื อ นกั น ซึ่ ง ทาง คณะสงฆก็ยอมรับ การทอดผ า บั ง สุ กุ ล เป น การปฏิ บั ติ ต าม กิ จ ของสงฆ ที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงอนุ ญ าตให ภิ ก ษุ ปฏิบัติ มี ๔ อยางคือ เที่ยวบิณฑบาต อยูอาศัยตาม

โคนต น ไม นุ ง ห ม ผ า บั ง สุ กุ ล และฉั น ยาดองด ว ย น้ํามูตรเนา (น้ําปสสาวะ) การนุ ง ห ม ผ า บั ง สุ กุ ล มี ม าตั้ ง แต ค รั้ ง พุ ท ธกาล ที่ พ ระภิ ก ษุ ส ว นมากต อ งแสวงหาผ า ที่ เขาทิ้งแลวจากกองขยะ หรือจากปาชา มาเย็บยอม ทําจีวร สบง และผาอื่น ๆ ใช ผาเหลานี้สวนใหญ จะเป อ นฝุ น หรื อ สกปรก บางที ก็ เ ป น ผ า ที่ ห อ ศพ จึงเรียกวาผาบังสุกุล ซึ่งแปลวา ผาเปอนฝุน ในปจจุบันพิธีทอดผาบังสุกุล ใชเรียกผาที่ ภิกษุชักจากศพ หรือผาที่ทอดไวที่หนาศพ หรือผาที่ ทอดบนดายสายสิญจน ตลอดถึงผาที่ทอดบน ผา ภู ษ าโยงที่ ต อ มาจากศพ หรื อ อั ฐิ หรื อ รู ป ถ า ย โดยในขณะทอดผ า ผู ท อดควรตั้ง จิ ตพิจ ารณาว า นามะรูปง อะนิจจัง นามะรูปง ทุกขัง นามะรูปง อะนัตตา แลวทอดผา พระภิกษุก็จะมาพิจารณา ด ว ยบทกรรมฐานว า อะนิ จ จา วะตะสั ง ขารา อุ ป ปาทะวะยะธั ม มิ โ น อุ ป ช ชิ ต วา นิ รุ ช ฌั น ติ เตสัง วูปะสะโม สุโข พระจะสวดเปนภาษาบาลี แตถาจะแปลก็แปลวา สังขารทั้งหลาย ไมเที่ยง หนอ มี ก ารเกิ ด ขึ้ น และเสื่ อ มไปเป น ธรรมดา


การเขาไปสงบระงับสังขารทั้งหลายเหลานั้น เป น ความสุ ข ซึ่ ง ในเวลาพระท า นเปล ง ถ อ ยคํ า หรือสวดบทนี้ ผูทอดผาหรือผูรวมพิธีตองประนมมือ ฟ ง ด ว ย เพราะพระท า นสอนคนเป น ผู ท อดผ า ตลอดถึงเจาภาพ มิใชการสวดเพื่อสงวิญญาณให คนตายขึ้ น สวรรค อ ย า งที่ บ างคนเข า ใจ เพราะ พระสงฆไม อาจสวดให ใครขึ้ นสวรรคได หากเขา เหลานั้นไมสนใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งไมศรัทธาเชื่อถือ ในพระธรรมคําสอนตลอดถึงพระสงฆองคเจา

พิธีทอดผาบัง สุกุลนี้ มีนัยที่ควรพิจารณา บางบางประเด็นที่กลาวมาแลวก็สวนหนึ่ง แตนัยหนึ่ง ที่ควรพิจารณาก็คือ ผูทอดผานั้นทําพิธีการแทนศพ หรื อ อั ฐิ ข องผู ใ ดใครก็ ต าม การทอดผ า ลงบน สายสิญจน หรือผาภูษาโยง จึงเสมือนวางลงบนศพ หรืออัฐิ หรือวางลงในมือศพ ประหนึ่งตองการใหศพ ได ป ระกอบบุ ญ กุ ศ ลจนนาที สุ ด ท า ยก็ ป านกั น เพราะพระสงฆ เ มื่ อ พิ จ ารณาพระกรรมฐานหรื อ พิจารณาเมื่อจับผาก็ใชบทวา อะนิจจา วะตะ สังขารา ซึ่งก็คือบทพิจารณาสังขารนั่นเอง ผูที่ไดรับเชิญขึ้น ทอดผา จึงควรคํานึงวา ไดประกอบพิธีที่สําคัญยิ่ง ทั้ ง ควรตั้ ง ใจทํ า พิ ธี ใ ห ถู ก ต อ งครบถ ว น และด ว ย

เจตนาที่เปนกุศล เพื่อใหเกิดบุญกุศลแกผูลวงลับ และคณะเจาภาพใหมากที่สุดเทาที่จะทําได อีกประการหนึ่ง การที่เจาภาพจะเชิญผูใด ขึ้นทอดผา หรือเปนประธานในพิธีก็ตามที เขายอม พิจารณาอยางถี่ถวนเทาที่เวลาและโอกาสจะอํานวย ซึ่ ง ก็ คิ ด ว า เลื อ กผู ที่ มี ค วามเหมาะสมมากที่ สุ ด หากจะพลั้ ง เผลอผิ ด พลาดไปบ า ง (ซึ่ ง พบเห็ น อยูบาง) ก็ไมควรถือสา วากลาวจนเสียหาย เพราะ ปุถุชนคนทํางาน ประกอบกับเวลาแหงความสูญเสีย บุค คลอั น เป น ที่ รั ก ย อ มมี ห ลายสิ่ ง หลายประการ ประดังพรั่งพรูเขามา อยางไรเสียก็ถือหลักวา “หาก ไมมีการใหอภัยผิด และไมคิดจะลืมซึ่งความหลัง สามัคคีคงเกิดยากลําบากจัง ความผิดพลั้งยอม มีทั่วทุกตัวคน” จะเปนการดีอยางยิ่งยวด

พิ ธี ก ารบั ง สุ กุ ล นี้ นอกจากจะใช ทํ า พิ ธี สําหรับคนตายแลว ยังนิยมทําใหคนเปน ๆ อีกดวย เรียกวา บังสุกุลเปน ทําสําหรับผูที่ถูกทํานายทาย ทักวามีเคราะหชะตาขาด หรือถึงขั้นหมดอายุ หรือ ปวยหนัก เปนการบังสุกุลพิเศษเพื่อเอาเคล็ดหรือ แก เ คล็ ด วิ ธี ทํ า ก็ คื อ ให ค นที่ จ ะทํ า พิ ธี น อนหงาย ประนมมือเหมือนคนตาย แลวใชผาขาวคลุมรา ง


ผูนั้นใหมิดทั้งตัว พระสงฆที่มาทําพิธีจับชายผาหรือ ดายสายสิญจนที่ผูกมาจากชายผา แลวกลาวคํา สําหรับคนตายที่ขึ้นตนวา อะนิจจา วะตะ สังขารา ดังกลาวแลวขางตน จบแลวใหผูนั้นนอนหันศีรษะ กลับดานไปทางทิศตรงขามกับครั้งแรก คลุมดวย ผ า ขาวเหมื อ นเดิ ม พระสงฆ บั ง สุ กุ ล อี ก ครั้ ง โดย กล า วคํ า สํ า หรั บ ใช บั ง สุ กุ ล คนเป น ที่ ว า “อะจิ รั ง วะตะยัง กาโย ปะฐะวิง อะธิเสสสะติ ฉุฑโฑ อะเปตะ วิญญาโณ นิรัตถัง วะ กะลิงคะรัง” ซึ่งแปลวา “กาย นี้ ไม น านหนอ จั ก นอนทั บ แผ น ดิ น ปราศจาก วิญญาณแล ว ก็ ถู ก ทอดทิ้งเหมื อ นท อนไมที่ ห า ประโยชนมิได” เปนการแกเคล็ดวา กลับฟนขึ้นมา ใหมแลว มีชีวิตใหม หรือจะไดตั้งตนชีวิตใหม มีชีวิต ที่ยืนยาวตอไป กลับตัวกลับใจ ลืมเรื่องเกาตั้งตน ใหม อะไรทํานองนี้ เรื่ อ งบั ง สุ กุ ล เป น นี้ นิ ย มทํ า กั น ทั่ ว ไป ด ว ยเชื่ อ ว า เป น การต อ อายุ โดยเฉพาะคนที่ ป ว ย หนัก หรือทํากันในงานทําบุญคลายวันเกิด แมมิได เจ็ บมิไดปว ยเลยก็ ต าม แต ถ า เจตนาจะทํา จริง ๆ เวลาจะนิมนตพระ ควรปรึกษาหารือผูรูกอนเพราะ ธรรมชาติ

พระบางวัดไมนิยมกิจกรรมประเภทนี้ อาจจะเสีย เจตนา หรืออาจจะกระทบความรูสึก แตพระสงฆ ส ว นมากไม อ ยากขั ด ศรั ท ธาญาติ โ ยม เพื่ อ ความ สบายใจของญาติโยม ทานก็มักใหความอนุเคราะห ถาไมเหลือวิสัยจนเกินไป นอกจากที่ก ลาวมาแลว การทอดผาปา ก็ เกี่ ย วข อ งกั บ การทอดผ า บั ง สุ กุ ล เช น กั น เพราะ คํากลาวเวลาถวายผาปา ก็ขึ้นตนวา อิมานิ มะยัง ภัน เต ปง สุ กุล ะ จีว ะรานิ ... แตก ารทอดผา ป า จุ ด หมายแท จ ริ ง เพื่ อ รวบรวมเงิ น ถวายวั ด สร า ง ถาวรวัตถุ มีโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ เปนตน และในป จ จุ บั น ไม จํ า กั ด อยู แ ค วั ด เท า นั้ น ยั ง เป น กิจกรรมที่ไปถึงโรงเรียน โรงพยาบาล และสถานที่ สํ า คั ญ อื่ น ๆ นั บ ว า กิ จ กรรมการทอดผ า ป า ซึ่ ง มี พื้นฐานมาจากการปฏิบัติของพระสงฆไดอํานวย คุณประโยชนอยางกวางขวาง นาอนุโมทนาจริง ๆ และในฐานะชาวพุทธรูสึกภูมิใจอยางมาก ขอพระพุ ท ธศาสนา จงดํ า รงมั่ น คงอยู ใ น โลกตลอดกาลนาน ขอความสุขเกษมศานติ์จงมีแด ทุกทาน

เกิด มาแลว คิดสราง แก ทุกคน ตองพบ เจ็บ ปวยไข ธรรมดา แมแตหมอ ก็ตอ งตาย

ทางกุศล ประสบหนอ นัน้ มารอ ไมเหลือเลย


คนไทยจํานวนไมนอยที่ชอบรับประทาน อาหารญี่ปนุ และชื่นชอบ

นานา..นารู

สําหรับคนไทยที่ไมไดชื่นชอบ อาหารญี่ปุนคงไมคุนหู หรืออาจไดยิน บางแตไมรูจักวามันคืออะไรกันแน แลว กิ น กั น เพื่ อ อะไร คราวนี้ เ ราจะได รู กั น อยางแนนอน “วาซาบิ” คืออะไร บางแค “วาซาบิ” เปนเครื่องปรุงที่มีรส เผ็ด จี๊ดจาด นิยมกินคูกับปลาดิบ และซอสญี่ปุน หรือที่รูจักกันอยางแพรหลายในชื่อ โชยุวาซาบิ สามารถ ดับกลิ่นคาวปลาดิบไดเปนอยางดี “วาซาบิ” นํามาจากสวนโคนของตนคาโนลา ปจจุบนั ไดรับความนิยมมาก Â ประโยชนของวาซาบิ มีดังนี้ U วาซาบิสามารถเปนยาถายพยาธิได โดยเฉพาะ พยาธิที่อาศัยอยูในปลา U สารสีเขียวของวาซาบิ มีเบตาแคโรทีน อันเปน สารตานอนุมูลอิสระ อันเปนสาเหตุของโรคมะเร็งได U วาซาบิเปนสารเคลือบฟน และปองกันฟนผุให แกคุณไดเปนอยางดี U ปองกันการเกาะตัวของเกล็ดเลือดและลิ่มเลือด จึงทําใหเสนเลือดไมอุดตัน เลือดไหลเวียน ไดดี สุขภาพก็ดีดวย U มีฤทธิ์ในการฆาเชื้อ โดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรีย ประโยชน ข องวาซาบิ มี ม ากจนคาดไม ถึ ง ใช ไ หม คุ ณ ๆ ที่ ไ ม รู จั ก หรื อ ไม คุ น เคยกั บ “วาซาบิ ” (เครื่องปรุงที่จะขาดไมไดบนโตะอาหารญี่ปุน) ขอบอกวา...คุณไมควรพลาดที่จะลิ้มลองความเผ็ด.....ซา.....! ของ ”วาซาบิ”


… สํานึกรับผิดชอบ (๑) ... เราทุกคนคงภูมิใจที่ไดรับการยกยองวาเปนมนุษย เปนผูมีจิตใจที่สูงกวาสัตวอื่นๆ สามารถเอาชนะ สัญชาติญาณที่ธรรมชาติกําหนดใหเรามาไดหลายๆ เรื่อง และเรื่องหนึ่งที่ยิ่งใหญ จนสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทําไดยาก คื อมนุ ษย มี ความรั บผิ ดชอบได คํ าๆ นี้ หาคํ า จํ ากั ดความได มาก เพราะแยกได เป นเรื่ องๆ เป นความรั บผิ ดชอบต อ ตั ว เอง ต อ ครอบครั ว ตอสังคม ตออะไรมิอะไรไดมากมาย และขอบวง ของความรั บ ผิ ด ชอบก็ แ คบกว า งไม เ ท า กั น เด็กคนหนึ่ง อาจบอกวาหนาที่รับผิดชอบของเขา คือ เรียนหนังสือใหดี เด็กอีกคนหนึ่งอาจบอกวา หนาที่รับผิดชอบของเขา คือ เรียนหนังสือใหดี และชวยพอแมทํางานดวยเพราะฐานะทางบาน อดีตประธานาธิบดีเกาหลีใต โนห มู เฮียน ไมดีนัก จะเห็นไดชัดเจนวา กรอบความรับผิดชอบ ของเด็กทั้งสองตางกัน และพฤติกรรมก็จะตางกันดวย เด็กคนหนึ่ง คงมีเวลาไปวิ่งเลน ขณะอีกคนหนึ่งตอง ชวยพอแมทํางานทั้งๆ ที่สัญชาติญาณของเด็กทั้งสองไมตางกันเลย คือ ดํารงชีวิตใหรอด และอยูในโลกนี้ อยางสบายๆ ตามธรรมชาติ เมื่อ ๒๓ พ.ค.๒๕๕๒ อดีตประธานาธิบดี โนห มู เฮียน ของประเทศเกาหลีใตไดโดดหนาผาฆาตัวตาย พรอมจดหมายขอโทษชาวเกาหลี ที่ภรรยา บุตรชาย และหลานเขยของเขาไดรับเงินอยางไมโปรงใสจาก


กลุมธุรกิจของเกาหลีใต ขณะที่เขาดํารงตําแหนงประธานาธิบดี โดยที่เขาไมรูมากอน แตเขารูสึกวาเขาตอง รับผิดชอบในเรื่องนี้ อะไร คือสิ่งที่เราควรใหความสําคัญ สิ่งสําคัญของเรื่องนี้คือ สํานึกรับผิดชอบ ที่ควรจะปลูกฝง หรื อกระตุ น เตื อนให เ กิ ดในจิตใจของผูค นในสัง คมของเรา ถา สังคมของเราผูค นเต็ มไปดว ยสํา นึกแหง ความรับผิ ดชอบแล ว เราจะกํ าหนดแนวทางการอยู รวมกั นอย างไรก็ได เพราะทุ กคนก็ จะปฏิ บั ติตามดวย สํานึกรับผิดชอบ ครั้ ง หนึ่ ง ตอนที่ ผู เ ขี ย น ยั ง เรี ย นหนั ง สื อ อยู ใ นประเทศ เยอรมั น ตะวั น ตก (ขณะที่ ยั ง แบงประเทศอยู) ขณะที่ถีบจักรยาน คั น โปรดไปขึ้ น รถไฟใต ดิ น เพื่ อ เขาไปในเมือง ดวยความรีบรอน เพราะเห็นรถไฟกําลังจะเขาจอด ที่ ส ถานี แ ล ว จึ ง รี บข า มถนนใกล ทางมาลาย ปกติแลวคนขับรถยนต ทุกคันจะจอดใหจักรยานหรือคนขามไปกอนเสมอ แตดวยวันนั้นแสงแดดตอนสายๆ จามาก คนขับรถยนต หยุดชาไปนิดหนึ่ง จึงชนกับลอจักรยานของผูเขียน ไมแรงมากนักแตลอจักรยานก็งอไปเล็กนอย คนขับรถ เขาลงมาขอโทษ บอกวาแสงอาทิตยสองตาเห็นชาไปหนอย เขายินดีจะจายคาซอมให ขณะที่เรายืนคุยกัน อยูนั้น คนขับรถเมลประจําทางที่วิ่งอยูอีกฟากหนึ่งของถนน เขาจอดรถของเขาใหคนขามเรียบรอย ปกติเขา ก็นาจะไปไดแลว เพราะอุบัติเหตุเล็กๆ นี้ก็เกิดอีกฟากหนึ่งของถนน ไมไดเกะกะอะไรเขาเลย แตเขาลงมาเปน กรรมการอธิบายความวา เพราะเหตุที่ผูเขียนขามทางมาลายกอนราวๆ สอง-สาม เมตร ทําใหคนขับรถยนต จอดไมทัน เขาถามคนขับรถยนตวาจะเอาเรื่องไหม เขาพรอมเปนพยานให แตคนขับรถยนตขอบคุณเขา และปฏิเสธไปวา เราคุยกันเรียบรอยแลวเขาจึงกลับไปขับรถเมลตอไป ผูเขียนจึงบอกคนขับรถยนตวา ลอรถจักรยานผูเขียนเปลี่ยนเองได และขอโทษที่ทําใหเขาตองเสียเวลา อีกเรื่องหนึ่งที่ไดรับการกลาวขานชื่นชมไปทั่วโลกก็คือ กรณีแผนดินไหวและเกิดคลื่นสึนามิถลมญี่ปุน เมื่อตนป พ.ศ.๒๕๕๔ สิ่งแรกเลยที่ทุกคนแปลกใจวา เมืองหลายเมืองถูกน้ําพัดพังยับเยิน แตมีผูเสียชีวิต ราวๆ ๓ หมื่นคนเทานั้นเอง ที่บอกวาเทานั้นเองเพราะถาเปนที่อื่นๆ อาจเติมเลขศูนยเขาไปไดอีกตัวหนึ่ง เหตุที่คนเสียชีวิตนอยทั้งๆ ที่คลื่นน้ํามาอยางรวดเร็ว เพราะประชาชนของเขารูหนาที่ของตัวเองวา เขาตองทําอะไร เมื่อเกิดสิ่งนี้ และตอมาเราก็ไดเห็นผูคนเขาคิวกันเปนระเบียบ มีคนที่ทําหนาที่ แจกน้ํา


แจกอาหาร เอาน้ํามันไปให สารพัดเรื่องที่ทุกคนจะรับผิดชอบตอหนาที่ของเขาอยางเต็มที่ดวยความเห็นอก เห็นใจกันเอื้ออาทรตอกัน โดยไมตองมีใครมาบอกมาเตือน

ประเทศทั้งสามที่ผูเขียนกลาวถึงเปนที่ยอมรับกันทั่วโลกวา ประชาชนของเขามีสํานึกในความ รับผิดชอบสูงมาก ประเทศของเขาจึงพัฒนาไดอยางรวดเร็ว สํานึกรับผิดชอบนั้นไมใชแคทํางานที่ตัวเองตองรับผิดชอบใหแลวเสร็จ แตหมายถึงการมีหนาที่ รับ ผิ ด ชอบต อ ผลสํ า เร็ จ ของภาพรวมทั้ง เรื่อ งที่เ ราต อ งเกี่ ย วข อง เช น ถ า เราอยากให บ า นเมื อ งสะอาด เราก็ตองไมทิ้งขยะในที่ไมเหมาะสมเปนเรื่องแรก ขณะเดียวกันเราก็จะไมยอมใหใครมาทิ้งขยะดวย ทั้งๆ ที่ เราไมใชเจาหนาที่ของรัฐ แตเราก็จะเปนหูเปนตาให และถามีขยะตกอยูใหเห็น หากเราพอเก็บได เราก็จะ เก็ บโดยไมรอคนกวาดขยะมาทํา หนา ที่ของเขา และเมื่อมี การประชุ มสัมมนาขอรับขอเสนอแนะตา งๆ ในเรื่องนี้เราก็จะใหความรวมมือ สํานึกรับผิดชอบอยางนี้เทานั้นบานเมืองถึงจะสะอาดสวยงามได แตถา แยกสวนไปทํา แมทุกคนจะบอกวาตนรับผิดชอบในหนาที่ของตนแลว ความสะอาดของบานเมือง ยอมเกิดขึ้น ไดยาก เพราะความสะอาดของบานเมืองแยกเปนสวนๆ ไมได เมื่อเรามองไปที่กองทัพอากาศของเรา เราคงอยากใหกองทัพของเรามีบริเวณที่สะอาด ที่ทํางาน มีการใชน้ําใชไฟอยางประหยัด การปฏิบัติหนาที่ของแตละสวนงานรวดเร็วถูกตอง การดูแลอากาศยาน เป น ไปตามเกณฑ ม าตรฐาน การส ง กํ า ลั ง บํ า รุ ง ทํ า ได ส มบู ร ณ แ บบ และที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด การปฏิ บั ติ ก าร ทางอากาศสามารถประกันความมั่งคงของชาติได จะเห็นวาในแตละเรื่องนั้นมีผูที่เกี่ยวของมากมาย ทุกคนที่เกี่ยวของในแตละเรื่องนั้น ตองมีสํานึก รับผิดชอบ ตอเปาหมายของเรื่อง ไมใชมองแตหนาที่ของตนเองที่ไดรับมอบหมายเทานั้น เพราะหากเราไมนึกถึง ผูเกี่ยวของอื่นๆ ความสมบูรณของผลสัมฤทธิ์ของเรื่อง คงเกิดไดยากมาก แคเราเจอขยะชิ้นเล็กๆ แลวรอ คนกวาดขยะมากวาด เพราะเปนหนาที่เขาไมใชหนาที่เรา เทานี้ก็จบแลว เพราะขบวนการคิดไดแยกสวน ของความสะอาดออกเปนสวนๆ วันนี้คนกวาดขยะอาจไมสบายก็ได และเมื่อมีขยะตกอยู คนอื่นๆ ก็อาจ


ทิ้งขยะอีก จะวาใครก็ไมได ทุกอยางก็เละเปนวงรอบจนหาจุดเริ่มตนไมไดเพราะไมรูวาขอบเขตของหนาที่ ของใครอยูตรงไหนแน และก็โทษกันไปโทษกันมาทั้ง ๆ ที่การมีสํานึกในหนาที่ของการเปนทหารอากาศนั้น หากเราตกลงรวมกันวา อยากใหสถานที่ของเราสะอาด ทหารอากาศทุกคนตองมีความรับผิดชอบในเรื่องนี้ ประเด็นสําคัญของการมีสํานึกรับผิดชอบของการเปนทหาร คือ การรักษาความมั่นคงของชาติ ซึ่ งหมายถึงอธิ ปไตยของชาติ สิ่งซึ่ งหากเราเสียไปเมื่อใดก็เท ากั บเราเสี ยทุกสิ่ งทุกอยางของชาติ ไปจนหมด ความรับผิดชอบสวนนี้จึงสูงมาก สูงขนาดที่เราปฏิญาณกันเสมอมาวา เราจะรับผิดชอบสิ่งนี้ดวยชีวิต ของเรา หลายครั้งที่ผูเขียนไดไปบรรยายในสถาบันตางๆ ของกองทัพอากาศ ผูเขียนมักจะถามวา พวกเรา แนใจไหมวาพวกเรามีสํานึกรับผิดชอบในหนาที่ของทหารครบถวนสมบูรณ เพราะหากมีจริงๆ ในหนวยงาน ของเราจะเต็มไปดวยความมีระเบียบวินัย ความเสียสละ ความสามัคคี ความพรอมปฏิบัติการ เพราะสิ่งนี้ เทานั้นที่จะประกันความสําเร็จของการรักษาอธิปไตยของชาติไวได หากเรายังมีไมครบ แตละคนนาจะ ตรวจสอบสํานึกรับผิดชอบในการเปนทหารของตนเองบอยๆ เพื่อปรับปรุงสิ่งเหลานี้ โดยที่เราสามารถ ตั้งคําถามกับตัวเองวา เรื่องราวที่เกิดขึ้นรอบๆ ตัวเรานั้น - เราคิดอยางไรในเรื่องที่เกิดขึ้น - ตัวเรามีบทบาทอยางไรในเรื่องนั้น - สถานการณเหลานี้ เกี่ยวของกับเรามากนอยแคไหน - ตัวเราไดทํา (หรือไมไดทํา) อะไรบาง จึงเกิดเรื่องอยางนี้ - เราจะแกไขปองกัน หรือ เปลี่ยนแปลงเหตุการณเหลานี้ใหดีขึ้นไดอยางไร การทบทวนดวยคําถามเหลานี้ จะชวยสรางและกระตุนสํานึกรับผิดชอบตอผูตั้งคําถามไดเปน อยางดี เพราะสํานึกรับผิดชอบนั้น คือ ตนทุนที่มีไดไมจํากัดในแตละบุคคล และเปนตนทุนที่ซื้อหาไมได ดวยเงิน ผูเขียนมั่นใจในความรักชาติ และความเสียสละของคนไทย ขอเพียงเปดใจใหกวางสรางสํานึก รับผิดชอบในหนาที่ของตนเองใหครบวงจรเทานั้น


มีน

หมายเหตุ :

- โกรกธาร หรือ โตรกธาร ความหมายเดียวกัน - กริว หรือ ตริว ความหมายเดียวกัน

รายชื่อผูโชคดีจากการจับฉลาก จํานวน ๓ ทาน ดังนี้ - พล.อ.ต.นิวตั เนื้อนุม สนภ.ทอ. - ร.อ.วิษณุ จิตตสวาท บน.๖ - ร.ท.พงษศักดิ์ ประภัสสรพงษ บน.๒

โทร. ๒ – ๘๓๐๖ โทร. ๒ – ๕๑๔๐ โทร. ๕ – ๐๑๑๐

กรุณาติดตอรับรางวัลๆ ละ ๓๐๐ บาท จาก สํานักงานหนังสือขาวทหารอากาศ (ชั้น ๑ อาคารหอสมุด กองทัพอากาศ) ภายใน ธ.ค.๕๔ โทร.๒ – ๔๒๔๑


แบบสอบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับหนังสือข่าวทหารอากาศ ยศ - ชื่อ – สกุล........................................................ หน่วยงาน........................................... โทรศัพท์ ...................... ๑. ความคิดเห็นในคอลัมน์ตา่ งๆ (กาเครื่องหมาย 3 ในช่องตามความคิดเห็นของท่าน) ประโยชน์ที่ได้รบั คอลัมน์ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย ไม่มีประโยชน์ ๑.พระราชกรณียกิจ ๒.การทหาร ๓.อากาศยาน/การบิน ๔.วิชาการ/ทั่วไป ๕.สุขภาพ ๖.ภาษาไทย/ต่างประเทศ ๗.สาระน่ารู้ ๗.รั้วสีเทา ๒. ความคิดเห็นในรูปเล่ม (กาเครือ่ งหมาย 3 ในช่องตามความคิดเห็นของท่าน) รูปเล่ม ความเหมาะสมของรูปเล่ม มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย ไม่เหมาะสม ๑.ขนาดของหนังสือ ๒.ปกหน้าของหนังสือ ๓.จํานวนหน้าของหนังสือ ๔.กระดาษพิมพ์เนื้อใน ๕.ภาพรั้วสีเทา ๖.สีและตัวอักษร ๗.การจัดเนื้อหา ๓. ท่านได้นําข้อมูลที่ได้จากหนังสือข่าวทหารอากาศไปใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง (ตอบได้มากกว่า ๑ ข้อ) เพิ่มพูนความรู้ ใช้ในการทํางาน ใช้เป็นแนวทางในการดําเนินชีวิต ใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง(อภิปราย/รายงาน/การเรียนการสอน ฯลฯ) อื่นๆ (ระบุ)............................................................................................................................ ๔. ท่านมีความพึงพอใจต่อหนังสือข่าวทหารอากาศมากน้อยเพียงใด พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก พึงพอใจน้อย

พึงพอใจน้อยที่สุด

๕. สิ่งที่ควรปรับปรุง / ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณที่กรุณาให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ตอ่ หนังสือข่าวทหารอากาศ กรุณาส่งแบบสอบถามคืนมาที่สํานักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ หอสมุดกองทัพอากาศ ยศ.ทอ. โทรสาร ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑ หมายเหตุ ผู้ตอบแบบสอบถามมีสิทธิรับรางวัลสมุดบันทึกประจําวันทหารอากาศ รางวัลละ ๑ ชุด (๓ เล่ม) จํานวน ๒๐ รางวัล (จั บ สลาก) ผู้ ส่ ง แบบสอบถามสามารถตรวจสอบรายชื่ อ ผู้ รั บ รางวั ล ได้ ที่ ห นั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ฉบั บ เดื อ น ธ.ค.๕๔ หรื อ ที่ http://www.airforcemagazine.rtaf.mi.th


พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีส‡งกำลังพล ของ ทอ. ปฏิบัติหนˆาที่ในกองกำลังทหารอากาศเฉพาะกิจที่ ๙ (กกล.ทอ.ฉก.๙) ปัตตานี ณ ลานจอดอากาศยานฝูงบิน ๖๐๑ บน.๖

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเกษียณอายุ ราชการ ประจำปี ๒๕๕๔ ใหˆแก‡ขˆาราชการ และลูกจˆางในสังกัด กองทัพอากาศ ณ ที่ตั้งดอนเมือง และบางซื่อ ณ หอประชุม ทอ. (ทองใหญ‡)

พล.อ.อ.บุญยฤทธิ์ เกิดสุข ผช.ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีปิด การศึกษาหลักสูตรการทัพอากาศ รุ‡นที่ ๔๕ ณ หˆองรับรอง ทอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิดสำนักงาน คลังสมอง (สคม.ทอ.) โดยมี พล.อ.ท.นิวัตน‹ นกนˆอย ผอ.สคม.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ ณ หนˆาหˆองบรรยาย บก.ทอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. พรˆอมดˆวย คุณนภาพร ศุภวงศ‹ นายกสมาคมแม‡บˆาน ทอ. ร‡วมใหˆโอวาทและแนวทาง แก‡ขˆาราชการ และภริยาที่จะเดินทาง ไปปฏิบัติราชการในต‡างประเทศ เพื่อทำ หนˆาที่ผูˆช‡วยทูตทหารอากาศ ณ หˆองรับรองพิเศษ

พล.อ.อ.ศรีเชาวน‹ จันทร‹เรือง ผช.ผบ.ทอ. ร‡วมกับ สทท.ทีวีสี ช‡อง ๓ นำถุงยังชีพไปมอบใหˆแก‡ผูˆประสบภัยดินโคลนถล‡ม ณ ร.ร.บˆาน หˆวยคอม อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ‹ โดยมี น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ


พล.อ.อ.วินัย เปล‡งวิทยา ผบ.คปอ. เป็นประธานในพิธีมอบเครื่องหมาย แสดงความสามารถการรบร‡วมอากาศ-ภาคพื้น ทอ.กิตติมศักดิ์ ใหˆแก‡ผูˆสนับสนุนภารกิจ คปอ. ณ ชุมนุมสัญญาบัตร คปอ.

พล.อ.อ.ดิเรก พรหมประยูร ปษ.พิเศษ ทอ. ส‡งมอบหนˆาที่ และ การบังคับบัญชา ใหˆแก‡ พล.อ.ท.ชนัท รัตนอุบล จก.ยศ.ทอ. คนใหม‡ ณ ลานหนˆาอาคาร บก.ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.วุฒิชัย คชาชีวะ รอง เสธ.ทอ. ในฐานะ รอง ผอ.ศบภ.ทอ. ร‡วมกับ สทท.ทีวีสีช‡อง ๓ และ ธ.ไทยพาณิชย‹ จำกัด (มหาชน) นำถุงยังชีพไปมอบ ใหˆแก‡พี่นˆองประชาชนที่ประสบความเดือดรˆอนจากอุทกภัย ในพื้นที่ อบต.บางนมโค และ อบต.รางจระเขˆ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา

พล.อ.อ.วินัย เปล‡งวิทยา ผบ.คปอ. เป็นประธานในการประกอบพิธี เนื่องในวันคลˆายวันสถาปนา คปอ. ณ อนุสาวรีย‹จอมพลอากาศ เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร

พล.อ.อ.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ รองเสนาธิการทหาร ส‡งมอบ หนˆาที่ ผบ.อย. และการบังคับบัญชา ใหˆแก‡ พล.อ.ท.อานนท‹ จารยะพันธุ‹ ผบ.อย.คนใหม‡ ณ บริเวณหนˆา บก.อย.

พล.อ.ท.ธงชัย แฉลˆมเขตร ผช.เสธ.ทอ.ฝกร. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม ฝ่ายอำนวยการนิรภัย ดˆานนิรภัยของ บน.๑ โดยมี น.อ.คงศักดิ์ จันทรโสภา ผบ.บน.๑ ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุม บก.บน.๑


พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด สวนเฉลิมพระเกียรติ ๙๘๔ ณ ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.กฤษณะ นิ่มวัฒนา ผช.เสธ.ทอ.ฝกพ. ส‡งมอบหนˆาที่ และการบังคับบัญชา ใหˆแก‡ พล.อ.ต.ยรรยง คันธสร จก.กพ.ทอ. คนใหม‡ ณ หˆองบรรยาย บก.ทอ.

พล.อ.ท.อานนท‹ วิรัชกุล จก.ชอ. และคณะฯ เดินทางตรวจเยี่ยม สายวิทยาการช‡างอากาศ ณ บน.๗ โดยมี น.อ.สฤษดิ์พร สุนทรกิจ ผบ.บน.๗ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. ตˆอนรับ พล.อ.ต.สมพล พูนทวีธรรม จก.จร.ทอ. พรˆอมดˆวยคณะฯ ในโอกาสตรวจสอบ การปฏิบัติราชการ รร.นอ. ณ หˆองประชุม บก.รร.นอ. (๑)

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. ตˆอนรับ นาย Makoto Lokibe ผบ.รร.นายรˆอยรวมเหล‡าญี่ปุ่น เยี่ยมชมกิจการ รร.นอ. ณ หˆองประชุม บก.รร.นอ. (๑)

พล.อ.ท.อานนท‹ วิรัชกุล จก.ชอ. เป็นประธานนำ ขˆาราชการ ลูกจˆาง และพนักงานราชการ ทำพิธีวางพานพุ‡มถวายราชสักการะ พระบรมสาทิสลักษณ‹ พระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว เนื่องในวันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระเจˆา อยู‡หัว เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมชมกิจการ ชอ. และไดˆร‡วมปฏิบัติธรรม ฟังเทศน‹มหาชาติ บริจาคโลหิต ณ สมส.ทอ.บางซื่อ


พล.อ.ท.เมธา สังขวิจิตร จก.สพ.ทอ. เป็นประธานในพิธีมอบ ประกาศเกียรติคุณและเครื่องหมายความสามารถในการทำหนˆาที่ สรรพาวุธเป็นกิตติมศักดิ์ใหˆแก‡ขˆาราชการ สพ.ทอ. ณ หอประชุม สพ.ทอ.

พล.อ.ต.ศิวเกียรติ์ ชเยมะ ผบ.รร.การบิน และ พล.อ.ต.มานิตย‹ ศัตรูลี้ ผอ.รพ.จันทรุเบกษา พอ. มอบถุงยังชีพแก‡ผูˆประสบอุทกภัย จำนวน ๑๐๐ ชุด และนำทหารกองประจำการช‡วยเหลือประชาชนที่ประสบอุทกภัยขนยˆาย สิ่งของ พรˆอมจัดชุดบริการทางการแพทย‹เคลื่อนที่ สำหรับการรักษา พยาบาลขั้นตˆน ณ พื้นที่ อบต.บางตะเคียน อ.สองพี่นˆอง จ.สุพรรณบุรี

พล.อ.ต.นิคม วงษ‹ดรุณีย‹ จก.พธ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด กิจกรรมพัฒนาหน‡วย เนื่องในวันคลˆายวันสถาปนา พธ.ทอ. ปีที่ ๖๓

พล.อ.ต.เจษฎา วิจารณ‹ ผอ.สพร.ทอ. เป็นประธานในการจัด กิจกรรมพัฒนาระบบราชการปี ๕๔ เรื่อง การเตรียมการรับการ ตรวจประเมินจากสำนักงาน ก.พ.ร. ตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการ ทอ. ณ โรงแรมโกลเดˆนบีช ชะอำ จ.เพชรบุรี

พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธีติดปีก กิตติมศักดิ์ ใหˆแก‡ขˆาราชการ ขส.ทอ. ณ หˆองสมุด ขส.ทอ.

พล.อ.ต.ศิริชัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. เป็นประธานในพิธีปิด การฝึกอบรมทหารกองประจำการเป็นพลขับรถ ณ กวก.ขส.ทอ.


พล.อ.ต.วัธน มณีนัย รอง ผบ.รร.นอ. เป็นประธานในพิธีปิด การแข‡งขันฟุตบอล RTAFA LEAUGE 2011 โดยมี นขต.รร.นอ. ร‡วมการแข‡งขัน เพื่อสรˆางความสามัคคี ณ สนามฟุตบอล รร.นอ.

น.อ.อนุรัตน‹ ปัญญาชนวัฒน‹ รอง ผบ.ดม. เป็นประธานในพิธี ปิดการฝึกอบรมหลักสูตรวิทยาการเหล‡า สห. รุ‡นที่ ๑ แบบการ ศึกษาดˆวยตนเอง สำหรับ น.ประทวน ณ หˆองประชุมรˆอยจราจร พัน.สห.ทอ. กรม สห.ทอ.สน.ผบ.ดม.

น.อ.สุทธิพงษ‹ อินทรียงค‹ รอง จก.ยก.ทอ. ในฐานะ ผอ.กองอำนวย การฝึกผสม THAI BOOMERANG 11 พรˆอมดˆวย CAPTAIN JONATHAN DUDLEY ผชท.ทหารออสเตรเลียประจำประเทศไทย ร‡วมเป็นประธาน พิธีเปิดการฝึกผสม THAI BOOMERANG 11 ณ หˆอง Blue Sky อาคาร ธูปะเตมีย‹ บน.๑

น.อ.ฆณกรณ‹ มาลีวรรณ ผูˆแทน ศวอ.ทอ. เป็นประธานในพิธีจัดโครงการ ศูนย‹การเรียนรูˆพลังงานทดแทนกองทัพอากาศ เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา โดยมี น.อ.สุทัศน‹ แสงเดชะ เสธ.รร.การบิน ใหˆการตˆอนรับ ณ ร.ร.สบู‡ดำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร‹ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม

น.อ.ถาวรวัฒน‹ จันทนาคม รอง จก.ยก.ทอ. ในฐานะผูˆอำนวยการฝึก ทอ. ร‡วมกับ COLONEL TOMMY TAN AH HAN ผูˆอำนวยการฝึก ทอ.สิงคโปร‹ และ COLONEL MARC CAUDILL ผูˆอำนวยการฝึก ทอ.สหรัฐอเมริกา เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมขั้นตˆนของการฝึก COPE TIGER 2012 ณ โรงแรมสีมาธานี จ.นครราชสีมา

น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ เป็นประธานในพิธีแสดง ความยินดีและมอบประกาศนียบัตรนักบินพรˆอมรบ กับ ฮ.๖ ข/ ค/ง และ ฮ.๖ ณ อาคารโรงเก็บอากาศยาน ฝูง.๒๐๓ บน.๒


น.อ.ชานนท‹ มุ‡งธัญญา ผบ.บน.๔ เดินทางดูพื้นที่ประสบอุทกภัย และใหˆกำลังใจแก‡กำลังพลของ บน.๔ ที่ออกไปช‡วยเหลือผูˆประสบ อุทกภัย ณ อ.วัดสิงห‹, อ.สรรพยา, อ.มโนรมย‹, อ.เมือง จ.ชัยนาท

น.อ.เฉลิมชัย ศรีสายหยุด ผบ.บน.๒๑ ในฐานะ ผบ.ศบภ.บน.๒๑ สนับสนุนน้ำดื่ม ใหˆแก‡เหล‡ากาชาด จ.อุบลราชธานี เพื่อนำไปช‡วยเหลือ ผูˆประสบอุทกภัย พรˆอมมอบถุงยังชีพแก‡ผูˆประสบอุทกภัยในพื้นที่ ต.บุ‡งไหม และ ต.ท‡าชˆาง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี

น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ เป็นประธานประกอบพิธี ทำบุญวันคลˆายวันสถาปนา ฝูง.๔๖๑ ครบรอบ ๒๗ ปี พรˆอมดˆวยพิธีมอบ ประกาศนียบัตร แก‡นักบินพรˆอมรบกับ บ.ล.๙ รุ‡นที่ ๖๔ และ บ.ล.๒ ก รุ‡นที่ ๒๕ พรˆอมทั้งนักบินที่ทำการบินกับ บ.ล.๙ ก ครบ ๒,๐๐๐ ชม. ณ ฝูง.๔๖๑ บน.๔๖

น.อ.กฤษฎา สุพิชญ‹ รอง ผบ.บน.๑ (๑) ตˆอนรับ LT.COL.WILLIAM COATES and Australian Command and Staff College Delegation เดินทางมาเยี่ยมชมกิจการ บน.๑ ณ หˆองประชุม บก.บน.๑ พรˆอมนำชมระบบ ACMI และ SIMULATOR ณ ผคยอ.บน.๑

น.อ.วรพจน‹ วรพิศาล รอง ผบ.บน.๔๑ เขˆาร‡วมเป็นเกียรติในพิธี มอบรางวัลคนดีแทนคุณแผ‡นดิน ประจำภาคเหนือ โครงการ “แทนคุณแผ‡นดิน ๒๕๕๔” ณ หˆองป่าสักหลวง โรงแรมโลตัส ปางสวนแกˆว จ.เชียงใหม‡

น.อ.ศรัณยพงศ‹ เดชกลˆาหาญ เสธ.บน.๕๖ เป็นประธานในพิธี เปิดโครงการอบรมพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรในการใชˆ ประโยชน‹เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดˆอย‡างเชี่ยวชาญ ใหˆแก‡ขˆาราชการ บน.๕๖ ณ หˆองบรรยายสรุป ฝูง.๕๖๑





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.