หนังสือข่าวทหารอากาศ ฉบับเดือน กันยายน 2554

Page 1

CopeTiger 2011



“...คนทํางานดีคือคนมีระเบียบ ไดแกระเบียบในการคิดและในการทํา. ผูไมฝกระเบียบไว ถึงจะมีวิชา มีเรี่ยวแรง มีความกระตือรือรนอยูเพียงไร ก็มักทํางานใหสําเร็จดีไมได เพราะความคิดอานสับสนวาวุน ทําอะไรก็ ไมถูกลําดับขั้นตอน มีแตความลังเลและขัดแยง ทั้งในความคิด ทั้งใน การปฏิบัติงาน. ขาราชการจึงจําเปนตองฝกระเบียบในตนเองขึ้น. ระเบียบนั้น จักไดชวยประคับประคองสงเสริมใหทําตนทํางานไดดีขึ้น และประสบ ความเจริญมั่นคงในราชการ...” พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกขาราชการพลเรือน เนื่องในวันขาราชการพลเรือน ๑ เมษายน ๒๕๒๗


1

ข่าวทหารอากาศ คณะผู้จัดทำหนังสือข่าวทหารอากาศ

หนังสือข่าวทหารอากาศ

เจ้าของ กองทัพอากาศ

ทีป่ รึกษา พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร พล.อ.ท.ประพัตรา ตัณฑ์ไพโรจน์ พล.อ.ต.หญิง มาลี ดิษฐบรรจง พล.อ.ต.หญิง สุมาลี ฤทธิบตุ ร

ผูอ้ ำนวยการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ

ความเป็นมา หนังสือข่าวทหารอากาศ เป็นนิตยสารรายเดือนของ กองทัพอากาศ เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๓ ขึ้นกับกรม ข่ า วทหารอากาศ มี น าวาอากาศเอก สกล รสานนท์ เป็ น บรรณาธิ ก ารคนแรก ดำเนิ น การโดยทุ น ของข้ า ราชการ ทหารอากาศ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๘ ได้โอนกิจการมาอยู่ในความ อำนวยการของกรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ ตามคำสั ่ ง ทอ. (เฉพาะ)ที่ ๕๘๐/๙๘ ลง ๒๓ ธ.ค.๒๔๙๘ มีเจ้ากรมยุทธศึกษา ทหารอากาศ เป็นผูอ้ ำนวยการ ตามคำสัง่ ทอ.(เฉพาะ) ที่ ๕/๙๙ ลง ๗ ม.ค.๒๔๙๙ ภารกิจ

รองผู้อำนวยการ

ดำเนิ น กิ จ การหนั ง สื อ ข่ า วทหารอากาศ ให้ เ ป็ น ไป ตามนโยบายของกองทั พ อากาศ มี ผ ู ้ อ ำนวยการหนั ง สื อ ข่ า ว ทหารอากาศ (จก.ยศ.ทอ.) เป็นผูบ้ งั คับบัญชารับผิดชอบ

พล.อ.ต.ยงยุทธ หาบุบผา เสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ น.อ.ประเสริฐ ช่างประเสริฐ รองเสนาธิการกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ

วัตถุประสงค์/นโยบายกองทัพ ๑. เพือ่ เพิม่ พูนความรูใ้ นกิจการทัว่ ๆ ไป ๒. เพือ่ แลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นในด้านการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี อันจะเป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวม ๓. เพือ่ เผยแพร่กจิ การกองทัพอากาศ

น.อ.สหัสชัย มาระเนตร น.ท.ชาญยุทธ รัตนสาลี

กองบรรณาธิการ บรรณาธิการ พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร ผู้ช่วยบรรณาธิการ น.อ.หญิง พัชรา ภัทรสุวรรณ น.อ.หญิง นภิศพร สังข์ทอง

ประจำกองบรรณาธิการ น.ท.หญิง กาญจณา แตงฉ่ำ น.ท.หญิง วรรณิภา ยีป่ ระชา น.ต.สินธพ ประดับญาติ

น.ท.นิพนธ์ ก่อสินค้า น.ท.หญิง อนงค์นาถ บุญจฑิตย์ พ.อ.อ.ชัยชนะ โสระสิงห์

กองจัดการ น.ท.พินจิ นุชน้อมบุญ

น.ท.สมพร สิงห์โห ร.อ.หญิง สุมาลี สายะนันท์ พ.อ.อ.ประจวบ วีระชนม์ จ.อ.หญิง เศาวณี พ่านเผือก นาง พรทิพย์ ศรีวรพงษ์ สำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม.๑๐๒๑๐ โทร. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑, ๐-๒๕๓๔-๔๒๔๑ Fax. ๐-๒๕๓๔-๔๔๗๑

นโยบายการดำเนินงานในปัจจุบัน ๑. เป็นสือ่ กลางในการแลกเปลีย่ น แสดงความคิดเห็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนากองทัพและส่วนรวม ๒. เรือ่ งทีน่ ำลงในหนังสือข่าวทหารอากาศ * ต้องไม่ขดั ต่อวัตถุประสงค์/นโยบาย กองทัพอากาศ ทีก่ ำหนด * ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อความมัน่ คงของชาติ บุคคล หรือส่วนรวม * ความยาวของเรือ่ งไม่ควรเกิน ๕ ตอน แต่ละตอน ไม่ควรเกิน ๕ หน้า * ต้องได้รบั การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ กรรมการพิจารณาเรือ่ งของสำนักงานหนังสือข่าวทหารอากาศ กำหนดการเผยแพร่ นิตยสารรายเดือน

พิมพ์ท่ี โรงพิมพ์กองทัพอากาศ ดอนเมือง แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ โทร.๐-๒๕๓๔-๒๙๔๓ , ๐-๒๕๓๔-๕๑๔๘

ค่าสมาชิกภายนอก ปีละ ๓๕๐ บาท (รวมค่าส่ง) สัง่ จ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ ความคิดเห็นของผูเ้ ขียนในหนังสือฉบับนีไ้ ม่มส ี ว่ นผูกพันกับทางราชการแต่ประการใด

ออกแบบปก : น.ต.สินธพ ประดับญาติ

http://www.rtaf.mi.th หรือ E-mail : rtafmag@gmail.com


1

ปีท่ี ๗๑ ฉบับที่ ๙ เดือน กันยายน ๒๕๕๔

สารบัญ บทบรรณาธิการ

๕ ธ สถิตในใจประชา ...ตามรอย ๑๐ ปฏิบตั กิ ารของทหารไทยในงานพระราชสงคราม ๑๕ ๒๑ ๒๗ ๓๒ ๓๙ ๔๔ ๕๑ ๕๔ ๕๙

๖๖ ภาษาไทยด้วยใจรัก

ณ ประเทศฝรัง่ เศส พ.ศ.๒๔๖๑ ๗๐ ...พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร ๗๓ การฝึกผสม Cope tiger ๗๕ ในมุมมองของผู้ประเมินการฝึก ๗๙ ...น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ ๑๒ ก.ย.๕๔ ครบรอบ ๒๙ ปี ศวอ.ทอ. ๘๑ ...ปชส.ศวอ.ทอ. สถาปนา ขส.ทอ. ...ปชส.ขส.ทอ. ๘๘ ระบบเทคนิคของเครือ่ งบิน C-130 ...Skypig อุโมงค์ลม ...ร.อ.เอกประสิทธิ์ พรมทัณ ๙๑ ๑๑ ปี กับการประกันคุณภาพการศึกษา ของกองทัพ ...น.ท.วิพล สุขวิลยั ๙๔ “รบอย่างไร ฝึกอย่างนัน้ ” ผนึกกำลังฝึกป้องกันภัยทางอากาศ ...ปชส.รร.นอ. ๑๐๐ ใช้สมาร์ทโฟนอย่างปลอดภัย ...น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต์ ๑๐๒ ๑๙ ก.ย.๕๔ วันคล้ายวันสถาปนาศูนย์ภาษา ๑๐๕ ครบรอบ ๓๙ ปี ...ปชส.ศูนย์ภาษา

๑๐๐

“สามัคคีเภทคำฉันท์ - วรรณกรรมกลยุทธ์” ...นวีร์ CROSSWORD ...อ.วารุณี เวลา...การ์ตูน ...มิสกรีน Test Tip Part 14 ...Runy วัตถุมงคลของชาว ทอ. ...น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒) ธรรมชาติกำหนดหรือเป็นไปตามคำทำนาย ...Pharaoh พูดจาประสาหมอพัตร “มอร์ต วอล์กเกอร์” ...หมอพัตร มุมกฎหมาย “การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร” ...น.ท.พงศ์ธร สัตย์เจริญ สามแผ่นดิน ตอน ๓ ...พล.อ.อ.เดชา หันหาบุญ มุมสุขภาพ : ความรู้เรื่องการใช้ยาแก้แพ้ ...นายห่วงใย ขอบฟ้าคุณธรรม : การรูจ้ กั พอ ...1261 ในรัว้ สีเทา


สวัสดี สมาชิกข่าวทหารอากาศทุกท่าน “โลกจะสุขสบายนั้นเปนไดหลายทาง จะสบความสุขสันตสําคัญที่ใจ ฝาลูทางชีวิตตองคิดเฝายอมใจ ตั้งหนาชื่นเอาไวยอมใจดวยเพลง

ตองหลบสิ่งกีดขวางหนทางใหพนไป สุขและทุกขอยางไรเพราะใจตนเอง โลกมืดมนเพียงใดหัวใจอยาครามเกรง ไยนึกกลัวหวาดเกรงยิ้มสู”

เป็นความหนึ่งในบทเพลงพระราชนิพนธ์ “ยิ้มสู้” ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

วันเดือนผ่านไปอย่างรวดเร็ว เดือนกันยายน ๒๕๕๔ กําลังจะผ่านไป และในเดือนนี้ของทุกปี ก็จะมีขา้ ราชการ เกษียณอายุ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาทุกท่านก็คง “ยิ้มสู้” ในการทุ่มเทกําลังใจ กําลังกาย กําลังสติปัญญา เพื่อทํางาน ในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยดีตลอดมา ซึ่งนับได้ว่าเป็นบุคคลตัวอย่างที่ดีของพวกรุ่นน้องๆ ใช้เป็นแบบอย่างในการ ปฏิบัติงาน....ในโอกาสนี้ คณะผู้จัดทําหนังสือข่าวทหารอากาศ และข้าราชการกองทัพอากาศ ขออํานาจคุณพระศรี รัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ได้โปรดคุ้มครอง ให้ผู้เกษียณอายุราชการทุกท่าน มีพลานามัยที่สมบูรณ์ มีอายุยืนนาน พบแต่สิ่งดีๆ เป็นมงคลในชีวิต และ “ยิ้มสู้” เช่นนี้ตลอดไป ปี พ.ศ.๒๕๒๘ สหประชาชาติ ได้ กํา หนดให้ เป็ นปี เ ยาวชนสากล คณะรัฐ มนตรีจึ ง ได้มี มติ กํา หนดให้ วัน ที่ ๒๐ กันยายนของทุกปี เป็น “วันเยาวชนแห่งชาติ” ทั้งนี้เนื่องจากเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๓๙๖) และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๘) เพราะพระมหากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ ได้ขึ้นครองราชย์สมบัติขณะยังทรงพระเยาว์ ดังนั้น วันเยาวชนแห่งชาติได้เริ่มมีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๘ ภาพจากปกฉบับนี้ อ่านรายละเอียดได้จาก.......เรื่องการฝึกผสม COPE TIGER 2011 ซึ่งเป็นการฝึกการใช้ กําลังทางอากาศของไทย สิงคโปร์ และสหรัฐอเมริกา จะได้เห็นความหลากหลายในมุมมองของผู้ประเมินการฝึก.... เรื่อง สมาร์ทโฟน อุปกรณ์ไฮเทคพกพา (Mobile devices) ซึ่งมีความสะดวกคล่องตัวในการใช้งาน แท้จริงแล้วอาจ สร้างปัญหาได้ ดังนั้นในเรื่องนี้ จะชี้ให้เห็นถึงการใช้สมาร์ทโฟนอย่างปลอดภัย และนอกจากนี้ ยังมีเรื่องประจําฉบับ ที่น่าสนใจอีกมากมาย เชิญพลิกอ่านตามอัธยาศัย บรรณาธิการ


รอบพระนักษัตรที่ ๑ พุทธศักราช ๒๔๗๐ - ๒๔๘๒

๖ พฤษภาคม ๒๔๗๑

๒๔๗๑


๒๔๗๑

มกราคม ๒๔๗๓

๕ ธันวาคม ๒๔๗๒

ตุลาคม ๒๔๗๖

ประมาณเดือนมิถุนายน ๒๔๗๖


๕ ธันวาคม ๒๔๘๑ ๒๐ กันยายน ๒๔๘๒

รอบพระนักษัตรที่ ๒ พุทธศักราช ๒๔๘๓ - ๒๔๙๔

๒๔๘๕

เมษายน ๒๔๘๙


๑๗ พฤษภาคม ๒๔๘๙

๑ มิถุนายน ๒๔๘๙

มีนาคม ๒๔๙๓

พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ๒๘ เมษายน ๒๔๙๓

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓

วันบรมราชาภิเษก ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓


ทรงสถาปนาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓

๒๔๙๔ วันบรมราชาภิเษก ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ (ฉบับหน้าติดตาม รอบพระนักษัตรที่ ๓)


ที่มา :- ดุสิตสมิตเลม ๖ ฉบับพิเศษ-ฉบับที่ ๖๖ (มกราคม – กุมภาพันธ – มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๒) “เพื่อเปนการเคารพตอผูเขียนรายงาน จึงขอคงไวซึ่งอักขระวิธีตามตนฉบับ”

พล.อ.อ.สมศักดิ์ วรฉัตร รวบรวม

(ตอจากฉบับที่แลว) สัมพันธมิตรของเรา จะแสดงการกิฬาอยางรืน่ เริงที่เมืองเมตซ แปลจากหนังสือพิมพฝรัง่ เศสชื่อ เลอ สปอรต ลอรแรง ประจําวันพุฒที่ 23 เมษายน,พ.ศ.2462 ************************ วันจันทรที่ 28 เดือนนี้, เราจะไดมีการกิฬาอยางแปลกที่สุดในเมืองเมตซ. ผูบังคับกองทหารไทยซึ่ง ตั้งยึดดินแดนขาศึก ไดมีความพอใจที่จะคัดเลือกทหารไทยบางคน, เพื่อแสดงการตอยมวยและไมสั้นไมยาว ใหชาวเราไดชม. เปนครั้งแรกที่ชนชาวเมืองเมตซจะไดเห็นสัมพันธมิตรของเรา, และเปนครั้งแรกที่ชาวเราทั้งหลายจะได ประสบพบเห็นวาชนชาวสยามผูที่แขงแรงและคลองแคลวที่สุด; จะไดแสดงกิฬาอยางนาหวาดเสียว มีทาทาง แปลกๆอยางวิเศษและนาดูยิ่งนัก. สับดาหะที่แลวมาขาพเจาไดไปดูการแขงขันตอยมวย และการตอสูในเชิงฟนและแทงดาบที่เมือง นอยชตัดต, คนไทยไดมีสวนเขาแสดงการกิฬาในงานนี้ดวย และขาพเจากลารับรองวา คนไทยเหลานี้ไดเลน มีภาษี (คือกระทําใหเพิ่มความสนุกสนาน) มากในบายวันนั้น. การตอสูดวยไมสั้นไมยาวหรือการตอยมวยก็ดี ก็มีอาการอยางเดียวกัน ซึ่งนาเปนอันตรายและ หวาดเสียวที่สุด ยิ่งกวาการตอยมวยของชาวเรา, แตถึงกระนั้นก็ดีในทามกลางระหวางการตอสูอันนาหวาดเสียว ของเขานั้น ผูที่ตอสูกันยังยิ้มแยมแจมใส และมีทาทางคลองแคลววองไวนาดูอยูเสมอ.


ความเปนอยูและประเพณีของนักตอสูไทยนี้,เปนสิ่งที่ลึกลับอันนาพิศวงตกอยูแกชาวเราที่พึงจะ คํานึงคิด. ตามพงศาวดารตางๆที่เรียบเรียงแตงกันขึ้นนั้นหาเปนการละเอียดละออไม, ซึ่งสอใหเห็นวายังขาด ตกบกพรองในเรื่องราวเหลานี้มิไดมีกลาวถึงเลย, ฉะนั้นจึ่งเห็นวาพงศาวดารตางๆ ตามที่รูกันมาก็ไมสูจะมี ประโยชนนัก; ขอจงตรวจดูพงศาวดารตามที่ชาวอังกฤษ, เยอรมัน, ฝรั่งเศส, ไดประพันธถึงเรื่องประเทศ สยามนั้นเถิด, ทานจะไมไดพบเห็นอะไรเลยแมแตการตอสูกันซึ่งเปนสิ่งสําคัญสวนหนึ่งของประเพณี และธรรมเนียมของประเทศ, ฉนั้นปณหาในเรื่องการฝไมลายมือและวิชาการ, ศาสนา, นิสัยใจคอ, ของ ชาติสัมพันธมิตรนี้, กระทําใหเปนสิ่งที่ชวนใหจินตะกวีอยากเรียนรูยิ่งนัก, และบัดนี้ก็ไดเปนที่เขาใจกันแลว ในเรื่องราวเหลานี้, เพราะไดปรากฎแกตาของทานผูดูเอง. ในพงศาวดารซึ่งมักจะกลาวถึงแตผลประโยชน ที่เกิดขึ้นในประเทศสยาม เนื่องดวยการหัตถกรรมและพานิชการเทานั้น, จึ่งกระทําใหเราปราศจากความรู และความคิดไปถึงการกิฬาตามแบบของชาวไทย. ถาผูที่อานหนังสือพิมพของเรา มีโอกาศไดไปทัศนาการกิฬาซึ่งคนไทยจะไดแสดงในวันจันทรนี้แลว, ก็คงจะไดประสบดวยตาของตนเองเปนแนแท. ขาพเจาเชื่อวาคงไมมีประเทศใดที่มีการกิฬามาก, และโดย วิธีอันงดงามเชนนี้. อนึ่ง เรามี ความยินดีที่ มีโ อกาศได เปนผูจัดการตอนรับและให เกียรติยศแก สัม พั นธมิตร ของเรา อยางเต็มที่ในคราวนี้ ในที่สุดเราตองขอขอบใจทานนายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค, เพราะถึงแมวาทานมีการงานอันมากหลาย ที่ตองกระทําอยูในดินแดนของมณฑลปาลาตินาต, ซึ่งกองทหารของทานตั้งยึดอยูก็ดี; ทานยังมีความ เอื้อเฟอเฉลี่ยเวลาและเต็มใจมาสําหรับพวกเรา, และใหเราไดมีโอกาศชมเชยความสามารถของชาวไทย ตลอดจนถึงบานเมืองสยามดวย.” (ลงนาม) เลอ สปอรตมัน

แปลจากหนังสือพิมพฝรัง่ เศสชื่อ เลอ มิซซัง ประจําวันที่ 28 เมษายน, พ.ศ.2462 วันหนึ่งชาวเรา (ฝรั่งเศส) ไดทราบขาววา ประเทศสยามไดประกาศสงครามกับประเทศเยอรมนี เวลานั้นหนังสือพิมพเยอรมันหลายฉบับไดโฆษนาเยาะเยยโดยความโอหังเยอหยิ่งอยางเชนเคย, แตสําหรับ ชาวเราที่ลอรแรงซึ่งเคยถูกเยอรมันกดขี่นั้น พากันดีใจตอขาวที่ไดทราบนี้. เพราะตามที่ประเทศสยาม ไดประกาศสงครามกับเยอรมนีนั้น ก็เพื่อจักสงวนไวซึ่งธรรมะและความยุติธรรมของโลกใหดํารงคงอยู,


ซึ่งตรงกันขามกับความประพฤติอันดุรายอยางปาเถื่อนของชาติเยอรมัน อันไมมีแบบบทกฎหมายและ ธรรมะอยางใด, เยอรมันไดปดบังขาวที่ประเทศสยามไดสงกองทหารไทยมากระทําสงครามรวมกับทหาร ฝรั่งเศสของเราในสนามรบ, เราไมไดรูเลยจนกระทั่งบัดนี้. แตที่ไหนไดอยูใกลๆกันนี่เอง, ที่เมืองเฟรสคาตี (Frescaty) ไดมีกองบินทหารไทยกองหนึ่ง, ซึ่ง องอาจกลาหาญชํานิชํานาญและใจเย็น, ไดชวยทหารนักบินของเรากระทําการในสนามรบทุกแหง. เขา(ทหารไทย)พึ่งจะไดสําแดงตนใหเราเห็นตัวเมื่อเย็นวานนี้เอง, ในขณะเมื่อคณะสโมสรการกิฬาเมืองลอรแรง ไดเชิญเขามารับประทานอาหารที่โฮเตลมวาตริเอร (Moitrier), เพื่อใหเกียรติยศแกเขา. ไดมีเจานาที่ฝายทหาร และพลเรือนมาในการเลี้ยงนี้โดยพรอมเพรียง, ซึ่งนับวาเปนที่ระฦกสําคัญอยางหนึ่งของชาวเรา. นายเลอรังต (Monsieur Laurent) เสมียนตราจังหวัดเมตซ, ไดกลาวสุนทรพจน มีขอความ ดังตอไปนี้ :“เรารูสึกปติยินดีและภูมิ์ใจยิ่งนักที่ไดมารวมสามัคคีกันคราวนี้. สวนที่ประเทศสยามไดมีบุญคุณแก ประเทศฝรั่งเศสเพียงใดนั้น จะยังไมกลาวในที่นี้ แตจะตองขอกลาวถึงความกลาหาญของประเทศสยาม บาง เพื่อพอใหเปนที่เขาใจและรูจักซึมทราบโดยทั่วกัน. เมื่อแรกเริ่มการสงครามเยอรมันไดสําแดงฤทธา ศักดานุภาพ เพื่อปราถนาจะใหประเทศที่เปนกลางมีความหวาดหวั่นครั่นครามตออํานาจราชศักดิ์ของเขา. “แตก็เปลา ! หาไดเปนไปตามปราถนาของเขาไม. เพราะพวกทานยอมทราบอยูดีแลวถึงความ ประพฤติอันไมเปนธรรมของเขา ที่ไดมาเบียดเบียนย่ํายีตอประเทศฝรั่งเศส, และประพฤติเปนโจรกรรมปลนสดม ตอชาติเบลเยี่ยม ซึ่งยังหาไดประกาศสงครามไม. ประเทศสยามของทานไดเปนที่ 1 ที่ไดตกลงปลงใจเขาชวย กระทําสงครามกับฝายเราอยางจริงจัง. เมื่อแรกเริ่มที่เยอรมันไดลงมือกระทําการสงครามอยางทารุณกรรม ดวยเรือใตน้ํา อันปราศจากธรรมะ, กองทหารอาสาของประเทศสยามพรอมดวยรถยนตร 300 คันและ นักบินอันสามารถ, ไดมาชวยเราที่เมืองชาลอง (Chalon) และแวรดัง. “เมื่อเราไดเห็นทาน,ไดพากันกลาววาคนไทยก็คือฝรั่งเศสในบูรพทิศนั้นเอง. และในวันนี้อาศัยที่พวกเรา ไดมารวมสามัคคีกัน, เราจึ่งขอหนุนความเห็นที่วา “คนไทยก็คือฝรั่งเศสในบูรพทิศ” นั้นใหเปนความเห็น อันถูกตองโดยแท. ยังอีก คือ, ธงชัยเฉลิมพลของทาน. ชาวเราทั้งหลายมีความยินดีและภูมิ์ใจยิ่งนัก, ที่ไดเห็นธงชัยของ ทานเหมือนกับธงฝรั่งเศสที่ควบกัน. “ชาวเราทั้งหลายขอแสดงความรักใครในความสามัคคีซึ่งไดมีตอกันนี้อยางเปนที่พอใจมาก. “ทานไดพิสูตรใหชาวเราเห็นประจักษเปนองคพยานวา ชาติของทานเปนชาติอารยะธรรมไดรับ ความเจริญมาแลวแตกอน; เปนชาติที่ถือพระพุทธศาสนาและเปนชาตินักรบดวย; แตทานรบเพื่อรักษา ธรรมะ, รักษาความยุติธรรม, และเสรีภาพ. ชาวเรามีความปราถนาจะใครเปนพี่นองรวมทองกับคนไทย, และ ใครจะดําเนินการใหเปนที่สนิธชิดเชื้อกับบานเกิดเมืองมารดรของทานดวย.


“ขาพเจาขอชักชวนบรรดาทานที่อยู ณ ที่นี้ จงพรอมใจกันดื่มถวายพระพรชัยแดพระบาทสมเด็จ พระเจาแผนดินสยาม. “ขอใหทรงพระเจริญ” พระเฉลิมอากาศ

นายพันตรีหลวงรามฤทธิรงค ไดกลาวสุนทรพจนตอบเปนภาษาไทย, มีลามแปลเปนภาษาฝรั่งเศส. ดังตอไปนี้ :“เราขอแสดงความขอบใจทานเสมียนตราและบรรดาทานทั้งหลายที่ไดมานั่งรับประทานอาหารอยู ณ ที่นี้. ในการที่เรามาประชุมพรอมกันที่สโมสรวันนี้เพราะเหตุใด? ก็เพราะเหตุที่สัมพันธมิตรเรามีชัย, และ เพราะเหตุที่ไดอาศัยชาวฝรั่งเศสชวยกันรบ. เมื่อแรกที่ทหารไทยไดเหยียบประเทศฝรั่งเศสก็ไดพากันรองอวยพร ใหแกประเทศฝรั่งเศสและมณฑลอัลสาซ ลอรเรน, และไดอวยพรใหมณฑลอัลสาซ ลอรเรน คงเปนของ ฝรั่งเศสอยูทุกเมื่อ. “ตามที่ทานเสมียนตราจังหวัดไดกลาววา ทหารไทยไดเขาชวยกระทําการกับทหารฝรั่งเศส ณ ตําบล ชาลอง และแวร ดังนั้น, ก็จริงอยู. คนไทยเขากระทําสงครามดวยคราวนี้ ก็เพื่อจะรักษาธรรมะและ ความยุติธรรม, โดยที่ชาวสยามมีความรักใครประเทศฝรั่งเศสอยางมิตรสหาย. เราขอขอบใจนายโบเรต (Monsieur Bauret) บรรณาธิการหนังสือพิมพ เลอ สปอรตลอรแรง และนายกของสโมสรการกิฬาเมืองลอรแรง, ซึ่งไดเชิญทหารไทยใหมาแสดงการกิฬาที่เมืองเมตซ. เมื่อทหารไทยไดรับเชิญใหมาแสดงการกิฬานี้ ก็ยินดี และอยากมากันทุกคน, เพราะเขาไดคุนเคยกินอยูหลับนอนรวมกับทหารฝรั่งเศสเสมอ. เมื่อทหารไทยได กลับคืนไปถึงประเทศสยามแลว คงจะไดเลาถึงเรื่องราวที่เขาไดประสบพบเห็น ณ ที่นี้, และเลาถึงเรื่องที่ ประเทศฝรั่งเศสไดตอนรับเขาดีอยางไร; ชาวไทยทั้งประเทศสยามก็จะยินดีปรีดาซรองสาธุการตอประเทศ ฝรั่งเศส. “เราหวังใจวา ถึงเมื่อเลิกการสงครามแลว, มิตรไมตรีซึ่งมีอยูในระหวางฝรั่งเศสกับสยามนั้น ก็คงจะ สนิธติดตอกันอยูตลอดไป ไมมีเวลาเสื่อมคลาย, ตลอดถึงการคาขายในระหวาง 2 ประเทศนี้ก็จะเจริญ ยิ่งขึ้น. ถาหากวา การสงครามจะเกิดมีขึ้นอีก, เราก็หวังใจวา ประเทศสยามจะปลงใจเขาชวยกระทําการสงคราม ดวยประเทศฝรั่งเศสอีก. “โอกาศนี้, ขาพเจาขอชักชวนทานทั้งหลายยกถวยดื่มอํานวยพรใหเปนเกียรติยศแกประเทศฝรั่งเศส ดวย.” ไมจําเปนตองบอกแกผูอานวา คณะในที่ประชุมจะไมยินดีสรรเสริญและชมเชยสุนทรพจนอันแจมแจง และละมุนละมอมของทานนายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค, คนไทยและฝรั่งเศส ไดชนถวยดื่มกันอยางพออก พอใจ, โดยที่เห็นดีดวยกับสุนทรพจนทั้งสองฝายโดยน้ําใสใจจริง.


แปลจากหนังสือพิมพฝรัง่ เศสชื่อ เลอ สปอรต ลอรแรง ประจําวันที่ 30 เมษายน, พ.ศ.2462 คนไทยจะแสดงการตอยมวยใหเราดูไดก็แตเพียงเปนกิฬาเทานั้น, เพราะการตอสูของเขาถาหากวา จะกระทํากันจริงๆ จังๆ แลว ยอมเปนอันตรายไดมากที่สุด บางทาอาจถึงกับตายทีเดียว. เราไมอยากที่จะให การแสดงตอยมวยในครั้งนี้ ตองจบลงโดยเหตุอันไมดี, จึ่งเปนเพียงแตแสดงใหเห็นความชํานิชํานาญและ วองไวของวิธีการเทานั้น. ในชั้นตนเราหวังใจวา ทานนายพันเอก พระเฉลิมอากาศ ผูบังคับกองทหารไทยในประเทศฝรั่งเศส จะไดมาในงานครั้งนี้ดวย, แตโดยเหตุที่ทานติดธุระในกิจการอันสําคัญตางๆซึ่งตองกระทําอยูในกรุงปารีส จึ่งเปนการจําเปนที่จะมาไมได. ทั้งนี้เรารูสึกเสียดายเปนที่สุด. แตอยางไรก็ดี, ทานนายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค ผูบังคับกองทหารไทยของกองทัพยึดดินแดนในมณฑลปาลาตินาต ก็ไดมาในงานนี้แลว. ทานนายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค ยังเปนนายทหารหนุม, ไดรับเครื่องอิศริยาภรณ เลยองดอนเนอร (Legion d’honneur) และ ครัวเดอะแกร พูดภาษาฝรั่งเศสชาๆ ชัดและถูกตอง, พูดภาษาอังกฤษและ เยอรมันไดดวยเหมือนกัน. ทานไดมากับลามผูหนึ่ง – นายดาบเรี่ยม ทรรทรานนท, ซึ่งพูดและเขียนภาษา ฝรั่งเศสไดดีอยางผูที่มีความรูชั้นสูงทีเดียว, เปนนักเรียนในโรงเรียนเบลลส เลตเตรส (Ecole des Belles letters) ที่กรุงปารีส. นายทหารผูนี้เปนผูมีความเฉลียวฉลาดอันแปลกประหลาดมาก, ซึ่งนอยคนนักที่จะ ไดรับประกาศนิยบัตรของโรงเรียนชั้นสูงทั้งภาษา อังกฤษ, ฝรั่งเศส, และเยอรมัน, เราเห็นวาเขาเปนผูมี สติปญญาและความรูรอบคอบกวางขวางดีผูหนึ่ง. นายทหารไทยที่มาในงานเลี้ยงนอกจากนายพันตรี หลวงรามฤทธิรงค ยังมีนายทหารอีกหลายนาย. คือ นายรอยโท กระมล โชติกเสถียร, นายรอยโท เหม ยศธร, นายรอยโท สุดใจ จันทรเวคิน, นายรอยตรี จาด สิงหพงศ, นายรอยตรี กาพย ทัตตานนท, นายรอยตรีประเสริฐ อินธุเศรษฐ, จานายสิบแพทยกระจาง บุนนาค ฯลฯ นายทหารเหลานี้บางคนไดเคยศึกษาวิชาจากประเทศยุโรปมาแลว, กําลังหนุม, นัยตาอันคมคาย แสดงใหเห็นความวองไวแหงสติปญญาอันปรีชาสามารถ, และกิริยามรรยาทอันละมุนละมอมนั้นดูประดุจ กับนิสัยของชาวยุโรปแท, จานายสิบแพทยกระจาง บุนนาค เคยศึกษาวิชาแพทยในประเทศเยอรมนีที่ตําบล ไฮลเดลแบรก (Heildelberg) มาจนถึง พ.ศ.2460 ในเวลานั้นพะเอินเปนปที่ประเทศสยามประกาศสงคราม กับเยอรมนี, จึ่งถูกทหารขาศึกจับตัวไปคุมขังไวในคาย ณ ตําบลฮอลซมินเดน (Honzminden) เขาไดถูก ทํางานหนัก ไดรับความลําบากยากเย็นมามากแลว, เชนเปนกุลีขนถานหิน, กวาดถนน, และทํานา เปนตน ครั้งหนึ่งเขาเจ็บเปนไข, ถึงแมวาปรอทจะขึ้นถึง 39 ํ เซนติเกรตก็ดี พวกเยอรมันก็ยังไมยอมลดละ ขืนบังคับ ใหทํางานอีก! ตัวเขาเองไดเคยเลาใหเราฟงวา, กอนเกิดมหาสงครามครั้งนี้ กรุงสยามมักนิยมมหาวิทยาลัยของ ประเทศเยอรมนี. แตนั่นแหละ, มาบัดนี้ทานผูอานคงทราบไดดีวาเปนอยางไร? พยานก็มีอยูประจักษแกตาแลว. จานายสิบแพทยผูนี้ เปนบุตรของทานอรรคราชทูตสยามซึ่งเคยประจําอยู ณ กรุงเบอรลินและปารีส, ไดเกิดในประเทศยุโรป, พูดภาษาฝรั่งเศสอังกฤษและเยอรมัน ไดคลองดี. พระเฉลิมอากาศ

(อานตอฉบับหนา)


น.อ.พลวัตร อินทรวิเศษ การฝกผสม Cope Tiger 2011 ระหวางเดือนมีนาคมของทุกป โดยจัดตั้งกองอํานวยการฝกฯ ณ กองบิน 1 จังหวัดนครราชสีมา การฝกผสม Cope Tiger 2011 เปนการฝกใชกําลังทางอากาศรวมกันระหวาง 3 ชาติ ไดแก ไทย สิงคโปร และสหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงคเพื่อดํารงความพรอมรบของหนวยบินที่เขารวม การฝก พัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติการทางอากาศผสม และกระชับความสัมพันธระหวางมิตร ประเทศที่ เ ข า ร ว มการฝ ก ให มี ค วามแน น แฟ น ยิ่ ง ขึ้ น สํ า หรั บ หน ว ยที่ เ ข า ร ว มการฝ ก ประกอบด ว ย กองทัพอากาศ, กองทัพบก, กองทัพอากาศสิงคโปร, กองทัพอากาศและนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา มีกําลังพล ที่เขารวมการฝกกวา 2,000 คน เครื่องบินที่เขารวมการฝก Cope Tiger มีจํานวนทั้งสิ้นรวมราว 98 เครื่อง โดยวางกําลังที่ กองบิน 1 โคราช และ กองบิน 23 อุดรธานี


M เครื่องบินที่วางกําลังที่กองบิน 1 โคราช M กองทัพอากาศ ฝูงบิน กองบิน 102 กองบิน 1

แบบอากาศยาน F-16A/B ADF

ภารกิจหลัก การบินรบในอากาศ

103

กองบิน 1

F-16A/B

โจมตีทางอากาศ

403

กองบิน 4

F-16A/B

โจมตีทางอากาศ

701

กองบิน 7

F-5E

โจมตีทางอากาศ

401

กองบิน 4

L-39 ZA/ART

โจมตีทางอากาศ ,คนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบ และการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด

411

กองบิน 41

L-39 ZA/ART

โจมตีทางอากาศ ,คนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบ และการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด

231

กองบิน 23

Alpha Jet

โจมตีทางอากาศ ,คนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบ และการสนับสนุนทางอากาศโดยใกลชิด

201

กองบิน 2

Bell 412

คนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบ

203

กองบิน 2

UH-1H

คนหาและชวยชีวิตในพื้นที่การรบ

กองทัพอากาศสิงคโปร ฝูงบิน 111

กองบิน Tengah

แบบอากาศยาน ภารกิจหลัก Gulfstream 550 แจงเตือนในอากาศ(AEW)

127

Semba Wang

CH-47D

คนหาและชวยชีวิตในพื้นทีก่ ารรบ

140

Tengah

F-16C/D

การรบในอากาศ

141

Paya Lebar

F-5S/T

โจมตีทางอากาศ

143

Tengah

F-16C/D

การรบในอากาศ


กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ฝูงบิน 203ARS/96ARS/’HH’

กองบิน Hickam

แบบอากาศยาน ภารกิจหลัก KC-135 เติมเชื้อเพลิงในอากาศ (Tanker)

18Wg/’ZZ’

Kadena AFB Okinawa

F-15C/D

การรบในอากาศ

นาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ฝูงบิน กองบิน แบบอากาศยาน ภารกิจหลัก VMFA(AW)533/’ED’ MCAS Iwakuni F/A-18D การรบในอากาศ,การโจมตีทางอากาศ Japan

M เครื่องบินที่วางกําลังที่กองบิน 23 อุดรธานี M กองทัพอากาศ ฝูงบิน 601

กองบิน กองบิน 6

แบบอากาศยาน ภารกิจหลัก C-130H การลําเลียงทางอากาศยุทธวิธี

กองทัพอากาศสิงคโปร ฝูงบิน กองบิน 121 Paya Lebar

แบบอากาศยาน ภารกิจหลัก KC-130B เติมเชื้อเพลิงในอากาศ(Tanker)

กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ฝูงบิน 535th Airlift Sqn.

กองบิน Hickam, Hawaii

51FW/25FS Osan, ROK

แบบอากาศยาน ภารกิจหลัก C-17A ลําเลียงทางอากาศยุทธวิธี A-10A/C

โจมตีทางอากาศ, คนหาและชวยชีวิตในพื้นที่ การรบ


กําลังภาคพื้นหนวยตอสูอากาศยาน วางกําลังปองกันสนามฝกใชอาวุธทางอากาศชัยบาดาล สนามฝก ทางยุทธวิธีมวงคอม( กองทัพบก) สนามบินขุนผาเมืองเพชรบูรณ ในสวนภาคพื้น เปนการฝกของหนวยตอสู อากาศยาน (Air Defense Exercise) มีการนํากําลังภาคพื้นเขารวมการฝก ไดแก กองทัพอากาศ เรดาร Giraffe 40, เรดาร Giraffe 180, เรดาร Skyguard, หนวยยิง RBS-70, หนวยยิง QW-2, หนวยยิง ปตอ. 30 mm Mauser

กองทัพบก เรดาร DR 172 ADV, เรดาร LAADS, ปตอ.40 mm AA Gun, ปตอ. 20 mm AA Gun, เรดาร Flycatcher และชุดจรวดนําวิถี HN-5 A(M) กองทัพอากาศสิงคโปร I-Hawk, Rapier, Mistral, เรดาร P-Star, RBS-70, เรดาร AMB,ปตอ.35 mm AA Gun/FCE และ Air Defence Control Section: ADCS


การฝกบินใน 2 วันแรก จะเปนการฝกทําความคุนเคยกับพื้นที่การฝก การเขาออกสนามบิน การบินรบ ขั้นมูลฐาน การบินรบในอากาศ เพื่อสรางความคุนเคยในขั้นตอนการปฏิบัติรวมกัน และทักษะดานภาษาที่ ใชติดตอสื่อสาร การบิน ชวงที่ 2 เปน การบิน ประกอบกําลังขนาดใหญโ ดยแบงเปน 2 ฝ าย ฝายน้ําเงิ นเปน ฝา ย พันธมิตร ฝายแดงจะเปนฝายขาศึกสมมติ สถานการณในการฝก (Scenario) กําหนดเปน 2 แบบ ¾ สถานการณแรก ฝายน้ําเงิน เปนฝายปองกัน (DCA) ปองกันสนามฝก ใชอาวุธทางอากาศ ชัยบาดาล สนามบิน ขุนผาเมือง การประกอบกําลังทางอากาศ กองทัพอากาศ: บ.F-16ADF ติดตั้ง อว. Aim-120 (AMRAAM) กองทัพอากาศสิงคโปร F-16C/D ติดตั้ง อว.Aim-120(AMRAAM), F-5S/T ติดตั้ง อว.Aim-9M และสหรัฐอเมริกา F-15C/D F/A-18D ติดตั้ง อว.Aim-120 (AMRAAM) การควบคุมการบินสกัดกั้น ดวย บ.Gulfstream 550 CAEW จากกองทัพอากาศสิงคโปร สวนฝายแดงซึ่งเปนขาศึกสมมติเปนการ ประกอบกําลังดวยเครื่องบินและ อว.จากประเทศตะวันออก หนวยควบคุมการบินสกัดกั้นดวย ศคปอ.กท. ผลของการฝกฝายน้ําเงินสามารถสกัดกั้นฝายแดงไดมากกวา 95% โดยที่ บ.ที่ทําลาย บ.ฝายแดงไดมากที่สุด ไดแก บ.F-15C/D จากสหรัฐอเมริกา อันดับ 2 เปน บ.F-16C/D จาก ทอ.สิงคโปร ¾ สถานการณที่ 2 ฝายน้ําเงินเปน ฝายรุก(OCA) การประกอบกําลังสําหรับภารกิจ การบินกวาดลางทางอากาศ(Sweep) และ ภารกิ จคุ มกั นทางอากาศ(Escort) ติ ดตั้ ง อว.Aim-120(AMRAAM) กองทั พ อากาศ บ.F-16ADF กองทัพอากาศสิงคโปร F-16C/D และ สหรัฐอเมริกา F-15C/D, F/A-18D ควบคุม การบินสกัดกั้นดวย Gulf Stream 550 (CAEW)


ส ว นฝ า ยแดงข า ศึ ก สมมติ เ ป น เครื่ อ งบิ น จาก ประเทศตะวั น ออก ทํ า การบิ น ป อ งกั น (DCA) สนามฝกใชอาวุธทางอากาศ ชัยบาดาล และ สนามบินขุนผาเมือง ผลการฝกเครื่องบินฝาย น้ําเงินพันธมิตรสามารถครองอากาศไดมากกวา 90% โดยที่เ ครื่ องบิ น แบบ F-16C/D จาก กองทั พ อากาศสิ ง คโปร ทํ า ลายเครื่ องบิ น ฝ า ย แดงไดมากที่สุด สวนอันดับ 2 ไดแก F-15C/D ภารกิจการโจมตี Dynamic Targeting โดยกําหนดสถานการณตรวจพบเมื่อการเคลื่อนยายฐานยิง SCUD เขามาในพื้นที่การรบ สวนควบคุมการฝกไดอนุมัติใหทําลายเปาหมาย โดยที่ Gulfstream 550 ทําการ เลือกหมูบินโจมตีที่อยูใกลพื้นที่ที่พบฐานยิง SCUD ใหเขาโจมตีเปาหมาย SCUD โดยมีขั้นตอนในการ ติดตอสื่อสารเพื่อการโจมตีเปาหมายที่เรียกวา Fifteen Line เครื่องบินที่ถูกมอบหมายใหโจมตีฐานยิง SCUD ไดแก บ.Alpha Jet ฝูง.231, L-39 ฝูง.411 , F-16A/B ฝูง.103 และ F-16C/D จากกองทัพอากาศ สิงคโปร ผลการคนหาและทําลาย สามารถคนหาและทําลายไดทุกเที่ยวบิน

รูปฐานยิง SCUD จําลอง

(ฉบับหนาพบกับการเติมเชื้อเพลิงในอากาศ)


ปชส.ศวอ.ทอ.

พล.อ.ท.เฉลิม ตรีเพ็ชร ผอ.ศวอ.ทอ.

พล.อ.ต.วีระศักดิ์ สิตานนท์ รอง ผอ.ศวอ.ทอ.(๑)

พล.อ.ต.วิสุรนิ ทร์ มูลละ รอง ผอ.ศวอ.ทอ.(๒)

พล.อ.ต.สราวุธ กลิ่นพันธุ์ ผอ.สวจ.ศวอ.ทอ.


? คํานํา ? ในการเตรียมกําลังและใชกําลังทางอากาศ นั้น กองทัพอากาศไดตระหนักถึงความสําคัญของ เทคโนโลยี ซึ่ ง มี ผ ลต อ การปฏิ บั ติ ก ารด า นการรบ และการปฏิบัติภารกิจประจํา ซึ่งยุทโธปกรณของ กองทัพอากาศมีเทคโนโลยีสูง และมีความสลับซับซอน ประกอบกับสถานการณภัยคุกคามจากลัทธิคอมมิวนิสต ในหวงระยะเวลา พ.ศ.๒๕๐๘–๒๕๒๓ การถอนทหาร สหรัฐฯ ออกจากเวียดนาม และการลดความชวยเหลือ ทางทหารในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทําให กองทัพอากาศมีความจําเปนที่จะตองเรงรัดพัฒนา ยุทธภัณฑเพื่อใหสามารถชวยเหลือตนเองได โดย ทําการซอมบํารุงอาวุธยุทโธปกรณที่มีอยูใหสามารถ ใชงานไดนาน รวมถึงการพัฒนายุทโธปกรณขึ้นใชเอง เพื่อลดภาระพึ่งพาจากตางประเทศ ดังนั้นจึงไดมี การจัดตั้งหนวยงานตางๆ ขึ้นมาดําเนินการในเรื่อง ดังกลาว

ศูนยวิทยาศาสตรและ พัฒนาระบบอาวุธ กองทั พ อากาศอั ต ราเพื่ อ พลาง ได รั บ อนุ มั ติ จ าก กระทรวงกลาโหม ใหเปนอัตราปกติ ตามคําสั่ง กห. (เฉพาะ) ลับที่ ๑๔๗/๒๖ ลง ๙ ก.ย.๒๕๒๖ ออกตาม

พระราชกฤษฎี ก าให ไ ว ณ วั น ที่ ๑๒ ก.ย.๒๕๒๕ และถื อ เอาวั น ที่ ๑๒ กั น ยายน ของทุ ก ป เ ป น วั น สถาปนาหนวยเปนตนมา โดยมีผูบังคับบัญชาคนแรก ไดแก พล.อ.ท.พิสุทธิ์ ฤทธาคนี (๒๕๒๖–๒๕๒๗) ? วิสัยทัศน ? “เปนหนวยงานคุณภาพ มีมาตรฐานระดับ สากล มุงสูความเปนเลิศดานการวิจัย และพัฒนา ของกองทัพไทย” ? นโยบายการวิจัยและพัฒนาที่ไดรับ ? เทคโนโลยีดานการทหารในปจจุบันไดรับ การพั ฒ นาไปมากและอย า งต อ เนื่ อ ง ส ง ผลให ยุทโธปกรณในศตวรรษที่ ๒๑ มีความทันสมัยและมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แตยุทโธปกรณเหลานั้นมีราคา แพงตามไปดวย จึงเปนขอจํากัดตอประเทศกําลัง พัฒนาในการจัดหายุทโธปกรณเพื่อใชในการปฏิบัติ ภารกิจ และใหมีจํานวนครบตามแผนที่กําหนดไว กองทัพอากาศจึงใหความสํา คัญตอการวิจัยและ พั ฒ นา เพื่ อ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ยุ ท โธปกรณ ข อง กองทั พ ให ดํา รงสภาพและมีป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ใชงาน ซึ่งเปนการลดการนําเขาจากตางประเทศ อี ก หนทางหนึ่ ง รวมทั้ ง การสร า งนวั ต กรรมเพื่ อ สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของกองทัพบนพื้นฐาน การพึ่งพาตนเอง จึงกําหนดใหการวิจัยและพัฒนา เปนกลยุทธสําคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรของ กองทัพ และเพื่อใหการวิจัยพัฒนามีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น จึงไดกําหนดนโยบายดานการวิจัยและพัฒนา ๖ ขอ ดังนี้


๑. ส ง เสริ ม การวิ จั ย และพั ฒ นาด า น วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนายุทโธปกรณ หลั ก ได แ ก การวิ จั ย และพั ฒ นาระบบเชื่ อ มโยง ขอมูลทางยุทธวิธี (TDL) ระบบอุปกรณตรวจจับ และเฝาตรวจ (Sensor) และระบบอาวุธประเภท Stand off ตลอดจนการสรางนวัตกรรมสนับสนุน การปฏิบัติภารกิจหลักของกองทัพอากาศ (Core Function) อาทิ พลังงานทดแทน ไดแก พลังงานลม พลังงานชีวมวล พลังงานแสงอาทิตย และพลังงาน ไบโอดีเซล และเชื้อเพลิงสังเคราะห รวมถึงการวิจัย สราง บ.ทอ.๖ เพื่อพัฒนาและรักษาองคความรูใน การสรางอากาศยานของกองทัพอากาศ ๒. สงเสริมการวิจัยและพัฒนาดานหลักการ เพื่ อ สนั บ สนุ น การบริ ห ารและการพั ฒ นากองทั พ โดยเนนการวิจัยเพื่อพั ฒนาหลั กนิ ยมเกี่ ยวกั บการ ปฏิบัติการที่ใชเครือขายเปนศูนยกลาง (NCO) ๓. สงเสริมการวิจัยและพัฒนา เพื่อสนับสนุน การปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ตามโครงการอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดําริและการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการ วิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติภารกิจฝนหลวง การอนุรักษ สิ่ง แวดลอม การชว ยเหลื อประชาชน เมื่อเกิดภัยพิบัติ และพลังงานทางเลือก ๔. สรางเครือขายดานการวิจัยและพัฒนา ร ว มกั บ หน ว ยงานภายนอกกองทั พ ที่ มี ศั ก ยภาพ ทั้ ง จากภาครั ฐ และเอกชนโดยเน น การวิ จั ย ร ว ม การถายทอดเทคโนโลยี และการสรางองคความรูที่ เปนประโยชนตอกองทัพอากาศ ๕. พัฒนาฐานขอมูลนักวิจัยและผูเชี่ยวชาญ ในสายวิทยาการตางๆ ของกองทัพ เพื่อเปนศูนยรวม

ขอมูลในการบริหารทรัพยากรบุคคลดานการวิจัย รวมทั้งการดําเนินงานดานการวิจัยและพัฒนาของ กองทัพอากาศ ๖. พั ฒ นาระบบสารสนเทศการจั ด เก็ บ ขอมูลผลงานการวิจัยและองคความรูที่ไดจากการ วิจัยและพัฒนาของกองทัพ เพื่อใชเปนแหลงขอมูล ในการศึกษา คนควาและพัฒนาตอยอดในอนาคต ? ผลการดําเนินการที่ผานมา ? จากนโยบายการวิ จั ย และพั ฒ นาที่ ไ ด รั บ ในรอบปที่ผานมา ศวอ.ทอ.และ นขต.ทอ.มีผลการ ดําเนินการในโครงการวิจัยตางๆ ทั้งที่เปนโครงการ ตอเนื่องและโครงการเริ่มใหม เฉพาะโครงการที่สําคัญ ซึ่งอยูในความสนใจของผูบังคับบัญชาดังนี้ ดานการพัฒนายุทโธปกรณเพื่อสนับสนุน Core function เชน โครงการสรางอากาศยานไรนักบิน ตนแบบของ ทอ. เปนการดําเนินการภายใตสํานักงาน โครงการสร า งอากาศยานไร นั ก บิ น ต น แบบ ซึ่ ง ประกอบดวยคณะกรรมการจาก ๖ หนวยงานไดแก ศวอ.ทอ.,รร.นอ.,ชอ.,สอ.ทอ.,อย.และ ยก.ทอ. โครงการนี้แบงการดําเนินการออกเปน ๒ ระยะใหญๆ ดังนี้ ระยะที่ ๑ (ป ๕๑–๕๓) พัฒนาอากาศยานไรนักบิน ตนแบบ แบงออกเปน ๓ ชวง ชวงที่ ๑ ป ๕๑ พัฒนา อากาศยานไรนักบินตนแบบขนาดเล็กและขนาดกลาง รัศมีปฏิบัติการ ๓๐ และ ๕๐ กม. ชวงที่ ๒ ป ๕๒ พัฒนาอากาศยานไรนักบินขนาดกลาง รัศมีปฏิบัติการ ๑๐๐ กม. ชวงที่ ๓ พัฒนาอุปกรณอํานวยความสะดวก ไดแกระบบ Mobile Ground Control ระยะที่ ๒ (ป ๕๔) พัฒนาประสิทธิภาพของอากาศยานไรนักบิน


เพิ่ ม ขี ด ความสามารถระบบปฏิ บั ติ ก าร และฝ ก บุคลากรใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลการ ดํ าเนิ นการ ทอ. มี อากาศยานไร นั กบิ นขนาดใหญ ระบบ Cyber Eye ขนาดเล็ก ขนาดกลาง พรอม Ground Control จํานวนหนึ่ง,อากาศยานไรนักบิน ขนาดใหญระบบ Tiger Shark พรอม Fix Ground Control และ รถ Mobile Ground Control และ ในป ๕๔ จะมีระบบ Launch and Recovery เพื่อ สานตอระบบปฏิบัติการ UAV Tiger Shark เพิ่มขึ้นอีก นอกจากนี้ยังมี บ.Half Scale สําหรับการฝกซึ่งเปน ผลจากโครงการวิ จั ย บุ ค ลากรของ ทอ.มี ขี ด ความสามารถในการควบคุมอากาศยานไรนักบิน ดวยตนเอง และมีการฝกบุคลากรของฝูงบิน UAV ที่ตั้งขึ้นใหมดวย

ดํ า เนิ น การวิ จั ย และพั ฒ นาโดยกรมช า งอากาศ โครงการนี้ เ ป น การออกแบบ สร า งต น แบบ และ ทดสอบการบินโดยใชบุคลากรของกองทัพอากาศ เอง สามารถสรางตนแบบ บ.ทอ.๖ เครื่องแรกเสร็จ สมบูรณและพรอมจะทําการบินทดสอบภาคอากาศ ไดในเร็วๆ นี้ โครงการวิจัยพัฒนาจรวดอากาศสูพื้น ขนาด ๒.๗๕ นิ้ว ชนิดดินขับฐานคู ซึ่งเปนโครงการ ที่ ศวอ.ทอ. ดําเนินการรวมกับ สพ.ทอ.โดย ศวอ.ทอ. รั บ ผิ ด ชอบในการพั ฒ นาสู ต รและการผลิ ต ดิ น ขั บ จากสารเคมี ช นิ ด ต า งๆ ส ว น สพ.ทอ.รั บ ผิ ด ชอบ การนําดินขับไปขึ้นรูป ประกอบชิ้นสวนและทดสอบ สมรรถนะ ขณะนี้อยูในระหวางเริ่มดําเนินการและ มีการทดลองสรางชิ้นสวนบางรายการเองภายใน ประเทศ

โครงการพัฒนาชุดปกรอนนําวิถีดวยระบบ GPS เปนการพัฒนาตอเนื่องเพื่อเพิ่มเติมประสิทธิภาพ และการแก ไ ขป ญ หาข อ บกพร อ งที่ พ บจากการ ทดสอบภาคอากาศที่ผานมา และมีการสรางตนแบบ เพื่ อการทดสอบเพิ่ ม เติมอีก จํ า นวนหนึ่ ง โครงการ ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและทดสอบ บ.ทอ.๖ ดานระบบ และโครงการสราง บ.ทอ.๖ เครื่องที่ ๒

โครงการวิจัยและผลิตชุ ดปอ งกัน สารพิษ ระดับ Level A สามารถวิจัยชุดปองกันสารพิษที่มี คุ ณ สมบั ติ ป อ งกั น การซึ ม ผ า นของสารพิ ษ ได ดี เทาเทียมกับชุดตางประเทศแตมีราคาถูกกวามาก อีก ทั้ ง รูป แบบการตั ด เย็ บยัง มีค วามเหมาะสมกั บ รูปรางและการใชงานของบุคลากรดีกวาดวย ขณะนี้ อยู ร ะหว า งการทดสอบประเมิ น ผลเพื่ อ พิ จ ารณา รับรองมาตรฐานยุทโธปกรณของ ทอ.


โครงการวิจัยการใชแบบจําลองพลวัตรเพื่อ ทํานายการแพรกระจายของสารเคมีทางทหาร เปน การวิ จั ย เพื่ อ ศึ ก ษาการแพร ก ระจายของสารพิ ษ ในสภาพสิ่งแวดลอมและภูมิศาสตรแบบตางๆ เพื่อ ใชเปนเครื่องมือสําหรับปองกันและเตือนภัยอันตราย จากสารพิษ ในกรณีเกิดสงครามเคมี หรือเกิดอุบัติภัย สารเคมีรั่วไหล

โครงการพัฒนาการติดตั้งกลองบันทึกภาพ กับเฮลิคอปเตอรเปนโครงการที่ ศวอ.ทอ.รวมกับ รร.นอ. พัฒนาระบบ Gimbals ติดตั้งกลองวิดีโอ เพื่อลดการสั่นไหวของภาพ และสงสัญญาณภาพ กลับมายังศูนยควบคุมภาคพื้น ผลการดําเนินงาน ระบบสามารถลดการสั่นไหวของภาพไดดี ภาพมี ความคมชัด ในเบื้องตนสามารถรับสงสัญญาณถึง

๒๐ กม. และคาดว า จะสามารถเพิ่ ม ระยะได ถึ ง ๑๐๐ กม. เมื่อ มี ก ารเปลี่ ย นเสาอากาศที่ ภ าคพื้ น โครงการนี้ทําให ทอ.ประหยัดงบประมาณอยางมาก เมื่อเทียบกับการจัดหาอุปกรณสําเร็จจากตางประเทศ และความรูที่ไดรับยังสามารถนําไปขยายผล สําหรับ แนวความคิดการเปน Network Centric ของ ทอ. ดวย โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาสร า งเครื่ อ งบิ น เปา อากาศสมรรถนะสูง วั ตถุประสงคเ พื่อใช เ ปน เปาอากาศสําหรับฝกซอมการใชอาวุธตอสูอากาศยาน ของ ทอ.และเหลาทัพ ดําเนินการโดย ศวอ.ทอ. ขณะนี้ อยูระหวางเริ่มดําเนินโครงการ โครงการพัฒนาและ สรางเครื่องฝกการยิงจรวดตอสูอากาศยาน สําหรับ ให จนท.ต อ สู อ ากาศยานทํ า การฝ ก ซ อ มรวมทั้ ง สามารถประเมิ น ผลการติดตามเปา หมายไดโ ดย ไม ตอ งใช จ รวดนํ า วิ ถีจ ริ ง ซึ่ง จะเปน การประหยั ด อยางมาก โครงการที่สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ หลั ก ของกองทั พ อากาศ นอกเหนื อ จากที่ ก ล า ว มาแลว ยังมีโครงการที่หนวยขึ้นตรง ทอ.ดําเนินการ เอง โดย ศวอ.ทอ.ทํ า หน า ที่ ส ง เสริ ม ,ติ ด ตามและ ประสานงานใกลชิด ไดแก โครงการวิจัยและพัฒนา ระบบบันทึกผลและประเมินคาการฝกยิงจรวดตอสู อากาศยาน ซึ่ง สพ.ทอ.เปนผูดําเนินการ โครงการ ปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช ง านระบบ ประเมินคาผลการใชอาวุธประเภทจรวดและระเบิด ฝกแบบกึ่งอัตโนมัติระยะที่ ๒ ดําเนินการโดย ยก.ทอ. โครงการปรับปรุงและพัฒนา Threat Simulator ซึ่ง มี วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการในวิ จั ย พั ฒ นาการเชื่ อ มต อ ขอมูลจากระบบ Threat Simulator มาใชงานกับ ระบบ ACMI ที่มีอยูดําเนินการโดย สอ.ทอ.


โครงการวิจัยการสรางเครื่องฝกบินจําลอง ต น แบบและพั ฒ นาความรู ประสบการณ ใ นการ สร า งและซ อ มบํ า รุ ง ของนั ก วิ จั ย ดํ า เนิ น การโดย สอ.ทอ.เชนกัน โครงการศึกษาความเปนไปได ในการ พัฒนาชุด Display Monitor ของ บ.ขฝ.๑ (L39) ดําเนินการโดย สพ.ทอ. วัตถุประสงคเพื่อปรับปรุง ระบบ Display เดิมทีเปนแบบ Analog ใหเปนแบบ LCD โครงการวิจัยและพัฒนาสรางเครื่องทดสอบ Wing Pylon Multifunction Testes ของ บ.ข.๑๘ ข/ค (F5E/F) ดําเนินการโดย สพ.ทอ.เปนการวิจัยและ พัฒนาสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจใหดียิ่งขึ้น โครงการวิ จัยและพั ฒนาเพื่อเพิ่ มขี ดความ สามารถระบบจําลองยุทธทางอากาศ สําหรับการ ฝกรวม ๓ เหลาทัพ วิจัยโดย ทสส. สามารถนําไปใช ฝกซอมการปฏิบัติงานใน Decision Layer ของ ระบบ Network Centric ได สําหรับงานวิจัยที่เกี่ยวกับ พลังงานทดแทน นอกเหนือจากการดําเนินการของ คณะกรรมการพลั ง งานทดแทน กองทั พ อากาศ ก็ ยั ง มี โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง สังเคราะหสําหรับอากาศยาน ดําเนินการโดย ชอ. โครงการวิจัยเครื่องปรับอากาศชนิดควบคุม ความชื้นเพื่อใชกับสถานีเรดารของ ชย.ทอ. เปาหมาย เพื่ อลดการใช พลั งงานของเครื่ องปรั บอากาศและ ลดความชื้นภายในสถานีเรดาร โครงการวิจัยและ พัฒนาพลังงานทดแทนในการผลิตกระแสไฟฟาขนาด ๑๐ กิโลวัตต โดยใชพลังงานลม ซึ่งวิจัยโดย ศวอ.ทอ. เปนตน สําหรับงานที่สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจ ตามโครงการพระราชดําริ ที่ ศวอ.ทอ. ดําเนินการ มาอยางตอเนื่อง ไดแก การวิจัยและพัฒนาเกีย่ วกับ ธรรม

การปฏิบัติการฝนหลวง การผลิตกระสุนสารเคมี Silver Iodine และการพัฒนาพลุสารเคมี Hygroscopic Flair เพื่อการทําฝนในเมฆอุนเปนตน สําหรับงาน บู ร ณาการผลงานวิ จั ย และสนั บ สนุ น หน ว ยงาน ภายนอก ทอ. ที่ไดมีการดําเนินการเชน การผลิต ลูกเปาลวงสะทอนเรดาร R-BOC สนับสนุนกองทัพเรือ การสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณและบุคลากรสนับสนุน สํา นักงานเทคโนโลยีปองกัน ประเทศ ในการวิจัย และพัฒนาที่เกี่ยวกับ จรวดและดินขับจรวด เปนตน ศวอ.ทอ.ซึ่งเปนหนวยงานรับผิดชอบการ วิ จั ย และพั ฒ นากองทั พ โดยรวมนั้ น มี เ ครื่ อ งมื อ ดําเนินการหรือเครื่องยนตในการขับเคลื่อนงานวิจัย ของ ทอ. ๒ สวน สวนแรกคือ นักวิจัยและบุคลากร ของ ศวอ.ทอ.เอง อีกสวนหนึ่งคือ นักวิจัยและบุคลากร ของหน ว ยขึ้ น ตรง ทอ. ในส ว นแรกนั้ น ศวอ.ทอ. มี แ ผนงานสร า งนั ก วิ จั ย รุ น ใหม ใ ห มี ค วามรู แ ละ ประสบการณ ผานการทํางานรวมกับนักวิจัยอาวุโส ในโครงการขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ ซึ่งจําเปน ตองใชระยะเวลาพอสมควร สวนที่สอง ศวอ.ทอ. โดยกองพัฒนาการวิจัย ภายใตสํานักงานวิจัย จะเปน เครื่องมือสําคัญในการติดตอประสานและสงเสริม ใหนัก วิจัยของหนวยขึ้นตรงตางๆ ที่มี ความสนใจ ไดปฏิบัติงานวิจัยที่ตนเองถนัด เพื่อแกปญหาและ พัฒนางานของหนวยใหดียิ่งขึ้น โดย ศวอ.ทอ.มีแผน จัดทํา Road Map ของงานวิจัยเพื่อใหผลงานพัฒนา มุ ง ไปสู เ ป า หมายเดี ย วกั น ตามนโยบายการวิ จั ย และพัฒนา และยุทธศาสตรกองทัพอากาศที่มุงสู ความเปน Digital Air Force, Network Centric Air Force และ One of the Best Air Force in Asian ตอไป """"


ปชส.ขส.ทอ.

พล.อ.ต.ศิรชิ ัย ภัทรสุวรรณ จก.ขส.ทอ. น.อ.รัชฎา วรภากร รอง จก.ขส.ทอ.

น.อ.เดชา ทองใส เสธ.ขส.ทอ.


ประวัติกรมขนสงทหารอากาศ การจัดตั้งกองทัพอากาศ ตั้งแต พ.ศ.๒๔๕๗ ถึง พ.ศ.๒๔๘๑ ยังไมมีหนวยขนสงอยูในผังการจัดหนวย ของกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๔๘๒ กองทัพอากาศ ไดจัดตั้ง “แผนกโยธาพาหนะ” เปนหนวยขึ้นตรงกองทัพอากาศ และ ณ จุดนี้ไดกอกําเนิดกิจกรรมขนสงขึ้นเปนครั้งแรก คือ “กองพาหนะ” มีฐานะเทียบเทากองรอย เปนหนวย ขึ้นตรง แผนกโยธาพาหนะ กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๔๙๑ กองทัพอากาศ ไดพิจารณาปรับปรุงขยายอัตราขึ้นใหม โดยพิจารณาเห็นความสําคัญ และความจําเปนของการขนสง มากยิ่ ง ขึ้ น จึ ง แยกแผนกโยธา พาหนะเปน ๒ สวน แตละสวน ยกฐานะเป น กรม (กรมน อ ย) คื อ กรมพาหนะทหารอากาศ (กองพาหนะเดิม) และกรมชาง โยธาทหารอากาศ ทั้ ง ๒ กรม ขึ้ น ต ร ง ต อ ก ร ม พ ล า ธิ ก า ร ทหารอากาศ (พธ.ทอ.) ตาม พระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบ ราชการกองทัพอากาศในกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๔๙๑ ลงวันที่ ๑๗ ก.ย.๒๔๙๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ ๖๕ ตอนที่ ๕๕ เมื่อวันที่ ๒๑ ก.ย.๒๔๙๑ ใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ดังนั้นจึงถือเอาวันที่ ๒๒ ก.ย.๒๔๙๑ เปนวันสถาปนา กรมขนสงทหารอากาศ พ.ศ.๒๔๙๘ ไดยกฐานะกรมพาหนะทหารอากาศ เปนกรม (กรมใหญ) ขึ้นตรงตอ กองทัพอากาศ และเปลี่ยนชื่อเปน กรมการขนสงทหารอากาศ พ.ศ.๒๕๐๕ "กรมการขนสงทหารอากาศ" เปลี่ยนชื่อเปน "กรมขนสงทหารอากาศ" พ.ศ.๒๕๓๙ กองทัพอากาศ ไดแกไขปรับปรุงการจัดสวนราชการใหม กําหนดใหมี ๓ กองบัญชาการ โดยจัดใหกรมขนสงทหารอากาศ เปนหนวยขึ้นตรงกองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ และใชชื่อยอวา “ขส.ทอ.บนอ.” พ.ศ. ๒๕๕๒ กองทัพอากาศ ไดแกไขปรับปรุงการจัดสวนราชการใหมอีกครั้ง กําหนดให ขส.ทอ. เปนหนวยขึ้นตรงกองทัพอากาศ


ผลงานในรอบป ๕๔ ๑. ดานการฝกศึกษา เปดการศึกษาหลักสู ตร นายทหารขนสง ชั้นเรืออากาศ รุนที่ ๖, พลขับรถขึ้น-ลงภูเขา รุนที่ ๗๗, พลขับรถเฉพาะการ รุนที่ ๑๐, พลขับรถ รุนที่ ๗๘ และ รุนที่ ๗๙, การฝกอบรมทหารกองประจําการ เป น พลขั บ รถ รุ น ที่ ๓๐ และ รุ น ที่ ๓๑, เป ด การ อบรมโครงการพั ฒ นาความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษของกําลังพล ขส.ทอ., ฝกขับรถยนตใหแกนักเรียนจาอากาศ เหลา สห. ชั้นปที่ ๑ และเสมียน ประจํา สน.ผชท.ทอ.ไทย/ตางประเทศ กอนไปปฏิบัติหนาที่ ประจําป ๕๔ ๒. ภารกิจทีส่ ําคัญ - กองทั พอากาศ โดย กรมขนส ง ทหารอากาศ กําลั งดําเนิ นการสรางแบบ จําลองของเครื่องบิน Breguet III และ เครื่องบิน Nieuport รุนแรก ของกองทัพอากาศ ซึ่ง นับเป นเครื่ องบิ นแบบแรกของประเทศ ไทย และเปนเครื่องบินที่บุพการีทหารอากาศ ใช ฝ กนั กบิ นจนเป นกองทั พอากาศมาถึ ง ป จจุ บั น โครงการดั งกล าวเป นส วนหนึ่ ง ของการจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาส “วันครบรอบ ๑๐๐ ป การบินของบุพการีทหารอากาศ” ในป ๒๕๕๕ - ผลิตรถไฟฟาใหแก นขต.ทอ. จํานวน ๑๒๐ คัน


- ปรับปรุงสภาพรถยนตโดยสารของ ขส.ทอ. - เคลื่อนยาย บฝ.๑๑ (T-33) จํานวน ๖ เครื่อง จาก บน.๕๖ ถึง บน.๗, รร.การบิน, รร.จอ., พิพิธภัณฑ ทอ., บน.๔ และ บน.๔๖, บ.F-5 E/F จํานวน ๑ เครื่อง จาก สวนอัมพร ถึง วังทวีวัฒนา, บ.F-5 E/F จํานวน ๑ เครื่อง จาก วังทวีวัฒนา ถึง สวนอัมพร และขาวสาร อาหารแหง ถุงพระราชทาน จากประเทศไทย ถึงประเทศญี่ปุน จํานวน ๒ เที่ยว ชวยเหลือประเทศญี่ปุนประสบภัยสึนามิ - ชวยเหลือผูประสบภัย จ.นนทบุรี, จ.ปทุมธานี, จ.อยุธยา, จ.อางทอง, จ.สิงหบุรี, จ.ลพบุรี, จ.นครราชสีมา, จ.สุรินทร, จ.อุบลราชธานี, จ.สุราษฎรธานี, จ.สงขลา และ จ.เชียงใหม และลําเลียงผาหม กันหนาวใหกับผูประสบภัยหนาว จ.เชียงใหม, จ.เชียงราย, จ.อุดรธานี, และ จ.หนองคาย - สนับสนุนหนวยบินปฏิบัติงานฝนหลวงที่ บน.๑ และ บน.๔๑, โครงการสานใจไทยสูใจใต และ โครงการสรางบานใหผูประสบภัยที่ จ.สุราษฎรธานี - ขนยายสารยับยั้งไฟปาใหแกหนวยบินที่ปฏิบัติงานดับไฟปาที่ บน.๖, รถพวงผลิตน้ําดื่มไป จ.สุรินทร และ จ.สุราษฎรธานี และ รถครัวประกอบอาหารชวยเหลือผูประสบภัย จ.นครราชสีมา และ จ.สุราษฎรธานี ๓. การดําเนินกิจกรรมในป ๕๔ ที่สําคัญ

- จัดกิจกรรมจักรยานแรลลี่สรางเสริม สุขภาพตอตานยาเสพติด

- จัดกิจกรรมปลูกปาอนุรักษ ธรรมชาติและตอตานยาเสพติด เฉลิมพระเกียรติฯ


- จัดโครงการครอบครัวอบอุนตอตานยาเสพติด ขส.ทอ.

- ศึกษาดูงานกิจกรรม ๕ ส ที่ รพ.พญาไท - ศึกษาดูงานกิจกรรม ๕ ส ที่ โรงงานวังศาลา บริษัทอุตสาหกรรมกระดาษคราฟทไทยจํากัด - จากผลการศึกษาดูงาน ๕ ส ขส.ทอ.ไดนําสวิตชไฟฟากระตุกมาใชเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ใชไฟฟาอยางประหยัดในหนวยงาน


SKYPIG

(ตอจากฉบับที่แลว) 4 โครงสรางลําตัว

โครงสรางลําตัวเปนแบบเซมิโมโนคอก (semi-monocoque) ผลิตขึ้นจากโลหะอะลูมิเนียม กงลําตัวและผิวลําตัวเชื่อมติดกันดวยหมุดยึดไรตะเข็บ โครงสรางลําตัวแบงออกเปนสองสวนคือ สวน หองนักบินและหองระวางบรรทุกหรือโดยสาร หองนักบินอยูระดับสูงกวาหองระวางบรรทุกราว 50 เซนติเมตร ทั้งสองสวนมีระบบปรับความดันบรรยากาศ กองทัพอากาศไทยไดนําเครื่องบิน C-130H เขาประจําการสองแบบ และรวมอยูในฝูงบินเดียวกัน ความแตกตางของทั้งสองแบบ นอกจากความยาวลําตัวแลว ผลจากการยืดความยาวลําตัว ทําให เกิดผลดีและผลเสียบางประการ เครื่องแบบลําตัวยาวสามารถบรรทุกปริมาตรไดมากกวา และความเร็วในการ ควบคุมยามวิกฤตต่ําลงเล็กนอย แตขอเสียสองประการคือ บรรทุกน้ําหนักไดนอยกวา เล็กนอยราว 1.5 ตัน เพราะน้ําหนักโครงสรางมีสูงขึ้น ความยาวของลําตัวของ รุน C-130H-30 สงผลให สวนหางของเครื่องบิน มีโอกาสกระทบกับผิวสนามบินไดมากขึ้น (ขณะที่เครื่องบินกําลังจะลอยขึ้นหรือกําลังจะลงสัมผัสพื้น) แตไดรับการเสริมอุปกรณ Tailskid เผื่อไวกันกระแทก เครื่องบิน C-130 ลําตัวยาวไมเพียงแตอุยอาย เมื่อขับเคลื่อนอยูบนพื้น และยังคงไมคอยคลองตัวนักในการบิน


4 สวนปก

เครื่องบิน C-130 ออกแบบปกใหมีประสิทธิภาพขณะบินที่ความเร็วต่ํา ปกมีความยาว 40.4 เมตร ทางเทคนิคปกบน หมายถึงปกติดตั้งเหนือลําตัวลักษณะเชนนี้ ทําใหเครื่องบินมีความแข็งแรง ทั้งปกซาย และปกขวาสามารถเชื่อมยึดติดกันไดตลอดทั้งอัน และความสูงของปกที่อยูบนลําตัว ยังทําใหดานลางมี พื้นที่สะดวกในการขนถายสัมภาระ ปกติดตั้งขวางตั้งฉากกับลําตัว (Rectangular) ไมมีมุมลูไปทาง ดานหลัง มีมุมยกปก 2.5 องศา ปกสวนนอก และปกสวนกลาง ของ C-130H ไดรับการออกแบบใหม แข็งแรงขึ้น ทําใหมีอายุการใชงานไดนานขึ้นกวารุนเดิม ปกใชเปนถังเก็บน้ํามัน ได 3 ลักษณะ ไดแก ถังในปก


ถังที่ติดตั้งอยูใตปก และบริเวณโคนปก นอกจากนี้ชายหลังปกยังใชเปนที่เก็บแพยางชูชีพ ไดอีกขางละ 2 แพ อุปกรณเสริมแรงยกคือ Flaps เปนแบบ Fowler ทํางานโดยระบบไฮดรอลิก นอกจากจะชวยเพิ่ม แรงยกในการขึ้นลงสนามบินแลว ยังจําเปนอยางยิ่งในการบินทางยุทธวิธีทิ้งรม สวนหางประกอบดวย horizontal stabilizer, vertical stabilizer, elevator, rudder, trim tabs ผลิตขึ้นจากโลหะทั้งหมด หางเสือของเครื่องบิน C-130 จัดวามีขนาดใหญมาก ดวยเหตุผลสําคัญคือ ตองมี ประสิทธิภาพเพียงพอที่จะใชบังคับทิศทาง หากเครื่องยนตเกิดวิกฤต และ horizontal stabilizer เปนแบบ เคลื่อนไหวไมได อยูในแนวเดียวกับปก สงผลให elevator ไดรับกระแสลมจากใบพัดคูใน พัดเปาตลอดเวลา ขอมูลเครื่องบิน C-130H และ C-130H-30 C-130H ลําตัวสั้น

C-130H-30 ลําตัวยาว

29.79

34.37

4

<---

ความสูง

11.66

<---

ความยาวปก wing span

40.41

<---

ความยาวของ wing chord โคนปก

4.88

<---

ความยาวของ wing chord เฉลี่ย

4.16

<---

อัตราสวน wing aspect ratio

10.1

<---

พื้นที่ปก (ตารางเมตร)

162.12

<---

พื้นที่ Ailerons

10.22

<---

พื้นที่ Trailing edge Flaps

31.77

<---

พื้นที่ Fin

20.90

<---

พื้นที่ Rudder

6.97

<---

พื้นที่ Tailplane

35.40

<---

พื้นที่ Elevator

14.40

<---

ขอมูล มิติภายนอก ความยาวลําตัว (เมตร) ความกวาง


มุมยกปก Dihedral (องศา)

2.5

<---

มุมลูปก (องศา)

0

<---

ความกวางฐานลอ whell track

4.35

<---

ความยาวฐานลอ whell base

9.77

12.05

ความยาวระวางบรรทุก

12.22

16.79

ความยาวระวางบรรทุกรวมถึง ramp

15.73

20.33

พื้นที่ระวางบรรทุก (ตร.เมตร)

39.5

52.38

ความกวาง

3.12

<---

ความสูง

2.81

<---

ปริมาตรบรรทุก (ลบ.เมตร)

127.4

165.5

น้ําหนักตัวเปลา (กิโลกรัม)

34,686

36,397

น้ําหนักน้ํามันถังภายในลําตัว

20,520

<---

น้ําหนักน้ํามันถังภายนอกลําตัว

8,020

<---

น้ําหนักบรรทุก

19,356

17,645

น้ําหนักวิ่งขึ้นสูงสุดในภาวะปกติ

70,310

<---

น้ําหนักวิ่งขึ้นสูงสุดในภาวะเรงดวน

79,380

<---

น้ําหนักลงสนามสูงสุดในภาวะปกติ

70,310

<---

น้ําหนักลงสนามสูงสุดในภาวะเรงดวน

79,380

มิติภายใน

น้ําหนักและการรองรับภาระกรรม

4 เครื่องยนต

สมรรถนะอันสูงสงของมันไดจาก เครื่องยนตกังหันไอพน เปลี่ยนจากการขับใบพัดดวยขอเหวี่ยง ลูกสูบมาเปนแกนเพลาของเครื่องยนตไอพนเทอรไบน ของบริษัท Allison เครื่องยนตT56 ในรุน A15 ผลิต แรงมาได 4,500 แรงมา (รุน A-7 แรงมา 3,750 แรงมา) นอกจากนี้แรงดันไอพนจากทอทาย ยังใหแรงขับได อีกราว 100 ปอนด


เครื่องยนตที่ติดตั้งใหกับ C-130H รุนนี้คือ T-56-A-15 สรางขึ้นครั้งแรกโดยบริษัท Allison แต ปจจุบัน บริษัท Rolls-Royce ไดเขาดําเนินกิจการแทนตั้งแตป ค.ศ.1995 และไดกําหนดรหัสใหมเปน RollsRoyce T56 ใชงานทางพลเรือนเรียกวา 501-D เปนเครื่องยนตกังหันไอพนแบบTurboprop เครื่องยนตรุนนี้ เริ่มผลิตมาตั้งแตป ค.ศ.1954 ออกจากสายการผลิตมากกวา 18,000 เครื่อง มีแกนเพลาเดี่ยว ประกอบดวย ชุดอัดอากาศ 14 ชั้น แบบหมุนรอบแกน (axial flow compressor) รับแรงหมุนขับมาจากชุดใบพัดเทอรไบน (Turbine) 4 ชั้น มีหองเผาไหมแบบ cylindrical flow-through 6 ชุด ใชน้ํามันไดหลายเกรดคือ JP8,JP4, JET A1 หรือแมแตเบนซิน Octane ก็ไดหากจําเปนจริงๆ อัตราการใชน้ํามันราว 2,000 กก.ตอ ชม. มีระบบ น้ํามันหลอลื่นแยก ออกเปนสองระบบ สําหรับระบายความรอนเครื่องยนตหนึ่งชุด และชุดเกียรทดรอบ (reduction gearbox) อีกหนึ่งชุด

ความหมายสําคัญของเครื่องยนต”กังหันไอพน”(Turbo-Propeller) คือ เครื่องบินจะไดรับกําลัง สูงสุดจากการทํางานรวมกันของเครื่องยนตไอพนและระบบใบพัด ประสิทธิภาพของกําลังขับเคลื่อนเกิดขึ้น ทันทีในขณะที่เครื่องบินมีความเร็วต่ํา จึงเปนผลดีอยางยิ่ง ในการปฏิบัติภารกิจในยานความเร็วต่าํ เชนขณะ วิ่งขึ้นในสนามบินที่มีความยาวจํากัด กําลังเครื่องยนตจะไดรับการตอบสนองเกือบจะในทันที ที่นักบิน ตองการ เครื่องยนตไมตองอยูในภาวะ “รอรอบ” อยางที่มักเกิดขึ้นในเครื่องยนตไอพน อีกทั้งไมตองพะวง ในสภาพสนามบิ น ที่ มี ก รวดหิ น ที่อ าจถูก ดู ด เขา ไปสร า งความเสี ย หายให แ ก เ ครื่ อ งยนต ได และความ ประหยัดเชื้อเพลิงคือ อีกประโยชนหนึ่งของเครื่องยนตชนิดนี้ ขอมูลสมรรถนะ C-130H เครื่องยนต T-56A-15 ความเร็วสูงสุด

4x4,500 SHP 325 Kts


ความเร็วเดินทาง

300 Kts

เพดานบินสูงสุด (ฟุต)

33,000 ft

ระยะบินไกลสุด เมื่อไมมีสัมภาระ

4,522 NM

ระยะบินไกลสุดเมื่อบรรทุกสัมภาระ 35,000 lbs

1,300 NM

ระยะทางบิน เมื่อบรรทุกสูงสุด

1,050 NM

ระยะทางวิ่งขึ้นในภาวะปกติ

5,160 ft **

ระยะทางวิ่งขึ้นในทางยุทธวิธี

3,580 ft **

ระยะทางลงสนามในภาวะปกติ

2,750 ft**

ระยะทางลงสนามในทางยุทธวิธี

1,700 ft**

** เครื่องบิน C-130H-30 ( ลําตัวยาว) จะใชระยะทางมากกวาเล็กนอย

ความหมายสําคัญของเครื่องบิน ”สี่เครื่องยนต” คือ เครื่องบินจะตองบินและปฏิบัติภารกิจตอไปได แมวาเครื่องยนตเครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดของ เครื่องยนตทั้งสามที่เหลืออยู จะยังคงมีกําลังพอใหเครื่องบิน บินปฏิบัติภารกิจตอไปได เหมือนไมมีเหตุผิดปกติใดเกิดขึ้น นับเปนขอไดเปรียบที่สําคัญของเครื่องบิน ลําเลียงทางทหาร ที่หาไดไมงายนัก เครื่ อ งยนต T-56-A-15 หมุ น ด ว ยความเร็ ว คงที่ 13,000 รอบต อ นาที ให กํ า ลั ง สู ง สุ ด ถึ ง 5,200 (3,210 kW) แรงมาตอหนึ่งเครื่องยนต แตถูกจํากัดไวใหไมเกิน 5,000 แรงมา จริงๆแลวแรงขับทั้งหมด ที่เกิดขึ้นจากใบพัดเทอรไบนผลิตออกมาราว 10,000 แรงมา แตแรงครึ่งหนึ่งสงผานแกนเพลาเดี่ยวยอนกลับ ไปหมุนชุดอัดอากาศ จึงเหลือแรงอีกครึ่งหนึ่งผานระบบทดรอบ นําไปหมุนขับใบพัด (4,500 แรงมา) และ ระบบการทํางานอื่นๆ (100 แรงมา) การทํางานอยางประสานกันของเครื่องยนต Allison T-56-A-15 รวมกับระบบใบพัดของ Haminton ทํ า ให เ ครื่ อ งบิ น C-130 มี ส มรรถนะอั น ยอดเยี่ ย ม เครื่ อ งยนต แ ละเครื่ อ งบิ น เข า กั น ได ดี อ ย า งลงตั ว มี ประสิทธิภาพสมบูรณ ไดทั้งสมรรถนะ ความทนทาน มันสามารถพาน้ําหนักเครื่องบินและยุทโธปกรณ 60 ตัน ลอยพนพื้น โดยใชความยาวสนามบินเพียงไมถึงหนึ่งกิโลเมตร ในเวลาไมถึง 20 วินาที ใบพัดที่ปรับมุมได สามารถปรับมุมยอนกลับ เพื่อฉุดเครื่องบินใหชะลอความเร็วลงไดในทันที ทําใหใชทางวิ่งในการลงสนาม สั้นเพียงสองในสามกิโลเมตร ใบพัดที่ปรับมุมไดยังทําใหมันสามารถถอยหลังกลับตัวในที่จํากัด ไดดีอีกดวย


เมื่อกลาวถึงสมรรถนะตองพิจารณาถึง อัตราสวนน้ําหนักตอแรงมา ลองเอา 4 คูณกําลังเครื่องยนต เขาไป 4 x 4,500 =18,000 แรงมา ดวยน้ําหนัก 55 ตัน 55,000 กิโลกรัม หรือราว 120,000 ปอนด เทียบน้ําหนักตอแรงมาได 55,000 /18,000 = 3 หรือราว สามกิโลกรัมตอหนึ่งแรงมา มันสามารถเรงความเร็วจาก 0 ถึง170 กม/ชม.(95 Knots)ได ในเวลา 21 วินาที และทะยานจากพื้น ขึ้นสูอากาศไดในระยะทางไมถึง 670 เมตร (2,200 ฟุต) ประสิทธิภาพและความไววางใจที่ซอนอยูภายในของมัน ไดรวมสรางประวัติการณสําคัญใหแก มนุษยชาติไวหลายเหตุการณ ตลอดเวลาหาสิบปที่ผานมา เครื่องยนตทั้งสี่เครื่อง เมื่อมองจากหองนักบิน จัดเรียงลําดับการนับ จากซายไปขวา คือเครื่องยนตที่ 1 2 3 และ 4 เครื่องยนตติดตั้งไวสูงเกือบจะเทาผิวปก ทําใหชองทางเขาของอากาศดานหนาของเครื่องยนต มีระยะหางจากพื้นมาก ไมตองหวงในการที่จะดูดเอาเศษหินเขาไปในเครื่องยนต แมจําเปนตองทํางานใน สนามบินที่เปนกรวด หิน ทรายก็ตาม พละกํ า ลั งของเครื่อ งยนต นอกจากใชใ นการหมุน ขับใบพัดแลว ยัง ถูก นํ า ไปใชใ นการหมุ น ขั บ เครื่องกําเนิดไฟฟา ปมไฮดรอลิก ระบบน้ํามันหลอลื่น และอุปกรณสวนควบอื่นๆ

(โปรดติดตาม ระบบสํารองกําลัง ในฉบับหน้า)


ร.อ.เอกประสิทธิ์ พรมทัณ (ตอจากฉบับที่แลว) Â อุโมงคลมความเร็วเหนือเสียงแบบ กระสุนยิง (Hotshot wind tunnel) อุโมงคลมความเร็วเหนือเสียงแบบกระสุนยิง นี้ เปนอุโมงคลมที่ทําความเร็วไดสูงถึง 27M หรือ ประมาณ 9,000 เมตร/วินาที โดยทั่วไปจะใชในการ ทดสอบวิถีการยิงของจรวดนําวิถีและแกปญหาการ ร อ นลงสู พื้ น โลกของกระสวยอวกาศ หลั ก การ ออกแบบจะคลายๆ กับอุโมงคลมประเภทความเร็ว เหนื อ เสี ย ง โดยใช ห ลั ก การถ า ยเทความดั น จาก ความดันสูงไปสูความดันต่ําโดยอากาศรอนจะถูก อัดและเก็บไวในถังความดันสูงที่ปลายขางหนึ่งของ อุโมงคลม สวนปลายอีกขางไดถูกทําใหมีลักษณะ คล า ยสุ ญ ญากาศ ทํ า ให ค วามดั น ของอากาศมี ความแตกตางกันมาก โดยอาจจะตางกันอัตราสวน 10,000,000/1 ปาสคาล ทํ า ให อ ากาศที่ ไ หลผ า น ชองทดสอบมีความเร็วสูงมาก ปญหาหลักที่พบใน อุโมงคลมประเภทนี้คือ มีชวงเวลาในการทดสอบที่ สั้นมาก (นอยกวา 1 วินาที) อีกทั้งยังยากตอการ

ควบคุมสภาพสมดุลอากาศ และสิ้นเปลืองพลังงาน ในการทดสอบแตละครั้งอยางมาก นอกจากนี้ ยั ง มี อุ โ มงค ล มที่ จํ า แนกตาม ประเภทของการนําไปใชอีก เชน อุโมงคลมแบบพื้นวิ่ง (Tunnel with moving ground) ใชในอุตสาหกรรม ออกแบบยานยนต, อุโมงคน้ํา (Water Tunnel) ใชใน การวิเคราะหและออกแบบเรือเดินทะเล และเรือดําน้ํา อุโมงคลมอุตุนิยมวิทยา (Meteorological Wind Tunnels) ใชในการทดสอบแรงลมที่มีผลตอโครงสราง ของอาคารสูง หรือสะพาน เพื่อทดสอบความแข็งแรง ของโครงสรางเปนหลัก จากประเภทของอุโมงคลมตางๆ ดังที่กลาว มาแลว จะเห็นวาอุโมงคลมแตละประเภทตองใช งบประมาณในการกอสรางสูงมาก มีความยุงยาก ในการทดสอบ และยั ง สิ้ น เปลื อ งพลั ง งานในการ ทดสอบเปนอยางมาก นักคณิตศาสตรและวิศวกร อากาศพลศาสตร จึ ง ได คิ ด หาวิ ธี แ ก ไ ข โดยได ออกแบบโปรแกรมที่ ส ามารถคํ า นวณหาแรงทาง อากาศพลศาสตรไดใกลเคียงกับการใชอุโมงคลม จริ ง โดยโปรแกรมดั ง กล า วถู ก เรี ย กว า โปรแกรม


หาคาทางอากาศพลศาสตร ดวยวิธีพลศาสตรของ ไหลเชิงคํานวณ (Computational Fluid Dynamics: CFD) ในปจจุบันมีหลายบริษัทไดคิดคนโปรแกรม ประเภท CFD ขึ้นมากมาย แตที่ไดรับความนิยมกัน ในวงการอุตสาหกรรม และสถาบันอุดมศึกษา เชน Fluent, Floworks (SolidWorks) และ CFdesign เป น ต น โดยแต ล ะโปรแกรมจะมี ข อ ดี ข อ เสี ย แตกต า งกั น แต ข อ เสี ย ที่ มั ก พบร ว มกั น ในแทบ ทุ ก โปรแกรมคื อ การคํ า นวณหาค า ทางอากาศ พลศาสตร เ มื่ อ อากาศมี ก ารไหลแบบอลวน (Turbulence Flow) ผลคํานวณที่ไดจะมีขอผิดพลาด สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับผลการทดสอบที่ไดจาก อุ โ มงค ล ม ซึ่ ง ป ญ หานี้ นั ก วิ จั ย และผู อ อกแบบ โปรแกรมอยูระหวางการพัฒนาและปรับปรุงแกไข อยางตอเนื่อง O แบบจําลอง (Model) ในการทดสอบโดยใชอุโมงคลมนั้น ชิ้นงาน หรือวัตถุที่จะนําเขาทดสอบตองสรางแบบยอสวน เชน แพนอากาศ หรือเครื่องบินจําลอง ที่มีลักษณะ รูปรางภายนอกเหมือนกับเครื่องบินจริง แตขนาด เล็กกวา โดยอัตราสวนที่ใชในการยอขนาดนั้นไมมี ข อบั ง คั บแน น อน ขึ้ น อยู กับพื้ น ที่ ของ ชอ งทํ า การ ทดสอบวามีขนาดใหญเทาใด แตโดยทั่วไปขนาด ของแบบจําลองจะสรางใหมีขนาดไมเกิน 75% ของ พื้นที่หนาตัดของชองทําการทดสอบ เพื่อปองกัน ปญหาที่จะเกิดจากกระแสอากาศที่สะทอนกลับมา จากผนั ง ของอุ โ มงค ล ม อนึ่ ง ในการออกแบบ แบบจํ า ลองนั้น ตามหลั กการออกแบบวิศวกรรม

และการทดสอบโดยใชอุโมงคลมนั้น ควรจะสราง พื้น ผิ ว อ า งอิง ไวที่แ บบจํา ลองด ว ย เพื่อที่ จ ะนํา ไป ติดตั้งกับชุดอุปกรณวัดคาแรงไดอยางถูกตอง และ ไดผลการทดสอบที่มีความแมนยําสูงขึ้น O อุโมงคลมในประเทศไทย ปจจุบันการศึกษาดานวิศวกรรมอากาศยาน และอวกาศ เพิ่งจะไดรับการแพรหลายในสถาบัน อุดมศึกษา และภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทย ฉะนั้นอุโมงคลมที่มีขนาดใหญและใชงานไดอยาง จริ ง จั ง จึ ง มี เ พี ย งไม กี่ แ ห ง ซึ่ ง ส ว นใหญ จ ะอยู ใ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาชั้ น นํ า ที่ มี ก ารจั ด การเรี ย น การสอน สาขาวิ ศ วกรรมอากาศยานและอวกาศ ซึ่งพอจะยกตัวอยางไดดังนี้ n โรงเรียนนายเรืออากาศ โรงเรี ย นนายเรื อ อากาศ มี อุ โ มงค ล ม ความเร็ ว ต่ํ า แบบป ด ขนาดใหญ ดั ง แสดงในภาพ ประกอบที่ 8 สรางแลวเสร็จเมื่อป พ.ศ. 2549 โดยมี คุณลักษณะโดยทั่วไปดังนี้ ¾ อุ โ ม ง ค ล ม ป ร ะ เ ภ ท ค ว า ม เ ร็ ว ต่ํ า ทําความเร็วลมไดสูงสุด 80 เมตร/วินาที (ประมาณ 0.235M) ¾ ขนาดของอุโ มงคลม มีค วามยาวรวม 39 เมตร กวาง 11.5 เมตร สูง 6 เมตร ¾ ชองทําการทดสอบ (Test Section) ขนาด กวาง 2.04 เมตร ยาว 5.805 เมตร สูง 1.50 เมตร (ภาพประกอบที่ 9a) ¾ พื้นหมุน (Turning table) ขนาดเสน ผ า นศู น ย ก ลาง 1.6 เมตร สามารถปรั บ มุ ม เลี้ ย ว (Yawing angle) ได ± 30°


¾ ชุดวัดคาแรงทางอากาศพลศาสตรและ โมเมนต เปนระบบวงพระจันทร (Crescent Sting Support System) สามารถปรับคามุมกมเงย (Pitching angle) ได ตั้ ง แต -4° ถึ ง +36°และสามารถปรั บ มุมเอียง (Rolling angle) ไดตั้งแต -180° ถึง +180° (ภาพประกอบที่9b) ¾ ชุดอุปกรณรับแรงสามารถรับแรงและ โมเมนตไดสูงสุดดังนี้ - แรงแนวดิ่ง (Normal force) ขนาด ไมเกิน 1,335 นิวตัน - แรงดานขาง (Side force) ขนาด ไมเกิน 667 นิวตัน - แรงตามแนวแกน (Axial force) ขนาด ไมเกิน 356 นิวตัน

- โมเมนต จ ากมุ ม ก ม เงย (Pitching moment) ขนาดไมเกิน 56 นิวตัน.เมตร - โ ม เ ม น ต จ า ก มุ ม เ ลี้ ย ว ( Yawing moment) ขนาดไมเกิน 28 นิวตัน.เมตร - โ ม เ ม น ต จ า ก มุ ม เ อี ย ง ( Rolling moment) ขนาดไมเกิน 28 นิวตัน.เมตร ปจจุบันอุโมงคลมนี้ ไดทําการทดสอบทาง อากาศพลศาสตรกับแพนอากาศและแบบจําลอง ของอากาศยานหลายชนิ ด เพื่ อ เสริ ม สร า งความ เขาใจใหกับนักเรียนนายเรืออากาศสาขาวิศวกรรม อากาศยาน และยังเปนอุโมงคลมหลักที่ใชชวยใน การคนควาวิจัยและออกแบบ การสรางอากาศยาน ต น แบบของกรมช า งอากาศ กองบั ญ ชาการ สนับสนุนทหารอากาศ (บ.ทอ.๖) อีกดวย

ภาพประกอบที่ 8 อุโมงคลมความเร็วต่ําที่โรงเรียนนายเรืออากาศ


(a)

(b)

ภาพประกอบที่ 9 (a) ชองทําการทดสอบ (Test section) ขนาด กวาง 2.04 เมตร ยาว 5.805 เมตร สูง 1.50 เมตร (b) อุปกรณวัดคาแรงและโมเมนตระบบวงพระจันทร (Crescent Sting Support System)

Y มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา มีอุโมงคลมความเร็วต่ําขนาดใหญ ติดตั้งอยูที่ อาคาร 3 (ภาพประกอบที่ 10) ซึ่งเปนอาคารปฏิบัติการวิศวกรรมศาสตร ของนิสิตสาขาวิศวกรรมการบิน และอวกาศยาน สํ า หรั บ รายละเอี ย ดของอุ โ มงค ล มนั้ น สามารถติ ด ต อ สอบถามโดยตรงได ที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา หมายเลขโทรศัพท 0-3835-4580-6

ภาพประกอบที่ 10 อาคารปฏิบัติการวิศวกรรมศาสตรการบินและอวกาศยาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา


Z สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ นอกจากนี้ ยั ง มี อุ โ มงค ล มความเร็ ว ต่ํ า ขนาดเล็ก อุโมงคควัน และอุโมงคน้ํา ที่สามารถใช ทดสอบและเสริ ม สร า งความเข า ใจให กั บ นิ สิ ต คณะวิ ศ วกรรมอากาศยานและอวกาศเกี่ ย วกั บ หลั ก อากาศพลศาสตร ซึ่ ง อุ โ มงค เ หล า นี้ จ ะอยู ในมหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ก ารเรี ย นการสอนหลั ก สู ต ร วิศวกรรมอากาศยานและอวกาศ เชน มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ, มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาพระนครเหนือ และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) เปนตน ~ สรุป

กล า วโดยสรุ ป แล ว อุ โ มงค ล มถื อ ว า เป น อุปกรณสําคั ญที่ ชวยในการออกแบบ และศึก ษา คนควาวิจัยทางดานอากาศพลศาสตรเปนอยางยิ่ง เนื่องจากนักวิจัย สามารถวิเคราะหผลและเล็งเห็น ธรรม

บวบหอมหรือบวบหวาน

ปญหาของชิ้นงานจากแบบจําลอง แลวนํามาพัฒนา แกไขปรับปรุง กอนที่จะนํามาผลิตเปนอากาศยาน หรื อ ชิ้ น งานจริ ง ทํ า ให ป ระหยั ด ต น ทุ น การผลิ ต อีกทั้งยังเปนการเสริมสรางความปลอดภัย ทั้งใน ชี วิ ต และทรั พ ย สิ น ในกรณี ที่ เ กิ ด ข อ ผิ ด พลาดที่ เกิดจากการออกแบบโดยไมมีการวิเคราะหผลจาก อุโมงคลมกอนได ดั ง นั้ น จะเห็ น ว า ความรู เ รื่ อ งอุ โ มงค ล ม สามารถนําไปประยุกตใชกับงานภาคอุตสาหกรรม ไดหลายประเภท เชน งานดานการออกแบบยานยนต เรือ อากาศยานและชิ้นสวนอากาศยาน ตลอดจน การออกแบบอาคารสู ง และสะพานให มี ค วาม แข็ ง แรงทนต อ สภาพลมที่ จ ะมาปะทะได ฉะนั้ น การศึกษาทางดานอากาศพลศาสตรและการทดสอบ โดยใช อุ โ มงค ล มนี้ สํ า หรั บ ประเทศไทยควรที่ จ ะ ไดรับการศึกษาพัฒนา และสงเสริมกันอยางจริงจัง ใหแพรหลายตอไปในอนาคต

ป้าต้อย

นําผลอ่อนๆ ไปปรุงอาหารได้หลายประเภท ทําแกง ผัด หรือจะต้มจิ้มกับน้ําพริก ต้มแล้วจะมีรสหวาน สารอาหารที่สําคัญ วิตามินเอ มีเส้นใย แคลเซียม ฟอสฟอรัส ให้เส้นใยอาหาร มีฤทธิ์ช่วยแก้ร้อนใน ขับน้ํานม ขับลม ระบายท้อง ทําให้ถ่ายสะดวก ช่วยระบบปัสสาวะ ที่อักเสบ


น.ท.วิพล สุขวิลัย (ตอจากฉบับที่แลว) พ.ศ.๒๕๔๗ กรมยุทธศึกษาทหาร ได ดําเนินการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของกองทัพ จํานวน ๖ โครงการ คือ ๑. ประชุมคณะทํางานพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของกองทัพระดับปริญญาตรี ขึ้นไป และระดับต่ํากวาปริญญาตรี ณ กรมยุทธศึกษา ทหาร เมื่อวันที่ ๒๙–๓๐ เมษายน ๒๕๔๗ มีการ จัดทําตัวบงชี้คุณลักษณะทางทหารที่พึงประสงค ของผูสําเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาของ กองทัพ และผูบัญชาการทหารสูงสุด ไดอนุมัติใหใช เพื่ อ พลางเป น มาตรฐานในการตรวจสอบและ ประเมิน คุณภาพการศึ ก ษาของกองทั พ เมื่ อวัน ที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๔๗ ๒. จั ด สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารผู ป ระเมิ น คุณภาพการศึกษาภายในสถาบันการศึกษาของ กองทัพ รุนที่ ๑ ระยะเวลา ๔ วัน ตั้งแตวันที่ ๙–๑๒ มีนาคม ๒๕๔๗ ณ กรมยุทธศึกษาทหาร และฝก การปฏิบัติที่วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา ผูเขารับการสัมมนา จํานวน ๔๐ คน

๓. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการผูตรวจสอบ และประเมิน คุ ณ ภาพการศึก ษาภายในสถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ รุ น ที่ ๑ จํ า นวน ๔๔ คน ระยะเวลา ๗ วัน ตั้งแตวันที่ ๖–๑๔ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ณ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหาร และฝ ก การปฏิ บั ติ ที่ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ๔. แตงตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถาบัน การศึกษา ของกองทั พ ไปดํ า เนิ นการตรวจสอบและประเมิน คุ ณ ภาพสถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ จํ า นวน ๖ สถาบัน คือ วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา วิ ท ยาลั ย พยาบาลกองทั พ บก วิ ท ยาลั ย พยาบาล กองทัพเรือ วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ โรงเรียน นายรอยพระจุลจอมเกลา และโรงเรียนเตรียมทหาร ๕. ดําเนินการคัดเลือกขาราชการในสังกัด กระทรวงกลาโหม เพื่อทําหนาที่เปนผูประเมินภายนอก สงใหสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึ ก ษา (องค ก ารมหาชน) หรื อ สมศ. จํ า นวน ๑๖ คน แตงตั้งเปนผูทรงคุณวุฒิในการทําหนาที่ ประเมินคุณภาพภายนอกสถาบันการศึกษาของกองทัพ


๖. ประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถาบันการศึกษา ของกองทัพ ๒ ครั้ง เพื่อพิจารณาผลการประเมิน คุณภาพการศึ ก ษาภายในสถาบั นการศึกษาของ กองทัพกอนนําเรียน รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ๖.๑ ครั้งที่ ๑/๔๗ เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๗ ณ หองประชุมกรมยุทธศึกษาทหาร ที่ประชุมมีมติใหดําเนินการดังนี้ ๖.๑.๑ หวงเวลาในการตรวจสอบ และประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถาบั น การศึกษาของกองทัพ ตั้งแตป ๒๕๔๘ เปนตนไป ใหดําเนินการกอนที่ สมศ.จะเขาประเมิน ลวงหนา ๑ ป ๖.๑.๒ กําหนดคุณสมบัติ จํานวน คน จํานวนวันของคณะอนุกรรมการตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษาของกองทัพ ๖.๑.๓ แบบฟอร ม รายละเอี ย ด การประเมิน จํานวน ๒ แบบ ๖.๑.๔ แบบรายงานของคณะ อนุ ก รรมการตรวจสอบและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษาภายในสถาบันการศึกษาของกองทัพ ๖.๑.๕ กํ า หนดเนื้ อ หาสาระใน เอกสารรายงานการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในสถาบันการศึกษาของกองทัพ ๖.๑.๖ กําหนดตัวบุคคลในคณะ อนุ ก รรมการตรวจสอบและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษาภายในสถาบันการศึกษาของกองทัพ ๖.๒ ครั้ ง ที่ ๒/๔๗ เมื่ อ วั น ที่ ๑๕ ตุ ล าคม พ.ศ.๒๕๔๗ ณ หองประชุมกรมยุทธศึกษาทหาร

ที่ประชุมมีมติเรื่อง การรายงานผลการตรวจสอบ และประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถาบั น การศึกษาของกองทัพ ในป ๒๕๔๗ ควรเนนความ คืบหนาเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาของ กองทั พ ที่ม อบหมายให เ ลขาธิก ารสภาการศึก ษา วิชาการทหารรับผิดชอบ และในปนี้กรมยุทธศึกษา ทหาร ไดมีการปรับสํานักงานประกันคุณภาพการศึกษา อี ก ครั้ ง หนึ่ ง เมื่ อ วั น ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ปรั บ ปรุ ง การจั ด ตั้ ง สํ า นั ก งานประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา และเปลี่ยนชื่อเปน สํานักงานประกัน คุ ณ ภาพและมาตรฐานการฝ ก ศึ ก ษาทหาร (สมท.ยศ.ทหาร) ตามคําสั่งกรมยุทธศึกษาทหาร (เฉพาะ) ที่ ๑๒๔/๔๗ ลง ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ประกอบดวย ๓ กลุมงาน คือ ฝายตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพ ฝายธุรการและการประชาสัมพันธ ฝายควบคุมและพัฒนาคุณภาพ ทั้งนี้เพื่อเปนการ รองรั บ การดํ า เนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา สถาบัน การศึกษาของกองทัพใหมีคุณภาพยิ่ง ขึ้ น โดยบุ คลากรที่ รับผิ ด ชอบการปฏิบั ติในชว งแรกนี้ มี จํ า นวน ๗ ท า น (ยศในขณะนั้ น ) ประกอบด ว ย พั น เอก พลทรั พ ย บุ ญ วานิ ช ทํ า หน า ที่ หั ว หน า สํานักงานฯ นาวาอากาศเอกหญิง ขวัญใจ สมรรคบุตร, นาวาอากาศเอก วิบูลยชัย ไพบูลยศิริ, พันโท สุรกิจ สุขอิ่ม, พันโท พิเชษฐ คีรีวงค, พันตรี วิษณุ สุขสมจิตร และ สิบโท วิษณุ พันธุวัฒนา พ.ศ.๒๕๔๘ เป น ป สุ ด ท า ยของการ ประกันคุณภาพการศึกษาในรอบแรก กรมยุทธศึกษา ทหาร ดํ า เนิ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐาน การศึกษาของกองทัพ จํานวน ๕ โครงการ คือ


๑. จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการผูประเมิน คุณภาพการศึกษาภายในสถาบันการศึกษาของ กองทัพ รุนที่ ๒ ระยะเวลา ๕ วัน ตั้งแตวันที่ ๖–๑๐ มิถุนายน ๒๕๔๘ ณ กรมยุทธศึกษาทหาร และฝก การปฏิบัติที่วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ผูเขารวม การประชุม จํานวน ๓๑ คน ๒. จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ผูตรวจสอบ และประเมิ น คุ ณ ภาพการศึก ษาภายในสถาบั น การศึกษาของกองทัพ รุนที่ ๒ ระยะเวลา ๗ วัน ตั้งแต วันที่ ๕–๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ณ กรมยุทธศึกษา ทหาร และฝกการปฏิบัติที่โรงเรียนนายเรืออากาศ ผูเขารวมการประชุม จํานวน ๔๐ คน ๓. จั ด ตั้ ง อนุ ก รรมการตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถาบันการศึกษา ของกองทัพไปดําเนิ นการตรวจสอบและประเมิน คุณภาพการศึก ษาภายในสถาบันการศึ กษาของ กองทัพ จํานวน ๘ สถาบัน คือ โรงเรียนเสนาธิการ ทหารบก (สวนบัณฑิตศึกษา) โรงเรียนนายเรือ โรงเรียน ชางฝมือทหาร โรงเรียนแผนที่ โรงเรียนพยาบาล ทหารเรือ โรงเรียนดุริยางคทหารบก โรงเรียนดุริยางค ทหารเรือ และโรงเรียนดุริยางคทหารอากาศ จัดประชุม คณะทํางานพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา สถาบันการศึกษาของกองทัพระดับปริญญาตรีขึ้นไป และระดับต่ํากวาปริญญาตรี ณ กรมยุทธศึกษาทหาร เพื่อปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาและตัวบงชี้การ ตรวจสอบและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ กองทัพ เมื่อวันที่ ๒๙–๓๐ สิงหาคม ๒๕๔๘ ๔. ประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถาบัน การศึกษา

ของกองทัพ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๘ พิจารณา ผลการประเมินคุ ณภาพการศึกษาสถาบั นการศึ กษา ของกองทั พ ทั้ ง จากการประเมิ น คุ ณ ภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาและการปรับปรุงแกไขการพัฒนา การศึกษาสถาบันการศึกษาของกองทัพในภาพรวม

๕. ที่ ป ระชุ ม มี ม ติ ใ ห ส ภาการศึ ก ษาของ กองทัพทั้ง ๑๕ สถาบัน ทําแผนพัฒนาคุณภาพใน วงรอบ ๕ ป กํ า หนดกิ จ กรรม/โครงการ และ ผูรับผิดชอบแกไขจุดที่ควรพัฒนาตามขอเสนอแนะ ทั้งจากการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก นําเรียนรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม เพื่อทราบ แนวทางการดําเนินงานของแตละสถาบัน พ.ศ.๒๕๔๙ เปนปแรกของวงรอบการ ประกันคุณภาพการศึกษาในรอบสอง กรมยุทธศึกษา ทหาร ดํ า เนิ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐาน การศึกษาของกองทัพ จํานวน ๒ โครงการ คือ ๑. จัดการประชุมคณะทํางานพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาสถาบันการศึกษาของกองทัพ ระดับปริญญาตรีขึ้นไป เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๔๙ มีผูเขารวมประชุม ๓๑ คน และคณะทํางานฯ ระดับ


ต่ํากวาปริญญาตรี เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๔๙ มี ผู เข าร วมประชุ ม ๓๓ คน ณ ห องประชุ มกรมยุ ทธศึกษาทหาร พิจารณาการกําหนดน้ําหนักเกณฑการ ประเมิน คุณภาพแตละตัวบงชี้ ที่ประชุมมีมติสรุป ไดดังนี้ ๑.๑ เกณฑการประเมินคุณภาพแตละ ตัว บ ง ชี้กํ า หนดให เ ป น ๓ ระดั บ ยกเวน โรงเรี ย น เตรียมทหาร เปน ๔ ระดับ ๑.๒ เกณฑการรับรองมาตรฐานคุณภาพ ใชเปน ๕ ระดับ รวมทั้งใชหลักเกณฑและวิธีการให คะแนนแบบเดียวกับ สมศ. ๑.๓ มาตรฐานการศึกษาของกองทัพ เดิม ๒ มาตรฐาน คือ ระดับปริญญาตรีขึ้นไปและ ระดับต่ํากวาปริญญาตรี ในการประเมินรอบตอไป ใหแยกเปน ๖ มาตรฐาน คือ ๑.๓.๑ มาตรฐานการศึกษาหลักสูตร ปริญญาโท โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ๑.๓.๒ มาตรฐานการศึกษาโรงเรียน เหลาทัพ ๑.๓.๓ มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัย แพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา ๑.๓.๔ มาตรฐานการศึกษาวิทยาลัย พยาบาลเหลาทัพ ๑.๓.๕ มาตรฐานการศึกษาระดับ ต่ํากวาปริญญาตรี สายวิชาชีพ ๑.๓.๖ มาตรฐานการศึกษาโรงเรียน เตรียมทหาร ๒. จัดการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การ ตรวจสอบและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของ

คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ การศึ ก ษาภายในสถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ เมื่อวันที่ ๑๘-๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ณ กรมยุทธศึกษาทหาร ผูเขารวมการสัมมนาและสังเกตการณ จํานวน ๕๓ คน สรุปผลการสัมมนา ดังนี้

๒.๑ เนื้ อ หาสาระใน (ร า ง) คู มื อ การ ประกัน คุณภาพการศึก ษาของกองทัพ กํา หนดให มี ๕ สวน ๒.๒ แบบฟอรมและหัวขอในการจัดทํา รายงานการศึกษาและประเมินตนเองของสถาบัน การศึกษา ประกอบดวย ๕ สวน ๒.๓ ไดแบบฟอรมการรายงานผลการ ตรวจสอบและประเมินคุณภาพของคณะอนุกรรมการ ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการศึกษาของกองทัพ ๒.๔ ได วิ ธี ก ารดํ า เนิ น งานตรวจสอบ และประเมินของคณะอนุกรรมการฯ


๒.๕ การขอปรับปรุงตัวบงชี้และเกณฑ การประเมินของ สมศ. ที่ไมเหมาะสมในการนํามา ใชในการประเมินสถาบันการศึกษาของกองทัพ หรือ ควรเปลี่ย นแปลงให สอดคล อ งกั บ การปฏิ บัติจริ ง ของกองทัพ

พ.ศ.๒๕๕๐ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหาร ดําเนินการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของกองทัพ จํานวน ๔ โครงการ คือ ๑. ขออนุมั ติใชมาตรฐานและเกณฑก าร ประเมิ น คุ ณ ภาพสถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ พ.ศ.๒๕๕๐ (ปรับปรุงจากมาตรฐานและเกณฑการ ประเมินของกองทัพในรอบแรก พ.ศ.๒๕๔๖) ๒. จัดทําหนังสือคูมือการประกันคุณภาพ การศึกษาสถาบันการศึกษาของกองทัพ พ.ศ.๒๕๕๐ (ปรับปรุงจากหนังสือแนวทางการประกันคุณภาพ การศึ ก ษาสถาบั น การศึ ก ษาของกองทั พ และ หนังสือแนวทางการตรวจสอบคุณภาพการศึกษา สถาบัน การศึกษาของกองทัพ พ.ศ.๒๕๔๓) ซึ่งผู บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด อนุ มั ติ ใ ห ก รมยุ ท ธศึ ก ษา ทหาร ใชมาตรฐานและเกณฑการประเมินคุณภาพ สถาบัน การศึกษาของกองทัพ และคูมือการประกัน

คุณภาพการศึกษาสถาบั นการศึก ษาของกองทัพ พ.ศ.๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๐ ๓. พัฒนาบุคลากรเปนผูตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถาบันการศึกษา ของกองทั พ โดยจั ด การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ผูตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบัน การศึกษาของกองทัพ จํานวน ๒ รุน คือ ๓.๑ รุนที่ ๓ วันที่ ๑๒-๑๖ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๕๐ จํานวน ๓๘ คน ณ กรมยุทธศึกษาทหาร และฝกปฏิบัติที่วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ ๓.๒ รุ น ที่ ๔ วั น ที่ ๑๑-๑๕ มิ ถุ น ายน พ.ศ.๒๕๕๐ จํานวน ๔๗ คน ณ กรมยุทธศึกษาทหาร และฝกปฏิบัติที่วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ๔. แต ง ตั้ ง นายทหารสั ญ ญาบั ต รจาก วิ ท ยาลั ย แพทยศาสตร พ ระมงกุ ฎ เกล า วิ ท ยาลั ย พยาบาลกองทัพบก วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ และวิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ เปนอนุกรรมการ ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ของกองทั พ ไปตรวจสอบและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษาภายในสถาบั น การศึก ษาของกองทั พ จํานวน ๕ สถาบัน (ประชุมเตรียมการ/ดําเนินการตรวจ/ ประชุมสรุปผล) ดังนี้ ๔.๑ วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา วันที่ ๑๑, ๒๕-๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๐ และ ๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๐ ๔.๒ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วันที่ ๖, ๒๙-๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๐ และ ๓ กันยายน ๒๕๕๐ ๔.๓ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ วันที่ ๘, ๑๙ - ๒๑, ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๐


๔.๔ วิ ท ยาลั ย พยาบาลทหารอากาศ วั นที่ ๒๐, ๒๒-๒๔ สิ งหาคม ๒๕๕๐ และ ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐ ๔.๕ โรงเรียนพยาบาลทหารเรือ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๐, ๑-๓ และ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๐ ๕. ประสานการประเมินคุณภาพภายนอก กับสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึ ก ษา (องค ก ารมหาชน) หรื อ สมศ. ในการ เปลี่ยนแปลงตัวบงชี้ของ สมศ. ที่ใชในการประเมิน คุณภาพสถาบันการศึกษาของกองทัพ การกระจาย น้ํ า หนั ก แต ล ะตั ว บ ง ชี้ ต ามมาตรฐานของ สมศ. กําหนดเวลาการประเมินคุณภาพ และการเขารวม สั ง เกตการณ ป ระเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกรอบสอง จํานวน ๕ สถาบัน คือ ๕.๑ วิ ทยาลั ยแพทยศาสตร พระมงกุ ฎ เกลา วันที่ ๑๔-๑๖ มีนาคม ๒๕๕๐ ๕.๒ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วันที่ ๑๙-๒๑ มีนาคม ๒๕๕๐ ๕.๓ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ วันที่ ๒๔-๒๖ มีนาคม ๒๕๕๐ ๕.๔ วิ ท ยาลั ย พยาบาลทหารอากาศ วันที่ ๒๕-๒๖ มกราคม ๒๕๕๐ ๕.๕ โรงเรียนพยาบาลทหารเรือ วันที่ ๑๙-๒๑ มีนาคม ๒๕๕๐ ๖. จั ด การประชุ ม สถาบั น การศึ ก ษาของ กองทัพ ๑๑ สถาบัน เตรียมรับการตรวจสอบและ ประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในของกองทั พ และการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกของ สมศ.

ปงบประมาณ ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๐ ณ หองประชุมกรมยุทธศึกษาทหาร พ.ศ.๒๕๕๑ แผนงานในภาพรวมยั ง เป น เรื่ อ งการตรวจสอบและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษาภายในและร ว มสั ง เกตการณ ป ระเมิ น ภายนอก ดังนี้ ๑. กํ า หนดการตรวจสอบและประเมิ น คุณภาพการศึกษาภายในสถาบันการศึกษาของกองทัพ ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๑ จํานวน ๑๑ สถาบัน คือ ๑.๑ โรงเรียนชางฝมือทหาร วันที่ ๒๒, ๒๙-๓๑ ตุลาคม, ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ๑.๒ โรงเรีย นจา อากาศ วั น ที่ ๑,๖-๘, ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ๑.๓ โรงเรียนแผนที่ วันที่ ๒๑,๒๖-๒๘ พฤศจิกายน, ๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ ๑.๔ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (สวน บัณฑิตศึกษา) วันที่ ๓,๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ๑.๕ โรงเรี ย นดุ ริ ย างค ท หารเรื อ วั น ที่ ๑๕,๑๙-๒๑, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๐ ๑.๖ โรงเรียนชุมพลทหารเรือ วันที่ ๔, ๙-๑๑, ๑๘ มกราคม ๒๕๕๑ ๑.๗ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา วันที่ ๑๐,๑๔-๑๖, ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ๑.๘ โรงเรียนนายเรือ วันที่ ๑๘,๒๒-๒๔, ๓๐ มกราคม ๒๕๕๑ ๑.๙ โรงเรียนนายเรืออากาศ วันที่ ๒๒, ๒๙-๓๑ มกราคม, ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ๑.๑๐ โรงเรี ย นดุ ริ ย างค ท หารอากาศ วันที่ ๑๘,๒๒-๒๔, ๓๐ มกราคม ๒๕๕๑


๑.๑๑ โรงเรียนดุริยางคทหารบก วันที่ ๓๑,๖-๘, ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ๒. รวมสังเกตการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสอง จํานวน ๑๑ สถาบันๆ ละ ๓ วัน คือ ๒.๑ โรงเรียนชางฝมือทหาร วันที่ ๑๙๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ๒.๒ โรงเรียนจาอากาศ วันที่ ๒๑-๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ๒.๓ โรงเรี ย นแผนที่ วั น ที่ ๒๐-๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๐ ๒.๔ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (สวน บัณฑิตศึกษา) วันที่ ๙-๑๐ มกราคม ๒๕๕๑ ๒.๕ โรงเรี ย นดุ ริย างค ท หารเรือ วั น ที่ ๒๓-๒๕ มกราคม ๒๕๕๐

๒.๖ โรงเรี ย นชุ ม พลทหารเรื อ วั น ที่ ๒๑-๒๓ มกราคม ๒๕๕๑ ๒.๗ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา วันที่ ๒๕-๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ๒.๘ โรงเรี ย นนายเรื อ วั น ที่ ๑๙-๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ๒.๙ โรงเรียนนายเรืออากาศ วันที่ ๒๗๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ๒.๑๐ โรงเรี ย นดุ ริ ย างค ท หารอากาศ วันที่ ๑๙-๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ ๒.๑๑ โรงเรียนดุริยางคทหารบก วันที่ ๒๗-๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ (อ่านต่อฉบับหน้า)


ปชส.รร.นอ. เปดหนาประวัติศาสตรครั้งแรกของโรงเรียน นายเรืออากาศ ผนึกกําลังฝกปองกันภัยทางอากาศ รวมกับหนวยบัญชาการตอสูอากาศยาน และรักษาฝง กองทัพเรือ เมื่อวันที่ ๑๕-๒๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ภายใต รหัสการฝก ชัยพฤกษ ๕๔ ณ กรมตอสูอากาศยาน ที่ ๒ หนวยบัญชาการตอสูอากาศยาน และรักษาฝง กองทัพเรือ อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เพื่อฝกการ ปฏิ บั ติ ก ารในการป อ งกั น ภั ย ทางอากาศร ว มกั น ธรรมชาติ

และการแลกเปลี่ยนหลักยุทธวิธีในการปองกันภัย ทางอากาศ โดยเมื่ อ วั น ที่ ๒๑ มี น าคม ๒๕๕๔ พล.อ.ท. สฤษดิ์พงษ โกมุทานนท ผูบัญชาการ โรงเรียนนายเรืออากาศ และพล.ร.ต. ธราธร ขจิตสุวรรณ

ผูบัญชาการหนวยบัญชาการตอสูอากาศยาน และ รักษาฝง รวมสังเกตการณในการฝกปองกันภัยอากาศ รวมกับยุทโธปกรณและอากาศยานของกองทัพอากาศ

สํ า หรั บ อาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ ที่ ทํ า การฝ ก จั ด จากกองพันตอสูอากาศยานที่ ๒๑ และกองพันตอสู อากาศยานที่ ๒๓ กรมตอสูอากาศยานที่ ๒ หนวย บัญชาการตอสูอากาศยานและรักษาฝง กองทัพเรือ ซึ่ ง มี อ าวุ ธ ยุ ท โธปกรณ ป ระกอบไปด ว ย ป น ต อ สู อากาศยาน ๓๗ มิลลิเมตร จํานวน ๖ แทน พรอมเครื่อง ควบคุมการยิง ๗๐๒ ๑ ระบบ และปนตอสูอากาศยาน ๔๐ มิลลิเมตรแอล ๗๐ จํานวน ๒ กระบอก พรอม เครื่องควบคุมการยิงฟลายแคทเชอร ๑ ระบบ และ


เรดารตรวจการณพื้นน้ําแบบเคลื่อนที่ได ตราอักษร RAYTHEON PATHFINDER MK.2 จํานวน ๑ คัน

ในส ว นของกองทั พ อากาศที่ ร ว มฝ ก จั ด กํ า ลั ง พลจากนั ก เรี ย นนายเรื อ อากาศชั้ น ป ที่ ๓ โรงเรี ย นนายเรื อ อากาศ, สถานี ร ายงานบ า นเพ กองทัพอากาศ จ.ระยอง และเครื่องบินขับไลสกัดกั้น F-16 จํานวน ๒ ลํา/เครื่องบินฝกขับไลสกัดกั้น L-39 จํานวน ๒ ลํา

ในการฝ ก ครั้ ง นี้ โรงเรีย นนายเรื อ อากาศ ไดนํานักเรียนนายเรืออากาศชั้นปที่ ๓ จํานวน ๙๑ คน ทําการฝกปองกันภัยทางอากาศ ประจําปการศึกษา ๒๕๕๓ โดยมี พล.อ.ต.ถาวร มณี พ ฤกษ รองผู บั ญ ชาการ โรงเรี ย นนายเรื อ อากาศ เป น ผู อํ า นวยการฝ ก ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค ใ ห นั ก เรี ย น

นายเรืออากาศไดรับความรูในเกี่ยวกับการปองกัน ภัยทางอากาศของกองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ดังคําที่วา “รบอยางไร ฝกอยางนั้น”

ทั้ ง นี้ ไ ด รั บ การสนั บ สนุ น การฝ ก จาก หน ว ยบั ญ ชาการต อ สู อ ากาศยานและรั ก ษาฝ ง กองทัพเรือ สําหรับการฝกในครั้งนี้ จะจัดตั้งหนวยฝก ระหว า งวั น ที่ ๑๕-๒๒ มี . ค.๕๔ โดยมี น.อ.สุ ช า เคี่ยมทองคํา ร.น. เสนาธิการหนวยบัญชาการตอสู อากาศยานและรักษาฝงเปนผูอํานวยการฝก และ น.อ.สุทธินันท สมานรักษ ร.น. ผูบังคับการกรม ตอสูอากาศยานที่ ๒ หนวยบัญชาการตอสูอากาศยาน และรักษาฝงเปนผูควบคุมการฝก ซึ่งแนวทางการฝก จะใหนักเรียนนายเรืออากาศพักคางคืนที่ กองพัน ตอ สู อ ากาศยานที่ ๒๑ กรมต อ สูอ ากาศยานที่ ๒ และรับการฝกอบรมจากวิทยากรกรมตอสูอากาศยาน ที่ ๒ และสถานี รายงานบ านเพ โดยได รั บความรู เกี่ ยวกั บหลั ก ยุ ท ธวิ ธี ข องหน ว ยต อ สู อ ากาศยาน รวมทั้งหลักการปองกันภัยทางอากาศยาน,ฝกความ คุนเคยกับการตอสูอากาศยาน และรับชมการสาธิต การปฏิบัติการรวมการฝกระหวางกองทัพเรือ และ กองทัพอากาศ


ซึ่งกําหนดการสาธิตเมื่อวันที่ ๑๘ มี.ค.๕๔ ในหวงเวลา ๐๙๐๐-๑๒๐๐ น. สาธิตการฝกปองกัน ภัยอากาศยานจากเครื่องบินฝกขับไลสกัดกั้น L-39 จํานวน ๒ ลํา เมื่อวันที่ ๒๑ มี.ค.๕๔ โดยผลที่ไดรับของการฝกในครั้งนี้ นอกจาก จะเปนการแลกเปลี่ยนยุทธวิธี และการปฏิบัติการ ร ว มกั น ระหว า ง ๒ เหล า ทั พ แล ว ยั ง จะเป น การ ธรรมชาติ

บูรณาการขีดความสามารถของกองทัพไทย ในการ ลดจุดออนเสริมขีดความสามารถใหมีประสิทธิภาพ ทุกสวนไดทุมเทกําลังกายใจในการรักษาอธิปไตย ของชาติ ในการปกป อ งทรั พ ย สิ น และชี วิ ต ของ ประชาชนตลอดจนทรั พ ยากรของชาติ ทั้ง ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ ดังคําที่วา ปองนภา... รักษาฝง ของผืนแผนดินไทย โดยแทจริง


Sansiri_2@yahoo.com www.facebook.com/sansiri.s

น.อ.สรรสิริ สิริสันตคุปต

ปจจุบันอุปกรณไฮเทคพกพา (Mobile devices) ไดรับความนิยมและถูกนํามาใชในการสื่อสาร มากขึ้นเรื่อยๆ โดยขอมูลจากสหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ (ITU) ไดรายงานวา ณ ปจจุบัน จํานวน ผูใชบริการอุปกรณไฮเทคพกพามีอยูประมาณ ๕,๐๐๐ ลานคน และคาดวาเมื่อถึงสิ้นปนี้ จํานวนผูใชบริการจะมีมากกวา ๕,๐๐๐ ลา นคนทั่ว โลก ซึ่ง ถื อเป น ตัวเลขที่มีจํา นวนมาก เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ จํ า นวนคนที่ มี อ ยู บ นโลกประมาณ ๖,๘๐๐ ล า นคน สมาร ท โฟนเป น หนึ่ ง ในอุ ป กรณ ไ ฮเทค พกพา ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ และมี อั ต ราการเติ บ โตอย า ง รวดเร็ว เห็นไดจากสมารทโฟนเขาไปมีสวนรวมในการใชชีวิต ของบุคลากรในทุกระดับ และที่สําคัญเริ่มเขาไปมีสวนรวม ในการทํางานของบุคลากรในแตละองคกร นอกเหนือจาก การใชเครื่องคอมพิวเตอรในที่ทํางาน อาทิ บุคลากรของ องคกรแหงหนึ่งมีความจําเปนตองทํางานนอกสถานที่ เมื่อ ตองการเชื่อมตอกับเครือขายขององคกร เพื่อทองอินเทอรเน็ต, อานอีเมล, ตอบขอความเรงดวน, คนหาขอมูลที่ตองนําเสนอ และอื่นๆ ก็สามารถใชสมารทโฟนเชื่อมตอได จากทุกที่ที่ตองการ ถึงแมวาสมารทโฟนจะมีขอไดเปรียบในเรื่องของ มีขนาดเล็ก, สามารถใชงานไดหลายอยาง และที่สําคัญสะดวกคลองตัวในการใชงาน แตในเรื่องของความปลอดภัยนั้น มองกันใหดีแลว โครงสราง พื้นฐานที่เกี่ยวของยังไมสมบูรณเทาที่ควรจะเปน ดังนั้นการนําสมารทโฟนมาใชในองคกรของบุคลากรอยาง ไมระมัดระวัง อาจสรางปญหาใหแกตัวบุคลากรและขอมูลที่อยูบนเครือขายขององคกร โดยเฉพาะอยางยิ่ง


บุคลากรหลายคนนิยมที่จะเก็บขอมูลสําคัญไวบนสมารทโฟนเพื่อความสะดวกในการใชงาน ขอมูลการ รายงานแนวโนมดานความปลอดภัยในอนาคตของหนวยงาน SANS Institute แจงวา ในป 2011 แนวโนม ความไมปลอดภัยของขอมูลบนสมารทโฟนนั้นมีสูงขึ้น โดยมีรายละเอียดที่นาสนใจดังนี้ ความเสีย่ งบนสมารทโฟน นอกเหนือจากการเปนโทรศัพทที่สามารถโทรเขาและออกไดแลว ปจจุบันสมารทโฟนมีความสามารถ มากขึ้นเสมือนเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง สามารถเชื่อมตออินเทอรเน็ต ทําใหสมารทโฟนไดรับความ นิยมในการนํามาใชอยางรวดเร็วและมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งที่นํามาใชเปนการสวนตัวและนํามาใชในการทํางาน หลายคนเห็นดวยกับขอไดเปรียบขอหนึ่งในการนําสมารทโฟนมาใชคือ ใหความสะดวกและคลองตัวในการ ใชงาน จากความนิยมในการใชที่เพิ่มขึ้น บวกกับความสะดวกในการดาวนโหลดแอพพิเคชั่น นําไปสูชองโหว ของความไมปลอดภัยในการใชสมารทโฟน (Vulnerability) ขอมูลจากคุณ Patrick Peterson นักวิจัยอาวุโส ดานความปลอดภัยของบริษัท Cisco ไดกลาววา “กอนหนานี้ผูประสงครายแสวงหาโอกาสในการลวงขอมูล ผานระบบปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร (Windows PC) แตในปจจุบันนั้น ผูประสงครายไดเปลี่ยนไป ลวงขอมูลผานระบบปฏิบัติการของสมารทโฟนแทน (Mobile OS)” ซึ่งเห็นไดจากการเกิดขึ้นของโปรแกรม ประสงคราย SymbOS/Zitmo.Altr ในป 2009 ถื อ เป น การปรากฏตั ว ครั้ ง แรกของโปรแกรมประสงค ร า ยบน สมารทโฟน ที่อยูในรูปแบบของมาโทรจัน (Trojan horse) โปรแกรมฯ ถูกออกแบบมา ให ข โมยข อ มู ล จากธนาคาร ด ว ยการกด แป น พิ ม พ บนสมาร ทโฟน แม แต ผลิ ตภั ณฑ ไฮเทคพกพาจากบริษัท Apple อาทิ iPhone และ iPad ที่ใชระบบปฏิบัติการที่ไดขึ้นชื่อ วาปลอดภัยมากกวาระบบอื่นๆ ก็ยังไมพน มี ช อ งโหว ข องความไม ป ลอดภั ย เกิ ด ขึ้ น เห็นไดจากสมารทโฟน iPhone ที่ใชระบบ ปฏิบัติการ iOS4 ตรวจพบชองโหวของความไมปลอดภัย ที่อาจเปนชองทางใหผูประสงครายแสวงหาโอกาส ในการลวงขอมูลผานระบบปฏิบัติการของ iPhone ได ซึ่งทางบริษัทฯ ไดนําเสนอการแกไขขอบกพรองแลว (Patch) เพื่อปดชองโหวความไมปลอดภัยที่มีมากกวา ๖๐ ขอบกพรองบนระบบปฏิบัติการ iOS4 ถึงจะ


อย างไรก็ต าม ผู ใช ส มาร ท โฟนก็มี สว นทํา ใหการใชไมมีค วามปลอดภั ย คงเห็ น ได จ ากผู ใชส มาร ท โฟน iPhone เปนจํานวนมากกําลังทําลายการรักษาความปลอดภัยของสมารทโฟนและอุปกรณไฮเทคพกพา อื่นๆ รวมทั้ง iPad โดยผูใชสามารถปลดล็อคขอจํากัดในการดาวนโหลดแอพพิเคชั่นบนระบบปฏิบัติการ iOS4 (Jailbreaking) ทําใหผูใชสามารถดาวนโหลดแอพพิเคชั่นไดจากทุกที่บางที่อาจมีความเสี่ยง ถือเปน ขอบกพรองบนระบบปฏิบัติการ iOS4 ถา iPhone เครื่องนั้นไมไดรับการแกไขขอบกพรอง (Patch) ใหถูกตอง แลว อาจถูกผูประสงครายแสวงหาโอกาสในการลวงขอมูลผานระบบปฏิบัติการของ iPhone และควบคุมการ ทํางานของสมารทโฟนเครื่องนั้น ประกอบกับในปจจุบันหลายองคกรตองการใหบุคลากรของตนใช VPN (เครือขายสวนตัวเสมือนที่สรางเสนทางสวนตัว บนเครือขายสาธารณะสําหรับการแลกเปลี่ยนขอมูลกับ องคกร) เพื่อขอรับการเขาถึงเครือขายขององคกรจากการใชโนตบุกหรือเครื่องคอมพิวเตอรระยะไกล ซึ่งมี การติดตั้งดวยซอฟตแวรปองกันไวรัสไว โดยขอดีของ VPN นั้นชวยใหบุคลากรเขาถึงเครือขายขององคกรได อยางปลอยภัย แต VPN สําหรับสมารทโฟนถือวายังไมแพรหลาย เนื่องดวยขอจํากัดทางเทคนิคสําหรับ ระบบปฏิบัติการบนสมารทโฟนที่ยังไมสามารถรองรับการทํางานแบบเขารหัสและถอดรหัสได

ดังนั้นการใชสมารทโฟนเพื่อเขาถึงเครือขายขององคกรนั้น ทําใหเกิดชองโหวในการรักษาความ ปลอดภัย เปดทางใหผูประสงครายและโปรแกรมประสงครายเขาโจมตีระบบเครือขายขององคกร ผูดูแล ระบบ (Network Administrators) คงจะตองเลือกระหวางการประนีประนอมในการรักษาความปลอดภัย เครือขายขององคกร โดยการยอมใหบุคลากรที่ใชสมารทโฟนเขาถึงเครือขายขององคกรหรือจํากัดการเขาถึง เครือขายขององคกร ในทางปฏิบัตินั้นเมื่อมีการประนีประนอมระหวางการใชงานและการรักษาความ ปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยมักจะเสียเปรียบ ดังนั้นวันนี้ เราจะเห็นบุคลากรสวนใหญสามารถเขาถึง เครือขายองคกรผานสมารทโฟนไดจากทุกที่ที่ตองการ ลองจินตนาการความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น เมื่อบุคลากร


เหลานี้ ใชจุดเชื่อมตอสาธารณะ (Access Point) เพื่อเชื่อมตอเขาสูเครือขายขององคกร……คุณ Stephan Henze รองประธานแผนกไอทีของบริษัท Windsor Foods ในเมืองฮุสตัน รัฐเท็กซัส ไดระบายความในใจวา “ความต อ งการใช ส มาร ท โฟนในบริ ษั ท มี เ พิ่ ม ขึ้ น ทุ ก ขณะความกั ง วลในเรื่ อ งของความไม ป ลอดภั ย ไดเกิดขึ้นคือ ความเสี่ยงที่ขอมูลสําคัญจะรั่วไหลออกไปภายนอกองคกร ในกรณีที่สมารทโฟนหรือเมมโมรีการด สูญหายหรือถูกขโมย นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงในเรื่องของสมารทโฟนที่เชื่อมตอกับ VPN สามารถเปดทางให ผูประสงครายและโปรแกรมประสงครายเขาโจมตีระบบเครือขายขององคก ร เหลานี้เ ปน ความเสี่ ยงที่ ยังไมไดรับการดูแลอยางดีพอในปจจุบัน และที่สําคัญบุคลากรที่ใชสมารทโฟนนั้นมีแนวโนมจะมองเปน อุปกรณสวนบุคคล (เหมือนของเลน) ที่แผนกไอทีหรือใครอื่นไมควรมายุง”

ขอแนะนําในการใชสมารทโฟน - ไมควรเปดไฟลขอมูลที่ไมคุนเคยหรือถูกสงมาจากบุคคลที่ไมรูจัก ที่มีนามสกุลของไฟลเปน .jar, .ipk และ .apk - ไมควรเก็บขอมูลที่มีความสําคัญไวบนสมารทโฟน อาทิ เชน ขอมูลขององคกร, คลิปวิดีโอ หรือ รูปภาพสวนตัว - ควรตั้งรหัสผาน (Password) ใหสามารถปองกันความปลอดภัยของขอมูลบนสมารทโฟน โดยใช วิธีเดียวกับการตั้งรหัสผานบนเครื่องคอมพิวเตอร (PC) อาทิ เชน ควรตั้งรหัสผานดวยตัวอักษร ๘ ตัว อันประกอบ ดวยตัวอักษรอยางนอย ๖ ตัวรวมกับสัญลักษณพิเศษ


- ควรอัพเกรด (Upgrade) ซอฟแวรทุกครั้งเมื่อมีเวอรชั่นใหมผลิตออกมา เพื่อปดรอยรั่วที่เกิดขึ้นกับ ซอฟตแวรเดิมที่ใชบนสมารทโฟน - ควรปดบลูทูธ (Bluetooth) ทุกครั้งที่ไมไดใชงาน - ไมควรใชเครือขาย Wi-Fi ที่ไมรูจักและไมไดมาตรฐาน เมื่อตองการใชสมารทโฟนเชื่อมตอในการ ทํากิจกรรมการออนไลน - ควรซื้อสมารทโฟนจากศูนยผูใหบริการหรือรานที่ไดรับมอบหมายใหจําหนาย และไมควรซื้อ สมารทโฟนจากรานขายที่ไมไดมาตรฐาน เนื่องจากเครื่องสมารทโฟนดังกลาวอาจมีสปายแวร (Spyware) ติดตั้งอยูในเครื่อง - ควรปดระบบ GPS บนสมารทโฟนเมื่อไมไดใชงาน เนื่องจากสปายแวร (Spyware) สวนมากจะใช เสนทาง GPS เพื่อสงขอมูลการเฝาติดตามกิจกรรมการออนไลนของผูใชสมารทโฟนไปใหกับผูประสงคราย (Hacker) - ควรติดตั้งโปรแกรมตอตานไวรัสบนสมารทโฟนและควรเลิกใชโปรแกรมเขาถึงระยะไกล (Remote Program) เพื่อปองกันโปรแกรมประสงคราย (Malware) ที่อาจติดมาจากการเขาไปใชโปรแกรมสังคมออนไลน

ÀÀÀÀÀÀÀÀÀÀ


ปชส.ศูนยภาษา

พล.อ.อ.หะริน หงสกุล

วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๔ เปนวันครบรอบ ป ที่ ๓๙ ของวั น คล า ยวั น สถาปนาศู น ย ภ าษา กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ประวัติความเปนมา ของศูนยภาษาฯ เปนอยางไร คงตองยอนรําลึกไปถึง ชวงเวลาในป ๒๔๙๕ ซึ่งในขณะนั้น พล.อ.อ.หะริน หงสกุล ดํารงตําแหนง จก.ยศ.ทอ. ไดมีโอกาสเดินทาง ไปดูงานดาน การศึกษา ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทานมีแนวความคิดที่จะใหขาราชการ ทอ.ไดมีโอกาส

เดินทางไปศึกษาทางดานภาษาอังกฤษในตางประเทศ กันบาง จึงไดขอความรวมมือไปยัง JUSMAGTHAI (Joint United States Military Advisory Group Thailand) เพื่อจัดหลักสูตร Instructor Language Training Methods/Allied Course และในชวงป ๒๕๐๑-๒๕๐๒ ทอ.จึ ง ได มี โ อกาสส ง ข า ราชการ ทั้งนายทหารชั้นสัญญาบัตรและชั้นประทวน รวม ๑๔ นาย เดินทางไปเขารับการศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ ณ USAF Language School Lackland Air Force Base มลรัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนเวลา ๒๔ สั ป ดาห และสํ า เร็ จ การศึ ก ษากลั บ มาเมื่ อ ๑๑ ส.ค.๐๒ หลั ง จากนั้ น เพี ย ง ๒ เดื อ น ยศ.ทอ.ได รั บ การสนับสนุนเครื่องปฏิบัติการทางภาษา ๔๔ ที่นั่ง พรอมหนังสือเรียน American Language Course (ALC) และเทปประกอบบทเรียน ตามโครงการ ช ว ย เ ห ลื อ ท า ง ก า ร ท ห า ร ร ะ ห ว า ง ป ร ะ เ ท ศ สหรั ฐ อเมริ ก าและประเทศไทย (International Military Education Training Program : IMET) ซึ่ง


จก.ยศ.ทอ.ไดพิจารณาใหติดตั้งเครื่องปฏิบัติการ ทางภาษา จํานวน ๒๒ ที่นั่ง ใหกับ รร.นอ.ยศ.ทอ. และอีก ๒๒ ที่นั่ง ติดตั้งที่ กกศ.ยศ.ทอ. โดยเปดเปน “โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ” อยูในความดูแล รับผิดชอบของ กกศ.ยศ.ทอ. ในเวลาตอมา ทอ.ไดคัดเลือกขาราชการ ไปศึกษาหลักสูตรเดียวกันนี้อีกหลายรุน และไดรับ การสนั บ สนุ น เครื่ อ งปฏิ บั ติ ก ารทางภาษาพร อ ม หนังสือและเทปประกอบบทเรียนอีกเปนระยะๆ ในป ๒๕๐๕ ยศ.ทอ.ไดเล็งเห็นความสําคัญ ของการผลิ ต บุ ค ลากรที่ เ ป น แรงขั บ เคลื่ อ นหลั ก ในการส ง เสริ ม และพั ฒ นาความรู ภ าษาอั ง กฤษ ให แ ก ข า ราชการ ทอ. จึ ง ได ริ เ ริ่ ม จั ด หลั ก สู ต ร ครูภาษาอังกฤษขึ้น โดยใหขาราชการที่ไดไปศึกษา ที่ประเทศสหรัฐอเมริกานําความรูมาขยายผลและ ถายทอดใหนายทหารนักเรียนหลักสูตรครูภาษาอังกฤษ ในชวงเวลาดังกลาว

คณะอาจารยและนายทหารนักเรียน หลักสูตรภาษาอังกฤษ ป ๒๕๐๕

ใน ป ๒๕๑๒ ด ว ยความเห็ น ชอบจาก JUSMAGTHAI, ทอ. และ บก.ทหารสูงสุด ไดอนุมัติ

ให น.อ.สมหมาย เมนะรุ จิ เป น ตั ว แทนของ กระทรวงกลาโหมเดินทางไปประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อดูงาน Course Orientation Tour และประชุม เกี่ยวกับการฝกอบรมภาษาอังกฤษ เปนเวลา ๔ สัปดาห ต อ มาในป เ ดี ย วกั น ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าให ความชวยเหลือในการจัดสรางอาคารเรียน ๒ ชั้น (ปจจุบันคือที่ตั้งของ รร.คท.ฯ) พรอมหองปฏิบัติการ ทางภาษา ๓ หอง (รวม ๖๐ ที่นั่ง) อาคาร ศภษ.ยศ.ทอ.หลังเกา ป ๒๕๑๒

ในป ๒๕๑๕ “โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ” ไดรับการสถาปนาเปน “ศูนยภาษา” ขึ้นตรงตอ กรมยุ ท ธศึ ก ษาทหารอากาศ “ตามคํ า สั่ ง ทอ. (เฉพาะ) ลับที่ ๙๐/๑๕ ลง ๒๕ ก.ย.๑๕ เรื่องแกอัตรา กองทั พ อากาศ ๒๕๐๖ (ครั้ ง ที่ ๔๒) ทั้ ง นี้ ตั้ ง แต ๑๙ กันยายน ๒๕๑๕ เปนตนไป” มี น.อ.สมหมาย เมนะรุจิ เปน ผอ.ศภษ.ฯ ทานแรก และนับแตนั้นมา จึง กํ า หนดให วัน ที่ ๑๙ กั น ยายนของทุ ก ป เ ป น วั น คลายวันสถาปนา ศภษ.ยศ.ทอ. เมื่อ ๒๕ พ.ย.๔๐ “ศูนยภาษา” ไดยายมา อยูอาคารสามชั้นหลังใหมตั้งอยูทางทิศตะวันตกของ อาคาร บก.ยศ.ทอ. ปจจุบันมี น.อ.หญิง สุคนธทิพย วัฒนามระ เปน ผอ.ศภษ.ยศ.ทอ. นับเปน คนที่ ๑๔


อาคาร ศภษ.ยศ.ทอ.หลังใหม

ศูนยภาษามีภารกิจหลักที่สําคัญ คือ “ให การฝกศึกษาภาษาตางประเทศแกกําลังพลของ กองทัพอากาศ” ดังนั้น เพื่อเปนการตอบสนอง นโยบายผู บัง คั บ บัญ ชา คื อ “พัฒ นาและส ง เสริ ม ให กํ า ลั ง พลทุ ก ระดั บ มี ทั ก ษะและความรู ด า น ภาษาอังกฤษตามเกณฑมาตรฐานที่กองทัพอากาศ กําหนดเพื่อใหสามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยจั ดกิ จ กรรมเสริม ทั ก ษะความรู ภ าษาอั ง กฤษ ผ า นช อ งทางต า งๆ เช น หลั ก สู ต รเสริ ม ในแต ล ะ หนวยขึ้นตรงกองทัพอากาศ และการพัฒนาระบบ การเรี ย นรู ภ าษาอั ง กฤษด ว ยตนเองผ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส” และเพื่อเปนการนํานโยบายมาสู การปฏิบัติ ศูนยภาษาจึงไดดําเนินการจัดการเรียน การสอนภาษาอั ง กฤษ รวมถึ ง ได พั ฒ นาและ เปลี่ยนแปลงระบบการเรียนภาษาอังกฤษใหทันสมัย โดยไดดําเนินงานในดานตางๆ ดังนี้ ๑. งานดานการเรียนการสอน ๑.๑ หลักสูตรตามโครงการศึกษาของ ทอ. ไดแก

• การสัมมนาเชิงปฏิบัติการครูภาษาและ ผูเกี่ยวของกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ • หลักสูตรภาษาอังกฤษสําหรับขาราชการ และนั ก เรี ย นทหารไปศึ ก ษา ฝ ก งาน ดู ง าน ณ ต า งประเทศ โดยทุ น ทอ. และทุ น ตามโครงการ IMET/ FMF •หลักสูตรภาษาอังกฤษสําหรับขาราชการ และนั ก เรี ย นทหารไปศึ ก ษา ฝ ก งาน ดู ง าน ณ สหราชอาณาจักร บริเตนใหญและไอรแลนดเหนือ ประเทศนิวซีแลนด และเครือรัฐออสเตรเลีย โดยทุน ทอ. ทุนตามโครงการ MAP และทุนตามโครงการ DC •การฝ ก อบรมภาษาอั ง กฤษสํ า หรั บ ขาราชการที่ไดรับคัดเลือกเปนศิษยการบิน •หลั ก สู ต รภาษาไทยสํ า หรั บ นายทหาร ตางประเทศ •หลั ก สู ต รภาษาอั ง กฤษสํ า หรั บ เสมี ย น สน.ผชท.ทหารไทย/ตางประเทศ (ทอ.) •โครงการพั ฒ นาทั ก ษะการใช ภ าษา อังกฤษ สําหรับนายทหารสัญญาบัตร


•โครงการพั ฒ นาทั ก ษะการใช ภ าษา อังกฤษ สําหรับนายทหารประทวน •โครงการพัฒนาความสามารถในการใช ภาษาอังกฤษของกําลังพล ยศ.ทอ. ๑.๒ การสอนภาษาอังกฤษสนับสนุน นขต. ทอ. และหนวยนอก ทอ. ไดแก •หลักสูตรเสนาธิการกิจ •หลักสูตรนายทหารอากาศอาวุโส •หลักสูตรการสงครามทางอากาศ •ศิษยการบิน (ชั้นประถม) ณ รร.การบิน ปละ ๒ ชั้นเรียน •ศิ ษ ย ก ารบิ น (ชั้ น มั ธ ยม) ณ รร.การบิ น ปละ ๒ ชั้นเรียน •หลักสูตรนายทหารชั้นผูบังคับหมวด •หลั ก สู ต รนายทหารประทวนชั้ น พั น จ า อากาศ •หลักสูตรนายทหารประทวน •หลั ก สู ต ร ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เ พื่ อ เ ต รี ย ม ขา ราชการไปศึ ก ษาระดั บปริ ญ ญาตรี โท เอก ณ ตางประเทศ โดยทุน ทอ. •โครงการจัดซื้อ บ.Gripen 39 C/D และ บ. SAAB 340 AEW และ SAAB 340 B •โครงการแลกเปลี่ยนนายทหารซอมบํารุง บ.ข.๑๙/ก (F-16 A/B) และ บ.ล.๘ (C-130 H) •โครงการแลกเปลี่ยนนายทหารสงกําลังบํารุง ระหวาง ทอ.ไทย และ ทอ.สหรัฐอเมริกา •ชั้ น เรี ย นสนทนาภาษาอั ง กฤษสํ า หรั บ ผชท.ทอ.ไทย/ตางประเทศ และภริยา •ชั้ น เรี ย นสนทนาภาษาอั ง กฤษสํ า หรั บ ขาราชการสังกัดกรมการพลังงานทหาร ศูนยการ อุตสาหกรรม ปองกันประเทศและพลังงานทหาร

๑.๓ การสอนสนับสนุนมิตรประเทศ โดย จัดหลักสูตรภาษาไทยสําหรับนายทหารเวียดนาม ตามโครงการแลกเปลี่ย นดา นการศึก ษาระหว า ง กองทัพไทยและกองทัพประชาชนเวียดนาม ๑.๔ การสอนภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การ สวั ส ดิ ก าร โดยเป ด โครงการอบรมภาษาอั ง กฤษ ภาคฤดู ร อ น ให แ ก บุ ต รข า ราชการ ลู ก จ า ง และ พนักงานราชการ ทอ. รับนักเรียนเขารับการอบรม ตั้งแตชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ ๑.๕ การสอนวิ ช าแนวทางการพั ฒ นา ภาษาอังกฤษในหลักสูตรสายวิทยาการ ไดแก •หลักสูตรทหารอากาศโยธินชั้นสัญญาบัตร •หลักสูตรเจาหนาที่พัสดุ •หลักสูตรการศึกษาและการฝก •หลักสูตรเสมียนการเงิน •หลั ก สู ต รเสมี ย นสารบรรณ/หลั ก สู ต ร สารบรรณชั้ น เรื อ อากาศ/หลั ก สู ต รสารบรรณชั้ น นาวาอากาศ ๒. งานดานการทดสอบ ๒.๑ การทดสอบวั ด ระดั บ ความเข า ใจ ภาษาอังกฤษ (English Comprehension Level: ECL) ๒.๒ การทดสอบวัดระดับความสามารถใน การใชภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย (Australian Defence Force English Language Profiling System: ADFELPS) ๒.๓ การสอบวั ด ผลการเรี ย นประจํ า เล ม (Book Quiz) ๒.๔ การทดสอบภาษาอังกฤษเพื่อคัดเลือก ขาราชการไปศึกษาระดับปริญญาตรี โท เอก ณ ตางประเทศ โดยทุน ทอ.


๒.๕ การสอบคั ด เลื อ กบุ ค คลเข า เป น พนั ก งานราชการ ในตํ า แหนง อาจารยวิช าภาษา ตางประเทศ ประจํากองบินตางจังหวัด และ รร.การบิน นอกจากงานในภารกิจและความรับผิดชอบ ดังที่ไดกลาวมาขางตนแลวนั้น ศภษ.ยศ.ทอ.ยังได จัดทําแนวทางการเผยแพรความรูภาษาอังกฤษผาน สื่ อสิ่ งพิ มพ ของ ทอ. คื อ หนั งสื อข าวทหารอากาศ ในคอลัมน “ครูภาษาพาที” ซึ่งไดเริ่มดําเนินการมา ตั้งแตป ๒๕๓๒ จนถึงปจจุบัน และไดเพิ่มคอลัมน “Test Tips” เพื่อเตรียมความพรอมในการเขารับ การทดสอบใหแกขาราชการ ทอ. อีกดวย นอกจากนั้ น ศภษ.ยศ.ทอ.ยั ง ได พั ฒ นา ปรับปรุงแนวทางการเรียนรูภาษาอังกฤษใหทันสมัย สอดคลองกับการเปน Digital Air Force เพื่อให กําลังพล ทอ. ไดมีโอกาสเรียนรูภาษาอังกฤษดวย ตนเอง ได อ ย า งต อ เนื่ อ งตลอดเวลาโดยการจั ด โครงการสงเสริมการเรียนรู ภาษาอังกฤษผานสื่อ อิเล็กทรอนิกส (e-Learning) ตลอดจนสื่อสิ่งพิมพ ดังตอไปนี้

www.english.rtaf.mi.th โดยจะเห็นหนาจอแสดง ทักษะการเรียนภาษาอังกฤษ Grammar, Vocabulary, Reading, Listening ซึ่ง ศภษ.ฯ ไดเชื่อมโยงไปยัง เว็บไซตอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาภาษาอังกฤษ ที่ผูเรียนสามารถเลือกเรียนไดตามความสนใจ ๒. การเรี ย นรู ภ าษาอั ง กฤษด ว ยตนเอง โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป Quartet Scholar ซึ่งเปน บทเรียนภาษาอังกฤษออนไลนที่ผูเรียนเลือกฝกได ตามระดั บ ความสามารถของตนเอง เริ่ ม ตั้ ง แต ระดับพื้นฐาน ถึงระดับกลางตอนปลาย (Starter– High intermediate) และโปรแกรมสําเร็จรูป Moodle เพื่อเตรียมความพรอมในการเขารับการทดสอบที่ ศภษ.ยศ.ทอ.

๑. การเรี ย นภาษาอั ง กฤษจากเว็ บ ไซต ของ ศภษ.ยศ.ทอ. ผู ส นใจสามารถเข า ไปที่

โปรแกรม Moodle

โปรแกรม Quartet Scholar


๓. คอลัมน English Delivery เปนคอลัมน เรียนรูภาษาอังกฤษผาน e-mail ทอ. นําเสนอ แบบฝ ก หั ด ภาษาอั ง กฤษพร อ มคํ า ตอบและ คําอธิบายเกี่ยวกับคําศัพท สํานวนและไวยากรณ ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการสอบ และพัฒนาความรูภาษาอังกฤษ

๔. การใหบริการหองสมุดเพื่อการคนควา ทางด า นภาษาอั ง กฤษทั่ ว ไปและภาษาอั ง กฤษ ทางเทคนิค โดยมีตํารา เอกสาร แบบฝก แถบบันทึก ภาพ แถบบันทึกเสียง ซีดี และ ดีวีดี ไวใหบริการ

๕. การเรี ย นรู ภ าษาอั ง กฤษผ า นเสี ย ง ตามสายของ ยศ.ทอ. ซึ่งไดเริ่มดําเนินการมาตั้งแต ป ๒๕๕๐ เปนการใหบริการความรูภาษาอังกฤษ ภายใน ยศ.ทอ. เกี่ยวกับคําศัพท สํานวน และการ ใช ภ าษาอั ง กฤษในชี วิ ต ประจํ า วั น ดํ า เนิ น การ กระจายเสียงในชวงเวลา ๑๒.๓๐ – ๑๒.๔๕ ๖. การให บ ริ ก ารปรึก ษาแนะนํา เกี่ ย วกั บ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และการใชภาษา อังกฤษดานอื่นๆ เชน การเตรียมตัวเพื่อเดินทางไป ต า งประเทศ การกรอกแบบฟอร ม ภาษาอั ง กฤษ การเขี ย นเอกสารประกอบการขอวี ซ า การเขี ย น หนังสือรับรอง และอื่นๆ เปนตน ๗. การจัดชุดเคลื่อนที่ (Mobile Team) แนะนํา แนวทางการเรียนรูภาษาอังกฤษดวยตนเอง โดยใช โปรแกรมสําเร็จรูป Quartet Scholar และ Moodle ให แ ก นขต.ทอ. ณ ที่ ตั้ ง ดอนเมื อ ง และกองบิ น ตางจังหวัด หาก นขต.ทอ. ใดตองการให ศภษ.ยศ.ทอ. สง Mobile Team ไปแนะนําการเรียนรูภาษาอังกฤษ ให แ ก ข า ราชการ สามารถติ ด ต อ โดยตรงได ที่ หมายเลขโทรศัพท ๒-๒๙๖๕ ในอนาคต ศภษ.ฯ ไดเล็งเห็นความสําคัญ ที่ จ ะขยายผลการพั ฒ นาภาษาอั ง กฤษอย า งเป น รูปธรรมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อสงเสริม การพัฒนาภาษาอังกฤษดวยตนเองของกําลังพล ทอ. และ นขต.ทอ. ใหกาวไปสูองคกรแหงการเรียนรู ภาษาอัง กฤษแบบยั่ง ยื น ศภษ.ฯ ได เตรี ย มจัดทํา โครงการดังนี้ ๑. โครงการจั ด ตั้ ง ศู น ย ก ารเรี ย นรู ภ าษา อังกฤษ ดวยตนเองของ ยศ.ทอ.


๒. โครงการจั ด ตั้ ง เครื อ ข า ยการพั ฒ นา การเรียนภาษาอังกฤษของ นขต.ทอ.พรอมโครงการ ฝกอบรมกํา ลังพลที่รับผิ ดชอบดานภาษาอังกฤษ ของหนวยเครือขาย ๓. การจัดอบรมเพื่อฟนฟูความรูภาษาอังกฤษ และเตรียมความพรอมใหแกกําลังพล ทอ. ลวงหนา กอนการทดสอบ ๔. จัดทําตําราและคูมือหลักสูตรการพัฒนา ภาษาอังกฤษในระดับตนและระดับกลาง ๕. ขยายชองทางการเรียนรูภาษาอังกฤษ ผานเสียงตามสายพรอมบันทึกลงแผนซีดี แจกจายให นขต.ทอ. เพื่อการพัฒนาภาษาอังกฤษอยางตอเนื่อง

ศูน ย ภ าษามี ความมุ ง มั่ น ที่ จ ะเป น องค ก ร ด า นการศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นากํ า ลั ง พลให มี คุ ณ ภาพ และส ง เสริ ม ด า นการเรี ย นรู ภ าษาอั ง กฤษให มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด เพื่อสนองตอบ วิ สัย ทัศนก องทัพ อากาศในการกา วเขา สูก ารเปน Network Centric Air Force (กองทัพอากาศที่ใช เครื อ ข า ยเป น ศู น ย ก ลาง) ซึ่ ง เป น ก า วสํ า คั ญ ในการสรางพื้นฐานและเตรียมความพรอมกําลังพล ทอ. ใหมุงสูการเปน One of The Best Air Forces in ASEAN (กองทัพอากาศชั้นนําในภูมิภาค) ตอไป ในอนาคต

@ æo¹¿ Å´

สวัสดีครับ พี่น้องชาว ทอ. ทุกท่าน ทุกวันนี้ถือว่า internet มีความสําคัญกับชีวิตประจําวันของเรา มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งจะเห็นได้จากการที่กองทัพอากาศกําลังก้าวเข้าสู่ Network Centric Air Force (กองทัพอากาศ ที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง) และประตูในการเล่น internet นั้น สิ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ เบราว์เซอร์ ซึ่งที่ พวกเราคุ้นเคยและรู้จักกันดีก็คือ Internet Explorer แต่วันนี้กระผมจะขอแนะนําเบราว์เซอร์อีกชนิดหนึ่ง ที่มี ชื่อว่า Google Chrome ซึ่งเป็นเบราว์เซอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใหม่โดย Google โดยที่ Google Chrome นั้น เป็นเบราว์เซอร์ที่มีการออกแบบให้มีหน้าต่างโปรแกรมที่เรียบง่าย สะดวกต่อการใช้งาน อีกทั้งยัง ออกแบบมาเพื่อให้มีการโหลดหน้าเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว และที่สําคัญระบบการรักษาความปลอดภัยของ Google Chrome นั้น ยังโดยมีการป้องกันมัลแวร์และฟิชชิงในตัว พร้อมมีการอัปเดตอัตโนมัติ ทําให้มั่นใจ ว่าเบราว์เซอร์ได้รับการอัปเดตอยู่เสมอ สามารถ download Google Chrome ได้ที่ www.google.com/chrome รับรองได้ว่า ถ้าลองใช้ แล้วจะติดใจ ☺☺


นวีร วรรณกรรมกลยุ ท ธ ก ารศึ ก เกี่ ย วกั บ การ ยุแยกใหแตกความสามัคคีนั้ น ผูเขี ยนยกใหเรื่อง สามัคคีเภทคําฉันท ของ นายชิต บุรทัต เปนเรื่อง ที่เดนที่สุด ผูเขียนรูสึกจับใจเรื่องนี้ ตั้งแตเมื่อครั้งศึกษา อยูที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เมื่อประมาณ ๕๐ ป มาแลว อาจารยนิรันดร นวมารค เดินเขาหองสอน แบบมือเปลา คือไมมีหนังสือติดมือมาเลย สอนแบบ วา ปากเปล า ส วนนั ก เรี ย นจะมีหนัง สือแบบเรีย น ของกระทรวงศึกษาธิการเรื่องสามัคคีเภทคําฉันท คนละเลม สมัยนี้คงยังเรียนกันอยูในชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย แตอาจเปนหนังสืออานนอกเวลากระมัง ลักษณะทาทางสุขุมคัมภีรภาพของอาจารย ทําให นักเรียนมีจินตนาการวาอาจารยคือวัสสการพราหมณ และน้ําเสียงทุมกังวานของอาจารยยังติดหูอยูเสมอ ลวงลุประมาณ กาลอนุกรม ทานทวิชงค หนึ่ง ณ นิยม เมื่อจะประสิทธิ์ วิทยะยง เชิญวรองค เอกกุมาร

เธอจรตาม พราหมณไป โดยเฉพาะใน หองรหุฐาน จึงพฤฒิถาม ความพิสดาร ขอ ธ ประทาน โทษะและไข อยาติและหลู ครูจะเฉลย เธอนะเสวย ภัตกะอะไร ในทินนี่ ดี ฤ ไฉน พอหฤทัย ยิ่งละกระมัง ข อ ความตอนนี้ เ ป น คํ า ประพั น ธ ป ระเภท มาณวกฉันท ตอนวัสสการพราหมณยุแหยใหเหลา พระกุมารของเหลากษัตริยลิจฉวีแตกความสามัคคี คํายุแหยเปนอยางไร ขอเลาเนื้อเรื่องโดยยอกอน ดังนี้ แควนลิจฉวีเปนแควนที่ปกครองดวยธรรม และความสามั ค คี โดยเหล า กษั ต ริ ย ลิ จ ฉวี ทํ า ให พระเจ า อชาตศั ต รู แ ห ง แคว น มคธไม ส ามารถจะ ปราบได วัสสการพราหมณซึ่งเปนพราหมณที่ปรึกษา ของพระเจ า อชาตศัตรูไ ดอาสาที่จ ะทํ า ลายความ สามัคคี โดยแกลงทําเปนถูกพระเจาอชาตศัตรูขับไล เหลากษัตริยลิจฉวีเลยรับไวเปนครูสอนพระกุมาร


ของตน วั ส สการพราหมณ ไ ด ห าทางยุ แ หย ใ ห พระกุมารเหลานั้นแตกความสามัคคี เพื่อเปนทาง ทําใหเหลากษัตริยลิจฉวีแตกความสามัคคีกัน เมื่อ วัสสการพราหมณเห็นวากษัตริยลิจฉวีแตกความ สามัคคีกันแลว จึงไดสงขาวใหพระเจาอชาตศัตรู ยกทัพมาปราบแควนลิจฉวี และก็ปราบไดโดยงาย ตามเรื่องยอ แกนของเรื่องนั้นมุงใหเห็นโทษ ของการแตกความสามัคคี ซึ่งนําหมูคณะสูความ หายนะ เหมือนไมไผที่ถูกแยกจากกํา เมื่ออยูเพียง กิ่งเดียว ยอมถูกหักไดงายกวาเมื่ออยูเปนกํา ดังบท อินทรวิเชียรฉันทที่วา แมมากผิกงิ่ ไผ ผิวใครจะใครลอง มัดกํากระนัน้ ปอง พลหักก็เต็มทน เหลาไหนผิไมตรี สละลี้ ณ หมูต น กิจใดจะขวายขวน บมิพรอมมิเพรียงกัน อยาหวังปรารถนาหวัง สุขทั้งเจริญอัน มวลมาอุบัติบรรลุไฉนบไดมี แต แ ก น ที่ แ ฝงอยู ใ นเรื่ อ งนี้ คื อ กลยุ ท ธ การศึ ก ของวั ส สการพราหมณ ที่ ห าทางทํ า ให กษัตริยลิจฉวีแตกความสามัคคีใหได ตําราพิชัยสงครามที่วาดวยกลยุทธการศึก นั้ น ส ว นใหญ เ ราจะเห็ น จากวรรณกรรมของจี น ตั้งแตซุนวูจนถึงสามกก นอยคนนักที่จะคิดวาใน พระไตรปฎกที่เปนเรื่องทางพระพุทธศาสนาจะมี ตําราการศึกแฝงอยู ดังในมหาปรินิพพานสูตรและ อรรถกถาสุ มงคลวิ ลาสิ นี ที่ นายชิ ต บุ รทั ต นํ ามา รจนาเปนเรื่องสามัคคีเภทคําฉันทนี้ พ ร ะ เ จ า อ ช า ตศั ตรู ค ร อ ง แ ค ว น ม ค ธ เหลากษัตริยลิจฉวีครองแควนวัชชี ระหวางแควน

ทั้ง ๒ ซึ่งอยูหางจากแมน้ําคงคาประมาณ ๘ โยชน มีภูเขาตนเครื่องเทศซึ่งมีคามาก พระเจาอชาตศัตรู อยากไดภูเขาตนเครื่องเทศทั้งหมด แควนวัชชีนั้น เล็กกวาแควนมคธ แตพระเจา อชาตศัตรูไมสามารถโจมตีได แมจะวางแผนสงคน ไปสรางบานปฏลิคาม ใกลปากน้ําคนธกะ ทางเขา แควน โดยแทจริงแลวเปนการแอบสรางคายทหาร มีคายคูและประตูหอรบไวพรอม แตก็ยังโจมตีไมได ทั้ ง นี้ เ พราะแคว น วั ช ชี ซึ่ ง มี เ วสาลี เ ป น เมื อ งหลวง มีเหลากษัตริยลิจฉวีปกครองแบบสมาพันธรัฐ ดวย สามัคคีธรรมหรืออปริยหานิยธรรม หากถูกโจมตีเมื่อใด จะรวมกําลังตอสู ฉะนั้น วัสสการพราหมณจึงทูล แนะนําพระเจาอชาตศัตรูใหใชปญญา มิใชใชกําลัง อปริ ย หานิ ย ธรรมของเหล า กษัตริ ยลิ จ ฉวี มีดังนี้ ๑. หมั่นประชุมเปนเนืองนิตย ๒. พรอมเพรียงกันประชุม พรอมเพรียงกัน เลิ ก ประชุ ม และพร อ มเพรี ย งกั น ทํ า กิ จ ที่ พึ ง ทํ า รวมทั้งพรอมเพรียงกันลุกขึ้นปองกันบานเมือง ๓. ไม บั ญ ญั ติ สิ่ ง ที่ มิ ไ ด บั ญ ญั ติ ไ ว และ ไมถอนสิ่งที่ไดบัญญัติไว ๔. ทานผูใดเปนผูใหญชนชาววัชชี ใหเคารพ นับถือทานเหลานั้น และเชื่อฟงทานเหลานั้น เพราะ มีประสบการณมากกวา ๕. ดูแลสตรีทั้งหลายใหอยูดีกินดี ไมใหถูก ขมเหงหรือขืนใจ ๖. เคารพบูชาสักการะเจดีย ปูชนียสถาน และปูชนียวัตถุ ตลอดจนอนุสาวรียตางๆ ของแควน วัชชี และไมละเลยพลีกรรม


๗. จัดใหความอารักขาคุมครองปองกันแก พระอรหันตทั้งหลาย และตั้งใจวา ที่ยังมิไดมาใหมา ที่มาแลวใหอยูโดยผาสุก ทั้ง ๗ ขอนี้ นับเปนจุดแข็งที่ทําใหแควนวัชชี มั่นคงอยูได วัสสการพราหมณจึงใชปญญาเริ่มตน แผนพิ ชัย สงครามเพื่อ มุ ง ทํ า ลายอปริ ห านิย ธรรม ทั้ง ๗ ขอ โดยแกลงทําเปนขัดพระทัยพระเจาอชาตศัตรู ที่มีพระราชดําริวาจะใหยกทัพไปปราบแควนวัชชี พระองค แ สร ง ทํ า เป น ทรงพระพิ โ รธ และบริ ภ าษ วั ส ส ก า ร พ ร า ห ม ณ ต อ น นี้ ผู แ ต ง ใ ช ถ อ ย คํ า กระแทกกระทั้ น ด ว ยอิ ทิ สั ง ฉั น ท ทํ า ให เ ห็ น ภาพ ความโกรธ ดังนี้ เอออุเหมนะมึงชิชางกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเปน ศึกบถึงและมึงก็ยงั มิเห็น จะนอยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ ขยาดขยั้นมิทนั อะไร ก็หมิน่ กู กลกะกากะหวาดขมังธนู บหอนจะเห็นธวัชริปู สิลาถอย และก็ ท รงสั่ ง ให โ บยวั ส สการพราหมณ พร อ มทั้ ง ขั บ ไล อ อกจากเมื อ งไป ภาพพจน ต อน วัสสการพราหมณถูกโบยนั้น นาสงสารนัก ผูแตงใช อินทรวิเชียรฉันทพรรณนา ดังนี้ บงเนื้อก็เนื้อเตน พิศเสนสรีรัว ทั่วรางและทั้งตัว ก็ระริกระริวไหว แลหลังละลามโลหิตโอเลอะหลัง่ ไป เพงผาดอนาถใจ ระกะรอยเพราะรอยหวาย

วั ส ส ก า ร พ ร า ห ม ณ จํ า เ พ า ะ จ ะ ต อ ง ระหกระเหินเขาไปในเมืองเวสาลี ซึ่งเปนเมืองหลวง ของแควนวัชชี เหลากษัตริยลิจฉวีไมไดทรงพิจารณา ใหรอบคอบ ทรงคิดวาวัสสการพราหมณถูกพระเจา อชาติ ศั ต รู ขั บ ไล ม าจริ ง จึ ง ทรงรั บ ไว ใ ห ทํ า หน า ที่ พิจารณาคดีความและถวายพระอักษรพระกุมาร ทั้งหลาย วัสสการพราหมณทําหนาที่เชนนี้มา ๓ ป ไดรับความไววางใจจากทุกๆ คน เมื่อสบโอกาสก็เริ่ม แผนการโดยแยบยลเป น กลยุแ หย ขณะจะถวาย พระอั ก ษร ก็ เ รี ย กพระกุ ม ารเข า มาที ล ะคน(ใน คําประพันธ ใชคําวาเอกกุมาร) แลวก็ซักถามอยาง ละเอียด(ในคําประพันธ ใชคําวา ความพิสดาร ซึ่ง ศัพทเดิมแปลวา อยางละเอียดละออ) ถาจะพูด เปนภาษาสามัญคือ “กินขาวกับอะไร ในแตละวัน พอใจไหม มีความสุขไหม” เทานั้นเอง (ดังมาณวกฉันท ที่กลาวถึงในตอนตน “ลวงลุประมาณ...”) เมื่อพระกุมาร มาพบกันตางก็ถามวาพระอาจารยวาอะไร เมือ่ ตางองค ต างตอบตามตรง แต ต างก็ ไม เชื่ อกั น และนํ าความ ไปทู ล ฟ อ งพระราชบิ ด าว า พระกุ ม ารองค ห นึ่ ง นํ า ปมดอยหรือขอบกพรองของตนและของพระบิดาตน ไปเลาใหผูอื่นทราบ ทําใหเกิดความไมไววางใจกัน กลยุ แ หย ข องวั ส สการพราหมณ จึ ง สํ า เร็ จ เมื่ อ พระเจาอชาตศัตรูยกทัพมา กษัตริยลิจฉวีแตละองค จึงเกี่ยงกัน ออกรบ ไมมีความพรอมเพรียงในการ ปองกัน บ า นเมือ งเชน แต กอ น ในที่สุ ด แคว น วั ช ชี ก็แตกทําลาย พระเจาอชาตศัตรูสามารถทําลาย อป ริหานิยธรรม และสามารถเอาชนะกษัตริยลิจฉวีได โดยไมตองทําสงครามใหเสียเลือดเนื้อ กลศึกเชนนี้ วัสสการพราหมณจึงไดชื่อวาเปนพราหมณเจาเลห


ในสายตาของแควนวัชชี แตเปนพราหมณ ที่ฉลาด จงรักภักดีตอพระเจาอชาตศัตรู ในปจจุบัน กลยุทธ เช น นี้ ยั ง มี อ ยู อ ย า งแน น อน จะทํ า อะไรต อ งใช สติปญญาพิจารณาใหดี ที่กลาวมาขางตนนี้คือสามัคคีเภทคําฉันท วรรณกรรมกลยุทธดวยการยุแหย ซึ่งนายชิต บุรทัต แต ง ไว ตั้ ง แต พ.ศ.๒๔๕๗ ด ว ยความประณี ต คมคาย ไพเราะ ใช ศั พ ท เ หมาะสมกั บ เนื้ อ ความ และภาษางดงามกะทัดรัด ภาคผนวก เนื่ อ งจากเดื อ นนี้ เ ป น เดื อ นเกิ ด ของ นายชิต บุรทัต จึงขอกลาวถึงทานดวยใจนอมรําลึกถึง นายชิ ต บุ ร ทั ต เกิ ด ในสมั ย รั ช กาลที่ ๕ เมื่ อ ๖ กั น ยายน พ.ศ.๒๔๓๕ ถึ ง แก ก รรมเมื่ อ ๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๕ เปนผูที่มีชีวิตถึง ๔ รัชกาล ไดรับการขนานนามหลายชื่อ เชน กวีแกวผูยากไร กวีผูร่ํารวยคําศัพท เปนตน ทานมีความสามารถนํา คํ า ธรรมดามาแต ง ฉั น ท ซึ่ ง ตามปกติ แ ล ว จะใช ศั พ ท ย ากๆ แต ง มากกว า เรื่ อ งของท า นจึ ง เป น ที่ เขาใจงายและประทับใจผูอาน มีคํากลอนบทหนึ่ง ซึ่ง กลาวกันวาทานแตง แสดงถึงความรอบรูคําศัพท ดังนี้

นาเอยนารี ภคินี กัลยา สุดา สมร นุชนาถ วนิดา พงางอน สายสวาท บังอร พธู นวล ยุพดี กานดา ยอดยาจิต โฉม มิง่ มิตร นองนุช สุดสงวน สิบเกาแลว ยังไมหมด บทกระบวน เออสํานวน นามผูหญิง มากจริงเอย

นายชิต บุรทัต

เดือนนี้เดือนกันยายน กันยานั้นก็แปลวา สาวรุน สาวนอย อีกทั้งราศีกันย คือกลุมดาวรูปหญิงสาว จึงสอดคลองกับกลอนบทนี้ที่กลาวถึงผูหญิง กันยาเปนภาษาสันสกฤต ภาษาบาลีใชวากัญญา ทั้ง ๒ คํา นํามาใชในภาษาไทยนอกเหนือไปจากคําวากัลยา ซึ่งแปลวานางงาม ความหมายเหมือนๆ กัน นี่ก็เรื่องของ ภาษาไทย.....ดวยใจรัก ทั้งนั้น ""


อ.วารุณี


 Across

Ä Down

1. To make back or away after hitting something. 4. The next Air Force magazine will …….. or come out tomorrow. 7. The doctor should …….. his patients well or make them well so soon. 10. Opposite of “hell” 12. You use “…….………” in date to indicate a number of year or centuries before the year in which Jesus Christ is believe to have him born. 13. Don’t hit him, …….. is still small kid. 14. ……. is Monday so tomorrow is Tuesday. 15. In the meeting, you make a choice for the new manager, Mr.John so I can call you a ……... . 16. Can you see us off ……. the airport.? 18. A wild plant that grows in garden or field of crops and prevent the cultivated plants from growing properly. 19. Opposite of “dirty” 20. Informal greeting. 21. While I was walking …..…. the road, I met a bad accident. 23. The same as No.16 Across 24. ……. is the title used in front of the name of a knight or baronet. 25. A …….. is the expression that you have on your face, every one loves to see this action.

1. Now the women select a man to marry according to …..…. points; good guy and the rich one 2. Clean 3. Don’t gossip them, …….. are coming in. 5. If you are …….... about something, you are annoyed about it. 6. A person who has recently joined an organization or an army. 8. This is a ……… golden necklace, not a fake one. 9. A violent wind storm whose centre is a cloud in a shape of a funnel. 10. If someone wakes up with …….., They feel sick and have a headache because they have drunk a lot of alcohol the night before. 11. If you ……., you bend your head once, as a way of saying hello or goodbye. 12. She must …….. rich because she saves a lot of her salary. 17. To pull a piece of paper or cloth into two pieces. 18. If you are bald, you can wear a ……….. to cover up your own one. 19. The set of clothes that the actors or performers wear while they are performing. 20. ……. is a mineral made of iron and oxygen, it can be gray, red or brown.


 Across

Ä Down

27. According to No.25 Across, you should ……. do this one and if you show it without a reason so often you may be called a mad guy. 30. Possessive adj of pronoun “I” 31. Object of pronoun “we” 33. The earth will …..…. or spin around the sun too. 34. A very large enclosed shopping area. 37. The animal that is afraid of a cat so much, it usually lives in the messy and dirty houses. 39. The person who is in charge of a newspaper or magazine and who decides what will be published in it. 41. “To ……. the sack” means to go to bed. 43. He is not my ………. or he is not the sort of a man that I like. 45. Could you give me a hand or ……. me to catch a snake? 47. ………... push up every day is very good exercise. 48. Do you love Dang ……. Dum? 49. ……. she dispointed in one of her students? 50. Have you ever ……. an Opera House? 51. …….…. Chao Praya River is very useful to Thai people. 52. …… is an informal spoken, it is used as “no”. 53. The same as No.47 Across

22. If you say that someone, is …………., you disapprove of them because they are very mean and hate spending money. 25. Small, smaller, ………… 26. Meet, ………, met 27. She added many spoons of fish sauce so her soup is very ……….. . 28. A …….. is smaller than a city. 29. ………... took us one hour driving to go to Saraburee. 32. Opposite of “glad” 35. Everyone should drink pure water not less than one ………. . 36. …….. you a studious student? 38. …….., this seems to be an interesting news. 40. Opposite of “close” 42. I don’t like this shade or ……..….. of these trousers. 44. When I get sore throat, I always ……….. or drink a small amount of warm water. 45. The same as No.20 Across 46. An abbreviation for “Postscript” 48. ………, thank you very much for doing me a flavour. (เฉลยอยู่หน้า ๙๓)


มิสกรีน BLONDIE

ภาพ ๑ - ผมขอช้อนกินซุปหน่อยได้มั้ย ? - มันคงจะอยู่ในเครื่องล้างจานน่ะ ภาพ ๒ - งั้นขอช้อนอื่นก็ได้ ! - ไม่ได้หรอก ผมขายเครื่องเงินส่วนใหญ่ไปแล้ว ภาพ ๓ - นี่ฟังนะ ช่วงนี้เป็นช่วงของปัญหา ผมต้องประหยัดทุกอย่างที่ทําได้น่ะ ! May I + V1 ……… ? soup another (adj.)

silverware (n.) tough (adj.)

- เป็นโครงสร้างประโยคขออนุญาตหรือขอร้องอย่างสุภาพมาก - ภาษาไทยใช้คาํ นี้ทับศัพท์ แต่ออกเสียงสั้นเป็นซุป ซึ่งทีถ่ ูกต้องควรออกเสียงว่า “ซูพ” - อีกหนึ่งในหลายๆ สิ่ง หรือหลายๆ คนที่เป็นชนิดเดียวกัน (one more thing or person of the same type) Ex. There’ll be another bus coming in a few minutes. (อีกสักครู่จะมีรถบัสมาอีก ๑ คัน) แต่ในทีน่ ี้ another แปลว่า สิ่ง หรือคนที่ แตกต่างไป (not the same thing or person, but a different one) หมายถึง ช้อนอื่นก็ได้ที่ไม่ใช่ช้อนซุป Ex. We finally moved to another apartment. (ในที่สุด เราก็ย้ายไปอยู่ที่อพาร์ทเม้นต์อื่น) - เครื่องเงิน ซึง่ ทําเป็นเครื่องใช้ในการรับประทานอาหาร เช่น มีด ช้อน ส้อม หรือ จานราคาแพง แต่ส่วนใหญ่จะใช้วัสดุอื่นที่ราคาถูกกว่า และยังคงเรียก silverware - ยากลําบาก (difficult, hard) ออกเสียงว่า “เทิ่ฟ”


to cut corners (idm.) - เป็นสํานวน แปลว่า ทําสิ่งใดที่จะช่วยประหยัดเวลา เงิน หรือแรงงาน ซึง่ ผลที่ได้ มักจะไม่ค่อยถูกต้องเหมาะสม PEANUTS

ภาพ ๑ ภาพ ๒ ภาพ ๓ ภาพ ๔

- บอกหน่อยค่ะ ทําไมเราถึงเล่นฟุตบอลกันกลางฝนล่ะคะ ? - เพราะว่าเราเป็นพวกคลั่งไคล้น่ะมาร์ซี เราเป็นนักกีฬาที่ทุ่มเททุกอย่างให้เกมที่เล่น ! - เราไม่แม้กระทั่งจะสังเกตว่าฝนกําลังตกอยู่ ! - ฉันคิดว่า ถูกฝนเพียงเม็ดเดียวค่ะ

football (n.) - คนอเมริกันนิยมเล่น American football ในที่นี้จึงไม่ได้หมายถึง ฟุตบอลที่เรียกว่า soccer อย่างที่เล่นในฟุตบอลโลก fanatics (n.) - พวกคลั่งไคล้ หลงใหล ในสิ่งใดหรือกิจกรรมใดอย่างมาก (someone who likes a particular thing or activity very much) Ex. Cathy is a health food fanatic. (แคธีเป็นคนหลงใหลอาหารสุขภาพอย่างมาก) ออกเสียงว่า “เฟอแน้ถิก” athlete (n.) - นักกีฬา ออกเสียงว่า “แอ็ธลีท” to be dedicated (adj.) - ทุ่มเท อุทิศตน ด้วยการทํางานหนัก (to work very hard and care a lot about what you do) มักใช้กับบุพบท to ซึ่งตามด้วยคํานามหรือ Ving Ex. Mr.Adams is dedicated to preserving wild animals. (คุณอดัมส์อทุ ิศตนเพื่อคุ้มครองสัตว์ป่าให้คงอยู่ต่อไป) totally (adv.) - ทั้งหมด (completely) even (adv.) - ในที่นี้ แปลว่า แม้แต่ แม้กระทั่ง ใช้แสดงความประหลาดใจในสิ่งที่ไม่คาดคิด มักใช้นําหน้า คํานามหรือประโยค Ex. The party was a lot of fun, Even Grandma was dancing. (งานเลี้ยงสนุกมาก แม้แต่คณ ุ ยายยังเต้นรําด้วยเลย)


Runy สวัสดีค่ะ ท่านผู้อ่านหนังสือข่าวทหารอากาศทุกท่าน ดิฉันมาพบกับท่านผู้อ่านอีกครั้งนะคะ เป็นบทความ ที่ต่อเนื่องมาจาก Test Tip part 13 เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้ฝึกฝนและทบทวนภาษาอังกฤษด้วยตนเองแล้วยังเป็น การเตรี ย มความพร้ อ มในการเข้ า รั บ การทดสอบภาษาอั ง กฤษที่ ศู น ย์ ภ าษาฯ ด้ ว ย ท่ า นผู้ อ่ า นลองเริ่ ม ทําแบบทดสอบได้เลยนะคะ ให้ท่านอ่านโจทย์และเลือกคําตอบที่คิดว่าถูกต้องจากตัวเลือก ๔ ตัวเลือกที่ให้มา 1. Some people have protested their government’s acts by not _______. a. eaten b. to eat c. eating d. eats 2. After ______ for many years, he finally understood the lesson. a. study b. studies c. studied d. having studied 3. She’ll graduate in June if she _____ her courses. a. passes b. will pass c. would pass d. passed 4. Will you show me the new book when it ___________ ? a. come in b. comes in b. will come in d. came in 5. In any physical fitness program, self-discipline must be ________. a. emphasize b. to emphasize c. emphasized d. emphasizing เมื่อทําแบบฝึกหัดครบห้าข้อแล้ว เชิญตรวจคําตอบและอ่านคําอธิบายเพิ่มเติมได้เลยค่ะ


1. Some people have protested their government’s acts by not _______. (บางคนประท้วง รัฐบาลโดยการไม่กินอาหาร) a. eaten b. to eat c. eating d. eats คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ c. eating by ตามด้วยคํานาม (noun) หรือคํากริยาเติม ing ทําหน้าที่เหมือนคํานาม (gerund) มีความหมายว่า “โดยวิธีการ” (used for showing how or in what way something is done) เช่น I will contact you by letter? (ผมจะติดต่อคุณทางจดหมาย) Switch it on by pressing this button. (เปิดโดยการกดปุ่มนี้) 2. After ______ for many years, he finally understood the lesson. (หลังจากเรียนมาเป็น เวลาหลายปี ในที่สุดเขาก็เข้าใจบทเรียน) a. study b. studies c. studied d. having studied คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ d. having studied คําอธิบายเพิ่มเติม ประโยค After having studied for many years, he finally understood the lesson. เป็นเรื่องการลดรูปของ adverb clauses ให้เป็น adverbial phrases เช่น ประโยคที่ขึ้นต้นด้วย after, before, while และ since เรียกว่า adverb clauses สามารถเปลี่ยนให้ เป็นวลีที่เรียกว่า adverbial phrases ได้ โดยการละประธาน และเปลี่ยนกริยาให้อยู่ในรูป ing การจะเปลี่ยน จากประโยคเป็นวลีในลักษณะนี้ได้ ประธานทั้งสองประโยคจะต้องเป็นบุคคลคนเดียวกัน เช่น Adverb Clauses - After he had studied for many years, he finally understood the lesson. (หลังจากเขาเรียนมาเป็นเวลาหลายปี ในที่สุด เขาก็เข้าใจบทเรียน)

Adverbial Phrases - After having studied for many years, he finally understood the lesson. (หลังจากเรียนมาเป็นเวลาหลายปี ในทีส่ ดุ เขาก็เข้าใจบทเรียน)

- Before I left for work, I ate breakfast. (ก่อนฉันไปทํางาน ฉันรับประทานอาหารเช้า)

- Before leaving for work, I ate breakfast. (ก่อนไปทํางาน ฉันรับประทานอาหารเช้า)

- Since Maria came to this country, she has made many friends. (ตั้งแต่มาเรียมาประเทศนี้ เธอก็มีเพื่อนมาก)

- Since coming to this country, Maria has made many friends. (ตั้งแต่มาประเทศนี้ มาเรียก็มีเพื่อนมาก)


3. She’ll graduate in June if she _____ her courses. (เธอจะสําเร็จการศึกษาในเดือนมิถุนายน ถ้าเธอสอบผ่านหลักสูตรนี้) a. passes b. will pass c. would pass d. passed คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ a. passes เป็นประโยคเงื่อนไข (If Clause หรือ Conditional Sentences) แบบที่หนึ่ง อ่านคําอธิบายเพิ่มเติม ดังนี้ เรื่อง If Clause หรือ Conditional Sentences มี ๓ โครงสร้างด้วยกันคือ X โครงสร้างที่ ๑ If

Subject

Present Simple Tense, (V1)

Subject

will +verb (กริยาที่ไม่เปลี่ยนรูป)

ตัวอย่างประโยค If I have enough money, I will buy a new car. หรือ I will buy a new car if I have enough money. ให้จําว่าถ้า If Clause มีกริยาช่องที่ ๑ (กริยาเติม s หรือ es เมื่อประธานเป็น he, she, it หรือคํานาม เอกพจน์) เราจะใช้ will + verb (กริยาที่ไม่เปลีย่ นรูป) ในประโยคหลัก (main clause) ตามตัวอย่าง Y โครงสร้างที่ ๒ If Subject

Past Simple Tense, (V2)

would Subject might + verb (กริยาทีไ่ ม่เปลี่ยนรูป) could

ตัวอย่างประโยค If I had enough money, I would buy a new car. หรือ I would buy a new car if I had enough money. ให้จําว่าถ้า If Clause มีกริยาช่องที่ ๒ เราจะใช้ would + verb (กริยาที่ไม่เปลี่ยนรูป) ในประโยคหลัก (main clause) ตามตัวอย่าง บางครั้งใช้ might หรือ could แทน would ได้ และถ้ากริยาช่องที่ ๒ ใน if clause มีกริยาเป็น verb be ให้ใช้ were กับประธานทุกตัว เช่น If he were a bird, he would fly away. Z โครงสร้างที่ ๓ If Subject

Past Perfect Tense, (had + V3)

would Subject might have + V3 could


ตัวอย่างประโยค If I had had enough money, I would have bought a new car. หรือ I would have bought a new car if I had had enough money. ให้จําว่าถ้า If Clause มี had + กริยาช่องที่ ๓ เราจะใช้ would + have + verb 3 ในประโยคหลัก (main clause) ตามตัวอย่าง บางครั้งใช้ might หรือ could แทน would ได้ 4. Will you show me the new book when it ___________ ? (คุณจะให้ผมดูหนังสือเล่มใหม่ เมื่อมันออกมาไหมครับ) a. come in b. comes in b. will come in d. came in คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ b. comes in เป็นประโยคเงื่อนไข (If Clause หรือ Conditional Sentences) แบบที่หนึ่ง (อ่านคําอธิบายในข้อสาม) 5. In any physical fitness program, self-discipline must be ________. (ในโปรแกรม การออกกําลังกายใด ๆ ก็ตาม การมีวินัยของตนเองเป็นเรื่องที่ต้องเน้นให้เห็นความสําคัญ) a. emphasize b. to emphasize c. emphasized d. emphasizing คําตอบที่ถูกต้องคือ ข้อ c. emphasized เป็นกริยาช่องที่สาม (Past Participle) In any physical fitness program, self-discipline must be emphasized. เป็นประโยคที่ประธาน เป็นผู้ถูกกระทํา เรียกว่า Passive Voice มีโครงสร้างดังนี้ ประธาน + Verb BE + Verb 3 (Past Participle) ตัวอย่างประโยค Cheese is made from milk. (ชีสทําจากนม) You were invited to the wedding. Why didn’t you go? (คุณได้รับเชิญไปงานแต่งงานทําไมไม่ไป) หลังจากที่ได้ลองทําแบบทดสอบ ตรวจคําตอบและอ่านคําอธิบายเพิ่มเติมแล้ว ท่านผู้อ่านคงจะได้รับ ความรู้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความในคอลัมน์ Test Tip จะเป็นประโยชน์ต่อ ข้าราชการกองทัพอากาศ ติดตามคอลัมน์นี้ได้ในฉบับหน้านะคะ สวัสดีค่ะ


น.อ.อภิชัย ศักดิ์สุภา (นนอ.๒๒)

ในสวนของวัตถุมงคล บน.๒ ผูเขียนขอเพิ่มเติมและแกไขใหมอีกครั้ง ดังนี้

พระพุทธรูปประจําหนวย กองบิน ๒ มีพระพุทธรูปประจํากองบิน พระนามวา “พระพุทธธูปะเตมียมงคล” เปนพระพุทธรูป หล อ ด ว ยโลหะทองเหลื อ ง ผสม ปางสมาธิ พระเมาลี มีลักษณะขมวดคลายกนหอย สวนผมของพระเมาลี มีลักษณะ เปลวเพลิง มีฐานสูง ๓.๕ นิ้ว หนา ตั ก กว า ง ๕๒ นิ้ ว ความ สู ง จากบนฐานถึ ง พระเมาลี สู ง ๕๘ นิ้ ว และส ว นที่ เ ป น เปลวเพลิ ง สู ง ๙.๕ นิ้ ว รวม ความสูงจากองคพระถึงยอด พระเมาลีสูง ๖๗.๕ นิ้ว สราง ในสมั ย พล.อ.อ.ประพั น ธ ธู ปะเตมี ย เป นผู บั ญชาการ ทหารอากาศ เพื่ อ มอบให กั บ กองบินตางๆ ทั่วกองทัพอากาศ ไวสักการบูชา


วัตถุมงคล รุนที่ ๑ เหรียญ “พระพุทธธูปะเตมียมงคล” รุน “ฉลองพระพุทธสถาน กองบิน ๒” สราง เมื่อ วันศุกรที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๑ สรางเปนเนื้อทองผสม เหรียญเปนรูปใบเสมา ดานหนาเปนรูป พระพุทธธูปะเตมียมงคล ดานลางขององคพระ มีคําวา “พระพุทธธูปะเตมียมงคล” สวนดานหลังเปนรูป เครื่องหมายกองบิน ๒ โดยดานบนมีคําวา “กองบิน ๒” และดานลางมีคําวา “๑ เมษายน ๒๕๓๑ รุน ๑” พระคณาจารยในพิธีพุทธาภิเษก มีดังนี้ หลวงปูขาว วัดชางให จ.ปตตานี หลวงปูพิมพ วัดเขาพระงาม จ.ลพบุรี หลวงพอสารันต วัดดงนอย จ.ลพบุรี หลวงพอผจญ วัดบอหก จ.ลพบุรี หลวงพอมัง วัดเทพกุญชร จ.ลพบุรี หลวงพอสุม วัดบอหก จ.ลพบุรี หลวงพอเทพ วัดทาแคนอก จ.ลพบุรี จ.ลพบุรี หลวงพอสะอาด วัดบอหก

วัตถุมงคลรุนที่ ๑ นี้ สรางในสมัย น.อ.บรรทม เรืองจันทร (ยศขณะนั้น) ดํารงตําแหนงผูบังคับการ กองบิน ๒ กองพลบินที่ ๑ (ฉบับหนาติดตาม เหรียญ “พระพุทธธูปะเตมียมงคล” รุนที่ ๒)


Pharaoh

เหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในชวงไมนานมานี้ ไมวาจะเปนแผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ไฟไหมปา โรคระบาดที่ไมมียาแก เศรษฐกิจที่ซบเซา ความ แหงแลง ความแปรปรวนของสภาพอากาศ รวมทั้ง ความป น ป ว นของสั ง คมโลก เช น หิ ม ะตกที่ ท าง ตอนเหนือของเวียดนาม คนและสัตวเลี้ยงเสียชีวิต จากความหนาวเย็น พายุไซโคลนนากิสที่พัดถลมพมา ในพื้นที่ราบลุมปากแมน้ําอิระวดี ทําใหเกิดความ เสียหายอยางรุนแรง พายุกิสนาที่พัดถลมฟลิปปนส ทําใหมีผูเสียชีวิตจํานวนมาก หรือแผนดินไหวและ ภูเขาไฟปะทุที่อินโดนีเซีย และน้ําทวมทั่วทุกภาค ของไทยถึงขั้นวิกฤต และเกิดดิน–โคลนถลม ลาสุด ที่ ญี่ ปุ น เกิ ด แผ น ดิ น ไหวและเกิ ด คลื่ น ยั ก ษ สึ น ามิ

มีผูเสียชีวิตและสูญหายเปนจํานวนมาก เหตุการณ เหลานี้ เคยถามตัวเองบางไหม? ถามตัวเองวา ทําไม สิ่งนี้ตองเกิดขึ้น? ทําไมสิ่งนี้ตองมาประสบกับเรา หรือมนุษยดวย? 57 ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disasters) รูปแบบตางๆ ทางธรรมชาติที่ไดมีการ ศึกษารวบรวม และบันทึกรายละเอียดไว อาจสรุป ไดเปน ๑๐ ประเภท คือ ๑. การระเบิดของภูเขาไฟ (Volcano Eruptions) ๒. แผนดินไหว (Earthquakes) ๓. คลื่นใตน้ํา (Tsunamis) ๔. พายุในรูปแบบตางๆ (Various Kinds of Storms) คือ ก. พายุแถบเสน Tropics ที่มีแหลงกําเนิด ในมหาสมุทร (Tropical Cyclones) ข. พายุหมุนที่มีแหลงกําเนิดบนบก (Tornadoes) ค. พายุฝนฟาคะนอง (Thunderstorms) ๕. อุทกภัย (Floods)


๖. ภัยแลง หรือทุพภิกขภัย (Droughts) ๗. อัคคีภัย (Fires) ๘. ดิ น ถล ม และโคลนถล ม (Landslides and Mudslides) ๙. พายุหิมะและหิมะถลม (Blizzard and Avalanches) ๑๐. โรคระบาดในคนและสั ต ว (Human Epidemics and Animal Diseases)

ในระยะหลั ง นี้ ห ลายท า นคงตระหนั ก ถึ ง ภั ย ธรรมชาติ ที่ เ พิ่ ม และรุ น แรงมากยิ่ ง ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ถ า ถามถึ ง กระแสในป จ จุ บั น ก็ ค งหนี ไ ม พ น จาก สาเหตุมาจากโลกรอน (Global Warming) แตยังมี สิ่งหนึ่ งที่ผูเขียนสนใจอย างยิ่ ง คือคําทํ านายที่วา จุดจบของโลกจะเกิดขึ้นใน ๒๑/๑๒/๑๒ ซึ่งเริ่มนับ ถอยหลังเพียงแคอีกไมถึง ๒ ป เทานั้น

การทํานายนั้นอยูคูกับสังคมของเรามานาน โดยเฉพาะการทํานายธรรมชาติ ดังเชนการทํานาย ของทานเหลานี้ • กอรดอน (Gordon-Michael Scalion) ชาวอเมริกัน ที่เคยเสียชีวิตเมื่อป ค.ศ.๑๙๗๙ แต กลั บ ฟ น ขึ้ น มาอี ก ครั้ ง จากนั้ น เขาก็ อ า งว า ได รั บ พรสวรรคที่หยั่งรูอนาคต เขามักจะเดินทางไปอยูบน พื้ น ที่ สู ง ๆ บนภู เ ขา แล ว มองลงมาเห็ น ภาพใน อนาคต โดยเฉพาะภาพของเมืองที่เปลี่ยนไป และ โลกที่จะเกิดขึ้นมาใหม คนที่เชื่อถือนายกอรดอนนั้น มีไมนอย เพราะไดเคยฝากผลงานการทํานายที่แมนยํา เอาไว เชน เหตุการณแผนดินไหวในลอสแอนเจลิส เมื่อ เมษายน ค.ศ.๑๙๙๒, เหตุการณแผนดินไหว ในแคลิฟอรเนียเมื่อ มกราคม ค.ศ.๑๙๙๔ รวมอีก หลายเหตุการณที่เขาทํานายไวแลวก็ถูกตองแมนยํา แต ที่ น า ตื่ น เต น ที่ สุ ด ก็ เ ห็ น จะเป น การ ทํานายเมื่อป ค.ศ.๑๙๗๗ ซึ่งเขาเห็นตัวเองลอยอยู เหนืออวกาศ แลวมองลงมาบนโลก ดวยภาพแผนที่ โลกใหม เขาจึงใชเวลารางแผนที่โลกอนาคตที่เห็น คนเดียวนั้นออกมาสูสายตาชาวโลก พรอมทั้ งให คําอธิ บายไววา โลกที่แปรเปลี่ยนไปนี้จะเกิ ดจาก น้ําทวม แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ทําใหทวีปของ โลก เคลื่อนไปหมด และสิ่งเหลานี้จะเกิดขึ้นระหวาง ป ค.ศ.๑๙๙๘–๒๐๑๒ • ฮูเซลีนโย (Juseleeno) ชาวบราซิล ที่มองเห็นอนาคตลวงหนาดวยตานิมิต สิ่งที่เขาเห็น แบบเดียวกับกอรดอนเห็นก็คือ โลกจะพังพินาศดวย ภัยธรรมชาตินานัปการ เปนตนวา ในป ค.ศ.๑๙๙๘ ญี่ปุนจะเกิดแผนดินไหว รวมถึงจีน มีการเสียชีวิต


นับลานคน และจะเกิดการกอการรายครั้งใหญใน อเมริกา ป ค.ศ.๒๐๑๐ ทวีปแอฟริกาจะเกิดภาวะ ขาดแคลนน้ําอยางหนัก และป ค.ศ.๒๐๑๑ จะเกิด โรคไวรัสสายพันธุใหมฆามนุษย วิทยาศาสตรจะ กาวหนาไปเรื่อยๆ จนถึงป ค.ศ.๒๐๑๔ ดาวเคราะห ขนาดเล็กจะชนกับโลก จนถึงป ค.ศ.๒๐๑๕ มนุษย จะตายเพราะทนความรอนไมได • อูแรนเดอร โอลิเวียรา ผูซึ่งอางวาเคย ไดติดตอกับมนุษยตางดาวผูโดงดังนั้น ก็อางวาเขา มี โ ทรจิ ต ที่ เ ห็ น ภาพอนาคตจากการบอกเล า ของ มนุษยตางดาว วาในป ค.ศ.๒๐๑๒ นั้น จะมีแสงสวาง มากที่สุดในกาแล็กซี และสะทอนไปยังดาวเคราะห ที่โคจรรอบตัว สิ่งมีชีวิตและโลกจะปนปวนอยางยิ่ง • นอสตราดามุส (Nostradamus) “ราชา โหรโลก” ชาวฝรั่งเศส กอนหนานี้คําทํานายของเขา ถูกยกขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อเหตุการณที่ไมนาเปนไปได อย า งเช น การไฮแจ็ ค เครื่ อ งบิ น พาณิ ช ย ที่ บ รรทุ ก ผู โ ดยสารร อ ยกว า ชี วิ ต ก อ นจะพุ ง เข า ชนอาคาร ธุรกิจชื่อดังของโลกอยางเวิลดเทรดเซ็นเตอร ในกรุง นิวยอรก เหตุการณหลังจากการชนนั้น ถูกนําไปผูก กับคําทํานายของเขาอยางชวยไมได

• LiveScience.com ไดรวบรวมและนําเสนอ การทํ า นายไว ม ากมาย เช น คํ า พยากรณ ข อง อ ง ค ส ม เ ด็ จ พ ร ะ สั ม ม า สั ม พุ ท ธ เ จ า ส รุ ป ว า พระพุ ท ธศาสนาจะทรงอยู ไ ด ต ลอด ๕,๐๐๐ ป เปนตน นอกจากคําทํานายแลว ยังมีขอมูลที่เกี่ยวของ ในดานตางๆ ดังนี้ ๑. ทางวิทยาศาสตร : NASA ออกมาบอกวา สนามแมเหล็กโลกจะเกิดการเปลี่ยนแปลง ๒. ทางโหราศาสตร : บงบอกวาจะเกิดการ เรี ย งตั ว กั น ของ โลก กาแล็ ก ซี ท างช า งเผือ ก และ ดวงอาทิตย ๓. ทางโบราณคดี : ชาวมายามีปฏิทินถึง เพียงแคป ค.ศ.๒๐๑๒ และระบุวันจุดจบของโลกไว ๔. ทางการทํานาย : นักทํานายทั้งหลายที่ ได ทํ า นายไว เมื่ อ ตี ค วามแล ว สอดคล อ งกั บ ทาง โหราศาสตร ดวยความเชื่อเหลานี้ บวกกับความเปนไปได ทางวิทยาศาสตรแลว จึงมีผูคาดการณวันอันนาระทึก เอาไวที่วันที่ ๒๑ ธันวาคม ค.ศ.๒๐๑๒ นั้น เปนวัน เริ่มตนกระบวนการดับสูญของโลก (วันสิ้นโลก) โดย คาดการณวาเปนวันที่ดวงอาทิตยจะเดินทางมาอยู ยังศูนยกลางของกาแล็กซี ทําใหโลกดวงเล็กๆ ของ เราคลอนโยกเยกและปลิวไปมา กระทั่งอาจจะตอง ดับสูญลงไป อยา งไรก็ ต าม ถึ ง แมวา จะยัง ไม ถึ ง วั น นั้ น แตโลกของเราก็พบกับภัยพิบัติมากมายและไมเคย คาดคิดมากอนวาจะเกิดขึ้นได ซึ่งสรางความเสียหาย ต อ ประชาคมโลก ทั้ ง ชี วิ ต และทรั พ ย สิ น จนมิ อ าจ


ประเมินคาได หากจะยอนอดีตเฉพาะในประเทศ แถบเอเชียไปเมื่อไมนาน ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ได ถ ล ม "เป น ชุ ด " ทํ า ให ป ระชาคมโลก (เอเชี ย ) รับมือไมทัน เชน...

ในทองที่หางไกลหลายแหงในจังหวัดทางภาคเหนือ ต อ งป ด อย า งต อ เนื่ อ ง เพื่ อ ป อ งกั น รั ก ษาสุ ข ภาพ นักเรียนและครู ซึ่งเหตุการณดังกลาวไมเคยเกิดขึ้น มากอน

¾ เวียดนาม : เมื่อ กุมภาพันธ ค.ศ.๒๐๐๘ หิมะไดตกปกคลุมเขตเขาในจังหวัดภาคเหนือ เปน เวลาแรมเดื อ น บริ เ วณชายแดนติ ด กั บ มณฑล หยุนหนัน (Yunnan) กับมณฑลกวางซี (Guangxi) ของจีน ใน จังหวัดลาวกาย (Lao Cai) กับ จังหวัด กาวบาง (Cao Bang) ทางการในบางทองถิ่นไดรายงานวา อุณหภูมิ ได ล ดลงถึ ง -๑๐ องศาเซลเซี ย ส มี เ ด็ ก เสี ย ชี วิ ต อยางนอย ๒ คน และผูสูงอายุนับรอยลมปวย ดวย สาเหตุที่เกี่ยวของกับอากาศหนาวเย็นผิดปกติใน เขตภาคเหนือของประเทศ อากาศหนาวยังไดแผ ลงมาปกคลุ ม หลายพื้ น ที่ ท างภาคกลางตอนบน สื่อของทางการรายงานวา มีวัว-ควายของราษฎร ลมตายไปกวา ๑,๐๐๐ ตัว ดวยอาการเกี่ยวกับปอด และทางเดินหายใจ อันเนื่องมาจากอากาศหนาวเย็น ทางการได สั่ ง ป ด โรงเรี ย นในจั ง หวั ด ภาคเหนื อ รวมทั้ ง หลายแห ง ในกรุ ง ฮานอยด ว ย โรงเรี ย น

¾ พมา : เมื่อเวลาประมาณเที่ยงคืนของ วันที่ ๒ พฤษภาคม ค.ศ.๒๐๐๘ นากิส ซึ่งเปนพายุ ไซโคลน ระดับ ๔ (Cyclone Nargis) มีความเร็วลม สูงสุดวัดได ๒๑๕ กิโลเมตรตอชั่วโมง ไดพัดขึ้นฝง พมา ในพื้นที่ราบลุมปากแมน้ําอิระวดี อันเปนพื้นที่ ที่ราบต่ํา พื้นที่ราบลุม พื้นที่ชายฝงทะเล ไมมีแนว


ภูเขากําบัง ไมมีปราการธรรมชาติอยางปาชายเลน นาจะมาจากปาชายเลนถูกตัดทําลายตั้งแตสมัย อังกฤษเปนเจาอาณานิคม ซึ่งไดปรับพื้นที่นี้ใหเปน แหลงเพาะปลูกขาวขนาดใหญ การทํานากุง และ การตัดไมไปขายเปนเชื้อเพลิง ทั้งยังเปนที่ราบลุม ไมมีภูเขาเปนแนวปองกันทางธรรมชาติเลย พายุจึง กวาดน้ําทะเลเขาไปในแผนดินไดงายขึ้น ทําใหคลื่น ที่กอตัวในทะเลซึ่งมีความสูงกวา ๓.๕ เมตร ซัดเขา หมู บ า นริ ม ชายฝ ง จนทํ า ให ห มู บ า นถู ก คลื่ น ซั ด หายไปทันที ชาวบานไมสามารถอพยพหนีภัยไดทัน ทํา ให เกิดความเสีย หายอยางรุน แรง มีผูเสี ยชี วิต มากกวา ๑๐,๐๐๐ คน สูญหายกวา ๓,๐๐๐ คน และมีประชาชนไรที่อยูอาศัยกวา ๑๐๐,๐๐๐ คน ระบบไฟฟ า ระบบประปา และระบบโทรศั พ ท ถูกตัดขาด ¾ ฟ ลิ ป ป น ส : พายุ กิ ส นา (Ketsana) ถลมฟลิปปนสจมบาดาลในพื้นที่ภาคเหนือ รวมถึง กรุงมะนิลา ตั้งแตวันที่ ๒๖ กันยายน ค.ศ.๒๐๑๐ จากนั้นมีผลกระทบตอในเวียดนาม กัมพูชา ลาว และไทยดวย จากฤทธิ์พายุกิสนา ที่คราชีวิตผูคน ไปแลว ๒๙๓ ราย ผูประสบภัยอีกราว ๔๐๐,๐๐๐ คน ยังคงพักอยูตามที่หลบภัย ไมวา โรงเรียน โรงยิมเนเซียม และที่พักพิงชั่วคราวของรัฐบาลฟลิปปนส แต ภั ย พิ บั ติ ยั ง ไม ห มด พายุ ลู ก ใหม “ป า หม า ” (Parma) ที่ทวีกําลังความแรงเปน “โคตรไตฝุน” ความเร็ว ๒๓๐ กิโลเมตรตอชั่วโมง ไดเขาซ้ําเติม ฟลิปปนสอีก ถึงแมวาทุกๆ ป ฟลิปปนสจะเผชิญ พายุไตฝุนราว ๒๐ ลูก แตการรับมือเริ่มปรับเปลี่ยน ไปในชวงไมกี่ปมานี้ เนื่องจากพายุกอความเสียหาย

ร า ยแรงยิ่ ง ขึ้ น และไม มี ใ ครรู ว า ความแรงจาก ภัยธรรมชาติจะลดลงเมื่อใด ¾ อินโดนีเซีย : แผนดินไหวระดับ ๘.๐ ริกเตอร กอคลื่นยักษสึนามิ (Tsunami) กวาดสิ่ง ปลู ก สร า งริ ม หาดเกาะซามั ว พั ง ราบในวั น ที่ ๓๐ กั น ยายน ค.ศ.๒๐๑๐ ช ว งเช า มื ด ตกเย็ น วันเดียวกัน แผนดินไหวขนาด ๗.๖ ริกเตอร พังถลม เมืองปาดัง ในสุมาตราตะวันตก ของอินโดนีเซีย ถือ วารายแรงที่สุดในรอบ ๙๐ ป ทําใหมียอดผูเสียชีวิต ทุก เหตุการณนี้รวมกั นเกิน ๑,๕๐๐ ชีวิต สวนศพ ใตซากอาคารที่เกลื่อนเมืองปาดังของอินโดนีเซีย เริ่ ม เน า เป อ ยและส ง กลิ่ น ออกมามากขึ้ น รั ฐ บาล อินโดนีเซีย เอยปากขอความชวยเหลือจากนานา ประเทศ ในการกูภัยชวยเหลือผูประสบภัย รวมถึงกูศพ ที่อ ยู ใ ต ซากอาคาร หลั ง เจ า หน า ที่ ส หประชาชาติ แจงตัวเลขผูเสียชีวิตไวที่ ๑,๐๐๐ ราย แรงสั่นสะเทือน ของแผ น ดิ น ไหว ทํ า ให เ มื อ งปาดั ง กลายเป น เขต หายนะ ไมมีไฟฟา ประปา ซากอาคารถลมทับขวาง ถนน ลวนขัดขวางปฏิบัติการกูภัยที่ตองเรงแขงกับ เวลา จากเหตุการณที่ประชาคมโลกจดจําไมรูลืม คือ เมื่อปลายป ค.ศ.๑๙๙๔ ที่เกิดเหตุแผนดินไหว รุนแรง ๘.๒ ริกเตอร ที่เกาะสุม าตรา ใกลจัง หวัด อาเจะห ก อ คลื่ น ยั ก ษ สึ น ามิ เข า ซั ด แผ น ดิ น รอบ มหาสมุทรอินเดีย มีผูเสียชีวิตกวา ๒๒๐,๐๐๐ ราย นั้น ผูเชี่ยวชาญคํานวณแลววา จะเกิดแผนดินไหวที่ เขยาเมืองปาดัง ซึ่งมีประชากร ๙ แสนคนในอนาคต เพียงแตร อเวลาเท า นั้ น ซึ่ง ผูเ ชี่ ย วชาญแนะนํ า ให รัฐบาลลงทุนสรางอาคารที่ทนแรงแผนดินไหวและ


ขยายถนนเพื่อลดความเสียหายเมื่อเกิดแผนดินไหว ขึ้น แตกลับไมมีอะไรเกิดขึ้น จนกระทั่งธรณีพิโรธ ในวันที่ ๓๐ กันยายน ค.ศ.๒๐๑๐ ที่ผานมา ภูเขาเมราป (Mount Merapi) เปนภูเขาไฟ ในชวากลาง ประเทศอินโดนีเซีย สูง ๒,๙๑๔ เมตร ภูเขาไฟเมราปเปนหนึ่งในจํานวนภูเขาไฟ ๑๒๙ ลูก ในอิน โดนีเ ซีย ที่ ยั ง คุก รุน อยู ขณะที่การระเบิด ใน ค.ศ.๑๙๓๐ มีผูเสียชีวิตถึง ๑,๓๐๐ ราย การระเบิด ของมันเมื่อ ค.ศ.๑๙๙๔ ไดคราชีวิตผูคนไป ๗๐ ราย และระเบิ ด อี ก ครั้ ง เมื่ อ วั น ที่ ๑๕ พฤษภาคม ค.ศ.๒๐๐๖ ลาสุดภูเขาไฟเมราปกลับมาปะทุอีก ครั้งเมื่อวัน ที่ ๒๕ ตุลาคม ค.ศ.๒๐๑๐ กอใหเกิด เถาถานและกลุมควันสูงขึ้นไปในอากาศหลายกิโลเมตร ทําใหมีผูเสียชีวิตรวม ๒๐๐ คน ทําใหทางการสั่ง อพยพประชาชนในพื้นที่ ๔๐,๐๐๐ คน ซึ่งกอนหนา นี้ เกิดแผนดินไหวจากภูเขาไฟกวา ๕๐๐ ครั้ง และ การปะทุของลาวา (Lava) ที่เพิ่มความถี่มากขึ้น จากการปะทุเมื่อ ค.ศ.๒๐๐๖

¾ ญี่ปุน : หลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ ญี่ปุนไดประสบกับวิบากกรรมครั้งรายแรงอีกครั้ง เมื่อ ๑๑ มีนาคมในปนี้ เวลา ๐๒.๔๖ น. ตามเวลา ประเทศญี่ ปุ น เกิ ด เหตุ แ ผ น ดิ น ไหว ๙ ริ ก เตอร

ทางตะวันออกของจังหวัด Iwate ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ของเกาะฮอนชู ศูนยกลางแผนดินไหว อยูหางจากชายฝงราว ๑๒๕ ก.ม. ลึกลงไปใตพื้นดิน ๑๐ ก.ม. มี อ าฟเตอรช อรค ตามมาอย า งต อ เนื่ อ ง และเกิดคลื่นยักษสึนามิสูงถึง ๑๐ เมตร ขึ้นสูฝงที่ Iwate, Sendai และ Fukushima และโรงไฟฟา พลังงานนิวเคลียร Onagawa ทางตะวันออกของ จังหวัด Miyagi เกิดความเสียหายและมีผลกระทบตอ สิ่ งแวดล อม เหตุ การณ ทั้ งหมดสร างความเสี ยหาย อยางใหญหลวงและมีผูคนลมตายและสูญหายเปน จํานวนมาก ¾ ประเทศไทย : เป น อี ก ป ห นึ่ ง ในรอบ หลายสิบป ที่หลายจังหวัดในประเทศไทยตองเจอ กับอุท กภัย รา ยแรงที่เ รีย กวา เขา ขั้ น วิก ฤต ในชว ง เดือนตุลาคม-พฤศจิกายน ค.ศ.๒๐๑๐ และเกิดดิน– โคลนถล ม มี ผู เสี ยชี วิ ตมากกว า ๒๒๗ คน ราษฎร หลายครอบครัวตองไรที่อยูอาศัย สรางความสูญเสีย ใหกับชีวิตและทรัพยสินจํานวนมาก ที่สําคัญหลาย ครอบครั ว ต อ งตกอยู ใ นสภาพหิ ว โหยอย า งหนั ก ตางรอคอยการชว ยเหลือดวยความหวั งอั น ริบ หรี่ เพราะการชว ยเหลือล วนแสนเข็ญจากภาวะน้ํา ที่ ทวมสูงและเชี่ยวกราก แมในหลายจังหวัดจะมีการ แจงเตือนและหามาตรการปองกัน แตทวาก็ยังไดรับ ผลกระทบจากภั ย ความรุ น แรงของปริ ม าณน้ํ า ที่ ไหลบาเขาทวมหลายพื้นที่ ความเสียหายที่เกิดขึ้น ผูไดรับผลกระทบอยางหนัก คือ ภาคเกษตรชนบท ไรนาเสียหายมากกวา ๓ ลานไร และภาคเศรษฐกิจ บางส ว น ทํ า ให ข าดรายได แ ละอํ า นาจการซื้ อ หลายครอบครั ว ต อ งยากจนกว า เดิ ม หนี้ สิ น จะ


พอกพูน ถารัฐบาลไมมีมาตรการเยียวยาใหไดผล ยอมสงปญหาตอเนื่องไปสูการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคม โดยเฉพาะปญหาเรื่องปากทองและอาชญากรรม และล า สุ ด เมื่ อ ปลายเดื อ นมี น าคมป นี้ ก็ ไ ด เ กิ ด อุทกภัยขั้นวิกฤตในพื้นที่หลายจังหวัดภาคใตอีก บทสรุป คํ า ทํ า นายทั้ ง หลายที่ ไ ด ก ล า วมาข า งต น อาจจะเกิดขึ้นไดจริงหรือไมก็ตาม แตหากประกอบ กับเหตุการณที่เกิดขึ้นที่ไดยกตัวอยางเพียงบางสวน (เฉพาะประเทศในแถบเอเชี ย ) ผู เ ขี ย นเห็ น ว า ทุ ก เหตุ ก ารณ จ ะมี ค วามรุ น แรงมากขึ้ น เรื่ อ ยๆ รวมทั้ง LiveScience.com ไดรวบรวมและนําเสนอ การทํานายไวมากมาย ถึง แมว า จะไมไดเ ปน จริง ขึ้นมาทุกเรื่อง แตยังคงเหลือคําทํานายเบื้องหนา อันใกล คือ ในป ค.ศ.๒๐๑๒ ที่ดูเหมือนวาจะรุนแรง ร า ยกาจกว า ครั้ ง ใดๆ และถ า หากป ค.ศ.๒๐๑๒ ธรรมชาติ

ผานไป โดยไมเกิดอะไรรายแรง เชื่อวาคงจะมีคํา ทํ า นายใหม ๆ เกิ ด ขึ้ น มาอย า งไม มี ที่ สิ้ น สุ ด ตาม ความเชื่อใน “วันสิ้นโลก” แตในความเปนจริงแลว วั ฏ จั ก รของโลกอาจจะยั ง อี ก ยาวนานกว า นี้ ห รื อ สั้ น กว า ที่ คิ ด นั ก ทั้ ง หมดเกิ น กว า ที่ เ ครื่ อ งมื อ ทาง วิ ท ยาศาสตร ใ นป จ จุ บั น จะสามารถคาดคะเน ไดอยางแมนยํา ประวัติศาสตรจะสอนพวกเราวา ภัยพิบัติ ตางๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกนี้ นับจากมนุษยในยุคแรกๆ จวบจนยุคปจจุบัน ลวนแลวเปนธรรมชาติกําหนด ให มั น เกิ ดขึ้ น และมั น ต อ งเกิด ขึ้ น อย า งหลี ก เลี่ ย ง ไมไดเพราะวิกฤตการณเกี่ยวกับสภาวะโลกรอนนั้น เกิดขึ้นแลวจริงๆ (Global Warming) และกําลัง ส ง ผลกระทบอย า งกว า งไกลเกิ น จิ น ตนาการ อยางไรก็ตามหากมนุษยไมเปลี่ยนแปลงหรือทําลาย สิ่งแวดลอม แนนอนวาสังคมโลกจะไมตองพบกับ เหตุการณรายๆ ดังที่ผานมาอยางแนนอน

อ้างอิง : -

-

-

“ภัยพิบัติทางธรรมชาติ : สิ่งใกล้ตัวที่ควรรู้จัก”. รศ.พิชัย บุณยะกาณจน และ รศ. ชูโชค อายุพงศ์. ภาควิชา วิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Online เข้าถึงได้จาก http://www.blogazine.prachatai.com/user/dinya/post/1349. Online เข้าถึงได้จาก http://www.LiveScience.com/ “ภัยพิบัติคือการควบคุมที่สมดุลต่อจักรวาล”. อับดุชชะกูร์ บินชาฟิอีย์ ดินอะshukur2003@yahoo.com/


หมอพัตร ฉบั บ ที่ แ ล ว ได ทิ้ ง ท า ยเรื่ อ งบี เ ติ้ ล ไบเล ย โดยยังไมไดกลาวถึงผูสรางสรรคคอมิกสตริปชุดนี้ อันไดแก มอรต วอลกเกอร ฉบับนี้จึงขอเลาถึง ชีวประวัติของ มอรต วอลกเกอร ตอไป การสรางสรรคคอมิกสตริปหรือการตูนสั้น ขนาดสี่หาชองจบใหยืดยาวไดเปนหลายสิบปโดยมี แฟนตามอานไมใชเรื่องงาย จําเปนตองสรางตัวละคร ที่มีเอกลักษณเฉพาะเปนตัวเอก พรอมทั้งตัวประกอบ ตามสมควร ที่สําคัญตองใหถูกใจแฟนผูอานทีม่ เี ปน ลานๆ คนทั่วโลกดวย วอลกเกอรมีความมั่นคงแนวแนในการสราง ตัวละครของเขา แมบางครั้งจะมีผูคัดคาน เขาก็ยัง ยืนหยัดอยูอยางเดิม รักตัวละครของเขาประดุจเด็ก ในปกครอง ดังที่เลาไววาครั้งหนึ่งมีผูไมถูกใจนายพล ฮาล ฟ แทรค สํ า นั ก พิ ม พ เ สนอให ตั ด นายพลออก อางวาเหิมเกริมขนาดเสนอให ทบ. ยกรางกฎหมาย เกณฑทหารยอนหลังเพื่อเกณฑประธานาธิบดีคลินตัน ไปรบในเวียดนาม แตวอลกเกอรไมเห็นดวย เขาทํา เพี ย งเขี ย นให เ พนตากอนส ง นายพลฮาล ฟ แทรค

ไปเขาหลักสูตรอบรมเรื่องความออนไหว ทานนายพล หายไปจากคอมิกสตริปเพียงไมนานก็กลับมาเพราะ ทนคําเรียกรองของแฟนไมได เคล็ ด สํ า คั ญ ที่ จ ะสร า งคอมิ ก ให ยั่ ง ยื น คื อ ผู เ ขี ย นต อ งร่ํ า รวยมุ ข อี ก อย า งหนึ่ ง บุ ค ลิ ก ของ ตัวละครตองเหมือนเดิมไมเปลี่ยน ไมวาจะกี่ปก็ตาม และตัวละครตองดูเหมือนเดิมไมแกลง เรื่องแบบนี้ ผิดกวาการตูนไทยบางเรื่องที่เด็กนิยม แตนานเขา ตัวการตูนก็คอยๆ แกลง(หรือโตเปนผูใหญ) เลยตอง เลิกเขียน ผิดกวาบีเติ้ล ถึงเวลาผานไปกวา ๖๐ ป ก็เหมือนเดิม มอรต วอลกเกอร ผูซึ่งมีอายุเกือบ ๙๐ ปแลว อยากเปนนักเขียนการตูนมาตั้งแตเด็ก มีชีวิตวัยเด็ก อยูที่เมืองแคนซัสซิตี้ รัฐมิสซูรี สหรัฐฯ วอลกเกอร เลาวา ตอนเขาเปนเด็กอายุเพียง ๒ ขวบ บิดาอาน คอมิกสใหฟง เขาชอบมาก หัวเราะจนน้ําตาไหลพราก นับแตนั้นมาเขาก็เริ่มฝกเขียนการตูน พออายุได ๑๑ ป วอลกเกอรเอาการตูนที่ วาดไปขายตามนิ ต ยสาร ได เ งิ น มาหนึ่ ง ดอลลาร


พออายุได ๑๕ ป เขาก็ขายภาพการตูนใหนิตยสาร และหนังสือพิมพกวา ๓๐๐ ภาพ และมีชองสําหรับ การตูนสตริปของเขาโดยเฉพาะชื่อ Lime Juicer (คนขายน้ํามะนาว) ใน Kansas City Journal วอลกเกอรเขารับราชการเปนทหารอยู ๔ ป เขาจบปริญญาตรีดานมานุษยวิทยาจากมหาวิทยาลัย แหงมิสซูรี จากนั้นก็มุงสูนิวยอรก ตั้งตนอาชีพเปน นักการตูน เริ่มขายการตูนคอมิกสใหนิตยสารตางๆ หลายฉบับ รวมทั้ง Saturday Evening Post ถึงป ๑๙๔๙ เขากลายเปนนักเขียนการตูน ชั้นแนวหนา ลงในนิตยสารตางๆ ในสหรัฐฯ เขาผลิต คอมิ ก สตริ ป ๙ เรื่ อง ที่ สร า งชื่อ เสี ย งให เ ขาก็ เ ช น Sam & Silo, Boner’s Ark และ Hi & Lois สําหรับ เรื่องหลังนี้ แตกสาขามาจากเรื่องบีเติ้ล ไบเลย เหตุที่คอมิกสตริปเรื่องบีเติ้ล ไบเลย อยูยง คงกระพันอยางไมเสื่อมคลาย ไมเปนเรื่องที่นักการตูน ในวงการแปลกใจแต ป ระการใด ดาริ ล เคเกิ ล ประธานสมาคมนักการตูนแหงชาติ ลงความเห็นวา มันเปนไปตามสูตรที่ดําเนินไปอยางไดผล วอลกเกอร มีพื้นฐานในการสรางมุขแบบไมรูหมดสิ้น มีตัวละคร ที่มีบุคลิกตางๆ ทั้งไองั่ง, จอมขี้เกียจ, คนขี้โมโห, คนที่ มี นิ สั ย กวนน้ํ า ให ขุ น ไม ว า บุ ค ลิ ก อะไรที่ คุ ณ อยากเห็น เขามีพรอมอยูในคลังสมองเสมอ โจ เคนเนดี บรรณาธิการอํานวยการ King Features กลาววา คอมิกสตริปบีเติ้ล ไบเลย ยั่วใจ ใหอยากอาน ถึงแมเขาผูนั้นจะไมคุนเคยกับวงการ ทหารมากอน แมเหตุการณทั้งหลายแหลในคอมิกสตริปนี้ จะสมมุติวาเกิดในคายทหาร แตก็มีความสัมพันธ

กับชีวิตภายนอกที่ใครๆ ก็เขาใจได เพราะเปนเรื่องที่ พบในสถานที่ ใ ดก็ ไ ด ที่ มี ก ารปกครองที่ ล ดหลั่ น ตามลําดับขั้น ทุ ก วั น นี้ คณะทํ า งานของวอล ก เกอร ประกอบดวยบุคคล ๓ คน ในจํานวนนี้ สองคนเปน บุตรชายของเขา มีหนาที่ชวยเหลือกิจการดานตางๆ พวกเขาประชุ ม กั น เดื อ นละครั้ ง ในออฟฟ ศ เล็ ก ๆ ขนาด ๓.๖ คูณ ๓.๖ เมตร ที่อยูในสตูดิโอกวางใหญ ของวอล ก เกอร อี ก ที ห นึ่ ง พวกเขาจะประชุ ม กั น พิจารณาภาพ และความคิดเห็นของแตละคน กอนที่ จะจัดอันดับความสําคัญ วอลกเกอรใชเวลาประมาณ ๓ วัน ในการ ทํ า ร า งคอมิ ก สตริ ป ให พ อสํ า หรั บ ลงพิ ม พ ใ นหนึ่ ง สัปดาห เขาจะรางภาพโดยใชดินสอ แลวสงตอให เกรก ลูกชายคนโตเขียนทับดวยหมึกอีกครั้งหนึ่ง วอลก เกอร ก ล า ววา เขาไมเ คยมี อ าการที่ เรียกวา Writer’s block (การติดขัดไมลื่นไหลในการ เขียน) ความคิดของเขาไหลลื่นมาเรื่อยๆ “ผมคอยๆ เขียน ตะลอมเรื่องใหเขารูปเขารอย จนทายที่สุดมันก็เขามุม แลวมุขก็มาเอง” วอลกเกอรทํางานคลองและวองไว ผมหงอก ขาวทั้งศีรษะ เปนคนยิ้มงาย ครองชีวิตคูกับภริยาชือ่ แคเธอรีนมาเกือบ ๓๐ ปแลว มีบุตรดวยกัน ๑๐ คน หลายคนมีจากการสมรสครั้งกอน ในจํานวนนี้ ๖ คน ทํางานอยูในธุรกิจขายหัวเราะของเขา เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม ๒๐๐๐ กองทั พ บก มอบเหรียญ Distinguished Civilian Service Award ใหแกเขา เหรียญนี้เปนเหรียญอันดับสูงสุดที่ ทบ. จะพึงมอบใหแกพลเรือน นับเปนเกียรติอันยิ่งใหญ


จากผลงานที่เขาบริ การใหแกทาง ทบ. และอุ ทิศ งานชวยเหลืออนุสรณแหงใหมของ ทบ. วอล ก เกอร ตั้ ง ปณิ ธ านที่ จ ะเขี ย นคอมิ ก สตริ ป เกี่ ย วกั บ บี เ ติ้ ล และชาวแคมป ส ะแวมป ย ไปเรื่อยๆ จนอายุทะลุ ๙๐ ในที่ทํางานของเขา เต็มไปดวยหนังสือที่ระลึก เกี่ ย วกั บ บี เ ติ้ ล ไบเล ย มี ทั้ ง คอมิ ก ที่ ใ ส ก รอบไว นาฬิกาผนังที่ตกแตงดวยภาพเหมือนของบีเติ้ลและ หมูสนอรเกล และรูปสลักไมของบรรดาตัวประกอบ ทั้งหลาย วอลกเกอรกลาววา “ผมรักพวกเขาทุกคน มีความรูสึกวาพวกเขามีชีวิตจริงๆ รูสึกเสมือนวา เปนเด็กของผม ผมบอกไมไดวาผมจะทําประการใด หากปราศจากเสียซึ่งพวกเขา”

ซาบซึ้งจริงๆ ครับ ผูเขียนอานบีเติ้ล ไบเลย ใน หนังสือพิมพ บางกอกโพสตทุกวันมานานหลายป เมื่อสองสามเดือน ที่แลว บางกอกโพสตเกิดปรับปรุงแลวตัดคอมิกสตริป ออกครึ่งหนึ่ง บีเติ้ล ไบเลย ก็ถูกตัดไปดวย แตเพียง ไม ถึ งสั ปดาห ผู อ า นมากมายก็ เขี ยนจดหมายมา สวดจมหูไปเลย บางกอกโพสตก็เลยตองนํามาลง อยางเดิม


น.ท.พงศธร สัตย์เจริญ มีหลายหนวยงานขอหารือมายัง สธน.ทอ. เกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลขาวสาร ในหลายประเด็น เชน ประวัติบุคคล เวชระเบียนผูปวย วาสามารถ กระทําไดหรือไม เพียงใด ผูเขียนจึงขอนําขอยกเวน ของกฎหมายในมาตรา ๒๔ แหง พ.ร.บ.ขอมูลขาวสาร ของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ มาแจงใหทราบพอเปน สังเขป เพื่อใชเปนแนวทางในการใชดุลพินิจ (ที่มา : คูมือตอบขอหารือในการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ขอมูล ข า วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงาน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี) ดังนี้ มาตรา ๒๔ หนวยงานของรัฐจะเปดเผย ขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่อยูในความควบคุมดูแล ของตนตอหนวยงานของรัฐแหงอื่นหรือผูอื่น โดย ปราศจากความยินยอมเปนหนังสือของเจาของขอมูล ที่ใหไวลวงหนาหรือในขณะนั้นมิได เวนแตเปนการ เปดเผย ดังตอไปนี้ (๑) ตอเจาหนาที่ของรัฐในหนวยงานของ ตนเพื่อการนําไปใชตามอํานาจหนาที่ของหนวยงาน ของรัฐแหงนั้น (๒) เปนการใชขอมูลตามปกติภายใน วัตถุประสงคของการจัดใหมีระบบขอมูลขาวสาร สวนบุคคลนั้น

(๓) ตอหนวยงานของรัฐที่ทํางานดานการ วางแผนหรือการสถิติหรือสํามะโนตางๆ ซึ่งมีหนาที่ ตองรักษาขอมูลขาวสารสวนบุคคลไวไมใหเปดเผย ตอไปยังผูอื่น (๔) เปนการใหเพื่อประโยชนในการศึกษาวิจัย โดยไมระบุชื่อหรือสวนที่ทําใหรูวาเปนขอมูลขาวสาร สวนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด (๕) ตอหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร หรือหนวยงานอื่นของรัฐตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง เพื่อการตรวจดูคุณคาในการเก็บรักษา (๖) ตอเจาหนาที่ของรัฐเพื่อการปองกันการ ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมาย การสืบสวน การสอบสวน หรือการฟองคดี ไมวาเปนคดีประเภท ใดก็ตาม (๗) เปนการใหซึ่งจําเปนเพื่อการปองกัน หรือระงับอันตรายตอชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล (๘) ตอศาล และเจาหนาที่ของรัฐหรือ หนวยงานของรัฐหรือบุคคลที่มีอํานาจตามกฎหมาย ที่จะขอขอเท็จจริงดังกลาว (๙) กรณีอื่นตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา การเปดเผยขอมูลขาวสารสวนบุคคลตาม วรรคหนึ่ง (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) ใหมี


การจัดทําบัญชีแสดงการเปดเผยกํากับไวกับขอมูล ขาวสารนั้น ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดใน กฎกระทรวง ๑. กรณีผูขอเปนหนวยงาน ๑.๑ ผูขอเปนหนวยงานภายนอก มีขอ พิจารณา คือ หนวยงานที่ขอมีอํานาจตามกฎหมาย หรื อ ไม กล า วคื อ ต อ งพิ จ ารณาจากกฎหมายที่ เกี่ยวของกับการจัดตั้งหนวยงานและวัตถุประสงค ของหนวยงานนั้นๆ ประกอบดวย แตอยางไรก็ตาม มีขอพึงระวังวาการใหขอมูลขาวสารสวนบุคคลนั้น หน ว ยงานที่ ข อมี ร ะบบการเก็ บ รัก ษาและใช ส อย ข อ มู ล ในลั ก ษณะที่ ไ ม ก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หาย ต อ บุ ค คลผู เ ป น เจ า ของข อ มู ล จนเกิ น สมควร (นอกเหนือจากวัตถุประสงคในการขอและการใช ตามปกติ) กรณีประวัติการรักษาหรือเวชระเบียน ผูปวยนั้น โรงพยาบาลอาจเปดเผยขอมูลขาวสาร สว นบุ ค คลดั ง กล า วให แ ก ห น ว ยงานที่ข อได หาก โรงพยาบาลพิจารณาเห็นวาหนวยงานดังกลาวเปน หนวยงานที่มีอํานาจตามกฎหมายที่จะขอขอเท็จจริง ดังกลาวได ตามมาตรา ๒๔ (๖) และ (๘) หากกระทํา โดยสุจริตก็จะไดรับการคุมครองตามกฎหมาย ๑.๒ ผูขอเปนหนวยงานภายใน ขอยกเวน ใหเปดเผยกับเจาหนาที่ของรัฐในหนวยงานของตน หรือที่ปฏิบัติงานในหนวยงานเดียวกัน ถือไดวาเปน ข อ ยกเว น ที่ มี ค วามชั ด เจน เพราะวั ต ถุ ป ระสงค ขอ หนึ่ ง ของการจั ด เก็ บ ขอ มู ล ข า วสารส ว นบุค คล เพื่ อ การนํ า มาใช ง านตามอํ า นาจหน า ที่ ข อง หนวยงานของรัฐ และในการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ยอมตองมีเจาหนาที่รับผิดชอบหรือเกี่ยวของ

มากกวาหนึ่งคน จึงมีความจําเปนที่ตองใชขอมูล ข า วสารส ว นบุ ค คลร ว มกั น เพื่ อ ดํ า เนิ น การตาม อํานาจหนาที่ เชน กรณีสมาชิกสภาองคการบริหาร ราชการสว นทอ งถิ่น ได ขอใหฝา ยบริห ารเป ด เผย ข อ มู ล ข า วสารของราชการ ซึ่ ง มี ข อ มู ล ข า วสาร สวนบุคคลอยู จึงอาจมีขอสงสัยวาผูที่ขอใหเปดเผย ขอมูลขาวสารสวนบุคคลนี้ถือวาเปนเจาหนาที่ของ รัฐในหนวยงานของตนตามขอยกเวนในขอนี้หรือไม ซึ่ง เรื่องนี้คณะกรรมการวินิจฉัยการเป ดเผยขอมูล ขาวสาร สาขาสังคมการบริหารราชการแผนดินและ การบังคับใชกฎหมาย ไดมีคําวินิจฉัยที่ สค ๑๓/๒๕๔๔ ว า ผู อุ ท ธรณ ซึ่ ง เป น สมาชิ ก สภาองค ก ารบริ ห าร ราชการสวนตําบลเปนเจาหนาที่ของรัฐในหนวยงาน เดียวกับฝายบริหารขององคการบริหารสวนตําบล จึงสามารถนําขอมูลขาวสารไปใชตามอํานาจหนาที่ ได ขอมูลขาวสารสวนบุคคลที่ฝายบริหารจัดเก็บไว จึงไดรับการยกเวนใหเปดเผยแกสมาชิกสภาฯ ได ตามมาตรา ๒๔ (๑) ๒. กรณี ผู ข อเป น เอกชน สํ า หรั บ กรณี ผูขอเปนเอกชน ใหยึดถืออยางเครงครัดในเรื่องการ คุมครองขอมูลขาวสารสวนบุคคล นั่นคือ ไมสามารถ ให ไ ด ยกเว น จะมี ความยิ น ยอมเปน ลายลัก ษณ อักษรจากเจาของขอมูล แตกรณีที่ผูขอเปนเจาหนี้ ตามคําพิพากษา ไดมีคําวินิจฉัยที่ สค ๑๘/๒๕๔๓ ถื อ ว า เจ า หนี้ ต ามคํ า พิ พ ากษาในคดี ถึ ง ที่ สุ ด แล ว รวมทั้งทนายความผูรับมอบอํานาจจากเจาหนี้ตาม คําพิพากษาดังกลาว ยอมสามารถรองขอตรวจสอบ โฉนดที่ดินของลูกหนี้ตามคําพิพากษาได เพื่อประโยชน ในการสืบหลักทรัพยไดโดยไมจําเปนตองมีหนังสือ


ใหความยินยอมจากเจาของขอมูล แตถาเปนเพียง คูค วามในคดีที่อยู ร ะหว า งการพิจารณาของศาล หรือเปนคดีที่ยังไมมี คําพิพากษาถึ งที่สุด คูความ ดังกลาว ยังไมถือวาเปนผูมีอํานาจตามมาตรา ๒๔ (๘) หรือในกรณีที่เปนแตเพียงเจาหนี้ตามสัญญา ไมมีอํานาจตามกฎหมายตามนัยมาตรา ๒๔ (๖) หรือ (๘) ตองฟองคดีตอศาล เพื่อใหมีคําพิพากษา ใหเปนเจาหนี้ตามคําพิพากษากอน จึงจะเปนผูมี ธรรมชาติ

อํานาจตามกฎหมายตามนัยมาตรา ๒๔ (๘) อนึ่ง การเปดเผยขอมูลขาวสารของราชการ กรณีที่มีผูขอ ไมเปนเหตุใหหนวยงานของรัฐพนจาก ความรับผิดตามกฎหมาย หากจะพึงมีในกรณีดังกลาว หมายความวาในกรณีที่มีผูขอขอมูลขาวสารที่อยูใน ความควบคุมดูแลของตน หากผูครอบครองกระทํา (ให)โดยสุจริตจะไดรับการคุมครองตามกฎหมาย แตหนวยงานไมไดรับการคุมครอง.... ""

อ.วารุณี


พล.อ.อ.เดชา หันหาบุญ

ท อ งฟ า เหนื อ เมื อ งลู เ ซิ ร น ยั ง เป น สี ค ราม กํ า ลั ง เย็ น สบายแม แ สงแดดยามบ า ยจะแรงจั ด สดใส แสงแดดยามบ า ยเจิ ด จ า สาดส อ งกระทบ พอสมควรถาเปนบานเราก็คงเหงื่อตก ผืนน้ําสะทอนสูกลุมอาคารสีขาว ที่ท อดตั วอยู สองฝง แมน้ํ า รอยด ผู เ ขี ย นเดิ น ย อ นกลั บ ทางเดิ ม หลั ง จากเดิ น ผ า นสะพานเหล็ ก ไปไดครึ่งทางเพื่อหามุมถายภาพ สะพานไม โ ดยมี ฉ ากหลั ง เป น ปากแม น้ํ ารอยด หลั ง เนิ น เขาที่ อยู ด า นซ า ย ที่ ห มายคื อ แหล ง ท อ งเที่ ย วสํ า คั ญ ที่ พ ลาดไม ไ ด นั่ น ก็ คื อ อนุ ส าวรี ย รู ป สิ ง โตหิ น รูปแกะสลักบนหน้าผาหินในเมืองลูเซิร์น แกะสลัก(Lion Monument) ที่ทุกคน บริเวณอนุสาวรียอยูเชิงเขาลูกหนึ่ งที่เปน กลาวขานวานอนรองไหมาชั่วนาตาป ก็ตองไปดูให เห็นกับตาวาเปนอยางไร เดิน เลียบชายฝง แมน้ํา หน า ผาชั น จรดพื้ น ไม ท ราบว า ตามธรรมชาติ ห รื อ ตามถนนสายหลั ก จนถึ ง ถนนอี ก เส น หนึ่ ง ที่ แ ยก ถู ก ทํ า ให เ ป น ผิ ว เรี ย บเพื่ อ แกะสลั ก พื้ น หิ น สี ข าว ทางดานซายมือมุงสูทิศเหนือของตัวเมือง ถนนเสนนั้น ถูกแกะสลักเวาเขาไปเปนโพรงคลายถ้ําหรือหลืบเขา เรี ย กชื่ อ เป น ภาษาเยอรมั น ว า Denkmalstrasse เล็กๆ และเพื่อแกะสลักเนื้อหินใหเปนตัวสิงโตขนาด คําวา STRASSE ก็คือคําวา STREET ที่แปลวาถนน เทาตัวจริงนอนตะแคงขวา นอนลืมตาอาปากแสดง นั่นเอง เดินชมวิวทิวทัศนไปเรื่อยๆ ดีแตวาอากาศ อาการเจ็บปวยหรือถูกทํารายบาดเจ็บทําทาจะไป


ไมรอด สิงโตตองเปนตัวผูสังเกตจากรูปรางลักษณะ สงางามและแผงคอ ทําใหบางคนวิจารณวาที่สิงโต นอนอาปากรองเพราะนอนทับไขตัวเอง..อะไรมัน จะโงขนาดนั้นคิดไปได ดานหัวนอนของสิงโตมีโล ลักษณะกลมแบบที่นักรบโบราณใชกัน สลักเปนรูป กากะบาดเครื่ อ งหมายบวกเหมื อ นธงชาติ ข อง สวิ ต เซอร แ ลนด ด า นบนและด า นล า งสลั ก เป น ตั ว หนั ง สื อ ภาษาอั ง กฤษ แต ไ ม ไ ด เ ป น คํ า ศั พ ท ทั่วๆไป เลยแปลความไมได ดานหนารูปแกะสลัก ติดเชิงเขาเปนบอน้ําขนาดกวางยาวไมเกินดานละ สิบเมตร ที่นาจะขุดขึ้นเพื่อปองกันคนไปลวงแคะ แกะเกาหรือจับไขสิงโตมากกวาจะเปนบอน้ําธรรมชาติ เรียกวาเปน มาตรการปองกันที่ไดผลแบบการขุ ด คูเมืองปองกันขาศึก อนุสาวรียรูปสิงโตแหงนี้ออกแบบ และแกะสลักโดย ธอร วอลเซน ใชเวลาแกะสลักอยู นานประมาณ ๒ ป ตั้งแต ค.ศ.๑๘๑๙-๑๘๒๑ โดย สร า งขึ้ น เพื่ อ เป น เกี ย รติ แ ก ท หารรั บ จ า งชาวสวิ ส ในดานความกลาหาญ ซื่อสัตยและจงรักภักดี จากการ ตอสูเพื่อปองกันพระราชวัง Tuileries ในกรุงปารีส และพระราชวงศของพระนางมารี อังตัวเนต จนตอง เสียชีวิตจํานวนมากในสงครามปฏิวัติฝรั่งเศส เมื่อ วันที่ ๑๐ สิงหาคม ค.ศ.๑๗๙๒ ในสมัยพระเจาหลุยส ที่ ๑๖ รอบๆ บอน้ําปูพื้นดวยหินธรรมชาติสูงกวา ระดับน้ําประมาณหนึ่งฟุต ปลูกไมประดับออกดอก เล็ ก ๆ สี แ ดงบานสะพรั่ ง ดู ส วยงาม นั ก ท อ งเที่ ย ว จํานวนมากเดินอยูบริเวณดังกลาวเพื่อหามุมถายภาพ สวยงามตามแนวศิลปะของแตละคน ผูเขียนใชเวลา เดินชมรอบๆ บริเวณดังกลาวประมาณครึ่งชั่วโมง ก็เดินกลับมายังสะพานไมขามแมน้ํารอยด โดยใช

อีกเสนทางหนึ่งที่ผานตัวเมืองดานเหนือแลวเลี้ยว ซายเขาสูถนนกลับสูโรงแรมที่พัก เปนชวงเวลาเย็น ที่แดดเริ่มออนลงทามกลางอากาศที่กําลังเย็นสบาย ตัดสินใจเลือกรานอาหารสําหรับมื้อเย็น มีรานขาย อาหารจีนที่เขียนชื่อรานเปนอักษรภาษาไทยสีแดง ตัวใหญวา “เซี่ยงไฮ” แตดูเหมือนจะเปนของสดและ เครื่องประกอบตางๆ มากกวารานอาหารทั่วไป ใกลๆ กันนั้น เปนรานอาหารเขมรที่ตั้งวางถาดอาหารสําเร็จ ให เ ลื อ กมากมาย มี ลู ก ค า สั่ ง อาหารจานเดี ย วนั่ ง รับประทานอยูหลายโตะ จับจองที่นั่งเรียบรอยเดิน ไปดูอาหารที่ปรุงสําเร็จใกลๆ ดูนากินแตลงความเห็น วานาจะไมอรอยอยางที่คิด ก็เลยสั่งอาหารใหทํ า พิเศษตามความตองการ เจาของรานเปนผูห ญิงชาว เขมร ที่พูดภาษาไทย ไมไดรูปรางบึกบึนราวกับชาย อกสามศอก มีพนักงานบริการหญิงเพียงคนเดียว เปนคนไทยเดินมาตอนรับพอเจาของรานคลอยหลัง ก็บอกกับผูเขียนวา รานนี้ไมอรอยทีหลังอยามาทาน เลย พรอมกับแนะนํารานอาหารไทยที่อยูดานหลัง ถั ด ไปอีก สองช ว งตึ ก ใหชื่ อร า นและเบอร โ ทรศัพ ท เรียบรอย คณะของผูเขียนงงมากกับคําแนะนําที่จริงใจ อย า งนี้ ก็ มี ใ นโลกนี้ ด ว ย เจ า ของร า นรู เ ข า ตกงาน แนนอน ไมนานนักอาหารที่สั่งมีผัดกระเพาะหมู ไขเจียว ผัดผักรวม กวยเตี๋ยวผัดขี้เมา ก็นํามาวางไวตรงหนา จานใหญจนนากลัว กินไปบนไปสักครูทุกอยางก็เขาไป อยูในทองเสร็จสรรพ จายเงินเสร็จก็เดินออกนอก รานเลี้ยวขวาไปตามถนนประมาณ ๓๐ เมตร ก็เดิน เลี้ยวขวาอีกครั้งไมกี่อึดใจก็ถึงโรงแรมที่พัก โดยนัดกัน วาพรุงนี้หลังรับประทานอาหารเชาแลว เวลา ๐๙๐๐ น. จะไปขึ้นกระเชาลอยฟาพิชิตยอดเขา Pilatus กัน


วั น รุ ง ขึ้ น ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๓ เวลา ๐๙๐๐ น. ตามเวลานัดหมายหลังรับประทานอาหาร เสร็ จ เรีย บร อ ยก็ พ ากัน เดิ น ยอ ยอาหารไปที่ส ถานี รถโดยสารกลางเมืองที่อยูหางจากสะพานไมขาม แมน้ําไมมากนัก บริเวณดังกลาวเปนปากแมน้ํารอยด มีทาเรืออยูริมชายฝงที่มีลานกวางสําหรับตนทาง ของรถยนตโดยสารหลายสาย ใกลๆ กันนั้น เปน อาคารสามชั้นสถาปตยกรรมแบบโบราณมีรูปปน เทพเจากรีก ประดับอยูบนปลายเสาชั้นสามเหนือ ชองทางประตูเขาสูภายใน เปนที่ทําการไปรษณียใหญ มีตัวอักษรสีทองติดแสดงไวดานบนสุดของอาคาร วา “POST”

ที่ทําการไปรษณีย์กลางกรุงเบิร์น

ห า งออกไปไม ม ากนั ก เป น ท า เรื อ ซึ่ ง อยู ปากแมน้ํารอยด มีเรือทองเที่ยวลองตามลําน้ําไป ขึ้ น ตามท า เรื อ ต า งๆสองฝ ง แม น้ํ า รวมทั้ ง Pilatus Bahn ที่อยูเชิงเขา Pilatus อีกฝงหนึ่ง ผูเขียนวางแผน ไววาขาไปใชรถบัสประจําทางแลวนั่งกระเชาขึ้นไป บนยอดเขาแลวลงไปสูอีกฝงหนึ่งของเชิงเขาที่สูงชัน ดวยรถไฟซึ่งขับเคลื่อนดวยเฟองลอเมื่อถึงทาเรือ

ก็จะนั่งเรือลองกลับมาขึ้นที่ทาเรือกลางเมืองแลว เดินเลนกลับโรงแรมที่พัก อากาศตอนสายแสงแดด เจิ ดจ า ท องฟา สีค รามแจ ม ใสแทบไม มีเ มฆหมอก ปกคลุม อุณหภูมิกําลังสบายๆ ประมาณ ๑๘ องศา เซลเซียส ผูคนเดินขวักไขวในชุดเสื้อหนาวหลากสี สวยสดรวมทั้งเด็กนักเรียนชายกลุมใหญอายุประมาณ ๑๐ ป ที่มีครู ๒ คน คอยดูแลพามายืนรอรถบัสโดยสาร เด็กนักเรียนเหลานั้นสวมเสื้อยืดสีแดงสดกางเกงขาสั้น บางขายาวบางตามสบาย สะพายเปและของใชสวนตัว และที่ ขาดไมไดคือเกือบทุกคนห อ ยมีด พก Swiss Army ขนาดและแบบตางๆ ที่พอขึ้นไปบนรถบัสได ก็ จั บ จองที่ นั่ ง และควั ก มี ด พกของตนออกมาอวด สรรพคุณจนฟงไมไดศัพท รถบัสทํางานดวยระบบไฟฟาที่มีลวดสลิง เชื่ อ มต อ กั บ สายไฟที่ พ าดยาวตามถนนตามแนว เสาไฟฟา ภายในสะอาดโอโถงโลงสบายมาก มีผูโดยสาร หมุนเวียนขึ้นลงตามปายจอดรถในเสนทางรวมแลว มีผูโดยสารไมถึงครึ่งคันและสามารถจูงสุนัขขึ้นบน รถได เกาอี้โดยสารแต ละที่ นั่ง มี ขนาดเกา อี้บนรถ ประจําทางปรับอากาศในบานเรา พื้นและพนักพิงมี เบาะผาสีน้ําเงินสดมีลวดลายในตัวตัดขอบสีแดง ผูเขียนแสดงบัตร Swiss Pass ที่ใชไดกับระบบขนสง มวลชนของรัฐทุกประเภทในประเทศนี้ไมวารถไฟ รถโดยสารหรือเรือ ยกเวนบริการที่ไมใชของรัฐตอง จายเงินตางหากแตก็ไดสวนลดราคามากพอสมควร ระยะทางจากกลางเมืองลูเซิรนถึงที่หมายประมาณ ๒๔ กิโลเมตร ใชเวลา ๒๐ นาที ก็มองเห็นปายบอก ขางทางเดนชัดวาเปนสถานี Pilatus ที่ผูเขียนตองการ จะไปพิชิตยอดเขาดวยกระเชา ลงจากรถโดยสาร


ประจําทางขามถนนไปยังฝงตรงขามที่มีกลุมอาคาร อยูซายขวาของถนนที่จะขึ้นไปสูเชิงเขา สิ่งที่มองเห็น เดนชัดคือหอนาฬิกาสูงประมาณตึกสามชั้นบนเนิน เตี้ ย ๆ และป า ยชี้ บ อกทางเดิ น ซึ่ ง เป น ถนนแคบๆ คดเคี้ยวไปสูเชิงเขา ส อ ง ฝ ง ถ น น เล็ ก ๆ ที่ ร ถยนต แ ทบจะ วิ่ ง สวนทางกั นไม ได เป น อาคารที่ สร า งแบบ อพาร ต เมนต แ ละบ า น ขนาดเล็กๆ แบบหมูบาน จัดสรร มีโรงเรียน โบสถ รานคาในชุมชนครบวงจร ก อนถึ งสถานี รถกระเช า ด า น ซ า ย มื อ เ ป น ร า นอาหารเกาหลี ที่ จั ด ร า น อย า งน า รั ก พร อ ม เมนู อ าหารที่ ติ ด แสดง โฆษณาอยูแตจะเปดใหบริการชวงเย็นทําใหพลาด โอกาสลิ้มรส เพราะจะตองนั่งกระเชาขึ้น ซื้อ บั ต รสํ า หรั บ ขึ้ น กระเช า แตค ราวนี้ ต อ ง จายเงินสด บัตร Swiss Pass ใชไมไดเพราะเปนธุรกิจ ที่เอกชนลงทุน จําไมไดวาคาบัตรคนละกี่ฟรังสแตก็ สุ ด คุ ม เพราะคนสร า งคงลงทุ น มหาศาลกว า เดิ น รถสองแถวหรื อ มอร เ ตอร ไ ซด รั บ จ า ง ยื น ถ า ยรู ป หนาอาคารขายบัตรที่เปนหองกระจกชั้นเดียวอยู หนาอาคาร เห็นกระเชาสีแดงที่ลอยสูงขึ้นไปตาม ลวดสลิ ง ขนาดใหญ ที่ ขึ ง ไล ไ ปตามโครงเหล็ ก แข็งแรงที่ปกไลเลียงไปตามความลาดชันของเนินเขา

ยังไมทันเขาไปในอาคารก็ไดยิน เสียงแผดคํา ราม กึกก องของเครื่องยนตไอพ นเหนือทองฟา สีคราม สดใส เงยหนาขึ้นไปก็เห็นเครื่องบินรบที่นาจะเปน Mirage-2000 บินผลาดแผลงหมูสี่เหนือเมืองแตก็ตี วงเลี้ ย วผ า นมาเหนื อ บริ เ วณเทื อ กเขาเพราะห า ง

ออกมาเพียง ๒๔ กิโลเมตร ทุกคนแหงนมองพรอม กับถายรูปดวยกลองดิจิตอลหรือโทรศัพทมือถือซึ่ง ก็คงไดภาพไมสวยงามมากนัก เครื่องบินหมูสี่โฉบ ผานต่ําลงมาเมื่อทําทาบินที่เรียกวาวงกลมทางตั้ง หรือ Loop และทา Lazy-8 ซึ่งเปนทาบินออกกําลัง กายทดสอบกํา ลัง ใจลูก หมูเ บื้ อ งตน เท า นั้น ไมไ ด ทําทา Airelon Roll หรือทาบินผลาดแผลงอื่นๆ ที่ยาก กวานี้เชน พลิกตัวยอดวงหรือที่เรียกวา “อิมเมลมาน” ซึ่ ง เป น ชื่ อของเสื ออากาศเยอรมั นที่ มี ชื่ อเสี ยงใน สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง ยื น ดู ช นิ ด ที่ เ รี ย กว า คั น ไม คันมืออยากขึ้นไปบินเสียเองเพราะนึกถึงสมัยที่บิน


เครื่ อง T-37 ที่ โ รงเรี ย นการบิ น และจบออกมาอยู ฝู ง บิ น OV-10 ที่ มี ค รู ม อ ด หรื อ น.ท.ประพั ฒ น วีณะคุปต เปนผูบังคับฝูงบิน 531 ที่พาลูกฝูงไปฝก บินผลาดแผลงกันเปนประจํา คณะของผู เ ขี ย นเข า ไปในอาคารสถานี เพื่อขึ้นกระเชาที่หมุนมารอรับผูโดยสารคลายๆ กับ เครื่องเลนที่แดนเนรมิตรเมื่อกอนนี้หรือชิงชาสวรรค ตามงานวัด ตัวกระเชาเปนโครงโลหะทาสีแดงสดใส กรุดวยกระจกใสทั้งสามดานยกเวนดานสําหรับให นั ก ท อ งเที่ ย วขึ้ น ทํ า เป น ประตู ส องบานเป ด ออก จากกัน ภายในมีที่นั่งสองฝงหันหนาเขาหากันแต ละที่ นั่ ง สํ า หรั บ สองคน ด า นบนมี โ ครงเหล็ ก หู หิ้ ว คลองกับลวดสลิงขนาดใหญที่ถูกดึงใหเคลื่อนไป ด ว ยรอกที่ ติ ด อยู ต ามเสาโครงเหล็ ก เป น ระยะๆ ตลอดแนวช อ งเขาไล เ รี ย งขึ้ น ไปจนถึ ง ยอดเขา กระเชาถูกดึงใหเคลื่อนตัวตามลวดสลิงสูงขึ้นจาก พื้นเรื่อยๆ มองเห็นทิวทัศนขางลางเปนทุงหญาปา โปรงสลับเนินเขา สัตวเลี้ยงจําพวกแกะเดินและเล็ม หญ า ในทุ ง กว า ง เนิ น เขาเตี้ ย ๆ กระจายตั ว อยู โดยรอบเทือกเขา ทุกคนหามุมถายภาพใหรูวาลอย อยูบนทองฟาเหนือภูเขา เวลาผานไปประมาณสีส่ บิ นาทีกระเชานอยๆ ก็เคลื่อนตัวเขาสูสถานีสุดทาย ก อ นจะเปลี่ย นกระเช า ขึ้ นไปสู จุ ดสู ง สุด ของภู เ ขา เพื่อเปลี่ยนไปนั่งรถไฟผานเนินเขาที่สูงชันลงไปสู เชิงเขาธรรม อีกดานหนึ่งที่ติดกับริมแมน้ํารอยด คณะ ของเราแยกยายกันทําธุระสวนตัวกอนทีจ่ ะหาเครือ่ งดืม่ เย็นๆ ติดมือกันมานั่งอาบแดดบริเวณลานกวางที่ จัดวางโตะเอาไวรองรับนักทองเที่ยวไดไมต่ํากวา

หาสิบคน ผาปูโตะสีเหลืองสดกับรมกันแดดสีเดียวกัน ตัดกับเกาอี้สีแดงสดกระตุนใหเกิดความสดชื่นกับ ทุกคนจากนั้นก็เดินทางไปยังจุดที่สูงที่สุดที่สรางเปน อาคารขนาดใหญ บนเนิ นเขาที่ ดู เหมื อนเขื่ อนกั้ นน้ํ า มีบันไดแคบๆ ใหไตขึ้นไปชมความงามบนยอดเขา สัมผัสความหนาวเย็นอยางเต็มที่ หิมะสีขาวยังปกคลุม ตามยอดเขาและรองเขาลาดลงสูที่ต่ํา

กระเช้าขึ้นสู่ยอดเขา PILATUS

อีกอาคารหนึ่งสรางเปนรูปทรงกลมคลาย ตั้ง ถั ง ขนาดใหญ เ อาไว ภายในมี สองชั้น ที่เ ดิ น ขึ้ น ด ว ยบั น ไดซึ่ ง เต็ ม ไปด ว ยร า นค า ขายของที่ ร ะลึ ก ตูเอทีเอ็มที่มาตั้งบริการใหกดเงินสดกันถึงที่ ชั้นลาง เปนรานอาหารขนาดใหญที่มีโตะอาหารตั้งไวรองรับ นัก ทอ งเที่ยวไดนับร อ ยๆ คน คนที่จ ะรับ ประทาน อาหารตองบริการตัวเองดวยการหยิบถาดเดินไป ตอแถวตามชองทางที่กั้นไวดวยรั้วเหล็ก รานอาหาร หลายสิบรานตั้งเรียงรายเหมือนตามหางสรรพสินคา อาหารชนิดตางๆ ใสภาชนะตั้งไวในตูกระจก มองเห็น เดนชัดมีปายราคาติดเอาไว เมื่อเลือกรายการอาหาร ที่เห็นวานารับประทานก็ชี้ใหพนักงานขายตักใสจาน


ให แล ว รั บ มาวางในถาด จนสุด แถวก็ คิด เงิ น จ า ย เสร็จเรียบรอยก็ถือถาดอาหารไปเลือกนั่งตามโตะ ที่ตองการ เมื่อรับประทานเสร็จแลวก็ถือถาดใสถวย จานที่กินแลวไปวางยังที่ซึ่งจัดเตรียมไว หลายโตะ

จุดสูงสุดบนยอดเขา PILATUS

รับประทานเสร็จลุกหนีไปเลยก็จะมีพนักงานตาม ไปสะกิดแขนใหกลับมาเก็บถาดภาชนะใหเรียบรอย ดวย หนาแตกหมอไมรับเย็บกันไปหลายราย ไมแนใจ กลัวจะปลอยไกก็ควรที่จะดูคนอื่นเขาดวย รับประทานอาหารกลางวันเสร็จก็เดินสํารวจ ชมสินคาที่ระลึกที่วางขายตามรานภายในอาคาร ส ว นใหญ จ ะเป น เสื้ อ สั ญ ลั ก ษณ เสื้ อ แจ ก เกต ผาพันคอ ปากกา แกวกาแฟ กระเปาใสเงินสารพัดแบบ และกระเปาเป กระเปาเดินทางใบใหญมีสัญลักษณ ธรรมชาตb

อั น เป น ที่ ชื่ น ชอบของนั ก ท อ งเที่ ย วที่ ม าจากทุ ก มุมโลก รานคาตางๆ นอกจากรับบัตรเครดิตแลวยัง รับเงินตราหลายสกุลนอกจากเงินฟรังสสวิส เชน ดอลลาร ยูโร เยน โดยแสดงอัตราแลกเปลี่ยนเทียบ กับ ฟรัง ส ที่แนน อน จายสกุ ลเงิน ไหนก็ ไ ด แ ต ท อนเป น ฟรั ง ส ส วิ ส ขาดทุ น อั ต ราแลกเปลี่ ย นอะไร ไม เ ห็ น มี ใ ครคิ ด กั น ให ป วดหั ว เงินสดไมมีก็ใชบัตรเครดิตหรือกด ตูเอทีเอ็ม ไดตามอัธยาศัย ผูเขียน ได ก ระเปา ใส เ งิน และกระเป า เป อยางละใบ เสื้อยืดคอกลมที่มีรูป สัญลักษณสวยอีก ๒ ตัว ปากกา หนึ่งชุด เปนของที่ระลึก จากนั้นก็เดินออกไปนอก อาคารที่เปนลานกวาง คลายสันเขื่อนมองไปขางหนา เห็นแตยอดเขาสูงไลเลียงสุดสายตา แตละยอดเขา ตนไมใบหญาบางสวนยังถูกปกคลุมดวยหิมะขาว โพลน มีเพียงบางสวนที่ละลายเปนสายน้ําไหลลงสู แนวรองเขาพาดผานยังผืนดินเบื้องลาง ข างลาน กวางที่มีรั้วกั้นโดยรอบมีบันไดปนขึ้นไปสูไหลเขาที่มี นักทองเที่ยวหลายคนเดินไตบันไดสูงขึ้นไปอีกโดย ไมคํานึงวา “ยิ่งสูง..ยิ่งหนาว”


นายห่วงใย ป จ จุ บั น อากาศในประเทศไทยมี ค วาม แปรปรวนมากขึ้น เดี๋ยวรอน เดี๋ยวหนาว เดี๋ยวฝนตก รวมถึงสิ่งแวดลอมที่เราอาศัยอยู เต็มไปดวยมลพิษ ตางๆ ไมวาจะเปนฝุนละออง เชื้อรา ที่ปะปนอยูใน อากาศ สารเคมีที่มนุษยสังเคราะหขึ้นเอง ซึ่งอาจ แอบแฝงอยูในรูปของอาหารการกิน สิ่งที่เราสัมผัส ซึ่งลวนแลวแต กอให เกิดอันตรายกั บรางกายของ คนเราไดทั้งสิ้น จากสาเหตุดังกลาว ทําใหเกิดอาการ เปนหวัด คัดจมูก แพอากาศได ดวยเหตุนี้ยาแกแพจึงเปนยาอีกกลุมหนึ่งที่ มีอัตราการใชสูงมากในประเทศไทย แมยาในกลุม นี้ จะจัดอยูในกลุมยาที่คอนขางปลอดภัย ดังนั้นเราจึง มาเรียนรูถึงประโยชน ขอแนะนํา และขอควรระวัง ในการใชยาแกแพกัน

ไปเรื่อยๆ หากหยุดเมื่อใดก็จะเปนอีก นอกจากเปน เฉพาะในฤดูใดก็กินเฉพาะชวงฤดูนั้น ๒. ใชบรรเทาอาการแพทางผิวหนัง ลมพิษ ผื่นคันตางๆ ที่นิยมใชคือ ฮัยดร็อกซิซีน (Hydroxyzine) ซัยโปรเฮ็ปตาดีน (Cyproheptadine) ยาซัยโปรเฮ็ ป ตาดี น ไม ค วรใช กั บ เด็ ก อายุ ต่ํ า กว า ๒ ขวบ เนื่องจากมีผลกดสมอง ทําใหเด็กเตี้ยแคระแกร็นได ๓. การใช ย าแกแพในโรคหวั ด ความจริ ง แลว ยาจะมีฤทธิ์ลดน้ํามูก ทําใหน้ํามูกแหง ชวยให ผูปวยสบายขึ้นเทานั้น ยังไมมียาใดที่ออกฤทธิ์ฆาเชื้อ ไวรัส อันเปนสาเหตุของหวัด และควรใชในกรณีที่มี น้ํามูกใสเทานั้น เมื่อน้ํามูกขนเหนียวควรหยุดใชยา มิฉะนั้นอาจทําใหน้ํามูกเหนียวขนมากขึ้น และอาจ เปนอันตรายไดโดยเฉพาะเด็กเล็ก

ประโยชนของยาแกแพ ๑. ใช บ รรเทาอาการแพ อ ากาศ บรรเทา อาการจาม น้ํ า มู ก ไหล เช น คลอร เ ฟนิ ร ามี น (Chlorpheniramine) บรอมเฟนิรามีน (Brompheniramine) กินในตอนเชาและกอนนอน หรือเวลาใด เวลาหนึ่ ง จะช ว ยบรรเทาอาการได แ ละต อ งกิ น

ขอแนะนํา-ขอควรระวังในการใชยาแกแพ ๑. เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ควรใช กอนสัมผัสกับสิ่งที่ทําใหแพหรือใชทันทีที่แพแลว ๒. ยาแกแพสวนใหญจะมีผลขางเคียงคือ ทําใหปากแหง จมูกแหง ปสสาวะลําบาก และที่สําคัญ คือทําใหงวงนอน ซึม เวลาใชยานี้จึงควรระวังการ


ขั บ ขี่ ย านยนต ห รื อ ทํ า งานเกี่ ย วกั บ เครื่ อ งจั ก รกล อยางไรก็ตาม หากกินยาชนิดนี้แลวมีอาการงวงนอน มาก และจําเปนตองทํางาน อาจเลี่ยงไปใชยาแกแพ ชนิดที่ไมกอใหเกิดอาการงวง เชน เทอรเฟนาดีน (Terfenadine) แอสทิมิโซล (Astemizole) ๓. หามกินยานี้รวมกับยาที่มีฤทธิ์กดสมอง เชน เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ยานอนหลับ ยากันชัก ๔. ในกรณีหอบหืด ซึ่งแมจะเปนอาการแพ อย า งหนึ่ ง ก็ ต าม สํ า หรั บ เด็ ก อายุ ต่ํ า กว า ๖ ขวบ ควรระวังการใชยานี้ เนื่องจากเด็กมีความไวในการ ตอบสนองตอยานี้มาก อาการขางเคียงของยาอาจ เกิดในทางกลับกัน คือ แทนที่เด็กจะงวงนอนกลับ นอนไมหลับรองไหกวนโยเย เด็กบางคนจะมีอาการ ธร รม

ใจสั่น ตื่นเตนหรือถึงกับชัก ถาไดรับยาในขนาดสูงๆ ๕. ในหญิงมีครรภ มักใชยาประเภทนี้ในรูป ของยาแกแพทอง ควรใชในกรณีที่จําเปนจริงๆ และ ควรปรึ ก ษาแพทย ห รื อ เภสั ช กรจะดี ก ว า สํ า หรั บ หญิงใหนมบุตร การกินยาแกแพอาจทําใหน้ํานมลด นอยลง และยาจะขับออกทางน้ํานม จึงควรใหลูก งดนมแม ดูดนมขวดชั่วคราวขณะใชยา นอกจากการใช ย าแล ว ก็ ต อ งพยายาม สังเกตวาสิ่งที่แพคืออะไร แลวหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ นั้นเสีย การออกกําลังกายที่เหมาะสม กินอาหารทีม่ ี ประโยชน พักผอนใหเพียงพอ ทํ าจิตใจใหเบิกบาน เพื่อสรางภูมิตานทานใหรางกาย ก็เปนวิธีหนึ่งที่ชวย ใหดีขึ้นได ☺☺ ขอขอบคุณ นิตยสาร Hospital Healthcare

ใบสมัครสมาชิกหนังสือข่าวทหารอากาศ ชื่อสมาชิก (ภาษาไทย) ............................................................................................................................... เริ่มตั้งแต่ฉบับที่ ...... ประจําเดือน .............. พ.ศ. ....... ถึงฉบับที่ ........ ประจําเดือน .............. พ.ศ. ....... อัตราค่าสมาชิก สมาชิก ๑ ปี ๑๒ ฉบับ เป็นเงิน ๓๕๐.- บาท (รวมค่าส่งภายในประเทศ) ชําระค่าสมาชิกในนาม หนังสือข่าวทหารอากาศ กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ ดอนเมือง กทม. ๑๐๒๑๐ สั่งจ่าย ปณ. คลองถนน ๑๐๒๒๒ หรือ โทรสาร. ๐ ๒๕๓๔ ๔๔๗๑ โดย ( ) ธนาณัติ ( ) เช็ค ( ) ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์ เลขที่ ....................... จํานวนเงิน ............................ บาท (.............................................................) สถานทีส่ ่งหนังสือ เลขที่ .................. หมู่ ................ ซอย ..................................... ถนน ...................................... ตําบล/แขวง ........................................................ อําเภอ/เขต ................................................................. จังหวัด ........................................................................... รหัสไปรษณีย์ .................................................... หมายเลขโทรศัพท์บ้าน ............................................ โทรศัพท์มือถือ ........................................................


… การรูจักพอ (๑) ...

ผู เ ขี ย นได มี โ อกาสเข า ร ว มสั ม มนากั บ ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม ซึ่ ง เป น หน ว ยงาน สั ง กั ด สํ า นั ก งานบริ ห ารและ พัฒนาองคความรู(องคกรมหาชน) หลายครั้ง เพื่อ ระดมความคิดเห็นในการพัฒนาคุณธรรมในสวนที่ เกี่ยวของกับบุคลากรภาครัฐ สําหรับสวนอื่นๆ ไมวา

จะเปนสื่อมวลชน องคกรปกครองทองถิ่น สถาบัน ศาสนา สถาบันการศึกษาและภาคเอกชน ก็มีการ สัมมนาในสวนของหนวยนั้นๆ ในสวนของเจาหนาที่ ของรัฐทั้งขาราชการการเมืองและขาราชการประจํา จะเป น จํ า เลยใหญ ใ นเรื่ อ งของป ญ หาคอรั ป ชั่ น ซึ่ง มุง เนน ไปที่การสูญเสียงบประมาณแผ น ดิน ไป อยางไมเกิดประสิทธิผลเต็มที่นัก ซึ่งเปนเรื่องที่พูดกัน ตลอดมา ผูเขียนเคยไดฟงบันทึกเสียงการเทศนาของ ทานหลวงพอพุทธทาสภิกขุ ที่เทศนไวตั้งแตกอนป พ.ศ.๒๕๐๐ ทานก็ไดกลาวถึงเรื่องเหลานี้ไวแลววา ขาราชการการเมืองและขาราชการประจําที่ไมรูจัก พอ ยอมเปนทาสของกิเลสทําใหเกิดการคอรัปชั่น งบประมาณของทางราชการมากมายทุกๆ ป ถาดูกันที่ พ.ศ. ก็เปนการพูดถึงเหตุการณหาสิบกวาปมาแลว และปจจุบันเราก็ยังพูดกันเรื่องนี้อยางกวางขวางอยู แสดงวาปญหาไดรับการแกไขไปนอยมาก ผู ที่ ทํ า งานวิ จั ย เรื่ อ งนี้ ไ ด เ สนอแผนงาน ยุ ท ธศาสตร แ ละยุ ท ธวิ ธี ใ นเรื่ อ งการริ เ ริ่ ม ฟ น ฟู


คุณธรรมของคน ในชาติ ในป พ.ศ.๒๕๕๔ นี้ ผูเขียน ไดพยายามใหกําลังใจผูที่เกี่ยวของ และพยายาม ใหขอสังเกตวาอะไรเปน สิ่งที่พอทําได หรือควรจะ ทําในขณะนี้ สาเหตุเพราะผูเขียนมองวาขาราชการ มีมากมาย หลายระดับ และการคอรัปชั่นนั้น นอกจาก คอรัปชั่นที่เปนเงินแลว ยังมีอีกหลายเรื่องมากทีเ่ ปน การคอรัปชั่น ทั้งเวลา ทรัพยสินอื่นๆ การเอาใจใส ตอหนาที่การงานของขาราชการก็เปนปญหาเชนกัน ผูเขียนใหขอสังเกตวา ขณะที่เราพูดกันนี้ เปนการพูดกัน ณ จุดหนึ่งของเวลา ซึ่งในทุกๆ จุดหนึ่ง ของเวลานั้นจะมีขาราชการตั้งแตอายุ ๒๐ ปเศษ จนถึง ๕๙ ปเศษ รวมอยูดวยกันทั้งหมดเปนลานคน ณ จุดนี้ทุกคนมีหนาที่ตางๆ กันและมีปญหาตางๆ กัน จนเราก็ไมรูวาจะเริ่มแกไขปญหานี้ที่ใครกอน หรือ จะแกไขไปพรอมๆ กันบนความแตกตางทั้งวัยวุฒิ คุณวุฒิ วุฒิภาวะ สถานะ รายได และความเปนอยู เราตั้งกติกาอะไรขึ้นมาสักอยาง ถาประชาพิจารณ คงเถี ย งกั น ไม จ บจนหมดแรงกั น ไปทุ ก ฝ า ยและ เลิกลากันไป โดยไมไดทําอะไร แตขาราชการบางสวน มี ป ญ หาร ว มกั น อยู คื อ เงิ น เดื อ นไม พ อใช การที่ ไม พ อใช ไ ม ใ ช เ งิ น เดื อ นน อ ย แต ไ ม พ อใช เ พราะ หนี้สินรุงรังจนเงินเดือนเหลือไมกี่บาท นอกจากนีย้ งั มีขาราชการอีกบางสวน ทอแท ผิดหวัง ไมถูกใจกับ สภาวะบีบคั้น ความแตกตางของการเปนอยู ความ แตกแยก เล น พรรคเล น พวกของระบบราชการ สองเรื่องนี้คงมีมากกวาครึ่งของขาราชการทั้งหมด แลว เราจะมาชวนเขาเหลานี้ มารวมกันสรางคุณธรรม ในเรื่ อ งความซื่อตรงเพื่ อตอสูกับปญหาคอรัปชั่ น คงเปนเรื่องที่ไมมีโอกาสเปนไปไดเลย

ผูเขียนคิดวา เราตองยอมรับความจริงกัน แลวละ คนที่มีรายรับเหลือเทานี้มีความคับของใจ อยางนี้ คงดํารงชีวิตอยูอยางยากลําบาก อยาไปพูด ถึงจะรับผิดชอบงานเลย ดูแลตัวเองและครอบครัว ใหมีขาวกินตลอดเดือนก็ยากมากแลว ผูเกี่ยวของ ทุก ฝ า ยทั้ ง ผูบั ง คั บ บั ญ ชา ผู มี เ จตนาดี ผู มี ป ญ หา ตองตั้งสติกันใหดี คุณธรรม ขอที่นาสนใจที่จะตอง นํามาใชกันในชวงนี้ ก็คงหนีไมพน สันโดษ การรูจักพอ เพราะคุณธรรม เรื่อง สันโดษ หรือการรูจัก พอนี้เปนคุณธรรมที่สามารถฝกใหเกิดไดที่จิตใจของ ทุ ก ๆ คน ทุ ก เพศทุ ก วั ย และสามารถเริ่ ม ไดทั น ที ที่ ตัวเอง เหมือนปญหาของพระเซน (zen) ที่เราเคย ได ยิ น อยู บ อ ยๆ ขณะที่ คุ ณ ต อ งการไม ท อ นหนึ่ ง หลวงพ อ ยื่ น ไม ใ ห คุ ณ และถามว า ไม ท อ นนี้ สั้ น หรือยาว คําตอบก็คือถาคุณอยากไดไมยาวกวานี้ ไมทอนนี้ก็สั้น ถาคุณอยากไดไมสั้นกวานี้ ไมทอนนี้ ก็ยาว ไมสั้นหรือยาว ไมไดอยูที่ไม เพราะไมทอนนี้ ก็ยาวเทานี้แหละ แตความตองการของคนตางหาก ที่เ ปน ตัว กํ า หนดให ไมสั้นหรือ ยาว ความตอ งการ ของเราเองตางหากที่เราควรจะเอาใจใสดูแล ปญหาของสัง คมมีม ากมายเป น ปกติ แต ขาราชการบางสวนไมสามารถควบคุมตัวเองได ขาดสติ ขาดความสันโดษ ขาดความรูจักพอ สันโดษ มาจาก ภาษาบาลีวา สันโตสะ สัน แปลวา ตน โตสะ แปลวา ยินดี สันโดษ จึงแปลวา ยินดี พอใจ อิ่มใจ สุขใจ กับ ของของตน หรื อ พู ด ง า ยๆ ก็ คื อ รู จั ก พอ นั่ น เอง การรูจักพอแบงเปน ๓ เรื่องใหญๆ คือ ๑. รูจักพอ ตามที่มี เราต อ งเข า ใจความจริ ง ข อ หนึ่ ง ของ สังคมมนุษย คือ มันมีเรื่องนายินดี เมื่อไดลาภ ไดยศ


ไดสรรเสริญ ไดสุข และมั นก็ มีเรื่องไมนายิน ดีนัก กับการเสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา และทุกข เราจะมี อะไร เราจะเปนอะไร มั น ก็เ ปนผลของเหตุปจจัย เราควรพอใจกั บ สิ่ ง ที่ ป รากฏอยู กั บ เราขณะนี้ สวนจะปรั บปรุง แก ไขก็พั ฒ นากัน ตอไป ตามเหตุ ปจจัย ๒. รูจักพอ ตามที่ได ทุก คนอยู ใ นสัง คมดวยความอยากได อยากมี อยากเปน กันทั้งนั้น เมื่อเราไดทําเรื่องราว ต า งๆ เต็ ม กํ า ลั ง กาย กํ า ลั ง ใจแล ว ได ผ ลออกมา อยางไร เราจงพอใจ ตามผลที่ได สวนจะคิดปรับปรุง แกไขก็ทําไป ๓. รูจักพอ ตามที่ควร หมายถึง เราตองดูตัวเราเสมอๆ วาสิ่งใด เหมาะสมคู ค วรกั บ เราในสภาวะต า งๆ ทั้ ง ฐานะ ความสามารถ และศี ล ธรรม ที่ เ ราพอจะทํ า ได การรูจักพอตามที่ควรนี้สําคัญมาก คนจํานวนมาก อยากได อยากมี อยากเปน เกินกําลังของตน การรูจักพอจึงเปนคุณธรรมที่คนตางเพศ ตางวัย ตางวุฒิภาวะ ตางสถานะ สามารถเริ่มตน ได พ รอมๆ กัน โดยไม มีเงื่อนไขอื่น มาเป น ตัวแปร คนที่สมหวัง ดีใจ สุขใจ มีฐานะ ก็ตั้งสติรูจักพอใน สิ่ ง ต า งๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ ตน ส ว นคนที่ ผิ ด หวั ง เสี ย ใจ มีหนี้สินรุงรัง ก็ตั้งสติที่จะพอใจในสิ่งที่ตนมีตนได อยูขณะนั้น

เราไม ส ามารถทํ า ใหนิ้ ว มื อ ยาวเท า กั น ได ฉันใด เราก็ไมสามารถทําใหขาราชการทุกคน ไดรับ สิ่ ง ต า งๆ เท า กั น ได ฉั น นั้ น แต เ ราใช มื อ ที่ นิ้ ว ยาว ไม เ ท า กั น นี้ สร า งสรรค ความงดงาม ของสั ง คม ไดมากมาย เพราะเรายอมรับในความยาวไมเทากัน ของนิ้วเสมอมา หากขาราชการทุกคนมีจิตใจที่รูจัก พอในสิ่งที่ตนมีตนได เราจะสามารถเริ่มตนแกไข ปญหาตางๆ ณ จุดเริ่มตนที่เราคิดวา เราจะปรับเปลี่ยน สังคมราชการ พรอมๆ กัน โดยไมตองรอเวลาหาคน รุนใหมหรือรุนตอๆ ไปอยางที่เราพูดกัน เพราะเรา เริ่มไดเลยดวยคนรุนนี้และเดี๋ยวนี้

รูจ กั พอ กอสุขทุกสถาน ไมรจู กั พอ กอทุกขตลอดกาล


พล.อ.ประวิตร วงษ‹สุวรรณ รมว.กห. เป็นประธานในพิธีบรรจุ เขˆาประจำการเครื่องบินแบบ GRIPEN 39 C/D และเครื่องบิน แบบ Saab 340 AEW/B โดยมี พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ ณ บน.๗ จ.สุราษฎร‹ธานี

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในพิธีประดับ เครื่องหมายความสามารถในการบิน และมอบใบประกาศนียบัตร แก‡ศิษย‹การบินของ ทอ. ณ หˆองรับรอง ทอ. ศิษย‹การบินดีเด‡น ไดˆแก‡ ร.ต.ศตพรรษ รัตนะ

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. ในฐานะกรรมการสภาลูกเสือไทย และนายกสมาคมสโมสรลูกเสืออากาศกิตติมศักดิ์ เป็นประธานในพิธี ถวายสัจจวาจาทำความดีของเหล‡าลูกเสืออากาศ ณ พิพิธภัณฑ‹ ทอ.

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. และ ผบ.ทอ.อินโดนีเซีย พรˆอมคณะ เดินทางมาร‡วมพิธีเปิดการฝึกผสม ELANG THAINESIA XV ณ บน.๒๓ โดยมี น.อ.นภาเดช ธูปะเตมีย‹ ผบ.บน.๒๓ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.อ.อิทธพร ศุภวงศ‹ ผบ.ทอ. เป็นประธานในงานเลี้ยงขอบคุณ จนท.นขต.ทอ. ที่ร‡วมจัดงานประชุม ผบ.ทอ.อาเซียน, พิธีบรรจุ เขˆาประจำการเครื่องบิน Gripen 39 C/D และ Saab 340 AEW/B และการแสดงคอนเสิร‹ตทัพฟƒาคู‡ไทยเพื่อ “ชัยพัฒนา” ณ หอประชุม ทอ. (ทองใหญ‡)

พล.อ.อ.ศรีเชาวน‹ จันทร‹เรือง ผช.ผบ.ทอ. ประธานอนุกรรมการประเมินผล การดำเนินงานกิจการสวัสดิการ ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมกิจการบริหาร วารสารและสื่อสิ่งพิมพ‹ ทอ. โดยมี พล.อ.อ.วัฒนา คลˆายจำนง ผทค. พิเศษ ทอ. ประธานคณะอนุกรรมการบริหารวารสารและสื่อสิ่งพิมพ‹ ทอ. ใหˆการตˆอนรับ ณ สำนักงานหนังสือข‡าว ทอ.


พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง เสธ.ทอ./ผอ.ศตส.ทอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยม ศตส.บน.๒ โดยมี น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.อ.สมนึก สวัสดิ์ถึก ปษ.พิเศษ ทอ./หน.คณะ จนท.ทำงาน “โครงการ ๑ กองบิน ๑ สิ่งแวดลˆอม” ตรวจสำรวจการกำจัดขยะ และ บ‡อบำบัดน้ำเสียในพื้นที่ รร.การบิน และ รพ.จันทรุเบกษา พอ. และรับฟัง การบรรยายสรุป โดยมี พล.อ.ต.ศิวเกียรติ์ ชเยมะ ผบ.รร.การบิน ใหˆการตˆอนรับ ณ หˆองประชุม รร.การบิน

พล.อ.ท.วุฒิชัย คชาชีวะ รอง เสธ.ทอ. ในฐานะ รอง ผอ.ศบภ.ทอ. ไดˆมอบบˆาน ซึ่ง ทอ. ไดˆสรˆางใหˆแก‡พี่นˆองประชาชนที่ประสบ อุทกภัยในพื้นที่ อ.พุนพิน และ อ.เคียนซา จ.สุราษฎร‹ธานี

พล.อ.ท.ธงชัย แฉลˆมเขตร ผช.เสธ.ทอ.ฝกร. นำหน‡วยมิตรประชา ทอ. ร‡วมกิจกรรมประชาคมหมู‡บˆาน และการปฏิบัติงานช‡วยเหลือ ประชาชน ณ วิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี

พล.อ.ท.อานนท‹ วิรัชกุล จก.ชอ. และคณะฯ ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการ ช‡างอากาศประจำปี ๒๕๕๔ พรˆอมรับฟังการบรรยายสรุปการซ‡อม บำรุง ฮ.พระราชพาหนะ S-92A ฝูง.๒๐๑ รอ. โดยมี น.อ.เฉลิมวงษ‹ กีรานนท‹ ผบ.บน.๒ ใหˆการตˆอนรับ ณ บก.บน.๒

พล.อ.ท.ระพีพัฒน‹ หลาบเลิศบุญ ผบ.อย. เป็นประธานเปิดการ สัมมนาสายวิทยาการอากาศโยธิน ครั้งที่ ๓/๕๔ โดยมี หน.นขต.อย., ผบ.พั​ัน อย., ผบ.พัน อย.กองบินต‡างจังหวัด เขˆาร‡วมสัมมนา ณ โรงแรม FURAMA จอมเที​ียน จ.ชลบุรี


พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธี ถวายราชสดุดี และพิธีเปิดโครงการเฉลิมพระเกียรติ ๑๒๗๙ ณ บริเวณสนามหนˆาอาคาร บก.ยศ.ทอ.

พล.อ.ท.ดิเรก พรหมประยูร จก.ยศ.ทอ. เป็นประธานในพิธี เปิดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ ๙๘๔ ณ หอสมุด ทอ.

พล.อ.ท.อานนท‹ วิรัชกุล จก.ชอ. นำขˆาราชการ ลูกจˆาง และ พนักงานราชการ พรˆอมดˆวย คณะครูและนักเรียน ร.ร.ช‡างอากาศ อำรุง ร‡วมเวียนเทียนรอบหอพระพุทธศาสดานภานาวามงคล หอพระประจำกรมช‡างอากาศ เนื่องในวันอาสาฬหบูชา

พล.อ.ท.สฤษดิ์พงษ‹ โกมุทานนท‹ ผบ.รร.นอ. เป็นประธานใน กิจกรรม “รวมพลัง ร‡วมใจเชียร‹ นายเรืออากาศ” เพื่อสรˆางขวัญ และกำลังใจใหˆแก‡นักกีฬา และกองเชียร‹ นนอ. ในการเชียร‹กีฬา ประเพณี รร.ทหาร-ตำรวจ ครั้งที่ ๔๙ ณ อาคารรณนภากาศ

พล.ท.ดนัย มีชูเวท ผบ.รร.จปร. เป็นประธานในพิธีเปิดการเสวนา เรื่องแนวทางการพัฒนา รร.ทหาร-ตำรวจ โดยมี พล.อ.ต.วัธน มณีนัย รอง ผบ.รร.นอ. พรˆอมดˆวย ขˆาราชการของ รร.ทั้งสี่เหล‡า ไดˆร‡วมกัน เสวนาในเรื่องปัญหาขˆอขัดขˆองที่แต‡ละ รร.เหล‡าประสบปัญหา เพื่อเป็น แนวในการสัมมนาต‡อไปในอนาคต ณ รร.จปร.

พล.อ.ท.เมธา สังขวิจิตร จก.สพ.ทอ. เป็นประธานในพิธีปิด โครงการอบรมหลักสูตร Core Avionic Gripen 39 C/D ณ หอประชุม สพ.ทอ.


พล.อ.ท.อมร แสงสุพรรณ จก.พอ. เป็นประธานในพิธีไหวˆครู ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๔ พรˆอมดˆวย ศ.น.พ.อดิศร ภัทราดูลย‹ คณบดีคณะแพทยศาสตร‹ จุฬาลงกรณ‹มหาวิทยาลัย และมอบ รางวัล อาจารย‹, แพทย‹ประจำบˆานและนิสิตแพทย‹ดีเด‡น ณ หˆอง ประชุมชั้น ๓ อาคาร “คุˆมเกลˆาฯ”

พล.อ.ท.วิโรจน‹ นิสยันต‹ รอง ผบ.คปอ. เป็นประธานในพิธีมอบ ทุนการศึกษา ใหˆแก‡บุตรขˆาราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ คปอ. ณ ชุมนุมสัญญาบัตร คปอ.

พล.อ.ต.ชนนนาถ เทพลิบ ผอ.ศกอ. เป็นประธานในพิธีเปิด การศึกษาหลักสูตรการสงครามทางอากาศ รุ‡นที่ ๑๔ ณ หˆอง ปฏิบัติการศึกษา ศกอ.

พล.อ.ท.อมร แสงสุพรรณ จก.พอ. เป็นประธานเปิดงานวิชาการ พยาบาลทหารอากาศ ประจำปี ๒๕๕๔ โดยมี พล.อ.ต.ชูพันธ‹ ชาญสมร ผอ.รพ.ภูมิพลอดุลยเดชฯ พรˆอมผูˆบริหารเขˆาร‡วมกิจกรรม นำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรม ณ หˆองประชุมชั้น ๓ อาคาร “คุˆมเกลˆาฯ”

พล.อ.ต.นิวัต เนื้อนุ‡ม ผอ.สนภ.ทอ. ผูˆแทน เสธ.ทอ. เป็น หน.คณะ ตรวจเยี่ยม ฝอก.นิรภัย พรˆอมคณะฯ ตรวจเยี่ยมนิรภัย ณ รร.การบิน โดยมี พล.อ.ต.ศิวเกียรติ์ ชเยมะ ผบ.รร.การบิน ใหˆการตˆอนรับ

พล.อ.ต.ฤกษ‹ฤทธิ์ พวงทอง จก.สก.ทอ. เป็นประธานเปิดโครงการ กีฬากอล‹ฟเยาวชนตˆานภัยยาเสพติด สก.ทอ. ซึ่งจัดใหˆมีการแข‡งขัน กอล‹ฟ และกิจกรรมตˆานภัยยาเสพติดร‡วมกับผูˆปกครอง ณ สนาม กอล‹ฟเขาชะโงก จ.นครนายก และบˆานพักสวัสดิการ ทอ. (เขาใหญ‡)


พล.อ.ต.จอม รุ‡งสว‡าง จก.ยก.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุม สัมมนาเพื่อจัดทำแผนการเคลื่อนยˆายโรงพยาบาลเคลื่อนที่ของ ทอ. ณ หˆองประชุม ยก.ทอ.

พล.อ.ต.กฤษณะ นิ่มวัฒนา จก.กพ.ทอ. เป็นประธานในพิธีเปิด-ปิด การเรียกพลเพื่อตรวจสอบของ ทอ. โดยมีนายทหารสัญญาบัตร กองหนุนมารายงานตัว เขˆารับการตรวจสอบครบ จำนวน ๕๐ คน ณ หอประชุมกานตรัตน‹

พล.อ.ต.อานนท‹ จารยะพันธุ‹ รอง ผบ.อย. เป็นประธานคณะ กรรมการตรวจสอบความพรˆอมรบและทดสอบแผนปƒองกันที่ตั้ง หน‡วย ทอ. ณ บน.๒๑ โดยมี น.อ.เฉลิมชัย ศรีสายหยุด ผบ.บน.๒๑ ใหˆการตˆอนรับ

พล.ต.อาจศึก สุวรรณธาดา ผช.ผอ.ศปร.ศบท.ทท. และคณะฯ เดินทาง มาตรวจผลงานโครงการผลิตไบโอดีเซล ๘๔,๐๐๐ ลิตร เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ของ บน.๔๖ ที่ส‡งเขˆาประกวดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงกองทัพไทย โดยมี น.อ.ฐากูร นาครทรรพ รอง ผบ.บน.๔๖ ใหˆการตˆอนรับ

น.อ.รณฤทธิ์ สัชฌุกร รอง ผอ.สตน.ทอ. พรˆอมคณะฯ มอบดอกไมˆ แสดงความยินดี และเขˆาร‡วมพิธีสงฆ‹ เนื่องในวันคลˆายวันสถาปนา สตน.ทบ. ครบรอบปีที่ ๓๓ ณ สตน.ทบ.

น.อ.ปรเมศร‹ เกศโกวิทย‹ รอง ผบ.ดม. หน.คณะเผยแพร‡ความรูˆและ สรˆางจิตสำนึกดˆานการ รปภ. ซึ่งมี จนท.สน.ผบ.ดม. และ ขว.ทอ. มาใหˆ ความรูˆดˆาน รปภ. แก‡ขˆาราชการ ลูกจˆาง และพนักงานราชการ สพ.ทอ. โดยมี น.อ.พงษ‹ศักดิ์ เกื้ออรุณ รอง เสธ.สพ.ทอ. ใหˆการตˆอนรับ ณ หอประชุม สพ.ทอ.


น.อ.คงศักดิ์ จันทรโสภา ผบ.บน.๑ นำขˆาราชการและสมาชิกชมรมแม‡บˆาน ทอ.บน.๑ บันทึกเทปในโครงการถวายพระพรวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจˆาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ประจำปี ๒๕๕๔ ณ หˆอง แกรนด‹บอลรูม โรงแรมราชพฤกษ‹ แกรนด‹ โฮเทล อ.เมือง จ.นครราชสีมา

น.อ.ชานนท‹ มุ‡งธัญญา ผบ.บน.๔ เป็นประธานมอบประกาศนียบัตร นบ.ขับไล‡/โจมตีขั้นตˆน รุ‡นที่ ๓๓ จำนวน ๑๐ คน ณ ลานจอด บ. ผขว.บน.๔

น.อ.ชานนท‹ มุ‡งธัญญา ผบ.บน.๔ เป็นประธานในพิธีแสดงความยินดี เนื่องในโอกาสที่ น.อ.สฤษฎ‹ วุทธีรพล รอง ผบ.บน.๔ ทำการบินกับ บ.ข.๑๙/ก ครบ ๓,๐๐๐ ชั่วโมง, นักบินทำการบินกับ บ.ข.๑๙ /ก ครบ ๑,๐๐๐ ชั่วโมง และแสดงความยินดีกับนักบินที่จบการฝึกบินพรˆอมรบ กับ บ.ข.๑๙/ก ณ ลานจอด บ.ผชอ.กทน.บน.๔

น.อ.อาจณรงค‹ ตันสุวรรณรัตน‹ ผบ.บน.๕ พรˆอมดˆวย คุณพรรณปภรณ‹ ตันสุวรรณรัตน‹ ประธานชมรมแม‡บˆาน ทอ.บน.๕ ไดˆนำขˆาราชการ และทหารกองประจำการ ร‡วมพิธีเวียนเทียนเนื่องในวันอาสาฬหบูชา ประจำปี ๕๔ ณ วัดเกาะหลัก พระอารามหลวง จ.ประจวบคีรีขันธ‹

น.อ.ประยูร ธรรมาธิวัฒน‹ ผบ.บน.๔๑ เป็นประธานในพิธีถวาย สัจจวาจาเนื่องในวันลูกเสืออากาศและวาระ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว ในโอกาสพระราช พิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ณ หอประชุมเดชะตุงคะ

น.อ.ทศวรรณ รัตนแกˆวกาญจน‹ ผบ.บน.๔๖ เป็นประธานในพิธีถวาย สัจจวาจาเนื่องในวันลูกเสืออากาศและวาระ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว ในโอกาสพระราช พิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ณ โรงเก็บ บ.ผชอ.กทน.บน.๔๖


น.อ.นภาเดช ธูปะเตมีย‹ ผบ.บน.๒๓ นำขˆาราชการร‡วมพิธี ถวายพระพรชัยมงคลเนื่องในวโรกาสคลˆายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ณ ร.ร.มัธยม สิริวัณวรี ๑ จ.อุดรธานี

น.อ.สมหมาย ลาแกˆว ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบการฝึก เป็น ประธานในพิธีตรวจสอบการฝึก ภาคที่ ๑ ตอนที่ ๒ ของทหารกองประจำการ รุ‡น ๒๕๕๔ ผลัดที่ ๑ พัน.อย.บน.๕๖ โดยมี น.อ.อมฤต กนกแกˆว รอง ผบ.บน.๕๖ ใหˆการตˆอนรับ ณ สนามฝึก พัน.อย.บน.๕๖

ขˆาราชการ ลูกจˆาง พนักงานราชการ และทหารกองประจำการ บน.๒๑ ร‡วมบริจาคโลหิต เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด‡พระบาท สมเด็จพระเจˆาอยู‡หัว และ สมเด็จพระนางเจˆา ฯ พระบรมราชินีนาถ ณ หอประชุม บน.๒๑

น.อ.ชิตชัย ไกลคง ผบ.ฝูงบิน ๒๐๖ พรˆอมขˆาราชการ และทหาร กองประจำการ ฝูงบิน ๒๐๖ ออกปฏิบัติการจิตวิทยา ศูนย‹พัฒนา เด็กเล็กบˆานหนองแสง หมู‡ที่ ๑๒ ต.วัฒนานคร อ.วัฒนานคร จ.สระแกˆว

น.อ.จักร สุวรรณทัต เสธ.บน.๖ ใหˆการตˆอนรับการตรวจเยี่ยม ของคณะกรรมการตัดสินกลุ‡ม Q.C. สมาคมส‡งเสริมคุณภาพ แห‡งประเทศไทย ณ หˆองประชุม บก.บน.๖ และ ฝกช.ฝูง.๖๐๑

น.อ.จักร สุวรรณทัต เสธ.บน.๖ ใหˆการตˆอนรับการตรวจเยี่ยม ของคณะเจˆาหนˆาที่ทำงานควบคุมมาตรฐานการซ‡อมบำรุง ชอ. ณ หˆองประชุม บก.บน.๖




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.